Booklet Chiang Mai Forum 2018

Page 1





จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ ส�ำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ ได้ก�ำหนดจัดกำรประชุม “Chiang Mai Forum 2018” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมภำพลักษณ์กำรเป็นเมืองศูนย์กลำง ทำงกำรประชุมทำงวิชำกำร ด้ำนประวัติศำสตร์และศิลปวัฒนธรรมในระดับภูมิภำค และส่งเสริม บทบำทของเมืองเชียงใหม่กำรสนับสนุนพัฒนำต่อยอดองค์ควำมรู้ด้ำนกำรพัฒนำและอนุรักษ์ของ เมืองในกลุ่มอำเซียนโดยเฉพำะที่มีลักษณะร่วมทำงประวัติศำสตร์และศิลปวัฒนธรรมร่วมภูมิภำค เดียวกัน โดยได้จัดกำรประชุม ในวันที่ 25 – 27 มิถุนำยน 2561 ตั้งแต่เวลำ 10.00 – 16.00 น. ณ ห้องลีลำวดี ชั้น 1 (โซน A+B) ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้ำนำนำชำติเฉลิมพระเกียรติ ๗ รอบ พระชนมพรรษำ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

3


เมืองเชียงใหม่เป็นเมืองที่มีพัฒนำกำรอย่ำงต่อเนื่องเกิดพลวัต (Dynamic) ด้ำนระบบ ควำมคิดที่น�ำไปสู่ควำมแตกต่ำงออกไปจำกแนวทำงกำรอนุรักษ์ ส่งผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงของ เมือง องค์ควำมรู้ทำงวัฒนธรรม และศิลปหัตถกรรมพื้นบ้ำน ซึ่งส่งผลต่อกำรพิสูจน์ควำมจริงแท้ (Authenticity) และ ควำมครบถ้วนสมบูรณ์ (Integrity) รวมไปถึงกำรพัฒนำงำนหัตถกรรมพื้น บ้ำนที่มีคุณค่ำในเชิงสร้ำงสรรค์ สิ่งเหล่ำนี้เป็นประเด็นส�ำคัญในกำรยื่นเสนอเมืองเชียงใหม่เป็น เมืองมรดกโลก และ กำรรักษำสมำชิกภำพในกำรเป็นเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรค์ ทั้งนี้คุณลักษณะ ส�ำคัญของเมืองเชียงใหม่ทั้งด้ำนกำรเป็นแหล่งมรดกและด้ำนงำนหัตถกรรม และศิลปะพื้น บ้ำนสร้ำงสรรค์ คือ ควำมหลำกหลำย (Diversity) กำรเป็นเมืองมีชีวิต (Living City) ทั้งด้ำนองค์ ควำมรู้ และ ชำติพันธุ์ ซึ่งสะท้อนผ่ำนทั้งกำยภำพของเมืองและ องค์ควำมรู้หัตถกรรมพื้นถิ่น ซึ่ง เป็นคุณลักษณะเฉพำะในเอเชียซึ่งมีควำมเชื่อด้ำนควำมจริงแท้ (Authenticity) และ ควำมครบ ถ้วนสมบูรณ์ (Integrity) ในรูปแบบที่ตำ่ งไปจำกควำมเชื่อทำงตะวันตก ควำมแตกต่ำงนี้ส่ง ผลกำรด�ำเนินงำนทั้ง 2 ส่วน ด้วยเหตุผลดังกล่ำว กำรจัดประชุมสัมมนำเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่สู่เมืองมรดก โลกและเมื อ งหั ต ถกรรมสร้ ำ งสรรค์ จึ ง เป็ น ยุ ท ธศำสตร์ ส� ำ คั ญ เพื่ อ น� ำ เสนอและแลกเปลี่ ย น ระหว่ำงคณะท�ำงำนและผู้เชี่ยวชำญในระดับประเทศและนำนำชำติ ด้ำนกำรอนุรักษ์ พัฒนำ เมืองมรดกโลกและงำนหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำนสร้ำงสรรค์ภำยใต้บริบทเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ให้เป็นที่รับรู้และยอมรับในระดับสำกล ส�ำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่

4


Chiang Mai Forum 2018 ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้ำนำนำชำติเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษำ ห้องลีลำวดี โซน A และ B จันทร์ 25 มิ.ย. 2561 10.00 – 10.30 น. 10.30 – 11.00 น. 10.30 – 10.45 น. 10.45 – 11.00 น. 11.00 – 11.15 น. 11.15 – 11.30 น. 11.30 – 12.00 น. 12.00 – 13.00 น.

ลงทะเบียน พิธีเปิดงำน Chiang Mai Forum 2018 กำรแสดงพิธีเปิด ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ กล่ำวต้อนรับ วัฒนธรรมกล่ำวถึงที่มำและควำมส�ำคัญของ พิธีเปิดงำน Chiang Mai Forum 2018 ตัดริบบิ้นเปิดงำน และ ร่วมบันทึกภำพ พักรับประทำนอำหำรกลำงวัน

13.00 – 14.30

กำรเสวนำในหัวข้อ “วิกฤต งำนหัตถกรรมพื้นถิ่น”

14.30 – 16.00 น.

วิทยากร อาจารย์ ดร. อเล็กซานด้า เดเนส คุณสมทรัพย์ ศรีสุวรรณ : สล่าแดง คุณเพชร วิริยะ : สล่าเพชร กำรเสวนำในหัวข้อ “ทุนทำงวัฒนธรรม และ โอกำสในอนำคต” วิทยากร คุณภราเดช พยัฆวิเชียร ผศ.ดร.สุดสันต์ สุทธิพิศาล อาจารย์ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ

5


อังคำร 26 มิ.ย. 61 10.00 – 10.30 น. 10.30 – 12.00 น.

12.00 – 13.00 น.

13.00 – 14.30 น.

กำรเสวนำในหัวข้อ “หัตถกรรมสู่กำรพัฒนำงำนร่วมสมัย (Best Practice) 1” วิทยากร คุณภูริดล พิมสาร : Studio Have A Hug คุณณัฐพล วรรณาภรณ์ : Cham Learn Chiang Mai คุณศุภเชษฐ์ ภุมกาญจน์ : Supachet Studio

กำรเสนำในหัวข้อ “หัตถกรรมสู่กำรพัฒนำงำนร่วมสมัย (Best Practice) 2” วิทยากร คุณพีรพงษ์ รัตนสีนุรางกูร : Homlom Studio คุณรุ่งอรุณ ยารังฝั้น : Run Ga Run

14.30 – 15.30 น.

ลงทะเบียน กำรเสวนำในหัวข้อ “ก้ำวต่อไปของ เชียงใหม่เมืองสร้ำงสรรค์ขององค์กำรยูเนสโก” วิทยากร นายไพรัช ใหม่ชมภู : อบจ.เชียงใหม่ รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ คณบดี คณะวิจิตรศิลป์ คุณอิ่มหทัย กันจินะ TCDC Chiang Mai คุณกัณณิกา บัวจีน : บริษัท ศูนย์ท�าร่ม (1978) จ�ากัด พักรับประทำนอำหำรกลำงวัน

6


วันที่ 27 มิ.ย. 2561 10.00 – 10.30 น. 10.30 – 12.00 น. 12.00 – 13.00 น.

ลงทะเบียน กำรเสวนำ “ทิศทำง งำนหัตถกรรม” วิทยำกร : อำจำรย์วิถี พำนิชพันธ์ พักรับประทำนอำหำรกลำงวัน

13.00 – 15.00 น.

“Creative Community Move” วิทยำกร รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ คุณวสันต์ เดชะกัน ประธำนชุมชนบ้ำนถวำย

15.00 – 15.15 น. 15.15 – 16.00 น.

กำรแสดงพิธีปิด ประธำนในพิธีปิดขึ้นกล่ำวปิดงำน

*หมายเหตุ : ก�าหนดการอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

7



สารบัญ หน้ำ วัตถุประสงค์ในงำนจัดกำรประชุม

3

เชียงใหม่

11

เชียงใหม่เมืองสะท้อน “เมืองมีชีวิต”

