ทุเรียน

Page 1

ทุเรียน

เทคนิคการทำ

เพ�อผลผลิตที่สมบูรณและมีคุณภาพ

ขั้นเทพ

บริษัท เทพวัฒนา จำกัด 326 ซ.ศรีนครินทร 24 ถ.ศรีนครินทร แขวงพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2721-3510 www.thepwatana.com


เทคนิคการทำ

ชวงตนเล็ก ควรทำใบเปนชุด รากเปนชุด เพ�องายในการควบคุมโรคและแมลง การใหปุยทางดิน เวนระยะการใส 2-4 เดือนตอการให 1 ครั้ง เพ�อควบคุมการแตกใบออนไม ใหมากเกินไปหรือกระจัดกระจาย ไมพรอมกันเปนรุน การควบคุมแมลงและโรคก็จะทำไดไมเด็ดขาด ปุยที่ ใชแนะนำเปน สูตร 16-16-16 หรือ สูตร 15-15-15 ไมแนะนำตัวหนาสูงในหนาฝน จะทำใหใบเลื้อย หรือตัวหลังสูงใน ฤดูแลงจะมีขอ ใบทีส่ น้ั และมีดอกทีต่ อ งแตงออก ตนจะแกรนโตชา การฉีดพนสารอาหารทางใบ ควรใหเปนธาตุอาหารรวม แมมมอท คอมบิ รวมกับ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม ทุกๆ 10-15 วันครั้ง แตหากตองการใหมีการแตกใบออนใหม ใหใส แมมมอท ฟองดู เพ�อเพิม่ การสรางใบใหมพรอมกัน ปองกันตนโทรม เพราะทุเรียน เล็กยังมี ใบนอย ตองมีการใหธาตุอาหารที่ครบ ตนจะไดแข็งแรง ไมมีโรค เน�องจากรากยังทำงานไดไมดี ประกอบกับดินที่ยังมี สภาพที่ยังไมเปนมิตรกับราก การขาดธาตุที่ตองการจึงมีมาก การใหแตปุยจึงเสมือน.. การทานขาวแต ไมมีกับขาว ขาดสารอาหารที่จำเปน

ความเช�อที่วา.. ถาบำรุงตั้งแตตนเล็ก เม�อไวลูกตนจะโทรมตายงายนั้น เปนความเช�อที่ผิด เกิดจากการจัดการที่ ไมถูกวิธีตางหาก ธาตุอาหารตองกระจายใหทั่วถึงทุกๆ ใบในตน การปลอยใหตนทุเรียนดูดจากทางดินอยางเดียว จะทำใหใบในทรงพุมขาดอาหารเพราะไปไมถึง ใบจึงรวงมาก ใบนอย รากจะตายมากกวาเกิด ตนจึงโตชา ไมพรอมกันทั้งสวน


การควบคุมโรค

ใหใชยาปองกันทุกๆ 1 เดือนในชวงฤดูฝน ดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร

การควบคุมแมลง

ระยะใบออน จะมี เพลี้ยไฟ เพลี้ยไกแจ และเพลี้ยจักจั่นฝอย ระบาด ใหใช คูซั่นเพสท หรือ แอมเพล เม�อตนทุเรียนยังเล็กในระยะ 1-2 ปแรก มักพบการระบาดของแมลงปกแข็ง เชน พวกคอมทอง เน�องจากสภาพสวนทุเรียนตนที่หางกัน จะมีหญาขึ้นรก บางในสวน เปนสภาพที่มักมีแมลงคอมทอง มากัดทำลายใบในเวลากลางคืน ใหใช โอโซพรีน ฉีดพนเม�อพบการทำลาย เพราะเปนยาเย็น จึงไมทำใหใบออน ไหม คุมไดนานกวายาสัมผัส

ทุเรียนที่ปลูกใหม

สภาพดินทางกายภาพและเคมียังไมเปนเนื้อเดียวกัน มีสภาพแวดลอมบริเวณ รากทีย่ งั ไมปรับตัวเขากัน การพบตนโทรมตนโตชา ยืนตนเหลือง ไมตอบสนอง ตอปุยและน้ำ อาจมีน้ำขังบริเวณรากหรือหลุมปลูก ควรมีการปรับปรุงสภาพทางกายภาพและเคมีดินดวย ฟูลเฮาส เพ�อสรางสาร ละลายดินที่ดี เปนมิตรกับราก หรือปรับปรุงดินใหดี ในฤดูฝนดวย เปอรกา เพ�อรากที่ดีสูกับกรดที่มาจากน้ำฝนได

ทุเรียนตนเล็ก

ตองมีการปกไมค้ำยันอยางใหโยกคอนเพราะลม ทุเรียนจะโตชา หรือเปนโรค รากเนาโคนเนาไดงาย เม�อทุเรียนตนยังเล็กอยูตองปกไมใหสูงกวายอด เพ�อกันนกมาเกาะยอดทำให ยอดฉีกหักได


การฟนตน ควรสรางใบใหไดอยางนอย 2 ชุด เพ�อใหใบเปนครัวสรางอาหาร เลี้ยงราก เลี้ยงตนตอไป จากนั้นสรางใบชุดที่ 3 เพ�อใหตนทำการรับ สารบังคับการออกดอก ฉีดพนทางใบ จิ๊บ ปลาคู อัตราใช 50 ซีซี.

แมมมอท ฟองดู อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท คอมบิ อัตราใช 200 ซีซี.

ใสทางดิน

เปอรกา ฟูลเฮาส อัตราใช 1 กก./ตน อัตราใช 300-500 กรัม/ตน

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ปญหาที่มักพบในการฟนตนทุเรียน การสรางใบชุดแรกจะทำไดยาก ใบออกมาไมดี ใบเล็กเหลือง จำนวนใบนอย การมี ใบออนที่ ไมพรอมกัน การแตกใบออนก็จะกระจัดกระจาย มีหลายรุน ใบที่ออกมาบางใบจะเหลือง ไมเขียวเขม

การแกปญหา..ตองแกที่ระบบราก โดยการฟนฟูรากใหกลับมาทำงานอยางเต็มที่ เน�องจากการสราง ดอกนั้น เราไดกดการทำงานของราก ดวยสารแพคโคบิวทราโซล ดังนั้นจึงตองทำการคลายฤทธิ์สารดวยการสรางรากฝอยใหม ซึ่งรากฝอยจะเกิดไดมาก จะตองไดสารอะมิโนและสาหราย กับ สภาพแวดลอมทางกายภาพที่ดีดวย..ฟูลเฮาส ฮิวมิคทางดิน และ ลดความเปนกรดของดินปรับปรุงดินดวย..เปอรกา

ปญหาเปลือกแตกยางไหล มอดเจาะกิ่งเจาะตน จะพบเจอมากในระยะหลังฤดูการเก็บเกี่ยวผลทุเรียน ตองทำการ ตัดแตงกิ่ง ฉีดลางตน ลางกิ่ง ดวย..โอโซพรีน อัตราใช 300 ซีซี. รวมกับ นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100 กรัม การฉีดลางตนกอนเขาฤดูฝนจะลดปญหาการเกิด.. โรคราสีชมพู โรคใบติด โรคสาหรายจุดสนิม ไดเปนอยางดี

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


สะสมอาหาร ฉีดพนทางใบ

โกรกรีน 10-52-10 อัตราใช 1/2 กก.

แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท สุพรีม อัตราใช 200 ซีซี.

