ศิลปะพม่า

Page 1


ศิลปะพม่า


ภาพจากปกหน้า

๒ ๓

(๑)  เจดีย์ชเวซิกอง (๒)  พระพุทธรูปประดิษฐานในวิหารธรรมเยซิกะเจดีย์ (๓)  วัดเขามัณฑะเลย์ (๔)  จิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารปยาตองสู ภาพจากปกหลัง

๓ (๑)  พระมหามัยมุนี (๒)  ลายเส้นรูปหงส์  (๓)  ลายเส้นมณฑปหลังคาปราสาทที่ประดิษฐานพระมหามัยมุนี  ที่มา : Myint, U Aye, edited by Sone Simatrang, translated by U Thanoe, Burmese design through drawings (Bangkok : Slipakorn University, 1993).


ศิลปะพม่า

ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

ราคา ๒๙๕ บาท


ศิลปะพม่า • ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ พิมพ์ครั้งแรก : ตุลาคม ๒๕๕๗ ราคา ๒๙๕ บาท ข้อมูลทางบรรณานุกรม ศักดิ์ชัย สายสิงห์. ศิลปะพม่า. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๗. ๓๔๘ หน้า. - - (ประวัติศาสตร์ศิลปะ). ๑. ศิลปะพม่า. I. ชื่อเรื่อง 700.9591 ISBN 978 - 974 - 02 - 1340 - 6

• ที่ปรึกษาส�ำนักพิมพ์ : อารักษ์ คคะนาท, สุพจน์ แจ้งเร็ว, นงนุช สิงหเดชะ • ผู้จัดการส�ำนักพิมพ์ : กิตติวรรณ เทิงวิเศษ • รองผู้จัดการส�ำนักพิมพ์ : รุจิรัตน์ ทิมวัฒน์ • บรรณาธิการบริหาร : สุลักษณ์ บุนปาน • บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : พัลลภ สามสี • หัวหน้ากองบรรณาธิการ : อพิสิทธิ์ ธีระจารุวรรณ • บรรณาธิการเล่ม : มณฑล ประภากรเกียรติ • พิสูจน์อักษร : โชติช่วง ระวิน / พัทน์นลิน อินทรหอม • รูปเล่ม : อรอนงค์ อินทรอุดม • ศิลปกรรม : นุสรา สมบูรณ์รัตน์ • ออกแบบปก : สุลักษณ์ บุนปาน • ประชาสัมพันธ์ : สุภชัย สุชาติสุธาธรรม

หากสถาบันการศึกษา หน่วยงานต่างๆ และ  บุคคล ต้องการสั่งซื้อจ�ำนวนมากในราคาพิเศษ โปรดติดต่อโดยตรงที่ บริษัทงานดี จ�ำกัด โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ต่อ ๓๓๕๓ โทรสาร ๐-๒๕๙๑-๙๐๑๒

หนังสือเล่มนีพ้ มิ พ์ดว้ ยหมึกทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เพื่อปกป้องธรรมชาติ และสุขภาพของผู้อ่าน

บริษัทมติชน จ�ำกัด (มหาชน) : ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ต่อ ๑๒๓๕ โทรสาร ๐-๒๕๘๙-๕๘๑๘ แม่พิมพ์สี-ขาวด�ำ : กองการเตรียมพิมพ์ บริษัทมติชน จ�ำกัด (มหาชน) ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ต่อ ๒๔๐๐-๒๔๐๒ พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์มติชนปากเกร็ด ๒๗/๑ หมู่ ๕ ถนนสุขาประชาสรรค์ ๒ ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด นนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๔-๒๑๓๓, ๐-๒๕๘๒-๐๕๙๖ โทรสาร ๐-๒๕๘๒-๐๕๙๗ จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัทงานดี จ�ำกัด (ในเครือมติชน) ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมาล ประชานิเวศน์ ๑ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๘๐-๐๐๒๑ ต่อ ๓๓๕๐, ๓๓๕๑ โทรสาร ๐-๒๕๙๑-๙๐๑๒ Matichon Publishing House a division of Matichon Public Co., Ltd. 12 Tethsabannarueman Rd, Prachanivate 1, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand


สารบัญ ศิลปะพม่า

ค�ำนิยม ค�ำน�ำ

(๙) (๑๓)