12

คุณค่ำมรดกวัฒนธรรมที่มีควำมส�ำคัญในระดับเมือง

16

วิกฤตงำนหัตถกรรมพื้นถิ่น

27

ทุนทำงวัฒนธรรมและโอกำสในอนำคต

35

คุณค่ำของวัฒนธรรมและหัตถกรรมพื้นบ้ำนภำคเหนือ

41

ก้ำวต่อไปของเชียงใหม่เมืองสร้ำงสรรค์ขององค์กำรยูเนสโก

45

หัตถกรรมสู่กำรพัฒนำร่วมสมัย

51

Creative Crafts Community Move

61

9


10


เชียงใหม่ เมืองเชียงใหม่ตั้งอยู่ท่ำมกลำงที่รำบที่มีแนวเทือกเขำล้อมรอบโดยตัวเมืองเก่ำตั้งอยู่ บริเวณที่รำบลำดเชิงเขำจำกทิศตะวันตกสู่ทิศตะวันออก และมีแม่น�้ำไหลเลำะเลียบเมืองทำงฝั่ง ตะวันออก รำยล้อมด้วยชุมชนเมืองที่ขยำยขอบเขตข้ำมฝั่งแม่น�้ำทำงทิศตะวันออก ทำงทิศเหนือ และใต้ของตัวเมือง รวมทั้งทิศตะวันตกจรดเชิงเขำ เมืองเชียงใหม่ตำมประวัติศำสตร์ถูกก่อตั้ง และสร้ำงสรรค์เมืองภำยใต้แนวคิดกำรสร้ำงพันธมิตรระหว่ำงกษัตริย์สำมพระองค์ เชียงใหม่จึง ถือว่ำเป็นตัวแทนของเมืองที่มีควำมโดดเด่นและสะท้อนพัฒนำกำรสูงสุดของรัฐในหุบเขำของ ชำติพันธุ์ไท (Tai-Dai Culture) ที่มีกำรสืบทอดประเพณี วัฒนธรรมที่ยังสะท้อนแนวคิดเมืองที่มี ชีวิต (Living City) ผ่ำนกำรสืบทอดและส่งต่อชีวิตและจิตวิญญำณของควำมเป็นเมืองที่สัมพันธ์ กับธรรมชำติ ผ่ำนกำรหลอมรวมควำมเชื่อ ผี พุทธ และพรำหมณ์ เมืองเชียงใหม่สำมำรถสะท้อนแนวคิดเมืองที่มีชีวิต (Living City) ผ่ำนกำรสืบทอด ส่ง ต่อจิตวิญญำณและวัฒนธรรมที่สัมพันธ์ระหว่ำง องค์ประกอบทำงกำยภำพของเมือง ธรรมชำติ และวิถีชีวิตของผู้คน ผ่ำนกำรหลอมรวมคติควำมเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรมของควำมเชื่อแบบผี พุทธศำสนำ และควำมคติเชื่อแบบพรำหมณ์อย่ำงลงตัวซึ่งท�ำให้เมือง ยังคงมีพัฒนำกำรกำร เปลี่ยนแปลงบนโครงสร้ำงและองค์ประกอบเมือง

11


เชียงใหม่ เมืองสะท้อนคุณค่าวิถีชีวิต วัฒนธรรม หัตถกรรม และประเพณี เมืองเชียงใหม่ เมืองแห่งคุณค่ำทำงพหุวัฒนธรรมตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน เชียงใหม่ถือ เป็นเมืองที่มีควำมหลำกหลำยทั้งในด้ำนกลุ่มเชื้อชำติ-ชำติพันธุ์ ควำมเชื่อและศำสนำ อีกทั้งมี ควำมโดดเด่นในด้ำนวัฒนธรรม ประเพณี งำนศิลปกรรมและสถำปัตยกรรม ที่เข้ำมำอยู่รวมกัน ในเมืองเชียงใหม่ จนสงผลให้เมืองแห่งนี้เกิดเป็นเมืองที่มีเอกลักษณ์เฉพำะตัว เป็นเมืองที่ สะท้อนวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ของเมืองและผู้คนได้อย่ำงชัดเจน หรือที่เรียกกันว่ำ “เมืองมีชีวิต” เมืองเชียงใหม่ ถือเป็นเมืองที่มีควำมโดดเด่นอย่ำงยิ่งในเรื่องของวัฒนธรรม ประเพณี หัตถกรรม ศิลปกรรม และสถำปัตยกรรม ซึ่งควำมโดดเด่นทั้งหลำยเหล่ำนี้ล้วนเกิดจำกควำม หลำกหลำยในทำงด้ำนของกลุ่มชำติพันธุ์ ที่มีกำรอำศัยอยู่ร่วมกันในเมืองแห่งนี้มำอย่ำงช้ำนำน จนท�ำให้เกิดกำรถ่ำยโอน กำรแลกเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนระหว่ำงวัฒนธรรมทั้งในพื้นที่เมือง และ จำกกำรติดต่อสัมพันธุ์กับกลุ่มชำติพันธุ์โดยรอบ ซึ่งท�ำให้เกิดเป็นวัฒนธรรมร่วมที่ส่งผลให้เมือง เชียงใหม่แห่งนี้มีควำมเป็นเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์เฉพำะตัวของตนเองขึ้นมำได้ โดยถือว่ำ เชียงใหม่นั้นเป็น “เมืองแห่งควำมหลำกหลำยทำงกลุ่มชำติพันธุ์และวัฒนธรรม” ตั้งแต่อดีตจน ปัจจุบันเมืองเชียงใหม่มีกำรรับและถ่ำยโอนในด้ำนควำมหลำกหลำยมำอย่ำงต่อเนื่อง อำทิ ทำงด้ำนวัฒนธรรมประเพณี ที่มีกำรถ่ำยโอนไปมำระหว่ำงกลุ่มวัฒนธรรมของชำติพันธุ์ไท ไทยวน (ชนพื้นเมือง) ไทลื้อ ไทใหญ่ ไทเขิน ไทลำว ที่ถือเป็นกลุ่มชำติพันธุ์ที่มีลักษณะทำง ควำมเป็นอยู่ของวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ กำรด�ำเนินชีวิต ทั้งทำงด้ำนภำษำ อำหำรกำรกิน และ ขนบธรรมเนียมประเพณี ที่มีควำมคล้ำยคลึงกันและมีกำรอยู่อำศัยในแถบบริเวณที่ใกล้เคียง กัน มีกำรติดต่อสัมพันธ์กันมำต่อเนื่องทั้งในอดีตและปัจจุบัน และนอกจำกนั้นแล้วเหล่ำกลุ่ม

12


ชำติพันธุ์เหล่ำนี้ ได้มีกำรอพยพโยกย้ำยเข้ำมำตั้งถิ่นฐำนบ้ำนเรื่อนอำศัยอยู่ในเมืองแห่งนี้เป็น จ�ำนวนมำก และนอกจำกกลุ่มชำติพันธุ์ในที่รำบที่มีกำรถ่ำยโอนทำงวัฒนธรรมให้แก่เมืองแห่งนี้ แล้วนั้น เมืองเชียงใหม่ก็ยังได้รับกำรถ่ำยโอนและมีควำมสัมพันธ์กับทำงกลุ่มชำติพันธุ์ในพื้นที่สูง ที่มีกำรอพยพโยกย้ำนถิ่นฐำนลงมำจำกทำงประเทศจีน พม่ำ และลำว เข้ำมำอำศัยอยู่ตำม ที่รำบสูงบนภูเขำในเมืองแห่งนี้ ด้วยเหตุผลนี้จึงท�ำให้เกิดกำรถ่ำยโอนทำงวัฒนธรรม เอกลักษณ์ เฉพำะตัวของแต่ละกลุ่มชำติพันธุ์ที่มีกำรเข้ำมำในเมืองเชียงใหม่แห่งนี้ จึงท�ำให้เมืองเชียงใหม่นี้ เกิดเป็นเมืองที่มีควำมหลำกหลำยและควำมโดดเด่นในด้ำนของวัฒนธรรมวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ ของผู้คนได้อย่ำงชัดเจน ซึ่งสิ่งเหล่ำนี้ส่งผลให้เกิดกำรต่อยอดสร้ำงสรรค์เป็นภูมิปัญญำในแขนง ต่ำงๆ เกิดขึ้นตำมมำอีกในหลำกหลำยด้ำน อำทิ สถำปัตยกรรม ศิลปกรรม หัตกรรม ดนตรีและ กำรแสดง และที่ส�ำคัญก็คือทำงด้ำนอำหำรกำรกิน โดยเป็นกำรสร้ำงสรรค์เพื่อตอบสนองต่อวิถี ชีวิตควำมเป็นอยู่จำกพื้นฐำนรำกเดิมของวัฒนธรรมของตน เมื่อมีกำรอยู่ร่วมกันด้วยควำมหลำก หลำยทำงวัฒนธรรมแล้วนั้นจึงเกิดกำรแลกเปลี่ยนและปรับเปลี่ยนซึ่งกันและกันจนท�ำให้เมือง เชียงใหม่แห่งนี้กลำยเป็นเมืองพหุทำงวัฒนธรรมที่มีทั้งควำมสวยงำม และหลำกหลำยของวิถี ชีวิตควำมเป็นอยู่ของผู้คน แม้ว่ำจะผ่ำนกำลเวลำมำเนินนำนนับ 720 ปีแล้วนั้น เมืองแห่งนี้ก็ยังคงมีกำรสืบทอด และถ่ำยทอดในด้ำนวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี ศิลปกรรมและสถำปัตยกรรม เรื่อยมำจวบจน ปัจจุบัน จึงส่งผลให้เมืองเชียงใหม่กลำยเป็นเมืองที่สำมำรถสะท้อนให้เห็นคุณค่ำและเอกลักษณ์ ควำมโดดเด่นในด้ำนวิถีชีวิต วัฒนธรรม หัตถกรรม และประเพณีได้อย่ำงชัดเจน

