ธรรมชาติของภาษา
จุดประสงค์ ทวั่ ไป ๑. เข้าใจธรรมชาติของภาษา ๒. เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของภาษา จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม ๑.อธิ บายธรรมชาติของภาษาได้ ๒.อธิ บายปัจจัยและกระบวนการเปลี่ยนแปลงของภาษาได้ เนือ้ หาสาระ ภาษาคือสิ่ งที่มนุษย์กาำ หนดขึ้นเพื่อใช้สื่อสารกันในกลุ่มโดยธรรมชาติแล้วภาษามิได้เกิดขึ้ นเอง มนุษย์ใช้สญ ั ลักษณ์แทนความหมายของสิ่ งต่าง ๆ แตกต่างกันไป และภาษามีการเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลเวลาด้วยปัจจัยด้านต่าง ๆ ในการออกเสี ยง การกลายเสี ยง และความเจริ ญก้าวหน้าทางวิชาการ
ธรรมชาติของภาษา ภาษาอาจรวมถึงภาษาพูด ภาษาเขียน หรื อภาษาที่เป็ นร้อยแก้วและร้อยกรอง ภาษาคือสิ่ งที่แสดง เอกลักษณ์และวัฒนธรรมของกลุ่มชน ซึ่งอาจคล้ายกันและแตกต่างกันไปตามโครงสร้างของสังคมนั้นๆ ไม่วา่ จะเป็ นภาษาใด ๆ ก็มีสิ่งที่หน้าสังเกตอันเป็ นเอกลักษณะธรรมชาติของภาษาอยูห่ ลายประการดังนี้ ๑. ภาษาทุกภาษาย่อมมีระบบเสี ยง การสร้างความและการเรี ยงคำาให้เป็ นประโยค เพื่อใช้ในการสื่ อสารใน กลุ่มของตน ๒. ภาษาเป็ นสัญลักษณ์เฉพาะกลุ่มที่ตอ้ งเข้าใจตรงกัน ทั้งในเรื่ องเสี ยง คำาประโยค และความหมาย ๓. ภาษามิได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่เป็ นสิ่ งที่มนุษย์ในสังคมแต่ละกลุ่มกำาหนดขึ้นมาเพื่อ ใช้สื่อสารในกลุ่มเดียวกัน ๔. ภาษานอกจากจะใช้สื่อสารในกลุ่มเดียวกันแล้ว ในบางครั้งภาษายังมีอธิ พลต่อภาษาของ กลุ่มชนอื่น ๆ อีกด้วย ทั้งนี้เพื่อให้คาำ ใช้ในการสื่ อสารมากขึ้น ๕. ภาษามีวฒั นาการและมีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา หากกลุ่มชนแต่ละกลุ่มมีการติดต่อ
สื่ อสาร และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ๖. ภาษามีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลาทั้งในด้านระบบเสี ยง การใช้คาำ ความหมาย เช่น การยืมคำาภาษาอื่นมาใช้ในภาษาของตน การใช้คาำ ทับศัพท์ ตลอดจนการบัญญัติคาำ ศัพท์แทน ภาษาอื่น เป็ นต้น ๗. ภาษาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงคือภาษาที่ไม่มีใครใช้พดู กันแล้วเราเรี ยกว่าภาษาตาย ได้แก่ ภาษาบาลี สันตกฤต ลาติน กรี ก เป็ นต้น ๘. ภาษาพูดมักเกิดขึ้นก่อนภาษาเขียน เพราะภาษาพูดเป็ นภาษาที่ใช้สื่อสารได้ง่าย และรวดเร็ ว และสามารถใช้สื่อสารกันได้โดยตรง ๙. ภาษาเขียนคือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสี ยง และเขียนขึ้นเพื่อถ่ายถอดความรู ้ความคิดของ ผูต้ อ้ ง การ สื่ อสาร การเปลีย่ นแปลงทางภาษา การเปลี่ยนแปลงทางภาษาเป็ นธรรมชาติของภาษาที่ยงั ไม่ตาย มักมีคนพูดว่าการนำาภาษา