คู่มือประกอบการอบรมเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง ๓๓ เส้นทางสร้างสุขภาพ

Page 1

คูมือประกอบการอบรมเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง

“33 เสนทางสรางสุขภาพ”

กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข


33 เสนทางสรางสุขภาพ ที่ปรึกษา: . . . . .

นายแพทย์สุริยะ.วงศ์คงคาเทพ อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นายแพทย์ณัฐวุฒิ.ประเสริฐสิริพงศ์ รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นายแพทย์ปราโมทย์.เสถียรรัตน์ รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

บรรณาธิการ:. นายแพทย์ปราโมทย์.เสถียรรัตน์ . รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คณะผูจัดทํา:. . . . .

นางศุภวรรณ.พันธ์บูรณะ. นางผลิดา.สนธิ์สุวรรณ. นางสาวแสงระวี.ทองแตง. นางสาวณัฐพร.อร่ามเกียรติ. นางสาวอัจจิมา.เรืองประดิษฐ์.

ISNB:.

978-616-11-3039-8

ผู้อ�านวยการสถาบันพัฒนาก�าลังคน ผู้อ�านวยการกองพัฒนาและบริการวิชาการ สถาบันพัฒนาก�าลังคน สถาบันพัฒนาก�าลังคน สถาบันพัฒนาก�าลังคน

ออกแบบโดย:. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิมพโดย:. กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.กระทรวงสาธารณสุข พิมพครั้ังที่: . 1 จํานวน:.

2,200..เล่ม

พิมพที่:. . . .

โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทรศัพท์.0-2564-3104.ถึง.6,..0-2564-3108.ถึง.10 โทรสาร..0-2564-3119 http:///www.tu.ac.th/org/tuprint


คํานํา สุขภาพ คือสภาวะร่างกายและจิตใจของมนุษย์. การที่จะมีสุขภาพกาย และใจทีด่ ไี ด้นนั้ ต้องอาศัยการบ�ารุงรักษาร่างกายและจิตใจ.โดยการออกก�าลังกาย. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์. ถูกสุขลักษณะ. การพักผ่อนให้เพียงพอในแต่ละ วัน.การท�าจิตใจให้สงบ.และลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ.เปนต้น.แต่การที่จะดูแลสุขภาพ ตนเองให้ดีได้นั้น.จ�าเปนต้องมีองค์ความรู้และความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ ทีถ่ กู ต้อง.เพือ่ บ�ารุงรักษาร่างกายให้แข็งแรง.ป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรค.และส่งผล ถึงคุณภาพชีวิตที่ดี . คู่มือ. ประกอบการอบรมเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง “33 เสนทางสราง สุขภาพ” เล่มนี้. . ได้จัดท�าขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแล สุขภาพ. เพื่อที่จะสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้. และตระหนักถึงความส�าคัญ ในการดูแลสุขภาพ. โดยได้น�าความรู้ทางด้านการแพทย์แผนไทย. การแพทย์ พื้นบ้านไทย.และการแพทย์ทางเลือก.ซึ่งสามารถใช้ปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจ�าวัน. อันก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ปัจเจกบุคคล.ชุมชน.สังคม.และประเทศไทย.ในนามของ คณะผูจ้ ดั ท�าขอขอบพระคุณวิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญ.คณะท�างาน.และผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง ทุกท่าน.ที่มีส่วนร่วมท�าให้คู่มือเล่มนี้ส�าเร็จได้ด้วยดี . .

. . .

คณะผูจัดทํา สิงหาคม.2559 (ค)



สารบัญ ค�าน�า................................................................................................................(ค) การนวดบรรเทาอาการชาขา.............................................................................. 1 การนวดบรรเทาอาการปวดหัว........................................................................... 4 ยาสมุนไพรจากก้นครัว....................................................................................... 9 อาหารสมุนไพรห่างไกลไขมันสูง....................................................................... 15 การท�าผลิตภัณฑ์แต่งหน้าจากสมุนไพร............................................................. 24 การท�าผลิตภัณฑ์บ�ารุงผิวหน้าจากสมุนไพร...................................................... 30 การท�าผลิตภัณฑ์ดูแลผิวกายจากสมุนไพร........................................................ 42 แหนมเห็ดเพื่อสุขภาพ....................................................................................... 50 ยาพอกเข่าสมุนไพร........................................................................................... 55 การนวดนักปันจักรยาน.................................................................................... 60 นวดกระตุ้นพัฒนาการเด็ก............................................................................... 81 ความรู้สมุนไพรจีนกับโรคมะเร็ง....................................................................... 85 การดูแลผิวหน้าด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีน. ................................................ 93 ย�าสมุนไพรชะลอวัย.......................................................................................107 การผลิตสบู่ธรรมชาติ.และสบู่สมุนไพร...........................................................112 การผลิตแชมพูสมุนไพรแบบธรรมชาติ...........................................................118 (จ)


ผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองเพื่อสุขภาพ......................................................................125 การท�ายาสีฟันสมุนไพร...................................................................................129 การท�าผลิตภัณฑ์น�้ามันหอมระเหย.................................................................135 การท�าซอสจากพืชสมุนไพรและผลไม้............................................................145 นวดตนเองป้องกันออฟฟิศซินโดรม.(Office.syndrome)..............................153 นวดตนเอง.สดใสสมวัย.ห่างไกลความเครียด..................................................163 การดูแลสุขภาพวัยทองด้วยตนเอง..................................................................172 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ................................................................................185 การนวดส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กในครอบครัว............................................218 อาหารไทยตามฤดูกาล....................................................................................239 อโรมาแบบไทยคลายความเครียด...................................................................244 ผมสวยด้วยสมุนไพร.......................................................................................250 ผิวสวยด้วยสมุนไพรขัดผิว..............................................................................258 สเปรย์สมุนไพรคลายปวดเข่า.........................................................................266 สมาธิบ�าบัดแบบ.SKT.....................................................................................280 สัมผัสบ�าบัดแบบแอสซิสต์.(ASSISTS)............................................................291 กระชับพุงด้วยน�้ามันนวดสมุนไพร..................................................................310 (ฉ)


การนวดบรรเทาอาการ าขา า าร ภ า

นยาม อาการชา. คืออาการที่เน้อเย่อรับความรู้สึกต่างๆ. ได้ลดลง. โดยเ พาะ. อาการเจบ.และการสัมผัส

สาเ ตุ . เกิดจากการไหลเวียนโลหิตไม่ดี. ทํา มีการ ิดขัดและมีพิษสะสม เนื่องจาก..1..คุณภาพบกพร่อง..2..ปริมาณบกพร่อง..3..การไหลเวียน บกพร่อง . เกิดจากมีการบาดเจ็บของเส้นประสาท. ไขสันหลัง. และ/หรือสมอง. ในส่วนที่รับรู้ความรู้สึกนั้นๆ. . อื่นๆ.เช่น.ปลายประสาทอักเสบ.(เช่นในโรคเบาหวาน) เส้นประสาท ถูกกดทับนานๆ.(เช่น.การนัง่ นานๆ).โรคปวดหลังจากหมอนรองกระดูก. โรคหลอดเลือดสมอง.ดื่มสุราเรื้อรัง.ติดบุหรี่.

1


33

วธการตรว . ตรวจลมเส้นสิบ . คล�ากล้ามเนื้อขาตรวจการชาโดยการหยิก.สัมผัสอุณหภูมิ.ดูสีผิว . วัดส้นเท้า. . การงอพับขาเลข.4. . การคล�าหลังช่วงเอว

2


วธการนวด . พื้นฐานขา.เปิดประตูลม.เน้นข้อเท้า . สัญญาณ.1,.2,.3.หลัง . สัญญาณ.1,.2,.3,.4,.5.ขาด้านนอก . สัญญาณ.1,.2,.3,.4,.5.ขาด้านใน . สัญญาณ.9.จุด าเท้า

คําแนะนํา . ประคบความร้อน.เช้า-เย็น.10-15.นาที . งดอาหารแสลง. เช่น. ข้าวเหนียว. หน่อไม้. เครื่องในสัตว์. เหล้า-เบียร์. และยาแก้ปวด . ท่ากายบริหาร. นั่งยองๆ. 90. องศา. ท�า. 3. ครั้ง. เช้า-เย็น. ยืนเขย่ง ปลายเท้า.ท่าบริหารอื่นๆ.ตามความเหมาะสม . ห้าม.บิด.ดัด.สลัดขา

3


การนวดบรรเทาอาการปวด ัว า าร ภ า

. ปวดหัว. เปนอาการ. ที่พบได้บ่อยมากทั้งในเด็กและในผู้ใหญ่. ซึ่งอาการ ปวดหัวทางแผนปัจจุบันที่พบได้บ่อยๆ.มี.4.ชนิดคือ

อาการปวด ัว ากความเครยด อาการสําคั . จะมีความรู้สึกปวดหนักๆ. ที่ขมับทั้งสองข้าง. เหมือนมี แรงดันจากภายในแต่ไม่ปวดแบบตุบๆ. สาเ ุ. เกิดจากความเครียด.ความวิตกกังวล.ท�าให้กล้ามเนื้อในร่างกาย หดเกร็ง. โดยเ พาะกล้ามเนื้อรอบคอเกร็ง. จนมีผลกระทบถึงสมอง. น�าไปสู่อาการ ปวดหัว

อาการปวด ัว นดคลัสเตอร . อาการปวดศีรษะจะเกิดขึ้นบ่อย. มีความรู้สึกปวดหัวแบบทรมาน. และ มักจะมีอาการน�้าตาไหลข้างเดียว. ในแต่ละครั้งที่ปวดหัวจะเปนเวลาที่แน่นอน. โดยจะเปนช่วงเวลา.ราว.5.นาที.หรือสูงสุด.3.ชั่วโมง 4


สาเ ุ. เกิดจากความผิดปกติของต่อมไพเนียลและนิวเคลียส.( uc eus). ของเซลล์ประสาทสมองที่. 5. ซึ่งท�าให้ระบบการส่ง อร์โมนและสารสื่อประสาท ปรวนแปร

3 อาการปวด ัวไมเกรน อาการ.ปวดหัวข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง.ปวดแบบตุบๆ.หนักๆ.ในรายที่ มีอาการมากอาจเวียนหัวและอาเจียนร่วมด้วย สาเ ุ..ของโรคไมเกรนยังไม่ทราบแน่ชัด. แต่มักจะเชื่อว่าเปนความ ผิดปกติชั่วคราวของหลอดเลือดสมองและสารเคมีเซโรโทนินในสมอง.

อาการปวด ัว ากไ นัสอักเสบ อาการปวดหัวจากไซนัสอักเสบมีความคล้ายคลึงกับอาการหวัดทั่วไป. ซึ่งโดยส่วนมากจะรู้สึกปวดหน่วงๆ.บริเวณหน้าผาก.ร้อนผ่าวกระบอกตา.ลามไป ถึงโหนกแก้ม สาเ ุ เกิดจากการอักเสบบริเวณเยื่อโพรงจมูก. ซึ่งส่งผลกระทบให้ กล้ามเนื้อส่วนนั้นหดเกร็งจนอาจรู้สึกปวดศีรษะได้

5


33 อาการ รือ รคท่ทํา ปวด ัวทางแผนไทย นท่น ะขอกลาว งลมปลาย ปต าตสัญญาณ ลัง

สาเ ุ โบราณกล่าวว่าน�้าเลี้ยงขึ้นสมองแล้วไม่กลับลงมาไม่สะดวก โดยมีมู เ ุของโรค ประการ เปนตัวกระตุ้น.คือ . 1.. อาหาร. . 2.. อิริยาบถ. . 3.. ความร้อนและเย็น. . 4.. อดนอน. อดข้าว. อดน�้า..5..กลั้นอุจจาระ.กลั้นปัสสาวะ..6..ท�างานเกินก�าลัง..7..ความโศกเศร้า เสียใจ..8..โทสะมาก อาการ. ปวดหัว. ปวดกล้ามเนื้อบ่า. คอ. ร้าวขึ้นศีรษะ. มีอาการมึนงง. ปวดกระบอกตา.ตาพร่ามัว

6


การตรว วน ัย รค . . . . .

..ซักประวัติ ..ก้มหน้า-เงยหน้า.ดูองศา ..เอียงคอหูชิดไหล่.ซ้าย.ขวา ..คล�ากล้ามเนื้อบ่า.โค้งคอ.จะแข็งเปนล�า ..ดูกระดูกคอ.(สัญญาณ.5.หลัง.ความเสื่อมของกระดูก)

วธการรัก า สูตรเลก . . .

..นวดพื้นฐานบ่า ..นวดบังคับสัญญาณหลัง.4,.5.บน-ล่าง ..นวดสัญญาณ.4.หัวไหล่.

7


33 คําแนะนํา . . . . . . .

..ประคบความร้อนชื้น ..งดอาหารแสลง ..ห้ามบิด.ดัด.สลัดแขนและคอ ..หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดโรค ..พักผ่อนให้เพียงพอ ..บริหารร่างกาย รักษาต่อเนื่องสัปดาห์ละ.1-2.ครั้ง

http://hea th. apoo .com/ iew93918.htm . คู่มืออบรมการนวดไทยแบบราชส�านักภาคเทคนิคการนวดรักษาอาการ โรคที่พบบ่อย. โดยอาจารย์อภิชาติ. ลิมติยะโยธินและคณะ. จัดพิมพ์โดย. มูลนิธิ การแพทย์แผนไทยพัฒนา

8


ยาสมุนไพร ากกนครัว า าร นทน เ น รร

ร พท

นท ร ุ

หลายคนอาจสงสัยว่ายาที่ได้จากก้นครัวมีด้วยหรือ. ยาที่ได้จากก้นครัว ที่จริงแล้วก็มีกันเกือบทุกบ้าน.ถึงแม้ในยุคนี้คนส่วนหนึ่งจะอาศัยในคอนโดมิเนียม ก็ตาม.บางคนชอบปลูกต้นไม้.บางคนเวลาซือ้ ผักจากตลาดมาใช้ไม่หมดเก็บใส่ตเู้ ย็น บ้าง.ใส่ในอ่าง.ในชามหรือในถ้วยที่มีน�้าไว้.เพื่อเก็บรักษาผักเหล่านั้นให้สดอยู่เสมอ. เมื่อจะน�ามารับประทานก็ยังคงสดใหม่อยู่. ถ้าเปนบ้านที่มีดินในกระถางหรือมี บริเวณบ้านที่มีดินปลูกต้นไม้อยู่. บางครั้งก็จะน�ากิ่งหรือรากและต้นอ่อนเหล่านั้น มาปักหรือปลูกในดิน. หมั่นรดน�้าเดียวก็ได้ต้นใหม่ขึ้นมีไว้ใช้. ไว้รับประทานต่อ. บ้านเรือนโดยส่วนใหญ่มักปลูกพืชที่เปนทั้งอาหารและสมุนไพรไว้ทั้งในครัวหรือ ปลูกเปนไม้ประดับด้วย.เพราะพืชสมุนไพรหลายชนิดเปนทั้งอาหาร.เปนยา.และ เปนไม้ประดับ. เพราะบางชนิดมีดอกสวย. มีกลิ่นหอมหรือมีใบและต้นที่มีรูปทรง สวยงาม. ในปัจจุบันคนเริ่มหันมาปลูกพืชสมุนไพรและพืชที่เปนทั้งอาหารและ ไม้ประดับได้ด้วยมากขึ้น. เพราะจะค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดที่ได้. อาจเนื่องด้วย มีพื้นที่ๆ.จ�ากัดจึงมีความจ�าเปนที่จะท�าให้เกิดประโยชน์มากที่สุด . ในบางคนที่ มี พ้ื น ที่ น ้ อ ยก็ จ ะปลู ก พื ช ที่ มี ข นาดเล็ ก พวกพื ช ล้ ม ลุ ก และ รับประทานง่ายดูแลไม่ยากแต่มากด้วยประโยชน์.เพาะเมล็ดอ่อนของพืชไว้รบั ประทาน 9


33

ในพืชตระกูลถั่ว. ผักต่างๆ. พริก. ตะไคร้. กะเพรา. โหระพา. สะระแหน่. เปนต้น. ส่ ว นบ้ า นที่ มี พ้ื น ที่ ที่ เ ป น ดิ น หรื อ มี บ ริ เวณก็ มั ก ปลู ก ลงดิ น หรื อ ใส่ ก ระถางปลู ก เปนไม้ประดับสวยงาม. ในอดีตมักน�าต้นผักหรือกิ่งของพืชผักที่ใช้ปรุงเปนอาหาร ปลูกไว้พื้นที่รอบบ้านหรือหลังบ้านใกล้กับครัว. เพราะเวลาที่ต้องการใช้ก็จะหยิบ. ตัดหรือหาได้งา่ ย.และไม่ตอ้ งซือ้ หาเพียงแค่เดินรอบๆ.บ้านรอบครัวก็พบเจอพืชผัก สมุนไพรมากมาย.เช่น.พริก.ขิง.ข่า.ตะไคร้.กะเพรา.มะกรูด.กระชาย.ขมิ้น.มะนาว. โหระพา.สะระแหน่.ต้นหอม.ผักชี.ยีห่ ร่า.มะเขือ.มะแว้ง.ผักปลัง.แตง.ฟัก.ผักเชียงดา. มะระ. คูนหรือทูน. มะรุม. แค. เพกา. ขี้เหล็ก. ช้าพลู. อัญชัน. ว่านหางจระเข้. มะลิ. เปนต้น.ซึง่ ถ้าบ้านไหนมีบริเวณมากก็จะมีการปลูกผลไม้หรือไม้ใหญ่ทใี่ ห้เก็บกินได้ และเปนประโยชน์ทางยา.บางคนก็เพาะเห็ดในตะกร้า.เพาะถัว่ งอกหรือต้นอ่อนพืช ไว้รับประทาน.บางคนบ้านอยู่ริมน�้าก็ปลูกผักบุ้ง.ผักกระเ ดไว้รับประทาน.บางคน มีบอ่ น�า้ ก็เลีย้ งปลาก็ปลูกบัวปลูกผักไว้เพือ่ ให้คมุ้ ค่าคุม้ ประโยชน์.เปนลักษณะแบบ เศรษฐกิจพอเพียง

พื สมุนไพรท่เปนทังยาและอา าร มดังน กระเจียบเขียว.. แก้ท้องผูก.โรคกระเพาะอาหาร.ลวกจิ้มน�้าพริก.แกง กระเจียบแดง.. บ�ารุงกระดูกและฟัน. แก้ร้อนใน. ขับเสมหะ. ดอกท�าเครื่องดื่ม. หรือแยม กระ ิน.. แก้ ท ้ อ งร่ ว ง. สมานแผล. ยอดอ่ อ น. ั ก อ่ อ น. เมล็ ด ใน ั ก แก่. กินเปนผักสด ก วย.. บ�ารุงน�้านม. ช่วยเพิ่มกากใย. แก้โรคกระเพาะ. แกงหยวกกล้วย. แกงเลี ย งหั ว ปลี . กิ น เป น ผั ก ดิ บ . ผลอ่ อ นต� า ส้ ม . ผลห่ า ม แกงกล้วยดิบ.ผลสุกกินสดหรือท�าขนม กระเพรา . ขับลม. แก้จุกเสียด. ช่วยย่อย. แก้ท้องอืดเฟ้อ. ใส่แกง,. ใส่ผัด. ชงน�้าดื่ม 10


ขจร.. ขมิ้นขาว ขมิ้น ัน..

