Final Report Presentation Wat Ket

Page 1

รายงานสรุปการจัดแสดงงานนิทรรศการ

“อนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน

ย่านวัดเกตฯ”

โครงการนำเสนอและจัดแสดงงานศิลปะและวัฒนธรรม ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม ประจำปี 2559 นักศึกษาสหสาขาวิชการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม รหัส 58 กระบวนวิชาวิธีการนำเสนองานศิลปะและวัฒนธรรม บว.ศว.717 (918717) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558



รายงานสรุปการเสวนาและจัดแสดงนิทรรศการ “ โครงการนาเสนอและจัดแสดงงานศิลปะและวัฒนธรรม ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สหสาขาวิชา การจัดการศิลปะและวัฒนธรรม ประจาปี 2559 ”

เสนอโดย นักศึกษาสหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม รหัส 58 กระบวนวิชาวิธีการนาเสนองานศิลปะและวัฒนธรรม บว.ศว.717 (918717) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นผลงานการศึกษาเชิงปฏิบัติการของนักศึกษารหัส 58 สหสาขาวิชาการจัดการ ศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในกระบวนวิชาวิธีการนาเสนองานศิลปะ และวัฒนธรรม บว.ศว.717 (918717) ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2558 สหสาขาวิชาการจั ดการ ศิลปะและวัฒนธรรม ได้เล็งเห็นถึงคุณค่าของการพัฒนางานด้านศิลปะและวัฒนธรรม การรักษาคุณค่า และการเพิ่มมูล ค่าให้ เกิดประโยชน์ จึงได้จัดโครงการนาเสนอและจัดแสดงงานศิลปะและวัฒ นธรรม ประจาปี 2559 ภายใต้ชื่อ “ อนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน ย่านวัดเกตฯ ” โดยเป็นการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนในรูปแบบการจัดนิทรรศการ (Exhibitions) การนาเสนอการจัดและตกแต่งดิสเพลย์ (Display) ประกอบด้วยกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ การจัดโครงการนาเสนอและจัดแสดงงานศิลปะและวัฒนธรรมในครั้งนี้เกิดขึ้นโดยความร่วมมือ จากหลายฝ่าย ได้แก่ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและ วัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และชุมชนวัด เกตการาม ซึ่งในการจัดนิ ทรรศการ (Exhibition) และการจัดแสดงแบบดิส เพลย์ (Display) มีเนื้อหา เกี่ยวกับวิถีชีวิตของชุมชนวัดเกตการามในอดีต รวมถึงความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ณ ปัจจุบันในหลากหลาย แง่มุม ได้แก่ คน อาชีพ สถาปัตยกรรม และศิลปะ นอกจากนี้ภายในงานยังมีการเสวนาในหัวข้อ “ชุมชน วัดเกตการาม ในศตวรรษที่ 21” เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์เกี่ยวกับย่านวัดเกตการาม รวมถึงร่วมหาทิศทางของย่านวัดเกตการามในอนาคต โดยผู้ร่วมเสวนาต่างก็เป็นบุคคลที่มีบทบาทสาคัญ ภายในชุมชนตั้งแต่อดีตและยังคงเป็นที่รู้จักและเคารพนับถือของชุมชนวัดเกตการามมาจนถึงปัจจุบัน คณะผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณทัศนัย บูรณุปกรณ์ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ ที่ให้เกียรติมาเป็น ประธานในพิธีเปิดงาน และขอขอบคุณบริษัท วี.พี.เอฟ. กรุ๊ป จากัด บริษัท นิธิฟู้ดส์ จากัด บริษัท ซันสวีท จากัด ธนาคารธนชาต สาขาท่าแพ บริษัท นิ่มซี่เส็ง สาขาสันป่าข่อย และอาจารย์ต่อแห่งร้านฝ้ายซอคา ใน ความอนุเคราะห์สนับสนุน นอกจากรายนามผู้สนั บสนุนที่กล่าวมา คณะผู้จัดทาขอขอบคุณ รศ. สุนันทา รัตนาวะดี อาจารย์ผู้สอนกระบวนวิชาวิธีการนาเสนองานศิลปะและวัฒนธรรม สหสาขาวิชาการจัดการ ศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ คณบดี คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือรวมทั้งให้คาปรึกษา สุดท้ายนี้ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณอาจารย์รัตนะ ภู่สวาสดิ์ อาจารย์พิเศษประจาสาขาวิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และนางสาวอรกัญญา อินทะวงศ์ ผู้ประสานงานโครงการ และตัวแทนจาก


สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในความร่วมมือซึ่งส่งผลให้การจัดโครงการในครั้งนี้สาเร็จลุล่วง ไปด้วยดี คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการนี้จะเป็นจุดประกายผลักดันให้ชุมชนวัดเกตการามและผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องได้ร่วมมือกันในการรักษาคุณค่าและสืบสานเอกลัก ษณ์ของชุมชนให้คงอยู่สืบไปสาหรับคน รุ่นหลังและเป็นประโยชน์ในการศึกษาเรียนรู้ต่อไปในอนาคต

คณะผู้จัดทา


สารบัญ หน้า คานา รายชื่อนักศึกษาคณะผู้จัดทา สารบัญ บทที่ 1 บทนา 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ผลผลิต/ตัวชีว้ ัด 1.4 ลักษณะของโครงการ และการตอบสนองยุทธศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย 1.5 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.6 วัน เวลา และสถานที่ดาเนินการ 1.7 ผู้เข้าร่วมโครงการ 1.8 ผู้เสวนา 1.9 วิธีการและระยะเวลาดาเนินการ 1.10 งบประมาณ 1.11 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 อนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน ย่านวัดเกตฯ 2.1 ผ้าปักพระราชชายาฯ 2.2 หลากเชื้อชาติ หลายศาสนา สู่เส้นทางการค้า ย่านวัดเกตฯ 2.3 มองวิถี ผ่านศิลปะ – สถาปัตยกรรม ย่านวัดเกตฯ 2.4 วิธีการดาเนินงาน

1 2 3 6 7 7 8 8 8 10 11 12 26 37 46


หน้า 2.4.1 กระบวนการก่อนการดาเนินงาน (Pre – Production) 2.4.2 กระบวนการระหว่างการดาเนินงาน (Production) 2.4.3 กระบนการหลังการดาเนินงาน (Post – Production)

บทที่ 3 สรุปผลโครงการนาเสนอและจัดแสดงงานศิลปะและวัฒนธรรม ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาสหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม ประจาปีการศึกษา 2558 3.1 สรุปข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ 3.2 สรุปความคิดและความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม 3.3 ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วมโครงการ 3.4 อุปสรรค การแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ 3.5 สรุปผลการดาเนินงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก ถอดเทปเสวนา หัวข้อเรื่อง “ชุมชนวัดเกตการาม ในศตวรรษที่ 21” หนังสือขอความอนุเคราะห์ในการใช้สถานที่ หนังสือขอความอนุเคราะห์ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม แบบร่างในการออกแบบ LOGO งานออกแบบสื่อในการจัดนิทรรศการ

46 55 66

67 68 69 70 71 72 74


รายชื่อนักศึกษา สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม รุ่นที่ 7 กระบวนวิชา วิธีการนาเสนองานศิลปะและวัฒนธรรม บว.ศว.717 (918717) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558


รายชื่อนักศึกษา สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม รุ่นที่ 7 กระบวนวิชา วิธีการนาเสนองานศิลปะและวัฒนธรรม บว.ศว.717 (918717) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558


บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักกำรและเหตุผล เมืองเชียงใหม่เติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง สิ่งที่ตามมากลับกลายเป็นผลกระทบซึ่ง เป็นปัญหาหลายประการ มีนายทุนจากพื้นที่อื่นเข้ามาครอบครองพื้นที่และประกอบการธุรกิจ แทนที่คนเชียงใหม่ดั้งเดิม ส่งผลให้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจไม่กระจายไปยังคนในพื้นที่ ยิ่งไปกว่า นั้ น ยั งมีปั ญหาการเพิ่มขึ้น ของประชากร ผู้ ใช้แรงงานต่างอพยพเข้ามาในเมื องเชียงใหม่ ทั้ง แรงงานต่างด้าว แรงงานจากพื้นที่สูง เกิดการแย่งชิงทรัพยากรที่อยู่อาศัย เกิดเป็นชุมชนแอดอัด ในหลายพื้นที่ในเมืองเชียงใหม่ ตามมาด้วยปัญหายาเสพติด การเอาเปรียบแรงงานทั้งหมดได้ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงต่อวิถีชีวิตของคนเชียงใหม่อย่างรุนแรงและรวดเร็ว การพบปะสังสรรค์ การมีกิจ กรรมร่ ว มกัน ระหว่างบ้านใกล้ เรือนเคียง หรือแม้แต่ระหว่างเครือญาติที่เริ่มหายไป ประเพณี สังคม วัฒนธรรมแปรเปลี่ยนตามกระแสสังคมเร่งรีบ กระแสสังคมแห่งการเอารัดเอา เปรียบ ความงดงามทางวัฒนธรรมเสื่อมลง (ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง, 2549) ที่สาคัญ การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่กระทาจากภายนอกได้เข้าไปทาลายหรือลดความสาคัญความโดดเด่น และมีคุณค่าของเมืองในแง่ของความเป็นล้า นนาทั้งสถาปัตยกรรมที่ทรงคุณค่า ประเพณีล้านนา ดั้งเดิม ศิลปวัฒนธรรม การแต่งกาย การพูดจา อาหารการกินการอยู่อาศัยถูกลดคุณค่า ทาให้ เมืองเชียงใหม่มีลักษณะการพัฒนาที่ละเลยการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมจนกลายเป็นการพัฒนาที่ ไม่สมดุลและไม่ยั่งยืน จึงนามาสู่แนวคิดของการเพิ่ มศักยภาพของพิพิธภัณฑ์ให้มีชีวิต เพื่อให้เป็น แหล่งเรียนรู้แก่ผู้คนที่อ่อนล้าจากปัญหาเศรษฐกิจ สร้างรายได้ให้ชุมชน แบ่งปัน และเพิ่มคุณค่า ของชีวิตผู้คนย่านวัดเกตการามอย่างเต็มเปี่ยม เนื่องจากย่านวัดเกตการามมีสิ่งของที่ควรได้รับการอนุรักษ์จานวนมาก ชาวบ้านจึงได้ มี การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วัดเกตการาม เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2542 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้แก่เยาวชน โดยใช้กุฏิพระครูชัยศีลวิมล (พ.ศ. 2429 – 2500) เดิมเรียกกันว่า "โฮงตุ๊เจ้าหลวง" ปรับเป็น


2

อาคารของพิพิธภัณฑ์ โดยอาศัยความร่วมมือของคนในชุมชนที่เรียกว่า “ศรัทธาวัดเกต” ถือได้ว่า พิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีต้นทุนทางวัฒนธรรมทุนทางสังคมและทุนมนุษย์อยู่แล้ว ซึ่งการจะทาได้นั้นจาเป็นต้องมีการศึกษาและทางานร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างทิศทางที่ เหมาะสมจากบริบทที่มีอยู่ของพิพิธภัณฑ์วัดเกตการาม ให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพสูงสุด โดย ทางานร่วมมือใน 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายชุมชนวัดเกตการาม ที่เป็นฝ่ายขับเคลื่อนพร้อมกับ ฝ่ายวิชาการ ที่เป็นฝ่ายเติมเต็มเพื่อให้พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ “มีชีวิต” อย่างสมบูรณ์ อันจะนามาซึ่งการเติมเต็มชีวิต ให้แก่เมืองเชียงใหม่และผู้คนต่อไปในอนาคต ดังนั้น สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย และนักศึกษาใน กระบวนวิชาวิธีการนาเสนองานทางศิลปะและวัฒนธรรม (918717) ได้เล็งเห็นการคุณค่าของ การพัฒนางานด้านศิลปะและวัฒนธรรม การรักษาคุณค่า และการเพิ่มมูลค่าให้เกิดประโยชน์ จึง ได้ จั ด โครงการน าเสนอและจั ด แสดงงานศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมของนั ก ศึ ก ษาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม ประจาปี 2559 ขึ้น ในวันที่ 24 เมษายน 2559 ร่วมกับ สาขาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย แห่งชาติ (สกว.) โดยเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะของการบูรณาการระหว่างรายวิชา ในรูปแบบการนาเสนองานนิทรรศการ (Exhibitions) 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสนาเสนอการจัดการและฝึกปฏิบัติงานทางด้านการ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม ผ่านการทางานร่วมกัน ฝึกคุณธรรม จริยธรรมในการทางาน ใน ลักษณะของการ บูรณาการระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียนกับนอกห้องเรียน ในกระบวนวิชา วิธีการนาเสนองานทางศิลปะและวัฒนธรรม (918719) 1.2.2 เพื่อการพัฒนางานศิลปะและวัฒ นธรรม รักษาคุณค่า และเพิ่มมูลค่าให้ เ กิด ประโยชน์ ผ่านวิธีการนาเสนอในรูปแบบของการจัดนิทรรศการ (Exhibition) 1.2.3 เพื่อบริการและเผยแพร่องค์ความรู้แก่ชุมชนและผู้ที่สนใจ ให้มีความรู้และเข้าใจ ในการรักษาคุณค่าและการเพิ่มพูนมูลค่าในงานศิลปะและวัฒนธรรม


3

1.2.4 เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษาน าความรู้ ด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพไปใช้ ใ นการจัด กิ จ กรรมที่ ด าเนิ น การโดยนัก ศึ ก ษาด้า ยกิ จ กรรมวิ ช าการ ที่ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต ที่พึง ประสงค์ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม และกิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม 1.3 ผลผลิต/ตัวชี้วัด 1.3.1 การแปรผล ของจานวนผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ และได้รับความรู้ ข้อมูลของผู้เข้ำร่วมโครงกำร

เพศ

กำรแปรผล ร้อยละ 42

ชาย

ร้อยละ 58 ร้อยล 63 ร้อยละ 33 ร้อยละ 4 ร้อยละ 4 ร้อยละ 19 ร้อยละ 58 ร้อยละ 19 ร้อยละ 37 ร้อยละ 37 ร้อยละ 26 ร้อยละ 26

หญิง ๑๘ - ๓๙ ปี

อำยุ

๔๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปีขึ้นไป ประถมศึกษา

กำรศึกษำ

มัธยมต้น –ปลาย / ปวช. / ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโทหรือสูง นักเรียน/นักศึกษา

อำชีพ

ประชาชนชุมชนวัดเกต ประชาชนนอกชุมชนวัดเกต อื่นๆ

หัวข้อ ควำมพึงพอใจด้ำน กำรประชำสัมพันธ์

๑.ทราบข่าวสาร ข้อมูลการประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมตามสื่อต่างๆ

ดีมำก

กำรแปรผล ดี พอใช้

ร้อยละ47 ร้อยละ 47

ร้อยละ 6

ควร ปรับปรุง


4

ควำมพึงพอใจด้ำน กำรจัดนิทรรศกำร

๑.หัวข้อ เนื้อหา รูปแบบและวิธีการ นาเสนอข้อมูลมีความเหมาะสม น่าสนใจ ๒.สถานที่และบรรยากาศในการจัด นิทรรศการมีความเหมาะสม

ผลรวม

ควำมพึงพอใจด้ำน กำรจัดเสวนำ

๑.หัวข้อและเนื้อหาสาระในการจัดเสวนา มีความเหมาะสม และน่าสนใจ ๒.ระยะเวลาในการจัดเสวนามีความ เหมาะสม ๓.สถานที่และบรรยากาศในการจัดจัด เสวนามีความเหมาะสม ๔.การเปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมได้มี ส่วนร่วมและแลกเปลีย่ นเรียนรู้

ผลรวม ควำมพึงพอใจและ ประโยชน์ที่ได้รับจำก กำรเข้ำร่วมกิจกรรม

ผลรวม

๑.สิ่งอานวยความสะดวกที่ใช้ในการจัด กิจกรรมเพียงพอและเหมาะสม ๒.การจัดกิจกรรมมีความหลากหลายและ น่าสนใจ ๓. ท่านมีความพึงพอใจที่ได้เข้าร่วม กิจกรรม

ร้อยละ58 ร้อยละ 35 ร้อยละ53 ร้อยละ 42 ร้อยละ ร้อยละ 55.5 38.5 ร้อยละ60 ร้อยละ 35 ร้อยละ51 ร้อยละ 42 ร้อยละ53 ร้อยละ 45 ร้อยละ ร้อยละ 60.5 28 ร้อยละ ร้อยละ 56 38 ร้อยละ ร้อยละ 56 42 ร้อยละ ร้อยละ 51 42 ร้อยละ ร้อยละ 56 42 ร้อยละ ร้อยละ 54 42

