147
กษัตริย์จอมทัพไทย 148
เทิดองค์กษัตรา ทวยราษฎร์ถวายชัย เทเวศร์เฉลิมฉัตร เทวา มุ บันดาล น้อมเชิญสุรารักษ์ เทิดเกียรตินรินทร์ไท้
วชิราบดินทร์ไทย ฤชุเกียรติคุณกาล มหรัตน์พิพัฒน์สาน สิระยศ ธ เกริกไกร สิประจักษ์ ณ แดนไตร วรสุขเกษมเทอญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้าคณะผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง และนักเรียน โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ประพันธ์โดย นางสาวนลินนิภา วิระวัฒน์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๑
1
2
3
4
5
6
7
สวัสดี ท่านผู้ปกครอง คณะครูและนักเรียนทุกคน การเรี ย นรู ้ ข องเยาวชนเป็ น การเตรี ย มประชาชน และสั ง คมให้ มี ศั ก ยภาพ การศึ ก ษาไทยในยุ ค ไทยแลนด์ 4.0 มุ่งสร้างคนให้พร้อมที่จะก้าวสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ท�ำให้การสื่อสาร การถ่ายทอดองค์ความรู้ เชื่ อ มโยงถึ ง กั น ได้ อ ย่ า งไร้ พ รมแดน ซึ่ ง ทางโรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ สั ต หี บ ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ให้ แ ก่ นั ก เรี ย นมาโดยตลอด คณะผู ้ บ ริ ห ารและคณะครู ต ่ า งมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจจริ ง ในการจั ด การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพสู ง สุ ด การเรียนรู้คู่คุณธรรม และน�ำไปสู่ความมีวินัย ตามปรัชญาของโรงเรียนได้น�ำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารงาน รวมไปถึงการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานการศึกษา มีคุณภาพสู่มาตรฐานสากล พัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีบุคลิกภาพดี มีระเบียบวินัยและคุณธรรม ห่างไกลยาเสพติด ตลอดระยะเวลา 20 กว่าปี โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบได้มีการพัฒนามาโดยตลอด โดยเฉพาะด้านอาคารสถานที่ เทคโนโลยีต่าง ๆ ปีการศึกษานี้ทางโรงเรียนได้ติดตั้ง Smart T.V.(ทีวีอัจฉริยะ) ที่ระดับชั้น ป.1-ป.2 เพื่อเป็นสื่อในการเรียนรู้ ของนักเรียนมากขึ้น อาคารโดมใช้เป็นสถานที่เล่นกีฬาออกก�ำลังกายโดยจะมีสนามกีฬาในร่มให้นักเรียนได้ออกก�ำลังกาย ทั้งนี้ท่าน ผอ.ชวน กิติเกียรติศักดิ์ ดร.สตีเวน ชนะ กิติเกียรติศักดิ์ และคุณไมเคิล ชนินทร์ กิติเกียรติศักดิ์ ได้ให้ความส�ำคัญ พัฒนาการศึกษาให้เด็กมารีวิทย์สัตหีบเป็นคนเก่งคนดีของสังคม จึงได้สนับสนุนในด้านต่าง ๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ขอขอบคุณท่านผู้ปกครองที่ให้ความไว้วางใจโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ตลอดจนความร่วมมืออย่างดียิ่งในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนเสมอมา ขอขอบใจนักเรียนทุกคนที่ปฏิบัติตนอยู่ในโอวาทของคุณครู เป็นนักเรียนที่โรงเรียนภาคภูมิใจและ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นักเรียนโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบทุกคนจะเป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อย กิริยามารยาทดี มีวาจาสุภาพ มีผลการเรียนดี และมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง ขอแสดงความนับถือ นางหงษ์ทอง มณีข�ำ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ
8
มารีสาร
...ที่ปรึกษา...
นายชวน กิติเกียรติศักดิ์ ผู้รับใบอนุญาตเครือโรงเรียนมารีวิทย์ ดร.สตีเวน ชนะ กิติเกียรติศักดิ์ ผู้จัดการโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ประธานกรรมการบริหารเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์ นายไมเคิล ชนินทร์ กิติเกียรติศักดิ์ รองประธานกรรมการบริหารเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์ นางหงษ์ทอง มณีขำ� ผู้อำ�นวยการโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ
...บรรณาธิการ...
ครูสุพรรณี วรรณเพ็ชร
...บรรณาธิการผู้ช่วย...
ครูอมรรัตน์ ศรีพอ ครูสุปรียา โพธิ์สุข ...ฝ่ายเรียบเรียง/พิสูจน์อักษร... ครูกนกวรรณ สระทองเมา ครูนงลักษณ์ มั่งคั่ง ครูปาณิสรา ศรีวัง ครูกนกเรขา ผิวขำ� ครูเพ็ญพักตร์ พิมพิรุจานันท์ ครูจารุวรรณ เม่นอยู่
...ฝ่ายศิลป์...
ม.ทรงกลด แก้ววิศิษฎ์ ม.รัชวุฒิ วิเศษเกื้อกูล ม.เจษฎา โยธา
ประจำาปีการศึกษา 2560
23/1 หมู่ 7 ต.สัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี 20180 โทร. 038-436465, 038-738672 038-738865-6
...เจ้าของ... โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ
คณะผู้จัดทำ�
เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียน ได้ทราบข่าวสารของโรงเรียน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบ้าน กับโรงเรียน ผู้ปกครองกับครู นักเรียนกับเพื่อนนักเรียน เพื่อเผยแพร่กิจกรรมของนักเรียน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ ส่งเสริมการแสดงออกและ ความสามารถของนักเรียน
1. 2. 3. 4.
วารสารเพื่อประชาสัมพันธ์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 43
วัตถุประสงค์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำาเนินแทนพระองค์ไปยังอู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ทรงวางกระดูกงูเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ลำาที่ 2 เพื่อ เฉลิมพระเกียรติ ซึ่งกองทัพเรือดำาเนินโครงการสร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งลำาที่ 2 ขึ้นเพื่อสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณ และเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสนี้ คุณครูใหญ่หงษ์ทอง มณีขำา และ มาสเตอร์ ท รงกลด แก้ ว วิ ศิ ษ ฏ์ ได้ ร่ ว มเข้ า เฝ้ า ทูลละอองพระบาท
CONTENTS สารจากท่านผู้อำ�นวยการโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ................8 นานาทัศนะ..........................................................................18 บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ...................28 บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์.................. 29 หน้าต่างคนเก่ง....................................................................... 30 ร้อยปีพระแม่ฟาติมา......................................................42 บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.................................44 บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์..................45 ศึกษาดูงานออสเตรเลีย..........................................................48 โครงสร้างสภานักเรียน.................................................57 Student of the month.................................................64 เมล็ดพันธุ์ขาว-เขียว...................................................... 68
บรรณาธิการ
ศาสตร์พระราชา..................................................................... 74 ผล Admissions 60................................................ 80 ข้อมูลศึกษาต่อ ม.6...............................................................82 บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ.................95 EEC ........................................................................................ 98 บทความนักเรียน.........................................................100 บทความครู...........................................................................106 พ่อแม่เตรียมลูกสู่ยุค 4.0..........................................112 บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา...............................115 ข้อมูลศึกษาต่อ ม.3....................................................116 บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน ฯ...........................120 บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ............................121 แซวด้วยภาพ.........................................................................124 คนเก่งผลการเรียนดีเยี่ยม..........................................128 กำ�หนดการรับสมัคร.....................................................1�������144
สวัสดีค่ะ ท่านผู้ปกครอง นักเรียนและท่านผู้อ่านทุกท่าน มารีสารฉบับนี้เป็นฉบับที่ 43 คุณครูขอต้อนรับนักเรียนทุกคนเข้าสู่ภาคเรียนที่ 1 ของปีก ารศึก ษา 2560 และเนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษาของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ขอเชิญชวนลูก ๆ ทุกคน ได้แสดงความกตัญญูกตเวที เพื่อตอบแทนพระคุณของแม่ ร่วมแสดงพลัง “รักแม่” และ ความเอื้ออาทรต่อแม่ เช่นเดียวกับที่แม่ให้ความรัก ความอบอุ่น ความห่วงใย และความ เสียสละตลอดมา ส�ำหรับมารีสารฉบับนี้ ได้รวบรวมเนื้อหาสาระดี ๆ มาฝากท่านผู้อ่านมากมายเลยค่ะ ที่เกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย บทความกลุ่มสาระต่าง ๆ และได้ประมวลภาพกิจกรรม การเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนทีผ่ า่ นมาให้ผอู้ า่ นได้ชมกันอย่างเต็มที่ คณะผูจ้ ดั ท�ำ มารี ส ารฉบั บ นี้ ข อขอบคุ ณ ท่ า นผู ้ ป กครองที่ ไว้ ว างใจเลื อ กโรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ สั ต หี บ เป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษา และให้การสนับสนุนกิจกรรมของทางโรงเรียนด้วยดีเสมอมา ขอให้ผู้อ่านทุกท่านมีสุขภาพจิตที่สดใส สุขภาพกายแข็งแรง ประสบความส�ำเร็จในสิ่งที่ ปรารถนาทุกประการ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ
9
10
11
ด.ญ.รัชรินทร์ รอดคล�ำ้ ม.1/4
ด.ช.ธนวัฒน์ วีรศักดิ์ ม.1/5
ด.ช.ลุคค์ ศรัณย์ ไท้ธ ม.1/4
ดิ ฉั น มี ค วามภาคภู มิ ใจมากที่ได้คะแนน โอเน็ตภาษาอังกฤษเต็ม 100 คะแนน และได้ มีโอกาสไปรับรางวัลทีเ่ ขต 3 สร้างความภาคภูมใิ จ ให้โรงเรียน ที่ดิฉันได้คะแนนเต็มเป็นเพราะ ความพยายามและการเตรียมตัวสอบมาอย่างดี ก่ อ นที่ จ ะมี ก ารสอบนั้ น ดิ ฉั น ตั้ ง ใจฟั ง ในสิ่ ง ที่ คุ ณ ครู ติ ว แนวข้ อ สอบให้ และเมื่ อ กลั บ บ้ า น ไปก็ น� ำ สิ่ ง ที่ คุ ณ ครู ส อนมาทบทวน ดิ ฉั น ภาคภู มิ ใ จเป็ น อย่ า งมาก ที่ ค วามตั้ ง ใจ และความพยายามของตนเองท� ำ ให้ ไ ด้ คะแนนเต็มค่ะ
ผมรู้สึกภาคภูมิใจมากที่สอบโอเน็ ต เต็ ม 100 คะแนน ในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ แ ละ ภาษาอั ง กฤษ ผมต้ อ งขอขอบคุ ณ คณะครู และโรงเรียนมารีวทิ ย์สตั หีบ ทีใ่ ห้การสนับสนุนผม ท�ำให้สามารถสอบได้คะแนนเต็ม ส�ำหรับการ เตรียมตัวนั้นจะต้องรักษาสุขภาพให้แข็งแรง ลดการดูการ์ตนู และการเล่นเกมลง หมัน่ อ่านหนังสือ ฝึ ก ท� ำ แบบฝึ ก หั ด ถ้ า สามารถท� ำ อย่ า งนี้ ไ ด้ ผมรับรองครับว่าคะแนนจะออกมาดีแน่นอนครับ
ผมดี ใ จมาก การที่ ผ มตั้ ง ใจเรี ย น ฟังคุณครูสอนและพยายามท� ำแบบฝึกหัด ทบทวนอยู ่ เ สมอ ท� ำ ให้ ผ มสอบ o-net วิ ช าภาษาอั ง กฤษได้ เ ต็ ม 100 คะแนน ผมขอบคุณแม่ที่ให้ก�ำลังใจผมมาตลอดครับ และขอบคุณคุณครูที่ติวแนวข้อสอบให้ผม ผมรู้สึกภาคภูมิใจกับรางวัลนี้มากครับ
12
13
ดิฉนั ได้มโี อกาสฟังการบรรยายประสบการณ์ของ ดร.กิตติ สุวรรณรัชตมณี ในเรื่องการรู้จักตนเองและหาเป้าหมายชีวิต เพื่อให้มีงาน (การท�ำงาน ไม่ใช่เพื่อเงิน แต่ต้องมีความรักในอาชีพ เข้าใจจิตวิญญาณของอาชีพ) ท�ำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกที่เรียนให้ตรงสายวิชาหรือสายงาน ที่เราต้องการ การมองถึงอนาคตอันใกล้ว่าจะท�ำอะไรต้องเป็นขั้นตอน ดร.กิตติ ได้เล่าให้ฟังถึงการใช้ชีวิตในแต่ละที่ที่ท่านได้ไปศึกษา ลักษณะ ความเป็นอยู่ การปรับตัว ท�ำให้ดิฉันตระหนักได้ว่าการที่เราขยันไว้ ถือเป็นฐานที่ดีในการใช้ชีวิตหรือในการท�ำงาน การที่เราจะศึกษาอะไร เราต้องอ่านและค้นคว้าให้มาก ให้รู้จริงในเรื่องที่ศึกษา ให้คิดเสมอว่า เราไม่ได้เก่งกว่าใคร แต่เราต้องท�ำมากกว่าคนอื่น และเรียนรู้มากกว่า คนอืน่ เท่านัน้ และทีส่ ำ� คัญไม่วา่ ในการท�ำงาน การเรียนหรือท�ำอะไรก็ตาม สิ่งที่เราจ�ำเป็นต้องมี คือ คุณธรรมความซื่อสัตย์ นอกจากนี้ยังได้ความรู้ ทางด้านวิศวกรรมเป็นความรู้รอบตัวเพิ่มขึ้นอีกด้วย นางสาวฐิติพรรณ ภวัตณัฐรัชต์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
14
ความส�ำเร็จด้านการเรียน วันนี้รู้สึกโชคดีมากที่ได้มีโอกาสมาฟังบรรยายของวิทยากร ทั้งสองท่านซึ่งเป็นคุณหมอ เพราะโดยบทบาทของตัวเอง ทีเ่ ป็นอยู่ คือ เป็นทัง้ แม่ทตี่ อ้ งดูแลลูกสาว 2 คน และเป็นทัง้ ครู ที่มีลูกศิษย์มากมาย จึงขอน�ำข้อคิดที่ท่านวิทยากรได้บรรยาย และคิดว่ามีประโยชน์มากกับผู้ปครอง ครู และที่ส�ำคัญคือ ตัวนักเรียนเอง มาเล่าสู่กันฟัง คือ ความส�ำเร็จด้านการเรียน ต้องเริ่มจากการเตรียมตัวในการเรียน 4 ด้าน คือ 1. ต้องมีความพยายาม อดทน เพราะเราอาจจะต้องพบกับ ความล้ ม เหลวหรื อ สิ้ น หวั ง กั บ การเรี ย นหลายครั้ ง เช่ น การพลาดหวังจากสิ่งที่คาดหวังจากการสอบ 2. มีการวางแผนการเรียนอย่างสม�่ำเสมอ 3. การตั้งเป้าหมายการเรียนให้สูงหรือการตั้งเป้าหมายต�่ำ ก็ตอ้ งอาศัยความพยายามและต้องพยายามเช่นกันเพือ่ ความส�ำเร็จ ดังนั้น จึงควรตั้งเป้าหมายให้สูง การที่จะประสบผลส�ำเร็จ ทางการเรียนได้คอื เราควรมองหาและท�ำในสิง่ ทีย่ งั มีคนส่วนน้อยท�ำ เพราะคนส่วนใหญ่จะท�ำเหมือน ๆ กัน เช่น การพักผ่อน คนส่วนใหญ่ พักผ่อนน้อย คนส่วนน้อยนอนเพียงพอ การนอนเพียงพอ เป็นสิ่งส�ำคัญ การเรียนที่ตั้งเป้าหมาย ถ้ายังไม่ได้ตามที่ตั้งไว้ ยังไม่ควรละทิ้ง ไม่ควรยอม ควรพยายามต่อไป หากว่าเรา ไม่คนุ้ เคย ไม่ถนัด ให้พยายามและหาตัวช่วย และพยายามแล้ว พยายามอีก สักวันก็จะสามารถประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ได้ 4. หากเรี ย นอ่ อ นในวิ ช าใด ให้ เ ริ่ ม จากจุ ด ที่ อ ่ อ นที่ สุ ด มาอ่านทบทวน และท�ำแบบฝึกหัดทุกอย่าง หากท�ำไม่ได้ ให้เปิดเฉลยศึกษาจนกว่าจะเป็นปัจจุบัน สรุปและเรียบเรียงโดย ครูปฏิญญา งามโสภา
15
16
17
“การลงทุนด้านการศึกษาเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุด” ดังนัน้ ครอบครัวจึงเลือกสถานศึกษาทีต่ อบโจทย์ คือ มีการเรียนการสอนทีด่ ี มี บุ ค ลากรที่ ดี มี ก ารเรี ย นการสอนภาษาต่ า งประเทศ ซึ่ ง ส� ำ คั ญ มาก ในยุคปัจจุบัน และที่ส�ำคัญ ระยะทางไม่ไกลจากบ้านมากเกินไป เพราะ หากระยะทางไกล ก็จะท�ำให้ลูกต้องตื่นเช้า และเสียเวลาไปกับการเดินทาง ซึ่งอาจท�ำให้การไปโรงเรียนเป็นเรื่องไม่น่าสนุกส�ำหรับเด็ก และจากการ ที่ได้ดูผลตอบรับจากตัวลูก ยิ่งท�ำให้มั่นใจว่าทางโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ได้ดูแลลูกของเราเป็นอย่างดี และเรามีความมั่นใจว่าเมื่อมีการเริ่มต้นที่ดี ก็จะส่งผลดีต่ออนาคตของเด็ก ขอขอบคุณทางโรงเรียนที่ดูแลอบรมสั่งสอนลูกของเราด้วยความรัก ความเมตตา ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและระเบียบวินัย นาวาตรีนิติชัย - คุณปริมริสา เครือวัลย์ ผู้ปกครอง เด็กหญิงพิมพ์มาดา เครือวัลย์ ชั้นอนุบาล 1/1
วันแรกพาน้องนราไปทดสอบ IQ ได้เห็นโรงเรียน อาคารสถานที่ ลูกเล่นกับครู ผมเลยคิดว่าลูกต้อง OK แน่ ๆ ส�ำหรับโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ คุณครูกับลูกเข้ากัน ได้ เ ป็ น อย่ า งดี มี ค วามเป็ น กั น เองเหมื อ นได้ รู ้ จั ก กั น มาก่ อ น สะดวกในการติ ด ต่ อ สื่อสารกับคณะครูมีความรวดเร็ว ชัดเจน จึงเชื่อเลยว่าโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบแห่งนี้ มีความเหมาะสมที่สุดส�ำหรับลูก จากการสังเกตของคุณพ่อในส่วนตัว คือ โรงเรียน มีความพร้อมของสถานที่ตั้งเหมาะกับการศึกษา มีความพร้อมทางด้านการวางระบบ ทางการศึกษา และมีความพร้อมทางด้านบุคลากร คณะครูอาจารย์ จึงขอขอบคุณ ผู้บริหาร คณะครูอาจารย์ มา ณ ที่นี้ด้วยครับ พลอากาศโทชัยวัฒน์ - คุณอรเพชร จิตจรูญ ผู้ปกครอง เด็กหญิงปัฐน์ตนร จิตจรูญ ชั้นอนุบาล 1/2
18
การวางแผนด้านการศึกษาเป็นสิ่งที่ควบคู่กับการเจริญเติบโตของลูก การเลือก สถานศึ ก ษาเป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ มาก เพราะโรงเรี ย นจะเป็ น สถานที่ ที่ จ ะสร้ า งความรู ้ ทั้งด้านวิชาการ ปลูกฝังค่านิยม ความเชื่อ ความคิดและแนวทางในการด�ำเนินชีวิต การที่ เ ด็ ก ได้ เ ติ บ โตในสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี สิ่ ง ดี ๆ เหล่ า นี้ ก็ จ ะติ ด ตั ว เด็ ก ไปด้ ว ย เรามี ลู ก คนเดี ย วจึ ง อยากให้ ลู ก ได้ เ ติ บ โตท่ า มกลางสิ่ ง ที่ ดี เราจึ ง หาข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ โรงเรียนต่าง ๆ วิธีที่ง่ายที่สุดคือการสอบถามจากคนที่รู้จักว่าควรให้ลูกเรียนที่ไหน ค�ำตอบที่ใคร ๆ บอกมาคือ โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ จากค�ำตอบที่ได้ เราเชื่อว่าชื่อเสียง ย่อมมาจากคุณภาพ และเราก็เชื่อว่าคนที่เรารักจะแนะน�ำในสิ่งที่ดีให้เรา เราจึงเลือก โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ สั ต หี บ ให้ กั บ คนที่ เรารั ก ที่ สุ ด ทางครอบครั ว ของเราขอขอบคุ ณ ผู ้ บ ริ ห ารและคณะครู ที่ ดู แ ลเอาใจใส่ เ ด็ ก ๆ ด้ ว ยความรั ก เพื่ อ ให้ เขาเจริ ญ เติ บ โต เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เรือโทธนู – พันต�ำรวจโทหญิง มะลิวรรณ์ จงเจริญพานิช ผู้ปกครอง เด็กหญิงปิยธิดา จงเจริญพานิช ชั้นอนุบาล 1/4
การวางรากฐานของการศึกษาและพัฒนาการของการเติบโตของลูก เป็นสิ่งที่หลาย ๆ ครอบครัวให้ความส�ำคัญ เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในระดับอนุบาลเริ่มต้น ในส่วนตัวจึงค่อนข้างใส่ใจในการคัดสรรเลือกโรงเรียน และสิ่งแวดล้อมที่ดี ให้เหมาะสมกับลูก ค�ำว่าเหมาะสมนั่นก็คือ “ลูกของเราจะต้องมีความสุข และมี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น อยากที่ จ ะไปโรงเรี ย น ตลอดจนมี ค วามใส่ ใ จ ที่ จ ะเรี ย นรู ้ จ ากคุ ณ ครู แ ละเข้ า กั น ได้ ดี กั บ เพื่ อ น ๆ และสภาพแวดล้ อ ม ที่ โรงเรี ย น” และโรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ สั ต หี บ ก็ เ ป็ น การตั ด สิ น ใจที่ ถู ก ต้ อ ง ส�ำหรับครอบครัวเรา เนื่องจากเห็นได้ว่าลูกมีทัศนคติที่ดีต่อการไปโรงเรียน และพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ มีจิตส�ำนึกในการเคารพกฎเกณฑ์ ระเบียบวินัย ที่คุณครูสั่งสอน และมีน�้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อน ๆ อย่างที่เด็กไทยที่ดี ควรพึ ง มี สิ่ ง ที่ น ่ า ประทั บ ใจเป็ น อย่ า งยิ่ ง คื อ โรงเรี ย นแห่ ง นี้ ไ ม่ เ พี ย งแต่ จะเน้นสอนวิชาการ แต่ยงั ได้เน้นระเบียบวินยั และการอบรมเด็ก ๆ ทางด้านมารยาท และการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้เด็ก ๆ สามารถเติบโตเป็นคนดีในอนาคต และอยู่ในสังคมไทยได้เป็นอย่างดี ด้วยเหตุนี้ทางครอบครัวจึงไม่แปลกใจที่มีหลายคนแนะน�ำให้พาลูกเข้ามาสมัครเรียนที่ โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ เพราะที่นี่เป็นโรงเรียนที่ดีมาก ๆ จริง ๆ ค่ะ ท้ายนี้ ทางครอบครัวขอขอบคุณคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่ท่านมีนโยบายการเรียนการสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพ มาอย่างต่อเนือ่ งสมกับชือ่ เสียง และขอบคุณคุณครูทกุ ท่านทีไ่ ด้ชว่ ยอบรมบ่มนิสยั และสัง่ สอนเด็ก ๆ ทุกคนด้วยความรักและเมตตา เพื่อให้พวกเขาได้เจริญเติบโตเป็นคนดีที่มีคุณภาพของประเทศชาติสืบไป นาวาโทสุรศักดิ์ – คุณณภัสรวีย์ เชาวพันธุ์เรืองเดช ผู้ปกครอง เด็กชายชลธีร์ เชาวพันธุ์เรืองเดช ชั้นอนุบาล 1/5
19
การศึ ก ษาถื อ เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ต่ อ การสร้ า งอนาคต สถานศึ ก ษาที่ จ ะท� ำ หน้ า ที่ ติ ด อาวุ ธ ทางปัญญาให้กับลูก จึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่ผมจะต้องพิถีพิถันในการคัดเลือกเป็นอย่างดี เพราะนอกจาก ลูกจะได้รับความรู้จากทางโรงเรียนแล้ว โรงเรียนจะปลูกฝังบุคลิกภาพและสร้างทัศนคติที่ดี เพื่อให้นักเรียนที่จบการศึกษา เป็นเยาวชนที่มีคุณภาพ ผมสังเกตเห็นว่าโรงเรียนในพื้นที่สัตหีบนั้น มีอยู่หลายแห่งให้พิจารณา แต่ละโรงเรียนมีจุดเด่นและข้อจ�ำกัดที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นในเรื่อง ของสถานทีต่ งั้ บุคลากรและด้านวิชาการ ผมจึงสังเกตเด็กนักเรียนแต่ละโรงเรียน และพบความแตกต่าง อย่างเห็นได้ชัดเจนคือ นักเรียนที่ศึกษาโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ โดยส่วนมากเป็นเด็กที่มีบุคลิกภาพ และทัศนคติที่ดี กล้าคิด กล้าแสดงออก มีความมั่นใจในตัวเอง ผมจึงให้ความสนใจที่จะเข้ามา ศึกษาหาข้อมูลว่าสถานศึกษาแห่งนี้ มีระบบการเรียนการสอนอย่างไร และได้พบว่าโรงเรียน มีร ะบบการเรี ยนการสอน ที่เ ป็นขั้นตอนตามพัฒนาการของเด็ก มีบุคลากรที่คอยให้ค วามรู้ และคอยดู แ ลเอาใจใส่เ ด็ก นัก เรียนเป็นอย่างดี มีส ภาพแวดล้อมที่เป็นสัดส่ว น มีบรรยากาศ ของการศึ ก ษาที่ ดี มี ร ะบบการเรี ย นการสอนที่ ทั น สมั ย ผมจึ ง ตั ด สิ น ใจที่ จ ะส่ ง ลู ก ให้ เข้ า รั บ การศึกษา ณ โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ด้วยความมั่นใจครับ นาวาโทกฤษณะ – คุณรัตนภรณ์ ชูสาย ผู้ปกครอง เด็กชายก้องภพ ชูสาย ชั้นอนุบาลปีที่ 1/6
จุ ด ประสงค์ ห ลั ก ของพ่ อ แม่ คื อ อยากให้ ลู ก มี ก ารศึ ก ษาที่ ดี มี ง านท� ำ ที่ ดี ในอนาคต และเป็นคนดีของสังคม เหตุผลที่ตัดสินใจให้ลูกชายทั้ง 2 คน มาเรียนที่ โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบนี้ เพราะมองเห็นความเหมาะสมหลาย ๆ ด้านที่โรงเรียนมี โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง มาตรฐานการศึ ก ษา โดยดู จ ากการที่ เ ด็ ก ม.6 ที่ จ บแล้ ว เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ ได้ 100% และที่ ส� ำ คั ญ เด็ ก สามารถ พูดภาษาอังกฤษได้ทุกคน ซึ่งปัจจุบันภาษาต่างประเทศนับว่ามีความส�ำคัญไม่น้อย ทั้งนี้ก็เพราะคณะผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและคณะครูที่มีความตั้งใจฝึกฝน และใส่ ใจในการดู แ ลเด็ ก นั ก เรี ย นเป็ น อย่ า งดี ต้ อ งขอขอบคุ ณ บุ ค ลากรทุ ก ท่ า น ที่ดูแลเอาใจใส่ลูกของเราเป็นอย่างดี เรือโทสมเกียรติ - พันต�ำรวจโทหญิงศศศรัณย์ นันโท ผู้ปกครอง เด็กชายธีวินท์ นันโท ชั้นอนุบาล 1/4 เด็กชายชัชอริญชย์ นันโท ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/3
20
ทัศนคติต่อโรงเรียน การศึ ก ษานั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ ผู ้ ป กครองทุ ก ท่ า นให้ ค วามส� ำ คั ญ เป็ น อย่ า งมาก และสิ่ ง หนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ มากไม่ น ้ อ ยกว่ า การศึ ก ษาคื อ คุ ณ ธรรม นอกจากเป็ น คนที่ มีความรู้ เป็นคนเก่งแล้ว จะต้องมีคุณธรรม ประเทศชาติจึงจะอยู่รอดได้ แต่กลับกัน ในประเทศใดมีแต่คนเก่ง แต่คนของประเทศนั้น ๆ ไม่มีคุณธรรม สังคม และประเทศนั้น ก็จะอยู่ไม่ได้ และล่มสลายในที่สุด ดังนั้นนอกจากความรู้ การมีคุณธรรมก็ถือว่าส�ำคัญมาก ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันเลย ซึ่งทั้งสองจะต้องควบคู่กัน ดังค�ำพูดที่ว่า “ความรู้ คู่คุณธรรม” ดังนั้น ครอบครัวเราจึงมองหาโรงเรียนที่มีมาตรฐานในการสอนในด้านวิชาการ ที่ เ ป็ น เลิ ศ โดยดู จ ากหลั ก สู ต รการสอน และสถิ ติ ผ ลสอบ O-net จึ ง พบว่ า มีหลายโรงเรียนที่เข้าข่ายตามที่ครอบครัวมองหาอยู่ แต่สิ่งหนึ่งเราพบว่าหลาย ๆ โรงเรียน ไม่ มี คื อ ความเอาใจใส่ ข องคณะคุ ณ ครู ที่ มี ต ่ อ นั ก เรี ย น และการสอนคุ ณ ธรรมให้ กั บ นั ก เรี ย น ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ มาก และเราพบว่ามีอยู่โรงเรียนหนึ่งที่ได้เน้นเรื่องดังกล่าว โดยได้ข้อมูลข่าวสารจากเพื่อนผู้ปกครองที่ส่งลูกเรียน ก่อนหน้านั้น และเราให้ลูกดูข่าวสารจากเอกสารของโรงเรียน และพาลูกไปยังสถานที่ของโรงเรียนจริง ซึ่งก่อนหน้านั้นเราก็พาลูกไปยัง โรงเรียนอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน หลังจากที่น้องเคน (ลูกของเรา) ได้เข้าไปดูสถานที่เรียนจริง และประกอบกับการได้พูดคุยกับคุณครูหลาย ๆ ท่าน ที่ มี ทั้ ง ข้ อ แนะน� ำ ในการเรี ย น และอั ธ ยาศั ย ดี ท� ำ ให้ น ้ อ งเคนเกิ ด ความประทั บ ใจ ที่ อ ยากจะเรี ย นโรงเรี ย นนี้ เราถามย�้ ำ แล้ ว ย�้ ำ อี ก ว่ า ตกลงตั ด สิ น ใจดี แ ล้ ว ใช่ ไ หม เพราะจะต้ อ งสละสิ ท ธิ์ ส อบหลาย ๆ ที่ ข องโรงเรี ย นอื่ น เนื่ อ งจาก วันสอบตรงกัน และค�ำตอบทุกครั้งที่น้องเคนตอบว่า “ผมอยากเรียนโรงเรียนนี้ครับ” เราเคารพในการตัดสินใจของลูก จึงอนุญาตให้น้องเคนเรียนโรงเรียนนี้ ที่ชื่อ มารีย์วิทย์สัตหีบ ครับ นายวรชัย - นางพรอากร ปิตุรัตน์ ผู้ปกครอง เด็กชายอัครภณ ปิตุรัตน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1
การศึ ก ษาของลู ก ๆ เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ และยิ่ ง ใหญ่ ม าก เป็ น พื้ น ฐานที่ ส� ำ คั ญ พ่ อ และแม่ จึ ง เลื อ กในสิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ให้ ลู ก โรงเรียนก็เปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของลูก มีทั้งความรัก ความอบอุ่น ที่ส�ำคัญคือ ลูกมีความสุขและสิ่งแวดล้อมที่ดี ครอบครัวเราจึงเลือกโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ เพราะเรามั่นใจว่าทางโรงเรียนจะให้ในสิ่งที่พ่อแม่คาดหวังไว้ได้ ทั้งการศึกษาที่ดี มีคุณภาพ มีคุณธรรม มีวินัย ทางครอบครัวเราขอขอบคุณคณะผู้บริหาร คณะครูและเจ้าหน้าที่ ที่ให้การดูแลเอาใจใส่ลูก ๆ ของเราตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนแห่งนี้ เป็นอย่างดีตลอดมา พันจ่าเอกมรกต มีเค้า - คุณธัญวรัตม์ หงษ์ทอง ผู้ปกครอง เด็กหญิงเกศกัญญาภัทร มีเค้า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เด็กชายกริชติฌานนท์ มีเค้า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5
21
สิ่ ง แรกที่ เราต้ อ งการให้ ลู ก ของเราเข้ า เรี ย นมั ธ ยมปลายจะต้ อ งเลื อ กโรงเรี ย นที่ มี คุ ณ ภาพ จริ ย ธรรม ทั ก ษะ ในการด�ำรงชีวิต เราจึงเลือกโรงเรียน มารีวิทย์สัตหีบ เพราะเห็นว่าทางโรงเรียนมีระบบการศึกษาต่าง ๆ และยังทันสมัยอีกด้วย ที่ส�ำคัญบรรยากาศ สภาพแวดล้อมนั้นยังสะอาด เป็นระเบียบ ปลอดภัยไม่มีเด็กเกเร ท�ำให้ผู้ปกครองสบายใจเป็นอย่างมาก จึงมัน่ ใจว่า โรงเรียนมารีวทิ ย์สตั หีบนัน้ เป็นโรงเรียนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เมือ่ ลูกจบไปจะได้เติบโตเป็นผูใ้ หญ่ในอนาคตทีด่ อี ย่างแน่นอน นายวสรร เซี่ยงฉี ผู้ปกครอง นายนนธวัข เตียวเจริญ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1
ครอบครัวเป็นสถาบันที่ส�ำคัญที่สุดของลูกหลาน ดังนั้น ครอบครัวจึงเลือกสิ่งที่ดีที่สุดให้กับลูกหลาน เพื่อให้พวกเขา ได้มีความรู้ความสามารถในการด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ครอบครัวจึงมอบสิ่งที่ดีที่สุดนั้นโดยให้ น้องอู๋และน้อง ศึกษาในโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ซึ่งมีนโยบายที่ให้นักเรียน สามารถเข้ามหาวิทยาลัยได้ 100% และเมื่อสืบค้นข้อมูลของโรงเรียน จากสือ่ ต่าง ๆ แล้วก็รวู้ า่ มีกจิ กรรมทีด่ มี คี วามอบอุน่ ระหว่างครูและนักเรียนตัวอย่าง เช่น การทีค่ ณ ุ ครูและมาสเตอร์ตกั ข้าวให้นกั เรียน ด้วยตนเอง มีบริเวณที่เหมาะแก่การเรียนการศึกษาในแบบต่าง ๆ เช่น กีฬา จากที่กล่าวมานี้จึงท�ำให้คุณปู่ คุณย่าและครอบครัว ไว้วางใจที่จะให้น้องอู๋ และน้องมาศึกษาที่สถาบันนี้ นาวาโทนภดล-คุณพัทธนี ปานรักษา ผู้ปกครอง นายธิติ ปานรักษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2
22
โรงเรียนคือ สถานที่ที่เป็นดั่งเส้นทางผ่านของชีวิตลูก คือที่ที่คอยให้ความรู้และเป็นสังคมเล็ก ๆ สังคมหนึ่งให้ลูก ได้เตรียมตัวก้าวข้ามผ่านสู่โลกที่กว้างใหญ่ พื้นฐานความรู้และการเข้าสังคม จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างมาก และโรงเรียนแห่งนี้เป็นสถานที่ที่เราไว้วางใจได้ว่า ลู ก ของเราจะเติ บ โตมาเป็ น บุ ค ลากรที่ ดี ค นหนึ่ ง ของประเทศและเป็ น คนดี ของครอบครัว ด้ ว ยความเป็ น แม่ ค น แม่ ไ ด้ เ ห็ น ว่ า โรงเรี ย นแห่ ง นี้ มี ค วามสามารถ ทางวิชาการที่ดีเยี่ยม และได้ยินถึงชื่อเสียงที่เลื่องลือมานาน จากค�ำแนะน�ำ ของหลายคนแม่จึงไว้วางใจที่จะให้ลูกของแม่เรียนที่โรงเรียนแห่งนี้ เพื่ออนาคต ของตัวเขาเองในวันข้างหน้า คุณถาวร ทองทิพย์ - คุณสิรภัทร สีชมชื่น ผู้ปกครอง นางสาวดวงหทัย ทองทิพย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3
ทัศนคติของครอบครัวเราด้านการเรียนของลูก เรามีความคิดในทิศทางเดียวกันว่า ลูกจะต้องเป็นทรัพยากรบุคคลที่ดีในอนาคต การตัดสินใจเลือกโรงเรียนให้ลูก ๆ จึงเป็น สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ของพ่อแม่ ครอบครัว เรามัน่ ใจว่าสถาบันการศึกษาทีด่ อี ย่างโรงเรียนมารีวทิ ย์สตั หีบ สามารถปลูกฝังลูกของเราได้เรียนรู้ทั้งวิชาการ คุณธรรม มีทักษะชีวิตที่ดี เติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่มีระเบียบวินัยในอนาคตได้ คุณวิชิต - คุณศุภลักษณ์ ชนานันท์ ผู้ปกครอง นางสาวอภิชญา ชนานันท์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 นางสาวนัยภัคน์ ชนานันท์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
23
เป้าหมายที่ท่าน ผอ.ชวน กิติเกียรติศักดิ์ ได้ให้ไว้ส�าหรับคณะผู้บริหารและ คณะครูเครือโรงเรียนมารีวิทย์ในการประชุมใหญ่ประจ�าปีการศึกษา 2560 คือ การเป็นผู้น�าทางการศึกษาภายใน 4 ปี หรือปีการศึกษา 2564 ซึ่งจะเป็นปีที่ เครือโรงเรียนมารีวิทย์ได้ก่อตั้งมาครบ 30 ปี ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ท่าน ผอ.ชวน จะท�าการตัง้ เป้าหมายให้เครือโรงเรียน มารีวิทย์ตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น ในยุคที่ท่าน ผอ.ชวน เริ่มก่อตั้งโรงเรียนมารีวิทย์ ผอ.ชวน มีเป้าหมายทีจ่ ะพัฒนาโรงเรียนให้เป็นที ่ 1 ในเมืองพัทยา โรงเรียนมารีวทิ ย์ ก็เจริญเติบโตมาได้เพราะท่าน ผอ.ชวน มุ่งมั่นที่จะน�าพาโรงเรียนมารีวิทย์ให้เป็น โรงเรียนที่ดีที่สุดในเมืองพัทยา และอีกตัวอย่างก็ตอนที่ทางโรงเรียนเปิดสอน ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ท่าน ผอ.ชวน ก็ตงั้ เป้าหมายให้คณ ุ ครูวา่ จะต้องพา นักเรียนสู่รั้วมหาวิทยาลัยรัฐบาลได้ทุกคนคิดเป็น 100% เป้าหมายนี้หลายคน ก็บอกว่าเป็นไปไม่ได้ ไม่สามารถที่จะท�าส�าเร็จได้ แต่เครือโรงเรียนมารีวิทย์ ก็ท�าส�าเร็จมาตั้งแต่ปีแรกจนถึงปัจจุบันรวมแล้ว 11 รุ่น
การพัฒนาครูให้มีคุณภาพ การที่เครือโรงเรียนมารีวิทย์จะเป็นผู้น�าทางการศึกษานั้น สิ่งส�าคัญก็คือ ครูที่มีคุณภาพ คุณครูในเครือโรงเรียนมารีวิทย์มาจากหลายสถาบันที่หลากหลาย แต่สามารถรวมกันเป็นหนึง่ และท�างานร่วมกันในเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์ได้ คุณครู ทุกคนจะต้องมาตระหนักถึงบทบาทของตนเองที่จะน�าพาเครือโรงเรียนมารีวิทย์ สูเ่ ป้าหมายทีผ่ นู้ า� ได้วางแนวทางไว้ ทางเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์มกี ระบวนการพัฒนา คุณครูให้เข้าสู่ระบบมารีวิทย์โดยการฝึกและอบรมคุณครูใหม่ทุกคน ทางโรงเรียน ให้ความส�าคัญกับจุดนี้อย่างมาก โดยเน้นไปที่ความอดทน การเปิดโอกาสให้ครู ได้ลองท�างานต่าง ๆ ในองค์กร รวมถึงมีการฝึกการสอนและมีการนิเทศติดตาม อย่างใกล้ชิด ด้านการพัฒนาคุณภาพของคุณครูทางเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์ให้ความส�าคัญ กับคุณธรรมในครูกอ่ นด้านวิชาการ โดยยึดหลักนิสยั ส�าคัญกว่าความรู ้ แต่ไม่ใช่ดอ้ ย ความรู้ ซึ่งจะตรงกับปรัชญาโรงเรียน ความรู้คู่คุณธรรม น�าวินัย ในปัจจุบันสังคม มักจะให้ความส�าคัญกับความส�าเร็จในชีวิตมากกว่ามองที่การมีคุณธรรมในชีวิต
24
รากฐานทีเ่ ครือโรงเรียนมารีวทิ ย์ตอ้ งการ ที่จะสร้างให้กับนักเรียนคือการเป็นคนดี ก่อนทีจ่ ะเป็นคนเก่ง ทางผูบ้ ริหารโรงเรียน จึงให้ความส�าคัญกับนิสยั และคุณลักษณะ ที่ดีของคุณครูก่อนด้านความรู้ การอบรมพัฒนาด้านความรูต้ า่ ง ๆ ก็ท�าอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�าทุก ๆ ปี การเปิดโลกทัศน์ของคุณครูนั้นเป็นส่วน ทีส่ า� คัญในการทีจ่ ะพัฒนาการสอน ในการ เปลีย่ นแปลงของโลกทีเ่ ป็นไปอย่างรวดเร็ว เราไม่ส ามารถปฏิเสธได้ว ่าสิ่งนี้ ส�า คั ญ ทางโรงเรียนให้ความส�าคัญคือการพัฒนา ศักยภาพของแต่ละคน ทางโรงเรียนได้สง่ คุณครูไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาต่อ ในแต่ ล ะสาขาวิ ช าที่ คุ ณ ครู ถ นั ด หรื อ การบริหารการศึกษา รวมทั้งการเรียน ภาษาอังกฤษและภาษาจีนในต่างประเทศ ส่วนการพัฒนาการเรียนการสอน ทางเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์มกี ารวิเคราะห์ การเรียนการสอนในห้องเรียนอย่างจริงจัง เรามีการนิเทศครูอย่างต่อเนือ่ งในทุก ๆ เทอม เพื่อให้มีการพัฒนา การท�าสื่อการสอน รวมทั้งหนังสือต่าง ๆ ด้วยคณะครูเพื่อให้ เหมาะสมกั บ การเรี ย นที่ ท างโรงเรี ย น เล็งเห็นความส�าคัญ
ความเป็นหนึ่งเดียว
One Maryvit เป็นหลักการท�างาน ที่ ผ มได้ ตั้ ง ไว้ ใ ห้ ค ณะครู เ ครื อ โรงเรี ย น มารีวทิ ย์เมือ่ ได้มาร่วมงานกับเครือโรงเรียน มารีวิทย์เมื่อ 4 ปีที่แล้ว เพราะว่าเครือ โรงเรียนมารีวทิ ย์ม ี 3 โรงเรียน คณะครูของ ทั้ง 3 โรงเรียนในเครือโรงเรียนมารีวิทย์
จะต้องช่วยกันพัฒนาทุกโรงเรียน ไม่ใช่เฉพาะแค่โรงเรียนที่ตัวเองท�าอยู่แต่ถ้า มีอะไรดี ๆ ที่จะช่วยนักเรียนในเครือโรงเรียนมารีวิทย์เราจะต้องแบ่งปันและ ช่วยกันพัฒนา ผ่านไปแล้ว 4 ปี ผมพึงพอใจกับนโยบาย One Maryvit มาก เพราะว่าเห็นคุณครูทั้ง 3 โรงเรียนในเครือโรงเรียนมารีวิทย์ได้ร่วมมือกันมากขึ้น หากโรงเรียนไหนต้องการความช่วยเหลือไม่ว่าจะด้านบุคลากรหรือในการจัด กิจกรรมต่าง ๆ อีกโรงเรียนหนึ่งก็พร้อมที่จะช่วยเสมอ ความเป็นหนึ่งเดียวนี้ เป็นความได้เปรียบของเครือโรงเรียนมารีวิทย์ สิ่งนี้เราจะเห็นได้ชัดจากคณะครูที่มีการไปช่วยสอนในอีกโรงเรียนหนึ่ง ในเครือโรงเรียนมารีวิทย์ ทุกคนไปด้วยความเต็มใจเพื่อที่จะช่วยพัฒนานักเรียน ในเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์ในวิชาทีค่ รูอาจจะมีความช�านาญไม่เพียงพอ เพือ่ พัฒนา ประสิทธิภาพการเรียนการสอน การที่เราเป็นหนึ่งเดียวกันได้นั้นก็หมายถึง ความมัน่ คงของเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์และก็พลังทีจ่ ะน�าพาเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์ ก้าวไปข้างหน้า เพราะทุกปัญหาที่เราจะต้องเผชิญเรามีพลังที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้ลุล่วงส�าเร็จไปได้ด้วยดีเพราะเราช่วยเหลือกันตามนโยบาย One Maryvit การปรับการเรียนการสอนให้พัฒนาไปกับประเทศไทย 4.0 ทางเครือโรงเรียนมารีวิทย์ได้พยายามที่จะปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน ให้พฒ ั นาไปกับประเทศไทย 4.0 โดยน�าแนวทางของต่างประเทศมาดัดแปลงให้เข้ากับ สังคมและวัฒนธรรมไทย ผมให้ความส�าคัญในส่วนนี้มากเป็นพิเศษถึงแม้ว่าจะ ใช้ชวี ติ ในอเมริกาถึง 25 ปี ทัง้ ในการเรียนและการท�างาน แต่ผมขอบอกได้เลยว่าสิง่ ทีท่ า� ให้ผมประสบความส�าเร็จในการท�างานก็คอื การทีไ่ ด้เรียนในประเทศไทยตัง้ แต่ ป.5-ม.3 ผมได้รบั หลาย ๆ สิง่ ในช่วงเวลานีท้ เี่ ป็นพืน้ ฐานทีด่ ี ไม่วา่ จะเป็นการท่องศัพท์ การท่องสูตรคูณ การเคารพและให้เกียรติผู้ใหญ่ การไหว้ครู และอีกหลาย ๆ สิ่ง แต่สิ่งหนึ่งที่คนไทยในวันนี้มักมองข้ามในการน�าแนวทางของต่างประเทศมาใช้ ในประเทศไทยก็คือสิ่งที่โรงเรียนไทยท�าได้ดี ทางเครือโรงเรียนมารีวิทย์ได้มีการเปลี่ยนแปลงในปีการศึกษานี้ก็คือ การลดกิจกรรมต่าง ๆ ในเวลาเรียนให้นอ้ ยลง ประเทศไทยมีวนั เรียนมากแต่จริง ๆ แล้วมีเวลาเรียนน้อยเพราะกิจกรรมในโรงเรียนมีคอ่ นข้างสูง จากประสบการณ์จริง ที่เรียนในอเมริกา เวลาเรียนตั้งแต่ 7.30 น. - 14.30 น. จะเป็นคาบเรียนที่ไม่มี กิจกรรมเลย กิจกรรมต่าง ๆ ต้องเกิดหลังเลิกเรียน แม้แต่พักเที่ยงยังให้เวลาแค่ 30 นาที เท่านั้น ทางเครือมารีวิทย์ได้มีการวางแผนกิจกรรมให้น้อยลงบ้างหรือ บูรณาการกิจกรรมวันต่าง ๆ ให้มาท�าร่วมกัน ตัวอย่างเช่น ทางเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์
ได้นา� กิจกรรมในวันสุนทรภู ่ วันภาษาไทย และ วันป้องกันยาเสพติด มาบูรณาการ และจั ด กิ จ กรรมให้ กั บ นั ก เรี ย นในวั น เดี ย วกั น นั ก เรี ย นยั ง มี โ อกาสที่ จ ะท� า กิจกรรมเหมือนเดิม แต่สิ่งที่ได้กลับก็คือ เวลาเรียนและสมาธิในการเรียน การที่ โรงเรียน คณะครูและนักเรียนต้องจัด กิ จ กรรมเป็ น การรบกวนสมาธิ ทั้ ง ของ คุณครูและนักเรียน การพัฒนาด้านภาษาอังกฤษและ ภาษาจีนเป็นอีกจุดที่ทางผู้บริหารเครือ โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ ไ ด้ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ เป็นอย่างสูง ทางเครือโรงเรียนมารีวิทย์ ก� า ลั ง เน้ น ที่ จ ะพั ฒ นาทั ก ษะทางภาษา อังกฤษของคุณครูอย่างจริงจัง เราได้มกี าร ให้คณ ุ ครูเรียนภาษาอังกฤษอย่างต่อเนือ่ ง ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ตัง้ แต่การเรียนในห้องเรียน การเรียนออนไลน์ การเรียนในต่างประเทศ ภาษาจีนก็ไม่ถกู ทอดทิง้ ทางเครือโรงเรียน มารีวิทย์มีการร่วมมือกับสถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัยบูรพาและมีการร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยในประเทศจีนในขัน้ เบือ้ งต้น เรายั ง มองหาโอกาสในการร่ ว มมื อ กั บ ประเทศจีนในอนาคต สุ ด ท้ า ยนี้ ผ มในฐานะผู ้ น� า เครื อ โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ มั่ น ใจว่ า เป้ า หมาย การเป็ น ผู ้ น� า ทางการศึ ก ษาของเครื อ โรงเรียนมารีวิทย์ในอีก 4 ปีข้างหน้านั้น จะเป็ น เป้ า หมายที่ จ ะท� า ให้ นั ก เรี ย น เครือโรงเรียนมารีวิทย์พร้อมที่จะได้รับ โอกาสต่าง ๆ ที่จะมาพร้อมกับการที่ ประเทศไทยจะพัฒนาเป็นไทยแลนด์ 4.0 และการเปิดระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก ซึง่ จังหวัดชลบุรเี ป็น 1 ใน 3 จังหวัดในเขต ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก ทางคณะ ผู้บริหารและคณะครูพร้อมที่จะพัฒนา ตนเองไม่วา่ จะมีอปุ สรรคมากมายเพียงใด เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายนีแ้ ละผลประโยชน์ ของนักเรียนเครือโรงเรียนมารีวิทย์
25