บ�ารุงตับ.ปอด.แก้เสมหะ.ใช้ลวก.ผัด.แกงเลียง ขับลม.หัว.ใช้เปนผักสด.ย�ากับอาหารทะเลดับกลิ่นคาว รักษาแผลในกระเพาะอาหาร.แก้ผิวหนังอักเสบ.ขับลม.ป้องกัน มะเร็งล�าไส้. หัวท�าเปนสีผสมอาหารหรือใส่ในเครื่องแกง. ดอก. ลวกจิ้มน�้าพริก ขา ขา ยวก.. ขับลม.แก้ทอ้ งอืดเฟ้อ.ลดไขมัน.ใช้เปนเครือ่ งเทศและดับกลิน่ คาว ขี้เ ก . เปนยาระบาย.ช่วยให้นอนหลับ.เจริญอาหาร.ต้มน�้าทิ้งแล้วแกง กับหมู.ปลา.เนื้อย่าง ขนํ้า ผ�า.มีวิตามินเอและธาตุเหล็ก.แกงส้ม.แกงคั่วปลาดุก แค.. ยอดอ่อนและใบเปนยาระบาย. ดับพิษร้อน. ถอนพิษไข้. ดอกแก้ ไข้หัวลม. เจริญอาหาร. แกงหรือเปนผักลวก. ผักเครื่องเคียง. ย�าดอกแค. ะอม ขับลม.แก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้อ.ลวกจิม้ น�า้ พริก.ใส่ไข่ทอด.ใส่แกงต่างๆ ะพ ู. ขับลม.บ�ารุงธาตุ.ลดน�า้ ตาลในเลือด.ใช้กนิ เปนผักสด.เปนใบเมีย่ ง.. ใส่แกง.ต้มน�้าดื่ม ํา ึง.. ช่วยย่อย.แก้ผื่นคัน.แกงจืด.ลวกจิ้มน�้าพริก เ ย อม . บ�ารุงหัวใจ.แก้อ่อนเพลีย.ท�าให้ชุ่มชื่น.รากขับปัสสาวะ.แต่งกลิ่น และสีอาหาร.เปนชาชงดื่ม บัวบก.. ผักหนอก. ระบายความร้อน. บ�ารุงหัวใจ. แก้ฟกช�้า. ใช้กินเปน ผักสดต�าคั้นน�้าดื่ม บัวสาย ดอก.แก้ไข้.เปนยาครรภ์รักษา.ก้านดอก.ผัด.ต้มกะทิ.ท�าขนม ผักกูดนํ้า มีธาตุเหล็กสูง. บ�ารุงร่างกาย. บ�ารุงสายตา. เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน. ย�า.ผัด.ลวกจิ้มน�้าพริก ผักแขยง แก้ปวดประจ�าเดือน.สมานแผล.ยอดอ่อนเปนผักสด 11


33 ผักโขม

ลดคอเลสเตอรอล.ระบาย.ใบ.ผัดหรือลวกจิ้มน�้าพริก.แกงเลียง. แกงส้ม ผักเ ียงดา . ลดน�้าตาลในเลือด.ยอดอ่อน.ลวกจิ้มน�้าพริก.ผัดไข่.กินกับอาหาร รสจัด.แกงผักรวม ผักบุง.. บ�ารุงสายตา.แก้แมลงกัดต่อย.ผัด.แกง.เปนผักสด ผักป ัง.. ขับปัสสาวะ.แก้ท้องร่วง.ลวกจิ้มน�้าพริก.แกง ผัก ผ.. ผักไผ่. ผักสด.กินกับลาบ.ผักแว่น.สมานแผลในปากในคอ.แก้ไข้. แก้ร้อนใน.ใช้กินเปนผักสด ผัก ี.. แก้ไข้.แก้รอ้ นในกระหายน�า้ .ผักสด.ต้มแก้รอ้ นใน.แต่งกลิน่ อาหาร ผัก ี อม.. ขับลม.ผักสด.แกงอ่อม.แกงหน่อไม้.ลาบ ผัก วานบาน.. ราก.แก้ไข้.แกงเลียง.แกงอ่อม.ผัด.ลวกจิ้มน�้าพริก เพกา.. ลิน้ ฟ้า.เจริญอาหาร.แก้ไข้.แก้รอ้ นในขับเสมหะ. กั .ย่างจิม้ น�า้ พริก กทอง.. เมล็ด. ่าพยาธิ. ยอดอ่อน.แกง.ลวกจิ้ม.ผล.แกงบวด.แกงเลียง. ท�าขนม มะขาม.. ขับเสมหะ.เปนยาระบาย.ขัดผิว.ลอกเซลล์ผวิ หมองคล�า้ .ยอดอ่อน. ต้มส้ม.เนื้อมะขาม.แกงส้ม มะระขี้นก.. ลดน�้าตาลในเลือด.แก้ไข้.ยอด.ผลอ่อน.ลวกจิ้มน�้าพริก แมง ัก.. ขับลม.ใบ.ใส่แกง.กินกับขนมจีน ยานาง.. แก้ไข้.แก้บิด.ต�าคั้นน�้า.แกงกับหน่อไม้.หรือยอดหวาย ยี่ รา กะเพรา วน.แก้ไอ.ขับเสมหะ.ขับลม.แก้ท้องอืดเฟ้อ.ใส่แกงอ่อม.แกงคั่ว. แกงเผ็ด โ ระพา.. ขับลม. แก้จุกเสียด. ใช้เปนผักสด. หรือเปนเครื่องแต่งกลิ่น. ดับคาวอาหาร ูเสอ เนียม ูเสอ. ช่วยเจริญอาหาร. แก้หวัดในเด็ก. ขับลม. รับประทานเปน ผักสดกับลาบ 12


ตะไคร้แกง

กล้วย/ปลีกล้วย

ว่านหางจระเข้

กระเพรา

.โหระพา

แมงลัก

13


33

สะระแหน่.

ผักไผ่/ผักแพรว

14


อา ารสมุนไพร างไกลไขมันสูง า าร นทน เ น รร

ร พท

นท ร ุ

หลายคนคงเคยตรวจสุขภาพกัน. บางท่านโชคดีเมื่อตรวจแล้วผลตรวจ ร่างกายปกติทุกอย่าง. บางท่านอาจพบว่ามีน�้าตาลในเลือดสูงบ้าง. หรือมีไขมัน ในเลือดสูง. บางท่านอาจมีแต่ไขมันที่เปนเ พาะโคเลสเตอรอลสูงอย่างเดียว. บางท่านมีไขมันทีเ่ ปนไตรกลีเซอไรด์สงู อย่างเดียว.แต่มบี างท่านอาจมีไขมันทัง้ สอง ประเภทสูง. ซึ่งส่วนใหญ่ถ้าไม่สูงมากคุณหมอมักให้ค�าแนะน�าเรื่องการควบคุม อาหารแล้วนัดตรวจซ�้า.แต่บางท่านอาจต้องใช้ยาเพื่อช่วยในการควบคุมทันที .. ภาวะที่ร่างกายมีไขมันในเลือดสูงเรียกว่า. yper ipidemia. เปนภาวะ ทีม่ คี วามเสีย่ งต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด.ท�าให้เกิดเส้นเลือดตีบ.หรืออุดตัน.ท�าให้ เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ. ได้ไม่เพียงพอ. และอาจเปนอันตรายถึงชีวิตได้. รวมถึง เปนโรคอ้วน

สาเ ตุของภาวะท่มไขมัน นเลือดสูง .

1.. เกิดจากการกินอาหารทีไ่ ม่ถกู หลักโภชนาการ.คือ.กินอาหารทีม่ ไี ขมัน มาก.เช่น.อาหารทอดทีอ่ มน�า้ มัน.เครือ่ งในสัตว์.เนือ้ สัตว์ตดิ มัน.อาหาร ที่มีกะทิมากหรืออาหารหวานมาก 15


33 .

2.. ความผิดปกติทางพันธุกรรม. ท�าให้ร่างกายเผาผลาญไขมันลดลง. จึงท�าให้มีไขมันในเลือดสูง 3.. โรคอ้วน.เนื่องจากคนอ้วนมักกินจุ.และได้รับพลังงานจากอาหารเกิน ความต้องการของร่างกาย.จึงท�าให้เกิดการสะสม

.

อันตราย นผูท่มภาวะไขมัน นเลือดสูงท่พบไดบอย เ น .

1.. ภาวะของหลอดเลื อ ดแดงแข็ ง ซึ่ ง เป น สาเหตุ ส� า คั ญ ของโรคหั ว ใจ ขาดเลือด 2.. ภาวะตับและม้ามโต.หรือไขมันพอกตับ.มักพบในผู้ที่มีไตรกลีเซอไรด์ สูงมากเปนเวลานาน 3.. บางรายอาจมีระบบประสาทท�างานผิดปกติ. เช่นเดินโซเซ. กล้ามเนื้อ แข็งเกร็ง 4.. บางรายมีภาวะของอัมพฤกษ์.อัมพาต.จากหลอดเลือดทีไ่ ปเลีย้ งสมอง ตีบตัน 5.. เปนโรคอ้วน.มีน�้าหนักมากผิดปกติ

. . . .

นทางการแพทยแผนไทยมองสาเ ตุของภาวะไขมัน นเลือดสูง ดังน ..

1.. เกิดเพราะไฟปริณามัคคี.(ไฟย่อยอาหาร).ผิดปกติ.ซึง่ เกีย่ วข้องกับการ ย่อยการเผาผลาญอาหารในร่างกาย. เช่น. ไฟย่อยอ่อนก�าลังจากอายุ ทีม่ ากขึน้ .หรือจากกินอาหารทีไ่ ปลดทอนการท�างานของไฟย่อยอาหาร. เช่น. น�้าเย็น. น�้าแข็ง. กินอาหารที่ดิบและมีฤทธิ์เย็นในมื้อเย็นมากไป. ไม่ ว ่ า จะเป น เนื้ อ สั ต ว์ . ผั ก ดิ บ . ผลไม้ ที่ มี ฤ ทธิ์ เ ย็ น . เช่ น . ผั ก สลั ด. แตงต่างๆ.ชมพู่.สาลี่.ถั่วเขียว.เต้าหู้.หรือดื่มน�้ามากเกินไปในระหว่าง รับประทานอาหาร 16


.

2.. เกิดจากการท�างานของระบบลมที่เกี่ยวข้องกับการย่อยและการ ดูดซึม. ท�างานน้อยลงหรือประสิทธิภาพลดลง. (ลมกุจ ิสยาวาตและ ลมโกฏฐาสยาวาต).ตลอดจนปิตตัง.(น�้าดีคือพัทธะและอพัทธปิตตัง) . 3.. เกิดจากการสะสมของเสมหะ.(เมือก.มูกและไขมัน).ทีร่ า่ งกายขับออก ไม่หมดหรือเผาผลาญไม่ดที า� ให้เกิดตกค้างของไขมัน.เมือก.มูกต่างข้น เข้าเปนก้อน.เปนเวลานาน . 4.. เกิดจากพฤติกรรมการกิน. กินเกินพอดี. กินเกินก�าลังธาตุและกินผิด. เปนต้น การดูแ รอรักษา น ักษณะทางการแพทยแผน ทยนั้น จะ ยา รอ อา ารที่ วยเสริม ทธิ นการยอย การเผาผ า เพ่อกระ นุ ยอยอา าร เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางานของกระเพาะแ ะ ํา ส เสริมระบบของ ยอยแ ะ ระบบ ม นทางเดินอา าร ดการสะสมของ เสีย รอสิ่งที่เปนสวนเกิน เพ่อ รักษาสมดุ ของระบบธา ุ าง นรางกาย เปนปก ิ

ขอควรป บัตตน คือ . . . .

1.. งดกินอาหารที่มีไขมันสูง. เช่น. เนื้อสัตว์ติดมัน. อาหารทอด. อาหาร ที่หวานจัด.อาหารที่มีกะทิเข้มข้น.งดกินเครื่องในสัตว์ 2.. งดดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอ อล์ . ขนมหวาน. เบเกอรี่ . เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี รสหวานจัด 3.. ไม่ดมื่ น�า้ มากในขณะรับประทานอาหาร.งดรับประทานอาหารทีม่ ฤี ทธิ์ เย็นในช่วงอาหารมื้อเย็น.เพราะจะท�าให้ไฟย่อยอาหารท�างานได้ไม่ดี 4.. หลีกเลี่ยงการนอนดึก. เพราะจะท�าให้หิวและต้องหาของกินไม่ว่าจะ เปนอาหารว่างหรืออาหารหนัก.จะท�าให้รา่ งกายได้รบั อาหารเกินและ เกิดการสะสม.ท�าให้เกิดโรคอ้วนตามมาและมีไขมันในเลือดสูงได้ 17


33 .

5.. หมั่นออกก�าลังกายเปนประจ�าเพื่อให้ร่างกายได้เผาผลาญส่วนเกิน และลดการสะสม. 6.. ถ้ามีภาวะที่เสี่ยงต่อร่างกายควรพบแพทย์เพื่อรับการรักษา

.

สวนผูท่มภาวะของ รคอวนรวมดวย มขอป บัตดังน .

1.. ควบคุมอาหาร. (ไม่ใช่อดอาหาร). การควบคุมอาหารคือเรายังรับ ประทานอาหารทุกมื้อ.และอาหารในแต่.ล ะมื้ อ นั้ น ต้ อ งครบ. 5. หมู ่. เพียงแต่สดั ส่วนจ�านวนของอาหารควรลดลงในมือ้ เย็นให้ความส�าคัญ กับอาหารมื้อเช้าเปนพิเศษ. อาหารในทุกมื้อควรมีแป้ง. น�้าตาลใน ปริมาณน้อย.ไขมันน้อย.และควรเปนไขมันจากพืช. 2.. หมั่นออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอ. อย่างน้อยสัปดาห์ละ. 3. ครั้ง. โดยเริ่มจากการเริ่มออกก�าลังในท่าที่ง่ายและไม่เหนื่อยมากไปจนถึง ท่าที่ยากขึ้น. และใช้ก�าลังมากขึ้น. เวลานานขึ้น. เมื่อมีอาการเหนื่อย หรือเพลียจากการออกก�าลังกาย. ควรดื่มน�้าผลไม้สดที่ปราศจาก น�า้ ตาลปรุงแต่งรสหวานหรือดืม่ น�า้ เกลือแร่กไ็ ด้.และควรออกก�าลังให้ เหงื่อออก 3.. ไม่ตามใจตัวเองโดยเ พาะเมื่อเห็นขนมหรืออาหารที่เคยรับประทาน แต่เปนสาเหตุของความอ้วน.งดรับประทานของจุบจิบ.และถ้าจ�าเปน ให้เลือกรับประทานผลไม้ที่มีรสหวานน้อย.และควรเปนผลไม้สด 4.. ไม่นอนดึก.เพราะการนอนดึกจะท�าให้รา่ งกายต้องใช้พลังงานต่อเนือ่ ง และท�าให้เกิดความหิว.เมือ่ เข้านอนแล้วท�าให้นอนไม่หลับ.สุดท้ายต้อง ลุกขึ้นมาหาของรับประทาน. และส่งผลให้เกิดการสะสมเนื่องจาก ประสิทธิภาพในการย่อยไม่ดี.จนเกิดเปนโรคอ้วนได้ 5.. การมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะลดความอ้วนอย่างจริงจัง.และเมือ่ น�า้ หนักอยูใ่ น เกณฑ์ที่เหมาะสม.ก็ต้องควบคุมอย่างต่อเนื่องโดยไม่ละเลย.