ร้อยละ 7 ร้อยละ 5 ร้อยละ 6 ร้อยละ 5 ร้อยละ 7 ร้อยละ 2 ร้อยละ 11.5 ร้อยละ 6 ร้อยละ 2 ร้อยละ 7 ร้อยละ 2 ร้อยละ 4

ร้อยละ 2

ร้อยละ 1

จากการเก็บข้อมูลภายในงาน โดยการสารวจความคิดเห็นกลุ่มประชากรได้แก่ ผู้ที่มา ลงทะเบียนเข้าร่วม โดยมีความคิดเห็นตามลาดับดังนี้ ด้านการประชาสัมพันธ์ในการจัดกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดี มากและดี โดยคิดเป็นร้อยละ 47 มีความพึงพอใจในประดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 6 ของผู้เข้าร่วม กิจกรรมทั้งหมด


5

ด้านการจัดนิทรรศการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก โดยคิดเป็น ร้อยละ 55.5 มีความพึงพอใจในระดับดี โดยคิดเป็นร้อยละ ร้อยละ 38.5 มีความพึงพอใจใน ประดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 6 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ด้านการจัดเสวนา ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก โดยคิดเป็นร้อยละ 56 มีความพึงพอใจในระดับดี โดยคิดเป็นร้อยละ ร้อยละ 38 มีความพึงพอใจในประดับน้อย คิด เป็นร้อยละ 6 มีความเห็นว่าควรปรับปรุงด้านการเสวานาในเรื่องของระยะเวลาในการจัดเสวนา ร้อยละ 1 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ความพึงพอใจและประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความ พึงพอใจในระดับดีมาก โดยคิดเป็นร้อยละ 54 มีความพึงพอใจในระดับดี โดยคิดเป็นร้อยละ ร้อยละ 42 มีความพึงพอใจในประดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 4 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 1.3.2 ผู้ที่สนใจ มีความรู้และความเข้าใจในด้านการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม ได้ ตระหนั กถึง การอนุ รั ก ษ์ รักษา ทรัพยากรทางวัฒ นธรรมของชุ มชนให้ เ กิ ด ความยั่ง ยืน และ ก่อให้เกิดมูลค่าต่อไป 1.3.3 นักศึกษาได้ทากิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะบูรณาการระหว่างการเรียนรู้ ในห้องเรียนกับนอกห้องเรียน ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่ อให้มีทักษะ การปฏิบัติงานในโลกแห่งการทางานจริง 1.3.4 นักศึกษานาความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมที่ ดาเนินการ โดยนักศึกษาด้านกิจกรรมวิชาการ ทีส่ ่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ กิจกรรมเสริมสร้าง คุณธรรมและจริยธรรม และกิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ตัวชี้วัดประกันคุณภำพกำรศึกษำ ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ข้อ 3 ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน หรือจากการทาวิจัย


6

ข้อ 4 มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงาน หรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนฯ ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 : ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัด ให้กับนักศึกษา ข้ อ 3 มี โ ครงการหรื อ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาพฤติ ก รรมด้ า น คุณธรรมจริยธรรมที่กาหนดฯ โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสาเร็จที่ชัดเจน ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 : ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร ข้ อ 3 มี ก ารจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาประสบการณ์ ท างวิ ช าการและ วิชาชีพแก่นักศึกษา ข้อ 5 มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 : ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ข้อ 3 มีการส่งเสริมให้นักศึกษานาความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ ในการจัดกิจกรรมที่ดาเนินการโดยนักศึกษาฯ

1.4 ลักษณะของโครงกำร และกำรตอบสนองยุทธศำสตร์บัณฑิตวิทยำลัย [ ] โครงการใหม่ ไม่อยู่ในแผนปฏิบัติการประจาปี 2558 [ ] โครงการ ภายใต้แผนงานประจา [ ] โครงการ ภายใต้แผนกลยุทธ์ [ ] อื่น ๆ โปรดระบุ ............................................................................................ ตอบสนองยุทธศำสตร์ [ ] ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริม เพิ่ม และผลักดัน หลักสูตร โครงการ และ ความร่วมมือต่าง ๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ


7

โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของการวิจัยและความเป็น มาตรฐานสากล [ ] ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒ นาบุคลากรให้ความรู้และประสิ ทธิภาพในการ ทางานที่สู งขึ้น เสริมสร้างขวัญและกาลั งใจในการ ท างาน เพื่ อ ให้ ทุ ก คนมี ค วามสุ ข มี ค วามก้ า วหน้ า ในขณะที่มีความรับผิดชอบและคุณธรรมต่อตนเอง และสังคม [ ] ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นต่าง ๆ ทั้ง ในเรื่อง ของเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เพื่อประสิทธิภาพใน การทางาน [ ] ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พั ฒ นาระบบการรายงาน การตรวจสอบ และ ประเมินผลอย่างสม่าเสมอ เพื่อการมีส่วนร่วมในการ พัฒนาบัณฑิตวิทยาลัย 1.5 ผู้รับผิดชอบโครงกำร นักศึกษาสหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม รหัส 58 กระบวนวิชา วิธีการ น าเสนองานทางศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม (918717) และสหสาขาวิ ช าการจั ด การศิ ล ปะและ วัฒนธรรม งานสหวิทยาการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

1.6 วัน เวลำ และสถำนที่ดำเนินกำร จัดแสดงงานนิทรรศการ / กิจกรรมเสวนา ในวันอาทิตย์ที่ 24 เมษายน 2559 ณ วัดเกต การาม ตาบลวัดเกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่


8

1.7 ผู้เข้ำร่วมโครงกำร 1) สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2) สาขาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3) สานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) 4) โครงการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงประวัตศาสตร์ และวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี 1.8 ผู้เสวนำ 1) พระครูสันติเจติยากร เจ้าอาวาสวัดเกตการาม 2) คุณดนัย เลียวสวัสดิพงศ์ อดีตประธานหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ 3) คุณพงษ์ ตนานนท์ อดีตผู้อานวยการ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย 4) คุณประนอม เฉินบารุง อดีตผู้อานวยการศูนย์ประสานงานพื้นที่เศรษฐกิจนวัตกรรมอาหาร ภาคเหนือ สภาอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงใหม่ 5) รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ คณบดีคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

1.9 วิธีกำรและระยะเวลำดำเนินกำร 1.9.1 คณะนักศึกษาในแต่ละกระบวนวิชาออกแบบโครงการและปรับแก้ไข (1) นาเสนอโครงการและปรับแก้ไข


9

(2) ออกแบบ การจัดวางนิทรรศการ และแนวความคิด ตลอดจนเป้าหมายการ นาเสนอแต่ละจุดนิทรรศการ (Theme points) เพือ่ เตรียมการจัดทาในช่วงต่อไป (3) ออกแบบ เอกสาร, สื่ อ , บทความ, เขี ย นข่ า ว และหาแหล่ ง เพื่ อ การ ประชาสัมพันธ์ (4) ประเมินความก้าวหน้า ครั้งที่ 1 ตัวชี้วัด ปริมาณงาน เป้าหมายเทียบกับ ระยะเวลาที่กาหนด 1.9.2 ประชาสัมพันธ์ และขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานภายใน / ภายนอกมหาวิทยาลัย (1) ติดต่อขอความร่วมมือจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย (2) ประสานขอความอนุเคราะห์เพือ่ ขอใช้พื้นที่ (3) ขอความร่วมมือจากหน่วยงาน / องค์กรต่างๆ ช่วยประชาสัมพันธ์โครงการ (4) ติดต่อขอความร่วมมือจากหน่วยงานประชาสัมพันธ์ระดับมวลชน - สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์ (5) จัดทาและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อประเภท ไอที (Information technology) โดยแยกตามสื่อ ดังนี้ - ขอความร่วมมือประชาสั มพันธ์ผ่านเว็บไซต์ มหาวิทยาลัย บัณฑิต วิทยาลัย และหน่วยงานอืน่ ๆ ในมหาวิทยาลัยที่จัดให้มีเว็บไซต์ - ประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ านเว็บ ไซต์ ของสาขาวิ ช าการจั ด การศิ ล ปะและ วัฒนธรรม - ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ผ่ า น ฟ รี เ ว็ บ บ ล็ อ ก (Free Web block) เ ช่ น Facebook - ประชาสัมพันธ์ผ่านชุมชน และอื่น ๆ

1.9.3 จัดทาส่วนประกอบของนิทรรศการ ตามแผนที่วางในข้อ 1 1.9.4 ติดตามความคืบหน้างานของนักศึกษาที่ ร่วมนาเสนอ และฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องในการ ดาเนินงานเป็นระยะ เพือ่ ตรวจดูความก้าวหน้าของโครงการ 1.9.5 ประเมินความก้าวหน้า ครั้งที่ 2 ในสองส่วนงาน ตัวชี้วัด คือความเรียบร้อยของส่วน นิทรรศการ และความร่วมมือจากหน่วยงานที่คาดหวัง


10

1.9.6 ดาเนินการจัดกิจกรรม 1.9.7 ประเมินผล ครั้งที่ 3 ตัวชี้วัดจากกระบวนการประเมินผลครั้งที่ 1 - 2 และจากการจัด งานจริง เพือ่ สรุปบทเรียน นาวิเคราะห์สิ่งทีค่ วรปรับแก้ไข เพือ่ สร้างโมเดลการจัดงานในครั้งต่อไป 1.9.8 แสดงความขอบคุ ณ ต่ อ หน่ ว ยงานที่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความสั ม พันธ์ มิตรภาพที่ดีต่อกัน ทั้งนี้ จะเป็นการสร้างเครือข่ายทางศิลปะและวัฒนธรรม ระหว่างหลายภาค ส่วน หน่วยงานที่แตกต่างกันให้รู้จักและเข้าใจกันมากยิ่งขึน้ ตำรำงแสดงระยะเวลำกำรดำเนินงำน

กิจกรรมที่ดำเนินกำร

ระยะเวลำดำเนินกำร กุมภำพันธ์ 59 มีนำคม 59 เมษำยน 59

ลงสารวจพื้นที่ / ชุมชน ออกแบบและนาเสนอโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ จัดเตรียมงาน / นิทรรศการ ดาเนินการจัดงาน / นิทรรศการ ประเมินผลการดาเนินงาน จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน 1.10 งบประมำณ โดยได้รับงบประมาณการสนับสนุน จาก สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บั ณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลั ยเชียงใหม่ งบประมาณเงินรายได้ ประจาปีงบประมาณ 2559 แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาสาขาวิชา ฯ สนับสนุนจัดกิจกรรมในกระบวนวิชาของนักศึกษาสาขาวิชาฯ และงบประมาณสนับสนุนจาก สานักงานกองทุนสนันสนุนงานวิจัยแห่งชาติ (สกว.) เป็นเงินจานวน 40,000 บาท (สี่หมื่นบาท ถ้วน) รายละเอียดดังนี้


11

1. งบประมาณจากสหสาขาวิช าการจัดการศิล ปะและวัฒ นธรรม บัณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1.1. ค่าพิมพ์สูจิบัตร ขนาด A5 เป็นเงิน 10,000 บาท 1.2. ค่าจัดบอร์ดนิทรรศการกลุ่มคน เป็นเงิน 5,000 บาท 1.3. ค่าจัดบอร์ดนิทรรศการกลุ่มอาชีพ เป็นเงิน 5,000 บาท 1.4. ค่าจัดบอร์ดนิทรรศการกลุ่มสถาปัตยกรรม เป็นเงิน 5,000 บาท 1.5. ค่าจัดบอร์ดนิทรรศการกลุ่มศิลปะ เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) 2. งบประมาณสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนันสนุนงานวิจัยแห่งชาติ (สกว.) 2.1. ค่าเครื่องเสียง เป็นเงิน 5,000 บาท 2.2. ค่าเครื่องปั่นไฟ เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) รวมทั้งหมดเป็นเงิน 40,000 บำท (สี่หมื่นบำทถ้วน)

1.11 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1.11.1 ชุมชน และผู้ ที่ส นใจได้รับความรู้ ความเข้าใจในด้านการจัดการศิล ปะและ วัฒนธรรมเพิ่มมากยิ่งขึ้น 1.11.2 นักศึกษาได้นาเสนอการจัดการและฝึกปฏิบัติงานทางด้านการจัดการศิลปะและ วัฒนธรรม และการทางานร่วมกัน ที่เป็นการบูรณาการระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียน กับนอก ห้องเรียน โดยผู้เรียนได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติเพื่อให้มีทักษะการปฏิบัติงานในโลก แห่งการทางานจริง



บทที่ 2 อนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน ย่านวัดเกตฯ 2.1 การอนุรักษ์ผ้าปักเจ้าดาราฯ ผ้าปักโบราณผ้ากาปี๋ ของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ที่ทรงถวายไว้ที่วัดเกตการามผ้ากาปี๋หรือผ้า กั้งธรรม กาปี๋เป็นคากริยา หมายถึงหนึ่งปีจะนามาใช้งานหนึ่งครั้ง เป็นผ้าที่ใช้ประดับโต๊ะเวลาตั้งธรรม หลวง (การเทศน์มหาชาติ) เป็นผ้าที่ใช้สาหรับการขึงปิดบริเวณธรรมมาสเวลาสวดเทศน์มหาชาติเพื่อมิให้ เห็นใบหน้าของพระที่สวดและถือเป็นการถวายทานเพื่อค้าจุ้นพระพุทธศาสนา

ผ้ากาปี๋ชุดของพระราช

ชายาเจ้าดารารัศมี ทรงสร้างขึ้นถวายวัดเกตการาม โดยประกอบด้วยผ้ากั้งสามผืน มีลักษณะเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีการตกแต่งลวดลายบนผืนผ้าเป็นลวดลายสัตว์ในป่าหิมพานต์ ซึ่งคาดว่าได้รับอิทธิพลมา จากรูปแบบการปักในสมัยรัตนโกสินทร์ ผ้าผืนแรกเป็นสีดา ทาจากผ้าแพรจีน ปรากฏตราสัญญาลักษณ์อักษรย่อ “อด” ไขว้กัน ซึ่งมีที่มา คือพระนามของพระเจ้าอินทวิชรานนท์พระราชบิดา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่เจ็ดและพระนามของ พระองค์เอง ด้านล่างมีการประพันธ์บทร้องกรองเป็นกลอนสุภาพ ทั้งภาษาไทยและที่เป็นอักษรธรรม ล้านนา รวมทั้งมีลวดลายกิ่งไม้ประกอบอยู่กับตัวอักษร ซึ่งลวดลายทั้งหมดปักจากดิ้นเงินที่นาเข้าจาก ต่างประเทศ มีการขลิบขอบผ้าด้านนอกด้วยผ้าแพรลาย พัตราภาพผ่องแผ้ว

พรรณราย

งามสะอาดลวดลาย

ปักล้วน

เตือนจิตพินิศชาย

เนตร์เพ็ง ชมเฮย

ต้องจิตติดใจถ้วน

ทุกผู้พิศเพลิน

โคลงสีส่ ุภาพ ที่ปรากฏบนผ้ากาปี๋


13

ผ้าผืนที่สอง เป็นผ้ากามะหยี่หลายสี มีสีชมพู สีเขียวอ่อน สีครีม เป็นขอบนอก ปักเป็นลายพรรณ พฤกษาด้วยเลื่อมและดิ้น ตรงกลางผืนเป็นกามะหยี่สีม่วงปักเป็นลายครุฑยุดนาคด้วยเลื่อม ดิ้นและเส้น ไหมสีต่างๆ ชายผ้ามีการตกแต่งด้วยการสานแล่งเงินเป็นตาข่ายสามเหลี่ยมและช่อดอกจาปี โดยเทคนิค การปักผ้ากั้งทั้งสามผืนเป็นการใช้เทคนิคการปักหักทองขวาง เป็นวิธีการปักดิ้นเงินหรือดิ้นทอง โดยวาง เรียงเส้นดิ้นให้ขวางตัวลาย เช่น ถ้าปักใบไม้ก็จะวางเรียงเส้นดิ้นทางขวางแทนการเรียงเส้นดิ้นไปตามความ ยาวของรูปใบไม้ การที่วางเส้นดิ้นทางขวาง เส้นดิ้นจะไม่แตกหรือแยกกัน เพราะเกาะพื้นได้แน่นกว่าการ เรียงเส้นดิ้นตามความยาว ถ้าเส้นดิ้นมีความยาวมากอาจจะทาให้ลายแยกจากกัน วิธีปักดิ้นวิธีนี้เรียกว่าปัก ดิ้นหักทองขวาง ส่วนผ้าผืนที่สาม เป็นผ้ากามะหยี่หลายสี โดยมีสีชมพู สีเขียวอ่อน สีครีมเป็นขอบนอก ปักเป็นลาย พรรณพฤกษาด้วยเลื่อมและดิ้น ตรงกลางตรงกลางเป็นผ้ากามะหยี่สีม่วงปักลายสิงห์ด้วยเลื่อม ดิ้นและเส้น ไหมสีต่างๆ ซึ่งตัวสิงห์จะปักในลักษณะนูน โดยการทาให้นูนนั้นต้องใช้นุ่นลงก่อนและจะปักดิ้นทองทับลง ไป ชายผ้ามีการตกแต่งด้วยการสานแล่งเงินเป็นตาข่ายสามเหลี่ยมและช่อดอกจาปี