13


เชียงใหม่เมืองสะท้อน “เมืองมีชีวิต” (Living City) เมืองเชียงใหม่เป็นเมืองที่ผำ่ นกำลและเวลำมำอย่ำงยำวนำน โดยกำรขับเคลื่อน ของเมืองแห่งนี้ล้วนเกิดจำกกำรขับเคลื่อนของผู้คนผ่ำนกำรสืบทอด และส่งต่อจิตวิญญำณ และวัฒนธรรม ที่สัมพันธ์กับเมือง และ ธรรมชำติ ผ่ำนกำรหลอมรวมควำมเชื่อ และ พิธีกรรม ผี พุทธ และ พรำหมณ์ ซึ่งมีคุณค่ำและถือว่ำเป็นมรดกทำงวัฒนธรรม (Cultural Heritage) ที่ได้สะท้อนผ่ำนองค์ประกอบส�ำคัญของเมือง 3 ประกำร โครงสร้ำงของกำรออกแบบผังเมือง (Value of Town Planning) อันได้แก่ แนวคิดของกำรสร้ำงเมือง กำรจัดวำงองค์ประกอบ ทิศทำง ต�ำแหน่ง แนวแกนของเมือง ถนน ระบบกำรจัดกำรน�้ำ ทั้งหมดองค์ ควำมรู้อันมีคุณค่ำ และเชื่อมต่อเมืองให้สัมพันธ์กับ องค์ประกอบทำง ธรรมชำติ เช่น ดอยสุเทพ พื้นที่รำบเชิงเขำ แม่น�้ำปิง คลองแม่ข่ำ และ พื้นที่ เกษตรกรรม อำคำร สถำปัตยกรรม และองค์ประกอบของสถำปัตยกรรม ที่ สะท้อน แนวคิดของกำรสร้ำงเมือง (Value of Town Architecture) อันได้แก่ ป้อม ประตู คูเมือง เสำหลักเมือง วัด อำคำร และแหล่งโบรำณ สถำนที่สะท้อนแนวคิดกำรสร้ำงเมือง ไม้หมำย เมือง วัฒนธรรม ระบบควำมเชื่อ ประเพณีและจำรีต ของผู้คนที่ท�ำให้เมืองยังคงควำม สืบเนื่องและมีชีวิต ( Value of Town’s Culture) วิถีแห่งวัฒนธรรมที่ส�ำคัญที่ยึดโยงผู้คน และเมืองไว้ด้วยจิตวิญญำณที่สะท้อนให้เห็นถึงควำมรักในบ้ำนเมืองถิ่นฐำนบ้ำนช่องของ ตนเอง คือ ประเพณีใส่ขันดอกอินทขีล พิธีกรรมบูชำเมือง และสืบชะตำเมือง และกำรไหว้ อำฮัก-ผีเมือง เช่น กำรเลี้ยงผีปู่แสะย่ำแสะ กำรฟ้อนผีเจ้ำนำย เป็นต้น พิธีกรรมเหล่ำนี้ล้วน เกี่ยวข้องกับมิติทำงจิตวิญญำณของผู้คนสัมพันธ์กับเมือง

14


ด้วยโลกทัศน์ที่ชำวเชียงใหม่ตระหนัก และมองเมืองว่ำเป็น “เมืองมีชีวิต” เหมือน คนๆ หนึ่งที่ต้องกำรกำรเอำใจใส่ดูแล และเป็นแหล่งที่ให้พักพิงอำศัย ปกป้องคุ้มครองผู้คน จึงให้ควำมเคำรพ จึงต้องมีกำร “บูชำ” เสมือนเมืองเป็นสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ หำกบ้ำนเมืองเกิดเหตุ เภทภัยภยันตรำยใดๆ อันเป็นเหตุให้พลเมืองเกิดควำมไม่สบำยใจ หรือทุกข์ร้อนก็จะต้องมี กำรท�ำพิธี “สืบชะตำเมือง” เป็นกำรต่อชีวิตให้กับเมือง ให้เมืองอยู่รอดปลอดภัย สิ่งเหล่ำนี้ ยังคงด�ำรงอยู่กับเมืองเชียงใหม่อย่ำงยำวนำนนับตั้งแต่กำรสร้ำงเมืองในสมัยพระญำมังรำย จนกระทั่งปัจจุบันนี้

15


คุณค่ามรดกวัฒนธรรมที่มีความส�าคัญในระดับเมือง (Value of Town Culture) เมืองเชียงใหม่เป็นเมืองที่สำมำรถสะท้อนแนวคิดเมืองที่มีชีวิต (Living City) ผ่ำน กำรสืบทอด ส่งต่อจิตวิญญำณและวัฒนธรรมที่สัมพันธ์ระหว่ำง องค์ประกอบทำงกำยภำพ ของเมือง ธรรมชำติ และวิถีชีวิตของผู้คน ผ่ำนกำรหลอมรวมคติควำมเชื่อ ประเพณีและ พิธีกรรมของควำมเชื่อแบบผี พุทธศำสนำ และควำมคติเชื่อแบบพรำหมณ์อย่ำงลงตัวซึ่งท�ำให้ เมือง ยังคงมีพัฒนำกำรกำรเปลี่ยนแปลงบนโครงสร้ำงและองค์ประกอบเมืองที่ได้ถูกออกแบบ จัดกำรไว้มรดกวัฒนธรรมเมืองดังกล่ำวนี้จึงเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบทำงกำยภำพของ กำรสร้ำงสรรค์เมือง(Town’s Planning) ที่สะท้อนควำมจริงแท้ (Authenticity) และควำม ครบถ้วน (Integrity) ในมิติของหน้ำที่ใช้สอย (Function) ในฐำนะเครื่องมือกำรจัดกำรทำง สังคมและชุมชนที่ยังคงสืบเนื่อง (Continuity) ของกำรเป็นเมืองที่มีชีวิต แม้ว่ำรูปแบบ (Form) จำกถูกพัฒนำเปลี่ยนแปลงไปตำมบริบททำงสังคม แต่ก็เพื่อให้ควำมมีจิตวิญญำณ (Spirit) นั้นสืบต่อไป โดยมีรดกทำงวัฒนธรรมที่มีควำมส�ำคัญของเมืองในที่นี้เป็นวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (IntangibleHeritage) แต่ปรำกฏรูปแบบที่แสดงและสะท้อนคุณค่ำและควำมหมำยผ่ำนวิถี ชีวิตของผู้คนที่อำศัย (People)สถำนที่ (Place) และองค์ประกอบทำงกำยภำพของเมือง (Elements of Town’s Planning) ซึ่งองค์ประกอบเหล่ำนี้ถือได้ว่ำเป็นแหล่งมรดกวัฒนธรรมที่ ท�ำหน้ำที่ร่วมกัน (Living Organism) ในกำรส่งเสริม สืบสำน และส่งต่อควำมมีชีวิตของเมือง แหล่งมรดกวัฒนธรรมที่มีควำมส�ำคัญต่อระบบชีวิตของเมือง ประกอบด้วยองค์ประกอบเชิง กำยภำพดังนี้

16


แหล่งมรดกที่สะท้อนคุณค่ำระดับครอบครัวและเครือญำติ พร้อมสะท้อนคุณค่ำระดับชุมชน/ย่ำน แหล่งมรดกวัฒนธรรมที่ยึดโยงควำมเชื่อของผู้คนในชุมชนตั้งแต่ในระดับบ้ำน ชุมชน สู่ระดับเมือง โดยเป็นรำกฐำนของวิถีชีวิตของผู้คนในเมืองที่ส่งต่อและเป็นตัวช่วยในกำรขับ เคลื่อนเมืองเชียงใหม่ แหล่งมรดกที่สะท้อนคุณค่ำระดับเมืองและภูมิทัศน์วัฒนธรรมเมือง แหล่งมรดกที่สะท้อนและมีคุณค่ำทำงด้ำนควำมเชื่อและยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้คนใน เมืองที่มีควำมหลำกหลำยทำงด้ำนชำติพันธุ์ ศำสนำ กำรด�ำเนินชีวิตเพื่อเป็นตัวสร้ำงควำมสุข สันติในเมืองแห่งนี้ มรดกภูมิปัญญำ งำนหัตถกรรม และงำนเชิงช่ำง มรดกทำงภูมิปัญญำถือเป็นสิ่งหนึ่งที่เป็นตัวช่วยในกำรขับเคลื่อนเมืองแห่งนี้ให้ด�ำรง อยู่สืบมำได้อย่ำงยำวนำน โดยแหล่งสร้ำงสรรค์งำนหัตถกรรมพื้นบ้ำนของเมืองเชียงใหม่ถือ เป็นสิ่งที่แสดงถึงวิถีชีวิต กำรด�ำริงชีวิต และควำมเป็นอยู่ ผ่ำนกำรสร้ำงสรรค์งำนหัตถกรรม เพื่อให้เป็นสิ่งตอบสนองต่อกำรด�ำรงชีวิตของผู้คนในเมืองเชียงใหม่ ที่มีกำรสร้ำงสรรค์และ สืบทอดมำอย่ำงยำวนำนนับหลำยร้อยปี และในปัจจุบันก็ยังคงมีกำรสืบทอดและร่วมกันรักษำ องค์ควำมรู้ และถ่ำยทอดมำจวบจนปัจจุบัน โดยงำนหัตถกรรมทั้งหลำยเหล่ำนี้เกิดล้ำนเกิด จำกลักษณะทำงกำยภำพของวิถีชีวิตของผู้คนในเมืองแห่งนี้ ทั้งมีกำรรับเข้ำมำ กำรถ่ำยโอน จำกทำงวัฒนธรรมร่วมในกลุ่มชำติพันธุ์ไทหรือกลุ่มชำติพันธุ์ชนเผ่ำในที่สูงที่มีกำรติดต่อ และมี ควำมสัมพันธุ์ซึ่งกันและกันมำตั้งแต่ในอดีต จนเกิดกำรถ่ำยโอนและตกตะกอนจนเกิดเป็นงำน หัตถกรรมทำงวัฒนธรรมที่มีควำมโด่ดเด่น และเอกลักษณ์เฉพำะตัวขึ้นภำยในเมืองเชียงใหม่ แห่งนี้

