กรุงเทพมหานคร M Young, สำ�นักพิมพ์มติชน 2556
ย่านเก่า เล่ากรุง แรกสร้างปักฐานที่ฝั่งธนบุรี
10
ฝั่งซ้ายของแม่น�้ำ ฝั่งขวาของแม่น�้ำ เริ่มต้นจากเมืองเล็กๆ “สวนผลไม้” กับประวัติศาสตร์แรกสร้างกรุงเทพฯ ได้เวลา...ขยับขยายกรุงธนบุรี
แรกสร้างกรุงเทพฯ
24
พระนครเริ่มที่ ไหน? พระบรมมหาราชวัง ค.คนสร้างเมือง
25 26 30
ย่านเก่าชาวต่างชาติที่กรุงเทพฯ กุ ฎจี ีน 34 ชาวโปรตุเกส 35 มัสยิดต้นสน 36 ชาวมอญ ณ สะพานมอญ 38 บ้านทวาย 40 จากไทใหญ่ สู่กรุงเทพฯ 44
32
11 14 16 21
ผู้มากับนางพญาตานี บ้านญวน ซอยมิตรคาม ต่างชาติแต่ศาสนาเดี ยวกัน ญวนสะพานขาว “บ้านครัว” ชมุ ชนทอผ้าไหมข้างคลองสีด�ำ “ลาว” บ้านพี ่ -เมืองน้อง จริ งหรือ? พาหุรัด ลิตเติลอินเดี ย เยาวราช ย่านเซียนการค้า
ตลาดเก่าเล่าเรื่อง
66
ตลาดเสาชิงช้า 68 เมื่อพลูเคลื่อนเมือง 69 ของไทยคลองบางหลวง 71 ท่าเตียน ตลาดสาวชาววัง 73 ปากคลองตลาด 75 ตลาดมหานาค 78 ตลาดยอด แสงหิ่งห้อย วิ ้ ง วิ ้ ง วิ ้ ง 80 ส�ำเพ็ง เริ่มจากเรือส�ำเภา 83 ตลาดนางเลิ้ง 86 ตลาดบ้านหม้อ ตลาดขึ้นบก 87
46 48 50 51 52 55 60 62
มหรสพแห่งพระนคร
88
งานวัดภูเขาทอง 90 มหรสพหน้าบ่อน 92 ละครชาตรี 93 ความรื่ นรมย์ร่วมกัน ที่เวิ ้ งนาครเขษม 94
มุมมืดในกรุงเทพฯ
98
แร้ง กา และสุนัข จากตรอกโคมเขี ยว สู่ “วัดคณิกาผล” ตรอกอาจม ข้าวเสียโป หวย กข. มอมเมาคนกรุง
100 102 104 105 106
การปฏิรูปครั้งใหญ่
108
ถนนเจริ ญกรุง
ถนนบ�ำรุงเมือง เฟื่องนคร ไฟฟ้าพลังงานแกลบ หนังสือไทยชุบ เส้นหมึกที่ตรอกกัปตันบุช ตรงนั้นไง ไปรษณีย์กลาง ธนาคารแห่งแรกของประเทศไทย ย่านการค้า แหล่งช้อปปิ้งในอดี ต
112 114 116 119 122 124 126
การขยายย่านออกจากศูนย์กลางพระนคร 130 ก่อนเป็นสยามพารากอน 132 ย่านสีลม 134 บ้านสาทร บ้านในฝันของเศรษฐี 136 คลองรังสิต 138 ประตูทางออก ย่านเก่า เล่ากรุง หนังสืออ่านเพิ่มได้ความรู้
140 142
ลุง
เด็กเนิร์ด หนอนหนังสือตัวยง รู้ไป หมด จนได้รับฉายาว่า “ลุง” ส่วนชื่อ เล่นจริ งๆ คือ... ลองถามลุงเอาเองนะ นายลุง คร้าบผม
ถ้วยฟูค่า
ขนมต้มครับ
ขนมต้ม
ถ้วยฟู
เด็กสาวน่ารั ก จนไม่น่าเป็นเพื่อน กับสองคนนี้ ได้ และเป็นคนริ เริ่ม การแกะรอยย่านเก่าในครั้งนี้
รักความเท่าเทียมกัน แต่ทำ� ตัวเป็นคุณชาย เสมอ ที่ส�ำคัญ เป็น คนแรกที่เรี ยกลุงว่า “ลุง” จนไม่มี ใครจ�ำชื่อเล่นลุงได้
ย่านเก่า เล่ากรุง
เรื่องราวจะเป็นอย่างไร ติดตามไปพร้อมกับพวกเรากันเลย
แรกสร้าง ปักฐานที่
ฝั่งธนบุรี
ฝั่งซ้ายของแม่น้ำ� ฝั่งขวาของแม่น้ำ� “บางกอก” เริ่มตรงไหน?
