50 สิ่งแรกในเมืองไทย

Page 1


50 สิ่งแรก ในเมืองไทย นันทลักษณ์ คีรีมา เขียน เอนก นาวิกมูล บรรณาธิการวิชาการ

กรุงเทพมหานคร M Young, สำ�นักพิมพ์มติชน 2556


สารบัญ

ก้าวแรกแห่งการเดินทาง

14

ถนนใหม่สายแรก 16 รถจักรยาน พลังขา “ถีบ” 18 รถมอเตอร์ ไซค์ ขวัญใจแวนซ์บอย สก๊อยซ์เกิร์ล 20 รถราง คลาสสิกสไตล์ 22 รถยนต์ เหล็กวิ่งได้ราคาแพง !!! 24 รถเมล์มาแล้ว !!! 26 รถไฟ เดินทางไกลเรียกผมได้เลย 28 ได้เวลาออกบินแล้ว 30 ดำ�ผุด ดำ�ว่ายไปกับ เรือดำ�น้ำ� 32


สถานที่แห่งแรก

34

ธนาคาร เก็บวันนี้ รวยวันหน้า 36 ใครอยากไปโรงพยาบาลบ้าง 38 มหาวิทยาลัย แหล่งผลิตบัณฑิต 40 คิดจะพัก พักที่ โรงแรม 42 โรงรับจำ�นำ� เปลี่ยนสิ่งของเป็นเงินสดทันใจ 44 สารพัดสัตว์ที่สวนสัตว์ 46 อุทยานแห่งชาติ ที่แห่งนี้มีรักสัตว์ รักน้ำ� รักป่า 48 โรงเรียน โรงผลิตความรู้ 50 สหกรณ์ ทีมนี้มีแต่ประโยชน์ 52 พิพิธภัณฑ์ ของเก่าต้องเก็บ 54 สภากาชาด น้ำ�ใจเพื่อนมนุษย์ 56


มีน้ำ� มีไฟ

58

สารพัดของ

64

การประปา มีค่ามากกว่าที่คิด การไฟฟ้า พลังงานเปลี่ยนโลก

60 62

ยางพารา ขาดยางขาดใจ 66 ธนบัตร กระดาษที่มีค่ามากที่สุดในโลก 68 หยิบ เวลามาใส่ปฏิทิน 70 ล็อตเตอรี่ งวดนี้มีเฮ!!! 72 การถ่ายรูป แชะ...แชะ... เก็บภาพไว้ ในกล่องสี่เหลี่ยม 74 เครื่องพิมพ์ด ีด ถึงจะเก่า แต่ก็เก๋านะ 76 ส่งไปรษณีย์ ขาดแสตมป์ ขาดใจ 78


ดินสอฝรั่ง เครื่องมือหากินของเด็ก 80 ผ้าอนามัย สำ�หรับวันนั้นของเดือน 82

สิ่งแรกท้องอิ่ม

84

น้ำ�แข็ง เย็นฉ่ำ�ใจ 86 น้ำ�มะเน็ด คุณปู่น้ำ�อัดลม 88 เบียร์ เครื่องดื่มมึนเมาขวัญใจผู้ ใหญ่ไทย 90 โซดาซ่าไร้ข ีดจำ�กัด 92 ข้าวสาลี ข้าวพันธุ์ ใหม่สมัยกรุงเก่า 94 ขนมปัง อาหารฝรั่งสมัยกรุงเก่า 96

สอ สระ อือ ไม้เอก สื่อ 98 โทรศัพท์ มาแล้วจ้า โทรเลข ของสูญพันธุ์ที่ควรรู้ไว้

100 102


สถานีว ิทยุ กระจายเสียงทั่วไทย สถานีโทรทัศน์ บันเทิงจากจอแก้ว ภาพยนตร์ ความสุขจากจอเงิน หนังสือพิมพ์ สื่อข่าวก้าวไกล ไปรษณีย์ ส่งตรงถึงมือคุณ ส.ค.ส. บัตรอวยพรความสุขทุกเทศกาล อินเตอร์เน็ต คลิกเดียวเชื่อมทั้งโลก