17


Chiang Mai Physical and Historical Background Chiang Mai is geographically located on a wide river-basin bordered by low hills and highlands on all sides. The original fortified city situates on the plain west of river Ping at the foot of the western-slope mountainous range of Doi Suthep stretching north to south allowing a growth of middle-size urban sprawl communities. The history of Chiang Mai’s early establishment is based on the story of King Mung Rai and “The Three Kings” during the end of 13th century (1296 A.D.). This unique city would later be considered the most outstanding representation of ethnic “Tai-Dai” civilization of Southeast Asia and reflected the concept of a “Living City’, well surrounded by farmland and rich natural environment. The traditions and beliefs of its people are based on practices in animism fused with later arrivals of Buddhism and Brahmin religions, creating unique traditions, and graceful ceremonies --- characteristic of heartland Southeast Asia which has been passed down from generations to generations.

18


The history of Chiang Mai can be divided into six main periods: 1. Pre-History (5000 – 2000 BC) developments of tribal societies. 2. Haripunchai (4th - 13th century AD) developments of Lawa and Mon social structure. 3. The Lanna Kingdom (1296 – 1558 A.D.) founding of Chiang Mai City and the ruling of Mung Rai Dynasty. 4. The Burmese and Ayutthaya Dominations (1558 – 1774 A.D.) 5.The Dynasty of Seven Overlord (1774 – 1940 A.D.) The Age of Restoration and Regenerations. (Under Bangkok Domination) 6. Chiang Mai as Nation State Era (1940 – Present) Chiang Mai reflects a classical “Living City” concept - a synergy between the way of life with spiritual beliefs, graceful traditions, situated in gentle and tropical natural surroundings, render itself to create a perfect harmonious “Feng Shui”, an uncomparably beautiful city of Southeast Asia.

19


Chiang Mai City and Its Expression of Values, Customs, Traditions, Culture and Crafts From past to present, Chiang Mai has always been a city of multicultural mix, home to a great diversity of ethnic groups, beliefs and faiths, traditions, architecture, and art. This spectrum of different influences has made Chiang Mai the perfect city, affectionately known as the “Living City”. Chiang Mai boasts its identity in terms of local culture, traditions, handicrafts, fine arts, and architecture. This distinction is a testament to the great diversity of ethnic groups that have co-inhabited the city for many centuries, exchanging elements and blending between themselves both in urban areas, as well as those from surrounding areas, unlike anywhere else. Chiang Mai has been considered “a city of ethnic and cultural diversity”, because it has been an important crossroad of caravans and trader, namely the Tai Yuan (native population of Mekhong River Basin) Tai Lue of Sibsong Banna, Tai Shan of Salwin River Basin, Tai Khun of Keng Tung, and Tai Lao of Mekhong River, Each group characterized by livelihoods, languages, culinary habits, and traditions, despite their former homeland. Although lacking any significant historical relationship, these different ethnic groups migrated to Chiang Mai,

20


bringing along their cultures and traditions to merge not only with other communities from the surrounding plains, but also with groups form distant countries namely Burma, China, and Laos. The wide range of backgrounds form the unique culture of Chiang Mai, which clearly reflects the diversity, individuality and rich background. Refined techniques of crafts styles developed into incredible form in architecture, art, music and culinary arts, retaining tints of the original roots. Despite being 720 years old, the heritage of Chiang Mai continues to be preserved and cherished through the cultural values, traditions, arts, crafts, architecture, and people’s way of life.

21


Chiang Mai as a Reflection of the “Organic and Living City” Chiang Mai is a city with a long history and rich heritage that has survived continually over many generations, maintained by the spiritual and cultural connections , its citizens, and the surrounding natural environment through the fusion of Buddhist and Brahman spiritual beliefs, traditions, cultural value can be identify by the three key elements of the city. Urban Planning & Design (Value of Town Plan) The main urban planning concept is based on the principal of achieving harmonization of the city with the surrounding natural environments. The overall composition, orientation and construction of the city, is based on axial direction of infrastructure which provide orderliness and practical system suitable for an efficient town plan. Significant physical features of the area, such as Doi Suthep Mountain and its foothills, the Ping River and its plains, the Mae Kha Canal, and surrounding agricultural areas exhibit thoughtful and practical layout. The North – South orientation follows seasonal monsoon winds. Buildings & Architectural Elements Reflecting Urban Design Concepts Buildings and architectural elements include the city’s defensive walls, gates, fortresses and moats, along with temples and other spiritually or historically significant structures city pillar and shrines, were placed and oriented according to principal urban planning concepts.

22


Cultural Beliefs, Customs, Traditions and Practice by Citizens (Value of Town Culture) The sense of cultural importance which binds people and reinforces the spirit of adoration for their homeland is maintained through their traditions and rituals, such as veneration of ancestral and guardian spirits of the city (City Pillar). These aspects is shown by Chiang Mai having concern about sacred entity by taking care, keeping protection, respect, and reverence in order to preserve its essence and power, thus prolong its existence. When misfortune, danger, or suffering befall on the land, the citizens conduct a “city life prolonging� ceremony to help ensure the survival, and security of the city. These beliefs have been an integral part of Chiang Mai ever since the city was founded during the time of King Mung Rai, and continue up to present. The North gate (White Elephant Gate) is considered the head of the city, there for must receive respectful treatment, auspicious and welcome entry ceremony take place here. The Southwest gate (Suan Pung) take the lowest position of the city layout, it serves as an equivalent of the city latrine, and also the only proper exit for the deceased. The mid-town gum tree serves as the navel of Chiang Mai, which is also the abode for city protective power and must be treated with proper sacrifice and honoring, normally take place for seven day nights during mid-May (Inthakin Ceremony) before arrival of monsoon rains.

23


Importance of Cultural Heritage at a City Level Chiang Mai is a city that reflects and sums up the concept of a “Living City”. The process of preserving the spiritual and cultural connections with physical elements, surrounding natural environment, and people’s way of life help to guide the urban planning process to producing a harmonious whole. Cultural heritage, as is an integral part of the physical constitution of the urban environment, help to lay the principal foundation for maintaining the authentic essence of the city. Though cultural significance of Chiang Mai is based on intangible heritage, but it is the tangible elements, such as forms and styles, or ways of life, are the clearest expression of values and beliefs which rely on the interconnectivity of its constituent parts, akin to a living organism, The following are examples of tangible symbols that can well express the cultural heritage of Chiang Mai. 1. Heritage that Reflects Family, Kinship, and Community Values Cultural heritage that reinforces people’s beliefs from household level to civic level provides a common connection for people in the community, important as social foundation which helps to unite the city life style of Chiang Mai.

24


2. Heritage that Reflects the Values of the City and Cultural Landscape Heritage sites reflect the values, beliefs, and faiths of the people in the city coming from diverse background ethnicities, religions, and lifestyles - providing common connections between citizens, facilitating a harmonious community.