ไปใช้สื่อสารในบางโอกาสที่ทาำ ให้เสี ยงเปลี่ยนไปตามความหมายเปลี่ยนไปตามภาษาวิบตั ิ ภาษาคงไม่มี การวิบตั ิตราบที่ภาษานั้นยังใช้สื่อสารเข้าใจ แต่น่าจะเป็ นวิวฒั นาการของภาษามากกว่าการวิบตั ิการเปลี่ยน แปลงของภาษามีหลายกรณีเช่น การเปลี่ยนแปลงด้านเสี ยง คำา ความหมาย และไวยากรณี โดยมีปัจจัย และกระบวนการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ ๑. ปัจจัยที่ทำาให้ ภาษามีการเปลีย่ นแปลง ภาษามักมีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ เพราะมีการใช้ภาษาสื่ อสารกันอยูท่ ุกวัน ภาษาที่มี การเปลี่ยนแปลงได้เร็ วคือภาษาพูด อาจจะได้รับอิทธิ พลจากสื่ อมวลชนหลายสาขา สำาหรับภาษาเขียน อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงช้ากว่า เพราะภาษาเขียนมักจะได้รับอธิ พลความก้าวหน้าทางวิชาการ อย่างไร ก็ตามมีปัจจัยที่ทาำ ให้ภาษามีการเปลี่ยนแปลงหลายประการ ดังนี้ ๑.๑ ปัจจัยด้ านการออกเสียง เสี ยงในภาษาเฉพาะภาษาไทยประกอบด้วยเสี ยงพยัญชนะ เสี ยงสระ และเสี ยงวรรณยุกต์ คำาบางคำายืม มาจากภาษาอื่น ๆ การออกเสี ยงแตกต่างไปจากเสี ยงในภาษาไทย เพื่อความสะดวกในการ ออกเสี ยงจึงมีการเปลี่ยนแปลงเสี ยงอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้การออกเสี ยงง่ายขึ้นดังเช่น การแผลง เป็ นการเปลี่ยนแปลงรู ปคำาหรื อเสี ยงให้ต่างไปจากเดิม ลักษณะของการแผลงคำา ได้แก่ การแผงสระ การแผลงพยัญชนะ และวรรณยุกต์ เช่น การแผลงสระ
ประโมทย์ ชย จังหรี ด วชิร พัชร รพี ศาลา ตาปู ตาวัน รวิ นีติ พีช พิเราะ พิศาล วิตาล คุง สาธุ
เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น
ปราโมทย์ ชัย จิ้งหรี ด วิเชียร เพชร รำาไพ ศาล ตะปู ตะวัน รวี เนติ พืช ไพเราะ ไพศาล เพดาล ดง สาธร
การแผลงพยัญชนะ กะท้อน แข็ง ขมอง ขาว จลาด ชาญ ชเล ช้าง
เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น
กระท้อน กำาแหง สมอง สกาว ตลาด ชำานาญ ทะเล ช้าง
ถนิม ตารา ตรุ ณ ผสม ผชุม
เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น
สนิม ดารา ดรุ ณ ประสม ประชุม
การแผลงวรรณยุกต์ จึง ดัง เทห เลห เสนน บ
เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น
จึ่ง ดัง่ เท่ห์ เล่ห์ เสนห์ บ่
นอกจาการแผลงแล้วการใช้ภาษาสื่ อสารในปั จจุบนั ผูส้ ื่ อสารมักออกเสี ยงง่าย ๆ เข้าใจกัน ในกลุ่มเช่น อย่างไร อย่างนี้ อย่างนั้น หรื อ ทำาไม มหาวิทยาลัย
เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น เป็ น
ยังไง ยังงี้ ยังงั้น รื ทำามะ มหาลัย