Point of View Industrial 4.0 (Robotics) มุมมองอุตสาหกรรมยุค 4.0 (หุ่นยนต์) Kitti Suwanratchatamanee (Dr.Eng) กิตติ สุวรรณรัชตมณี (วศ.ด.) Managing Director Visiting Researcher GOLDEN ROBOT Co., Ltd. WASEDA UNIVERSITY 83/50, M.1, T.Phala, A.Banchang, Rayong 55N-4F-10A, 3-4-1, Okubo, Shinjuku-ku Point of View Industiral 4.0 (Robotics) Thailand 21130 Tokyo, Japan 169-8555 www.rc-goldenrobot.com www.shalab.phys.waseda.ac.jp มุมมองอุตสาหกรรมยุค 4.0 (หุนยนต) kittiene@rc-goldenrobot.com kittiene@shalab.phys.waseda.ac.jp KittitheSuwanratchatamanee (Dr.Eng) Industrial Revolutions Abstract — The process of changing production กิตติ สุวรรณรั .ด.) Transformation From > To Core Technology Era method is to be changed by the way, we all will inevitably cause ชตมณี (วศ Director Visiting Researcher by industrial revolution.Managing It’s happened 4 times already, all changed Farming > Factory Steam Engine 1.0 GOLDEN ROBOT Co., Ltd. WASEDA UNIVERSITY th according to the influence of the core technology. For this 4 83/50, M.1, T.Phala, A.Banchang, Rayong 55N-4F-10A, 3-4-1, Okubo, Shinjuku-ku Electric/Diesel 2.0 Simple FactoryTokyo, > Production industrial revolution, transforms business model into a digital Thailandthe 21130 Japan Line 169-8555 Engines www.rc-goldenrobot.com www.shalab.phys.waseda.ac.jp form from “IOT” influence, where all managing actors in the Electronic kittiene@shalab.phys.waseda.ac.jp Manual Production > Automate Production 3.0 organization needkittiene@rc-goldenrobot.com to adapt their organization accordingly. The Computer instance company has integrated internet technology into the Control@Site > Control Elsewhere Cyber/Internet 4.0 Abstract — to Theconnect process ofdevices changingonline. the production methodusers is to beto Industrial Revolutions robot system This allows changed by the way, we all will inevitably cause by industrial revolution. Table 1. Information from Industry 1.0 Industry 4.0 Era Transformation From > To CoretoTechnology realize control4 over usageallofchanged devicesaccording via the internet in real time. It’s happened timesthe already, to the influence of Farming และตารางที > Factory ่ 1 แสดงถึงการปฏิ Stream 1.0 ่เกิด the core technology. For this 4 industrial revolution, transforms the จากภาพ วัตEngine ิอุตสาหกรรมที business Keywords model into — a digital form from อุตสาหกรรม 4.0;"IOT" ปฏิวัติอinfluence, ุตสาหกรรม;where all มาแล้SimpleFactory Electric / Diesel > คProductionLine ว 4 ยุค แต่ละยุ ล้วนท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิ ธีการผลิตที2.0 ่เปลี่ยน managing actors in the organization need to adapt their organization Engines ่นยนต์อุตhas สาหกรรม; accordingly. The instance หุcompany integrated internet technology Electronic ไปจากอิ ทธิพลของตัว>เทคโนโลยี หลัก ManualProduction AutomateProduction 3.0 into the robot system to connect devices online. This allows users to Computer realize control over the usage of devices via the internet in real time. ▲ ยุค 1.0 เป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีเครื่องจักร Control@Site > Control Elsewhere Cyber / Internet 4.0 I. INTRODUCTION กลไอน� ้ า ท� า ให้ ม ี ก ารสร้ า งโรงงาน จากนั ้ น ผู ้ ค นเริ ่ ม ย้ า ยถิ ่นฐาน วัติอุสวาหกรรม ; หุนยนต าหกรรม; Keywords — อุตสาหกรรม4.0; Table 1. Information from Industry 1.0 to Industry 4.0 Industrial Revolution ปฏิ การปฏิ ตั อิ ตุ สาหกรรม คืออุสกระบวนการ เข้ามาเป็นพนักงานในโรงงานเปลี่ยนการผลิตแบบดั้งเดิมใน เปลี่ยนแปลง วิธีการผลิตที่จะต้องเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยที่เราทุกคน จากภาพ และตารางที่1 แสดงถึงการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่เกิดมาแลว 4 ยุค แตละยุคลวน แบบธรรมชาติเข้าสู่ระบบการผลิตแบบโรงงาน I. INTRODUCTION จะหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยผลกระทบของมั นจะมีผลต่อการเมืองการปกครอง ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิตที่เปลี่ยนไปจากอิทธิพลของตัวเทคโนโลยีหลัก ▲ ยุค 2.0 เป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีเครื่องจักร Revolution การปฏิวัติอษุตยชาติ สาหกรรมคื อกระบวนการเปลี ่ยนแปลงวัติ สังคมIndustrial เศรษฐกิจ และวั ฒนธรรมของมนุ ทั่วโลก ยกตัวอย่างการปฏิ ยุค1.0กลไฟฟ้ เปนการปฏิ วัติอุต้สาหกรรมด กรกลไอน้้ นํา ทํท�าให า และน� า มั น ที่ มี กว� ายเทคโนโลยี ลั ง ประสิ ทเครืธิ่อภงจัาพมากขึ า ให้ ารผลิตที่จะตองเปลี ่ยนแปลงไปจากเดิงกฤษในช่ มโดยที่เราทุวงคริ กคนจะหลี กเลี่ยงไมไ่ ด18 โดยผล อุวิธตีกสาหกรรมครั ้งแรกในประเทศอั สต์ศตวรรษที จากนั้น มีการสร างโรงงาน าจากนั ้นผูคตนเริ ่มมยากและเร็ ายถิ่นฐานเขวามาเป นส่พนั กงานในโรงงาน สามารถสร้ งผลผลิ ได้ ขึ ้ น ง ผลให้ ต ้ อ งมี การ กระทบของมั นจะมีผงลต อการเมืองการปกครอง งคม ่วเศรษฐกิ จ ่สและวั ได้ แพร่ขยายไปยั ประเทศตะวั นตกอื่น ๆ สัและทั โลกในที ุด ฒนธรรมของ เปลี่ยนการผลิ ต แบบดั ง ้ เดิ ม ในแบบธรรมชาติ เ ข า สู ร ะบบการผลิ ต แบบโรงงาน ควบคุมจัดการผลิตเป็นแบบสายงานการผลิตในโรงงาน มนุษยชาติทระบบการผลิ ั่วโลก ยกตัวอย างการปฏิ ิอุตสาหกรรมครั ้งแรกในประเทศอั วง ตแต่ เดิมนัว้นัตจะท� ากันภายในครอบครั ว มังกกฤษในช ใช้แรงงาน ยุ ค 2.0 วัติอุตสาหกรรมด วยเทคโนโลยี เครื่องจักรกลไฟฟ า และกส์ ▲ ยุ ค เป3.0นการปฏิ เป็นการปฏิ วตั อิ ตุ สาหกรรมด้ วยเทคโนโลยี อเิ ล็กทรอนิ คริสตศตวรรษที่18 จากนั้นไดแพรขยายไปยังประเทศตะวันตกอื่นๆ และทั่วโลกในที่สุด คนหรื อสัตว์ อีกทั้งพลังงานต่าง ๆ ที่ได้จากธรรมชาติ เช่น กังหันน�้า กังหันลม น้ า ํ มั น ที ม ่ ก ี ํ า ลั ง ประสิ ท ธิ ภ าพมากขึ ้ น ทํ า ให ส ามารถสร า งผลผลิ ต ได ม ากและเร็ ว และคอมพิวเตอร์ที่สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมการท�างาน ระบบการผลิตแตเดิมนั้นจะทํากันภายในครอบครัว มักใชแรงงานคนหรือสัตว อีก น�ทั้งาพลั มาประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ป็ น เครื ่ อ งมื อ ส� า หรั บ ช่ ว ยในการผลิ ต อย่ า งง่ า ย แต่ เ มื ่ อ มี ขึ้น สงของเครื ผลใหตอ่องมีงจั การควบคุ ดการผลิ นแบบสายงานการผลิ ในโรงงาน งงานตางๆที่ไดจากธรรมชาติเชน กังหันน้ํา กังหันลม นํามาประยุกตใชเปน กรกลร่มวจัมกั บอุปตเปกรณ์ เซ็นเซอร์อิเล็กตทรอนิ กส์ให้ การน� าเครือ่ งจักรไอน�า้ มาใช้ ท�าให้มกี ารสร้างโรงงาน จากนัน้ การผลิตภายใน เครื่องมือสําหรับชวยในการผลิตอยางงาย แตเมื่อมีการนําเครื่องจักรไอน้ํามาใช ทําใหมี ยุค3.0ท�างานได้ เปนการปฏิ วัตอิ ุงการแบบอั ตสาหกรรมดวตยเทคโนโลยี ตามต้ โนมัติ อิเล็กทรอนิกส และคอม ครอบครั วจึงก็ค่อจากนั ย ๆ้นหมดไป ้คนจ�านวนมากต้ ้งถิ่นฐานในชนบทและ การสรางโรงงาน การผลิตผูภายในครอบครั วจึงก็อคงละทิ อยๆหมดไป ผูคนจํานวนมาก พิ▲ วเตอร ามารถเขี ยนโปรแกรมควบคุ มการทํางานของเครื ่องจักรกลร วมกัเบน็ต ยุคที่ส4.0 เป็นการปฏิ วัติอุตสาหกรรมด้ วยเทคโนโลยี อินเทอร์ อพยพเข้ างานเป็นพนักงานในโรงงาน ตองละทิ้งถิา่นมาท� ฐานในชนบทและอพยพเข ามาทํางานเปนพนักงานในโรงงาน อุปกรณ เ ซ็ น เซอร อ เ ิ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ ห ท า ํ งานได ต ามต อ งการแบบอั ต โนมั ต ิ ที่ท�าการเชื่อมโยงเครื่องจักรกับอุปกรณ์สื่อสารสมาร์ทต่าง ๆ ออนไลน์ ท�าวให้ มและตรวจสอบการผลิ ยุ ค 4.0 เปนการปฏิ ัติอุตเราสามารถควบคุ สาหกรรมดวยเทคโนโลยี อินเตอรเน็ตที่ทําการเชื่อตมได้ II.II. P OINT OF IEW IINDUSTRIAL NDUSTRIAL 4.0 POINT OFVVIEW 4.0 ทําให โยงเครืจากทุ ่องจักรกั กรณสื่อาสารสมาร ทตางๆออนไลน กทีบ่ทอุุกปเวลาผ่ นระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็เราสามารถควบ ต A.A.Step bybyStep Step StepofofIndustrial IndustrialRevolutions Revolutions คุมและตรวจสอบการผลิตไดจากทุกที่ทุกเวลาผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ต (1) Any object + IOT = Industrial 4.0 object objectIOTIndustrial 4.0 object IOT: Any Internet of Things หมายถึง การที ่สิ่งต่างๆ ถูกเชื่อ มโยง ทุกสิIOT: ่งทุกอย่ าง ออนไลน์ ท�าให้ เราสามารถรั ้ สัถู่งกการ ควบคุกมสิ่การใช้ Internet of Things หมายถึ ง การที่สิ่งบตารูงๆ เชื่อมโยงทุ งทุกอยางงาน อุ ป กรณ์ ต ่ า ง ๆ ผ่ า นทางระบบเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต จากสมการที ่ (1) ออนไลนทําใหเราสามารถรับรู สั่งการ ควบคุมการใชงานอุปกรณตางๆผานทางระบบ แสดงถึ ่งของที่เป็่ (1)นการปฏิ วัตงิอสมการของสิ ุตสาหกรรมครั ้งที่เป่ 4นการปฏิ คือสิ่งวนััต้นิ ๆ เครื อขายอิงสมการของสิ นเตอรเน็ต จากสมการที แสดงถึ ่งของที จะต้ อ งมี ก ารผนวกใช้ เ ทคโนโลยี อ ิ น เทอร์ เ น็ ต ที ่ เ ชื ่ อ มต่ อ อุ ป กรณ์ ก ั บ ่องมื อุตสาหกรรมครั้งที่4 คือสิ่งนั้นๆจะตองมีการผนวกใชเทคโนโลยีอินเตอรเน็ตที่เเครื ชื่อมต ออ ง ๆกับเข้เครื าไว้่อดงมื้วอยกัตานงๆโดยถ้ นั้นน ๆโดยถ ไม่าไสิด้่งมนัีก้นารใช้ ินเทอร์เน็ต อุต่ปากรณ เข า ไวาดสิ ว่งยกั ๆไมเไทคโนโลยี ด มี ก ารใช เอทคโนโลยี อิก็นจเตอร วาเปนส่ว4.0นมากมั สวนมากมั มีการเข าใจผิดดว่วาาการน� การนําาหุหุน่นยนต ในใน ะไม่เน็ถตือก็ว่จาะไม เป็นถือ4.0 กมีกการเข้ าใจผิ ยนต์มาใช มาใช้ โรงงานคื อ 4.0 แต ถ า ไม ไ ด เ ชื อ ่ มต อ ประยุ ก ต ใ ช ง านอิ น เตอร เ น็ ท ก็ ถ อ ื ว า เป น ยุ ค 3.0 เท า นั ้น น Fig. 1. Time chart from Industry 1.0 to Industry 4.0 โรงงานคือ 4.0 แต่ถ้าไม่ได้เชื่อมต่อประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ตก็ถือว่าเป็ ยุค 3.0 เท่านั้น th
[1]
26
Changes of the businesses effected by Industrial 4.0 B.B.Changes of the businesses effected by Industrial 4.0
สืบเนื วัติอุตสาหกรรมครั ้งที่4 ทําใหง้ ทีเกิ่ 4ดการเปลี รกิจ สืบ่องจากการปฏิ เนือ่ งจากการปฏิ วตั อิ ตุ สาหกรรมครั ท�าให้เ่ยกินแปลงรู ดการเปลีปแบบธุ ย่ นแปลง ่วโลกเขาสูธุรกิจในรู่วปโลกเข้ แบบดิาจสูิต่อล ลของ จ“IOT” รูปมากมายในหลายประเทศทั แบบธุรกิจมากมายในหลายประเทศทั ธุรกิจากอิ จในรูทธิปพแบบดิ ิตอล ส ง ผลให บ ริ ษ ั ท ยั ก ษ ใ หญ ใ นสหรั ฐ อเมริ ก าด า นสื ่ อ สิ ่ ง พิ ม พ ต า งๆมี ก ารป จากอิทธิพลของ “IOT” ส่งผลให้บริษัทยักษ์ใหญ่ในสหรัฐอเมริกดตัาด้วลงหรื านสื่ออ สวนผูนําทางดานการคาปลีกหรือหางสรรพสินคา สิ่ปรั งพิบChanges มB.ตัพ์วเปลี ตChanges ่า่ยงนเปๆofนมีสืthe ก่อofออนไลน ารปิ ดbusinesses ตัแวทน ลงหรื อeffected ปรับตัวเปลี นเป็ นสื่อออนไลน์ B. businesses by่ ยIndustrial 4.0 แ ทน the Industrial 4.0 ่งธนาคาร ก็ทยอยกันลดสาขาลงดวeffected ยเชนกัน เนืby ่องจากการทํ าธุรกรรมออนไลน ส่วแมนผูกสืระทั นบ้ เนืา� ทางด้ า นการค้ า ปลี ก หรื อ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า แม้ ก ระทั ง ่ ธนาคาร ก็ทยอย วัติอวุตัตสาหกรรมครั ้งที่4 ทําใหเกิเกิดดการเปลี ่ย่ยนแปลงรู แบบธุ สื่อบงจากการปฏิ เนื่องจากการปฏิ ิอุตสาหกรรมครั การเปลี นแปลงรู ปปแบบธุ รรกิกิจบจ เขามาแทนการไปทํ าธุรกรรมจากสถานที ่จริง้งทีอี่4กทัทํา้งให มีการใช เงินในรู ปแบบใหม สําหรั กันลดสาขาลงด้ วยเช่นกั่วโลกเข น่วโลกเข เนืา่อสูงจากการท� ธุรกรรมออนไลน์ เข้ ามาแทน มากมายในหลายประเทศทั ธาสูุรธกิุรจกิในรู ปแบบดิ จจิติตอล ลของ “IOT” มากมายในหลายประเทศทั จในรู ปาแบบดิ อลจากอิ จากอิทธิพลของ “IOT” ซื้ อ ขายสิ น ค า ออนไลน เช น เหรี ย ญของฉั น “My-Coins” ในโปรแกรมสื่ อ สาร ่จฐริอเมริ อีกกาดทักาด้งามีนสื ปแบบใหม่ �าลงหรื หรับออ ส งผลให ษ ใหญ ในสหรั ฐงอเมริ ากนสืารใช้ งๆมี สการไปท� งผลให บาริธุษรกรรมจากสถานที ับทริยัษกั ทษยัใกหญ ในสหรั ่ อ่สิอสิ่ ง่พิงเพิงิมมนพพในรู ตต า างๆมี การปดดตัตัวสวลงหรื แอพพลิ เคชั่ นไลน (LINE) ส วนหลายประเทศในทวี ปยุ โ รปนั้ นกํ าลั ง ใช นโยบาย ซือ้ บขายสิ าออนไลน์ น เหรี ญของฉั อ่ สาร บน ตัว่ยค้เปลี ่ยนนเป สื่อเช่ ออนไลน แยทน วนผู ํา“My-Coins” ทางดานการค านการคาาปลี ปลีในโปรแกรมสื กหรือหาางสรรพสิ นนคคา า ปรั ตัปรั วเปลี นเป สื่อนออนไลน แทน สวสนผู นําน ทางด “Cashless” คือการเลิ กใชเงินเหรี ยญและธนบั ตร โดยได มีการเปลีกหรื ่ยนไปใชงสรรพสิ ธุรกรรมใน แม ก ระทั ่ ง ธนาคาร ก็ ท ยอยกั น ลดสาขาลงด ว ยเช น กั น เนื ่ อ งจากการทํ า ธุ ร กรรมออนไลน แอพพลิ เ คชั น ่ ไลน์ (LINE) ส่ ว นหลายประเทศในทวี ป ยุ โ รปนั น ้ ก� า ลั ง ใช้ น โยบาย แมรูกประทั ่งธนาคาร ก็ทยอยกัเนงินลดสาขาลงด ่องจากการทํ าธุรกรรมออนไลน แบบดิ จิตอลแทนการใช จริงแบบเดิมวนียเช ่คือนตักัวนอยเนื างการเปลี ่ยนแปลงของโลก เขามาแทนการไปทํ าธุรกกรรมจากสถานที ่จงริงอีกอีทัก้งทัมี้งมีกตการใช ารใช เงินนในรู ในรู แบบใหม สสําําหรั บบ “Cashless” คื อ การเลิ ใช้ เ งิ น เหรี ย ญและธนบั ร โดยได้ ม ก ี ารเปลี ่ยนไปใช้ เข ามาแทนการไปทํ า ธุ ร กรรมจากสถานที ่ จ ริ เ งิ ปปตะวั แบบใหม หรั [2] จากเฟสบุ ค (Facebook) ประกาศว า มี 241ล า นผู ใ ช ใ นเอเชี ย น ออกเฉี ย งใต ซื้ อ ขายสิปน แบบดิ ค า ออนไลน เช น เหรี ย ญของฉั ในโปรแกรมสื จิทเชัลนแทนการใช้ เงินนจริน“My-Coins” ง“My-Coins” แบบเดิ ม่งของประชากรไทยมี นี่คือตัวอย่า่ องการ ซืธุ้รและ37ล อกรรมในรู ขายสิ เหรี ย ญของฉั ในโปรแกรมสื ่ อสาร สาร านนผูคเใาคชั ชออนไลน ท่ นี่เปไลน นคนไทยในป 2015 ดังนั้นประมาณครึ ่งหนึ การ แอพพลิ (LINE) ส ว นหลายประเทศในทวี ป ยุ โ รปนั ้ น กํ า ลั ง ใช น โยบาย เปลี ย ่ นแปลงของโลก แอพพลิ เ คชั ่ น ไลน (LINE) ส ว นหลายประเทศในทวี ป ยุ โ รปนั ้ น กํ า ลั ง ใช น โยบาย า มามี บ ทบาทในชี ว ิ ต ของ เขาถึ“Cashless” งระบบอินคืเทอร เ น็ ต ซึ ่ ง แสดงให เ ห็ น แล ว ว า “IOT” นั ้ น เข อการเลิกคใช(Facebook) เงินเหรียญและธนบั ตร โดยไดมีก241 ารเปลีล้่ยานไปใช กรรมในย [2]คือการเลิ จากเฟสบุ น ผู้ใช้ธธใุรุรนเอเชี “Cashless” กใชดัเงงินัน้นเหรี ยระกอบการไทยจะนิ ญและธนบัประกาศว่ ตร โดยไดามมีีการเปลี กรรมใน คนไทยไปแล ่นเอง ด่ยนไปใช เพราะจะต องมีการ รูปแบบดิจวิตนัอลแทนการใช เผูงิปนจริ งแบบเดิม นี่คือตัวอย่งนอนใจไม างการเปลี่ยไนแปลงของโลก น่ยออกเฉี ย งใต้ และ 37 ล้ า น ผู ใ ้ ช้ ท เ ่ ี ป็ น คนไทยในปี 2015 ดั ง นั น ้ ประมาณ รูตะวั ปเปลี แบบดิ จ ต ิ อลแทนการใช เ งิ น จริ ง แบบเดิ ม นี ค ่ อ ื ตั ว อย า งการเปลี ย ่ นแปลงของโลก นแปลงเกิ ด ขึ ้ น อย า งแน น อน และถ า เกิ ด ขึ ้ น ก็ จ ะส ง ผลกระทบแบบรวดเร็ ว มาก มาก [2] จากเฟสบุค (Facebook) ประกาศวามี 241ลานผูใชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ครึเสี่งยหนึ ่ ง ของประชากรไทยมี ก ารเข้ า ถึ ง ระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ซึ ่ ง แสดงให้ เ ห็ารนว [2] จากเฟสบุ ค (Facebook) ประกาศว า มี 241ล า นผู ใ ช ใ นเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย จนผู ป ระกอบการในทุ ก ภาคส ว นจะต อ งหั น มามองจุ ด ยื น ขององค ก รตนเอง แล และ37ลานผูใชที่เปนคนไทยในป 2015 ดังนั้นประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรไทยมีกงใต แล้ปรัวบว่เขเปลี าาาถึนผู “IOT” ้นคนไทยในป เข้อเงกัน็ามามี บถ2015 ทบาทในชี ววิตวาของคนไทยไปแล้ วนั่นกเอง นัเชก้นนาร และ37ล ใชทสี่เอดคล ปนนันเทอร ้นอาจไม ประมาณครึ ่งนัหนึ ของประชากรไทยมี ่ยงระบบอิ นให าไมเชดัเห็นงนนัแล สามารถที กษาองค รไวไวดัดิตงของ ตบซึมั่งนแสดงให “IOT” ้นเขจ่งาะรั มามี บทบาทในชี ผูเข้ปดัาถึงระกอบการไทยจะนิ ง ่ นอนใจไม่ ไ ด้ เพราะจะต้ อ งมี ก ารเปลี ย ่ นแปลงเกิ ด มามี ทบาทในชีองมี วิตกขึของ นเทอร ตกซึษดั่งใแสดงให ห็นแลววา ่ไ“IOT” นั้นดเข วนักเน็่นรยัเอง งหญ นั้นใผูนต ประกอบการไทยจะนิ ่งนอนใจไม ไดบเพราะจะต าร้น ตังคนไทยไปแล วระบบอิ อยางขององค าเงประเทศที ดทําการป ตัวาไป อย่างแน่ อนวนัและถ้ ก็อนจะส่ งผลกระทบแบบรวดเร็ มากเสี ยมาก จน เปลี่ยนนแปลงเกิ ดขึ้นดัาอย และถ าเกิดขึ้นก็จะส งผลกระทบแบบรวดเร็ วมาก คนไทยไปแล ่นเอง งเกิ นัา้นดงแน ผูขึป้นนระกอบการไทยจะนิ ่งนอนใจไม ไวดมาก เพราะจะต องมี การ Introducing Golden Robot Co., Ltd. ผูเปลีC. ้ป่ยระกอบการในทุ ก ภาคส่ ว นจะต้ อ งหั น มามองจุ ด ยื น ขององค์ ก รตนเอง เสียจนผูปดระกอบการในทุ กภาคส มามองจุ ดยืนขององคกรตนเอง ว นแปลงเกิ ขึ้นอยางแนนอน และถวนจะต าเกิดขึอ้นงหัก็จนะส งผลกระทบแบบรวดเร็ วมากแลมาก “บริ ษบ ัท มัโกลเด นาไม่ โรบอท จํ้นากัอาจไม่ ด” คือบริ ษัทผูนําทางด านการ แล้ ว ปรั บ เปลี ่ ย นให้ ส อดคล้ อ งกั น ถ้ เ ช่ น นั ส ามารถที ่ จ ะรั ก ษา ปรั บ เปลี ย ่ นให ส อดคล อ งกั บ มั น ถ า ไม เ ช น นั ้ น อาจไม ส ามารถที ่ จ ะรั ก ษาองค ก รไว ไ ด เช น เสียจนผูประกอบการในทุกภาคสวนจะตองหันมามองจุดยืนขององคกรตนเอง แล ว ออกแบบและรวบรวมระบบหุ ในอุตสาหกรรม4.0 องค์บเปลี กดัรไว้ ได้าสงขององค เช่อดคล นดังอตักงกัรยัวอย่ งขององค์ กษ์่ไดใสหญ่ ในต่ดนตัา่จยนต ด้ทไ�าดการ งตั่ยวนให อย หญ นตเชางประเทศที ทามารถที ําการป วงประเทศที ไปกษาองคก่ไรไว ปรั บกมัษนาใ(SI: ถาใไม นนัก้นรยั อาจไม ะรั เชน System Integrator) ทางเราเปนตัวแทนจําหนายอยาง ปิดังดตัตัวอย วC.ไปางขององค Introducing Co., Ltd. กรยักษใGolden หญเปในต าRobot งประเทศที ําการป่อมดตัและหุ วไป นยนตอุตสาหกรรม นทางการของสิ น่ไคดาทงานเชื
Fig. 2. Welding Robotic System for Industry 4.0
III. CONCLUSION กระบวนการเปลี ย่ นแปลงวิ ทีจ่ ะต้ องเปลีย่ นแปลงไปจากเดิ กระบวนการเปลี ่ยนแปลงวิ ธีการผลิธตกี ทีารผลิ ่จะตอตงเปลี ่ยนแปลงไปจากเดิ มโดยที่เราทุกม โดยที ่ เ ราทุ ก คนจะหลี ก เลี ่ ย งไม่ ไ ด้ ท � า ให้ เ กิ ด การปฏิ ว ั ต ิ อ ุ ต สาหกรรม คนจะหลี ก เลี่ ยFig. งไม2.ไ ดWelding ทํ า ให เ กิ ดRobotic การปฏิ วSystem ั ติ อุ ต สาหกรรม ซึ่ ง เกิ4.0ด มาแล ว 4 ครัซึ้ ง ่งลเกิ ว นด for Industry 2. Welding Robotic for Industry 4.0 มาแล้ ว 4 ครั้งทFig. นเปลี นไปตามอิ วเทคโนโลยี หลัก ส�า้งหรั เปลี่ยนไปตามอิ ธิล้พวลของตั ว่ยเทคโนโลยี หลัทกธิสํพSystem าลของตั หรับการปฏิ วัติอุตสาหกรรมครั ที่4นีบ้ การปฏิ ิอุตสาหกรรมครั ้งทีC่ 4ONCLUSION ้ท�าาสูให้รูปเกิแบบดิ ดการเปลี ่ยนแปลงรู ปแบบธุ รกิจ ทําใหเกิวดัตการเปลี ่ยนแปลงรูปIII. แบบธุ รกินีจเข จิตอลจากอิ ทธิพลของ “IOT” ซึ ่ ง ผู ป ระกอบการในทุ ก ภาคส ว น จะต อ งปรั บ เปลี ่ ย นองค ก รให ส อดคล อ งกั บ มั น III. C ONCLUSION เข้าสูกระบวนการเปลี ่รูปแบบดิจิทัล่ยนแปลงวิ จากอิทธธิีกพารผลิ ลของตที่จ“IOT” ผู้ประกอบการในทุ ภาคส่ วน ะตองเปลีซึ่ย่งนแปลงไปจากเดิ มโดยที่กเราทุ ก ทาง บริษอัทกระบวนการเปลี โกลเด โรบอท ทเํากกิการผนวกเทคโนโลยี เตอร ตดเขมาแล าไปในระบบเพื จะต้ งปรั สธีกอดคล้ บอินอมังเปลี น ซึทางบริ ษัทวโกลเด้ คนจะหลี ก เลีบ่ ยนเปลี งไม ไ่ยดนองค์ ทํได า่ยใหนแปลงวิ ดรให้ การปฏิ วั ติ อุ ตตอสาหกรรม ่ งเ่ยน็เกินแปลงไปจากเดิ 4 ครั้ ง มลนโดยที ว่อโรบอท นทําการ ารผลิ ทีงกั ่จะต ่เราทุก เชืคนจะหลี ออุปกกรณ ตพาลของตั งๆในระบบออนไลน ไว วสาหกรรม ยกัน ทํวาัตให ราสามารถรั การ เปลี หลัเกน็เขสํตวาัาตเข้ หรั การปฏิ ิอุตซึเสาหกรรมครั ้งวบทีรู4่4 นีสั่อครั ้ ่งมต่ ได้ ท่อ่ยมต �านไปตามอิ การผนวกเทคโนโลยี าการเชื เลีท่ ยธิงไม ไ ด ทวํ าเทคโนโลยี ใหอเ กิินดเทอร์ การปฏิ ิ อาุ ตดบไปในระบบ ่ งเพืเกิ่อดท�มาแล ้ ง ลอว น ม การใช ง านอุ ป กรณ ต า งๆผ า นทางระบบเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต ได แ บบเรี ย ลไทม ทํอุควบคุ าป ให เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงรู ป แบบธุ ร กิ จ เข า สู ร ู ป แบบดิ จ ิ ต อลจากอิ ท ธิ พ ลของ “IOT” เปลี ่ยนไปตามอิ ทธิพลของตัวเทคโนโลยี วัติอุตสาหกรรมครั ้งที่4นี้ กรณ์ ต่าง ๆ ในระบบออนไลน์ เข้าไว้หดลั้วกยกัสํานหรัท�บาการปฏิ ให้เราสามารถรั บรู้ สั่งการ ซึ่งทํผูาปใหระกอบการในทุ กภาคสวนปแบบธุ จะตองปรั บเขเปลี ่ยรนองค กรให สอลจากอิ อดคลอทงกัธิบพมัลของ น ทาง “IOT” เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงรู ร กิ จ า สู ู ป แบบดิ จ ิ ต ควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ EFERENCES บริษัทโกลเดนโรบอท ไดทําการผนวกเทคโนโลยี ตเขาไปในระบบเพื่อทําการ ซึ่งผูปยระกอบการในทุ กภาคสวนRจะต องปรัอินบเตอร เปลี่ยเน็นองค กรใหสอดคลองกับมัน ทาง แบบเรี ลไทม์ เชื[1] ่อมตอ“Industry อุปกรณตา4.0” งๆในระบบออนไลน เขาไวดวยกัSeminar, น ทําใหเราสามารถรั บรู สั่งการ Siemens UK Innovation January 2016. บริ ษ ท ั โกลเด น โรบอท ได ท ํ า การผนวกเทคโนโลยี อ ิ น เตอร เ น็ ตเขาไปในระบบเพื่อทําการ REFERENCES “บริ ษัทยภายใต โกลเดนแบรนด โรบอทOTC-DAIHEN จํากัด” คือบริษัทผูนและ ําทางดNACHI านการ [2] ม“Mobile Thailand” Tech.thaivisa.com, March 2016. ควบคุ การใช ง านอุ ป กรณ ต า งๆผ า นทางระบบเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต ได แ บบเรี ย ลไทม ที ท ่ น ั สมั C. Introducing Golden Robot Co., Ltd. C. Introducing Golden Robot Co., Ltd. เชื่อมต อ[1] อุปกรณ ตางๆในระบบออนไลน เขาไวดUK วยกันInnovation ทําใหเราสามารถรั บรู สั่งการ http://tech.thaivisa.com/facebook-has-241-million-users-in-sea-37“Industry 4.0” Siemens Seminar, ออกแบบและรวบรวมระบบหุนยนตในอุตสาหกรรม4.0 อีกทั้งยังเปนพารทเนอรดานวิ ศวกรรมกั บแบรนด สโรบอท ินคจําาชักั้นดนํ”จ�าคืทีาอ่เกักีบริด่ยวข มากมาย เรา�า million-in-thailand/14374/ “บริ ษษัทัทโกลเด น โรบอท ษ”ัทอคืผูงอีนอํากบริ ทางด านการ “บริ โกลเด้ น ษ ั ท ผู ้ น ควบคุมการใชJanuary งานอุปกรณ2016. ตางๆผ านทางระบบเครือขายอินเตอรเน็ตไดแบบเรียลไทม (SI: System Integrator) ทางเราเปนตัวแทนจําหนายอยาง REFERENCES มีความเชี่ยวชาญในการสราทางด้ งระบบหุ นยนตที่สามารถตอบสนองความต อสาหกรรม4.0 งการในแบบ ออกแบบและรวบรวมระบบหุ น ยนต ใ นอุ ต า นการออกแบบและรวบรวมระบบหุ ่ น ยนต์ [1] “Industry 4.0” Siemens UK Innovation Seminar, January 2016. เปนทางการของสินคางานเชื่อม และหุนยนตอุตสาหกรรม [2] “Mobile Thailand” Tech.thaivisa.com, March 2016.in Suwanratchatamanee received the B.Eng. เฉพาะเจาะจงใหเหมาะกับงานของลู กคาแตIntegrator) ละรายให ันสมัยSystem และมี ระสิIntegrator) ทธิภาพสู งสุาดง [2] “Mobile Thailand”Kitti Tech.thaivisa.com, March 2016. ในอุ สาหกรรม 4.0 ท(SI: (SI:ทีต่ทSystem ทางเราเป นตัปวแทนจํ ายอย REFERENCES Electronics and Telecommunications Engineering ันสมัยภายใต แบรนด OTC-DAIHEN และาหน NACHI http://tech.thaivisa.com/facebook-has-241-millionfrom King Mongkut’s University of Technology ดวยมาตรฐานการออกแบบ ทางเราเป็ และผลิตโดยเน ถึนงคจรรยาบรรณแห งวิชนาชี พวิอศุตวกรรมที ่เรา [1] http://tech.thaivisa.com/facebook-has-241-million-users-in-sea-37“Industry 4.0” Siemens UK Innovation Seminar, January 2016. นตับแบรนด วนแทนจ� างานเชื สาหกรรม อีกทั้งยังเปนพารทเนอรดเป านวินศทางการของสิ วกรรมกั สินาหน่ คาชั่อา้นมยอย่ นํและหุ าที่เกีา่ยงเป็ วขยนต อนงอีทางการของ กมากมาย เรา million-in-thailand/14374/ Thonburi (KMUT-T), Bangkok,Thailand in 2002. users-in-sea-37-million-in-thailand/14374/ [2] “Mobile Thailand” Tech.thaivisa.com, March 2016. ภูมิใมีจคโดยเราจะนํ า ความรู ท างด า นทฤษฎี แ ละประสบการณ ท างด า นปฏิ บ ั ต ิ ท ่ ี เ กี ่ ย วกั บ งาน As received the M.Eng.in Electronics Engineering สิทีน่ทางระบบหุ ค้ันาสมังานเชื ่อมแทบรนด และหุ ่นOTC-DAIHEN ยนต์อุตสาหกรรมที ่ทNACHI ันสมัย ยภายใต วามเชี่ยวชาญในการสร นยนต ี่สามารถตอบสนองความต อและ งการในแบบ from Royal Melbourne Institute Technology http://tech.thaivisa.com/facebook-has-241-million-users-in-sea-37Kitti Suwanratchatamanee received theofB.Eng. วิ ศ วกรรมหุ น ยนต ม าใช เ พื อ ่ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาของประเทศไทยให เ ป น 4.0 ต อ ไป Kitti Suwanratchatamanee received the inB.Eng. และ NACHI นด Universityand (RMITUniv.), Melbourne, Australia in เหมาะกั กบคแบรนด าแต ละรายให ปพาร์ ระสิ ภาพสูดงสุ้าเรา อีภายใต้ กทั้งเฉพาะเจาะจงให ยังแเปบรนด์ นพารทOTC-DAIHEN เนอร ดานวิบศงานของลู วกรรมกั สินคอีาทกชััน้นทัสมั นํ้งยัายทีงและมี ่เเป็ กี่ยนวข องอีทกธิเนอร์ มากมาย million-in-thailand/14374/ Electronics Telecommunications Engineering 2004. As received the Dr.Eng. (Information inEngineering, Electronics and Telecommunications Engineering from King Mongkut’s University of Technology ดWhat วยมาตรฐานการออกแบบ โดยเน งจรรยาบรรณแห งวิชาชี พวิอศงการในแบบ วกรรมที วกรรมกั บdoes แบรนด์Golden สนิ ค้างระบบหุ าชัและผลิ น้ Robot น�าทีนตเ่ ยนต กีCo., ย่ วข้ งอี กมากมาย เรามี ความเชี ย่ วชาญ Ltd. do for Industry 4.0 ? ่เรา มีวิศคD. วามเชี ่ยวชาญในการสร ทนี่สอถึามารถตอบสนองความต Robotics) at Waseda in University, Thonburi (KMUT-T), Bangkok,Thailand 2002. Kitti Suwanratchatamanee received B.Eng. in King Mongkut’s University ofis Technology Tokyo, Japan in 2010. Currently heEngineering athe Managing ภูสํมาิใหรั จาโดยเราจะนํ า่นความรู านทฤษฎี านปฏิ บัติทท้งี่เธิกีใหม received the M.Eng.in Electronics ในการสร้ ยนต์ ามารถตอบสนองความต้ องการในแบบเฉพาะ เฉพาะเจาะจงให เหมาะกั บตงานของลู กคาแตกแลาละประสบการณ ะรายให ทันวสมั และมี ประสิ ภ่ยวกั าพสู งสุ่อด Director at GoldenAsfrom บงระบบหุ การซั บพอร ลูกทคทางด าี่สของเราให วทั นการปฏิ ัติอทยุตางด สาหกรรมครั นบี้ งาน เพื Electronics and Telecommunications Engineering Robot Co., Ltd., Rayong, Thailand since 2014. He from Royal (KMUT-T), Melbourne Bangkok,Thailand Institute of Technology Thonburi in 2002. วกรรมหุ นยนต าใชจเพืิตและผลิ ่ออลสนัทางบริ บกสนุ นาแต่ ตวกรรมที อทไปธิเน็ภตาพ from King University of Ltd. Technology เหมาะกั บมงานของลู ทันสมัยและมี was a Senior System Engineer atMongkut’s OTC-DAIHEN AsiaAustralia Co., าสูวิกศารผลิ ตในรู ปแบบดิ ษการพั ัทเราได ทําการผนวกเทคโนโลยี ินศเตอร เข่เราา University (RMITUniv.), Melbourne, infrom ดเจาะจงให้ วเขยมาตรฐานการออกแบบ ตค้โดยเน นลฒถึะรายให้ งนาของประเทศไทยให จรรยาบรรณแห งวิชเปาชีนปพอ4.0 วิระสิ Thonburi (KMUT-T), Bangkok,Thailand in 2002. 2012-2013. He was a research fellow of JSPS (the Japan Society for 2004. As received the Dr.Eng. (Information As Science), received the M.Eng.in Electronics Engineering สุิใจดD. ด้วยมาตรฐานการออกแบบ ตโดยเน้ วิวกั?ชาชี พ the Promotion Engineering, าการเชืGolden ปRobot กรณและผลิ ตแางๆออนไลน าถึไวงทfor ดจรรยาบรรณแห่ วยกัIndustry จากภาพที What่อทําdoes Co., Ltd.เขนdo ภูสูมงไปในระบบเพื โดยเราจะนํ ความรู ท่อมต างดอาอุนทฤษฎี ละประสบการณ างด านนปฏิ บัติท4.0 ี่เกี่2ง่ยแสดงให บงาน received the M.Eng.in Electronics Engineering Robotics) at Waseda of As (DC2: 20-56621). HeUniversity, received the from Institute Technology Japan inMelbourne 2010. Currently he is aofManaging fromRoyal Royal Melbourne Institute of Technology scholarships fromTokyo, Seiko Epson Corporation. His research interests วิศศเห็วกรรมหุ วกรรมที ่เราภู ิใจบเพืพอร โดยเราจะน� าเครื ความรู นทฤษฎี แเละประสบการณ์ นถึงการเชื ่อบมตการซั ระบบด วตยลูบกหุสนุ ยนต งเชื ตูคาวบคุ งดู้งดใหม สํนาหรั คนาของเราให าวทั่อ้ทนมางด้ การปฏิ วัตมิอระบบ ุตสาหกรรมครั นี้ เพื่อน Director ยนต มอมาใช ่อสนั นการพั ฒ่อกนาของประเทศไทยให ปเครืน่อ4.0 ตกรองควั อไป at Golden Co., Ltd., Rayong, sensors, Thailand since He University (RMITUniv.), Melbourne, Australia are robotics and Robot automation including tactile2014. and haptic in University (RMITUniv.), Melbourne, Australia in 2004. As received was a Senior System Engineer at OTC-DAIHEN Asia Co., Ltd. from สูก่อารผลิ ตท ในรู ปแบบดิ จิตอลศทางบริ ษัทเราได การผนวกเทคโนโลยี เตอร เน็ฒตเเข As received the Dr.Eng. sensing system, robot2004. protocol, industrial robot, Humanoid(Information robot, and ทางด้ บ ต ั ิ เ ่ ี กี ย ่ วกั บ งานวิ วกรรมหุ ่ ม าใช้ พื อ ่ สนั บ สนุ การพั นา เชื่อมเขาานปฏิ เครื งคอมพิ วเตอร และสมาร ทโฟนได ถน ูกยนต์ เชืท่อํามต อผาเนระบบเครื อขอนาินยอิ นเตอร น็าต D. What does Golden Robot Co., Ltd. do for Industry 4.0 ? 2012-2013. He was a research fellow of JSPS (the Japan Society for intelligent system. He is a Robotics) member of IEEE (theatInstitute of Engineering, at Waseda University, Dr.Eng.welding (Information Engineering, Robotics) Waseda ไปในระบบเพื าเการเชื ่อผมต าไวดวบยกั ่2แสดงให ออนไลน ถึงกัน ซึ่อ่งทํจะทํ ูปฏิอต่บอุอปัตไป ิงกรณ าน ตผูาคงๆออนไลน วบคุมงานเขและผู ริหนารจากภาพที สามารถที ่จะรับรู the ของประเทศไทยให้ ป็นาให4.0 the Promotion of Science), (DC2:in20-56621). received the (the Electrical and Electronic Engineers) and was aHe member of aRSJ Tokyo, Japan 2010. Currently he is Managing สํเห็าหรั บ การซั บ พอร ต ลู ก ค า ของเราให ก า วทั น การปฏิ ว ต ั อ ิ ุ ต สาหกรรมครั ง ้ ใหม น ้ ี เพื อ ่ scholarships from Seiko Epson Corporation. His research interests inDr.2010. Currently he is since a Managing Robotic of Japan Japan).Co., Kitti Rayong, Suwanratchatamanee received นถึงเตอร การเชื มตอาระบบด หุนยนต เครื่องเชื ่อม ตูเพืควบคุ ระบบ เครื่องดูดกรองควั DirectorSociety at Tokyo, Golden Robot Ltd., Thailand 2014. He คาพารามิ ตา่องๆผ นคอมพิววยเตอร และสมาร ทโฟน ่อที่จมะได ทําการควบคุ มการผลินต University, are robotics and Student automation including Award, sensors,the tactile and haptic the IECON’07 Scholarship HCIMA’08 Thirdwas a system, Senior System Engineer at OTC-DAIHEN Asia Co., Ltd. from เข าสูWhat กเชืารผลิ ตในรู ปแบบดิ จิตอลและสมาร ทางบริทษโฟนได ัทเราไดถLtd. ทเชืําการผนวกเทคโนโลยี อาินยอิเตอร เน็?เตน็เขต า Director at Golden Robot Co., Ltd., Rayong, Thailand since 2014. D.ได does Golden Robot Co., do for Industry 4.0 sensing robot protocol, industrial robot, Humanoid robot, and อ ่ ม เครื อ ่ งคอมพิ ว เตอร ู ก ่ อ มต อ ผ า นระบบเครื อ ข น เตอร แบบเรียลไทมในทุกสถานที่ ตัวอยางการใชงานมีดังนี้ Prize AwardHe and thea research HSI’09 Best Paper Award in the Society area offor 2012-2013. was fellow ofofJSPS (the Japan intelligent welding system. He is a member IEEE (the Institute of ไปในระบบเพื ่อบมต ออุผตปูปลูกรณ งๆออนไลน เา้ าขนคอมพิ าไวและผู วยกั ่2ทแสดงให intelligent system from IEEE in 2007, 2008 and 2009 respectively. In He aand Senior System Engineer OTC-DAIHEN Co., ออนไลน ถ่อึงทํกับานการเชื ซึ่งจะทํ าให ฏิ่อกบมแบบเรี ผูยคลไทม วบคุมกผงาน รินหารจากภาพที ่จโฟน ะรับรู thewas Promotion of Science), (DC2: 20-56621). received าหรั การซั พอร์ ค้ัตตาิงานาของเราให้ วทั นดการปฏิ วและสมาร ตั สามารถที อิ ตุ สาหกรรม Electrical Engineers) andatwas a member He ofAsia RSJ (the Ltd.the ส�สามารถตรวจสอบการเชื วบเตอร 2010 heSociety also Electronic received the ICCAS’10 Outstanding Paper Award from scholarships from Seiko Epson Corporation. His research interests Robotic of Japan). Dr. Kitti Suwanratchatamanee received เห็ งคการเชื ่อมต อตระบบด วอยมูหุลตลงในฐานข นในรู ค่อวบคุ เครืเมื่อท่องดู ดมกรองควั าพารามิ เตอร าขนคอมพิ วยนต เตอร แเครื ละสมาร เพืมอะไร ่อทีม่จระบบ ทหน ําการควบคุ การผลิ 2012-2013. Heautomation was a research of (ICROS) JSPS (the Japan ครัน้งถึใหม่ นี้ สามารถบั เพื ่อเข้ าานงๆผ สูทึ่กการผลิ ปแบบดิ ัลตูเชืทางบริ ษะไดัทที่ไเราได้ �าไหร การผนวก the Institute of Control, Robotics and fellow Systems and the อ่อมูงเชื ลจ่อเชิททมนโฟน อยางไรตน from areIECON’07 robotics and including sensors, tactile and haptic the Student Scholarship Award, the HCIMA’08 ThirdURAI’10 Best Paper AwardBest from the Award Korea Robotics Society sensing system, robot protocol, industrial robot, Humanoid robot, ได แ บบเรี ย ลไทม ใ นทุ ก สถานที ่ ตั ว อย า งการใช ง านมี ด ง ั นี ้ Prize Award and the HSI’09 Paper in the area of เชื อ ่ ม เครื อ ่ งคอมพิ ว เตอร และสมาร ท โฟนได ถ ู ก เชื ่ อ มต อ ผ า นระบบเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต Society for the Promotion of Science), (DC2: 20-56621). Heand เทคโนโลยี อินเทอร์บรูเปน็ญตหาที เข้า่ตไปในระบบเพื าการเชื ปกรณ์ยตลไทม ่าง ๆ intelligent สามารถรั รวจพบระหวางหุ่อนท�ยนต ปฏิบัต่อิกมต่ ารเชือ่ออุมแบบเรี (KROS), andwelding etc.fromsystem. system IEEE in He 2007, and 2009 respectively. In intelligent is 2008 a member of IEEE (the Institute of สามารถตรวจสอบการเชื อ ่ มแบบเรี ย ลไทม ผ า นคอมพิ ว เตอร แ ละสมาร ท โฟน ออนไลน ผูปฏิบัติงาน่ 2ผูคแสดงให้ วบคุมงาน บริหาร่อมต่ สามารถที ่จะรัวบยรู received the scholarships fromOutstanding Seiko Corporation. 2010 he also received the ICCAS’10 Award of from ออนไลน์ถเึงข้กัานไว้ซึด่ง้วจะทํ ยกันาใหจากภาพที เห็นและผู ถึงการเชื อระบบด้ Electrical and Electronic Engineers) and Epson wasPaper a member RSJHis (the the InstituteSociety of Control, Robotics (ICROS) and the ตสามารถบั ทึกขอวมูเตอร ลลงในฐานข เชน เชื ่อไหรมอย งไร ต research Robotic of Japan). Dr. and KittiSystems Suwanratchatamanee received interests are robotics automation including คหุาน่ พารามิ เตอร างๆผ และสมาร เพื่อ่อมอะไร ทีน่จเชืะได ําหน การควบคุ การผลิ ยนต์ เครื อ่ งเชื อ่ มานคอมพิ ตูค้นวบคุ มระบบ เครือ่ องดูมูทลดโฟน กรองควั อ่ ทีมท่ไเครื อ่ เมืงคอมพิ วาเตอร์ URAI’10 Best Paper Award from theand Korea Robotics Society the IECON’07 Student Scholarship Award, the HCIMA’08 Third สามารถรับรูปญหาที่ตรวจพบระหวางหุนยนตปฏิบัติการเชื่อมแบบเรียลไทม (KROS), and etc. and tactile andthehaptic system, robotin protocol, ได แบบเรียลไทม ในทุถกกู สถานที างการใชงานมีอข่ดังานียอิ ้ นเทอร์เน็ตออนไลน์ถงึ กัน sensors, Prize Award HSI’09sensing Best Paper Award the area of และสมาร์ ทโฟนได้ เชือ่ มต่่ ตัอวผ่อยานระบบเครื intelligent system from IEEE in 2007, 2008 and 2009 respectively. In robot, Humanoid robot,Outstanding and intelligent welding าให้สามารถตรวจสอบการเชื ่อมแบบเรี นคอมพิวเตอร ทโฟน ซึง่ จะท� ผปู้ ฏิบตั งิ าน ผูค้ วบคุมงาน และผูยบ้ ลไทม ริหารผาสามารถที จ่ ะรับแรูละสมาร ค้ า่ พารามิ เตอร์ industrial 2010 he also received the ICCAS’10 Paper Award from the Institute of Control, of Robotics andInstitute Systemsof(ICROS) system. He is a member IEEE (the Electrical andthe สามารถบั น ทึ ก ข อ มู ล ลงในฐานข อ มู ล เช น เชื อ ่ มอะไร ที ไ ่ หน เมื ่ อ ไหร อย า งไร ต่าง ๆ ผ่านคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน เพื่อที่จะได้ท�าการควบคุมการผลิต URAI’10 Best Paper Award from the Korea Robotics and Society สามารถรั รูปกญสถานที หาที่ตรวจพบระหว างหุนยนต ปฏิดบังัตนีิการเชื Engineers) and was a member of RSJ (the Robotic (KROS), and etc. ได้แบบเรี ยลไทม์ใบนทุ ่ ตัวอย่างการใช้ งานมี ้ ่อมแบบเรียลไทม Electronic Society of Japan). Dr. Kitti Suwanratchatamanee received the ▲ สามารถตรวจสอบการเชื่อมแบบเรียลไทม์ผ่านคอมพิวเตอร์ IECON’07 Student Scholarship Award, the HCIMA’08 Third-Prize และสมาร์ทโฟน Award and the HSI’09 Best Paper Award in the area of intelligent ▲ สามารถบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล เช่น เชื่อมอะไร ที่ไหน system from IEEE in 2007, 2008 and 2009 respectively. In 2010 เมื่อไหร่ อย่างไร he also received the ICCAS’10 Outstanding Paper Award from ▲ สามารถรับรู้ปัญหาที่ตรวจพบระหว่างหุ่นยนต์ปฏิบัติการ the Institute of Control, Robotics and Systems (ICROS) เชื่อมแบบเรียลไทม์ 27 III. CONCLUSION
Development of English for Teachers in Our School
บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
เรียบเรียงโดย ครูรุ่งนภา คงปันนา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ The importance of English in today’s world is undeniable. English is the first language of 67 countries around the world which amounts to about 25% of the world population. It is one of the official languages of the United Nations. It is used as the official language for most business transactions. The school acknowledges the importance of English by encouraging teachers to learn English and providing teachers an opportunity to study abroad to improve their English. There have been four teachers that studied at University of Northern Colorado in the United States of America. The school recently sent teachers to study English in Cebu, Philippines and will continue this program to help teachers improve their English. In addition to studying abroad, the school encourages teachers to use their spare time to improve their English skills. The school has started a program for teachers to learn English by using Rosetta Stone. Rosetta Stone is a popular language program that users can learn individually. The aim of the school is for the teachers to improve their English skills so that it will benefit the students. The students have benefited already from the school’s commitment to English. English will be an important part in the students’ future as the Eastern Economic Corridor develops.