.

. ..

. 18


เมนูอา ารท่ทํารับประทานเองไดงายท่ วยทังเรื่องการควบคุมไขมัน นเลือด และปองกัน รคอวน ดังน

. . . . . . .. ..

เมนู เ ยนราเรง สวนประกอบอา าร. กระเทียมกลีบใหญ่สับละเอียด. 5.กลีบ. . ขิงแก่สับละเอียด.. 1..ช้อนโตะ . เต้าหู้ขาวอย่างนิ่มหั่นเตา.. 3..ช้อนโตะ. . ผักกาดหางหงส์.หั่นเปนท่อน.. 1..กาบ. . ผักโสภณ.(ผักกาด อ่ งเต้).หัน่ ท่อน. 1.ต้นเล็ก. . เห็ดหอมแห้งแช่น�้าจนนิ่มหั่นเตา.. 3..ดอก. . เห็ดฟางหั่นเปนแผ่น.. 3..ดอก. . เห็ดนางฟ้าหั่นเตา.. 2..ดอก . แครอทหั่นเตา.. 2..ช้อนโตะ. . ข้าวโพดเม็ดต้มสุก. 2..ช้อนโตะพูน. เคร่องปรุง แป้งข้าวโพด. 2. ช้อนโตะ. ซีอิ้วขาว. 1. . ช้อนโตะ. เกลือ เล็กน้อย.น�้าตาลไม่ขัดขาวเล็กน้อย.พริกไทยปน. .ช้อนชา. น�้ามันร�าข้าว.1.ช้อนโตะ.น�้าสะอาดหรือน�้าสตอค.2.แก้ว

.. .

วิธีปรุง 1.. ใส่น�้ามันลงกระทะ. ตามด้วยขิงและกระเทียมสับ. ผัดให้หอมเหลือง. ตามด้วยเห็ดหอมผัดจนกลิ่นหอม 2...ใส่เห็ดฟาง. เห็ดนางฟ้าลงผัด. ตามด้วยผักต่างๆ. ใส่น�้าลงไปพอเดือด ใส่เต้าหู้ลงไปคลุกเคล้า

19


33 .

3...ปรุงรสด้วยซีอิ้ว. เกลือ. น�้าตาล. ละลายแป้งข้าวโพดกับน�้าเล็กน้อย. ใส่แป้งข้าวโพดลงไปคนจนแป้ ง สุ ก ข้ นเล็ ก น้ อ ย. ชิ ม และโรยด้ วย พริกไทยให้หอม 4...อาจน�าบะหมี่หรือเส้นกวยเตียวต่างๆ. มาลวกแล้วน�าไปจี่หรือผัด ให้หอม. รับประทานอย่างโกยซีหมี่ก็ได้. หรือใครที่ชอบกินกับข้าว ก็น�ามาราดข้าวอย่างข้าวหน้าไก่ก็ได้. กินกับพริกอ่อนสดหั่นเตา.หรือ จะปรุงรส.ด้วยจิกโ ่ว.(ซีอิ้วเปรี้ยว).ก็ได้เช่นกันตามชอบ

.

มายเ ุ . ผักกาดหางหงส์. ผักโสภณ. เห็ดหอม. เห็ดฟาง. เห็ดนางฟ้า. ช่วยลด ไขมันในเลือดและลดโคเลสเตอรอล. ป้องกันโรคหัวใจขาดเลือด. ป้องกันหลอดเลือดหัวใจตีบ.เพิ่มกากใยอาหาร.ถั่วลันเตา.บ�ารุงก�าลัง. บ�ารุงเส้นเอ็น. ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ. พริกไทย. กระเทียม. ขิง.เสริมฤทธิ์ในการย่อยอาหาร.ขับลม.ท�าให้ล�าไส้ท�างานปกติ. ช่วย ลดไขมันในเลือด.แครอท.ป้องกันมะเร็งล�าไส้.ช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกัน ท�างานปกติ.แก้โรคตาฟาง

. . . . . .

เมนู สเตกเ ดกับยํามะเ อง สวนประกอบอา าร เห็ดเปา ื้อหั่นเตาเล็ก.. 60..กรัม เห็ดแชมปิญองสดหั่นเตาเล็ก.. 60..กรัม เห็ดฟางหั่นเตาเล็ก.. 60..กรัม เห็ดนางรมหั่นเตาเล็ก.. 60..กรัม แครอทสับละเอียด.. 30..กรัม มัน รั่งต้ม.. 100. กรัม ข้าวโพดกินเม็ด.. 30..กรัม 20


. . . . . . .

. .

แป้งข้าวโพด.. เกลือ.. พริกไทยด�าปน.. น�้าตาลทรายไม่ฟอกสี.. เนยเค็ม.. ซอสมะเขือเทศ..

2..ช้อนโตะ ..ช้อนชา ..ช้อนชา 1..ช้อนชา 2..ช้อนโตะ 1..ช้อนโตะ

วิธีปรุง 1...น�ามัน รั่งที่ต้มแล้วบดให้ละเอียดใส่เนยเค็ม. 1. ช้อนโตะ. โรยเกลือ. พริกไทยเล็กน้อย. ใส่เห็ดต่างๆ.ลงคลุกเคล้าและแครอท. โรยแป้ง ข้าวโพดลงผสมประมาณ.1.ช้อนโตะคลุกให้เข้ากัน.ใส่พิมพ์อัดให้เปน ก้อนแน่น.หนาประมาณ.1. .นิ้ว.หรือจะใช้มือปันก็ได้เช่นกัน 2...ใส่เนยที่เหลือลงในกระทะ. เมื่อกระทะร้อนให้ใส่เห็ดที่ปันไว้ลงทอด ให้สกุ ทีละด้านจนเหลืองสวย.หรืออาจใช้วธิ กี ารใส่ในจานแล้วน�าไปอบ ก็ได้เช่นกัน 3...น�าข้าวโพดเม็ดลงผัดกับกระทะที่ทอดเห็ดให้หอมเติมน�้าสะอาด. .ถ้วย.เติมเกลือ.พริกไทยด�า.น�้าตาล.ซอสมะเขือเทศ.คนให้เข้ากัน ให้ได้รสเค็มเผ็ดเปรีย้ วเล็กน้อย.ใส่แป้งข้าวโพดลงไปเพือ่ ให้นา�้ ราดนัน้ ข้นขึ้น. ตักราดลงบนเห็ดรับประทานกับ. ย�ามะเฟองแทนอาหาร จานหลัก

21


33 การทํายํามะเ อง สวนประกอบ. . . . . . . .

. . . . . . .

มะเฟองสุกหั่นเตา.. มะม่วงสุกห่าม.. แคนตาลูปหั่นเตา.. แอปเปิลเขียวหั่นเตา.. มายองเนสหรือสลัดน�้าใส.. พริกขี้หนูสับ.. น�้ามะนาว.. ใบสะระแหน่สับละเอียด..

4.. ช้อนโตะ. 2.. ช้อนโตะ. 2.. ช้อนโตะ. 2.. ช้อนโตะ. 1.. ช้อนโตะ. .. ช้อนชา. 1.. ช้อนชา. 3-5. ใบ

วิธีปรุง . น�ามายองเนสหรือน�้าสลัดน�้าใสใส่ลงในชามผสม.ใส่น�้ามะนาว.พริกขี้หนู ลงคนให้เข้ากัน.ใส่ผลไม้ต่างๆลงคลุกแ. ละโรยใบสะระแหน่แล้วคลุกเบาๆ.ตักเสริฟ รับประทานคู่กับสเตกเห็ด มายเ ุ อาหารจานนี้ใช้แทนอาหารจานหลักได้. สามารถรับประทานร่วมกับ ชาตะไคร้หรือชาใบเตยอุ่นๆ.ได้.ส. �าหรับคนทั่วไปอาจรับประทานกับ ขนมปังกระเทียมที่อบแบบกรอบนอกนุ่มในก็อร่อยได้เช่นกัน.

22


3 เมนู ารวม . . . .

สวนประกอบ. . . . . . . . .

ค�า อย.. เกสรบัวหลวง.. ตะไคร้ซอย.. ใบเตยหั่นซอย.. ชะเอม-เทศ..

1.. ช้อนชา. 1.. ช้อนชา. 1.. ช้อนโตะ. 1.. ช้อนโตะ.. 1.. แผ่น

วิธีปรุง . น�าสมุนไพรทั้งหมดใส่หม้อต้มใส่น�้า.500.ซีซี.ต้มเดือด.10.นาที.กรองดื่ม แต่น�้า.ครั้งละ.1-2.แก้ว.เช้า-.เย็น. หลังอาหาร. ดื่มชานี้ทุกวัน. 1. สัปดาห์จากนั้น หยุดดื่มแล้วกับมาดื่มใหม่ท�าสลับกันจนกว่าไขมันในเลือด.จะลดลงก็หยุดดื่ม มายเ ุ ไม่ควรดื่มต่อเนื่องติดต่อกันทุกวันเปนเวลานานเกิน.3.เดือน.เพราะ อาจส่งผลให้เกิดภาวะโลหิตจางได้ในบางราย. เนื่องจากมีส่วนผสม ของค�า อย

23


การทําผลตภัณ แตง นา ากสมุนไพร า าร รร ส า นเ

า ร น าส ร า งา

น งา นท

คุณสมบัตสวนประกอบของแปงควรประกอบดวย . 1.. สารที่มีคุณสมบัติในการเคลือบคลุมผิว.( o ering.powder).ซึ่งจะ เปนตัวบดบังรูขุมขนและความมันบนใบหน้า. ได้แก่. Titanium. dio ide,. inc. o ide,. a cium.car onate,.ดินสอพอง,.ทัลคัม,.แป้งข้าวเจ้า. ล . 2.. สารทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ า� ให้ผวิ ลืน่ .(S ip.property).ซึง่ จะเปนตัวท�าให้แป้ง กระจายตัวดีทั่วบริเวณที่ทาและสม�่าเสมอ.เช่น.ทัลคัม,.Starch. ล . 3.. สารที่มีคุณสมบัติในการดูดซับ. (A sor ency). ซึ่งจะเปนตัวดูดซับ ความมัน.เช่น. a cium.car onate,.Starch,.Kao in,.ดินสอพอง. ล . 4...สารที่ มี คุ ณ สมบั ติ ท� า ให้ ติ ด ผิ ว . (Adherence). และมี ค วามเรี ย บ. (Smoothness). เช่น. Kao in,. Starch,. inc. o ide,. แป้งนวล. (แป้งหิน),. agnesium.stearate,. eta ic.soap. ล . 5.. สารที่มีคุณสมบัติท�าให้ใบหน้าเปล่งปลั่ง. ( oom). หรือเต่งตึง,. กันแสง. . เช่น. Starch,. ha ,. สารสกัดต่างๆ,. ผงไหม,. ผงมุก,. สมุนไพรที่มี สรรพคุณ. ล 24


. 6.. สารที่มีคุณสมบัติท�าให้เบา. ( uffiness). ซึ่งจะเปนตัวท�าให้เนื้อแป้ง ไม่จับกันเปนก้อนมักเปนแป้ง ุน.เช่น.ทัลคัม,.Starch,.Aerosi . ล . 7.. สารที่มีคุณสมบัติท�าให้เกิดสี . 8.. สารที่มีคุณสมบัติแต่งกลิ่น . 9.. สารที่ เ พิ่ ม คุ ณ สมบั ติ ต ่ า งๆ. เช่ น . เมนทอล,. พิ ม เสน,. การบู ร ,. คารามาย. ล .ส�าหรับแป้งแข็งให้เพิ่ม . 10.. สารที่มีคุณสมบัติเปนตัวประสานเปนตัวเชื่อมให้เปนเนื้อเดียวกัน และไม่ท�าให้แป้งแตกง่าย.เช่น.น�้าผสมน�้ามัน.,น�้ามัน,. ycerine,. inera .oi ,. ice.starch.(แป้งข้าวต่างๆ),.Starch,. um,. inding.agent. ล คุณสมบัตของสารประกอบ นผลตภัณ แปง แปงทาวยายมอม.(Arrowroot.Starca).จริงๆ.แล้วตามพจนานุกรม. สะกดว่า. เท้ายายม่อม. แป้งนี้. สกัดมาจากหัวมันท้าวยายม่อม. มีลักษณะเปน เม็ดเล็กๆ.สีขาวเปนเงา.เวลาใช้ตอ้ งบดให้ละเอียดเปนผง.เมือ่ น�าไปประกอบอาหาร จะให้ความข้นเหนียวหนืดและใส.เมือ่ ท�าให้เย็นจะเหนียวตัวกว่าแป้งมันส�าปะหลัง. นิยมน�ามาใช้ร่วมกับแป้งชนิดอื่นๆ.เพื่อให้ได้อาหารที่มีความข้นเหนียวเปนมันวาว. เช่น.ขนมชั้น.ขนมน�้าดอกไม้. ล แปงขาวโพด. ได้จากการสกัดเอาแป้งจากเมล็ดข้าวโพดที่แก่และ แห้งแล้ว.มี.3.ลักษณะคือ.ชนิดหยาบเรียกคอร์นกริท.(corn.grit).ค่อนข้างละเอียด เรียกว่า.คอร์นมิล.(corn.mea ).และชนิดละเอียดเรียกแป้งข้าวโพด.(corn. our). นอกจากนั้นยังมีผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งข้าวโพดในรูปแบบต่างๆ. แป้งข้าวโพด เปนสารให้ความคงตัว. แป้งมีคุณสมบัติเปนสารให้ความคงตัวได้เพราะสามารถ สร้างเจลได้. แต่ต้องละลายแป้งให้แป้งสุกและเปนเจลแบบแป้งเปยกถ้าเติมลงไป เ ยๆ.มันจะไม่ท�าหน้าที่เปนสารให้ความคงตัว 25


33

3 แปงขาวเจา.( ice.starch).เปนสารอินทรีย.์ ย่อยสลายได้โดยธรรมชาติ. ปลอดภัย.เหมาะส�าหรับ.ทุกเพศทุกวัย.มีความปลอดภัยเพราะสามารถย่อยสลาย ได้ดว้ ยจุลนิ ทรียใ์ นธรรมชาติไม่กอ่ ให้เกิดอาการแพ้ไม่ระคายเคืองต่อผิวทีบ่ อบบาง ของเด็ก.มีเนื้อขาวเนียนละเอียดป้องกันความเปยกชื้นดูดซับความมันได้ดีใช้เพียง ปริมาณน้อย. (น้อยกว่าประมาณ. 2-3. เท่า)ช่วยปกปิดรอยหมองคล�้า. ทาแล้ว ติดทนนาน/การฟุ้งกระจายต�่า แปงมัน สําปะ ัง . ท�าให้เนื้ออาหารเหนียวข้น. คืนตัวเร็ว. แต่ถูก. สีที่ได้ใส.ถ้าหาไม่ได้ใช้.แป้งข้าวโพด.รวมกับแป้งท้าวยายม่อมแทนได้ ทั คั ม . ท� า ให้ เ กิ ด ความรู ้ สึ ก ลื่ น สบายผิ ว . ปกคลุ ม ดี . มี คุ ณ สมบั ติ ดู ด ซั บ ดี . ติ ด ผิวดี. คือมี. ody. adhesion. สู ง นั่ นเอง. มี ร าคาถู ก และ. inert. ไม่เปลี่ยนแปลงง่าย.มีความคงทนต่อความชื้นและอุณหภูมิสูงอีกด้วย.สีของทัลคัม มีได้แตกต่างกัน.ตัง้ แต่สขี าวจนถึงสีเทาและด�า.แต่ทลั คัมทีใ่ ช้ในเครือ่ งส�าอางจะต้อง เปนสีขาว. โปร่งแสงติดผิวได้ดีและช่วยปกปิดริ้วรอยและต�าหนิบนใบหน้าได้. และมีความละเอียดสูง. คือ. 98 . ของทัลคัมสามารถผ่านแร่งเบอร์. 200. ได้. ในปัจจุบันนี้.microni ed.tu cum.มีขนาดอนุภาคเล็กมาก 6. Koalin.มีชื่อทางเคมีว่า.a uminium.si icate.ใช้ลดความเงาเลื่อม ของแป้งทัลคัม.โดยทั่วไปไม่ติดผิวดี.Ko in.มีสีครีม.เมื่อเปยกน�้าจะมีสีเข้มขึ้น 7. Calcium Carbonate or Precipitated Chalk. จะท�าหน้า ที่ดูดซับและช่วยให้ผิวหน้าดูเปล่งปลั่ง. มีลักษณะทึบ. และช่วยลดความเงาของ ทัลคัม. ข้อเสียอีกประการหนึ่งของ. a cium. ar onate. คือมีความไม่คงตัว ในคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมี. คือในอากาศร้อน. a cium. ar onate. จะดูดซับเหงื่อเอาไว้มาก. นอกจากท�าให้รู้สึกเหนียวเหนอะหนะแล้ว ยังท�าให้มีความเปนด่าง.ซึ่งสลายตัวได้ง่ายกว่าเมื่ออยู่ในสภาวะที่เปนกรด