3. Heritage in Arts and Crafts as Reflection of Finesse and Sophistication Refined choice in design is one of the major character that help to express the life style of the city. The fine quality handicrafts and folk art of Chiang Mai are always consider important means of life for most citizens. Creativity in everyday lives that has always been honored for hundreds of years, therefore the techniques and knowledge of design still continue to be taught, shared, and inherited. These local arts and crafts draw from countless neighboring influence and inspiration. In the city itself cultural exchange between Tai groups and other minority continue endlessly producing very distinguished craft products, uniquely Chiang Mai Style, fill city shops and markets with: • Bamboo weaving & wicker crafts • Textiles • Pottery • Wood carving • Metalwork • Paper crafts (such as decorative umbrellas and flowers)

25


26


1. วิกฤตวัฒนธรรมท้องถิ่น กระแสกำรตื่นตัวด้ำนกำรฟื้นฟูวัฒนธรรมของเชียงใหม่เริ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2538 ในปีที่เมืองเชียงใหม่เฉลิมฉลองอำยุครบ 700 ปี ในตลอดช่วงเวำ 20 ปีที่ผ่ำนมำ เชียงใหม่เป็น ศูนย์กลำงทำงวัฒนธรรมล้ำนนำอันงดงำม เต็มไปด้วยกิจกรรมทำงวัฒนธรรมอันสวยงำมและ มีคุณค่ำ สิ่งเหล่ำนี้ดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชำวไทยและชำวต่ำงประเทศให้เข้ำมำเยี่ยมเยือน วัฒนธรรมท้องถิ่นกลำยเป็น “สินค้ำสร้ำงมูลค่ำ” เกิดกำรเปลี่ยนแปลงและกำรปรับเปลี่ยน สินค้ำเพื่อให้ง่ำยต่อกำรเข้ำถึง ง่ำยต่อกำรประกอบธุรกิจ กำรเปลี่ยนแปลง “สินค้ำด้ำน วัฒนธรรม” ที่ไม่ถูกวิธีนั้นเองน�ำมำสู่ควำมเข้ำใจผิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งในทำง ปฎิบัติ และ คติควำมเชื่อ สิ่งเหล่ำนี้มิได้ส่งผลต่อตัววัฒนธรรมเองเท่ำนั้น แต่ส่งผลถึงกำรรับรู้ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจของผู้มำเยือนทั้งชำวไทย และ ชำวต่ำงชำติ และส�ำคัญที่สุดคือ คนท้องถิ่น รุ่นใหม่ที่ได้รับกำรสืบทอดและมีหน้ำที่สืบถอดวัฒนธรรมท้องถิ่นแก่คนรุ่นต่อไป ค�ำส�ำคัญ : วัฒนธรรมท้องถิ่น, ต้นทุนวัฒนธรรม, สินค้ำทำงวัฒนธรรม

27


1. Local Cultural Crisis The revival of local culture in Chiang Mai began in 1995, when the city celebrated its 700th birthday. Over the past 20 years, Chiang Mai has become a hub for Lanna culture, possessing many unique, beautiful and valuable cultural activities which attract both Thai and foreign tourists. Consequently, however, local culture began to become more “commercialized”, with products altered or modified in order to create wider appeal and increase general familiarity. This “commodification of culture” has led to many misconceptions regarding both local cultural practices and beliefs which, although hardly affecting the actual culture itself, leaves an erroneous, lasting impression which distorts the knowledge and understanding of both Thai and foreign visitors. Perhaps most significantly, however, is the fact that local culture is inherited by younger generations, who are in turn responsible for imparting the culture to future generations. Keywords: local culture, cultural resource, cultural products

28


Keynote Speakers

อำจำรย์ ดร. อเล็กซำนด้ำ เดเนส “กำรสืบทอดงำนหัตถกรรม ผ่ำนควำมเชื่อโดยคนรุ่นใหม่ อย่ำงไร” กำรสืบทอดงำนหัตถกรรม ผ่ำนทำงด้ำนงำนพิธีกรรม ประเพณี และองค์ประกอบของสิ่งศักดิสิทธิ์ที่มีควำมเกี่ยวพันกับ โบรำณสถำน อำคำรและโครงสร้ำง ซึ่งมีกำรออกแบบในเชิง สัญลักษณ์เพื่อให้สร้ำงควำมหมำยต่อตัวสิ่งก่อสร้ำง ซึ่งพิธีกรรม ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทั้ ง หลำยได้ เ ปลี่ ย นแปลงตำมกำรเปลี่ ย นแปลง ประวัติศำสตร์ ซึ่งควำมสัมพันธ์นี้สำมำรถส่งผลต่อกำรอนุรักษ์ โบรำณสถำนแห่งนั้น

29


Keynote Speakers

คุณสมทรัพย์ ศรีสุวรรณ บ้านน�า้ ต้น สล่าแดง แม่วาง “งำนหัตถกรรมพื้นบ้ำน ช่วงพวกเรำนี้ถือว่ำเป็นช่ำงฝีมือที่อยู่ใน ช่วงท้ำยๆ ของยุค พวกเรำต้องท�ำอะไรสักอย่ำงเพื่อสืบสำน ถ้ำพวกเรำไม่ ท�ำ แล้วใครจะท�ำ” ถ่ำยทอด - อนุรักษ์ - สืบสำน

30


Keynote Speakers

คุณเพชร วิริยะ บ้านจ๊างนัก สันก�าแพง “งำนแกะสลักช้ำง เป็นงำนที่รักและชอบที่จะท�ำ เป็นกำร สืบสำนต่อศิลปะวิธีกำรแกะสลักช้ำงที่ท�ำสืบทอดกันมำเป็นเวลำ นำนใน จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออยำกจะสะท้อนให้คนไทยทุกคนหันมำ ให้ควำมสนใจในเผ่ำพันธุ์ของช้ำงอย่ำงจริงจัง อยำกให้มีกำรอนุรักษ์ ให้ช้ำงอยู่คู่บ้ำนเมืองเรำไปตรำบนำนเท่ำนำน สิ่งนี้เป็นสำระส�ำคัญ ของผลงำนที่ บ้ำนจ๊ำงนัก ได้ท�ำออกมำทั้งหมด”

31


NOTE

32


NOTE

33


NOTE

34


2. ทุนทางวัฒนธรรม โอกาสในอนาคต ต้นทุนทำงวัฒนธรรม หรือ cultural resource หมำยถึง หลักฐำนด้ำนกำยภำพ สถำน ที่ ภูมิทัศน์ สิ่งแวดล้อม และ กิจกรรมอันแสดงออกถึงวัฒนธรรมของชนชำตินั้น ๆ อันเป็นมรดก ส�ำคัญที่ถ่ำยทอดสู่คนรุ่นต่อไป ภูมิปัญญำวัฒนธรรมมีบทบำทส�ำคัญต่อกำรพัฒนำด้ำนต่ำง ๆ อำทิ ด้ำนเศรษฐกิจ ด้ำนสังคม ด้ำนสิ่งแวดล้อม และ ด้ำนกำรศึกษำ ตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัดเจนของ เมืองเชียงใหม่ คือ กำรน�ำวัฒนธรรมมำเป็นต้นทุนด้ำนกำรท่องเที่ยว ในช่วงศตวรรษที่ 20 กำร ท่องเที่ยวและวัฒนธรรมถูกมองว่ำเป็นเรื่องที่ไม่มีควำมเกี่ยวข้องกัน โดย “ต้นทุนทำง วัฒนธรรม” ถูกมองว่ำเป็นส่วนหนึ่งของมรดกทำงวัฒนธรรมเกี่ยวข้องกับกำรศึกษำและ แสดงออกถึงเอกลักษณ์ในระดับท้องถิ่น “กำรท่องเที่ยว” ถูกมองเป็นกิจกรรมเพื่อควำมกำรพัก ผ่อนที่แยกออกจำกวิถีชีวิตประจ�ำวันและแยกออกจำกวัฒนธรรมพื้นถิ่น อย่ำงไรก็ตำมแนวคิดนี้ ได้เปลี่ยนไปในช่วงปี พ.ศ.1980 เป็นต้นมำ โดย“กำรท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม”กลำยเป็นตัวขับ เคลื่อนกำรพัฒนำเศรษฐกิจของหลำยเมืองทั่วโลก นอกเหนือจำกกำรท่องเที่ยวแล้วทุนทำง วัฒนธรรมยังถูกน�ำมำปรับใช้ในงำนออกแบบสร้ำงสรรเพื่อน�ำเสนอเอกลักษณ์อันโดดเด่นของ ท้องถิ่นและเป็นกำรเพิ่มมูลค้ำในตลำดสำกล ค�ำส�ำคัญ : ทุนทำงวัฒนธรรม, มรดกวัฒนธรรม, กำรใช้ต้นทุนทำงวัฒนธรรม, โอกำสและอนำคต

35


2. Future of Cultural Capital Cultural capital, or cultural resource, refers to the manifestation of a peoples' heritage and legacy inherited by successive generations, including cultural activities, physical evidence, and characteristics of locality and environment. Cultural wisdom plays a significant role in the economic, social, environmental, and educational development of a society. A clear example is the relatively recent distinction gained by Chiang Mai as an eminent city of culture, as a result of tourism. This is in contrast to the earlier part of the 20th Century, when tourism and culture were perceived as being unrelated; “cultural capital” was viewed as a part of cultural heritage and associated with the expression of local identity, while “tourism” was viewed as a leisure activity unrelated to normal daily life and local culture. However, the perception of these seemingly disparate concepts began to change during the 1980's, when “cultural tourism” emerged and became a driving force behind the economic development of many towns and cities around the world. Aside from tourism, cultural capital has been utilized within various fields of creative design and production, incorporating unique local character and identity into goods, thereby increasing value and trade potential on international markets. Keywords: cultural capital, cultural heritage, use of cultural capital, opportunities and prospects

36


Keynote Speakers

คุณภรำเดช พยัฆวิเชียร อยำกเห็นกำรท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือที่จะไปสร้ำงควำมเข้ม แข็งให้กับชุมชน ให้เขำมีรำยได้พอเพียง รักษำต้นทุนฐำนทรัพยำกร ทั้งวัฒนธรรมและธรรมชำติ เรำไม่ได้ต้องกำรคนมำเยอะๆ แต่ ต้องกำรคนมำเที่ยวแบบยั่งยืน เรำอยู่ได้ เขำอยู่ได้ แล้วก็อยู่อย่ำงมี ควำมสุข อย่ำงไรก็ดี “กำรท่องเที่ยวไม่ใช่แค่รัฐและเอกชน แต่ต้องมี บทบำทที่ 3 คือชุมชน ซึ่งเขำเป็นเจ้ำของต้นทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น”