28
ถ้าพูดถึงการเรียนภาษาอังกฤษในยุคเริม่ ต้นของมารีวทิ ย์ คนแรกทีเ่ ราต้องนึกถึงก็คอื คุณพ่อบุญยง วรศิลป์ ซึง่ ท่านเป็นคน ริเริ่มให้เด็ก ๆ ท่องศัพท์ภาษาอังกฤษตอนเช้าก่อนเข้าแถว โดยมีคุณครูประจำาชั้นเป็นผู้เอาการศัพท์ สมัยก่อนคุณพ่อ จะลงมาสอนเด็ก ๆ ด้วยตนเอง ไม่ว่าจะเป็นการสนทนาเป็น ภาษาอังกฤษ การนำาเพลงภาษาอังกฤษมาสอนเรือ่ งของคำาศัพท์ และไวยากรณ์ ต่อมาก็มีการพัฒนาขึ้นนำาครูต่างชาติมาสอน เพือ่ ให้เด็กได้เรียนกับเจ้าของภาษาโดยตรง จนถึงปัจจุบนั การสอน ไม่ ไ ด้ ส อนแต่ ใ นหนั ง สื อ แต่ มี ก ารสอนโดยใช้ สื่ อ เทคโนโลยี อันทันสมัย ทั้งการดูและฟังภาษาอังกฤษจากเจ้าของภาษา ทางโทรทัศน์ในระดับชั้น ป.1 - ป.2 และเรียนโดยมีจออัจฉริยะ ช่วยสอน รวมถึงการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในชั่วโมง ภาษาอังกฤษ ปัจจุบนั ถึงเป็นครูไทยสอนก็จะต้องพูดภาษาอังกฤษ กันทั้งชั่วโมงเพื่อให้นักเรียนคุ้นเคยกับคำาศัพท์ต่าง ๆ รวมถึง กิ จ กรรมพี่ ส อนน้ อ ง โดยนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย จะสอนภาษาอังกฤษให้กบั น้อง ป.1-ป.3 ในโรงเรียนมารีวทิ ย์สตั หีบ และโรงเรียนรัฐบาลทีอ่ ยูใ่ กล้เคียง เพือ่ เป็นการฝึกประสบการณ์ ถึงแม้วา่ จะมีครูตา่ งชาติมาเป็นผูส้ อนหรือมีการใช้สอื่ เทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย แค่ ไ หน แต่ ก ารท่ อ งศั พ ท์ ก็ ยั ง คงไว้ ซึ่ ง เอกลั ก ษณ์ ของมารีวิทย์ตลอดไป ทางโรงเรียนได้เห็นความสำาคัญของ ภาษาอั ง กฤษซึ่ ง เป็ น ภาษาแรกที่ ใช้ ม ากถึ ง 67 ประเทศ ซึง่ มากกว่าภาษาอืน่ ๆ ในปัจจุบนั ดังนัน้ การพัฒนาจึงไม่ได้เน้น เฉพาะนั ก เรี ย นเท่ า นั้ น แต่ ผู้ บ ริ ห ารยั ง เล็ ง เห็ น ความสำ า คั ญ ของภาษาอังกฤษซึ่งเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับการศึกษาและอาชีพ ในอนาคตโดยเฉพาะแถบบ้ า นเราเป็ น แหล่ ง อุ ต สาหกรรม และการท่องเที่ยวซึ่งมีชาวต่างชาติเป็นจำานวนมากได้เข้ามา ท่องเที่ยว จึงได้มีนโยบายสนับสนุนให้บุคลากรของโรงเรียน ได้มีโอกาสเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างหลากหลายไม่ว่าจะจ้าง ครูต่างประเทศเพื่อให้ได้เรียนจากเจ้าของภาษาโดยตรง หรือ การเรียนจากโปรแกรมการเรียนสำาเร็จรูป “Rosetta stone” ทีม่ ชี อื่ เสียงโดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้ครูพฒ ั นาทักษะภาษาอังกฤษ ของตนซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน ครูและองค์กรโดยรวม ในทุกวันพฤหัสบดีเป็นวันทีค่ รูและนักเรียนต้องพูดภาษาอังกฤษกัน เพื่อการรองรับในอนาคตที่นักเรียนของเราสามารถนำาไปใช้ ได้จริงในชีวิต
บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบตระหนักถึงความส�ำคัญแห่งศาสตร์ของพระราชาและคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ที่สามารถน�ำมาปรับใช้ได้กับทุกเรื่องในชีวิตประจ�ำวันหรือด้านการท�ำงาน คณะครูจึงได้มีการน�ำมาประยุกต์และปรับใช้กับ วิชาคณิตศาสตร์ ดังเช่น 1. ระเบิดจากภายใน สร้างความเข้มแข็งจากภายใน ผูบ้ ริหารมีวสิ ยั ทัศน์ให้ครูทกุ ท่านในโรงเรียนไม่วา่ จะเป็น ครูวิชาใดจ�ำเป็นต้องมีความรู้และสามารถสอนคณิตศาสตร์ อย่างน้อยในระดับประถมได้ ถ้ามีเด็กระดับไหนเดินมาถาม ไม่วา่ ครูสอนวิชาอะไร ก็ตอ้ งอธิบายและให้ความรูใ้ นวิชาคณิตศาสตร์ได้ จึ ง ได้ ท� ำ การทดสอบครู แ ละจั ด ให้ มี ก ารสอนคณิ ต ศาสตร์ แก่คณะครู ซึ่งได้ด�ำเนินการมาตั้งแต่เดือนมีนาคม ปี 2560 ในระดับชัน้ ป.1-3 และยังคงด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ ง ในอนาคต จะมี ก ารเรี ย นในระดั บ ชั้ น ป.4-6 และมี ก ารจั ด การสอน คณิตศาสตร์ในระดับมัธยมให้ครูตอ่ ไป ซึง่ จะท�ำให้คณะครูของเรา ไม่ได้ถนัดในวิชาเดียวเท่านั้นแต่ยังคงมีความสามารถในวิชา อื่นด้วย 2. การท�ำงานแบบองค์รวม เครือโรงเรียนมารีวิทย์มี 3 สาขา คือ พัทยา สัตหีบ และบ่อวิน ถึงแม้จะอยูห่ า่ งไกลกันแต่เราก็ทำ� งานแบบ One Maryvit คือมีการท�ำงานเหมือนกันเป็นหนึง่ เดียว ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนา แบบใด เพื่อน�ำมาเปรียบเทียบและปรับใช้ในเครือทั้ง 3 แห่ง
ทางด้านครูก็มีการวางแผน และน�ำมาปรับใช้ในด้านการสอน ซึ่งผลสะท้อนที่เห็นได้ชัดจากการทดสอบโอเน็ต ที่ผ่านมา ในทุกปี เด็กระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของเราได้คะแนน เต็ ม 100 หลายคน ไม่ ว ่ า จะเป็ น คะแนนที่ ไ ด้ ห รื อ รางวั ล เราก็ได้เหมือน ๆ กันทั้งหมด ปีการศึกษานี้ได้เริ่มด�ำเนินการสร้างเสริมทักษะคณิต 100 ช่อง ให้กับนักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 เพื่อฝึกให้นักเรียน คิ ด เลขเร็ ว และเป็ น ระบบ นี่ เ ป็ น การเคลื่ อ นไหวของ หมวดคณิ ต ศาสตร์ ใ นปี 60 เพื่ อ ประโยชน์ ส ่ ว นรวมที่ ต้องการให้เกิดผลประโยชน์แก่เด็กมากที่สุดนั่นเอง ครูรัศมี วรศาสตร์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
29
เด็กหญิงวรวรรณ เสมาทอง ชั้น ป.1/5 ได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลจากการประกวดงานศิลปะเด็กนานาชาติครั้งที่ 47 ท่ามกลางผลงานศิลปะของเยาวชน จากหลายประเทศทั่วโลก โดยการตัดสินได้ถูกจัดขึ้นเป็นอันแล้วเสร็จ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จากรายการ ศิลปะเด็ก นานาชาติ ครั้งที่ 47 Pentel Awards
เด็กชายสุเมธ ชัยฤกษ์รัตนกูล ชั้น ป.2/3 รางวัล จากการแข่งขันกีฬาเทควันโด ชนะเลิศ ประเภทต่อสู้ รุ่นอายุ 7 - 8 ปี ชาย รุ่น C 24-27 กก. จากรายการ ระยองเกมส์ 59 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2559 ณ Ultimate Sport Complex จ.ระยอง
ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) เด็กหญิงกชพรรณ รัตนกิจกมล ป.3/1 หนูรู้สึกภาคภูมิใจทุกครั้งที่ผลการสอบและผลการแข่งขันต่าง ๆ เป็นที่น่าประทับใจ เพราะการที่หนู ได้ตั้งใจเรียน ทบทวนบทเรียน ค�ำศัพท์ ค�ำยาก อยู่เสมอ เวลาเรียนในห้องหากไม่เข้าใจให้ยกมือสอบถาม เพือ่ จะได้เข้าใจมากยิง่ ขึน้ และหัดท�ำแบบฝึกหัดบ่อย ๆ พยายามหาโจทย์ทหี่ ลากหลายรูปแบบในสือ่ ต่าง ๆ มาลองท�ำและพยายามท�ำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุดค่ะ
เด็กหญิงพาขวัญ ส�ำเภา ป.3/6 หนูรู้สึกดีใจมากค่ะที่ได้รับคะแนนเต็มเพราะเป็นการวิเคราะห์ข้อสอบและเขียนแสดงเหตุผล ซึ่งสิ่งที่ท�ำให้หนูได้คะแนนเต็ม คือ หนูชอบอ่านหนังสือเรียน หนังสือที่มีสารประโยชน์ ตั้งใจเรียน ในห้องและกลับมาทบทวนเพิ่มเติมเพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น ทบทวนบทเรียนก่อนสอบหาแนวข้อสอบ มาทดลองท�ำเมื่อถึงวันสอบก็ตั้งใจท�ำข้อสอบอย่างเต็มความสามารถค่ะ
30
เด็กชายปุณณวิช บุญรินทร์ ชั้น ป.3/6 1. รองชนะเลิศ ประเภทต่อสู้ รุ่นอายุ 7-8 ปี ชาย รุ่น A 22 กก. จากรายการ การแข่งขันเทควันโด การกุ ศ ลชิ ง ถ้ ว ยพระราชทานพระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เจ้ า โสมสวลี พระวรราชาทิ นั ด ดามาตุ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2559 ณ Central Plaza 2. รองชนะเลิศอันดับที่ 2 ประเภทต่อสู้ รุ่นอายุ 7-8 ปี ชาย รุ่น B 20-23 กก. จากรายการ ดาวรุ่ง มุ่งสู่ทีมชาติ แชมป์เปี้ยนชิพ 2017 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2560 ณ โรงเรียนนายเรือสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 3. เหรียญทอง ประเภทต่อสู้ School ยุวชน 7-8 ปี ชาย รุ่น B 22-25 กก. จากรายการ Chanthaburi Open Championship 2017 เมื่ อ วั น เสาร์ ที่ 17 มิ ถุ น ายน 2560 ณ ศาลาเฉลิ ม พระเกี ย รติ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จังหวัดจันทบุรี เด็กชายกุศล ดวงพรหม ป.4/5 - รางวัลเหรียญทอง ประเภทฟรีสไตล์ 50 เมตร ฟรีสไตล์ 100 เมตร ฟรีสไตล์ 200 เมตร ประเภทกรรเชียง 50 เมตร และกบ 50 เมตร ทั้ง 5 ประเภท - รางวัลเหรียญเงิน ผีเสื้อ 50 เมตร ประเภทกรรเชียง 100 เมตร และผลัดฟรีสไตล์ 50 เมตร ทั้ง 3 ประเภท โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง ร่วมกับสมาคมกีฬาจังหวัดระยอง จากรายการแข่งขันว่ายน�้ำ อบจ. ระยองแชมป์เปี้ยนชิพ 2017 ณ สระว่ายน�้ำสนามกีฬากลาง จังหวัดระยอง
เด็กหญิงอติกานต์ เชิดชู ป.5/1 รางวัลชนะเลิศ Class d - girl จากการแข่งขันกอล์ฟเยาวชน สมาคมกีฬากอล์ฟ ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ (ภาคตะวั น ออก) ณ สนามกอล์ ฟ กบิ น ทร์ บุ รี ส ปอร์ ต คลั บ จังหวัดปราจีนบุรี วันที่ 24 - 25 มิถุนายน 2560
เด็กชายจิตตพัทธ์ พรหมจันดา ชั้น ม.1/2 - รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 จากรายการแข่งขัน Summer Regatta ณ สโมสรราชวรุณ - รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 5 และอันดับที่ 2 จากรายการแข่งขัน Sing Siam Regatta ณ ประเทศสิงคโปร์
31
เด็กหญิงจุมพิตา จุลอักษร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ผลงานการแข่งขันกอล์ฟ ปี 2560 - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 6 การแข่งขันรายการ Chang Thailand Junior Golf Circuit 2016 สนามแข่งปัตตาเวีย - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 การแข่งขันรายการ Chang Thailand Junior Golf Circuit 2016 สนามแข่งพัฒนากอล์ฟ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 5 การแข่งขันรายการ Chang Thailand Junior Golf Circuit 2016 สนามแข่งดราก้อนฮิลล์ - รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันรายการ Bangchak Junior Golf Open 2017 สนามแข่งบูรพากอล์ฟ - รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันรายการ TGA-SHINGHA JUNIOR GOLF RANKING TOURNAMENT 2559-2560 สนามแข่งกบินทร์บุรี - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 การแข่งขันรายการ TGA-SHINGHA JUNIOR GOLF RANKING TOURNAMENT 2558-2559 สนามแข่งกบินทร์บุรี
เด็กชายเมธาสิทธิ์ บุญเสน่ห์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 การแข่งขันจักรยานชิงแชมป์ประเทศไทย ประเภทดาวน์ฮิลล์ รางวัลที่ได้รับ 1. ได้รับถ้วยพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ประจ�ำปี 2559 2. รางวัลชนะเลิศ รุ่น 15-16 ปีชาย ชิงแชมป์ประเทศไทย สนาม 1 จังหวัดเชียงราย ปี 2559 3. รางวัลชนะเลิศ รุ่น 15-16 ปีชาย ชิงแชมป์ประเทศไทย สนาม 2 จังหวัดกาญจนบุรี ปี 2559 4. รางวัลชนะเลิศ รุ่น 15-16 ปีชาย ชิงแชมป์ประเทศไทย สนาม 3 จังหวัดจันทบุรี ปี 2559 5. รางวัลชนะเลิศ รุ่น 15-16 ปีชาย ชิงแชมป์ประเทศไทย สนาม 4 จังหวัดพะเยา ปี 2560 6. รางวัลชนะเลิศ รุ่น 15-16 ปีชาย ชิงแชมป์ประเทศไทย สนาม 5 จังหวัดชัยนาท ปี 2560
32
การ์ด OPEN HOUSE
ความรู้ที่ได้จากเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เราสามารถน�ำมาใช้ในการปฏิบัติงานได้จริงและท�ำให้เกิดประโยชน์ชัดเจน โดยพวกเราใช้โปรแกรม Photoshop ออกแบบการ์ด Open House ปีการศึกษา 2560 โปรแกรม Photoshop สามารถ ท�ำประโยชน์ได้อีกมากมาย เช่น สื่อประชาสัมพันธ์ การ์ดวันแม่ การ์ดแต่งงาน ป้ายไวนิล ฯลฯ นอกจากนี้ เรายังสามารถ ใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ปัจจุบันเราน�ำความรู้ด้านคอมพิวเตอร์สร้างผลงาน ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ การท�ำสื่อต่าง ๆ ล้วนท�ำมาจาก คอมพิ วเตอร์ รวมถึง การท�ำงานจ�ำเป็นต้องอาศัย ระบบของคอมพิว เตอร์เช่นกัน คอมพิว เตอร์ ไม่ได้ใช้ส�ำหรับเล่ น เกม เล่นโซเชียลเท่านั้น แต่คอมพิวเตอร์ยังสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าให้โลกของเราได้อีกด้วย ส�ำคัญอยู่ที่เราเลือกใช้ ในทางที่ถูกหรือไม่ต่างหาก นางสาวภัทรศรี รัตนศิริ ม.6/3 นายพจน์วุฒิพนธ์ อินทนนท์ ม.6/2
33
ขั้นตอนการท�ำสติกเกอร์ไลน์สูตรเคมี พวกเราริเริ่มการท�ำสติกเกอร์ไลน์ “สูตรเคมี” โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจาก การเรี ย นวิ ช าเคมี ที่ ต ้ อ งใช้ สู ต รในการคิ ด ค� ำ นวณหาค� ำ ตอบ ทุ ก ครั้ ง ที่ จ ะพิ ม พ์ สูตรเคมีในเวลาสงสัยโจทย์จะมีปัญหาในการพิมพ์ จึงได้คิดจัดท�ำสติ ก เกอร์ ไ ลน์ สู ต รเคมี ขึ้ น เพื่ อ ให้ ง ่ า ยต่ อ การส่ ง ไปทางไลน์ และมี ก ารแสดงอารมณ์ ต ่ า ง ๆ ของตัวสติกเกอร์ โดยกลุ่มของเรา เริ่มจากนึกถึงสูตรที่ใช้ในบทเรียน แล้วน�ำมา แยกเป็ น เรื่ อ งต่ า ง ๆ และคิ ด ว่ า สู ต รหรื อ ข้ อ ความนั้ น ๆ ควรจะใส่ รู ป แบบไหน หรื อ อย่ า งไร หลั ง จากนั้ น จึ ง ลงมื อ วาดภาพ ระบายสี และใส่ ข ้ อ ความสู ต รและ อารมณ์ ต ่ า ง ๆ หลั ง จากท� ำ ทุ ก อย่ า งเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว จึ ง ต้ อ งมี ก ารตรวจเอง เพื่อป้องกันความผิดพลาดและหลังจากนั้นจึงส่งให้ Line Creator Market ตรวจว่า ตรงตามกฎข้อบังคับหรือไม่ ซึ่งขั้นตอนนี้จะต้องใช้เวลาค่อนข้างนานพอสมควร หลั ง จากที่ Line Creator Market ตรวจเสร็ จ แล้ ว ต้ อ งดู ว ่ า ผ่ า นหรื อ ไม่ ถ้างานที่น�ำเสนอผ่าน ก็สามารถจ�ำหน่ายสติกเกอร์ได้เลย แต่ถ้าหากไม่ผ่าน ต้องน�ำกลับมาแก้ใหม่ เพื่อน�ำส่งอีกครั้ง จัดท�ำโดย นายพจน์วุฒิพนธ์ อินทนนท์ ม.6/2 นางสาวพิรญาณ์ ช่างปรุง ม.6/2 นายจิรเมธ จันทร์เกษ ม.6/3
34
35
ระบบ
รอบที่ 1
TCAS
ไม่มีการสอบข้อเขียน
Portfolio
นักเรียนทั่วไปที่มีความสามารถพิเศษ นักเรียนโควตา นักเรียนเครือข่ายสามารถยื่นสมัครกับสถาบันอุดมศึกษา โดย สถาบันอุดมศึกษาเป็นผู้กำาหนดเกณฑ์การรับสมัครคัดเลือก แต่จะไม่มีการสอบข้อเขียน ปฏิทินการดำาเนินงาน
รอบที่ 1
ครั้งที่ 1/1
ประกาศรับสมัคร
1 ตุลาคม 30 พฤศจิกายน 2560
Clearing House
15 - 19 ธันวาคม 2560
ประกาศผล
22 ธันวาคม 2560
กระบวนการคัดเลือก
ครั้งที่ 1/2
1
ผู้สมัคร
22 ธันวาคม 2560 28 กุมภาพันธ์ 2561
สมัครโดยตรงกับสถาบัน 2
สถาบันอุดมศึกษา
19 - 22 มีนาคม 2561
สาขาวิชา/คัดเลือกตามเกณฑ์ที่กำาหนด
26 มีนาคม 2561
3
สถาบันอุดมศึกษา
ส่งรายชื่อเข้าระบบ Clearing House
ผู้สมัครตัดสินใจ
เข้าระบบเพื่อคัดเลือก สาขาวิชาที่ต้องการ
เลือก ทปอ.
รอบที่ 2
โควตา
4
ผู้สมัคร
ไม่เลือก
ตัดสิทธิ์สมัคร ในรอบต่อไปทันที
ทปอ. คืนสิทธิ์ให้
มีการสอบข้อเขียนหรือสอบปฏิบัติ
สำาหรับนักเรียนทีอ่ ยูใ่ นเขตพืน้ ทีห่ รือโควตาของโรงเรียนในเครือข่าย และโครงการความสามารถพิเศษต่าง ๆ โดยสถาบัน อุดมศึกษาจะประกาศเกณฑ์การสอบให้นกั เรียนยืน่ สมัครโดยตรงกับสถาบันอุดมศึกษาและเข้ารับการคัดเลือกตามเกณฑ์การสอบ กระบวนการคัดเลือก
ปฏิทินการดำาเนินงาน
รอบที่ 2
ประกาศ เกณฑ์การสอบ Clearing House ประกาศผล
ธันวาคม 2560 เมษายน 2561
1
ผู้สมัคร
สมัครโดยตรงกับสถาบัน
3 - 6 พฤษภาคม 2561 8 พฤษภาคม 2561
สถาบันอุดมศึกษา
2
สาขาวิชา/คัดเลือกตามเกณฑ์ที่กำาหนด 3
สถาบันอุดมศึกษา
ส่งรายชื่อเข้าระบบ Clearing House
ผู้สมัครตัดสินใจ
เลือก ทปอ.
36
ตัดสิทธิ์สมัคร ในรอบต่อไปทันที
ผู้สมัคร
4
เข้าระบบเพื่อคัดเลือก สาขาวิชาที่ต้องการ
ไม่เลือก ทปอ. คืนสิทธิ์ให้
รอบที่ 3
รับตรงร่วมกัน
รับสมัครผ่าน ทปอ. แต่มหาวิทยาลัยประมวลผลคัดเลือก
สำาหรับนักเรียนในโครงการกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) โครงการอื่น ๆ และนักเรียนทั่วไป โดย ทปอ. เป็นหน่วยกลางในการรับสมัคร นักเรียนสามารถเลือกได้ 4 สาขาวิชา โดยไม่เรียงลำาดับ แต่ละสถาบันอุดมศึกษากำาหนด เกณฑ์ที่เป็นอิสระของตนเอง กระบวนการคัดเลือก
ปฏิทินการดำาเนินงาน
รอบที่ 3 ทปอ.
เปิดรับสมัครผ่านทางเว็บไซต์
ทปอ.ส่งข้อมูล
สถาบันอุดมศึกษา
สถาบันอุดมศึกษา
3
สถาบันอุดมศึกษา
ส่งรายชื่อเข้าระบบ Clearing House 26 - 28 พฤษภาคม 2561
Clearing House ทปอ.ส่งรายชื่อผู้ยืนยัน
ส่งรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกให้ ทปอ.
ทปอ. ประกาศ ผลสอบสัมภาษณ์
รอบที่ 4
Admission
6 มิถุนายน 2561
8 มิถุนายน 2561
รับ ทปอ. ตัดสิทธิ์สมัคร ในรอบต่อไปทันที
ไม่เลือก
สถาบันอุดมศึกษา ดำาเนินการสอบสัมภาษณ์ และตัดสินใจรับ ทปอ. คืนสิทธิ์ให้
ไม่รับ
ทปอ. เป็นศูนย์กลางการรับสมัคร
สำาหรับนักเรียนทั่วไป โดย ทปอ. เป็นหน่วยงานกลางในการรับสมัคร นักเรียนสามารถเลือกได้ 4 สาขาวิชา แบบมีลำาดับ โดยใช้เกณฑ์ค่านำ้าหนักตามที่ประกาศไว้ล่วงหน้า 3 ปี กระบวนการคัดเลือก
ปฏิทินการดำาเนินงาน
รอบที่ 4 ทปอ.
เปิดรับสมัครผ่านทางเว็บไซต์
6 - 10 มิถุนายน 2561
ทปอ.
26 มิถุนายน 2561
ประมวลผลแอดมิชชัน
ทปอ. ส่งรายชื่อผู้ผ่าน
การคัดเลือกให้สถาบันอุดมศึกษา
30 มิถุนายน 2561 13 กรกฎาคม 2561
ผู้สมัครทุกคนสมัครผ่าน ทปอ. อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 อันดับ 4
ทปอ.
ประมวลผล ทีละอันดับ จาก 1 - 4
4
เข้าระบบเพื่อคัดเลือก สาขาวิชาที่ต้องการ
เลือก
4 - 5 มิถุนายน 2561
สถาบันอุดมศึกษา
ผู้สมัคร
ผู้สมัครตัดสินใจ
30 พฤษภาคม 2561
สอบสัมภาษณ์ให้สถาบัน
ทปอ. ประกาศผล
2
สาขาวิชา/คัดเลือกตามเกณฑ์ที่กำาหนด
23 พฤษภาคม 2561
ส่งข้อมูลกลับให้ทาง ทปอ.
สอบสัมภาษณ์
จำานวน 4 สาขาวิชา แบบไม่จัดลำาดับ
16 พฤษภาคม 2561
ให้ทางสถาบันอุดมศึกษา
1
ผู้สมัคร
9 - 13 พฤษภาคม 2561
ผู้สมัคร ผ่านการคัดเลือก 1 อันดับ ผู้สมัคร สอบสัมภาษณ์
37
รอบที่ 5
รับตรงอิสระ
สถาบันอุดมศึกษารับโดยตรง
สถาบันอุดมศึกษารับโดยตรงด้วยวิธีการของสถาบันเอง (ซึ่งอาจจะมีการใช้คะแนนสอบข้อเขียนร่วมด้วย) แต่สถาบัน จะจัดสอบเพิ่มเติมได้ในกรณีที่นักเรียนไม่มีคะแนนของรายวิชาที่ต้องการจะใช้คัดเลือก ปฏิทินการดำาเนินงาน
กระบวนการคัดเลือก
รอบที่ 2
สถาบันอุดมศึกษา ประกาศเกณฑ์การรับสมัคร
สถาบันอุดมศึกษา
ช่วงเดือน กรกฎาคม 2561
สถาบันอุดมศึกษาส่งข้อมูล ผู้สมัครให้ทาง ทปอ.
1
ประกาศเกณฑ์การรับสมัคร
ผู้สมัคร สมัครด้วยตนเอง
ภายในเดือน กรกฎาคม 2561
กับทางสถาบันอุดมศึกษา
3
ผู้สมัคร
สอบสัมภาษณ์
ผ่านการคัดเลือก
4 ดำาเนินการ เสร็จสิ้นสถาบันส่งข้อมูล ผู้สมัครให้ ทปอ.
สรุปประเด็นสำาคัญ TCAS ลำาดับที่
ระบบ TCAS
หลักการ
1) มีการสอบหลังจากสิ้นสุดภาคเรียนที่ 2 ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2) นักเรียนแต่ละคนมีเพียง 1 สิทธิ์ ในการตอบรับในสาขาวิชาที่เลือกเพื่อความเสมอภาค และไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายในการจองสิทธิ์จำานวนมาก 3) สถาบันอุดมศึกษาของรัฐสังกัดกระทรวงศึกษาธิการทุกแห่งจะเข้าระบบ Clearing house เพื่อบริหาร 1 สิทธิ์
กระบวนการ รับสมัคร ค่าใช้จ่าย
38
1) มีการบริหารจัดการกลางร่วมกันทั้งหมด 2) เปิดโอกาสให้นักเรียนเลือกสมัครในแต่ละรอบด้วยความรู้และศักยภาพของตนเอง 3) การสมัครส่วนกลางร่วมกันมี 2 ครั้ง คือ รับตรงร่วมกัน และ Admission 1) มีค่าใช้จ่ายในการสมัครสอบ และสมัครคัดเลือกทั้งหมดประมาณ 900 - 2,000 บาท ครั้งเดียว ขึ้นอยู่กับจำานวนสาขาวิชาที่เลือก และเพิ่มเติมสำาหรับจำานวนวิชาเฉพาะ (ไม่ซำ้าซ้อนกับวิชา สอบกลาง) ของสถาบันอุดมศึกษาที่ต้องการสมัคร 2) มีค่าใช้จ่ายในการยืนยันสิทธิ์หรือลงทะเบียนเพียงครั้งเดียว ถ้าสอบได้และตัดสินใจเลือก ในสาขาวิชาที่ต้องการ ที่มา : www.AdmissionPremium.com
2
39
ดร.สตีเวน ชนะ กิตเิ กียรติศกั ดิ์ ประธานกรรมการบริหารเครือโรงเรียนมารีวทิ ย์ พร้อมด้วย คณะผู ้ บ ริ ห ารและคณะครู ซึ่ ง ได้ แ ก่ มาสเตอร์ นิ ก ร ชุ ก ะวั ฒ น์ ครู ป าริ ช าติ เกื้ อ กู ล และครูรกั ษิณา จารุปาน ได้เดินทางไปมหาวิทยาลัย WUHAN INSTITUTE OF TECHNOLOGY สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันพุธที่ 19 – วันเสาร์ที่ 22 เมษายน 2560 เพื่อร่วม ลงนามความร่วมมือในโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาจีน กับเครือโรงเรียนมารีวิทย์ โอกาสนี้ ทางคณะผู ้ บ ริ ห ารและคณะครู ไ ด้ เข้ า เยี่ ย มชมสถานที่ ส� ำ คั ญ ภายในมหาวิ ท ยาลั ย เช่ น ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการการเรียนการสอน ห้องแสดงนิทรรศการต่าง ๆ พร้อมกับพูดคุย และสัมภาษณ์นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการครั้งนี้ด้วย โดยมีคณะผู้บริหาร และอาจารย์ ของมหาวิทยาลัย WUHAN INSTITUTE OF TECHNOLOGY ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น
คุณไมเคิล ชนินทร์ กิติเกียรติศักดิ์ รองประธานกรรมการ บริหารเครือโรงเรียนมารีวิทย์ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ซึ่งได้แก่ ซิ ส เตอร์ เ พตร้ า ดรุ ณี ลิ ขิ ต ธรรมกุ ล ดร.ศิ ริ น า โพยประโคน ดร.ธันฐกานต์ ทองสินเกียรติ ครูสุพรรณี วรรณเพ็ชร และ ครู สุ นี ย ์ อนุ ศ าสนี ได้ เ ดิ น ทางไปศึ ก ษาดู ง าน ณ สถานศึ ก ษา ต่าง ๆ ที่ประเทศออสเตรเลีย ระหว่างวันศุกร์ที่ 28 เมษายน วันศุกร์ที่ 5 พฤษภาคม 2560 พร้ อ มกั น นี้ ไ ด้ ร ่ ว มลงนามความร่ ว มมื อ กั บ ผู ้ บ ริ ห ารของ Edith Cowan University ประเทศออสเตรเลีย ในโครงการ ส่งนักศึกษามาเป็นครูในเครือโรงเรียนมารีวิทย์ เพื่อให้นักเรียน โรงเรียนมารีวทิ ย์ได้ฝกึ ฝนพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษได้เพิม่ มากขึน้
40
Thailand educators
visit CEWA school
As part of an amazing cultural exchange and immersion program, students at St. Andrew’s Catholic Primary School were visited by Sr. Petra Darunee Likhittam, a Presentation Sister working at Maryvit School in Thailand, along with a number of her school’s colleagues, to look at how a Catholic school in Western Australia educates their students.
Sr. Petra Darunee Likhittam was joined by: Mr. Michael Kitikiatisak, Vice President of the school; Mrs. Sirina Poyprakhon, School Principal; Miss Thuntakarn Thongsinkiat, Chief Academic Officer; Miss Sunee Anusasanee, Head of Primary and Miss Supannee Vannapet, Head of Kindergarten. The special guests spent the day with students in their classrooms looking at the technology and contemporary working paedology, working with small groups to learn about how and what the school teaches in a number of different learning areas.
The St. Andrew’s students set an impeccable standard of manners, communication and collaboration with the visitors. The students were very proud to share their learning journeys, and are looking forward to using Skype to establish a relationship with some of the 10,000 students at Maryvit School in Thailand, which has students from Kindergarten – Year 12. Principal Sam Fontaine said “it was a great experience for all involved in the program, and we look forward to a continued relationship with the school into the future.”
