ศิลปะเวียดและจาม

Page 1


ศิลปะเวียดและจาม


ภาพจากปกหน้า

(ซ้าย) องค์ประกอบสถาปัตยกรรม ไม้แกะสลักรูปมังกรเล่นไข่มุกไฟ สมัยราชวงศ์เจิ่น พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เวียดนาม เมืองฮานอย (ขวา) เศียรมังกรดินเผา สมัยราชวงศ์เจิ่น ภาพจากปกหลัง

(ซ้าย) พระพิฆเณศสมัยหมีเซิน E1 พิพิธภัณฑ์ประติมากรรมจาม เมืองดานัง (ขวา) ประตูงอโมน พระราชวังเมืองเว้ ภาพถ่ายโดย : ธนกฤต ละออสุวรรณ


ศิลปะเวียดและจาม ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช

ราคา ๑๖๐ บาท


ศิลปะเวียดและจาม • ดร. อชิรัชญ ไชยพจนพานิช พิมพครั้งแรก : สิงหาคม ๒๕๕๗ ราคา ๑๖๐ บาท ขอมูลทางบรรณานุกรม อชิรัชญ ไชยพจนพานิช. ศิลปะเวียดและจาม. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๗. ๑๙๒ หนา--(ประวัติศาสตรศิลปะ). ๑. ศิลปะเวียดนาม I. ชื่อเรื่อง 700.9597 ISBN 978 - 974 - 02 - 1311 - 6

• ที่ปรึกษาสำนักพิมพ : อารักษ คคะนาท, สุพจน แจงเร็ว, นงนุช สิงหเดชะ • ผูจัดการสำนักพิมพ : กิตติวรรณ เทิงวิเศษ • รองผูจัดการสำนักพิมพ : รุจิรัตน ทิมวัฒน • บรรณาธิการบริหาร : สุลักษณ บุนปาน • บรรณาธิการสำนักพิมพ : พัลลภ สามสี • หัวหนากองบรรณาธิการ : อพิสิทธิ์ ธีระจารุวรรณ • พิสูจนอักษร : โชติชวง ระวิน | พัทนนลิน อินทรหอม • รูปเลม : กิตติชัย สงศรีแจง • ศิลปกรรม : นุสรา สมบูรณรัตน • ออกแบบปก : สุลักษณ บุนปาน • ประชาสัมพันธ : กานตสินี พิพิธพัทธอาภา

หากสถาบันการศึกษา หน�วยงานตางๆ และบุคคล ตองการสั่งซื้อจำนวนมากในราคาพิเศษ โปรดติดตอโดยตรงที่ บริษัทงานดี จำกัด โทรศัพท ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ตอ ๓๓๕๓ โทรสาร ๐-๒๕๙๑-๙๐๑๒

หนังสือเลมนี้พิมพดวยหมึกที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เพื่อปกปองธรรมชาติ และสุขภาพของผูอาน

บริษัทมติชน จำกัด (มหาชน) : ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ตอ ๑๒๓๕ โทรสาร ๐-๒๕๘๙-๕๘๑๘ แมพิมพสี-ขาวดำ : กองพิมพสี บริษัทมติชน จำกัด (มหาชน) ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ตอ ๒๔๐๐-๒๔๐๒ พิมพที่ : โรงพิมพมติชนปากเกร็ด ๒๗/๑ หมู ๕ ถนนสุขาประชาสรรค ๒ ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด นนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทรศัพท ๐-๒๕๘๔-๒๑๓๓, ๐-๒๕๘๒-๐๕๙๖ โทรสาร ๐-๒๕๘๒-๐๕๙๗ จัดจำหนายโดย : บริษัทงานดี จำกัด (ในเครือมติชน) ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ตอ ๓๓๕๐, ๓๓๕๑ โทรสาร ๐-๒๕๙๑-๙๐๑๒ Matichon Publishing House a division of Matichon Public Co., Ltd. 12 Tethsabannarueman Rd, Prachanivate 1, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand


สารบัญ

ศิลปะเวียดและจาม

คำ�นิยม

คำ�นำ�

๑ ประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม

(๘) (๑๔) ๒

ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคประวัติศาสตร์ :  อาณาจักรเวียดและอาณาจักรจาม อาณาจักรเวียด อาณาจักรจาม ความสัมพันธ์กับดินแดนไทย อาณาจักรเวียดและดินแดนไทย อาณาจักรจามและดินแดนไทย

๓ ๔ ๘ ๑๑ ๑๑ ๑๔

๒ ประวัติศาสตร์ศิลปะเวียดและจาม

๒๑

ยุคก่อนประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมดงเซิน วัฒนธรรมซาหวิ่นห์ การสร้างงานศิลปกรรมในอาณาจักรเวียด ศาสนาและลัทธิความเชื่อที่มีผลต่องานศิลปกรรม ศิลปะเวียด สถาปัตยกรรม ประติมากรรม

๒๒ ๒๒ ๒๔ ๒๕ ๒๕ ๒๙ ๒๙ ๔๒


(6) ศิลปะเวียดและจาม

การสร้างงานศิลปกรรมในอาณาจักรจาม ศาสนาและลัทธิความเชื่อที่มีผลต่องานศิลปกรรม ศิลปะจาม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม

๓ แหล่งเรียนรู้และสถานที่สำ�คัญ ทางประวัติศาสตร์ศิลปะ

๕๕ ๕๕ ๕๗ ๕๗ ๖๓

๘๒

พิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ประติมากรรมจาม พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เวียดนาม แหล่งโบราณสถานในศิลปะเวียด เมืองฮานอย วัดโมตโกต หรือวัดวิหารเสาเดียว วัดเวินเหมียว หรือวิหารวรรณกรรม วัดก๋วนถัง วัดหง็อกเสิน หรือวัดเนินหยก เมืองฮอยอัน

๑๐๕

เมืองเว้และพระราชวังต้องห้าม แหล่งโบราณสถานในศิลปะจาม ปราสาทฮัวหล่าย กลุ่มปราสาทหมีเซิน ปราสาทเฟื้อกหลก หรือปราสาททอง ปราสาทโพนคร ปราสาทถ่าปดอย  ปราสาทโพกลองการาย

๑๑๘ ๑๒๑ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๒๘ ๑๓๐ ๑๓๒ ๑๓๕

สะพานญี่ปุ่น ศาลเจ้าเฝือกเกี๋ยน ศาลเจ้าก๋วงเจีย หอบรรพชนมิงเฮือง

๘๓ ๘๓ ๘๔ ๘๙ ๙๓ ๙๓ ๙๖ ๙๗ ๙๙

๑๐๒ ๑๐๖ ๑๐๙ ๑๑๔ ๑๑๖


ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช (7)

๔ ความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์ศิลปะ กับดินแดนไทย

วัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์เวียดนาม ในดินแดนไทย ร่องรอยศิลปะเวียดในดินแดนไทย ที่มาของวัดอนัมนิกายในดินแดนไทย งานศิลปกรรมภายในวัดอนัมนิกาย สถาปัตยกรรม ประติมากรรมพระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ และเทพต่างๆ ร่องรอยศิลปะจามในดินแดนไทย ภาคใต้ ภาคอีสาน

