สงครามสามก๊ก : 26 ยุทธวิธีส ชั ู่ ยชนะ
หลี่อันสือ เขียน เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล แปล นวรัตน์ ภักดีค�ำ บรรณาธิการพิเศษ
กรุงเทพมหานคร ส�ำนักพิมพ์มติชน 2558
สงครามสามก๊ ก : 26 ยุทธวิธีสู่ชัยชนะ • เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล แปล จากเรื่อง《三國戰役》by 李安石 copyright © 2006 by 李安石 Thai Language Copyright © 2015 by Matichon Publishing House. All rights reserved. Published by arrangement with Business Weekly Publications, Inc. Through Tuttle-Mori Agency Co., Ltd. พิมพ์ครั้งแรก : สำ�นักพิมพ์มติชน, มกราคม 2558 ราคา 240 บาท ข้อมูลทางบรรณานุกรม เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล. สงครามสามก๊ก : 26 ยุทธวิธีสู่ชัยชนะ. กรุงเทพฯ : มติชน, 2557. 304 หน้า. -- (ประวัติศาสตร์). 1. สามก๊ก--ประวัติและวิจารณ์. 2. สามก๊ก--ตัวละคร--ประวัติและวิจารณ์. I. เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล, ผู้แปล. II. ชื่อเรื่อง. 895.130927 ISBN 978 - 974 - 02 - 1376 - 5 ที่ปรึกษาส�ำนักพิมพ์ : อารักษ์ คคะนาท, สุพจน์ แจ้งเร็ว, สุชาติ ศรีสุวรรณ, ปิยชนน์ สุทวีทรัพย์, ไพรัตน์ พงศ์พานิชย์, นงนุช สิงหเดชะ ผู้จัดการส�ำนักพิมพ์ : กิตติวรรณ เทิงวิเศษ • รองผู้จัดการส�ำนักพิมพ์ : รุจิรัตน์ ทิมวัฒน์ บรรณาธิการบริหาร : สุลักษณ์ บุนปาน • บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : พัลลภ สามสี บรรณาธิการพิเศษ : นวรัตน์ ภักดีค�ำ • บรรณาธิการเล่ม : จันทรัตน์ สิงห์โตงาม พิสูจน์อักษร : เมตตา จันทร์หอม • กราฟิกเลย์เอาต์ : กิตติชัย ส่งศรีแจ้ง ออกแบบปก-ศิลปกรรม : อุชุกร ลิ้มพานิชชนก • ประชาสัมพันธ์ : ตรีธนา น้อยสี หากท่านต้องการสั่งซื้อหนังสือเล่มนี้จ�ำนวนมากในราคาพิเศษ เพื่อมอบให้วัด ห้องสมุด โรงเรียน หรือองค์กรการกุศลต่างๆ โปรดติดต่อโดยตรงที่ บริษัทงานดี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0-2580-0021 ต่อ 3353 โทรสาร 0-2591-9012
www.matichonbook.com บริษัทมติชน จำ�กัด (มหาชน) : 12 ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ 1 เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2580-0021 ต่อ 1235 โทรสาร 0-2589-5818 แม่พิมพ์สี-ขาวดำ� : กองงานเตรียมพิมพ์ บริษัทมติชน จำ�กัด (มหาชน) 12 ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ 1 เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2580-0021 ต่อ 2400-2402 พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์มติชนปากเกร็ด 27/1 หมู่ 5 ถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2584-2133, 0-2582-0596 โทรสาร 0-2582-0597 จัดจำ�หน่ายโดย : บริษัทงานดี จำ�กัด (ในเครือมติชน) 12 ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ 1 เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2580-0021 