26


แ ะ . เปนสาร ที่มีน�้าหนักเบามากและใช้ทดแทนแป้งที่มีน�้าหนักมาก. มีการกระจายตัวและ เกลีย่ ให้ทวั่ ได้งา่ ย.เนือ่ งจากเปนสารทีเ่ บามาก. agnesium. ar onate.ท�าหน้าที่ เปนตัวดูดซับมีมากกว่า. a cium. ar onate.ประมาณ.3-4.เท่า.ท�าปฏิกิริยากับ กรดได้น้อยกว่า.ไม่ควรใช้เกิน.15 .ของผลิตภัณฑ์เนื่องจากถ้าใช้เปนจ�านวนมาก จะท�าให้เกิดการดูดซับเหงื่อและน�้ามันมากและท�าให้ผิวแห้งเกินไป S แ ะ S . จะท�าหน้าที่ให้ ผลิตภัณฑ์เกาะติดผิวใช้เปนตัวกันน�า้ และความชืน้ .เบาและมีความหนาแน่นต�า่ .ต้อง ผ่านแร่งเบอร์.250.ลักษณะขาวเนียนกระจายตัวดีใช้อยู่ระหว่าง.5-15. . ท�าหน้าที่คลุมผิวช่วยให้แลดูทึบแสง. ติดผิวทนและ ต้านน�้า. จะต้องมีสีขาว,. เบา,. ละเอียดไม่มีกลิ่น. ถ้ามีสิ่งเจือปนจะท�าให้กลิ่นและ สีเปลี่ยนไป .ท�าหน้าที่คลุมผิวช่วยให้แลดูทึบแสงได้ดีกว่า. inc.O ide.แต่ติดผิวน้อยกว่า.ผสมกับส่วนประกอบอื่นไม่ดีนักต้องผสมกับ. inc. O ide.ในอัตราที่เหมาะสมจึงจะช่วยแก้ปัญหานี้ได้จะใช้ปริมาณไม่มากกว่า.10 . เมื่อใช้ร่วมกับ. inc.O ide.ควรใช้.Titanium. io ide.ที่บริสุทธิ์เท่านั้น รอ รอ .เปนสารสังเคราะห์ ใช้ ป ้ อ งกั น การเกาะตั ว กั น เป น ก้ อ นของเนื้ อ แป้ ง จะช่ ว ยให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ค วาม หนาแน่นน้อย.ใช้สา� หรับท�าแป้ง นท� ุ าให้ผใู้ ช้มคี วามรูส้ กึ ดีเพราะแป้งจะมีเนือ้ ทีเ่ บา 3 นํ้า อม. ควรมีความคงตัวดีไม่เปลี่ยนแปลงง่ายและไม่ท�าให้ผู้ใช้ เกิดปัญหาระคายเคืองต่อผิวหนัง. การเปลี่ยนแปลงของน�้าหอมอาจเกิดจาก การปนเปอนหรือเมื่อผสมกับ. Titanium. io ide,. inc. O ide,. Koa in,. สี,. ไขมัน. ล .

27


33

การทําผลตภัณ แตง นา ากสมุนไพร ลปมะพราว . . . . .

สวนประกอบ 1.. น�้ามันมะพร้าวสกัดเย็น.. 2.. Shea. utter.. 3.. ees.wa .. 4.. กลิ่นมะพร้าว.. 5.. เปปเปอร์มิ้น..

ปริมาณ 44.. กรัม 34.5.. กรัม 20.. กรัม 1.. กรัม 0.5.. กรัม

. . . .

ขั้น อนวิธีการทํา 1.. น�าส่วนผสมตั้งแต่ข้อ.1..ถึงข้อ.3..มาหลอมรวมกันที่อุณหภูมิ. . 70-75.องศาเซลเซียส 2.. แต่งกลิ่น 3.. เทใส่บรรจุภัณฑ์.รอให้แข็งและเย็น.จึงค่อยปิด า

แปง ุนสมุนไพรสเบ ทานาคา สวนประกอบ 1...ดินสอพองสะตุ.. . (เคลือบผิว,.ดูดซับความมัน,.กันแดด) 2.. แป้งหิน.(แป้งนวล).. . (เคลือบผิว,.ติดผิว,.ท�าให้เบา,.กันแดด) 3.. ผงทัลคัม.. . (เคลือบผิว,.ติดผิว,.ท�าให้เบา,.ลื่นผิว)

. . . . . . 28

ปริมาณ 10. กรัม. 30. กรัม. 15.. กรัม.


. . . . .

4.. ผงทานาคา.. 42.. กรัม. . (กันแดด,.ลดรอยด่างด�า,.แต่งสีแป้งให้เปนสีเบจ) 5.. ผง างเสน. 2.5. กรัม. . (ลดการระคายเคือง,.การอักเสบ,.แต่งสีแป้งให้เปนสีเบจ) 6.. กลิ่น.. 0.5. กรัม

.

ขั้น อนวิธีการทํา ผสมกันร่อนด้วยตะแกรงเบอร์.200.หรือ.250

3 แปง ุนสมุนไพรส มพู ันทนแดง . . . . . . . . . . .

สวนประกอบ ปริมาณ 1...ดินสอพองสะตุ.. 10.. กรัม. . (เคลือบผิว,.ดูดซับความมัน,.กันแดด) 2...แป้งหิน.(แป้งนวล).. 45.. กรัม. . (เคลือบผิว,.ติดผิว,.ท�าให้เบา,.กันแดด) 3...ผงทัลคัม.. 30.. กรัม. . (เคลือบผิว,.ติดผิว,.ท�าให้เบา,.ลื่นผิว) 4...ผงทานาคา.. 9.5.. กรัม. . (กันแดด,.ลดรอยด่างด�า,.แต่งสีแป้งให้เปนสีเบจ) 5...ผงจันทน์แดง.. 5.. กรัม. . (ลดการระคายเคือง,.การอักเสบ,.แต่งสีแป้งให้เปนสีชมพู) 6.. กลิ่น.. 0.5.. กรัม

.

ขั้น อนวิธีการทํา ผสมกันร่อนด้วยตะแกรงเบอร์.200.หรือ.250 29


การทําผลตภัณ บํารุงผว นา ากสมุนไพร า าร รร ส า นเ

า ร น าส ร า งา

น งา นท

องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด . 1..น�้ามันมะพร้าว.(. oconut.oi ). ocos.nucifera. inn. . 2..น�้ามันร�าข้าว. ice. ran.oi

. 3..น�้ามันงา.Sesame.seed.oi

30

สรรพคุณ รักษาแผลไฟไหม้น�้าร้อนลวก.มีสาร ส�าคัญออกฤทธิค์ ล้าย อร์โมนเอสโตรเจน. บ�ารุงผิวให้ชุ่มชื้น.ชะลอความชรา it. ,. it. ,. atty.acids,. atty. a co ho s.และ. amma.ory ano . มีวิตามินอีสูง.รวมทั้งโอรีซานอลสูง. ต้านอนุมูลอิสระได้ดี กรด. ino eic.และ.o eic.สูง. .40 . it. .และสารแอนตี้ออกซิแดนซ์มักใช้ ในผลิตภัณฑ์กันแดดและลดรอยเหี่ยวย่น


องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา (ตอ) ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด . 4..น�้ามันมะกอก.(O i e.Oi )

. 5.. ycerin.I I. A .:. ycerin . ละลายในน�้า

. 6.. itamin. .I I. A .:.Tocophery.Acetate . 7.. o agen. owder.I I. A .:. o agen .ละลายในน�้า. . 8.. itamin. 3.I I. A .:. iacinamide ละลายในน�้า

. 9.. - antheno .( itamin 5).I I. A .: antheno .ละลายน�้า. แอลกอ อล์.และ. ropy ene. g yco

สรรพคุณ เปนเสมือนฟิล์มปกป้องผิวไม่ให้ สูญเสียน�้า.วิตามินอีในช่วยลดการเกิด ออกซิเดชั่นตามธรรมชาติ.ลดอาการ อักเสบของสิวและป้องกันรังสียูวีได้. กักเก็บความชุ่มชื่นไว้ที่ผิว.รักษาผิว ไม่ให้แห้งตึงโดยดูดความชื้นในอากาศ มาไว้ที่ผิว.( umectant).ท�าให้ผิวชุ่มชื่น ไม่แห้งตึง. Anti-O idant.ช่วยชะลอริ้วรอย. บ�ารุงผิวให้นุ่มน่าสัมผัส.ใช้ได้ทั้งในสูตร ครีม.หรือโลชั่นบ�ารุงทั้งผมและผิวต่างๆ. จากเกล็ดปลาทะเลน�้าลึกมีอนุภาคเล็ก ที่สามารถซึมเข้าผิวได้ดี.บ�ารุงผิวและให้ ความชุ่มชื้นแก่ผิวและผม. เปน. o-. n yme.ที่ใช้ในการสังเคราะห์. กรดอะมิโนและนิวคลีอิค.แอซิดช่วยลด การผลิตเม็ดสีผิวท�าให้สีผิวจางลง.ท�าให้ ผิวขาวใสขึ้น ช่วยบ�ารุงผมและผิวให้นุ่มชุ่มชื่นท�าให้ผิว ที่แห้งกลับมาเนียนนุ่ม.ยังมีฤทธิ์ลด อักเสบและช่วยลดการระคายเคือง ของผิวได้อีกด้วย

31


33

องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา (ตอ) ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด .10..A oe. era. tract. สารสกัดว่านหางจระเข้ . .I I. A :.A oe. e a. e .11..Asiatic. tract. สารสกัดใบบัวบก I I. A :. ente a.Asiatica. eaf .12.. anana.S in. tract. สารสกัด เปลือกกล้วย .I I. A :. usaparadiscara. ruit. ee .13.. and e. ush. eaf. trac สารสกัดใบชุมเห็ดเทศ . I I. A :. assia.a ata. eaf .14.. arrot. tract. สารสกัดแครอท . I I. A :.A ua. and and aucus arotasati a. carrot Seed. .15.. ucum er. tract. สารสกัด แตงกวา .I I. A :. ydrog yco ic.p ant s . tract .16.. reen.Tea. tract. สารสกัดชา เขียว .I I. A :. ame ia. sinensis

32

สรรพคุณ ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.ให้ผิวเรียบเนียน. และลบรอยจุดด่างด�า.ช่วยรักษาแผล. ป้องกันการอักเสบ สมานผิวให้ผวิ เรียบเนียน.ลบรอยจุดด่างด�า. ช่วยกระตุ้นการสร้างเซลล์ผิวใหม่.ป้องกัน การอักเสบ. ่าเชื้อแบคทีเรีย ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.บ�ารุงให้ผิวมีสุขภาพ ดี.รักษาแผล.ช่วยบรรเทาอาการคัน า่ เชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา.ลดอาการสิว และรักษาสิว อุดมไปด้วยแคโรทีน.วิตามินซี.และ น�้าตาลจากธรรมชาติ.ที่ช่วยบ�ารุงผิว ให้ความชุ่มชื่น.ผิวพรรณสดใสเปล่งปลั่ง อยู่เสมอ ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิวและกระชับรูขุมขน ช่วยท�าให้ผิวเรียบเนียน.บ�ารุงผิวให้สดชื่น แลดูมีชีวิตชีวา ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.และดูมีชีวิตชีวา. และต่อต้านอนุมูลอิสระ. ่าเชื้อแบคทีเรีย


องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา (ตอ) ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด

สรรพคุณ

.17.. angosteen. tract. สารสกัด ่าเชื้อแบคทีเรีย.ต่อต้านอนุมูลอิสระ. เปลือกมังคุด .I I. A :. ป้องกันการอักเสบ.ช่วยสมานแผล arcinia.mango.stana. ar .18.. u erry. tract. สารสกัดต้น ช่วยให้ผิวขาวใสอย่างเปนธรรมชาติ. หม่อน .I I. A :. orus.A a. ต่อต้านการสร้างเมลานินที่เซลล์ผิว oot. tract ช่วยรักษา ้า .19.. apaya. tract.(In.Oi ). มะละกอ ช่วยย่อยเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพให้หลุด. ในน�้ามัน .I I. A :. arica. ท�าให้ผิวนุ่มน่าสัมผัส.ผิวไม่หยาบกร้าน apaya .20.. apaya. tract.(In. ater). ช่วยย่อยเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพให้หลุด. สารสกัดมะละกอในน�้า .I I. ท�าให้ผิวนุ่มน่าสัมผัส.ผิวไม่หยาบกร้าน A :.A ua and ropy ene-g yco . and . arica. apaya. papaya . ruit. tract .21.. omegranate. tract. สารสกัด ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.ลดการระคายเคือง. ทับทิม .I I. A :. unica. ลดสิว.บ�ารุงผิวให้ขาวสดใสเปล่งปลั่ง granatum. inn เปนธรรมชาติ .22.. ueraria. irifica. tract. สาร ช่วยให้ผิวกระชับและเต่งตึง. สกัดกวาวเครือขาว .I I. A :. ให้ความชุ่มชื้น ueraria.mirifica .23.. adish. tract. สารสกัดหัวไชเท้า . ลดอาการ ้าบนใบหน้า. I I. A :. aphanus.sati us ต่อต้านอนุมูลอิสระ.ป้องกันการอักเสบ

33


33

องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา (ตอ) ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด .24..Tomato. tract. สารสกัด มะเขือเทศ .I I. A :.A ua. and ropy ene-g yco and So anum. ycopersicum.fruit/ eaf/stem/ tract .25.. itch. a e . tract. สารสกัด วิทซ์ าเซล .I I. A :. amame is. irginiana inne .26..Oat. eta-. ucan. สารสกัดโอต. เบต้ากลูแคน .I I. A :. eta- ucan .27.. rape.Seed.e tract. สารสกัด เมล็ดองุ่น .I I. A :. itis. inifera. rape .Seed. tract .28.. ogurt.e tract. สารสกัดโยเกิร์ต I I. A :. ogurt.e tract

.29..Oat.e tract. สารสกัดโอต . I I. A :.A ua. and . ropy ene.-g yco . and .A era. Sati a oat Kernei. tract

34

สรรพคุณ ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิว.ลดการเกิดสิว. ช่วยให้รูขุมขนกระชับผิวเรียบเนียน. ลดริ้วรอย.ใช้กับผมท�าให้ผมเงางาม

กระชับรูขุมขน.ท�าให้ผิวกระชับ. ผิวละเอียดเรียบเนียน ช่วยท�าให้ผิวเรียบเนียน.เพิ่มความชุ่มชื้น ให้แก่ผิวในระยะยาวท�าให้ผิวรู้สึกนุ่มลื่น. ช่วยในการสร้างคอลลาเจน ช่วย ่าเชื้อแบคทีเรีย.ลดการเกิดสิว. ชะลอริ้วรอยป้องกันการเกิดอนุมูลอิสระ เพิ่มความชุ่มชื่นและการยืดหยุ่นในผิว อุดมไปด้วยกรดเอเอชเอ.และวิตามิน ต่างๆ.ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.บ�ารุงผิวให้ ขาวสดใสเปล่งปลั่งอยู่เสมอพร้อมทั้ง ต่อต้านอนุมูลอิสระ ให้ความชุ่มชื่นกับผิวลดอาการระคาย เคือง. ่าเชื้อแบคทีเรียได้ดี


การทําผลตภัณ บํารุงผว นา ากสมุนไพร ทนเนอรแตงกวา . . . . . . . . . . . . . . .

สวนประกอบ ปริมาณ 1.. น�้าแตงกวาสดกรองเอากากออก. 25. กรัม. . (ให้กระชับรูขมุ ขน.กระตุน้ การสร้างคอลลาเจน) 2...น�้าปูนใส.(10.กรัม/น�้า.1.ลิตร). 32.5.. กรัม. . (ท�าให้เย็นสมานผิวกระชับรูขุมขนกันเสีย) 3...ก�ายาน.(ตุน.กับ.น�้าสะอาด.20.g). 5. กรัม . (กันเสีย.ลดการอักเสบ.ช่วยตรึงกลิ่นน�้าหอม) 4...สารส้ม.(ตุนละลาย.กับน�า้ สะอาด.7g). 5. กรัม. . (กระชับรูขุมขน.มีสารที่ช่วยลดการอุดตันรูขุมขน) 5...กลีเซอรีนน�้า. 1. กรัม. . (ให้ความชุ่มชื้นกักความชุ่มชื้นไว้ที่ผิว) 6.. สารสกัด. itch.ha e . 10.. กรัม. . (ช่วยกระชับผิวและกระชับรูขมุ ขนลดการระคายเคือง) 7.. สารสกัดหม่อน. 1. กรัม. . (ท�าให้ผิวขาวใส.ลดรอยด่างด�า. ้า.กระ.ลดการอักเสบ) 8...กลิ่น. 0.5.. กรัม.

. .

ขั้น อนวิธีการทํา 1...ปันแตงกวากรองเอากากออกให้สะอาด 2...ตุนแยก.ข้อ.3,.4.แต่ละส่วนห้ามปนกัน

35


33 . .