ปั จจัยในการออกเสี ยงโดยเฉพาะภาษาพูดมีการเปล่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา เนื่องจาก มนุษย์สมั ผัส กับการเปลี่ยนแปลงสื่ อเทคโนโลยีท่ ีีมีวิวฒั นาการไปตามกระแสสังคมโลก อยูต่ ลอดเวลา ๑.๒ ปัจจัยด้ านผู้สื่อสาร ผูส้ ื่ อสารในที่น้ ี หมายถึงผูส้ ่ งสารกับผูร้ ับสาร ซึ่งสื่ อสารซึ่งกันและกัน และสิ่ งที่เป็ นปัจจัยสำาคัญที่ทาำ ให้ภาษามีการเปลี่ยนแปลงคือเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ชนชั้นสังคม และชาติพนั
ะธุ์
เพศ เพศ ผูท้ ี่ใช้ภาษาในการสื่ อสารมีท้ งั เพศชายและเพศหญิง การสื่ อสาร ซึ่ง กัน ย่อมมีการ เปลี่ยนแปลงไปตามเพศำาบางคำาที่ใช้เฉพาะเพศเช่นผมกระผม นาย อัว๊ เฮีย ข้า สามี ใช้สื่อสารกัน เฉพาะกลุ่มผูช้ าย และ ฉัน ดิฉนั เธอ ป้ า น้า ภรรยา ใช้สื่อสารกันเฉพาะกลุ่มผูห้ ญิงหรื อแม้แต่คาำ อื่น ๆผูช้ ายจะ สื่ อสารกับผูห้ ญิงก็มกั่ จะเลือกสรรถ้อยคำาที่สุภาพและเหมาะสม กับเพศ อายุ อายุ อายุเป็ นส่ วนสำาคัญที่ทาำ ให้ภาษามีส่วนเปลี่ยนแปลง เพราะคนที่ มีอายุ แตกต่างกันย่อม ใช้ภาษาต่าง ๆ บ้างตาม การเปลี่ยนแปลง ของสังคม คน รุ่ นปู่ ย่า ตา ยายอาจจะใช้ภาษาอีกแบบหนึ่งแต่เด็กรุ่ นหลานอาจจะใช้ภาษา อีกแบบหนึ่ง ซึ่งคนรุ่ นเก่า ๆ อาจจะไม่รู้จกั ไม่เข้าใจ โดยเฉพาะคำาแสลง
ภาษาเดิม เหนื่อย หัวเราะ สนุกสนาน ฉวยโอกาส สวยมาก
ภาษาแสง เมื่อยตุม้ ฮาตรึ ม มันส์ มัว่ นิ่ม จ๊าบ
ความหมาย เหนื่อย เสี ยงหัวเราะ สนุกมาก ฉวยโอกาสผสมผเสไปด้วย สวยสะดุดตา สวยมาก
นอกจากคำาแสลงที่เด็กวัยรุ่ นนำามาใช้กนั มากแล้ว ยังมีภาษาปากที่คนแต่ละวัยคิดและรับอธิ พล มาจากสื่ อต่าง ๆ ซึ่งนับว่ามีส่วนสำาคัญทำาให้ภาษามีการเปลี่ยนแปลงมากยิง่ ขึ้นเช่น ภาษาปาก ชุดใหญ่ กลับบ้านเก่า กำาพร้าเมีย ของกล้วย ๆ ข้าวลิง เขี้ยวลากดิน คืนจอ ชักกะแด่ว เซย์ก๊ดู บาย เซียงกง เป๊ ะ
ความหมาย ชุดสากล ตาย ร่ างเมีย ง่าย ๆ อาหารที่ประทังความหิวเมือยามขาดแคลน มีเล่ห์เหลี่ยมมาก หวนกลับมาแสดงภาพยนตร์ อีกครั้ง ชักดิ้น บอกลา เก่า มักเรี ยกย่านเครื่ องยนต์เก่า ตรงจุดพอดี
การศึกษา การศึกษา ระดับการศึกษาของผูส้ ื่ อสารและผูร้ ับสารและผูร้ ับสาร ก็เป็ นปัจจัยที่ทาำ ให้ภาษา มีการเปลี่ยนแปลงพราะผูม้ ีการศึกษาสูงย่อม รับภาษา ที่แสดงถึงความก้าวหน้าทางวิชาการมาใช้ และประยุกตืให้เข้า กับวัฒนธรรมของตน โดยเฉพาะการยืม การทับศัพท์ เป็ นต้น อาชีพ อาชีพ ในสังคมหนึ่ง ๆ มีบุคคลที่ประกอบอาชีพแตกต่างกันออกไป ภาษาที่ ใช้สื่อสารกันเฉพาะ กลุ่มหรื อกลุ่มอื่น ๆ ที่อยูใ่ นสังคมเดียวกัน เข้าใจกันได้ เช่น ภาษาของนักการเมือง เช่นเกาะติด หวงเก้าอี้ เผด็จการ ปลุกระดม ร่ วม
