Tourism Crafts

Page 1

แอ่วชุมชน หัตถกรรม Tourism Crafts & CULTURAL Branding Workshop



แอ่วชุมชน หัตถกรรม Tourism Crafts & CULTURAL Branding Workshop

พวกแต้มคัวตอง - เครื่องเขินศรีปันครัว - งานจักสานบ้านป่าบง 22 - 23 สิงหาคม 2558 ณ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ UNISERV CMU ส�ำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


องค์การบริ หารส่วนจัง หวัด เชี ยงใหม่ มี อ�ำ นาจหน้ า ที่ ในการพัฒ นาจัง หวัดเชี ย งใหม่ใ นหลาย ด้ าน ทังเศรษฐกิ ้ จ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริ มอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ และจารี ตประเพณี และภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ให้ ด�ำรงอยูแ่ ละสืบทอดสู่ ค นรุ่ น ต่ อ ไป เพื่ อ ให้ เกิ ดประโยชน์ สูง สุด ต่อประชาชนในท้ องถิ่ น องค์ การบริ หารส่ว นจังหวัดเชี ย งใหม่ ได้ ว าง แนวทางปฏิบตั ิในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ข้ อ คือ •ส่งเสริ มสนับสนุนให้ ท้องถิ่นด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ท�ำงานอย่างบูรณาการ เพื่อให้ เกิดความตระหนัก ในการด�ำเนินกิจกรรมในด้ านการศาสนา การฟื น้ ฟูจารี ตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่หลากหลาย •ส่งเสริ มสถาบันทางการศึกษาและสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้ มบี ทบาทส�ำคัญในการอนุรักษ์ ท�ำนุ บ�ำรุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารี ตประเพณีอนั ดีงาม ตลอดจนสถาปั ตยกรรม โบราณและแหล่งประวัตศิ าสตร์ ของจังหวัดเชียงใหม่ •สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้ านศิลปะ วัฒนธรรมสูท่ ้ องถิ่น และศาสนสถาน โดยร่วมกับ องค์กรต่างๆ ทังภาครั ้ ฐ เอกชน และองค์กรที่ท�ำงานเพื่อสังคมในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมือง เชียงใหม่สเู่ มืองแห่งการสร้ างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Arts and Culture) ซึง่ แนวทางปฏิบตั ขิ ององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการส่งเสริมการพัฒนาเมืองสร้ างสรรค์ (Creative City) ในระดับภูมภิ าคและท้ องถิน่ เพือ่ ให้ ประเทศไทย เป็ นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิต การค้ า และการ บริการของธุรกิจสร้ างสรรค์ของภูมภิ าคอาเซียน (Creative Hub of ASEAN) ที่ผา่ นมาจังหวัดเชียงใหม่ได้ มีการจัดการศึกษารวบรวมและจัดท�ำข้ อมูลเบื ้องต้ นของเมืองเชียงใหม่ เพื่อเตรี ยมการเป็ นเครื อข่ายสมาชิกเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึง่ กระบวนการด�ำเนินงานจ�ำเป็ น ต้ องมีการศึกษาทังเชิ ้ งกว้ างและเชิงลึก รวมถึงต้ องมีการปฏิบตั กิ ารอย่างเป็ นรูปธรรม ทังส่ ้ วนนโยบายและการ ปฏิบตั กิ าร ในการนี ้องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ จดั ท�ำโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ภายใต้ ชื่อ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรม และศิลปะพื ้นบ้ าน)” โดยมุง่ หวังให้ เกิดการท�ำงานร่วมกันอย่างบูรณาการกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน ภาค การศึกษาและอาชีพของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อร่วมกันผลักดันให้ จงั หวัดเชียงใหม่สามารถเป็ นเครื อข่ายเมือง สร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) อันจะสามารถสร้ างชื่อเสียงให้ กบั ประเทศไทยในระดับสากล จากทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ตอ่ ไป

นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดเชียงใหม่


๑ พวกแต้ม คัวตอง

อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

เครื่องเขิน ศรีปันครัว

อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

จักสาน บ้านป่าบง

อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่


พวกแต้ม คัวตอง

ชุมชนวัดพวกแต้ ม ถูกจัดให้ อยู่ ในเขตอนุรักษ์ ของเมืองเชียงใหม่ ซึง่ ชื่อของ ชุมชนวัดปรากฏขึ ้นในใบลานหรื อพับสา เมื่อ ปี พทุ ธศักราช 2363 โดยมีความเกี่ยวข้ องกับ กลุม่ ผู้สร้ างวัด ซึง่ เป็ นช่าง โดยค�ำว่า “พวก” หมายถึง หัวหน้ าหมูซ่ งึ่ เป็ นขุนนาง "แต้ ม" หมายถึง การเขียนลวดลาย ดังนันวั ้ ดนี ้จึง สัมพันธ์ กบั ขุนนางที่มีหน้ าที่ควบคุมทางด้ าน งานช่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การลงรักปิ ดทอง หรื อการปิ ดทองล่องชาด ซึง่ เป็ นเทคนิคหนึง่ ของงานประดับโลหะ อีกทังค� ้ ำว่า “งานคัว ตอง” ยังหมายถึง เครื่ องทองเหลือง โดยแยก องค์ประกอบของค�ำว่า “คัว” หมายถึง สิง่ ของ ที่ท�ำขึ ้น ทังนี ้ ้คืองานโลหะล้ านนาประดับ ประดาวัด งานตกแต่ง เครื่ องโลหะ “ตอง” หมายถึง ทองเหลือง จังโก “คัวตอง” จึงมี