๑๔๐ ๑๔๑ ๑๔๓ ๑๔๓ ๑๔๕ ๑๔๖ ๑๕๒ ๑๕๖ ๑๕๗ ๑๖๐

๕ บทสรุป

๑๖๗

บรรณานุกรม

๑๖๙


คำ�นิยม

หนังสือชุด “ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศอาเซียน” เกิดขึ้น เนื่องด้วยการที่ประเทศในภูมิภาคนี้ประกาศรวมตัวกันเป็นประชาคม อาเซียน ใน พ.ศ. ๒๕๕๘  ดังนั้น ในทุกภาคส่วนของแต่ละประเทศ จึงมีความตื่นตัวเรียนรู้ซึ่งกันและกันมากขึ้น อันเป็นการเตรียมความ พร้อมในด้านต่างๆ เพื่อรับกับการเข้าร่วมประชาคมดังกล่าว  ศิลปวัฒนธรรมถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ส�ำคัญอย่างหนึ่งของ ประชาชาติอาเซียน ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ถือเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีการเรียนการสอน ศิลปะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีฐานข้อมูลด้านศิลปกรรมอยู่ ระดับหนึ่ง จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นศูนย์กลางความรู้ทางด้านศิลปกรรม โบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยเหตุนี้คณาจารย์ในภาควิชาฯ จึงได้ร่วมกันจัดท�ำชุดต�ำราความรู้เรื่อง “ศิลปกรรมในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้” ตามโครงการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยได้รับทุน สนั บ สนุ น จากงบประมาณแผ่ น ดิ น  คณะโบราณคดี   มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร เพือ่ จัดท�ำต�ำราในครัง้ นี ้ ซึง่ เลือกเขียน ๕ ศิลปะ ได้แก่ ศิลปะ เวียดและจาม ศิลปะเขมร ศิลปะพม่า ศิลปะลาว และศิลปะชวา  ส่วน ชุดที่ ๒ ที่จะตามมาได้แก่ ศิลปะไทย(เปรียบเทียบกับเพื่อนบ้าน) และ ศิลปะในประเทศอื่นที่เหลือ ได้แก่ ศิลปะในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน และฟิลิปปินส์


ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช (9)

วัฒนธรรมดัง้ เดิมของผูค้ นในภูมภิ าคนีม้ พี ฒ ั นาการมาในลักษณะ เดียวกัน ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคสังคมล่าสัตว์จนสู่สังคม เกษตรกรรม มีหลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงให้เห็นว่าสังคมยุคแรก เริ่มนี้มีวัฒนธรรมร่วมกัน เช่น วัฒนธรรมหัวบินเนียน ต่อมาเมื่อเข้าสู่ ยุคโลหะ ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมชัดเจนขึ้น เช่น มีวัฒนธรรม ดองซอน วัฒนธรรมยุคส�ำริด ทีพ่ บกลองมโหระทึกในลักษณะเดียวกัน และในช่วงก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายได้พบหลักฐานว่าผู้คนใน ภูมิภาคนี้เริ่มมีการติดต่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน เช่น เครื่องประดับ ก�ำไล ตุ้มหู ที่มีรูปแบบเดียวกัน เป็นต้น  การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่ส�ำคัญในภูมิภาคนี้ คือ การ รับวัฒนธรรมทางศาสนาจากอินเดีย โดยได้พบหลักฐานว่า ศาสนา เริ่มเข้ามาเผยแผ่แล้วตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๗-๙ ทั้งศาสนาพุทธ และฮินดู  ดูเหมือนว่าในระยะเริม่ แรกนัน้ ศาสนาเข้ามาปรากฏหลักฐาน ขึ้นพร้อมๆ กัน เพียงแต่ผู้คนในภูมิภาคเลือกรับศาสนาที่เหมาะสมกับ ตนเองหรือตามความศรัทธาที่อาจเกิดจากผู้น�ำเป็นส�ำคัญ ด้วยเหตุนี้ จึงท�ำให้ลักษณะทางวัฒนธรรมเริ่มแตกต่างกัน อันส่งผลในงานศิลป กรรมที่ตามมานั้นเกิดความแตกต่างกันตามไปด้วย เช่น  ชนชาติที่ เลือกรับศาสนาฮินดูเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ชวา (ในประเทศอินโดนีเซีย) จาม (ในประเทศเวียดนาม) และเขมร ส่วนชนชาติทเี่ ลือกรับพุทธศาสนา ได้แก่ พม่า ไทย และลาว งานศิลปกรรมเกิดจากศรัทธาความเชื่อทางศาสนา ชนชาติที่ เลือกรับศาสนาฮินดู มีความเชื่อเรื่องเทพเจ้าและลัทธิเทวราชา ท�ำให้ มีการก่อสร้างศาสนสถานที่มีความยิ่งใหญ่มั่นคงเพื่อเทพเจ้า ส่วน หลักปรัชญาของพุทธศาสนา มีความเชื่อเรื่องนิพพานเป็นเรื่องสูงสุด เพราะฉะนั้นการสร้างศาสนสถานเป็นเพียงเพื่อพิธีกรรมทางศาสนา สมถะ เรียบง่ายและเหมาะกับคนในสังคม แต่อย่างไรก็ตาม ส่วนหนึ่ง ของศาสนสถานในพุทธศาสนาที่มีความยิ่งใหญ่ก็มีเช่นเดียวกัน เช่น ในศิลปะพม่า ซึ่งเกิดจากความศรัทธาในพุทธศาสนาอย่างแท้จริง ดังนั้นจากความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรม โดย


