ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก 1.ศิลปะยุคโบราณ

Page 1

ห น่ ว ย ที 1 ศิ ล ป ะ ยุ ค โ บ ร า ณ

ศิ ลปะยุ คก่อนประวัติศาสตร์ ศิ ลปะอียิปต์ และศิ ลปะเมโสโปเตเมีย ศิ ลปะกรีก และศิ ลปะโรมัน วิ ช า ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ศิ ล ป (ศ30203)


สารบัญ หนา ศิลปะยุคกอนประวัติศาสตร (Prehistoric Art) ศิลปะอียิปต (Egyptian Art) ศิลปะ (แถบ) เมโสโปเตเมีย (Mesopotamian Art) ศิลปะกรีก (Greek Art) ศิลปะโรมัน (Roman Art) ศิลปะไบแซนไทน (Byzantine Art) ศิลปะ (ที่อยูใน) ยุคกลาง (Medieval Art) ศิลปะโรมาเนสก (Romanesque Art) ศิลปะโกธิก (Gothic Art) ศิลปะสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance Art) ศิลปะบาโรก (Baroque Art) ศิลปะโรโกโก (Rococo Art) ศิลปะนีโอคลาสสิก (Neo-Classicism Art) ศิลปะจินตนิยมและสัจนิยม (Romanticism and Realism) ศิลปะประทับใจ (Impressionism) ศิลปะประทับใจใหม (Neo-Impressionism) ศิลปะหลังประทับใจใหม (Post-Impressionism) ศิลปะนูโว (Art Nouveau) ศิลปะมิคนิยม (Fauvism) ศิลปะบาศกนิยม (Cubism) ศิลปะอนาคตนิยม (Futurism) ศิลปะสําแดงพลังอารมณ (German Expressionism) จิตรกรรมอภิปรัชญา (Pittura Metafisica) กลุมเดอสแตลและศิลปะทรงรูปใหม (De Stijl & Neo-Plasticism) สถาบันเบาเฮาส (The Bauhaus) คติ (ศิลปะ) ดาดา (Dada (Art) or Dadaism) ศิลปะเหนือจริง (Surrealism) ศิลปะอนุตรนิยม (Suprematism) ข

1 8 20 28 41 52 60 70 80 94 115 123 129 136 148 154 158 165 169 174 180 187 193 197 201 208 211 218


หนา ศิลปะโครงสรางนิยม (Constructivism) ศิลปะนามธรรม (Abstract Art) ศิลปะสําแดงพลังอารมณนามธรรม (Abstract Expressionism) ศิลปะลวงตา (Op Art, Optical Art) ศิลปะมินิมอล (สารัตถศิลป) (Minimal Art) ศิลปะประชานิยม (Pop Art) ศิลปะแนวคิด (สังกัปศิลป) (Conceptual Art) ศิลปะอภิสัจนิยม (Super-realism) ศิลปะหลังสมัยใหม (Post-Modern Art) งานจัดวาง/ศิลปะจัดวาง (Installations) ทรานสอว็องการเดีย (Transavanguardia) ศิลปะสําแดงพลังอารมณใหม (Neo Expressionism) บทสงทาย บรรณานุกรม อภิธานศัพท

221 226 230 236 241 247 255 261 266 271 277 280 283 286 289


ศิลปะยุคกอนประวัติศาสตร (Prehistoric Art) ความหมายของยุคกอนประวัติศาสตร จะถือเอาแบบวิถีชีวิตของมนุษยกอนทีจ่ ะมีการจารึกเปนลายลักษณอักษร ซึ่งก็ยอนไปไดถึงราว 20,000 ปกอนคริสตกาล (20,000 BC.) * มีศิลปกรรมในยุคกอนประวัติศาสตรที่สําคัญดังนี้ 0

ยุคหินเกา (Paleolithic) หรือ (Palaeolithic) † 1

ลักษณะสภาพความเปนอยูยังคลายสัตว อยูตามถ้ํา มีอาวุธหรือเครื่องมือ ที่ทําจากกระดูก เขาสัตว หรือหิน มี การดํารงชีพอยูดวยการลาสัตว ยังไมรูจักการเก็บสะสมอาหารหรือทําการเกษตรใดใด ลักษณะผลทางศิลปกรรมจึงเปนไป เพื่อตอบสนองความเปนอยู เพื่อความเชื่อมั่นทางจิตใจหรือความลี้ลับ พิธีกรรมเพื่อความอยูรอดหรือกอนออกลาสัตว หรือเปนการบันทึกหมายจํา ผลงานเหลานั้นคงจะมีนอยมากที่เปนไปเพื่อตอบสนองความงามที่พึงใจ (แตก็อาจมีบาง) ผลงานจิตรกรรมผนังถ้ําสวนมากจะเปนการวาดในสวนที่ลึกและมืดที่สุดของถ้ํา และบางครั้งก็อยูบนเพดานสูง งานศิลปะในยุคหินเกานี้จะมีอยู 2 ลักษณะ คือ -งานศิลปะตามผนังถ้ํา -งานศิลปะที่พกพาได เชน งานแกะสลักหรือประติมากรรมขนาดเล็ก งานศิลปะตกแตง

งานศิลปะตามผนังถ้ํา (Cave Art) ปรากฏจิตรกรรมตามผนังถ้ํา ตามบริเวณฝรั่งเศสตอนกลางและตอนใตและภาคเหนือของสเปน สวนมากมักจะ เขียนภาพอยูตรงสวนที่ลึกที่สุด แคบที่สุดหรือที่ยากตอการเขาถึงภายในเพดานหรือผนังถ้ํา ซึ่งยังปรากฏมีรอยพิมพเทา ตามพื้นที่ภายในถ้ําดวย การวาดในผนังถ้ําที่มืดมิดจะใชแสงจากตะเกียงน้ํามันไขสัตว ลักษณะเทคนิคการสรางภาพจะมี 3 ลักษณะ 1) ใชการพนเปาสี 2) ใชนิ้วมือหรือพิมพอยางอื่นในการวาดและ 3) ใชแปรงที่ทํามาจากขนสัตว สีที่ใชมาจากแร ธาตุที่หาได มีถ้ําที่สําคัญๆ ในยุโรปที่มีผลงานปรากฏอยูตามผนังถ้ํา เชน ถ้ําโชเวต (Chauvet) มีจิตรกรรมผนังถ้ําอยูเปนจํานวนมาก ภาพสัตวไดแก มา วัวไบซัน ชางแมมมอธ หมี เสือ แพนเธอร นกเคาแมว กวาง แรด แพะไอเบกซ ยังรวมไปถึงรอยที่เกี่ยวกับมนุษยทั้งชายและหญิ ง รูปเรขาคณิ ต เชน ตารางเหลี่ยม วงกลม จุด ถ้ําลาสโกซ (Lascaux) เปนถ้ําที่รูจักเกี่ยวกับจิตรกรรมผนังถ้ําดีที่สุด อยูบริเวณลุมน้ําดอรโดน (Dordogne) แถบภาคใตของฝรั่งเศส ภาพจะปรากฏอยูตามเพดานหินปูนผิวเนียนกับบริเวณผนังถ้ําสูงเนื้อหินผิวหยาบ มีภาพวาด ประมาณ 600 ภาพและภาพแกะสลัก ราว 1,500 ภาพ อากัปกิริยาของสัตวจะปรากฏเปนไปตามรอยพื้นผิวธรรมชาติ

*

มีคําที่จะตองเขาใจ อยู 2 คํา คือ BC และ AD BC หรือ B.C. ยอมาจาก Before Christ มาจากรากคําภาษาละติน Ante Christum หมายถึง กอนคริสตกาล AD หรือ A.D. ยอมาจาก Anno Domini หมายถึง ปคริสตกาล † the Paleolithic มาจากคํากรีก paleo หมายถึง เกา และ lithos หมายถึง หิน the Neolithic มาจากคํากรีก neo หมายถึง ใหม และ lithos หมายถึง หิน

ศิลปะยุคกอนประวัตศิ าสตร 1.


ของหิน เชนภาพแพะไอเบกซ และหมี แกะตามรอยพื้นผิวของหิน ลักษณะภาพจะมีหลายขนาด หนาของสัตวซอนตอกัน หรือไมก็เดินตามรอยตอหางเปนแถวกัน และมีการวาดทับลงจากภาพเดิมขึ้นมาเปนชั้นๆ ภาพสัตวจะมีขนาดเทาจริงและ ใหญกวาขนาดจริง จะวาดแบบภาพเงาดําและแบบเปนเสนขอบนอก ถ้ําอัลตามีรา (Altamira) ภาพปรากฏอยูบริเวณขางบนหรือตรงตําแหนงไมปกติในผนังถ้ํา เขียนวัวไบซันอยูบน เพดานถ้ําดวยสีแดงและน้ําตาล ภาพทรงพลังเปนอยางมาก เสนขอบนอกเด็ดขาดและใชพื้นผิวแงมุมของหินใหเปนสวน หนึ่งของภาพไปในตัว ใสรายละเอียดของหัว เขา หางและขาดวยสีดําและน้ําตาล ผสมสีเหลืองและน้ําตาลจากดินที่มีแร เหล็กเจือปน เพื่อใหออกสีแดงและสีดํามาจากแมงกานีสหรือถาน

บริเวณและตําแหนงสําคัญตางๆ ของศิลปะยุคกอนประวัติศาสตรในยุโรป เชน ถ้ํา Lascaux, Chauvet, Altamira, Brassempouy หรือบริเวณ Willendorf ที่คนพบประติมากรรมรูป ผูหญิงขนาดเล็ก ถ้ําลาสโกซ (Lascaux) มีภาพสัตวเปนสวนมาก บางภาพขนาดใหญมาก เชน ภาพวัวไบซัน ภาพมาปา ภาพวัวไบซันบางภาพยาวเกือบ 5 เมตรและมักจะ วาดทับซอนกันไปมา ภาพใหญเล็กไมสัมพันธกัน ลั ก ษณะภาพพิ ม พ ร อยมื อ (imprints) ที่ ถ้ํ า โชเวต (Chauvet) ซึ่ ง มี ส อง ลักษณะ คือ แบบ positive คือรูปมือที่จุมสีแลวกดทาบลงบนผนังถ้ําปรากฏ เปนรูปมือเต็ม สวนมากมีสีแดง ขาว และดํา อีกลักษณะคือแบบ negative ภาพมือที่ปรากฏจะเปนสีที่ขอบรอบนอกรอยมือ รอยมือที่ปรากฏมักจะเปน รอยมือขางซายและเปนมือของผูหญิง

ศิลปะยุคกอนประวัตศิ าสตร 2.


ถ้ําฟองเดอโกม (Font de Gaume) มีภาพกวางเรนเดียรที่สมบูรณ มาก คลายภาพที่เขียนดวยสีน้ําหรือแบบพูกันจีน ที่ลงน้ําหนักที่ตัว ภาพเลย โดยไมวาดเสนขอบนอกกอน แสดงถึงความชํานาญในการ จดจําทาทางของสัตว การใชเสนและน้ําหนักไดอยางแมนยํา

เพดานถ้ํ าอัล ตามีรา (Altamira) วาดบนผนังหิ น ปู น สู ง ราว 2.5 เมตร มั ก จะเป น ภาพสั ต ว ที่ มี ข นาด ใกลเคียงขนาดเทาจริงเปนทายืนที่หันดานขาง จิตรกร พยายามเลี ย นแบบให ส มจริ ง เท า ที่ จ ะเป น ไปได สวนมากลงสีแดงแลวตัดดวยเสนสีดํา

นอกจากนั้นยังมีภาพในอีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งอยูในแถบออสเตรเลียของชาวอะบอริจิน เปนภาพบนผนังถ้ําหรือบนเปลือกไม มีลักษณะพิเศษที่มองเห็นอวัยวะภายในของสัตว จิงโจ ปลาและนก วาดอยางเรียบงาย เรียกภาพลักษณะนี้วา ภาพ จิตรกรรมเอกซเรย (X-ray painting) ใชเสนสีขาวในการระบายใสรายละเอียดเพิ่มดวยสีแดงหรือสีเหลือง พบในแถบ ตอนเหนือของออสเตรเลีย สันนิษฐานวาภาพดังกลาวนาจะเกี่ยวเนื่องกับสิ่งเหนือธรรมชาติ พิธีกรรมและความลี้ลับ

ภาพจิตรกรรมเอกซเรย อาจบงนัยยะเกี่ยวกับพิธีกรรมหรือสราง ความเชื่อมั่นในการออกลาสัตว หรือเพื่อแสดงใหเห็นถึงอํานาจ ของมนุ ษ ย ที่ เหนื อ กว าสั ต ว ข อ สั ง เกตคื อ ภาพตั วคนจะไม เห็ น อวัยวะภายในเลยหรืออาจใชประกอบพิธีกรรมเพื่ออํานาจลี้ลับ กับธรรมชาติ ภาพสวนใหญระบายหรือเขียนดวยสีขาวบนพื้นหิน ผนังถ้ําหรือเปลือกไม

ศิลปะยุคกอนประวัตศิ าสตร 3.


งานศิลปะที่พกพาได (Portable Art) ราว 30,000 ปกอนคริสตกาล จะมีรูปปนขนาดเล็กหรือเปนรูปปนผูหญิ ง รูปคนรูปสัตวทําจากกระดูกสัตว งาชาง หินและดินปน ซึ่งเปนลักษณะประติมากรรมลอยตัว (sculpture in the round) และยังมีงานแกะสลักเปนรูปนูน (relief sculpture) ตางๆ การแกะสลักตกแตงอาวุธหรือเครื่องใช โดยการแกะขูดขีด กระดูกสัตว เขาสัตว งาชางหรือหิน สิ่งที่ใชขูดหรือแกะ ก็ทํามาจากหิน งานประติมากรรมที่เปนรูปผูหญิงอวบอวนสะโพกผาย ขนาดประมาณฝามือเล็กนอย แสดงลักษณะของความ อุดมสมบูรณ และการเจริญเผาพันธุ มีลักษณะคอนมาทางที่กอใหเกิดสังคมที่แมหรือผูหญิงมีความสําคัญและมีบทบาท ไปจนถึงการใหความหมายในธรรมชาติและสิ่งเหนือธรรมชาติ รูปปนผูหญิงเหลานี้ถาไมแกะสลักจากหินปูน ก็จากกระดูกสัตวหรือไมก็ปนจากดินแลวนําไปเผาไฟ รูปปนบาง ลักษณะแกะเปนรูปศีรษะ ซึ่งจะหมายถึง รูปแหงความหมายจํา (memory image) มักแกะมาจากงาชาง ซึ่งเนื้อออนแกะ ไดงาย แกะสลักดวยการมองภาพรวมจากบุคลิกอยางงายๆ งานแกะสลักเขากวางเรนเดียรเปนรูปวัวไบซัน ทีแ่ กะสลักตาม รูปรางของเขากวางที่มีอยูใหเปนภาพไดพอดิบพอดี

ประติมากรรมรูปลอยตัว ตุกตาวีนัสแบบตางๆ บางชิ้นทํามาจากดินเผา งาชาง กระดูกสัตว และหิน ในภาพเรียงจากซาย คือ วีนัสแหงวิลเลนดอรฟ (Venus of Willendorf) วีนัสแหง เลสปุค (Venus of Lespuque) วีนัสแหงซาวิญาโน (Venus of Savignano)

วีนัสแหงวิลเลนดอรฟ แกะมาจากหินปูนสีแดง อายุราว 24,000 ปกอนคริสตกาล สูงประมาณ 11 ซม. เป น สั ญ ญลั ก ษณ แ สดงถึ งสุ ขภาพและ ความอุ ดมสมบู รณ ความสามารถในการเจริญ พันธุและเปนเครื่อง หมายใหเชื่อมั่นวาเผาพันธุ จะดํารงอยูรอด

ศิลปะยุคกอนประวัตศิ าสตร 4.


ประติ ม ากรรมแกะสลั ก รู ป วั ว ไบซั น จากเขากวาง เรนเดี ย ร เป น งานลั ก ษณะนู น ต่ํ า (bas-relief) ที่ แ ส ด งถึ งค วาม เข าใจ ส ภ าพ วั ส ดุ ที่ มี อ ยู แ ล ะ จิน ตนาการที่ เหมาะสม โดยแกะสกัด รอ งลึ กด ว ย ความจําและมีสั ดสวนที่ ดี ซึ่งมีงานประติ มากรรม ทํานองนี้อยูมากหลายรูปแบบตามแตพ บหรือเจอ รูปทรงตามวัสดุที่เหมาะสม

ยุคหินใหม (Neolithic) มีลักษณะของการอยูรวมกันเปนสังคม เกิดลักษณะตั้งถิ่นฐานถาวร อยูตามริมฝงแมน้ํา มีเครื่องนุงหม รูจักทํา เครื่องดินเผาเชิงภาชนะ (ceramic pottery) ทําเกษตรกรรม การถนอมและกักเก็บอาหาร มีการเลี้ยงสัตว ลักษณะ เครื่องมือเครื่องใชและอาวุธยังคงทํามาจากหิน เขาสัตวหรือกระดูกสัตวแตมีความประณีต ขัดแตงมากขึ้น งานศิลปกรรมที่โดดเดนจะเปนงานจําพวกเครื่องดินเผาและอนุสรณหินขนาดใหญ (Megalithic (mega – ใหญ lithos – หิน)) เพื่อเปนถาวรวัตถุ มากกวางานดานจิตรกรรมหรือประติมากรรมขนาดเล็ก งานที่ปรากฏไมไดเปนการ จําลองแบบในธรรมชาติหรือใหเหมือนจริงดั่งยุคหินเกา ลักษณะแบบสิ่งสรางเหลานี้ เปนไปในดานของพิธีกรรม ความเชื่อ หรือเพื่อเคารพธรรมชาติ สื่อนามธรรม และเปนสุสานสําหรับบุคคล เกิดความหมายเชิงสัญลักษณและเกียรติยศมากขึ้น แสดงถึงความซับซอนและมีระบบแบบแผนมากขึ้นของกลุมชนและสังคม อนุสรณหินจะปรากฏเปน 4 ลักษณะ 1. หินตั้งเดี่ยว (menhir) มีลักษณะสูงมากกวา 64 ฟุต 2. หินตั้งเรียงเปนแถวยาว (alignment) 3. หินวางพาดซอนทับ (โตะหิน) (dolmen) ดูแลวคลายโตะหินขนาดใหญ 4. หินวางพาดซอนทับลอมเปนวง (cromlech) จัดวางเรียบรอยมีระยะและวางเปนวงลอม ลักษณะอนุสรณหินเหลานี้ กอใหเกิดโครงสรางทางสถาปตยกรรมในยุคแรกเริ่มของมนุษย เกิดระบบ เสาและ คานวางพาด (ทับหลัง) (post & lintel system) ที่จะพัฒนาตอไปเปนที่อยูอาศัย และสถาปตยกรรมที่ซับซอนขึ้นใน ยุคถัดไป

menhir หรือบางทีเรียก standing stone หรือ monolith มีแทง หิ น ตั้ ง เดี่ ย วที่ น า สนใจอยู ที่ Locmariaquer และ Brittany ใน ฝรั่งเศส สูงราว 20 เมตร

ศิลปะยุคกอนประวัตศิ าสตร 5.


alignment (stone rows) กองหินเรียงที่เมือง Carnac เรียกวาคาร นัคสโตน ซึ่งประกอบดวยแถวหินสี่กลุม คือ Le Menec, Kermario, Kerlescan and Le Petit Menec รวมกันแลวกินพื้นที่ หลายตารางกิโลเมตร Poulnabrone dolmen in County Clare, Ireland ลักษณะโตะหินอยางนี้ สันนิษฐานกันวานาจะเปนการบงบอกเขต หรือสัญลักษณบริเวณพิธีกรรมในสุสานหรือเกี่ยวกับความตายและ วิญญาณ cromlech (Stonehenge) กองหิ น ทั บ ซ อ นล อ มเป น วง ที่ มี ค วาม ประณีตสูง มีการสลักเขาเดือยล็อคเพื่อใหแนนหนา นักโบราณคดี อนุมานกันวานาจะเปนปฏิทินที่สัมพันธกับดวงดาว แตขอมูลลาสุด คนพบวา เปนสุสานประกอบพิธีฝงศพบุคคลชั้นสูงในสังคมยุคนั้น การวางพาดนี้ นําไปสูระบบคานและเสาเกิดเปนงานสถาปตยกรรม ตอไป

เปรียบเทียบคุณลักษณที่สําคัญและโดดเดนของศิลปกรรมกอนประวัติศาสตรทั้งสองยุค ชวงเวลา สภาพ โดยทั่วไป

ลักษณะงาน ศิลปกรรม

ยุคหินเกา (paleolithic)

ยุคหินใหม (neolithic)

30,000-10,000 BC.

10,000-5,000 BC.