พรรค แนวร่ วม เสี ยบ ชี้นาำ คำาบาตร ใบเหลือง ใบแดง คืนหมาหอนตาเขียว แกน นำา ภาษากลุ่มนักกีฬา เช่น ฟาดแข้ง ค้าแข้ง หน้าต่าง (ด้านข้างประตูฟุตบอล) ใช้ในกีฬา เหนี่ยว(วอลเลย์บอล) ฝัง(วอลเลย์บอล) ลูกหวาย ลูกหนัง ลูกยางแบเบอ์ื เป็ นต้น ชนชั้นทางสังคม ชนชั้นทางสั งคม ภาษามีการเปลี่ยนแปลงไปตามชนชั้นของสังคม เพราะบุคคลในสังคมมีระดับชนชั้นแตกต่างกัน ได้แก่ ชาวไร่ ชาวนานัก ธุรกิจ ข้าราชการในระดับต่าง ๆ ตลอดจนราชวงศ์กลุ่มชาวไร่ ชาวนาก็จะใช้ ภาษา ธรรมดาที่ใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำาวัน โดยทัว่ ไป นักธุรกิจก็จะใช้ ภาษา ที่เป็ นกึ่งทางการเป็ นทางการ และภาวะเฉพาะกิจแตกต่างกันไป และในขณะเดียวกันข้าราชการทุกหน่วยงานก็ตอ้ งใช้ภาษาที่เป็ นทางการมากกว่าระดับอื่น ๆและคำา ศัพท์ ที่ใช้กบั พระมหากษัตริ ย ์ และราชวงศ์องค์อื่น ๆ ก็ตอ้ งใช้คาำ ราชาศัพท์ลดหลัน่ กันไปตามฐานันดร ศักดิ์ ชาติพนั ธุ์ ชาติพนั ธุ์ กลุ่มชาติพนั ธ์กม็ ีส่วนสำาคัญที่ทาำ ให้ภาษามีการเปลี่ยนแปลงโดย เฉพาะ สำาเรี ยง ของ กลุ่มชนในท้องถิ่นต่าง ๆ ในแต่ละภาคาษาไทยถิ่น และภาษากลาง ถูกนำา มาประสมกัน ซ้อนกัน เป็ นคำาใหม่ ๆนแต่ละท้องถิ่นมีมากน้อยแตกต่าง กัน แต่ลกั ษณะดังกล่าวก็เป็ น ปั จจัยสำาคัญที่ทาำ ให้ ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
๑.๓ ความเจริ ญก้าวหน้าทางวิชาการ สังคมยิง่ เจริ ญมากเท่าใดคำาที่ใช้ในสังคมก็ยิง่ มีเพิ่มมากขึ้น เท่านั้น ความเจริ ญก้าวหน้าทางวิชาการส่งผลให้เกิดผลิตผลและสิ่ งใหม่ ๆ มากขึ้นนั้นหมายถึงคำาและภาษา ก็ตอ้ งเพิ่มขึ้นด้วยคู่กนั ไป มนุษย์พยายามคิดค้นวิธีการที่จะสื่ อสารกันได้เข้าใจและสัมพันธ์กบั การเปลี่ยน แปลง ของสังคม คำาบางคำาที่เกิดขึ้นมาใหม่มกั จะเกิดจากการยืมคำาภาษาอื่น ๆ มาใช้ การใช้คาำ ทับศัพท์ หรื ออาจ จะมีการบัญญัติศพั ท์ข้ ึนมาใช้ให้เข้ากับวัฒนธรรมของตน กล่าวโดยสรุ ปแล้ว ภาษามีการเปลี่ยนแปลงอยูด่ ลอดเวลาโดยที่มนุษย์คิดค้นหาวิธีนาำ มาใช้ สื่ อสารกันในกลุ่ม นับว่าเป็ นการผสมผสานวัฒนธรรมทางภาษาอย่างหนึ่งที่สมั พันธ์กบั ความเจริ ญ ทางสังคม และสื่ อเทคโนโลยีต่าง ๆ อีกด้วย ๒. กระบวนการเปลีย่ นแปลงทางภาษา การเปลี่ยนแปลงทางภาษาเกิดจากปั จจัยหลายประการดังได้กล่าวไปแล้วข้างต้นและปั จจัย ดังกล่าวทำาให้ภาษามีกระบวนการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ๒.๒.๑ การกลายเสี ยง คำาในภาษาไทยบางคำามิได้ออกเสี ยงตามรู ปคำา และมีเสี ยงบางเสี ยงสูญหายไป เช่น พรรษา ภรรยา มรรยาท บรรพชา
ออกเสี ยง ออกเสี ยง ออกเสี ยง ออกเสี ยง
พัน-สา พัน-ยา มัน-ยาด บัน-พะ-ชา
จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่ามีการสูญเสี ย "ร" หรื อใช้คาำ บางคำามีการกร่ อนเสี ยง เช่น หมากม่วง หมากพร้่้ ่าว หมากนาว หมากขาม หมากปราง นอกจากนี้คาำ บางคำาเพิ่มเสี ยงเช่น