ใบที่ ไดรับสารบังคับการออกดอกแลว ตองสะสมใบใหเขียวเขมและหนา และควรควบคุมใหใบ แกจัดคงที่ ไม ใหมีการแตกใบออนเพิ่ม หากมี ใบออนออกมากอนกำหนดตองเรงใหใบแกเร็ว เพ�อใหไดดอกตรงตามเวลาที่ตองการ สะสมอาหารบมใบ รวมถึงการควบคุมปริมาณใบ การมี ใบแกรอบ มีความเขียวเขมสมบูรณพรอมกันทั้งตน ทั้งสวน เพ�อการสรางตาดอกและดอกที่พรอมกันทั้งตนและมีปริมาณมากพอ เพ�อใหมีเหลือเลือกที่จะแตงดอก เวนระยะหางใน ลำกิ่งและกระจายทั่วทุกกิ่งในตน เพ�อใหไดจำนวนผลที่ตองการตอตน การจะมีเปนรุนเดียวกันนั้นมาจากพื้นฐานการบมใบ สะสมอาหารกอนออกดอก ถาทำไดดีพอ จะมีดอกรุนเดียวกัน ทั้งตนและทั้งสวน ตาดอกที่มีออกมาแลวเม�อเจอฝนกระแทกหนักๆ อาจมีอาการดอกฝอได มาจากใบที่ สะสมมานอย สรางอาหารไมพอกับการใช การรัดใบหรือมี ใบออนเพิ่มจะตามมา ยิ่งจะทำให น้ำตาลและสารอาหารที่สังเคราะหสูญเสียไปกับการใชของใบออนอีก การคุมใบออนใหแกรอบพรอมกันจึงสำคัญเพ�อ การมีดอกในเวลาที่ตองการ

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


วิธีการฉีดสารบังคับยอด

(แพคโคบิวทาโซล)

เพ�อใหทุเรียนหยุดการมียอดใหม ใบใหม เพ�อใหเกิดการสะสมน้ำตาลและสารอินทรียที่ ใชในการสรางตาดอก และดอก ใหพรอมกันทั้งตน เปนรุนเดียวกันพรอมกันทั้งสวน การมี ใบออนแตก ยอดออกมากระจัดกระจายกิ่งหรือตนนั้น ก็จะไมมีดอก หรือมีดอกทีหลัง ตางรุนกัน การจัดการในสวนจะทำไดยาก ไมเปนระบบ รวมไปถึงการดูแล รักษาจนเก็บเกี่ยว การฉีดสารบังคับยอดเพ�อใหไดทุเรียนฤดูในพื้นที่นั้นๆ จะทำในระยะกลาง ฤดูฝนจนปลายฤดูฝนในพื้นที่นั้น (ส.ค.-ก.ย.) จะใชแควิธีการ.. โฉบสารใหมีสารสัมผัสใบ หรือใหตกบริเวณรากชายทรงพุม เพียงปริมาณนอยเทานั้น เพ�อคุมใบออนใหม ไม ใหเกิด พอเขาสูตนฤดูหนาว ทุเรียนจะมีการสรางตาดอกพรอมกันกอนสวนที่ ไมมีการฉีดสารบังคับยอด เวลาที่เหมาะในการฉีดสารจะเปน ระยะใบออน ยังไมแกจัด ใช ปาโก (สารแพคโคบิวทาโซล 10%) ที่อัตรา 1 กิโลกรัม ผสมน้ำ 200 ลิตร ฉีดได 10-20 ตน ถาฉีดไดตนมาก..ปริมาณสารตกตอตนนอย เรียกไดวา ใชสารโฉบ ถาฉีดไดตนนอย..ปริมาณสารตกตอตนก็จะมาก เรียกไดวา ใชสารหนัก การฉีดสารเพ�อใหไดทุเรียนนอกฤดู จะเปนการฉีดสารหนักปริมาณสาร ตกตอตนสูง หากมี ใบออนออกมาหลังฉีดสารแลวอาจมีการฉีดสารซ้ำ เพ�อกดยอดใหอยู ไม ใหมี ใบใหม ทำการฉีดสารระยะใบออน (มี.ค.-เม.ย.) จะเปนการกดยอดกอนเขาฤดูฝน เพ�อคุมใบใหไมมี ใบออนเม�อเจอฝนแรก หรือตนฤดูฝน เผ�อมีโอกาสฝนทิ้งชวง 15-30 วัน เพ�อใหเกิดการสราง ตาดอกบริเวณใตทองกิ่ง ใช ปาโก (สารแพคโคบิวทาโซล 10%) ที่อัตรา 1-2 กิโลกรัม ผสมน้ำ 200 ลิตร ฉีดใหได 10 ตน เปนการใชสารหนักปริมาณสารตกตอตนสูง

หมายเหตุ : การใชสารบังคับยอด จำเปนตองทำการฟนตนหลังเก็บเกี่ยวอยางรวดเร็วและมีระบบ เพ�อลดการเกิดปญหา ตนตาย ตนโทรม โรคไฟท็อปเขาทำลาย ถึงแมจะไม ไดใชสารบังคับ แตถาไมมีการฟนตนทุเรียนที่ดี เปนระบบ ทุเรียนก็จะ ทรุดโทรมหลังการเก็บเกี่ยว และโรคไฟท็อปจะเขาทำลายตน เม�อมีผลและหลังเก็บเกี่ยวผล ซึ่งการฟนตนเปนการทำให ตนทุเรียนฟนตัวแข็งแรงไดเร็ว มีความตานทานโรค การตายกิ่ง ตายตนจากโรคไฟท็อปก็จะนอย การเขาทำลายของมอด เจาะกิ่งเจาะตนก็จะนอย การฟนฟูสภาพราก ใบ กิ่งไดเร็ว ความพรอมของตนเพ�อการผลิตฤดูถัดไปก็จะดีตามไปดวย


การทำดอก ปญหาดอกทุเรียนมาไมดี มาจากการเตรียมตนไมดี แตงกิ่งไดไมดีฟนตนชา ทำใหสารอาหารจาก ใบเกาสงไปสู ใบใหมไมสำเร็จ ใบรวงเสียกอน ยอดออนใบออนออก มาชา ยอดมี ใบนอยใบเหลืองใบบาง เพราะการคลายฤทธิ์สารไมหมด สารตกคางมากมาจากฤดูกาลที่ผานมา จึงมีเวลาจำกัดหรือสั้นเกินไปที่ จะทำใหตนทุเรียนสะสมอาหารไดอยางเพียงพอ แกไขโดยการวางแผน การจัดการที่ดี เม�อเก็บเกี่ยวเสร็จตองรีบแตงกิ่งลางโรคกำจัดแมลง ทีส่ ะสมในฤดูการทีผ่ า นมาใหเร็ว ฟน ฟูระบบรากใหเร็ว ถาเห็นวาตนออน กำลังมากตองเสริมดวย น้ำตาลอะมิโน แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส และ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม เพ�อเสริมความแข็งแรงอยาง รวดเร็วใหแกพืช การฟนตนผานฤดูแลง มีน้ำนอยการสรางจำนวนใบและชุดใบไดไมเปนไปตามแผน ตองทำการเสริมที่ระบบรากดวย ฟูลเฮาส พรอมการ ใหปุยฟนตน และ เปอรกา เพ�อปรับปรุงดินใหเปนมิตรกับราก สวนทางใบ ตองเนนการใหสาหรายอะมิโน เลโอ แมมมอท คอมบิ และ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม จึงจะได ใบออนจำนวนที่มากพอและแข็งแรงในสภาพที่แลงหรือน้ำนอย การฟนตนผานฤดูฝน ที่มีน้ำมาก การออกใบก็จะมีมาก แต ใบบางไมเขียวเขมหรือแข็งแรงเพียงพอ ใบออนที่ ไดจะกระจัดกระจาย ไม พรอมกันเปนชุด การไดธาตุอาหารจากดินทำไดยาก เพราะธาตุในดินเจือจางจากน้ำที่แชขังบริเวณรากตลอด รากขาดอากาศ ขาดน้ำตาลจาก ใบ เพราะฝนตกฟาจะปด ความเขมแสงจะต่ำการสังเคราะหแสงทำไดไมเต็มที่ ปริมาณน้ำตาลที่สงลงรากจึงไมเพียงพอในการดูดธาตุอาหาร ใบออนที่มี ในฤดูฝนจึงบาง ไมเขียวเขม ตองทำการเสริมสารละลายดินดวย ฟูลเฮาส และปรับปรุงสภาพกรดของดินดวย เปอรกา เพ�อใหสภาพสารละลายดินเปนมิตรกับราก ทางใบตองมีการเสริมธาตุอาหารรวมและน้ำตาลทางดวน เม�อมี ใบออนใหมจากระยะถอดฝกดาบ (ใบหางปลา) ระยะใบออนเพสลาดจนถึงระยะใบแกจัด (ใชเวลาประมาณ 60 วัน) เปนการสรางเนื้อใบใหมีสารสีเขียวที่เขม ใบหนา ใบแข็งแรง สูแดดไดดี ใหใช แมมมอท คอมบิ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม และ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส

การคุมใบออนไมอยูเพราะฝนมาก มีการแตกใบออนเพิ่มหลังการฉีดสารแลว แสดงวาสารตกตอตนไมมากพออาจตองฉีดสารซ้ำ หากฝนทำใหมี ใบออนมากเกินไปจริงๆ แตหากไมมาก การคุมใบออนใหไมแตกเพิ่มหรือแกเร็วจะเปนวิธีการที่ดีดวยการใช แมมมอท ฮอลท อัตรา 200 ซีซี.ผสมน้ำ 200 ลิตร จะสามารถคุมใบออนได 10 วันตอการฉีด 1 ครั้ง หรือหากตองการเรงใบใหแกรอบ เพ�อ สมดุลไนโตรเจนใหเขาที่ ไมเฝอไนโตรเจนในใบ ใช แมมมอท สุพรีม 0-28-18 อัตราใช 400-800 ซีซี.ผสมน้ำ 200 ลิตร รวมกับ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส และ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม จะทำใหใบแกรอบไดเร็ว รักษาระดับใหมีคารบอนมากกวาไนโตรเจน เพ�อการสรางตาดอกไดสำเร็จ มีจำนวนเพียงพอตามที่ตองการ


ตาดอกฝอ มาจากปญหาสมดุลไนโตรเจนเสีย ภายในตนมี ไนโตรเจนมากเกินไป

ไนโตรเจนมาจากน้ำฝนที่ตกลงมามาก ขณะที่ตาดอกทุเรียนกำลังพัฒนาออกมา แตขาดสาร อาหารและน้ำตาลเพราะถูกแยงไป การคุมไนโตรเจนไม ใหเฝอไดดอกจะไมฝอ ดวยการตัด ไนโตรเจนที่ ใบ พนดวย แมมมอท สุพรีม 0-28-18 400-800 ซีซี.ผสมน้ำ 200 ลิตร รวมกับ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส และ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม ฉีดพน ใหทั่วใบทุกๆ 5-10 วัน จะคงรักษาระดับไนโตรเจนไม ใหมากกวาคารบอนที่ ใบ และตองฉีด พนเลี้ยงตาดอก ดวยสารอาหารโดยตรงดวย แมมมอท ฟองดู และ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส จะทำใหตาดอกไมขาดอาหาร

ปญหาขั้วดอกสั้ง เพราะสารแพคโคที่แกเกินไป

หากเราใชสารที่แกเพ�อใหทุเรียนออกดอกแขงกับฝนไดแลว ดอกที่ ไดอาจเกิดดอกกระจุก ขั้วดอกสั้น ตองชวยยืดขั้วดอกดวย จิ๊บ ปลาคู เปนการกำจัดฤทธิ์สารที่ตกคางในดอก

ปญหาดอกแตกกอนครบอายุบานดอก

มาจากการไดธาตุอาหารที่ ไมเพียงพอในขณะทีด่ อกมีการพัฒนาทีเ่ ร็ว เม�อดอกเจริญเร็วตอง ใหอาหารโดยตรงทีด่ อกบางเพ�อกันการขาด เพราะมีดอกจำนวนมากพรอมๆ กัน ความตองการ อาหารแบบเดียวกันในเวลาเดียวกัน การขาดเกิดจากการแยงชิงกันเอง หรือขั้วดอกทำงาน ไดไมมีประสิทธิภาพ ตองชวยโดยการฉีดพน แมมมอท แคลเซียม โบรอน แมมมอท โฟลิไซม จีเอ และ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส เปนระยะๆ จนดอกบาน และตองปองกัน ราเขาทำลายภายในดอก ซึ่งจะเปน แอนแทรคโนส และ ไฟทอปเทอรา เขาทำลาย เม�อมีฝน มากกอนดอกบาน

การมีดอกในชวงเดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม

อากาศจะเย็นเพราะลมหนาว อุณหภูมิที่ลดต่ำกะทันหัน มีผลทำใหระดับสารอินทรีย ในพืชทำงานผิดปกติ การส�อสารจากยอดไปรากทำงาน ติดขัด รากจะทำงานไมตรงกับความตองการสวนใบ ยอด และดอก การหลุดรวงเพราะขาดธาตุที่ตองการในการปรับตัว เพ�อเปลี่ยนฤดู จึงมีมากจนนาตกใจ ทุเรียนกระทบหนาวจะขาดฮอรโมนออกซินซึ่งมีธาตุสังกะสีเปนวัตถุดิบหลัก กระบวนการหายใจใชน้ำตาล เพ�อผลิต พลังงานไฟฟาในตนพืชตองใชแมกนีเซียมเปนหลัก พืชจะดึงจากใบแกหรือใบที่มีอายุมากที่สุด จะพบอาการใบรวงมาก ทุเรียนจะเรงการใช แคลเซียมจำนวนมาก เพ�อเปลี่ยนรูปการจัดการน้ำในตนใหมจากฝนน้ำมากตองระบายออก เปนแลงน้ำนอยตองควบคุมการคายน้ำ จากการ ใชธาตุสังกะสี แมกนีเซียม และแคลเซียมดังกลาว รากไมสามารถทำงานเปนปกติในระยะปรับตัว (ทุเรียนจะปรับตัวเองใชเวลา 7 วัน ตอทุก วิกฤติที่กระทบ) ตองชวยทุเรียนดวย.. 1. แมมมอท สปา กับ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม เม�อเห็นวามี ใบรวงมาก เพ�อลดความเครียดจากการกระทบอากาศ แมมมอท สปา ทำงานแทนสารอินทรียที่ยอดตองใชเร็วกวาการสังเคราะหจากสังกะสี ทำงานรวมกับ แคลเซียม แมกนีเซียม ทันที เพ�อลดการเสียใบ จำกัดการรวงของใบไดทันที 2. เออรโกสติม หรือ อมฤต รวมกับ แมมมอท โฟลิไซม จีเอ และ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส เพ�อลดการรวงของดอก หรือ ดอกชะงักงัน


เปดตาดอก ฉีดพนเฉพาะใตทองกิ่ง

อมฤต อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท ฟองดู อัตราใช 200 ซีซี.

จิ๊บ ปลาคู อัตราใช 50 ซีซี.

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อัตราใช 200 ซีซี.

