พฯ น่ารู้ ท เ ง ุ ร ก ตอน
วัด และวัง
ศิวพงศ์ สีเสียดงาม เขียน ศ.ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ บรรณาธิการวิชาการ กรุงเทพมหานคร • M Young, ส�ำนักพิมพ์มติชน • 2556
สารบัญ 10
12 13 15
18 20 27 33 38 42
ท�ำความรู้จั กกับวัดกันก่อน วัดเกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อไร? วัดมีกี่ประเภท ในวัดมีอะไรบ้าง
วัดหลวงที่ “กษัตริ ย์” และ“พระบรมวงศานุวงศ์” ทรงสร้างหรื อบูรณะ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ท�ำไมต้องเรียก “วัดพระแก้ว” วัดพระเชตุพนวิ มลมังคลาราม มหาวิ ทยาลัยเปิดแห่งแรกของสยาม วัดอรุ ณราชวราราม พระปรางค์ ใหญ่แห่งกรุ งรั ตนโกสินทร์ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม ชวนดูพระราชพิธีสิบสองเดือน วัดบวรนิเวศวิ หาร วัดส�ำคัญของพระมหากษัตริ ย์ ไทย
4
46 51 54 58 61 65 69 73 77 81
วัดสุทั ศนเทพวราราม ศูนย์กลางจั กรวาล ศูนย์กลางพระนคร วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม พระอุโบสถหินอ่อน วัดมหาธาตุยุวราชรั งสฤษฎิ์ มหาธาตุของพระนคร วัดบวรสถานสุทธาวาส คือ “วัดพระแก้ววังหน้า” วัดสระเกศ มีภูเขาทองอยู่ ในวัด วัดยานนาวา สร้างเจดี ย์บนเรือส�ำเภา วัดระฆังโฆสิตาราม จิ ตรกรรมหาชมยากสมัยรั ชกาลที่ 1 วัดสุวรรณาราม “เชลย” นับพั นจบชี วิ ตที่ นี่ วัดราชาธิวาส จิ ตรกรรมเทคนิค “เฟรสโก้” วัดราชนัด ดาราม “โลหะปราสาท” แห่งที่สามของโลก
5
84
วัดหลวงที่ “พ่อค้า ขุนนาง” เป็นผู้สร้างหรือบูรณะ
86
วัดกัลยาณมิตร หลวงพ่อโต แห่งกรุ งเทพฯ
89
วัดอินทาราม สถานที่พระราชทานเพลิงศพ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
92
95
97 101 105
108
110 114 117
วัดจั กรวรรดิราชาวาส ท�ำไมวัดนี้มจี ระเข้???
วัดแบบพระราชนิยม “ไทยผสมจีน” วัดราชโอรสาราม จุ ดเริ่ มต้นของศิลปะ “แบบพระราชนิยม” วัดนางนองวรวิ หาร รู้จั กจั กรพรรดิราชได้ที่ นี่ วัดเทพธิดาราม ยอดกวีเอกกรุ งสยามเคยบวชที่ นี่
วัดร้าง อารามลับในกรุ งเทพฯ วัดภุมริ นทร์ราชปักษี วัดลับย่านปิ่นเกล้า วัดสวนสวรรค์ สวรรค์ที่ถูกลืม วัดอังกุ ลา มีหลวงพ่อด�ำกับลูกศิษย์
6
120
“วังที่ถูกลืม” ในกรุ งเทพฯ
122
“พระราชวังเดิม” พระราชวังหลวงของสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราชแห่งกรุ งธนบุรี
126
วังบูรพาภิรมย์ อดี ตวังที่เคยได้ชื่อว่า “วังเอกและมหึมา แห่งกรุ งสยาม”
130
วังหน้าพระลาน หรือวังท่าพระ วังแห่งบรมครูนายช่างไทย
134 137 139 141 143
วังวรดิศ วังของบิ ดาแห่งประวัติศาสตร์ วังบ้านหม้อ ยังจ�ำกันได้หรือเปล่า วังกรมหลวงจั กรเจษฎา อดี ตวังที่ถูกลืม หลังจากเที่ยววัดและวังแล้ว หนังสืออ่านเพิ่มเติมได้ความรู้
7
กรุงเทพฯ น่ารู้
วัดและวัง
อาจารย์บอย
อาจารย์ผู้เชี่ ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ วิ ธีการสอนลูกศิษย์ คือออกภาค สนามเท่านั้น !!!
ถิงถิง
เด็กหญิงลูกครึ ่ งไทย-จีน ชอบอ่าน ประวัติศาสตร์ ไทย ไปเที่ยววัดวาอารามกับ ครอบครั วเป็นประจ�ำ จึงขออาสาไปเที่ยว วัดกับอาจารย์บอยบ้างดี กว่า
โชตะ
เด็กชายลูกครึ ่ งไทย-ญี่ปุ่น มีความใฝ่ฝันจะเป็นนักโบราณคดี ให้ได้ เกาะติดหนึบอาจารย์บอย ไปไหนผมไปด้วย
8
.......... ??? ???
