เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก
โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ กรุงเทพมหานคร ส�ำนักพิมพ์มติชน ๒๕๕๘
เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก • โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ ฉบับพิมพ์ของสำ�นักพิมพ์มติชน พิมพ์ครั้งแรก : สำ�นักพิมพ์มติชน, มีนาคม ๒๕๕๘ ราคา ๓๒๐ บาท ข้อมูลทางบรรณานุกรม โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก.-- กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๘. ๒๖๔ หน้า. -- (สารคดี). ๑. เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ, ๒๔๙๘ I. ชื่อเรื่อง. ๙๒๙.๗๕๙๓ ISBN 978 - 974 - 02 - 1383 - 3 ที่ปรึกษาส�ำนักพิมพ์ : อารักษ์ คคะนาท, สุพจน์ แจ้งเร็ว, สุชาติ ศรีสุวรรณ, ปิยชนน์ สุทวีทรัพย์, ไพรัตน์ พงศ์พานิชย์, นงนุช สิงหเดชะ ผู้จัดการส�ำนักพิมพ์ : กิตติวรรณ เทิงวิเศษ • รองผู้จัดการส�ำนักพิมพ์ : รุจิรัตน์ ทิมวัฒน์ บรรณาธิการบริหาร : สุลักษณ์ บุนปาน • บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : พัลลภ สามสี บรรณาธิการเล่ม : โมน สวัสดิ์ศรี • พิสูจน์อักษร : โชติช่วง ระวิน กราฟิกเลย์เอาต์ : กิตติชัย ส่งศรีแจ้ง • ออกแบบปก-ศิลปกรรม : สิริพงษ์ กิจวัตร ประชาสัมพันธ์ : ตรีธนา น้อยศรี หากท่านต้องการสั่งซื้อหนังสือเล่มนี้จ�ำนวนมากในราคาพิเศษ เพื่อมอบให้วัด ห้องสมุด โรงเรียน หรือองค์กรการกุศลต่างๆ โปรดติดต่อโดยตรงที่ บริษัทงานดี จ�ำกัด โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ต่อ ๓๓๕๓ โทรสาร ๐-๒๕๙๑-๙๐๑๒ www.matichonbook.com บริษัทมติชน จำ�กัด (มหาชน) : ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ต่อ ๑๒๓๕ โทรสาร ๐-๒๕๘๙-๕๘๑๘ แม่พิมพ์สี-ขาวดำ� : กองงานเตรียมพิมพ์ บริษัทมติชน จำ�กัด (มหาชน) ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ต่อ ๒๔๐๐-๒๔๐๒ พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์มติชนปากเกร็ด ๒๗/๑ หมู่ ๕ ถนนสุขาประชาสรรค์ ๒ ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๔-๒๑๓๓, ๐-๒๕๘๒-๐๕๙๖ โทรสาร ๐-๒๕๘๒-๐๕๙๗ จัดจำ�หน่ายโดย : บริษัทงานดี จำ�กัด (ในเครือมติชน) ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ต่อ ๓๓๕๐-๓๓๕๓ โทรสาร ๐-๒๕๙๑-๙๐๑๒ Matichon Publishing House a division of Matichon Public Co., Ltd. 12 Tethsabannarueman Rd, Prachanivate 1, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand หนังสือเล่มนี้พิมพ์ด้วยหมึกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อปกป้องธรรมชาติ ลดภาวะโลกร้อน และส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้อ่าน
คำ�นำ�สำ�นักพิมพ์
ส�ำหรับหมุดหมายของการสร้างชาตินั้น “การศึกษา” ถือเป็นปัจจัย หลักที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้า มิใช่เพื่อยกระดับคุณภาพทางความ คิดเพียงเท่านั้น หากแต่เป็นการน�ำความรู้ที่ได้ร�่ำเรียนมาสร้างประโยชน์แก่คน ส่วนใหญ่ ขณะเดียวกันในมิติของการศึกษาไทย เป็นที่ทราบของพสกนิกรทุกหมู่ เหล่าว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงให้ความส�ำคัญ แก่การศึกษามาโดยตลอด นับแต่ทรงพระอักษรที่โรงเรียนจิตรลดา ก่อนจะทรง สอบเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยถือเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์แรกที่ทรงเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาใน ประเทศ อีกทั้งพระองค์ยังทรงส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้านจารึกภาษา ตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมถึงสาขาบาลีและสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และที่ส�ำคัญ พระองค์ท่าน ยังได้ทรงพระอักษรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ในวาระเดียวกับที่สมเด็จพระเทพฯ ทรงพระอักษรระดับปริญญาเอกนั้น เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 5
“โกวิท วงศ์สุรวัฒน์” นักศึกษาปริญญาเอกภายใต้สถาบันเดียวกันก็ได้มีโอกาส เป็นพระสหายร่วมกับนักศึกษารวมกัน ๑๐ ชีวติ เขาและพระสหายจึงได้มโี อกาส เข้าเฝ้าพระองค์ท่านในชั้นเรียนหลายครั้ง ได้พบเห็นพระปรีชาสามารถและพระ อัจฉริยภาพของพระองค์ท่านที่ได้ทรงทุ่มเทให้แก่การทรงพระอักษรก่อนจะ ประมวลเป็นหนังสือ “เมื่อสมเด็จพระเทพฯ ทรงพระอักษรระดับปริญญาเอก” ไว้เมื่อปี ๒๕๔๓ และเนือ่ งในวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ซึ่งพระองค์จะทรงเจริญพระ ชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ผู้เขียนจึงได้น�ำหนังสือเล่มดังกล่าวมาปรับปรุงและ ตีพิมพ์อีกครั้งภายใต้ชื่อหนังสือใหม่ว่า “เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก” เล่มนี้ ส�ำนักพิมพ์มติชนมีความปลื้มปีติที่ได้รับเกียรติจาก โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ ส�ำหรับการจัดพิมพ์หนังสือเนื่องในวาระอันเป็นมหามงคลสมัย เพื่อให้นักอ่าน ได้พบเรื่องราวในระหว่างที่สมเด็จพระเทพฯ ทรงพระอักษรในระดับปริญญาเอก ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร อันเป็นการเผยแพร่พระอัจฉริย ภาพในระหว่างการทรงพระอักษร ทั้งยังบันทึกเรื่องราวของพระอาจารย์ที่เคย ถวายพระอักษรแก่พระองค์ท่าน นับเป็นหนังสืออันทรงคุณค่า เหมาะสมอย่างยิ่งส�ำหรับปวงชนชาวไทย ที่จะได้หวนร�ำลึกถึงการทรงพระอักษรของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี อันเป็นดุจมิง่ ขวัญก�ำลังใจแก่การเรียนการศึกษาของเหล่าพสกนิกร อีกด้วย ส�ำนักพิมพ์มติชน
6 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์
คำ�นำ�ผู้เขียน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสริ นิ ธร รัฐสีมาคุณากร ปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จฯ ไปทรงพระอักษรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร- เป็นซอยสุขุมวิท ๒๓ เดิมชื่อว่า ซอยประสานมิตร) เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๔ โดยมี พระสหายร่วมรุ่นศึกษาอีก ๑๐ คน ส�ำหรับผู้เขียนก็มีโอกาสได้เข้าร่วมศึกษา ในครั้งนั้นเมื่อ ๓๔ ปีมาแล้ว ขณะนั้นผู้เขียนมีบุตร ๓ คน คนโตเป็นหญิง อายุ ๕ ขวบ, คนทีส่ องเป็นชาย อายุ ๔ ขวบ และคนทีส่ ามเป็นหญิง อายุ ๑ ขวบตาม ล�ำดับ จึงมักโดนล้อว่าเป็น “นักเรียนพ่อลูกอ่อน” มิหน�ำซ�้ำระหว่างที่เรียนอยู ่ ก็มลี กู ชายอีกคนหนึง่ เมือ่ พ.ศ.๒๕๒๘ ก็เลยได้ฉายาใหม่วา่ “นักเรียนพ่อลูกดก” ที่เกริ่นเรื่องลูกขึ้นนี้เนื่องจากลูกสาวคนโตผู้เคยเข้าเฝ้าฯ รับเสด็จสมเด็จ พระเทพฯ เมือ่ ตอนอายุ ๗ ขวบทีบ่ า้ นท่านอาจารย์ ดร.เอกวิทย์ และ ดร.กานดา ณ ถลาง เมื่อครั้งที่พระองค์ท่านเสด็จฯ ไปเสวยพระกระยาหารกลางวันเป็นการ ส่วนพระองค์กัน และพระสหายได้เตือนผู้เขียนว่า เมื่อ ๒๓ ปีที่แล้วในวโรกาส ทีส่ มเด็จพระเทพฯ เจริญพระชนมายุได้ ๓๖ พรรษา บรรดาพระสหายได้รว่ มกัน ท�ำหนังสือที่ระลึกชื่อ “เจ้าฟ้านักพัฒนา” ขึ้นเล่มหนึ่ง ขณะนี้ใกล้จะถึงวาระ เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 7