ต่อ 3350-3353 โทรสาร 0-2591-9012 Matichon Publishing House a division of Matichon Public Co., Ltd. 12 Tethsabannarueman Rd, Prachanivate 1, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand หนังสือเล่มนี้พิมพ์ด้วยหมึกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อปกป้องธรรมชาติ ลดภาวะโลกร้อน และส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้อ่าน
สารบัญ
ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ อารัมภบท-บทเรียนจากประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก บทน�ำ
1. ศึกอ้วนเสี้ยวยึดกิจิ๋ว อ้วนเสี้ยว VS. ฮันฮก ศึกแรกที่ท�ำให้อ้วนเสี้ยวก้าวขึ้นเป็นผู้น�ำที่ยิ่งใหญ่และเข้มแข็งที่สุด 2. ศึกชิงกุนจิ๋ว โจโฉ VS. ลิโป้ โจโฉเสียกุนจิ๋วและทวงคืนกุนจิ๋ว 3. ศึกตงกุ๋น จางหง VS. อ้วนเสี้ยว ศึกที่อาจหาญที่สุดในประวัติศาสตร์สามก๊ก 4. ศึกชิงอิวจิ๋ว กองซุนจ้าน VS. เล่าหงี/อ้วนเสี้ยว VS. กองซุนจ้าน ความยิ่งใหญ่และจุดจบของกองซุนจ้าน 5. ประหารลิโป้ โจโฉ VS. ลิโป้ ศึกปิดฉากชีวิตแม่ทัพอันดับหนึ่งแห่งสามก๊ก
6 10 22
33 43 53 61 71
6. โจโฉรับเตียวสิ้วเป็นพันธมิตร โจโฉ VS. เตียวสิ้ว ศึกเตรียมความพร้อมสู่มหาสงครามแห่งกัวต๋อ 7. ศึกกัวต๋อ โจโฉ VS. อ้วนเสี้ยว สงครามสองมหาอ�ำนาจแย่งชิงความเป็นใหญ่ 8. ศึกผาแดง (ศึกเซ็กเพ็ก) โจโฉ VS. ซุนกวน/เล่าปี่ สงครามแบ่งแผ่นดินเป็นสาม 9. เล่าปี่ยืมเกงจิ๋ว เล่าปี่ VS. ซุนกวน ชนวนการเสียชีวิตของกวนอูและความพ่ายแพ้ของเล่าปี่ 10. ศึกกวนจง โจโฉ VS. ม้าเฉียว สงครามด่านชั้นนอกก่อนเข้าโจมตีฮันต๋ง 11. ศึกชิงเลียงจิ๋ว เอียวฮู VS. ม้าเฉียว ศึกครั้งสุดท้ายของวุยก๊กก่อนรวมภาคเหนือเป็นหนึ่ง 12. เล่าปี่ยึดเอ๊กจิ๋ว เล่าปี่ VS. เล่าเจี้ยง เล่าปี่บรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์หลงจง 13. ศึกชิงสามเมืองแห่งเกงจิ๋ว ซุนกวน VS. เล่าปี่ สงครามที่ให้ข้าศึกยอมจ�ำนนโดยไม่ต้องสู้รบ 14. ศึกพิทักษ์หับป๋า เตียวเลี้ยว VS. ซุนกวน ศึกแห่งความกล้าหาญ ทหารม้าแปดร้อยนายถล่มกองทัพนับแสน
83 93 111 125 133 139 147 161 169
15. ศึกชิงฮันต๋ง โจโฉ VS. เตียวฬ่อ/เล่าปี่ VS. โจโฉ สมรภูมิที่นำ� เล่าปี่สู่ความรุ่งโรจน์สูงสุดในชีวิต 16. จากยุครุ่งโรจน์สู่การเสียเกงจิ๋ว กวนอู VS. โจหยิน/ลิบอง สงครามเปลี่ยนยุคเฟื่องฟูสู่ยุคตกต�่ำของกวนอู 17. ศึกอิเหลง เล่าปี่ VS. ลกซุน สมรภูมิที่น�ำมาสู่การสิ้นใจของเล่าปี่ และการล่มสลายของจ๊กก๊ก 18. ศึกซินเสีย สุมาอี้ VS. เบ้งตัด สงครามปราบข้าศึกโดยไม่ตกเป็นเหยื่อ 19. ศึกเกเต๋ง เตียวคับ VS. ม้าเจ็ก ขงเบ้งประหารม้าเจ็กทั้งน�้ำตา 20. ศึกตันฉอง ขงเบ้ง VS. เฮ็กเจียว ทหารหนึ่งพันสยบกองทัพหนึ่งแสน 21. ศึกซ่างกุย ขงเบ้ง VS. สุมาอี้ เด็กชายสุมาอี้ในโรงเรียนขงเบ้ง 22. ศึกสุดท้ายของขงเบ้ง ขงเบ้ง VS. สุมาอี้ ขงเบ้งคนตายหลอกสุมาอี้คนเป็น 23. ศึกเลียวตั๋ง สุมาอี้ VS. กองซุนเอี๋ยน สงครามรู้เขารู้เรา