14


15

โครงร่าง VTR อนุรักษ์สืบสานเล่าขานย่านวัดเกตฯ คิว ภาพ บท/เสียง เวลา เปิด เพลงประกอบ สหสาขาวิ ช าการจั ด การศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม บั ณ ฑิ ต 15 วิ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และชุมชนชาววัดเกตการาม เปิด เสียงอลังการ 15 วิ อนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน ย่านวัดเกตฯ


16

1

ภาพชุมชนย่านวัดเกตใน ในสมัยก่อน วัดเกตเป็นย่านการค้าที่มีความเจริญรุ่งเรื อง 1 นาที อดีต มาก เป็นชุมชนใหญ่ เนื่องจากย่านนี้ ตั้งอยู่ริมแม่น้าปิ งที่ เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่มาหล่อเลี้ยงประชากรที่อาศัย อยู่ทั้งสองฟากฝั่ง ทุกบ้านที่ทาการค้าจะมีท่าเรือเป็นของ ตนเอง ใช้เรือหางแมงป่อง (หรือเรือสะดอ เรือสีดอ เรือแม่ ปะ) เป็นพาหนะขึ้นล่องตามลาน้าปิง ต่อมาในปี พ.ศ. 2464มีการสร้างทางรถไฟมาถึง เชียงใหม่ และเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2477 มีอากาศ ยานมาลงที่สนามบินเชียงใหม่เป็นครั้งแรก การคมนาคม ทางน้าถูกลดบทบาทลง เนื่องจากมีความยากลาบากกว่า ทั้งยังกินเวลาและเสียค่าใช้จ่ายสูง ย่านวัดเกตจึงลดบทบาท ทางการค้ากลายเป็นย่านที่อยู่อาศัยเพียงอย่างเดียว คนที่อยู่ ในย่านนี้ส่วนใหญ่ก็คือลูกหลานของคนที่มาตั้งถิ่นฐานดั้งเดิม และแม้จะมีบางคนย้ายออกไปอยู่ที่อื่นแล้วก็ตาม แต่ยังคงมี สายใยผูกพันกับย่านนี้อยู่

2

ท่านเจ้าอาวาส

ได้เล่าถึงการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข แม้ชุมชนวัดเกตจะมี 2 นาที ความแตกต่างทั้งทางด้านเชื้อชาติและศาสนา หรือด้านอื่นๆตามที่เห็นเหมาะสม

3

ภาพอาคาร ร้านค้า ศาสน ความเจริญของย่านวัดเกตยังปรากฏจวบถึงทุกวันนี้ 1 นาที สถาน จากอาคารที่เคยเป็นที่อยู่อาศัย บริษัทห้างร้านของชุมชน ชาติต่างๆ หากเราเดินในวันนี้เราจะพบศาสนสถานของทั้ง ชาวพุ ท ธ คริ ส ต์ อิ ส ลามและชาวซิ ก ข์ พบบ้ า นเรื อ นที่ สวยงามอายุร้อยปี ทั้งบ้านเรือนที่เป็นไม้และอาคารก่ออิฐถือปูน บางแห่งถูก ดัดแปลงเป็นร้านอาหาร


17

4

ภาพพิพิธภัณฑ์

เพลงประกอบ

15 วิ

5

ลุงสมหวัง ฤทธิเดช

ได้เล่าถึงจุดเริ่มต้นของพิพิธภัณฑ์และภารกิจ หรืออื่นๆ

2 นาที

6

ภาพสวยงามย่ า นเกตกา ด้ ว ยเป็ น ย่ า นเก่ า และส านึ ก ในการอนุ รั ก ษ์ ชุ ม ชน ท าให้ 1 นาที ราม ชาวบ้านย่านวัดเกตมีความน่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งก่อสร้าง ประเพณีวัฒนธรรมและอาหารการกิน สิ่งเหล่านี้คือภาพ สะท้อนความเป็นย่านวัดเกตที่มีความเจริญและมั่งคั่ง ซึ่ง มิได้หมายถึงมั่งคั่งทางด้านทรัพย์สินเท่านั้น แต่ยังมีความมั่ง คั่งทางด้านภูมิปัญญาชุมชนอีกด้วย ตัวหนังสือ เครดิตขอบคุณต่างๆ 15 วิ

ปิด


18

โครงร่าง VTR ผ้าปักพระราชชายาเจ้าดารารัศมี คิว

ภาพ ภาพสวยงามของวัดเกตการาม

เปิด

ภาพพิพิธภัณฑ์

เสียง/บท เพลงประกอบ

เวลา

CGเขียนว่า พิพิธภัณฑ์ชุมชนวัดเกตการาม Wat Gategaram Museum ถนนเจริญราษฎร์ ตาบลวัด เกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

30 วิ

เพลงประกอบ

1

15 วิ CGเขียนว่า เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๑๓ เมษายน ๒๕๔๓

2

พิพิธภัณฑ์วัดเกตการาม เป็นอาคาร ก่ออิฐถือปูนลักษณะผสมผสาน ระหว่างอาคารแบบจีนกับหลังคาจั่ว แบบไทย เรียกกันว่า “โฮงตุ๊เจ้า หลวง” เคยเป็นกุฏิของพระครูชัยศีล วิมล พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เกิดขึ้นจาก ความตั้งใจของคนกลุ่มหนึ่งที่จะเก็บ รักษาวัตถุโบราณ ศิลปวัตถุ ข้าวของ เครื่องใช้ของชาวเมืองเชียงใหม่ ที่จะ บอกเล่าอดีตอันรุ่งเรื่องให้กับ ลูกหลานในรุ่นต่อๆ ไป สิ่งที่นามาจัด

30 วิ


19

แสดงภายในพิพิธภัณฑ์ส่วนใหญ่ ได้รับบริจาคจาก คุณจรินทร์ เบน คุณอนันต์ ฤทธิเดช คุณบุญเสริม สาตราภัย และผู้ใจบุญท่านอื่นๆ

3

แม้การจัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์จะ ไม่ทันสมัยนัก แต่เต็มเปี่ยมไปด้วย คุณค่า คู่ควรแก่การศึกษา สิ่งของ ต่างๆ แยกไว้เป็นกลุ่มๆ เมื่อเดินเข้า มาภายในโถงทางเข้าของพิพิธภัณฑ์ ทางด้านขวาเป็นส่วนจัดแสดงหิ้ง พระ และพระพุทธรูปศิลปะพม่า ภายในห้องจัดแสดงถัดไปมีตู้กระจก วางเรียงรายเป็นแถว จัดแสดง สิ่งของหลากหลายชนิด ตั้งแต่ถ้วยโถ โอชาม เงินตราโบราณ และธนบัตร ต่างประเทศ พิมพ์ดีดเก่า พระพุทธรูป และพระพิมพ์ เครื่องใช้ ในศาสนา อาทิ วรรณกรรมโบราณ จารึกด้วยอักษรธรรมล้านนา ตาลปัตรของพม่า ภาพถ่ายของ เชียงใหม่ในอดีตที่หาดูได้ยาก เป็น ต้น

30 วิ


20

ในห้องเล็กๆ ติดกันเป็นส่วนจัดแสดง ผ้ากาปี (ผ้าปูโต๊ะสาหรับวางคัมภีร์) ลวดลายวิจิตร ปักด้วยดิ้นเงินดิ้นทอง ไฮไลท์สาคัญของห้องจัดแสดงนี้คือ ผ้ากาปีที่พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ถวายแด่วัดเกตการาม นอกจากนี้ยัง มีธงช้างเผือก ซึ่งใช้เป็นธงชาติไทย ในช่วงรัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๖ ด้วย สาหรับผู้ที่สนใจผ้าทอโบราณ และผ้าทอพื้นเมือง ที่พิพิธภัณฑ์วัด เกตการามแห่งนี้ก็มีเก็บรักษาไว้ในตู้ กระจก เพื่อให้ผู้สนใจได้เข้ามาเยี่ยม ชม อาทิ ผ้าซิ่นตีนจกแม่แจ่ม ผ้าซิ่น ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดเชียงใหม่ ที่ นับวันจะมีผู้สืบทอดน้อยลง เพราะ กรรมวิธีจกผ้านั้นเป็นงานละเอียด และค่อนข้างใช้เวลา

4

5

ภาพผ้าปักพระราชชายาเจ้าดารารัศมี

30 วิ

เพลงประกอบ 15 วิ CGเขียนถึง รายละเอียดของผ้า เช่น เป็นผ้าที่เรียกว่า ผ้ากาปี - Pha Gum Pee ผ้าที่ใช้สาหรับปูแท่นบูชา ใน พระพุทธศาสนา สมัยพระราชชายา เจ้าดารารัศมี ลักษณะของผ้าส่วนใหญ่ใช้มือทอ


21

และปักด้วยด้ายไหมสีต่างๆ เหตุที่เรียกว่าผ้ากาปี เนื่องจากใน หนึ่งปีจะใช้หนึ่งครั้ง โดยจะใช้ในการ สวดเทศน์มหาชาติ (มีปีละครั้ง) การคั่นด้วยภาพผ้าโบราณที่ พิพิธภัณฑ์วัดเกตวัตถุประสงค์คือ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงวิธีการ อนุรักษ์ผ้าโบราณกับผ้าโบราณของ วัดเกต เล่าถึงประวัติความเป็นมาของผ้าปัก ของพระราชชายาเจ้าดารารัศมีใน ส่วนที่จัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์วัดเกต

6

อ.ดอน

1 นาที

7

ภาพผ้าปักของที่จัดแสดง

เพลงประกอบ CGเขียนถึง รายละเอียดของผ้า เช่น เป็นผ้าที่เรียกว่า ผ้าซิ่นตุลยา ผ้าซิ่น ตีนจกแม่แจ่ม

15 วิ

8

อ.ดอน เล่าถึงขั้นตอนอนุรักษ์ผ้าโบราณ (1)

อ.ดอนเล่าถึง เช่น การอนุรักษ์ผ้าโบราณสามารถ ประยุกต์ใช้ได้

2 นาที


22

การเตรียมสมุนไพร การเตรียมอุปกรณ์ การต้มสมุนไพรกับผ้าฝ้าย

9

ภาพผ้าโบราณของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี

เพลงประกอบ CG รายละเอียดผ้า

15 วิ

10

อ.ดอน เล่าถึงขั้นตอนอนุรักษ์ผ้าโบราณ (2)

อ.ดอน เล่าถึง ขั้นตอนเตรียมทาความสะอาดผ้าที่ ต้องการอนุรักษ์

2 นาที


23

11

ภาพผ้าโบราณของพระราชชายาฯ

เพลงประกอบ CG รายละเอียดผ้า

15 วิ

12

อ.ดอน เล่าถึงขั้นตอนอนุรักษ์ผ้าโบราณ (3)

อ.เล่าถึงขั้นตอน การเตรียมเฟรมผ้า การเย็บสอยผ้าโบราณ วิธีการวางผ้าโบราณ ข้อแนะนาการดูแลผ้าโบราณ

2 นาที


24

13

14

ปิด

อ.ดอน

เพลงประกอบ CG รายละเอียดผ้า ธงช้างเผือก

15 วิ

กล่าวถึงคุณค่าของการอนุรักษ์ กล่าวถึงความภาคภูมิใจ เชิญชวนมาสัมผัสผ้าโบราณ และ เยี่ยมชมชุมชนย่านวัดเกต ฯลฯ

1 นาที

หากได้มีโอกาสได้มาเยี่ยมชมถนน สายวัฒนธรรม ย่านวัดเกตการาม ขอเชิญสัมผัสวิธีชุมชนย่านนี้ที่อยู่คู่ เมืองเชียงใหม่ เป็นชุมชนวัฒนธรรม รุ่งเรือง


25

เครดิต LOGO

สถาปัตยกรรมและศาสนาที่มีความ หลากหลายในแต่ละยุคสมัยในอดีต จนถึงปัจจุบัน ซึมซับกลิ่นไอ วัฒนธรรมของชาติต่างๆ ได้จาก อาคารบ้านเรือนที่งดงามตลอดสอง ฟากถนน โดยตลอดเส้นทางก็จะมี ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก และขนมดั้งเดิมชื่อดังให้เลือกลิ้มลอง ความอร่อยได้อีกด้วย ส่วนพิพิธภัณฑ์วัดเกตเปิดบริการทุก วัน ในเวลาแปดโมงเช้าถึงสี่โมงเย็น เพลงประกอบ รายละเอียดผู้สนับสนุน


26

2.2 หลากเชื้อชาติ หลายศาสนา สู่เส้นทางการค้า ย่านวัดเกตฯ ชุมชนวัดเกตเป็นชุมชนเก่าแก่ที่อยู่ในย่านเมืองเก่าของเมืองเชียงใหม่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของ แม่น้าปิง ซึ่งเป็นแม่น้าสายหลักของภาคเหนือตอนบน มีวัดเกตการาม ซึ่งต่อไปจะเรียกว่า “วัดเกต” เป็นศูนย์กลางของชุมชน ในยุคที่การค้าขายทางเรือเฟื่องฟู ทุกบ้ านที่ท้าการค้าจะมีท่าเรือเป็นของตนเอง ใช้เรือหางแมงป่องเป็นพาหนะในการค้าขาย และมีเรือแจวรับส่งสองฟากฝั่งแม่น้าปิง จึงท้าให้ถูกเรียกว่า “บ้านต้า” หรือ “บ้านท่า” (บ้านที่มีท่าน้​้าอยู่หน้าบ้าน แต่ปัจจุบันจะอยู่หลังบ้าน โดยหน้าบ้านจะเป็น ถนน) มีหลักฐานว่าชุมชนวัดเกตตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่นี้มาตั้งแต่ปลายสมัยการปกครองของพม่า (หรือ อาจจะก่อนหน้านั้น ) เนื่องด้วยมีการกล่าวถึงการใช้ท่าเรือวัดเกตว่า เมื่อพระเจ้ากาวิละ (พ.ศ.2317 – 2325) เสด็จกลับจากการเดินทางไปเข้าเฝ้ารัชกาลที่ 1 ที่กรุงเทพ พระองค์ได้มาขึ้นที่ท่าวั ดเกต (ธนิต ชุมแสง และคณะ, 2554 : 8) ย่านวัดเกตเริ่มมีความคึกคักมากตั้งแต่ช่วงปลายรัชกาลที่ 3 ต้นรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา ได้เติบโตมาขึ้นท่าวัดเกตกลายเป็นท่าเรือส้าคัญของเรือสินค้าจากที่ต่างๆ จนส่งผลให้ย่านวัด เกตกลายเป็นแหล่งพ้านักของพ่อค้าหลากหลายเชื้อชาติ เช่น ชาวอังกฤษเข้ามาตั้งบริษัทเบอร์เนียวค้าไม้ สัก กลุ่มหมอสอนศาสนาเข้ามาตั้งโรงพยาบาลแมคคอมิค โรงเรียนปริ้นส์รอแยลวิทยาลัย และโรงเรียน ดาราวิทยาลัย ชาวจีนได้เปิดร้านค้าขาย ดังนั้นจึงมีครอบครัวทั้งเชื้อจีนและคนเมืองตั้งบ้านเรือนประกอบ อาชีพค้าขายอยู่ในย่านนี้ สร้างฐานะจนร่้ารวยมั่งคั่ง สืบต่อมายังรุ่นลูกหลานในปัจจุบัน ขณะที่คนเมือง ส่วนหนึ่งยังท้าไร่ท้านาอยู่ ด้านหลังวัดเกตเคยเป็นที่นา และได้มีการเลิกท้านาในปี พ.ศ. 2504 ความ เจริญรุ่งเรืองย่านวัดเกตยังคงปรากฏหลักฐานให้เห็นจนทุกวันนี้ จากอาคารที่เคยอาศัยและบริษัทห้างร้าน ของชุมชนชาติต่างๆ ทุกวันนี้หากเดินไปยังย่านวัดเกตยังคงพบศาสนสถานทั้งของชาวพุทธ ชาวคริสต์ อิสลาม และ ชาวชิก พบบ้านเรือนที่ยังคงรูปแบบของสถาปัตยกรรม ที่มีอายุร่วม 100 ปี ทั้งบ้านเรือนที่ ท้าด้วยไม้สัก ซึ่งปัจจุบันยังมีบ้านไม้โบราณที่เป็นที่อยู่ของบรรพบุรุษสายตระกูลต่างๆ ยังอนุรักษ์ไว้ในย่าน นี้ และอาคารบางแห่งได้ถูกดัดแปลงเป็นร้านอาหาร และร้านค้า ย่านวัดเกตจึงเป็นที่รู้จักในฐานะย่านประวัติศาสตร์ที่ยังมีชีวิตอยู่ในเมืองเชียงใหม่เพราะ ย่านนี้ ยังคงเป็นย่านที่มีหลากหลายศาสนา หลากหลายเชื้อชาติ เป็นที่ตั้งของศาสนสถานถึงสี่แห่งคือ วัดเกตกา รามของชาวพุทธ สมาคมศรีคุรุสิงห์สภา (วัดชิกช์) ของชาวชิกข์ โบสถ์คริสตจักรของคริสเตียน และ มัสยิด อัล-ตักวาของชาวมุสลิม การอยู่ร่วมกันของชาวบ้านเป็นการอยู่ร่วมกันของผู้เคารพในความเป็นคนมีศักดิ์ เหมือนกัน เข้าใจในสัจธรรมของชีวิต รู้ว่า ทุกสิ่งล้วนเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไป โดยไม่สนใจความยากดีมีจน ของใคร มีการร่วมแรงร่ว มใจ ความเป็นส่วนรวม สามารถกระท้าประโยชน์ต่อส่ วนรวม จะเห็นได้ว่า ชาวบ้านย่านวัดเกตมีทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยู่ คือ ของเก่าในวัดเกตเริ่มจากการรักษาของเก่าโดยการ