104 106 108 110 112 114 116

สิงสาราสัตว์ 118

แกะ อาหารโปรดของชนชั้นสูง 120 จิงโจ้ ดึ๋ง ดึ๋ง มาจากออสเตรเลีย 122 เหยี่ยวถลาลม 124 อูฐ สัญลักษณ์แห่งความอดทน 126 หนังสืออ่านเพิ่มเติม 128


ผมทรงกะลาครอบ เป็นที่มาของนักข่าว “หัวเห็ด” (เลยต้องใส่หมวกครอบไว้ตลอด) ชื่อ “ขิม” ฉายา “ขิม หัวเห็ด”

กล้องสุดรัก ยุงไม่ ให้ไต่ แมง ไม่ ให้ตอม แต่แมลงวันตอมได้

ไม่ ใช่เสื้อกั๊กแบบนักข่าว แต่อยาก หล่อแบบพระเอกเกาหลี

ชอบใส่กางเกงขาสั้นเพื่อความ คล่องตัว (ความจริงใส่ขาเดฟไม่ ได้คับ เกิน)

10

สั่งทำ�พิเศษเพิ่ม ความหนาอีก 3 ซม.


รก

ก่อนที่จะเข้าเมือง 50 สิ่งแ

11


บ้านโบราณ

12


เมืองโบราณ

เรื่องราวข้างในประตูที่มีแต่ สิ่งแรกจะเป็นอย่างไร เชิญติดตามได้เลย

13


ก้าวแรก แห่งการ เดินทาง

14


15


1

่ ม ห ใ น ถนยแรก สา

ถนนแบบใหม่  นามว่า “เจริญกรุง”

อะแฮ่ม  ก่อนอื่ นเราขอแนะนำ�ตัวเองก่อน  เรามีชื่อว่า  “ถนนเจริญกรุง”  เห็น รูปร่างแบนๆ ยาวๆ แบบนี้ เราไม่ธรรมดานะขอบอก เพราะเราเป็นถนนแบบตะวันตก สายแรกของประเทศไทย!!! เราถูกแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ถนนเจริญกรุง ตอนในและถนนเจริญกรุงตอนนอก  (ตอนใต้)  โดยถนนเจริญกรุง ตอนนอกเกิดก่อน

แรกกำ�เนิด เราถู ก สร้ างขึ้ น ในสมั ย รัชกาลที่  4  เมื่อ  พ.ศ.  2404-2407 หากจะเทียบความยาวของเหล่าสิ่งแรกที่อยู่ ในเมืองไทยรับรองว่ามีความยาวที่สุด รวมกันทั้งสิ้น  8,575  เมตร  เริ่มตั้งแต่ คูเมืองชั้นในไปจนถึงริมแม่น้ำ�ที่ตำ�บลบางคอแหลม  โดยมีเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง  บุนนาค) เป็นผู้ดูแลการสร้าง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง  เป็นนายงาน นายเฮนรี่ อาลาศเตอร์ (ต้นตระกูลเศวตศิลา) เป็นผู้สำ�รวจแนวถนนและเขียนแบบ โดยใช้เทคนิค การก่อสร้างแบบตะวันตก โดยการเอาอิฐปูเรียงตะแคง ให้ตรงกลาง นูนน้ำ�จะได้ไม่ขังนองตัวเรา

16


NEW ROAD

ข่าววงใน

เจริญกรุงหมายความว่า... ช่วงแรกคนไทยมักเรียกถนนเส้นนี้กันว่า  “ถนนใหม่”  ส่วน

พวกฝรั่งเรียกว่า “New Road” และชาวจีนเรียกว่า “ซินพะโล้ว” ซึ่ง ทั้งหมดมีความหมายเดียวกันว่า  “ถนนใหม่”   ต่อมาใน  พ.ศ.  2411 รัชกาลที่ 4 ได้พระราชทานชื่อว่า “ถนนเจริญกรุง” มีความหมายตาม ตัวว่า  ความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง  และห้ามเรียกชื่ออื่ นกันอีก ต่อไป นับตั้งแต่วันที่มีถนนใหม่สายแรกขึ้น  จนถึงวันนี้  แม้จะ มีจำ�นวนถนนเกิดขึ้นมากมายแต่ก็ยังไม่พอกับจำ�นวนรถในปัจจุบัน ถนนแทบทุกสายในกรุงเทพฯ จึงติดแหง็กอย่างที่เห็น