ใสทางดิน ลดการหลุดรวงของดอก

ยูทา10 เปอรกา อัตราใช 300-400 กรัม/ตน อัตราใช 1 กก./ตน

ฉีดเฉพาะใตทองกิ่ง เพ�อเลี้ยงตาดอกไม ใหดอกฝอ นอกจากการใหอาหารเสริมแลว ควรใช จิ๊บ ปลาคู ในการยืดชอดอก เพ�อใหไดขั้วผลที่ยาวเปนปกติ

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


บำรุงดอก-หางแย ฉีดพนทางใบ

อมฤต แมมมอท แคลเซียม โบรอน อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ อัตราใช 200 ซีซี. ระยะหลังดอกบานจนอายุได 30 วัน เปนระยะที่ออนไหวที่สุด ของผลออน มักมีการหลุดรวงมาก หากมีการแยงอาหารกันเอง หรือมีการลัดใบออนที่มาแยงอาหารของผลออน การจัดการเร�อง น้ำ การแตงดอก การฉีดพนสารอาหารทีผ่ ลออนตองการจึงจำเปน ตองสังเกตพัฒนาการผลออนเปนระยะ หากเกิดการผิดปกติ ผล ออนแดง หนามแดง ตองรีบฉีดพนสารอาหารที่ผลทันที หากมี การลัดใบออนระยะนี้ ตองเรงใบออนใหแกเร็วที่สุด เพราะใบออน จะแยงอาหารผลออนจนผลหลุดรวงมากขึ้นได

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อัตราใช 200 ซีซี.

ใสทางดิน ลดการหลุดรวงของหางแย

ยูทา10 เปอรกา อัตราใช 300-400 กรัม/ตน อัตราใช 1 กก./ตน

ผลที่มีอายุมากกวา 30 วันหลังดอกบาน ตองมีการใหสารอาหาร ที่เพียงพอจึงมีการพัฒนาที่เร็ว ทรงผลสวย แตหากเกิดปญหา ผลเสียทรง หรือภูกระดูก เปลือกหนา หนามเตี้ย จะเกิดจากความไมสมดุลของธาตุไนโตรเจนที่มากเกินไป หรือน้ำฝนมากเกินไป ตองปรับสมดุลแกไขดวย..แมมมอท โฟลิไซม จีเอ และ แมมมอท สุพรีม 0-28-18

เพ�อการพัฒนาดอกใหออกเปนชุดเดียวกันและมากเพียงพอ ควรตัดแตงชอดอกใหเหมาะสมเพียงพอกับจำนวนกิ่งและ ขนาดของตน หากยังมีการแตกใบออนในระยะนี้ตองฉีดพนดวย..แมมมอท โฟลิไซม จีเอ + แมมมอท แคลเซียม โบรอน และ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส เพ�อลดการหลุดรวงของผล และควรเรงใบออนใหแกเร็วที่สุดดวย..แมมมอท โฟลิไซม จีเอ + แมมมอท สุพรีม0-28-18 + แมมมอท ฮอลท และ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การทำสีเนื้อ สรางเนื้อดี สีเนื้อขึ้นไว เนื้อทุเรียนตองใชเวลาในการสรางสี สรางเนื้อ.. เรามักทำทุเรียนกอนฤดู คือ เก็บเกี่ยวภายในเดือนมีนาคม ชาวสวนถูกบีบดวยเวลาที่ตองเพิ่มขนาดผลและสรางเนื้อ เพ�อใหทันกับความตองการของตลาด จึงมีเวลานอยในการ สรางเนื้อ และหากมีฝนตกมาก การสรางสีเนื้อจะชาไปอีก เพราะฝนนำพา น้ำและไนโตรเจนเขาสูผลจำนวนมาก ทำใหการสรางเนื้อเพิ่มอยู ตลอด การสะสมน้ำตาลและแปงทำไดไมดี สีเนื้อจึงไมขึ้น หรือ คืนไดหากตัดขาย เพราะมีไนโตรเจนตกคางที่แกนผล หรือ เปลือกมากเกินไป การลดปริมาณไนโตรเจนที่ผล ตองแทรกแซงดวย ฟอสเฟต โพแทส แคลเซียม และโบรอน โดยการฉีดพนดวย แมมมอท สุพรีม 0-28-18 อัตราใช 200 ซีซี. ที่มีฟอสเฟตโพแทสสูง รวมกับ อั้ม อัตราใช 200 กรัม จะชวยเรงการทำงานของโพแทส เพ�อการสรางและสะสมน้ำตาล และเก็บกักน้ำตาลไวที่เนื้อดวยการฉีดพน.. แมมมอท แคลเซียม โบรอน อัตราใช 200 ซีซี. หรือ โมสาท บี-พลัส อัตราใช 300 ซีซี. ซึ่งจะทำใหระดับไนเตรท ไมเกินในผล ควรฉีดพนอยางนอย 3 ครั้ง กอนการเก็บผล และทางดินใหใส ยูทา10 กอนการเก็บเกี่ยว 1 เดือน จะทำใหเนื้อ ทุเรียนจะมีสีเหลืองจัด สำหรับทุเรียนฝน ที่ตองเก็บเกี่ยวเม�อมีฝนตกลงมาเปนระยะ ตองควบคุมระดับแคลเซียมที่บริเวณรากใหมากเพียงพอ ดวย เปอรกา เพ�อปรับสภาพสารละลายดินใหเปนมิตรกับราก ตัง้ แตกอ นดอกบาน ผลออน และสรางเนือ้ ขึน้ พู เพ�อสูก บั ความเปนกรด จากน้ำฝนทีแ่ ชราก และตองเนนการฉีดดวย แมมมอท สุพรีม 0-28-18 อัตราใช 400-800 ซีซ.ี ตอน้ำ 20 ลิตร เพ�อจัดพู ของผลคุมทรงลูก ไม ใหเปนตะเข มะเฟอง บำรุงลูกตามขั้นตอน หมายเหตุ : กอนเก็บ 7 วัน ตองลดไนโตรเจนที่คางในผลดวย แมมมอท แคลเซียม โบรอน หรือ โมสาท บี-พลัส เพ�อใหไดทุเรียนสีเนื้อดีไมคืน

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ผลออน-เก็บเกี่ยว ฉีดพนทางใบ

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 200 ซีซี.

อั้ม อัตราใช 200 กรัม

ใสทางดิน ลดการหลุดรวงของผลออน เพ�อการขึ้นผลทรงสวย พูไมลีบ ไมฝอ และเพ�อใหไดเปลือกที่แข็ง เขียวสวย การเขาสีเนื้อดี

ยูทา10 เปอรกา อัตราใช 300-400 กรัม/ตน อัตราใช 1 กก./ตน

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


เทคนิคขั้นเทพ เท กับ..


ในชวงระยะดอก เกษตรกรมักจะพบปญหาเร�องดอกเนาอยูบอยครั้ง

โดยเฉพาะในชวงฤดูฝนหรือสภาพอากาศแปรปรวน ซึ่งเปนเร�องยากสุดจะคาดเดาวา จะเปนสาเหตุจากแอนแทรคโนส หรือไฟทอฟทอราเขาทำลายกอน เกษตรกรจึงควรที่จะปองกันดอกเนาดวย..เจอราจ รวมกับ ทาบ็อก ในชวงระยะนี้ นอกจากจะสามารถปองกันโรคไดกวางและครอบคลุมดียิ่งขึ้นแลว ยังสามารถปองกันโรคที่จะเขามาทำลายซ้ำในภายหลังได

บอยครั้ง ที่เกษตรกรพบวา การปองกันกำจัดแมลงและไรศัตรูพืช ไดผลลัพธ

ไมเปนที่นาพอใจนัก เน�องจากปจจุบันแมลงและไรศัตรูพืชมีความตานทาน หรือการดื้อ ตอสารกำจัดแมลงเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรจึงตองมีการใชสารกำจัดแมลงแบบสลับ หมุนเวียนกันไปตามกลไกการออกฤทธิ์ (IRAC) ไมควรใชสารกำจัดแมลงที่มีกลไกการออกฤทธิ์แบบเดียวกันรวมกัน หรือซ้ำติดตอกัน เกิน 2-3 ครั้ง ตัวอยางเชน.. รอบที่ 1 : ใช โอโซพรีน [กลุมที่ 2] รวมกับ แอมเพล [กลุมที่ 4] รอบที่ 2 : ใช โอโซพรีน [กลุมที่ 2] รวมกับ ไพเรทอกซา [กลุมที่ 3] รอบที่ 3 : ใช เดอะเน็กซ [กลุมที่ 6] รวมกับ แอมเพล [กลุมที่ 4] เปนตน ทั้งนี้ เพ�อชะลอความตานทานและมีความยั่งยืนของการใชสารกำจัดแมลง นอกจากจะได ผลลัพธที่มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นแลว ยังสามารถควบคุมศัตรูพืชไดกวางและครอบคลุม ดียิ่งขึ้นอีกดวย