กลายเป็ นเสี ยง กลายเป็ นเสี ยง กลายเป็ นเสี ยง กลายเป็ นเสี ยง กลายเป็ นเสี ยง
มะม่วง มะพร้าว มะนาว มะขาม มะปราง
กระแทก กัน แข ขจาย
เพิม่ เสี ยงเป็ น เพิ่มเสี ยงเป็ น เพิ่มเสี ยงเป็ น เพิ่มเสี ยงเป็ น
กระแทก กำานัน แถง กระจาย
๒.๒ การยืมคำา การยืมคำาภาษายืน่ เข้ามาใช้ในภาษาไทยมีมาช้านานทั้งภาษาบาลีและสันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน เพราะสังคมไทยมีการติดต่อสัมพันธ์กบั จีนและเขมรมาช้านาน อีกทั้งไทยยังได้ รับอธิ พลของภาษาบาลีและสันสกฤตมาจากพุทธศาสนา การรับวัฒนธรรมของชนชาติอื่น ๆ เข้ามาผสม ผสานกับสังคมไทยในอดีตและปัจจุบนั สิ่ งหนึ่งที่เข้ามากับกระวัฒนธรรมดังกล่าวคือ ภาษา ภาษาบาลีและสันสกฤต คนไทยยืมคำาบาลีและสันสกฤตเข้ามาในภาษาไทยมานานแล้ว คำาที่ใช้ในภาษาไทยทั้งภาษาทางการ และกึ่งทางการ เช่น บาลี นิจจา สัจจะ วิชา กัญญา ฐิติ ถาวร เขต ปัญญา จุฬา กีฬา อิทธิ ขมา
สันสกฤต นิตยา สัตย์ วิทยา กันยา สถิติ สถาวร เกษตร ปรัชญา จุฑา กรี ฑา ฤทธิ์ กษมา
ภาษาเขมร คำาที่ยมื มาจากภาษาเขมรมีใช้ในทุกระดับ ทั้งภาษาที่ใช้เป็ นภาษากึ่งทางการ ภาษาทางการ และคำาราชาศัพท์ เช่น กระบือ เขม่า เผด็จ ขนม ขจร กังวล เผอิญ สำาราญ กระทรวง กระแส ธำารง กำาธร เสวย เรี ยม บรรทม ดำาเนิน เป็ นต้น
ภาษาจีน ภาษาจีนมีอธิพลต่อภาษาไทยมาก โดยเฉพาะการยืมคำานำามาใช้ประเทศไทย กับประเทศจีนมีการติดต่อข้าขายกันมานานตั้งแต่สมัยโบราณจึงทำาให้ไทยเราได้รับอิทธิ พลภาษาจีนมา ยาวนาน และน่าจะนานที่สุดเมื่อเปรี ยบเทียบกับภาษาอื่น ๆ เช่น หมึก ไพ่ ก๋ วยเตี๋ยว เต้าเจี้ยว ซีอิ๊ว เฉาก๊วย เต้าฮวย คะน้า ไชเท้า ไชโป๊ บะหมี่ เก้าอี้ โต๊ะ ตู ้ ตะหลิว เป็ นต้น ๒.๓ คำาศัพท์ บัญญัติ การบัญญัติศพั ท์เป็ นการเปลี่ยนแปลงทางภาษาประการหนึ่งซึ่งได้รับอธิ พล มาจากภาษาอื่น ๆ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ที่แสดงถึงวิวฒั นาการทางภาษาที่เกิดขึ้นอยูต่ ลอดเวลา ศัพท์ทางวิชาการ สื่ อสารและเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาในสังคมไทยจะถูกนำาไปใช้อยูร่ ะยะเวลาหนึ่ง หลังจากนั้น ก็ตอ้ งมีการคิดคำาขึ้นมาทดแทนคำาเดิม อาจทดแทนโดยการแปลความหมายหรื อบัญญัติข้ ึน จากเสี ยงของสิ่ งนั้นก็ได้ เช่น ศัพท์บัญญัติ กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ กายภาพ กิจกรรม เกลือ เกษตรศาสตร์ ข้อมูล คณบดี คณิตศาสตร์ คติชาวบ้าน คลื่นวิทยุ ความถี่ เคมี เครื่ องกล โครงการ โฆษก เค้าโครง เครื่ องยนต์
ค่ าเดิม microsoft telescope physical activity salt agriculture data dean mathematics folklore radio wave frequency chemistry machine project speaker outline engine