^.^
9
!
ทำ�ความรู้จักกับ
วัดกันก่อน
10
“วัด” คือ พุ ทธศาสนสถาน เป็นที่จ�ำพรรษาของพระสงฆ์ และ เป็นศูนย์กลางของสังคมชาวพุ ทธทุกคน ทั ้ งด้านจิ ตใจและการประกอบ กิจกรรมทางพุ ทธศาสนา ประเพณี และพิธีกรรมต่างๆ โดยไม่มีการ แบ่งเชื้อชาติและชนชั้น ข้อถาม-ตอบ เกี่ยวกับข้อสงสัยต่างๆ ในเรื่องของวัด ต่อไปนี้ จะ ช่วยให้เราขยับ เข้าใกล้และเรียนรู้เข้าใจวัดวาอารามมากขึ้นกว่าทุกที
11
วัดเกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อไร?
วัดมาพร้อมพุทธศาสนา พระพุ ทธศาสนาเข้ามาในไทยประมาณ 1,000 ปี
มาแล้ว วัดจึงปรากฏขึ้นพร้อมกับการเข้ามาของพระพุ ทธ ศาสนาจากอินเดี ย อาณาจั กรแรกที่ปรากฏหลักฐาน คือ ทวารวดี ( โถโลโปตี้) ซึ่งตั้งอยู่บริ เวณภาคกลางของ ประเทศไทย เพราะจากการขุดค้นโดยพี ่ ๆ นักโบราณคดี ได้พบ หลักฐานต่างๆ ทั ้ ง เจดี ย์ พระพุ ทธรูป พระพิมพ์ จารึ ก ทางพระพุ ทธศาสนา และซากอาคารเนือ่ งใน พระพุ ทธศาสนาบริ เวณที่เคยเป็นอาณาจั กรทวารวดี
12
ทวารวดี คืออะไร
อาณาจั กรทวารวดี เจริ ญอยู่ ในช่วงพุ ทธศตวรรษที่ 12-16 (พ.ศ.
1100-1500) โดยประมาณ ซึ่งค�ำว่า “ทวารวดี ” สันนิษฐานว่ามีที่มา จากชื่อโถโลโปตี้ ได้ปรากฏอยู่ ในบันทึกของหลวงจีนรูปหนึง่ ที่ชื่อเหี ้ ยน จั ง (Hiuan Tsang) ต่อมาจึงพบเหรียญเงินเป็นจ�ำนวนมาก ในแถบจั งหวัด นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี สิงห์บุรี มีจารึ กเป็นภาษาสันสกฤตว่า “ศรี ทวารวดี ศวรปุณย” ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า “บุญกุ ศลของพระราชาแห่ง ทวารวดี ” จึงเชื่อว่า “โถโลโปตี้” เป็นชื่อเดี ยวกันกับ “ทวารวดี ”
?
วัดมีกี่ประเภท ? ?
ส�ำหรั บในประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ วัดหลวงหรือพระอารามหลวง หมายถึงวัดที่พระมหากษัตริ ย์ พระบรม วงศานุวงศ์ทรงสร้าง บูรณปฏิสังขรณ์ หรือวัดที่พ ่อค้า ขุนนาง หรือราษฎร ได้สร้าง และถวายให้พระมหากษัตริ ย์ทรงรั บไว้ ในพระบรมราชูปถัมภ์ วัดราษฎร์ หมายถึงวัดที่ราษฎรจั ดสร้างขึ้นตามก�ำลังศรั ทธาและได้รับ พระราชทานวิ สุงคามสีมาถูกต้องตามกฎของกระทรวง ซึ่งออกตามข้อความ ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์แล้ว ส�ำนักสงฆ์ หมายถึงวัดที่ราษฎร มีจิ ตใจเป็นกุ ศลร่วมกันสร้างเพื่อให้เป็น ที่พ�ำนักของพระภิกษุสงฆ์ และยังไม่ได้ รั บพระราชทานวิ สุงคามสีมา สามารถ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาได้ แต่ยัง ไม่มีอุโบสถส�ำหรั บสังฆกรรม
13
เทคนิคสังเกต วิหาร กับ
อุโบสถ