ที่มาขอมูล: http://www.irac-online.org


การปองกันกำจัด

โรคที่สำคัญ

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Corticium salmonicolor เชื้อราสาเหตุอาศัยอยูบนกิ่งและงามกิ่งหรือลำตนพืช ทำใหกิ่ง งามกิ่ง และเปลือกของ ลำตนผุ เม�อฝนตกหรือความชื้นสูง เชื้อราจะเจริญเติบโตขยายลามออกมากขึ้น และอาจ เห็นเสนใยสีชมพูบนรอยแผลที่ขยายขึ้นใหม หากปลอยทิ้งไวกิ่งนั้นใบจะรวงเหลือแตกิ่ง โดยสวนมากเกษตรกรมักพบเห็นอาการในระยะนี้ ซึ่งเปนระยะที่เชื้อมีการลุกลาม และเขา ทำลายเนื้อเย�อพืชไปมากแลว ทำใหตนพืชโทรมและตายไปในที่สุด ทรงพุมที่หนาทึบยอม จะชวยสงเสริมใหเกิดการแพรระบาดของโรคนี้ ไดมากและเร็วขึ้น ทั้งนี้ยังพบลักษณะอาการที่คลายกับโรคราสีชมพูอยูบอยครั้ง คือ พบรอยแผลสีแดง โรคราสีชมพู อมมวง หรือสีแดงอมชมพู อาจพบหรือไมพบเสนใยสีขาวอมชมพูบริเวณรอยแผล เนื้อไมภายในเปลี่ยนเปนสีน้ำตาล มักเกิดบนกิ่งและตามงามกิ่งเชนเดียวกัน หากปลอยทิ้งไวกิ่งนั้นใบจะรวง เหลือแตกิ่ง ทำใหตนพืชโทรมและตายไปในที่สุด ซึ่งลักษณะอาการดังกลาว อาจเปนเชื้อราชนิดอ�นเขาทำลายกอนหรือทำลายซ้ำก็เปนไปได จึงตองมีการศึกษาถึงลักษณะอาการนี้ตอไป การปองกันกำจัด : 1. ใหตัดแตงกิ่งที่เปนโรคออกไปเผาทำลาย และทาแผลที่รอยตัดดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100 กรัม ตอน้ำ 1 ลิตร ใหทั่ว 2. พนลางตนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100-200 กรัม เปนประจำ อาการที่คลายกับราสีชมพู จะชวยใหมโี อกาสปลอดโรคราสีชมพูไดสงู หรือการพน นอรดอ็ กซ ซุปเปอร รวมกับสารปองกันกำจัดโรคพืชอ�นๆ จะสามารถปองกันเชื้อรา หรือเชื้ออ�นๆ ไดกวางและครอบคลุมดียิ่งขึ้น 3. หากพบเสนใย พนดวย ไวตาแวกซ ฆาเชื้อราที่เห็นเสนใยทุกชนิด อัตราใช 200 กรัม 4. อาการคลายราสีชมพู พนดวย ทาบ็อก อัตราใช 300 ซีซี. รวมกับ ดูมารค อัตราใช 400 ซีซี.

ใบจุดสาหราย

เชื้อสาเหตุ : สาหราย Cephaleuros virescens ในสวนที่รกทึบ มีความชื้นสูงและขาดการบำรุงรักษา จะพบวามีสาหรายขึ้นปกคลุมเนื้อใบ มองเห็นเปนสีสนิม สาหรายดูดกินน้ำเลี้ยงใบพืชและลดการสังเคราะหแสง ทำใหตนพืช ทรุดโทรม ผลผลิตและคุณภาพต่ำลง พบการระบาดไดทุกฤดู แตมักพบระบาดรุนแรงใน บริเวณที่มีความชื้นสูงโดยเฉพาะในฤดูฝน การปองกันกำจัด : พนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100 กรัม

หรือใบจุดสนิม ที่มาขอมูล : กรมสงเสริมการเกษตร. 2546. เอกสารวิชาการ เร�อง ทุเรียน. พิมพครั้งที่ 1. 94 หนา ดร.ศรีสุข พูนผลกุล นักวิชาการโรคพืชชำนาญการพิเศษ

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


โรครากเนา โคนเนา

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Phytophthora palmivora Butler เชื้อราสาเหตุจะเขาทำลายระบบรากแลวลุกลามเขาสูทอน้ำ ทออาหาร ทำใหเซลลของทอน้ำ ทออาหารเสียหาย พืชสงน้ำและอาหารไปเลี้ยงสวนตางๆ ไมได สงผลทำใหใบดานสลด ไม เปนมัน และแสดงอาการเหี่ยว เหลือง ตนโทรม หรือยืนตนตาย ลักษณะอาการที่โคนตน และกิ่ง ผิวเปลือกมีน้ำยางสีน้ำตาลแดงไหลออกมาจากรอยแผลแตก เนื้อเย�อเปลือกถูก ทำลายมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเขม จะพบการระบาดรุนแรงมากขึ้นในชวงที่มีฝนตกชุก ติดตอกันหลายวัน ตนทุเรียนที่เปนโรครากเนา โคนเนา จะเหี่ยวตายอยางรวดเร็วในลักษณะยืนตนตาย

การปองกันกำจัด : 1. ระบายน้ำในสวน อยาใหมีการทวมขัง โดยเฉพาะในชวงฤดูฝน 2. บำรุงตนทุเรียนใหแข็งแรง สมบูรณ ตัดแตงกิ่งหรือลำตนที่เปนโรคไปเผา ทำลาย 3. ปรับสภาพดินใหมีความเปนกรด-ดาง ประมาณ 5.5-6.5 ดวย เปอรกา อัตราใช 1-2 กิโลกรัมตอตน เน�องจากในสภาพดินที่มีความเปนกรดจัด จะทำใหพืชออนแอ สงผลใหเชื้อราสาเหตุที่มีอยูทั่วไปในดินเขาทำลายไดงาย 4. ลดปริมาณเชือ้ ราสาเหตุในดินดวย เทอรราโซล อัตราใช 100 ซีซ.ี ตอน้ำ 10-20 ลิตรตอตน ผสมน้ำราดดินภายใน ทรงพุมใหทั่วทุกตน โดยเฉพาะตนที่ยังไมปรากฏอาการใหเห็นทางใบ 5. หากพบแผลบนลำตน ใหถากเปลือกแผลที่เปนโรคออก แลวทาบาดแผลดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100 กรัม รวมกับ เทอรราโซล อัตราใช 100 ซีซี. ตอน้ำ 1 ลิตร ใหทั่ว หมายเหตุ : สามารถผสม โอโซพรีน รวมกับการทาบาดแผล เพ�อปองกันมอดเจาะลำตน