มหามงคลทีส่ มเด็จพระเทพฯ จะเจริญพระชนมายุได้ ๖๐ พรรษา ใน พ.ศ.๒๕๕๘ แล้ว ผู้เขียนน่าจะน�ำหนังสือ เมื่อสมเด็จพระเทพฯ ทรงพระอักษรระดับ ปริญญาเอก ที่ผู้เขียนได้เคยเขียนไว้และตีพิมพ์เมื่อ ๑๔ ปีก่อนมาปรับปรุง เพื่อจัดการตีพิมพ์ขึ้นใหม่อีกสักครั้ง ครับ! ได้คดิ เมือ่ ลูกเตือนนีเ่ อง อนึง่ ผูเ้ ขียนขออนุญาตถือโอกาสนีน้ �ำเอา บทความในบล๊อก O.K. Nation ที่ตีพิมพ์อยู่ในอินเตอร์เน็ตเมื่อเดือนมกราคม ๒๕๕๓ โดย Pro.Trainer ที่เขียนแนะน�ำหนังสือเล่มนี้ (ฉบับพิมพ์ครั้งแรกโดย ส�ำนักพิมพ์ต่วย’ตูน ในปี ๒๕๔๔) ไว้ดังนี้ “เมื่อวานนี้ผมค้นหาหนังสือ ต�ำรา เอกสารประกอบเกี่ยวกับเรื่องการ บริหารเวลา (Time Management) จากตู้หนังสือที่บ้าน ตั้งใจจะเอาไปให้โจ้ ลูกศิษย์ดูเป็นตัวอย่าง เพราะว่าเขาก�ำลังจะไปเป็นวิทยากรฝึกอบรมหัวข้อนี้ให้ กับสายการบินนกแอร์ในสัปดาห์หน้า โชคดีมากที่เจอสิ่งที่ต้องการและได้เอาไปให้ลูกศิษย์เรียบร้อยแล้ว แต่ ที่โชคดีกว่านั้นคือ ขณะที่ผมค้นหนังสือให้โจ้ ผมได้พบหนังสือเก่าๆ หลายเล่ม พอได้อ่านอีกครั้งก็ยังได้ความรู้และแง่คิดดีๆ มากมาย วันนี้ผมจึงอยากพูดถึง หนังสือเล่มหนึ่ง ชื่อว่า ‘เมื่อสมเด็จพระเทพฯ ทรงพระอักษรระดับปริญญาเอก’ เขียนโดยคุณโกวิท วงศ์สรุ วัฒน์ พระสหายร่วมชัน้ เรียนปริญญาเอกของพระองค์ สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (มศว ประสานมิตร) เมื่อปี ๒๕๒๔ ผมอ่านในบทแรกๆ ที่หน้า ๑๖-๑๗ ก็ได้รู้ความจริงบางอย่างที่คนไทย หลายๆ คนทีก่ ำ� ลังตัดสินใจเรียนต่อไม่วา่ จะระดับไหนก็ตาม น่าจะยึดถือเอาเป็น เยี่ยงอย่าง เรื่องมีอยู่ว่า... จริงๆ ก่อนหน้าที่จะทรงพระอักษรระดับปริญญาเอกที่ มศว พระองค์ เคยทรงสอบเข้าเรียนต่อปริญญาเอกสาขาศาสนศึกษาที่มหาวิทยาลัยมหิดลได้ แล้วเป็นโครงการของมหาวิทยาลัยแลงคาสเตอร์ โดยจะมีอาจารย์จากอังกฤษมา ประจ�ำสอนทีม่ หิดล แล้วก็จะมีการสอบวิทยานิพนธ์ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 8 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์
แลงคาสเตอร์ และให้ปริญญาของแลงคาสเตอร์ด้วย ท�ำนองว่าเป็นการเรียน ที่แลงคาสเตอร์โดยไม่ต้องไปอังกฤษนั่นเอง แต่พระองค์ท่านไม่ทรงโปรดที่จะเข้าทรงพระอักษร เนื่องจากทรงเห็น ว่าค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายต่างๆ มีราคาเท่ากับที่อังกฤษ จะถูกกว่าก็ตรงที่ ไม่ต้องเสียเงินค่าที่พักและค่าเครื่องบินเท่านั้น นอกจากนี้ก็ไม่ได้เข้าห้องสมุด ของมหาวิทยาลัยแลงคาสเตอร์ด้วย คิดแล้วดูจะไม่คุ้ม คุณโกวิทผู้เขียนหนังสือ เล่มนีเ้ คยกราบทูลถามสมเด็จพระเทพฯ ในเรือ่ งการตัดสินพระทัยครัง้ นัน้ พระองค์ ท่านทรงอธิบายให้ฟังตามที่อธิบายมาแล้วและลงท้ายด้วยว่า...