ลาสัตว เก็บของปา อยูตามถ้ํา ยายถิ่นไป เรื่อย ยังไมมีเครื่องนุงหม อาวุธทําจาก กระดูกและหินอยางหยาบ (ยุคหินตอย)

อยูเปนหลักแหลง ชายฝงน้ํา เก็บอาหาร ทําเครื่องดิน เผา รวมตัวเปนเผา มีการทําการเกษตร เลี้ยงสัตว อาวุธเครื่องมือทําจากหินอยางประณีต (ยุคหินขัด)

จิตรกรรม : ตามผนังถ้ําตางๆ เปนภาพสัตว มองจากดานขางเปนหลัก ภาพพิมพรอยมือ (imprints) ภาพจิตรกรรมเอกซเรย (X-ray painting) มีภาพคนประกอบนอยมาก ประติมากรรม : ขนาดเล็ก ตุกตาวีนัส งาน แกะรูปสัตวบนเขาสัตวหรือกระดูกสัตว รูป ลอยตัวและงานนูนต่ํารองลึก

อนุสรณหิน (Megalithic) -หินตั้งเดี่ยว (menhir) -หินตั้งเรียงแถว (alignment) -โตะหิน (dolmen) -หินทับซอนเปนวงลอม (cromlech) งานเครื่องดินเผา (pottery) เกิดขึ้นอยางโดดเดน

ศิลปะยุคกอนประวัตศิ าสตร 6.


กรรมวิธี เทคนิค-วัสดุ

สีจากธรรมชาติ ดิน สีดํา สีแดง น้ําตาล เหลือง จดจําและแมนยําสูง มีการเปาพนสี วาดเสน ลงน้ําหนักดวยความแมนยําฉับไว แกะสลักหิน งาชาง กระดูก เขาสัตว สรางงานเทาที่วัสดุมีรูปทรงอยูตามสภาพ รูจักการสรางมิติของภาพดวยการใชพื้นผิว ของผนังถ้ํามาใชในการลวงตา

เกิดโครงสรางระบบเสาและคานวางพาด (post & lintel system) หรือเสาและทับหลัง งานจิตรกรรมนอยลง มีงานเครื่องดินเผาเพิ่มขึ้น วัสดุหิน ที่ขัดแตงอยางประณีต มาสรางและจัดวาง ไมใชวัสดุสื่อโดยตรงแตดัดแปลงแปรรูปหรือแตงสื่อ วัสดุเสียใหม

เปาหมายและ สุนทรียภาพ

เพื่อการดํารงชีพและการอยูร อด บันทึกภาพสัตว อยางเหมือนจริงและ ขมนามกอนลาสัตว เพื่อฮึกเหิมเชื่อมั่น สรางสิ่งศิลปกรรมตามที่ตาเห็น ความอุดมสมบูรณและสืบเผาพันธุ

ตอบสนองความเชื่อ พิธกี รรม วิญญาณนิยม (animism) มีระบบความคิดเชิงนามธรรมมากขึ้น เพื่อเกียรติยศของบุคคล เปนระบบสัญลักษณมากขึ้น ซับซอนเปนระบบ สรางสิ่งศิลปกรรมจากสิ่งที่ไมอาจมองเห็นไดดวยตา

แหลงอางอิงขอมูลและภาพที่ใชในการเรียบเรียงและเพื่อศึกษาเพิ่มเติม Honour, Hugh & Fleming, John. A World History of Art. China: Laurence King Publishing. 2005. Kleiner, Fred S. Art through the Ages: A Concise Western History, third edition. USA: Wadsworth. 2008. Stokstad, Marilyn. Art History. New Jersey: Pearson Education. 2011. HuntFor.com LLC, www.huntfor.com/arthistory/prehistoric/ (accessed on 6th June 2008) Wikimedia Foundation, Inc., en.wikipedia.org/wiki/Dolmen (accessed on 6 th June 2008) Wikimedia Foundation, Inc., en.wikipedia.org/wiki/Menhir (accessed on 8 th June 2008)

ศิลปะยุคกอนประวัตศิ าสตร 7.


ศิลปะอียิปต

(Egyptian Art) ประวัติศาสตรของอียิปตมียาวนานมากวา 3000 ปกอนคริสตกาล (กอนหนานั้นมีการตั้งรกรากของผูคนในแถบ ลุมน้ําไนลนี้มากวา 5000 ปกอนคริสตกาล) มีพัฒนาการตอเนื่องอยูหลายชวง ซึ่งเรียกเปนยุคของอาณาจักร เริ่มแตยุค กอนอาณาจักร ยุคอาณาจักรเกา อาณาจักรกลาง อาณาจักรใหม นอกจากนั้นยังมีชวงรอยตอหรือยุคสับสนวุนวาย ระหวางยุคอาณาจักรเหลานั้นดวย คําวา อียิปต เปนชื่อที่ชาวกรีกเปนผูเรียกดินแดนในแถบลุมน้ําไนลนี้ ชาวอียิปตเรียกแผนดินของตนเองวา Kemt หมายถึง แผนดินสีดํา ในยุคกอนอาณาจักรเกา อียิปตมีอาณาจักรเปนสองสวน คือ อียิปตบน (upper Egypt คือ สวนอยูตนแมน้ําไนลจะเปนภาคใตในแผนที)่ และอียิปตลาง (lower Egypt คือ สวนที่อยูปลายของแมน้ําหรือปากแมน้ํา จะเปนภาคเหนือของแผนที่) ผูปกครองอาณาจักรอียิปตทั้งมวล คือทั้งอียิปตบนและอียิปตลางเทานั้นจึงไดรับการเรียก ขานวา ฟาโรห มาจากคําอียิปตโบราณ per-aa (φαραώ pharaō) ซึ่ง หมายถึง บานหลังใหญ ถือเอาความหมายก็คือ พระราชวังหลวง และก็กินความโดยนัยหมายถึง องคกษัตริยดวยนั่นเอง อารยธรรมของอียิปตจะอยูโดยรอบบริเวณลุมแมน้ําไนล ความเปนไปของอารยธรรมสอดคลองไปกับการให ความสําคัญกับความเชื่อและวัฒนธรรมอยางเขมงวดซึ่งก็สงผลตอการสรางสรรคงานศิลปกรรม -สถาปตยกรรม องค ฟาโรหหรือกษัตริยจะมีบทบาทสําคัญประหนึ่งดุจเปนสมมติเทพผูศักดิ์สิทธิ์ (หรือเปนเทวกษัตริยท่ีมีชีวิตอยูบนโลกนี้) มี อํานาจเบ็ดเสร็จในการปกครอง การทหาร การพาณิชย การยุติธรรม และเทวอํานาจ จนบางชวงสมัยยังผลทางการเมือง ระหวางดุลอํานาจ ความชอบธรรมในเทวสิทธิระหวางฟาโรหกับนักบวชผูทรงพิธีกรรม

ความอุดมสมบูรณของลุมน้ําไนล กอใหเกิดอารยธรรมที่ สํ าคั ญ ของโลก ที่ มี พั ฒ นาการต อ เนื่ อ งยาวนานมากว า 3000 ปกอนคริสตกาล พื้นดินสีดําที่เกิดหลังน้ําทวมเปน ประจําทุกปไดพัดพาปุยมาจากตนน้ํา นอกจากนั้นยังเปน เสนทางคมนาคมหลักของภูมิภาคนี้ บริเวณพื้นที่รายลอม ตลอดลําน้ําอุดมไปดวยแรธรรมชาติที่เปนวัตถุดิบในการ สรางสรรคศิลปกรรม-สถาปตยกรรม เชน หินปูน หินออน อี ยิ ป ต หิ น แกรนิ ต แดง หิ น ทราย หิ น บะซอลต แ ละหิ น ควอตช ทางภาคใต (อียิป ตบน) ยังอุ ดมไปดวย ทองคํ า ดีบุกและทองแดง

ศิลปะอียิปต 8.


รูปแบบของผลงานศิลปกรรมและสถาปตยกรรมจะเปนไปเพื่อชีวิตในโลกหนาความเปนอมตภาพ (ความเชื่อ เรื่องการฟนคืนชีพ วิญญาณ (ka) กลับเขาสูราง ไมใชการกลับชาติมาเกิด) หรือชีวิตที่ตอจากความตาย ดังนั้นจะกลาวได วา ผลงานดั ง กล าวเหล านั้ น เป น ผลงานศิ ล ปะเพื่ อ ความตาย (คนตาย) ก็ ไม ผิ ด นั ก ไม ว าจะเป น สถาป ต ยกรรมหรื อ จิตรกรรม-ประติมากรรมภายในสุสาน (งานศิลปะเพื่อการอยางอื่นก็มีเชนกันในชวงยุคอาณาจักรหลังๆ) ในการเชนนี้จะ แตกตางจากอารยธรรมที่รวมสมัยกันในอีกลุมแมน้ําคือ ยานเมโสโปเตเมีย อารยธรรมลุมน้ําไทกรีส-ยูเฟรตีส ที่เป น ศิลปกรรมเพื่อชีวิตในโลกปจจุบันและเพื่อบูชาเทพเจาในสรวงสวรรค ตัวอยางที่เห็นไดชัดของผลงานสรางสรรคเหลานั้น ของอียิปตก็คือ สุสานสําหรับองคฟาโรหและผูมีฐานะ มีการพัฒนารูปแบบจากแบบแทงหินกอรูปเนินธรรมดา ที่เรียกวา มาสตาบา (Mastaba) จนเปนพีระมิด (Pyramid) สุสานเจาะชองภูเขาหรือสกัดจากหนาผา (Rock cut Tomb) และหุบ ผากษัตริย (Valley of the King) เปนตน งานศิลปะ (art) ของอียิปตมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกับคําวา งานชางฝมือ-หัตถกรรม (crafts) ซึ่งไดผานการ ฝกทักษะและความมุงมั่นวิริยะอุตสาหะมาอยางสูง ขณะเดียวกันก็ยังอยูภายใตกรอบของกฎเกณฑและแบบแผนปฏิบัติ อยางเครงครัดผนวกกับขอจํากัดทางวัสดุที่หาไดในทองถิ่น (ยังรวมถึงแรงงานมหาศาลในการเสกสรรคมันขึ้นมา) งาน ศิลปกรรมของอียิปตมิใชศิลปะเพื่อศิลปะหรือเพื่อการแสดงออกทางความงามอยางเอกเทศ แตมันยังผลตอการรับใชทาง กายภาพและอุดมคติความเชื่อทางจิตใจดวย การแสดงบุคลิกภาพสวนบุคคลของผูสรางหรือตัวชางศิลปนเองนั้นมีนอย มาก ความสัมพันธของบริบทในชวงอาณาจักรตางๆ ทําใหเราเห็นความเปลี่ยนแปลงในแตละสวนของรูปแบบศิลปกรรม อยางสังเกตได

ศิลปกรรมในชวงกอนอาณาจักรหรือชวงตน (Early Dynastic or Archaic Period) จิตรกรรม-ประติมากรรม แผนหินแกะสลักที่เรียกวา แผนหินนารเมอร (palette of Narmer) เปนงานยุคตนที่มีคุณคาใน ดานจิตรกรรมและประติมากรรมในโสตเดียวกัน แสดงใหเห็นถึงแบบปฏิบัติและเทคนิคการแสดงออกทางภาพ ซึ่งนัยหนึ่งก็มีศักดิ์เปนดั่งภาษาที่จารึกเรื่องราวเหตุการณเอาไวดวย ลักษณะจําเพาะการสรางภาพที่เห็นไดชัด (และนับจากนี้เปนตนไปในงานจิตรกรรมและประติมากรรมแกะสลักภาพนูนตางๆ) ศีรษะจะเปนดานขาง ดวงตาดานหนา ลําตัวจะเอี้ยวมาทางดานหนา ไหลกวาง สะโพกแคบ ขาและเทาเปนดานขาง แผนหิน นารเมอร คือ จานผสมสีในงานพิธีกรรม ทําจาก หินชนวน ขนาด 25 นิ้ว จาก Hierakonpolis ราว 3200 ป ก อ นคริ ส ตกาล สลั ก ภาพนู น ต่ํ า ฟ าโรห น าร เ มอร (Narmer-Menes) ผู ร วมอี ยิ ป ต ล า งและอี ยิ ป ต บ นเข า ดวยกัน ภาพดานซ ายคื อแผน ดานหนาจะทรงมงกุ ฎของ อี ยิ ป ต ล า ง ภาพด า นขวาคื อ แผ น ด า นหลั ง จะทรงมงกุ ฎ อียิปตบนกําลังพิฆาตเชลย มีสัญลักษณของเทพโฮรัส คือ รูปเหยี่ยวซึ่งเทพประจําอียิปตบน กําลังจับยึดสัญลักษณ อียิ ป ตล างคื อต น ปาป รุส 6 ต น และเกี่ ย วหั วนั ก โทษชาว อียิปตลาง ศิลปะอียิปต 9.


สถาปตยกรรม

จะเปนสุสานสําหรับฟาโรหที่ทําดวยอิฐและหิน เรียกวา มาสตาบา (Mastaba) เปนรูปทรงสีเ่ หลีย่ ม ทรงสอบลูขึ้นเล็กนอย ผนังดานนอกตกแตงดวยหินปูน มีหองเก็บพระศพลึกลงไปใตดิน สรางดวยหินแกรนิต สุสานฝงพระศพและขุน นางชั้น สูงใน ยุคแรกๆ กอนจะพัฒนาไปเปนพีระมิด ในยุ ค อาณาจั ก รเก า ต อ ไป ก อ สร า ง ด ว ยอิ ฐ โคลนและหิ น ทั่ ว ทั้ งอี ยิ ป ต มี มาสตาบามากกวาหนึ่งพันแหง ภายใน มีภาพจิตรกรรมเขียนตกแตงอยูดวย

ศิลปกรรมในชวงอาณาจักรเกา (Old Kingdom) ยุคนี้เปนยุคที่งานศิลปกรรมในทุกแขนงเปนไปเพื่อรับใชศาสนาและความเชื่อเกี่ยวกับการกลับฟนคืนชีพ เกิด ประเพณีการรักษาศพมิใหเนาเปอย (Mummy) แข็งขันมากยิ่งขึ้น ศิลปน สถาปนิกและชางฝมือทํางานภายใตการอุปถัมภ จากราชสํ านั กทั้ งจากฟาโรห และขุ นนางชั้น สูง ยุค นี้ ถือ ไดวาเป น ยุค ของการสรางพี ระมิด เริ่มตั้ งแต พี ระมิด แบบขั้ น (Stepped Pyramid) พีระมิดทรุดตัว (Collapsed Pyramid) พีระมิดแบบหักมุม (Bent Pyramid) และพีระมิดแบบเต็ม รูปแบบ เริ่มตั้งแตราชวงศที่สาม ฟาโรหโซเซอร (Djoser) ไปจนถึงสมัยราชวงศที่สี่ ฟาโรหคูฟู (Khufu) ที่สรางพีระมิด แบบเต็มรูปแบบที่ใหญที่สุดที่เมืองกีเซ (Gizeh) ดังนั้นในยุคนี้ งานสถาปตยกรรมจึงโดดเดนและสําคัญมาก เนื่องจากเปน สุสานหลวงสําคัญ สวนงานจิตรกรรมและประติมากรรมจะประกอบอยูภายในและรอบพีระมิด มีสถานะเปนงานตกแตง และการบันทึกเชิงสัญลักษณ

จิตรกรรม-ประติมากรรม งานจิตรกรรมและประติมากรรมในยุคนี้เปนงานลักษณะบันทึกเรื่องราวและเพื่อการตกแตงในสุสาน มาสตาบาหรือพีระมิดเสียเปนสวนใหญ เชิงเทคนิคงานก็คลายดั่งงานรางแบบจากกฎเกณฑหรือแบบวิธีที่ตอง ดําเนินการตามนั้น สัดสวนของภาพบุคคลไมสัมพันธกับบริบทภาพที่รายลอม เพราะเนื้อหาเปนเชิงสัญลักษณที่ ตองการสื่อความหมาย ซึ่งก็มักจะสัมพันธกับเทพเจาหรือเรื่องราวตางๆ ที่เกี่ยวของกับผูตาย ประติมากรรมอยู ในโครงสรางบังคับจากแทงหิน ไมมีการเอี้ยวตัวไปทิศทางอื่นนอกจากมองตรงไปขางหนา ในงานประเภทนูนต่ํา มีแนวภาพดั่งงานจิตรกรรม วัสดุที่ใชจะเนนหินเพื่อความแข็งแรงทนทาน ดูมีปริมาตรแนนทึบตันและควบคูไป กับสถาปตยกรรม เมื่อเสร็จแลวจะมีการทาสีดวย ประติมากรรมบุคคลชั้นรองๆ ลงไปสรางดวยวัสดุอื่นไดเชน ไมหรือหินที่ไมทนทานมากนัก หนาที่ประติมากรรมจะบอกเรื่องราวและจําลองบุคลิกผูตายหรือมิฉะนั้นตอง สัมพันธกับเจาของสุสาน นอกจากนั้นยังบงบอกถึงพระราชอํานาจของฟาโรหอีกดวย

ศิลปะอียิปต 10.


six geese of Meidum ภาพเขียนสีฝูงหานจากสุสานของ Itet ที่เมืองเมดุม เปนเทคนิคเขียนสีบน ผนังฉาบปู นแหง (secco) สีที่ใชมาจากวัสดุธรรมชาติ เชน สีขาวจากหิน ปูน สีแดงจากเฮมาไทต นํามาบดแลวผสมกับไขขาว ระบายสีขอบคมชัด การจัดวางองคประกอบแบบสมมาตร ขอสังเกตคือ จิตรกรสามารถสรางระยะหนาระยะหลังไดโดยการซอนทับกัน แมวาลักษณะภาพโดยรวมจะดูแบน แตก็แสดงสัดสวนสมจริงอยางธรรมชาติทั้งเนื้อหาและเรื่องราว ในขณะที่ภาพบุคคลกลับไมเปน เชนนั้น คือเปนเชิงสัญลักษณและแบบวิธีมากกวาภาพสัตว ประติมากรรมภาพบุคคล เจาชาย Rahotep (โอรสของฟาโรห Snefru) และชายา Nofret จากเมืองเมดุม ขนาด 1.2 เมตร ราว 2580 ปกอน คริสตกาล เปนประติมากรรมหิ นปูนระบายสี ลักษณะเปนแทงเหลี่ยม ตามรูปทรงบังคับของแทงหิน ไมมีสัดสวนหรือกายวิภาคที่ถูกตองและ เนนมองดานหนาเปนหลัก (frontality) รูปปนผูชาย (ขนชั้นสูง) นิยม ระบายสีน้ําตาลแดงเขมบริเวณใบหนา หู ลําคอ สวนรูปปนผูหญิงจะ ระบายสีเหลืองหรือชมพูออน ทาสีผมสีดํา ฝงแกวไวเพื่อเปนลูกตาและ จะระบายเนนขอบตาดวยสีเขมเพื่อใหใบหนาโดดเดนขึ้น

ประติมากรรมภาพบุคคล ฟาโรห Menkhaure และองคราชินี จากเมือง Gizeh สูง 1.42 เมตร ราว 2490-2472 ปกอนคริสตกาล เป น ประติ ม ากรรมลอยตั ว ที่ ก า วหน า กว า ก อ นด ว ยความ พยายามแสดงกลามเนื้อและสัดสวนใหถูกตองขึ้น แกะจากหินโดยไมมี การระบายสี แสดงคุณคาดวยสีวัสดุ ขัดใหเงางาม โครงสรางยังยึดตาม กรอบเดิมที่ไมหนีจากกรอบแทงหินมากนัก แมวาจะปรากฏดานของ ประติมากรรมสี่ดาน คือ ดานหนาหนึ่ง ดานขางสองดาน และดานหลัง แตก็ยังเนนการมองดานหนาเปนสําคัญ (frontality) จะมีแบบปฏิบัติ คลายกันคือ ภาพปนผูชายจะกาวเทาซายออกมาขางหนาเล็กนอย สวน ภาพปนผูหญิงจะยืนตรงเทาชิดกัน แมวาจะดูเหมือนเปนประติมากรรม รูปลอยตัว แตยังคงมีสวนที่เปนฉากหลังหรือเปนตัวชวยยึดโครงสราง ของรูปอยูนั่นเอง จึงทําใหไมเปนประติมากรรมแบบลอยตัวแท

ศิลปะอียิปต 11.