เด็กๆ หลายคนเมื่อเห็นอุโบสถและวิ หารอาจ สงสัยว่า เอ๊ะ...แตกต่างกันอย่างไร? เทคนิคง่ายๆ เลย ลองสังเกตรอบๆ อาคาร หากมี ใบสีมาหรื อซุ ้มสีมาปัก อยู่รอบอาคารหลังนั้นทั ้ ง 8 ทิศ เพื่อก�ำหนดขอบเขต ศักดิ์สิทธิ์ แสดงว่าอาคารหลังนั้นเป็นอุโบสถ แต่ถ้าไม่มี ก็จะเป็นวิ หาร ถ้าบางวัดไม่เห็นซุ ้มสีมาหรือใบสีมา ลอง ไปดูที่ฐานอุโบสถว่ามี ใบสีมาติดอยู่ที่ฐานหรือไม่ เพราะ บางวัดอาจท�ำกันแบบนั้น หรือบางวัดใบสีมาอาจช�ำรุ ด สูญหายไปแล้วก็ ได้
เย้!...สังเกตเป็นแล้ว
14
14
ในวัดมีอะไรบ้าง
ตามไปดูกันเลย
วัดอาจมีสิ่งก่อสร้างมากบ้างน้อยบ้างแตกต่าง กันไปในแต่ละวัด แต่ โดยทั ่ วไปแล้วนั้น วัดจะมีสิ่งก่อ สร้างหลักๆ ดังนี้
พระเจดีย์
เป็นที่บรรจุ พระบรมสารี ริ กธาตุ (อัฐิหรื อกระดูกของพระพุ ทธเจ้า) หรื อ ประดิ ษ ฐานพระบรมอั ฐิ ข องพระมหากษั ต ริ ย ์ หรื อ อั ฐิ บุ ค คลส� ำคั ญ ของวัดนั้นๆ พระเจดี ย์นั้นมีหลายรูปแบบ เช่น ปรางค์ เจดี ย์ทรงระฆัง เจดี ย์เพิ่มมุม-ทรงเครื่อง
ปรางค์
หรือเจดี ย์ทรงปรางค์ เริ่ ม แรกปรั บรูปแบบมาจากปราสาทขอม เช่น ปรางค์วัดพระศรี รัตนมหาธาตุ จั งหวัดลพบุรี และมานิยมสร้างอย่าง มากในสมัยอยุธยา จนถึงสมัยรั ตน โกสินทร์ตอนต้น เราสังเกตปรางค์ สมัยรั ตนโกสินทร์ ได้ง่ายๆ คือมี ลักษณะเหมือนฝักข้าวโพด สูงเพรียว กว่าสมัยอยุธยามาก
15
15
เจดี ย์ทรงระฆัง คือ เจดี ย์ที่มีลักษณะคล้าย
ระฆัง มีต้นแบบส�ำคัญมาจากอินเดี ยและลังกา พบในศิลปะไทยมาทุกสมัย จนในสมัยรั ตนโกสินทร์ ซึ่งนิยมมากในสมัยรั ชกาลที่ 4
เจดี ย์เพิ่มมุม-ทรงเครื่อง
จุ ดเริ่ มต้น ของเจดี ย์ประเภทนี้มีมาแต่ครั้งสมัยอยุธยา แล้ว เราสังเกตง่ายๆ คือ เจดี ย์จะมีลักษณะ เป็นทรงสี่เหลี่ยม แต่ละมุมหยักหลายมุม เรา เรี ยกว่า เจดี ย์เพิ่มมุม หรือย่อมุม และหาก เจดี ย์ประเภทนี้ มีการประดับตกแต่งมากมาย ก็จะเรียกว่าเจดี ย์ทรงเครื่อง
หยักหลายมุม พระอุโบสถ หรือโบสถ์ เป็นอาคารส�ำหรับ ท�ำพิธีกรรมของพระสงฆ์ เช่น การอุปสมบท (บวช) การรั บกฐิน สวดมนต์ แต่เดิมมักมี ขนาดเล็ก แต่ปัจจุ บันนิยมสร้างให้มีขนาด ใหญ่ โตมาก ภายในอุโบสถจะมีพระพุ ทธรูป ประดิษฐานอยู่
16
พระวิ หาร เป็นอาคารส�ำหรับท�ำพิธีกรรมของพระสงฆ์ แต่เดิมวิ หารมีขนาด
ใหญ่ และสร้างคู่กับ เจดี ย์ ต่อมาได้ลดความส�ำคัญมีขนาดเล็กลง จึงใช้เป็นที่ ประดิษฐานพระพุ ทธรูป
ระเบี ยงคด คือ ทางเดินที่คดโค้ง
ล้อมรอบศาสนสถานส�ำคัญ บ่งบอก ถึงความเป็นเขตศักดิ์สิทธิ์ ระเบี ยง คดจะเป็นทางเดินที่มีหลังคาคลุม เราสามารถเดินจนสุดรอบ วัดบาง แห่งอาจมีหรือไม่มีระเบี ยงคดก็ ได้
สีมาและซุ ้มสีมา คือหลักที่ปักแสดง
ขอบเขตของอุโบสถ ใช้ปักทั ้ ง 8 ทิศ มี ลักษณะเป็นหินแกะสลักเป็นรูปโค้งปลาย ยอดแหลม
นอกจากนีย้ ังมีสิ่งก่อสร้างอีกมากมาย รอให้เราไปเยี่ยมชมภายในวัด
17