ดอกเนา

ผลเนา

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Phytophthora palmivora Butler เชื้อราสาเหตุชอบอากาศชื้น โดยเฉพาะชวงฝนตกชุก โดยสปอรที่วายน้ำไดจะเขาทำลายใบออน ใบเพสลาด ทำใหใบเนา หลุดรวง ลงไปสะสมอยู ในดิน เม�อทุเรียนออกดอก ออกผล ลมและฝนจะพาเชื้อปลิวขึ้นไปตกบนดอกและผล ทำใหดอกเนาและผลเนา ที่ ดอกจะพบวามีรอยแผลช้ำบนกลีบดอก หากเกิดที่ผลจะเกิดรอยช้ำบนผิวเปลือกเปนสีน้ำตาล ตอมาแผลขยายใหญขึ้นและเปลี่ยน เปนสีน้ำตาลเขมหรือดำ เนื้อของเปลือกนิ่มยุบตัวลง และอาจพบเสนใยสีขาวบริเวณรอยแผล ในบางครั้งพบเชื้อแอนแทรคโนส ที่อาจเขาทำลายกอนหรือหลังรวมอยูดวย จากนั้นดอกและผลอาจรวงหลนลงสูพื้นดินบริเวณโคนตน เปนแหลงสะสมของเชื้อ โรคและเขาทำลายไดในฤดูถัดไป การปองกันกำจัด : 1. พนดวย ทาบ็อก อัตราใช 300-500 ซีซี. รวมกับ เจอราจ อัตราใช 200 ซีซี. 2. กรณีที่ ใบ ดอก และผลทุเรียนเปนโรคแลวและรวงหลนอยูบนพื้นดินภายใตทรงพุม ใหเก็บออกนำไปเผาทำลาย ไมควรปลอย ทิง้ ไวนาน เน�องจากเชือ้ ราสาเหตุสามารถมีชวี ติ และอาศัยอยู ในดินขามฤดู เม�อสภาพแวดลอมเหมาะสมจะทำใหเกิดการติดเชือ้ ได ใหม ในฤดูถัดไป

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การปองกันกำจัด

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Colletotrichum spp.

โรคที่สำคัญ

โรคแอนแทรคโนส

เชื้อราสาเหตุระบาดทั่วไปโดยเฉพาะชวงที่มีสภาพอากาศชื้น หากระบาดรุนแรงทำใหสูญเสีย พื้นที่ ใบในการสังเคราะหแสง และทำให ใบรวง เชือ้ ราสาเหตุทอ่ี าศัยบนใบจะปลิวไปกับลมหรือปะปนไปกับละอองน้ำฝน เชือ้ ราเขาทำลายดอกจะพบราสีเทาดำฟูบนผิวบริเวณ ที่แสดงอาการเนา ทำใหดอกเนาและอาจหลุดรวงเสียหาย หากเกิดที่ผลจะพบแผลเปนจุดสีน้ำตาลขนาดเล็กที่รองหนาม และขยายเปน แผลขนาดใหญ ขอบเขตของรอยแผลคอนขางกลม บริเวณรองหนามมีสีคอนขางดำชัดเจน และอาจพบเชื้อราเปนเมือกสีสม บริเวณรอยแผล การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 200 ซีซี. หรือ ราดาซิม อัตราใช 300-400 ซีซี. หรือ ลาโตเน อัตราใช 200 ซีซี. เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Rhizoctonia solani เชื้อราสาเหตุที่พักตัวอยู ในดิน จะเริ่มเขาทำลายใบที่อยู ใกลผิวดินกอน และแพรระบาดโดย ลมและฝน ไปยังใบและกิ่งขางเคียง ระบาดมากในชวงฤดูฝนและสวนที่รกทึบ ไมมีการตัด แตงกิ่ง ใบที่ถูกทำลายจะมีอาการใบไหม แหง และยึดติดกันดวยเสนใยของเชื้อรา ใบที่เปน โรคจะแหงและรวงหลนอยู ใตตน เปนแหลงสะสมของเชื้อโรคและเขาทำลายไดในฤดูถัดไป การปองกันกำจัด : โรคใบติด 1. พนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 200 กรัม หรือ ไวตาแวกซ อัตราใช 200 กรัม หรือ ลาโตเน อัตราใช 200 ซีซี. 2. กรณีที่ ใบทุเรียนเปนโรคแลวและรวงหลนอยูบนพื้นดินภายใตทรงพุม ใหเก็บ ออกแลวนำไปเผาทำลาย ไมควรปลอยทิง้ ไวนานเน�องจากเชือ้ ราสาเหตุสามารถ มีชีวิต และอาศัยอยู ในดินขามฤดู เม�อสภาพแวดลอมเหมาะสมจะทำใหเกิดการ ติดเชื้อไดใหม ในฤดูถัดไป

โรคราแปง

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Oidium sp. เสนใยของเชื้อราสาเหตุเจริญอยูบนผิวใบ ชอเกสรในดอกและผลออน จะเห็นเปนผงละเอียดสีขาวเกาะอยูภ ายในดอก ทำใหดอกเหีย่ วและอาจรวง หากเกิดที่ผลออนทุเรียน จะมีอาการหนามแตก เปลือกเปนสีน้ำตาล ผล ทุเรียนจะเสียหายและอาจรวงได เพราะเชื้อราดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืช มัก พบการระบาดในชวงอากาศคอนขางแหงและเย็น ที่มีน้ำคางในตอนเชา การปองกันกำจัด : ดูมารค ผิวใสดุจนางงาม อัตราใช 400 ซีซี.

ที่มาขอมูล : กรมสงเสริมการเกษตร. 2546. เอกสารวิชาการ เร�อง ทุเรียน. พิมพครั้งที่ 1. 94 หนา ดร.ศรีสุข พูนผลกุล นักวิชาการโรคพืชชำนาญการพิเศษ

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ลดการใชโดโลไมตและปุยเคมี ฆาเชื้อราในดิน ปรับ pH ดิน ลดปญหาดินเปนกรด ฆาลูกหญาและเมล็ดหญา สงเสริมการแตกรากใหม ลดปญหาตนทุเรียนตาย ลางสารแพคโคลบิวทราซอลในดิน อัตราใช : 1-2 กิโลกรัมตอตน วิธีการใช : 1. ใสเมื่อทุเรียนเริ่มมีดอก และกอนดอกบาน เพื่อการติดดอกที่ดี แมสภาวะวิกฤติ 2. ใสเมื่อทุเรียนมีผลออน เพื่อสรางเม็ดและเปลือก 3. ใสเมื่อผลทุเรียนมีอายุ 1 เดือน เพื่อการสรางเนื้อ ขึ้นพู มีทรงผลที่ดี 4. ใสชวงฟนตนหลังเก็บเกี่ยว

ป อ  ท ฟ ไ ด ิ ก เ น  ต หมดปญหา


การปองกันกำจัด

แมลงศัตรูสำคัญ

ช�อวิทยาศาสตร : Amrasca durianae Hongsaprug ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลีย้ งทีย่ อดออน ใบออน ทำใหใบไหม แหงกรอบ ใบหอ มวนงอ และหลุดรวงไปในที่สุด มีผลกระทบตอการออกดอก ติดผลของทุเรียน เพลี้ยจักจั่นสามารถเคล�อนที่บนใบไดรวดเร็วมาก ยากแกการสังเกต พบการระบาด รุนแรงในชวงทุเรียนแตกใบออน

เพลี้ยจักจั่นฝอย การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 100 กรัม หรือ แอคเม อัตราใช 300-400 ซีซี.