คณิต,คอมพิวเตอร์ ส่วนชุดคำาสัง่ ,ซอฟต์แวร์ ส่วนเครื่ องฮาทร์ แวร์ เมาส์ จอภาพ แฟ้ ม หน่วยความจำา จินตภาพ จุลสาร ชาติพนั ธ์ เชิงอรรถ ดาวเทียม
computer software hardware mouse moniter file memory image brochure cthnos footnole satellite
ศัพท์บัญญัติ ทศวรรษ ทางด่วน โทรทัศน์ โทรศัพท์ ธนาคาร นวนิยาย นิตยสาร นันทนาการ บรรทัดฐาน บริ ษทั บรรณานุกรม แผนที่ สัมมนา
คำาเดิม decade express way television telephone bank novel context recreation norm company bibliograply map seminar
๒.๔ คำาทับศัพท์ การเขียนการทับศัพท์กเ็ ป็ นอีกวิธีหนึ่งที่้ แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของภาษา และทำาให้มีภาษาต่างประเทศใช้ในภาษาไทยมากขึ้น โดยเฉพาะคำาทับศัพท์น้ นั จะออกเสี ยงและเขียน พยัญชนะสระตามเสี ยงของคำาเดิม อาจจะตัดพยัญชนะบางตัวที่ไม่จาำ เป็ นออกและอาจมีเสี ยงวรรณยุกต์ ตามรู ปศัพท์เดิมก็คงเสี ยงนั้นไว้ เช่น คำาทับศัพท์ กราฟ ก๊อบปี้ กอล์ฟ กาแฟ การ์ตูน คริ สต์มาส ครี ม คลีนิก คุกกี้ โควต้า ชอล์ก แชร์ แท๊กซี่ บาสเกตบอล โปรตีน พลาสติก แฟชัน่ วอลเลย์บอล วัคซีน สแลง เสิ ร์ฟ
คำาเดิม graph copy golf coffee cartoon christmas cream clinic cookie quota chalk share taxi baskctball protein plastic fashion valleyball vaccinc slang serve
คำาทับศัพท์ที่อยูใ่ นภาษาไทยปัจจุบนั มักเป็ นคำาที่นิยมมาจากภาษาอังกฤษฝรั ่งเศษ เยอรมัน และภาษาอื่น ๆ ในแถบตะวันตก คำาทับศัพท์บางคำาราชบัณฑิตยสถานได้นาำ ไปบัญญัตคำาขึ้ นมาใช้ใหม่ แต่ดว้ ยความเคยชินความสะดวกในการออกเสี ยง และการนำาไปใช้ในการสื่ อสารต่างชาติแล้วเข้าใจกัน ง่ายก่วา คนโดยทัว่ ไปจึงนิยมใช้คาำ ทับศัพท์มากกว่าคำาบัญญัติ สรุ ปสาระสำาคัญ ภาษาไทย ที่ใช้สื่อสารในปัจจุบนั มีท้ งั ภาษาผูดและภาษาเขียนและเป็ นสัญญลักษณ์ที่มนุษย์ สร้างขึ้นเพื่อสื่ อสารซึ่งกันและกัน โดยธรรมชาติแล้วภาษามีท้ งั ระบบเสี ยงและความหมายภาษาต้องมี การเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา โดยมีปัจจัยมาจากการออกเเสี ยงของผูส้ ื่ อสาร เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ชนชั้นทางสังคม ชาติพนั ธุ์ ตลอดจนความก้าวหน้าทางวิชาการ ซึ่งจะต้องนำาศัพท์ใหม่ ๆ ทันสมัยอยู่ เสมอ ๆ และกระบวนการเปลี่ยนแปลงของภาษานั้นก็มีหลากหลายประการ ได้แก่ การกลายเสี ยง เพื่อ ความสะดวกในการออกเสี ยง การยืมคำาของประเทศอื่นมาใช้โดยยืมมาทั้งคำาและนำามาสร้างคำาใหม่ข่้ ึน โโยการสมาส สนธิ บัญญัติคาำ ศัพท์ข้ ึนมาใช้แทนคำาเดิม และเขียนทับศัพท์คาำ เดิมเลยเพื่อความสะดวก ในการออกแบบเสี ยงและสื่ อสารกับชาวต่างประเทศที่ต่างวัฒนธรรมกัน