‘พระเจ้าอยู่หัว บอกว่าแพง’ แค่บทนีบ้ ทเดียวก็ให้แง่คดิ ทีด่ กี บั คนไทยทุกคน ในหลวงของเราทรงเป็น ผู้ให้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และพระองค์ท่านก็ยังทรงปฏิบัติให้ดูเป็นแบบ อย่างตลอดมาด้วย นอกจากนั้น ผู้ที่อ่านหนังสือเล่มนี้จะได้เห็นแนวคิดและวิธี ในการเรียนการสอนระดับปริญญาเอกในเมืองไทยที่เข้มข้นไม่แพ้ต่างประเทศ หลั ก สู ต รปริ ญ ญาเอกสาขาพั ฒ นศึก ษาศาสตร์ข องมหาวิท ยาลัย ศรี นครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นหลักสูตรทีน่ ำ� มาจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา แต่ดัดแปลงให้เหมาะสมกับประเทศไทย มีจุดเน้นที่ส�ำคัญคือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยใช้มาตรการทางการศึกษาอบรมเป็นสื่อในการ พัฒนา หลังจากอ่านบทแรกๆ ผ่านไป ๒-๓ บท ผมก็รีบพลิกเข้าไปอ่านด้านใน แบบผ่านๆ อีกครั้ง เพราะผมเคยอ่านหนังสือเล่มนี้จบไปเมื่อนานมาแล้ว เวลา อ่านหนังสือ ผมชอบขีดเส้น ป้ายสีขอ้ ความทีผ่ มชอบไว้ เลยอยากบันทึกบางส่วน มาให้พวกเราอ่านด้วย เช่น... ...มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ่านว่า สี-นะ-คะ-ริน-วิ-โรด เป็นชื่อ ทีไ่ ด้รบั พระราชทานนามจากในหลวง แต่หลายคนมักอ่านผิด เรียกผิดเป็น สี-นะ- คะ-ริน-ทะ-ระ-วิ-โรด ...ปรัชญาการเรียนพัฒนศึกษาศาสตร์นั้น ศ.ดร.เฉลียว บุรีภักดี บอกว่า ต้องใช้วิธีการแบบ Plus Sum Game คือ ช่วยเหลือร่วมมือกัน ทุกคนจะต้องได้ เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 9
ผลประโยชน์รว่ มกันอย่างสมเหตุสมผล อย่าได้ใช้วธิ แี บบ Zero Sum Game คือ คนได้ประโยชน์จากการเสียประโยชน์ของคนอื่น ...ข้อเขียนของ E.F. Schumacher จากหนังสือเรือ่ ง Small is Beautiful : Economic as if People Mattered ตอนหนึ่งบอกไว้ว่า ‘จงยอมตนเป็นคนที่ ไม่รหู้ นังสือแล้วหันมาต่อสูก้ บั ความทุกข์ยาก เพือ่ ให้ได้มาซึง่ อิสรภาพ ดีกว่าทีจ่ ะ ไปศึกษาหาความรู้แล้วตกอยู่ในโซ่ตรวนของความเป็นทาส’ ประโยคเด็ดนี ้ หลายคนคงได้คำ� ตอบนะครับว่าทีเ่ ราเรียนกันมาแทบตาย ทั้งปริญญาตรี โท เอก ทุกวันนี้เราท�ำงานแบบเป็นไท มีอิสรภาพ หรือเป็นทาส กับองค์กรและเจ้านายกันแน่ ...ศาสตราจารย์รธู ฟุลตัน เบเนดิกส์ แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สุภาพ สตรีคนนี้ไม่เคยมาประเทศไทย แต่ได้ท�ำการศึกษานิสัยประจ�ำชาติของคนไทย โดยศึกษาจากเอกสารและหนังสือกับสัมภาษณ์คนไทยในสหรัฐอเมริกา งาน เขียนของรูธ เบเนดิกส์ ได้รบั การแปลเป็นภาษาไทยเมือ่ ปี ๒๕๒๔ ชือ่ เรือ่ ง ‘Thai Culture and Behavior - วัฒนธรรมและพฤติกรรมของไทย’ รูธ เบเนดิกส์ สรุป ว่าลักษณะนิสัยประจ�ำชาติไทย คือ ‘คนไทยมีนิสัยชอบซ�้ำเติมคนที่พลาดพลั้งจากการถูกหลอกลวงหรือถูก ท�ำร้าย แต่ไม่ค่อยมีความรู้สึกว่าคนที่หลอกลวงหรือท�ำร้ายคนอื่นนั้นมีความผิด แต่อย่างใด...’ ส�ำหรับผมได้แง่คิดมากมาย...ทั้งเรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับการ เรียนหนังสือ...การเรียนหนังสือไม่ว่าปริญญาตรี โท หรือเอก และไม่ว่าจะเรียน ในเมืองไทยหรือจะไปต่างประเทศ คุณค่าของมันไม่ได้อยูว่ า่ เรียนทีไ่ หน แต่อยูท่ ี่ เรียนแล้วน�ำความรู้ไปช่วยเหลือ ไปพัฒนาสังคม ช่วยเหลือส่วนรวมได้อย่างไร ต่างหาก ...และสุดท้าย ผมก็ได้แนวคิดในการปลูกฝังเรื่องการเรียนให้กับลูกชาย ป.๒ ของผม โดยกะว่าจะใช้วิธีเล่าเรื่องการเรียนของสมเด็จพระเทพฯ ที่ มศว ให้ลูกฟังแบบสนุกๆ วันละเล็กละน้อย เพราะในหนังสือเล่มนี้มีเกร็ดความรู้มาก มาย สามารถน�ำไปเล่าให้น่าสนใจและสนุกสนานได้ไม่ยาก” 10 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์
