The syally

Page 1

ฉันทลักษณ์ ฉันทลักษณ์ หมายถึง ลักษณะบังคับของคำาประพันธ์ไทย ซึ่งกำาชัย ทองหล่อให้ความหมายไว้วา่ ฉันทลักษณ์ คือตำาราที่วา่ ด้วยวิธีร้อยกรองถ้อยคำาหรื อเรี ยบเรี ยงถ้อยคำาให้เป็ นระเบียบตามลักษณะบังคับและ บัญญัติที่นกั ปราชญ์ได้วา่ งเป็ นแบบไว้ ถ้อยคำาที่ร้อยกรองขึ้นตามลักษณะบัญญัติแห่ งฉันทลักษณ์ เรี ยกว่า คำำ ประพันธ์ [1] และได้ให้ความหมายของ คำำประพันธ์ คือถ้อยคำาที่ได้ร้อยกรองหรื อเรี ยบเรี ยงขึ้น โดยมีขอ้ บังคับ จำากัดคำาและวรรคตอนให้รับสัมผัสกัน ไพเราะ ตามกฎเกณฑ์ที่ได้วางไว้ในฉันทลักษณ์ โดยแบ่งเป็ น 7 ชนิด คือ โคลง ร่ าย ลิลิต กลอน กาพย์ ฉันท์ กล ซึ่งก็คือ ร้อยกรองไทย นัน่ เอง ร้อยกรองไทยมีความหมาย 2 นัย นัยหนึ่งหมายถึงการแต่งหนังสื อดีให้มีความไพเราะ อีกนัยหนึ่งหมาย ถึงถ้อยคำาที่เรี ยบเรี ยงให้เป็ นระเบียบตามบทบัญญัติแห่ งฉันทลักษณ์ ทั้งนี้ ยังมีอีกหลายคำาที่มีความหมายทำานอง เดียวกัน เช่น กวีนิพนธ์ บทกวี บทประพันธ์ กวีวจั นะ ลำานำา บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานต์ กานต์ รวมทั้งคำา ว่าฉันท์ กาพย์และกลอนด้วย[2] บทความนี้มุ่งให้ความรู ้เรื่ องลักษณะบังคับของร้อยกรองไทยเป็ นสำาคัญ เพื่อเป็ น พื้นฐานในการทำาความเข้าใจคำาประพันธ์ไทยต่อไป เนือ้ หา •

1 ตำาราฉันทลักษณ์ไทย 2 การแบ่งฉันทลักษณ์

3 ลักษณะบังคับ

o

3.1 ครุ ลหุ

o

3.2 เอก โท

o

3.3 คณะ

o

3.4 พยางค์

o

3.5 สัมผัส

o

3.6 คำาเป็ นคำาตาย

o

3.7 คำานำา


o

3.8 คำาสร้อย

ตำาราฉันทลักษณ์ ไทย ตำาราแต่งร้อยกรองไทยที่ถือเป็ นตำาราหลักเท่าที่ปรากฏต้นฉบับในปั จจุบนั มีอยู่ 7 เล่ม ส่ วนใหญ่เป็ นตำารา แต่งกวีนิพนธ์แบบฉบับ ได้แก่ 1. 2.

จินดามณี ประชุมจารึ กวัดพระเชตุพน

3.

ชุมนุมตำารากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ

4.

ประชุมลำานำา ของ หลวงธรรมาภิมณฑ์

5.

ฉันทศาสตร์ ของ นายฉันท์ ขำาวิไล

6.

ฉันทลักษณ์ ของ พระยาอุปกิตศิลปสาร

7.

คัมภีร์สุโพธาลังการ แปลโดย น.อ.แย้ม ประพัฒน์ทอง


การแบ่ งฉันทลักษณ์ สุ ภาพร มากแจ้ ง[3] ได้วิเคราะห์ฉนั ทลักษณ์ร้อยกรองไทยไว้อย่างละเอียดใน กวีนิพนธ์ ไทย ซึ่งกล่าวว่าการแบ่งฉันทลักษณ์อย่างแคบและนิยมใช้อยูท่ วั่ ไปจะได้ 5 ชนิดใหญ่ ๆ แต่หากรวมคำา ประพันธ์ทอ้ งถิ่นเข้าไปด้วยจะได้ 10 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่ 1. 2.