27

อนุรักษ์อาคารเก่าที่มีความงดงามทางสถาปัตยกรรม ตลอดจนการเก็บรักษาคัมภีร์ใบลานที่อยู่ในหอธรรม เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อไปในอนาคต งานทั้งหมด ศรัทธาชาวบ้านร่วมกันระดมทุน ย่านวัดเกตุการาม แต่เดิมคือย่านค้าขายของชาวจีนและย่านชาวฝรั่งฝั่งตะวันออกของแม่น้าปิงเป็น ย่านที่รุ่งเรืองสูงสุดในยุคสุดท้ายของการค้าทางน้​้าของเชียงใหม่ ร่องรอยความเจริญรุ่งเรืองในอดีตที่ยังคง ปรากฏให้ เห็ นอยู่ ในปั จจุ บั นว่าถนนสายนี้คือศูนย์กลางการค้าขายที่ส้ าคัญของย่านวัดเกต คืออาคาร บ้านเรือนที่งดงามโดดเด่นด้วยสถาปัตยกรรมอันทรงคุณค่าตลอดสองฟากถนน ย่านชุมชนค้าขายของชาว จีนแห่งแรกในเชียงใหม่ คือ ย่านวัดเกตุ ที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานกว่าชุมชนชาวจีนแห่งใดในเชียงใหม่ ในเส้นทางผ่านชุมชนชาวซิกข์ ชาวอิสลาม ชาวขมุ และที่ตั้งของ บริษัท บริติชบอร์ เนียว ของชาวอังกฤษ สถานที่แห่งนี้จึงคับคั่งไปด้วยศิลปะ วัฒนธรรมและความหลากหลายทางสถาปัตยกรรม อีกทั้งเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว ดื่มกินในเวลากลางคืนและจับจ่ายซื้อของที่ระลึกในเวลากลางวัน ชาวบ้านย่านวัดเกตุจะเป็นผู้ที่ รักสงบและรักหวงแหนศิลปวัฒนธรรม จะเห็นได้ว่า ชุมชนวัดเกตการามเป็น ชุมชนที่รวมเอาทุกชนชาติทั้ง ไทย จีน พม่า ลาว ชาติพันธุ์ มาอาศัย รวมชนชาติโดยเกิดจากการไหลผ่านของการค้าขายผ่านเรือส้าเภา และภัยสงครามโลกของในยุคสมัยนั้น เกิดเป็น อารยธรรมลุ่มน้​้าปิงที่ก่อเกิดการรวมตัวตัวคนหลากหลาย เชื้อชาติ เพื่อการก่อตั้งแหล่งชุมชนโบราณย่านวัดเกตุการาม ชุนชนโบราณที่ยังคงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมแห่ง วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมในชุมชนนั้น ให้ประจักษ์แก่ส ายตาชนรุ่นหลั งให้ ได้ เป็น กรณีศึกษาต่อไป คนในชุมชนวัดเกตดาเนินชีวิตแบบเรียบง่าย ทุกคนมี ศูนย์รวมจิตใจอย่างเดียวกัน แต่ปัจจุบันวิถี ชีวิตและสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง ทุกชีวิตต้องดิ้นรนเพื่อการดารงชีวิต จากที่เคยต้องพึ่งพิงธรรมชาติกลับ กลายเป็นการใช้ธรรมชาติเป็นเครื่องมือในการต่อชีวิตให้กับตนเอง ปัจจุบันเทคโนโลยี มีความเจริญแบบ ก้าวกระโดด วิถีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงแม้กระทั่งอาชีพของผู้คนในย่านวัดเกต การประกอบธุรกิจที่ เปลี่ยนไปตามยุคสมัย เช่ น ธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร ร้านกาแฟ และ gallery จนในบางครั้งทาให้เรา หลาย ๆ คนลืมเลือนอดีตที่ทรงคุณค่า ลืมสิ่งสาคัญที่เป็นรากฐานที่ครั้งหนึ่งทาให้มนุษย์เรามีชีวิตจนถึงทุก วันนี้


28

2.2.1 การออกแบบนิทรรศการ

ลงพื้นที่สารวจพื้นที่ ที่จะจัดแสดง

ออกแบบครั้งที่ 1


29

ออกแบบครั้งที่ 1

ออกแบบครั้งที่ 2

การออกแบบครั้งที่ 2


30

แนวคิดในการออกแบบนิทรรศการ นิทรรศการภาพถ่ายเรื่อง หลากเชื้อชาติ หลายศาสนา สู่เส้นทางการค้า ย่านวัดเกตฯ มีเนื้อหา เกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในย่านวัดเกตฯในอดีตจนถึงปัจจุบัน เน้นชัดในเรื่องของ คนและอาชีพ ได้แบ่งการ นาเสนอเป็น 3 บอร์ดนิทรรศการ ออกแบบโดยใช้ชุดสีจากชุดสีของงานโดยรวม โดยให้มีลั กษณะเด่นคือ พระธาตุของวัดเกตฯในบริ บ ทของเนื้อหาในด้านย่านวัดเกตการาม และเน้นการนาเสนอโดยใช้สื่อที่ ทันสมัย คือ การใช้แอพพลิเคชั่นแสดงภาพถ่ายที่คนทั่วไปมักใช้งาน เรียกว่า Instagram โดยติดแฮชแทก ว่ า #watketwayoflife เป็ น การน าเสนอภาพถ่ า ยในอี ก ด้ า นหนึ่ ง นอกเหนื อ จากภาพถ่ า ยบนบอร์ ด นิทรรศการ

แอพพลิเคชั่น Instagram


31

การออกแบบในส่วนของบอร์ดนิทรรศการ

เนื้อหาที่ใช้ในบอร์ดนิทรรศการช่วงที่ 1

ย่านวัดเกตการาม เป็น พื้นที่สาคัญอีกย่านหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ เป็นชุมชนที่อยู่ติดแม่น้าปิง ทางด้านทิศตะวันออก อดีตเคยเป็นย่านที่มีความเจริญทางการค้า มักใช้การสัญจรทางเรือล่องไปค้าขาย ทางเมืองตาก กรุงเทพฯ และเมืองอื่น ๆ ดังนั้นจึงมีครอบครัวทั้งเชื้อสายจีนและคนเมือง ตั้งบ้านเรือน ประกอบอาชีพค้าขายและใช้จักรยานเป็นพาหนะในการประกอบอาชีพ จนสามารถสร้างฐานะร่ารวยมั่งคั่ง สืบต่อมายังลูกหลานในปัจจุบัน


32

เนื้อหาที่ใช้ในบอร์ดนิทรรศการช่วงที่ 2

ชุมชนย่านวัดเกตมีความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ โดยอยู่ร่วมกันอย่างมี คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งความหลากหลายทางเชื้อชาติศาสนาไม่ใช่ประเด็นสาคัญ หากจะแบ่งกลุ่มกันตามการ นับถือศาสนา ศาสนาพุทธจะเป็นศาสนากลุ่มใหญ่ที่สุด รองลงมาคือศาสนาคริสต์และอิสลามตามลาดับ โดยคนในแต่ละศาสนาได้ไปรวมกลุ่มกันเพื่อทากิจกรรมต่ าง ๆ ทั้งที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับศาสนา อื่น ทั้งนีแ้ ต่ละกลุ่มอาจจะมีความเหลื่อมซ้อนในเชิงความสัมพันธ์กับกลุ่มอื่นอยูบ่ ้าง คนในชุมชนวัดเกตดาเนินชีวิตแบบเรียบง่าย ทุกคนมี ศูนย์รวมจิตใจอย่างเดียวกัน แต่ปัจจุบันวิถี ชีวิตและสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง ทุกชีวิตต้องดิ้นรนเพื่อการดารงชีวิต จากที่เคยต้องพึ่งพิงธรรมชาติกลับ กลายเป็นการใช้ธรรมชาติเป็นเครื่องมือในการต่อชีวิตให้กับตนเอง


33

เนื้อหาที่ใช้ในบอร์ดนิทรรศการช่วงที่ 3

ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความเจริญแบบก้าวกระโดด วิถีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงแม้กระทั่งอาชีพ ของผู้คนในย่านวัดเกต การประกอบธุรกิจที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย เช่น ธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร ร้าน กาแฟ และ gallery จนในบางครั้ งทาให้ เราหลาย ๆ คนลืมเลือนอดีตที่ทรงคุณค่า ลืมสิ่งสาคัญที่เ ป็น รากฐานที่ครั้งหนึ่งทาให้มนุษย์เรามีชีวิตจนถึงทุกวันนี้


34

ป้าย Diecut รูป iPhone สาหรับถ่ายภาพ

ภาพถ่ายที่ใช้ในการจัดนิทรรศการจานวน 16 ภาพ


35

2.2.2 วัสดุ – อุปกรณ์ 1) ไวนิลนิทรรศการขนาด 200 x 200 เซนติมเตร จานวน 3 ชิ้น 2) โครงไม้ขนาด 200 x 200 เซนติเมตร พร้อมฐานตั้ง 3 ชิ้น 3) ภาพถ่ายติดบนโฟมบอร์ดคละขนาด จานวน 16 ภาพ 4) ไวนิลไดคัทรูปไอโฟน ขนาด 180 x 90 เซนติเมตร พร้อมฐานตั้ง 5) ต้นไม้ประดับตกแต่ง 6) ก้อนอิฐ 7) รถจักรยาน 8) หมวก 9) โต๊ะวางของ 10) ขวดโหลแก้ว 11) ขนมโบราณแบบแห้ง 12) ร่ม 13) ผักและผลไม้ประดับตกแต่งจักรยาน 14) ตะกร้า 2.2.3 ภาพประกอบวันจัดแสดง


36


37

2.3 มองวิถี ผ่านศิลปะ - สถาปัตยกรรม ย่านวัดเกตฯ ย่านวัดเกตการามถูกเปลี่ ยนบทบาทจากการเป็นย่านเศรษฐกิจที่ส้าคัญของเมืองเชียงใหม่ แต่ ร่องรอยความเจริญรุ่งเรืองที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และสถาปัตยกรรม ยังคงปรากฏให้เห็นได้จากศา สนสถาน อาคารบ้านเรือนที่มีศิลปสถาปัตยกรรมอันหลากหลายที่เกิดจากการผสมผสานอย่างลงตัว ที่ แสดงถึงร่องรอยความเจริญรุ่งเรืองของชุมชนวัดเกตเมื่อครั้งก่อนการเปลี่ยนแปลงของระบบการคมนาคม ขนส่ง จึงท้าให้ชุมชนวัดเกตเป็นย่านประวัติศาสตร์ที่ยังมีชีวิต บอกเล่าเรื่องราวในอดีตให้ชนรุ่นหลังได้รับรู้ และภาคภูมิใจในชุมชนของตน จะเห็นได้ว่าชุมชนวัดเกตมีพัฒนาการอย่างยาวนาน นับจากประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่น ฐาน ด้ว ยการสร้ างวัดเกตการามขึ้น ในปี พ.ศ.1971 (หน่ว ยอนุรักษ์ฯ , 2552 : 8) ณ วันนี้ ชุมชนวัดเกตมีอายุกว่า 580 ปี และเป็นที่รู้จักในนามของย่านประวัติศาสตร์ที่มีชีวิตของเมืองเชียงใหม่ ด้วยเป็นที่อยู่อาศัยของคนเก่าแก่ที่อยู่ต่อเนื่องกันมายาวนาน และเป็นที่อยู่ของคนต่างชาติ ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม (หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดเชียงใหม่, 2554 : 9) จากการศึกษาประวัติศาสตร์ ชุมชนวัดเกตุ เป็นชุมชนโบราณที่ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้าปิงด้านตะวันออก เกิดจากชนหลายเชื้อชาติ ไม่ว่าจะเป็นชาวจีน ชาวฝรั่ง และชาวพื้นเมือง สามารถดูได้จากรูปแบบของ สถาปั ตยกรรม ที่ยั งหลงเหลื อมาจนถึงในปัจจุบันนี้ มีวัดเกตุการามอยู่ศูนย์กลางระหว่างชุมชน การ ก่อสร้างอาคารบ้านเรือน เริ่มขึ้นอย่างจริงจังช่วงหลัง พ.ศ. ๒๓๓๙ หรือหลังการสถาปนาเมืองเชียงใหม่ เป็นประเทศราชของกรุงรัตนโกสินทร์นี้เอง ก่อนหน้าที่รถไฟจะมาถึงเชียงใหม่ ที่นี่เป็นชุมชนที่เป็นท่าน้​้า ส้าคัญ ของการเดินทางเรือระหว่างกรุงรัตนโกสินทร์ (กรุงเทพฯ) มายังเมืองเชียงใหม่ และเมืองอื่น ๆ ที่อยู่ ทางใต้ลงไป ย่านวัดเกตุจึงเริ่มมีความส้ าคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามความจ้าเป็นทางเศรษฐกิจของเมื อง เชียงใหม่ในยุคนั้น อารยธรรมย่ านวัดเกตุในหมวดสถาปัตยกรรม ของชุมชนย่านวัดเกตุการาม พบสิ่ งก่อสร้างใน ลักษณะที่อยู่อาศัยจ้านวนมาก แต่การได้มาซึ่ งข้อมูลอย่างเป็นทางการนั้นพบเพียงจ้านวนหนึ่งเท่านั้น ได้ พบองค์ความรู้ที่สร้างความประทับใจนั่นคือ การพบว่า ไม่ใช่เพียงแค่ชาวพื้นเมือง ชาวสยาม ชาวพม่า ชาว จีนและฝรั่งเท่านั้น ยังพบกลุ่มชาติพันธุ์ขมุ ลาว ที่เข้ามาแฝงตัวด้วยการแต่งงานกับคนพื้นที่นั้นๆอีกด้วย ทั้งนี้ อาคารที่ปรากฏในชุมชนย่านวัดเกตุการามนั้น ยังคงซึ่งศิลปกรรมในยุคนั้นและ แฟชั่น ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม เช่น อาคารทรงโคโลเนียล เป็นต้น สีสันของอาคารยังเป็นแบบสีสมัยนิยม เช่นสีขาว สีครีม ศิลปการตกแต่งอาคารเช่น การฉลุ ไม้ และในส่วนอื่นๆที่เป็นศิลปกรรมเฉพาะชนชาติ เช่นลายปูนปั้น กระเบื้องปูพื้น กระเบื้องมุงหลังคา เป็นต้น ในส่วนศาสนสถาน ยังพบทั้งพุทธ คือวัดเกตุการาม วัดเกตุ น้อย วัดซิกข์ โบสถ์คริสต์และมัสยิด ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของกลุ่มชนชาติที่เข้ามาอาศัยในชุมชนย่านวัด เกตุนั้นๆ และ ๔ ศาสนานี้ยังมีบทบาทส้าคัญในด้านการศึกษา การพยาบาล การคมนาคม การค้าขายด้วย