สถาปตยกรรม สถาปตยกรรมในยุคนี้มิไดเปนสถาปตยกรรมสําหรับผูมีชีวิตอยูอาศัย แตเปน สถาปตยกรรมแบบปด (closed architecture) จุดประสงคเพื่อเปนสุสานหลวงสําหรับฟาโรห ที่แสดงถึงความแข็งแรงมั่นคง ใหยืน ยาวนานพอสําหรับชีวิตอมตะที่จะฟนคืนชีพอีกครั้งหนึ่ง และยังเปนเครื่องแสดงถึงพระราชอํานาจของฟาโรห แตละองคอีกดวย ระบบเชิงเทคนิคที่สําคัญของสถาปตยกรรมอียิปตคือ ระบบเสาและคานวางพาด (post and lintel system) ที่มีปรากฏใชมากในหลากหลายแบบสถาปตย เชน วิหารสุสาน อาจเปนเพราะใหความรูสึกแข็งแรง ดู นาเกรงขาม ยังไมนิยมใชระบบคานโคงหรือเพดานโคง (arch and vault) (มีบางแตเล็กนอยมากในยุคกอนนี้) วัสดุที่ใชจะเปนหินแกรนิต หินปูนและหินออน และยังคํานึงถึงเรื่องความสัมพันธของภูมิทัศนโดยรอบ จึงมี สวนประกอบเนื่องกันของประติมากรรมดวย เชน การสรางประติมากรรมสฟงซ (Sphinx)

ลําดับพัฒนาการของพีระมิด จากพีระมิดแบบขั้นบันไดในชวงแรกๆ จัดสรางโดยฟาโรหโซเซอร (Djoser) ตั้งอยู ที่เมืองซัคคารา เมื่อราว 2680 ปกอนคริสตกาล ถัดมาคือ พีระมิดทรุดตัว เปนพีระมิดชวงคนหาพัฒนารูปแบบ โครงสรางเปนสองชั้น ชั้นในคงลักษณะแบบขั้นบันไดอยู ชั้นนอกเกิดการยุบสลายตัวลง ลําดับถัดมาอีกคือ พีระมิดหักมุมแหงเมือง Dashur โดยมีมุมฐาน 53 องศา ซึ่งชันมากเกินไป ตรงชวงกลางเลยลดมุมลงเหลือ 43 องศา จึงกลายเปนบทเรียนนําไปสูพีระมิดแบบสมบูรณตอไป และพีระมิดแบบสมบูรณของฟาโรห Khufu ที่ เมือง Gizeh ซึ่งเปนพีระมิดที่ใหญที่สุดมีความสูง 150 เมตร ผิวนอกหุมดวยหินปูน รูปแบบของเสาแบบปาปรุส สรางดวยหินปูน ที่ประกอบรวมอยูกับพีระมิดแบบขั้นบันไดของ ฟาโรห โ ซเซอร แห ง ราชวงศ ที่ 3 ที่ เ มื อ ง ซั ค คารา ในยุ ค อาณาจั ก รเก า ราว 2600 ป ก อ นคริ ส ตกาล เป น ที่ นิ ย มมากในการสร า ง แบบเสาและหั วเสาประกอบสุสาน ซึ่งนํารูป แบบมาจากพืชพันธุธรรมชาติ

ประติมากรรมสฟงซ (Sphinx) ขนาดใหญสลักจากหินภูเขา ประกอบกับพิระมิดของฟาโรหคาเฟร ที่มีรางเปนสิงโตเพศผู คือ สัญลักษณแหงสุริยเทพ (Ra) ผนวกแนวคิดที่วา ฟาโรห คือ ผูทรงพลังดุจสิงโต และสวนหัวจะจําลองใบหนาของฟาโรหและสวมสิ่งที่เรียกวาเนมีส (Nemes) แสดงถึงพระราชอํานาจ ศิลปะอียิปต 12.


ศิลปกรรมในชวงอาณาจักรกลาง (Middle Kingdom) ในยุคสมัยอาณาจักรกลาง อํานาจฟาโรหไมเด็ดขาดเบ็ดเสร็จดั่งสมัยอาณาจักรเกา มีการยายเมืองหลวงจาก เมมฟส (Memphis) มายัง ธีบิส (Thebes) และยังมีสงครามกับพวกชนเถื่อนภายนอกอีกมาก เชน พวกฮิกซอส มีการ ทําลายลางงานศิลปกรรมอยูมาก (ในยุคนี้รวมสมัยกับพระเจาฮัมมูราบิ (Hammurabi) กษัตริยของชาวอมอไรต แหง แควน บาบิ โลน ในดิ น แดนเมโสโมเตเมี ย ) ดู เหมื อ นวา รูป แบบของงานศิ ล ปกรรมจะเป น ไปในทางเสื่ อมมากกว ายุ ค อาณาจักรเกา มีปรับการสรางสุสานจากเดิมเปนแบบพีระมิดมาเปนสุสานเจาะชองภูเขาหรือตัดหนาผา (Rock cut Tomb) ลักษณะหองตางๆ ก็ยังคงไวตามแบบเมื่อครั้งเปนพีระมิดอยู มีระบบโครงสรางเพดานและเสาภายใน ซึ่งในอันที่จริงไมได มีสวนในการรับน้ําหนักใดเลย เพราะหองภายในคงตัวอยูไดเองเปรียบดั่งเปนถ้ําในภูเขาอยูแลว ซึ่งเสา คาน และเพดาน ดังกลาวเปนไปเพื่อตกแตงและสรางบรรยากาศมากกวา

จิตรกรรม-ประติมากรรม กรรมวิธีทางงานจิตรกรรมเปลี่ยนไปจากเดิมบางเล็กนอย มีการริเริ่มใหคลายสภาพจริงของแบบมาก ขึ้น เริ่มสะทอนความเปนปจเจกชน แลดูมีอิสระ ไมดูแบนตามแบบจิตรกรรมสมัยยุคอาณาจักรเกา มีการเตรียม พื้นที่การวาดบนผนังเสียกอน เชน ฉาบปูนขาวรองพื้นแลวจึงรางภาพและลงสี เนื้อหามีเรื่องราวชีวิตประจําวัน ของชาวบาน ภาพสัตวทั่วไป งานประติมากรรมดูเสื่อมลงกวายุคเกา มีลักษณะกระดางและตามแบบเดิมๆ งานมีขนาดไมใหญมาก นัก นอกจากแสดงอํานาจในฐานะผูปกครองแลวยังแสดงบุคลิกภาพดวย ใชวัสดุจําพวกหินทรายสีน้ําตาล หิน ออบซิเดี้ยนและแกรนิตแดง พยายามจําลองใบหนาของบุคคลตามจริง เปาหมายยังเพื่อประกอบในสุสานและ ความเชื่อชีวิตอมตะเชนเดิม คติการสรางตัวสฟงซเปลี่ยนจากเดิมที่สวม เนมีส (Nemes) ในยุคอาณาจักรเกา มาเปนลักษณะมีหูและแผงขนรอบคอคลายสิงโต (lionize) ชัดเจนขึ้นและแสดงใบหนาที่เปนมนุษยมากขึ้น ถาเปรียบกับงานจิตรกรรมแลว งานจิตรกรรมมีความกาวหนาขึ้นมากกวา อาจเป นเพราะมีการ เตรียมการและใชทุนรอน เวลานอยกวา กอปรกับมีศึกสงครามจากชนเถื่อน (พวก Hyksos) รุกรานมาก

ภาพนกบนตนยาง Acacia ในสุสานของคนุมโฮเทปที่ 3 ที่ เมืองเบนี ฮาซัน ยุคอาณาจักรกลาง แสดงลักษณะความ เปนธรรมชาติและเรื่องราวในชีวิต ประจําวันทั่วไป เสนและ การลงสี มี ค วามเป น อิ ส ระมากกว า ภาพบุ ค คล มี ก ารให ระยะใกล ไกลโดยการซ อ นทั บ ซึ่ งลั ก ษณะการวาดภาพ ธรรมชาติและสัตวนี้ ในยุคอาณาจักรกลางปรากฏมากขึ้น กวายุคอาณาจักรเกา

ศิลปะอียิปต 13.


สถาปตยกรรม สุสานสถาปตยไดเปลี่ยนคติจากเดิมที่เปนพีระมิดมาเปนการเจาะเขาไปในภูเขาหรือหนาผา แตผังหอง และโครงสรางภายในก็ยังยึดโยงแบบพีระมิดอยู มีการสกัดผนังของถ้ําดูคลายกับเปนเพดานและมีเสารองรับ แตในแงโครงสรางแลว ผนังถ้ําที่เปนหองหับนี้ สามารถอยูไดดวยตัวมันเองอยูแลว เสาและเพดานที่เห็นจึง กลายเปนลักษณะหลอกตาและเปนการตกแตง สิ่งที่เปนพัฒนาการเพิ่มขึ้น ก็คือ การตกแตงเลนรูปทรงของเสา และหัวเสา (capital) (ในสมัยอาณาจักรเกาไดมีหัวเสาตนปาปรุสมาบางแลว ตัวลําเสากลม) ในหลายลักษณะ อาทิ เชน หัวเสารูปใบปาลม รูปตนกกปาปรุส ทรงบัวตูม หรือทรงระฆัง เปนตน สุสานเจาะชองภูเขาที่นาสนใจ เชน Tomb of Khety และ Tomb of Khnumhotep ที่ เบนี ฮาซัน (Beni Hasan)

ภาพซ า ยบน เป น สุ ส านเจาะช อ งภู เขาของ Knumhotep แห ง ราชวงศที่ 12 ราว 1900 ปกอนคริสตกาล ภาพกลางบน เปนสุสานเจาะชองภูเขาของ Amenemhat, ภาพขวาบน ภายในสุ ส านของ Knety ที่ Beni Hasan ห อ งโถง กลางมีเสาทรงดอกบัวตูมเสมือนวารองรับเพดานอยู ภาพซายลาง แสดงผังภายในของสุสานเจาะชอง (ผา) ภูเขาของ Khnumhotep

ศิลปกรรมในชวงอาณาจักรใหม (New Kingdom) ในยุคอาณาจักรใหมอยูในชวงรัชสมัยของฟาโรหราชวงศที่ 18,19 และ 20 ศิลปกรรมในยุคนี้แสดงถึงความ หรูหรา มั่งคั่ง และความยิ่งใหญของจักรวรรดิอียิปต ผลงานทางสถาปตยกรรมมีความสําคัญและแสดงถึงความโอฬาร ตระการตามากที่สุด มีการติดตอคาขายกับดินแดนในแถบทะเลอีเจียนและยานตะวันตกของเอเชีย รูปแบบสรางสรรคงาน มีความเปนอิสระมากขึ้น มีความสมจริงในเนื้อหาและมีเทคนิคกรรมวิธีละเมียดวิจิตรมากขึ้น ซึ่งสมฐานะแหงอาณาจักร อียิปตที่ม่ังคั่ง แสดงเรื่องราวธรรมชาติ ชีวิตประจําวัน มากขึ้นกวามุงเนนประดับสุสานดั่งเกากอน เมืองธีบีสกลายเปน เมืองสําคัญในยุคนี้หรือจะกลาวไดวา ยุคอาณาจักรใหมเปนยุคทองของงานศิลปกรรมทั้งมวลของอียิปต

ศิลปะอียิปต 14.


จิตรกรรม-ประติมากรรม กรรมวิธีและคติทางงานจิตรกรรมเปลี่ยนไป ภาพจิตรกรรมมิไดเปนแคงานตกแตงสุสานอีกตอไปแต ยังเปนภาพประดับผนัง พื้ น เพดาน ตามบานและพระราชวังดวย อยางเชน ที่เมืองอมารนา (Amarna) ใช กรรมวิธี เขียนสีปูนเปยก (fresco) มีการทดลองทาทางที่หนีจากกรอบแบบแผนเดิม ตามแนวคติการเขียนภาพ บุคคลจากที่ผานมา เสนและทาทางแฝงอารมณและอิสระของจิตรกรลงไปดวย แตหลังจากราชวงศที่ 19 แลว คุณภาพของงานก็ตกต่ําลง ขนาดเล็กลง มีปรากฏอยูตามกระดาษปาปรุส เครื่องเรือน โลงศพและคงสภาพใน ฐานะเปนงานชางฝมือ ภาพฉากงานเลี้ยงจากสุสาน Nebamun เมืองธีบีส สมัยอาณาจักรใหม ราว 1400 BC แสดง ใหเห็นถึงจิตรกรไมเพียงแตมีทักษะที่เปนเลิศเทานัน้ แตแสดงใหเห็นความพยายามทดลองรายละเอียดที่ แหวกจากแบบแผนปกติ สวนบนของภาพ แสดงชน ชั้นสูงที่มางานเลี้ยง วางแนวภาพตามแบบแผนเดิม สวนแถวลางที่เปน คนรับ ใชและเหลานักดนตรี ที่ วางทาทางผิดแบบออกไป สตรีนั่งพับเพียบหันฝา เท า เข าหาผู ดู สองในสี่ ค นหั น หน า มาเต็ ม ใบหน า เส น รอบนอกมี ค วามโคงออ นไหวดู เป นอิ ส ระ มื อ ของนักระบํ าที่ แสดงการปรบมื อ นิ้ วพลิ้วไหวไม ดู แบน มีมิติ เปนภาพที่พบไดคอนขางยาก

ประติมากรรมยุคนี้มีลักษณะเดน คือ มีความเหมือนจริงของบุคลิกภาพและกายภาพมาก จากที่เคยสราง เรื่ อ งราวเพื่ อ ความตายมาเป น ชิ วิ ต ความเป น อยู ป กติ แสดงลั ก ษณะจริ ง ของบุ ค คล งานชิ้ น นี้ คื อ ประติมากรรมหินปูนระบายสี รูปพระนางเนเฟอรตีติ (Nefertiti) พระราชินีของฟาโรหอเมนโฮเทปที่ 4 (Akhenaten) แหงราชวงศที่ 18 (1353-1336 BC) หินปูนระบายสี เปนงานชิ้นที่โดดเดนมากที่สุด สวน หนึ่งเนื่องมาจากการปฏิวัติประเพณีและศิลปะของอเมนโอเทปที่ 4 เองดวย ลักษณะแบบนี้เรียกวา แบบ อยางอมารนา (Amarna style) ศิลปะอียิปต 15.


แบบลักษณศิลปกรรมในชวงปฏิวัติอมารนา ชวงที่ฟาโรหอเมนโฮเทปที่ 4 (Amenhotep IV) ครองราชยอยู 17 ป ไดกอตั้งศาสนาและความเชื่อใหมโดยนับ ถือเทพเจ าสู งสุ ดองคเดี ยว คือ สุ ริยเทพอเต็ น (คนละองคกับ สุ ริย เทพรา) และเปลี่ยนชื่อ ของพระองคเป น Akhenaten สรางเมืองหลวงแหงใหมคือ Akhetaten (ดวงตาแหงเทพอเต็น) (Tell el-Amarna) มีการกอสราง วิหารบูชาเทพอเต็นแบบใหมใกลกับวิหารคารนัค รูปแบบประติมากรรมแสดงทาทางอากัปกริยาแบบธรรมชาติ สมจริงชวงคอยาวระหงส เสนโคงสรีระสละสลวยแสดงอารมณตามทาทางและสีหนา ภาพสลักนูนตางๆ ไมได จําเพาะแตฟาโรหเทานั้นยังรวมไปถึงราชินีและบรมวงศทั้งหลาย เทคนิคการแกะสลักภาพนูนของอียิปตจะ เรียกวา ภาพนูนแบบขอบฝงจม (sunken relief) โดยรางขอบนอกของภาพแลวแกะลึกลงไปตามขอบภาพ

ภาพจําหลักนูนแบบขอบฝงจม (sunken relief) อเคนาเตนและพระมเหสี ราชวงศ ที่ 18 หิ น ปู น ระบายสี แสดงให เห็ น ถึ งแบบลั ก ษณ แบบ ใหมที่แสดงทาทางอากัปกริยาแบบธรรมชาติสมจริง ในดานกายภาพของแบบและทาทาง อากัปกริยา ที่ แตกตางไปจากประติมากรรมจําหลักนูนในยุคเกาที่ เปนแบบกําหนดประกอบภายในสุสาน

สถาปตยกรรม แนวนิยมของการสรางสุสานแบบ Rock Cut Tomb ไดพัฒนายื่นสวนตอออกมาภายนอกและขยาย เพิ่มสวนภายนอกจนกลายเปนวิหารสุสาน (mortuary temple) ขนาดใหญ เรียกวา หุบผากษัตริย (Valley of the king) มีวิหารสุสานที่สําคัญ เชน วิหารสุสานของพระนางฮัทเชปซุท วิหารสุสานของฟาโรหราเมสเสสที่ 2 ที่เมืองอบู ซิมเบล (Abu Simbel) นอกจากนั้นยังมีการสรางวิห ารกลางแจงเพื่ อบูชาเทพโดยเฉพาะ เชน ที่ เมืองลัคซอร (Luxor) เมืองคารนัค (Karnak) มีการสรางรูปแบบที่มีประตูสวนหนาเปนกําแพงสูง เรียก เชิงเทิน (pylon) ถัดเขาไปมีลานกวางกึ่งสาธารณะลอมรอบดวยเสาเรียงราย (peristyle court) มีการพัฒนาหัวเสา รูปแบบตางๆที่วิจิตรพิสดารมากขึ้น ซึ่งสวนใหญก็จะมาจากพืชพันธุธรรมชาติ หัวเสาแบบดอกบัว ดอกปาปรุส แบบดอกไมบานหรือระฆัง แบบใบปาลม ในยุคสุดทายที่ปกครองโดยราชวงศปโตเลมีและโรมัน หัวเสาไดพัฒนา แบบลายที่วิจิตรบรรจงมากยิ่งขึ้น เพราะสวนหนึ่งไดอิทธิพลผสมผสานมาจากกรีกและโรมัน

ศิลปะอียิปต 16.


วิ ห ารสุ ส านของพระนางฮั ท เชปซุ ท (Hatshepsut) แห ง ราชวงศ ที่ 18 ที่ เมืองไดรเอลบาฮรี (Deir el-Bahri) ราว1470 ป กอ น คริสตกาล มีทางลาดเปนระดับยาวออกมาเพื่อนําเขาสูวิหาร มีสฟงซ เรียงรายตลอดสองขางทางและมีเสาโอเบลิสก (obelisk) ที่พัฒนากลาย มาจากพีระมิด จารึกเรื่องราวไวรอบเสาสี่ดาน ภาพดานซายแสดงแผนผังของวิหารสุสานนี้ มีทางลาดเชื่อม เฉลียงยกระดับสองชั้นที่พาเขาสูวิหารที่เจาะหนาผาเขาไปดานใน มีหอง บูชาเทพอนูบิส หองบูชาเทพีฮาเธอร วิหารสุริยเทพ สวนในลึกสุด คือ สวนหองศักดิ์สิทธิ์

แสดงโครงสรางหองโถงเสาเรียงรายมีหลังคาคลุม (hypostyle hall) วิหารแหงอามุน (the great temple of Amun) ที่คารนัค (Karnak) สมัยราชวงศที่ 19 (1292-1190 BC) โถงนี้กวาง 340 ฟุต ยาว 170 ฟุต มี เสาเรียงรายรับคานหลังคา 134 ตน เสาสําคัญสองแถวกลางจะขนาดใหญสงู 69 ฟุต เสนผานศูนยกลางเสา ขนาด 12 ฟุต หัวเสาเปนแบบกกปาปรุสหรือบัวบาน สวนเสารายขนาดเล็กจะมีหัวเสาบัวตูม บริเวณผนัง รอบเสาจะมีภาพนูนจําหลักและระบายสีทั้งตัวเสาและหัวเสา

ศิลปะอียิปต 17.


วิ ห ารสุ ส านใหญ ของฟาโรห ร าเมสเสสที่ 2 (Ramesses 2) แห ง ราชวงศ ที่ 19 ราว 1250 ป ก อ น คริ ส ตกาล มี ก ารสลั ก รูป ฟาโรห สี่รู ป ขนาดใหญ เพื่ อ เพิ่ ม ความนาเกรงขามยิ่งขึ้น มีความสูง 22 เมตร สกัดจากภูเขา ที่ทําเปนวิหารสุสานนั้นเอง รูปทั้งสี่สวมมงกุฎของทั้งอียิปต บนและอี ยิป ต ล าง ลั ก ษณะแผงหน า สุส านนี้ เป น ต น เค า นําไปสูการสรางประตูกําแพงสูง (เชิงเทิน) (pylon)

รูปแบบของหัวเสา (capital) ที่มีตนแบบมาจากใบพืชและดอกไม ภาพซ า ยบน หั ว เสาหิ น ทรายที่ เป น ทรงกกปาป รุ ส และสลั ก ลาย ดอกบัวซอนทับ จากวิหารเทพีไอซีส ที่เมืองฟแลในชวงสมัยราชวงศ ปโตเลมี-โรมัน 300 ปกอนคริสตกาล ภาพกลางบน คื อหั วเสาใบปาลม จากวิห ารเทพี ไอซี ส ที่ เมือ งฟ แ ล ในชวงสมัยราชวงศปโตเลมี-โรมัน

ภาพขวาบน หัวเสาแบบผสม ดอกไมและใบไม ลายละเอียดคมชัด จากวิหาร เทพีไอซีส ที่เมืองฟแล ภาพซายลาง หั วเสาหิ นทราย ที่เปน กลุม ของตน กกปาป รุส รวมกัน ทํ าหน าที่ รับ คาน จากวิห าร เมืองลัคซอร ราชวงศที่ 18 ราว 1380 ปกอนคริสตกาล

ศิลปะอียิปต 18.