เพลี้ยไกแจทุเรียน

ช�อวิทยาศาสตร : Allocaridala malayensis (D.L. Crawford) ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดออน ใบออน ทำใหใบหงิกงอ ไมคลี่กางออก และหลุดรวงไปในที่สุด ตัวออนสามารถ สรางสารที่เปนไขสีขาวปกคลุมอยูที่ตัวและติดอยูที่ ใบ เกษตรกรจึงมักเรียกกันวา เพลี้ยไกแจ หรือเพลี้ยไกฟา สวนตัวเต็มวัยมี รูปรางคลายจักจั่นขนาดจิ๋ว และมีหนวดยาว ไมมีคราบไขสีขาวปกคลุม พบการระบาดรุนแรงในชวงทุเรียนแตกใบออน

ไรแดงแอฟริกัน ช�อวิทยาศาสตร : Eutetranychus africanus (Tucker) ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ ใบ ทั้งหนาใบและหลังใบของทุเรียน ทำใหใบมีสีเขียวซีดลง ผิวใบดาน มีคราบของไรแดง คลายฝุนผง และใบรวงไปในที่สุด มีผลกระทบตอการออกดอก ติดผลของทุเรียน ไรแดงระบาดโดยการอาศัยปลิวไปตามลม พบการระบาดรุนแรงในชวงแหงแลง หรือฝนทิ้งชวง สำรวจการระบาดของไรแดงไดโดยการใชนิ้วมือลูบไปบนใบ จะพบวามีคราบ สีแดงคลายเลือดติดมาตามนิ้วมือ การปองกันกำจัด : ไมทราซ อัตราใช 300 ซีซี. หรือ โอโซเบน อัตราใช 200 กรัม

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


เพลี้ยไฟ

เพลี้ยไฟ

ในทุเรียนพบเพลี้ยไฟหลากหลายชนิด ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดออน ชอดอก และผลออน ใบที่ถูกทำลายพบ รอยไหม และหงิกงอ สวนดอกจะเกิดเปนแผลสีเทาเงินเกือบดำ ทำใหเปนดอกที่ ไมสมบูรณ ไมติดผล และดอกรวงไปในที่สุด หาก เขาทำลายในระยะดอกบานหรือผลออน จะทำใหเกิดแผล เนื้อตาย มีอาการหัวจีบ หนามติด เพลี้ยไฟระบาดโดยการบินหรือปลิวไปตามลม และมีการระบาดรุนแรง ในชวงแหงแลงหรือฝนทิ้งชวง สามารถสำรวจการระบาดของเพลี้ยไฟได โดยการเคาะสวนยอดหรือ ชอดอก บนกระดาษขาวแลวตรวจนับจำนวนเพลี้ยไฟที่พบ การปองกันกำจัด : อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ โอโซพรีน อัตราใช 300 ซีซี. หรือ เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม

เพลี้ยแปง

เพลี้ยปุยฝาย

เพลี้ยหอยเกล็ด

เพลี้ยแปง ทำความเสียหายใหกับทุเรียนโดยสามารถดูดกินน้ำเลี้ยงไดเกือบทุกสวน โดยเฉพาะที่ผล จะแคระแกรนไมขยายใหญ เพลี้ยแปงที่ดูดกินน้ำเลี้ยงยังถายมูลน้ำหวานทิ้งเอาไว เปนอาหารของมด โดยมดเหลานีจ้ ะเปนตัวนำพาเพลีย้ แปงขึน้ มาทีผ่ ล แลวเกิดราดำขึน้ มา ทำใหผลมีคราบสีดำแลดูสกปรก และไมไดราคาเม�อเก็บผลผลิตไปจำหนาย เพลี้ยปุยฝาย หรือเพลี้ยแปงปุยฝาย จะสรางเสนใยเปนไขสีขาวปกคลุมอยูตามบริเวณกิ่ง และดูด กินน้ำเลี้ยงที่กิ่งทำใหกิ่งนั้นแหงตาย สวนเพลี้ยหอยเกล็ด หรือเพลี้ยนาสาร มีลักษณะคลายเมล็ดขาวสารสีขาวเล็กๆ เกาะติดอยูบริเวณ ใบเปนกลุม โดยจะดูดกินน้ำเลีย้ งที่ ใบทำใหใบเหลืองและรวงไปในทีส่ ดุ แมลงจำพวกนีม้ ผี วิ เปนไขทีห่ นา หลายชั้นเปนเกราะ จำเปนตองใชสารปองกันกำจัดแมลงชนิดดูดซึมจึงจะไดผลดี การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 100 กรัม ที่มาขอมูล : กรมสงเสริมการเกษตร. 2546. เอกสารวิชาการ เร�อง ทุเรียน. พิมพครั้งที่ 1. 94 หนา ศรุต สุทธิอารมณ. 2559. การปองกันกำจัดแมลงศัตรูไมผลและเทคนิคการพนสารที่เหมาะสม. น. 1-18. ใน เอกสารประกอบการอบรม. สมาคมกีฏและสัตววิทยาแหงประเทศไทย

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การปองกันกำจัด

แมลงศัตรูสำคัญ

ช�อวิทยาศาสตร : หนอนเจาะดอก Conogethes punctiferalis (Guenee) ตัวหนอนจะกินอยูที่ผิวเปลือกทุเรียนตั้งแตผลทุเรียนอายุ 2 เดือนจนถึงผลใหญ บริเวณทีผ่ ลทุเรียนติดกันมักพบหนอนกินอยูบ ริเวณนัน้ หรือเจาะกินอยู ในผลใกล กับขั้วผลแตจะไมเจาะกินถึงเมล็ด ทำใหผลเนาและโดนเชื้อราเขาทำลายซ้ำ ผลมีตำหนิ และไมไดราคาเม�อเก็บผลผลิตไปจำหนาย การปองกันกำจัด : 1. เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม หรือ ไพเรทอกซา ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี. หรือ แบคโทสปน เอฟ.ซี. ปลอดภัยไรพิษตกคาง อัตราใช 600-800 ซีซี. 2. ใชกิ่งไมคั่นระหวางผลที่อยูติดกัน

หนอนเจาะเมล็ด

แมลงคอมทอง

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

หนอนเจาะผล

ช�อวิทยาศาสตร : Mudaria luteileprosa Holloway ตัวเต็มวัยวางไขไวบนผลทุเรียนใกลๆ กับขั้วผล เม�อผลทุเรียนอายุ 6 สัปดาห จนถึง ระยะเก็บเกีย่ ว เม�อหนอนฟกเปนตัวก็จะเจาะไชเขาไปกัดกินเมล็ดทุเรียนและถายมูลออกมา ทำใหเนื้อทุเรียนเปรอะเปอนเสียหาย หนอนจะอาศัยอยู ในผลทุเรียนจนกระทั่งผลแกและ เม�อตัวหนอนโตเต็มที่จึงจะเจาะเปลือกเปนรูกลมออกมา เพ�อเขาดักแดในดิน ผลทุเรียน ที่ถูกทำลายสวนใหญจะอยู ในระยะที่เมล็ดแข็งแลว การปองกันกำจัด : พนปองกันตั้งแตระยะผลออน ดวย เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม หรือ ไพเรทอกซา ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี. ช�อวิทยาศาสตร : Hypomeces squamosus Fab. เปนแมลงจำพวกดวงปกแข็ง ตัวเต็มวัยเปนดวงงวงมีหลายสี เชน เหลือง เทา ดำ หรือ เขียวปนเหลือง มีปากกัดกินเปนงวงย�นเห็นไดชดั แมลงคอมทองกัดกินใบและยอดออน ทำใหใบเสียหายและชะงักการเจริญเติบโต ตัวเต็มวัย อยูรวมกันเปนกลุมๆ ชอบอาศัยอยู ใตใบ เม�อถูก รบกวนหรือถูกกระทบกระเทือนจะทิ้งตัวลงสูพื้นดิน การปองกันกำจัด : ไพเรทอกซา ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี. หรือ โอโซพรีน อัตราใช 300-400 ซีซี. หรือ แอคเม อัตราใช 300-400 ซีซี.


ดวงบาหนามจุดนูนดำ

ลักษณะการทำลาย

ช�อวิทยาศาสตร : Batocera rufomaculata De Geer ตัวเต็มวัยเปนดวงหนวดยาวชนิดหนึ่ง หนอนที่ฟกออกมาใหมจะมีสีขาวครีม เริ่มกัดกินชอนไชอยูภายใตเปลือกไม และถายมูล ออกมาเปนขุยไมติดอยูภายนอกเปนระยะๆ หนอนที่โตเต็มที่มีขนาดยาว 8-10 เซนติเมตร มีระยะหนอน 280 วัน จากนั้นจะเริ่ม เจาะเขาเนื้อไมแข็ง หดตัว และเขาดักแด จนออกมาเปนตัวเต็มวัย จึงเจาะออกสูภายนอกตอไป การปองกันกำจัด : ถากเปลือกไมบริเวณที่มีรอยทำลายออกกอน แลวพนดวย โอโซพรีน อัตราใช 500-800 ซีซี.