(10) ศิลปะเวียดและจาม

เฉพาะงานศิ ล ปกรรมที่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการสะท้ อ นความคิ ด และ ความเชื่อทางศาสนาของแต่ละชนชาติ จึงปรากฏในงานศิลปกรรม ทีแ่ ตกต่างกัน แม้วา่ จะเป็นศาสนาเดียวกันก็ตาม ส่วนหนึง่ ของแนวคิด คติการก่อสร้างนั้นเหมือนหรือใกล้เคียงกัน แต่รูปแบบศิลปกรรมย่อม มีความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม อันเป็นเรื่อง ของงานช่าง แม้ว่าจะมีการรับและส่งอิทธิพลให้แก่กันในบางเวลาและ โอกาสก็ตาม เช่น ปราสาทที่สร้างในศิลปะชวา ต่างจากปราสาทเขมร และปราสาทจาม หรือเจดีย์ในศิลปะพม่าก็มีลักษณะและรูปแบบต่าง จากเจดีย์ในประเทศไทย เป็นต้น ดังนั้น ชุดโครงการต�ำราประวัติศาสตร์ศิลปะเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ จึงต้องการแสดงให้เห็นหลักฐานทางด้านศิลปกรรมของแต่ละ ประเทศว่ามีลักษณะรูปแบบเป็นอย่างไรในแต่ละยุคสมัย การเริ่มต้น การสืบเนื่อง ความรุ่งเรือง และความเสื่อม ในส่วนที่เหมือน ส่วนที่ แตกต่าง และเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละประเทศเป็นอย่างไร จาก ชุดโครงการต�ำราดังกล่าว ได้น�ำมาปรับปรุงเป็นหนังสือชุด “ประวัติ ศาสตร์ศิลปะในประเทศอาเซียน” จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์มติชน โดย แยกเล่มเป็นศิลปะในแต่ละประเทศเพื่อง่ายต่อการอ่านและท�ำความ เข้าใจ โดยในเนื้อหาหลักของศิลปกรรมแต่ละประเทศจะประกอบด้วย ส่วนที่ ๑ ประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม ส่วนที่ ๒ ประวัติ ศาสตร์ศิลปะ ส่วนที่ ๓ แหล่งเรียนรู้และสถานที่ส�ำคัญทางประวัติ ศาสตร์ศิลปะ และส่วนที่ ๔ คือ ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะกับดินแดนไทย  ในนามของคณะผู้จัดท�ำขอขอบคุณ คณบดีคณะโบราณคดี (ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ช วลิ ต  ขาวเขี ย ว) ที่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ และได้ สนับสนุนงบประมาณเป็นค่าด�ำเนินการจัดท�ำโครงการต�ำราในครั้งนี้ และขอขอบคุณส�ำนักพิมพ์มติชน ที่ได้ให้ความส�ำคัญอย่างมากต่อ งานศิลปวัฒนธรรม และได้จัดพิมพ์หนังสือชุดนี้ขึ้นเพื่อเป็นการเผย แพร่ความรู้สู่สาธารณชน คณะผู้จัดท�ำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดความรู้นี้จะเป็นประโยชน์


ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช (11)