ศิลปกรรมในชวงอาณาจักรสุดทาย (Late Period) ในยุคสุดทายนี้อียิปตถูกปกครองโดยราชวงศปโตเลมี (เมื่อคราวพระเจาอเล็กซานเดอรมหาราชยกทัพมายึด อียิป ตไดเมื่ อป 332 กอนคริสตกาล) มีเมื องหลวงคือ อเล็กซานเดรีย และบรรยากาศโดยทั่วไปไดรับ วัฒ นธรรมและ อิทธิพลทางศิลปกรรมจากกรีกและตอจากนั้นก็สูญสิ้นอาณาจักรใหแกจักรวรรดิโรมันในสมัยพระนางคลีโอพัตรา ซึ่งก็ สงผลตอรูปแบบทางศิลปกรรมที่มีอิทธิพลจากโรมันมาผนวกเขาดวย (ซึ่งศิลปะโรมันก็รับอิทธิพลจากกรีกผสมรวมอยูดวย แลว) จึ งเกิด เป น รูป แบบ ศิ ลปะผสมอียิ ปต เชิ งกรีก -โรมั น (Greco-Roman Egyptian Art) แต คุณู ปการที่ เกิดขึ้ น คื อ ฟาโรหและจักรพรรดิในยุคนี้ไดเห็นคุณคาและไดสรางสรรคฟนฟูจนเกิดเอกลักษณกาวหนาและทําใหศิลปกรรมของอียิปต ในยุคนี้บรรลุถึงความสําเร็จและความงามเปนที่ประจักษชัดมากยิ่งขึ้น และเมื่อศาสนาคริสตไดเจริญขึ้น จึงเขามามีสวนในการกําหนดรูปแบบศิลปกรรมในอียิปตเชนกัน เรียกวา เปนแบบ ศิลปะคอพติก (Coptic Art) หมายถึง ศิลปะของกลุมชนที่นับถือศาสนาคริสตในอียิปต ซึ่งเทคนิคและแบบ ลักษณถูกนําเสนอเปนคติทางศาสนาคริสตเสียทั้งหมด และเมื่อหลังจากนั้น อียิปตไดถูกปกครองโดยศาสนาอิสลามใน ยุคหลัง สภาพสังคมและรูปแบบทางศิลปกรรมจึงเปลี่ยนไปในทางคติและบทบัญญัติของศาสนาอิสลามนับจากนั้น ตอไป

แหลงอางอิงขอมูลและภาพที่ใชในการเรียบเรียงและเพื่อศึกษาเพิ่มเติม Clayton, Peter A. Chronicle of The Pharaohs. London : Thames & Hudson. 2001. Gowing, Lawrence, Sir. Britannica Encyclopedia of Art. China : The Brown Reference Group. 2005. Honour, Hugh & Fleming, John. A World History of Art. China: Laurence King Publishing. 2005. Kleiner, Fred S. Art through the Ages: A Concise Western History, third edition. USA: Wadsworth. 2008. Ruiz, Ana The Spirit of Ancient Egypt. New York : Algora Publishing. 2001. Stokstad, Marilyn. Art History. New Jersey: Pearson Education. 2011. Wildung, Dietrich. Egypt from Prehistory to the Romans. Italy : Taschen GmbH. 2001. Kjeilen, Tore. www.looklex.com/e.o/pharaoh (accessed in June 2008) Wikimedia Foundation, Inc., www.en.wikipedia.org/wiki/Pharaoh (accessed in June 2008) . ศิลปะอียิปต 19.


ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย (Mesopotamian Art) ศิ ล ปะของชนชาติ ที่ มี ดิ น แดนและอารยธรรมอยู ร ะหว า งแม น้ํ า ทั้ งสอง * คื อ ไทกรี ส (Tigris) และยู เฟรตี ส (Euphrates) ซึ่งเปนที่ราบลุมกวางใหญ แตการเกิดเปนแหลงอารยธรรมและเมืองจะเกิดเปนอาณาบริเวณคลายแถบโคง เสี้ยวพระจันทร (อัฒจันทร) จากทะเลทรายซีเรียไปจนจรดที่ราบสูงอิหราน และทิศเหนือทางทิวเขาอารมาเนีย จนจรดทิศ ใตที่อาวเปอรเชีย ตรงกับบริเวณอิรักและซีเรียในปจจุบัน 0

เมโซโปเตเมีย คือ แหลงความอุดมสมบูรณของ อาณาบริเวณระหวางแมน้ําทั้งสอง (ไทกริสและ ยู เฟรตี ส ) และการเกิ ด เป น แหล งอารยธรรม การเกษตรและศิ ล ปกรรม ในดิ น แดนที่ มี ลั ก ษณะเป น ส วนโค งจากอ าวเปอร เชี ย ไปจน จรดแถบทะเลทรายซี เ รี ย คล า ยดั่ ง เสี้ ย ว พระจันทร (the Fertile Crescent)

อารยธรรมของชาวเมโซโปเตเมี ยเริ่ม มีขึ้น เมื่อ ประมาณ ราว 4000 ป กอ นคริสตกาล † และมี พั ฒ นาการอั น ประกอบไปดวยหลายกลุมชนชาติ (ซึ่งจะแตกตางจากอียิปตในยุครวมสมัยกันที่เจริญขึ้นจากชนเผาอียิปตและเรียงราชวงศ ตอกันเรื่อยมา) แบงเปนกลุมใหญได 3 กลุมชนชาติ คือ 1. สุเมเรียน (Sumerians) ซึ่งประกอบดวยเมืองนครรัฐอิสระ 12 เมือง และไมขึ้นตอกัน 2. ชนเผาเซมิตกิ (Semitic) ซึ่งประกอบไปดวยหลายชนชาติ ไดแก -แอ็คคาเดียน (Akkadians) -อมอไรต (Amorites) -ฮิตไทต (Hittites) -แคสไซต (Kassites) -อัสซีเรียน (Assyrians) -แคลเดียน (Chaldeans) 3. เผาอินโด ยุโรเปยน (Indo-European) ชนชาติที่สําคัญ ไดแก พวกเปอรเชีย 1

* †

เมโซโปเตเมีย มาจากภาษากรีก หมายถึง ดินแดนระหวางแมน้ําทั้งสอง (the land between the rivers) กอนหนาที่จะมีอารยธรรมเมโซโปเตเมียที่ชัดเจน มีเมืองเกายุคกอนหนานั้น ราว 8000 ปกอนคริสตกาล คือ เมืองเจริโค และ ซาทาลฮือยึค

ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย 20.


การครอบครองดินแดนและการสรางอาณาจักรของกลุมชนชาติเหลานี้ไมไดหมายความวายึดครองกันเปนลําดับ เชิงเสนกันตอมา แตบางพวกก็ไดครอบครองดินแดนในสวนตางๆ ในบริเวณเมโซโปเตเมียแหงนี้ รวมสมัยกันก็มี โดย ลักษณะของพื้นเพทางภูมิศาสตรและสภาพทองถิ่น จึงทําใหมีสิ่งหลายประการแตกตางจากอียิปตแมวาจะอยูรวมสมัย เดียวกันก็ตาม เชน 1. ความเชื่อเกี่ยวกับชีวิตในโลกหนาหรือหลังความตาย ซึ่งอียิปตมีความเชื่อกรณีนี้อยูมากกวาจึงมีการทํามัมมี่ ในขณะที่ชาวเมโซโปเตเมียใฝคิดในเรื่องชีวิตปจจุบัน ไมใสใจกับชีวิตหลังความตาย แตเชื่อวาวิญญาณผูตาย จะไปรวมกันอยูใตดินที่มีแตความมืดและฝุน ชาวสุเมเรียนจึงฝงศพไวใตพื้นบาน หลุมฝงศพจึงเปนไปอยาง เรียบงาย ไมกอที่เก็บศพ ไมมีสถาปตยกรรมที่เกี่ยวกับความตาย 2. อยูในดินแดนที่ราบกวางใหญ ไมมีภูเขาเปนพรมแดนธรรมชาติมากนัก จึงมีการรุกรานตอกันไดงาย ไมมี วัตถุดิบ ที่เปน หิน ในการสรางถาวรวัตถุห รือสถาปต ยกรรมใหค งทนไดมากนัก จึงใชดินมาทํ าเปน อิฐและ กระเบื้องเคลือบสี ในการกอสรางหรือทําเปนแผนดินเพื่อจารเปนอักษรลิ่ม (cuneiform) ลงไป 3. เปนดินแดนที่มีชนหลายเชื้อชาติที่มีการตั้งหลักแหลงกระจายกันอยูโดยรอบระหวางแมน้ําทั้งสองสายใน ขณะที่อียิปตคือเผาพันธุเดียว

ศิลปกรรมของสุเมเรียน อารยธรรมสุเมเรียน ถือไดวา เปนอารยธรรมของแถบเมโซโปเตเมียที่เกาแกที่สุดครอบครองดินแดนที่ราบทุง ไซนารตอนใต ระหวางแม น้ํ าทั้ งสองนี้ ม ากว า 4000 ป กอ นคริส ตกาล (ในขณะที่ ดิ น แดนตอนเหนือ เป น ของพวกแอ็ ค คาเดียน) และยังสงอิทธิพลตอมายังพวกชนชาติและอาณาจักรยุคหลังๆ อารยธรรมสุเมเรียนประกอบไปดวยเมืองนครรัฐ อิสระอยูหลายเมือง และมีเจาครองนครที่ไมขึ้นตอกันอีกดวย เชน นครรัฐลากาซ (Lagash) นครอูร (เออรหรืออัวร) (Ur) เมืองอีเร็ค (Erech) เมืองอูรุค (Uruk) นครลารซา (Larsa) เปนตน ยุคศิลปกรรมของชาวสุเมอร (ซูเมอร) รวมสมัยกับยุค อาณาจักรเกาของอียิปต

ประติมากรรมศีรษะผูหญิง จากเมือง Uruk ทํา ด ว ยหิ น อ อ น สู ง 20 ซม. ราว 3500-3000 ป กอนคริสตกาล

ประติมากรรมจากเทวาลัยอะบู (เทพแหงพืชพันธุ) ที่เมือง Eshnunna ทํ าดวยยิปซั่ มและ หิ นปู นสู ง 72 ซม. ราว 2700 ปกอนคริสตกาล มีดวงตาเบิก โพลงใหญมาก

ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย 21.


ประติมากรรม สวนใหญเปนภาพแกะสลักนูนต่ํา (bas-relief) สวนงานที่เปนลักษณะรูปลอยตัว ก็เปนไปอยางขนบ นิยมที่เนนการมองดูที่ดานหนาแมวาจะเปนรูปลอยตัวก็ตามและที่เดนเปนพิเศษ คือ จะมีดวงตาใหญโตเบิกกวาง เอามือประสานกันที่หนาอกคลายการสวดมนตตอเทพ

แจกันดินเผา ที่แกะเปนภาพลายนูนต่ําโดยใชการ ประทั บ ลายจากแท ง กระบอกกลิ้ ง ประทั บ ลาย (cylinder seals) จากเมื องอูรุก (Uruk) สู ง 92 ซม. อายุ ราว 32002750 ปกอนคริสตกาล

การสรางภาพนูนลวดลายแบบรูป (pattern) จาก แทงลูกกลิ้งดินเผาที่แกะเปนลาย และดวยวิธีการนี้ นํ า ไปสู ก ารทํ า ตราประทั บ เครื่ อ งหมาย (seals) ตางๆ ดวย ซึ่งจะนํ าไปประทั บบนแผ นดิ น เหนี ย ว หรือวัตถุอยางอื่น

สถาปตยกรรม มีการกอสรางสถาปตยกรรมที่สรางขึ้นดวยอิฐและกระเบื้องเคลือบ เพื่อบูชาสักการะเทพแหงสวรรค ที่ เรียกวา ซิกกูรัต (Ziggurat) หรือหอคอยวิหาร โดยมีราชานักบวชหรือกษัตริยพระ (Priest-King) เปนผูกระทํา พิธี เพราะถือวากษัตริยคือ สมมติเทพบนโลกนี้ เปนสื่อกลางที่จะเชื่อมมนุษยกับสวรรคได และทําหนาที่ฝาย ปกครองอาณาจักรดวย ซิก กู รั ต แห งนครอู ร (Nanna Ziggurat) อุ ทิ ศ บู ช าแก วิธูเทพ (Nanna หรือ Sin) รูปทรงคลายพีระมิดแบบ ขั้นของอียิปต แตเป าหมายคนละอยาง ซิกกูรัตไมใช สถาป ต ยกรรมเพื่ อ คนตายหรื อ เพื่ อ ชี วิ ต ในโลกหน า แตเป นสถานที่ป ระกอบพิธีกรรมเพื่ อบูชาพระจันทร และเชื่อมกับสวรรคเพื่อชีวิตอันเปนสุขในโลกปจจุบัน สร างดว ยอิฐ และกระเบื้ อ งเคลื อ บมี ท างขึ้น สามด า น ซิกกุรัตแหงนครอูร มีอายุราว 2100 ปกอนคริสตกาล

ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย 22.


ศิลปกรรมของแอคคาเดียน ราว 2464 กอนคริสตกาล พวกชนเผาเซมิติกทางตะวันออกเฉียงเหนือที่มีความกลาแข็งไดรุกรานพิชิตนครรัฐ ตางๆ ของสุเมเรียนทั้งปวงได คือ พวกแอคคาเดียน หรือ แอคคัต โดยกษั ตริยน าม พระเจาซารกอนที่ 1 (Sargon I) ครองราชยอยู 56 ป สามารถแผขยายรวมแควนตางๆ ใหเปนอาณาจักรหนึ่งเดียวในแถบตอนเหนือของเมโซโปเตเมียได ทั้งหมด ตอมาพระราชนัดดาของพระองค คือ พระเจานารามซิน (Naramsin) ไดพิชิตดินแดนแถบตะวันตกเพิ่มขึ้นจน อาณาจักรเปนปกแผนตลอดทั้งเมโซโปเตเมีย แตชาวแอคคาเดียนไดชื่อวาเปนผูรักษาศิลปกรรมและรากฐานวัฒนธรรมของ ชาวสุเมเรียนตอมาใหเจริญขึ้น ชาวแอคคัตรับผลงานสรางสรรคตอมาจากชาวสุเมอร (แมวาจะไมชอบชาวสุเมเรียน) ชวง หลังมีชาวสุเมเรียนไดฟนฟูอํานาจขึ้นมาใหม จึงเปนการผสมผสานศิลปกรรมเขาดวยกันเรียกวา สุเมอร-แอคคัต

ประติ ม ากรรมศี ร ษะสํ า ริ ด กษั ตริ ย แอคคัต พระเจาซารกอนที่ 1 จาก เมือง นิ เนเวห (Nineveh) สู ง 30.5 ซม. ราว 2300-2200 ปกอนคริสตกาล

ประติมากรรมศีรษะทองแดงกษัตริย แอคคาเดียน สูง 34 ซม.ราว 2300-2000 ปกอนคริสตกาล

ศิลปกรรมของอมอไรต (อาณาจักรบาบิโลเนีย) พวกอมอไรต ไดมาตั้งรกรากแถบบริเวณกรุงบาบิโลนที่ยังเปนหมูบานเล็กๆ เมื่อเขมแข็งสามารถเขายึดครอง อาณาจักรของแอคคัตและบาบิโลเนียเดิมของสุเมเรียนได และไดสถาปนากรุงบาบิโลนขึ้นจนกลายเปนอาณาจักรยิ่งใหญ กษัตริยผูสามารถของชาวอมอไรต คือ พระเจาฮัมมูราบี (Hammurabi) 1792-1750 ปกอนคริสตกาล

หลักศิลาสลักนูนต่ําพระเจาฮัมมูราบี บนหินไดโอไรตจาก เมื อ งซู ซ า (Susa) สู ง 7 ฟุ ต 4 นิ้ ว ราว 1760 ป ก อ น คริส ตกาล มี อั ก ษรลิ่ ม สลั ก เพื่ อ จารึก ประมวลกฎหมาย พระเจ า ฮั ม มู ร าบี กํ า ลั ง ยกมื อ เคารพต อ เทพชามาส (Shamash) เทพแห ง พระอาทิ ต ย ที่ ส ถิ ต อยู บ นยอดเขา หรือซิกกูรัตที่สรางเปนอุปมาขึ้น

ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย 23.


ผลงานศิลปกรรมนิยมสรางภาพสลักนูนมากกวารูปลอยตัว มีการนําหินมาเปนวัตถุดิบและเริ่มใชทองแดงในการ สรางงานดวย แตวัตถุดิบที่นิยมมาก คือ ดิน ที่เอามาทําเปนอิฐ ทั้งนี้ก็เพราะหาวัตถุดิบอยางอื่นไดยาก เชน ไม หินหรือ โลหะ ตองนํามาจากแดนไกล หลังจากนั้นอาณาจักรบาบิโลเนียก็ถูกพวกฮิตไทต (Hittites) และพวกแคสไซต (Kassites) เขายึดครองเป น ลําดับ จนเมื่อนครรัฐอัสสูร (Assur หรือ Ashur) ดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือเขมแข็งขึ้นเขายึดครองกรุงบาบิโลเนียที่ พวกแคสไซตปกครองอยูและรวมเปนจักรวรรดิอัสซีเรียน

ศิลปกรรมของอัสซีเรียน ราว 700 ป ก อ นคริ ส ตกาล อั ส ซี เรี ย นได เข ายึ ด ครองบาบิ โลเนี ย และดิ น แดนแถบเมโซโปเตเมี ย ได จ นเป น จักรวรรดิอัสซีเรียนที่ยิ่งใหญ เปนจักรวรรดิที่มีการจัดระบบไดอยางดี มีกรุงนิเนเวห เปนราชธานีสําคัญ จักรวรรดิอัสซีเรียน มีกษัตริยผูสามารถหลายพระองค เชน พระเจาอัสสูรนาสิรปาล (Assurnasirpal) พระเจาซารกอนที่ 2 (Sargon II) พระ เจาอัสสูรบานิปาล (Assurbanipal) จักรวรรดิเนนไปที่การพัฒนาการทหารและระบบที่เอื้อตอการบริหารจักรวรรดิอัน ยิ่งใหญ

ประติมากรรม การสรางรูปสลักนูนสูงคลายวัวและสิงโตมีปกมีใบหนาเปนคน (Lamassu) ที่ประดับอยูในพระราชวังของพระ เจาซารกอนที่ 2 ที่เมืองคอรซาแบด (Khorsabad) นอกจากนั้นยังนิยมสรางรูปสลักนูนต่ํา (low relief) ที่แสดงเรื่องราว ตอๆ กันหลายแผน (ไมมีการระบายสีแบบภาพนูนของอียิปต) มักเปนเรื่องราวการลาสัตวของพระเจาอัสสูรบานิปาล

ภาพสลักนู นต่ําสิงโตบาดเจ็บ แสดงการลาสัตวของพระ เจาอัสสูรบานิปาล อายุราว 668-627 ปกอนคริสตกาล มี ลักษณะสมจริงและใหความรูสึกไดดีมาก จากเมืองนิเนเวห, หินปูน, กวาง 24 นิ้ว

รูปสลักนูนสูง Lamassu ทําหนาที่เฝาประตูวัง มีหนาเปน คน (แทนกษัตริย) และตัวเปนวัวหรือสิงโตมีปก มี 5 ขา ถาเปนโฉมหนาพระเจาซารกอนที่ 2 จะมีตัวเปนวัวมีปก แตถาเปนใบหนาของพระเจาอัสสูรบานิปาลจะมีตัวเปน สิงโตมีปก ราว 883-859 ปกอนคริสตกาล

ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย 24.


สถาปตยกรรม มีการสรางพระราชวัง เดอ ชารูกิน (Dur Sharrukin) ของพระเจาซารกอนที่ 2 โดยใชอิฐเคลือบสีในการกอสราง เนื่องจากใชอิฐจึงไมสามารถมีโครงสรางแบบเสาและคานวางพาดได จึงสรางเปนลักษณะเพดานโคง (barrel vault) และ ตกแตงดวยภาพสลักนูนต่ําและนูนสูง นอกจากนั้นยังรับรูปแบบตางๆ ตอมาจากสุเมเรียน เชน การสลักอักษรลิ่มลงบน แผนดินเหนียวและบางสวนก็รับมาจากอียิปตดวย

ศิลปกรรมของอาณาจักรแคลเดีย (บาบิโลเนียใหม) จักรวรรดิอัสซีเรียนลมสลาย จากการลมลางของ นาโบโปลัสซาร ‡ (Nabopolassar) อดีตผูวาการมณฑลของ อัสซีเรียรวมมือกับชาวมีเดีย ยึดเมืองนิเนเวห เมื่อราวป 512 กอนคริสตกาล แลวสถาปนาอาณาจักรใหม คือ อาณาจักร แคลเดีย (Chaldea) หรือ บาบิโลเนียใหม มีการบูรณปฏิสั งขรณ ศิลปกรรมตางๆ ขึ้น มาใหม พระเจาเนบูคัดเนสซาร (Nebuchadnezzar) ทรงสรางสวนลอยบาบิโลน (ซึ่งไดรับการยกยองจากชาวกรีกวาเปนสิ่งมหัศจรรยของโลกยุคโบราณ) ศิลปกรรมในสมัยนี้อยูที่การสรางสถาปตยกรรมหรือพระราชวัง ใชอิฐหรือกระเบื้องเคลือบสี (mosaic) เปนวัตถุดิบในการ สราง และมีโครงสรางเปนคานโคง เพดานโคง (arch & vault) และการตกแตงดวยภาพนูนต่ําใชกระเบื้องเคลือบสี 2

ประตู อิ ช ต า ร (Ishtar Gate) สร า งโดยใช วั ต ถุ ดิ บ กระเบื้ อ งเคลื อ บสี (mosaic) และ ตกแต งด วยภาพนูน ต่ําภาพสัต วตางๆ การ สรางประตูโคง (arch) ตกแตงดวยกระเบื้อง เคลือบสีน้ําเงิน ภาพสัตวตางๆ นี้แทนเทพ ตางๆ เชน สิงโตแทนเทพอิชตาร มังกรแทน เทพมารดุก (Marduk)

ศิลปกรรมของจักรวรรดิเปอรเชีย พวกแคลเดียนหรืออาณาจักรแคลเดียถือไดวาเปนพวกสุดทายที่มีศิลปกรรมและวัฒนธรรมแบบเมโซโปเตเมีย เดิมแท พวกเปอรเชียไดเขามายึดครองดินแดนนี้ราว 539 ปกอนคริสตกาล เปอรเชียเปนพวกอินโดยุโรเปยน จักรวรรดิ เปอรเชียเจริญรุงเรืองที่สุดในสมัยราชวงศ อะเคมีนิด (Achaemenid) แผอาณาจักรไปจนจรดลมน้ําสินธุของประเทศ อินเดียในสมัยของพระเจาไซรัสมหาราช ในสมัยพระเจาดาริอุสที่ 1 สรางพระราชวังที่เมืองเปอรซีโปลิส (Persepolis) ใน สมัยนี้เปอรเชียเปนจักรวรรดิที่มีอาณาเขตยิ่งใหญที่สุด กองทัพเปอรเชียรุกดานตะวันตกไปจนพบกับกองทัพกรีกและพาย แพท่ีทุงมาราธอน เมื่อป 490 กอนคริสตกาล ในสมัยพระเจาดาริอุสที่3 ไดรบกับกองทัพของพระเจาอเลกซานเดอรมหา ราช และพายแพอยางเด็ดขาดหลังจากนั้นเปอรเชียก็เริ่มเสื่อมอํานาจลงตกเปนเมืองในอาณาเขตของกรีก (มาเซโดเนีย) ‡

รวมมือกับพระเจาแซกซารัส (Cyaxarus) กษัตริยมีเดีย ผูครองนครเอคบาตานา (Exbatana) เผาทําลายกรุงนิเนเวหในรัชสมัยของ พระเจา ซาราคุส กษัตริยองคสุดทายของอัสซีเรียน

ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย 25.