37


Keynote Speakers

ผศ. ดร. สุดสันต์ สุทธิพิศำล แผนที่ คือ มรดกวัฒนธรรมที่สั่งสมคุณค่ำผ่ำนเวลำมำจนถึง ปัจจุบัน ทุกๆช่วงเวลำมีองค์ควำมรู้เพิ่มเติมเข้ำไปจนเรำใช้ประโยชน์ ได้ผ่ำนวิธีกำรปัจจุบัน แต่ถำ้ มีบำงส่วนผิดพลำดไปก็ต้องแก้ไขไป เรื่อยๆ ซึ่งควำมไม่สมบูรณ์ก็ใช้ประโยชน์ได้มำกอยู่แล้ว

38


Keynote Speakers

อำจำรย์ ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ “สภำพแวดล้ อ มสรรค์ ส ร้ ำ งที่ เ กิ ด ขึ้ น จำกกำรจั ด กำรของ มนุษย์เพื่อหมำยให้เกิดกำรด�ำรงชีวิตอยู่โดยปกติสุขในสภำพแวดล้อม ทำงธรรมชำตินั้น ๆ แต่ทว่ำมนุษย์ก็มีข้อจ�ำกัดในด้ำนต่ำง ๆ ทั้งในแง่ ของเทคโนโลยีที่เกี่ยวเนื่องกับกำรด�ำรงชีวิต ศำสนำควำมเชื่อ ท�ำให้ ควำมเปลี่ยนแปลงต่อพื้นที่เป็นไปได้ในระดับหนึ่งเท่ำนั้น รวมไปถึงขีด จ�ำกัดในกำรรองรับกำรเปลี่ยนแปลงของสภำพแวดล้อมทำงธรรมชำติ ก็เป็นปัจจัยหนึ่งให้มนุษย์กระท�ำต่อธรรมชำติได้อย่ำงจ�ำกัด ผลลัพธ์ ของกำรด�ำเนินไปของวัฒนธรรมมนุษย์บนธรรมชำติแวดล้อมนี่เองที่ เป็นควำมหมำยของค�ำว่ำ ภูมิทัศน์วัฒนธรรม” 39


NOTE

40


3. คุณค่าของวัฒนธรรมและหัตถกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ เชียงใหม่มีองค์ประกอบที่เป็นเอกลักษณ์ส�ำคัญอยู่หลำกหลำย อำทิ ดอยสุเทพที่ถูก ปกคลุมไปด้วยสภำพป่ำไม้ที่อุดมสมบูรณ์ ล�ำน�้ำปิง อันมีลักษณะทำงกำยภำพที่สอดรับกับ ภูมิศำสตร์ของเมือง และควำมส�ำคัญที่มีควำมโดดเด่นจนได้รับกำรยกย่องจำกผู้คนที่เข้ำมำท่อง เที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ คือ ศิลปวัฒนธรรม อันเป็นทั้งมรดกและทรัพยำกรทำงภูมิปัญญำ วิถีชีวิต ของชำวเชียงใหม่ในอดีตเป็นวิถีชีวิตของกำรท�ำบุญทำงพระพุทธศำสนำได้แบ่งผู้คนออกเป็น 2 สังคม คือ 1) สังคมอำณำจักร เป็นกำรท�ำบุญของฆรำวำสตำมล�ำดับชั้นทำงสังคม 2) สังคม พุทธจักร เป็นกำรท�ำบุญของพระสงฆ์ ข้ำวัด มีกำรแบ่งหน้ำที่ในกำรดูแลภำยในวัด กำร ถ่ำยทอดวิชำควำมรู้ด้ำนกำรเรียนภำษำบำลี กำรประพันธ์ร้อยแก้วและร้อยกรอง กำรจำร และเขียนคัมภีร์ใบลำน พับสำ และงำนช่ำงฝีมือประเภทต่ำงๆ นอกจำกนี้แล้ว ควำมเชื่อ ดั้งเดิมอันเนื่องด้วยกำรนับถือผี ขวัญ จำรีตประเพณี ควำมมีชีวิตชีวำจำกงำนหัตถกรรม สร้ำงสรรค์ คือกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่องจำกรำกเหง้ำสู่สังคมร่วมสมัยในหลำกหลำยมิติ จะเป็น แสงสว่ำงแห่งเทียนศิลป์ ที่จุดสืบต่อกันไปอย่ำงไม่หยุดยั้ง มรรคผลของกำรสร้ำงสรรค์งำน หัตถศิลป์จะกลับมำสู่กำรพัฒนำคุณภำพของชีวิตและกำรศึกษำให้แก่ผู้คนในท้องถิ่น มีกำร พัฒนำเศรษฐกิจชุมชนและกำรท่องเที่ยวที่ยั่งยืน

41


3. Value of Northern Folk Culture and Traditional Crafts Chiang Mai possesses certain unique geographical features such as Doi Suthep, which is covered by abundant forest, and the Ping River, around which the physical layout of the city was constructed accordingly. The significance of these features is such that visitors to Chiang Mai have held them in high regard as pertaining to both cultural heritage and cultural resources. The way of life for the people of Chiang Mai has historically been founded upon principles of Buddhist philanthropy and merit, applying to two distinct divisions of society: 1) the secular social classes, and 2) the religious (Buddhist) community responsible for imparting Buddhist teachings and knowledge of the Pali language, prose, poetry, pilgrimage, script writing, and skills in various arts and crafts, as well as traditional spiritual beliefs, customs, and values of morality, devotion, and creativity in various fields of traditional handicrafts, the latter of which sustains the development of cultural roots within contemporary society in various aspects. It is the light of the arts which guides progress, and the virtues of craftsmanship and creativity will ultimately return to improve the quality of life and education for local people through sustainable economic development of the community and tourism industry.

42


Keynote Speakers

อำจำรย์ วิถี พำนิชพันธ์ เมืองเชียงใหม่ เมืองแห่งคุณค่ำทำงพหุวัฒนธรรมตั้งแต่อดีต จนปัจจุบัน เชียงใหม่ถือเป็นเมืองที่มีควำมหลำกหลำยทั้งในด้ำนกลุ่ม เชื้อชำติ-ชำติพันธุ์ ควำมเชื่อและศำสนำ อีกทั้งมีควำมโดดเด่นในด้ำน วัฒนธรรม ประเพณี งำนศิลปกรรมและสถำปัตยกรรม ที่เข้ำมำอยู่รวม กันในเมืองเชียงใหม่ จนสงผลให้เมืองแห่งนี้เกิดเป็นเมืองที่มีเอกลักษณ์ เฉพำะตัว เป็นเมืองที่สะท้อนวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ของเมืองและผู้คนได้ อย่ำงชัดเจน หรือที่เรียกกันว่ำ “เมืองมีชีวิต”

43


NOTE

44


4. ก้าวต่อไปของเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ ขององค์การยูเนสโก เมืองเชียงใหม่มีควำมเจริญในด้ำนวัฒนธรรม ศิลปกรรม ศำสนำ ประเพณี และ วรรณกรรมที่สืบทอดมำจำกอดีตจนปัจจุบัน อันถือว่ำเป็นทุนทำงวัฒนธรรมที่ส�ำคัญ หำกมี กำรน�ำควำมคิดสร้ำงสรรค์มำผนวกกับทุนทำงสังคมดังกล่ำว เพื่อสร้ำงควำมมั่งคั่งทำงด้ำน เศรษฐกิจโดยใส่ควำมคิดสร้ำงสรรค์ (Creative) ในกระบวนกำรผลิต จะท�ำให้เกิดกำรสร้ำง คุณค่ำ และมูลค่ำ (Value Creation) ที่ท�ำให้สร้ำงสรรค์เศรษฐกิจของเมืองเชียงใหม่ให้ตอบ สนองต่อตลำดโลกในปัจจุบันได้ องค์ประกอบส�ำคัญในกำรเป็นเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรจะ ช่วยในกำรสนับสนุนภูมิปัญญำที่ยั่งยืนและวิธีกำรผลิตที่ร่วมสมัยของหัตถกรรมและศิลปะ พื้นบ้ำน กำรเกิดศูนย์อบรมวิชำชีพหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำน กำรส่งเสริมหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้ำน (เทศกำล นิทรรศกำร งำนแสดง ตลำด ฯลฯ) และ กำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้น ฐำนที่เกี่ยวกับหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำน เช่น พิพิธภัณฑ์ ร้ำนค้ำหัตกรรม งำนแสดง ศิลปะท้องถิ่น ซึ่งประโยชน์จำกกำรเข้ำร่วมเครือข่ำยเมืองสร้ำงสรรค์ของยูเนสโก ประกอบ ไปด้วย กำรแลกเปลี่ยนควำมรู้ระหว่ำงต่ำงกลุ่มวัฒนธรรมทั่วโลก กำรสร้ำงโอกำสใหม่ ส�ำหรับควำมร่วมมือและกำรเป็นหุ้นส่วนกับเมืองอื่น ๆ และ กำรจุดประกำยนวัตกรรมผ่ำน แลกเปลี่ยนภูมิปัญญำ ประสบกำรณ์ และวิถีปฏิบัติที่เป็นตัวอย่ำงดีเด่น ค�ำส�ำคัญ : เมืองเชียงใหม่, หัตถกรรมสร้ำงสรรค์