๑. ประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมพม่า สมัยที่ ๑ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๗) วัฒนธรรมในยุคหินหรือสังคมล่าสัตว์ สังคมเกษตรกรรม

สมัยที่ ๒ การรับอารยธรรมอินเดียยุคแรกเริ่ม (พุทธศตวรรษที่ ๗-๑๑) สมัยที่ ๓ ยุคอารยธรรมโบราณ : ปยู มอญโบราณ และอาระคัน (ยะไข่) (พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๕) วัฒนธรรมปยู (พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๕)

มอญโบราณ (ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๗) อาระคัน (ยะไข่) (ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๕)

สมัยที่ ๔ อาณาจักรพุกาม (จักรวรรดิพม่าครั้งที่ ๑) (พ.ศ. ๑๕๘๗-๑๘๓๐)

๒ ๓ ๔ ๔

๘ ๑๒ ๑๒ ๑๘ ๒๐

๒๑

ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ (5)


สมัยที่ ๕ สมัยหลังอาณาจักรพุกาม (พ.ศ. ๑๘๓๐-๒๐๙๘) อาณาจักรอังวะ (พ.ศ. ๑๘๕๕-๒๐๙๘)

อาณาจักรยะไข่ (พ.ศ. ๑๙๔๗–๒๒๒๗) อาณาจักรมอญ ที่เมืองพะโค (หงสาวดี) (พ.ศ. ๑๘๐๐-๒๐๗๔)

สมัยที่ ๖ ราชวงศ์ตองอูและราชวงศ์นยองยาน (จักรวรรดิพม่าครั้งที่ ๒) (พ.ศ. ๒๐๒๙-๒๒๙๕) สมัยที่ ๗ ราชวงศ์คองบอง (อลองพระ) (จักรวรรดิพม่าครั้งที่ ๓) (พ.ศ. ๒๒๙๕-๒๔๒๘) สมัยที่ ๘ พม่าภายใต้การปกครองของอังกฤษ (พ.ศ. ๒๔๒๘-๒๔๙๑) สมัยที่ ๙ พม่าภายหลังการได้รับเอกราชจากอังกฤษ (พ.ศ. ๒๔๙๑-ปัจจุบัน)

๒. ประวัติศาสตร์ศิลปะพม่า

๒๕ ๒๕ ๒๖ ๒๖

๒๗ ๒๘ ๓๑ ๓๒

๓๗

ศาสนา ความเชื่อ และแนวคิดที่มีผลต่อการสร้างงานศิลปกรรม ๓๘ ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศพม่า ๔๔ สมัยที่ ๑ ศิลปะสมัยก่อนประวัติศาสตร์ (ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๗) ๔๕ สมัยที่ ๒ การรับอารยธรรมอินเดียยุคแรกเริ่ม ทางประวัติศาสตร์ (พุทธศตวรรษที่ ๗-๑๑) ๔๗ ศิลปวัตถุเนื่องในศาสนา ๔๙ สมัยที่ ๓ ยุคอารยธรรมโบราณ : ปยู มอญโบราณ และอาระคัน (ยะไข่) (พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๕) ๕๒ วัฒนธรรมปยู ๕๒ (6) ศิลปะพม่า


ศิลปกรรมมอญโบราณ ศิลปะอาระคัน

๖๘ ๗๓

สมัยที่ ๔ ศิลปะพุกาม (พุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๙) งานสถาปัตยกรรม

๗๗

งานประติมากรรม งานจิตรกรรม

สมัยที่ ๕ สมัยหลังพุกาม : ศิลปะมอญสมัยหงสาวดี และศิลปะพม่าในราชวงศ์ตองอู (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙-ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓) ศิลปะมอญสมัยหงสาวดี

๗๘ ๑๒๙ ๑๕๕

๑๖๓

(ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙-ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑) ศิลปะพม่าในราชวงศ์ตองอู (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑-ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓)

๑๖๓ ๑๗๓

(พ.ศ. ๒๒๙๕-๒๔๒๘)

๑๗๔

๓. แหล่งเรียนรู้และสถานที่ส�ำคัญ ทางประวัติศาสตร์ศิลปะ

๒๑๑

สมัยที่ ๖ ศิลปะพม่ายุคหลัง สมัยราชวงศ์คองบอง (อลองพระ) ๑๗๔ ศิลปะสมัยเมืองอังวะ อมรปุระ และมัณฑะเลย์