ศิลปกรรมของเปอรเชียมีลักษณะผสมหลายอยางจากการที่อาณาจักรมีประวัติมาอยางยาวนานผานการเปน เมืองขึ้นมาหลายครัง้ และไดรับอิทธิพลของศิลปกรรมจากวัฒนธรรมอื่นมาผสม สวนใหญไดอิทธิพลจากอัสซีเรียน บาบิโล เนี ย น และอี ยิ ป ต มี ก ารสร า งพระราชวั ง ปาสาร ก าดี (Pasargadae) ในสมั ย พระเจ า ไซรั ส สร า งหั ว เสาเป น รู ป วั ว พระราชวังเปอรซีโปลิส (Persepolis) ในสมัยพระเจาดาริอุสที่ 1 โดยใชวัตถุดิบหินมากกวาใชอิฐ มีระบบเสาและคานวาง พาดมาก มีหัวเสาที่มีเอกลักษณจําเพาะเปนพิเศษ ไดรับอิทธิพลมาจากอียิปต ประติมากรรมตกแตงพระราชวังดวยภาพนูนต่ํา รูปทหารองครักษ หรือขาราชบริพารของประเทศราชตางๆ ซึ่ง ไดรับอิทธิพลมาจากภาพสลักนูนต่ําของอัสซีเรียน แตมีความนูนมากกวาและไมดุดันแบบอัสซีเรียน

เสาและหัวเสาของหองโถงที่พระราชวังเปอรซี โปลิส มีองคประกอบที่เดนสงางดงาม การเซาะรอง เสาได รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจากกรี ก หั ว เสาแบบนี้ ส ง อิทธิพลตอศิลปะอินเดียในศตวรรษที่ 3 - 1 กอน คริสตกาล

ประติมากรรมนูนต่ําที่ตกแตงบริเวณบันได ทาง ขึ้ น ไปสู ท อ งพระโรงของพระราชวั งเปอรซี โปลิ ส เปนรูปแถวทหารถือหอกและอาวุธประจํากาย อายุ ราว 521-486 ปกอนคริสตกาล ทําดวยกระเบื้ อง เคลือบสี

หั ว เสารู ป วั ว จากพระราชวั ง ของพระเจ า Artaxerxes ที่ 1 ราว 465-359 ปกอนคริสตกาล

ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย 26.


ตารางเปรียบเทียบลักษณะตางๆ ระหวางศิลปกรรมอียิปตกับศิลปะเมโซโปเตเมีย อียิปต

ทําเลที่ตั้ง ภูมิศาสตร ลักษณะชนชาติ อักษรในการจารึก ความเชื่อ

เปาหมายศิลปกรรม วัตถุดิบที่ใชสรางงาน โครงสรางหลักในการ สรางสถาปตยกรรม ลักษณะประติมากรรม การเตรียมภาพ จิตรกรรม

เมโซโปเตเมีย ลุมแมน้ําไนล ลุมน้ําไทกรีส-ยูเฟรตีส ชนชาติเดียว (อาณาจักรทายเปนราชวงศปโตเลมี) หลายชนชาติ อักษร hieroglyphic อักษร cuneiform วิญญาณนิยม ปรารถนาการดลบันดาลจาก วิญญาณนิยม เชื่อในชีวิตโลกหนา การฟนคืนชีพ เทพเจาเพื่อชีวิตสุขในโลกปจจุบัน นําไปสู นําไปสูการสรางมัมมี่และพีระมิด (pyramid) การสรางซิกกูรัต (ziggurat) (หอคอยวิหาร) ศิลปะเพื่อคนตาย เพื่อชีวิตในโลกหนา เพื่อบูชาเทพเจา สวรรค ในอาณาจักรหลังๆ เพื่อแสดงพระราชอํานาจของ เพื่อบันทึกเรื่องราวแสดงความยิ่งใหญและ ฟาโรหและจักรวรรดิ พระราชอํานาจของกษัตริยและจักรวรรดิ ดิน อิฐและกระเบื้องเคลือบสี เปนสวนมาก หินแกรนิต หินออน หินปูน หินทราย ยกเวนพวกเปอรเชียที่นิยมหินมากกวาอิฐ ระบบคานโคงและเพดานโคง (arch & ระบบเสาและคานวางพาด (post & lintel barrel vault) ยกเวนเปอรเซียที่ใชเสาและ system) มีหัวเสาเปนจํานวนหลายลักษณะ คานวางพาด รูปลอยตัว เนนมองดานหนา (frontality) อยูใน รูปลอยตัว เนนมองดานหนา (frontality) กรอบแทงหินบังคับ ภาพสลักนูนแบบขอบฝงจม อยูในกรอบแทงหินบังคับ นิยมภาพสลักนูน (sunken relief หรือ cavo-relievo) ต่ําและนูนสูง นิยมการประทับรอยลาย เขียนบนผนังปูนแหง (fresco secco) และปูน แผนไมสลักลายฝงเปลือกมุกและพลอยสีน้ํา เปยก (buon fresco) สีฝุนผสมขีผ้ ึ้ง (encaustic) เงินเขม (lapis lazuli)

ศิลปกรรมของเมโซโปเตเมียมีหวงเวลารวมสมัยกับอียิปตเปนสวนมาก และมีความคลายคลึงกันหลายประการ แตก็มีความแตกตางกันดวยเงื่อนไขหลายอยาง อาทิ ผูคนชนชาติของเมโซโปเตเมียที่หลากหลายกวาอียิปต คติความเชื่อใน เรื่องโลกหนาหรือชีวิตในปจจุบัน วัตถุดิบประจําถิ่นที่ใชในการสรางงาน จึงทําใหการสรางสรรคผลงานมีความแตกตางกัน แตสิ่งที่ มีความคลายกันก็คือ ผลงานสรางสรรคเหลานี้ไมปรากฏนามผูสรางแตอยางใด และลวนเกิดจากแรงผลักดัน สนับสนุนจากกษัตริยแ ละราชสํานักเปนสวนมาก แหลงอางอิงขอมูลและภาพที่ใชในการเรียบเรียงและเพื่อศึกษาเพิ่มเติม Gowing, Lawrence, Sir. Britannica Encyclopedia of Art. China : The Brown Reference Group. 2005. Honour, Hugh & Fleming, John. A World History of Art. China: Laurence King Publishing. 2005 Kleiner, Fred S. Art through the Ages: A Concise Western History, third edition. USA: Wadsworth. 2008. Stokstad, Marilyn. Art History. New Jersey: Pearson Education. 2011. www.lexicorient.com/e.o/assyria (Accessed in July 2008)

ศิลปะ (แถบ) เมโซโปเตเมีย 27.


ศิลปะกรีก (Greek Art) ชาวกรีกเปน กลุมชนเชื้อสายอินโดยุโรเปยน (Indo-European) ที่มีการอพยพเขามาเปนระรอกไมพ รอมกัน กระจายอยูในบริเวณแถบรอบทะเลเอเจียน/อีเจียน (Aegean Sea) แหลมเพโลปอนเนซุส (Peloponnesus) และจนถึง ภาคใตของอิตาลีที่เรียกวา Magna Graecia ไดแกพวก เอเคียนส (Achaeans) พวกไอโอเนียนส (Ionians) พวกดอเรียนส (Dorians) และพวกเอไพรอทส (Epirotes) มี ลัก ษณะเป น นครรัฐอิ สระ (polis /city state) ไม ขึ้ นต อ กัน แต พู ด ภาษา เดียวกัน มีศาสนา-เทพเจาอยางเดียวกัน แตกอนที่จะมีศิลปกรรมจากอารยธรรมกรีกเกิดขึ้น กอนหนานี้มศี ิลปกรรมในแถบทะเลเอเจียน * (Aegean sea) มากอน ที่ถือวาเปนแมแบบอยางเริ่มแรก กอนจะพัฒนาเปนศิลปกรรมกรีก คือ ศิลปกรรมไมนวน (Minoan Art) และ ศิลปกรรมไมซีเนี่ยน (Mycenaean Art) 0

บริเวณอารยธรรมกรีกรอบทะเลเอเจียนและทะเลเมดิเตอเรเนียน ดินแดนและเกาะสําคัญที่เปนอารย ธรรมแรกกอนกรีกคือ เกาะครีต หมูเกาะไซเคลดและแหลมเพโลปอนเนซุส เกาะครีตเปนเกาะขนาด ใหญ เปนแหลงติดตอการคาและแลกเปลี่ยนถายเททางศิลปวัฒนธรรมระหวางพื้นแผนดินกรีก อียิปต ภาคใตของอิตาลี อาฟริกาเหนือและแถบเมโซโปเตเมีย

*

ศิลปะในแถบทะเลเอเจียนอยูในชวงสมัยยุคโลหะ อาจแบงไดเปน ศิลปะไซคลาดิค ศิลปะไมนวนและศิลปะไมซีเนียน ศิลปะไซคลาดิค (Cycladic Art) ชวงยุคโลหะตอนตน ราว 3000-2200 BC อยูในบริเวณหมูเกาะไซเคลด (Cyclades) ศิลปะไมนวน (Minoan Art) หรือศิลปะของชาวเครตันหรือศิลปะครีเตียน ชวงยุคโลหะกลาง ราว 2200-1800 BC. อยูในบริเวณเกาะครีต (Crete) และเกาะธีรา (Thera) ศิลปะไมซีเนียน (Mycenaean (Helladic) Art) ชวงยุคโลหะตอนปลาย ราว 1600-1200 BC. อยูที่เมืองไมซีเน (Mycenae) บนแหลมเพโล ปอนเนซุส และครอบคลุมอารยธรรมศิลปะทั้งสองขางตนดวย

ศิลปะกรีก 28.


ศิลปกรรมไมนวน (Minoan Art) / (Cretan Art) เปนศิลปกรรมที่อยูบริเวณเกาะครีต (Crete) เกาะธีรา (Thera) และหมูเกาะไซเคลด (Cyclades) ซึ่งมีอายุอยู ในชวงราว 2800-1200 ปกอนคริสตกาล บนเกาะครีต มีพระราชวังคนอสซอส (Knossos - Knossus) ของพระเจาไมนอส (Minos) ที่เปนประจักษพยาน แสดงถึงความรุงเรืองของอารยธรรมไมนวน ที่หมูเกาะไซเคลดพบประติมากรรมรูปคนชายและหญิงที่มีแบบคลายงาน ประติมากรรมสมัยใหม เรียบงาย ตัดทอน ลักษณะแบน นูนเล็กนอย ทายืนกอดอก เรียกศิลปะแบบนี้วา ลักษณะศิลปะ ไซคลาดิค (Cycladic Art) ประติมากรรมรูปผูชาย เรียกวา คีรอส (Keros) ประติมากรรมรูปผูหญิง เรียกวา ไซรอส (Syros) อนุมานวา ประติมากรรมเหลานี้ใชสําหรับพิธีบวงสรวงเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ

ลั ก ษณ ะศิ ล ปะไซคลาดิ ค (Cycladic Art – Cycladic Idol) รูปหุนไซรอส ทําดวยหินออนพาเรียน (parian) อยู ในชวง ราว 2600–2400 ปกอนคริสตกาล ลักษณะคอน มาทางงานประติมากรรมนูนต่ํา แตเปนการแกะสลักรูป รอบตัว ทําใหดูมีชีวิตชีวาดวยการทาสีฟา สีแดง สีเขียวก็มี

สถาปตยกรรมพระราชวังคนอสซอส (คนอสซุส) บนเกาะครีต (เรียกศิลปะบนเกาะนี้วา ศิลปะเครตัน – Cretan Art หรือศิลปะของชาวเครตัน) เปนแบบอยางทางสถาปตยในยุคเริ่มแรกของกรีกไดอยางดี ใชหินเปนวัสดุสําคัญในการ สราง มีระบบเสาและคานวางพาด (post & lintel system) เปนระบบโครงสรางสําคัญ คานทําดวยไม หลังคาแบนราบ ลักษณะเดน คือ ปลายเสาดานบนบานใหญกวาโคนเสาดานลาง มีแบบหัวเสาเรียบงาย (เปนตนแบบนําไปสูแบบหัวเสา ดอริก – Doric order) ตกแตงดวยการระบายสี

พระราชวั ง คนอสซอส (Knossos palace complex) ของพระเจ า ไมนอส ราว 1600 ป ก อ น คริสตกาล อาคารมี ลัก ษณะลดหลั่น กัน ตามชั้น ของเนิน เขา เสาเป น แท งกลมปลายบนบานออก ตกแตงดวยการระบายสีแดง ภายในหองตางๆ ประดับดวยจิตรกรรมภาพปูนเปยก (fresco) ศิลปะกรีก 29.


จิตรกรรมเปนภาพตกแตงภายในพระราชวังคนอสซอส เทคนิคเขียนสีบนผนังปูนเปยก (buon fresco) และผนัง ปูนแหง (fresco secco) (งานของไมนวนมีเขียนทั้งสองเทคนิค) การวาดภาพบนผนังของชาวไมนวนจะคลายอียิปตตรงที่ รางภาพอยางเบาไวกอนแลวจึงลงสีดวยสีสันสดใส เชน สีแดง สีน้ําเงิน สีเหลือง เนื้อหาเรื่องราวเปนเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ และชีวิตประจําวัน ที่เต็มไปดวยความรื่นเริง ความงามของทองทะเล ดอกไมและสรรพสัตว ไมมีเรื่องราวที่เกี่ยวกับเรื่อง เหนือธรรมชาติ เรนลับ ความตาย เรื่องราวของสงครามหรือการทหารเลย การใชเสนในการสรางรูป มีอิสระและโคงไหว นุมนวล ตางจากจิตรกรรมของอียิปต ตรงที่ไมอยูในกรอบแบบแผนนิยม เชน มีการจัดวางองคประกอบอยางไตรตรองแตก็ มีชีวิตชีวามาก งานจิตรกรรมในพระราชวังคนอสซอสนี้ ชวยสรางบรรยากาศและทําใหหองโปรง และลดความอึดอัด นอกจากนั้นยังมีการทําเครื่องดินเผา เนิ้อดินไฟต่ํา (terracotta) ไมเคลือบ เขียนสีตกแตงลวดลายดวยสีเอกรงค เขียนลาย เรขาคณิตหรือลายที่มาจากรูปสัตวทะเล ดอกไมหรือลวดลายนามธรรมตกแตง นักกายกรรมสูวัวกระทิง (กระทิงกระโจน) เทคนิค เขียนสีบนผนังปูนเปยก (buon fresco) นอกจากมี สีสัน สดใสแล วยังมีก ารใชเสน ที่ ออ นไหว อิสระ มี การจัดวางองคประกอบอยางพิเคราะหอยางดี ใน ภาพจะเห็นแนววงกลมสองวงซายขวา ที่ถูกเชื่อม ดวยเสนแนวโคงของวัวกระทิงและวางเหลื่อมแนว วงกลมเล็กนอยวงกลมดานซายขึ้นบนเล็กนอยเพื่อ ถวงดุลยภาพของแนววงกลมใหญดานขวา Kamares ware jug อยูในชวง 2000-1900 ปกอน คริสตกาล ภาชนะเครื่องดินเผาของไมนวนขึ้นรูป ดวยเครื่องแปนหมุน ที่ Phaistos ทางตอนใตของ เกาะครีต สามารถขึ้น รูป ใหภ าชนะมี ความบางได มาก สัดสวนสวยงาม ทาสีสรางลวดลายตกแตงรอบ ภาชนะ ทําจงอยเพื่ อรินน้ํา สีของเนื้อภาชนะสีดํา แตจะตกแตงเขียนลวดลายนามธรรม (หรือตัดทอน ธรรมชาติ) สีน้ําตาล แดงและขาวครีม

โถมี หู ก น โป ง (flask) เนื้ อ ดิ น เผาไฟต่ํ า ไม เคลื อ บ (terracotta) เขี ย น สี เ อก รงค (monochrome) ลายหมึ ก แปดหน วด ราว 1200-1100 ป ก อ น คริสตกาล ลักษณะรูปทรงภาชนะและลวดลายเปน ตนแบบใหกับศิลปะไมซีเนี่ยนดวย

ศิลปะกรีก 30.


ศิลปกรรมไมซีเนี่ยน (Mycenaean (helladic) Art) ศูนยกลางศิลปกรรมอยูบริเวณแหลมเพลอปปอนเนซุส มีนครไมซีเน (Mycenae) เปนเมืองสําคัญ อยูในชวงเวลา 1200-1000 ปกอนคริสตกาล ไดรับศิลปกรรมจากเครตันและขยายอํานาจเหนืออารยธรรมเอเจียนทั้งหมด มีการคนพบ เมืองโบราณที่รวมยุคของอารยธรรมไมซีเนี่ยน เชน เมืองไทรินส เมืองวาพิโอ ศิลปกรรมไมซีเนี่ยนจะมีความแตกตางจากศิลปกรรมไมนวน (ศิลปะของชาวเครตัน) คือ เนื้อหาจะเกี่ยวกับการ สงคราม ทหารนักรบ และการสรางสถาปตยกรรมที่เกี่ยวกับสุสานสถานฝงศพ กรุสมบัติ ชางศิลปของชาวไมซีเนี่ยนมีความ ชํานาญในงานหัตถกรรม เทคนิคการทุบดุนโลหะ โดยเฉพาะแผนทองคํา เพื่อทําหนากากในพิธีศพคลายอยางอียิปต ไมมี เรื่องราวหรือเนื้อหาที่เกี่ยวกับความงามของธรรมชาติดั่งเชนศิลปกรรมไมนวนกระทําเลย ภาชนะ Krater จากไมซีเนี่ยน สูง 41 ซม ราว1300-1100 ป ก อ นคริ ส ตกาล การเขี ย นสี เอกรงค (monochrome) ลาย ตกแตงเปนภาพนักรบใสเกราะกําลังเดินทัพ

หนากากทองคําของพระเจาอกาเมมนอน 16001550 ปกอนคริสตกาล เปนแผนทองคําเทคนิคทุบ ดุน (repousse) จําลองใบหนาเพื่อสวมทับใบหนา ศพอีกชั้นหนึ่ง ผั ง และภาพตั ด ของกรุ ส มบั ติ ข องอเทรอุ ส (treasury of Atreus) (บิ ด าของพระเจ า อกาเมมนอน) 1400 ป ก อ น คริสตกาล กอสรางโดยการเจาะเปนอุโมงคเขาไปในภูเขา มี หองโถงใหญเพดานทรงกรวย (Tholos) ลักษณะฝาชี สูง 40 ฟุต ใชหินวางเรียงทับกันโดยไมมีการใชเสาและคานวางพาด ในสถาปตยกรรมกรีกเองกลับไมมีการสรางโครงสรางแบบนี้ เกิดคลี่คลายเปนโดมในงานสถาปตยกรรมของโรมันในยุค ถัดไป สวนที่ประตูหินทางเขาใชระบบเสาและคานวางพาด

ลักษณะการวางกอหินเรียงกันขึ้นไปเปนยอดโดมรูปกรวย คลายฝาชีครอบ ในกรุสมบัติอเทรอุส (treasury of Atreus)

ศิลปะกรีก 31.