ข่าววงในรายงานว่า  สาเหตุของ การตัดถนนเส้นนี้เกิดจากชาวต่างชาติที่อยู่ ในประเทศไทยขณะนั้นเข้าชื่อทำ�เรื่องถวาย ว่า...เดิมชาวยุโรปขี่รถขี่ม้าเที่ยวตากอากาศ เป็นกิจวัตรขณะอยู่ประเทศเดิมของตน  ซึ่ง เป็นการพักผ่อนและออกกำ�ลังกายที่ด ีต่อ สุขภาพอย่างยิ่ง  ทำ�ให้ไม่เจ็บไข้ได้ป่วย  แต่ เมื่อเข้ามาพักอาศัยในกรุงเทพฯ  ปรากฏว่า ไม่มีถนนหนทางแบบทันสมัยสำ�หรับขี่รถขี่ ม้าตากอากาศ จึงเกิดอาการเจ็บไข้ได้ป่วยไป ตามกัน

17


2

รถพลจังักขาร“ถยีบา”น หลายคนคงแปลกใจว่าทำ�ไมจักรยานจึงกลับมาฮอตฮิตอีก   นั่นก็เพราะกระแสอนุรักษ์ธรรมชาติ และการเอาใจใส่สุขภาพของ คนไทยยังไงล่ะ พวกเราเหล่าจักรยานจึงกลับมามีหน้ามีตามีพื้นที่ บนถนนกับ เขาบ้าง

ครั้งแรกที่โดน

ไทย “ถีบ”

พวกเราเหล่ารถจักรยานเริ่ม เข้ามาสู่เมืองไทยในสมัยรัชกาลที่  5  ช่วง สมัยนี้บอกได้เลยว่าพวกเราฮอตฮิต สุดๆ ในยุโรปเลยละ ฝรั่งที่เข้ามาอยู่ ใน เมืองไทยจึงนิยมใช้พวกเราในการออก กำ�ลังกาย  อีกทั้งในระยะนี้ก็เริ่มมีถนน หนทางเกิดขึ้นแล้วด้วย

18

าน

ย ปาร์ตี้จักร

ในสมัยรัชกาลที่ 5 กรมหลวง ราชบุรีดิเรกฤทธิ์  ได้สั่งพวกเราเหล่าจักรยาน เข้ามาถีบถึง  100  คัน  และกรมพระนราธิป ประพันธ์พงศ์สั่งมาถีบอีก 100 คัน เรียกได้ ว่าพวกเราเนื้อหอมมากๆ  ในช่วงนี้  จนถึงขนาด มีการตั้งสโมสรผู้ข ี่จ ักรยานที่วังกรมหลวง อดิศรอุดมเดช พวกเราได้มีปาร์ตี้เฮฮาเป็น ครั้งแรกจากการจัดงานชุมนุมจักรยานที่วัง บูรพาภิรมย์ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำ�เนินร่วมด้วยนะ


“เพนนี ฟาร์ทิง” หน้าใหญ่ หลังเล็ก จักรยานแบบ  “เพนนี   ฟาร์ทิง”  ที่ฮอตฮิตในต่างประเทศ (ตรงกับสมัยรัชกาลที่  5)  มีลักษณะ ล้อข้างหน้าจะใหญ่ โตมาก ส่วนล้อ หลังจะเล็กนิดเดียว