เมืองศรีเกษตร เมืองพะโค หรือหงสาวดี รัฐอาระคัน (ยะไข่) เมืองพุกาม เมืองอังวะ เมืองมัณฑะเลย์และพระราชวังมัณฑะเลย์ เมืองสะกาย หรือสะแคง

๒๑๒ ๒๑๔ ๒๒๑ ๒๒๒ ๒๒๙ ๒๓๒ ๒๔๔

ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ (7)


๔. ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ กับดินแดนไทย

ความสัมพันธ์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ในสมัยก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙ วัฒนธรรมทวารวดี วัฒนธรรมปยู (ศรีเกษตร) และวัฒนธรรมมอญ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖

๒๕๙

๒๖๐ ๒๖๐

๒๖๑

ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา วัฒนธรรม และงานศิลปกรรม ระหว่างวัฒนธรรมทวารวดี ปยู และมอญ ๒๖๑

บทบาทของศิลปะพุกามต่องานศิลปกรรม ในประเทศไทย สมัยหริภุญชัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘)

สมัยล้านนา (พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๒) สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐) สมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๓)

สมัยรัตนโกสินทร์ : ศิลปะมอญ พม่า ในประเทศไทย ในพุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ บทบาทของศิลปะพม่าในงานจิตรกรรมระยะหลัง ศิลปะไทยในประเทศพม่า บทสรุป บรรณานุกรม

(8) ศิลปะพม่า

๒๖๕ ๒๖๕ ๒๗๘ ๒๙๔ ๓๐๑

๓๐๘ ๓๑๒ ๓๑๓ ๓๒๑ ๓๒๖


ค�ำนิยม ศิลปะพม่า

หนังสือชุด “ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศอาเซียน” เกิดขึ้น  เนื่องด้วยการที่ประเทศในภูมิภาคนี้ประกาศรวมตัวกันเป็นประชาคม  อาเซียน ใน พ.ศ. ๒๕๕๘  ดังนั้น ในทุกภาคส่วนของแต่ละประเทศ  จึงมีความตื่นตัวเรียนรู้ซึ่งกันและกันมากขึ้น อันเป็นการเตรียมความ  พร้อมในด้านต่างๆ เพื่อรับกับการเข้าร่วมประชาคมดังกล่าว  ศิลปวัฒนธรรมถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ส�ำคัญอย่างหนึ่งของ  ประชาชาติ อ าเซี ย น ภาควิ ช าประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปะ คณะโบราณคดี  มหาวิทยาลัยศิลปากร ถือเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีการเรียนการสอน  ศิลปะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีฐานข้อมูลด้านศิลปกรรมอยู ่ ระดับหนึ่ง จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นศูนย์กลางความรู้ทางด้านศิลปกรรม  โบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยเหตุนี้คณาจารย์ในภาควิชาฯ  จึงได้ร่วมกันจัดท�ำชุดต�ำราความรู้เรื่อง “ศิลปกรรมในเอเชียตะวัน  ออกเฉี ย งใต้ ”  ตามโครงการเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น โดยได้ รั บ ทุ น  สนั บ สนุ น จากงบประมาณแผ่ น ดิ น  คณะโบราณคดี   มหาวิ ท ยาลั ย  ศิลปากร เพือ่ จัดท�ำต�ำราในครัง้ นี ้ ซึง่ เลือกเขียน ๕ ศิลปะ ได้แก่ ศิลปะ  เวียดและจาม ศิลปะเขมร ศิลปะพม่า ศิลปะลาว และศิลปะชวา  ส่วน  ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ (9)