177 187 199 211 219 231 239 249 259
24. ศึกแห่งการล่มสลายของจ๊กก๊ก สุมาเจียว VS. เล่าเสี้ยน สงครามอ�ำลาจ๊กก๊ก 25. ศึกซีหลิง ลกข้อง VS. ปู้ฉัน/เอียวเจียว/สวีอิ๋น/เอียวเก๋า สุดยอดสงคราม 1 ต่อ 4 ของลกข้อง 26. จิ้นก๊กล้มง่อก๊ก สุมาเอี๋ยน VS. ซุนโฮ สงครามปิดฉากสามก๊ก
269 279 287
ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์
ท�ำไมจึงมีคนกล่าวถึงสามก๊กกันไม่รู้จบ สามก๊กเล่าถึงช่วงปลายราชวงศ์ฮนั่ ราชส�ำนักจีนอ่อนแอ ขุนศึกพากัน ตั้งตนเป็นใหญ่ แผ่นดินแตกเป็นสามขั้วอ�ำนาจ ได้แก่ วุยก๊กของโจโฉ ครอง อ�ำนาจบริเวณภาคเหนือ ง่อก๊กของซุนกวน ครองอ�ำนาจบริเวณภาคใต้ทาง ฝั่งซ้ายของลุ่มแม่นำ�้ แยงซีเกียง หรือที่เรียกกันว่ากังตั๋ง และจ๊กก๊กของเล่าปี ่ ครองอ�ำนาจบริเวณมณฑลเสฉวนในปัจจุบัน ทั้งสามก๊กมีจุดมุ่งหมายเพียง หนึ่งเดียวคือรวมจีนเป็นปึกแผ่น แต่เมื่อทัศนคติแตกต่างจึงเกิดการแย่งชิง อ�ำนาจและรบพุ่งกัน สิ่งแรกที่จะได้จากการอ่านสามก๊กคือการรู้จักคน เพราะบุคคลใน สามก๊กมีบุคลิกแตกต่างกันชัดเจน และไม่มีใครดีใครเลวร้อยเปอร์เซ็นต์ ตามทฤษฎีที่ว่าจิตใจมนุษย์เปลี่ยนแปลงเสมอ ไม่ว่าเพราะผลประโยชน์หรือ สภาพการณ์ อีกอย่างคือวิถสี อู่ ำ� นาจและวิธใี ช้อำ� นาจ เพราะแต่ละก๊กมีผนู้ ำ� ต่างนิสยั เราจะเห็นได้ชดั ว่าการปฏิบตั ติ นเช่นไรน�ำไปสู่ผลลัพธ์เช่นไร แต่ละก๊กรุ่งโรจน์ หรือล่มสลายลงด้วยน�้ำมือผู้น�ำคนไหน ผู้คนจึงนิยมน�ำหลากหลายแง่มุม สงครามสามก๊ก : 26 ยุทธวิธีสู่ชัยชนะ 7
ในสามก๊กมาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ได้อมตะตลอดกาล โบราณว่าให้เรียนรู้จากอดีต “สงครามสามก๊ก” เป็นทั้งอดีตที่มีทั้ง ตัวอย่างและเยีย่ งอย่างการครองตน ร้อยคนอ่านก็เรียนรูไ้ ด้รอ้ ยอย่าง เพราะ น�ำมาคิดต่อได้ไม่รู้จบ เมื่อเรียนรู้ลักษณะนิสัยอันหลากหลายก็รู้วิธีรับมือ ผู้คนร้อยพันบุคลิก เช่นนั้นคนที่อ่านสามก๊กจนเข้าใจย่อมแตกฉานศาสตร์ ของจิตวิทยาและมนุษยวิทยา และย่อมครองตนได้เป็นที่เคารพเกรงขาม ของคนทั่วไป น้อยคนที่อ่านสามก๊กจนจบ แต่หลี่อันสือผู้แตกฉานประวัติศาสตร์ และต�ำราพิชัยสงครามได้ย่อยประวัติศาสตร์ 96 ปีตลอดยุคสามก๊ก โดยอ้าง อิงจากทั้งวรรณกรรมสามก๊กของหลอกว้านจง และข้อเท็จจริงจากจดหมาย เหตุสามก๊ก ของเฉินโซ่ว เรียบเรียงเป็น “สงครามสามก๊ก” เล่มกระชับนี ้ ครบถ้วนกระบวนความ เข้าใจง่าย ทั้งยังเต็มไปด้วยสีสันและความตื่นเต้น เปรียบได้เหมือนชมภาพยนตร์แบบม้วนเดียวจบ ยิ่งไปกว่านั้นความพิเศษของ “สงครามสามก๊ก” คือท้ายบทของทุก สมรภูมิจะมีแผนที่ยุคสามก๊กบริเวณที่เกิดศึก พร้อมชื่อสถานที่และสรุป สงครามประกอบ ท�ำให้ผู้อ่านเห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้นยิ่งกว่าสามก๊ก ฉบับอื่นใด หมายเหตุ : ชือ่ บุคคลและชือ่ สถานทีท่ ไี่ ม่ปรากฏในฉบับพระยาพระคลัง (หน) หนังสือชุดนี้จะถอดเสียงเป็นภาษาไทยด้วยส�ำเนียงจีนกลาง ส�ำนักพิมพ์มติชน