http://news.cewa.edu.au/thailand-educatorsvisit-cewa-school/
41
100 ปี แม่พระประจักษ์ทฟี่ าติมา ไตร่ตรองสาสน์รกั ของพระเจ้ า ที่ ท รงมี ต ่ อ มนุ ษ ย์ ผ่ า นทางพระนางมารี ย ์ ขณะทีส่ งครามโลกครัง้ ทีห่ นึง่ ก�าลังจะสิน้ สุดลง วันอาทิตย์ที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 ที่ฟาติมา หมู่บ้านเล็ก ๆ ตั้งอยู่ บนเนินเขาในประเทศโปรตุเกส ห่างจากลิสบอน เมืองหลวง 125 กิโลเมตร แม่พระได้ประจักษ์มาเป็นครั้งแรกแก่เด็กที่ ท�าหน้าทีด่ แู ลฝูงแกะให้กบั ครอบครัวสามคน คือ ลูซอี า ฟรังซิสโก และ ยาชินทา บัดนี้เวลาได้ล่วงเลยมาเป็นเวลา 100 ปีแล้ว ฟาติ ม าเมื อ งเล็ ก ๆ ที่ แ ต่ ก ่ อ นไม่ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก ปั จ จุ บั น กลั บ กลายเป็ น สถานที่ แ สวงบุ ญ ใหญ่ แ ห่ ง หนึ่ ง ในโลก พระสันตะปาปาหลายพระองค์เสด็จไปแสวงบุญที่ฟาติมา เรือ่ งราวของฟาติมาคือสาสน์รกั ของพระเจ้าทีท่ รงมีตอ่ มนุษย์ ผ่านทางพระนางมารีย์ เพื่อร่วมฉลอง 100 ปี การประจักษ์ ของแม่พระทีฟ่ าติมา ขอน�าผูอ้ า่ นทุกท่านย้อนเวลาไปร�าพึง ไตร่ตรอง สาสน์รักของพระเจ้าที่ทรงมีต่อมนุษย์ผ่านทาง พระนางมารีย์ ที่เกิดขึ้นที่ฟาติมา แม้จะมีการเบียดเบียน ศาสนาคริ ส ต์ ใ นประเทศนั้ น โดยพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ แต่ ค รอบครั ว ของเด็ ก ทั้ ง สาม พ่ อ แม่ เ ป็ น คนศรั ท ธา สอนค� า สอนแก่ ลู ก ให้ ส วดภาวนา สวดสายประค� า มีความศรัทธาต่อพระเป็นเจ้า แม่พระและนักบุญ เด็กทัง้ สาม จึงเป็นเด็กศรัทธา น่ารัก เป็นเด็กซือ่ ๆ แม้จะมีปญ ั หาการเมือง
42
และสังคม แต่พระเป็นเจ้าและพระนางมารียต์ อ้ งการช่วยเหลือ ให้มนุษย์มีความเชื่อมั่นคง และให้โลกมีสันติภาพ ยุติสงคราม เลิกรบราฆ่าฟัน จึงโปรดให้ทูตแห่งสันติภาพได้ประจักษ์มา สามครั้ง ในปี ค.ศ. 1916 แก่เด็กทั้งสาม การประจักษ์ครั้งแรก 13 พฤษภาคม 1917 แม่ พ ระขอให้ เ ด็ ก มาที่ เ ดิ ม ทุ ก วั น ที่ 13 ของเดื อ น 6 เดือน ติดต่อกันจนถึงเดือนตุลาคม ขอให้สวดสายประค�า และท�าพลีกรรม สู้ทนความยากล�าบาก เพื่อให้คนบาปกลับใจ การประจักษ์ครั้งที่สอง 13 มิถุนายน 1917 (ฉลองนักบุญอันตน) วันฉลองใหญ่ของประเทศ มีคนตามไปประมาณ 40 คน แม่พระบอกลูซีอา ว่า ฟรังซิสโกและยาชินทาจะเสียชีวิตไปก่อน และพระเป็นเจ้าต้องการให้โลกเลื่อมใสศรัทธาต่อดวงหทัย นิรมลของพระนาง การประจักษ์ครั้งที่สาม 13 กรกฎาคม 1917 แม่พระได้ให้เด็กทั้งสามเห็นภาพนิมิตของนรก สถานที่ ส�าหรับคนบาปเพือ่ ช่วยพวกเขา แม่พระบอกว่ามนุษย์ตอ้ งศรัทธา ต่อหทัยนิรมลของพระนางจึงจะเกิดสันติสุข ยุติสงคราม “ขอให้ ถวายโลกแด่หทัยนิรมลของพระนาง แก้บาปรับศีลทุกวันเสาร์ ต้นเดือนติดต่อกัน การถวายโลกแด่ดวงหทัยนิรมลของพระแม่ จะท�าให้ รัสเซียจะกลับใจ”
การประจักษ์ครั้งที่สี่ 19 สิงหาคม 1917 สาระส� า คั ญ ครั้ ง นี้ แม่ พ ระกล่ า วว่ า “สวดมาก ๆ ลูกพลีกรรมแทนคนบาป วิญญาณตกนรกเยอะ เพราะไม่มีใคร สวดพลีกรรมอุทิศให้” การประจักษ์ครั้งที่ห้า 13 กันยายน 1917 มีคนไปชุมนุมประมาณ 2,500 คน เห็นเหตุการณ์พิเศษ มีฝนกลีบดอกไม้สีขาวลอยมาลงเกือบถึงพื้นดิน แล้วหายไป ไม่มีร่องรอย และแม่พระสัญญาว่าจะท�าอัศจรรย์ในเดือน ตุลาคม การประจักษ์ครั้งที่หก 13 ตุลาคม 1917 มี ป ระชาชนไปที่ ต� า บลอี เรี ย มากกว่ า 50,000 คน สาระส�าคัญทีแ่ ม่พระกล่าว คือ “เราคือ แม่พระแห่งสายประค�า มาเพื่อเตือนให้ลูกมีความศรัทธา ปรับปรุงการด�าเนินชีวิต ให้ ถู ก ต้ อ ง แม่ อ ยากให้ มี วั ด ถวายแด่ แ ม่ ณ สถานที่ นี้ . .. จงสวดสายประค�าทุกวัน สงครามใกล้ถงึ เวลาสิน้ สุด อย่าท�าอะไร ทีแ่ สลงพระทัยของพระอีกเลย มีผู้ท�าผิดต่อพระองค์มากอยู่แล้ว มนุษย์ต้องเลิกท�าบาป ขอโทษพระเสีย อย่าท�าอะไรให้มาก ไปกว่านี้” (เหตุการณ์พิเศษนี้ทุกคนที่ชุมนุมอยู่ที่นั่นเห็นคือ ดวงอาทิ ต ย์ เ หมื อ นวงล้ อ มหึ ม าหมุ น กลางอากาศ มี แ สง เป็ น ประกายแพร่ อ อกรอบทิ ศ เป็ น สี รุ ้ ง ) ท่ า มกลางฝู ง ชน เป็นประจักษ์พยานยืนยัน มีทั้งผู้ที่เชื่อและไม่เชื่อ ทั้งชาวชนบท ไร้การศึกษาและชาวเมืองที่มีการศึกษา ทั้งนักวิทยาศาสตร์ แพทย์ และนักหนังสือพิมพ์…ปรากฏการณ์ แม้ผู้ที่อยู่ห่างไกล ถึง 30-40 กม. ก็ยังสังเกตเห็นและเมื่อฝูงชนหายตื่นตระหนก ตกใจแล้ว ทุกคนยังต้องประหลาดใจอีกครั้ง เพราะเสื้อผ้าที่ เปี ย กปอนด้ ว ยน�้ า ฝน และรอยเปื ้ อ นน�้ า โคลนเมื่ อ สั ก ครู ่ นี้ กลับแห้งสนิท สะอาดหมดจดทีเดียว หลั ง การประจัก ษ์ ค.ศ.1919 ได้มีวัดน้อยหลังแรก ณ สถานที่ที่แม่พระประจักษ์ 13 พฤษภาคม 1928 เริ่มสร้าง มหาวิหารถวายแด่แม่พระ (และส�าเร็จในปี ค.ศ.1951) ค.ศ.1931 สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศโปรตุเกส ถวายประเทศ แด่แม่พระ 31 ตุลาคม 1942 สมโภช 25 ปี แห่งการประจักษ์ พระสันตะปาปาปีโอที่ 12 ถวายโลกแด่ดวงหทัยนิรมลของ พระนาง ค.ศ.1951 มี พิ ธี ป ิ ด ปี ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ฟ าติ ม า 13 พฤษภาคม ค.ศ.1967 พระสั น ตะปาปาเปาโลที่ 6 เสด็จไปยังฟาติมา วโรกาสสมโภช 50 ปีแห่งการประจักษ์
13 พฤษภาคม ค.ศ.1982 พระสันตะปาปายอห์น ปอลที่ 2 เสด็จไปเพื่อภาวนาขอบคุณแม่พระและพลีกรรมที่ฟาติมา (หลั ง จากที่ พ ระองค์ ถู ก ลอบปลงพระชนม์ เมื่ อ วั น ที่ 13 พฤษภาคม 1981 ที่หน้าลานมหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม) ทีช่ ว่ ยปกป้องชีวติ ของพระองค์ไว้ พระองค์ได้รอื้ ฟืน้ การถวายพระศาสนจักร และโลกแด่ดวงหทัยนิรมลของ พระนางมารีย์อีกครั้งหนึ่ง โอกาสฉลองครบรอบร้ อ ยปี ก ารประจั ก ษ์ ข อง แม่ พ ระที่ ฟ าติ ม า สมเด็ จ พระสั น ตะปาปา ฟรั ง ซิ ส ทรงประกาศให้ ค ริ ส ตชนสามารถรั บ พระคุ ณ การุ ณ ย์ ครบบริบูรณ์ได้ระหว่างวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016วันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017 แหล่งที่มา: ข้อมูลจากเวปไซด์สังฆมณฑลจันทบุรี http://www.fatimafm.com/mary/fatima/fatima.htm http://www.udomsarn.com/udomsarn-month/ 2017/UdomsarnMMay_2017.pdf
43
ปัญหาทีต่ วั ผูเ้ ขียนพบในเด็กไม่วา่ จะเป็นประถมหรือมัธยม สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ หมื อ นกั น คื อ เด็ ก แยกแยะใจความส� ำ คั ญ กั บ ข้อคิดเห็นไม่เป็น เมื่อถึงเวลาให้บอกใจความส�ำคัญ เด็กมักจะ หยิบยกเอาข้อคิดมาตอบ ผู้เขียนจึงคิดว่าเราจะช่วยเด็ก ๆ ได้อย่างไร ซึง่ จริง ๆ แล้วเรือ่ งของการจับใจความส�ำคัญของเรือ่ ง หรื อ ข้ อ คิ ด ที่ ไ ด้ รั บ จากเรื่ อ งไม่ จ� ำ เป็ น จะต้ อ งมาจากใน หนั ง สื อ เรี ย นหรื อ การเรี ย นในห้ อ งเรี ย นเพี ย งอย่ า งเดี ย ว คนที่มีส่วนช่วยที่ส�ำคัญคือผู้ปกครอง เพราะเวลาที่อยู่บ้าน และท�ำกิจกรรมร่วมกัน เช่น การดูโทรทัศน์ไม่ว่าจะเป็นละคร หรือหนังที่น�ำมาฉายทางโทรทัศน์ ผู้ปกครองสามารถให้ลูก เล่าเรื่องว่าเป็นเรื่องราวอย่างไร ซึ่งล�ำดับขั้นตอนนี้คือการ จับใจความของเรื่องที่เด็กต้องจับใจความให้ได้ว่าใครท�ำอะไร ทีไ่ หน อย่างไร ถ้าขยับระดับการฝึกคิดวิเคราะห์ เราอาจจะโยน ค� ำ ถามให้ เ ด็ ก โดยให้ เ ด็ ก วิ จ ารณ์ อุ ป นิ สั ย ของตั ว ละคร ในเรื่องนั้น ๆ ไม่ว่าจะเป็นพระเอก นางเอก ตัวร้าย นางอิจฉา ให้เด็กแสดงความคิดเห็นว่าแต่ละตัวเป็นอย่างไร ท�ำไมถึงเป็น สาเหตุ จ ากอะไร และอยากให้ เ สริ ม การคิ ด ใน 2 ด้ า น ไม่ว่าจะเป็นตัวร้าย หรือนางเอก อย่างไรทุกคนก็มี 2 ด้าน เหมือนกับเหรียญ เราจึงจ�ำเป็นที่ต้องสอนเด็กให้มอง 2 ด้าน ทั้ ง ด้ า นดี แ ละไม่ ดี จากนั้ น ให้ เ ด็ ก ช่ ว ยเสนอแนะแนวทาง การแก้ ไขปั ญ หานั้ น ๆ โดยผู ้ ป กครองต้ อ งใจเย็ น ให้ เ ด็ ก ช่ ว ยตอบเองและค่ อ ยอธิ บ ายเสริ ม เพิ่ ม เติ ม แท้ จ ริ ง แล้ ว
44
ไม่จ�ำเป็นจะต้องเป็นละครอย่างเดียว ข่าวทุกวันที่เด็กต้องนั่งดู ร่ ว มกั บ เรา เราสามารถให้ เ ด็ ก เล่ า ข่ า ว จากนั้ น ให้ บ อกว่ า เกิดอะไรขึ้น สาเหตุของปัญหาเกิดจากอะไร ผลกระทบที่เกิด ส่งผลกับใครบ้าง ซึ่งตรงนี้ต้องกระตุ้นให้เด็กคิดให้ได้มากกว่า 1 ค�ำตอบ และให้เด็ก ๆ เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาว่า ปั ญ หานี้ จ ะไม่ เ กิ ด ถ้ า ... นี่ คื อ การสอนเด็ ก คิ ด ให้ เ ป็ น รู ้ จั ก การแก้ ป ั ญ หา การสอนจั บ ใจความ คิ ด วิ เ คราะห์ การแก้ปัญหามีมากมายที่เราจะเลือกมาพูดคุย หรือสอนเด็ก โดยไม่ให้รสู้ กึ เบือ่ ได้โดยการหยิบยกเนือ้ หาในเพลงทีส่ อื่ ความดี ไม่ดี มาพูดคุย ถ้าเรามามองจริง ๆ แล้วการจับใจความ การคิดวิเคราะห์ หรือการคิดแก้ปัญหา ไม่ใช่เรื่องของในต�ำราเพียงอย่างเดียว และที่ส�ำคัญบ้านและโรงเรียนมีส่วนร่วมกันในการช่วยการคิด ของเด็กเพราะในชีวติ จริงในสังคมเรา มักมีสว่ นดีและโดยเฉพาะ ด้านไม่ดีจะมีพบเห็นเยอะที่สุดในสังคมเพราะฉะนั้นเราควร มีสว่ นร่วมในการสอนให้ลกู ของเราคิดเป็น รูเ้ ท่าทัน และทีส่ ำ� คัญ แก้ปัญหาเป็น ครูนงลักษณ์ มั่งคั่ง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
วิทยาศาสตร์ ถือเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีบทบาทต่อ การด�ำเนินชีวติ ของคนในสังคมยุคปัจจุบนั มีการน�ำความรู้ หลักการ ทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันเพิ่มมากขึ้น แสดงให้เห็นว่ามนุษย์ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการพัฒนา คุณภาพชีวิต ซึ่งจะเห็นได้จากการน�ำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาเป็นพื้นฐาน เพื่อสรรค์สร้างสิ่งต่าง ๆ รอบกายคนเรามากขึ้น เช่น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร การดูแลสุขภาพ การดูแลผิวพรรณ ยารั ก ษาโรค รวมถึ ง การใช้ วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ น ทางเลื อ กหลั ก ใน การศึกษาต่อของนักเรียน เป็นต้น ปีการศึกษา 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้มี การประชุมวางแผน เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ หาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ทกุ ระดับชัน้ การปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารสอนโดยเน้ น ให้ นั ก เรี ย นเกิ ด ความรู ้ แ ละทั ก ษะวิ ท ยาศาสตร์ ผ่ า นการสื บ เสาะหาความรู ้ ด ้ ว ยระบบ STEM เรี ย นรู ้ เ ป็ น กลุ ่ ม และให้ นั ก เรี ย นได้ เรี ย นรู ้ จ ากการลงมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง หรื อ การใช้ สื่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย ในการสอน ตามนโยบายของทางโรงเรี ย น รวมถึ ง การพั ฒ นาครู ผู ้ ส อน โดยส่ ง ตั ว แทนคุ ณ ครู เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ในหัวข้อ การใช้กจิ กรรมวิทยาศาสตร์พลังงาน เสริมทักษะสะเต็มศึกษาในหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โดยกระทรวงพลังงาน ระหว่างวันที่ 3–4 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ พัทยา นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารจั ด ซื้ อ สื่ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ สารเคมี มาใช้ ห ลากหลายขึ้ น และให้ เ พี ย งพอกั บ ความต้ อ งการใช้ ง าน ของทุกระดับชั้น เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ผ่านการทดลอง สามารถต่อยอดความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมกันนี้ ทางกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ได้จัดให้มีกิจกรรมการแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น ตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เป็ น ช่ ว งชั้ น การจั ด ท� ำ สื่ อ /โมเดลการเรี ย นรู ้ ต ่ า งๆ การวาดภาพระบายสี เครื่ อ งร่ อ นกระดาษพั บ เพื่ อ หาตั ว แทน แข่งขันวิชาการเครือมารีวิทย์ ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดือนสิงหาคมนี้อีกด้วย นางชลธร ยศอาลัย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
45
46
47
การศึกษาดูงาน ณ ประเทศออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 28 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2560
เครือโรงเรียนมารีวิทย์มีเป้าหมายที่ชัดเจน ในการ พัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในแต่ ล ะปี ซึ่ ง ในปี ก ารศึ ก ษานี้ ทางคณะผู ้ บ ริ ห าร จ�านวน 5 ท่าน ได้แก่ คุณไมเคิล ชนินทร์ กิติเกียรติศักดิ์ ดร.ศิรินา โพยประโคน ดร.ธันฐกานต์ ทองสินเกียรติ ครูสุพรรณี วรรณเพ็ชร และครูสุนีย์ อนุศาสนี ได้ไป ศึกษาดูงาน ณ เมืองเพิรธ์ ประเทศออสเตรเลีย ในโรงเรียน ที่มีชื่อเสียงและประสบความส�าเร็จด้านการจัดการศึกษา จ�านวน 4 แห่ง ได้แก่ 1) St ANDREW’S CATHOLIC PRIMARY SCHOOL 2) GOOD SHEPHERD CATHOLIC SCHOOL 3) LA SALLE COLLEGE 4) HOLY CROSS COLLEGE ซึ่ ง มี แ นวทางในการจั ด การศึ ก ษาที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น ในแต่ ล ะช่ ว งวั ย ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ชั้ น อนุ บ าลถึ ง ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย โดยพบว่ า การจั ด การศึ ก ษา เน้ น น� า ค� า สอนทางศาสนามาใช้ ใ นการพั ฒ นาคุ ณ ค่ า ให้ เ กิ ด กั บ ตั ว นั ก เรี ย น ซึ่ ง ในที่ นี้ ข อสรุ ป ภาพรวมโดย แบ่งออกเป็น ระดับชั้นอนุบาล ระดับชั้นประถมศึกษา และระดับชั้นมัธยมศึกษา ดังนี้
48
• ระดับชั้นอนุบาล
จะแบ่ ง เป็ น ช่ ว งอายุ 3-4 ขวบ เรี ย นรู ้ ร ่ ว มกั น และ เตรียมประถมศึกษา ซึ่งจะมีแค่ 2 ระดับ โดยแบ่งกลุ่มการเรียน 4-5 คน เรี ย นเป็ น ฐานการเรี ย นรู ้ เน้ น การเรี ย นเป็ น กลุ ่ ม ผู ้ ป กครองเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการเข้ า มาเป็ น อาสาสมั ค ร ดูแลนักเรียนและช่วยสอนในบางฐานการเรียนรู ้ เน้นให้นกั เรียน ช่วยเหลือตนเองในด้านการเรียนลองผิดลองถูก ท�าด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนเกิดความมั่นใจ ผู้ปกครองให้ความร่วมมือ เป็นอย่างดีกับการฝึกให้นักเรียนได้อ่านหนังสือทุกวันที่บ้าน และสอนทักษะการใช้เทคโนโลยีทจี่ า� เป็น ทุกห้องเรียนจะติดตัง้ จอทีวีเพื่อใช้ในการเรียนการสอน
• ระดับชั้นประถมศึกษา
เน้นการเรียนประมาณ 5 วิชาหลัก ได้แก่ Spelling, Writing, Grammar, Religion, Maths ใช้สื่อเทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอน จะเน้นให้นักเรียนได้ท�างานเป็นกลุ่ม ให้ทุกคนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟัง ความคิดเห็นของคนอื่นอย่างสร้างสรรค์ เน้นกระบวนการ ให้ได้ฝกึ คิด วิเคราะห์ ทุกกิจกรรม พัฒนานักเรียนตามศักยภาพ ของการเรียนรู้ โดยส่งเสริมนักเรียนที่เรียนเก่ง เช่น การจัดตั้ง ชมรมการสร้ า งหุ ่ น ยนต์ และเติ ม เต็ ม นั ก เรี ย นที่ เรี ย นอ่ อ น โดยมี ค รู เ ข้ า ไปช่ ว ยสอนตั ว ต่ อ ตั ว และสร้ า งกิ จ กรรม ให้นักเรียนสามารถแสดงศักยภาพได้ เช่น การประกอบอาหาร มีประเด็นที่น่าสนใจคือ ในบางวิชาที่นักเรียนต่างระดับชั้น สามารถเรียนร่วมกันได้ เช่น สะกดค�า นักเรียนชั้น ป.2 กับ ป.3 เรียนร่วมกัน หรือบางวิชานักเรียนชัน้ ป.3 - ป.6 เรียนร่วมกัน เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ยอมรับซึ่งกันและกันในด้านความคิด ให้ความส�าคัญกับเรือ่ งของการสะกดค�าให้ถกู ต้อง แล้วสามารถ น�าไปใช้ได้ ตั้งแต่ชั้น ป.1 เน้นให้นักเรียนได้ฝึกท�าแบบฝึกหัด หลากหลายข้อ คือครูอธิบายน้อยแต่ให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติมาก ปลูกจิตส�านึก และความรับผิดชอบอาสาท�างานเพื่อส่วนรวม
• ระดับชั้นมัธยมศึกษา
การเรี ย นการสอนเน้ น ให้ นั ก เรี ย นได้ ฝ ึ ก ปฏิ บั ติ จ ริ ง เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นได้ ค ้ น พบตนเอง ว่ า มี ค วามถนั ด หรื อ ความสามารถใด เช่น ทักษะด้านช่าง ศิลปะ ค�านวณ ฯลฯ นักเรียนชั้น ม.ปลาย จะเน้นที่วิชาเลือกมากกว่าวิชาบังคับ ให้ตรงกับความต้องการของนักเรียนมากที่สุด ในการที่จะ เรี ย นต่ อในระดั บ มหาวิท ยาลัย ให้ความส�า คัญ กับนักเรียน ชั้ น ม.6 ในการมี สิ ท ธิ พิ เ ศษบางอย่ า ง เช่ น การดื่ ม กาแฟ การใช้ห้องประกอบการ ฯลฯ เป็นการให้เกียรติยกย่องว่า เป็นผู้ใหญ่ที่จะต้องดูแลตนเองได้แล้ว และการมอบหมาย ให้ เ ป็ น ผู ้ ด� า เนิ น การค้ น หาวิ ธี ก ารเรี ย นการสอนที่ ดี ร ่ ว มกั บ ครูผู้สอน เน้นการเรียนการสอนเป็นกลุ่ม เพื่อฝึกนักเรียน เป็นผูน้ า� ผูต้ าม ให้นกั เรียนได้ฝกึ คิดวิเคราะห์ เสนอความคิดเห็น ร่ ว มกั น สามารถน� า Tablet หรื อ Notebook มาใช้ ใ น ห้ อ งเรี ย นได้ แต่ ไ ม่ มี ใ ครใช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ในห้ อ งเรี ย น หรือช่วงพักกลางวัน
จากการที่ได้ไปศึกษาดูงาน ณ ประเทศออสเตรเลีย ยิ่ ง ท� า ให้ มั่ น ใจในนโยบายการบริ ห ารจั ด การ ในด้านการจัดการศึกษาของทางเครือโรงเรียนมารีวิทย์ ที่ ไ ด้ ด� า เนิ น มาอย่ า งถู ก แนวทางในการให้ ค วามส� า คั ญ กับการท่องศัพท์ การเขียนสะกดค�า การอ่านหนังสือ การน�าสือ่ เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในห้องเรียน เช่น การติดตัง้ ทีวี โปรเจคเตอร์ การใช้โปรแกรม Twig รวมถึงทักษะการว่ายน�า้ เพือ่ เป็นการป้องกันตนเอง ในส่วนของมัธยมศึกษาตอนปลาย ทางโรงเรี ย นได้ เ ปลี่ ย นรู ป แบบการเรี ย นของนั ก เรี ย น เป็นแบบทีมก่อนทีจ่ ะไปศึกษาดูงาน โดยแบ่งกลุม่ นักเรียน รับผิดชอบดูแลซึง่ กันและกันเป็นกลุม่ สาระ (เปลีย่ นบทบาท เป็ น ผู ้ น� า ผู ้ ต าม ตามความสามารถ) และมี กิ จ กรรม ให้นกั เรียนได้แสดงออกตามความสามารถในหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านดนตรี ด้านภาษา ด้านกีฬา และการสร้างจิตอาสา ท� า เพื่ อ ส่ ว นรวมทั้ ง ภายในและภายนอกสถานศึ ก ษา ที่ เ ห็ น ได้ เ ด่ น ชั ด ของนั ก เรี ย นประเทศออสเตรเลี ย อีกด้านหนึง่ คือ ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง การเคารพกฎกติกา การให้เกียรติซงึ่ กันและกัน และการตัง้ ใจเรียนทีม่ เี ป้าหมาย ค่อนข้างชัดเจนว่าจะไปเรียนต่อในด้านใด และมีระบบ การดูแลนักเรียนทีม่ คี วามสามารถในการเรียนรูท้ แี่ ตกต่างกัน อย่างเป็นระบบ ซึ่งประเด็นนี้ทางเครือโรงเรียนมารีวิทย์ ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� า คั ญ ที่ ต ้ อ งเร่ ง พั ฒ นาเช่ น กั น ส่ ว นด้ า นการดู แ ลนั ก เรี ย นจะเน้ น ในเรื่ อ งของ ความปลอดภัย ซึ่งจะมีครูดูแลอย่างใกล้ชิดเช่นเดียวกับ เครื อ โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ และไม่ อ นุ ญ าตให้ ผู ้ ป กครอง เข้ า มาในส่ ว นอาคารเรี ย นหรื อ ห้ อ งเรี ย น ถ้ า ต้ อ งการ พบนักเรียนต้องมาติดต่อหรือรอพบที่ออฟฟิศส่วนกลาง เท่านั้น
49
STEM Education
STEM Education เป็ น การเรี ย นการสอนอี ก หนึ่ ง โปรแกรม ที่ทางโรงเรียนมารีวิทย์ ได้จัดขึ้นในช่วงการเรียนเสริม Summer 2 ระหว่างวันที่ 24 เมษายน – 9 พฤษภาคม 2560 เพื่อเน้นให้นักเรียน ได้ฝึกคิดอย่างเป็นกระบวนการ สรรค์สร้างผลงานอย่างเป็นระบบ ผ่านกิจกรรมการเรียนรูเ้ ป็นฐาน โดยอาศัยความรูจ้ าก STEM มาบูรณาการ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู ้ ที่ ค งทน ได้ แ ก่ S=Science T=Technology E=Engineer M=Mathematics ภายใต้ Concept 5 SMART 1. SMART DAM เน้นให้นกั เรียนออกแบบวางแผน การสร้างเส้นทาง การคมนาคม พร้ อ มเปิ ด โลกการเรี ย นรู ้ กั บ การนั่ ง รถไฟจากสถานี เนินพลับหวานถึงสถานีพลูตาหลวง แวะทานอาหารกลางวันที่หาดนางร�ำ และเรียนรู้การท�ำฟาร์มปลาการ์ตูนที่ช่องแสมสาร 2. SMART HOME เน้นการออกแบบบ้านยุคใหม่ สอดคล้องกับ Thailand 4.0 3. SMART FARM การออกแบบและสร้างฟาร์มแกะในรูปแบบ ของนักเรียน พร้อมจุดประกายความคิดสร้างสรรค์กบั การเทีย่ วชมฟาร์มแกะ ที่ Swiss Sheep Farm พัทยา ของนักเรียนในระดับ ป.1 - ป.3 4. SMART FOOD การประกอบอาหารหลากหลายชนิด ทั้งอาหาร คาวหวาน ด้วยรูปแบบของ STEM เช่น ข้าวผัด มักกะโรนี บาร์บีคิว วุ้นแฟนซี โอวัลตินภูเขาไฟ บิงซู เป็นต้น 5. SMART AUTOMOTIVE การออกแบบและเรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ นวัตกรรมยานยนต์ในอนาคต สนุกไปกับเครื่องร่อนกระดาษพับและ จรวดขวดน�้ ำ พร้ อ มเรี ย นรู ้ ห ลั ก การท� ำ งานของเทคโนโลยี อ วกาศ กับท่องโลกอวกาศ ที่ Space Inspirium ที่แหลมฉบัง ของนักเรียน ระดับ ป.4-ป.6 และสนุกสนานกับการโยนโบว์ลิ่ง ที่ Avenue พัทยา ของนักเรียนระดับ ม.1-ม.3 การเรียนการสอน Summer 2 กับ STEM Education ในครั้งนี้ นักเรียนเกิดความสนุกสนานและสามารถน�ำความรู้ กระบวนการจัดการ ความคิดสร้างสรรค์ การท�ำงานเป็นทีม มาสร้างสรรค์ผลงานอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ทางครูผู้สอน ได้จัดเพิ่มเติมให้กับนักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างเต็มรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น การเปิดโลก STEM กับเหล่า The Mask Teacher และปิดท้ายกิจกรรม STEM Education ด้วย STEM Sport Day และ STEM Academy พร้อมการจัดแสดง โชว์ผลงานของนักเรียนและส่งความสุขปิดท้าย STEM Education กับวงดนตรี MVS Teacher STEM Team นางชลธร ยศอาลัย ทีมงาน STEM Education
50
ความรู้สึกของนักเรียนต่อ
STEM Education
ส�ำหรับผม ความรู้สึกในตอนแรกยังไม่เข้าใจการน�ำ STEM มาใช้ในกิจกรรม แต่พอได้รว่ มเป็นส่วนหนึง่ ของ STEM Education ก็ไม่ผดิ หวังจริง ๆ ครับ เพราะผม ได้รับความรู้จากครูเต็มที่ ได้เป็นผู้ลงมือปฏิบัติในทุกขั้นตอน มีการร่วมกัน ระดมความคิด ออกแบบ วางแผนและประดิษฐ์สิ่งที่พวกเราได้ช่วยกันคิด ให้เป็นรูปร่างขึ้นมา มีการลองผิดลองถูก โดยมีคุณครูแต่ละฐานช่วยแนะน�ำ จนทุกอย่างส�ำเร็จลุล่วง และที่ส�ำคัญได้ท�ำสิ่งต่าง ๆ ร่วมกับน้อง ๆ และเพื่อน ๆ สนุกสนานกับการเปิดโลกการเรียนรู้กับ STEM Education คุ้มค่าจริง ๆ ครับ ขอบคุณกิจกรรมดี ๆ ที่มีเพื่อพวกเรา และขอให้มีการจัดการเรียนแบบนี้ในครั้ง ต่อไปนะครับ STEM #1 ด.ช.ปุญญพัฒน์ ไชยสีดา ม.2/5 หนูชอบเรียน STEM มากค่ะ ได้นั่งรถไฟเป็นครั้งแรกในชีวิต ตื่นเต้นมาก ได้เห็นสิ่งต่าง ๆ ตลอดเส้นทาง ทานข้าวกลางวันกับเพื่อน ๆ ที่หาดนางร�ำ และได้ไปดูปลาการ์ตูนด้วยเยอะมากค่ะ และได้ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ คุณครูดูแลดี มีกิจกรรมเยอะ ถ้ามีอีก จะขอเรียน STEM อีกค่ะ ด.ญ.วรวรรณ เสมาทอง ป.1/5 หนูประทับใจตั้งแต่วันแรกเลยค่ะ กับ The Mask Teacher ใครเป็นใคร เดาไม่ถูกเลยตลกดีค่ะ และในการเรียนครั้งนี้ หนูได้เห็นและเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ จากประสบการณ์จริง เช่น ได้นั่งรถไฟ ไปฟาร์มปลาการ์ตูน เห็นปลาดอลลี่ ในหนังด้วยค่ะ และไปเทีย่ วทีฟ่ าร์มแกะ ท�ำงานร่วมกับเพือ่ น ๆ และก่อนจบการเรียน ได้แข่งกีฬา เล่นน�้ำ และโชว์การเต้นของแต่ละชั้นด้วย สนุกมาก ๆ ค่ะ ถ้ามีการ จัดเรียน STEM ครั้งต่อไป หนูก็จะเรียนอีกค่ะ ด.ญ.อาทิตยา บ�ำรุงพิทักษ์ ป.3/1
51
52
53
English Camp ปีนี้จัดในช่วงวันที่ 22 เมษายน – 9 พฤษภาคม 2560 มีนักเรียนจ�ำนวนหลายคนที่ต้องการใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์และเรียนรู้เพื่อให้เกิดประสบการณ์ใหม่ ๆ ซึ่งนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ English Camp แผนกอนุบาล ชัน้ ป.1-3 และ ชัน้ ป.4-6 ส�ำหรับกิจกรรมในแคมป์มกี ารโยน Bowling in Pattaya, Honey Toast, Movie Time, Swimming Class, Art Project, Pokemon Scavenger, Science Project พิเศษส�ำหรับชั้น ป.4-6 มีกิจกรรมนอกสถานที่ คือ English Overnight Camp at Nong Nuch Garden ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในการเข้าค่ายค้างคืน ที่สวนนงนุชเป็นเวลา 1 คืน 2 วัน และในวันสุดท้ายของกิจกรรมค่าย นักเรียนที่ร่วมค่ายทุกระดับชั้นต่างก็ร่วมกันน�ำชุดการแสดง ประจ�ำกลุ่มมาร่วมแสดง นับเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์ สนุกสนาน ให้ประสบการณ์และความทรงจ�ำดีๆ กับสมาชิกชาวค่ายทุกคน
54
ความประทับใจจากการเข้าค่าย
ก่อนทีห่ นูจะเข้าร่วม English Camp หนูไม่ชอบภาษาอังกฤษเลย แต่พอหนูได้เข้าร่วมกิจกรรมหนูเริ่มรู้สึกว่าภาษาอังกฤษน่าสนใจนะ สนุ ก ดี หนู ร ่ ว มค่ า ยมาเป็ น ปี ที่ 3 แล้ ว ปี นี้ ห นู ป ระทั บ ใจมาก เพราะมีกิจกรรมที่น่าสนใจเยอะมาก ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์ ซึ่ ง มี ก ารทดลอง การไปที่ ส วนนงนุ ช และเกมวิ่ ง หาสมบั ติ ครู บ อกว่ า ห้ า มแตกกลุ ่ ม ต้ อ งมาด้ ว ยกั น ได้ ข ้ อ คิ ด ว่ า เราต้ อ ง สามัคคีกนั English Camp สอนเราหลาย ๆ อย่างไม่ใช่แค่ภาษาอังกฤษ แต่ ไ ด้ ใ ห้ แ ง่ คิ ด ด้ ว ย ถ้ า มี โ อกาสหนู จ ะเข้ า ร่ ว มค่ า ยนี้ อี ก สุ ด ท้ า ยนี้ หนูขอบคุณคุณพ่อ คุณแม่ และคุณปู่ที่ให้โอกาสหนูเข้าร่วมกิจกรรมดี ๆ แบบนี้ค่ะ เด็กหญิงอชิรญา แจ่มกระจ่าง ชั้น ป.5/3
ผมรู้สึกมีความสุขและสนุกกับการเข้าค่าย English Camp มากเลยครับ ผมดีใจทีไ่ ด้ไปสวนนงนุชกับเพือ่ น ๆ ดูธรรมชาติ ต้นไม้ ในตอนกลางคืน ได้เล่นเกม ผมชอบเกมต่อตัวและหาตัวอักษร ซึ่งเป็นการสร้าง ความสามัคคีที่ดี นอกจากนี้ผมยังได้เต้นอย่างมีความสุข ได้เล่นน�้ำ ที่ รี ส อร์ ท พอตอนเช้ า พวกเราก็ ตื่ น มาออกก� ำ ลั ง กายร่ ว มกั น สดชื่นมาก ๆ และได้เจอเพื่อนใหม่จากโรงเรียนมารีวิทย์พัทยา รวมถึงได้รู้จักกับเพื่อน ๆ พี่ ๆ ที่โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบเพิ่มขึ้นอีก ด้วยครับ เด็กชายพัทธนดนย์ บุญธรรม ชั้น ป.4/4
55
56
57
58
59
การศึกษาดูงานด้านการศึกษา
ณ ประเทศเยอรมนี
เรียบเรียงโดย ครูอมรรัตน์ ศรีพอ
การศึกษาไม่มวี นั หยุดนิง่ ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง และต้องรูเ้ ขา รูเ้ รา จะได้นา� มาเปรียบเทียบและเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาโรงเรียน ดิฉนั เองได้มโี อกาสไปศึกษาดูงานด้านการเรียนการสอนของประเทศเยอรมนี ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการเรียนในหลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิชาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระหว่างวันที่ 30 เมษายน ถึง 7 พฤษภาคม 2560 จ�านวน 4 แห่ง ซึ่งมีทั้งมหาวิทยาลัย วิทยาลัยอาชีวะ และโรงเรียน ได้แก่ Ludwig Maximilians Universitat, Macromedia University of Applied Science, Technical University of Munich และ Grundschule München Berg am Laim ท�าให้ได้เห็นการศึกษาในอีกมุมหนึง่ ของโลก ในทีน่ จี้ ะขออนุญาต น�าการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน Grundschule München Berg am Laim (LaM) ทีส่ ะท้อนมุมมองทีอ่ าจแตกต่างไปจากประเทศของเรามาแบ่งปัน ให้กับทุกท่านค่ะ โรงเรียนนี้ถือเป็นโรงเรียนประถมที่ใหญ่ที่สุดในเมืองมิวนิค ในหนึ่งวัน เด็กได้ทงั้ เรียน ท�าการบ้าน เล่น ซึง่ เหมาะสมกับสังคมในสมัยปัจจุบนั เพราะว่า พ่อแม่ท�างานนอกบ้าน การเรียนการสอนในระดับประถมนี้จะเป็นแบบ บูรณาการหลายวิชาเข้าด้วยกันมากกว่าจะแยกอย่างชัดเจนไปเลย การจัด การเรียนรู้ของโรงเรียนนี้มีสิ่งที่น่าสนใจด้วยกัน 4 ประเด็น คือ 4.1 การเรียนร่วมของเด็กพิเศษ ในรูปแบบ “Cooperation Class” คือ ให้เด็กทีม่ คี วามบกพร่องหรือเด็กพิเศษ (handicapped / special needs / gifted) สามารถเรียนร่วมกับเด็กปกติในโรงเรียน โดยร่วมมือกับโรงเรียน ที่มีการดูแลเด็กพิเศษโดยเฉพาะ 4.2 โรงเรียนมีสโลแกนที่ว่า “Let’s Live School Together” Do everything together when we are in school. เน้นย�้าการใกล้ชิดกับ พ่อแม่ของเด็ก จะมีสมาคมผูป้ กครอง และมีการประชุมอย่างสม�า่ เสมอ และยัง
60
มีการจับมือกับองค์กรและบริษทั ต่าง ๆ ที่สามารถให้ผู้เรียนเข้าไปร่วมฝึกงาน ในโครงการต่าง ๆ ได้ โดยให้ความ ส�าคัญกับ “Partnership” อย่างมาก เพราะเชื่อเสมอว่า การเรียนรู้ไม่ได้ เกิดขึ้นแค่ในห้องเรียน แต่จะเกิดจาก ประสบการณ์จริง 4.3 เด็ก ๆ จะมีอสิ ระในการเลือก ทีจ่ ะท�ากิจกรรมก่อนหรือหลังตามระดับ ความยากของตนเองทีเ่ ข้าใจ เด็กสามารถ เลือกหัวข้อ เลือกกลุ่มเพื่อนที่จะท�า กิ จ กรรมด้ ว ยกั น (Students are different then they can choose things to fit with them. This will motivate them to learn more.) ครูจะท�าหน้าทีเ่ ป็นผูอ้ า� นวยความสะดวก ให้กบั ผูเ้ รียนอย่างแท้จริง คือจัดเตรียม เอกสาร อุปกรณ์ในห้องเรียนให้พร้อม กับผู้เรียนที่จะสามารถหยิบไปเรียนรู้ และท�าด้วยตนเอง เมือ่ ท�าเสร็จน�ามาส่ง ตรวจกับครู ได้รบั ค�าอธิบาย และผูเ้ รียน จะรูด้ ว้ ยตนเองว่าผิดหรือต้องปรับปรุง อย่างไร 4.4 ความแตกต่างเป็นสิ่งที่ดี ครูตอ้ งเคารพความแตกต่างนัน้ เคารพใน สิทธิเด็ก สิง่ ทีป่ ระทับใจ คือเด็กนักเรียน ใส่เสื้อยืดพิมพ์ลายว่า Follow your own path.
การจัดการศึกษาของ Grundschule München Berg am Laim (รวมถึงโรงเรียนอื่น ๆ ในประเทศเยอรมัน) จะเน้นให้นักเรียนรู้จักตนเอง เพือ่ ให้นกั เรียนทราบว่า ตนเองชอบและอยากประกอบวิชาชีพใด ซึง่ จะเห็นได้ จากการทีใ่ ห้นกั เรียนเลือกประเภทโรงเรียนทีจ่ ะเรียนต่อค่อนข้างเร็ว คือ ชัน้ ป.4 นอกจากนี้ ยังมีโครงการแนะแนวทางวิชาชีพส�าหรับนักเรียนเป็นปกติและ เป็นรายบุคคลด้วย ซึ่งบริษัทต่าง ๆ จะเข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทมาก ในส่วนนี้ การเรียนรู้ของนักเรียนเยอรมันจึงค่อนข้างมีความหมาย เพราะ นักเรียนจะรูว้ า่ ตนเองจบไปแล้วจะท�าหรือประกอบอาชีพอะไร ซึง่ เป็นเหตุผล ว่าท�าไมอัตราการว่างงานของคนเยอรมันจึงต�า่ มาก จากข้อมูลข้างต้น หลายคน อาจมีคา� ถามว่า การให้นกั เรียนเลือกโรงเรียน (รวมทัง้ แนวทางการประกอบอาชีพ) เมือ่ จบการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 นัน้ เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย หรือไม่ กล่าวคือ นักเรียนไทยในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พร้อมส�าหรับการ เลือกอาชีพแล้วหรือยัง ค�าตอบของค�าถามนี้คงต้องผ่านการถกเถียงกันอีก พอสมควร ทัง้ นีอ้ าจมาจากการใช้ชวี ติ ประจ�าวันทัว่ ไป และการเลีย้ งดูบตุ รหลาน ของคนเยอรมันและของคนไทยอาจแตกต่างกัน ตอนจบชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 เด็กไทยรูแ้ ค่วา่ ต้องขึน้ ป.5 ป.6 และเมือ่ จบชัน้ ป.6 ก็ตอ้ งเรียนต่อในระดับมัธยม อย่างน้อยก็ชั้น ม.3 จึงจะมีการแนะแนว หรือมีค�าถามจากคนในครอบครัว ว่าต้องการเรียนอะไรต่อ ส่วนหนึง่ เลือกเรียนตามความต้องการของผูป้ กครอง ทั้งที่เด็กเองอาจไม่ชอบและไม่มีความถนัด ส่วนหนึ่งเลือกตามความชอบ ตามค่านิยมแต่ทกั ษะทีต่ นมีนนั้ ยังไม่เพียงพอ และอีกส่วนหนึง่ ก็เลือกตามเพือ่ น เมื่ อ เป้ า หมายทางอาชี พ ในอนาคตของผู ้ เรี ย นคื อ สิ่ ง ที่ เราทุ ก คนเห็ น ว่ า เป็นสิ่งส�าคัญ การพัฒนาผู้เรียนโดยผ่านการศึกษาก็ควรจะต้องท�าอย่างมี เป้าหมายและเป้าหมายทางการศึกษาจะต้องสอดคล้องไปกับเป้าหมาย ในการประกอบอาชีพ จากระบบการศึกษาในประเทศเยอรมนีจะเห็นได้ว่า กระบวนการในการก�าหนดเป้าหมายทางการศึกษาของผู้เรียนที่จะส่งผลต่อ การประกอบอาชีพของผู้เรียนในอนาคตนั้น เริ่มตั้งแต่เมื่อเด็กขึ้นชั้น ป.4 ซึ่งจะเริ่มถูกครูคัดแยกไปเรียนต่อในระดับมัธยมยังสถาบันต่าง ๆ ตามระบบ โรงเรียนที่แตกต่างกัน และผลการศึกษาที่ปรากฏ นั่นก็เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ ในสิ่งที่เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัด และความต้องการบนพื้นฐาน ของระบบโรงเรียนทีแ่ ตกต่างกัน โรงเรียนทีเ่ น้นการเรียนต่อสายอาชีพ โรงเรียน ทีเ่ น้นการเรียนรูท้ วั่ ไป และโรงเรียนทีเ่ น้นด้านวิชาการ ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ ตัวชีว้ ดั ในการก�าหนดเป้าหมายและทิศทางในการศึกษาต่อไปของผูเ้ รียน นัน่ ก็คอื ผล
การเรียนของผูเ้ รียน และการพิจารณา ของครูผู้สอน ส�าหรับผลการเรียนของ ผู้เรียนนั้นเป็นที่ชัดเจนแล้วว่าผู้เรียน จะเหมาะกับเป้าหมายทางการศึกษา แบบใด แต่ ป ระเด็ น ที่ น ่ า สนใจคื อ การพิ จ ารณาเพิ่ ม เติ ม ของครู ผู ้ ส อน ว่าสามารถตัดสินได้อย่างไรว่าผู้เรียน จะเหมาะกับการพัฒนาการศึกษาต่อ ไปกับรูปแบบโรงเรียนใด ครูผสู้ อนจะมี แบบวัดความถนัดหรือความสามารถ เพิ่มเติมพิเศษหรือไม่ที่นอกเหนือจาก การเรียนปกติในโรงเรียน ทัง้ นีจ้ งึ น�ามา สูป่ ระเด็นทีค่ รูผสู้ อนพิจารณาจัดผูเ้ รียน หลังประถม 4 เข้าไปสูร่ ปู แบบโรงเรียน ที่ ผิ ด ที่ ผิ ด ทางด้ ว ย ดั ง นั้ น นอกจาก ผลการเรียนของผู้เรียน บทบาทของ ครู ผู ้ ส อนในการเลื อ กและตั ด สิ น เป้าหมายในการศึกษาของผู้เรียนแล้ว การให้ ค รู ส ่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพของเด็ ก เป็นรายบุคคล และให้พ่อแม่เข้ามา มี ส ่ ว นร่ ว มในเรื่ อ งการเรี ย นของลู ก โดยจะต้องท�า “สัญญาความร่วมมือ ทางการศึกษา” ขึ้นมา เพื่อให้ทั้งครู เด็ก และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการ รับผิดชอบต่อการศึกษาครั้งนี้ร่วมกัน จะสามารถท�าให้การเลือกเป้าหมาย ทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
61
62
63
Students of the month มิถุนายน อนุบาล
เด็กชายภาวี ดวงมุกสิก
ก.ไก่ 1
เด็กหญิงพลอยใส เรือนสว่าง
ก.ไก่ 2
เด็กหญิงภัทรกร โมรินทร์
ก.ไก่ 4
เด็กหญิงณันท์นภัส แทนค�้ำ
อนุบาล 1/1
เด็กหญิงมนฐิตา ภูผานิล
อนุบาล 1/2 เด็กหญิงอริสรา กัณฑิโกวิท
อนุบาล 1/3
เด็กหญิงผกายมณี ควรการ
อนุบาล 1/4 เด็กหญิงชูใจ สิงห์คะนอง
อนุบาล 1/5
เด็กหญิงณัฐนรี จิรสูตรสกุล
อนุบาล 1/6 เด็กหญิงศุภรดา จิตรนิยม
อนุบาล 2/1
เด็กหญิงกานต์ธิดา แก้วงาม
อนุบาล 2/2 เด็กชายณนนน มณี
อนุบาล 2/3
เด็กหญิงพัชรพรรรณ พลอยประเสริฐ
อนุบาล 2/4 เด็กหญิงวิรินทร์ญดา กุลโชติ
อนุบาล 2/5
เด็กชายฐาปนพงศ์ กองเงินนอก
อนุบาล 2/6 เด็กหญิงพรนัชชา เมืองโคตร
อนุบาล 3/1
เด็กชายอชิรญาณ์ บัวเจริญ
อนุบาล 3/2 เด็กชายวรเศรษฐ์ สุคนธทรัพย์
อนุบาล 3/3
เด็กชายชยพล ผลุนผัน
อนุบาล 3/4 เด็กหญิงสุภาวิตา สมบัตร์
อนุบาล 3/5
เด็กชายปิติภัทร เลื่อนแก้ว
อนุบาล 3/6 เด็กชายณัฏฐพล แน่นหนา
อนุบาล 3/7
64
Students of the month มิถุนายน ประถมและมัธยม
เด็กชายวรัญญู นาทวงศ์ เด็กหญิงปวริศา นิ่มประยงค์ เด็กหญิงกมลทิพย์ สุวรรณรอด เด็กชายชัยวัฒน์ เจียมจันทร์ เด็กหญิงสุทธิกานต์ กล�่ำพุก เด็กหญิงศุภกานต์ สุขศิลา เด็กชายรัฐฤทธิ์ ดิเรกพิทักษ์ เด็กหญิงอนงลักษณ์ ทองทิพย์ เด็กชายธนะเทพ ตะพัง เด็กหญิงอนนทพร ลักษมีวทิ ยา เด็กชายศุภจิรัฐ ทองกอบ เด็กหญิงปรัชญามณี ญาณปัญญา เด็กชายพีมณัฐ จารึกกลาง เด็กชายจิรสิน ปานรัตนมงคล เด็กหญิงศศิประภา พัฒนสิน เด็กหญิงจุมพิตา จุลอักษร เด็กหญิงณัชชา ปาริชานนท์ เด็กชายณัฐกิตติ ์ นานาประเสริฐ เด็กชายกริชติฌานนท์ มีเค้า นายรัชชานนท์ โกสินันท์ นางสาวอัสรีนา สูสารอ นางสาวพิชามญชุ์ ดวงเพชร์
ป.1/1 ป.1/4 ป.1/7 ป.2/3 ป.2/6 ป.3/3 ป.3/6 ป.4/1 ป.4/4 ป.5/1 ป.5/4 ป.5/7 ป.6/3 ป.6/6 ม.1/3 ม.2/1 ม.2/4 ม.3/2 ม.3/5 ม.4/3 ม.5/2 ม.6/1
เด็กหญิงธัญญรัตน์ หมู่ผึ้ง เด็กหญิงพิชยภา วานิกร เด็กชายพัชรดนย์ ชอลี เด็กหญิงเกวลิน แป้นประเสริฐ เด็กชายธนายุทธ ผลุนผัน เด็กหญิงสรัลชนา แย้มแฟง เด็กหญิงพรทิพย์ เชิดสูงเนิน เด็กหญิงธิญดา ชมเดือน เด็กหญิงญาณาภรณ์ ขอค้า เด็กหญิงภิรัญญา ข�ำฉวี เด็กชายธีร์นิธิ ทองพรวน เด็กหญิงพิชญาพร บรรณาค�ำ เด็กหญิงวริศรา รอดนุช เด็กหญิงทอไหมทอง หนูคง เด็กหญิงกันตินันท์ ลัดดากลม เด็กชายบารมี เทศฤทธิ์ เด็กชายปุญญพัฒน์ ไชยสีดา เด็กหญิงนพรัตน์ เพ็ญไพรัตน์กลุ นายสหชาติ ประชุมพันธ์ นายวาทพงศ์ เผือกสุข นางสาวกานต์พิชชา อินทศร นางสาวจิราภา ตระกูลศรีมงคล
ป.1/2 ป.1/5 ป.2/1 ป.2/4 ป.3/1 ป.3/4 ป.3/7 ป.4/2 ป.4/5 ป.5/2 ป.5/5 ป.6/1 ป.6/4 ม.1/1 ม.1/4 ม.2/2 ม.2/5 ม.3/3 ม.4/1 ม.4/4 ม.5/3 ม.6/2
เด็กหญิงปณิดา เตชกุลพินิจ เด็กชายจตุรพร จุลศักดิ์ เด็กหญิงนันท์นภัส ทองมา เด็กชายวรินทร ก�ำลังดี เด็กหญิงกฤติยาภรณ์ รุ่งร�ำไพ เด็กชายวงศธร ส�ำราญจิตต์ เด็กชายเอกก์ภพ ทรงประกอบ เด็กหญิงสุธาสินี วัดพ่วง เด็กชายวีระพล ใจหาญ เด็กชายสุรพัศ สุขสถาน เด็กหญิงนฤภร สัตนาโค เด็กชายณิชากร มีจิต เด็กชายชีวธันย์ เกตุแก้ว เด็กหญิงกุลธิดา บุณยรัตน์สนุ ทร เด็กชายภาคิน พึ่งพงษ์ เด็กหญิงณัฐวรรณ อาจหาญ เด็กชายศุภวิชญ์ อินโต เด็กหญิงนฤภร ด�ำรงกิจเจริญ นางสาวบุรัสกร อยู่ดี นางสาวธมลพร ปิยะนันท์ นางสาวรมณียา รมย์สระน้อย นางสาวชลิตา วนกลาง
ป.1/3 ป.1/6 ป.2/2 ป.2/5 ป.3/2 ป.3/5 ป.3/8 ป.4/3 ป.4/6 ป.5/3 ป.5/6 ป.6/2 ป.6/5 ม.1/2 ม.1/5 ม.2/3 ม.3/1 ม.3/4 ม.4/2 ม.5/1 ม.5/4 ม.6/3
65
Students of the month กรกฎาคม อนุบาล
เด็กหญิงโจฮานน่า บุชเชอร์
ก.ไก่ 1
เด็กหญิงสุพิชชา ทัศนบรรจง
ก.ไก่ 2
เด็กชายเตชินณร์ สุขเปี้ย
ก.ไก่ 3
เด็กหญิงกานต์จรีย์ อริยเดช
ก.ไก่ 4
เด็กหญิงอภิสรา สังข์อุ่น
อนุบาล 1/1 เด็กชายปรัชรินทร์ รอดคล�้ำ
อนุบาล 1/2
เด็กหญิงพริมพิศา ชมแข
อนุบาล 1/3 เด็กชายอัครัช ตั๊นวิเศษ
อนุบาล 1/4
เด็กชายกฤษ เทียนธวัช
อนุบาล 1/5 เด็กชายพชรพล เหมือนสวัสดิ์
อนุบาล 1/6
เด็กชายศิริวสิทธิ์ ศุภธรรมนิตย์
อนุบาล 2/1 เด็กหญิงจิรดา ตุ้มประเสริฐ
อนุบาล 2/2
เด็กหญิงอารยา จตุพรวัฒนชัย
อนุบาล 2/3 เด็กชายอนุรักษ์ ทองทิพย์
อนุบาล 2/4
เด็กชายแทนคุณ สาลีโภชน์
อนุบาล 2/5 เด็กหญิงนันทิกานต์ โชติวิบูลย์สวัสดิ์
อนุบาล 2/6
เด็กชายมาเตโอ ฟอร์มาโต
อนุบาล 3/1 เด็กชายปุณณภพ ผักไหม
อนุบาล 3/2
เด็กชายพลพิสิษฐ์ เลาหประภานนท์
อนุบาล 3/3 เด็กชายเอกกิตติ สุพตานนท์
อนุบาล 3/4
เด็กชายณัฐภัทร ลอยลิบ
อนุบาล 3/5 เด็กชายกฤติธี ชัยสิทธิ์
อนุบาล 3/6
เด็กชายนันทิพัฒน์ แย้มแฟง
อนุบาล 3/7
66
Students of the month กรกฎาคม ประถมและมัธยม