ครับ! ผู้เขียนคงไม่มีปัญญาแนะน�ำหนังสือที่ตัวเองเขียนได้ดีกว่า คุณ Pro.Trainer แน่นอน จึงขอจบค�ำน�ำของหนังสือ “เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก” ไว้แต่เพียงเท่านี้ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์
เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 11
“...ในวโรกาสทีส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ มาทรงพระอักษร ในฐานะนิสิตปริญญาเอก ในสาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รุ่นที่ ๔ นั้น ข้าพเจ้ามีความปลาบปลื้มใจและ ประทับใจในพระองค์หลายเรื่องมากเหลือเกิน แต่ในโอกาสนี้ข้าพเจ้าขอเลือก ที่จะกล่าวถึงความประทับใจในเรื่องกิจกรรมการทรงกีฬาบาสเกตบอลและ แบตมินตัน ประเภททีมผสม ในลักษณะของกิจกรรมกีฬาภายในของนิสิตระดับ ปริญญาเอก เพราะข้าพเจ้าเชือ่ ว่ากิจกรรมนีม้ พี ลังผลักดันให้กระแสการเล่นกีฬา เพื่อสุขภาพเกิดขึ้นในหมู่นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยที่ได้เข้าเฝ้าชื่นชม พระบารมี และพระอัจฉริยภาพในด้านกีฬาเป็นอย่างมาก และถือเป็นกิจกรรม มหามงคลของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรงพลศึกษา หรือที่เรียกกันว่า โรงยิมเนเซี่ยม ของมหาวิทยาลัยจนสุดที่จะบรรยายได้ ส�ำหรับในเรื่องส่วนตัวของข้าพเจ้าเองนั้น การได้รับพระราชทานพระ เมตตาและพระราชวโรกาสให้ร่วมลงเล่นบาสเกตบอลและแบดมินตันทีมผสม พร้อมกับพระองค์ท่านนั้น ถือว่าเป็นพระกรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหา
12 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์
ที่สุดมิได้ ในความทรงจ�ำของข้าพเจ้านั้นยังคงมองเห็นภาพในชั้นเรียนที่ข้าพเจ้า น�ำเสนอ ข้อเสนอวิจัยเบื้องต้น (Concept paper) เรื่องโครงการ ‘กีฬาเพื่อ การพัฒนาประเทศ’ ในรายวิชาการศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศ ซึ่งอยู่ในความ รับผิดชอบของศาสตราจารย์ ดร.เฉลียว บุรีภักดี หลังจากการน�ำเสนอผ่านไป ด้วยดี สมเด็จพระเทพฯ ได้ทรงมีรับสั่งว่า ‘เพิง่ รูน้ ะ ว่ากีฬามีความส�ำคัญมากขนาดนี ้ และสามารถน�ำมาใช้พฒ ั นา ประเทศได้ด้วย พวกเราต้องหาโอกาสมาเล่นกีฬากันบ้างแล้ว’ ซึง่ พระสหายทัง้ คณะได้นอ้ มรับพระราชด�ำริไปด�ำเนินการต่ออย่างจริงจัง จนเกิดเป็นกิจกรรมกีฬาครั้งประวัติศาสตร์ขึ้น ข้าพเจ้ามีความเชื่อมั่นว่า พระ ราชด�ำริและพระกระแสรับสั่งนี้ หากแม้นว่าพสกนิกรได้รับทราบก็คงปลาบปลื้ม และน�ำไปปฏิบัติตามรอยเบื้องพระยุคลบาทอย่างแน่นอน ขอถวายพระพรให้ พระองค์ทรงพระเกษมส�ำราญ และทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรงยิ่งยืน นาน...” ชาญชัย อินทรประวัติ (“นายเตียงฮง”)
เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 13
“...สิ่งที่ผมเรียนรู้และประทับใจคือได้เรียนรู้พระราชด�ำริ พระราชกรณียกิจในหลายๆ ด้าน ทรงเป็นแบบอย่างของการเชื่อมโยง บูรณาการศาสตร์ในแนวทางสหวิทยาการ (Interdisciplinary Approach) ตามหลักคิดของสาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์ ทรงประทานพระราชด�ำริการเข้าสู่สังคมฐานความรู้ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของสังคมและวัฒนธรรมไทย พระราชด�ำริการใช้ประโยชน์แหล่งเรียนรู้ จากบริบทสภาพแวดล้อมและการปฏิบตั จิ ริง ตลอดจนหลักการทรงงาน ในรูปแบบเครือข่ายและเรียนรู้จากผู้มีส่วนได้เสียทุกระดับ ทรงเน้นหลักการเรียนรู้แบบ สุ จิ ปุ ลิ ทั้งนี้โดยมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์สุขของสังคมและมนุษยชาติ...” เนาวรัตน์ พลายน้อย