38

ทั้งหมดนี้คือร่องรอยแห่งความเจริญรุ่งเรืองที่ไหลมาตามสายน้​้าปิงและมาหยุดที่ท่าน้​้าย่านชุมชนวัดเกตกา ราม จังหวัดเชียงใหม่แห่งนี้ จากการที่ชุมชนวัดเกตเป็นชุมชนที่มีเรื่องราวต่างๆ มากมายในอดีตผ่านสถาปัตยกรรม อาคาร พบว่าในปัจจุบันของชุมชนเกิดจากการจัดการดูแลที่ได้มีหลากหลายของหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน เข้ามาดูแลอนุรักษ์สถาปัตยกรรมเข้ามาช่วยเหลือ แต่ก็ยังมีบางหน่วยงานที่เข้ามาเพียงครั้งคราว ทาให้เกิด ปัญหาในด้านการจัดการที่เป็นระบบและความต่อเนื่อง จึงทาให้อาคารบางส่ว นได้ถูกแปรเปลี่ยนจาก อาคารเก่าแก่ กลายมาเป็นร้านอาหาร โรงแรม แต่ก็ยังมีหน่วยงานบางแห่ง ที่ยังอยากทาโครงการให้กับ ชุมชนวัดเกตเป็นเพื่อใช้เป็นโครงการนาร่อง เพื่อสร้างความตระหนักให้เกิดความร่วมมือในการพัฒ นา ชุมชนต่อไป ซึ่งปัจจุบันชุมชนวัดเกตนี้ ประกอบไปด้วย ศาสนสถาน โรงแรม โรงเรียน สถานบันเทิง และ ร้านอาหาร จึงทาให้ชุมชนวัดเกตเป็นอีกย่านหนึ่งที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว เป็นย่านที่มีความ โดดเด่น ทาให้เกิดความเห็นในการร่วมกันพัฒนาที่แตกต่างกันไป บ้างก็เห็นด้วยกับการพัฒนาเป็นย่านการ ท่องเที่ยว บ้างก็ไม่เห็นด้วยแต่ต้องการให้เป็นเช่นที่เคยเป็นมาในอดีต อย่างไรก็ตามแม้จะมีความคิดเห็นที่ แตกต่ า งกั น ออกไป แต่ ก็ ยั ง มี ค วามเห็ น ที่ เ หมื อ นกั น ประการหนึ่ ง คื อ ไม่ อ ยากให้ เ กิ ด การพั ฒ นาที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนเกินไป ซึ่งอาจส่งผลกระทบจนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ทางสังคมของชุมชนวัดเกตได้ 2.3.1 การออกแบบนิทรรศการ แบบร่างบอร์ดนิทรรศการที่ 1


39

เป็นการออกแบบบอร์ดนิทรรศการโดยใช้รูปทรงอาคารทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นในย่านวัดเกต การามเป็นกรอบหลักของการออกแบบ ส่วนเนื้อหาจะแบ่งไปตามรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ปรากฏใน ย่านนี้ เช่น ศิลปะและสถาปัตยกรรมแบบจีนผสมล้านนา ศิลปะและสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลล้านนา เป็นต้น โดยใช้โทนสีที่มีความสอดคล้องกับสีของสถาปัตยกรรม นอกจากนั้นยังมีส่วนเสริมนิทรรศการคือ การฉลุลายศิลปกรรมที่ใช้ประดับตกแต่งอาคาร เพื่อให้เห็นรูปทรงที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น


40

แบบร่างบอร์ดนิทรรศการที่ 2

การออกแบบบอร์ดนิทรรศการแบบที่ 2 นี้ เป็นการออกแบบโดยใช้โครงสร้างของบ้าน 6 เสาเป็น หลัก ซึ่งเป็นรูปแบบบ้านที่ถือเป็นตัวแทนความเป็นเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมในย่านวัดเกตการาม มี ลักษณะแบบจีนผสมล้านนา เพื่อให้สอดคล้องกับหัวข้อที่ว่า “มองวิถีผ่านศิลปะและสถาปัตยกรรมย่าวัด เกตฯ” โทนสีก็ยังใช้สีที่เกี่ยวเนื่องสอดรับกับตัวของสถาปัตยกรรม มีส่วนเสริมนิทรรศการด้วยแท่นไฟที่ นอกจากจะใช้วางแผ่นฉลุลายที่เป็นศิลปกรรมประดับอาคารบ้านเรือนเพื่อเพิ่มความเพลิดเพลินแล้ว ยัง สามารถเพิ่มความสว่างให้กับบอร์ดนิทรรศการได้อีกด้วย


41

เนื้อหาบอร์ดนิทรรศการที่ 1 “ย่านวัดเกตการาม” เป็นชุมชนเก่าแก่ที่มีคุณค่าความสาคัญทางประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจของ เมืองเชียงใหม่ มีความหลากหลายของเชื้อชาติและศาสนาที่อยู่ร่วมกันมายาวนาน ทาให้ชุมชนวัดเกตมี เอกลักษณ์ทั้งในด้านความหลากหลายทางวัฒนธรรมรูปแบบศิลปะและสถาปัตยกรรม ภายในชุมชนมีอาคารที่มีความโดดเด่นทาง “สถาปัตยกรรม”และประวัติศาสตร์กระจายอยู่ โดยรอบซึ่งยังคงปรากฏร่องรอยของความเจริญรุ่งเรืองในอดีตโดยเฉพาะเรือนร้านค้าแบบจีนพาณิชย์แม้ ในปัจจุบันบางส่วนของอาคารเหล่านี้จะชารุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลาและมีการปรับเปลี่ยนประโยชน์ใช้ สอยตามสภาวะทางเศรษฐกิจแต่ก็ยังคงมีการบารุงรักษาอาคารให้มีสภาพดีอยู่เสมอ นอกจากนี้รูปแบบ สถาปัตยกรรมดังกล่าวก็สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสาหรับผู้ที่สนใจได้ “ศิลปะ” ที่สามารถพบเห็นได้ในย่านวัดเกตการามก็คือลวดลายที่ใช้ประดับตกแต่งตัวอาคาร ซึ่ง มีลักษณะหงิกงอคล้ายแง่งขิง มีความอ่อนหวานแบบลายผ้าลูกไม้ เรียกว่า ขนมปังขิง (Ginger Bread) ได้รับความนิยมมากในสมัยพระนางเจ้าวิคตอเรียที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ผู้ที่นาศิลปะนี้เข้ามาเผยแพร่ ก็คือพ่อค้าชาวตะวันตก รวมถึงเหล่ามิชชันนารีที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาด้วย ศิลปะและสถาปัตยกรรมจีนผสมล้านนา รูปแบบอาคารลักษณะนี้ อายุอยู่ในช่วงระหว่าง 110 -130 ปี ลักษณะอาคารสร้างติดถนน เป็น อาคารจีนพาณิชย์มีการใช้พื้นที่เปิดโล่งกลางบ้านหรือชานบ้านซึ่งเชื่อมต่อไปยังด้านหลังอาคารใช้เป็นที่พัก อาศัย อาคารมีทั้งชั้นเดียวและสองชั้นผนังก่ออิฐฉาบปูนครึ่งตึกครึ่งไม้ โครงสร้างเป็นเสาและคานไม้ หลังคาทรงจั่วขวางตามยาวเหมือนเฮือนแป


42

ลายหยูอี้ เป็นสัญลักษณ์ในการแสดงออกถึงความรักใคร่เมตตา ความสมปรารถนา ซึ่งเป็นความ เชื่อของชาวจีน พบที่บริเวณเหนือหน้าต่างชั้น 2 บ้าน 4 เสา และเชิงชายหลังคาบ้าน 6 เสา ลายพันธุ์พฤกษา เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ เจริญงอกงาม พบที่ เหนือประตูบ้าน 4 เสา บริเวณเชิงชายชั้นล่างบ้าน 4 เสา เหนือประตูบ้าน 6 เสา และเหนือประตูร้าน เดอะแกลอรี่ ลายเรขาคณิต เป็นการเลียนแบบรูปทรงเรขาคณิต พบบริเวณระเบียงบ้านท่าช้าง ศิลปะและสถาปัตยกรรมโคโลเนียลผสมล้านนา รูปแบบอาคารลักษณะนี้อยู่ในช่วงระหว่าง 90-110 ปี ลักษณะอาคารมีทั้งแบบชั้นเดียวและสอง ชั้น บางหลังมีการยกใต้ถุนสูงแบบเรือนพื้น รูปแบบอาคารทรงปั้นหยายื่นมุขหน้าจั่วหน้า บางหลังมีการ ประดับเสาไม้กลึงบนหลังคา (สาระไน)แบบอิทธิพลตะวันตก ลายประดิ ษฐ์รู ปหม้อปู ร ณฆฏะ เป็นสั ญลั กษณ์ทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ความอุดม สมบูรณ์ ความเป็นสิริมงคล พบบริเวณผนังบ้านชั้นล่าง บ้านอรพินท์ ลายพันธุ์พฤกษา เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ เจริญงอกงาม เสาสาระไน เป็นไม้กลึงประดับหน้าจั่วหลังคารับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมตะวันตก


43

เนื้อหาบอร์ดนิทรรศการที่ 2 ศิลปะและสถาปัตยกรรมตะวันตกผสมล้านนา อาคารจะอยู่ ใ นช่ ว งระหว่ า ง 70-90ปี ลั ก ษณะอาคารสองชั้ น รู ป แบบสถาปั ต ยกรรมมี ค วาม หลากหลายบางอาคารประดับตกแต่งด้วยไม้ฉลุลาย และหลังคาเพิงหมาแหงน (Shade roof) การยื่น ระเบียงรวมไปถึงการเพิ่มช่วงเสาด้านหน้ามีหลังคาคลุม ให้มีพื้นที่ใช้สอยหน้าร้านมากขึ้นการนาเอาบาน ฝาไหลของเรือนพื้นถิ่นมาใช้ในส่วนด้านหน้าอาคารแทนช่องระบายอากาศไม้ฉลุลาย

เนื้อหาบอร์ดนิทรรศการที่ 3 ศิลปะและสถาปัตยกรรมล้านนา “วัดเกตการาม” วัดเกตการาม เดิมชื่อว่า “วัดสระเกษ” สร้างในสมัยพระเจ้าสามฝั่งแกน เมื่อปี พ.ศ. 1971 ชื่อ “วัดเกตการาม” มาจากคาว่า “เกศ” ซึ่งเป็นชื่อของพระธาตุเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เชื่อ กันว่าเป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า เจดีย์วัดเกตการามเป็นเจดีย์ทรงระฆังแบบล้านนา ตัวองค์ระฆังประดับด้วยแก้วจืนสี เป็นพระ ธาตุประจาปีเกิดของคนเกิดปีจอจึงถือเอาเจดีย์องค์นี้ถือเป็นองค์ตัวแทนของเจดีย์จุฬามณีเนื่องจากชาว


44

ล้านนามีความเชื่อว่าหากได้ไปนมัสการพระธาตุประจาปีเกิดในขณะที่มีชีวิต ถือว่า เป็นบุญกุศล ทาให้อายุ ยืนยาว วิหารวัดเกตการามเป็นวิหารทรงล้านนา ก่ออิฐถือปูน ตัวอาคารมีลักษณะคล้ายเรือสาเภา มี พระพุทธรูปปางมารวิชัยขัดสมาธิราบเป็นพระประธานประดิษฐานภายในวิหาร พระอุโบสถวัดเกตการาม เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน สถาปัตยกรรมแบบล้านนา หน้าบันประดับด้วย ไม้แกะสลัก ลายพรรณพฤกษา จุดเด่นของอุโบสถหลังนี้คือปูนปั้นกิเลน สิงโตจีน และปลาพ่นน้า ซึ่งเป็น ศิลปะจีน แก้ว อังวะมักถูก ประดับ ภายในวัดเกตการามเป็น ศิล ปะแบบล้ านนาที่ ได้รั บอิ ทธิ พลมากจาก ประเทศพม่ามีสีสันสวยงามพบที่ผนังด้านหลังวิหารประดับเป็นลวดลายรูปหม้อปูรณฆฏะนอกจากนี้ยังมี การประดับตกแต่งลักษณะนี้บริเวณบันไดนาคด้านหน้าวิหาร บัวหัวเสา ดาวเพดาน และองค์เจดีย์ 2.3.2 วัสดุ – อุปกรณ์ 1) ไวนิลนิทรรศการขนาด 200 x 450 เซนติเมตร จานวน 1 ชิ้น 2) ไวนิลนิทรรศการขนาด 200 x 300 เซนติเมตร จานวน 1 ชิ้น 3) ไวนิลนิทรรศการขนาด 200 x 150 เซนติเมตร จานวน 1 ชิ้น 4) แผ่นไม้อัดจานวน 6 ชิ้น 5) โครงไม้พร้อมฐานตั้ง 6) แผ่นโฟมฉลุลายจานวน 2 ชิ้น 7) โปสการ์ด 8) แท่นไฟ 9) ต้นไม้ประดับตกแต่ง 10) ก้อนอิฐ


45

2.3.3 ภาพประกอบวันจัดแสดง


46

2.4 วิธีการดาเนินงานในโครงการนาเสนอและจัดนิทรรศการทางศิลปะและวัฒนธรรม ของนักศึกษา บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม ประจาปี 2559 2.4.1 กระบวนการเตรียมก่อนการดาเนินงาน (Pre - Production) (1.) วางแผนดาเนินงาน (1.1) คณะนักศึกษาในแต่ละหัวข้อเรื่อง ออกแบบโครงการและปรับแก้ไข 1) นาเสนอโครงการและปรับแก้ไข 2) ออกแบบ การจัดวางนิทรรศการ และแนวความคิด ตลอดจน เป้าหมายการนาเสนอแต่ละจุดนิทรรศการ เพื่อเตรียมการจัด แสดง 3) ออกแบบเอกสาร , สื่ อ , บทความ และหาแหล่ ง เพื่ อ การ ประชาสัมพันธ์ (1.2) ประชาสัมพันธ์ และขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานภายใน / ภายนอก มหาวิทยาลัย 1) ติดต่อขอความร่วมมือจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย 2) ประสานขอความอนุเคราะห์เพื่อขอใช้พื้นที่ 3) ขอความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงาน / องค์ ก รต่ า ง ๆ ช่ ว ย ประชาสัมพันธ์โครงการ 4) ติดต่อขอความร่ว มมือ จากหน่ว ยงานประชาสั ม พันธ์ ร ะดั บ มวลชน 5) จัดทาและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อประเภท ไอที - ขอความร่ ว มมื อ ประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ มหาวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย และหน่วยงานอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยที่จัดให้ มีเว็บไซต์ - ประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ของสาขาวิ ช าการ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม


47

- ขอความร่ ว มมื อ ประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่และสถาบันเครือข่าย - ประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า น ฟรี เ ว็ บ บล็ อ ก (Free Web block) เช่นFacebook เป็นต้น - ประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า น เว็ บ ไซต์ การศึ ก ษา, ชุ ม ชน, วัฒนธรรม และอื่นๆ (1.3) จัดทาส่วนประกอบของนิทรรศการ ตามแผนที่วางในข้อ 1 (1.4) ติดตามความคืบหน้างานของนักศึกษาที่ร่วมนาเสนอ และฝ่ายต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องในการดาเนินงานเป็นระยะ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าของโครงการ (1.5) ประเมินความก้าวหน้า ครั้งที่ 2 ในสองส่วนงาน ตัวชี้วัดคือความเรียบร้อย ของส่วนนิทรรศการ และความร่วมมือจากหน่วยงานที่คาดหวัง (1.6) ดาเนินการจัดกิจกรรม (1.7) ประเมินผลครั้งที่ 3 ตัวชี้วัด จากกระบวนประเมินผลครั้งที่ 1 – 2 และ จากการจัดงานจริง เพื่อสรุปบทเรียน นาวิเคราะห์สิ่งที่ควรปรับแก้ไข เพื่อสร้างโมเดล การจัดแสดงงานในครั้งต่อไป (1.8) แสดงความขอบคุ ณ ต่ อ หน่ ว ยงานที่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ เพื่ อ เสริ ม สร้ า ง ความสั ม พั น ธ์ มิ ต รภาพที่ ดี ต่ อ กั น ทั้ ง นี้ จ ะเป็ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ยทางศิ ล ปะและ วัฒนธรรม ระหว่างหลายภาคส่วน หน่วยงานที่แตกต่างกันได้รู้จักและเข้าใจกันมาก ยิ่งขึ้น