เด็กหญิงรัตนศิรนิ ทร์ ลือแก้วมา เด็กหญิงอนัญญา รัตนโชติ เด็กหญิงสุวิชาดา เทียมแสน เด็กชายชัยวิทย์ เจียมจันทร์ เด็กชายณัฐภาคย์ รักเชื้อ เด็กหญิงกุลรดา จารุสันติสุข เด็กหญิงชิตากานต์ ใบเนียม เด็กหญิงอลีซ่า ยานส์เซนส์ เด็กหญิงอนัญญา มากเทศ เด็กชายวชิรวิทย์ ข�ำทอง เด็กหญิงทองพิสุทธิ์ ทองเอี่ยม เด็กชายนนท์ปวิธ บุญล้อม เด็กหญิงรัตนพร เทพภิบาล เด็กหญิงเนติมา สามะหาดไทย เด็กหญิงอิสริยาภรณ์ วรรณประเสริฐ เด็กหญิงพิมพ์สธุ ี โสรัจจะภิญโญ เด็กหญิงวรัญญา งามโสภา เด็กหญิงอินทิรา โพธิ์สุข เด็กหญิงฉัตรดาพร ปริตตะอาชีวะ นางสาวกนกนภา อาศนเลขา นางสาวน�้ำทิพย์ ธรรมแก้ว นางสาวศศิประภา จันทร์เทศ
ป.1/1 ป.1/4 ป.1/7 ป.2/3 ป.2/6 ป.3/3 ป.3/6 ป.4/1 ป.4/4 ป.5/1 ป.5/4 ป.5/7 ป.6/3 ป.6/6 ม.1/3 ม.2/1 ม.2/4 ม.3/2 ม.3/5 ม.4/3 ม.5/2 ม.6/1
เด็กหญิงสุวรรณา สุวรรณเพิ่ม เด็กหญิงกชกร กิมกัว เด็กหญิงสุวิชญา สุพาพวง เด็กหญิงณัฐกฤตา มณฑ์สิริ เด็กหญิงอาทิตยา บ�ำรุงพิทกั ษ์ เด็กชายธนกร นันทะ เด็กชายปิติภัทร จารุปาน เด็กชายสมกมล อินยิน เด็กหญิงณิชมน มากแจ้ง เด็กชายธัญวิศิฏฐ์ สีหะวงค์ เด็กหญิงกฤตพร จิตปราโมทย์ เด็กชายกฤชพล ลามะณี เด็กหญิงเบญญทิพย์ สุขผล เด็กหญิงณริสสา อังคฮาด เด็กชายปฏิภาณ ศรีวัง เด็กหญิงนิศารัตน์ อุน่ เรือนงาม เด็กชายพันธุ์ธัช มหรรฆนันท์ เด็กชายตุลานนท์ ปฐมปรีชากุล นางสาววรินธิดา ชื่นจิตร นางสาวขัตติยาภรณ์ สวยศรี นางสาวพิมพ์สุภา เกตุหล�ำ นางสาวพิมพ์ลภัส แก้วอาษา
ป.1/2 ป.1/5 ป.2/1 ป.2/4 ป.3/1 ป.3/4 ป.3/7 ป.4/2 ป.4/5 ป.5/2 ป.5/5 ป.6/1 ป.6/4 ม.1/1 ม.1/4 ม.2/2 ม.2/5 ม.3/3 ม.4/1 ม.4/4 ม.5/3 ม.6/2
เด็กหญิงรัชชาภา อุดมศิลป์ เด็กหญิงเจตน์รดา พรมมา เด็กชายณัฐภัทร พลายประทีป เด็กชายอธินพัทธ์ เพขุนทด เด็กชายกษิดิศ อนันต์มั่งคั่ง เด็กชายณัฐนันท์ อดุลย์เดชาศักดิ์ เด็กหญิงปพิชญา นุชนา เด็กชายภูเบศ มหามงคล เด็กชายกมล แสงทอง เด็กชายธันวา ดอกไม้ เด็กชายกฤชณัท ทิพย์แก้ว เด็กหญิงนพภัสสร ทรัพย์สิน เด็กชายสิรภพ ภัสระ เด็กหญิงศุภสุตา เกียงเอีย เด็กหญิงกุลจิรา สุทธิประภา เด็กชายวรรธนัย ผลส�ำเร็จ เด็กหญิงโสภิตตา อุปรี เด็กหญิงธีร์จุฑา ทองพรวน นายวุฒิภัทร สุขปิติ นายวรวิช จันทร์งาม นางสาวสุพรรษา มอร์แกน นางสาวทอฝัน ไชยราช
ป.1/3 ป.1/6 ป.2/2 ป.2/5 ป.3/2 ป.3/5 ป.3/8 ป.4/3 ป.4/6 ป.5/3 ป.5/6 ป.6/2 ป.6/5 ม.1/2 ม.1/5 ม.2/3 ม.3/1 ม.3/4 ม.4/2 ม.5/1 ม.5/4 ม.6/3
67
วั น นี้ พ วกเรากลับ มาสู่รั้วขาว-เขียว อีก ครั้งในฐานะครู สิ่งที่โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบแห่งนี้ไม่เคยเปลี่ยนแปลงคื อ ความรั ก ความอบอุ ่ น จากคุ ณ ครู ที่ แ ห่ ง นี้ ไ ด้ ร วบรวมความทรงจ� ำ ดี ๆ ให้ เราไว้ ม ากมาย พวกเรามี ค วามสุ ข ทุ ก ครั้ ง ที่ได้นึกถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในโรงเรียนแห่งนี้ นึกถึงรอยยิ้ม ความสุขและเสียงหัวเราะจากทุกคน ๆ เสมอ ก�ำลังใจมากมาย ที่พวกเรานั้นได้รับจากคุณครู ครูเติมเต็มทั้งความรู้ และเติมเต็มความรัก รวมทั้งเสริมสร้างคุณลักษณะที่ดีจนเป็นเยาวชน ที่มีคุณภาพ โรงเรี ย นนี้ ไ ด้ ใ ห้ ค วามรู ้ ม ากมายแก่ พ วกเราไม่ เ พี ย งแต่ ค วามรู ้ ใ นด้ า นวิ ช าการ ยั ง รวมถึ ง ความรู ้ ใ นด้ า นคุ ณ ธรรม และจริยธรรมด้วย เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคมเหมือนกับปรัชญาของโรงเรียนที่ว่า “ความรู้ คู่คุณธรรม น�ำวินัย” คุณครูทุกท่านเป็นคนที่ใจดีและตั้งใจสั่งสอนในสิ่งที่ดีด้วยความเต็มใจเสมอมา พวกเราได้รับการดูแลจากคุณครูทุกท่าน คอยผลักดันให้ก้าวไปถึงฝั่งฝันจนประสบความส�ำเร็จนั่นก็คือ มิตรภาพจากทุก ๆ คน มีความรักในแบบพี่น้อง มีการช่วยเหลือ ซึ่ ง กั น และกั น อย่ า งสม�่ ำ เสมอ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความรั ก และความผู ก พั น มากขึ้ น บรรยากาศในโรงเรี ย นเต็ ม ไปด้ ว ยความสุ ข สิ่ ง เหล่ า นี้ ท� ำ ให้ มี ความทรงจ�ำดี ๆ และความประทับใจอย่างมาก พวกเรามีค วามสุขมากทุกครั้งที่ได้ย้อนกลับไปนึ ก ถึ ง ความทรงจ� ำ ในรั้ ว ขาว-เขี ย ว ความทรงจ� ำ ที่ มี ทั้ ง เพื่ อ นและคุ ณ ครู ที่ ค อยอยู ่ กั บ เรา ในเวลาที่ สุ ข และเศร้ า ขอขอบคุ ณ คุณครูทุกท่านที่ให้ความรู้ เพื่อนทุกคนที่ท�ำให้รู้จักค�ำว่ามิตรภาพ พวกเราจะท�ำหน้าที่ครูให้ดีที่สุดตามแบบอย่างที่คุณครูทุกท่าน ปฏิบัติต่อพวกเรา
มาสเตอร์ภูมิสิริ พิมพ์สวัสดิ์ ครูพิเศษกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
68
นางสาวณผสร กิจมานะเมตตามิตร์ ครูประจ�ำชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2
มาสเตอร์สิทธิพงษ์ นิลพัฒน์ ครูพิเศษกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ในฐานะรุ่นพี่ที่รักและอยากเห็นน้อง ๆ ประสบความส�ำเร็จ โดยเฉพาะน้องที่ก�ำลังเรียน อยู่ช่วงมัธยมปลาย ผมอยากจะบอกน้องว่าช่วงชีวิตตอนนี้ถือว่าเป็นเวลาที่ดีที่สุดในการค้นหา แนวทางของตัวเองทีจ่ ะเรียนต่อ ใครรูต้ วั ว่าชอบอะไรก็ขอให้ทำ� สิง่ นัน้ ให้สดุ โต่งครับ หลังจากนัน้ แล้ว เราจึงมาดูกนั ว่าความชอบนัน้ สอดคล้องกับการเรียน หรืออาชีพใดในอนาคต จงอย่าไปตัง้ เป้าหมาย ก่อนความชอบ เราจะได้ใช้ชีวิตกับงานที่เราท�ำอย่างมีความสุข เหมือนผมตอนนี้ นายวรเมธ หมีทอง ปัจจุบันท�ำงานบริษัท ไอบีเอ็ม โซลูชั่นส์ ดิลิเวอร์รี่ จ�ำกัด ต�ำแหน่ง System Engineer
ชีวิตการเป็นนักเรียนของผมตั้งแต่อนุบาลจนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรั้วขาวเขียวนั้น ผมเดินตามเส้นทางที่ฝันอย่างมุ่งมั่น ผมตั้งใจที่จะท�ำหน้าที่เป็นรั้วของชาติตั้งแต่เด็กครับ ผมเชื่อว่า ความตั้งใจช่วยให้ฝันเป็นจริง จึงอยากจะฝากถึงน้อง ๆ มารีวิทย์สัตหีบทุกคน น้องต้องตั้งใจเรียน เพราะอนาคตเป็นสิ่งที่เราเลือกได้ถ้าเราตั้งใจ คนเราควรมีความฝัน เพราะมันจะสร้างแรงบันดาลใจ ที่แรงกล้าให้กับเรา ผมเชื่อว่าไม่มีอะไรไกลเกินความสามารถของเราไปได้ครับ
นนร.วัสสานะ ยี่รัญศิริ สังกัดเหล่าทหารราบ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 65 หลักสูตรส่งทางอากาศ รุ่นที่ 258 หลักสูตรการรบแบบจู่โจม รุ่นที่ 119
69
ในฐานะที่ผมเข้าเรียนในรั้วขาว-เขียวแห่งนี้ตั้งแต่อนุบาลจนจบ ม.ปลาย สิ่งหนึ่งที่ผมเห็นคือ โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบให้ความส�ำคัญกับวิชาภาษาอังกฤษมาก ทั้งท่องศัพท์ตอนเช้า และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีมาก ๆ ครับ เพราะการสื่อสารเป็นสิ่งที่ส�ำคัญมากในยุคนี้ ยิ่งถ้าน้อง ๆ อยากท�ำงานดี ๆ หรือท�ำงานที่ต่างประเทศในอนาคตแล้ว ก็ยิ่งต้องตั้งใจเรียน ล�ำบากในวันนี้ สบายในวันหน้าครับ สุ ด ท้ า ยนี้ ผ มขอขอบคุ ณ โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ สั ต หี บ ที่ เ ป็ น เหมื อ นบ้ า นหลั ง ที่ ส องของผม ขอบคุณคุณครูและมาสเตอร์ทุกท่าน ที่ ค อยสอนและช่ ว ยเหลื อ ผมมาตลอด จนผมสามารถ สอบเข้าคณะที่ใฝ่ฝันได้ ขอบคุณทุกท่านมากครับ นายสันติภาพ สเตนฮอล์ท คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ก่อนจะมาถึงวันนี้ ผมเองก็เคยผิดหวังมาก่อน ผมสอบเตรียมทหารครั้งแรกตอน ม.3 ครั้งนั้น อยากที่จะสอบติด แต่ด้วยที่ตอนนั้นวิชาวิทยาศาสตร์ผมยังไม่แน่นและความพยายามยังไม่มากพอ ท� ำ ให้ ผ มสอบไม่ ติ ด แต่ นั่ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ท� ำ ให้ ค วามพยายามของผมลดลง ผมเรี ย นต่ อ ชั้ น ม.4 ที่โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ แผนการเรียนวิทย์-คณิต การเรียน ม.ปลาย นั้นยากกว่า ม.ต้น มาก และด้วยแรงกดดันและท้อบ้างในช่วง ม.4 ที่เพิ่งผ่านการสอบไม่ติด ท�ำให้ผมตั้งใจเรียนมากขึ้น เวลาว่ า งก็ น� ำ หนั ง สื อ มาอ่ า น ช่ ว งแรกผมก็ ไ ม่ จ ริ ง จั ง มาก ยั ง เรี ย น ๆ เล่ น ๆ แต่ พ อเห็ น ว่ า ครอบครั ว หวั ง อยากให้ เ ป็ น ทหาร และผมเห็ น รุ ่ น พี่ ที่ ส อบติ ด มี อ นาคต ผมก็ เ ริ่ ม ตั้ ง ใจ และมีความพยายามมากขึ้น จากที่เคยอ่านหนังสือแค่ตอนใกล้สอบ ก็เริ่มอ่านทุกวัน หาข้อสอบ และ หนังสือเสริมมาอ่านมากขึน้ ความรูท้ ไี่ ด้เรียนชัน้ ม.4 และ ม.5 ช่วยให้พนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ของผมแน่นขึน้ และท�ำให้ผมสอบติดเตรียมทหารหลังจากจบ ม.5 ตลอดระยะเวลา 2 ปี ผมท�ำให้ทุกคนในครอบครัวภูมิใจ และความพยายามของผมท�ำให้ทุกคนมีความสุขครับ ส� ำ หรั บ ใครที่ เ คยผิ ด หวั ง แล้ ว ยั ง ไม่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ก็ น� ำ เอาความผิ ด หวั ง มาท� ำ ให้ ตั ว เองก้ า วต่ อ ไป ผมมั่ น ใจว่ า ถ้าทุกคนมีความพยายามมากพอจะท�ำให้ประสบความส�ำเร็จในทุก ๆ เรื่องครับ นรต.ศุภโชค เธียรสุนทร โรงเรียนเตรียมทหาร
70
สิ่ ง ที่ ไ ด้ เรี ย นรู ้ จ ากการการใช้ ชี วิ ต ในมั ธ ยมปลาย รู ้ สึ ก ว่ า ค่ อ นข้ า งมี ก ารแข่ ง ขั น สู ง เพราะทุกคนต้องท�ำตามความฝันของตนเองในการสอบเข้าคณะในมหาวิทยาลัยที่ตนเองใฝ่ฝัน และต้ อ งยอมรั บ ว่ า การเรี ย นในช่ ว งนี้ เ ป็ น การเรี ย นที่ ห นั ก พอสมควร เราคิ ด ว่ า ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ท�ำให้เราเรียนจบ ม.ปลาย ได้อย่างไม่เครียดนั้นคือ ครอบครัว คุณครู เพื่อน และโรงเรียนแห่งนี้ ชี วิ ต การเรี ย น ม.ปลาย สอนเราในหลาย ๆ ด้ า น ไม่ ว ่ า จะเป็ น ความรั ก ของครอบครั ว คุ ณ ครู หรือแม้กระทั่งมิตรภาพของเพื่อน เมื่อจบ ม.6 แล้วนั้น รู้สึกว่าเวลา 3 ปี ใน ม.ปลาย ผ่านไปเร็วมาก และในส่วนเรื่องการเรียนของเราเอง เราไม่เคยรู้มาก่อนว่าเราอยากจะเรียนไปทางไหน จนกระทั่งเริ่มรู้ตนเองเมื่อตอน ผลสอบ ม.4 เทอม 1 ออก เราตกวิ ช าภาษาจี น ซึ่ ง ในตอนนั้ น เรายอมรั บ ว่ า ไม่ ช อบและไม่ เ คยเปิ ด ใจเรี ย นภาษาจี น เราจึ ง กลั บ มาคิ ด ทบทวนกั บ ตั ว เองว่ า ถ้ า เรายั ง สอบตกภาษาจี น อี ก จะท� ำ ให้ เ กรดเฉลี่ ย ของเราต�่ ำ ลง จุ ด เปลี่ ย นชี วิ ต การเรี ย นภาษาจี น ก็ เริ่ ม ต้ น ตอน ม.4 เทอม 2 เราเริ่ ม เปิ ด ใจ และตั้ ง ใจเรี ย นภาษาจี น มากขึ้ น เราทบทวนบทเรี ย น อยู่สม�่ำเสมอ ฝึกเขียนตัวอักษรจีน พยายามสนทนาภาษาจีน กับเหล่าซือ เพราะภาษาจีนเป็นภาษาที่ต้องใช้ความเข้าใจ และความจ�ำเป็นอย่างมาก จึงท�ำให้จากที่ไม่ถนัดวิชาอะไรเลย มาถนัดวิชาภาษาจีนแทน เพราะยิ่งในยุคปัจจุบัน ภาษาจีน เป็ น ที่ ต ้ อ งการมากของสั ง คม รู ้ ภ าษาจี น ก็ เ หมื อ นมี อ าวุ ธ ประจ�ำตัว พอเริ่มคิดได้เมื่อยังไม่สาย หลังจากนั้นเราก็ไม่เคย สอบตกภาษาจีนอีกเลย เมื่อเรารู้ตัวว่าเราอยากมาทางนี้แล้ว เราก็ เริ่ ม ศึ ก ษามากขึ้ น การที่ ไ ด้ ม าใช้ ชี วิ ต อยู ่ ที่ ป ระเทศจี น ท� ำ ให้ ไ ด้ รู ้ ถึ ง วั ฒ นธรรมและมี ป ระสบการณ์ ได้ รู ้ จั ก การช่วยเหลือตัวเอง ประสบการณ์ครั้งนี้ได้สอนให้เราโตขึ้น ต้องขอบคุณครอบครัวที่คอยให้การสนับสนุนและเป็นก�ำลังใจ ให้ในทุกด้าน ขอบคุณคุณครูและโรงเรียนแห่งนีท้ ชี่ ว่ ยขัดเกลาให้เราเป็นเยาวชนทีม่ คี ณ ุ ภาพ และขอบคุณเพือ่ น ๆ ทีค่ อยช่วยเหลือ และอยู่เคียงข้างกันเสมอมา นายอภิรักษ์ อรุณรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
71
การมีจุดมุ่งหมายในการค้นหาตัวเองว่า เราชอบอะไร เราอยากเรียนอะไรและเราต้องท�ำอย่างไร เพื่อให้ได้มาซึ่งจุดหมายที่เราตั้งไว้ โดยที่เราต้องไม่กดดันและคาดหวังกับตัวเองมากจนเกินไป ดังข้อความที่ว่า “เรียนให้สนุก ลุกนั่งให้สบาย” ข้อความนี้เป็นข้อความที่ท�ำให้พี่มีความสุข และสนุกกับการเรียน เหมือนเราได้เปิดใจรับสิ่งที่ครูสอนมากขึ้น ควบคู่กับการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยให้เรารู้สึกผ่อนคลาย แต่ต้องไม่ลืมที่จะอ่านหนังสือทบทวนในสิ่งที่ครูสอนด้วย น้อง ๆ ต้องคิดถึงศักยภาพของตัวเราเป็นส�ำคัญและอย่าท้อนะคะ เราต้องเอามาเป็นแรงผลักดัน เพื่อพัฒนาตัวเรา การเลือกคณะก็ส�ำคัญไม่แพ้อย่างอื่น ความชอบของเราจ�ำเป็นต้องควบคู่กับ ศักยภาพของตัวเราด้วย การใช้เวลาก็สำ� คัญเช่นกัน เวลาเป็นสิง่ ทีเ่ ราเอากลับมาไม่ได้ แต่เราสามารถใช้มนั ให้คุ้มค่าได้ อย่าปล่อยให้เวลาผ่านเลย พ่อแม่ ครูหรือเพื่อน ๆ คือก�ำลังใจที่เป็นแรงผลักดันให้เราได้มุ่งมั่น พีอ่ ยากฝากข้อคิดให้กบั น้อง ๆ ว่า อย่ามัวมองหาแต่เพียงสิง่ ดี ๆ จนท�ำให้เสียสิง่ ทีม่ ไี ป สิง่ ทีไ่ ม่สามารถน�ำกลับมาได้มนั มีอยูม่ ากมาย ในความเป็นจริง นางสาวธิษณามดี อินทรโท่โล่ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เป้ า หมายที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมปลาย คื อ การที่ ไ ด้ เข้ า คณะและมหาวิ ท ยาลั ย ในฝั น ซึง่ นัน่ หมายถึงอนาคตของเรา สิง่ แรกเริม่ จากการตัง้ เป้าหมายว่าเราชอบเรียนอะไร เหมาะกับคณะอะไร จากนัน้ วางแผนการเรียน การแบ่งเวลาเตรียมตัวสอบในห้องเรียนก็ตงั้ ใจเรียน คุณครูสอนก็เก็บให้ได้ มากทีส่ ดุ กลับบ้านก็ทบทวน ไม่ตอ้ งหักโหมเกินไป แต่ตอ้ งมีวนิ ยั กับตัวเอง รวมถึงการท�ำข้อสอบเก่า หลาย ๆ ปี มีประโยชน์มาก และอ่านหนังสือควบคู่ด้วย อ่านทันไม่ใช่แค่อ่านให้จบ แต่อ่านทันคือ ต้องมีความรู้พร้อม และมากพอที่จะไปสอบสนามจริง การสอบเข้ามหาวิทยาลัย เราไม่ต้องไปเอาชนะใครแต่เราต้องเอาชนะใจตัวเอง ให้ท�ำลาย ความขี้เกียจให้ได้ ส�ำหรับโซเชียลต่าง ๆ เล่นได้แต่ต้องมีลิมิต ต้องรู้เวลาว่าตอนนี้ควรท�ำอะไร พั ก ได้ ช้ า ได้ แ ต่ อ ย่ า หยุ ด เพราะถ้ า หยุ ด เพื่ อ นคนอื่ น ก็ น� ำ เราไปแล้ ว หนึ่ ง ก้ า ว ถ้ า เหนื่ อ ยก็ ใ ห้ คิดถึงวันที่ประกาศผลแล้วได้ในสิ่งที่เราหวัง เอามาเป็นก�ำลังใจ แล้วเดินหน้าต่อไป สุดท้ายไม่ว่าผลจะ ออกมาอย่างไร เราจะได้ไม่ต้องมาเสียใจทีหลัง เพราะเราท�ำเต็มที่ที่สุดแล้ว ก็เหมือนกับที่หลายคนเคยได้ยินว่าความพยายาม อยู่ที่ไหน ความส�ำเร็จอยู่ที่นั่น พี่ขอเป็นก�ำลังใจให้น้อง ๆ ทุกคนค่ะ นางสาวอภิสรา คงสืบ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
72
ดร. สตีเวน ชนะ กิตเิ กียรติศกั ดิ ์ ประธานกรรมการบริหารเครือโรงเรียน มารีวิทย์ คุณไมเคิล ชนินทร์ กิติเกียรติศักดิ์ รองประธานกรรมการบริหาร เครื อ โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ ได้ รั บ เชิ ญ ให้ ไ ปร่ ว มงานสั ป ดาห์ ก ารแลกเปลี่ ย น ทางการศึกษาจีน-อาเซียน ครัง้ ที ่ 10 ณ เมืองกุย้ หยาง มณฑลกุย้ โจว ประเทศจีน ในปีนี้มีคณะผู้บริหารโรงเรียนและคณะครูจากเมืองไทยซึ่งเป็นผู้แทน มาจากสถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัยบูรพาและมหาวิทยาลัยขอนแก่น ทางเครือ โรงเรียนมารีวิทย์เป็นเครือข่ายของสถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัยบูรพา จึงได้ รับเชิญให้ร่วมงาน ซึ่งน�าทีมโดย ผศ.ดร.วิไล ลิ่มถาวรานันต์ ผู้อ�านวยการ สถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัยบูรพา งานเปิดมหกรรมในปีนี้มีความพิเศษเพราะว่าเป็นปีที่ 10 และเป็ น การเปิ ด หอประชุ ม ซึ่ ง จะใช้ เ ป็ น ที่ ป ระชุ ม งานสั ป ดาห์ การแลกเปลี่ ย นทางการศึ ก ษาจี น -อาเซี ย นถาวรในปี ต ่ อ ๆ ไป เป้าหมายของความร่วมมือระหว่างจีนและอาเซียนเพื่อพัฒนาการ ศึ ก ษาคื อ การแลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาระหว่ า งประเทศไทยและ ประเทศจีน ประเทศจีนส่งนิสติ มาเรียนในประเทศอาเซียนมาแล้วกว่า 100,000 คน ใน 10 ปี ที่มีการร่วมมือกันในด้านการศึกษา และ ก็ มี นั ก เรี ย นในอาเซี ย นที่ ไ ด้ มี โ อกาสมาเรี ย นในประเทศจี น แล้ ว กว่า 100,000 คน ในเมืองกุย้ หยางได้มกี ารสร้างเมืองมหาวิทยาลัยใหม่โดยน�า มหาวิทยาลัยในมณฑลกุย้ โจว จ�านวน 9 มหาวิทยาลัย และยังได้เปิด ศูนย์นวัตกรรมธุรกิจใหม่เพื่อสนับสนุนธุรกิจดิจิทัลขึ้น เป็นการเปิด โอกาสให้กับนักศึกษาได้เปิดธุรกิจใหม่ ๆ ได้เกิดขึ้น ท้ายที่สุดนี้ ขอขอบคุณสถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่เปิดโอกาสให้เครือโรงเรียนมารีวิทย์ได้น�าความก้าวหน้าของ ประเทศจีนมาเผยแพร่ให้แก่นักเรียนเครือโรงเรียนมารีวิทย์ และ หวังว่านักเรียนเครือโรงเรียนมารีวิทย์จะได้มีโอกาสที่จะได้ศึกษา ในประเทศจีนในอนาคต
73
ครูจุฑาทิพย์ มิ่งชัย ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การท� า หน้ า ที่ ค รู นั้ น ดิ ฉั น ได้ น� า ศาสตร์ พ ระราชา ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที ่ 9 มาประยุกต์ใช้สา� หรับ การเรียน การสอน ซึ่งมี 5 ข้อหลัก ๆ ที่ดิฉันใช้เป็นประจ�า ได้แก่ จะท� า อะไรต้ อ งศึ ก ษาข้ อ มู ล ให้ เ ป็ น ระบบ ท� า ตามขั้ น ตอน ไม่ ติ ด ต� า รา และท� า งานอย่ า งมี ค วามสุ ข คื อ ก่ อ นที่ จ ะท� า การสอนนั้นจะต้องศึกษาเรื่องที่จะสอนให้เข้าใจเป็นอย่างดี และหาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อต่าง ๆ นอกจากต�ารามาให้นักเรียน ได้ เรี ย นรู ้ ไ ด้ อ ย่ า งกว้ า งขวาง แล้ ว จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม านั้ น ให้ เ ป็ น ระบบ โดยการวางแผนการสอน ขั้ น ตอนการสอน ให้ เรี ย บร้ อ ยพร้ อ มน� า ไปใช้ อี ก ทั้ ง ในการสอนของดิ ฉั น นั้ น จะบอกตนเองอยู ่ เ สมอว่ า “จะต้ อ งสอนอย่ า งมี ค วามสุ ข ” เพราะถ้ า เราสอนอย่ า งมี ค วามสุ ข แล้ ว แน่ น อนว่ า ผู ้ เรี ย น จะมีความสุขกับการเรียนรู้ไปด้วย
74
นอกจากจะน� า ศาสตร์ พ ระราชา ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 มาใช้กับตนเองแล้ว ดิฉันยังน�ามา ประยุกต์ใช้ ถ่ายทอดให้กับนักเรียนได้ร่วมปฏิบัติและซึมซับ หลั ก การดั ง กล่ า วไปด้ ว ย หลั ก การที่ น� า มาใช้ กั บ นั ก เรี ย น อยูบ่ อ่ ยครัง้ นัน้ ได้แก่ การมีสว่ นร่วม การพึง่ พาตนเอง มีความเพียร มีความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน และรู้รัก สามัคคี ซึ่งใน การเรียนการสอนนั้นนักเรียนทุกคนจะมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิ ด เห็ น การตอบค� า ถาม และเมื่ อ นั ก เรี ย นได้ รั บ งาน ที่มอบหมาย นักเรียนจะต้องมีความเพียรพยายาม ท�างาน ด้วยตนเองเสียก่อน ไม่ลอกเพื่อน ต้องมีความซื่อสัตย์ต่องาน ทีต่ นเองท�า หรือถ้าเป็นงานกลุม่ นักเรียนจะได้ชว่ ยกันระดมความคิด และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน ผลงานที่ได้ออกมานั้น จึงมาจากความรัก สามัคคีกันของนักเรียนในกลุ่ม
นายอภิสิทธ์ ชูศรี ครูประจ�าชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 สอนวิชาภาษาไทย วิธีการของศาสตร์พระราชา คือ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา โดยต้อง เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา คน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เข้าใจ หมายถึง การใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว การใช้และแสวงหาข้อมูล เชิงประจักษ์ การวิเคราะห์และการวิจัย การทดลองใช้จนได้ผลจริงก่อน เข้าถึง หมายถึง การระเบิดจากข้างใน เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย ในการพัฒนา และสร้างปัญญาสังคม พั ฒ นา หมายถึ ง การพั ฒ นาที่ ป ระชาชนเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยตนเอง พึ่ ง พาตนเองได้ และมี ต ้ น แบบในการเผยแพร่ ค วามรู ้ ใ ห้ ป ระชาชน ได้เรียนรู้และน�าไปประยุกต์ใช้ ศาสตร์พระราชา ต้องท�าให้ดว้ ยความรัก ความปรารถนาและด้วยใจ ต้องประยุกต์ใช้อย่างยัง่ ยืน ไม่ยดึ ติดต�ารา ปรับตามบุคคล สภาพพืน้ ทีแ่ ละ สถานการณ์ ข้ า พเจ้ า จึ ง น้ อ มน� า หลั ก การทรงงานใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ตอนหนึ่ง คือ การท�างานอย่างมีความสุข ตามพระราชด�ารัสว่า “ท�างานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ฉันมีแต่ความสุข ที่ร่วมกัน ในการท�าประโยชน์ให้กับผู้อื่นเท่านั้น” มาทดลองใช้จนเกิดผลในการจัดการเรียนการสอน วิ ช าภาษาไทย ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 จากนั้ น น�าความรักการดูแลเอาใจใส่ พัฒนานักเรียนจนพึง่ พา ตนเองได้ เกิดความรู้สร้างเป็นคุณธรรมน�าพาจิตใจ อีกทั้งนักเรียนยังปฏิบัติตนตั้งอยู่บนทางสายกลาง คือ ความมีเหตุผล พอประมาณ และมีภูมิคุ้มกัน รู ้ จั ก ที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นในการท� า งาน ก่ อ เกิ ด ความสามั ค คี ป รองดอง จนปฏิ บั ติ ง านอย่ า ง เสร็จสมบูรณ์ การท� า งานอย่ า งมี ค วามสุ ข นั้ น ส่ ง ผลใน หลายด้าน ที่เห็นได้ชัดเจนคือการเรียนของนักเรียน ดีขึ้นตามล�าดับ เกิดความเข้าใจ ไม่ว ่าการเรี ย น จะมี เ นื้ อ หายากสั ก เพี ย งใด เมื่ อ มี ค วามสุ ข แล้ ว อะไรก็ง่ายไปเสียทุกอย่าง
75
76
77
78
79
Admissions 22 คน ได้ 22 คน คิดเป็น 100% จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1 คน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
1 คน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5 คน
มหาวิทยาลัยศิลปากร
1 คน
มหาวิทยาลัยมหิดล
2 คน
มหาวิทยาลัยบูรพา
2 คน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5 คน
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
1 คน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2 คน
มหาวิทยาลัยเทคโลยีราชมงคลตะวันออก
1 คน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
1 คน ชั้น ม.6/1 จำ�นวน 5 คน
นางสาวอภิสรา คงสืบ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์
นางสาวณัฐกานต์ เหลืองเจริญ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน
นางสาวศิมาธร จันทร์ฉาย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
นางสาวอนันดา ภานุวัฒน์วนิชย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ)
นายณัฐชนนท์ การินทร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร ชั้น ม.6/2 จำ�นวน 10 คน
80
นางสาวกฤษณี คำาเทศ
มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย)
นางสาวทักษพร สุรพงษ์พานิช
มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาปิโตรเคมีและวัสดุพอลิเมอร์
นางสาวมัชฌิมา ฉุยกลัด
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม
นายจิตติภัทร เทพทา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
นางสาวนรารัตน์ ทิพย์กองราษฎร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวรรณคดี กลุ่มวรรณคดีอังกฤษ
นางสาวปรมา พันโท
มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์
นายนนทพัทธ์ เตียวเจริญ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
นางสาวเพชรชมพู ณรงค์ชัยรังสี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก คณะสัตวแพทยศาสตร์
นางสาวธิษณามดี อินทรโท่โล่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเคมีวิศวกรรม
นายพศวัต รักความสุข
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมเครื่องกลและการออกแบบ ชั้น ม.6/3 จำ�นวน 7 คน
นายณัฐนันท์ พลายเพ็ชร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 2 เลือกสอบวิชาภาษาจีน
นางสาวพิชามญชุ์ เรืองมีสุข
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาตะวันออก กลุ่มวิชาภาษาจีนธุรกิจ
นางสาวนิสากร รัตนะเหลี่ยม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาตะวันออก กลุ่มวิชาภาษาจีนธุรกิจ
นางสาวพรปวีณ์ ศรีนนท์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม วิชาเอกคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
นายนนทิวัฒน์ บุญวิภัทรเสวี
มหาวิทยาลัยบูรพา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์
นายอภิรักษ์ อรุณรัตน์
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน
นางสาวธนัชญา ดีสวัสดิ์
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
81
ชื่อ-สกุล นายพศิน
บัวพันธ์
นายสุขธนน
บุญระยอง
นางสาวอนันดา
คณะ เทคนิคการแพทย์
ครุศาสตร์อุตสาหกรรม และเทคโนโลยี ภานุวัฒน์วนิชย์ วิศวกรรมศาสตร์
นางสาวนัทธกานต์ เรไร
สาขาวิชา
มหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
เทคโนโลยีมีเดีย กลุ่มวิชาเอกการพัฒนาเกม วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (หลักสูตรนานาชาติ)
นายปพน
พนาราม
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร์ เครื่องกล
นางสาวนัฐชญา
พรหมบุตร
พยาบาลศาสตร์
นายพัทธนันท์
ตาลเสี้ยน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บูรพา มหิดล
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ
เกษตรศาสตร์
นายเขตชล
ขำ�สม
ศิลปากร
นางสาวสุพิชชา
ปานยิ้ม
นายพรหมพิสิฐ
แดงพยัคฆ์
ศิลปะและเทคโนโลยี การประกอบอาหาร ศิลปะการประกอบอาหาร และการจัดการภัตตาคาร (หลักสูตรนานาชาติ) วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี วิศวกรรมการจัดการ อุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาการประกันภัย ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ วิศวกรรมศาสตร์
รังสิต
นายณัฐชนน
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และการบริการ กุลสมบูรณ์สินธ์ อุตสาหกรรมบริการ
นางสาวณัฐณิชา
สังข์เศรษฐี
ธรรมศาสตร์
นางสาววีรยา
มีหมู่
สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง พยาบาลศาสตร์
นางสาวขัตติยา
ศรีคุณ
นิติศาสตร์
สถาปัตยกรรม
วิทยาลัยดุสิตธานี
ธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีสุรนารี
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ธรรมศาสตร์
นางสาวณัฐกานต์ เหลืองเจริญ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวศิลป์ศุภา ศรีปัญญา
พยาบาลศาสตร์
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี
นางสาววรวรรณ
พ่วงภู่
เภสัชศาสตร์
หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
นางสาวศุทธินี
ปราบโสม
พยาบาลศาสตร์
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ลำ�ปาง
นายวงศกร
ป้านทอง
วิศวกรรมศาสตร์
นายพีระพงษ์
ธรรมแก้ว
วิศวกรรมศาสตร์
82
เทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนายัง่ ยืน ธรรมศาสตร์
วิศวกรรมระบบควบคุม และเครื่องมือวัด วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อ-สกุล
คณะ
สาขาวิชา
มหาวิทยาลัย
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นายพิชญ์ณัฐ
กาญจนจิตติ
วิศวกรรมศาสตร์
นายคณิติน
อุทโก
วิศวกรรมศาสตร์
นางสาวกัญชพร
ชัยพัฒน์
สาธารณสุขศาสตร์
ธรรมศาสตร์
นางสาวอภิสรา
คงสืบ
เภสัชศาสตร์
ธรรมศาสตร์
นางสาวสุชาวดี
วิเศษแก้ว
ศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ การบัญชีบริหาร
เกษตรศาสตร์
นายณัฐชนนท์
การินทร์
วิศวกรรมศาสตร์
วิศวกรรมเกษตร
นางสาวศิมาธร
จันทร์ฉาย
วิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เกษตรศาสตร์
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นางสาวณัฐกนิษฐ์ ช้างรู้กิจ
วิทยาศาสตร์ประยุกต์
วิศวกรรมชีวการแพทย์
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นางสาวนัทฐา
วิทยาศาสตร์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมศาสตร์
เทคโนโลยีพลังงานและ การจัดการ วิศวกรรมเครื่องกล
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นางสาวพรรณปพร พลอยประเสริฐ วิศวกรรมศาสตร์
วิศวกรรมโยธา
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
นายชัยรักษ์
การแพทย์แผนไทยบัณฑิต
รังสิต
นางสาวพัชรพรรณ นิยม
วิทยาลัยการแพทย์ แผนตะวันออก พยาบาลศาสตร์
นายณัฐวุฒิ
วิศวกรรมศาสตร์
นะวะมะโรจน์
นางสาวพลอยพิมล ตั้งธรรมสถิตย์ อินทสมบัติ
ก่อเกิดบุญ
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี
นางสาวเพชรชมพู ณรงค์ชัยรังสี
สัตวแพทยศาสตร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นายนนทพัทธ์
เตียวเจริญ
พาณิชยศาสตร์และการบัญชี
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ธรรมศาสตร์
นางสาวทักษพร
สุรพงษ์พานิช
เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
นางสาวสโรชา
วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ปิโตรเคมีและวัสดุพอลิเมอร์ ศิลปากร อุตสาหกรรม ตั้งเกียรติกำ�ธร พยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ นวมินทราธิราช
นางสาวมัชฌิมา
ฉุยกลัด
สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง
สถาปัตยกรรม
ธรรมศาสตร์
83
ชื่อ-สกุล
คณะ
นายธนากร
จันสี
สาธารณสุขศาสตร์
นายพศวัต
รักความสุข
วิศวกรรมศาสตร์
นางสาวปรมา
พันโท
เภสัชศาสตร์
สาขาวิชา
มหาวิทยาลัย บูรพา
วิศวกรรมเครื่องกล และการออกแบบ
เกษตรศาสตร์ มหิดล
นางสาวธิษณามดี อินทรโท่โล่
วิทยาศาสตร์
เคมีวิศวกรรม
จุฬาลงกรณ์
นางสาววริษฐา
บ้งชมโพธิ์
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นายสิปปนนท์
อุตครุฑ
ครุศาสตร์อุตสาหกรรม และเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นางสาวณัฐรพี
ภัยผ่องแผ้ว
สหเวชศาสตร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) ชีวเวชศาสตร์
นายพิชยุทธ
เกิดสวัสดิ์
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และบริการ
รังสิต
นายภานุวัฒน์
งาวิจิตร
ศิลปะและเทคโนโลยี การประกอบอาหาร นักเรียนจ่าทหารเรือ
นายฉัตรเฉลิม
วสุอนันต์กุล
วิทยาการสารสนเทศ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
บูรพา
นางสาวสิริมาศ
มั่นทุ่ง
นายสุทธิรักษ์
สัตถวิชยพิชญ์
วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยีวิศวกรรม กระบวนการเคมี วิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธา
นางสาวนรารัตน์ ทิพย์กองราษฎร์ มนุษยศาสตร์ นางสาวกนกพร
กัณฑวงศ์
นายธนธรณ์
สังขนารอด
นางสาวสุพิชฌาย์ ผลาไวย์
บูรพา
โรงเรียนชุมพลทหารเรือ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วรรณคดี กลุม่ วรรณคดีองั กฤษ เกษตรศาสตร์
สิง่ แวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม วิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมการผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ พยาบาลศาสตร์
มหิดล เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี
นายอภิชาต
ทองมี
นายจิตติภัทร
เทพทา
ครุศาสตร์อุตสาหกรรม และเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์
นายธนวัฒน์
มากพันธ์
วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี อุตสาหกรรมและโลจิสติกส์
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นางสาวดวงตา
สุขุมวาท
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์การเกษตร
ศรีนครินทรวิโรฒ
84
วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์- เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มัลติมีเดีย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ศรีนครินทรวิโรฒ เทคโนโลยีวัสดุพอลิเมอร์
ชื่อ-สกุล
คณะ
สาขาวิชา
นางสาวอภิญญา
คัชชา
พยาบาลศาสตร์
นางสาวกฤษณี
คำ�เทศ
สาธารณสุขศาสตร์
นายณัฐนันท์
พลายเพ็ชร์
ศิลปศาสตร์
นางสาวภัคจิรา
ลานเลี้ยง
สำ�นักวิชาการจัดการ
นางสาวนิปุณ
เขาแก้ว
นางสาวศิริญญา
สาระเกษ
หลักสูตร Thai Cuisine Chef Diploma รุ่น 3 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
นางสาวจุฑามาศ พงษ์ชำ�นาญ
มหาวิทยาลัย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี
วิ ท ยาศาสตร์ (อาชี ว อนามั ย มหิดล และความปลอดภัย) ภาษารัสเซีย ธรรมศาสตร์ การจัดการอุตสาหกรรม การบริการ
Education Technology
นายถิระพล
ยิ่งยืน
บริหารธุรกิจ
นายชุติมันต์
โตมา
บริหารธุรกิจ
นายศุภวิชญ์
พุทธ
ธุรกิจอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ ธุรกิจอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ นักเรียนจ่าทหารเรือ
นายสิริกรณ์
สัมพันธุ์
นักเรียนจ่าทหารอากาศ
แม่ฟ้าหลวง โรงเรียนการอาหารไทย เอ็ม เอส ซี (MSC Thai Culinary School) บูรพา Guilin lnstitute of lnformation Technology University เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โรงเรียนชุมพลทหารเรือ โรงเรียนจ่าอากาศ
นางสาวปริญดารัศม์ ปิติวงศ์วัฒนะ
ศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ การตลาด
เกษตรศาสตร์
นายสันติภาพ
สเตนฮอล์ท
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ธรรมศาสตร์
นางสาวกุลิสรา
พุ่มพวง
มัณฑนศิลป์
นางสาวสุจิตราภา คงปรีชา นายนนทิวัฒน์
บุญวิภัทรเสวี
นางสาวสุภามาศ สมพันธ์ นางสาวภัทร์นฤน ขุนสอาดศรี
การออกแบบเชิงนวัตกรรม ดิจิตอล ออกแบบเครื่องแต่งกาย
บริหารธุรกิจบัณฑิต
ศิลปากร
ธุรกิจอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และการบริการ บริหารธุรกิจบัณฑิต
รังสิต
ศิลปะและเทคโนโลยี การประกอบอาหาร ธุรกิจอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์
บูรพา
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
85
ชื่อ-สกุล
คณะ
สาขาวิชา
มหาวิทยาลัย
นายพงศธร
กองทิพย์
ดิจทิ ลั มีเดียและศิลปะภาพยนตร์ ภาพยนตร์
กรุงเทพ
นางสาวนิสากร
รัตนะเหลี่ยม
มนุษยศาสตร์
เกษตรศาสตร์
นางสาวอินทิรา
เผ่าจินดา
โลจิสติกส์
ภาษาตะวันออก กลุ่มวิชาภาษาจีนธุรกิจ ภาคพิเศษ การจัดการโลจิสติกส์
นายพรนาวี
พลับสวัสดิ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรม
เกมและสื่ออินเตอร์แอคทีฟ
กรุงเทพ
นายภาสพล
สมเสมอ
นักเรียนจ่าทหารเรือ
โรงเรียนชุมพลทหารเรือ
บูรพา
นางสาวพิชามญชุ์ เรืองมีสุข
มนุษยศาสตร์
นางสาวสิริยากร
เย็นสบาย
วิทยาการจัดการ
ภาษาตะวันออก เกษตรศาสตร์ กลุ่มวิชาภาษาจีนธุรกิจ การจัดการโรงแรมและท่องเทีย่ ว เกษตรศาสตร์
นางสาวพัชรีพร
จิตอารี
การท่องเที่ยวและการบริการ
ธุรกิจการบิน (Airline Business) สวนดุสิต
นางสาวพรปวีณ์
ศรีนนท์
ศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ ภาษาอังกฤษ
เกษตรศาสตร์
นายอภิรักษ์
อรุณรัตน์
ศึกษาศาสตร์
บูรพา
นางสาวธัญพร
เชื้อปั้น
บริหารธุรกิจบัณฑิต
นางสาวธนัชญา
ดีสวัสดิ์
บริหารธุรกิจบัณฑิต
นางสาวกุลธิดา
เสาแก้ว
บริหารธุรกิจบัณฑิต
86
ธุรกิจอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ ธุรกิจอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ ธุรกิจอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ มีครูชาวต่างชาติทั้งสิ้น 35 คน สอนภาษาอังกฤษ ให้กับครูไทย 1 คน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 18 คน คณิตศาสตร์ 7 คน สุขศึกษาและพลศึกษา 2 คน และภาษาจีน 7 คน
แถวบนซ้าย แถวล่างซ้าย
ครูสอนภาษาจีน
Mr. Huang Guangde Mr. Cai Xueyou Mr. Si Jiaming Ms. Wang Qiujie Ms. Xiaoling Wang Ms. Sun Youya Ms. Gao Siyi
ครูสอนภาษาอังกฤษ
แถวที่ 1 ซ้าย-ขวา 1. Mr.Erick Paul Taping Cane 2. Mr.Alistair David Clewes 3. Mr.Razid Ayson LLosas 4. Mr.Ronaldo Jovellanos Melitante แถวที่ 2 ซ้าย-ขวา 1. Ms.Sheira Lyn Villarejo 2. Ms.Lhesley Ann Mendoza Hernandez 3. Ms.Alma Dela Cruz Andres 4. Ms.Mary Nhore S.Macabenta 5. Ms.Rosel Rodriguez Tapel 6. Ms.Kimberlyn Fiestada De Castro แถวที่ 3 ซ้าย-ขวา 1. Ms.Mary Noreen Malagum 2. Ms.Wendie A.Mangaoang 3. Ms.Dyane Mae Pomado Tumasis 4. Ms.Ayesha Ynot Tam 5. Ms.Julieta P.Binalayo 6. Ms.Emelyne Casauay 7. Ms.Winnie Bautista 8. Ms.Nikki Shiela Fetizanan Fontarum 9. Ms.Natalie Jane Fetizanan Fiestada
แถวที่ 4 ซ้าย-ขวา 1. Ms.Loralyn Lavarias 2. Ms.Jackielou Munoz 3. Ms.Wilma Bragas Rapanut 4. Ms.Irene Periego Sarita 5. Ms.Mylen Abanilla Sibayan 6. Ms.Mae Grace Bauzon Toledo 7. Ms.Crislyn Babael Bacong
87
ประสบการณ์
การเรียนภาษาอังกฤษที่เมืองเซบู The summer of 2017 was one of the best time of my life. Director Chuan Kitikiatisak and the management of Maryvit Sattahip School gave me the opportunity to study English at Cebu International Academy (CIA) in the Cebu, Philippines for 2 months from April 4 – June 4, 2017. This opportunity provided me a life time experience while learning and improving my English. This was my first experience studying aboard. I had to adjust to living in a foreign country for the first time. Before I left Thailand for the Philippines, I had mixed feelings, I was excited and at the same time nervous about this new adventure that I was going to face. I could not fit in this environment and be afraid of talking with people. No more than one week after when I arrived at the academy, I changed my thought I felt welcomed by the management, teachers, and friends. Everyone was kind and friendly. At first, I could not understand what my teachers were saying and I was not able to speak very well. However, just after about two week, I was able to make conversations with others. At the same time, I met new friends from Korea, Japan, Vietnam, Taiwan, and Saudi Arabia. I developed a friendship with many them. We always chat when we are free. It’s also the way which we improve our English speaking skill. On the weekends, we go outside for dinner and sightseeing. I enjoy all of the time when we are together. On the first day of class, I was introduced to the rules of the academy and how to survive in Cebu. I attended 10 classes each day from 7.30 am to 6.00 pm. At first, this was difficult for me to adjust to learning and using English every day. I had to learn the 4 skills in English which are listening, speaking, reading and writing. As the weeks passed, I can easily communicate with others using English and it helped me gained more friends. My new friends and I would go out together exploring the city on our free time. A few of my Korean and Japanese friends have visited me in Thailand already. After graduating from the 2 month course at CIA, my English has greatly improved. I am able to bring the knowledge and experience that I have gained to help improve my teaching of English at Maryvit Sattahip School. This quote summarizes my experience in Cebu, “Knowledge is not just in the classroom. Just dare to step out and looking for new experience and open in your mind.”