8 เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล แปล
สงครามสามก๊ก : 26 ยุทธวิธีส ชั ู่ ยชนะ
อารัมภบท
บทเรียนจากประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก
ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์อันรุ่งเรือง มีหนังสือด้าน พงศาวดารอยู่มากมายก่ายกอง ในบรรดาหนังสือเหล่านี้ สี่เล่มที่เขียนได้ดี และส�ำคัญทีส่ ดุ คือ จดหมายเหตุสามก๊ก (三国志) ของเฉินโซ่ว พงศาวดาร สือ่ จี ้ (史记) จดหมายเหตุฮนั่ ซู (汉书) และจดหมายเหตุโห้วฮัน่ ซู (后汉书) ประวัติศาสตร์จีนที่ยาวนานกว่า 4,000 ปีได้สร้างอัจฉริยบุคคลด้าน ต่างๆ จ�ำนวนนับไม่ถ้วน ในบรรดาบุคคลเหล่านี ้ มีอยู่สามท่านทีผ่ ้คู นรู้จกั กัน ดีที่สุด ได้รับความศรัทธาและการกราบไหว้จากผู้คนนับไม่ถ้วนมานับพันปี นั่นก็คือขงจื๊อ กวนอู และขงเบ้ง ซึ่งสองท่านหลังนี้ก็คือบุคคลในยุคสามก๊ก นั่นเอง เมื่อเปรียบเทียบกับยุคสมัยอื่นแล้ว ยุคสามก๊กนับว่าสั้นมาก ถ้านับ เฉพาะช่วงส�ำคัญที่สุดก็เพียง 60 ปีเท่านั้น (นับตั้งแต่โจผีสถาปนาราชวงศ์ วุยแทนราชวงศ์ฮั่นใน ค.ศ.220 จนถึงง่อก๊กล่มสลายใน ค.ศ.280) หรือ หากจะนับให้กว้างกว่านัน้ ก็ไม่เกิน 96 ปี (นับตัง้ แต่เกิดกบฏโจรโพกผ้าเหลือง ใน ค.ศ.184) ยุคสามก๊กไม่เพียงเป็นช่วงเวลาสั้นๆ แต่ยังเป็นยุคที่มีประชากรเบา 10 เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล แปล
บางทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์จนี อีกด้วย เพราะใน ค.ศ.157 รัชศกหย่งโซ่วปีท ี่ 3 สมัยจักรพรรดิฮว๋านตีแ้ ห่งราชวงศ์ฮนั่ ตะวันออกนัน้ ทัว่ ประเทศจีนมีประชากร มากถึง 56,480,000 คน แต่พอมาถึงยุคสามก๊ก ประชากรทัง้ ในวุยก๊ก ง่อก๊ก และจ๊กก๊กรวมกันแล้วมีแค่ 13,140,000 คน ภายในระยะเวลาสั้นๆ เพียง 60 กว่าปี จ�ำนวนประชากรลดลงไปถึง 40 กว่าล้านคน สาเหตุส�ำคัญก็เพราะ สงครามและทุพภิกขภัย หรือพูดอีกนัยหนึง่ ก็คอื ในยุคสามก๊กนี ้ ทัว่ ประเทศ จีนตกอยู่ท่ามกลางเหตุจลาจลมากที่สุด ทว่าในยุคสามก๊กที่มีประชากรเพียง 10 กว่าล้านคนและกินเวลาไม่ถึงร้อยปีนี้ กลับกลายเป็นยุคที่ผู้คนสนใจและ ให้ความส�ำคัญมากที่สุด อีกทั้งระดับความนิยมชมชอบในยุคสามก๊กยังมาก กว่ายุคที่เต็มไปด้วยพลังสร้างสรรค์อย่างยุคชุนชิวและจั้นกั๋วเสียอีก เหตุผลนั้นนอกจากจะเป็นเพราะเสน่ห์ความอัจฉริยะของกวนอูและ ขงเบ้ง บวกกับความสามารถของหลอกว้านจงที่เขียนวรรณกรรมสามก๊กได้ อย่างถึงพริกถึงขิงแล้ว ยังเป็นเพราะยุคสามก๊กอันยิ่งใหญ่นี้เปิดโอกาสให้ผู้ มีฝีมือได้ออกมาแสดงความสามารถกันอย่างเต็มที่อีกด้วย จ้าวอี ้ นักประวัตศิ าสตร์ผยู้ งิ่ ใหญ่สมัยราชวงศ์ชงิ ได้กล่าวไว้ในหนังสือ เรื่อง บันทึกค�ำวิจารณ์พงศาวดาร 22 ชุด ว่า “ยุคสามก๊กมีอัจฉริยบุคคลมากที่สุด และเหล่าผู้น�ำสามก๊กล้วนรู้จัก ใช้คน” ค�ำพูดนี้กล่าวไว้ดีมาก เพียงประโยคเดียวก็อธิบายลักษณะเด่นที่สุด ของยุคสามก๊กได้อย่างชัดเจน ความจริงแล้ว เมือ่ พูดถึงผูท้ มี่ คี วามสามารถในด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น การเมือง การทหาร เศรษฐกิจ วรรณกรรม คุณธรรม สติปัญญา หรือด้าน อื่นๆ ก็ล้วนปรากฏอยู่ในยุคสามก๊กทั้งสิ้น ยุคสามก๊กนี้นับว่าเป็นยุคทอง ของบรรดาบุคคลผู้ประสบความส�ำเร็จ ไม่ว่าจะเป็นผู้กล้าหาญ ผู้ถือมั่นใน สัจธรรม ผู้พลีชีพเพื่อชาติ ผู้มีปัญญาเฉียบแหลม ผู้มีบารมีสูงส่ง ผู้เป็น อัจฉริยะ และผู้ยิ่งใหญ่ระดับชาติ อีกทั้งยังมีคุณภาพสูงและมีจ�ำนวนมาก ยากจะหาได้ในประวัติศาสตร์จีนยุคอื่นๆ เมื่อกล่าวถึงอัจฉริยบุคคลทางด้านการเมืองแล้ว โจโฉ เล่าปี่ และ สงครามสามก๊ก : 26 ยุทธวิธีสู่ชัยชนะ 11
ซุนกวนล้วนเป็นผู้น�ำทีค่ รองใจผู้คน เพราะพวกเขาดิน้ รนจนสามารถสถาปนา รัฐและน�ำมาซึ่งความสงบร่มเย็น น�ำพาบ้านเมืองให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างดี โจโฉกับเล่าปี่เป็นวีรบุรุษที่ตั้งตัวจากศูนย์เหมือนกัน โจโฉกวาดล้างวีรบุรุษ จากทั่วทุกสารทิศ ยุติความวุ่นวายและความแตกแยกของบ้านเมือง รวม ภาคเหนือเป็นปึกแผ่นได้สำ� เร็จ ส่วนเล่าปี่รวมเกงจิว๋ และเอ๊กจิว๋ แล้วสถาปนา จ๊กก๊ก ซึง่ สามารถคานอ�ำนาจกับวุยก๊กและง่อก๊กสองมหาอ�ำนาจในขณะนัน้ ได้ ส�ำหรับซุนกวน แม้จะเป็นผู้สืบทอดอ�ำนาจจากบิดาและพี่ชาย แต่ก็สามารถ บริหารกังตั๋งทั้งที่อายุยังน้อย ครองอ�ำนาจทางตะวันออกเฉียงใต้ มีก�ำลัง ต้านสองเสือเฒ่าอย่างโจโฉและเล่าปี่ แต่ที่น่าแปลกคือ ประวัติศาสตร์ได้สร้างเวทีแก่สามวีรบุรุษนี้ให้มีพลัง อ�ำนาจอย่างเต็มที่ ขณะเดียวกันก็สร้างพวกเขาให้เป็นคู่แข่งในการแย่งชิง อ�ำนาจกันและกัน เนื่องจากทั้งสามมีอ�ำนาจประมาณกัน ไม่มีใครเหนือกว่า ใคร ดังนั้น ทั้งสามจึงท�ำให้เกิดสถานการณ์สามขั้วอ�ำนาจ และนี่ก็เป็นสาเหตุ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ยคุ สามก๊กเป็นยุคทีม่ สี สี นั ทีส่ ดุ ตราตรึงใจคนทีส่ ดุ และยิง่ ใหญ่ ที่สุดนั่นเอง เมือ่ มองย้อนกลับไปในประวัตศิ าสตร์จนี ยังไม่เคยปรากฏสถานการณ์ ในยุคใดที่มียอดวีรบุรุษถึงสามคนมาแก่งแย่งกันเองดังเช่นในสามก๊กเลย ไม่เชื่อก็ลองพิจารณาจากจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่เหล่านี้ดูว่าท่านได้สร้างบ้าน แปงเมืองและรวบรวมอ�ำนาจไว้ได้อย่างไร จิน๋ ซีฮอ่ งเต้ ผูน้ บั ว่าเป็นมหาจักรพรรดิ แต่ตอ้ งอาศัยการสัง่ สมอ�ำนาจ เป็นกี่ร้อยปี กี่ชั่วอายุคน กว่าจะได้เป็นรัฐแข็งแกร่งเพียงหนึ่งเดียวที่ปราบ อีกหกรัฐผู้อ่อนแอ ใช้ก�ำลังเข้าสลายหกรัฐได้อย่างง่ายดาย หลิวปัง ปฐม จักรพรรดิผู้สถาปนาราชวงศ์ฮั่น ไม่เอาไหนทั้งบู๊และบุ๋น แต่เขาเป็นคนมีโชค ลาภและดวงแข็ง ไม่เพียงรอดตายมาหลายครั้ง แต่สวรรค์ยังได้ประทาน สามวีรบุรษุ มหัศจรรย์แห่งยุคให้เขา ได้แก่ หานซิน่ จางเหลียง และเซียวเหอ ใช้ก�ำลัง 1 ต่อ 4 เข้าท�ำศึกกับเซี่ยงอวี่ผู้โดดเดี่ยวที่กล้าหาญการรบแต่ไร้กล ยุทธ์ หน�ำซ�้ำยังพลาดท่าครั้งแล้วครั้งเล่า หลี่ซื่อหมิน (จักรพรรดิถังไท่จง) แม้จะฉลาดหลักแหลมเป็นที่สุด แต่คู่ต่อสู้ของเขาอย่างหลี่มี่ เซียวเสี่ยน 12 เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล แปล