มอดเจาะลำตน

ลักษณะการทำลาย

ช�อวิทยาศาสตร : Xyleborus fornicatus (Eichhoff) ตัวหนอนและตัวเต็มวัยจะเจาะเขาไปกินในลำตนและกิ่งของทุเรียน สวนมากพบการเขาทำลายบริเวณโคนตนและกิ่งทุเรียนที่เปน โรครากเนา โคนเนา ตนทุเรียนที่ถูกทำลายจะสังเกตเห็นรูพรุนตามโคนตน และที่ปากรูจะมีมูลของหนอนเปนขุยละเอียดอยูทั่วไป รอยเจาะของมอดเปนสาเหตุหนึ่งทำใหเกิดโรครากเนา โคนเนา เขาทำลายซ้ำ หรือทำใหโรคแพรกระจายไปยังสวนอ�นๆ ของ ตนทุเรียน และทำใหตนทุเรียนตายในที่สุด การปองกันกำจัด : 1. พนตามโคนตนหรือกิ่งที่มีรอยทำลายดวย แอคเม อัตราใช 300-400 ซีซี. หรือ โอโซพรีน อัตราใช 300 ซีซี. 2. ผสม แอคเม อัตราใช 100 ซีซี. หรือ โอโซพรีน อัตราใช 100 ซีซี.ตอน้ำ 1 ลิตร รวมกับการทาบาดแผล โรครากเนา โคนเนา

ยาเย็น ปลอดภัย ใชไดทุกชวง ที่มาขอมูล : กรมสงเสริมการเกษตร. 2546. เอกสารวิชาการ เร�อง ทุเรียน. พิมพครั้งที่ 1. 94 หนา ศรุต สุทธิอารมณ. 2559. การปองกันกำจัดแมลงศัตรูไมผลและเทคนิคการพนสารที่เหมาะสม. น. 1-18. ใน เอกสารประกอบการอบรม. สมาคมกีฏและสัตววิทยาแหงประเทศไทย

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


อาหารเสริม ขั้นเทพ

ยูทา10

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส

แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม

แมมมอท คอมบิ

เปนธาตุอาหารพืชชนิดเม็ดคีเลท ชวยลดการสูญเสียธาตุอาหารจากการถูกตรึงโดยอนุภาคดิน ธาตุอาหารสามารถเขาสูรากฝอยไดงาย พืชดูดกินไดอยางตอเน�อง ใชพลังงานนอยในการดูดซึม

อะมิโน+น้ำตาลทางดวน ชวยเพิ่มพลังงานใหรากพืช กระตุนการแตกตาใบและตาดอก ชวยใหพืชฟนตนหลังเก็บเกี่ยว

ชวยการสะสมอาหารกอนออกดอก ชวยใหเซลลพืชแข็งแรง ปองกันการแตก ชวยใหผลไมเนื้อแนน เขาสีสวย

ธาตุอาหารรวม 5 ชนิด ชวยการสะสมอาหาร กอนออกดอก ปองกันการขาดธาตุอาหารในพืช ชวยใหเนื้อผลไมเขาสีไดดี

เปอรกา

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ

แมมมอท แคลเซียม โบรอน

แมมมอท สุพรีม 0-28-18

ชวยลดการใชโดโลไมตและปุยเคมี ลางสารแพคโคบิวทราโซลในดิน ปรับpHดิน ลดปญหาดินเปนกรด ลดปญหาตนตาย ตนแข็งแรง สงเสริมการแตกรากใหม ใบหนา ลดการเกิดใบไหม

ฟอสเฟต+โพแทส ชวยเรงผลโต ขั้วผลแข็งแรง ลดผลรวง ชวยการกระจายอาหารไปทุกๆ สวนของพืช สะสมอาหาร เพ�อเพิ่มปริมาณดอกใหมากขึ้น

ควบคุมการคายน้ำของพืช ชวยใหดอกสมบูรณ ผสมติดผลงาย ชวยเคล�อนยายน้ำตาลจากใบไปยังผล เพิ่มคุณภาพผลผลิตที่ดีกอนเก็บเกี่ยว

ทำงานโดยตรงสูสวนใบที่ ใชสังเคราะหแสง และน้ำตาลที่ ใบรองยอด ชวยใหพืชสรางดอกมากกวาใบ ฉีดพนชวงเตรียมใบ สะสมอาหารเพ�อการออกดอก และจัดสมดุลไนโตรเจน

ฟูลเฮาส

แมมมอท ฟองดู

อั้ม

ไฮบริด เอสบี

สงเสริมการเจริญเติบโตของราก เสริมดินสมบูรณ ใหพืชดูดกินอาหารไดอยางเต็มที่

อะมิโน+สาหรายเขียว กระตุนการแตกตาใบและตาดอก ชวยใหพืชฟนตนหลังเก็บเกี่ยว เรงการแตกรากฝอยใหม

สารปรับปรุงผล ขยายขนาดผลใหญ ชวยการสะสมน้ำตาลและแปงในผลอยางมีประสิทธิภาพ

สารปรับปรับสภาพน้ำ+สารจับใบ เพิ่มประสิทธิภาพการแผกระจายและจับติด


เทคนิคการทำ ฟนตน

สะสมอาหาร

ทุเรียน ขั้นเทพ เปดตาดอก

บำรุงดอก -หางแยไหม ฉีดพนในทรงพุม แมมมอท โฟลิไซม จีเอ 200 ซีซี.

แมมมอท คอมบิ แมมมอท ฟองดู 200 ซีซี. 200 ซีซี.

แมมมอท โกรกรีน 10-52-10 แคลเซียม แม็กนีเซียม 200 ซีซี. 500 กรัม

จิ๊บ ปลาคู 50 ซีซี.

แมมมอท สุพรีม 0-28-18 400 ซีซี.

ผลออน -เก็บเกี่ยว ฉีดพนในทรงพุม แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส 200 ซีซี.

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ 200 ซีซี.

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส 200 ซีซี.

อมฤต 200 ซีซี.

แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม 200 ซีซี.

อั้ม อัพไซส ผลใหญ 200 กรัม

แมมมอท ฟองดู แมมมอท 200 ซีซี. ชูการ เอ็กซเพรส 200 ซีซี.

แมมมอท แคลเซียม โบรอน 200 ซีซี.

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ 200 ซีซี.

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

จิ๊บ ปลาคู 50 ซีซี.

อมฤต 200 ซีซี.

เปอรกา 1 กก./ตน ยูทา10 300-400 กรัม/ตน

เปอรกา 1 กก.*

ฟูลเฮาส 300-500 กรัม* *อัตราใชตอตน ตามขนาดทรงพุม

ลดการหลุดรวงของหางแย

เปอรกา 1 กก./ตน

ยูทา10 300-400 กรัม/ตน

ลดการหลุดรวงของดอก

ควรใส อมฤต ทุกครั้งที่มีการฉีดยา ชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดูดซึมอาหาร เพ�อการสะสมอาหาร เพิ่มปริมาณดอก ขยายขนาดผล ปองกันตนโทรม สามารถใชรวมกับ อาหารเสริมไดในทุกชวงการเจริญเติบโตของพืช และทำให พืชจัดสรรธาตุอาหารในตนไดดียิ่งขึ้น อัตราใช 200 ซีซี.

เปอรกา 1 กก./ตน ยูทา10 300-400 กรัม/ตน

ลดการหลุดรวงของผลออน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.