หากมองจากสายตาของคนเมื่อราว 400 ปีก่อน เราจะเห็ น สองฟากฝั ่ ง แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยามี ส วนผลไม้ และต้นมะกอกขึน้ แน่นขนัด ในล�ำน�ำ้ เต็มไปด้วยเรือสินค้า นานาชาติ ที่ มุ ่ ง หน้ า มายั ง แผ่ น ดิ น แสนอุ ด มสมบู ร ณ์ นามว่ า “กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา” ริ ม น�้ ำ มี ผู ้ ค นที่ จ อดแพ ค้ า ขายต้ อ นรั บ การมาของพ ่ อ ค้ า ชาวต่ า งชาติ จนชาวต่างชาติรจู้ ั กบริ เวณนี้ ในนามว่า “บางกอก”
แผนที่ย่านบางกอก
นั่นไงล่ะ
12
เกร็ดน่ารู้
ชื่อ “บางกอก” มาจากไหน
?
บาง หมายถึงชุมชนริ มคลองซึง่ มีทางน�ำ้ เชือ่ มไปยังแม่นำ�้ ที่อยู่ไม่ไกลกัน หรือชุมชนที่ตั้งอยู่ “ปากคลอง” นัน่ เอง บางกอก หมายถึงชุมชนชือ่ บางมะกอก เพราะมีตน้ มะกอก ขึ้นหนาแน่นทั ้ งสองฝั่งคลองเล็กๆ ที่ ไหลผ่านลงแม่น�้ ำใหญ่ เรียกคลองบางมะกอก พอนานเข้ากร่อนเหลือแค่บางกอก นับตั้งแต่ส มัยอยุธยา เรื อเดินทะเลของพ่อค้าต่างชาติ ล้วนต้องผ่านคลองลัดเล็กๆ ที่เต็มไปด้วยต้นมะกอก หรื อ ที่เรียกว่าย่านบางกอกทั ้ งสิ้น ชาวต่างชาติจึงรู้จั กชื่อบางกอกมา ตั้งแต่สมัยอยุธยา แล้วเรียก Bangkok สืบจนปัจจุ บัน สมัยก่อน เราเรียกว่า คลองบางมะกอก ละ
ต้นมะกอก เต็มไปหมดเลย
13
เริ่มต้น จากเมืองเล็กๆ
เรื่ องราวของเมืองเล็กๆ ที่เคยเป็นส่วนหนึง่ ของ ย่านบางกอกในอดี ต เมืองนั้นคือกรุงธนบุรี
ภายหลั ง การกอบกู ้ อิ ส รภาพจากพม่ า ได้ ส� ำ เร็ จ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจ�ำเป็นต้องหาเมืองใหม่ เพือ่ รวบรวมผู้คนที่กระจั ดกระจายจากสงคราม ในตอนนั้น ราชธานีแห่งเก่าคือกรุงเทพทวารวดี ศรีอยุธยาใหญ่ โตเกิน ไปที่จะรั กษาให้มั่ นคงได้ พระองค์จึงเลือก “กรุ งธนบุรี” เมืองหน้าด่านและเมืองท่าย่านบางกอกที่มีมาตั้งแต่สมัย อยุธยา เป็นศูนย์กลางแห่งใหม่ของราชอาณาจั กรสยาม กรุ ง ธนบุ รี ในขณะนั้ น นั บ เป็ น เมื องที่ รักษาไว้ได้ง่ายหากเกิดศึก มีวัดเก่าแก่หลาย สิบวัด มีลำ� น�ำ้ เจ้าพระยาเป็นเส้นทางคมนาคม อีกทั ้ งยังอยู่ ใกล้ปากน�้ำ เอื้ออ�ำนวยให้ติดต่อ ค้าขายกับต่างประเทศได้สะดวก
14
เก็ตรึยังล่ะ ขนมต้ม
เข้าใจละ
“แม่น�้ำผ่า กลางเมือง” อกแตก
กรุงธนบุรีฝั่งตะวันตก
เกร็ดน่ารู้
กรุงธนบุรีฝั่งตะวันออก
แผนที่กรุงธนบุรีเมื่อครั้งยังเป็นเมืองหลวง
เมืองอกแตก