14 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์
“...จ�ำได้ว่าตอนสอบเข้าศึกษาต่อปริญญาเอกที่ มศว ประสานมิตร ในปี ๒๕๒๔ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระ ราชด�ำเนินมาสอบพร้อมกับบุคคลอื่นๆ และผมเองไม่คิดว่าจะสอบได้เพราะมี ผู้เข้าสอบประมาณ ๒๐๐ คนเศษ...การได้เรียนพร้อมกับพระองค์ท่านท�ำให้ เห็นถึงพระราชจริยวัตรของพระองค์ในการศึกษาที่ทรงเอาพระทัยใส่อย่างจริงจัง และเรียนรู้ให้ลึกซึ้งที่สุด การมีน�้ำพระทัยที่งดงาม โอบอ้อมอารี ท�ำให้ทุกคน ในรุ่นและผมเชื่อว่าคนไทยทุกคนต้องรัก และเทิดทูนพระองค์อย่างเป็นที่สุด พร้อมที่จะเสียสละทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตเพื่อพระองค์ได้ จนปัจจุบันพระบารมี ของพระองค์ยังปกเกล้าปกกระหม่อมของผมอยู่ ได้มีโอกาสรับใช้เบื้องพระ ยุคลบาทในโครงการตามพระราชด�ำริที่พระองค์ด�ำเนินการอยู่ หลังจากเสร็จสิ้น ภารกิจจากกระทรวงศึกษาธิการ พระองค์ท่านยังทรงช่วยเหลือดูแลไปถึงครอบ ครัว เปรียบเป็นพระโพธิสัตว์ในชีวิต...” สมเกียรติ ชอบผล
เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 15
“...ผมได้เป็นส่วนหนึ่งของพัฒนศึกษาศาสตร์รุ่นที่ ๔ หรือที่สมเด็จพระ เทพฯ ท่านตรัสเรียกว่า gang of eleven ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์โลกที ่ เมืองจีนมี gang of four ในขณะนั้น เพราะเรามีกันทั้งหมดสิบเอ็ดคน ตลอด เวลาที่พวกเราศึกษาในชั้นเรียน ๒ ปี ทุกคนท�ำงานหนักมากที่จะต้องค้นคว้า และท�ำงานส่งอาจารย์ หลายครั้งเราต้องช่วยติวเสริมความรู้ให้แก่กัน เพราะ พวกเรามาจากต่างพื้นฐานการเรียนรู้ จึงมีการแบ่งหน้าที่กันไปเตรียมสาระที ่ จะมาช่วยสรุปให้เพื่อนตามความถนัดของแต่ละคน จ�ำได้ว่าพระองค์ท่านช่วย พัฒนาความรู้แก่พวกเราทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ส่วนพวกเรา ก็กระจายกันไปตามความถนัด ในระหว่างที่ทรงศึกษา เราได้เห็นว่าพระองค์ ทรงวิริยะอุตสาหะมาก และทรงมีพระปรีชาสามารถสูงมาก ถึงแม้จะมีพระราช ภารกิจมาก แต่พระองค์ก็จะเสด็จฯ มาเข้าเรียนอย่างสม�่ำเสมอตลอดเวลา ในช่วงเวลา ๒ ปีแรกก่อนที่เราจะแยกย้ายกันไปท�ำงานวิทยานิพนธ์ของตน พระองค์ก็ต้องศึกษาค้นคว้า ท�ำงานต่างๆ ไม่ต่างจากพวกเราเลย...” สรรค์ วรอินทร์
16 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์
“...สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นนักปราชญ์ ผู้รอบรู้หลากหลายวิชา เช่น ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา รัฐศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษายุโรปอีกหลายภาษา พระองค์ทา่ นทรงศึกษา อยูเ่ สมอด้วยพระองค์เอง ทรงลงมือปฏิบตั จิ ริงจนรูแ้ จ้งในช่วงทีเ่ ป็นนิสติ ปริญญา เอก พระองค์ท่านทรงขออนุญาตส่งรายงานด้วยลายพระหัตถ์ ซึ่งทรงพระนิพนธ์ ด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เองโดยไม่ตอ้ งพิมพ์ และคณาจารย์ทงั้ หลายก็อนุญาต การเขียนด้วยลายพระหัตถ์นนั้ เป็นการยืนยันชัดเจนว่าทรงปฏิบตั ดิ ว้ ยพระองค์เอง อย่างแท้จริง พระองค์ท่านทรงเป็นนักพัฒนาที่ทรงงานตลอดเวลาต่อเนื่องมิเคย หยุด ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ พระองค์ท่านทรงงานเพื่อความเจริญ รุ่งเรืองของสังคม ชาวบ้าน ชาวเมือง ชาวไทย และชาวโลก กระผมจ�ำได้อย่าง แม่นย�ำในพระราชด�ำรัสครั้งหนึ่งว่า ‘งานทุกอย่างท�ำให้ผู้อื่นทั้งสิ้น มีเพียง ๒ อย่างที่ท�ำให้ตนเองคือ กิน (เสวยพระกระยาหาร) และเรียน (ทรงวิชาศึกษาต่างๆ)’ จึงนับได้วา่ พระองค์ทา่ นเป็นยอดของนักพัฒนาผูเ้ สียสละอย่างแท้จริง...” สุวกิจ ศรีปัดถา
เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 17
“...พระองค์ท่านจะเสด็จฯ มาเรียนเป็นประจ�ำ และทุกครั้งพวกเราไม่ ผิดหวัง เพราะจะมีขนมอร่อยๆ จากในวังมาพระราชทาน ทรงให้เกียรติเพื่อน ร่วมชั้นทุกคน คนแก่กว่าจะทรงเรียกพี่ ทรงมีพระอารมณ์ขันและทรงเย้าแหย่ เพื่อนร่วมชั้นอย่างไม่ถือพระองค์ วันใดที่พระองค์ไม่เสด็จฯ มาเรียน บรรยากาศ ในห้องเรียนจะเงียบเหงาเสมอ สิ่งหนึ่งที่ผมประทับใจยิ่งคือ พระองค์ทรงมีสมาธิในการเรียนอย่างเยี่ยม ผมสังเกตการบันทึกของพระองค์ทา่ นเมือ่ ฟังบรรยายของพระอาจารย์ ทรงบันทึก ได้สะอาด เรียบร้อย และจะใช้ยางลบทันทีหากมีสงิ่ ทีไ่ ม่พอพระทัย ระหว่างเรียน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่วิเศษยิ่ง พระองค์ได้พระราชทานความรู้ที่ล�้ำลึกและ หลากหลายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผมรู้สึกว่าพระองค์เป็นเสมือนแก้วน�้ำที ่ พร้อมรับการเติมเต็มตลอดเวลา...” สุวัฒน์ เงินฉ�่ำ
18 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์
“...พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างของการใช้หลักพหูสูต คือ สุ จิ ปุ ลิ เพื่อ แสวงหาความรู้อย่างเด่นชัด ทั้งในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน เมื่อทรงเสด็จฯ เยีย่ มเยียนประเทศใด พระองค์จะทรงพระราชนิพนธ์สาระทีค่ วรรูเ้ กีย่ วกับประเทศ นั้นๆ โดยอาศัยข้อมูล จากการบันทึกของพระองค์ ทรงพิมพ์จ� ำหน่ายเพื่อน�ำ รายได้เข้ามูลนิธิสายใจไทยช่วยเหลือครอบครัวทหาร-ต�ำรวจที่ประสพภัยพิบัติ จากการรับใช้ชาติ เล่มแล้วเล่มเล่าทีท่ รงพระราชนิพนธ์อย่างต่อเนือ่ ง เล่มทีท่ รง พิมพ์จ�ำหน่ายในขณะทรงศึกษาพัฒนศึกษาศาสตร์ ได้แก่ ‘ย�่ำแดนมังกร’ พระองค์ทรงน�ำหนังสือเล่มนี้มาให้ดู พระสหายร่วมชั้นประเดิมซื้อกัน ทุกคน พระองค์ทรงแถมลายเซ็นพระนาม ‘สิรินธร’ ในหน้ารองปกให้ทุกคน แสดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงใช้เวลาในกิจกรรมที่เป็นสาระทั้งสิ้น งานเขียนหนังสือเล่มหนาๆ ใช้เวลาไม่นอ้ ย แต่ผลงานของพระองค์ปรากฏ ให้เห็นสม�่ำเสมอ ทั้งๆ ที่ทรงออกปฏิบัติพระราชภารกิจไม่ว่างเว้น พวกเราหลายคนพากันสงสัยว่าพระองค์ทรงบริหารเวลาได้อย่างไร พระองค์แสดงให้เห็นการปฏิบัติพระองค์ตามค�ำสอนของสมเด็จย่าที่ว่า ‘เวลาเป็นของมีค่า’ ไม่ทรงปล่อยเวลาให้ล่วงเลยไปโดยไร้ประโยชน์...” อุไร แฉล้ม
เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 19
เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก
สมเด็จพระเทพฯ ทรงโปรดเรื่องการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และขีดๆ เขียนๆ อยู่แล้ว พระองค์ทรงท�ำวิทยานิพนธ์เรื่อง “จารึกเขาพนมรุ้ง” อันเป็นผลงานชิ้นเอกด้านโบราณคดี ที่ส�ำคัญมากระดับโลกเลยทีเดียว