88
เรียบเรียงโดย ครูเฌอฟ้า โรจนชาลี และ ครูณผศร กิจมานะเมตตามิตร์
คุณเคยฝันอยากเที่ยวรอบโลกไหม หลายคนบอกว่าเคย แต่อกี หลายคนอาจจะบอกว่าไม่เคย แล้วจะมีสกั กีค่ นทีส่ ามารถทำาได้ เหตุผลของคนที่ทำาได้กับคนที่ทำาไม่ได้คงจะสวนทางกันแน่นอน อาจจะเป็นเรือ่ งเงิน เวลา การเดินทางและความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะทำาความฝัน ให้สาำ เร็จ ซึง่ คนเรามีแตกต่างกัน อีกทัง้ การเลือกสถานทีท่ เี่ ราอยากไป สิ่งที่เราอยากทำา อยากรู้มันเกี่ยวกับอะไรบ้าง สิ่งที่สำาคัญอีกอย่าง ในการเดินทาง หรือแม้แต่ในชีวติ ประจำาวันของคนเรา คือการสือ่ สาร เพราะเป็นความสามารถพื้นฐานในการติดต่อกันของมนุษย์ ดังนั้น ภาษาจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ สำ า คั ญ ในการเดิ น ทางและในชี วิ ต ประจำ า วั น ของทุกคน ในปัจจุบนั เราคงหลีกเลีย่ งการใช้ภาษาต่างประเทศได้ยาก โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึง่ ถือว่าเป็นภาษากลางของโลกเลยทีเดียว ฉะนั้นผู้ที่มีความรู้ด้านภาษาจึงนับว่าเป็นผู้ที่มีทางเลือกและโอกาส ที่ดีกว่า สามารถใช้ประโยชน์จากภาษาอังกฤษได้อย่างหลากหลาย มากกว่าแค่การท่องเทีย่ ว ไม่วา่ จะเป็นการสร้างอาชีพ การสร้างรายได้ หรือการศึกษาต่อ ดิฉนั ก็เป็นคนหนึง่ ทีไ่ ม่คอ่ ยเก่งในเรือ่ งภาษาอังกฤษเหมือนกับ คนไทยอีกหลาย ๆ คน ที่เรียนมาเยอะแต่พอจะพูดทีไรก็นึกไม่ออก ฟังไม่คอ่ ยรูเ้ รือ่ ง เลยไม่รวู้ า่ จะตอบออกไปยังไง ดิฉนั เป็นคนชอบเรียน สั ง คมและประวั ติ ศ าสตร์ อยากอ่ า นประวั ติ ศ าสตร์ แ ละเรี ย นรู้ วัฒนธรรมชาติอื่นบ้าง อยากมีเพื่อนต่างชาติบ้าง แต่ก็ยากลำาบาก เหลือเกิน ต้องเปิดแปลคำาศัพท์เกือบทุกคำากว่าจะเข้าใจ เมือ่ ผูบ้ ริหาร เครือโรงเรียนมารีวิทย์มีโครงการพัฒนาครูด้านภาษาอังกฤษในช่วง ปิดเทอมจึงได้รบี สมัครไปทันที หลักสูตรนีเ้ ป็นการเรียนภาษาอังกฤษ แบบเร่งรัดและเข้มข้นมาก ใช้เวลาแค่ 2 เดือน ที่สถาบันสอนภาษา นานาชาติเซบู (CIA) เริม่ เรียนตัง้ แต่เวลา 07.30-18.00 น. (จันทร์-ศุกร์) ในเมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ที่นี่มีนักเรียนจากหลาย ๆ ประเทศ มาเรียน เช่น ญีป่ นุ่ เกาหลี คูเวต ซาอุดอิ าระเบีย ไต้หวัน และเวียดนาม ซึ่งก็จะมีหลากหลายอาชีพ และหลากหลายวัฒนธรรม ในวันแรก ที่เข้าไปเรียนยอมรับตื่นเต้นมาก ๆ เพราะเราจะต้องเรียนร่วมกับ
เพื่อนจากต่างเชื้อชาติ ต่างวัย และต่างภาษา เราจะสื่อสารกับเขา อย่างไร ดังนั้นเราจะต้องมีภาษากลางที่ต้องใช้คือภาษาอังกฤษ ทางสถาบันกำาหนดให้เราใช้ภาษาอังกฤษเท่านัน้ ห้ามใช้ภาษาท้องถิน่ หรือของประเทศตนเอง หากฝ่าฝืนโดนปรับเงินครั้งละ 5 เปโซ จากเป็นคนช่างพูดกลายเป็นคนพูดน้อยไปเลยในช่วงสัปดาห์แรก การเรียนในห้องจะมีการจัดตารางเรียนครบทั้ง 4 ด้าน คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน แบบตัวต่อตัวระหว่างครูและนักเรียน ด้านละ 50 นาที และ จะมีเรียนแบบเป็นกลุม่ ๆ ละ 4-15 คน อีกกลุม่ ละ 50 นาที นอกจากนัน้ ก็มีการเรียนด้วยตนเองอีก คือ การฝึกเขียน 50 นาที การอ่าน และ ค้นคว้าอีก 50 นาที ก็รวมประมาณ 10 คาบเรียน/วัน ฟังดูเหมือนนาน แต่เมือ่ เราเรียนกลับรูส้ กึ ว่าเวลาสัน้ มาก เพราะเราต้องคิด ต้องพูด และ ฟังอย่างตั้งใจมาก ๆ ช่วงแรกยอมรับว่าไม่ทันสักอย่าง แปลคำาศัพท์ ตลอดเวลาจนไม่ได้เงยหน้ามองเพื่อนข้าง ๆ ทุกคนก็คล้าย ๆ กับเรา เพราะบางทีเราใช้คาำ ศัพท์ตา่ งกัน ออกเสียงอาจจะต่างสำาเนียงนิดหน่อย แต่ก็มีผลต่อการสื่อความหมาย ครูผู้สอนค่อนข้างใจเย็นมากและ พยายามอธิบายให้เราเข้าใจกับภาษาและเรื่องที่เรียน พอเริ่มเข้าใจ ฟังรู้เรื่อง การเรียนก็เริ่มสนุก บรรยากาศในห้องเรียนก็เริ่มมีการ สนทนา แลกเปลีย่ น แบ่งปันความคิด ประสบการณ์ และทัศนคติกนั
สิง่ สำาคัญมาก ๆ คือ คำาศัพท์และความหมาย แน่นอนทีน่ นี่ กั เรียนทุกคน จะต้องท่องคำาศัพท์ทกุ วันจันทร์-พฤหัสบดี และมีการทดสอบก่อนเรียน ทุกเช้าซึ่งช่วยได้มากจริง ๆ เพราะเมื่อเราเข้าใจความหมาย เราก็ สามารถทีจ่ ะพูดและสร้างประโยคต่าง ๆ ได้ การฟังก็จะเข้าใจมากขึน้ ว่าเขาสื่อถึงอะไร เทคนิคการฟัง คือ นอกจากการเรียนในห้องเรียน เราสามารถฝึกได้งา่ ย ๆ โดยการฟังเพลง หรือการดูหนัง เพราะเราจะได้ ฟังสำาเนียงและการใช้ในชีวิตจริงด้วยว่าควรใช้กับสถานการณ์ใด ดิฉันเริ่มฝึกจากการดูการ์ตูนค่ะ เพราะเราจะฟังได้ชัดและประโยค จะง่ายกว่า พอเราเริม่ รูเ้ รือ่ งก็เปลีย่ นเป็นหนังอาจมีซบั ไทยบ้างรอบแรก แต่ตอ่ ไปก็แบบไม่มซี บั เราก็พยายามฟังและดูจากอารมณ์ของนักแสดง อาจจะไม่ 100% แต่เราจะเข้าใจและกล้าที่จะใช้ภาษามากขึ้น ครูแนะนำาว่า เมือ่ เราเปิดปากนัน่ หมายถึงเราเปิดใจให้กบั การใช้ภาษา และฝึกทุกวันอย่าอายแล้วเราก็จะพูดได้ เห็นไหมคะว่าเราก็ฝึกฝน ตัวเราเองได้ และเด็กๆ ก็อาจจะฝึกได้เร็วมากกว่าผู้ใหญ่เสียอีก
การไปเรียนในครั้งนี้ถือว่าคุ้มค่ามาก นอกจากจะได้ ความรู้แล้วยังได้เพื่อนใหม่ แนวคิดใหม่ ๆ และเที่ยวชมสถานที่ ทางประวัติศาสตร์ของฟิลิปปินส์ด้วย อดีตบอกถึงเหตุการณ์ เรื่องราวต่าง ๆ จึงกลายมาเป็นปัจจุบัน ทุกประเทศมีเรื่องราว มีประเพณี รวมทั้งกฎเกณฑ์ที่ต่างกัน เมื่อเราอยู่ที่ใดเราก็ควร เคารพกฎของสถานที่นั้น การเรียนรู้ไม่ได้อยู่ในตำาราเสมอไป เราสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่และกับทุกคน เช่น เพื่อนของเรา แต่ละคนมีนิสัยที่ต่างกัน ชอบต่างกัน กินต่างกัน ความเชื่อและ การยอมรั บของแต่ ล ะสั ง คม ก็ แ ตกต่ า งกั น นั่ น เป็ น เพราะ การเติบโตมาจากต่างครอบครัวและต่างวัฒนธรรมกัน สิง่ ทีเ่ ราเห็น สภาพแวดล้อมและภูมปิ ระเทศของเมืองทีเ่ ซบู ในฟิลปิ ปินส์นนั้ คล้ายกับบ้านเรามากมีภูเขาและทะเล มีเกาะ อากาศร้อน เราคนไทยไปก็เลยสบายหน่อยปรับตัวไม่เยอะมาก แต่ถ้า เป็ น คนญี่ ปุ่ น เกาหลี ไต้ ห วั น พวกเขารู้ สึ ก ว่ า ร้ อ นสุ ด ๆ เพราะเมืองเขาไม่ร้อนขนาดนี้ ส่วนอาหารการกินก็แบบรสจืด เพราะต่างประเทศคงไม่กินเผ็ดแบบคนไทย ทุกประเทศก็จะมี การกินอยู่ค่อนข้างเรียบง่าย ดูแล้วอาหารไทยของเราน่าจะมี ส่ ว นประกอบและกรรมวิ ธี ที่ ซั บ ซ้ อ นที่ สุ ด แต่ ทุ ก ประเทศ รู้จักอาหารไทยและชื่นชอบกันมาก ดิฉันก็เลยทำาอาหารไทย ให้เพื่อน ๆ ชิมกันค่ะ มีทั้งผัดกระเพราและแกงเขียวหวาน พร้อมทัง้ อธิบายว่าอาหารไทยเรามีสว่ นประกอบทีด่ ตี อ่ สุขภาพ เพราะจะมีสมุนไพรต่าง ๆ ด้วย และคนไทยชอบทำาอาหาร หลายคนบอกอิจฉาคนไทยที่มีประเทศที่สวยงาม มีทะเล ภูเขา อาหาร สิ่งแวดล้อมที่ดี และวัฒนธรรมของตนเองมายาวนาน ชาวเกาหลีบอกว่าประเทศเขาไม่มีอย่างเรา และเขาจะต้อง เรี ย นอย่ า งหนั ก มากในช่ ว งมั ธ ยม เรี ย นกั น จนถึ ง เที่ ย งคื น กลับถึงบ้านเกือบตีหนึ่งตื่นเช้ามาเรียนต่อ ญี่ปุ่นก็ใกล้เคียงกัน ส่วนไต้หวันนั้นเรียนแบบมุ่งมั่นสุด ๆ เพราะเน้นว่าจะต้อง ประสบความสำาเร็จในชีวิตและธุรกิจ จากที่เราคิดว่าเด็กไทย เรี ย นหนั ก นั้ น ที่ จ ริ ง ดู เ บาสบายกั น ไปเลยที เ ดี ย ว นอกจาก เรียนหนักแล้วเขายังต้องหางานทำาในช่วงปิดเทอมและต้อง มีประสบการณ์ในการทำางานพาร์ทไทม์ เพื่อฝึกความอดทน ฝึกการทำางานและเก็บเงินเป็นค่าใช้จา่ ยส่วนตัวอีกด้วย เราก็ได้ มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ที่มาจากหลายประเทศ แนวคิดต่าง ๆ ที่ดี เราก็อาจจะนำามาปรับใช้ได้บ้าง หรือสิ่งใดที่เราดีอยู่แล้วก็ควร ช่วยกันรักษาไว้ หากเราอยากให้ลกู หลานของเราเป็นคนเก่ง ประเทศชาติ ของเราพัฒนายิง่ ขึน้ เราคงต้องฝึกให้เขามีความรักและหวงแหน แผ่นดินของเรา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและประเทศชาติ ใฝ่เรียนรู้และมีความเชี่ยวชาญในด้านที่เขาถนัด ส่งเสริมเรื่อง การเรียนและฝึกใช้ภาษาต่างประเทศเป็นสำาคัญ ซึง่ เป็นสิง่ จำาเป็น ในปัจจุบันและจะช่วยให้เพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพ และธุรกิจได้ในอนาคตอีกด้วย จงมุ่งมั่นที่จะทำาทุกอย่างให้ดีที่สุด หากวันนี้เราหยุดเดิน หมายถึงว่า เราต้องลุกขึน้ วิง่ ในวันพรุง่ นี ้ เพือ่ ชดเชยในวันทีเ่ ราหยุด จะไม่มีสิ่งใดยากไปกว่าความพยายามของเรา ฉันทำาได้และฉัน จะทำามันให้ดีที่สุด
89
90
91
ความประทับใจในการไปเข้าค่ายจริยธรรม ท�ำให้ดิฉัน ได้ความรู้และได้ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องมนุษย์มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสติปัญญาว่าไม่มีสิ่งใดมาประเมินค่าได้ หรื อ เรื่ อ งเพศของแต่ ล ะเพศว่ า มี ค วามรู ้ สึ ก นึ ก คิ ด อย่ า งไร และอีกทั้งยังมีการให้รู้จักวางแผนอนาคตของตน ส่งเสริม และปลู ก ฝั ง ความคิ ด ที่ ดี ดิ ฉั น ยั ง น�ำมาประยุ ก ต์ ปรับใช้ ให้ เข้ า กั บ ชี วิ ต ประจ�ำวั น ของตนในการวางแผนอนาคต และน�ำพาไปสูค่ วามส�ำเร็จอีกทัง้ ยังสามารถสร้างสัมพันธภาพ กับเพื่อนในโรงเรียนเครือเดียวกัน เพราะมีการจัดกิจกรรม และมีการให้นักเรียนมาร่วมเล่นกิจกรรม ท�ำให้เกิดความ สนุกสนานอีกด้วย นับเป็นการสร้างมิตรภาพที่ดี ก่อให้เกิด ความสมานสามัคคีขึ้น การเข้าค่ายจริยธรรมครั้งนี้นับเป็น ความประทับใจอย่างยิ่ง นับเป็นการเพิ่มประสบการณ์ให้กับ ชีวิตที่แฝงไปด้วยความรู้ ดิฉันก็ขอให้มีการเข้าค่ายที่ดีแบบนี ้ สื บ ต่ อ ไปขอให้ พี่ ๆ น้ อ ง ๆ รุ ่ น ต่ อ ไปได้ ร ่ ว มสนุ ก สนาน เเละร่วมกิจกรรมที่ดีแบบนี้สืบต่อไปอีกยาวนานค่ะ เด็กหญิงณัฐวรรณ อาจหาญ ชั้น ม.2/3
92
เรื่องที่ผมประทับใจมาก คือ เรื่องของในหลวงรัชกาลที่ 9 พระองค์ มี วิ ธี ก ารในการเล่ า เรื่ อ งได้ เ ป็ น อย่ า งดี เช่ น การน�ำบทความในหนั ง สื อ ที่มีความยาวมากเข้าใจได้ยาก มาสรุปย่อให้เป็นบทความหรือค�ำพูดที่สามารถ เข้ า ใจได้ โ ดยง่ า ยและเรื่ อ งราวที่ บ รรยายนั้ น มี ค วามทั น สมั ย กั บ ข่ า วสาร ในสถานการณ์ ป ั จ จุ บั น คุ ณ พ่ อ มี วิ ธี ก ารพู ด โดยใช้ ภ าษาในระดั บ วั ย รุ ่ น จึงท�ำให้ผมและเพือ่ น ๆ สามารถเข้าใจเนือ้ หาได้เป็นอย่างดี สิง่ หนึง่ ทีน่ อกเหนือ จากความรู้ที่ผมได้รับจากการเข้าค่ายอบรมจริยธรรมคือ มิตรภาพ เพราะผู้ที่ เข้ า รั บ การอบรมนั้ น จะเป็ น นั ก เรี ย นชั้ น ม.3 ของเครื อ โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ เ คยรู ้ จั ก กั น มาก่ อ น แต่ กิ จ กรรมที่ เราท�ำร่ ว มกั น ท�ำนั้ น ส่งผลให้เราได้รู้จักกัน และสนิทสนมกัน ถึงแม้ระยะเวลาในการเข้าค่าย เพียงแค่ 1 วัน แต่ก็ท�ำให้ผมได้รับทั้งความรู้ ความสนุกสนาน มิตรภาพ และประสบการณ์ เด็กชายณัฐกิตติ์ นานาประเสริฐ ชั้น ม.3/2 การไปเข้าค่ายจริยธรรมท�ำให้ฉันได้พบกับสิ่งใหม่ ๆ ทั้งสถานที่ คุณครู และเพือ่ น ๆ ซึง่ การเข้าค่ายอบรมในครัง้ นี้ ท�ำให้ฉนั รูส้ กึ ไม่นา่ เบือ่ เพราะมีกจิ กรรม ที่ให้ฉันท�ำกับเพื่อน ๆ ในเครือมารีวิทย์ทั้ง 3 แห่ง ท�ำให้เราได้รู้จักกัน สร้างความสนิทสนมต่อกัน ท�ำให้เรากล้าที่จะถามซึ่งกันและกัน และกล้าที่จะ แสดงออกร่วมกัน จึงท�ำให้เรามีเพื่อนเพิ่มมากขึ้น ท่านวิทยากรให้ความรู้ และข้อคิดกับพวกเรามากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเป็นผู้ฟังที่ดี เรื่องความรัก ในวั ย รุ ่ น เรื่ อ งการเป็ น ผู ้ ใ ห้ แ ละความดี ข องในหลวงรั ช กาลที่ 9 ความรู ้ ในเรื่ อ งต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ ท�ำให้ ฉั น สามารถน�ำมาปรั บ ใช้ ใ นการเรี ย นและ การด�ำรงชี วิ ต ประจ�ำวั น ของฉั น ได้ จึ ง ท�ำให้ ก ารเข้ า ค่ า ยอบรมจริ ย ธรรม ในครั้งนี้สร้างความประทับใจให้ฉันเป็นอย่างมาก เด็กหญิงอัญชิสา ชื่นชนม์ ชั้น ม.3/3
93
94
บทความกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หลายคนคงคุ้นเคยหรือได้ยินค�ำว่า “เด็กก็เหมือนกับ ผ้าขาว” ผ่านหูกนั มาบ้าง การทีผ่ า้ ขาวหนึง่ ผืนจะออกมาสวยงาม ได้นั้น ขึ้นอยู่กับผู้วาดว่าการเติมแต่ง ความประณีต และ ความเอาใจใส่ในรายละเอียด เพื่อให้ผ้านั้นออกมาสวยงาม และสมบูรณ์ที่สุด ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ได้พิสูจน์กับผู้คนในสังคมมากมาย ได้พัฒนาผู้เรียนให้เป็นเลิศ ด้านความรูจ้ นมีชอื่ เสียง และเป็นทีป่ ระจักษ์ในสายตาแก่ชมุ ชน ท้องถิน่ และระดับจังหวัด จนถึงระดับประเทศ แต่นนั่ เป็นเพียง สิง่ ทีท่ กุ คนทราบ อีกสิง่ หนึง่ ทีผ่ บู้ ริหารและคณะครูนนั้ ตระหนัก อยู่เสมอคือ “คุณธรรม” การอยู่ร่วมกันในสังคมจึงควรช่วยกัน สร้างสังคมที่ดี โดยมีครูเป็นต้นแบบและคอยชี้แนะในสิ่งที่ดี การสร้างสังคมที่ดีเพื่อให้สังคมมีความน่าอยู่ เราจึง ขอเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมที่เป็นแบบอย่างที่ดี และ ท�ำได้ง่าย ๆ เรียกว่า “สังคม 3 ดี” ได้แก่ • สวั ส ดี ค รั บ /ค่ ะ เริ่ ม ต้ น วั น ใหม่ ด ้ ว ยค�ำทั ก ทาย ทั้งกิริยา วาจา ด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้มแจ่มใส นอกจากสร้าง ความประทับใจให้แก่ผทู้ พี่ บเห็นแล้ว ยังเป็นการสร้างกัลยาณมิตร ที่ดีอีกด้วย
• ขอบคุณครับ/ค่ะ อีกหนึ่งค�ำพูดที่นอกจากจะสร้าง ความยินดีแก่ผู้ได้ยินแล้ว ยังเป็นการจุดประกายของความรัก ความเสียสละ มีน�้ำใจช่วยเหลือแบ่งปันผู้อื่น และสอนให้เป็น ผู้ให้และผู้รับที่ดี เฉกเช่นที่เราได้รับจากการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น • ขอโทษครั บ /ค่ ะ เมื่ อ มี สิ่ ง มากระทบความรู ้ สึ ก มักเกิดอารมณ์ที่ไม่ดีและปัญหาตามมา การกล่าวค�ำขอโทษ จะช่วยระงับอารมณ์และความโกรธนั้นได้ส่วนหนึ่ง ช่วยสร้าง ลักษณะนิสัยอันดีแล้วยังสอนให้มีสติรู้ตัว และรู้จักการให้อภัย ผู้อื่นด้วย หากเราฝึกพูดเป็นประจ�ำ การสร้างสังคมดี สร้างได้โดยเริ่มต้นจากตัวเราฝึกพูด “สวั ส ดี ขอบคุ ณ ขอโทษ” ให้ เ ป็ น กิ จ นิ สั ย เพื่ อ เป็ น การขั ด เกลาจิ ต ใจให้ เ ป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามรั ก ความเมตตา รู ้ จั ก ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เพียงแค่ทุกคนร่วมมือกัน ย่อมท�ำให้เกิด สังคมสันติสุขได้ในที่สุด
95
เรียบเรียงโดย ครูอุไรรัตน์ นิลไธสง ครูผู้สอนภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ
ท่�น ผอ. ชวน กิตเิ กียรติศกั ดิ์ ผูร้ บั ใบอนุญ�ตเครือ โรงเรียนม�รีวทิ ย์ ท่�นได้ให้ขอ้ คิดและลงมือทำ�ด้วยตัวเอง ในก�รส่งเสริมก�รเรียน Phonics ในเครือโรงเรียนม�รีวทิ ย์ เพื่อเป็นก�รพัฒน�และส่งเสริมศักยภ�พของนักเรียน ในก�รเรียนภ�ษ�อังกฤษ จนทำ�ให้นักเรียนในโรงเรียน ของท่ � นมี พื้ น ฐ�นก�รเรี ย นและใช้ ภ �ษ�อั ง กฤษได้ ดี ซึ่งผลก�รทดสอบระดับช�ติส�ม�รถเป็นเครื่องก�รันตีได้ นอกจ�กนี้ท่�นยังได้เกิดแนวคิดในก�รแบ่งปันให้กับครู และนักเรียนทั่วประเทศ เพื่อจะได้มีพื้นฐ�นในก�รเรียน และพู ด ภ�ษ�อั ง กฤษได้ อ ย่ � งมี ป ระสิ ท ธิ ภ �พเช่ น กั น ท่ � นจึ ง ได้ นำ � ที ม ง�นวิ ท ย�กรซึ่ ง เป็ น ครู ผู้ ส อนในเครือ
โรงเรียนม�รีวิทย์ ที่ได้ผ่�นก�รอบรมจ�กผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งในและต่�งประเทศ จำ�นวน 7 คน คือ ครูอุไรรัตน์ นิลไธสง ทำ�หน้�ที่เป็นวิทย�กรหลัก พร้อมด้วยทีมง�น ซึ่งประกอบด้วย ครูพวงเพชร มห�โคตร ครูสุพรรณระวี พู ล สมบั ติ ครู พ น�วรรณ จั น ทร์ โ ถ ครู ศิ ริ พ ร กั น สุ่ ม ครูเบญจวรรณ แปงอุด และครูศิรภัส สร จิตติ วุ ฒิ ไปแบ่งปันคว�มรู้ให้กับโรงเรียนต่�ง ๆ ในจังหวัดสระแก้ว ฉะเชิ ง เทร� และโรงเรี ย นในสั ง กั ด สำ � นั ก ง�นเขตพื้ น ที่ ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�ชลบุรี เขต 3 สำ�หรับคณะครู ที่เข้�ร่วมอบรม Phonics Awareness Training เป็น คุณครูที่สอนในระดับปฐมวัย ซึ่งมีทั้งหมด 7 รุ่น ดังนี้
รุ่นที่ 1 วันที่ 28 มีน�คม 2560 คณะครูในเครือโรงเรียนม�รีวิทย์ จำ�นวน 32 คน จัดอบรม ที่โรงเรียนม�รีวิทย์ พัทย� รุน่ ที่ 2 วันที ่ 1 พฤษภ�คม 2560 จำ�นวน 52 คน จัดอบรมทีโ่ รงเรียนด�ร�สมุทรอรัญประเทศ จ.สระแก้ว คณะครูจ�กโรงเรียนด�ร�สมุทรอรัญประเทศ โรงเรียนด�ร�สมุทรสระแก้ว และ โรงเรียนชุมชนพัฒน� รุ่นที่ 3 วันที่ 3 พฤษภ�คม 2560 จำ�นวน 52 คน จัดอบรมที่โรงเรียนด�ร�จรัส บ�งคล้� จ.ฉะเชิงเทร� คณะครูจ�กโรงเรียนด�ร�จรัส โรงเรียนประช�สงเคร�ะห์ พ�นทอง และโรงเรียน สันติภ�พ รุ่นที่ 4 วันที่ 4 พฤษภ�คม 2560 คณะครูโรงเรียนในสังกัดสำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ� ประถมศึกษ�ชลบุรี เขต 3 จำ�นวน 49 คน จัดอบรมที่โรงเรียนม�รีวิทย์ พัทย� คณะครูจ�กโรงเรียนอนุบ�ลบุญพึ่ง โรงเรียนวัดหนองจับเต่� โรงเรียนบ้�นนอก โรงเรียนม�บประชัน โรงเรียนวัดเข�โพธิท์ อง โรงเรียนวัดหนองกล้� โรงเรียนวัดหนองเกตุนอ้ ย โรงเรียนบ้�นเข�ดิน โรงเรียนอนุบ�ลผก�ทิพย์ โรงเรียนวัดน�จอมเทียน โรงเรียนห้วยกรุ โรงเรียนบ้�นท�งตรง โรงเรียนวัดมโนรม โรงเรียนบ้�นน�วัง โรงเรียนวัดรังสีสุทธ�ว�ส โรงเรียนบ้�นอำ�เภอ โรงเรียนชุมชนบ้�นหนองปรือ โรงเรียนวัดพิบูลสัณหธรรม โรงเรียน บ้�นเข�หิน โรงเรียนอนุบ�ลว�ยุภักดิ์ โรงเรียนอนุบ�ลบ�งละมุง และโรงเรียนชุมชน วัดเข�ไม้แก้ว รุ่นที่ 5 วันที่ 6 พฤษภ�คม 2560 คณะครูโรงเรียนม�รีวิทย์บ่อวิน จำ�นวน 88 คน รุ่นที่ 6 วันที่ 12 พฤษภ�คม 2560 คณะครูโรงเรียนม�รีวิทย์สัตหีบ จำ�นวน 30 คน รุ่นที่ 7 วันที่ 13 พฤษภ�คม 2560 คณะครูโรงเรียนม�รีวิทย์ พัทย� จำ�นวน 75 คน ท่�น ผอ.ชวน และทีมวิทย�กรหวังไว้ว่�ผู้เข้�รับก�รอบรมจะได้นำ�คว�มรู้ที่ได้รับ ไปแบ่งปัน และขย�ยผลกับนักเรียน ทำ�ให้นักเรียนมีพื้นฐ�นและมีทักษะในก�รออกเสียง ภ�ษ�อังกฤษได้อย่�งถูกต้องและมั่นใจ
96
ดร. สตีเวน ชนะ กิติเกียรติศักดิ์ แนะนำ� แบบเรียน ABC Book ซึง่ ผลิตและใช้ในก�รเรียน โฟนิกส์ที่เครือโรงเรียนม�รีวิทย์
น�ยวิชยั พวงภ�คีศริ ิ ผูอ้ �ำ นวยก�รสำ�นักง�นเขตพืน้ ทีก่ �รศึกษ�ประถมศึกษ� ชลบุ รี เ ขต 3 กล่ � วเปิ ด ก�รอบรมโฟนิ ก ส์ ที่ โรงเรี ย นม�รี วิ ท ย์ พั ท ย� เมื่อวันที่ 4 พฤษภ�คม 2560
ผอ.ชวน กิติเกียรติศักดิ์ พร้อมทีมง�นร่วมถ่�ยภ�พกับคุณพ่อเสกสรร สุวิช�กร ผู้อำ�นวยก�รโรงเรียนด�ร�จรัส บ�งคล้� จ.ฉะเชิงเทร� พร้อมคณะครู
คณะครูเครือโรงเรียนม�รีวิทย์ เข้�ร่วมอบรมโฟนิกซ์เพื่อนำ�ไปสู่ One Maryvit
บูรณ�ก�รภ�ษ�เขมรกับก�รเรียนโฟนิกส์ที่ม�รีวิทย์บ่อวิน
ผอ.ชวน กิ ติ เ กี ย รติ ศั ก ดิ์ ผู้ รั บ ใบอนุ ญ �ตเครื อ โรงเรี ย น ม�รีวิทย์ให้โอว�ทเกี่ยวกับคว�มสำ�คัญของโฟนิกส์ก่อนเข้�รับ ก�รอบรม
ขอบพระคุณสำ�หรับก�รต้อนรับเป็นอย่�งดีจ�กคุณพ่อเอนก ธรรมนิตย์ ผูอ้ �ำ นวยก�รโรงเรียนด�ร�สมุทรอรัญประเทศ จ.สระแก้ว พร้อมด้วยคณะครู
ตัวแทนคณะครูจ�กโรงเรียนในเขตพืน้ ทีก่ �รศึกษ�ประถมศึกษ� ชลบุรีเขต 3
คณะครูจ�กโรงเรียนด�ร�จรัส บ�งคล้� จ.ฉะเชิงเทร� สนใจ ฟังก�รบรรย�ยเป็นพิเศษ 97
Eastern Economic Corridor (EEC):
ความสำ�คัญของเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก และการเตรียมความพร้อมของนักเรียน จุดเริ่มต้นของ EEC มาจากอะไร? EEC หรือ โครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เป็นแผนยุทธศาสตร์ต่างประเทศภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 ที่ต่อยอดความส�ำเร็จมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรือ Eastern Seaboard ที่ด�ำเนินมาตลอดกว่า 30 ปี ที่ผ่านมา จากการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม 32 แห่ง รองรับโรงงานกว่า 5,000 โรง การสร้างท่าเรือน�้ำลึกแห่งแรกของไทย บริเวณแหลมฉบังและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ส่งผลให้พื้นที่ภาคตะวันออกกลายเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมส�ำคัญ อาทิ ศูนย์การผลิตปิโตรเคมีที่มีขนาดใหญ่เป็น 1 ใน 5 ของเอเชีย และศูนย์กลาง การผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ หรือ “Detroit of the East” ด้วยความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานเดิมนี้เอง ประกอบกับท�ำเลที่ตั้งที่มีความได้เปรียบ ในการเป็ น ศู น ย์ ก ลางโลจิ ส ติ ก ส์ ข องภู มิ ภ าค รวมทั้ ง ชื่ อ เสี ย งและมาตรฐานระดั บ โลก ท�ำให้ ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ (สศช.) ได้ น�ำเสนอคณะรั ฐ มนตรี ให้ มี ก ารจั ด ตั้ ง เขตเศรษฐกิ จ การลงทุ น พิ เ ศษ ภาคตะวั น ออก ซึ่ ง ภายหลั ง ได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบโครงการดั ง กล่ า ว ท�ำให้ พื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง ทะเลภาคตะวั น ออก 3 จั ง หวั ด ได้ แ ก่ จั ง หวั ด ระยอง ชลบุ รี และฉะเชิ ง เทรา ถู ก จั บ ตามองเป็ น พิ เ ศษในฐานะเขตเศรษฐกิ จ การลงทุ น พิ เ ศษ ที่ เรี ย กว่ า “ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก” (Eastern Economic Corridor : EEC)
เป้าหมายและมาตรการส่งเสริม EEC ของรัฐบาลมีอะไรบ้าง ? ส�ำหรับแผนการด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมของการพัฒนา “ระเบียง เศรษฐกิ จ ภาคตะวั น ออก” ในปี พ.ศ.2560 จะมี ก ารขั บ เคลื่ อ นโครงการ ที่ส�ำคัญ 5 โครงการ ดังนี้
98
1. การพัฒนาสนามบินนานาชาติอู่ตะเภา เพื่อมุ่งสู่การเป็น มหานครแห่งการบินภาคตะวันออก 2. รถไฟความเร็วสูง จะด�ำเนินการเชือ่ มต่อสนามบินนานาชาติ 3 แห่ง คือ ท่าอากาศยานดอนเมือง สุวรรณภูมิ และสนามบินอู่ตะเภา ให้ใช้เวลาเดินทางเพียง 1 ชั่วโมง ด้วยรถไฟความเร็วสูง พร้อมทั้ง ยกระดั บ ทางคู ่ จ ากท่ า เรื อ แหลมฉบั ง ไปท่ า เรื อ น�้ำ ลึ ก มาบตาพุ ด โดยเชือ่ มต่อท่าเรือหลักกับนิคมอุตสาหกรรม 3. ประตูตะวันออกสูเ่ อเชีย จะมีการด�ำเนินการเพือ่ ให้ 3 ท่าเรือ เป็นส่วนหนึ่งของ Eastern Sea Gateway ได้แก่ ท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3 ท่าเรือมาบตาพุดระยะที่ 3 ตลอดจนการก่อสร้าง Ferry และ Cruise ที่ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ 4. ผู้น�ำอุตสาหกรรมเป้าหมาย ในปี พ.ศ.2560 บริษัทชั้นน�ำ จะเริ่ ม ลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละหุ ่ น ยนต์ ตลอดจนขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรม เครื่ อ งมื อ แพทย์ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม เพื่ อ ก้ า วสู ่ ก ารเป็ น Medical Hub รวมถึงการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนอากาศยานและเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio-Economy) ได้แก่ อาหารแห่งอนาคต การผลิตพลาสติกชีวภาพเครื่องส�ำอาง 5. ตะวั น ออกเมื อ งแห่ ง อนาคต มุ ่ ง ยกระดั บ เมื อ ง ชุ ม ชน คุ ณ ภาพชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้ อ ม สู ่ ร ะดั บ มาตรฐานสากล พัฒนาเมืองการศึกษานานาชาติ โดยมีมหาวิทยาลัยและโรงเรียนนานาชาติชั้นน�ำ เป็นผู้น�ำในด้านสาธารณสุข โดยเป็นศูนย์กลาง ด้านการแพทย์และโรงพยาบาล อีกทั้ง มุ่งพัฒนาเมืองใหม่ส�ำหรับการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ พร้อมทั้งขับเคลื่อนศูนย์กลาง ธุรกิจพาณิชย์ที่ทันสมัยในภูมิภาค และจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ EEC ทั้งในด้านสุขภาพอนามัย สิ่งแวดล้อม และการศึกษา เรามีการเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนอย่างไรบ้าง ? โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ มีการเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนโดยเน้นการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและภาษาจีน เป็นหลัก เพื่อใช้เป็นพื้นฐานส�ำคัญในการศึกษาต่อระดับสูง ต่อยอดการศึกษาสู่การประกอบอาชีพ และลดข้อจ�ำกัด อุปสรรค ทางด้านการสื่อสาร ท�ำให้นักเรียนสามารถท�ำงานร่วมกับบุคคลทั่วไปทุกเชื้อชาติ ทุกภาษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ ทางโรงเรียนได้น�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมทีท่ นั สมัยมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพือ่ ให้นกั เรียนเกิดความคุน้ เคย กับการใช้เทคโนโลยีรอบ ๆ ตัวอย่างชาญฉลาด สอดคล้องกับโลกยุคปัจจุบันและยังเป็นการเตรียมความพร้อมของนักเรียน ที่จะกลายเป็นอนาคตของชาติในยุค THAILAND 4.0 ที่มา : เจาะลึกการลงทุนใน EEC พื้นที่ยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0
99
วันปิดเทอมของหนู แม่พาหนูไปเที่ยวภูเก็ต หนูตื่นเต้นที่จะได้ขึ้นเครื่องบิน มันบินสูงมาก หนูเห็นก้อนเมฆเต็มไปหมด มันสวยมากเลยค่ะ หนูได้เห็นก้อนเมฆใกล้ ๆ แม่บอกว่าก้อนเมฆเกิดจาก ละอองน�้ำรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อนเมื่อกระทบกับความเย็นก็จะกลั่นตัวเป็นหยดน�้ำ กลายเป็นฝน ตกลงมาบนพื้นดิน ความรู้สึกตอนนั้นเหมือนกับว่าหนูได้เรียนวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนเลยค่ะ หนูได้พกั ทีโ่ รงแรมติดทะเล ทะเลสวยและนำ�้ ใสมาก หนูไปเล่นทรายทีช่ ายหาด และปัน้ ทรายเป็นรูปต่าง ๆ ซึ่งเป็นศิลปะที่เราสามารถสร้างได้จากธรรมชาติ จากนั้นแม่พาหนูไปไหว้พระที่วัดฉลอง แม่บอกว่า เราควรหมั่นท�ำบุญเพราะเราเป็นชาวพุทธ ปิดเทอมครั้งนี้หนูได้เรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ด้วยประสบการณ์ ที่เราสร้างได้แม้ไม่ได้อยู่ในห้องเรียนก็ตาม หนูมีความสุขและสนุกสนานกับช่วงปิดเทอมมากค่ะ เด็กหญิงภัทรวดี โพธิ์ขีด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/3
หนู รู้ สึ ก ดี ใจที่ ไ ด้ เ ป็ น นั ก เรี ย นอี ก คนที่ ไ ด้ ถ่ า ยทอดความรู้ สึ ก ถึ ง โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ สั ต หี บ ณ ที่แห่งนี้ หนูได้มาเรียนอยู่ที่โรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ 2 ปี แล้ว ถึงแม้จะไม่ได้เริ่มเรียนที่อนุบาล แต่เมื่อหนูมีโอกาสได้เข้ามาชมการเรียนการสอนของโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ หนูและคุณพ่อคุณแม่ รู้สึกประทับใจถึงวิธีการสอนที่ดีและคุณครูทุกคนใจดีและเอาใจใส่เด็ก ๆ มากเลยค่ะ และเมื่อได้ เข้ า มาเรี ย นในระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1 หนู ยิ่ ง รู้ สึ ก ถึ ง ความรั ก ที่ คุ ณ ครู ม อบให้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น และการเอาใจใส่ในการสอนซึ่งทำ�ให้หนูมีความรู้และสามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน และหนูรู้สึก ตื่นเต้นกับการได้ไปทัศนศึกษากับเพื่อน ๆ ในชั้นเรียนมากค่ะ เพราะการได้ไปเรียนรู้นอกห้องเรียน กับเพื่อน ๆ หนูมีความสุขไปพร้อมกับได้รับความรู้ด้วยค่ะ หนูแอบตื่นเต้นทุกครั้งที่จะได้ไปทัศนศึกษากับเพื่อน ๆ หนูขอขอบพระคุณครูทุกท่านที่อบรมสั่งสอนและให้โอกาสในการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงออก ในทางที่ดี หนูสัญญาหนูจะมีความสุขกับการเรียนทุก ๆ วันค่ะ เด็กหญิงเคเดน ณัฐนรี เดอ กัสแมน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1
100
ความประทับใจของฉัน หนูได้ไปที่อ�ำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่นั่นอากาศหนาวราว 17 องศาเซลเซียส และได้ ไ ปพั ก ที่ โรงแรมภู ริ ซึ่ ง ที่ นั่ น มี ทิ ว ทั ศ น์ ที่ ส วยงาม ได้ เ ห็ น วิ ถี ชี วิ ต ของคนสมั ย ก่ อ น คื อ การสร้ า งบ้ า นด้ ว ยไม้ และหนู ก็ ไ ด้ เ ดิ น ทางไปที่ ภู เ ขาและมี อ ากาศหนาวถึ ง 15 องศาเซลเซียส และที่นั่นเป็นบ้านพักที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงก่อตั้งขึ้นเพื่อให้ผู้ท ี่ เดิ น ทางมาไกลได้ ม าพั ก ตั ว บ้ า นพั ก สร้ า งขึ้ น ด้ ว ยไม้ โดยผู ้ ที่ ม าพั ก สามารถกางเต็ น ท์ ไ ด้ ครอบครั ว ของฉั น จึ ง กางเต็ น ท์ ทิ ว ทั ศ น์ บ ริ เวณภู เขาสวยงามมาก ท�ำให้ ห นู รู ้ สึ ก คิ ด ถึ ง ในหลวงที่ ท ่ า นได้ จ ากไป แต่ ท ่ า นยั ง ทรงสร้ า งสิ่ ง ต่ า ง ๆ ไว้ ใ ห้ กั บ ประชาชนของท่ า นเป็ น อย่ า งมาก เหมื อ นกั บ ท่ า นไม่ ไ ด้ จ ากพวกเราไปไหน ต่อจากนั้นหนูก็ไปที่ไร่สตรอเบอร์รี่ และได้เก็บสตรอเบอร์รี่สด ๆ จากต้นเป็นครั้งแรก ครอบครัวหนูเดินทางต่อไปที่ไร่ชา หนูชิมชาเขียวและเค้กรสชาเขียวอร่อยมาก หลังจากนั้นหนูและครอบครัวก็เดินทางกลับมาบ้านอย่างมีความสุข เด็กหญิงกนกวรรณ สนิทเหลือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/8
ความสุขจากการทำ�บุญ วันนี้เป็นวันหยุด เนื่องจากเป็นวันเข้าพรรษา ครอบครัวอยู่พร้อมหน้าพร้อมตา มี พ่อ แม่ ผม และน้อง พ่อกับแม่พาผมและน้องไปเที่ยวในวันหยุด สถานที่แห่งแรกที่ท่านพาไปคือ วัดใหม่อยู่สงัด ผมได้ มี โ อกาสได้ ถ วายเที ย นพรรษา ซึ่ ง ผมเคยได้ เรี ย นในวิ ช าสั ง คมเกี่ ย วกั บ หลั ก การปฏิ บั ติ ต น และความส�ำคัญของวันเข้าพรรษา และวันนี้ผมได้ปฏิบัติจริง ด้วยความเป็นเด็ก ผมก็ไม่เข้าใจ ว่าท�ำไมท่านถึงพาผมและน้องไปที่วัด ท�ำไมไม่พาผมไปเที่ยวสวนสัตว์ ห้างสรรพสินค้า ด้วยความสงสัย ผมจึงได้ถาม ท่านทั้งสองมองหน้าและยิ้มแล้วบอกกับผมและน้องว่าสิ่งแรกที่คนไทย คนเก่าคนแก่นึกถึงคือวัดนะลูก การที่ เราได้ ไ ปท�ำบุ ญ ท�ำทาน ไหว้ พ ระ รั บ ศี ล เพื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคลกั บ ครอบครั ว ไปไหนมาไหนจะได้ ป ลอดภั ย ท�ำอะไรก็ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง อี ก อย่ า งคื อ ลู ก ก็ ก�ำลั ง ศึ ก ษาอยู ่ จ ะได้ มี ส มาธิ มี เ สริ ม สติ ป ั ญ ญาด้ ว ยนะ ด้ ว ยเหตุ ผ ลนี้ เ อง ทีพ่ อ่ และแม่พาผมและน้องไปท�ำบุญทีว่ ดั ก่อนทีจ่ ะไปสถานทีอ่ นื่ ๆ ผมรูส้ กึ มีความสุขในวันหยุดมากครับ รวมถึงครอบครัวผม ด้วยครับ ผมขอฝากเพื่อน ๆ ที่ไม่รู้จะไปไหนไปท�ำบุญที่วัดกันนะครับ เด็กชายชวกร ภักดีพิทักษ์กุล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5
101
ธารน้ำ�ใจ ให้เพื่อนมนุษย์
การบริจาคสิง่ ของต่าง ๆ ของเรากับผูอ้ นื่ ทีป่ ระสบภัยธรรมชาติ หรือได้รบั ความยากล�ำบาก ท�ำให้ เรามีความสุข อิม่ เอมใจทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วมในการบริจาคสิง่ ของและเราสามารถท�ำสิง่ เหล่านีไ้ ด้หากเราเต็มใจ ที่จะให้โดยไม่หวังผลตอบแทน ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 หนูได้ร่วมบริจาคสิ่งของให้กับมูลนิธิสยามรวมใจ ปู่อินทร์ อ.บ้ า นฉาง จ.ระยอง เพื่ อ มอบให้ กั บ ผู ้ ป ระสบภั ย น�้ ำ ท่ ว ม จ.สกลนคร หนู รู ้ สึ ก ภู มิ ใจและยิ น ดี ที่ ไ ด้ ร ่ ว มบริ จ าคของในครั้ ง นี้ ถึ ง จะเป็ น เพี ย งสิ่ ง เล็ ก ๆ น้ อ ย ๆ แต่ ห นู ก็ ดี ใจที่ ไ ด้ ท�ำความดี เพราะได้ช่วยเหลือเพื่อนร่วมโลกในยามที่พวกเขาเดือดร้อน ถึงหนูจะไม่ได้มอบสิ่งของให้กับพวกเขาด้วยมือของตนเอง แต่ก็รู้ได้ว่าพวกเขามีความสุขและดีใจที่ได้รับสิ่งของบริจาคจากทุก ๆ คน ที่มาร่วมบริจาครวมถึงหนูและครอบครัวด้วย เพราะพ่อกับแม่สอนหนูเสมอว่าต้องเป็นคนดีของสังคม เช่น ร่วมท�ำบุญและบริจาคสิ่งของให้กับผู้ยากไร้ หรือผู้ที่ได้รับ ผลกระทบจากภัยธรรมชาติต่าง ๆ และหนูก็อยากเห็นใบหน้าที่มีความสุขของพวกเขา เพราะมันท�ำให้หนูสบายใจ และดีใจไปกับพวกเขาด้วย หากมีโอกาสในครั้งต่อไปหนูจะมาร่วมบริจาคอีก และหวังว่าจะได้รับความรู้สึกดี ๆ แบบนี ้ เหมือนเดิม การได้ท�ำความดีด้วยการบริจาคสิ่งของให้ผู้อื่นก็ท�ำให้เรามีความสุขได้ ไม่ว่าความดีนั้นจะมากหรือน้อยก็ตาม เด็กหญิงศศิปรียา สักกุนี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/7
เบื้องหลังความสำ�เร็จ ผมเชื่อว่าความสำ�เร็จของทุกคนมักมีคนที่อยู่เบื้องหลังเสมออย่างน้อย 1 คน ไม่ว่าจะคอยสั่งสอน สนับสนุน ช่วยเหลือแม้กระทั่งคอยเป็นกำ�ลังใจจนสำ�เร็จได้ ความสำ�เร็จ ของผมที่ไ ด้เป็นตัว แทนนักกีฬาเรือใบในการแข่งกีฬาแห่งชาติ “สงขลาเกมส์ ” จนได้รางวัลที่ 1 เริ่มต้นมาจากพ่อโก้เป็นผู้จุดประกายให้ผมรักการเล่นเรือใบ ตั้งแต่ผมอายุ 6 ขวบ พ่อพาผมไปนั่งเรือ Laser พอ 7 ขวบ ผมก็เริ่มฝึกเรือ Optimist ทุกรายการที่แข่ง ไม่ว่าที่ไหน พ่ อ จะไปกั บ ผมทุ ก รายการ แต่ ร ายการแข่ ง กี ฬ าแห่ ง ชาติ “สงขลาเกมส์ ” ครั้ ง นี้ เ ป็ น ครั้ ง แรก ที่ ผ มไปแข่ ง โดยไม่ มี พ่ อ ไปด้ ว ย พ่ อ ได้ จ ากผมไปด้ ว ยโรคร้ า ยเมื่ อ วั น ที่ 21 เมษายน 2560 ผมรู้ว่าพ่อต้องเชียร์ผมอยู่บนสวรรค์แน่นอน ผมอยากจะบอกพ่อว่า ผมทำ�ได้แล้วครับ เหรียญทองนี้ ผมทำ�ให้พ่อโก้ (น.อ.พรพจน์ วรศาสตร์) เด็กชายปาฏิหาริย์ วรศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3
102
Spelling Bee ประสบการณ์สุดประทับใจ ฉันว่าทุกคนต้องมีสิ่งที่ชอบและประทับใจ ไม่ว่าจะเป็นวิชาที่ชอบ กีฬาที่โปรดปราน หรือสิ่งที่รัก เป็นของตนเอง ตัวฉันชอบวิชาภาษาอังกฤษ มีความถนัดด้านภาษาแต่ไม่ถนัดด้านค�ำนวณ คุณครูหลายท่าน เห็ น ว่ า ฉั น มี ค วามจ�ำที่ ดี จึ ง คั ด เลื อ กเป็ น ตั ว แทนแข่ ง ขั น Spelling Bee ในวั น วิ ช าการ เครื อ โรงเรี ย นมารี วิ ท ย์ โดยเริ่ ม แข่ ง ตั้ ง แต่ ชั้ น ป.6 ได้ ร างวั ล ที่ 1 และยั ง ได้ มี โ อกาสแข่ ง ขั น กั บ โรงเรียนภายในภาคตะวันออกอีก 14 โรงเรียน ได้รางวัลที่ 3 ได้รับวุฒิบัตรและเหรียญทองแดง เมื่ออยู่ชั้น ม.1 ก็ได้เป็นตัวแทนแข่งขันในวันวิชาการเครือโรงเรียนมารีวิทย์อีกครั้ง ถึงแม้ครั้งนี้ จะได้ ที่ ส ามแต่ ฉั น ก็ ภู มิ ใจมากเพราะฝึ ก ซ้ อ มอยู ่ ห ลายเดื อ น และพยายามท�ำเต็ ม ที่ เ พื่ อ ให้ ผ ลคะแนนออกมาดี ที่ สุ ด ฉั น ชอบ Spelling Bee เพราะมี ป ระโยชน์ ม าก ท�ำได้ ไ ม่ ย ากเพี ย งแค่ ห าเวลาว่ า งเพื่ อ จ�ำค�ำศั พ ท์ ในเมื่ อ ฉั น ท�ำได้ จึงเชื่อว่าทุกคนก็ท�ำได้เช่นกัน อยากบอกทุกคนว่าการแข่งขันต้องมี แพ้ ชนะ เป็นธรรมดา ถ้าผลออกมาเป็นอย่างไร ก็ ต ้ อ งยอมรั บ ให้ คิ ด ว่ า เราท�ำเต็ ม ที่ ท�ำดี ที่ สุ ด แล้ ว ถึ ง แม้ ว ่ า เราจะชนะคนอื่ น ไม่ ไ ด้ แต่ เราสามารถชนะใจตนเองได้ เมื่ อ ทุ ก คนได้ รั บ มอบหมายงานอะไรก็ ต ามควรท�ำให้ เ ต็ ม ที่ ฝึ ก ซ้ อ มบ่ อ ย ๆ หาเวลาว่ า งฝึ ก ฝน หรื อ ให้ ผู ้ ป กครอง ช่วยทดสอบขยันหมั่นเพียร ผลลัพธ์ที่ออกมาจะดีที่สุด เมื่อเราท�ำอะไรไว้สิ่งนั้นจะตอบกลับคืนมาเองค่ะ เด็กหญิงขวัญข้าว ชัยนุบาล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3
คนเก่งท�ำไมถึงเครียด
คนเก่ง คือ คนที่มีความสามารถ ได้คะแนนเยอะในการสอบ ไม่เคยสอบไม่ผ่านในการสอบ คนที่ตั้งใจเรียน สามารถเข้าใจบทเรียนได้ด้วยเวลาอันสั้น สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง มีเทคนิค ที่ท�ำให้ตัวเองเข้าใจได้ง่าย สามารถไปสอนคนอื่นได้ ได้รับค�ำชื่นชมจากพ่อแม่ ครู-อาจารย์ ผู้ปกครอง ท่านอื่นแม้แต่เพื่อนในสายชั้น จากที่กล่าวมามักเป็นมุมมอง “คนเก่ง” จากสังคม และแน่นอน คนเก่งย่อมเป็นความภาคภูมิใจของพ่อแม่ เพราะอยากให้ให้ลูกเป็นคนเก่งจึงท�ำให้พ่อแม่คาดหวัง ในตัวลูกของตัวเองมาก ต้องการให้ได้คะแนนเพิ่มขึ้นทุกเทอมหรือทุกปี เพราะฉะนั้นพ่อแม่จึงเป็น สาเหตุหลักอย่างหนึ่งที่ท�ำให้ลูกเครียด ตัวลูกเองไม่อยากท�ำให้พ่อแม่ผิดหวัง จึงเกิดความกดดัน เมื่อท�ำคะแนนสอบได้ไม่ค่อยดีหรือต�่ำกว่าเดิม บางคนถึงขั้นร้องไห้เลยก็มี หรืออาจจะอายเพื่อนเมื่อท�ำคะแนนได้น้อย บางคนไม่มั่นใจเรื่องคะแนนของตัวเอง สาเหตุเหล่านี้ท�ำให้เกิดความเครียด ดังนั้นเมื่อเรารู้สาเหตุแล้วก็ต้องหาวิธีการ แก้ความเครียด โดยเริ่มจากตัวเราเองก่อน คือ การแบ่งเวลาให้ถูก มีเวลาให้กับการอ่านหนังสือทบทวนบทเรียนบ้าง มี เวลาพั ก ผ่ อ นบ้ า ง จะท�ำให้ ค วามเครี ย ดลดลง อย่ า โทษตั ว เองเรื่ อ งที่ ผ ่ า นมาที่ เราท�ำไม่ ไ ด้ เพราะไม่ ส ามารถ กลั บ ไปแก้ ไขอดี ต ได้ ความเครี ย ดไม่ เ คยส่ ง ผลดี อ ะไรให้ ใ ครทั้ ง นั้ น คนเราควรมี เวลาปลดปล่ อ ยความเครี ย ดบ้ า ง คนเก่ ง บางคนเขายั ง ไม่ ส ามารถจั ด การกั บ ความเครี ย ดได้ เ ลย เก่ ง แค่ ไ หนก็ ไ ม่ ดี เ ท่ า เก่ ง แล้ ว ปราศจากความเครี ย ด คนเรียนหนังสือในขั้นอ่อนกว่าอาจไม่มีความเครียด แต่ต้องทบทวนตัวเองว่าอ่อนตรงจุดไหนแล้วพยายามใหม่ในครั้งต่อไป โดยให้ ค�ำนึ ง ถึ ง ผลที่ จ ะได้ รั บ ยั ง ไงเขาก็ ไ ม่ ส ามารถกลั บ ไปแก้ ไขอดี ต ที่ ผ ่ า นมาแล้ ว ได้ นั่ น เอง เขาจึ ง ไม่ มี ค วามเครี ย ด ดังนั้นถ้าคนเราพอใจในสิ่งที่ตัวเองมีและสิ่งที่ตัวเองท�ำไป จะท�ำให้คนเราไม่มีความเครียดมาท�ำร้ายตัวเราเอง เด็กหญิงศศิภาพร ณรงค์ชัยรังสี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5
103
การใช้คำ�พูด
ค�ำพูด เป็นสิ่งส�ำคัญมากในการสื่อสารกัน เพราะการที่เราจะสื่อสารกับใครนั้น เราต้องเลือกสรร น�ำค�ำต่าง ๆ มาเรียงต่อกันเพื่อให้เกิดเป็นประโยคที่มีความเหมาะสมกับบุคคลและสถานที่ ในแต่ละวัน เราสื่อสารกับหลายบุคคล ไม่ว่าจะเป็น พ่อแม่ ครู และเพื่อน ๆ ซึ่งในแต่ละบุคคลนั้น เราควรเลือกค�ำ ทีใ่ ช้พดู แตกต่างกันไป เมือ่ เราคุยกับพ่อแม่หรือครู เราควรเลือกใช้ค�ำสุภาพ อ่อนน้อม เมือ่ เราคุยกับเพือ่ น เราสามารถใช้ค�ำที่เป็นกันเองหรือค�ำภาษาปากได้ เพราะค�ำพูดจะแสดงให้เห็นว่าก่อนที่เราจะพูด ออกมานั้น เราได้ไตร่ตรองดีแล้วหรือไม่ และเหมาะสมกับกาลเทศะหรือไม่ เพราะค�ำพูดที่เราพูด ออกมานั้นเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าเรารู้จักเลือกค�ำ ใช้ค�ำที่เหมาะกับบุคคล เวลา และสถานที่ จะท�ำให้มคี นชืน่ ชมและรักใคร่ ในทางกลับกันถ้าหากเราพูดจาด้วยค�ำไม่สภุ าพ พูดค�ำหยาบอยูบ่ อ่ ยครัง้ ก็จะไม่มใี ครต้องการ คุยกับเรา ไม่มีใครรักใคร่เราเป็นแน่ ฉะนั้นก่อนที่เราจะพูดสิ่งใด กับใคร เราควรระลึกไว้เสมอว่า “คิดก่อนพูด” จะดีกว่า ผมคิดว่าสังคมไทยในปัจจุบันนั้น จะเห็นได้ว่าเราทุกคนไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับค�ำพูดมากเท่ากับสมัยก่อน ทุกวันนี ้ เราคิดก่อนพูดน้อยลง ไม่ได้นึกถึงความเหมาะสมว่าจะพูดกับใคร สถานที่ไหน เช่น เด็ก ๆ ทุกวันนี้ใช้ค�ำพูดกับพ่อแม่ เหมือนก�ำลังพูดกับเพื่อน ไม่มีแม้กระทั่งหางเสียง “ครับ/ค่ะ” เป็นต้น อาจเป็นเพราะยุคสมัยนี้มีความเจริญก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีมาก มีทงั้ ความสะดวกสบาย และความรวดเร็ว จึงส่งผลให้การสือ่ สารต้องรวดเร็วตามไปด้วย ถึงอย่างไรก็ตาม ผมยังเห็นว่าก่อนที่เราพูดสิ่งใด กับใครนั้น เราควรคิดให้ดีเสียก่อน ดังเช่นกลอนของท่านสุนทรภู่ ที่ว่า อันค�ำพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต แม้พูดชั่วตัวตายท�ำลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา เด็กชายศุภวิชญ์ อินโต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1