45


4. Chiang Mai: City of Creative Crafts Chiang Mai has prospered because of its culture, arts, crafts, religion, traditions, and literature, all of which have been continuously inherited from the past through to the present. It is these aspects for which the city has earned distinction as a major cultural capital. If creative energy can be combined with social capital to generate economic growth through integration of creative concepts into production methods and processes, this will facilitate value creation and allow the economy of Chiang Mai's creative industry to respond to the contemporary global market. The key element in maintaining a city-wide network of creative knowledge and wisdom is helping to support sustainable, modern production methods and product development plans for contemporary handicrafts and folk art. The establishment of the Handicrafts and Folk Art Training Centre, active promotion of local handicrafts and folk art (through festivals, exhibitions, markets, etc.), development of related infrastructure elements, such as museums and local art shows, and participation in the UNESCO Creative Cities Network yields many benefits, including the exchange of knowledge between different cultural communities around the world and the creation of opportunities for collaboration and partnership with other cities. This helps to stimulate innovation through a broad exchange of different knowledge, wisdom, experience, and good practices. Keywords: Chiang Mai City, creative crafts

46


Keynote Speakers

นำยไพรัช ใหม่ชมภู เพื่อพัฒนำเชียงใหม่ให้เป็นเมืองศูนย์กลำงกำรท่องเที่ยว ที่ ส�ำคัญของประเทศและภูมิภำคเอเชีย สร้ำงโอกำสทำงเศรษฐกิจให้กับ ประชำชน ตำมแนวทำงปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง “สร้ำงควำมเข้ม แข็งให้กับภำคกำรเกษตร, หัตถกรรม อุตสำหกรรมขนำดกลำงและ ขนำดย่อม เพื่อเพิ่มมูลค่ำให้กับฐำนเศรษฐกิจเดิมอย่ำงยั่งยืน”

47


Keynote Speakers

รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ เชียงใหม่เป็นสมำชิกเมืองสร้ำงสรรค์ ขององค์กำรยูเนสโก เป็นกำรสร้ำงควำมร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงำนรำชกำร องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ภำคกำรศึกษำ ภำคธุรกิจ และองค์กรระหว่ำง ประเทศ เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจและควำมมีส่วนร่วมในกำรด�ำเนินงำน ร่วมกันทุกภำคส่วน ซึ่งเป็นกำรน�ำทุนทำงวัฒนธรรมมำประยุกต์ใช้ใน งำนหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำน สำมำรถสร้ำงจุดเด่น น�ำทักษะทำง งำนฝีมือ มำผสำนองค์ควำมรู้จำกรำกเหง้ำทำงวัฒนธรรม รวมถึงควำม เข้ำใจในกำรใช้วัสดุจำกท้องถิ่นสร้ำงคุณค่ำให้กับผลงำนนั้นๆ ควบคู่กัน ไป เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยของกำรเป็นเมืองสร้ำงสรรค์ดำ้ นหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้ำน

48


Keynote Speakers

คุณกัณณิกำ บัวจีน บริษัท ศูนย์ทา� ร่ม (1978) จ�ากัด "ร่มล้ำนนำ" หัตถกรรมพื้นถิ่นคู่บ้ำนบ่อสร้ำงมำยำวนำน กว่ำหลำยร้อยปี เกิดจำกควำมร่วมแรงร่วมใจของชุมชนทั้งในอ�ำเภอ สันก�ำแพง และอ�ำเภอดอยสะเก็ด ทุกส่วนของร่ม ทั้งตัวร่ม, กระดำษ และกำรท�ำสี ล้วนท�ำจำกวัสดุธรรมชำติที่หำได้ในท้องถิ่น สำมำรถ ย่อยสลำยได้ในธรรมชำติ จึงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

49


Keynote Speakers

คุณอิ่มหทัย กันจินะ TCDC เป็นศูนย์เพื่อส่งเสริมกำรใช้ควำมคิดสร้ำงสรรค์ให้แก่ผู้ ประกอบกำร นักออกแบบ นักศึกษำ และประชำชนผู้สนใจในจังหวัด เชียงใหม่และภำคเหนือตอนบน โดยสนับสนุนให้ใช้ศักยภำพที่มีอยู่ ผสำนกั บ สิ น ทรัพย์ท ำงภูมิปัญญำและมรดกทำงวั ฒ นธรรมที่ ห ลำก หลำย มำประยุกต์เข้ำกับเทคโนโลยีและองค์ควำมรู้สมัยใหม่ อันจะน�ำ ไปสู่กำรสร้ำงเอกลักษณ์และควำมแตกต่ำงให้กับสินค้ำและบริกำรที่มี ควำมแข็งแกร่งในเชิงธุรกิจมำกยิ่งขึ้น และน�ำไปสู่กำรขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทยด้วยควำมคิดสร้ำงสรรค์

50


5. หัตถกรรมสู่การพัฒนาร่วมสมัย งำนสร้ำงสรรค์งำนหัตถศิลป์เชียงใหม่ จะมีคุณลักษณะสำมประกำรที่ยังยึดโยงกันอยู่ ซึ่งเกิดจำกพัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์และวัฒนธรรมของชุมชน ที่เชื่อมโยงจำกระดับหมู่บำ้ น สู่เมืองและเป็นแรงขับเคลื่อนสู่กำรสร้ำงสรรค์ ให้เชียงใหม่นั้นบำนสะพรั่งด้วยงำนหัตถศิลป์ พร้อมกำรเคลื่อนตัวของเมืองสู่อุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ และควำมร่วมสมัยของงำนหัตถศิลป์ กำรพัฒนำงำนหัตถศิลป์สร้ำงสรรค์จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีควำมยั่งยืนของงำนหัตถกรรมของ ชุมชน เปรียบดังสำยเลือดที่หล่อเลี้ยงชีวิตและสร้ำงควำมงดงำมให้กับสังคมอันเกิดจำกตัวตน ของเรำที่สร้ำงสรรค์อันแสดงออกผ่ำนผลงำนหัตถศิลป์ ค�ำส�ำคัญ : หัตกรรมร่วมสมัย, กำรพัฒนำอย่ำงสร้ำงสรรค์

51


5. Development of Contemporary Crafts The creative arts and crafts of Chiang Mai operate on three dimensions: 1) development of cultural roots, 2) industry and production, and 3) contemporary crafts. The essence of the creative arts and crafts of Chiang Mai is founded upon the relationship between these three elements; the historical cultural development of local communities and the interchange between their ancestral villages and the city is the driving force behind the creative industry of Chiang Mai. However, as the city's creative industries advance into ever more contemporary realms, the continued development of vernacular arts and crafts is only possible in conjunction with their maintained sustainability. The crafts and folk art of Chiang Mai are like a lifeblood that nourishes the life of the city and expresses the beauty and identity of the community through works of creation and craftsmanship.

Keywords: contemporary crafts, creative development

52


Keynote Speakers

คุณภูริดล พิมสำร ผลงำนสร้ำงสรรค์ของ Have - A - Hug Studio เป็นกำร น� ำ ควำมงำมทำงศิลปะและทักษะฝีมือของหั ต ถกรรมเข้ ำ ด้ ว ยกั น ถ่ำยทอดเรื่องรำวควำมสุขง่ำยๆ ผ่ำนผู้คน สัตว์ และ ธรรมชำติ โดยมี แนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์ว่ำ ผลงำนศิลปะหัตถกรรมของ แฮปอะฮัก สตูดิโอทุกชิ้นจะสร้ำงสรรค์ด้วยควำมสุข ควำมสงบ เพื่อส่งต่อควำม สุขนั้นสู่ผู้สัมผัสพบเห็นหรือใช้งำนในผลงำน

53


Keynote Speakers

คุณณัฐพล วรรณำภรณ์ แนวคิดจำกเรื่องกำรระลึกถึงวัฒนธรรม วิถีชีวิต ของไทย ซึ่งอำศัยภำพจ�ำในสมัยก่อน ในควำมสัมพันธ์ของ อำหำรกำรกิน บ้ำน วัด ชีวิตกำรท�ำงำน ซิ่งเกี่ยวกับกำรใช้ปิ่นโตมำเป็นแก่นควำมคิดหลัก ไม่ได้เพ่งไปในแง่มุมของ ลวดลำย สีสัน แต่มองในกำรเปลี่ยนแปลงใน วิถีของวัฒนธรรมในแต่ละยุค เพื่อกำรด�ำรงอยู่ น�ำมำสู่กำร เปลี่ยนแปลง(เพื่อ)ประโยชน์ใช้สอยรวมถึงรูปลักษณ์ จึงเป็นที่มำของ ผลงำนออกแบบปิ่นโตชิ้นนี้