3...ผสมทุกส่วนให้เข้ากันคนให้เข้ากันแล้วกรอง 4...สังเกตดูถ้ามีตะกอนให้กรองอีกครั้งและท�าเช่นนี้จนกว่าแน่ใจว่า ไม่มีตะกอนอีกแล้วประมาณ.3-5.ครั้ง มายเ ุ การเตรยมแตงกวา 1.. ปอกเปลือกแตงกวาแล้วน�าไปล้างน�้าเปล่า.. 2...ใช้เครือ่ งปัน หรือเครือ่ งแยกกาก.แยกเอาเ พาะน�า้ แตงกวา.แล้วกรอง ด้วยผ้าขาวบาง 3...เอาน�้าแตงกวาไปตุนด้วยอุณหภูมิไม่เกิน.70.องศาเซลเซียส.หลังจาก ตุนไปสักพักจะเห็นน�้าแตงกวา. แยกเปน. 2. ส่วน. คือเปนน�้าใสและ ก้อนตะกอนอยู่ 4...ค่อยตักเอาแต่น�้าแตงกวาที่เปนน�้าใสๆ.แล้วน�้ามากรองอีกรอบ

. . . .

การเตรยมนําปูน ส น�้าปูนใสให้เอาปูนแดง.10.กรัมใส่ลงในน�้าอุณหภูมิปกติ. 1.ลิตร.ห้ามใช้ น�้าร้อน. เพราะปูนละลายได้น้อยในน�้าร้อนกวนแรงๆ. หมั่นกวนบ่อยๆ. จนครบ. 1. ชั่วโมง. แล้วทิ้งไว้. 24. ชั่วโมง. หลังจากนั้นจะได้น�้าปูนใส. รินเอาน�้าส่วนใสๆ. เก็บไว้ใช้. เก็บน�้าปูนใสไว้ในเซรามิคเคลือบเท่านั้น. สามารถเก็บไว้ใช้ครั้งต่อไปได้. มีอายุถึง.1.ป.แต่ปิด าภาชนะให้สนิท

36


การเตรยมกํายาน 1. .บดก�ายานให้มีขนาดเล็ก. (เปนผง). ตุ นก�ายาน. ที่อุณหภูมิ. 70-90. องศาเซลเซียส. กับน�้า. 20. กรัม. ใช้เวลาการสกัดก�ายานทั้งหมด ประมาณ.1.ชั่วโมง.45.นาที. 2...หลังจากสกัดก�ายานประมาณ. 1. ชั่วโมง. 45. นาทีแล้ว. ให้ชั่งน�้า ที่สกัดก�ายานว่ามีการระเหยหรือไม่. ถ้าน�้า. มีการระเหยก็ให้เติมน�้า เข้าไปจนครบจ�านวน.20.กรัมเท่าเดิม.(ถ้าน�้าหายไปมากกว่า.10.กรัม ให้ท�าใหม่จนครบ). แล้วกรองเอาเ พาะน�้าก�ายานมาใช้. ควรท�าก่อน ขั้นตอนอื่น

. .

การเตรยมสารสม เอาน�้าและสารส้ม.(สารส้ม.5.กรัมต่อน�้า.7.กรัม).ละลายโดยการน�าไปตุน. ตุนทิ้งไว้จนกว่าสารส้มจะละลายแล้วกรองเอาเ พาะน�้าสารส้มมาใช้. ควรท�าก่อน ขั้นตอนอื่น

เ รั่ม นาขาว สวนที่ . . . . .

สวนประกอบ

ปริมาณ

1.. น�้ามันดอกทานตะวันสกัดเย็น. . (บ�ารุงผิว.ท�าให้ผิวชุ่มชื้น.ลดรอยด่างด�า) 2... น�้ามันร�าข้าวสกัดเย็น. . (ลดรอยเหี่ยวย่น.ท�าให้ผิวชุ่มชื้น.ลดการอักเสบ) 3.. น�้ามันงาสกัดเย็น. . (กันแดดและลดรอยเหี่ยวย่น)

12. กรัม. 5.. กรัม. 5. กรัม.

37


33 . . . .

4.. . 5.. .

ขี้ผึ้งขาว. (เคลือบผิว.ท�าให้ผิวชุ่มชื้น) Shea. utter.(เชียร์บัตเตอร์). (ท�าให้ผิวชุ่มชื้น)

4. กรัม. 14. กรัม.

สวนที่ . 1.. น�า้ ปูนใส.(10.กรัม/น�า้ .1.ลิตร) 46.5. กรัม. . . (เปนตัวก่อ. mu sion.ท�าให้เย็นสมาน.กระชับรูขมุ ขน) สวนที่ 3 .1.. . . . 2.. . . . 3.. . . . .

4.. .

. . . . . .

5.. . 6.. . 7.. . 38

สารสกัดว่านหางจระเข้...... 1. (ช่วยให้ความชุ่มชื้น.ลดรอยด่างด�า) สารสกัดหัวไชเท้า. 2. (ช่วยให้ผิวขาว.ลด ้า.กระตุ้นการไหลเวียนเลือด) สารสกัดหม่อน. 2. (ลด ้าต่อต้านอนุมูลอิสระ.ต่อต้านการสร้างเมลานิน ที่เซลล์ผิว.ลดการอักเสบ) สารสกัดชะเอมเทศ. 2. (ลด ้าต่อต้านอนุมูลอิสระต่อต้านการสร้างเมลานิน ที่เซลล์ผิว.ลดการอักเสบ) สารสกัดบัวบก. 1. (กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต.ต้านอนุมูลอิสระ.) สารสกัดนางพญาหน้าขาว. 2. (ช่วยผลัดเซลล์ผิว.ลดจุดด่างด�า.ผิวขาว.เนียนเรียบ) สารสกัดว่านสากเหล็ก. 2. (ช่วยผลัดเซลล์ผิว.ท�าให้ผิวขาว)

กรัม. กรัม. กรัม. กรัม. กรัม. กรัม. กรัม.


. . . . . . . . . .

8.. สารสกัดมะหาด. . (ท�าให้ผิวขาว.ช่วยผลัดเซลล์) 9.. สารสกัด.si er. ine. . (ให้ผิวเรียบเนียน.กระจ่างใส.ลดรอยด�า). 10.. ก�ายาน.(กันเสีย). . (ลดการอักเสบระคายเคือง.ตรึงกลิ่นน�้าหอม)

0.5. กรัม. 1. กรัม. . 5. กรัม.

ขั้น อนวิธีการทํา 1.. ละลายส่วนที่. 1. (ข้อ. 1. ถึง. ข้อ. 5). ให้ความร้อนจนขี้ผึ้งและ. Shea. utter. ละลายจนใส. ยกลงจากเตา. (พยายามควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ เกิน.50.องศาเซลเซียส). 2...ค่อยๆ.เติมน�า้ ปูนใส.ลงไปในส่วนที.่ 1.คนให้เข้ากัน.คนแรงๆ.หรือใช้ เครือ่ งตีช่วยในการผสม 3...ผสมจนเข้ากันดีเมื่ออุณหภูมิลดลงที่.45.องศาเซลเซียส.เติมส่วนที่.3. ลงไปตามล�าดับกวนให้เข้ากัน 4...เติมกลิ่นและสีลงไป.ก่อนปรับค่า.p . อยา มปรับคา ของครีม ดวย อยูที่

มายเ ุ ขั้น อนการเ รียมกํายาน . 1...เลือกน�้ามันในส่วนที่. 1. (ใช้น�้ามันชนิดใดก็ได้). แต่ควรจะเลือกน�้ามัน ที่ใสและมีปริมาณมากที่สุดในสูตรแบ่งมาละลายก�ายาน. (ใช้เจียว. (สกัด). ก�ายานในส่วนที่. 3). ใช้เวลาการสกัดก�ายานทั้งหมดประมาณ. 1.ชั่วโมง.45.นาที.(น�้ามันในสูตร.15.กรัมต่อก�ายาน.5.กรัม) 39


33 .

2...หลังจากสกัดก�ายานประมาณ. 1. ชั่วโมง. 45. นาทีแล้ว. ให้ชั่งน�้ามัน ที่สกัดก�ายานว่ามีการระเหยหรือไม่. ถ้าน�้ามันมีการระเหยก็ให้เติม น�้ามันเข้าไป. ให้น�้ามันมีจ�านวนเท่าเดิมและใช้น�้ามันชนิดเดิม. แล้ว กรองเอาเ พาะน�้ า มั น น� า มาผสมกั บ น�้ า มั น ในสู ต ร. ควรท� า ก่ อ น ขั้นตอนอื่น

บันทกขอความ .......................................................................................................... ........................................................................................................................ ........................................................................................................................

3 เ รั่ม นาเดงทองคํา สารที่  สวนที่ . I.-.water. . A antoin. . O igo. .. . Aminocoat.. . ropy ene.g yco ..

40

นาที่ น�้าเปล่า.(ตัวท�าละลาย). ป้องกันการแพ้. ให้ความชุ่มชื้น.(moisturi ing). ให้ความชุ่มชื้น.(moisturi ing). ให้ความชุ่มชื้น.(moisturi ing).

สัดสวน 100% 81.9 0.3. 1. 2. 2


สวนที่ . Aristo e .A ..

สารก่อเจล

0.7.

สวนที่ 3 . acto io . ผิวเต่งตึง.เรียบเนียน. . actohydro . ผิวนุ่มชุ่มชื้นในแนวลึก.(moisturi ing). . สารสกัดจากกวาวเครือขาว. ผิวกระชับ.เต่งตึง.เด้ง. . สารสกัดจากคอลลาเจน. กระชับกล้ามเนื้อ.ท�าให้ผิวเต่งตึง. . ydant.p us. แบงนํ้าจากสู รมา ะ าย สารกันเสีย.( reser ati สวนที่ . mu sogen. O.040.. ตัวเชื่อมน�้ากับน�้ามัน( mu sifier) . erfume. น�้าหอม.(แต่งกลิ่น). . แผ่นทองค�า. บ�ารุงผิว.ลดการอักเสบ.

2 2 2 3 e). 1.

2. 0.1. 2.แผ่น

วธทําและขันตอน . .

1.. ละลายส่วนที่.1.ในอุณหภูมิ.70-75.องศาเซลเซียส.จนเปนน�้าใส.แล้ว ค่อยๆ. ใส่. ส่วนที่. 2. ลงไป. จนเปนเนื้อเจลใส. คนเบาๆ. สามารถใช้ ไม้พายคนได้.และทิง้ ไว้ให้สว่ นที.่ 1.อุณหภูม.ิ ต�า่ กว่า.40.องศาเซลเซียส 2.. จากนั้นค่อยเติม.ส่วนที่.3.และ.4.ลงไป.และคนให้เข้ากันเบาๆ. มายเ ุ อย่าลืม.แบ่งน�้าจากส่วนที่.1.มาละลาย. ydant. us.โดยแบ่งน�้ามา พอท่วมสาร 41


การทําผลตภัณ ดูแลผวกาย ากสมุนไพร า าร รร ส า นเ

า ร น าส ร า งา

น งา นท

องคประกอบของสารสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด .1..Aristo e .A .I I. A .:. Ammonium.Acry oy dimethy taurate/ . opo ymer.. .2.. oharteric. -2 .3.. ycerin..I I. A .:. ycerin .ละลายในน�้า

.4.. itamin. .I I. A .:. Tocophery.Acetate

42

สรรพคุณ ตัวท�าให้เกิดเนื้อเจลโดยไม่ต้อง. eutra i e.ด้วยด่างสามารถละลาย ในน�้าคนให้เข้ากันก็จะได้เนื้อเจลใส เปนตัวช่วยเพิ่มฟองจากธรรมชาติ กักเก็บความชุ่มชื่นไว้ที่ผิว.รักษาผิว ไม่ให้แห้งตึงโดยดูดความชื้นในอากาศ มาไว้ที่ผิว.( umectant).ท�าให้ผิว ชุ่มชื่นไม่แห้งตึง. Anti-O idant..ช่วยชะลอริ้วรอย.บ�ารุง ผิวให้นุ่มน่าสัมผัส.ใช้ได้ทั้งในสูตรครีม. หรือโลชั่นบ�ารุงทั้งผมและผิวต่างๆ.


องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา (ตอ) ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด

สรรพคุณ

.5.. o agen. owder.I I. A .:. จากเกล็ดปลาทะเลน�้าลึกมีอนุภาคเล็ก o agen .ละลายในน�้า. ที่สามารถซึมเข้าผิวได้ดี.บ�ารุงผิวและ ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวและผม.. .6.. itamin. 3.I I. A .:. เปน. o-. n yme.ที่ใช้ในการสังเคราะห์. iacinamide ละลายในน�้า กรดอะมิโนและนิวคลีอิค.แอซิด.ช่วยลด การผลิตเม็ดสีผิวท�าให้สีผิวจางลง. ท�าให้ผิวขาวใสขึ้น .7.. - antheno .( itamin 5). ช่วยบ�ารุงผมและผิวให้นุ่มชุ่มชื่นท�าให้ผิว I I. A .:. antheno . ที่แห้งกลับมาเนียนนุ่ม.ยังมีฤทธิ์ ละลายน�้า.แอลกอ อล์.และ. ลดอักเสบและช่วยลดการระคายเคือง ropy ene.g yco ของผิวได้อีกด้วย .8..A oe. era. tract. สารสกัดว่าน ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.ให้ผิวเรียบเนียน. หางจระเข้ .I I. A .:. และลบรอยจุดด่างด�า.ช่วยรักษาแผล. A oe. e a. e ป้องกันการอักเสบ .9..Asiatic. tract. สารสกัดใบบัวบก สมานผิวให้ผิวเรียบเนียน.ลบรอยจุด I I. A .:. ente a.Asiatica. ด่างด�า.ช่วยกระตุ้นการสร้างเซลล์ผิวใหม่. Leaf ป้องกันการอักเสบ. ่าเชื้อแบคทีเรีย .10.. anana.S in. tract. สารสกัด ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.บ�ารุงให้ผิวมีสุขภาพ เปลือกกล้วย I I. A .:. ดี.รักษาแผล.ช่วยบรรเทาอาการคัน usaparadiscara. ruit. ee .11.. and e. ush. eaf. trac. สาร ่าเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา.ลดอาการสิว สกัดใบชุมเห็ดเทศ .I I. A .:. และรักษาสิว assia.a ata. eaf

43


33

องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา (ตอ) ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด

สรรพคุณ

.12.. arrot. tract. สารสกัดแครอท . I I. A .:.A ua and . . and aucus. arotasati a. carrot Seed. .13.. ucum er. tract. สารสกัด แตงกวา .I I. A .:. ydrog yco ic.p ant s . tract .14.. reen.Tea. tract. สารสกัดชา เขียว I I. A .:. ame ia. sinensis .15.. angosteen. tract. สารสกัด เปลือกมังคุด I I. A .:. arcinia.mango.stana. ar .16.. u erry. tract. สารสกัดต้น หม่อน .I I. A .:. orus.A a. oot. tract .17.. apaya. tract.(In.Oi ). มะละกอ ในน�้ามัน .I I. A :. arica. apaya

อุดมไปด้วยแคโรทีน.วิตามินซี.และ น�้าตาลจากธรรมชาติ.ที่ช่วยบ�ารุงผิว ให้ความชุ่มชื่น.ผิวพรรณสดใสเปล่งปลั่ง อยู่เสมอ ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิวและกระชับรูขุมขน ช่วยท�าให้ผิวเรียบเนียน.บ�ารุงผิวให้สดชื่น แลดูมีชีวิตชีวา ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.ดูมีชีวิตชีวา.ต่อต้าน อนุมูลอิสระ.และ ่าเชื้อแบคทีเรีย

44

า่ เชื้อแบคทีเรีย.ต่อต้านอนุมูลอิสระ. ป้องกันการอักเสบ.ช่วยสมานแผล ช่วยให้ผิวขาวใสอย่างเปนธรรมชาติ. ต่อต้านการสร้างเมลานินที่เซลล์ผิว ช่วยรักษา ้า ช่วยย่อยเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพให้หลุด. ท�าให้ผิวนุ่มน่าสัมผัส.ผิวไม่หยาบกร้าน


องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา (ตอ) ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด .18.. apaya. tract.(In. ater). สาร สกัดมะละกอในน�้า .I I. A .:. A ua. and . ropy ene-g yco . and . arica. apaya. papaya . ruit. tract .19.. omegranate. tract. สารสกัด ทับทิม .I I. A .:. unica. granatum. inn .20.. ueraria. irifica. tract. สารสกัดกวาวเครือขาว .I I. A .:. ueraria.mirifica .21.. adish. tract. สารสกัดหัวไชเท้า I I. A .:. aphanus.sati us .22..Tomato. tract. สารสกัดมะเขือ เทศ .I I. A .:.A ua and ropy ene-g yco . and . So anum. ycopersicum.fruit/ eaf/stem/ tract .23.. itch. a e . tract. สารสกัด วิทซ์ าเซล .I I. A .:. amame is. irginiana inne

สรรพคุณ ช่วยย่อยเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพให้หลุด. ท�าให้ผิวนุ่มน่าสัมผัส.ผิวไม่หยาบกร้าน

ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.ลดการระคายเคือง. ลดสิว.บ�ารุงผิวให้ขาวสดใสเปล่งปลั่งเปน ธรรมชาติ ช่วยให้ผิวกระชับและเต่งตึง.ให้ความ ชุ่มชื้น ลดอาการ ้าบนใบหน้า.ต่อต้านอนุมูล อิสระ.ป้องกันการอักเสบ ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิว.ลดการเกิดสิว. ช่วยให้รูขุมขนกระชับผิวเรียบเนียน. ลดริ้วรอย.ใช้กับผมท�าให้ผมเงางาม

กระชับรูขุมขน.ท�าให้ผิวกระชับ. ผิวละเอียดเรียบเนียน

45


33

องคประกอบของสาระสําคัญและสารสกัดท่แนะนํา (ตอ) ่อสาระสําคั แ ะสารสกัด .24..Oat. eta-. ucan. สารสกัดโอต. เบต้ากลูแคน .I I. A .:. eta- ucan .25.. rape.Seed.e tract. สารสกัด เมล็ดองุ่น .I I. A .:. itis. inifera. rape .Seed. tract .26.. ogurt.e tract. สารสกัดโยเกิร์ต I I. A .:. ogurt.e tract

.27..Oat.e tract. สารสกัดโอต .I I. A .:.A ua and . ropy ene.-g yco . and .A era. Sati a. oat Kernei. tract

46

สรรพคุณ ช่วยท�าให้ผิวเรียบเนียน.เพิ่มความชุ่มชื้น ให้แก่ผิวในระยะยาวท�าให้ผิวรู้สึกนุ่มลื่น. ช่วยในการสร้างคอลลาเจน ช่วย ่าเชื้อแบคทีเรีย.ลดการเกิดสิว. ชะลอริ้วรอยป้องกันการเกิดอนุมูลอิสระ เพิ่มความชุ่มชื่นและการยืดหยุ่นในผิว อุดมไปด้วยกรดเอเอชเอ.และวิตามิน ต่างๆ.ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว.บ�ารุงผิวให้ ขาวสดใสเปล่งปลั่งอยู่เสมอพร้อมทั้ง ต่อต้านอนุมูลอิสระ ให้ความชุ่มชื่นกับผิวลดอาการ ระคายเคือง. ่าเชื้อแบคทีเรียได้ดี


การทําผลตภัณ ดูแลผวกาย ากสมุนไพร เกลือสปาขัดผวนํานม . . . . . . .