กิจกรรมที่ดาเนินการ ลงสารวจพื้นที่ / ชุมชน ออกแบบและนาเสนอโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ จัดเตรียมงาน / นิทรรศการ

ระยะเวลาดาเนินการ กุมภาพันธ์ 59 มีนาคม 59 เมษายน 59


48

ดาเนินการจัดงาน / นิทรรศการ ประเมินผลการดาเนินงาน จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน (2.) การขอยืมอุปกรณ์ของโครงการ (2.1) การขอยืมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคณะวิจิตรศิลป์ เช่น บอร์ดนิทรรศการ ไฟ LED รวมถึงรถที่ใช้ในการขนของโดยทาหนังสือขออนุญาตทางคณะ (2.2) การขอยืมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ จากภายนอก เช่น ร่ม แคร่ไม้ไผ่ เป็นต้น โดยการติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์

(3.) ภาพกระบวนการเตรียมก่อนการดาเนินงาน (Pre - Production)


49


50


51


52


53


54


55

(4.) ตาแหน่งในการปฏิบัติหน้าที่ในงานนิทรรศการ (Organizer) ลาดับ ชื่อ 1 นายณัฐพงศ์ สมยานะ (ก๊อตจิ) 2 นางสาววัชราภรณ์ ช่างเหล็ก (น้องมีน) 3 นางสาวปัฐมาพร ทรายใหม่ (อิ๋ว) 4 นางสาวพัชรินทร์ คันธรส (อ้อ) 5 นางสาวปาริชาต เกษมสุข (แนน) 6 นางสาวพิมพิไล อุเทียม (บูม) 7 นางสาวพัชรมน มูลละ (อุ้ย) 8 นางสาวณิชาภา นิรัติศยภูติ (น้​้าผึ้ง) 9 นางสาวธัญญิกา จิรสันติธรรม (นุกนิก) 2.4.2 กระบวนการระหว่างการดาเนินงาน (Production)

หน้าที่ Art – Director Back Stage แสง เสียง Photographer ต้อนรับ / เอกสาร สวัสดิการ สวัสดิการ ที่จอดรถ ที่จอดรถ


56


57


58


59


60


61


62


63


64


65


66

2.4.3 กระบวนการหลังการดาเนินงาน (Post - Production) หลังจากการสิ้นสุดโครงการฯ ได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ ทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน ลาดับ ชื่อ หน้าที่ ออกแบบหน้าปก / ถอดเทปการเสวนา 1 นายณัฐพงศ์ สมยานะ (ก๊อตจิ) 2 นางสาววัชราภรณ์ ช่างเหล็ก (มีน) บรรณาธิการเล่ม - ภาพ มองวิถี ผ่านศิลปะ สถาปัตยกรรม 3 นางสาวปัฐมาพร ทรายใหม่ (อิ๋ว) ย่านวัดเกตฯ

4 5 6 7 8 9

นางสาวพัชรินทร์ คันธรส (อ้อ) นางสาวปาริชาต เกษมสุข (แนน) นางสาวพิมพิไล อุเทียม (บูม) นางสาวพัชรมน มูลละ (อุ้ย) นางสาวณิชาภา นิรัติศยภูติ (น้​้าผึ้ง) นางสาวธัญญิกา จิรสันติธรรม (นุกนิก)

VDO Record วิจัย / วัดผล สรุปผลการด้าเนินงาน สรุปงบประมาณ วิถีชีวิตย่านวัดเกตฯ / ผ้าปักเจ้าดารา

ถอดเทปการเสวนา



บทที่ 3 สรุปผลการดาเนินงานโครงการนาเสนอและจัดแสดงงานศิลปะ และวัฒนธรรม ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สหสาขาวิชา การจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจาปี 2559 การด าเนิ น การจั ด โครงการน าเสนอและจั ด แสดงงานศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมของนั ก ศึ ก ษา บัณฑิตศึกษา สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจาปี 2559 เป็นการจัดนิทรรศการเกี่ ยวกับย่านวัดเกตการาม ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่าง สห สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ สาขาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัยแห่งชาติ (สกว.) จัดขึน้ เมื่อ วันที่ 24 เมษายน 2559 ณ วัดเกตการาม ซึ่งการจะทาได้นั้นจาเป็นต้องมีการศึกษาและทางานร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างทิศทางที่เหมาะสม จากบริบทที่มีอยู่ของพิพิธภัณฑ์วัดเกตการาม ให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพสูงสุด โดยทางานร่วมมือใน 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายชุมชนวัดเกตการาม ที่เป็นฝ่ายขับเคลื่อนพร้อมกับ ฝ่ายวิชาการ ที่เป็นฝ่ายเติมเต็มเพื่อให้ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ “มีชีวิต” อย่างสมบูรณ์ อันจะนามาซึ่งการเติมเต็มชีวิตให้แก่เมืองเชียงใหม่และผู้คน ต่อไปในอนาคต ดังนั้น สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ นักศึกษากระบวนวิชาวิธีการนาเสนองานทางศิลปะและวัฒนธรรม (918717) ได้เล็งเห็นการคุณค่าของ การพัฒนางานด้านศิลปะและวัฒนธรรม การรักษาคุณค่า และการเพิ่มมูลค่าให้เกิดประโยชน์ จึงได้จัด โครงการนาเสนอและจั ดแสดงงานศิลปะและวัฒ นธรรมของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สหสาขาวิชาการ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม ประจาปี 2559 ขึน้ เพือ่ เป็นกิจกรรมการเรียนการสอน ในลักษณะของการบูร ณาการ ระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียนกับนอกห้องเรียน ในรูปแบบการนาเสนองานนิทรรศการ ภายใต้ ชื่องาน “ อนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน ย่านวัดเกตฯ ” โดยมีกาหนดจัดกิจกรรม และการนาเสนอผลงาน ทางศิลปะและวัฒนธรรม เป็นเวลา 1 วัน โดยมีรายละเอียดของผลการดาเนินงาน ดังนี้


68

3.1 สรุปข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ ข้อมูลของผู้เข้าร่วมโครงการ

เพศ

ชาย หญิง ๑๘ - ๓๙ ปี

อายุ

๔๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปีขึ้นไป ประถมศึกษา

การศึกษา

มัธยมต้น –ปลาย / ปวช. / ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโทหรือสูง นักเรียน/นักศึกษา

อาชีพ

ประชาชนชุมชนวัดเกต ประชาชนนอกชุมชนวัดเกต อื่นๆ

การแปรผล ร้อยละ 42 ร้อยละ 58 ร้อยล 63 ร้อยละ 33 ร้อยละ 4 ร้อยละ 4 ร้อยละ 19 ร้อยละ 58 ร้อยละ 19 ร้อยละ 37 ร้อยละ 37 ร้อยละ 26 ร้อยละ 26

จากการเก็บข้อมูลภายในงาน โดยการสารวจข้อมูลของกลุ่มประชากรได้แก่ ผู้ที่มาลงทะเบียนเข้า ร่วม โดยมีข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้ เป็นเพศชาย ร้อยละ 42 เพศหญิง ร้อยละ 58 โดย เฉลี่ยอายุ อยู่ที่ ๑๘ - ๓๙ ปี ร้อยละ 63 อายุ ๔๐ – ๕๙ ปี ร้อยละ 33 อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ร้อยละ 4 ของ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ด้านการศึกษาของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดย การศึกษาระดับ ประถมศึกษา ร้อย ละ 4 มัธยมศึกษาตอนต้น – ปลาย / ปวช. / ปวส. ร้อยละ 19 ปริญญาตรี ร้อยละ 58 ปริญญาโทหรือ สูงกว่า ร้อยละ 19 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นกลุ่มที่มีความสนใจและเล็งเห็นถึง คุณค่าของการพัฒนางานด้านศิลปะและวัฒนธรรม การรักษาคุณค่า และการเพิ่มมูลค่าทางศิลปะและ วัฒนธรรม


69

3.2 สรุปความเห็นและความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม หัวข้อ

ความพึงพอใจด้าน การประชาสัมพันธ์ ความพึงพอใจด้าน การจัดนิทรรศการ

๑.ทราบข่าวสาร ข้อมูลการ ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมตามสื่อ ต่างๆ ๑.หัวข้อ เนื้อหา รูปแบบและวิธีการ นาเสนอข้อมูลมีความเหมาะสม น่าสนใจ ๒.สถานที่และบรรยากาศในการจัด นิทรรศการมีความเหมาะสม

ผลรวม

ความพึงพอใจด้าน การจัดเสวนา

ผลรวม

๑.หัวข้อและเนื้อหาสาระในการจัด เสวนา มีความเหมาะสม และน่าสนใจ ๒.ระยะเวลาในการจัดเสวนามีความ เหมาะสม ๓.สถานที่และบรรยากาศในการจัดจัด เสวนามีความเหมาะสม ๔.การเปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ได้มสี ่วนร่วมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ดีมาก

การแปรผล ดี พอใช้

ร้อยละ47

ร้อยละ47

ร้อยละ6

ร้อยละ58

ร้อยละ35

ร้อยละ7

ร้อยละ53

ร้อยละ42

ร้อยละ 55.5 ร้อยละ 60 ร้อยละ 51 ร้อยละ 53 ร้อยละ 60.5 ร้อยละ 56

ร้อยละ 38.5 ร้อยละ 35 ร้อยละ42

ร้อยละ 5 ร้อยละ 6 ร้อยละ 5 ร้อยละ 7 ร้อยละ 2 ร้อยละ 11.5 ร้อยละ 6

ร้อยละ45 ร้อยละ28 ร้อยละ 38

ความพึงพอใจและ ๑.สิ่งอานวยความสะดวกที่ใช้ในการจัด ร้อยละ ร้อยละ ประโยชน์ที่ได้รับจาก กิจกรรมเพียงพอและเหมาะสม 56 42 การเข้าร่วมกิจกรรม ๒.การจัดกิจกรรมมีความหลากหลาย ร้อยละ 51 ร้อยละ 42 และน่าสนใจ

ร้อยละ 2 ร้อยละ 7

ควร ปรับ ปรุง

ร้อย ละ2

ร้อย ละ 1


70

๓. ท่านมีความพึงพอใจที่ได้เข้าร่วม กิจกรรม ผลรวม

ร้อยละ 56 ร้อยละ 42

ร้อยละ 2

ร้อยละ 54 ร้อยละ 42

ร้อยละ 4

จากการเก็บข้อมูลภายในงาน โดยการสารวจความคิดเห็นกลุ่มประชากรได้แก่ ผู้ที่มา ลงทะเบียนเข้าร่วม โดยมีความคิดเห็นตามลาดับดังนี้ ด้านการประชาสัมพันธ์ในการจัดกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดี มากและดี โดยคิดเป็นร้อยละ 47 มีความพึงพอใจในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 6 ของผู้เข้าร่วม กิจกรรมทั้งหมด ด้านการจัดนิทรรศการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก โดย คิดเป็นร้อยละ 55.5 มีความพึงพอใจในระดับดี โดยคิดเป็นร้อยละ ร้อยละ 38.5 มีความพึงพอใจ ในประดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 6 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ด้านการจัดเสวนา ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก โดยคิดเป็นร้อยละ 56 มีความพึงพอใจในระดับดี โดยคิดเป็นร้อยละ ร้อยละ 38 มีความพึงพอใจในประดับน้อย คิด เป็นร้อยละ 6 มีความเห็นว่าควรปรับปรุงด้านการเสวานาในเรื่องของระยะเวลาในการจัดเสวนา ร้อยละ 1 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ความพึงพอใจและประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความ พึงพอใจในระดับดีมาก โดยคิ ดเป็นร้อยละ 54 มีความพึงพอใจในระดับดี โดยคิดเป็นร้อยละ ร้อยละ 42 มีความพึงพอใจในประดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 4 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 3.3 ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วมโครงการ จากการสารวจข้อมูลจากแบบสอบถามของผู้มาลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมี ข้อเสนอแนะในด้านของการจัดเสวนา ดังนี้ 1. ระยะเวลาในการจัดเสวนา ควรมีการปรับเวลาในการจัดเสวนาให้มีความเหมาะสมและมีความ ครอบคลุมมากกว่านี้ 2. ผู้เข้าร่วมเสวนาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก ในเรื่องของสถานที่ บรรยากาศในการจัดงาน 3. ผู้ เ ข้ า ร่ ว มเสวนาส่ ว นใหญ่ มี ค วามพึ ง พอใจมาก ส าหรั บ ประโยชน์ที่ ไ ด้ รับ จากการเข้ าร่ว ม กิจกรรม 4. ผู้ เข้าร่ ว มเสวนาส่ ว นใหญ่มีความพึงพอใจมาก ข่าวสาร ข้อมูล การประชาสั มพันธ์ก ารจั ด กิจกรรมตามสื่อต่าง ๆ


71

จากการรวบรวมข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ จากแบบสอบถามของผู้ประเมินและผู้เข้าร่ว ม โครงการนาเสนอและจั ดแสดงงานศิลปะและวัฒ นธรรมของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สหสาขาวิชาการ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม สรุปได้ว่า การดาเนินการจัดโครงการนาเสนอและจัดแสดงงานศิลปะและ วัฒนธรรม ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลัยเชีย งใหม่ ประจาปี 2559 สามารถดาเนินกิจกรรมหรือโครงการเป็นไปด้วยความส าเร็จ เรียบร้อย และได้รับเสียงการตอบรับจากผู้ที่ได้พบเห็น และเข้าร่วมชมนิทรรศการเป็นอย่างดี

3.4 อุปสรรค การแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ที่ ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทางาน 1. จานวนคนในการทางานที่จากัด

ไม่สามารถหาเอกลักษณ์ของ ชุมชน ได้รับความร่วมมือจากชุมชน 3. ค่อนข้างน้อย 2.

4. สภาพอากาศที่ค่อนข้างร้อน ขาดความเข้าใจในการสื่อสาร 5. หรือหน้าที่ระหว่างชุมชนกับ นักการเมืองท้องถิ่น พื้นที่ในการจัดงานมีจากัด ไม่ สามารถจัดรูปแบบนิทรรศการ 6. ให้สอดคล้องกับบริบทของงาน ได้

-

วิธีการแก้ไขปัญหา ขอความร่วมมือจากนักศึกษาปริญญาตรี สาขา ศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ หนึ่งคนสามารถปฏิบัติงานได้หลายหน้าที่ ใช้เอกลักษณ์ของชุมชนใกล้เคียงมาประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ มอบหมายงานตามกาลังของชุมชนที่สามารถให้ ความช่วยเหลือได้ ติดตั้งพัดลมตามจุดต่างๆ เพื่อระบายอากาศ พร้อม ทั้งเตรียมน้าดื่มไว้บริการสาหรับผู้มาร่วมงาน

- เชิญผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมเสวนาเพื่อคลายความ ขัดแย้งที่เกิดขึ้น

- จัดรูปแบบนิทรรศการตามลักษณะของพื้นที่


72

7.