เยาวชนไทยยุคใหม่ 4.0
เมือ่ กล่าวถึงค�ำว่า “เยาวชนไทยยุค 4.0” หลายคนอาจจะคงยังมีค�ำถามว่าสิง่ นีค้ อื อะไร ท�ำเพือ่ อะไร และมีผลดีอย่างไรต่อประเทศชาติ ซึ่งเยาวชนไทยยุค 4.0 นั้นคือเยาวชนที่มีปัญญาเฉียบแหลม มีทักษะต่าง ๆ มีสุขภาพที่แข็งแรง มีคุณธรรมและจิตใจที่งดงาม เพื่อเป็นการพัฒนาประเทศชาติ ไปในทางที่ดีขึ้น ปัจจัยส�ำคัญที่จะช่วยพัฒนาเยาวชนไทยให้มีคุณสมบัติข้างต้นได้นั้น คือ การมีพื้นฐานที่ดีมาจาก ครอบครัว พืน้ ฐานทีด่ นี ไี้ ม่ได้หมายความว่าเป็นครอบครัวทีม่ ฐี านะดี แต่หมายถึง ครอบครัวทีม่ คี วามรัก คอยดูแลเอาใจใส่บุตรหลาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่ส�ำคัญคือ การได้รับการศึกษาที่ดี และมีการ เปิดโอกาสให้เยาวชนสามารถที่จะแสดงศักยภาพของเยาวชนตามความสนใจได้เต็มที่ โดยที่โรงเรียน แต่ละแห่งก็ได้มีการปรับหลักสูตรการเรียนการสอน เช่น มีการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของเด็ก รวมถึงตัวครูผู้สอน เพราะภาษาอังกฤษในปัจจุบันนี้มีความส�ำคัญอย่างยิ่งในการติดต่อสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ การค้าขายและสิ่งอื่น อี ก มากมาย การส่ ง เสริ ม การเรี ย นการสอนวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ แ ละวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ ให้ เ ด็ ก มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจ ในเรื่องของศาสตร์ต่าง ๆ มีการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เด็กมีความกล้าแสดงออก และเพื่อเป็นการพัฒนาทักษะในด้านต่าง ๆ ของตัวเยาวชนเองด้วย แนวทางในการปรับตัวของเยาวชนไทยให้สามารถรับมือและเตรียมพร้อมส�ำหรับยุค 4.0 นี้คือมีทักษะในการ แสวงหาความรูอ้ ย่างถูกวิธแี ละสามารถน�ำมาปรับใช้ได้อย่างถูกต้อง ซึง่ ทักษะทีจ่ �ำเป็นส�ำหรับเยาวชนในยุค 4.0 มี 3 ประการ คือ การใช้ อิน เทอร์เ น็ตในการแสวงหาความรู้ใ ห้ถูกทาง มีค วามคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก มีค วามมั่นใจในตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับสังคม โดยเยาวชนนั้นสามารถที่จะร่วมท�ำงานกับผู้อื่นได้ มีความสามัคคีและมีน�้ำใจเอื้อเฟื้อต่อกัน ซึ่งสิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ล้วนเป็นสิ่งที่ช่วยให้ประเทศชาติของเราสามารถที่จะพัฒนาไปอยู่ในระดับที่สูงขึ้นได้ นางสาวศรัณี จ�ำนงค์ประโคน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1
104
ความส�ำคัญของการเรียนภาษาจีน “ภาษาทีม่ คี นพูดมากทีส่ ดุ ภาษาหนึง่ เศรษฐกิจทีข่ ยายตัวเร็วทีส่ ดุ ในโลก มหาอ�ำนาจ ประเทศใหม่ ที่โลกจับตา สาธารณรัฐประชาชนจีน” จากการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ส่ ง ผลท�ำให้ ส าธารณรั ฐ ประชาชนจี น มี บ ทบาททั้ ง ต่ อ ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ บนโลก เห็ น ได้ จ ากการที่ องค์กรสหประชาชาติได้จัดให้ภาษาจีนเป็นหนึ่งในห้าภาษาหลักที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร และด้วย ความส�ำคั ญ ของภาษาจี น กลางเป็ น หนึ่ ง ในภาษาต่ า งประเทศอั น ดั บ ต้ น ๆ ที่ ไ ด้ รั บ ความสนใจ จากผู้เรียนภาษาในหลายประเทศทั่วโลก ผู ้ เขี ย นภาคภู มิ ใจที่ โรงเรี ย นของเราเห็ น ความส�ำคั ญ ของภาษาจี น จั ด การเรี ย นการสอนภาษาจี น โดยเหล่ า ซื อ เจ้ า ของภาษาอยู่ใ นทุก ระดับ ชั้น ที่น่าทึ่ง กว่านั้นคือ เปิดแผนการเรียน สายศิล ป์-จีน เพิ่มในชั้น ม.4 ทั้งนี้นักเรี ย น จะได้มีความรู้ และเป็นการปูความรู้ขั้นพื้นฐานในการเรียนภาษาจีนเพื่อน�ำไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าการเรียนรู้ภาษาจีนย่อมมีประโยชน์และส�ำคัญอย่างยิ่ง ถ้าอยากเรียนภาษาจีนให้เก่งและประสบความส�ำเร็จ เราต้องมีใจรักภาษาจีนเป็นล�ำดับแรก ต่อมาอ่านพินอินให้คล่อง จ�ำค�ำศัพท์ในบทเรียนให้ได้ การจ�ำอักษรภาษาจีนเป็นอักษรภาพ รู้การวางรูปประโยคในภาษาจีน หากเราอยากเก่ง ทักษะด้านไหน ไม่ว่าจะเป็น ฟัง พูด อ่าน เขียน ก็ต้องฝึกด้านนั้นบ่อย ๆ ทบทวนบทเรียนซ�้ำ และสุดท้ายเตรียมตัวก่อนเรียน บทต่อไป นางสาวธนัญนภรณ์ จิตต์ประวัติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
รักในวัยเรียน
รักในวัยเรียน เหมือนจุดเทียนกลางสายฝน ดิฉันคิดว่าค�ำนี้เป็นค�ำที่ทุกคนเคยได้ยินจนชินหู และความหมายของมันก็ตรงตัว ถ้าเปรียบความรักคือการจุดเทียน เวลาในการจุดนั้นไม่เหมาะสม เทียนเล่มนัน้ ย่อมไม่ตดิ นัน่ หมายความว่า การมีความรักในวัยเรียนนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งทีผ่ ดิ แต่เราต้องรูข้ อบเขต อยู่ในกรอบของผู้ปกครองและควรวางตัวให้เหมาะสม การมีความรักไม่ใช่เรือ่ งทีใ่ ครจะมีกนั ก็ได้ ความรักไม่ใช่แฟชัน่ ทีเ่ ห็นใครมีกอ็ ยากมีบา้ ง แต่ความรัก นีม้ นั ต้องเกิดจากคนสองคนทีม่ คี วามรูส้ กึ ดีตอ่ กันหรือทีใ่ นวัยรุน่ เรียกว่า “เคมีตรงกัน ความสัมพันธ์จงึ เกิด” เมือ่ มีความรักเกิดขึน้ ย่อมมีสงิ่ ทีต่ ามมา ทัง้ ในด้านดีและไม่ดี อยูท่ วี่ า่ เราจะพาตัวเองเลือกเดินไปทางไหน ถ้าเราเลือกที่จะมีความรัก เราควรรักตัวเองให้มาก ๆ และอย่ามอบความรักทั้งหมดที่เรามีให้กับคน ทีเ่ ราเรียกว่า “แฟน” เหตุผลส�ำคัญทีเ่ ราควรรักตัวเองให้มาก ๆ คือ คนทีค่ บกันตัง้ แต่วยั เรียนแล้วจะได้เป็นคูท่ แี่ ต่งงานกันจริง ๆ มีจ�ำนวนน้อยมาก ถ้าวันนีเ้ รายอมมอบทุกอย่างให้กบั คนรัก ถ้าวันนีเ้ ราพลาดท�ำอะไรทีผ่ ดิ และไม่ถกู ต้องลงไป คนทีเ่ สียเปรียบ มากที่สุดและเสียใจมากที่สุดคือตัวเรา ข้อดีของความรักมีอยู่มาก คือ เราจะได้รับประสบการณ์ในการมีความรัก รู้ว่า ความรักนั้นเป็นสิ่งสวยงาม ความรักท�ำให้เรามีความสุข ไม่เครียด อารมณ์ดีตลอดเวลา มีพลังในการท�ำบางสิ่งมากขึ้น แต่ก็อยากให้มองข้อเสียของความรักที่มีมากเช่นกัน คือ ท�ำให้เสียการเรียนถ้าเราจัดการกับปัญหาของความรักนั้นไม่ได้ ความรักในวัยเรียน เป็นเพียงอารมณ์ชั่วขณะ อยากรู้อยากลอง อย่างไรก็ตาม ดิฉันก็ยังเห็นว่าความรักของมนุษย์เป็นเรื่องที่ดี รักแบบไหนที่ท�ำให้เรามีคุณค่า และใครคือคนที่เรา ควรรักมากที่สุด ใครคือคนที่ดูแลเราดียิ่งกว่าไข่ในหิน รักเรายิ่งกว่าชีวิต เป็นห่วงและหวังดีกับเราสุดหัวใจ คนคนนั้นก็คือ พ่อและแม่ของเรา ความรักไม่ใช่เรื่องที่น่ากลัวมีแต่ใจเราเองนี่แหละ ที่คอยท�ำร้ายเราเมื่อเราหลงผิดในความรัก นางสาวชนามาส อนันตกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
105
“เราจะสร้างเด็กจิ๋ว...ให้เป็นเด็กแจ๋วได้อย่างไร”
เด็กแต่ละคนย่อมมีความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นผิวพรรณ รูปร่างหน้าตา นิสัยใจคอ บุคลิกภาพ ความรู้สึกนึกคิด รวมถึงทักษะชีวิตก็มีความแตกต่างกัน ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่ และคุณครู ต้องดูแลเด็ก ๆ เหล่านี้ให้ดีที่สุด เพราะเด็ก ๆ จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูง เฉลียวฉลาด มีความคิดที่ดี ประสบความส�ำเร็จสูงสุดในชีวิต “เราจะมีวิธีการสร้างเด็กจิ๋ว ๆ ของเราให้เป็นเด็กแจ๋วในอนาคตได้” คุณครูจึงขอแนะน�ำ การดูแลเด็กจิ๋วที่มีปัญหาเรื่องการอ่านไม่คล่องและเขียนไม่ได้ ให้อ่านออกและเขียนได้ ก่อนอื่น ครูและพ่อแม่ต้องรู้และเข้าใจในเรื่องพัฒนาของลูก ๆ ในแต่ละคนก่อน และสืบค้นหา สาเหตุ เมื่อพบแล้วจะได้หาทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน กลุ่มที่อ่านไม่คล่อง เขียนไม่ได้ กลุ่มนี้คุณครูต้องเข้าใจและเอาใจใส่ดูแลเป็นกรณีพิเศษ โดยการให้ความรัก ความเมตตา ความอดทน ความมานะพยายาม ยอมสละเวลาให้กับลูกศิษย์เหล่านี้อย่างเต็มที่ เนื่องจากมีการพัฒนาด้านการอ่าน การเขียนช้า ซึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน เวลา ความรัก และความเอาใจใส่ จะช่วยให้เด็ก ๆ กลุ่มนี้ยอมเปิดใจและเปิดรับใน สิ่งที่ครูพร้อมจะมอบให้ *เทคนิคในการสอนเด็กจิ๋ว* ✏ สร้างความเร้าใจ ความสนใจ ให้อยากเรียนก่อน เมื่อเริ่มเรียน ควรสอนจากสิ่งง่าย ๆ ไปหาสิ่งที่ยาก ✏ ใช้สื่อการสอนความเป็นของจริง ✏ สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม ✏ สอนแบบตอกย�้ำ ซ�้ำเติมบ่อย ๆ และให้เข้าใจก่อนท�ำแบบฝึกหัด ฝึกจนให้เกิดความช�ำนาญแล้วจึงขึ้นเรื่องใหม่ ✏ สอนการอ่าน ต้องสอนแบบเสียงให้ชัดเจน ถูกต้องตามอักขระวิธี และต้องสอนแบบคล่องแคล่ว การสอนอ่าน จุดเริ่มต้นต้องรู้จักพยัญชนะ สระทั้งสระเดี่ยว และสระประสมให้คล่อง จึงน�ำไปสู่การเขียนได้ การอ่านควรเน้นย�้ำ การอ่านแบบแจกลูกค�ำ แล้วจึงอ่านเป็นค�ำ ✏ สร้างบรรยากาศให้น่าเรียนเสมอ ✏ สร้างขวัญและก�ำลังใจ เช่น การกล่าว ค�ำชมเชย การปรบมือ การให้ดาว ให้คะแนน ✏ ต้องสร้างความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ ท�ำให้เด็ก ๆ ไว้วางใจ เชือ่ ใจ จากนัน้ เราจะอบรม สัง่ สอนอะไร ลูก ๆ ก็จะท�ำให้ดว้ ยความเต็มใจ ผลที่ได้ก็จะท�ำให้เด็ก ๆ เหล่านี้เกิดการพัฒนา คิดเป็น ท�ำเป็น แก้ปัญหาเป็น และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข จากประสบการณ์ของคุณครูเอง ลูกศิษย์กลุ่มนี้จะนึกถึงครูจะกลับมาหา มาเยี่ยม มาขอบคุณ โดยเฉพาะวันไหว้ครู เด็ก ๆ จะน�ำพวงมาลัยมาไหว้ทกุ ปี จนบางคนเรียนถึงระดับมัธยมปลายก็ยงั คงนึกถึงครูมาทุกปีไม่เคยขาด มาด้วยใจ รุน่ พี่ ๆ ทีจ่ บไป บางคนมีงานท�ำแล้ว ก็กลับมาขอบคุณอีกครั้ง ท�ำให้ผู้เขียนมีความภาคภูมิใจ และตื้นตันใจที่สุดที่ได้เห็นลูกศิษย์ทั้งหลาย ประสบ ความส�ำเร็จในชีวิต เป็นคนดีในสังคมและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข คุณครูหวังว่า แนวทางเหล่านี้จะช่วยพัฒนาเด็กจิ๋ว ๆ ที่ยังอ่านไม่คล่อง เขียนไม่ได้ ให้มีพัฒนาการที่ดีขึ้น และคงจะเป็น ประโยชน์ต่อผู้อ่านบ้างไม่มากก็น้อย ครูอภิญญา กาญจนดิษฐโอภาส
106
รากของการศึกษาอาจขม แต่ผลของมันนั้นหวาน ส�ำหรับข้าพเจ้าแล้ว ไม่มีอาชีพไหนเลยที่จะวิเศษและยิ่งใหญ่เท่ากับอาชีพครู และไม่ม ี อาชีพไหนเลยที่จะก�ำหนดชะตากรรมของประเทศเหมือนที่ครูท�ำได้ ไม่มีอาชีพไหนเลย ที่จะช่วยให้ อนาคตของโลกเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีนอกจากอาชีพ “ครู” ในฐานะครู ที่ถือว่าได้ท�ำหน้าที ่ อันเป็นประโยชน์ต่อชาติบ้านเมือง จงภาคภูมิใจที่ได้ท�ำหน้าที่อันใหญ่ยิ่งนี้ ในฐานะที่เป็นครูคนหนึ่ง จึ ง อยากเชิ ญ ชวนให้ คุ ณ ครู ทุ ก คนได้ ใช้ ห น้ า ที่ เร่ ง สร้ า งความดี แ ละสร้ า งบารมี ใ ห้ เ ต็ ม ที่ ตั้ ง แต่ วั น นี้ เพราะเมื่ อ เกษี ย ณไปแล้ ว เวลานึ ก ย้ อ นกลั บ มาถึ ง อดี ต ก็ จ ะได้ เ กิ ด ความภาคภู มิ ใ จในความดี ที่ ท�ำไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการให้ความรู้และการปลูกฝังคุณธรรมให้กับลูกศิษย์ตนเอง ยิ่งมีความทุ่มเทในการสอน สิ่งดีงาม และท�ำความดีให้ดูเป็นแบบอย่างมากเท่าใด คุณครูก็ยิ่งปลื้มปีติและภาคภูมิใจมากขึ้นในบั้นปลายชีวิตอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ไม่มีเงินทองหรือทรัพย์ใด ๆ จะสามารถน�ำมาแลกกับความปลื้มปีติจากการสร้างสรรค์สิ่งดีงาม ที่ก่อให้เกิดต่อมวลมนุษย์ สังคมและชาติบา้ นเมือง อย่ามัวแต่หว่ งประโยชน์ของตน ดังพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ที่พระราชทานแก่ครูอาวุโส ในโอกาสเข้าเฝ้าฯ วันเสาร์ ที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๒๑ ความว่า “ถ้าครูไม่ห่วงประโยชน์ที่ควรจะห่วง หันไปห่วงอ�ำนาจ ห่วงต�ำแหน่ง ห่วงสิทธิ์ และ ห่วงรายได้กันมากเข้า ๆ แล้ว จะเอาจิตเอาใจที่ไหน มาห่วงความรู้ ความดี ความเจริญของเด็ก ความห่วงในสิ่งเหล่านั้น ก็จะค่อย ๆ บั่นทอนท�ำลายความเป็นครูไปจนหมดสิ้น จะไม่มีอะไรเหลือไว้ พอที่ตัวเองจะภาคภูมิใจ หรือผูกใจใครไว้ได้ ความเป็นครูก็จะไม่มีค่าเหลืออยู่ให้เป็นที่เคารพบูชาอีกต่อไป” ดังนั้นจงท�ำตนให้เป็น “ครูอาชีพ” คือ ครูที่มีความรู้ ความสามารถ ความเมตตากรุณา จิตวิญญาณของความเป็นครู ในการอบรมสั่งสอนนักเรียนอย่างสุดความสามารถ โดยไม่รู้จักเหน็ดจักเหนื่อย แม้ว่าปัจจุบันจะมีบุคคลที่ได้ชื่อเป็นเพียง ผู้ประกอบ “อาชีพครู” แอบแฝงในแวดวงครูอยู่บ้างก็ตาม แต่ครูก็ยังมีความเชื่อว่าครูส่วนใหญ่ต่างมีความเป็น “ครูอาชีพ” อย่างเต็มเปี่ยมแน่นอน ซึ่งในสังคมปัจจุบันจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาก็อย่าท้อถอย ครูจงเร่งพัฒนาความสามารถ ด้านการสอน โดยการจัดการองค์ความรู้ที่จะสอนอย่างมีคุณภาพ ทั้งในแง่การพัฒนาความรอบรู้ ในเนื้อหาสาระของวิชา ที่จะสอนอย่างลึกซึ้ง เน้นการอบรมสั่งสอนที่พัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย สุขภาพจิต เพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ได้อย่างมีความสุข โดยเน้นการด�ำรงชีวิตอย่างมีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ด�ำรงชีวิตอย่างเหมาะสม กับฐานะ มีความรักศรัทธาและยึดมั่นในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพ และเป็นมิตรกับลูกศิษย์ ให้สมกับที่สังคมมักเปรียบเปรย อาชี พ ครู ไว้ กั บ หลายสิ่ ง ด้ ว ยกั น ไม่ ว ่ า จะเป็ น เรื อ จ้ า ง แสงเที ย น พ่ อ พิ ม พ์ แ ม่ พิ ม พ์ เบ้ า หลอม ผู ้ น�ำทาง ดวงประที ป ซึ่งครูปกติทั่วไปนั้นท�ำได้แค่บอกเล่า ครูที่ดีจะท�ำหน้าที่อธิบายครูที่เหนือกว่าใช้วิธีแสดงให้เห็น แต่ “ครูที่ยิ่งใหญ่นั้นจะสร้าง แรงบันดาลใจ” จึงขอเชิญชวนครูท่านมาเป็น “ครูที่ยิ่งใหญ่” กันเถอะค่ะ ครูวิทยา บุตรศรีรักษ์
107
กิจกรรม ป.1/1 “ตั้งใจ ตั้งจิต ศิษย์บูชาครู” กิจกรรมวันไหว้ครูของทุกปี ทางโรงเรียนให้นักเรียนทุกระดับชั้นร่วมกันแสดง ความกตัญญูกตเวทีต่อคุณครูผู้มีพระคุณ โดยให้เด็ก ๆ ทุกคนร่วมกันท�าพานไหว้ครู เด็ก ๆ มีความสุขมากทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วมในการท�าพานในครัง้ นี ้ ทุกคนร่วมกันเตรียมดอกไม้ และอุปกรณ์ทา� พาน ตัง้ ใจเรียนกันตัง้ แต่เช้า เพือ่ ช่วงบ่ายจะได้ทา� พานกันอย่างมีความสุข ถึงแม้วา่ เด็ก ๆ ป.1/1 จะเป็นมือใหม่ เพิง่ จะท�าพานไหว้ครูเป็นปีแรก แต่เด็กๆ ก็ชว่ ยกัน คนละไม้คนละมือ โดยมีคณ ุ ครูชว่ ยดูแลและช่วยสร้างสรรค์ผลงานกันอย่างมีความสุข
กิจกรรม ป.1/2 “ดนตรี คือชีวิต” นักเรียนมีความสุขทุกครั้งที่ได้เรียน วิชาดนตรีสากล ได้เรียนรู้ตัวโน้ต และฝึก ปฏิบัติด้วยตนเอง โดยแบ่งกลุ่ม ช่วยกัน ฝึกปฏิบัติ เล่นเอง ฟังเอง มีรอยยิ้มตลอด ชั่ ว โมงที่ เรี ย นรู ้ เด็ ก เกิ ด สุ น ทรี ย ภาพ ทางดนตรี มีความกระตือรือร้นในการเรียน และได้รับความเพลิดเพลินสนุกสนาน มากค่ะ
กิจกรรม ป.1/3 “นักส�ารวจน้อย” นักเรียนได้ไปส�ารวจต้นไม้รอบ ๆ บริ เวณโรงเรี ย น ว่ า โรงเรี ย นของเรามี ต้นไม้ชนิดใดบ้าง นักเรียนเคยเห็นหรือไม่ มีลกั ษณะอย่างไร เป็นการเรียนรูน้ อกห้องเรียน ที่มีความสุขและสนุกสนาน นักเรียนเริ่ม เดินส�ารวจจากหน้าตึกประถม บริเวณโดม หน้าเสาธง ลัดเลาะไปบริเวณลานจอดรถ และย้อนกลับมาทีห่ ลังตึกประถม หลังจากนัน้ นักเรียนขึ้นมาสรุปความรู้บนห้องเรียน เต้นประกอบเพลงกิง่ ก้าน ใบ อย่างมีความสุข
108
กิจกรรม ป.1/4 “วัน เดือน ปี...จ�าให้ดี เขียนให้เป็น” นักเรียนร่วมกันบอกชื่อวันทั้งเจ็ด เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากนัน้ ก็ ร่วมกันท่อง 1 ปี มี 12 เดือน จับคูบ่ ตั รเดือน ภาษาไทยกั บ บั ต รเดื อ นภาษาอั ง กฤษ ให้ถูกต้อง เป็นคู่ๆ ฝึกอ่านและฝึกเขียน จนช�านาญ ท�าให้นักเรียนได้รับความรู้ ควบคู่ไปกับความสนุกสนาน
กิจกรรม ป.1/6 “งามอย่างไทย : การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์” นักเรียนฝึกกราบพระรัตนตรัย โดย การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ นักเรียน ฝึกปฏิบัติเป็นกลุ่ม จากนั้นฝึกปฏิบัติเป็น รายบุคคล โดยครูสาธิตให้ด ู และคอยแนะน�า ให้ปฏิบัติอย่างถูกต้อง ทดสอบปฏิบัติการ กราบเป็นรายบุคคล ซึ่งนักเรียนสามารถ ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม ป.1/5 “แหล่งทีอ ่ ยูอ ่ าศัย ของสัตว์” นักเรียนได้ทา� กิจกรรมร่วมกันเป็นกลุม่ โดยเล่นเกมการจ�าแนกประเภทของสัตว์ ตามแหล่ ง ที่ อ ยู ่ อ าศั ย และบู ร ณาการ กับวิชาคณิตศาสตร์ ด้วยการนับจ�านวน ขาของสัตว์ รวมจ�านวนขา เพื่อเป็นการ กระตุ้นให้คิดไว คิดคล่อง อีกทั้งเป็นการ ส่ ง เสริ ม ให้ รู ้ จั ก การท� า งานเป็ น ที ม ช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น เด็ ก ๆ ชอบ กิ จ กรรมนี้ ม าก เพราะเป็ น การเรี ย นรู ้ ควบคู่ไปกับการเล่น
กิจกรรม ป.1/7 “เรียนจีนอย่างมีความสุข สนุกไปกับค�าศัพท์” นักเรียนร่วมกันบอกค�าศัพท์ภาษาจีน เกี่ ยวกั บชื่ อประเทศแต่ล ะประเทศเป็ น ภาษาจีน โดยดูจากธงชาติของประเทศต่าง ๆ บางคนจ�าได้บา้ งจ�าไม่ได้บา้ ง แต่เมือ่ ฝึกพูด ซ�้า ๆ จนช�านาญ เด็ก ๆ ก็สามารถจดจ�าได้ จากนั้ น ก็ ร ่ ว มกั น แข่ ง ขั น ทายค� า ศั พ ท์ ชือ่ ประเทศจากธงชาติ สร้างความสนุกสนาน ควบคู่ไปกับความรู้ภาษาจีน
การเรียนในวิชาภาษาอังกฤษนักเรียนได้เรียนเรื่องการจัดประเภทของ สัตว์ต่าง ๆ โดยมีกลุ่ม Mammals Reptiles Insects Birds นักเรียนสนุกสนานกับการเรียนเพราะเด็กได้ เข้ากลุม่ และจ�าแนกภาพสัตว์ตา่ ง ๆ ได้ถกู ต้องตามประเภท เด็ก ๆ อาจมีการโต้แย้งกันแต่ทา� ให้เกิดกระบวนการ แก้ปัญหาภายในกลุ่มซึ่งเด็กสามารถท�างานออกมาได้ดี มีการน�าเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่มเป็นการส่งเสริม ให้นักเรียนกล้าแสดงออกมากขึ้น
อักษรศิลป์เป็นการประดิษฐ์อกั ษรให้สวยงามจากกระดาษเป็นการฝึกในเรือ่ งของตัวอักษร นูนต�่า ช่วยให้นักเรียนมีสมาธิในการท�างาน การเรียนในคาบนี้เป็นการบูรณาการภาษาไทยกับ ศิลปะเข้าด้วยกัน
การเรียนวิชาคณิตศาสตร์สา� หรับเด็กอาจจะยาก จนท�าให้รสู้ กึ ไม่ชอบในการเรียน แต่เมื่อครูได้ปรับกิจกรรมการเรียนให้สนุก และลุ้นไปกับการบวก ลบ เลข ซึ่งไม่ใช่ เพียงการบวก ลบ เลข เท่านั้น ครูได้น�าเกมบิงโกมาให้เด็กเล่น ซึ่งเมื่อตัวเลขที่เด็ก บวก ลบ ได้ตรงกับครูได้อ่านโจทย์ เด็กจะดีใจมาก ๆ หากถูก เพราะจะได้วางหมาก ในกระดาษ กิจกรรมนี้ได้บวก ลบเลข ได้จ�านวนโจทย์ที่เพิ่มมากกว่าการเรียนปกติ อย่างแน่นอน
การทดลองการซึมผ่านของน�า้ ในดินแต่ละชนิด ซึง่ การทดลองนีเ้ ด็กจะได้ ปฏิบัติร่วมกันเป็นกลุ่ม จากกิจกรรมท�าให้ทราบว่าดินในที่ต่าง ๆ จะมีสมบัติ ทางกายภาพแตกต่างกัน น�ามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจ�าแนกดินประเภทต่าง ๆ ของดิน ประโยชน์ของกิจกรรมนี้ เด็กจะได้ฝึกการสังเกตและน�าขั้นตอน ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ได้อย่างเหมาะสม
การเรียนวิชาภาษาไทยในเรื่องการประสมค�านั้น ปัญหาที่พบคือเด็กบางคนยังจดจ�า สระไม่ได้ และเบื่อการท่องสระแบบเดิมบนกระดาน ครูจึงมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียน โดยจัดกิจกรรมที่นักเรียนสนุกเพลิดเพลินในการฝึกประสมค�า และสามารถน�าสระมาประสม ได้ถูกต้อง โดยน�าสื่อบัตรค�าที่สามารถเลื่อนสระได้มาประสมกับพยัญชนะต่าง ๆ ได้ถูกต้อง มากขึ้น
การเรียนเรื่องน�้าเป็นปัจจัยการเจริญเติบโต ซึ่งพืชที่ใช้การทดลองนี้เลือกใช้ถั่วเขียว เด็ก ๆ เริ่มตั้งแต่ การเพาะถัว่ เขียวจนเริม่ งอกการทดลองใช้เวลา 1 สัปดาห์ เด็ก ๆ ให้ความสนใจและเฝ้าดูตน้ ถัว่ ของตนเองมาก เปรียบเทียบระหว่างต้นถั่วเขียวที่รดน�้าเช้าเย็นกับไม่รดน�้า เด็กๆ จะคอยมารายงานครูตลอดถึงการเติบโต ของต้นถั่ว และเมื่อสิ้นสุดการทดลองเด็ก ๆ ดีใจกันทุกคนที่ได้ต้นถั่วของตนเองกลับบ้าน และยังได้เรียนรู้ เมื่อจบการทดลองในห้องเรียนเพราะเด็ก ๆ ได้เอาไปปลูกลงกระถางที่บ้านด้วย
109
ป.3/1 “โมบายกระดาษ” กิจกรรมโมบายกระดาษท�ำให้นกั เรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นั ก เรี ย นได้ ส ร้ า งสรรค์ จิ น ตนาการของตนเอง ออกแบบ โมบายพั บ จากกระดาษสี สั น สวยงาม ร้ อ ยด้ ว ยเชื อ กไหมพรม สามารถน�ำไปแขวนประดับตกแต่งห้องได้และนักเรียนยังได้น�ำ สิ่งของเหลือใช้มาใช้ให้เกิดประโยชน์อีกด้วย ป.3/2 “กระปุกใส่ดินสอสี” ในการท�ำงานของนักเรียนชั้น ป.3/2 ให้มสี สี นั สวยงาม สิง่ ทีข่ าดไม่ได้เลยก็คอื สีไม้ แต่ในการน�ำขึ้นมาใช้งานในแต่ละครั้งนั้น มั ก จะพบปั ญ หาการหยิ บ ใช้ ที่ ไ ม่ ส ะดวก บางครั้งก็ตกร่วงจากโต๊ะ อีกทั้งยังกินพื้นที่ การท�ำงานบนโต๊ะเรียน ท�ำให้ท�ำงานได้ไม่ สะดวก เด็ก ๆ เห็นว่ามีขวดน�้ำพลาสติก ที่เหลือใช้มากมาย จึงน�ำมาท�ำให้เกิดคุณค่าโดยการประดิษฐ์เป็น กระปุกใส่ดินสอสี เอามาให้คุณครูช่วยตัดกลางขวดให้ แล้วหนู ๆ ก็ตกแต่งตามความชอบ เพียงเท่านี้ก็ได้กระปุกใส่ดินสอสีที่ท�ำได้ ง่าย ๆ ด้วยตัวเอง ใช้งานสะดวก เก็บก็ง่ายไม่เปลืองพื้นที่การท�ำงาน
ป.3/3 “จิ๊กซอว์เรขาคณิต” เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กได้ วางแผนร่ ว มกั น ท�ำงานเพื่ อ ให้ ส�ำเร็ จ โดยการเล่นเกมจิ๊กซอว์จะช่วยให้เด็ก ได้ความสามัคคีในกลุม่ ได้รจู้ กั กฎระเบียบ ในการเล่ น ซึ่ ง สามารถน�ำไปประยุ ก ต์ ในการเรียนได้ให้รู้จักกฎระเบียบในการท�ำงานการเรียนการส่งงาน และยังเป็นสร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินได้ด้วย
ป.3/4 “ที่คั่นหนังสือน่ารัก” กิ จ กรรมที่ คั่ น หนั ง สื อ จั ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ได้ ใช้ เวลาว่ า งให้ เ ป็ น ประโยชน์ ฝึกการประดิษฐ์ ความคิดสร้างสรรค์ และ ใช้งานได้จริง สามารถน�ำไปต่อยอดสร้าง ผลงานอื่น ๆ ได้
110
ป.3/5 “บ้านแห่งจินตนาการ” พวกเราได้ ส ร้ า งสรรค์ จิ น ตนาการความคิ ด ในเรื่ อ งของบ้ า น แห่งจินตนาการในอนาคต โดยการท�ำกิจกรรมนี้ได้ฝึกให้เด็กได้ใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นกิจกรรมฝึกความคิดที่สร้างสรรค์ และสร้างจินตนาการ และยังช่วยให้มีสมาธิในการท�ำงานมากขึ้น
ป.3/6 “ฉันอยู่หน้านี้ (ที่คั่นหนังสือ)” กิจกรรมของห้องเราคือ ประดิษฐ์ที่คั่นหนังสือ เป็นสิ่งที่ส�ำคัญ ส�ำหรับนักอ่านหนังสือทั้งหลายที่ควรจะมีไว้ เพื่อส�ำหรับจดจ�ำ หน้าหนังสือที่เราอ่านค้างไว้ เพื่อประโยชน์ในการกลับมาอ่าน หน้าเดิมได้ง่ายและรวดเร็ว ไม่ต้องเสียเวลาในการค้นหา วัสดุที่ น�ำมาใช้ ได้แก่กระดาษ ดินสอ สี วัสดุธรรมชาติ เชือก จากนั้นน�ำมา ประดิษฐ์ตามใจชอบ และสามารถน�ำมาเป็นของสะสมในรูปแบบ ต่าง ๆ ได้ ป.3/7 “ฉันเป็นมากกว่าแกนกระดาษ” นักเรียนได้น�ำของเหลือใช้เช่นกระดาษสี และแกนกระดาษทิชชูทใี่ ช้หมดแล้วมาประดิษฐ์ เป็นที่ใส่ของต่าง ๆ ตามประโยชน์ใช้สอยของ แต่ละคน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย นักเรียน สามารถท�ำได้ ด ้ ว ยตนเอง และออกแบบ สิ่งประดิษฐ์ตกแต่งได้ตามต้องการ และยัง สามารถประดิษฐ์เป็นของเล่นได้อีกด้วย ป.3/8 “ฉันเป็นกุหลาบแสนสวย” นักเรียนน�ำกระดาษสี หรือกระดาษ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ที่ เ หลื อ ใช้ ม าประดิ ษ ฐ์ เป็นดอกกุหลาบเพื่อใช้ในการตกแต่ง อุ ป กรณ์ ข องเล่ น ของใช้ เ พื่ อ ให้ ม ี ความสวยงามมากยิ่งขึ้นโดยตัดกระดาษให้ เ ป็ น วงกลม แล้ ว ตั ด ในแนวเฉียงจากนอกสู่ข้างในหลังจากนั้นก็ม้วนกระดาษและติดกาว ก็จะได้กุหลาบไว้ตกแต่งสิ่งของต่าง ๆ
111
ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การเตรียมลูกให้พร้อมรับมือกับโลกเป็นสิ่งที่ พ่อแม่ยุคนี้ต่างเป็นกังวล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงประเทศเข้าสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งโครงสร้างเศรษฐกิจจะถูกขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ยุคที่สมองกล อัจฉริยะถูกน�ามาใช้แทนแรงงานและสมองคน เด็กที่ปรับตัวไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลง อาจไม่สามารถแข่งขันและอาจจะสูญเสียโอกาสทีจ่ ะประสบความส�าเร็จ เด็กไทยยุคนีจ้ งึ ต้องฉลาด และมีทักษะที่หลากหลาย เพื่อพร้อมสู่การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนไปของโลกและ สังคมในอนาคต คุณพ่อคุณแม่จงึ ต้องเตรียมความพร้อมเพือ่ สร้างอนาคตให้ลกู น้อยตัง้ แต่วนั นี้ โดยเฉพาะพ่อแม่ที่มีลูกเล็ก ๆ ในวัยอนุบาลควรคิดเสมอว่า พ่อแม่คือครูที่ดีที่สุด ต้องเชื่อมโยง และเปิดกว้างทางความคิดทีห่ ลากหลายให้แก่ลกู ให้มากทีส่ ดุ เพราะการเรียนรูส้ ามารถเกิดขึน้ ได้ ทุกช่วงชีวิต ดังนั้นการที่ลูกมีความสุข มีสมองที่แจ่มใสพร้อมที่จะเรียนรู้จึงเป็นเรื่องที่ส�าคัญ การเตรียมสมองของลูกให้พร้อมส�าหรับก้าวทันโลกนัน้ ท�าได้ทงั้ ผ่านการฝึกฝนทางความคิดและ การเตรียมความพร้อมผ่านโภชนาการ ซึง่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์พงษ์ศกั ดิ ์ น้อยพยัคฆ์ กุมารแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญด้านพัฒนาการและพฤติกรรม รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ได้ให้ความเห็นในเรื่องนี้ว่า “พ่อแม่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการในแต่ละช่วงวัยของเด็ก เพือ่ ทีจ่ ะสามารถส่งเสริม 4 ทักษะแห่งอนาคต อาทิ การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การร่วมมือ กันท�างานและการสือ่ สาร ซึง่ เป็นทักษะทีจ่ า� เป็นส�าหรับการรับมือต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก ในปัจจุบัน” และส�าหรับช่วงเวลาที่เด็กจะพัฒนาสมองมากที่สุด คือตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงสาม ขวบของชีวิต เพราะเป็นช่วงที่โครงสร้างของสมองจะมีการพัฒนาระบบการท�างานที่ซับซ้อน เพื่อการท�างานอย่างไร้ขีดจ�ากัด จะสามารถเชื่อมโยงและต่อยอดการเรียนรู้จากเรื่องหนึ่งไปสู่ อีกหลายล้านเรือ่ งได้นนั่ คือ การพัฒนาสิง่ ทีเ่ รียกว่า ไซแนปส์ (Synapse) ทีจ่ ะเชือ่ มโยงระหว่าง เซลล์สมองเกิดเป็นโครงข่ายเส้นใยประสาทนับล้านโครงข่าย ก่อให้เกิดการสือ่ สารระหว่างเซลล์ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะได้มาจากสารอาหารที่เด็กได้รับ ร่วมกับการกระตุ้นผ่านกิจวัตร ประจ�าวัน อย่างการคิด พูด ฟัง มอง เห็น และการเคลื่อนไหว “สารอาหารทีค่ รบถ้วนจึงเป็นส่วนส�าคัญในการเตรียมสมองและพัฒนาทักษะของเด็ก ซึ่งมีหลักการง่าย ๆ อยู่ว่า ตั้งแต่ขวบปีแรกอาหารหลัก คือ นม จากนั้นเริ่มเพิ่มอาหารเสริม ตามวัยได้หลังจากอายุสถี่ งึ หกเดือน หลังจากหนึง่ ขวบเป็นต้นไป อาหารหลักก็คอื อาหารสามมือ้ ที่มีสารอาหารครบห้าหมู่เหมือนที่พ่อแม่กิน และมีนมเป็นอาหารเสริม” “อนาคตที่สดใส” ของลูก ๆ คือความหวังอันสูงสุดของพ่อแม่ทุกคน ไม่ว่าจะมีฐาน ทางสังคม เศรษฐกิจ หรือถิน่ พ�านักใด ๆ ความหวังดังกล่าวนีส้ ร้างแรงขับให้พอ่ แม่แสวงหาแนวทาง จะเลีย้ งลูกและให้การศึกษาอย่างไรดีและทรัพยากรโดยเฉพาะเรือ่ งเงินและเวลา ในการส่งเสริม พัฒนาการของลูกในทุก ๆ ด้าน เด็ก ๆ ในปัจจุบนั นีม้ คี วามโชคดีทไี่ ด้รบั โอกาสในการพัฒนาตนเอง ด้วยสิง่ อ�านวยความสะดวกและทางเลือกต่าง ๆ ทีพ่ อ่ แม่จดั หามาให้ หยิบจับใช้สอยอยูต่ ลอดเวลา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและส่งเสริมให้พวกเราได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร แนวทางและ เทคนิคในการเลีย้ งดูเด็ก และจัดซือ้ สิง่ ของทีต่ อ้ งการจากทัว่ ทุกมุมโลกภายในระยะเวลาอันสัน้ ปัจจัยทั้งหลายเหล่านี้จะเอื้อให้พ่อแม่เลี้ยงลูกให้ง่าย สะดวกและสบายใจ แต่ท�าให้พ่อแม่ มีความรู้สึกว่าตนเองมีความเครียดมากกว่าพ่อแม่รุ่นก่อน? ท�าไมจึงมีรายงานความบกพร่อง ทางพัฒนาการของเด็กไทยจ�านวนไม่น้อย? ท�าไม ความหวังที่ผูกไว้ อนาคตอันสดใสของลูก กับความส�าเร็จทางการศึกษากลับเต็มไปด้วยความสงสัยลังเลว่า ลูก ๆ เราจะเอาตัวรอดไหม ในอนาคต? พ่อแม่อาจจะเริม่ ต้นจากเป้าหมายทีด่ ี เพือ่ ปูทางให้ลกู ๆ ได้เดินทางไปสูอ่ นาคตอันสดใส ดร.มิเชล บาร์บา (Michele Barba) ผู้เชี่ยวชาญการเลี้ยงเด็กได้ให้ข้อคิดในหนังสือชื่อ “The Big Book On Parenting Solutions : 101 Answers to Your Everyday Challenges and Wildest Worries 2009” โดยแบ่งลักษณะของพ่อแม่ที่จะมีผลท�าให้เด็ก ๆ มีพฤติกรรม เบี่ยงเบนไปในทางที่ไม่ปรารถนาไว้ 7 ประเภท คือ
112
1. เฮลิคอปเตอร์ตรวจการณ์ (Helicopter Parenting) ลักษณะเด่นของพ่อแม่ กลุ่มนี้ คือ พฤติกรรมการส�ารวจตรวจสอบ สิง่ ทีเ่ ข้ามาในชีวติ ของลูก ๆ ทุกชนิดและทุกขณะ หากจะเป็นอุปสรรคกีดขวางไม่วา่ เล็กหรือใหญ่ ท้าทายหรือวิกฤต ก็จะขจัดปัดเป่าให้มลาย หายไป ไม่ให้เฉียดเข้าใกล้ลูกน้อยโดยเด็ดขาด เลีย้ งลูกเสมือนไข่ในหิน คอยสนับสนุนดันขึน้ เวที จัดฉากให้สมบูรณ์และถูกต้องที่สุดส�าหรับเด็ก การแก้ไข คือ พวกเราที่เป็นพ่อแม่ ต้ อ งเรี ย นรู ้ ที่ จ ะมี ส ่ ว นร่ ว มในชี วิ ต ของลู ก ในลั ก ษณะที่ จ ะไม่ เข้ า ไปก้ า วก่ า ยในชี วิ ต ของพวกเขา ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ลู ก ๆ ได้ พั ฒ นาความสามารถในการด� า รงชี วิ ต อย่ า งอิ ส ระด้ ว ยตนเองและสามารถที่ จ ะ ด�าเนินชีวิตได้โดยไม่มีเราในบางครั้งคราว 2. หม้ อ เคี่ ย วยา (Incubator “Hothouse” Parenting) ลักษณะเด่น ของพ่อแม่กลุ่มนี้ คือ พฤติกรรมการเคี่ยวเข็ญ ให้ลูกเร่งรัดฝึกหัดสาระการเรียนรู้ที่เร็วหรือ ก้าวหน้ากว่าระดับอายุสมอง (Cognitive age) และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ลูก ๆ ต้องรู้ให้มาก และให้ไวกว่าเพือ่ น ๆ จึงจะได้เปรียบ ต้องเรียนรู้ ก่อนคนอืน่ ๆ เสมอ ๆ ทัง้ ๆ ทีเ่ รือ่ งนัน้ ไม่จา� เป็น หรือเหมาะส�าหรับวัยของลูก ๆ เลยก็ได้ การแก้ไข คือ พวกเราที่เป็นพ่อแม่ ต้ อ งเรี ย นรู ้ ที่ จ ะยอมรั บ ในพรสวรรค์ แ ละ ความสามารถตามธรรมชาติของลูกเรา โดยพวกเรา จะอบรมเลี้ยงดูให้เหมาะสมตามขั้นพัฒนาการ ของลูกเป็นส�าคัญ ไม่ไปตามบรรทัดฐานของ ลูกบ้านอื่น ๆ
3. พลาสเตอร์ปดิ แผล (Quick-Fix Band-Aid Parenting) ลักษณะเด่นของพ่อแม่กลุ่มนี้ คือ พฤติ ก รรมการจั ด การแก้ ไขเรื่ อ งราวต่ า ง ๆ อย่างรวดเร็ว หมดจด ไม่ทงิ้ ร่องรอยใด ๆ ไว้ให้กวนใจ แต่ไม่เคยจะสนใจที่จะหาทางแก้ไขที่จะขจัดหรือ จัดการเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างแท้จริงและได้ผล ในระยะยาว หากลูกหกล้มและมีรอ่ งรอยบาดแผล ตรงไหน ก็รีบปิดพลาสเตอร์ตรงนั้น ไม่สนใจที่จะ สังเกตว่า ลูกเราท�าไมหกล้มบ่อย ๆ แค่เดินเร็ว ๆ หน่อยก็ลม้ วิง่ ตรง ๆ ก็ลม้ ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่มสี งิ่ ของกีดขวาง ใด ๆ เลยที่จริงแล้ว การที่ลูกเราหกล้มบ่อย ๆ อาจจะเกิ ด จากโครงสร้ า งกระดู ก ขาหรื อ เท้ า ที่ผิดปกติ ซึ่งต้องการความช่วยเหลือจากแพทย์ ผู ้ เชี่ ย วชาญด้ า นกระดู ก ในการปรั บ โครงสร้ า ง ของกระดูกขาหรือเท้าก็เป็นได้ การแก้ไข คือ พวกเราทีเ่ ป็นพ่อแม่ตอ้ งเรียนรูท้ จี่ ะต้องใช้เวลาสักระยะในการช่วยเหลือ และหาหนทางให้ลูก ๆ ได้เข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้นว่า อะไรคือสาเหตุของความผิดพลาดนั้น ๆ ? อย่าใจร้อน ต้องค่อย ๆ คุยกับลูก ๆ ในเรื่องต่าง ๆ ทีละเรื่อง ทีละตอน เตรียมใจที่จะต้องใช้เวลา แต่ทั้งหมดก็เพื่อท�าให้ลูกค่อย ๆ เรียนรู้ที่จะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สหายคู่หู (Buddy Parenting) ลักษณะเด่นของพ่อแม่กลุ่มนี้ คือ พฤติกรรม การท�าตัวเหมือนเพื่อนในทุก ๆ เรื่อง โดยไม่เคยคัดค้านหรือปฏิเสธ และไม่มีการจ�ากัดขอบเขต หรือข้อจ�ากัดใด ๆ ทั้งสิ้น ตามใจลูกทุก ๆ อย่างราวจะกลัวว่าลูก ๆ ไม่รักหากไม่ตามใจ การแก้ไข คือ พวกเราที่เป็นพ่อแม่ต้องเรียนรู้ที่จะต้องระบุหรือจ�ากัดขอบเขตและ ข้อจ�ากัดที่ชัดเจนตลอดจนอ�านาจในการควบคุมด้วย เหนือสิ่งอื่นใดพวกเราต้องไม่ลืมว่า สิ่งที่ลูก ๆ ต้องการมากที่สุดจากพ่อแม่ ไม่ใช่ความเป็นเพื่อน แต่เป็นความเป็นพ่อแม่ 5. เครื่องประดับกาย (Accessory Parenting) ลักษณะเด่นของพ่อแม่กลุ่มนี้ คือ พฤติกรรมการประเมินหรือวัดคุณค่าและความส� าเร็จของความเป็นพ่อแม่ด้วยความส� าเร็จ หรือรางวัลต่าง ๆ ที่ลูกได้รับ ความเก่ง ความสามารถ ความโดดเด่นต่าง ๆ ของลูกเสมือน เป็นเครื่องประดับเลอค่าของพ่อแม่ การแก้ไข คือ พวกเราทีเ่ ป็นพ่อแม่ตอ้ งเรียนรูท้ จี่ ะแยกแยะให้ออกว่า ลูกคือสิง่ มีชวี ติ ไม่ตา่ งจากตัวพวกเรา การอบรมเลีย้ งดูกจ็ า� เป็นต้องให้เหมาะสมกับบุคลิก ลักษณะความสามารถ และความต้องการเฉพาะตนของพวกเขา 6. กระต่ายตื่นตูม (Paranoid Parenting) ลักษณะเด่นของพ่อแม่กลุ่มนี้ คือ พฤติกรรมการหวาดวิตกในอันตรายทีจ่ ะมีตอ่ ลูก ๆ ทัง้ ทางกายและทางจิตใจ ทุกเรือ่ งราวส�าคัญ และยิ่งใหญ่เหมือนโลกก�าลังจะแตกและจะอยู่ไม่ได้ การแก้ไข คือ พวกเราที่เป็นพ่อแม่ต้องเรียนรู้ที่จะผ่อนคลายความตึงเครียด ของตนเองโดยไม่สง่ ต่อหรือกดดันไปยังลูก ๆ ทีไ่ ม่รเู้ รือ่ ง และเรียนรูท้ จี่ ะปล่อยให้ลกู ๆ ได้มโี อกาส ที่จะจัดการความยากล�าบากกับชีวิตของตนเองบ้างในบางครั้งบางคราว 7. ตัวส�ารอง (Secondary Parenting) ลักษณะเด่นของพ่อแม่กลุ่มนี้ คือ พฤติกรรม การจ�ากัดบทบาทตัวเองในฐานะพ่อแม่ที่จะมีต่อลูก ๆ เสมือนเป็นตัวส�ารอง ปล่อยให้ลูก ๆ ตัดสินใจท�าอะไรเอง ทุกอย่าง เพราะกลัวจะท�าให้ลูก ๆ ไม่ได้พัฒนาความเป็น ตั ว ของตั ว เองและไม่ มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในตนเอง ซึ่ ง เป็ น พฤติกรรมทีม่ ลี กั ษณะตรงข้ามกับพ่อแม่แบบหม้อเคีย่ วยา (Incubator “Hothouse”Parenting) อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ กลับกลายเป็นว่า ลูก ๆ ได้รบั อิทธิพลจากสภาพ
แวดล้อมรอบข้างอย่างล้นเหลือไม่ว่าจะเป็น ผู ้ ค นรอบข้ า ง บริ ษั ท และหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ตลอดจนการโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ สาธารณะต่าง ๆ มากมาย การแก้ไข คือ พวกเราที่เป็นพ่อแม่ ต้องเรียนรู้ที่จะต้องตระหนักว่า พวกเราคือ ผูท้ รงอิทธิพลทีส่ ดุ ในการแนะน�าและชีแ้ นะลูก ๆ ในด้านค่านิยม ทัศนคติและพฤติกรรมต่าง ๆ รวมทั้งการปกป้องพวกเขาจากพฤติกรรมเสี่ยง ต่าง ๆ โดยเหตุนี้ พวกเราต้องหาแนวทางที่จะ ใช้เวลาอยูก่ บั ลูก ๆ ให้มากขึน้ อย่าหนีหายไปไหน อย่ายกความรับผิดชอบของความเป็นพ่อแม่ ไปให้คนอื่น ๆ และอย่ากลัวว่าลูก ๆ จะไม่เป็น ตัวของตัวเองหากมีพ่อแม่อยู่ด้วย พวกเราลองใช้เวลาสักหน่อยในการ พิ นิ จ พิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรมเลี้ ย งลู ก กั น ดู ว ่ า มี หรือเป็นหรือมีแนวโน้มจะเป็นไปในลักษณะ ทีก่ ล่าวมาข้างต้นทัง้ 7 ขอ้ บา้ งหรือไม่ ประการใด? หากพอจะมีบ้างเป็นครั้งคราว ก็อาจทดลอง ปรับเปลีย่ นแก้ไขพฤติกรรมดังกล่าวนัน้ ทัง้ หมดนี้ ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า พฤติกรรมการอบรม เลี้ยงดูของเราจะน�าพาพวกเขาไปสู่ “อนาคต ที่สดใส” ตามปรารถนาของพวกเราได้ในที่สุด โดยขจั ด หรื อ ลดผลกระทบที่ ไ ม่ ป รารถนา ออกไปให้มากที่สุด ขอให้คุณพ่อคุณแม่มีความสุขในการ เลี้ยงลูกและประสบความส�าเร็จทุกประการ นะคะ อ้างอิงจาก - ดร. นิพทั ธ์ อึง้ ปกรณ์แก้ว กรรมการ ผู ้ จั ด การ บริ ษั ท คลั บ อะคาเดเมี ย จ� า กั ด จากบทความ 7 ประเภท พ่อแม่รงั แกฉันยุค 4.0 “เพราะรักปานชีวิตจึงผิดพลาดพลั้งเผลอ” - ดร. การดี เลีย่ วไพโรจน์ “เมือ่ เด็กไทย เข้าสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 พ่อแม่เตรียมสมองลูก พร้อมกับอนาคตข้างหน้าแล้วหรือยัง” - ดร.มิเชล บาร์บา (Michele Barba) “The Big Book On Parenting”
113
114
คนไทยโชคดีทสี่ ดุ ทีม่ พี ระมหากษัตริยท์ ที่ รงมีพระปรีชาสามารถหลายด้าน พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระองค์นอกจากจะเป็นกษัตริย์นักพัฒนาแล้วยังมี พระปรีชาสามารถด้านกีฬาอีกด้วย สามารถเล่นกีฬาได้หลากหลายชนิดโดยเฉพาะอย่างยิง่ กีฬาเรือใบ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงเข้าร่วมแข่งขันกีฬาแหลมทอง (ปัจจุบนั คือ กีฬาซีเกมส์) ครัง้ ที ่ 4 ทีป่ ระเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ระหว่างวันที ่ 9 ถึง 16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 โดยทรงลงแข่งขัน ในกีฬาเรือใบประเภท โอ เค ซึ่งเป็นเรือที่ทรงต่อเอง ร่วมกับ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี พระราชธิดาพระองค์โต ทรงร่วมการแข่งขันในฐานะนักกีฬาทีมชาติไทยคนหนึ่ง ทรงซ้อมและเก็บตัว เหมือนนักกีฬาทั่วไปและทรงชนะเลิศการแข่งขันเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม โดยทรงขึ้นรับเหรียญทองบนแท่นเหมือนนักกีฬาทั่วไป ในพิธีปิด ณ สนามศุภชลาศัย ซึ่งจากเหตุการณ์นี้ ต่อมาคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบก�าหนดให้วันที่ 16 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันกีฬาแห่งชาติ นอกจากนี้ พ ระองค์ ยั ง เอาใจใส่ แ ละส่ ง เสริ ม นั ก กี ฬ า เห็ น ได้ จ ากที่ พ ระองค์ ท รงพระราชทานพระบรมราโชวาท แก่นักกีฬาเป็นประจ�าไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันในประเทศหรือต่างประเทศ ดังตัวอย่างที่คัดมาให้อ่านในฉบับนี้ “...การกีฬานัน้ ย่อมเป็นทีท่ ราบกันอยูโ่ ดยทัว่ ไปแล้วว่า เป็นปัจจัยในการบริหารร่างกายให้แข็งแรง และฝึกอบรมจิตใจ ให้ผ่องแผ้วร่าเริง รู้จักแพ้ และชนะ ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน มีการให้อภัยซึ่งกันและกัน สามัคคีกลมเกลียวกัน อย่างที่ เรียกกันว่ามี น�้าใจเป็นนักกีฬา...”