ความหมายว่า เป็ นงานเครื่ องทองเหลืองที่ตี ขึ ้นรูป ฉลุ)ดังที่ปรากฏในปั จจุบนั โดยงานคัว ตองนี ้ได้ รับการถ่ายทอดจากรุ่นสูร่ ุ่น โดยมี กระบวนการสืบทอดผ่านการสอนของช่างผู้ ช�ำนาญการ โดยใช้ วิธีการลงมือปฏิบตั จิ ริ ง พร้ อมการบอกกล่าวสัง่ สอน ซึง่ งานคัวตองที่ ถูกผลิตขึ ้นนี ้มีรูปแบบที่หลากหลาย สามารถ แบ่งออกเป็ นได้ 2 ประเภท ได้ แก่ “งานคัว ตองประเภทพุทธศิลป์ ” ส่วนใหญ่ผลิตขึ ้นเพื่อ การรั บ ใช้ พุ ท ธศาสนาเป็ นเครื่ อ งตกแต่ ง อาคาร และสถาปั ตยกรรมทางศาสนาพุทธ อาทิ ฉัตร สัปทน พุม่ ดอกไม้ เงินทอง เครื่ องสูง และที่พบอีกส่วนหนึง่ ของงานคัวตอง และ “งานคัวตองประเภทหัตถศิลป์ ” การท�ำเครื่ อง ประดับตกแต่งร่างกาย คือ ดอกไม้ ไหวใช้ ส�ำหรับประดับศีรษะ เมื่อแต่งกายไปท�ำบุญ หรื อฟ้อนร� ำ


งานหัตถศิลป์

ชุมชนพวกแต้ม


บ้านศรีปันครัว

ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่


บ้ า นศรี ปั น ครั ว

ต�ำบลท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ มีการท�ำไม้ ไผ่ ขดกันอยูใ่ นชุมชนศรี ปันครัว โดย ลักษณะเด่น ชัดของที่นี่จะ เป็ น “พานแดง” (ขันแดง) ซึง่ เป็ นการน�ำไม้ ไผ่มาขดให้ เป็ นรูปทรงกลม เพื่อ น�ำไปใช้ ใน พิธีกรรมและการตกแต่ง โดยทัว่ ไป รวมถึงยังมี ที่ขึ ้นรูปทรงเป็ นภาชนะแบบต่างๆ ลักษณะของเครื่ องเขินด้ วยการขดตอกไม้ ไผ่ให้ ตามที่ต้องการ เช่น พาน ตะลุม่ ขันดอก ขันหมาก หีบผ้ าใหม่ ขันโตก และขันโอ เป็ นต้ น แต่ เ นื่ อ งจากในปั จ จุ บั น วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ในการท� ำ เครื่ องเขินทังรั้ ก และชาดนันค่ ้ อนข้ างหายาก และมีราคาสูง ดังนันชาวบ้ ้ านศรี ปันครัวจึง เปลี่ยนมาใช้ วสั ดุสมัยใหม่ เช่น สีน� ้ำมันและสี พลาสติกแทน เปรี ยบได้ วา่ เป็ นแหล่งผลิตของ การท�ำเครื่ องเขินก่อนที่จะจัดส่งไปยัง บ้ าน ถวาย อ�ำเภอหางดงเพื่อท�ำการเพิ่มมูลค่าของ ผลิตภัณฑ์ตอ่ ไป


งานจักสาน

บ้านป่าบง อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่


บ้ านป่ าบง

อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ งานหัตถกรรมที่พบส่วน ใหญ่เป็ นงาน เครื่ องจักสานที่เครื่ องใช้ ใน ชีวิตประจ�ำวัน เนื่องจากเป็ นพื ้นที่ที่มีต้น ไผ่บงเป็ นจ�ำนวนมาก จึงได้ มีการน�ำมา แปรรู ป และผลิ ต เป็ น เครื่ อ งจั ก สานซึ่ ง ผลิตผลของงานหัตถกรรมภายในชุมขน ที่พบได้ เช่น ตะกร้ า สวิ๋ง เปี๊ ยด เป็ นต้ น ซึง่ จากการสอบถามพบว่าสินค้ าเครื่ องใช้ ในชุ ม ชนป่ าบงได้ น� ำไปส่ ง ยั ง ศู น ย์ หัตถกรรมบ้ านถวาย อ�ำเภอหางดง ก่อน ที่จะน� ำไปส่งนัน้ ได้ มีการเพิ่มมูลค่าของ งานจักสานโดยน�ำส่งไปยังอ�ำเภอต่างๆ เช่น ต�ำบลหนองควาย จะเป็ นที่ลงสีแก่ งานหัตถกรรม และส่งไปยัง ต�ำบลหาร แก้ ว ที่ท�ำการตกแต่ง ก่อนที่จะส่งไปยัง ศูน ย์ หัต ถกรรมบ้ า นถวายเพื่ อ เป็ น การ เสริ มสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ แก่ผลิตภัณฑ์