กรุงธนบุรีมีแม่น�้ำเจ้าพระยาไหลผ่านกลางเมือง หรือที่เรียกว่า “เมืองอกแตก” เมือ่ เจ้าพระยาวิ ชเยนทร์สร้างป้อมเมืองบางกอกขึน้ ก็ ได้ ขึงสายโซ่ ใหญ่ขวางแม่น�้ำไว้ทั้ ง 2 ฟาก เพื่อป้องกันเรือรบของข้าศึกที่จะ เข้ามาทางทะเลอีกด้วย
15
“สวนผลไม้” กับประวัติศาสตร์ แรกสร้างกรุงเทพฯ กรุงเทพฯ เคยเป็นส่วนหนึง่ ของอ่าวไทยโบราณมาไม่นอ้ ยกว่า หมื่นปี จนเมือ่ พั นปีทแี่ ล้วแม่นำ�้ เจ้าพระยาและแม่นำ�้ สาขาได้พั ดพา ตะกอนทะเลและโคลนตมมาทั บถมจนเกิดเป็นแผ่นดิน ผู้คนจึงเริ่ม เข้ามาตั้งถิ่นฐานจากกลุ่มเล็กๆ จนขยายเป็นเมืองในที่สุด นอกจากนี้ กรุงเทพฯ ยังรับดินดี ที่เกิดจากการทั บถมของดิน ตะกอนแม่น�้ำช่วยเสริ มความอุดมสมบูรณ์อีกด้วย โดยเฉพาะผืนดิน ฝั่งกรุงธนบุรจี ึงกลายเป็นพื้นที่คันคลองร่องสวน ให้ก�ำเนิดผลไม้ชั้น ดี หลายชนิด เสร็จขนมต้ม ละคร้าบ
16
กล้วย มะพร้าว
ขนุน
พลั่ก!!
ทุเรียน
ผลไม้นานาชนิดย่านบางกอก (ที่มา : สยามริ มฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา)
ชมพู่ มังคุด
มะม่วง มะพร้าว
ว้าว!!! น่ากิน ทั้งนั้นเลย
17
เงาะบางยี่ขัน ส้มบางมด สับปะรดบางบำ�หรุ กระท้อนคลองอ้อม มะปรางท่าอิฐ อ้อยจีนบางใหญ่
18
ฝรั่งบางเสาธง ทุเรียนบางผักหนาม ทุเรียนบางขุนนนท์ ลางสาดคลองสาน อ้อยไทยบางโควัด ยังมีอีกหลาย ชนิดนะจ๊ะ ค�ำ เรี ยกผลไม้รสเลิศของกรุ งเทพฯ ในยุคก่อน ชื่อ “บาง” หรือ “คลอง” ที่ติด มากับชื่อผลไม้ ในสมัยนั้นเป็นเหมือนยี่ห้อ ของสินค้าที่รับ ประกันได้ว่าเป็นสินค้าชั้นดี เพี ยงแต่ยหี่ อ้ นี้ ไม่ตอ้ งพิมพ์ตดิ บนสลาก แค่ ป่าวร้องบอกกันก็พอ
กล้วย
ทุเรียน ขนุน
สับปะรด
มะพร้าว มะม่วง
ผลไม้ชนิดต่างๆ (ที่มา : จดหมายเหตุลาลูแบร์)
19
เกร็ดน่ารู้
นักยกร่อง
สวนย่านตลิ่งชัน
ชาวสวนเมือ่ สมัยธนบุรีรจู้ ั กการท�ำสวนแบบยกร่อง ยกขนัด ซึง่ นับว่า เป็นวิ ธที ำ� การเกษตรที่ ไม่พบในพืน้ ทีภ่ าคอื่นของไทยในสมัยนัน้ จึงเป็นไปได้ ว่าชาวสวนสมัยก่อนทีร่ จู้ ั ก “ยกร่อง” เช่นนี้ น่าจะได้อทิ ธิพลจากกลุม่ คนทีม่ า จากตอนใต้ของจีน เช่น คนกวางตุง้ กวางสี ซึง่ เป็นนักยกร่องมาเนิน่ นานแล้ว มีเพียงหาดทราย ทะเล สายลม กับสองเรา
เกร็ดน่ารู้
หาดทรายสีขาว และหาดทรายสีดำ�
เมื่ อ เอ่ ย ถึ ง “ทะเล” เรามั ก จะนึ ก ถึ ง หาดทรายสี ขาว หรื อ น�้ำทะเลสีฟ้าสวยงาม แต่ “ทะเลตม” ทะเลที่เกิดจากแม่น�้ำพั ดพา ดิ น โคลนตะกอนมาสะสมและทั บถม จนกลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ง ของ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำ ทะเลตมอยู่ที่ ไหนมักมีต้นโกงกาง แสม ล�ำพูขึ้นแน่นขนัดอยู่ที่นัน่ ทะเลตมเป็นทั ้ งแหล่งอาหาร เช่น ปลาแห้ง ปลาเค็ม กุง้ หอย ปู ปลา กะปิ น�ำ้ ปลา และอุดมด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ให้คนเก็บมาท�ำถ่าน ฟืน พืชสมุนไพร
20
ได้เวลา... ขยับขยาย กรุงธนบุรี
ในรั ชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีการขยายพื้นที่ ข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยามาฟากตะวันออก (ฝั่งพระบรมมหาราชวัง ในปัจจุ บัน) เนือ่ งจากกรุงธนบุรี ไม่กว้างขวางนัก เป็นเพี ยงเมือง ป้อมหน้าด่าน เมื่อมีคนเข้ามามากจึงทรงพระวิ จารณ์ว่า
“เมืองเก่านีน้ ้อยนัก ไพร่พลสิมาก เกลือกมีสงครามมาหาที่มั่น ผู้คนจะอาศัยมิได้” จึงทรงพระกรุ ณาให้ข้าทูลละอองฝ่ายพลเรื อน “ท�ำ ค่ายด้วยไม้ทองหลางทั ้ งต้นเป็นที่มั่นไว้พลางก่อน จึงจะก่อก�ำแพงเมื่อ ภายหลัง ให้ท�ำค่ายตั้งแต่มุมก�ำแพงเมืองเก่าไปจนวัดบางหว้าน้อย ลงไปริ มแม่นำ�้ ใหญ่ แล้วขุดคูนำ�้ รอบพระนคร มูลดินขึน้ เป็นเชิงเทินตาม ริ มค่ายข้างใน...”
ุย!!
ฮุย! เล ฮ
21
แผนทีก่ รุงธนบุรี ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ครอบคลุมพืน้ ที่ ทั ้ งสองฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตกคือกรุงธนบุรีเดิม และฝั่งตะวันออกคือ บริ เวณทีข่ ยายตัวเมืองออกไป ซึง่ ในฝัง่ นี้ ในคลองคูเมืองเดิมทีด่ า้ นเหนือคือคลอง โรงไหม และที่ด้านใต้คือคลองตลาด ทะลุออกแม่น�้ำเจ้าพระยาทั ้ งสองด้าน แผนที่กรุงธนบุรี เมื่อคราวขยับขยายกรุง
ส่วนฝั่งนี้คือ ฝั่งตะวันตก นะครับผม
ฝั่งนี้คือฝั่ง ตะวันออก คลองโรงไหม คลองตลาด
คลองตลาด
22
หลังรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมือ่ พระบาทสมเด็จ พระพุ ทธยอดฟ้าจุ ฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นปฐมกษัตริ ย์ แห่ ง ราชวงศ์ จั กรี ทรงย้ า ยพระราชวั ง มาฝั ่ ง ตะวั น ออกของแม่ น�้ ำ เจ้าพระยา ด้วยเพราะทางฝั่งตะวันออกมีแม่น�้ำเจ้าพระยาเป็นก�ำแพง เมืองธรรมชาติที่ ใช้ป้องกันข้าศึก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้ตั้งชื่อเมืองหลวงนี้ว่า “กรุงรัตนโกสินทร์”
23