. . . . .

สวนประกอบ ปริมาณ 1...เกลือ. 85. กรัม.(เม็ดสครับท�าความสะอาดผิว) 2...นมผง. 15. กรัม.(เม็ดสครับท�าความสะอาดผิว) 3...น�้ามันหอมระเหย.(กลิ่น. i ).ตามต้องการ 4...สีผสมอาหารหรือผงสมุนไพร.ตามต้องการ วิธีทํา 1.. น�าเกลือผสมกับนมผงโดยท�าให้นมผงไม่จับกันเปนก้อน.ก่อนใส่ลงไป ในภาชนะ.คลุกเคล้าให้เข้ากัน 2...ใส่น้�ามันหอมระเหยลงไปในจุดๆ. เดียวไม่เทแบบกระจาย. คลุกเคล้า เข้ากันให้ทั่ว.โดยให้ใส่ก่อนที่จะใส่สีเสมอ 3...ค่อยๆ.ใส่สีลงไปทีละน้อยๆ.แล้วคลุกเคล้าไปเรื่อยๆ.สังเกตสีดูว่าพอดี หรือไม่.แล้วค่อยเติมลงไปอีกจนดูแล้วเปนที่น่าพอใจ.อย่าเพิ่งเทเยอะ เพราะจะท�าให้สีเข้มมากจนเกินไป เ ลขัดผวขาว อมมะล สวนประกอบ 1...แป้งข้าวเหนียว. 2...น�้า. 3...น�้าต้มสารส้ม.. 4...กลีเซอรีน. . .

ปริมาณ 6. กรัม.(ตัวก่อให้เกิดเนือ้ เจลธรรมชาติ) 36...กรัม.(ตัวท�าละลาย) 10...กรัม.(น�้า.:.สารส้ม.1:1) 10..กรัม.(เก็บกักความชุม่ ชืน้ ไว้ทผี่ วิ หนัง. . ตัวท�าละลาย) 47


33

. . . . . .

5...หัวสบู่อย่างอ่อน... 6...เกลือ. . . 7...วิตามิน.อี. 8...กลิ่น. 9.. สารสกัด.

. . .

วิธีทํา 1.. ละลายสารส้มในข้อ.3.ด้วยอัตราส่วน.1:1.(10:10).ก่อน 2.. น�าน�้าตั้งไฟ.ค่อยๆโรยแป้งข้าวเหนียวลงไป.กวนไปเรื่อยๆ.จนแป้งสุก เปนเนื้อใส.โดยใช้ไฟไม่เกิน.70.องศาเซลเซียส.จากนั้นยกลง 3.. เติมน�้าต้มสารส้มที่ละลายไว้แล้วลงไป 4.. รอจนอุณหภูมิต�่ากว่า.45.องศาเซลเซียส.หลังจากนั้นเติมข้อ.4-9.ลง ไป.ตามล�าดับ.ระวังอย่าคนแรง.และให้คนไปในทิศทางเดียวตลอด

. .

10. กรัม.(สารช�าระล้าง.ท�าให้ลื่น) 25. กรัม.(หรือข้าวกล้องสีชมพูบดละเอียด . เปนเม็ดสครับผิว) 1. กรัม.(บ�ารุงผิวให้ชุ่มชื้น) 1. กรัม 1. กรัม.(แล้วแต่คณ ุ สมบัตขิ องสารสกัด)

3 เ ลบํารุงผววาน าง ระเข CHEMICAL NAME

FUNCTION

100%

Part 1. I.water. Aristo e .A .

น�้า/ตัวท�าละลาย. ท�าให้เกิดเนื้อเจล.

77.42. 1.00

Part 2 I.water. ropy ene.g yco .

ตัวท�าละลาย. ให้ความชุ่มชื้นผิว.ให้ผิวนุ่มลื่น.

10.00 2.00

48


Aminocoat. O igo. . A antoin. ydant.p us.

บ�ารุงผิวให้ชุ่มชื้น. บ�ารุงผิวให้ชุ่มชื้น. ลดการระคายเคืองผิว. สารกันเสีย.

2.00 1.00 0.20 0.40

Part 3 สารสกัดว่านหางจระเข้.

ช่วยให้ผิวชุ่มชื้น.บ�ารุงผิว.

5.00

Part 4 mu sogen. O.040. น�้าหอม.

ตัวช่วยท�าละลายน�้าหอม. แต่งกลิ่น.

0.60 0.15

Part 5 สี.

แต่งสี.

0.23

วิธีทํา . 1.. ส่วนที่1. ให้กระจาย. Aristo e . A . ในน�้า. และตั้งทิ้งไว้จน. A . พองตัวเต็มที่.(เกิดเปนเนื้อเจล) . 2.. ละลายส่ ว นที่ . 2. ให้ เข้ า กั น ด้ ว ยความร้ อ นประมาณ. 40-45 . จนได้น�้าใส . 3...เติม.ส่วนที่2.ลงในส่วนที่1.คนผสมให้เข้ากัน . 4.. ส่วนที่. 4. ให้ละลายน�้าหอมใน. mu sogen. O. 040. จนละลาย เข้ากันดี . 5.. เมื่อเจลที่เตรียมได้มีอุณหภูมิลดลงประมาณ.40 .จึงเติมส่วนที่.3,.4. และ.5.ลงไป.ผสมให้เข้ากัน.. . 49


แ นมเ ดเพื่อสุขภาพ า าร านนท เ

เครื่องปรุง . เห็ดนางฟ้า ีก อยนึ่งสุก. . เนื้อหมูสับละเอียด. . กระเทียมสับ. . ข้าวสวย. . เกลือปน. . น�้าหมักเอนไซม์เห็ด.

1. 200. 200. 100. 20. 10.

กิโลกรัม กรัม กรัม กรัม กรัม ซีซี

วธทํา . 1.. เลือกเห็ดที่ก�าลังจะบานล้างให้สะอาด. ตัดเอาส่วนที่เปนโคนออกให้ เหลือดอกเห็ดแล้ว กี เปน อยชิน้ เล็ก.ๆ.เหมือนหนังหมูทหี่ นั่ ใส่แหนม . 2...น�าเห็ดไปนึ่ง. 5-10. นาที. แล้วน�ามาผึ่งให้เย็น. จากนั้นใส่ผ้าขาวบาง บีบคั้นเอาน�้าออกให้ได้มากที่สุด.

50


.

3...น�าเห็ดนึ่งที่คั้นน�้าออกแล้ว. ใส่ในภาชนะปากกว้าง. เช่น. กะละมัง. หรือหม้อ. ใส่กระเทียมสับละเอียดข้าวเหนียว. เกลือปน. น�้าหมักเอ็นไซม์เห็ด. น�ามาคลุกเคล้าให้เข้ากัน. ท�าการนวดคั้น. และบีบจนมี ความรู้สึกว่าเหนียวพอสมควรแล้วสามารถห่อด้วยถุงพลาสติกหรือ ใบตองกล้วย

วธบรร ุแ นมเ ด . 1.. ใช้ถงุ พลาสติกใสขนาด.4. .6.นิว้ .ห่อแหนมเห็ดเข้ามุมเปนสามเหลีย่ ม ใช้ยางรัดให้แน่นจะได้แหนมเห็ดตามต้องการ.หรือ . 2.. ใช้ใบตองกล้วยสดห่อแบบข้าวต้มมัด. ใช้ยางรัด. 2-3. เปาะ. เก็บไว้ใน อุณหภูมิปกติ.25-30.องศาเซลเซียส.ประมาณ.2.วัน.แหนมจะเปรี้ยวรับประทาน ได้.ถ้าต้องท�าเปน. แหนมเจ .ไม่ต้องใส่เนื้อหมูสับ

ประ ย นท่ได . เห็ดนางฟ้าภูฏาน. เปนเห็ดที่อยู่ในกลุ่มเห็ดตระกูล. eurotus. spp.. ทีม่ สี ารส�าคัญคือ. o astatin.and. rgothionein.ทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ นการช่วยลดกรด ไขมันในเลือดชนิดเลวลงได้โดยไม่ต้องใช้ยา. จึงเหมาะอย่างยิ่งส�าหรับผู้ที่มีปัญหา เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ.โดยปหนึ่งๆ.ประเทศไทยน�าเข้ายาที่ใช้ รักษาโรคประเภทนีป้ ละหลายพันล้านบาท.ดังนัน้ .หากมีการส่งเสริมให้มกี ารบริโภค เห็ดนางฟ้าภูฏานอย่างถูกวิธ.ี ผูบ้ ริโภคจะได้รบั ประทานเห็ดทัง้ เปนอาหารและเปน ยาควบคู่กันไป. .. การที่จะท�าให้เห็ดปล่อยสารอาหารที่เปนยาออกมาได้มากที่สุดนั้น. ควร น�าเห็ดมาผ่านขบวนการหมักโดยเชือ้ โปรไบโอติกเสียก่อน.ซึง่ การน�าเอาเห็ดนางฟ้า

51


33 ภูฏานมาท�าเปนแหนมเห็ดนั้น. ถือว่าเปนอีกแนวทางหนึ่งในการท�าเปนทั้งอาหาร และยาไปในตัว . ดังนั้น.การที่จะบริโภคเห็ดเพื่อให้ได้สรรพคุณทางยาสูงสุดนั้น.จ�าเปนจะ ต้องน�าเอาดอกเห็ดหรือเส้นใยของเห็ดมาผ่านขบวนการย่อยด้วยกรรมวิธเี สียก่อน. ทั้งนี้เนื่องจากสารต่าง.ๆ.ที่มีสรรพคุณทางยาส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของสารเชิงซ้อน. ทีร่ ะบบต่าง.ๆ.ของร่างกายไม่สามารถน�าเอาไปใช้ได้โดยตรง.การต้มหรือการน�าเอา เห็ดมาบดเปนผง.รวมทัง้ การดองด้วยเหล้า.ไม่สามารถทีจ่ ะท�าให้สารทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ทางยาเปลี่ยนไปอยู่ในรูปที่ร่างกายเอาไปใช้ได้. การที่ร่างกายจะเอาสารต่างๆ. เหล่านี้ไปใช้ได้. จ�าเปนจะต้องถูกย่อยสลายโดยเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์. ที่อยู่ ในระบบย่อยของร่างกายหรือจากการย่อยในขบวนการที่ถูกต้องจากภายนอก เสียก่อน. . ดังนั้น.หากไม่มั่นใจว่าในร่างกายของเรามีจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เพียงพอ ในการย่อยสลายสารทีเ่ ปนยาในเห็ดก่อนทีจ่ ะรับประทานเห็ดเข้าไปเพือ่ ต้องการให้ สารส�าคัญทางยาในเห็ดให้อยู่ในรูปที่ร่างกายน�าเอาไปใช้ได้ง่ายนั้น. ควรน�าเห็ดมา ผ่านขบวนการหมักด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เสียก่อน. โดยการหมักเพื่อเปนการ ย่อยสลายสารทางยาในเห็ด.ทีน่ ยิ มกันมากทีส่ ดุ ได้แก่การหมักเห็ดโดยจุลนิ ทรียท์ มี่ ี ประโยชน์ .. กระบวนการหมักของจุลนิ ทรียท์ มี่ ปี ระโยชน์.จะช่วยย่อยสารอาหารทีเ่ ปน ยาในเห็ด.ที่อยู่ในรูปที่ร่างกายเอาไปใช้ไม่ได้จะถูกย่อยให้มาอยู่ในรูปที่ร่างกายเอา ไปใช้ได้. รวมทั้งเอ็นไซม์ซึ่งเกิดจากขบวนการย่อยของจุลินทรีย์. จะเปนประโยชน์ ช่วยเสริมสร้างทดแทนเอ็นไซม์บางชนิดที่ร่างกายอาจจะไม่มีหรือขาดแคลนได้ น�า้ หมักเอ็นไซม์เห็ดทีไ่ ด้สามารถน�าไปบริโภคได้โดยตรงเพือ่ ใช้เปนยารักษาโรคบ�ารุง ร่างกาย.แต่เนื่องจากอาจจะมีรสเปรี้ยวจัด.ดังนั้นการน�าไปบริโภคโดยตรงนั้นควร น�าไปผสมน�้าหรือน�้าผลไม้ให้มีความเปรี้ยวพอเหมาะเสียก่อนจะดีกว่า. หรือใช้ 52


น�้าหมักแทนน�้าส้มสายชูแทนมะนาวในการปรุงอาหาร. เช่น. เปนส่วนประกอบ ในการดองผัก. ใส่แกง. ชูรสในน�้าพริกแทนมะนาวหรือมะขาม. หรือกระตุ้นในการ ท�าแหนมและกิมจิให้ได้ที่เร็วขึ้น

การทําเอนไ ม ากเ ด . . . . . .

วั ุดิบ . ดอกเห็ดอย่างน้อย.3.ชนิดเท่า.ๆ.กันหรือ. . เส้นใยเห็ดที่เพาะเลี้ยงในเมล็ดธัญพืช. . น�้าตาลทรายแดง. . น�้าสะอาด. . เชื้อจุลินทรีย์บริสุทธิ์ช่วยหมัก.(ยูเอ็ม).

. . .

ภา นะที่ ส . ขวดแก้วส�าหรับหมักขนาด. . ส�าลีหรือผ้าขาวบาง.

1. . 2. 10.. 2. . . 13.. . . .

กิโลกรัม . . กิโลกรัม ลิตร ช้อนโตะ ลิตร

วิธีทํา . 1.. ท�าความสะอาดดอกเห็ด. ตัดเอาชิ้นส่วนที่สกปรกออก. หั่นหรือ ีก ให้มีขนาดเล็กลง. ใส่ลงไปในขวดที่สะอาดผ่านการ ่าเชื้อโรคแล้วโดยการลวก ด้วยน�้าร้อน.2-3.ครั้ง. .. 2.. น�าน�้าตาลทรายแดงละลายกับน�้าสะอาด. 10. ลิตร. พร้อมทั้งใส่เชื้อ จุลินทรีย์บริสุทธิ์. (ยูเอ็ม). คนให้น�้าตาลและเชื้อยูเอ็มผงละลายอย่างดี. แล้วจึง เทใส่เข้าไปในขวดที่ใส่เห็ดเข้าไปแล้ว.

53


33 .. 3...ท�าการปิดปากภาชนะด้วยส�าลีหรือผ้าขาวบาง.เพือ่ กันไม่ให้สงิ่ สกปรก. รวมทั้งเชื้อโรคเข้าไปได้. ท�าการหมักทิ้งไว้โดยในช่วงต้น.ๆ. ให้ท�าการเขย่าขวด ทุกวัน.ด้วยการใช้แท่งสแตนเลส.คนหรือจับที่ปากภาชนะแกว่งเบา.ๆ.ให้ส่วนผสม เคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกันสัก. 10. นาที. เพื่อเปนการคนให้ได้รับอากาศ โดยทั่วทุกส่วน. ประมาณ. 3. สัปดาห์. การหมักก็จะสามารถใช้ได้จะได้ทั้งเอ็นไซม์ และสรรพคุณทางยาจากเห็ดค่อนข้างสูง. .. 4.. หรื อ ท� า การหมั ก ต่ อ ไปได้ อี ก . ไม่ สิ้ น สุ ด เพี ย งแต่ ก ารหมั ก ยิ่ ง นาน สรรพคุณทางยาจะเพิ่มขึ้นเรื่อย.ๆ. แต่เอ็นไซม์ที่มีประโยชน์จะน้อยลง. ประมาณ. 3-5. เดือน. การหมักก็จะสิ้นสุด. หากไม่จ�าเปนต้องเอามาใช้ก็สามารถเก็บไว้ใช้ได้ นานแสนนาน.โดยไม่จ�าเปนต้องน�าไป ่าเชื้อโรค.หรือเอาไปแช่เย็น.เพราะจะเกิด กรดธรรมชาติที่มีความเปนกรดสูง. ซึ่งกรดดังกล่าวกลายเปนตัวป้องกันไม่ให้ เชื้อโรคหรือเชื้อคู่แข่งอย่างอื่นเจริญเติบโตต่อไปได้

54


ยาพอกเขาสมุนไพร า าร ร

าภ า

รคและอาการท่พบบอยตามแผนไทย บราณ ลม ับ ปง เกิดบริเวณข้อเข่า.เนื่องจากการบาดเจ็บหรือการกระทบกระเทือนท�าให้ มีการอักเสบเ ียบพลันจนถึงเรื้อรัง.และเกิดการติดขัดของข้อเข่า สาเ .ุ .วัยทอง.โรคอ้วน.รับประทานอาหารแสลงมาก.อากาศ.พฤติกรรม. ท่าทาง.การใช้งานเข่ามากเกินไป อาการ ปวดบริเวณข้อเข่าขณะขยับก้าวเดินหรือเปลี่ยนอิริยาบถ/มีการ ผิดรูปของข้อเข่า.ขาผิดรูป. ประเภทจับโปง แบ่งเปน.2.ชนิด.คือ.1..จับโปงน�้า.2..จับโปงแห้ง . จับโปงนํ้า.. . . อาการ : ปวด. บวม. แดงรอบข้ อ เดิ น กะเผลก. ลงน�้ า หนั ก ได้ . . . ไม่เต็มที่.