ยุคของศิลปกรรมกรีก ศิลปกรรมของชาวกรีก เรียกวา ศิลปะเฮลเลนนิค † (Hellenic Art) หรือศิลปะของชาวเฮลเลน เนื่องมาจาก ชาว กรีกเรียกตนเองวา เฮลเลนส (Hellenes – เฮลลีนส คําวา กรีก ชาวโรมันเปนผูเรียก) ศิลปกรรมของกรีกนั้นจะเกิดมา จากรากฐานปรัชญาอยูสามประเด็น คือ การยึดถือในเหตุผล (Rationalism) หลักการอุดมคติ (Idealism) และความเปน มนุษยนิยม (Humanism) ในผลงานศิลปกรรม จึงสัมพันธกับหลัก มนุษยคือมาตรวัดของสรรพสิ่ง ชวงสมัยของศิลปกรรมกรีก แบงไดเปน 4 สมัย 1. สมัยแรกหรือเริ่มตน (Primitive period) ชวงราว 1100-800 ป กอนคริสตกาล 2. สมัยอารเคอิค หรือคลี่คลายจากสมัยเริ่มตน (Archaic period) ราว 800-480 ป กอนคริสตกาล 3. สมัยคลาสสิค หรือยุคเจริญสูงสุด (Classical period) ระหวาง 480-323 ป กอนคริสตกาล 4. สมัยเฮลเลนนิสติค หรือยุคเสื่อม (Hellenistic period) ระหวาง 323-27 ป กอนคริสตกาล 1

ศิลปกรรมกรีกในสมัยแรก-เริ่มตน (Primitive period) ชาวกรีกไดพยายามเริ่มตนศิลปกรรมของตนขึ้นมาจากรอยแหงความรุงเรืองของศิลปกรรมไมนวนและ ไมซีเนี่ยน งานสรางสรรคในยุคเริ่มแรกนี้จะเปนลักษณะรูปแบบงานจําพวกเครื่องปนดินเผาหรือประติมากรรม เล็กๆ อยางงาย รูปปนทรงแข็งทื่อ ไมมีกายวิภาคหรือสัดสวนที่ถูกตอง หลอดวยทองแดงหรือสําริด งานภาชนะ ดินเผา ซึ่งถือไดวาเปนตัวบงบอกคุณคาทางจิตรกรรมไปดวย เพราะมักจะเขียนลวดลายประดับบนภาชนะดินเผา ตกแตงดวยลวดลายเรขาคณิต (geometric style) (และดวยลักษณะงานสวนใหญเปนเชนนี้ จึงทําใหเรียกยุคนี้ วาเปน ยุคเรขาคณิต (Geometric period) ดวยเชนเดียวกัน) เขียนสีเอกรงคบนพื้นสีออน ดานเทคนิคและ ฝมือยังไมสูดีเทากับของศิลปกรรมไมนวนและไมซีเนี่ยนนัก คลายกับวาเปนงานที่ถอยหลังไปกวายุคกอนหนานี้

ประติมากรรมหลอโลหะสําริด “คนตอสูกับตัวเซนทอร” สูง 11 ซม. ราว 750 ปกอนคริสตกาล หลอสําริด เป น การแสดงออกอย า งเรี ย บง า ยตรงๆ ใช เ ทคนิ ค “สํารอกขี้ผึ้ ง” ในการหล อโลหะ ไมวาจะเป น ทองแดง สําริดหรือตะกั่ว

คนละความหมายกับ ศิลปะเฮลเลนนิสติค (Hellenistic Art) คํานี้ หมายถึง รูปแบบหรือศิลปะในยุคตอจากสมัยคลาสสิคหรือหมายถึงศิลปะ ในสมัยที่พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราชไดขยายแผอาณาเขตกรีกออกไปแลว สวน ศิลปะเฮลเลนนิค (Hellenic Art) หมายถึง ศิลปะของชาว กรีกนั่นเอง

ศิลปะกรีก 32.


ภาพซาย คือ ภาชนะดินเผา amphora เขียนสี เอกรงค ดวยลายเรขาคณิต ในแนวระดับ ภาพขวา คือ ภาชนะดินเผา Krater ราว 800 ป กอนคริสตกาล เขียนลวดลายเรขาคณิตและภาพคนผสม กับสัตวอยางงายๆ แข็งทื่อ ไมมีกายวิภาคที่ถูกตอง ดูแบน แตเปนระยะเริ่มกอนพัฒนารูปแบบไปเปน การเขียนรูป คนสีดํา (black figure) ในยุค Archaic ถัดไป

ศิลปกรรมกรีกในสมัยอารเคอิค หรือคลี่คลายจากสมัยเริ่มตน (Archaic period) การเกิดเปนรัฐอิสระ รัฐเล็กรัฐนอยไดขยายตัวออก มีการติดตอคาขายกับดินแดนตะวันออกมากขึ้น ซึ่งก็มีอิทธิพลและแรงบันดาลใจตอการสรางสรรคงาน โดยเฉพาะทางดานเครื่องปนดินเผา (ที่ผนวกคุณคาทาง จิตรกรรมเขาไปดวย) ซึ่งเอเธนสกลายเปนศูนยกลางการผลิตสําคัญของกรีกที่มีฝมือ เทคนิค ความละเมียดละไม เปนที่นิ ยมกันอยางมาก จนเกิดมีลักษณะประเภทของภาชนะดินเผาประเพณี หลายลักษณะ ‡ เชน ไฮเดรีย (hydria) เลคีธอส (lekythos) คราเตอร (krater) แอมโฟรา (amphora) เปนตน เขียนตกแตงเปนลาย รูปคนสี ดํา (black figure) บนพื้นสีสมแดง สีแดง ใสรายละเอียดเพิ่มเติมดวยสีขาวหรือสีมวง ลักษณะเดนชัดคือ เขียน รูป คน (หรือสั ต ว) ขนาดใหญ ขึ้ น แตก็ ยังมี ลัก ษณะเป น ภาพดานขางอยู แตกต างจากสมั ยแรกที่ เขียนลาย เรขาคณิตอยางเห็นไดชัด 2

ภาพ ซ า ย คื อ ภาชนะ lekythos ราว 550–530 ป ก อ น คริสตกาล ศิลปกรรมยุค Archaic เปนจิตรกรรมเขียนรูปคนสีดํา เรียกวา black figure บนพื้นสีสมแดง ภาพขวา คือ ภาชนะ amphora ราว 540 ปกอนคริสตกาล ใน ยุ ค Archaic เนื้ อ ดิ น เผาไฟต่ํ า ไม เ คลื อ บ เขี ย นสี รู ป คนสี ดํ า (black figure) ตกแตงรายละเอียดเพิ่มเติมดวยสีขาวและสีมวง ในงานสถาปตยกรรมและประติมากรรมไดเริ่มพัฒนาไปพรอมกันกับความเจริญของนครรัฐและศรัทธา ตออุดมคติและปรัชญาศาสนาดวย ซึ่งตอไปก็เปนแมแบบอันสําคัญที่โดดเดนในยุคคลาสสิค มีลักษณะประติมากรรมรูปลอยตัวอยู 2 ลักษณะ คือ 1. รูปหุนผูชายเปลือย (Kouros) (kouroi – young man) 2. รูปหุนผูหญิงใสชุดทูนิค (Koré) (korai – young woman) เปนผูหญิงสวมเสื้อผาเสมอ ประติมากรรมทั้งสองลักษณะมักจะแกะสลักรูปแบบซ้ําๆ กัน ทําจากไม ดินเผาไฟต่ํา หินปูนหรือไมก็หินออนขาว จากเกาะพารอสและนักซอส (paros & naxos) เจตนาเพื่อใชประกอบในพิธีกรรมบูชาหรือประกอบสุสาน ‡

ภาชนะดินเผาประเพณีของกรีก แบงไดเปน 9 ลักษณะดวยกัน คือ 1. ไฮเดรีย (Hydria) 2. เลคีธอส (Lekythos) 3. คราเตอร (Krater) 4. แอมโฟรา (Amphora) 5. ไคลิกซ (Kylix) 6. เออโนเคอ (Oenochoe) 7. แคนธารอส (Kantharos) 8. ไซกเตอร (Psykter) 9. ไพซีส (Pyxis)

ศิลปะกรีก 33.


ภาพซาย คือ รูปหุนผูชายเปลือย (Kouros) สูง 184 ซม.ลักษณะ มื อ แนบลํ า ตั ว จะก า วเท า ซ า ยออกมาข า งหน า (คล า ยลั ก ษณะ ประติมากรรมอียิปต แตตางกันตรงที่ประติมากรรมอียิปตจะสวมใส ชุดและประกอบดวยเครื่องประดับตามฐานานุศักดิ์ของบุคคล) ภาพขวา คื อ รู ป หุ น ผู ห ญิ ง ใส ชุ ด ทู นิ ค (Koré) 525 ป ก อ น คริส ตกาล แสดงรอยยั บ ยน ชุ ด ที่ สวมใส มี ท าทางอ อนหวานกว า Kouros ประติ ม ากรรมทั้ งสองแบบเน น การมองด านหน า เป น สํ า คั ญ แม ว า จะเป น รู ป สลั ก ลอยตั ว ก็ ต ามและคงอยู ในแนวกรอบจาก ลักษณะแทงหิน มีสัดสวนทั้งหมด 7 สวนครึ่ง (โดยใชสวนหัวเปน เกณฑ 1 สวน) แสดงลักษณะจําเพาะที่สําคัญ คือ รอยยิ้มเล็กนอย เรียกวา “รอยยิ้มแบบอารเคอิค” (archaic smile) และรอยยิ้มนี้จึง ทําใหมีความแตกตางจากประติมากรรมอียิปตอีกดวย

สถาปตยกรรมที่เปนอาคารบานเรือนระยะนี้สรางดวยไมและดินโคลนอยางงายๆ และไดมีการนําหิน และหินออนเขามาเปนวัสดุแทน และยังมีคติการสรางสถาปตยกรรมสาธารณะ โดยใชหินออนและหินปูน เพื่อให เกิดความคงทนดุจธรรมขาติที่ยั่งยืนตามกฏเกณฑของเทพเจา เชน การสรางอาคารวิหารหรือเทวาลัย (Stoa and Cella) อาคารแบบโธลอส (Tholos) คือ อาคารผังกลมสําหรับเปนสุสานและโรงมหรสพ (Theatre) ใชเพื่อ การแสดงและปาฐกถา มีแบบอยางของสถาปตยกรรมสําคัญในยุคนี้ คือ แบบอยางของหัวเสา (ที่กลายเปนชื่อแบบลักษณะ ของสถาปตยกรรมไปดวย) คือ แบบดอริก (Doric order) และแบบไอโอนิ ค (Ionic order) ซึ่งสวนใหญ พั ฒ นาโดยใช โครงสรางระบบเสาและคานวางพาด (post & lintel system) เป น โครงสรา งพื้ น ฐานในงาน สถาปตยกรรม ภาพซาย คือ เสาแบบหัวเสาดอริค มีลักษณะอวบ อวนและสั้น เสาตั้งอยูบนพื้น (stylobate) โดยไมมีฐานเสา ลําเสาเซาะเปนรอง 20 รอง เรียกวา flute ภาพขวา คือ เสาแบบหัวเสาไอโอนิค จะดูผอมสูง บางกวาแบบดอริค มีฐานเสารองรับกอนตั้งบนพื้น ลําเสา เซาะร อ ง 24 ร อ ง หั ว เสาเพิ่ ม ส ว นที่ โ ค ง คล า ยก น หอย เรียกว า volute เสาแบบไอโอนิ คได รับ ความนิ ยมในสมั ย คลาสสิค โดยเฉพาะนิยมตกแตงภายในวิหาร สถาปนิกนิยม นํามาผสมกัน

ศิลปะกรีก 34.


เปรียบเทียบลักษณะโครงสรางสวนตางๆ ของอาคารที่ใชเสาแบบดอริคและแบบไอโอนิค

ศิลปกรรมกรีกในสมัยคลาสสิค หรือยุคเจริญสูงสุด (Classical period) ในยุคสมัยคลาสสิคนครรัฐที่เจริญกาวหนามากและเปนผูนําในดานศิลปะวิทยาการ ปรัชญาและการ ปกครอง คือ นครรัฐเอเธนส มีเปริคลีส (Pericles) (495-429 BC) เปนผูนําในการสรางวัฒนธรรมกรีกใหเปนชั้น แนวหนา เขาสงเสริมการสรางความเจริญใหกับเอเธนสในทุกๆดาน โดยเฉพาะดานสถาปตยกรรม ประติมากรรม และงานจุลศิลป (minor art) ทั้งหลาย เชน เครื่องโลหะ เครื่องปนดินเผา ทั้งนี้เพื่อเปนการสรางรสนิยมอันดีแก ชาวกรีกตามหลักอุดมคติของความงาม การสร างวิ ห ารต า งๆ บนอโครโพลิ ส (Acropolis) ซึ่ ง คื อ เนิ น เขาที่ เชื่ อ ว าเป น ที่ ส ถิ ต ของเทพเจ า นอกจากนั้นยังมีสถาปตยกรรมประเภทอื่นรวมอยูดวย เชน โรงละคร ฯลฯ เนิน อโครโปลิส (Acropolis) (akro – สูง, polis – เมือง) แห ง เอเธนส ศู น ย ก ลางสถานพิ ธี ก รรมและศาสนา ใน ศตวรรษที่ 5 กอนคริสตกาล จะเห็นวิหารพารเธนอนตั้ง เดนสงาอยูบนที่ราบขางบนสุด เพื่อสักการะเทพีอเธนา วิห ารพาร เธนอน (Parthenon) ออกแบบโดย สถาปนิกอิคตินุส(Iktinus) และคาลลิคราตีส (Kallikrates) โดยออกแบบใหเปนไปตามหลักสัดสวน 4 : 9 และอุดมคติ ของความงามแบบกลมกลืน กอสรางระหวาง 447- 432 ป กอนคริสตกาล ผังเปนแบบวิหาร เสาแปดตนอยูทั้งดานหนาและ ดานหลั ง (dipteral) แบบหั วเสาดอริค มี ป ระติ ม ากรรม จํ า หลั ก ประดั บ บริ เวณเหนื อ คาน (frieze) และหน า จั่ ว (raking cornice) หลังคาปูแผนกระเบื้องดินเผาไฟต่ํา ศิลปะกรีก 35.


ผังของวิหารพารเธนอน ที่เปนแบบของวิหารที่ ใชแบบเสาดอริคที่สมบูรณที่สุด มีลักษณะแบบ เสาแปด ต น ทั้ ง ด า นหน า และด า นหลั ง (Dipteral หรื อ Doric peripteral octastyle) ห อ งภายในตกแต ง ด ว ยหั ว เสา แบบไอโอนิค

บนอโครโพลิสจะมีลานหินกวาง ที่สามารถสรางวิหารขนาดใหญได โดยเฉพาะเทวาลัยวิหารสําคัญ คือ วิหารพารเธนอน (Parthenon) ที่สรางดวยหินออน เปนเทวาลัยวิหารแบบเสาดอริค (Doric order) § ที่สมบูรณ แบบที่สุดภายในประดิษฐานเทวรูปเทพีอเธนา (Athena หรือ มิเนอรวา – Minerva ตามแบบที่โรมันเรียก) ผู เป น เทพแห ง ป ญ ญาและพิ ทั ก ษ เมื อ งเอเธนส ทางทิ ศ เหนื อ ของวิ ห ารพาร เ ธนอน ยั ง มี วิ ห ารอี เ รคธี อุ ม (Erectheum) เปนเทวาลัยวิหารแบบเสาไอโอนิค (Ionic order) และมีแบบเสาพิเศษที่สลักเปนรูปผูหญิงในชุด ทูนิค 6 ตน เรียกวา Caryatides 3

เสาที่ ทํ าเป น รู ป ห ญิ งพ รห มจารี ย 6 ต น เรี ย กว า Caryatides ทําหนาที่รองรับสวนหลังคา ที่วิหารอีเรคธิ อุ ม (Erectheum / Erectheion) คาดว า น าจะเป น ผลงานของ Alcamenes (or Alkamenes) ศิ ษ ย ข อง ฟดิอัส

ประติมากรรมสมัยคลาสสิคมีความเจริญกาวหนาอยางสูงสุด บรรลุถึงหลักความงามตามอุดมคติ ไมวา จะเปนกลามเนื้อตามหลักกายวิภาค สัดสวนความงามในอัตราสวน 1 : 8 และทาทางของประติมากรรมที่ไมแข็ง ทื่ออีกตอไป ประติมากรรมจะสัมพันธกับสถาปตยกรรม ประติมากรรมเสมือนเปนเครื่องแสดงประจักษพยาน แบบของความงาม ซึ่งประติมากรแตละคนพยายามคิดและถายทอดออกมา ในยุคคลาสสิคนี้ประติมากรรมไมได แสดงบุคลิกสวนบุคคลหรืออารมณปจเจกชนอยางเห็นเดนเปนประเด็นมากนัก ทั้งนี้เพราะประติมากรรมตอง แสดงความงามในแบบมนุษยนิยม หลักอุดมคติและงามอยางมีเหตุผล ประติมากรที่สําคัญ เชน ฟดิอัส (Phidias) โปลีไคลตุส (Polycleitus) ไมรอน (Myron) แพรกซิทีลิส (Praxiteles) สโคปาส (Scopas)

§ โดยปกติเสาแบบดอริค (Doric order) จะใช สรางเทวาลัย วิห ารแก เทพเจ า เพราะใหค วามรูสึก แข็ งแกรง มั่ น คง เป นชาย (ตามแนวคติ

สุนทรียภาพของ เปรีคลิสและวัฒนธรรมกรีกโดยรวมที่ใหบทบาทของผูชาย) สวนเสาแบบไอโอนิค (Ionic order) มักจะเลือกสรางเทวาลัย สําหรับเทพี เพราะใหความรูสึกบอบบาง สะโอดสะอง แตกรณีที่เทวาลัยวิหารพารเธนอนนี้ใชเสาแบบดอริค เนื่องเพราะเทพีอเธนาเปนเทพผู พิทักษและมีชัยแหงสงคราม (Athena Nike) ดวย

ศิลปะกรีก 36.


ภาพซาย คือ ประติมากรรมหินออน “เทพเฮอรเมส และเทพนอยไดโอนีซุส” ของแพรกซีทีลิส สูง 215 ซม. 340 ป กอนคริสตกาล (ภาพนี้เปนงานคัดลอกของโรมัน) วางทาทาง แบบยืนเอียงสะโพกที่เรียกวา “ตรีภังค” (Contrapposto) ภาพขวา ประติ ม ากรรม “นั ก กี ฬ าพุ ง แหลน” สู ง 199 ซม. ผลงานของ โปลีไคลตุส (เปนงานคัดลอกของโรมัน ของเดิมสลายไปแลว) ผูวางรากฐานการสรางรูปชายเปลือยให มีแบบบัญญัติสัดสวน (Canon) (kanon – บัญญัติ กฎ มาตร วัดสําคัญ) และความงามแบบอุดมคติอยางแทจริง โดยเฉพาะ การวางทาถวงดุลแบบตรีภังค (Contrapposto) งานจิตรกรรมสวนใหญจะไมมงี านที่หลงเหลืออยูแบบจิตรกรรมเดีย่ ว นอกจากจะนําเทคนิคไประบายสี ที่สถาปตยกรรมหรือประติมากรรมแลว สิ่งที่โดดเดนในคุณคาของจิตรกรรมจะปรากฏอยูที่ภาพเขียนบนงาน เครื่องดินเผา ในยุคคลาสสิคนี้ การเขียนรูปคนสีแดง (Red Figure) บนพื้นสีดํา (มีพื้นสีออนดวย) ไดรับความ นิยมสูง ภาพคนมีชีวิตชีวาและบรรลุถึงพัฒนาทางเทคนิคและเรื่องราวไดวิจิตรบรรจงมากที่สุด เชน ผลงานของ ช า งเขี ย น ยู โ ฟรนิ อุ ส (Euphronious) ยู ซิ ธี อุ ส (Euxitheus) โปลิ ก โนตุ ส (Polygnotus) และ มาครอน (Macron) ภาชนะคราเตอร (krater) สูง 46 ซม. เขียนตกแตง ภาพแบบรูปคนสีแดง (red figure) เปนผลงานของ จิตรกร Euphronious ซึ่งมีบทบาทสูงในการเขียน ภาพแบบรู ป คนสี แ ดง สร า งสรรค ง านอยู ใ นช ว ง 520-500 ป กอนคริสตกาล เขาพัฒ นาเทคนิคนี้อ ยู เกื อ บ 25 ป โดยช ว งแรกเขี ย นรูป แบบรู ป คนสี ดํ า (black figure) กอน ภาพรอบภาชนะนี้ เป น เรื่ อ งราวจากมหากาพย อี เลียด (Iliad) ของกวีตาบอดโฮเมอร

ศิลปกรรมกรีกในสมัยเฮลเลนนิสติค หรือยุคเสื่อม (Hellenistic period) ศิลปกรรมในสมัยเฮเลนนิสติคถือเอาวาเปนศิลปะของกรีกที่แพรขยายออกไปในดินแดนตางๆ ที่พระ เจาอเล็กซานเดอรมหาราชพิชิตไดและภายหลังจากที่พระองคไดสวรรคตแลว (เมื่อ ป 323 กอนคริสตกาล) เมื่อ พิจารณาเปรียบกับสมัยคลาสสิคแลวก็เห็นวาเปนการเสื่อมลงของความงามสูงสุดจากสมัยคลาสสิค แตกระ นั้นเอง ก็มีเอกลักษณจําเพาะที่คลี่คลายออกไป โดยเฉพาะเกี่ยวกับการแสดงออกทางอารมณอยางรุนแรง สราง อารมณรวมไดอยางฉับพลัน องคประกอบดูพลุงพลาน วุนวาย ไมเครงขรึมเหมือนงานยุคคลาสสิค แสดงบุคลิก

ศิลปะกรีก 37.