ชุดที่ ๒ ที่จะตามมาได้แก่ ศิลปะไทย (เปรียบเทียบกับเพื่อนบ้าน) วัฒนธรรมดัง้ เดิมของผูค้ นในภูมภิ าคนีม้ พี ฒ ั นาการมาในลักษณะ  เดียวกัน ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคสังคมล่าสัตว์จนสู่สังคม  เกษตรกรรม มีหลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงให้เห็นว่าสังคมยุคแรก  เริ่มนี้มีวัฒนธรรมร่วมกัน เช่น วัฒนธรรมหัวบิเนียน ต่อมาเมื่อเข้าสู่  ยุคโลหะ ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมชัดเจนขึ้น เช่น มีวัฒนธรรม  ดองซอน วัฒนธรรมยุคส�ำริด ที่พบกลองมโหระทึกในลักษณะเดียวกัน  และในช่ ว งก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ต อนปลายได้ พ บหลั ก ฐานว่ า ผู ้ ค นใน  ภู มิ ภ าคนี้ เ ริ่ ม มี ก ารติ ด ต่ อ แลกเปลี่ ย นวั ฒ นธรรมซึ่ ง กั น และกั น  เช่ น  เครื่องประดับ ก�ำไล ตุ้มหู ที่มีรูปแบบเดียวกัน เป็นต้น  การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่ส�ำคัญในภูมิภาคนี้ คือ การ  รับวัฒนธรรมทางศาสนาจากอินเดีย โดยได้พบหลักฐานว่า ศาสนา  เริ่มเข้ามาเผยแผ่แล้วตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๗-๙ ทั้งศาสนาพุทธ  และฮินดู  ดูเหมือนว่าในระยะเริ่มแรกนั้นศาสนาเข้ามาปรากฏหลักฐาน  ขึ้นพร้อมๆ กัน เพียงแต่ผู้คนในภูมิภาคเลือกรับศาสนาที่เหมาะสมกับ  ตนเองหรือตามความศรัทธาที่อาจเกิดจากผู้น�ำเป็นส�ำคัญ ด้วยเหตุน ี้ จึงท�ำให้ลักษณะทางวัฒนธรรมเริ่มแตกต่างกัน อันส่งผลในงานศิลป  กรรมที่ตามมานั้นเกิดความแตกต่างกันตามไปด้วย เช่น ชนชาติที่  เลือกรับศาสนาฮินดูเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ชวา (ในประเทศอินโดนีเซีย)  จาม (ในประเทศเวียดนาม) และเขมร ส่วนชนชาติทเี่ ลือกรับพุทธศาสนา  ได้แก่ พม่า ไทย และลาว งานศิลปกรรมเกิดจากศรัทธาความเชื่อทางศาสนา ชนชาติที่  เลือกรับศาสนาฮินดู มีความเชื่อเรื่องเทพเจ้าและลัทธิเทวราชา ท�ำให้  มีการก่อสร้างศาสนสถานที่มีความยิ่งใหญ่มั่นคงเพื่อเทพเจ้า ส่วน  หลักปรัชญาของพุทธศาสนา มีความเชื่อเรื่องนิพพานเป็นเรื่องสูงสุด  เพราะฉะนั้นการสร้างศาสนสถานเป็นเพียงเพื่อพิธีกรรมทางศาสนา  สมถะ เรียบง่ายและเหมาะกับคนในสังคม แต่อย่างไรก็ตาม ส่วนหนึ่ง  ของศาสนสถานในพุทธศาสนาที่มีความยิ่งใหญ่ก็มีเช่นเดียวกัน เช่น  (10) ศิลปะพม่า