หวังซื่อชง โต้วเจี้ยนเต๋อ เป็นต้น ล้วนไม่อาจครองใจประชาชนและไม่ได้ม ี ความสามารถเหนือผู้อื่น คนเหล่านี้จงึ เป็นได้เพียงตัวประกอบยิบย่อยเท่านั้น ไม่มีทางต่อกรกับหลี่ซื่อหมินได้เลย จ้าวควางอิ้น ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่ง ยิ่งเป็นผู้ที่โชคดีนัก เขามีชีวิตอยู่ในช่วงที่บ้านเมืองวุ่นวายและไร้วีรบุรุษ เขา ได้ขึ้นครองบัลลังก์มังกรด้วยเหตุการณ์ “รัฐประหารเฉินเฉียว” (陈桥兵变) อีกทั้งศัตรูที่เผชิญหน้ากับเขามิใช่ใครที่ไหนแต่เป็นหลี่หยุน หลี่ฉงจิ้น หลี่ยี่ว์ และหลิวฉ่างที่เป็นเพียงตัวประกอบยิบย่อย ท�ำให้เขาขึ้นครองบัลลังก์มังกร ได้ง่ายเหมือนพลิกฝ่ามือ สาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้ยุคสามก๊กเป็นสุดยอดแห่งยุคสมัยก็คือการ ก่อร่างสร้างตัวและการรูจ้ กั ใช้คนของสามวีรบุรษุ อย่างโจโฉ เล่าปี ่ และซุนกวน อีกทั้งการใช้กลอุบายในการต่อสู้ทั้งแบบซึ่งหน้าและลับหลังอย่างมีชั้นเชิง ขั้นตอนของการต่อสู้ระหว่างพวกเขา แน่นอนว่าไม่ใช่แค่การต่อสู้แบบสิงโต กับกระต่าย แต่เป็นการต่อสู้ที่ดุเดือดแบบเสือพบสิงห์เลยทีเดียว นอกจากโจโฉ เล่าปี่ และซุนกวนแล้ว ขงเบ้งกับกวนอูยิ่งเป็นอีกสอง บุคคลส�ำคัญผู้ผลักดันให้สามก๊กเป็นที่รู้จักแพร่หลายมากที่สุด ขงเบ้งเป็น ที่รู้จักในฐานะผู้เปี่ยมคุณธรรม สติปัญญา และความสามารถ เขาได้กลาย เป็นสัญลักษณ์แห่งสติปัญญาอันเฉียบแหลมมาเป็นเวลาช้านาน ส่วนกวนอู ก็เป็นดั่งต้นแบบแม่ทัพจีน เนื่องจากกอปรด้วยความกล้าหาญ ความซื่อสัตย์ คุณธรรม ทั้งยังเชี่ยวชาญในการรบดังสมญานามเทพบู๊ ดังนั้น ยุคสามก๊ก แม้จะมีโจโฉ เล่าปี่ และซุนกวน แต่หากขาดสองคนนี้แล้วก็คงขาดสีสันไป ไม่น้อย เมื่อกล่าวถึงแม่ทัพผู้อัจฉริยะ นอกจากยุคจั้นกั๋วแล้ว ก็คงยากจะหา วีรบุรุษจ�ำนวนมากที่สุขุมลุ่มลึก สรวลเสเฮฮาได้ท่ามกลางเปลวเพลิงสมรภูมิ ทั้งยังอยู่ในยุคสมัยเดียวกันดังเช่นยุคสามก๊กนี้ ในศึกผาแดง จิวยี่ใช้ทหารเพียงสามหมื่นนาย ท�ำลายกองทัพนับแสน นายของโจโฉซึง่ แข็งแกร่งทีส่ ดุ ในขณะนัน้ ได้ เหตุการณ์นสี้ ่งผลให้แผ่นดินจีน แตกเป็นสามขั้วอ�ำนาจในเวลาต่อมา และจิวยี่ก็กลายเป็นบุคคลผู้มีผลงาน ที่ได้รับการกล่าวขวัญยกย่องยาวนานนับพันปี ลิบองก็ใช้ทหารเก่งประดุจ สงครามสามก๊ก : 26 ยุทธวิธีสู่ชัยชนะ 13
เทพ หลายครัง้ ทีท่ �ำให้ข้าศึกสยบได้โดยไม่ต้องสู้รบ สุดท้ายยังยึดเกงจิว๋ กลับ คืนมาให้ง่อก๊กได้ ท�ำให้ซุนกวนครองอ�ำนาจในกังตั๋งได้อย่างมั่นคง ลกซุน สามารถท�ำศึกอย่างรู้เขารู้เรา คุมคนได้โดยที่ไม่ถูกคุมเอง เขาโจมตีกองทัพ เล่าปี่จนราบคาบในศึกอิเหลง ท�ำให้จ๊กก๊กซึ่งก�ำลังอยู่ในยุคเฟื่องฟูต้องถึง จุดตกต�่ำ ลกข้องปราบปรามความวุ่นวายอันมีต้นเหตุจากปู้ฉันด้วยก�ำลัง 1 ต่อ 4 และต้านแรงกดดันจากกองทัพจิ้นตะวันออกด้วยตัวคนเดียว