ตามวัตถุประสงค์ทจี่ ะท�ำให้ทงั้ คนไทยและประชาคมอาเซียนได้มคี วามรู้ ความเข้าใจในวัฒนธรรมซึ่งกันและกันได้ลึกซึ้งขึ้น ซึ่งการท�ำความ เข้าใจในงานศิลปกรรมร่วมกันจะเป็นแนวทางหนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดความเข้า ใจและความร่วมมือร่วมใจกันในเชิงสร้างสรรค์ของประชาคมอาเซียน ที่จะขับเคลื่อนไปในอนาคต อันจะเป็นผลดีต่อกันมากกว่าการที่แต่ละ ชาติจะหวังผลประโยชน์ตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจเป็นส�ำคัญ ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๖


(12) ศิลปะเวียดและจาม

ทวารบาลสมัยบิง่ ดิง พิพธิ ภัณฑ์ประติมากรรมจาม เมืองดานัง พุทธศตวรรษ ที่ ๑๖-๑๘


ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช (13)

สุสานพระเจ้ามิงมาง เมืองเว้ พ.ศ. ๒๓๘๔


คำ�นำ�

ศิลปะเวียดและจาม

ประเทศเวียดนาม หรือสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ตั้งอยู่ ทางตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน โดยมีอาณาเขตทางเหนือ ติ ด ต่ อ กั บ ประเทศจี น  ทางทิ ศ ตะวั น ตกติ ด กั บ ประเทศกั ม พู ช าและ ประเทศลาว ทางทิศใต้ติดต่อกับทะเลจีนใต้ ส่วนอาณาเขตทางทิศ ตะวันออกนั้นติดต่อกับอ่าวตังเกี๋ย ดิ น แดนที่ เ รี ย กว่ า ประเทศเวี ย ดนามในปั จ จุ บั น มี พั ฒ นาการ อันยาวนานโดยมีหลักฐานเก่าแก่ไปถึงสมัยยุคหินเก่า ดินแดนแห่งนี้ ยั ง ประกอบไปด้ ว ยกลุ ่ ม คนหลากหลาย อาทิ   เวี ย ด (หรื อ เหวี ย ด) จาม ไต หนุ่ง ในบรรดากลุ่มคนเหล่านี้ที่มีบทบาทอย่างมากคือ เวียด และจาม เวียดและจาม ได้ตั้งอาณาจักรของตนเอง โดยอาณาจักรของ พวกเวียดอยู่ทางตอนเหนือ ส่วนจามจะอยู่ทางตอนใต้ อาณาจักร ทั้ ง สองในสมั ย หนึ่ ง ได้ มี ค วามเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งด้ า นการปกครองและ การทหาร ดังจะเห็นได้จากอาณาจักรของพวกเวียดเคยรบชนะกองทัพ จากราชส�ำนักจีน และอาณาจักรจามมีชัยชนะเหนืออาณาจักรขอม นอกจากนี้ ทั้ง ๒ อาณาจักรยังมีความเจริญด้านเศรษฐกิจ วัฒน ธรรม และงานศิ ล ปกรรม อั น เป็ น รากฐานหนึ่ ง ของคนในประเทศ เวียดนามในปัจจุบันด้วย


ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช (15)

การติดต่อระหว่างผู้คนในดินแดนเวียดนามและดินแดนไทย มีประวัติศาสตร์มายาวนานแล้วเช่นกัน โดยปฏิสัมพันธ์ที่มีมาดังกล่าว ท�ำให้วัฒนธรรมและงานศิลปกรรมของชาวเวียดและจาม ไม่ได้เจริญ งอกงามอยู่แต่ในเวียดนามเท่านั้น หากแต่แพร่เข้ามาในดินแดนไทย ด้วย ดังสะท้อนให้เห็นผ่านหลายด้าน อาทิ การตั้งชุมชน ขนบธรรม เนียม วัดวาอารามต่างๆ ซึ่งน่าสนใจศึกษาเพื่อน�ำไปสู่ความเข้าใจ ในความสัมพันธ์ของทั้งสองดินแดนมากขึ้น ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี  มหาวิทยาลัยศิลปากร


(16) ศิลปะเวียดและจาม

กลุ่มศาสนสถานหมีเซิน B, C และ D


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.