ของบุคคลมีทิศทางการเคลื่อนไหวตรงขามกับลําตัวและศีรษะ หรือไมก็ตกแตงใหหรูหราจนเกินงาม และในชวง ตอนปลาย ราว 50 ปกอนคริสตกาล ที่โรมันมีอิทธิพลและขยายอาณาจักรรุกเขากรีกแลวก็ไดรับเอาศิลปกรรม และอารยธรรมของกรีกไปปรับใช (กรีกกลายเปนจังหวัดหนึ่งของสาธารณรัฐโรมันในป 146 กอนคริสตกาล) จึง มีรูปแบบผสมผสานเปนลักษณะกรีก-โรมัน (Greco-Roman) งานประติมากรรม นับวาปรากฏใหเห็นเผยแพรออกไปในดินแดนตางๆ มาก เนนการแสดงออกของ เรื่องราวที่นําเสนอ มากกวาอุดมคติเดิม เชน อาจมาจากบุคคลในชีวิตประจําวัน ชาวบานรานตลาด เนนให เหมือนจริงของมนุษย (สวนความสมจริงนั้นมีอยูแลวในรูปทรง) เรื่องราวแบบปกรณัมกรีกก็ยังสรางสรรคอยูแต เพิ่มองคประกอบใหมากขึ้น ใสบุคลิกของประติมากรอยางเห็นเดนชัด จนเกิดเปนสกุลชางอยางโดดเดน เชน สกุลชางเปอรกามุม (Pergamum school) สกุลชางเกาะโรดส (Rhodes school) ขนาดของชิ้นงานมีขนาดเล็ก ลง เพื่อใหสามารถเปนที่เสาะหาเปนเจาของไดในราคายอมเยาหรือตามกําลังทรัพยของผูอุปถัมภ ประติมากรรมหินออน “เลาคูน” (Laocoon) สูง 2.44 เมตร ราวศตวรรษที่ 1 ก อ นคริส ตกาล แสดงถึ งมวล และการเคลื่อนไหวที่กระจายวุนวายและเกินธรรมชาติ อ อ ก ไป แ ส ด งอ อ ก ท างอ ารม ณ บ น ใบ ห น า แ ต องค ป ระกอบแบบนี้ ก ลายเป น แรงบั น ดาลใจให กั บ ประติมากรในยุคบาโรกในคริสตศตวรรษที่ 17

ประติมากรรมหิน ออน “เทพี ชัยชนะแหงซาโมเธรส” (the Nike of Samothrace) สู ง 2.44 เมตร ราวป 190 กอนคริสตกาล แสดงลักษณะเคลื่อนไหว รอยยับ ยนของเสื้อผาที่พลิ้วตามการเคลื่อนไหวของรางกาย

ประติมากรรมหลอสําริด Eros sleeping ศตวรรษที่ 2 กอนคริสตกาล แสดงคานิ ยมในการสรางประติ มากรรมรูป เด็ก (เทพ นอย) ซึ่งในสมัยเฮเลนนิสติคเปนที่นิยมมาก การจัดวาง องค ป ระกอบแสดงออกลั กษณะทางเย าอารมณ ม าก กวา ท า ทางแบบงามจรรยาอุ ด มคติ (จาก decorous drama ไปสู emotional melodrama)

ศิลปะกรีก 38.


สถาปตยกรรมมีระบบหัวเสาแบบคอรินเธียน (Corinthian order) เพิ่มเขามาและไดรับความนิยมมาก ขึ้น มีการประดับลายหัวเสาที่วิจิตรโดยการเพิ่มใบอะแคนทัส เสามีสัดสวนที่สูงเพรียวกวาทั้งสองแบบที่ผานมา มาก มุงเนนเพื่อการตกแตงมากกวาสาระในดานโครงสราง เสาแบบคอรินเธียน (Corinthian order) แสดง รายละเอียดการตกแตงเพิ่มใบอะแคนทัสที่หั ว เสา และสวนฐานที่เพิ่มรายละเอียดมากขึ้นกวา แบบไอโอนิค รวมทั้งสวน Entablature ที่ปรับ แต งและวิ จิต รกวาเสาแบบดอริค และไอโอนิ ค รวมถึงการสลักเสลาลายจําหลักตางๆ ประดับ เพิ่มเขาไปอีก

ในงานจิตรกรรมนอกจากจะนิยมเขียนภาพดวยเทคนิคปูนเปยกแลว ยังมีความนิยม สรางงานกระเบื้องสีหรือหิน สี (mosaic) เพิ่มขึ้นอีกดวย โดยใชหินสีฝงลงในผนังฉาบปูนพลาสเตอรและยังมีการนํากระจกสีมาสรางงานแทนหินสีในยุค หลัง จนสืบไปถึงสมัยโรมันและโดดเดนอีกครั้งในศิลปกรรมไบแซนไทน (Byzantine Art)

ภาพจิตรกรรมหินสี (mosaic) “พระเจาอเล็ก ซานเดอรกรีฑาทัพ” จากเมืองปอมเปอิ (ปอม เปอิเคยเปนสวนหนึ่งของอาณานิคมกรีก) ราว 150 ปกอนคริสตกาล

หลังจากเมื่อโรมันเขามามีอิทธิพลและเปนมหาอํานาจในกาลตอมา ดูเหมือนวากรีกจะสูญสลายไป แตศิลปกรรม และอารยธรรมกรีกกลับเปนผูมีชัยเหนือโรมันอยางสิ้นเชิง โรมันไดรับและปรับใชศิลปกรรมกรีกไปอยางกาวหนาและ กลายเป นรากฐานใหกั บแบบแผนศิลปกรรมตะวันตกในชั้น หลังถัดมาอีกหลายครั้ง เชน ในศิ ลปกรรมยุคฟ นฟู ศิลปะ วิทยาการ (Renaissance Art) และศิลปกรรมคลาสสิคใหม (Neo-Classicism) ในคริสตศตวรรษที่ 15 และ 19 ตามลําดับ

ศิลปะกรีก 39.


แหลงอางอิงขอมูลและภาพที่ใชในการเรียบเรียงและเพื่อศึกษาเพิ่มเติม Gowing, Lawrence, Sir. Britannica Encyclopedia of Art. China: The Brown Reference Group. 2005. Honour, Hugh & Fleming, John. A World History of Art. China: Laurence King Publishing. 2005. Kleiner, Fred S. Art through the Ages: A Concise Western History, third edition. USA: Wadsworth. 2008. Marceau, Jo. Art a World History. London: Dorling Kindersley. 2002. Stokstad, Marilyn. Art History. New Jersey: Pearson Education. 2011. www.commons.wikimedia.org/wiki/Category:Plans_of_ancient_Greek_temples (accessed in June 2008) www.ancient-greece.org/ (accessed in June 2008)

ศิลปะกรีก 40.


ศิลปะโรมัน (Roman Art) ก อ นหน า ที่ โรมั น จะเจริ ญ ก า วหน า โรมั น ได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากวั ฒ นธรรมของชาวอิ ท รั ส กั น * หรื อ เอทรุ ส กั น (Etruscan) เมื่อราวศตวรรษที่ 8 กอนคริสตกาลและจากวัฒนธรรมของชาวกรีกที่มาตั้งอาณานิคมอยูกอนแลวบริเวณ ภาคใตของแหลมอิ ตาลี ที่ เรีย กวา แมกนากรีเซี ย (Magna Graecia) ศิล ปกรรมและวัฒ นธรรมของชาวอีท รัสกัน เป น รากฐานแรกเริ่มที่ทําใหโรมันนําไปวิวัฒนตอไปผสมผสานกับอารยธรรมของกรีกในลําดับถัดมา เมื่อกรีกเสื่อมถอยและตก อยูภายใตอาณาจักรของโรมัน 0

ศิลปกรรมของอิทรัสกัน (Etruscan Art) ศิลปกรรมของอีทรัสกัน (เอตูเรีย) ไดผสมผสานจากอิทธิพลของอาณานิคมกรีกจากบริเวณตอนใตของคาบสมุทร อิตาลี คือ ดินแดนแมกนากราเซีย เชน สถาปตยกรรมจะมีผังคลายแบบกรีก ใชระบบโครงสรางแบบเสาและคานวางพาด (post & lintel structure) แตจะยกพื้นมีฐานสูง (podium) รองรับ สรางเปนลักษณะสามหอง (cellae) มีหัวเสาคลาย แบบดอริกเปนลักษณะจําเพาะแบบหัวเสาทัสกัน (Tuscan order) ใชวัสดุจําพวก ดินตากแหง (adobe) ไมและหินภูเขา ไฟ ในการกอสราง สุสานฝงศพใตดิน มีความสําคัญที่ชาวอิทรัสกันจะสรางไวแกผูตายเปรียบดั่งบานของผูมีชีวิตอยู มักสรางผังเปน วงกลม (tholos) บนหลังคากอดวยหินปูนแลวกลบดวยดินและมีตนไมคลุมดูคลายเปนเนินดิน เรียกวา Tumulus

วิ ห ารบู ช าของอี ท รั ส กั น ยกพื้ น สู ง อยู บ นฐาน (podium) รองรั บ กํ า แพงก อ ด ว ยดิ น ตากแห ง (adobe) เสาและคานทํ าจากไม หลังคาทรงจั่ว ฉาบผิวดวยปูนปลาสเตอร ผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มี ความกวางไมไดสัดสวนกับความสูงนัก ทรงจึงดู เตี้ย มีเฉลียงดานหนา แนวเสาไมสองแนว แนว ละสี่ต น เสาเรีย บไม มี การเสาะเปน รอง (flute) อยางกรีก มีหอง (cellae) สามหองขนาดหองละ เท า ๆ กั น ภายในทึ บ ตั น และไม มี เสาเรี ย งราย รอบตัวดั่งเทวาลัยกรีก

* ในดินแดนที่เรียกวา เอตรูเรีย ซึ่งอยูระหวางแมน้ําไทเบอร (ทิเบอร) (Tiber) และแมน้ําอารโน (Arno) เปนเมืองเกาแก ประมาณ 1200-900

ปกอนคริสตกาลและมีลกั ษณะเปนนครรัฐอิสระไมขึ้นตอกันคลายนครรัฐกรีก ซึ่งมีทั้งหมด 12 นครรัฐ

ศิลปะโรมัน 41.


ประติมากรรมมักทําจากดินเผาชนิดเนื้อเผาไฟต่ําสีแดง (terracotta) หรือสําริด ไดรับอิทธิพลจากกรีกสมัยอาร เคอิค แตมที าทางมีอากัปกริยาเคลื่อนไหวมากกวาอยูในแทงหินบังคับ ชาวอิทรัสกันนิยมแกะสลักหรือปนภาพครึ่งตัวของ ผูตายไวในสุสานนั้นลักษณะแนวปฏิบัตินี้สืบตอไปยังคตินิยมของชาวโรมัน ลักษณะรูปคนจะไมเปนรูปเปลือยอยางกรีก อาจสวมชุดเกราะหรือเสื้อผา †แสดงรอยยับยน แสดงออกทางอารมณไดชัดเจน ประติมากรรมที่โดดเดน เชน รูปหมาปา รูป ตั วกิ เมรา (Chimera) รูป นั กพู ดหล อด วยสํ าริด และงานประติม ากรรมเนื้ อดิ น เผาไฟต่ํ านี้ มั ก จะสรางเพื่ อ ประดั บ สถาปตยกรรมภายนอกอาคารและมีการระบายสีตกแตงดวย นอกจากนั้นชาวอิทรัสกันยังมีฝมือในงานหัตถกรรมและ ศิลปะตกแตง เชน งานเครื่องทอง 1

ประติมากรรมสําริดรูปหมาปา แตเดิมไมมีเด็กทารก กํ า ลั ง กิ น นม เป น รู ป ที่ ส ร า งขึ้ น ภายหลั ง ในสมั ย เรอเนสซองส เพื่อใหสอดคลองกับตํานานการสราง เมืองโรม คือฝาแฝด โรมูลุส (Romulus) กับ เรมุส (Remus) ราว 500 ปกอนคริสตกาล

ประติ ม ากรรมสํ า ริ ด สั ต ว ในตํ า นานอี ท รั ส กั น ตั ว กิ เมรา (Chimaera) แห งอะเรซโซ (Arezzo) เป น สวนผสมของสิงโต แพะและงู สรางขึ้นราวศตวรรษ ที่ 4 กอนคริสตกาล

สวนจิตรกรรมนั้นชาวอิทรัสกันมีชื่อเสียงในเรื่องการวาดภาพแบบผนังปูนเปยก (fresco) จะวาดประดับตกแตง ในสุสาน ลายเสนอิสระสีสันสดใส มักเปนเรื่องจากเทพปกรณัมกรีก และมีปรากฏตามเครื่องปนดินเผาหลายชิ้น ภาพมี ลักษณะการตัดเสนเด็ดขาด ลงสีแบบไมมีแสงเงา ไดรับอิทธิพลจากงานเขียนภาพแจกัน black figure ของกรีกในยุคอาร เคอิค ดูแลวเหมือนจะเลียนแบบกรีก แตก็พิจารณาไดไมยากวาภาชนะใดเปนแบบกรีกหรือแบบอิทรัสกัน เครื่อ งดิ น เผาของอิ ท รัส กัน กับ กรีก มี ลั กษณะที่ แตกตางกัน ภาชนะกรีกจะเนนความสมมาตรแต ของอิทรัสกันจะไมเนนความสมมาตร การเขียน ภาพไดรับอิทธิพลจากกรีก แตความนิยมในการ แสดงออกจะเป น อย างธรรมชาติ ไม เน น ความ งามแบบอุดมคติอยางกรีก †

ซึ่งเสื้อคลุมนี้ชาวโรมันไดรับเอาแบบมาใชที่เรียกวา เสื้อคลุมโตกา (Toga)

ศิลปะโรมัน 42.


ศิลปกรรมโรมัน พวกโรมันเริ่มตั้งรกรากอยูในแถบบริเวณหุบเขาตอนลางของแมน้ําไทเบอร ที่เรียกกันวา ที่ราบลาติอุม (Latium) มีเมืองสําคัญคือ โรม ‡ ซึ่งเติบโตขึ้นมาจากเมืองเล็กๆ ริมฝงแมน้ําไทเบอรและใชเวลาเพียงไมกี่รอยปจนกลายเปนเมืองใหญ ของอาณาจักรโรมันนับแตกอนคริสตกาล 2

กรุงโรม อยูบริเวณที่ราบลาติอุม ใกลแมน้ําไทเบอร (Tiber river) แวดลอมดวยเนินเขา 7 ลูก และอยู กึ่งกลางแหลมอิตาลี อันเปนชัยภูมิสําคัญที่มีความ อุดมสมบูรณมากกวาเมื่อเทียบกับทําเลภูมิประเทศ ของกรีก

โรมันคอยๆเติบโตเขมแข็งขึ้นจากการเปนเมืองหรือหมูบานเล็กๆ และอยูภายใตการปกครองของพวกอีทรัสกัน โรมันสามารถปกครองตนเองไดใน 509 ปกอนคริสตกาล โดยมีรูปแบบเปนสาธารณรัฐ และเริ่มรวบรวมรัฐตางๆ เขา ดวยกันจนเปนสาธารณรัฐโรมันที่เขมแข็ง และครอบครองดินแดนที่เคยเปนอาณานิคมของกรีก (Magna Graecia) บริเวณ ตอนใตของคาบสมุทรอิตาลีได และจนถึงตอมาในสมัยที่โรมปกครองเปน ระบบจักรวรรดิโดยมีจักรพรรดิเป นประมุข ศิลปกรรมของโรมัน อาจแบงไดเปน สองชวง คือ ในชวงที่ยังเปนสาธารณรัฐและชวงที่โรมันเปนยุคสมัยจักรวรรดิ

ศิลปกรรมในชวงสมัยสาธารณรัฐ เปนชวงที่โรมันรับเอาอิทธิพลของศิลปะอีทรัสกันและกรีกแบบเฮเลนนิสติกผสมผสานกัน งานสวนมากจะลอก แบบจากประติมากรรมกรีก เพื่อนําไปติดตั้งตามอาคารสถานที่ตางๆ มีงานศิลปกรรมของกรีกหลายชิ้นที่เราไดรับทราบกัน ก็เพราะโรมันไดทําการลอกแบบเอาไวดวย ประเพณีโรมันนิยมการจําลองใบหนาของผูตายหรือบรรพบุรุษเอาไวดวยขี้ผึ้ง จึงทําใหกลายเปนความนิยมทําประติมากรรมแบบรูปคนเหมือน จึงมีประติมากรรมใบหนาจักรพรรดิหรือบุคคลสําคัญ ตางๆ มาก ‡

สรา งขึ้นบนบริ เวณที่ แ วดล อ มด วยเนิ น เขา 7 เนิ น ได แ ก เนิ น เขาอาเวนที น (Aventine) เนิ นเขาซี เลี ย ส (Caelius) เนิ น เขากาป โตลิ น (Capitoline) เนิ น เขาเอสกวี ลิ น (Esquiline) เนิ น เขาพาลาที น (Palatine) เนิ น เขากวิ ริ น าล (Quirinal) และเนิ น เขาวิ มิ น าล (Viminal) นอกจากนั้นโรมมิ ได มีแ ตเฉพาะพวกอิท รัสกั น เท า นั้ นที่ เป นชนเผ าดั้ งเดิม ที่ แ วดลอ มอยู ยั งมี พ วก ซาบี นส (Sabines) ที่ อ าศั ย บริเวณเนิ น เขาอะเปนนีน (Apennines) ทางตะวัน ออกเฉีย งเหนื อ ของโรม พวกแซมไนต (Samnites) อยู บ ริเวณด านใต ของโรมและพวกโวลเชี ย นส (Volscians) ซึ่งอาศัยอยูบริเวณดานตะวันออกเฉียงใตของโรม

ศิลปะโรมัน 43.


ทางดานสถาปตยกรรม โรมันก็รับอิทธิพลของสถาปตยกรรมกรีกและอิทรัสกัน มีแบบหัวเสาของกรีกนํามา ดัดแปลงและเพิ่มเติมแบบใหมของโรมันเองเขาไป เชน แบบคอมโพสิต มีโครงสรางระบบคานโคง (arch) และเพดานโคง (barrel vault หรือ tunnel vault) จากอิทรัสกันมาสรางสถาปตยกรรมสําคัญๆ และพัฒนาจนเปนโครงสรางแบบโดม (dome) จึงทําใหอาคารมีเนื้อที่กวางขวาง ไมมีเสาระเกะระกะ โรมันคนพบซีเมนตจึงทําใหสิ่งกอสรางของโรมันมีความ แข็งแรงและใหญโต ศิลปกรรมและความรูทางวิศวกรรมทั้งหลายถูกนํามาใชเพื่อตอบสนองตอคุณภาพชีวิต ประโยชน สาธารณะและความเจริญของสาธารณรัฐ ไมเนนไปที่การสรางเทวาลัยเพื่อบูชาเทพหรือเพื่อความงามอุดมคติดั่งเชนที่กรีก ชอบกระทํา ดังนั้น สิ่งกอสรางของโรมันจะเปนจําพวก สถานที่อาบน้ํา โรงมหรสพกลางแจง สนามกีฬา โฟรุม (จัตุรัส ชุมชนเมือง) บาสิลิกา (ที่ทําการบริหารกลางและศาลยุติธรรม) ประตูชัย เสาที่ระลึก ทอลําเลียงน้ํา ถนนและสะพาน

Greek Doric

Ionic

Corinthian

Tuscan

Roman Doric

Composite

โรมั น ใช เสาในการสร า งสถาป ต ยกรรม 5 แบบ คื อ Roman Doric order, Ionic order, Corinthian order, Composite order และ Tuscan order เสาแบบ Roman Doric order จะแตกตางไปจากของกรีก คือ มีฐานรับเสา (ของกรีกไมมีฐานรับ) และรองเวา (flute) ที่ตัวเสาจะลึกกวาแบบดอริกของกรีก สวนหัวเสาแบบคอมโพสิตจะประกอบดวยสวนแบบไอโอนิคอยู ดานบนและสวนแบบคอรินเธียนอยูดานลาง

วิหารเมซอง การเร (Maison Carrée) ราวศตวรรษที่ 1 กอนคริสตกาล เปนวิหารแบบ Corinthian pseudo peripteral hexastyle วิ ห ารแบ บ โรมั น จะมี ฐาน (podium) รองรั บ เสาแทนพื้ น สามชั้ น แบบกรี ก เสา ดานหนาจะเปนเสาหกตน และจะมีเสาผาครึ่งซีกติดกับ ผนั ง ที่ ไ ม ไ ด รั บ น้ํ า หนั ก จริ ง เรี ย กว า pilaster (halfcolumns engaged) ขางในทึบตัน ไมมีระเบียงเดินได รอบอยางเทวาลัยกรีก หัวเสาจะเปนแบบคอรินเธียน

ศิลปะโรมัน 44.