55


33 .

จับโปงแ อาการ : . . วิธีการ รวจ : . .

. .

วิธีการทาปูนแดง 1...ใช้น�้าร้อนประคบบริเวณที่เจ็บปวด 2...ใช้ปูนแดงทาเคลือบบริเวณที่เจ็บปวด.

.

ง. ปวด.บวม.ไม่แดงรอบข้อ.มีความพิการ.เข่าติด.เข่าโก่ง. สะบ้าเจ้า ใช้ปูนแดง. ทาในบริเวณที่ปวดและมีการอักเสบ. ปูน จะชื้นไม่แห้ง.โดยบริเวณรอบๆ.ปูนจะแห้งไปก่อน

วิธีสังเก ักษณะของปูน.ดังนี้. . . ถ้าปูนยังมีน�้าเยิ้ม. อยู่บริเวณที่เจ็บปวด. จะเปนโรคจับโปง. และ ลมล�าบอง . . ถ้าปูนแห้งเร็วกว่าในบริเวณที่เจ็บปวด.จะเปนโรควัณโรคกระดูก . . ถ้าปูนแห้งเร็วสม�่าเสมอเปนทางยาวไปตามล�ากล้ามเนื้อ. จะพบเปน โรคลมปราบ

. . .

ลมลําบอง เกิดบริเวณข้อต่อกระดูกต่างๆ. ในร่างกายที่มีการเคลื่อนไหวและการ เสียดสีให้เกิดการอักเสบของกล้ามเนื้อ. หรือเยื่อหุ้มกระดูกบริเวณข้อต่อกระดูก เหล่านั้น . อาการ.:. ปวดบริเวณรอบๆ. ข้อ. มีความร้อนที่เกิดจากการอักเสบ. อาจเจ็บเสียว. ขัดในข้อขณะเดิน. หรือมีอาการขยับข้อ ที่เกิดโรค 56


.

. .

การ รวจ :.. ใช้ ห ลั ง มื อ ตรวจดู ค วามร้ อ นรอบๆ. ข้ อ . จะมี ค วามร้ อ น. มีอาการบวมแดง. ทดสอบโดยการให้ผู้ปวยขยับ. กระดก. หรือเขย่งข้อต่างๆ. ที่มีอาการอยู่. จะเจ็บ. หรือไม่สามารถ ขยับข้อนั้นได้ตามปกติ วิธีการรักษา 1...การนวด 2.. การพอกหัวเข่า.(ดูดพิษ)

การทํายาพอกเขา สมุนไพรท่  ประกอบดวย ผักเสี้ยนผี สรรพคุณ. :. ท�าเปนยาพอกแก้อาการปวดศีรษะและ ปวดตามข้อ/ช่วยแก้อาการปวดขา.เส้นเลือดขอด.โรคเหน็บชา.ลุกนั่งเดินล�าบาก/ ช่วยรักษาโรคข้ออักเสบ/ใช้ปรุงเปนยาแก้อาการปวดหัวเข่า ขิง. สรรพคุ ณ . :. ช่ ว ยรั ก ษาอาการปวดข้ อ ตามร่ า งกายด้ ว ยการ รับประทานขิงสดเปนประจ�า 3 มะคํา ก.สรรพคุณ.:.แก้ฟกช�้าด�าเขียว.ช่วยลดความเจ็บปวด บสมปอย.สรรพคุณ.:.ลดอาการบวมแดงร้อน. นกามปู.สรรพคุณ.:.ลดการอักเสบ ผิวมะกรูด.สรรพคุณ.:.น�้ามันหอมระเหยจากมะกรูดมีสรรพคุณช่วย ผ่อนคลายความเครียด.คลายความกังวล.ท�าให้จิตใจสงบนิ่ง.สดชื่น ขมิ้นออย.สรรพคุณ.:.ช่วยบรรเทาอาการปวดข้อ.ฟกช�้าบวมได้. พริก ทย.สรรพคุณ.:.ช่วยแก้อาการอักเสบ 57


33 วานนางคํา.สรรพคุณ.:.ช่วยรักษาอาการข้อเคล็ด.เคล็ดขัดยอก.อาการ ปวดเมื่อยตามร่างกาย . บพ ับพ ึง. สรรพคุณ. :. ใบใช้รักษาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย. กล้ามเนื้ออักเสบ/ใช้ท�าเปนยาประคบเพื่อคลายเส้น/ช่วยแก้อาการปวดบวม . กะทอ.สรรพคุณ.:.ช่วยแก้อาการเคล็ดขัดยอก . ขา. สรรพคุณ. :. เหง้าช่วยลดอาการอักเสบ/แก้อาการปวดเมื่อยตาม กล้ามเนื้อ/ลดอาการปวดบวมตามข้อ . 3 เจ มู เพ ิงแดง.สรรพคุณ.:.แก้บวม/แก้อาการปวดเมื่อย.แก้อาการ ปวดตามข้อ . ดีป เี อก.สรรพคุณ.:.แก้อาการปวดเมือ่ ยกล้ามเนือ้ .และอาการอักเสบ ของกล้ามเนื้อ . ดองดึง.สรรพคุณ.:.รากและหัวช่วยแก้อาการหัวเข่าปวดบวมได้เปน อย่างดี.โรคลมจับโปง.หรือโรคปวดเข่า..โรคลมเข้าข้อ.หรือรูมาติซั่ม . วานนํา้ .สรรพคุณ.:.แก้อาการปวดเมือ่ ย/ใช้เปนยาพอกแก้อาการปวด ตามข้อและตามกล้ามเนื้อ . วั พ .สรรพคุณ.:.เหง้า.หรือหัวไพล/รักษาอาการเคล็ดขัดยอก.ฟกช�า้ บวม.ข้อเท้าแพลง/ช่วยลดอาการอักเสบ.แก้ปวด.บวม.เส้นตึง.เมือ่ ยขบ/ใบแก้เมือ่ ย. แก้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ.ปวดตามร่างกาย . บมะขาม.สรรพคุณ.:.ลดอาการฟกช�้า.ด�าเขียว . เก อ.สรรพคุณ.:.ลดความร้อน.ในบริเวณที่บวมแดง . การบูร.สรรพคุณ.:.กระจายเลือดลมเพื่อลดความเจ็บปวด . แปงขาวเจา.สรรพคุณ.:.เมื่อแห้งจะจับตัวเปนก้อน.ร่วนไม่เหนียว . ูกแปงขาว มาก.สรรพคุณ.:.เปนตัวช่วยเปิดรูขุมขนเพื่อการซึมซับ ที่ดี

58


สวนผสม

-. ผักเสี้ยนผี. ใบมะขาม. ว่านร่อนทอง. . ข่า. ขิง. พริกไทย. . ว่านนางค�า. ดีปลีเชือก. ใบส้มปอย. . ต้นก้ามปู. กะทือ. ว่านน�้า. . อย่างละ.. 15.. กรัม.. (1.บาท). -. หัวไพล... 150.. กรัม.. (10.บาท). -. การบูร... 75.. กรัม.. (5.บาท)

ผิวมะกรูด. ขมิ้นอ้อย เจตมูลเพลิงแดง. ใบมะค�าไก่ ใบพลับพลึง. ดองดึง เกลือ. .

วธทํา

. 1...บดสมุนไพรทั้งหมดรวมกัน. ...........2...น�าสมุนไพรที่ได้ผสมน�้า.แป้งข้าวเจ้า.และลูกแป้งข้าวหมาก ...........3...น�าส่วนผสมที่ได้มาพอกเข่าที่ปวดหรือบวม. ...........4...ใช้ผ้าขาวพันบริเวณที่พอก

วธ  ใช้พอกเข่า.ระยะเวลาที่พอกนานประมาณ.30.นาที

59


การนวดนักปน ักรยาน ร

พ พท

การนวดนักปันจักรยาน. เปนการนวดที่รวบรวมและดัดแปลงจากคู่มือ การนวดไทย.(โครงการฟนฟูการนวดไทย,.2521,.หน้า.41-44).กดจุดหยุดอาการ. (วิทิต.วันนาวิบูล,.2533,.หน้า.41).การนวดไทย.:.สัมผัสบ�าบัดเพื่อสุขภาพ.(มานพ. ประภาษานนท์,.2545,.หน้า.121-126).ต�าราการนวด.บรรเทา-รักษาโรค. บับ สมบูรณ์สดุ ยอด.(พฤฒาจารย์วพิ ธุ โยคะ.รัตนรังสี,.2545,.หน้า.139-161).หมอหวน. จับเส้น.(หวน.สังพราหมณ์,.2551).อิทธิพลของการอบอุ่นร่างกาย.3.วิธี. ที่มีต่อ แรงระเบิดของกล้ามเนื้อในนักกี า.(มานพ.พิทธไชย,.2540,.หน้า.36).และผลของ การนวดแบบไทยประยุกต์ที่มีต่อความเชื่อมั่นในตนเองและแรงปฏิกิริยา. (ณัฐพล. ชินเดช,.2546)..น�ามาใช้นวดนักกี าประเภทต่างๆ.ทั้งประเภทเดี่ยว.ประเภททีม. ซึ่งมีทั้งการปะทะและไม่ปะทะ. และประเภทชนิดกี าที่มีสถิติ. วิธีการนวดจะมี ความแตกต่างกันไป.ตามวัตถุประสงค์ของการน�าไปใช้

ลักการทั่วไปของการนวดนักปน ักรยาน . ปราณีต.เพ็ญศรี.(2550).การนวดส�าหรับนักกี าถือเปนศาสตร์ประยุกต์ ที่น�าเอาการนวดแบบคลาสสิกของสวีเดน.(Swedish. assage).มาผสมผสานเข้า 60


กับเทคนิคพิเศษต่างๆ.เช่น.การนวดแบบขวางเส้นใยกล้ามเนือ้ .( eep.trans erse. friction). การนวดแบบบีบลึก. ( eep. compression. massage). การกดนวด ที่จุดทริกเกอร์.(Trigger.point.massage).วารีบ�าบัด.( ydrotherapy).และการ บ�าบัดด้วยความเย็น.( ryotherapy). ล .การนวดแบบนี้มีลักษณะแตกต่างจาก การนวดทั่วไป. คือ. จะเน้นการนวดที่กล้ามเนื้อซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับกี าที่เล่น โดยเ พาะ.และมีแนวโน้มทีจ่ ะนวดอย่างรุนแรงและใช้เวลาการนวดสัน้ กว่าการนวด ร่างกายทั้งตัว การนวดสํา รับนักกี ามี ักการที่ องคํานึง ึง ดังนี้ . 1...ซักประวัตทิ เี่ กีย่ วข้องกับการบาดเจ็บ.(ถ้ามี).ข้อห้าม.หรือข้อควรระวัง ที่ต้องค�านึงถึง . 2...วัตถุประสงค์ของการนวด.ซึง่ จะมีความแตกต่างกันไป.เช่น.ก่อนแข่งขัน. ขณะแข่งขันและหลังแข่งขัน . 3...ควรประเมินก่อนท�าการนวด. เพื่อให้ทราบว่าสภาพของกล้ามเนื้อ เปนอย่างไร.ควรจะใช้เทคนิคใดให้เหมาะสม.หรือจะใช้การนวดในขณะนั้นได้หรือ ไม่. มิ ะนั้นแล้ว. แทนที่จะเกิดประโยชน์ท�าให้กล้ามเนื้อได้รับการผ่อนคลายกลับ อาจท�าให้เกิดการบาดเจ็บมากขึ้นได้ . 4...น�้าหนักการนวด.ควรพอเหมาะไม่หนักและเบาจนเกินไปและทิศทาง การนวดควรนวดตามแนวจุดเกาะต้นและจุดเกาะปลายของกล้ามเนื้อ . 5...จังหวะต่อเนื่องสม�่าเสมอ . 6...ท่าทางของผู้นวดและผู้ที่ถูกนวด.ควรจะอยู่ในท่าผ่อนคลาย . 7...ระยะเวลาในการนวดแต่ละส่วนของร่างกาย . 8...สิ่งที่จะน�ามาใช้ร่วมในการนวด.เช่น.น�้ามันนวด.และ/หรือ.น�้า . 9...ความบ่อยของการนวด . 10.. ความรู้สึกของผู้ถูกนวดทั้งก่อน.ระหว่าง.และหลังการนวด 61


33

. ในการนวดนักกี า.ผูน้ วดจะต้องเลือกใช้เทคนิคการนวดให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการน�าไปใช้. ในการนวดทุกประเภทผู้นวดต้องใช้มือเปนหลัก. อาจมีอปุ กรณ์อนื่ ๆ.ประกอบเพียงเล็กน้อย.จึงถือได้วา่ การนวดเปนศิลปะอย่างหนึง่ . ซึ่งต้องอาศัยการท�างานที่ประสานสอดคล้องกันในการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ. ของ ร่างกายของผู้ท�าการนวด. ทั้งส่วนของแขน. ล�าตัว. และขา. ผู้นวดจึงจ�าเปนต้องมี ทักษะการนวดทีด่ .ี รวมทัง้ จะต้องจัดสภาพแวดล้อมในการนวดให้เหมาะสม.เพือ่ ให้ เกิ ด ผลการนวดที่ ดี ที่ สุ ด ต่ อ นั ก กี า. โดยเกิ ด ความเครี ย ดและความเมื่ อ ยล้ า ต่อร่างกายของผูน้ วดเองน้อยทีส่ ดุ .การนวดทีไ่ ม่ดมี กั เกิดจากการทีผ่ นู้ วดไม่สามารถ เคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างต่อเนื่อง.เช่น.ต�าแหน่งการวางเท้าที่ไม่เหมาะสม.หรือ การจัดท่าทาง.ล�าตัวของผูน้ วดทีใ่ กล้หรือห่างเตียงผูถ้ กู นวดเกินไป.ไม่มพี นื้ ทีส่ า� หรับ เดินไปรอบๆ.เตียงผู้ถูกนวด.เปนต้น.การปรับเปลี่ยนต�าแหน่งของร่างกายที่อยู่ใน ท่าทางที่ดีเหล่านี้จะช่วยให้การสัมผัสร่างกายผู้ปวยท�าได้ถนัดยิ่งขึ้น. สามารถลูบ บริเวณพื้นผิวของร่างกายที่ต้องการนวดทั้งหมดได้

การเตรยมตัวของผูนวด . ผูน้ วดควรมีการเตรียมตนเองให้พร้อม.ทัง้ ด้านความสะอาดและบุคลิกภาพ. มือต้องสะอาด.ควรล้างมือทั้งก่อนและหลังการนวดแต่ละคน.เล็บตัดสั้นไม่ควรทา เล็บ.ไม่ควรใส่แหวน.ก�าไล.นา ิกา.หรือสร้อยคอยาวเพราะอาจไปขีดข่วนผิวของ ผู้ถูกนวดได้. การแต่งกายของผู้นวดต้องสุภาพเรียบร้อย. แต่สะดวกในการปฏิบัติ งาน. เสื้อที่สวมใส่ต้องไม่สั้นหรือกระชับตัวเกินไป. ผมไม่ยาวรุงรังหรือปรกหน้า. หากผมยาวต้องรวบผมขึ้นให้เรียบร้อย. เพื่อไม่ให้ไปถูกผู้ที่รับการนวด. นอกจากนี้ ผูน้ วดจะต้องมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ.วางตัวดี.กิรยิ าวาจาสุภาพเรียบร้อย.มีความ อดทน. ปฏิบัติต่อตัวผู้ถูกนวดอย่างเท่าเทียมกัน. โดยไม่เห็นแก่ของก�านัลหรือ สิ่งตอบแทน 62


. ผู้นวดควรมีข้อต่อของแขน. ข้อมือ. และนิ้วมือที่แข็งแรงและยืดหยุ่นเปน ปกติ. สามารถเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ. ได้เต็มองศาการเคลื่อนไหว. ถ้าหากมี ข้อต่อใดยึดติดแข็ง. ควรต้องหมั่นยืดข้อต่อเพื่อเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวให้ได้เปน ปกติ.ในการนวดต้องอาศัยข้อต่อที่มีองศาการเคลื่อนไหวที่กว้างมากๆ.ได้แก่ . 1...นิ้วหัวแม่มือ.ต้องมีการกาง.และเหยียดออกได้เต็มที่ . 2...ข้อมือต้องสามารถงอและเหยียดได้เต็มที่ . 3...ข้อต่อเรดิโออัลน่าร์.( adiou nar.oints).ต้องสามารถคว�า่ และหงาย สามารถออกแรงได้เต็มที่ . นอกจากการออกก�าลังกายแบบเพิ่มความยืดหยุ่นของข้อต่อแล้ว. ผู้นวด ควรออกก�าลังเพือ่ เพิม่ ความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนือ้ ทัง้ มือและแขน ด้วย. เช่น. การก�าหรือบีบวัตถุเล็กๆ. ในมือ. ได้แก่. ลูกบอลเล็ก. ดินเหนียวหรือดิน น�้ามัน. การใช้ยางยืดเส้นเล็กหรือใช้อุปกรณ์ดัมเบลล์เปนเครื่องมือให้แรงต้านต่อ การออกก�าลังกล้ามเนื้อมือและนิ้วมือ.เปนต้น

การนวดนักปน ักรยาน .วิธีการนวดเปนการนวดแบบผสมผสานกันของการนวดหลายรูปแบบ. เช่น. การนวดแบบไทยประยุกต์ส�าหรับนักกี า. (มานพ. พิทธไชย,. 2540). ซึ่งมี ลักษณะเปนแบบใช้โลชัน่ กับน�า้ .เนือ่ งจากเปนการลดแรงเสียดทานระหว่างผิวของ ผู้ถูกนวดและ ามือของผู้นวด. ท�าให้สะดวกในการลูบ. ดัดแปลงมาจากการนวด แบบจีนประยุกต์. (อุดม. เชิดชูชัยไพบูลย์,. 2539),. การนวดแบบจับเส้น. (หวน. สังขพราหมณ์,.2551).เปนการนวดแบบกดจุดตามแนวเส้นต่างๆ.ของร่างกาย. . การนวดนักปันจักรยาน เริ่มนวดจากส่วนล่างของร่างกายไปหาส่วนบน ของร่างกาย.ซึ่งประกอบด้วย.การนวดส่วนต่างๆ.ตามล�าดับดังนี้

63


33

ขันตอนและลําดับวธการนวดสวนตางของรางกาย มดังตอไปน การนวดนองขวา 3 นาท นักกี านอนในท่านอนคว�่า .