สถานที่จอดรถมีจานวนไม่ เพียงพอ

8. งบประมาณมีจากัด ไม่สามารถนาผ้าปักฯ ภายใน 9. พิพิธภัณฑ์ออกมาทาการอนุรักษ์ ได้

- ใช้สถานที่รอบบริเวณกาแพงวัดเพื่อใช้เป็นที่จอดรถ แทน - ขอการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ - จัดสรรค่าใช้จ่ายให้เหมาะสมกับงบประมาณที่ได้รับ - จัดทา VTR สาธิตวิธีการอนุรักษ์ผ้า เพื่อเป็นแนวทาง ในการอนุรักษ์ผ้าโบราณต่อไป

ข้อเสนอแนะ 1. ด้านพิพิธภัณฑ์ - ควรจัดหางบประมาณเพื่อปรับปรุงอาคารจัดแสดงให้เกิดความมั่นคงแข็งแรง - ควรแก้ไขปัญหาเรื่องความสะอาดภายในพิพิธภัณฑ์ - ควรจัดแสดงวัตถุให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อทาให้เกิดความน่าสนใจ - ควรเพิ่มบุคลากรในการดูแลพิพิธภัณฑ์ เพื่อให้พิพิธภัณฑ์สามารถเปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้แก่ประชาชนที่มีความสนใจได้ - ควรจัดทา Museum Shop เพื่อหารายได้ในการสนับสนุนการดาเนินการของพิพิธภัณฑ์ 2. ด้านชุมชน - ควรเปิดให้มีเวทีเสวนาหรือกิจกรรมอื่นๆ ภายในชุมชน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดี ก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนต่อไปในอนาคต

3.5 สรุปผลการดาเนินงาน ผลการด าเนิ น งานโครงการน าเสนอและจั ด แสดงงานศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมของนั ก ศึ ก ษา บั ณฑิตศึกษาสหสาขาวิช าการจั ดการศิล ปะและวัฒ นธรรม บัณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลั ยเชียงใหม่ ประจาปี 2559 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดโครงการ ดังนี้


73

1) นักศึกษาวิชาวิธีการนาเสนองานทางศิลปะและวัฒนธรรม (918717) ของสหสาขาวิชาการ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถนาเสนอการจัดการและฝึก ปฏิบัติงานทางด้านการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม ผ่านกระบวนการการทางานร่วมกัน อันถือเป็นการฝึก คุณธรรมและจริยธรรมในการทางาน ซึ่งเป็นลักษณะของการบูรณาการระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียน กับ นอกห้องเรียนในกระบวนวิชาวิธีการนาเสนองานทางศิลปะและวัฒนธรรม (918717) โดยการจัดงาน อนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน ย่านวัดเกตฯ เพื่อเป็นการรักษาคุณค่าแก่ชุมชน 2) นักศึกษาวิชาวิธีการนาเสนองานทางศิลปะและวัฒนธรรม (918717) ของสหสาขาวิชาการ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถใช้ความรู้ในกระบวนวิชาไป ใช้พัฒนางานศิลปะและวัฒนธรรม เพื่ อรักษาคุณค่า และเพิ่มมูลค่าให้เกิดประโยชน์ผ่านวิธีการนาเสนอใน รูปแบบของการจัดนิทรรศการ (Exhibition) และก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและการตระหนักในคุณค่า ของศิลปะและวัฒนธรรมของประเทศ อีกทั้ งยังเป็นการนาเสนอข้อมูลที่น่าสนใจของชุมชนย่านวัดเกตฯ ให้เป็นที่รู้จักแก่คนภายนอก ทั้งเนื้อหาด้านงานสถาปัตยกรรม ด้านศิลปกรรม งานพุทธศิลป์ วิถีชีวิตของ คนหลากหลายชาติพันธุ์ในย่านนี้ รวมไปถึงการนาเสนอวิธีการรักษา และอนุรักษ์ผ้าปักโบราณภายใน พิพิธภัณฑ์วัดเกตฯอีกด้วย 3) นักศึกษาวิชาวิธีการนาเสนองานทางศิลปะและวัฒนธรรม (918717) ของสหสาขาวิชาการ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถใช้องค์ความรู้ด้านการจัดการ และด้านศิลปวัฒนธรรม ไปใช้และบูรณาการให้ก่อเกิดประโยชน์ต่อสังคม โดยการบริการและเผยแพร่องค์ ความรู้แก่ชุมชนและผู้ที่สนใจ ให้มีความรู้และเข้าใจในการรักษาคุณค่าและการเพิ่มมูลค่าในงานศิลปะและ วัฒนธรรม 4) สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส่งเสริม ให้นักศึกษานาความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมที่ ดาเนินการโดย นักศึกษาด้าน กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่ พึงประสงค์ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม และกิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม โดยดาเนินการจัดผ่านโครงการนาเสนอและจัดแสดงงานศิลปะ และวัฒนธรรมของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจาปี 2559 ซึ่งเป็นการจัดนิทรรศการเพื่อสร้างความตระหนักถึงคุณค่าและ มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน ให้คนภายในชุมชนและคนภายนอก เพื่อสานึกและหวงแหนในการดูแล ปกป้อง มรดกทางวัฒนธรรมของตนเองสืบเนื่องต่อไปอย่างยั่งยืน


74

บรรณานุกรม กิตติยา ยาวิลาศ. 2553. อาคารที่ประดับตกแต่งลวดลายไม้ฉลุแบบเรือนขนมปังขิงในเขต เทศบาลนครเชียงใหม่ .รายงานการวิจัยเบื้องต้นในกระบวนวิชาการวิจัยเบื้องต้น (101405) สาขาวิชา ศิลปะไทย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เกศฐิศานติ ส้มทอง. 2539. เรือนขนมปังขิงในเขตเทศบาลเมือง จ.เชียงใหม่. รายงานการศึกษา ตามหลักสูตรศิลปบัณฑิต ศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง. 2549. เมืองเชียงใหม่ที่ยั่งยืน แนวคิดและประสบการณ์ของย่าน วัดเกตุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียยงใหม่: หจก.เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์. ปนัดดา โตคานุช . 2557. การศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพมรดกวัฒนธรรมชุมชนวัดเกตให้ เป็นพิพิธภัณฑ์มีชีวิตเพื่อการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเมืองเชียงใหม่ . วิทยานิพนธ์การ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สัณฐิกา สุรพญานนท์ . ลวดลายไม้ฉลุประดับเรือนร้านค้า ถนนเจริญราษฎร์ ตาบลวัดเกต อาเภอเมือง หลักสูตรศิลปบัณฑิต (ศิลปะไทย) ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อนุ เนินหาด. 2556. ย่านวัดเกตการาม. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียยงใหม่: บริษัท นพบุรีการพิมพ์ จากัด.


ภาคผนวก


ถอดเทปการเสวนา ในหัวข้อเรื่อง “ชุมชนวัดเกตการาม ในศตวรรษที่ 21” ณ วัดเกตการาม ตาบลวัดเกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2559 (คุณทัศนัย บูรณุปกรณ์ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่) เรียนทุกท่าน คณบดีคณะวิจิตรศิลป์ ทาง คุณดนัย ทางท่านคณาจารย์ ทางท่านผู้อานวยการโรงเรียน ทางแขกผู้มีเกียรติ ทุกท่าน และสื่อมวลชน ใน ฐานะนายกเทศมนตรี รู้สึกดีใจ และเป็นเกียรติทใี่ นวันนี้ได้รับเกียรติมาเป็นประธาน ในการเปิดงาน เสวนา เรื่อง การอนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน ย่านวัดเกตฯ ย่านวัดเกตนั้นเป็นชุมชนที่เข้มแข็งมาก ตั้งแต่บัญญัติการ ดูแลเรื่องของอาคาร เป็นย่านที่มีการอนุรักษ์อาคารมากย่านหนึ่ง มีคุณอนันต์กรุณามาก่อตั้งพิพิธภัณฑ์วัด เกตนี้ ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวแหล่งหนึ่งที่ต้องมาเที่ย วชม เป็นสิ่งที่งดงาม นอกจากนี้ทางคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้มีการจัดงานนี้ขึ้นมา หลังจากนี้จะมีแนวคิดดีๆ ด้านการอนุรักษ์ของวัดเกตต่อไป ขณะนี้ได้เห็นโลโก้ ตอนเข้ามาท่านเจ้า อาวาส ก็ได้ถามว่าเป็นสะพานขัวแขก (สะพานจันทร์สม) ใช่ไหม และได้ถามว่า เมื่อไหร่จะเสร็จ เมื่อไหร่จะได้ข้ามกันสักที ผมก็ขออนุญาตเล่าให้ฟังตรงนี้ ว่าสะขัวแขกได้ เกิดปัญหาจากน้าท่วมเมื่อครั้งที่แล้ว พอเราได้ไปตรวจสอบก็พบว่าโครงสร้างของตัวสะพานถูกน้าซัดไป ด้วยโครงสร้างที่สร้างมานานทาให้ไม่แข็งแรงพอที่จะเปิดให้ใช้ได้ เลยต้องมีการหางบประมาณมาสร้างใหม่ พอเริ่มสร้างก็มีปัญหาคือ 1) สะพานอยู่ในเขตเมืองเชียงใหม่ก็จริ งแต่อยู่ในเขตแม่น้าปิง ซึ่งแม่น้าปิงอยู่ใน เขตเจ้าท่า ก็โดนเจ้าท่าฟ้อง ต้องมีการไปเจรจา กว่าจะสิ้นสุดก็หมดกันไปหนึ่งเรื่อง 2) พอทาไปได้สักพักก็ มีการจ้างทั้งหมด 10 งวด ก็ถึงงวดที่เจ็ด-แปด ก็มีชุมชนร้องว่าแบบไม่เหมาะสม สร้างปัญหาให้จึงต้องมี การพูดคุย จึงใช้โอกาสนี้ชี้แจงไปเลย ผมเองต้องขอบคุณทุกท่าน ที่ มีส่วนร่วมในการจัดงานเสวนาดี ๆ นี้ ขึ้นมา บัดนี้ถึงเวลาอันเหมาะสม ผมขออนุญาตเปิดงานอนุรักษ์ สืบสาน เล่าขาน ย่านวัดเกตฯ ขอให้งานนี้ ประสบความสาเร็จทุกประการ ขอบคุณครับ (รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ผู้ดาเนินเสวนา) กราบนมัสการท่านพระครูสันติ เจติยากร เจ้า อาวาสวัดเกตการามและท่านพระครูจากวัดช้างค้า รวมถึงทุกท่านที่อยู่ ณ ที่นี้ค่ะ วันนี้นะคะเราได้มีโอกาส สาคัญอีกโอกาสหนึ่ง ที่ชุมชนวัดเกตเป็นชุมชนที่มีชื่อเสียงมาตั้งแต่ในอดีต แต่ในเวลานี้สิ่งที่เกิดขึ้นคือทุก อย่างเริ่มเปลี่ยน ทุกอย่างเริ่มที่จะแปรเปลี่ยนไปเยอะมาก และเรามีเด็กรุ่นใหม่จานวนมากที่สามารถจะมา


ช่วยได้ หรือสามารถที่จะได้แนวคิดจากผู้ที่เป็นหลักมาตั้งแต่ค่ะ ก็เลยมีการที่เด็กๆ รุ่นหลังก็จะเข้ามา เรียนรู้หรือสร้างความคิดมาจากทุกท่านที่อยู่ในเวทีนี้ว่า สิ่งที่เป็นมรดกของชุมชนย่านวัดเกตว่าจะมีการ พั ฒ นาหรื อ อนุ รั ก ษ์ หรื อ แนวคิ ด จากทุ ก ท่ า นที่ อ ยากจะส่ ง มอบให้ เ ด็ก ในรุ่ นหลั ง ให้ มี แ นวทางในการ ดาเนินการต่อไปในอนาคตนั้นจะเป็นอย่างไรได้บ้างนะคะ รวมถึงวิธีคิดของคนในชุมชน วิธีคิดของผู้คนที่ เป็นผู้ก่อร่างอยู่ในชุมชนวัดเกตนั้นคือหลักสาคัญของการทางานต่อไปในอนาคต (พระครูสันติ เจติยากร) ขอแสดงความนับถือเจ้าอาวาสวัดช้างค้าและขอเจริญพรคณาจารย์ คณะ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตลอดถึงคณะนักศึกษาทุกคน พิพิธภัณฑ์วัดเกตการามนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2542 โดยมีคุณจริน เบน ลุงอนันต์ ฤทธิเดช ลุงสมหวัง ฤทธิเดช และก็กรรมการของวัดได้มาปรึกษากันว่า มีกฏิตุ๊เจ้าหลวงอยู่หลังหนึ่ง ซึ่งชารุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา จะทายังไงเพื่อที่จะฟื้นฟูให้มีชีวิตชีวาขึ้นให้ ใช้ได้ รื้อออกก็น่าเสียดายเพราะอาคารหลังนี้หาที่ไหนไม่ได้แล้วในเชียงใหม่ โดยอาคารมีอายุร่วมร้อยกว่า ปี จึงปรึกษาหารือกันสร้างพิพิธภัณฑ์ขึ้นมา ของส่วนหนึ่งก็เป็ นของวัดซึ่งวัดของเรานั้นสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1971 จนปัจจุบันนี้ก็ห้าร้อยกว่าปี และของที่เก็บสะสมไว้ในวัด ส่วนหนึ่งก็เป็นของญาติโยมที่ได้ทราบข่าว ว่าที่วัดเกตการามมีการสร้างพิพิธภัณฑ์จึงได้นาสิ่งของมาบริจาคเพื่อเก็บรวบรวมไว้ตามหมวดหมู่ตาม ความรู้ตามความรู้ของชาวบ้าน คือจัดให้พอเป็นพิธี แต่ถ้าจะให้ถูกหลักวิชาการจริงๆ นั้นจะต้องขอความ ร่วมมือจากคณาจารย์ นักศึกษาหรือผู้รู้ทั้งหลายมาช่วยกันดูแล (รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ผู้ดาเนินเสวนา) อยากจะเรียนถามต่อค่ะ คุณดนัย ที่อยู่วัดเกตมา ตั้งแต่ดั้งเดิมนะคะ ในอดีตและปั จจุบันนี้ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไรบ้าง และอยากจะเห็น อะไรในชุมชนบ้างคะ (คุณดนัย เลียวสวัสดิพงศ์ อดีตประธานหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ ) กราบนมัสการพระคุณเจ้า ครับ ตั้งแต่ผมเกิดมา เอาเท่าที่ทราบก็สมัยนั้นรุ่นคุณปู่ผมเมื่อร้อยกว่าปี ท่านก็เป็นศรัทธาวัด เกตก็มา ร่วมกับศรัทธาหลายๆ ท่าน ร่วมกันสร้างอาคารในนี้ ที่เห็นอาคารด้านหลังนี้จะมีลักษณะปูนปั้นเป็นของมา จากประเทศจีน ซึ่งท่านจะนาช่างจากประเทศจีนเข้ามามาสร้างพร้อมๆ กันกับร้านอาหารเดอะแกลอรี่ ตอนนั้ น คุณปู่ ของผม คืออากงนะครับ เข้ามาค้าขายในเชียงใหม่เริ่มค้าขายโดยทางเรือ เอาของจาก เชียงใหม่ไปขายที่กรุงเทพฯแล้วเอาของกรุงเทพฯขึ้นมา ได้รู้จักกับครอบครัวของคุณลุงแจ็ค เพราะบ้านอยู่ ใกล้กัน คุณประนอม อาจารย์พงษ์ โตมาด้วยกันตั้งแต่เด็ก เล่นแม่น้าปิงด้วยกัน จาก ความเข้าใจของผมใน อดีต คุณปู่ของผมได้ร่วมก่อตั้งโรงเรียนซิงเซิน ร่วมกันค้าขาย ถ้าพูดถึง พิพิธภัณฑ์ ต้องขอขอบคุณทาง