เชียงใหม่ เมืองหัตถศิลป์สร้างสรรค์

พั ฒ นาการมาจากรากเหง้ า ทางวัฒนธรรม

มิติแห่งการสร้างงาน หัตถกรรม งานหัตถศิลป์ งานอุตสาหกรรม หัตถศิลป์ ร่ วมสมัย

จากประวัตศิ าสตร์ อนั ยาวนานกว่า 700 ปี ท�ำให้ เชียงใหม่เป็ นเมืองที่อดุ มไปด้ วยทุนทางวัฒนธรรม ซึง่ ล้ วนแต่เสริ มสร้ างศักยภาพของเมือง ให้ ยกระดับเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ทางด้ านหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน (Chiang Mai : City of Crafts and Folk Art) อันมีองค์ประกอบทังศิ ้ ลปวัฒนธรรม ประเพณี เอกลักษณ์และ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่หลากหลาย และมีความสัมพันธ์กบั วัฒนธรรมของผู้คนที่พ�ำนักอาศัย ด�ำรงชีวิต และ ประกอบกิจกรรมต่างๆ ซึง่ โดยธรรมชาติของการสร้ างสรรค์งานหัตถกรรมเชียงใหม่ จะมีคณ ุ ลักษณะที่ยงั ยึดโยงกันอยู่ ซึง่ เกิดจากพัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมของชุมชน ที่เริ่ มจากระดับหมูบ่ ้ านสูเ่ มืองและเป็ นแรงขับ เคลื่อนสูก่ ารสร้ างสรรค์ ท�ำให้ เชียงใหม่นนบานสะพรั ั้ ่งด้ วยงานหัตถกรรม พร้ อมสูก่ ารเคลื่อนตัวของเมือง การน�ำวัฒนธรรมที่สงั่ สมมานาน เป็ นทุนเพื่อให้ การสร้ างสรรค์ในปั จจุบนั และอนาคตนันมี ้ เรื่ องราวความเป็ น มาที่สามารถศึกษาเรี ยนรู้ และน�ำมาสร้ างสรรค์และต่อยอดวัฒนธรรมที่เหมาะสมต่อวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ใน ปั จจุบนั และอนาคตอย่างยัง่ ยืนมัน่ คง มรรคผลของการสร้ างสรรค์งานหัตถกรรมจะกลับมาสูก่ ารพัฒนา คุณภาพของชีวิตและการศึกษาให้ แก่ผ้ คู นในท้ องถิ่น มีการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน เชียงใหม่กบั งานหัตถศิลป์ สร้ างสรรค์ก็เปรี ยบเหมือนดังการปลูกต้ นไม้ แห่งการสร้ างสรรค์ มีรากเหง้ าที่หยังลึก ล�ำต้ นแข็งแกร่งและมัน่ คง กิ่งใบที่แผ่ไพศาล ออกดอกผลที่เบ่งบานและเจริ ญงอกงา มสืบต่อไป

คณะท�ำงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน ( Crafts and Folk Art)

รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานที่ปรึกษา



กิจกรรมในครั้งนี้ประกอบไปด้วย 2 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนที่ 1 การทัศนศึกษาในชุมชน หัตถกรรม ได้แก่ ชุมชนพวกแต้มคัวตอง เครื่องเขินศรีปันครัว และเครื่องจักสานชุมชนป่าบง เพื่อ ท�ำให้รู้ถึงแหล่งผลิตงานหัตถกรรมภายในเมืองเขียงใหม่ และน�ำความรู้จากการท่องเที่ยวมาประยุกต์ ใช้ในส่วนที่ 2 การอบรมสัมมนา และ workshop ภายใต้แนวคิด Cultural Branding โดยมุ่งเน้น ตัวอย่างงานหัตถกรรมของชุมชนดังกล่าว เพื่อค้นหาอัตลักษณ์ในการน�ำมาต่อยอดแนวทางด้าน การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการอนุรักษ์และพัฒนางานหัตถกรรมของเมือง เชียงใหม่ควบคู่กันไป และสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการผลักดันเมืองเชียงใหม่สู่ เมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านต่อไป คณะท�ำงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน ( Crafts and Folk Art) รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานที่ปรึกษา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.