ชาวโรมันคนพบการกอสรางดวยคอนกรีต (concrete) โดยเตรียมซีเมนต (caementa- cement) ไดมาจาก ผสมหินปูนมอรตาร ทรายภูเขาไฟ น้ําและหินกอนเล็ก เขาดวยกัน เทลงในแบบไม เมื่อแหงจะมีความแกรงทนทานมาก ผิว ของคอนกรีตยังหยาบจึงฉาบผิวดวยหินออน หรือปูนขาวผสมหินออนปน นอกจากซีเมนตแลวโครงสรางทางกายภาพของ การกออาคารยังมีสวนสําคัญที่ทําใหบริเวณใชสอยภายในของอาคารโรมันมีความโอโถง แข็งแรง ใหญโตไดสงางาม คือ โครงสรางแบบคานโคง (arch) เพดานโคง (barrel vault) และหลังคาครึ่งทรงกลม (dome)

คานโคง (arch) มีมายาวนานจากยุคโบราณเปน หนึ่งในสองระบบโครงสรางที่ใชสรางกําแพงและ ชองทางเขาออกเมือง อีกโครงสรางแตโบราณคือ ระบ บ เส าแ ล ะค าน วางพ าด ที่ พ บ ม าก ใน สถาป ต ยกรรมอี ยิ ป ตแ ละกรีก ระบบคานโค งมี ปรากฏในสมั ย เมโสโปเตเมี ย และในยุ ค โรมั น นี้ เป น โครงสรา งสํ าคั ญ ในสะพานลํ าเลี ย งน้ํ าและ ประตูชัยอนุสรณ

เพดานโคง (barrel vault) หรือ (tunnel vault) พั ฒ นาต อ มาจากคานโค ง ที่ ยื ด ออก ทํ า ให เกิ ด เพดานตั ด ครึ่ งทรงกระบอก กํ า แพงรั บ เพดาน ขนานยาวกั น ไป มี ก ารสรา งเพดานโค งมาก อ น หนานี้ แตไม แข็งแรงเทากับเมื่อมี การสรางดวย คอนกรี ต แต ก ารสร า งให มี ข นาดใหญ ม ากขึ้ น จะตองมีครีบยันกําแพงเสริม (buttressing)

เพดานโคงสันตัดไขว (groin vault) หรือ (cross vault) เกิดจากเพดานโคงสองเพดาน มาไขวตัด กัน ด านละเท าๆกั น ทํ าให เกิด ความแข็งแรงขึ้ น โดยอาจไมตองเสริมครีมยันกําแพง

โดมหรื อ หลั ง คาครึ่ ง ทรงกลม (hemispherical dome) เกิด จากคานโคงที่ หมุน โดยรอบบรรจบ เพื่ อ ให เ กิ ด ความแข็ ง แรงของโครงสร า งจึ ง ไม สามารถเจาะชอ งหน าต างรั บ แสงได จึงต อ งทํ า ชองรับแสงวงกลมไวยอดโดม เรียกวา oculus ศิลปะโรมัน 45.


จิตรกรรมผนัง (Mural Painting) จิตรกรรมผนังที่ตกแตงตามผนังบานของชาวโรมัน คลายแบบอยางที่อีทรัสกันไดทํากันมา (สืบมาตั้งแตสมัยไมน วน ในอารยธรรมหมูเกาะทะเลเอเจียน) เปนงานเขียนสีบนผนังปูนเปยก (fresco) เตรียมบนพื้นผนังปลาสเตอรเรียบโดย เคลือบผนัง 6-7 ครั้ง ชั้นบนสุดทายเคลือบดวยผงหินออนจากนั้นจึงระบายสี ชางเขียนจะรางภาพดวยสีแดงบนผิวจากนั้น จึงลงสีที่เตรียมไดจากแรธาตุตางๆ บางครั้งก็นิยมใชกระเบื้องสี (mosaic) สรางภาพผนัง ที่พบเห็นจากสถาปตยกรรม โบราณที่เมืองปอมเปอี เฮอรคิวลาเนียม โรม มีรูปแบบสําคัญๆ ไดแก 1) รูปแบบที่หนึ่ง (the first style) หรือเรียกวา the masonry style ก็ได เรียกอีกแบบไดวา แบบลายผนัง เรียงอิฐ เนื่องมาจากการเขียนสีตกแตงเจตนาใหเกิดการมองเห็นเหมือนดั่งการเรียงกออิฐที่ดูมีรองนูน ที่ the Samnite house ที่เมืองเฮอรคูลาเนียม มีลักษณะตกแตงภาพผนังที่คลายกันนี้ที่เมืองปอมเปอี ภาพผนั ง รู ป แบบที่ ห นึ่ ง (Samnite house เฮอร คู ล า เนียม ปลายศตวรรษที่ 2 กอนคริสตกาล) แบงเรียงชอง คลายลายผนังเรียงอิฐหรือจําแลงผนังหินออน เคยเปน เทคนิคในสมัยกรีกมากอนในชวงสมัยเฮลเลนนิสติก จึง นิ ย ม เรี ย ก อ า ค า ร แ บ บ นี้ the hellenization of republican architecture

2) รูปแบบที่สอง (the second style illusionism) มีลักษณะตรงขามกับรูปแบบที่หนึ่ง และอาจมีมากอนหนา นี้ในสมัยกรีก แตก็ยังเชื่อกันวาเปนการสรางสรรคในสมัยโรมัน จิตรกรตองการสรางภาพใหผนังกลืนหายไปในสถานที่หรือ ฉากที่สรางลวงตาเชิงสามมิติขึ้นมา ไดรับความนิยมมาตั้งแต ปที่ 80 จนถึง ปที่ 15 กอนคริสตกาล (เมื่อจิตรกรโรมันสราง รูปแบบที่สามขึ้น) ผนังดานตะวันออกและตะวันตกของหองแหงหนากาก บานออกุส ตุส เนิ น พาลาที น กรุงโรม ป ที่ 30-25 กอ น คริสตกาล วาดภาพภูมิทัศนใหรูสึกใกลไกลดวยเนนทัศนี ยมิติเชิงบรรยากาศ (atmospheric perspective) สิ่งที่ อยูใกลจะขอบคมชัด สิ่งที่อยูไกลออกไปจะมีขนาดเล็กลง และไมคมชัด และมีทัศนียมิตเิ ชิงเสนโดยมีจุดรวมสายตา หนึ่งจุด (single vanishing-point linear perspective) และยังใหแสงเงาลวงใหเห็นเปนรูปเสาตามผนังตางๆ ซึ่ง สามารถสรางการรับรูลวงตาภูมิทัศนเปนสามมิติไดดี

ศิลปะโรมัน 46.


3) รูปแบบที่สาม (the third style)

รู ป แบบที่ ส าม ภาพภู มิ ทั ศ น ส วน (gardenscape) ของบ า นสวนผลไม ปอมเปอี ป ค.ศ.40-50 ไม เหมือนกับภูมิทัศนสวน รูปแบบที่สอง ของวิลลา ลิวิ อา (Livia’s villa) ภาพนี้ จ ะแบ งช อ งเป น สามช อ ง อิสระตอกัน และวาดลวดลายเล็กๆ บนพื้นสีเดียว ไม มีฉากหลังใหดูเปนธรรมชาติ อยางของวิลลา ลิวิอา และเป น วาดลอยอยูเหนื อพื้ นห อ ง รูป แบบนี้ ได รับ ความนิยมจนกระทั่งมีแผนดินไหวในป ค.ศ.62

รูป แบบที่ ส าม ภาพผนั งปู น เป ย ก ที่ ห อ งดํ า วิล ลา อกริปปา ปที่ 10 กอนคริสตกาล จิตรกรจะตกแตง ผนั ง ด ว ยเส น วาดเล็ ก ๆ ลงบนภาพพื้ น สี เ ดี ย ว (monochromatic) ภาพจะปรากฏลอยอยูตรงกลาง เปนเสมือนลวดลายดั่งความฝน และภาพขอบคมชัด

4) รูปแบบที่สี่ (the fourth style)

ภาพผนังปูนเปยก หอง 78 โดมุส ออรีอา บานทองคํา กรุ ง โรม ค.ศ.64-68 สี พื้ น หลั ง สี เดี ย วคื อ สี ข าวเรี ย บ ประกอบดวยลวดลายประดับตามกรอบที่แบงเปนของ เอาไว และลวงตาดวยการวาดเสาสถาปตยและภายใน ชองจะวาดภาพเสมือนใสอยูในกรอบภาพ ภาพแตละ ภาพไมไดสัมพันธกันแตอยางใด

หองเพนธิอุส บานเวททิอี ปอมเปอี ค.ศ.62-79 มีการ แบงเปนชองสี่เหลี่ยมไมเทากัน วาดภาพคนเกี่ยวเทพ ปกรณั ม จากสมั ย กรี ก เทคนิ ค นํ า รู ป แบบต า งๆ มา ผสมผสาน การสร า งแสงเงาลวงตาเส า ห รื อ ทั ศ นี ย ภาพประกอบ แต ล ะช องคล ายเป น ภาพวาด ตางๆ มาติดตามผนัง แตทั้งหมดคือการวาดลงบนผนัง ศิลปะโรมัน 47.


ศิลปกรรมในชวงสมัยจักรวรรดิ นับตั้งแตจักรพรรดิออกุสตุส (ออคตาเวียน ซีซาร) เปนจักรพรรดิองคแรก จนถึงชวงโรมันลมสลายในป ค.ศ. 476 รูป แบบศิ ลปกรรมจะเน น ไปที่ ก ารก อสรางสถาป ต ยกรรมต างๆ เชน โฟรุมหรือ จตุ รัส ชุม ชนเมื อ ง (Forum) บาสิลิ ก า (Basilica) โรงอาบน้ํ าสาธารณะ (Therme หรื อ the Baths) สนามกี ฬ า (เดิ ม คื อ อั ฒ จั น ทร ม หรสพ Amphitheatre กลายเป น Arena & Stadium) วิ ห าร (Temple) ประตู ชั ย ยานุ ส รณ (Triumphal Arch) เสาจารึ ก อนุ ส รณ (the Columns) สะพานลําเลียงน้ํา (Aqueduct) เจตนาและเปาหมายเพื่อสาธารณประโยชนตอประชาชนและเมือง เพื่อให เมืองดูสงา นาเกรงขาม แสดงความหรูหราและอํานาจของจักรวรรดิ

สะพานลําเลียงน้ํา เปนบริการสาธารณะที่ทําใหโรมันมีความเปนอยูที่ดีทั่วทั้งจักรวรรดิ มีทอ ลําเลียงเขาสู เมือง 12 แหง มาจากระยะทางไกลหลายทิศทาง สรางโดยใชโครงสรางแบบคานโคง (arch) ทําใหสามารถ ซอนกันไดหลายชั้น สูงจากแมน้ํา 49 เมตร กอดวยหินเรียงทับกันโดยไมมีซีเมนตเชื่อม นี่คือสะพานลําเลียง น้ําปองต ดู การ (Pont du Gard) ราวศตวรรษที่ 1 BC. ใกลเมืองนีมส แควนโปรวองซ ทางตอนใตของ ฝรั่งเศส

วิหารแพนธีออน (Pantheon) สรางปรับปรุงสมบูรณในสมัยจักรพรรดิฮาเดรียน ราว ค.ศ.126 เพื่อเปน เทวาลัยของเทพโรมันทั้ง 7 องค โครงสรางของแพนธีออน อาคารทรงกระบอก มีมุขดานหนายื่นออกมา คลายวิหาร มีเสา16 ตน แบบคอรินเธียน และหลังคาเปนโดม ที่เปดชองรับแสงตรงกลางเรียกวา oculus ผนังภายในโดมทําเปนสี่เหลีย่ มลดหลั่นลึกลงไป เรียกวา ฝาหลุมเหลี่ยม (coffer) เพื่อมิใหผนังดูหนาเกินไป ลดเสียงสะทอนและเพื่อเปนการตกแตงไปในตัว

ศิลปะโรมัน 48.


สนามกีฬาโคลอสเซียม (Colosseum) หรือ (Flavian’s Amphitheatre) ค.ศ.70-80 ความคิดมา จากโรงอัฒจันทรมหรสพ (Amphitheatre) มาทําเปนสนามกีฬา เพื่อใชเปนสถานที่ชมการตอสู ผัง ของโคลอสเซียมเปนรูปทรงไขยาวรี โครงสราง 4 ชั้น ใช arch และ barrel vault (tunnel vault) รองรับคาน แบบของเสาจะตกแตงแตกตางกัน ชั้นลางใชหัวเสาแบบดอริก ชั้นสองใชหัวเสาแบบ ไอโอนิ ค ส วนชั้ นสามใชหั วเสาแบบคอริน เธีย น ชั้น บนสุดเป นเสาหลอก (เสาเก็ จ) แบบผาครึ่ง (pilaster หรือ half-columns engaged) กอดวยวัสดุอิฐและหิน ยึดดวยขอโลหะและใชซีเมนต เชื่อม ตกแตงดวยหินออนปดทับ ประติมากรรมมีการสรางงานแบบเหมือนจริงตามลักษณะบุคคลและแบบอุดมคติปะปนกัน แตงานแบบรูปคน เหมือนเปนที่นิยมมาก เพราะเปนประโยชนในการบันทึกนั่นเอง และก็มีทั้งเหมือนจริงแบบไมถายทอดอารมณกับแบบ เหมือนจริงแฝงถายทอดอารมณดวย ใชวัสดุจําพวกหินออนและการหลอโลหะ ลักษณะของแบบประติมากรรมจะมีอยูสาม ลักษณะ คือ -ลักษณะประติมากรรมแบบนูนสูง (high relief) ตามอนุสาวรีย ประตูชัย เสาจารึกอนุสรณ มักเปนภาพบันทึก เหตุการณของจักรพรรดิและจารึกประวัติศาสตร -ลักษณะภาพจําหลักนูนต่ําประดับตามผนังอาคาร สุสาน -ลักษณะรูปลอยตัวคนเหมือนตางๆ โดยเฉพาะรูปขององคจักรพรรดิตางๆ และชนชั้นสูง

เสาทราจั น อนุ ส รณ (Trajan’s Column) เป น อนุ ส รณ ส ถานและบั น ทึ ก เหตุ ก ารณ สรางขึ้นในป ค.ศ.113 ดวยหินออน มีรูปสลัก ประติ ม ากรรมนู น ต่ํ า รอบเสาซ อ นกั น เป น เกลียว มีฉากบรรยาย 150 ตอน แสดงเรื่อง ราวสงครามทั้งสองครั้งของจักรพรรดิทราจัน ที่ ส มรภู มิ Dacia ในป ค.ศ. 101 และ ค.ศ. 105 เสามีความยาวกวา 183 เมตร

ศิลปะโรมัน 49.


ประตูชัยคอนสแตนติน (the Triumphal Arch of Constantine) ประตูชัย 3 ชองคานโคง มีเสาแบบ คอมโพสิตตกแตงประกอบ เพื่อเปนอนุสรณตอการ มีชัยของจักรพรรดิคอนสแตนตินเหนือแมกเซนติอุส ในป ค.ศ.312 ชองคานโคงกลางมีคําบรรยาย มีภาพ จํ า หลั ก นู น สมโภชการมี ชั ย ชนะของจั ก รพรรดิ ออเรลิ อุ ส เหนื อ พวกเยอรมั น ในป ค.ศ.174 ผนั ง กําแพงดานในชองคานโคงกลาง มีภาพจําหลักนูน อนุสรณจักรพรรดิทราจันคราวพิชิตดาเชีย ดานบน เหนื อ คานโค ง เล็ ก ทั้ ง สองข างเป น ภาพจํ าหลั ก นู น ระลึกถึงจักรพรรดิฮาเดรียน

ประติ ม ากรรมรู ป ลอยตั ว คนเหมื อ น จั ก รพรรดิ อ อกุ ส ตุ ส (Augustus of Primaporta) ถายทอดลักษณะความเหมือน จริงของบุ ค คล (ซึ่งเปน ประเพณี ข องโรมัน มาแต กอ น) บุ คลิ ก ความสงางามและความนาเกรงขาม และไดรับอิทธิพลมาจาก อุดมคติแบบกรีกแฝงอยูในประติมากรรม (หลอมรวมทาทาง แบบตรีภังคกับ บั ญ ญั ติ สัดสวนของโปลีไคลตุส) สรางดวยหิ น ออน สูง 2.03 เมตร ราวตนคริสตศตวรรษที่ 1

ภาพสันนิษฐานรื้อฟนของ ทราจันโฟรุม (Trajan’s Forum) ออกแบบโดยอโปลโลโดรุสแหงดามัสกัส (สรางภาพสันนิษฐานโดย James E. packer and John Burge) โฟรุมทราจัน คือ ลานยานศูนยกลาง ชุมนุมของเมืองที่รวมอรรถประโยชน ประกอบดวย ส ว นสํ า คั ญ 1.วิ ห ารทราจั น 2. เสาทราจั น 3. หองสมุดกรีก หองสมุดละติน 4. บาสิลิกา อุลปอา (basilica Ulpia) 5. ลานโฟรุ ม 6. พระรู ป ทรง มาทราจัน

ศิลปะโรมัน 50.


ตารางเปรียบเทียบลักษณะตางๆ ระหวางศิลปกรรมกรีกกับศิลปกรรมโรมัน ทําเลที่ตั้ง ภูมิศาสตร ปรัชญา คตินิยม

จิตรกรรม

สถาปตยกรรม

ลักษณะประติมากรรม

กรีก คาบสมุทรเพโลปอนเนซุส ทะเลอีเจียน

โรมัน คาบสมุทรอิตาลี ทะเลอเดรียติค รับปรัชญาและความงามกรีกมาใช มีอุดมคติ มีแบบของความงาม ศิลปกรรมเพื่อจักรวรรดิและมหาชน ศิลปกรรมตามหลักอุดมคติ และบทบัญญัติ เพื่อสาธารณประโยชน ดูโออา หรูหรา สัดสวน บูชาเทพเจา เปนนักอุดมคติ เปนนักปฏิบัติ ภาพผนังปูนเปยกและโมเสก บนเครื่องปนดินเผา ชนิด black figure มีความเสมือนธรรมชาติ การสรางมิติลวงตา red figure การสรางภาพแบบโมเสก โดยเฉพาะแถบเมืองปอมเปอี (Pompeii) ผังเปนสมดุลแบบดุลยภาพสมมาตร หันหนาเขาสูโ ฟรุม เปนสําคัญ เนนสัดสวนแบบอุดมคติ (golden section) เพื่อบูชาเทพ ประโยชน แกประชาชนและ หันหนาไปทางอะโครโปลิส สาธารณะ โครงสรางคานโคง เพดานโคงและ โครงสรางเสาและคานวางพาด หลังคาโดม (arch, vault, dome) มีเสา (post & lintel system) มีเสาเรียงรายมาก (เก็จ) หลอก (pilaster) ในการตกแตง เปาหมายเพื่อบันทึกเปนสําคัญ นิยมภาพคน ยึดหลัก ความงามและสัดสวนอุดมคติ ใน เหมือน แสดงบุคลิกภาพบุคคล และอุดมคติ ยุคเฮเลนนิสติกถายทอดอารมณ ความ แบบกรีกบางสวน ทั้งรูปลอยตัว ภาพนูน สมจริงธรรมชาติและบุคลิกภาพเพิม่ มากขึ้น จําหลักประดับตางๆ

ราวคริสตศ ตวรรษที่ 5 จัก รวรรดิโรมัน ไดแบ งออกเปน สองสวนอยางเด็ด ขาด คื อ โรมัน ตะวันตกและโรมั น ตะวันออก ศิลปกรรมจึงมีพัฒนาการที่สําคัญในแถบโรมันตะวันออกอยางนาสนใจอีกแบบลักษณหนึ่งเรียกวา ศิลปกรรม ไบแซนไทน เมื่อโรมันตะวันตกลมสลาย ศิลปะของโรมันยังเปนแบบของแรงบันดาลใจแกผูครองแผนดินที่เคยเปนเผา อนารยชน (ภายใต ส มญานามจั ก รพรรดิ แ ห งจั ก รวรรดิ โรมั น อั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์) ให สื บ แบบรื้อ ฟ น ต อ ไปอี ก หลายยุ ค เช น ศิลปกรรมสมัยการอแล็งเฌียง อ็อตโตเนียนจนถึงศิลปกรรมโรมาเนสก อันจัดวาเปนศิลปกรรมที่อยูในยุคกลาง (Medieval art) แตเจริญกาวหนาภายใตคติความเชื่อศรัทธาและแบบกําหนดของคริสตศาสนาโรมันคาธอลิก และถูกจัดวาเปนแบบ แผนของศิลปกรรมคลาสสิกที่จะถูกนํามารื้อฟนขนานใหญอีกครั้งในสมัยฟนฟูศิลปะวิทยาการ คริสตศตวรรษที่ 15 และจะ ถูกนําไปลอกเลียนใชอยางเต็มที่อีกครั้งในสมัยศิลปะคลาสสิคใหม ราวปลายคริสตศตวรรษที่ 18 ถึงตนคริสตศตวรรษที่ 19 แหลงอางอิงขอมูลและภาพที่ใชในการเรียบเรียงและเพื่อศึกษาเพิ่มเติม Bédoyère, Guy de la. The Romans for Dummies. England : John Wiley & Sons. 2006. Gowing, Lawrence, Sir. Britannica Encyclopedia of Art. China : The Brown Reference Group. 2005. Honour, Hugh & Fleming, John. A World History of Art. China: Laurence King Publishing. 2005. Kleiner, Fred S. Art through the Ages: A Concise Western History, third edition. USA: Wadsworth. 2008. _____________. A History of Roman Art, enhanced edition. USA: Wadsworth. 2010. Stokstad, Marilyn. Art History. New Jersey: Pearson Education. 2011.

ศิลปะโรมัน 51.


วิ ช า ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ศิ ล ป (ศ30203)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.