ในศิลปะพม่า ซึ่งเกิดจากความศรัทธาในพุทธศาสนาอย่างแท้จริง ดังนั้นจากความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรม โดย  เฉพาะงานศิ ล ปกรรมที่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการสะท้ อ นความคิ ด และ  ความเชื่อทางศาสนาของแต่ละชนชาติ จึงปรากฏในงานศิลปกรรม  ที่แตกต่างกัน แม้ว่าจะเป็นศาสนาเดียวกันก็ตาม ส่วนหนึ่งของแนวคิด  คติการก่อสร้างนั้นเหมือนหรือใกล้เคียงกัน แต่รูปแบบศิลปกรรมย่อม  มีความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม อันเป็นเรื่อง  ของงานช่าง แม้ว่าจะมีการรับและส่งอิทธิพลให้แก่กันในบางเวลาและ  โอกาสก็ตาม เช่น ปราสาทที่สร้างในศิลปะชวา ต่างจากปราสาทเขมร  และปราสาทจาม หรือเจดีย์ในศิลปะพม่าก็มีลักษณะและรูปแบบต่าง  จากเจดีย์ในประเทศไทย เป็นต้น ดังนั้น ชุดโครงการต�ำราประวัติศาสตร์ศิลปะเอเชียตะวันออก  เฉียงใต้ จึงต้องการแสดงให้เห็นหลักฐานทางด้านศิลปกรรมของแต่ละ  ประเทศว่ามีลักษณะรูปแบบเป็นอย่างไรในแต่ละยุคสมัย การเริ่มต้น  การสืบเนื่อง ความรุ่งเรือง และความเสื่อม ในส่วนที่เหมือน ส่วนที ่ แตกต่าง และเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละประเทศเป็นอย่างไร จาก  ชุดโครงการต�ำราดังกล่าว ได้น�ำมาปรับปรุงเป็นหนังสือชุด “ประวัต ิ ศาสตร์ศิลปะในประเทศอาเซียน” จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์มติชน โดย  แยกเล่มเป็นศิลปะในแต่ละประเทศเพื่อง่ายต่อการอ่านและท�ำความ  เข้าใจ โดยในเนื้อหาหลักของศิลปกรรมแต่ละประเทศจะประกอบด้วย  ส่วนที่ ๑ ประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม ส่วนที่ ๒ ประวัต ิ ศาสตร์ศิลปะ ส่วนที่ ๓ แหล่งเรียนรู้และสถานที่ส�ำคัญทางประวัติ  ศาสตร์ศิลปะ และส่วนที่ ๔ คือ ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์  ศิลปะกับดินแดนไทย  ในนามของคณะผู ้ จั ด ท� ำ ขอขอบคุ ณ  คณบดี ค ณะโบราณคดี  (ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ช วลิ ต  ขาวเขี ย ว) ที่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ และได้  สนับสนุนงบประมาณเป็นค่าด�ำเนินการจัดท�ำโครงการต�ำราในครั้งนี้  และขอขอบคุณส�ำนักพิมพ์มติชน ที่ได้ให้ความส�ำคัญอย่างมากต่อ  งานศิลปวัฒนธรรม และได้จัดพิมพ์หนังสือชุดนี้ขึ้นเพื่อเป็นการเผย  ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ (11)


แพร่ความรู้สู่สาธารณชน คณะผู้จัดท�ำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดความรู้นี้จะเป็นประโยชน์  ตามวัตถุประสงค์ที่จะท�ำให้ทั้งคนไทยและประชาคมอาเซียนได้มีความรู ้ ความเข้าใจในวัฒนธรรมซึ่งกันและกันได้ลึกซึ้งขึ้น ซึ่งการท�ำความ  เข้าใจในงานศิลปกรรมร่วมกันจะเป็นแนวทางหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเข้า  ใจและความร่วมมือร่วมใจกันในเชิงสร้างสรรค์ของประชาคมอาเซียน  ที่จะขับเคลื่อนไปในอนาคต อันจะเป็นผลดีต่อกันมากกว่าการที่แต่ละ  ชาติจะหวังผลประโยชน์ตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจเป็นส�ำคัญ ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย  สายสิงห์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๖

(12) ศิลปะพม่า


ค�ำน�ำ

ศิลปะพม่า

พม่าเป็นแหล่งอารยธรรมที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออก  เฉียงใต้และในโลก เป็นแผ่นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากร  ธรรมชาติ ป่าไม้ แร่ธาตุ และอัญมณี มีความรุ่งเรืองทางวัฒนธรรม  และเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาที่ส�ำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งมาตั้งแต่อดีต  จนถึงปัจจุบัน จนมีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นส่วนหนึ่งหรือดินแดนหนึ่ง  ที่เรียกว่า “สุวรรณภูมิ” ที่กล่าวถึงในต�ำนานการประดิษฐานพระพุทธ  ศาสนาในภูมิภาคนี้  ความเป็นมาของผู้คนในประเทศพม่ามีพัฒนาการใกล้เคียงกับ  ในดินแดนไทยและประเทศใกล้เคียง คือมีการพบหลักฐานทางโบราณคดี  ที่แสดงให้เห็นว่ามีผู้คนอยู่อาศัยมาแล้วตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์  จนมาถึงสมัยประวัติศาสตร์ ในยุคสมัยที่มีการรับวัฒนธรรมทางศาสนา  จากอินเดีย ชนชาติที่อยู่ในพม่าเลือกรับศาสนาพุทธเช่นเดียวกับในไทย  จึงท�ำให้แบบแผนประเพณี วัฒนธรรมความเป็นอยู่ และนิสัยใจคอของ  ชาวพม่า ชาวมอญ มีลักษณะใกล้เคียงกับคนไทย และสะท้อนออกมา  ในรูปแบบของงานศิลปกรรมที่มีลักษณะใกล้เคียงกันด้วย  งานศิลปกรรมที่ปรากฏอยู่ในดินแดนพม่า มีทั้งของชาวพม่าเอง  ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ (13)


รวมทั้งชาวมอญ ชาวยะไข่นั้น แสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองใน  แต่ละยุคสมัย โดยเฉพาะวัดวาอาราม แบบของเจดีย์ที่มีลักษณะเฉพาะ  อันเป็นเอกลักษณ์ของศิลปะพม่า เช่น เจดีย์ทรงระฆังที่ไม่มีบัลลังก์  เจติยวิหารที่มีทั้งวิหารและเจดีย์อยู่ในอาคารเดียวกัน ความส� ำคัญ  อยู่ที่แต่ละยุคสมัยของพม่านั้น มีการสร้างวัดเป็นจ�ำนวนมาก มีขนาด  ใหญ่โต และมีการปิดทองเจดีย์ให้เหลืองอร่ามเกือบทุกองค์ เหล่านี้  สะท้อนให้เห็นถึงศรัทธาความเชื่อของชาวพุทธในพม่าที่มีต่อศาสนา  อย่างแท้จริง หนังสือศิลปะพม่าเล่มนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของชุดความรู้ประวัติ  ศาสตร์ศิลปะในประเทศอาเซียน ที่เป็นงานรวบรวมข้อมูลและเรียบเรียง  ขึ้นอย่างเป็นระบบ  ในเรื่องของรูปแบบศิลปกรรมในแต่ละยุคสมัย  ที่เกิดขึ้นในดินแดนพม่า ตั้งแต่ยุคแรกเริ่มที่มีการรับวัฒนธรรมทาง  ศาสนา ผ่านยุคสมัยต่างๆ ทั้งของชาวพม่า ชาวมอญ และชาวยะไข่  ที่เป็นชนชาติหลักในการสร้างงานศิลปกรรม จนมาถึงยุคปัจจุบัน โดย  ประกอบด้วย ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์โดยย่อ ประวัติศาสตร์  ศิลปะในแต่ละยุคสมัย แหล่งเรียนรู้ทางศิลปกรรมที่ส�ำคัญ และท้ายสุด  บทบาทของงานศิลปะพม่าที่มีความสัมพันธ์กับศิลปะในประเทศไทย จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจากการเรียนรู้และเข้าใจในงานศิลปกรรม  พม่าจะมีส่วนช่วยให้ผู้อ่านได้เรียนรู้ และเข้าใจถึงความงาม ความ  ศรัทธา จิตวิญญาณของผู้คนในพม่า ว่าเป็นผู้ที่มีจิตใจงดงาม อ่อนน้อม  ถ่อมตน สมกับความเป็นพุทธศาสนิกชนที่มีศรัทธาต่อพุทธศาสนา  อย่างแท้จริง ในโอกาสนี้ผู้เขียนขอขอบพระคุณศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.  สันติ เล็กสุขุม ผู้ถ่ายทอดความรู้ศิลปะพม่าแก่ผู้เขียนมาโดยตลอด  คุณภภพพล จันทร์วัฒนกุล ผู้น�ำพาไปรู้จักแหล่งความรู้และผู้คนใน  พม่าพร้อมการเอื้อเฟื้อภาพประกอบอันงดงาม  รองศาสตราจารย์  ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี ผู้ช่วยเพิ่มเติมความรู้และแหล่งข้อมูลใหม่ๆ และ  ภาพประกอบ  คุณภัทราวรรณ บุญจันทร์ ผู้ช่วยตรวจแก้ภาษาต้นฉบับ  (14) ศิลปะพม่า


และขอขอบคุณผู้เอื้อเฟื้อภาพประกอบอีกหลายท่าน อาทิ คุณอรุณศักดิ์  กิ่งมณี  อาจารย์ ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช  อาจารย์กวิฎ ตั้งจรัสวงศ์  รวมทั้งผู้ที่มิได้เอยนาม ณ ที่นี้                   ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย  สายสิงห์

ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.