กรรมการ และทางคุณลุงแจ๊ค ซึ่งเป็นที่น่าภูมิใจที่มีคณะกรรมการ ที่ช่วยดูแลของโบราณทั้งหลายเหล่านี้ ซึ่งจะหาที่ไหนไม่ได้แล้ว (คุณปรานอม เฉินบารุง อดีตผู้อานวยการศูนย์ประสานงานพื้นที่เศรษฐกิจนวัตกรรมอาหาร ภาคเหนือ สภาอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงใหม่ ) กราบนมัสการเจ้าอาวาสวัดเกตการาม ถึงตัวดิฉันเองจะ เป็นลูกหลานนายห้าง แต่ความผูกพันกับวัดเกตมีมานานมาก เพราะเวลาจะไปเรียนหนังสือที่ มช. จะต้อง เดินผ่านวัดเกตเพื่อจะข้ามไปขึ้นรถอีกฝั่งหนึ่ง อดีตเวลาเดินผ่านวัดเกตเป็นเรื่ องที่น่ากลัวมาเพราะบริเวณ ดังกล่าวมักจะมีขี้ยาจานวนมาก หลังจากนั้นคุณพ่อ (คุณจริน เบน) ก็มีความสนใจเรื่องวัดมานานมากจาก ในอดี ต ที่ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ และก็ เ ปลี่ ย นมาเป็ น ศาสนาพุ ท ธที่ ศึ ก ษามาตั้ ง แต่ ส มั ย ท่ า นพุ ท ธทาส เพราะฉะนั้นเราจึงมีความผูกพันกับวัดเกตเยอะ สิ่งที่จุดประกายให้ท่านทาพิพิธภัณฑ์เนื่องจากท่านเห็นคน มาหาซื้อของเก่า จึงรู้สึกเสียดาย ประกอบกับมาเห็นว่าวัดเกตมีอาคารเก่าอยู่หลายอาคาร จึงอยากพัฒนา วัดเกตให้เป็นที่รู้จักและน่าอยู่ จนกระทั่งมาทาพิพิธภัณฑ์จนมีชื่อเสียง แต่สิ่งที่สาคัญที่สุดท่านเป็นคนมี service mind คือมีใจบริการ ในส่วนของที่อยู่ในวัดท่านเคยเล่าในทุกเย็น โดยเล่าให้ฟังเกี่ยวกับวัดเกตว่า ของเหล่านี้ที่เราได้มาด้วยความไว้เนื้อเชื่อใจ ผู้ที่เอามาให้ของจึงกลายเป็นของพิพิธภัณฑ์จริง แต่ในใจของ ยังเป็นของเค้าอยู่ ก็จะพาญาติมาละบอกว่าสิ่งของชิ้นนี้เป็นของฉัน นะ ฉะนั้นของทุกชิ้นในพิพิธภัณฑ์ ตาแจ๊คจะจาได้หมดเลย ตั้งอยู่ตรงไหนก็จาได้หมด หากของชิ้นไหนหายไปก็จะถามลุงสมหวัง (ลุงสมหวัง ฤทธิเดช ผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์คนปัจจุบัน) ว่าของชิ้นนี้หายไปไหน เพราะฉะนั้นแกจะรักของมาก รักจนวัน สุดท้ายก่อนที่จะเสียท่านก็มาสั่งเสียว่ าให้ดูแลพิพิธภัณฑ์ให้ดี ของทุกอย่างในนี้ต้องรักษาดุจชีวิต ช่วงแรก ๆ มักจะมีคนขอเข้ามาทาประวัติของแต่ละชิ้นซึ่งท่านก็ไม่ค่อยจะยอม เพราะท่านบอกว่าถ้าหายไปชิ้นนึง ท่านก็ต้องรับผิดชอบ แต่ช่วงหลังมีคนเข้ามาช่วยจานวนมาก ดิฉันได้เห็นความคืบหน้าของพิพิธภัณฑ์ก็มี ความภาคภูมิใจ และมีความยินดีให้คนเข้ามามีส่วนร่วม สิ่งที่สาคัญที่สุดนั่นคือการเป็นผู้ให้ อย่างตาแจ๊ค ท่านไม่เคยเอาอะไรไปจากวัดเลย นอกจากการให้ เช่นมีครั้งหนึ่งได้ชักชวนลูกๆ ร่วมกันสร้างรั้ววัด สิ่งที่อยากเห็นในอนาคต ก็คือสิ่งที่ตาแจ๊คอยากเห็นด้วยนั่นก็คือความสามัคคี การเป็นผู้ให้ของ ชุมชนวัดเกต โดยสังเกตจากครั้งสุดท้ายที่มาทอดผ้าป่าหลังจากที่ตาแจ๊คเสียแล้ว สังเกตว่าชุมชนวัดเกตมา ร่วมงานน้อยมากจนผิดสังเกต ฉะนั้นความสามัคคีจึงเป็นเรื่องสาคัญไม่ว่าจะเป็นชนชั้นไหนก็ตาม และ นอกจากนั้ น สิ่ งที่ต าแจ๊ ค อยากเห็ น คื อ อยากให้ ชุม ชนวัดเกตเป็น ศุน ย์รวมทางด้ านศาสนา มีกิจกรรม ทางด้านศาสนาร่วมกัน และก็การอนุรักษ์สิ่งเก่าก็ยังเป็นเรื่องที่สาคัญอยู่เช่นกัน


(รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ผู้ดาเนินเสวนา) จะเห็นว่าสิ่งที่สาคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งนั่นก็คือ ความสามัคคี อันนี้เป็นสิ่งที่หลายๆ ชุมชนต้องการเช่นเดียวกัน ต่อมาก็อยากจะเรียนถามอาจารย์พงษ์ สิ่ง ที่เราเรี ย กว่า “บ้ าน วัด บวร” อย่ างที่อาจารย์พงษ์อยู่ที่นี่แล้ ว เห็ นความเปลี่ ยนแปลงต่างๆ อาจารย์ อยากจะเห็นสิ่งเหล่านี้เป็นอย่างไรต่อไปคะ (คุณพงษ์ ตนานนท์ อดีตผู้อานวยการ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลั ย) ผมเป็นคนที่ใกล้ชิดวัด มากเพราะบ้านติดวัด เด็กก็มักจะลอดรั้ววัดไปมา ๆ หากจะถามว่าอยู่ที่นี่มานานเท่าไหร่แล้วก็ตอบว่า ประมาณร้อยกว่าปีแต่สมัยทวด ทวดของคุณดนัยก็เป็นน้องของทวดผมจึงเป็นเครือญาติเดียวกัน หากถาม ว่าผูกพันกับย่านนี้ขนาดไหนก็ถือซะว่าคุณแก่ชอบเล่า ความหลัง เด็กๆ ชอบเข้ามาวิ่งเล่นในกุฏิของพระ อาจารย์ มาหาท่านพระอาจารย์เป็นญาติของทวด มาจากบ้านแม่ปูคาเหนือ ปลูกต้นไม้มากมาย คิดถึง ดอกแก้วเก่าที่อยู่ตามข้างทาง เพราะว่าปู่ก็อยู่แถวนั้น ที่ทางในเชียงใหม่สมัยนี้มันเสียหายเพราะมีการทา มากเกินไป มีการสร้ างตึกมากเกินไปที่วัดเกตนี้ยังดีที่ไม่มีการรื้อ ผมคิดว่าถ้าจะดีควรจะลงต้นไม้เยอะๆ หน่อย พันธุ์ไม้ที่ท่านนายกว่าหอมก็น่าจะเอาเข้ามา ผมอยู่โรงเรียนปริน ส์ตลอดชีวิตนะครับ ปีหนึ่งปลูก ต้นไม้ 200 – 300 ต้น ปลูกแล้วถ้าอันไหนมันไม่ดีก็เอาออก ต้นไม้รอบโรงเรียนคือหัวใจเลย เพราะฉะนั้น คนจีนที่อยู่บ้าน 137 ก็จะเป็นคนจีนที่มีความรู้ สิ่งนี้จะเป็นสิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจ ต้องขอบคุณคุ ณพ่อ เป็นอย่างยิ่ง โรงเรียนปรินส์มีพิพิธภัณฑ์ของโรงเรียนอยู่ เรามาค้นพบเอกสารสาคัญต่างๆ พ่อพูดที่ก่อตั้ง โรงเรียนปรินส์นี้ท่านมีแผนที่จะก่อสร้างมหาลัย ตั้งแต่ฟ้าฮ่ามจนถึงสันป่าข่อย ฉะนั้นเราจะทาอย่างไรกับวัดเกตต่อไป คงจะต้องเกิดเสวนาขึ้นว่าจะทาอย่างไรให้ย่านวัดเกต กลายเป็นแหล่งที่ให้ความรู้และเป็นที่บริการประชาชน นอกจากนั้นจะต้องดูว่าวัดมีศรัทธากลุ่มไหนบ้างที่ จะคอยเข้ามาดูแล ซึ่งวันนี้หลังจากได้ร่วมเสวนาวันนี้ก็รู้สึกยินดี และสิ่งที่ไม่อยากข้ามไปก็คือเรื่องพ่อค้า คนจีนสมัยก่อนเกี่ยวกับท่าช้างของห้างบอร์เนียว ซึ่งเป็นท่าเพื่อลาเลียงสิ่งของขึ้น - ลงไปยังเรือ สุดท้ายนี้ ก็ขอขอบคุณคณะวิจิตรศิลป์ที่จัดเสวนานี้ขึ้น (คุณอนันต์ ฤทธิเดช ผู้ร่วมก่อตั้งพิพิธภัณฑ์วัดเกตการาม) ผมนานๆ ก็จะเข้ามาที ก็อาศัยพี่สมหวัง ที่เป็นพี่ชายแท้ๆ ดูแลพิพิธภัณฑ์แทน สมัยเด็กๆ นั้นก็มีความผูกพันกับวัดเกต เข้ามาเล่นในวัด เล่นน้าปิง หลังจากนั้นก็ขึ้นมาชมหนังขายยาที่มาฉายตามประสาเด็ก แต่ก็มีใจรักอาคารเก่าๆ ตั้งแต่ตัวโบสถ์ จาความ ได้ว่าซัก 7-8 ปีก่อน คนแก่ที่บ้านแป๊ะอุย ได้เล่าให้ฟังว่าแต่ก่อนวัดเกตการามชื่อว่าวัดเกศแก้ว มักมีของ โบราณเช่น เรือนแพ ที่เป็นของคนจีนที่มาแต่งงานกับชาวบ้านวัดเกต จากนั้นเมื่อได้พูดเคยกับลุงแจ๊คก็


ครุ่นคิดว่าจะทาอย่างไรกับวัดเกต ตุ๊เจ้าหลวงก็มรณภาพไป วัดก็รกรุงรัง ของก็กระจัดกระจาย จึงร่วมกัน ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ขึ้น โดยมีลุงแจ๊คเป็นประธาน โดยเริ่มจากการเก็บของที่มีอยู่ในวัดให้เป็นหมวดหมู่ (อาจารย์พงษ์ ตนานนท์ อดีตผู้อานวยการ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ) สมัยนี้ส่วนใหญ่จะ เป็นคนที่อื่นมา เป็นคนรุ่นใหม่มา ฉะนั้นเราควรต้องนั่ง เสวนา ว่าจะทาอย่างไรให้วัดเกตเป็นแหล่งความรู้ และเป็นที่บริการประชาชน ในเรื่องต่างๆ ซึ่งตอนนี้ยังคิดไม่ออก แต่ที่สาคัญคือ ศรัทธาวัดจริงๆคืออะไร เมื่อก่อนยายของผมจะมานอนในวัดนี้ บนวิหารนี้ แต่ปัจจุบันนี้ยังมีหรือเปล่าก็ไม่รู้ ไม่รู้ว่าคนสมัย ใหม่นี้ นอนได้หรือเปล่า หมอนใบเสื่อผืนหนึ่ง ถ้าเราจะให้คนใดคนหนึ่งเราต้องพูดกันหลายหลายมุม หลายหลาย อย่าง และวันนี้ผมก็รู้สึกยินดีที่เห็นสิ่งดีดีเกิด ขึ้นหลายอย่างถึงวัดเกต ผมก็ไม่รู้ว่าไปหาประวัติมาจากไหน ยังไม่รู้จะค้นยังไง ก็ได้ไปปรึกษาเพื่อนที่ทาพิพิธภัณฑ์อยู่ว่าวัดเกตเล็กนี้เป็นอย่างไร จนปัจจุบันนี้คิดว่าเป็น ธรณีสงฆ์ ก็มีคนเช่าอยู่ สิ่งนี้ก็เป็นสิ่งที่น่าคิดเช่นกัน มันมีอะไรหลายหลายอย่าง หลายคนพูดเรื่องพ่อค้าคน จีนสมัยก่อน เราต้องจาไว้เสมอว่าท่าช้างคือแหล่งที่เราเอาของลง จากเรือล่องกรุงเทพ และขนของที่ กรุงเทพขึ้นมาเชียงใหม่ พี่เรียกท่าช้างเพราะเกี่ยวข้องกับไม้ซุง เมื่อสมัยก่อนได้มีการไปรื้อเกาะกลางออก แล้วไปทาถนนใหญ่ หลายหลายคนยังไม่รู้ว่าเมื่อก่อนศาลเจ้านั้นติดแม่น้า สมัยก่อนผมเล่นน้าที่เ กาะกลาง และมีคนจีนปลูกผักอยู่ และสมัยก่อนจะไม่ค่อยมีขโมย เมื่อก่อนเกาะกลางเป็ นเกาะที่ใหญ่มาก ใครดูรูป เก่าๆ ก็จะเห็นรูปเกาะนั้นอยู่ แต่โดยนโยบายพัฒนาเมืองเชียงใหม่ ในอดีต ก็ได้ทาลายเกาะไปหมด ดังนั้น กลางแม่น้าปิงเลยไม่มีเกาะ และยิ่งกว่านั้นคือนโยบายทาลายกาแพงเมืองเชียงใหม่ ตอนหลังจึงมีกาแพง ปลอมเต็มไปหมด กาแพงจริงๆ สวยมาก ถ้ามันยังมีจนถึงทุกวันนี้มันจะมีคุณค่ามหาศาล สมัยก่อนน้าจาก ห้วยแก้วเอาอะไรลงมาและล่องไปตามน้า ตามคูเมือง ขอขอบคุณทางคณะวิจิตรศิลป์ ช่วยเรื่องนี้ ก็ยังมีคน รุ่นก่อนผม เหลืออีกนิดหน่อย พี่ยังอยู่ในแถบนี้ผมเริ่มจะอายุมากที่สุดในแถวนี้ ขอขอบคุณอาจารย์กับ คณะเป็นอย่างยิ่งที่ทาทุกอย่างให้เป็นวิชาการ ที่ผมพูดออกมามาจากประสบการณ์ทั้งหมด ถ้าเราจะทา อะไรเราควรจะคุยกันก่อนแล้วค่อยทาอะไรให้มันเกิดขึ้น ขอบคุณครับ (คุณทัศนัย บูรณุปกรณ์ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่) สิ่งที่ทางเทศบาลนครเชียงใหม่ร่วมกับทาง คณบดี ก็คือการจะมีกฎระเบียบ กติกา เพราะการที่เค้ามาทาอะไรไม่สามารถจะให้ความพอใจได้ สิ่งที่ผ่าน มาเราได้ทาในเขตเมืองเก่ารวมทั้ง Buffer Zone รวมทั้งวัดเกตนี้ด้วย คือ 1) ควบคุมในเรื่องของความสูง ตึกไม่ให้เกิน 12 เมตร 2) รูปแบบอาคารที่สร้างจะต้องมีรูปแบบล้านนา 3) สีอาคารตามกาหนดไว้คือ ขาว ครีม น้าตาล แต่อย่างไรก็ตามกฎหมายนี้ไม่มีผลย้อนหลังเพราะฉะนั้น บ้านหลังไหนที่ไม่ทาตรงตามสิ่งที่


เราวางไว้ นั้ น เราก็ ไ ม่ ส ามารถว่ า อะไรเค้ า ได้ จึ ง ขอความร่ ว มมื อ จากทั้ ง ทางคณะวิ จิ ต รศิ ล ป์ คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มาคิดว่าจะทาอย่างไรที่จะออกเทศบัญญัติเพิ่มเติมที่จะใช้คุมสิ่งเหล่า นี้ไว้ โดย เบื้องต้นหลังจากออกเทศบัญญัติเพิ่มเติมอาจจะให้เวลาในการให้บ้านแต่ละหลังปรับตัวให้กลมกลืนไปเทศ บัญญัติ ส่วนเรื่องต้นไม้หรือพันธุ์ไม้ เท่าที่พูดคุยคือชาวบ้านไม่อยากได้ต้นโตเพราะไม่มีรากแก้วกลัวว่าลม มาจะล้มง่าย แต่ก็ต้องปลูกหลังจากนั้นเมื่อปลูกแล้วก็ต้องมาดูว่าใครจะดูแลต้อนไม้ต่อนั่นคือชุมชนจะต้อง รับด้วย ตอนนี้ก็ได้คุยกับกลุ่มมือเย็นเมืองเย็นที่จะเข้ามาช่วยพูดคุยกับชาวบ้าน โดยเบื้องต้นจะเริ่มตรง ถนนพระปกเกล้าก่อน โดยรวมก็ขอขอบคุณท่านผู้ใหญ่ทุกท่านที่ได้ให้ความรู้ ซึ่งจะนาไปปรับใช้ โดยหวัง เหมือนกันว่าการพัฒนาย่านวัดเกตก็ต้องพัฒนาได้ แต่ยังคงรักษารากเหง้าไว้ให้ได้บ้าง กราบขอบพระคุณ ครับ


หนังสือขอใช้สถานที่


หนังสือขอความอนุเคราะห์


แบบสอบถาม / แบบประเมิน


แบบร่างในการออกแบบ LOGO

ชุดสีมีที่มาจากสีของแก้วอังวะที่ประดับบนเกล็ดพญานาค บริเวณทางขึ้นวิหารวัดเกตการาม


แบบร่าง LOGO แบบที่ 1

แบบร่าง LOGO แบบที่ 2


แบบร่าง LOGO แบบที่ 3

แบบร่าง LOGO แบบที่ 4 (แบบสมบูรณ์) แนวคิดในการออกแบบ คือ สิ่งที่มีความโดดเด่นในย่านวัดเกตฯ คือ สะพานจันทร์สม (ขัวแขก) ที่ มีประวัติความเป็นมายาวนาน และสิ่งที่มีความสาคัญต่อชุมชนเป็นที่เคารพสักการะ คือ พระธาตุเกศแก้ว จุฬามณี ซึ่งเป็นพระธาตุประจาปีจอ (ปีหมา)


โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์


บัตรเชิญ


บอร์ดกาหนดการ


ป้ายประชาสัมพันธ์


ป้ายติดของที่ระลึก


ป้าย STAFF

Back Drop เวทีกลาง



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.