ือคันเท้า ม น ั ค ร า ก ากเกิดอา ส เริ่มเห็นความ ห    ะ น ก ใ อ วกเราหร ่อมาเมื่อพ ่อค้าหัว ื่องจากพวกเรา พ ี ม ่ ม ไ ง ั ย เมืองไทย กต่างประเทศ ต งแต่ก็ ไม่ท ั่วถึง  เน ก ร แ ะ ย ในระ ั่งซื้อมาจา สใช้จ ักรยานอยู่บ้า ส ง อ ้ ศรษฐ)   ต เ ะ ร จ า น ี า ก ร ด เ อ ก ั ี โ บ ี ภ ม   (พระยา ใช้กันมากขึ้น อยากจะถ วกเรา ชาวบ้านจึง ศ ิ ล เ ย า น ม    งพ าขาย  คือ ั่วไป  และเป็นที่นิย ม สำ�คัญขอ า ้ ข เ น า ๆ ๆ ู่คนท จ ักรย แพงมากๆ ไทยคนแรกที่สั่ง ริ่มแพร่หลายมาส กระดิ่ง ด ิ ต เ ็    ก ฟ ชาย า ไ ร เ ด ิ ก ต กนิรภัย   ค้าขายพว ว ร า ม ก ห น ้ ั ม น ว หลังจาก ันเลยละ เราต้องส ย ั ภ ด อ ล บ ุ ป จ จนถึงปัจ เพื่อความ รยานด้วยนะ จ ัก กริ๊งๆ ใน

าน ย ร ก ั จ า ้ ผู้นำ�เข

19


3

รถมอเตอร์ ไซค์

ขวัญใจแวนซ์บอย สก๊อยซ์เกิร์ล

จักรยานยนต์  หรือที่เราเรียกกันติดปากว่า  “รถมอเตอร์ ไซค์”   เป็นพาหนะคู่ ใจของคนทั่วทั้งสยาม เพราะรถประเภทนี้ว ิ่งหลบหลีกในพื้นที่ แคบๆ  ได้อย่างรวดเร็ว ราคาไม่แพงเท่ารถยนต์ ชาวบ้านตาดำ�ๆ ก็พอหา ซื้อได้สบายๆ เลยละ

อวดโฉมครั้งแรกในหนังสือพิมพ์

พวกเรารถมอเตอร์ ไซค์ปรากฏโฉมครั้งแรกใน หนังสือพิมพ์บางกอกไทมส์ ฉบับวันพุธที่ 28 กันยายน พ.ศ.  2447  หน้า  3  เป็นโฆษณาภาษาอังกฤษทั้งหมด และยังมีรูปวาดลายเส้นตัวอย่าง  1  รูป  มีลักษณะคล้าย จักรยานทั่วไป  ต่างกันตรงที่บริเวณบันไดถีบมีเครื่อง ยนต์ติดอยู่ด้วย  เขียนพาดหัวโฆษณาเท่ๆ  ว่า  “The Brown Motor Bicycle”

ภารกิจสุดเสียว

หลังจากนั้นมีคณะกายกรรมของชาวต่างชาติ มาเปิดการแสดงที่เรียกว่า  “แคนิวาลโชว์”  และหนึ่งใน โชว์เด็ดคือ  “การขี่มอเตอร์ ไซค์ ไต่ถัง”  จากนั้นมาก็เริ่ม มีคนไทยคือ นายเลื่อน พงษ์ โสภณ นำ�มาสร้างและ แสดงโชว์บ้าง การแสดงครั้งแรกคือ งานวัดภูเขาทอง

20


แต่งเท่ๆ เพิ่มไซด์คาร์

ในช่วงต้นสมัยรัชกาลที่  6  เราถูกแต่งองค์ทรงเครื่องให้เท่ขึ้น โดยการติด “ไซด์คาร์” หรือที่นั่งสำ�หรับผู้โดยสารเพิ่มออกมาด้านข้าง ตัวรถ อืม... ก็น่าจะเหมือนกับ “รถซาเล้ง” ในปัจจุบันละนะ ปัจจุบันรถมอเตอร์ ไซค์ถูกพัฒนา ดัดแปลงมีรูปร่างหน้าตาเท่ๆ  หลากแบบ หลายสไตล์  โดยมีสิงห์นักบิดยามค่ำ�คืน พาเสียงนำ�มาก่อนตัวว่า “แวนซ ซ ซ ซ ซ ซ์”

21


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.