“...การกีฬานั้น จะต้องมีการฝึกซ้อมให้ดี ทั้งในทาง วิชาการ คือเทคนิค และทัง้ ในทางกาย คือ ความแข็งแรงสมบูรณ์ ถ้าขาดสองอย่างนี้ จะท�าให้ไม่สามารถปฏิบัติภาระของตัว ให้ได้ชัยชนะ จึงต้องเตรียมตัว เตรียมกายของตนให้ดีเพื่อที่ จะได้ไม่ต้องปราชัย...”
ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทในพิธีเปิดการแข่งขันกรีฑา ประจ�าปี ณ กรีฑาสถานแห่งชาติ วันที่ 1 ธันวาคม 2498
ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ คณะกรรมการจัดการแข่งขันฟุตบอล ส.ส.มหากุศล ณ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ 26 กันยายน 2512
“...ร่างกายของเรานั้น ธรรมชาติสร้างมาส�าหรับให้ ออกแรงใช้งาน มิใช่ให้อยู่เฉย ๆ ถ้าใช้แรงให้พอเหมาะพอดี โดยสม�า่ เสมอ ร่างกายก็เจริญแข็งแรง คล่องแคล่ว ดังนัน้ ผูท้ ปี่ กติ ท�าการงานโดยไม่ได้ใช้ก�าลัง หรือใช้ก�าลังแต่น้อย จึงจ�าเป็น ต้องหาเวลาออกก�าลังกายให้พอเพียงกับความต้องการตาม ธรรมชาติเสมอ ทุกวัน...”
“...นักกีฬาที่ดีนอกจากต้องมีการแสดงทั้งในทางกาย ในทางสมอง คือ ใช้ความคิดและวิทยาการแล้ว ก็ต้องมีจิตใจ เป็นนักกีฬา อันนี้จะท�าให้มีชัยเหมือนกัน ถ้าแสดงตนเป็นคน ทีม่ จี ติ ใจเป็นนักกีฬา จะท�าให้ใจเย็นขึน้ เกิดเรือ่ งอะไรก็สามารถ ที่จะแก้ปัญหาได้...”
ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ ความตอนหนึง่ ในพระราชด�ารัสในพิธเี ปิดการประชุมใหญ่สมั มนา คณะกรรมการจัดการแข่งขันฟุตบอล ส.ส.มหากุศล ณ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ 26 กันยายน 2512 เรื่องการออกก�าลังเพื่อสุขภาพ วันที่ 17 ธันวาคม 2523
“...การรักษาความสมบูรณ์แข็งแรง เป็นปัจจัยของเศรษฐกิจ “...การกีฬานัน้ มีหลักส�าคัญอยูท่ วี่ า่ จะต้องฝึกฝนตนเอง ที่ดีและสังคมที่มั่นคง เพราะร่างกายที่แข็งแรงจะอ�านวยผล ให้แข็งแรง ให้มีความสามารถในกีฬาของตน เพื่อจะพร้อมที่จะ ให้สุขภาพจิตใจสมบูรณ์ และเมื่อมีสุขภาพสมบูรณ์ ดีพร้อมทั้ง ไปปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นการแข่งขันและได้ชยั ชนะมา ถึงเวลาเข้าแข่งขัน ร่างกายและจิตใจแล้ว ย่อมมีก�าลังท�าประโยชน์ สร้างสรรค์ ก็จะต้องตั้งสติให้ดี เพื่อให้ปฏิบัติได้เต็มที่ตามที่ได้ฝึกฝนมา...” เศรษฐกิจและสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่...” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่นักกีฬาที่ จะเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแหลมทองครั้งที่ 5 ณ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ 28 พฤศจิกายน 2512
ความตอนหนึง่ ในพระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยมหิดล ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันที่ 22 ตุลาคม 2522
ทีม่ า: http://www.thaihealth.or.th/Content/21636-%
115
ชื่อ-สกุล
สถานที่ศึกษาต่อ
ชื่อ-สกุล
สถานที่ศึกษาต่อ
เด็กชายสหรัฐ ไทยกฤต
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายกษิดิศ ศิริวัฒนกุล
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
เด็กหญิงเกวลิน ชัยยอดพรม
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงณัฐวรา บุญยังกองแก้ว
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายพีรดนย์ เม้าเขียว
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงจตุษตา พุ่มพะเนิน
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงชนิกานต์ แสงอุทัย
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายณัฐกร วิจิตรกำ�จร
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายธีรธัช ประทุมพิทักษ์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงชุดา เกิดยืนอยู่
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงปภาชุดา หมื่นหาญ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงภรภัค เหมือนแก้ว
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงจีรปริยา จันทผดาวัลย์
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงปาณิศรา วรรณสิริมงคล
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายณัฐชนน แสนสุข
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายพงศ์พีระ กรัณย์เมธาพร
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงสิรินทิพย์ มะลิต้น
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงชรารินทร์ มาจันทร์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายภูริจักษ์ เจียมจันทร์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงธัญลักษณ์ ลาวัลย์วงศ์
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
เด็กชายราชศักดิ์ บุญโท
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงวรลัญธร อักษรณรงค์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงทยิดา ลิอั้ง
ร.ร.สาธิต ม.บูรพา
เด็กหญิงวรินธิดา ชื่นจิตร
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายศิวกร ปัญญาอินทร์
ร.ร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย
เด็กชายธนวิชญ์ ผลาหาญ
ร.ร.สิงห์สมุทร
ชลบุรี
เด็กชายอธิปัตย์ บุญประชม
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายสหฤษฎ์ ชุดชลามาศ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายพีรภูมิ ศรีบุญ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงนันท์นภัส วิกรัยพัฒน์
ร.ร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย
เด็กชายจักรกฤษณ์ มงคล
ร.ร.อัสสัมชัญศรีราชา
ชลบุรี
เด็กหญิงธรรศมน สิงหเสม
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายณัฐสิทธิ์ แจงเล็ก
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงนิชานันท์ ขวัญอยู่
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายณภัทร ศุภพันธุ์มณี
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายปรมัตถ์ อัตธรรมรัตน์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงพนัชกร รัตนสกล
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายวุฒิภัทร สุขปิติ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายภัทรภณ ยิตติพินิจ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงรวมภัทร ตันประเสริฐ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงขัตติยาภรณ์ สวยศรี
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงธัญญาพร คงศร
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
116
ชื่อ-สกุล
สถานที่ศึกษาต่อ
ชื่อ-สกุล เด็กหญิงอรชนก นาวี
สถานที่ศึกษาต่อ
เด็กหญิงนันทรัตน์ กุมสติ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
ร.ร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย
เด็กหญิงศิรประภา วงค์กุลพิลาศ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงบัวชมพู โพธิ์ทอง
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงสุพิชญา งามไตรเลิศ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายบุญศรัณย์ แก้วสง่า
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงศรัณี จำ�นงค์ประโคน
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงชญานิศ ใจตั้ง
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายวรเมธ แปลยาว
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงกมลชนก เบญจจินดา
ร.ร.สิริรัตนาธร
เด็กชายฐานันดร จันทร์กระจ่าง
ร.ร.บรมราชินีนาถ
เด็กหญิงพีรยา กันขาว
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงสิรกิ าญจน์ ทองเกลีย้ งเกตุ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายสิทธิโชค มิรัตนไพร
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายวิศรุต เชี่ยนมั่น
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายถิรภัทร์ เคราะห์ดี
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงวนัชพร ทั่งศรี
ร.ร.ระยองวิทยาคม
เด็กหญิงจิรฐา พวงลำ�ใย
ร.ร.ระยองวิทยาคม
เด็กชายเมธาสิทธิ์ จันศิริรัตน์
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายสิรภัทร หงษ์ทอง
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายเติมพงศ์ บัวประภัสสร
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงภัทราพร บัวกล�่ำ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายรัชชานนท์ โกสินันท์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงภควรรณ บุญชุ่ม
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงปิยพร พันธุ์กสิกรณ์
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงนนทชา คำ�พานิช
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายบุญญฤทธิ์ สุขคง
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงนภัสนันท์ บุญโต
วิทยาลัยอาชีวศึกษา
เด็กชายวาทพงศ์ เผือกสุข
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เทคโนโลยี
เด็กหญิงณัฐพร สกุลเจริญขวัญใจ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
ฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุร)ี
เด็กหญิงพิมพ์ชนก รินทร์วริษฐ์
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายชาญชล หุ่นจีน
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายปัณณวิชญ์ สุทธิประภา
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายวรัญวิชญ์ ทองเขียว
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงจิราภรณ์ พรมรักษ์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายชัยรินทร์ เกิดผล
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงอมรวดี โสดาดง
ร.ร.ระยองวิทยาคม
เด็กชายอรรถพร เอื้อสกุล
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
ชลบุรี
ราชวิทยาลัย เด็กชายสิษฐิ์ฒิโชค ศุภธรรมนิตย์
ร.ร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี
117
ชื่อ-สกุล
สถานที่ศึกษาต่อ
ชื่อ-สกุล
สถานที่ศึกษาต่อ
เด็กหญิงไชยพร รัตนะเหลี่ยม
ร.ร.ศรีอยุธยา
เด็กชายทัดเทพ ปัญญาสกุลวงศ์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงสุดารัตน์ คเจลล์มานน์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายพันธกานต์ วงษ์ดี
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายชัยธวัช เมธาพฤทธิ์
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายหฤษฎ์ ชวะนิตย์
ร.ร.ช่างฝีมือทหาร
เด็กหญิงภัทรมน เปี่ยมพงษ์สานต์
ร.ร.สุคนธีรวิทย์
เด็กหญิงญาดาวดี ชัยสุวรรณ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงชุติมา แซ่จัง
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายนันท์ทัต วงศ์อุดมวัฒนา
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงแจสมิน แคทลิน เฟนตัน
ศึกษาต่อต่างประเทศ
เด็กชายปฏิพล รัตน์ประทุม
ร.ร.สิงห์สมุทร
(อังกฤษ)
เด็กชายวรรธนะ ปรีดาธรรม
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงบุรัสกร อยู่ดี
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงนิชาภา คำ�นึงสุข
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายพันธรัฐ ชวดรัมย์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงจิดาภา พันสะ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายณัฐนนท์ แสนไพศาล
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงปรียาภัทร โตเจริญ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงธมนวรรณ นาประสิทธิ์
ร.ร.ระยองวิทยาคม
เด็กชายกิตตินันท์ อ้วนแพง
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงณัฐวรา แซ่ลิ้ม
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายสหชาติ ประชุมพันธ์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายกานต์ สระทองเมา
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงกัญญ์วรา ฉันทานุมตั อิ าภรณ์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงจิรภัทร์ เสนะโกวร
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงนวมล หลุยแสง
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงธันย์ชนก ทองปลิว
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงแพรวา โพธิ์ใจ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายธีระเดช เวชยม
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
เด็กชายพงศกร ผาสุข
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงธนพร พลังนา
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายเจษฎา พริ้งมงคล
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงธันยพร เชื้อนาค
ร.ร.สัตหีบวิทยาคม
เด็กชายอริญชย์ สวัสดิ์วงษ์
ร.ร.อัชสัมชัญระยอง
เด็กหญิงกชพร ไชยพรม
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายปวเรศ ฤทธิ์งาม
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงสุตาภัทร์ ชัยสามารถ
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
เด็กหญิงพรธิดา เลียบทวี
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงอากิโกะ ยามาดะ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายธุวานันท์ อุตะมะ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงพัทธวรรณ จันทร์ศรี
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงกฤตยา พีรชัยเดโช
ร.ร.สาธิตพิบูลบำ�เพ็ญ
118
ชื่อ-สกุล
สถานที่ศึกษาต่อ
ชื่อ-สกุล
สถานที่ศึกษาต่อ
เด็กชายณัฐชนน ช้างยัง
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงนภัสสร บุญราวิกุล
ร.ร.ระยองวิทยาคม
เด็กหญิงปรมาภรณ์ พลแสน
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงกนกนภา อาศนเลขา
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายสรายุทธ แม้นบุญแนบ
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
เด็กชายวงศ์วริศ ชื่นสุวรรณ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงอภิสรา ชมสินทรัพย์
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายณัฐภัทร อุทโก
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงสิริยากร ณรงค์ชัยรังสี
ร.ร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย
เด็กชายเมธัส สิทธิเจริญยศ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
ชลบุรี
เด็กหญิงขวัญอนันต์ ดาวจันทึก
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงนลินี จุลกะ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงชฎาภรณ์ บัวกุล
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กชายเนติ์ จุลกะ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงดลนภา ประภารัตน์
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงพิมพ์มาดา นามสง่า
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงพัชราภรณ์ ทิพย์วิชิน
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายบัณฑกานต์ ใยบุญมี
ร.ร.ช่างฝีมือทหาร
เด็กหญิงจิรัชญา วงศ์เพียร
ร.ร.ระยองวิทยาคม
เด็กหญิงกันตพร กัณฑวงศ์
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายศรัณย์ วงศ์ทิม
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กหญิงชมตะวัน ชูชาติ
ร.ร.สิงห์สมุทร
เด็กหญิงกุลมาศ กระจายแสง
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
เด็กชายชยพล พลอยทับทิม
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
เด็กชายชาญธร ไชยศุภลาภ
ร.ร.มารีวิทย์สัตหีบ
119
ตามคติ ค วามเชื่ อ ของชาวพุ ท ธไทยแต่ โ บราณ การจั ด งานฌาปนกิ จ ให้ ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น การ แสดงความเคารพและไว้ อ าลั ย เป็ น ครั้ ง สุ ด ท้ า ย ด้วยความเชื่อว่าจะน�าไปสู่สุคติและพบแต่สิ่งที่ดีงาม ในภพหน้า สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือดอกไม้จันทน์ ธูปทอง เทียนทอง เพราะเชื่อว่ากลิ่นหอมของดอกไม้จันทน์นี้ จะน� า ดวงวิ ญ ญาณของผู ้ ที่ ล ่ ว งลั บ ไปสู ่ ส รวงสวรรค์ แต่ด้วยดอกไม้จันทน์เป็นของสูงที่มีราคาแพง จึงเริ่มมีผู้ คิ ด ประดิ ษ ฐ์ ด อกไม้ จั น ทน์ เ ที ย มขึ้ น จากวั ส ดุ ต ่ า ง ๆ ขึ้นแทน ในวั น ที่ 26 ตุ ล าคมนี้ ซึ่ ง จะมี พ ระราชพิ ธี ถวายพระเพลิ ง พระบรมศพ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช หั ว ใจของ พสกนิกรทั่วไทยจึงต่างหลั่งไหลมุ่งไปที่ท้องสนามหลวง น้อมส่งเสด็จฯ พระองค์สู่สวรรคาลัยเป็นครั้งสุดท้าย คณะครู และนักเรียนโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบจึง ได้ร่วมกันประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ เพื่อน�าไปใช้ในพิธี พระราชทานพระเพลิงพระบรมศพ ในหลวงรัชกาลที่ 9 จ�านวน 1,000 ดอก เพือ่ น้อมร�าลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ท่าน
120
การเรียนรู้ศิลปะ เป็นกิจกรรมการเรียนที่มีประโยชน์ ต่อการพัฒนาผู้เรียนในหลายด้าน ช่วยให้ผู้เรียนมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะยังช่วยพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการน�าไปสู่การพัฒนา สิ่ ง แวดล้ อ ม ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เรี ย นมี ค วามเชื่ อ มั่ น ในตนเอง อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ ศิลปะส�ำคัญอย่ำงไร ในโลกของเด็ก ศิลปะ คือ การแสดงออกอย่างอิสระเสรี ที่เต็มไปด้วยจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในสิ่งต่าง ๆ ความบริสุทธิ์ จริงใจ เปิดเผย ตรงไปตรงมา สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็น ตัวกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาสมองทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านอารมณ์ และความเป็นเหตุผล รวมทัง้ พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และการพัฒนาภาษา เพียงแต่ผู้ใหญ่ที่อยู่ใกล้ชิด เปิดโอกาสสนับสนุนให้เด็กได้แสดงออก ชื่นชมต่อธรรมชาติ การเคลือ่ นไหว ดนตรี ศิลปะ ความไพเราะ และสิง่ สวยงามต่าง ๆ ฝึกให้เด็กรู้จักใช้ประสาทสัมผัสให้สัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้เด็กได้สังเกต มีไหวพริบ มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จัก ควบคุมตัวเองและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และมีลักษณะนิสัยที่ดีงาม • ศิ ล ปะพั ฒ นาสมอง ท� า ให้ ส มองดี เ พราะมี จินตนาการ เด็กที่ท�างานศิลปะบ่อย ๆ จะเป็นผู้มีความคิดริเริ่ม ช่างสังเกต ช่างจดจ�า รูจ้ กั คิด วางแผนการท�างาน มีความละเอียด รอบคอบ ประณีตบรรจง พิถีพิถัน มองเห็นในสิ่งที่คนอื่นอาจ มองไม่ เ ห็ น ได้ ช่ ว ยให้ มี ค วามคิ ด แปลกใหม่ และคิ ด ได้ หลากหลาย
• ศิลปะพัฒนาร่างกาย ด้วยการใช้ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อย่างมีสติ ดูเป็น ฟังเป็น รู้จักเลือกเฟ้นให้ได้ความรู้ และคุณค่าที่ดีงาม พัฒนาการเคลื่อนไหวทางด้านกล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และพัฒนาประสาทสัมพันธ์ระหว่างตากับมือ ให้มีความคล่องแคล่ว และมีความสามารถในการท�างาน • ศิ ล ปะพั ฒ นาอารมณ์ ความมั่ น คงของจิ ต ใจ ช่วยฝึกให้เด็กสงบนิ่ง มีสมาธิ จดจ่อกับการท�างานไม่วอกแวก หวัน่ ไหว มีพลังนุม่ นวลควรแก่งาน มีสติ ไม่เลือ่ นลอย ไม่ทงิ้ โอกาส ที่จะสร้างสรรค์ มีความเพียรพยายาม อดทน รับผิดชอบ มีก�าลังใจ ร่าเริง เบิกบาน สดชื่น แจ่มใส ผ่อนคลาย มีความรู้สึก ที่ดีต่อตนเอง มีสุนทรียภาพ มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก รวมทั้งสามารถควบคุมตัวเองได้เหมาะสมกับวัย • ศิลปะพัฒนาสังคม สามารถอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ได้ดว้ ยดี ไม่ เ บี ย ดเบี ย น ไม่ ก ่ อ ความเดื อ ดร้ อ นต่ อ ผู ้ อื่ น รู ้ จั ก ใช้ วิ นั ย ในการด�ารงชีวิต เคารพกติกา รักษากฎเกณฑ์ เชื่อฟังพ่อแม่ และครู รู้จักช่วยเหลือเกื้อกูล แบ่งปัน เอาใจใส่ คิดดีและชื่นชม ในผลงานของผู ้ อื่ น มี พ ฤติ ก รรมดี ง ามในความสั ม พั น ธ์ กั บ เพื่อนมนุษย์ ก่อให้เกิดไมตรีและความสามัคคี • ศิ ล ปะพั ฒ นาปั ญ ญา ท� าให้เด็กมีค วามสามารถ ทางด้านความรู ้ ความคิด ความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ คิดหาเหตุผล คิดอย่างเป็นระบบ ช่วยพัฒนาความจ�า รู้จักสรุปความ รู้จัก แสวงหาความรู้เพิ่มเติม และสามารถน�าความรู้นั้นมาใช้ได้ ด้วยการคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และดับทุกข์เป็นในที่สุด • ศิ ล ปะพั ฒ นาภาษา ช่ ว ยให้ เ ด็ ก มี พั ฒ นาการ ทางภาษาเพิ่มขึ้น รู้จักค�าศัพท์ใหม่ ๆ สามารถล�าดับเหตุการณ์ เรี ย บเรี ย งค� า พู ด ในการบอกเล่ า ถึ ง ผลงาน เลื อ กใช้ ถ ้ อ ยค� า ที่เหมาะสมในการแบ่งปันประสบการณ์ต่าง ๆ ในการท�างาน และสามารถใช้วาจาในทางทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเอง ช่วยเหลือเกื้อกูล สร้างสรรค์สังคมและสิ่งแวดล้อม
121
122
123
124
125
126
127
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1/2559 ผลการเรียนดีเยี่ยม (ร้อยละ 93.00 ขึ้นไป ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กหญิงพนิตตา เข็มสอน เด็กชายนาราภัทร เอี่ยมแจ้ง เด็กหญิงณัฐกฤตา มณฑ์สิริ เด็กหญิงสุทธิกานต์ กล�่าพุก เด็กหญิงเคเดน ณัฐนรี เดอ กัสแมน เด็กหญิงกรกนก พยัคฆา เด็กหญิงชัญญานุช นิยมสมาน เด็กหญิงศุภาวรรณ ฉายรังษี เด็กชายรักคุณ สยามไชย
ป.1/3 ป.1/3 ป.1/3 ป.1/1 ป.1/4 ป.1/4 ป.1/5 ป.1/3 ป.1/2
96.72 96.09 95.81 95.63 95.54 95.45 95.45 95.36 95.00
เด็กหญิงขวัญแก้ว เด็กหญิงภัทรมนธ์ เด็กชายพุทธ เด็กชายรชต เด็กหญิงจิดาภา เด็กชายณฐพงศ์ เด็กชายธนภัทร เด็กชายพิสิษฐ์
ชัยนุบาล อุระแสง ภควรางกูร ศรีจรรยา วงษ์แก้ว ทองคง ชาลีรินทร์ เรืองหนูหมาด
ป.1/6 ป.1/3 ป.1/2 ป.1/6 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/5 ป.1/1
94.27 94.09 93.63 93.63 93.18 93.45 93.27 93.18
ใยแจ้ง ป.1/5 ศรเดช ป.1/3 ผาค�า ป.1/1 วงศ์ด�ารงพันธุ์ ป.1/1 เตียวเจริญ ป.1/4 ทะนิต๊ะ ป.1/3 เหลืองอ่อน ป.1/6 เวียงศิริ ป.1/1 บุญสนอง ป.1/5 อนุวงศ์วรเวทย์ ป.1/4 มงคลศรีสะอาด ป.1/1 มาลาพร ป.1/5 สังข์ศิริ ป.1/3 อรัญสวรรค์ ป.1/4 สินสงบ ป.1/4
91.63 91.63 91.54 91.45 91.09 91.09 91.00 90.81 90.72 90.72 90.54 90.54 90.45 90.45 90.27
ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 90.00 - 92.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายธีร์ธวัช เด็กหญิงพรพรรณ เด็กหญิงวราภัค เด็กชายชมะนันท์ เด็กหญิงตะวันฉาย เด็กหญิงณัฐปภัสร์ เด็กหญิงพิชชานันท์ เด็กชายทรงทรัพย์ เด็กหญิงชฎารัตน์ เด็กหญิงศุภกานต์ เด็กชายพรชุมพล เด็กหญิงธนัฏฐินี เด็กหญิงสุภัสสรา เด็กหญิงบุญสิตา เด็กชายนราวิชญ์
128
เชื้อดวงผุย ป.1/1 ธนะเจริญรุ่ง ป.1/4 สรโยธิน ป.1/5 โสมสิริพันธ์ ป.1/4 วิบูลย์ชาติ ป.1/6 กาญจนโสภาวงศ์ ป.1/3 พิพิธกุล ป.1/5 จันทร์ต๊ะยศ ป.1/1 จุฑาธิปไตย ป.1/5 ชาวเวียง ป.1/6 ต่ออ่อน ป.1/3 ตันจรูญศรี ป.1/1 โกมรัตน์ ป.1/4 โชคชัย ป.1/4 บุตราษฎร์ ป.1/1
92.72 92.54 92.54 92.54 92.36 92.27 92.18 92.09 92.00 92.00 92.00 91.90 91.72 91.72 91.63
เด็กหญิงกิรณา เด็กชายตุลยากร เด็กชายนนท์รวิศ เด็กหญิงชญาพิมพ์ เด็กหญิงวริศรา ด็กหญิงวรัชญ์ชญา เด็กหญิงสุรภา เด็กหญิงเพียรพริมา เด็กหญิงสุภากมล เด็กชายณัฏฐพล เด็กชายติณห์ภัทร เด็กชายณฐกร เด็กหญิงศรัญญา เด็กหญิงอิสรีย์ เด็กหญิงเพ็ญพิชชา
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2/2559 ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 90.00 - 92.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายภูดิท เด็กหญิงมนัสนันท์ เด็กหญิงกรวรรณ เด็กหญิงสู่ขวัญ เด็กหญิงจิณณพัต เด็กชายอดิษฐา เด็กหญิงธารน�้าใจ เด็กชายณัฐนันท์
พึ่งกลั่น ป.2/2 สุคนธทรัพย์ ป.2/7 รัตนกิจกมล ป.2/2 นครวงศ์ ป.2/5 เลิศมณีพงศ์ ป.2/4 อัมพวัน ป.2/7 อิ่มด้วยสุข ป.2/1 อดุลย์เดชาศักดิ์ ป.2/7
92.90 92.54 92.27 92.18 91.90 91.81 91.81 91.27
เด็กชายณัฐวิโรจน์ รัตโน เด็กหญิงอาทิตยา บ�ารุงพิทักษ์ เด็กหญิงเพลิน ปฏิสังข์ เด็กหญิงรตนพร พูลสิน เด็กหญิงเบญญาภา บุญส่ง เด็กหญิงจัสมิน สามลา ฮัทท์ เด็กชายกษิดิศ อนันต์มั่งคั่ง เด็กหญิงกฤษณา บุญมี
ป.2/4 ป.2/6 ป.2/7 ป.2/5 ป.2/3 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/4
91.18 91.09 91.09 91.09 90.81 90.72 90.45 90.27
ป.3/1
93.81
ป.3/3 ป.3/3 ป.3/2 ป.3/4 ป.3/1 ป.3/5 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/2 ป.3/4
91.45 91.27 91.27 91.18 91.00 90.90 90.72 90.54 90.54 90.09
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3/2559 ผลการเรียนดีเยี่ยม (ร้อยละ 93.00 ขึ้นไป ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กหญิงกชพรรณ รัตนกิจกมล เด็กหญิงพาขวัญ ส�าเภา
ป.3/1 ป.3/6
95.00 94.63
เด็กหญิงอนุรดี
อัมพะลพ
ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 90.00 - 92.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กหญิงสุธาสินี เด็กหญิงณิชมน เด็กหญิงกิตติธรา เด็กหญิงปุญญิสา เด็กชายภูเบศ เด็กหญิงณิชารีย์ เด็กหญิงอุรสา เด็กชายธิปรมี เด็กชายสิรวิชญ์ เด็กหญิงญานิศา เด็กชายจิณณะ
วัดพ่วง มากแจ้ง นิลแนบแก้ว นิยมสมาน มหามงคล เหลืองสะอาด ทองศักดิ์แสง สิงห์ทอง ใจแจ้ง หนูหริ่ง ภัสระ
ป.3/5 ป.3/4 ป.3/2 ป.3/2 ป.3/2 ป.3/1 ป.3/3 ป.3/3 ป.3/1 ป.3/4 ป.3/4
92.90 92.63 92.18 92.00 92.00 91.90 91.90 91.72 91.63 91.54 91.54
เด็กหญิงอรกัญญา เด็กหญิงดอกแก้ว เด็กหญิงฐิติชญา เด็กหญิงธิญดา เด็กหญิงเปรมสินี เด็กชายวีระพล เด็กชายภูนาวิน เด็กชายกฤตเมธ เด็กชายวิชยุตม์ เด็กชายวรพล
ภักดีนอก แสงทอง คนชม ชมเดือน ก�าลังเก่ง ใจหาญ แก้ววิศิษฎ์ จันดี บุตรโสม ข�าพลจิต
129
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4/2559 ผลการเรียนดีเยี่ยม (ร้อยละ 93.00 ขึ้นไป ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายพิริยกร
เต็งการณ์กิจ
ป.4/4
95.27
เด็กหญิงณัฐญาดา ทองค�า
ป.4/5
93.45
ป.4/3 ป.4/5 ป.4/1 ป.4/2
91.27 91.27 91.18 91.09
เด็กหญิงสิริรัตน์ สิริพุทธวณิชย์ ป.5/3 เด็กชายพศวีร์ วสุอนันต์กุล ป.5/3 เด็กหญิงเบญญทิพย์ สุขผล ป.5/3
91.18 90.90 90.45
ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 90.00 - 92.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายพชร เด็กชายณทกรษ์ เด็กหญิงนวพร เด็กหญิงณัฐนิชา
พุ่มพวง ปัญติ ยูงรัมย์ ตระกูลศรีมงคล
ป.4/3 ป.4/3 ป.4/5 ป.4/1
92.45 91.90 91.72 91.54
เด็กหญิงพิชชา เด็กชายนิธิกร เด็กชายเขตโสภณ เด็กชายศุภจิรัฐ
กานต์กัลปพฤกษ์ เปลี่ยนโมฬี ครองยุติ ทองกอบ
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5/2559 ผลการเรียนดีเยี่ยม (ร้อยละ 93.00 ขึ้นไป ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายศิระ
คชศิลา
ป.5/2
93.36
ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 90.00 - 92.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายณิชากร เด็กชายปาฏิหาริย์ เด็กหญิงณัฏฐณิชา เด็กหญิงลักขณา
130
มีจิต วรศาสตร์ ทรงประกอบ มีแสง
ป.5/1 ป.5/5 ป.5/5 ป.5/3
92.36 92.18 91.45 91.36
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6/2559 ผลการเรียนดีเยี่ยม (ร้อยละ 93.00 ขึ้นไป ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายธนวัฒน์
วีรศักดิ์
ป.6/5
93.36
ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 90.00 - 92.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายปฏิภาณ ศรีวัง เด็กหญิงวรัทยา เวฬุกร เด็กชายณัฐภาส วงศ์อุดมวัฒนา เด็กหญิงขวัญณัฏฐิมา ฝาชัยภูมิ เด็กหญิงรัชรินทร์ รอดคล�้า
ป.6/7 ป.6/4 ป.6/4 ป.6/7 ป.6/5
92.90 92.63 92.54 92.36 92.27
เด็กหญิงนันท์นิชา เด็กหญิงฐิตากัลยา เด็กหญิงภัทราพร เด็กหญิงเกษราพร เด็กหญิงทอไหมทอง
มาลัยศรี เกษร อ้วนค�า รอดสุด หนูคง
ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/7 ป.6/2
91.00 91.00 90.90 90.45 90.36
สวัสดี ม.1/4 จ�านงสันติศรี ม.1/5
85.80 85.17
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2559 ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 85.00-89.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กหญิงนภสกร แตงบุตร ม.1/1 เด็กหญิงศศิภาพร ณรงค์ชัยรังสี ม.1/3 เด็กหญิงณัฐวรรณ อาจหาญ ม.1/4
88.96 87.46 87.10
เด็กหญิงภูริชญา เด็กหญิงชญาดา
ผลการเรียนดี และ ดีเยี่ยม ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/2559 ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 85.00-89.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กชายจักรินทร์ เด็กหญิงพิรญาณ์ เด็กหญิงแพรวา เด็กหญิงณัฐณิชา เด็กหญิงธีร์จุฑา เด็กหญิงนภัสสรณ์ เด็กหญิงนฤภร เด็กชายณัฐกิตติ์ เด็กหญิงณิฌา เด็กหญิงปิยธิดา
พูลเกษร ไลไธสง เกิดจันทร์ตรง ชมชื่น ทองพรวน ทองเพียรพงษ์ ด�ารงกิจเจริญ นานาประเสริฐ สนามชัย บุตรจันทร์
ม.2/1 ม.2/1 ม.2/5 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/2 ม.2/1 ม.2/4
89.97 89.73 89.16 89.13 89.07 88.80 88.63 88.03 87.40 86.90
เด็กหญิงฉัตรดาพร เด็กหญิงอินทิรา เด็กหญิงชญานิน เด็กหญิงชญานิน เด็กหญิงจนิษฐ์ชญา เด็กหญิงวรัญญา เด็กชายศุภวิชญ์ เด็กหญิงจินตภัทร์ เด็กหญิงขอขวัญ เด็กหญิงปาณิสรา
ปริตตะอาชีวะ ม.2/5 โพธิ์สุข ม.2/3 ค�าฟู ม.2/2 บันลือสมบัติกุล ม.2/3 จันทร์ลาย ม.2/1 จินตวร ม.2/2 อินโต ม.2/2 จันทร์โพธิ์ ม.2/3 เวียงอุโฆษณ์ ม.2/1 จุมปาดง ม.2/5
86.86 86.50 86.00 85.67 85.63 85.63 85.56 85.50 85.10 85.03
131
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3/2559 ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 85.00-89.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) เด็กหญิงศรัณี
จ�านงค์ประโคน ม.3/3
87.40
เด็กหญิงวรลัญธร
อักษรณรงค์
ม.3/2
85.03
ม.4/1
90.13
ปิยะนันท์ ม.4/1 ศรีสุข ม.4/1 สุขกร ม.4/1 โพธิสาร ม.4/2 ธรรมรัตน์ไพศาล ม.4/1 คงโฉลง ม.4/3 ภวัตณัฐรัชต์ ม.4/4
86.34 86.12 86.09 85.97 85.68 85.16 85.55
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/2559 ระดับผลการเรียนดีเยี่ยม (ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) นายสิรวิชญ์ นางสาวสุพรรษา
จตุรภัทรานนท์ ม.4/4 มอร์แกน ม.4/4
92.91 91.23
นางสาวอรจิรา
จันทะพัฒน์
ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 85.00-89.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) นายวรนิพิฐ นางสาวชุติมณฑน์ นางสาวนลินนิภา นางสาวธนัญนภรณ์ นางสาวปาณิศา นางสาวกานต์พิชชา นายเสฏฐนันท์
ชัยพินิจนรชาติ กอศรีสมบูรณ์ วิระวัฒน์ จิตต์ประวัติ สุวรรณ อินทศร นิลเทศ
ม.4/3 ม.4/2 ม.4/1 ม.4/4 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/1
89.75 88.37 88.15 87.09 86.84 86.59 86.47
นางสาวธมลพร นางสาวธัญจิรา นายปรมิณทร์ นายนิธิพล นางสาวนภัสวรรณ นายปรเมศร์ นางสาวฐิติพรรณ
ผลการเรียนดีเยี่ยม และ ดี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/2559 ระดับผลการเรียนดี (ร้อยละ 85.00-89.99 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 4.00) นายธนากร นางสาวนภัสสร นางสาวชนามาส นางสาวพิรญาณ์ นางสาวมนัสวี นางสาวจิราภา
132
ปิ่นทอง คงสืบ อนันตกูล ช่างปรุง เพิ่มวงษ์ มุ้ยแก้ว
ม.5/1 ม.5/1 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/2 ม.5/2
88.42 88.35 86.27 87.92 87.66 86.69
นางสาวพิมพ์ลภัส นางสาวชนกชนม์ นางสาวจิราภา นางสาวศรสวรรค์ นางสาวนัยภัคน์
แก้วอาษา ชวดรัมย์ ตระกูลศรีมงคล จตุรัสกรพัฒน์ ชนานันท์
ม.5/2 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/2 ม.5/2
86.60 85.28 86.25 85.83 85.40
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
การจำ�หน่ายใบสมัคร
เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 เป็นต้นไป
เปิดรับสมัครเตรียมอนุบาล�-�มัธยมศึกษาปีที่�6
วัยก่อน ก.ไก่ (เตรียมอนุบาล) รับอายุ 2 ขวบเต็ม เปิดรับตลอดปี อนุบาล 1 (อายุ 3 ขวบ นับถึง 16 พฤษภาคม 2561) รับนักเรียน 150 คน ประถมศึกษาปีที่ 1 รับนักเรียน 70 คน มัธยมศึกษาปีที่ 1 รับนักเรียน 70 คน มัธยมศึกษาปีที่ 4 รับนักเรียน 50 คน ระหว่างชั้นอื่นๆ รับเฉพาะกรณีมีที่ว่างเท่านั้น
สถานที่จำ�หน่ายใบสมัคร ห้องธุรการ
หลักฐานที่ต้องใช้ในการสมัคร
สำาเนาสูติบัตรของผู้สมัคร จำานวน 1 ฉบับ สำาเนาทะเบียนบ้านที่มีชื่อบิดา มารดา และผู้สมัคร จำานวน 1 ฉบับ สำาเนาบัตรประจำาตัวประชาชนบิดา มารดา จำานวน 1 ฉบับ สำาเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล (ถ้ามี) จำานวน 1 ฉบับ สำาเนาสมุดรายงานผลการเรียน มีผลการเรียนของผู้สมัคร (ปพ.6) หรือใบรับรองที่ระบุผลการเรียน โดยมีเกรดเฉลี่ยไม่ตำ่ากว่า 2.75 รูปถ่ายหน้าตรง ขนาด 1 นิ้ว จำานวน 3 รูป (ถ่ายไว้ไม่เกิน 3 เดือน) นักเรียนคาทอลิกต้องยื่นใบรับศีลล้างบาป
144
กำ�หนดการรับสมัคร
รับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 - วันที่ 2 มีนาคม 2561
การยื่นใบสมัคร
ผู้ปกครองต้องนำาผู้สมัครมาด้วย โดยแต่งกายชุดเครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนเดิม พร้อมยื่นใบสมัครที่ห้องธุรการ
ทดสอบความพร้อม�และพื้นฐานความรู้
ยื่นใบสมัคร และทางโรงเรียนจะนัดทดสอบ และสอบสัมภาษณ์
วิชาที่สอบระดับประถมศึกษา�และมัธยมศึกษา
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ + สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ สอบสัมภาษณ์
20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน
การมอบตัวเป็นนักเรียนมารีวิทย์สัตหีบ�
ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าเรียน ผู้ปกครองต้องมาเขียนใบมอบตัว และชำาระค่าใช้จ่ายทั้งหมดตามวันเวลาที่กำาหนด
การเรียนพิเศษ
นักเรียนเข้าใหม่ทุกคนจะต้องมาเรียนพิเศษภาคฤดูร้อน (Summer 1 และ Summer 2) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางการเรียน และปรับตัวเข้ากับระบบโรงเรียน ตลอดจนทำาความรู้จักกับคุณครู และสร้างความคุ้นเคยกับเพื่อนร่วมชั้น
กำ�หนดการเรียนพิเศษ
Summer 1 ระหว่างวันที่ 12 มีนาคม 2561 - วันที่ 6 เมษายน 2561 Summer 2 ระหว่างวันที่ 23 เมษายน 2561 - วันที่ 8 พฤษภาคม 2561 เรียนวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 8.30 – 15.00 น.
กำ�หนดการเปิดเรียน�ภาคเรียนที่�1�ปีการศึกษา�2561
ในวันพุธที่ 16 พฤษภาคม 2561 พร้อมกันทุกระดับชั้น ในวันจันทร์ที่ 21 พฤษภาคม 2561 ให้นักเรียนนำาหลักฐานการศึกษา ปพ.1 และ ปพ.6 นำามามอบให้กับครูประจำาชั้น เพื่อทำาการตรวจสอบวุฒิการศึกษา
149
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำาเนินแทนพระองค์ไปยังอู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ทรงวางกระดูกงูเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ลำาที่ 2 เพื่อ เฉลิมพระเกียรติ ซึ่งกองทัพเรือดำาเนินโครงการสร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งลำาที่ 2 ขึ้นเพื่อสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณ และเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสนี้ คุณครูใหญ่หงษ์ทอง มณีขำา และ มาสเตอร์ ท รงกลด แก้ ว วิ ศิ ษ ฏ์ ได้ ร่ ว มเข้ า เฝ้ า ทูลละอองพระบาท
146