54


Keynote Speakers

คุณศุภเชษฐ์ ภุมกำญจน์ แนวคิดจำกกำรท�ำงำนร่วมสมัย : ควำมคิดและจินตนำกำร ที่ น�ำสัตว์มำเป็นกำรถ่ำยทอด ออกไปเป็นงำนหัตถกรรม โดยเลือกเป็น ช้ำง และ กระต่ำย ซึ่ง ช้ำง แสดงออกมำเป็นผู้ท�ำ ช้ำงก็ยังเป็นเอกลักษณ์ ของประเทศไทย และ กระต่ำยที่แสดงถึงจินตนำกำร ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ เล่ำผ่ำนกำรเป็นงำนร่วมสมัย ของ Supachet Studio

55


Keynote Speakers

คุณพีรพงษ์ รัตนสีนุรำงกูร เรำน�ำองค์ควำมรู้เกี่ยวกับศิลปะกำรมัด เย็บ ย้อม ด้วย เทคนิคโบรำณต่ำงๆ และเทคนิคที่คิดค้นขึ้นมำใหม่ น�ำมำใช้ และย้อม ด้วยสีธรรมชำติ ให้เกิดลวดลำยศิลปะบนผ้ำหนึ่งเดียวที่ยำกจะท�ำซ�้ำ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่ชัดเจนของ Homlom Studio เรำพึ่งพำธรรมชำติ พึ่งพำตนเอง สร้ำงศิลปะบนผืนผ้ำที่มีเอกลักษณ์ และสืบสำน อุดมกำรณ์แบบโบรำณผสมศิลปะร่วมสมัย ให้กลมกลืน คงอยู่ สืบไป

56


Keynote Speakers

คุณรุ่งอรุณ ยำรังฝั้น RUN GA RUN กำรสร้ำงผลิตภัณฑ์ธรรมชำติที่มีเอกลักษณ์ ลงตัวโดยเน้นสร้ำงผลิตภัณฑ์ที่สำมำรถใช้ได้ทุกเพศทุกวัย กำรผลิต งำนโดยใช้วัตถุดิบจำกเส้นใยธรรมชำติ ที่มีควำมทนทำน ใช้งำ่ ย รักษำสิ่งแวดล้อม และมีเอกลักษณ์ของผ้ำที่ชัดเจน มำออกแบบให้ เรียบง่ำย มีจุดเด่น อีกทั้งกำรให้สีทั้งหมดเกิดจำกกำรท�ำมือเกือบ ทั้งหมด ผลิตทีละชิ้น ซึ่งท�ำให้เกิดควำมเฉพำะตัวของชิ้นงำนแต่ละ ชิ้นภำยใต้ แนวคิดที่เป็นมิตรกับธรรมชำติ “เพรำะธรรมชำติรังสรรค์ ควำมสวยงำม กำรท�ำงำนฝีมือจึงจ�ำเป็นที่ต้องน�ำวัสดุควำมสวยงำมที่ ได้จำกธรรมชำติถ่ำยทอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” : Nature fabric, Natural dye, Natural design 57


NOTE

58


NOTE

59


NOTE

60


6. Creative Community Move กำรพัฒนำงำนหัตถกรรมอย่ำงร่วมสมัยจ�ำเป็นจะต้องค�ำนึงถึงกำรสร้ำงโอกำสทำงเศรษฐกิจ ด้วยฐำนควำมรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และกำรพัฒนำเศรษฐกิจสร้ำงสรรค์ โดยกำรส่งเสริมกำรพัฒนำ เมืองสร้ำงสรรค์ควบคู่กับกำรพัฒนำธุรกิจสร้ำงสรรค์ ตำมแนวทำงเครือข่ำยวิสำหกิจ เสริมสร้ำง ศักยภำพผู้ประกอบกำรและบุคลำกร ในกำรใช้ควำมคิดสร้ำงสรรค์เพื่อกำรเพิ่มมูลค่ำของสินค้ำและ บริกำร พัฒนำระบบกำรเงิน เพื่อสนับสนุนกำรลงทุน และกำรพัฒนำอุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ ส่งเสริม กำรจดทะเบียน กำรใช้และกำรคุ้มครองทรัพย์สินทำงปัญญำ สนับสนุนกำรศึกษำวิจัยในประเด็นที่ ส�ำคัญเกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำเศรษฐกิจสร้ำงสรรค์ และกำรพัฒนำเครือข่ำยเทคโนโลยีสำรสนเทศ กำร สื่อสำรที่มีคุณภำพ ทันสมัย เพื่อสร้ำงบรรยำกำศ และสภำวะที่เอื้ออ�ำนวยต่อกำรเรียนรู้ เช่น กำรพัฒนำ แหล่งกำรเรียนรู้ พื้นที่สำธำรณะ กำรจัดกิจกรรม และงำนแสดงสินค้ำและบริกำรสร้ำงสรรค์สำขำต่ำง ๆ เพื่อสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลำงเครือข่ำยกำรผลิต กำรค้ำ และกำรบริกำรของธุรกิจ สร้ำงสรรค์ของภูมิภำคอำเซียน (Creative Hub of ASEAN) ค�ำส�ำคัญ : วิสำหกิจ, ชุมชน, ควำมสร้ำงสรรค์

61


6. Creative Crafts Community Move In order for the contemporary crafts and art industry to develop effectively, consideration must be given to the economic opportunities afforded by educational, technological, innovative and creative development, in addition to specific promotion of creative urban development alongside creative business development according to the enterprise network approach, empowerment and encouragement of entrepreneurs and personnel to think creatively in order to maximize the value of goods and services, financial sector development to improve confidence in investment, creative industry development, use of official protective registrations, and protection of intellectual property. Furthermore, it is important to provide adequate support for research regarding any key issues either directly or indirectly related to the economic development of the creative community, including development of information technology networks, modern communications, and creation of quality environments and conditions conducive to learning and creativity, such as through providing accessible learning resources, public areas, and organization of activities to help promote Thailand as a manufacturing, trade, business, and creative hub of ASEAN. Keywords: enterprise, community, creativity

62


Keynote Speakers

รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ เชียงใหม่เป็นสมำชิกเมืองสร้ำงสรรค์ ขององค์กำรยูเนสโก เป็นกำรสร้ำงควำมร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงำนรำชกำร องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ภำคกำรศึกษำ ภำคธุรกิจ และองค์กรระหว่ำง ประเทศ เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจและควำมมีส่วนร่วมในกำรด�ำเนินงำน ร่วมกันทุกภำคส่วน ซึ่งเป็นกำรน�ำทุนทำงวัฒนธรรมมำประยุกต์ใช้ใน งำนหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้ำน สำมำรถสร้ำงจุดเด่น น�ำทักษะทำง งำนฝีมือ มำผสำนองค์ควำมรู้จำกรำกเหง้ำทำงวัฒนธรรม รวมถึงควำม เข้ำใจในกำรใช้วัสดุจำกท้องถิ่นสร้ำงคุณค่ำให้กับผลงำนนั้นๆ ควบคู่กัน ไป เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยของกำรเป็นเมืองสร้ำงสรรค์ด้ำนหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้ำน

63


Keynote Speakers

คุณวสันต์ เดชะกัน บ้ำนถวำย หมู่บ้ำนหัตถกรรมไม้แกะสลัก ถือว่ำเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวทำงวัฒนธรรมที่ขึ้นชื่อที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นทีรู้จักของนักท่องเที่ยวทั้งชำวไทยและชำวต่ำงประเทศ เป็น แหล่งก�ำเนิดของงำนแกะสลักไม้ในจังหวัดเชียงใหม่ จนผลิตภัณฑ์ไม้ แกะสลักได้รับควำมนิยมอย่ำงแพร่หลำยในปัจจุบัน ทั้งด้ำนคุณค่ำ และคุณภำพของสินค้ำ จุดรวมควำมหลำกหลำยของงำนหัตถศิลป์ที่ โดดเด่น เช่น งำนแกะสลักไม้, งำนเดินเส้น-แต่งลำย, งำนลงรัก-ปิด ทอง, แอนติค,เครื่องเงิน, เครื่องเขิน, ผ้ำทอ, เครื่องจักสำน และ เครื่องปั้นดินเผำ เป็นต้น

64


NOTE

65


NOTE

66


NOTE

67


NOTE

68


NOTE

69


NOTE

70


NOTE

71


NOTE

72


NOTE

73


NOTE

74


NOTE

75


NOTE

76


NOTE

77


เอกสำรประกอบงำน Chiang Mai Forum 2018

25 – 27 มิถุนำยน 2561 09.30 – 16.00 น. ณ ห้องลีลำวดี ชั้น 1 (โซน A+B) ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้ำนำนำชำติเฉลิมพระเกียรติ ๗ รอบ พระชนมพรรษำ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จัดท�ำโดย ส�ำนักงำนวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม่ ปีที่พิมพ์ : มิถุนำยน 2561 พิมพ์ที่ : มิสเตอร์เจมส์ เชียงใหม่ ข้อมูลจำก : Chiang Mai City of Crafts and Folk Art, Chiang Mai World Heritage Initiative

78




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.