ท�ำให้ ยืดชะตาของง่อก๊กออกไปได้อีก 8 ปี เตียวคับไม่เพียงเพียบพร้อมด้วยสติ ปัญญาและความกล้าหาญ แต่ยังเป็นแม่ทัพผู้มีชื่อเสียงของวุยก๊กที่สามารถ รบชนะขงเบ้งด้วย สุมาอี้ช�ำนาญการพลิกแพลงตามสถานการณ์ เปลี่ยน วิกฤตเป็นโอกาส เป็นผู้บัญชาการเบ็ดเสร็จด้วยตนเองในศึกซินเสียและศึก เลียวตั๋ง เตงงายถนัดการใช้แผนที่ไม่มีผู้ใดคาดถึง สุดท้ายสามารถท�ำศึก พิสดารจนท�ำให้จ๊กก๊กล่มสลาย และกลายเป็นขุนศึกผู้ลบล้างแผนที่สามก๊ก ได้เป็นคนแรก หากพูดถึงสุดยอดนักอักษรศาสตร์ ความสามารถทางวรรณศิลป์ ของโจโฉนั้นนับว่าอยู่แถวหน้าของบรรดาฮ่องเต้ทั้งหลายในประวัติศาสตร์ เลยทีเ ดีย ว ล� ำ พัง บทกวี ต ่ ว นเกอสิง ( 短歌行-ชีวิต แสนสั้น ) บทเดีย วก็ เพียงพอที่จะท�ำให้เขาเทียบชั้นกับกวีแนวหน้าของจีนได้แล้ว โจผีนับว่าเป็น นักวิเคราะห์วิจารณ์วรรณกรรมคนแรกในประวัติศาสตร์ โจสิดเป็นผู้ม ี พรสวรรค์ที่ประพันธ์บทกวีได้อย่างปราดเปรียว อีกทั้งอัจฉริยบุคคลทั้ง เจ็ดแห่งสมัยเจี้ยนอันที่น�ำโดยอองซัน (หวังชั่น) ก็นับเป็นผู้น�ำในวงวรรณ กรรมเช่นกัน ส่วนผู้ที่เป็นยอดฝีมือทางเศรษฐศาสตร์ได้แก่ขงเบ้ง ผู้ท� ำให้จ๊กก๊ก กลายเป็นประเทศที่มีความมั่งคั่งและมั่นคง จ่าวจือและยิมจุ๋นวางระบบนา หลวง แก้ไขการขาดแคลนเสบียงของกองทัพวุยก๊กที่เป็นปัญหามานานได้ ในเบือ้ งต้น สวีเหมีย่ วเมือ่ ครัง้ เป็นเจ้าเมืองเลียงจิว๋ ซึง่ ขาดแคลนเสบียงมาโดย ตลอด เขาบริหารจนท�ำให้ทุกครัวเรือนมีข้าวเต็มยุ้งฉาง เหลือกินเหลือใช้ ตู้จีกลายเป็นเจ้าเมืองคนแรกที่ท�ำให้อาณาประชาราษฎร์ในห้อตั๋ง (เหอตง) กินอิ่มนอนหลับ ข้าวปลาอุดมสมบูรณ์ 14 เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล แปล
ผูม้ สี ติปญ ั ญาล�ำ้ เลิศนัน้ นับว่าเป็นลักษณะเด่นของยุคสามก๊ก เช่นเดียว กับอัจฉริยะทางทหาร ที่นอกจากยุคจั้นกั๋วแล้ว ไม่เคยปรากฏยุคสมัยใดที ่ ผู้มีสติปัญญาล�้ำเลิศจ�ำนวนมากมารวมตัวกันอยู่ในยุคสั้นๆ เช่นนี้มาก่อน ที่เห็นได้ชัดย่อมเป็นขงเบ้ง นอกจากนี้ก็ยังมี บังทอง หวดเจ้ง จอสิว เตียน ห้อง จิวยี่ โลซก ลิบอง ลกซุน ลกข้อง ซุนฮก ซุนฮิว เล่าหัว กุยแก กาเซี่ยง เจียวเจ้ เทียหยก สุมาอี้ บุคคลเหล่านี้ล้วนสามารถเป็นมหาอ� ำมาตย์ให้ ประเทศชาติได้ทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม เหตุทสี่ ามก๊กยิง่ ใหญ่และสะดุดใจผูค้ นไม่ได้มเี พียงแค่นี้ เพราะในยุคสมัยทีบ่ า้ นเมืองวุน่ วายและยากล�ำบากเช่นนัน้ บุคคลในยุคสามก๊ก ยังคงองอาจห้าวหาญ เอาชีวติ เข้าแลกเพือ่ ความถูกต้องอย่างไม่เกรงกลัวความ ตาย แสดงให้เห็นถึงทีส่ ดุ ของจริยธรรมอันสูงส่ง ทีส่ ดุ ของปณิธานอันบริสทุ ธิ์ ที่สุดของความกล้าหาญอันแน่วแน่ ที่สุดของคุณธรรมอันน่าประทับใจ ที่สุด ของกลอุบายอันสุขุมลุ่มลึกและเฉียบแหลม กระทั่งที่สุดของยอดขุนพลผู้ กล้าหาญ สิ่งเหล่านี้ได้สร้างสรรค์ต้นแบบและจารึกต�ำนานเรื่องแล้วเรื่องเล่า กลายมาเป็นประวัตศิ าสตร์สามก๊กทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลายและดึงดูด ผู้อ่านได้เป็นอย่างดี ทุกเรื่องราวที่เกี่ยวกับบุคคลในยุคสามก๊ก เอ่ยถึงทีไรก็สนุกสนาน เพลิดเพลินทุกครั้ง กล่าวถึงแม่ทัพผู้กล้าหาญ ลิโป้ กวนอู เตียวหุย จูล่ง ม้าเฉียว เตียว เลี้ยว โจหยิน ก�ำเหลง บุนเอ๋ง เป็นต้น ล้วนสามารถรับมือข้าศึกเรือนหมื่น กล่าวถึงนักรบผู้กล้าหาญ แบบอย่างที่ดีที่สุดคือเคาทูกับเตียนอุย เพราะแม้ต้องเผชิญหน้ากับอูฮั่วและเมิ่งเปิน แต่ก็ไม่ตกเป็นรอง กล่าวถึงผู้ยึดมั่นในคุณธรรม ได้แก่ ตันหยง ไทสูจู้ เล่งทอง ลู่อิ๋น ซื่ออี้ เงียมหงัน และผู้กล้าทั้งสี่แห่งง่อก๊ก กล่าวถึงผู้พลีชีพเพื่อชาติ ได้แก่ จางหง บังเต๊ก เอี๋ยนอุน เปาเตียว และเทียกี กล่าวถึงผู้มีคุณธรรมสูงส่ง ได้แก่ ก่วนหนิง ปิ่งหยวน เตียนติ๋ว อองสิ้ว อ้วนฮวน และจางฟ่าน สงครามสามก๊ก : 26 ยุทธวิธีสู่ชัยชนะ 15
กล่าวถึงอัจฉริยบุคคล ได้แก่ เก่อซวิน ตันเต๋ง กาเซี่ยง งีห้วน จีคัง และฮัวโต๋ กล่าวถึงอัจฉริยะระดับชาติ ได้แก่ ขงเบ้ง บังทอง ซุนฮก ซุนฮิว จิวยี ่ โลซก ลิบอง ลกซุน และลกข้อง อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ท�ำให้สามก๊กล�้ำเลิศและสะเทือนใจคน ไม่ใช่เพียง เพราะบุคคลที่ฝากชื่อเสียงอันดีงามไว้ในหน้าประวัติศาสตร์เหล่านี้เท่านั้น แม้แต่ประชาชนระดับรากหญ้า ทหารชั้นผู้น้อย หรือสาวน้อยในหอห้องก็ ล้วนมีวีรกรรมที่โดดเด่น ไม่เพียงแค่นี้ นอกจากตั๋งโต๊ะ ซุนโฮ ลิฉุย กุยกี ลิอี้แล้ว ยุคสามก๊กแทบจะไม่มีผู้ที่เลวทรามต�ำ่ ช้าจนไม่อาจให้อภัยเลย ท�ำให้ ผู้คนชมไม่ขาดปากว่าคนในยุคสามก๊กมีรูปแบบการครองตนที่สูงส่ง ขุนนางผู้มีชื่อเสียงของวุยก๊กท่านหนึ่งนามว่ากากุ๋ย สมัยที่เขาเป็นผู้ ครองเมืองเจี้ยงอี้แห่งห้อตั๋ง (เหอตง) กัวหยวนซึ่งเป็นแม่ทัพของอ้วนถ�ำบุก มาตีห้อตั๋ง โดยตีเมืองต่างๆ ตามเส้นทางเดินทัพมาได้ตลอด มีเพียงเมืองที่ กากุย๋ เฝ้าอยูเ่ ท่านัน้ ทีย่ นื หยัดไม่แตกพ่าย กัวหยวนจึงเรียกก�ำลังเสริมเข้าโจมตี ก่อนทีเ่ มืองจะแตก ผูอ้ าวุโสในตัวเมืองให้กวั หยวนสัญญาไว้วา่ หากไม่ทำ� ร้าย กากุ๋ยก็จะยอมสวามิภักดิ์ หลังเมืองแตกกัวหยวนทราบว่ากากุ๋ยมีชื่อเสียง ดีงาม คิดแต่งตั้งให้เขาเป็นแม่ทัพ องครักษ์บังคับให้กากุ๋ยก้มหัวน้อมรับ แต่กากุ๋ยปฏิเสธอย่างแข็งกร้าว กัวหยวนโกรธมาก หมายจะสังหารกากุ๋ย เมื่อขุนนางและชาวเมืองรู้เรื่องนี้ ก็พากันปีนขึ้นก�ำแพงเมืองแล้วตะโกนว่า “ท่านผิดสัญญา ประหารนายผู้ประเสริฐของเรา เราขอยอมตายไป ด้วยกัน” เรื่องนี้แม้แต่องครักษ์ของกัวหยวนยังสะเทือนใจ จึงขอร้องให้ไว้ชีวิต กากุย๋ กัวหยวนจึงท�ำเป็นปล่อยกากุย๋ ไว้กอ่ น โดยให้นำ� ตัวไปขัง แล้วค่อยหา โอกาสเล่นงานทีหลัง ระหว่างคุมขัง กากุ๋ยทอดถอนใจกับผู้คุมว่า “ที่แห่งนี้ไร้วีรบุรุษแล้วหรือไร เหตุใดจึงปล่อยให้คนมีคุณธรรมต้อง มาจบชีวิตอย่างอยุติธรรมในที่นี้” ชายคนหนึ่งนามว่าจู้กงเต้า เขาไม่ได้รู้จักมักคุ้นหรือเป็นญาติกากุ๋ย 16 เกียรติศักดิ์ ฟงปรีชากุล แปล