๑ เมือ่ สามสิบเจ็ดปีทแี่ ล้ว สมัยทีป่ ระเทศไทยโดยกระทรวงศึกษาธิการ ยังใช้ระบบการศึกษา “แบบ ๗-๕” คือ ระดับประถมศึกษามี ๗ ชั้น ป.๑-๗ ส่วนระดับมัธยมมี ๕ ชั้น คือ ม.ศ.๑-๕ ก็รวมเป็น ๑๒ ปีตามแบบสากล นั่นแหละ ความจริง ตามอุดมคติของการศึกษาทัว่ โลกก็คอื เด็กต้องได้รบั การศึกษา อย่างน้อย ๑๒ ปีทกุ คน ซึง่ ประเทศฝรัง่ ส่วนใหญ่เขาก็ทำ� ได้เกือบหมดทุกประเทศ แล้ว ส่วนประเทศทีอ่ า้ งว่าจน ยังไม่พร้อม ก็มกั จะมีการศึกษาภาคบังคับเอาแค่ ประถมศึกษาก็พอ ท่านผู้อ่านที่มีอาวุโสหน่อย (ก็แก่นั่นแหละครับ) คงเคยเรียน หนังสือระบบ ๔-๖-๒ มาแล้ว คือประถมศึกษา ๔ ปี แล้วก็มัธยมศึกษา ๖ ปี พอเสร็จแล้วก็มีชั้นเตรียมอุดมศึกษาอีก ๒ ปี รวมแล้วก็ ๑๒ ปีเหมือนกัน ครั้นถึง พ.ศ.๒๕๒๓ ทางกระทรวงศึกษาธิการเห็นว่าประเทศไทยยังไม่ พร้อมที่จะมีการศึกษาภาคบังคับ ๗ ปี จึงเปลี่ยนระบบเป็นแบบ “๖-๖” อย่างที่ เห็นอยู่ทุกวันนี้ เมื่อประมาณสิบกว่าปีก่อน กระทรวงศึกษาธิการเคยคิดว่าจะเปลี่ยน ระบบเป็นแบบ “๙-๓” (แต่จนถึงตอนนี้ก็ยังไม่ได้เปลี่ยน) ซึ่งถ้าประเทศไทยมี การศึกษาภาคบังคับได้ ๑๒ ปีก็คงดี จะได้คุยไปยืดไปกับฝรั่งเขาได้หน่อย เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 31
ครับ! เมื่อก่อน (คือก่อนการเปลี่ยนแปลงมาเป็นแบบ ๖-๖ ใน พ.ศ. ๒๕๒๓) การสอบไล่ชั้น ม.ศ.๕ นั้นใช้ข้อสอบเหมือนกันทั่วประเทศ และสอบ พร้อมกันทั่วประเทศ เป็นมหกรรมอันยิ่งใหญ่ประจ�ำปีทีเดียวแหละ เรื่องโหด อย่าให้พูดเลย บางจังหวัดสอบได้คนเดียวก็มี พอสอบเสร็จก็ไปสอบเข้ามหา วิทยาลัยต่อได้เลย ซึ่งเรื่องเศร้าๆ ยิ่งกว่าละครโทรทัศน์เกิดขึ้นอย่างน่าเกลียด น่าชัง กล่าวคือ ผลการสอบทั้งสอบไล่กับสอบเข้านั้นมักจะประกาศไล่เลี่ยกัน พรรคพวกบางคนสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ แต่สอบ ม.ศ.๕ ตก ครั้นปีต่อไปสอบ ม.ศ.๕ ได้ แต่ดันสอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้ เล่นเอาเถิดเจ้าล่อกันจนเหนื่อย กว่าจะได้เรียนมหาวิทยาลัยก็หนวดหงอกพอดี ตอนที่สอบข้อสอบเดียวกันทั่วประเทศ จะมีการประกาศรายชื่อผู้ที่สอบ ได้ที่ ๑ ถึงที่ ๕๐ คนแรก เรียกว่า “พวกติดบอร์ด” โก้เสียไม่มีล่ะ ทั้งวิทยุและ หนังสือพิมพ์จะประโคมข่าวกันเป็นสัปดาห์เชียว พวกทีต่ ดิ บอร์ดทัง้ หลายก็กลาย เป็นพวกหัวกะทิอยู่ในปัจจุบัน ที่ผมจะเล่าต่อไปก็คือ เมื่อมีการประกาศผลการสอบไล่ชั้น ม.ศ.๕ ทัว่ ประเทศของปี พ.ศ.๒๕๑๖ นัน้ สร้างความชืน่ ชมยินดีตอ่ ประชาชนชาว ไทยเป็นล้นพ้น เมือ่ ทราบว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรนิ ธรเทพรัตน ราชสุดา ทรงสอบได้เป็นล�ำดับที่ ๑ ของนักเรียน ม.ศ.๕ ทั้งประเทศในปี นั้น ข่าวใหญ่ต่อมาในระยะเวลาไม่ห่างกันนักคือ ข่าวที่สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดา ทรงสอบเข้าคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งพระองค์ท่านทรงเลือกเป็นอันดับแรก โดย พระองค์ท่านทรงท�ำคะแนนได้เป็นล�ำดับที่ ๔ ของจ�ำนวนนักเรียนที่สอบ เข้าได้ในคณะอักษรศาสตร์นี้จ�ำนวน ๒๐๐ คนเศษ การที่ทรงสอบเข้าได้เป็นล�ำดับที่ ๔ นี่เอง ท�ำให้ข้อกังขาประดามี ของพวกขี้สงสัยที่ว่า พระองค์ท่านเก่งจริงหรือ? หมดไปโดยสิ้นเชิง เทพรัตนอักษรา เจ้าฟ้าปริญญาเอก 33