โคลง ฉันท์

3.

กาพย์

4.

กลอน

5.

ร่ าย

6.

กานต์

7.

ค่าว

8.

กาพย์ (เหนือ)

9.

กาบ (อีสาน)

10.

กอน (อีสาน) คำาประพันธ์ท้ งั 10 ชนิดนี้ ถ้านำามาแบ่งตามลักษณะบังคับร่ วมจะได้ 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 ไม่บังคับวรรณยุกต์ ได้แก่ ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และกานต์ กลุ่มที่ 2 บังคับวรรณยุกต์ ได้แก่ โคลง กอน (อีสาน) กาบ (อีสาน) กาพย์ (เหนือ) และค่าว

ลักษณะบังคับ หมายถึง ลักษณะบังคับที่มีในคำาประพันธ์ไทย ได้แก่ 1.

ครุ ลหุ


2.

เอก โท

3.

คณะ

4.

พยางค์

5.

สัมผัส

6.

คำาเป็ น คำาตาย

7.

คำานำา

8.

คำาสร้อย

ครุ คือพยางค์ที่มีเสี ยงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วย สระเสี ยงยาว (ทีฆสระ) และ สระเกินทั้ง 4 คือ สระ อำา ใอ ไอ เอา และพยางค์ที่มีตวั สะกดทั้งสิ้ น เช่น ตา ดำา หัด เรี ยน ฯลฯ ลหุ คือพยางค์ที่มีเสี ยงเบา ได้แก่พยางค์ที่ประกอบด้วย สระสั้น (รัสสระ) ที่ไม่มีตวั สะกด เช่น พระ จะ มิ ดุ แกะ ฯลฯ

เอก โท •

เอก คือพยางค์หรื อคำาที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำาตายทั้งสิ้ น ซึ่งในโคลง และร่ าย ใช้เอกแทนได้ เช่น พ่อ แม่ พี่ ปู่ ชิ ชะ มัก มาก ฯลฯ โท คือพยางค์หรื อคำาที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น น้า ป้ า ช้าง นี้นอ้ ง ต้อง เลี้ยว ฯลฯ

คณะ •

คณะ กล่าวโดยทัว่ ไปคือแบบบังคับที่วางเป็ นกำาหนดกฎเกณฑ์ไว้วา่ คำาประพันธ์ชนิดนั้น จะต้องมี เท่านั้นวรรค เท่านั้นคำา และต้องมีเอกโท ครุ ลหุ ตรงนั้นตรงนี้ แต่สาำ หรับใน ฉันท์ คำาว่า คณะ มีความหมายแคบ คือหมายถึง ลักษณะที่วางคำาเสี ยงหนัก เสี ยงเบา ที่ เรี ยกว่า ครุ ลหุ และแบ่งออกเป็ น 8 คณะ คณะหนึ่งมีคาำ อยู่ 3 คำา เรี ยง ครุ ลหุ ไว้ต่างๆ กัน คณะทั้ง 8 นั้น คือ ย ร ต ภ ช ส ม น ชื่อคณะทั้ง 8 นี้ เป็ นอักษรที่ยอ่ มาจากคำาเต็ม คือ


ย มาจาก ยชมาน แปลว่า พราหมณ์บูชายัญ ร มาจาก รวิ แปลว่า พระอาทิตย์ ต มาจาก โตย แปลว่า น้าำ ภ มาจาก ภูมิ แปลว่า ดิน ช มาจาก ชลน แปลว่า ไฟ ส มาจาก โสม แปลว่า พระจันทร์ ม มาจาก มารุ ต แปลว่า ลม น มาจาก นภ แปลว่า ฟ้ า

ก็ขาดรสไพ

จะขาดสัมผัสในเสี ยมิได

[แก้ ] คำาเป็ นคำาตาย •

คำาเป็ น คือคำาที่ไม สะกด ในแม่กน ก อำา ใอ ไอ เอาเช่น คำาตาย คือคำาไม่ม เอา) และคำาที่มีตวั โคลงทุกชนิด ใช้ค

[แก้ ] คำานำา

คำานำา คือคำาท บ้าง เช่น เมื่อนั้น บัดนั้น นามตรงๆ เหมือนอย่าง นี้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.