..

. ผู้นวดยืนอยู่ที่ปลายเท้าของผู้ถูกนวดข้างขวา . . นวดโดยการลูบย้อนโดยนิ้วโป้งลูบผ่านร่องกลางของกล้ามเนื้อน่อง. ( astrocnemius).ด้วยการลงน�า้ หนักทีไ่ ม่มาก.เนือ่ งจากจะท�าให้ผถู้ กู นวดรูส้ กึ เจ็บ ไม่มาก .. . ส่วนการนวดด้านข้างเอ็นร้อยหวาย.(.Achi es.Tendon.).ห้ามลงน�้า หนักทีเ่ อ็นร้อยหวายโดยเด็ดขาด.ผูน้ วดควรบีบกล้ามเนือ้ ทีอ่ ยูร่ ะหว่างเอ็นร้อยหวาย. ลูบไล้ไปตามแนวของเอ็นร้อยหวายจากด้านล่างไปด้านบนแล้วลูบไล้กลับมา. โดย ใช้จังหวะในการนวดค่อนข้างช้า.

64


การนวดนองขาง าย 3

นาท

. ผู้นวดนั่งอยู่ที่ปลายเท้าของผู้ถูกนวดข้างซ้าย . . นวดโดยการลูบย้อนโดยนิ้วโป้งลูบผ่านร่องกลางของกล้ามเนื้อน่อง. ( astrocnemius). ด้วยการลงน�้าหนักที่ไม่มาก. เนื่องจากจะท�าให้ผู้นวดไม่รู้สึก เจ็บมาก . . ส่วนการนวดด้านข้างเอ็นร้อยหวาย.(.Achi es.Tendon.).ห้ามกดลง ทีเ่ อ็นร้อยหวายโดยเด็ดขาด.ผูน้ วดบีบกล้ามเนือ้ ทีอ่ ยูร่ ะหว่างเอ็นร้อยหวาย.โดยใช้ บีบไล่ไปตามแนวของเอ็นร้อยหวายจากด้านล่างไปด้านบน. แล้วลูบไล้กลับมา. โดยใช้จังหวะในการนวดค่อนข้างช้า

65


33

การนวดตนขาดาน ลังขางขวา 3

นาท

.

.

ผู้นวดยืนอยู่ที่ปลายเท้าของผู้ถูกนวดข้างขวา แบ่งเส้นสมมุติแนวขาจากต้นขาจนถึงปลายขาแล้วลูบเบาๆ.ตลอดกล้าม เนื้อต้นขาด้านหลัง. แล้วใช้ปลายนิ้วลูบจากส่วนกลางออกด้านนอก. โดยดันปลาย นิ้วขึ้นแล้ววนออก. ทั้งในและนอกสลับกัน. พร้อมทั้งลงน�้าหนักขณะนวด. ผู้นวด วางมือซ้อนกัน.ใช้ปลายนิ้วลูบย้อนขึ้นตรงๆ.ในแนวกลางของกล้ามเนื้อต้นขาด้าน หลัง.โดยใช้จังหวะในการนวดค่อนข้างช้า

66


..

การนวดตนขาดาน ลังขาง าย 3 .

นาท

.

ผู้นวดยืนอยู่ที่ปลายเท้าของผู้ถูกนวดข้างซ้าย แบ่งเส้นสมมุตแิ นวขาจากต้นขาจนถึงปลายขา.แล้วลูบเบาๆ.ตลอดทัง้ ท่อน ของกล้ามเนือ้ ต้นขา.แล้วใช้ปลายนิว้ ลูบจากส่วนกลางออก.โดยดันปลายนิว้ ขึน้ แล้ว วนออก.ทัง้ ในและนอกสลับกัน.พร้อมทัง้ ลงน�า้ หนักขณะนวด.ผูน้ วดวางมือซ้อนกัน. ใช้ปลายนิว้ ลูบย้อนขึน้ ตรงๆ.ในแนวกลางของกล้ามเนือ้ ต้นขาด้านหลังวางหน้าแข้ง ของผูถ้ กู นวดบนหน้าขาผูน้ วด.ให้ขอ้ เข่างอเล็กน้อย.แล้วนวดบริเวณจุดเกาะต้นของ กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง.ด้านข้างของต้นขาด้านหลัง.ใช้ส้นมือไล่ขึ้น.แล้วออกแรง ที่ปลายนิ้วดึงกล้ามเนื้อด้านข้างจังหวะในการนวดค่อนข้างช้า

67


33

การนวดตนขาดาน นาขางขวา 3

นาท

ผู้นวดอยู่ที่ด้านขวาของผู้ถูกนวดใช้ ามือและออกแรงเน้นที่ปลายนิ้ว. เริม่ จากจุดเกาะปลายของกล้ามเนือ้ ต้นขาด้านหน้าเข้าหาจุดเกาะต้นของกล้ามเนือ้ ต้นขา. ซึ่งแบ่งเปน. 3. แนวเส้น. คือ. แนวเส้นที่อยู่ด้านข้างของกล้ามเนื้อ. astus. atera is.แนวเส้นทีอ่ ยูร่ ะหว่างกล้ามเนือ้ . ectus. emoris.กับกล้ามเนือ้ . astus. atera is.และแนวเส้นตามแนวของกล้ามเนือ้ .Sartorius.โดยใช้จงั หวะในการนวด ค่อนข้างช้า

68


การนวดตนขาดาน นาขาง าย 3

นาท

. ผู้นวดยืนด้านซ้ายของผู้ถูกนวด. ใช้ ามือและออกแรงเน้นที่ปลายนิ้ว. เริม่ จากจุดเกาะปลายของกล้ามเนือ้ ต้นขาด้านหน้า.เข้าหาจุดเกาะต้นของกล้ามเนือ้ ต้นขา. ซึ่งแบ่งเปน. 3. แนวเส้น. คือ. แนวเส้นที่อยู่ด้านข้างของกล้ามเนื้อ. astus. atera is.แนวเส้นทีอ่ ยูร่ ะหว่างกล้ามเนือ้ . ectus. emoris.กับกล้ามเนือ้ . astus. atera is.และแนวเส้นตามแนวของกล้ามเนื้อ.Sartorius.จังหวะในการนวดค่อน ข้างช้า

69


33

การนวดสะ พกขางขวา 3

นาท

ผู้นวดอยู่ด้านซ้ายของผู้ถูกนวด.ใช้สันมือทั้ง.2.ข้าง.คล�าต�าแหน่งรอยบุม ด้านข้างของกล้ามเนื้อก้น. ซึ่งอยู่เหนือ. ข้อสะโพก. เล็กน้อย. ใช้ส้นมือคลึงเบาๆ. เปนวงกลมบริเวณสะโพก. ทิ้งน�้าหนักลดลงบน ามือทั้ง. 2. ข้าง. แล้วเลื่อน ามือ ทั้ง.2.ข้างขึ้นมากดบนสะโพกทั้ง.2.ข้าง.ผู้นวดนั่งด้านเดิม.ใช้นิ้วโป้ง.และสันมือ กดลงที่จุดตึงของสะโพกทั้งสองข้างของผู้ถูกนวด. โดยลงน�้าหนักมือไล่ทีละข้าง สลับกัน.(ถ้าลงน�้าหนักมากจะเกิดการเกร็งต้าน).จังหวะในการนวดค่อนข้างช้า

70


การนวดสะ พกขาง าย 3

นาท

ผู้นวดอยู่ด้านซ้ายของผู้ถูกนวด.ใช้สันมือทั้ง.2.ข้าง.คล�าต�าแหน่งรอยบุม ด้านข้างของกล้ามเนื้อก้น. ซึ่งอยู่เหนือข้อสะโพกเล็กน้อย. ใช้ส้นมือคลึงเบาๆ. เปนวงกลมบริเวณสะโพก. ทิ้งน�้าหนักลดลงบน ามือทั้ง. 2. ข้าง. แล้วเลื่อน ามือ ทั้ง. 2. ข้างขึ้นมากดบนสะโพกทั้ง. 2. ข้าง. ผู้นวดนั่งด้านเดิมใช้นิ้วโป้งและสันมือ กดลงที่จุดตึงของสะโพกทั้งสองข้างของผู้ถูกนวด. โดยลงน�้าหนักมือคลึงทีละข้าง สลับกัน.จังหวะในการนวดค่อนข้างช้า

71


33

การนวด ลังสวนลาง 3

นาท

การนวดกล้ามเนื้อบริเวณหลังส่วนล่าง.( ower ac . assage) .. ผู้นวดยืนด้านข้างล�าตัวของผู้ถูกนวดใกล้ต�าแหน่งหลังส่วนล่าง. เริ่มจาก การนวดหลังส่วนล่างด้านใน. การลงน�้าหนักเน้นที่น้ิวหัวแม่มือลูบกล้ามเนื้อหลัง ข้างกระดูกสันหลังประมาณ.2.นิ้วมือออกไปหาด้านข้างของล�าตัวจากตัวผู้ถูกนวด. การลงน�้าหนักเน้นที่ปลายนิ้วกล้ามเนื้อหลังจากแกนกลางของผู้ถูกนวดเข้าหา ตัวผู้นวด.ระวังโดนกระดูกสันหลัง.จังหวะในการนวดค่อนข้างช้า

72


การนวดกลามเนือทอง 3

นาท

. ผู้นวดวางมือกดลงที่กล้ามเนื้อหน้าท้อง.( ectus.a dominis) . 1.. ให้ผู้ถูกนวดนอนหงายและหายใจเข้า-ออกช้า.ๆ. . 2.. ใช้มือทั้ง. 2. นวดทิศทางตามกันไปเปนเส้นตรงจากด้านในออกไปหา ด้านนอกสลับกันจนทั่วบริเวณหน้าท้อง.

73


33

การนวดคอและบา

. ใช้ปลายนิ้วมือและอุ้งมือลูบไล้ส่วนบ่า. (Trape ius). ลงไปที่หลังไหล่. ( e toid).จังหวะในการลูบช้า

. ใช้ปลายนิ้วมือลูบไล้กล้ามเนื้อข้างๆ. กระดูกสันหลังจากบริเวณต้นคอถึง ขอบล่างกระดูกสะบักหลังทั้งสองข้าง.โดยลงน�้าหนักที่พอเหมาะ.ระวังอย่าให้โดน กระดูกสันหลัง 74


. ใช้ปลายนิว้ มือลูบไล้ขนึ้ จากแนวขอบล่างของกระดูกสะบักหลังถึงขอบบน ของกระดูกสะบัก.ทั้งสองข้าง.โดยลงน�้าหนักที่พอเหมาะแนวเส้นที่.7.-.8

. ใช้ปลายนิ้วมือลูบไล้ลงจากขอบบนของกระดูกสะบัก. ถึงขอบล่างของ สะบักทั้งสองข้าง.โดยลงน�้าหนักที่พอเหมาะ

75


33

. ใช้ปลายนิ้วมือลูบไล้กล้ามเนื้อบริเวณสะบักระวังอย่าให้โดนกระดูก. โดยใช้น�้าหนักที่พอเหมาะ การนวดบรเวณคอดาน นาและ นาอก

. ใช้ปลายนิว้ ลูบไล้กล้ามเนือ้ ตามแนวขอบล่างของกระดูกไหปลาร้าหน้าอก จนถึงหัวไหล่ด้านหน้า.โดยใช้น�้าหนักที่พอเหมาะ 76


. ใช้ปลายนิว้ ลูบไล้กล้ามเนือ้ ตามแนวขอบบนของกระดูกไหปลาร้าจากด้าน ในออกด้านนอก.โดยใช้น�้าหนักที่พอเหมาะ

การนวดเ พาะ ุดสํา รับนักก า การตงกลามเนือบรเวณ ัวไ ล . การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อบริเวณบ่า.บนสะบัก.จุดเกาะของกล้ามเนื้อ หน้าอกด้านหน้า( ectora is.ma or).กับกระดูกไหปลาร้า.(c a ic es).กล้ามเนื้อ บริเวณขอบบนของกระดูกไหปลาร้าบริเวณคอ.และกล้ามเนื้อหัวไหล่ การตงกลามเนือบรเวณ ลังสวนลาง การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อบริเวณกระเบนเหน็บ. กล้ามเนื้อบริเวณก้น ( uteus.masc e).และเน้นบริเวณจุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อหน้าท้อง.(Origin.of. ectus.a dominis)

77


33

การตงกลามเนือบรเวณขา นบ . การนวดผ่อนคลายและเน้นบริเวณกล้ามเนื้อสะโพก.ซึ่งเปนต�าแหน่งของ. uteus.medius.ขอบบนของกระดูกเชิงกราน.จุดเกาะของกล้ามเนื้อต้นขาด้าน หน้า.( ectus.femoris).และคลายกล้ามเนื้อบริเวณขาหนีบ.(Adductor) การตงกลามเนือบรเวณเขา . การนวดผ่อนคลายกล้ามเนือ้ ต้นขาด้านหลัง( amstring).โดยเน้นรอยต่อ ระหว่างมัด. ข้อพับ. จุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อน่อง. ( astrocnemius). จุดเกาะ ปลายของกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้ากับเข่าและกล้ามเนื้อหน้าแข้ง. (Ti ia is. anterior) การตงกลามเนือบรเวณขอเทา . การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อด้านข้างของต้นขาด้านหน้า. กล้ามเนื้อ หน้าแข้ง.กล้ามเนื้อน่องเน้นบริเวณรอยต่อของเอ็นร้อยหวาย.(Achi es.tendon). ลูบเน้นบริเวณขอบล่างของตาตุ่มทั้งสองข้าง.ระวังอย่าให้โดนเอ็นร้อยหวาย

78


บรรณานุกรม การกี าแห่งประเทศไทย.. (2550). การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การนวดผอน คลายเพื่อใชกับนักกีฬาของสมาคมกีฬา. กรุงเทพ :.กองกี าเวชศาสตร์. ายวิทยาศาสตร์การกี า. โครงการฟนฟูการนวดไทย.. (2529). คูมือการนวดไทย. กรุงเทพ :. เอส. เอน. การพิมพ์. ชูศักดิ์.เวชแพศย์.(2536). สรีรวิทยาของมนุษย 1..กรุงเทพ :.พรประเสริฐพริ้นติ้ง. ชูศักดิ์. เวชแพศย์. และ.กันยา.ปาละวิวัธน์..(2528)..สรีรวิทยาของการออกกําลัง กาย. กรุงเทพ :.เทพรัตน์การพิมพ์. ณัฐพล.ชินเดช..(2546)..ผลของการนวดแบบไทยประยุกตที่มีตอความเชื่อมั่นใน ตนเองและแรงปฏิกิริยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต,. สาขาวิทยาศาสตร์การออกก�าลังกายและการกี าบัณฑิตวิทยาลัย,.บัณฑิต วิทยาลัย,.มหาวิทยาลัยบูรพา. ประณีต.เพ็ญศรี..(2550). การนวดเพื่อการกีฬา: สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขต อุดรธานี..เอกสารประกอบการอบรมการนวดทางการกี า. ประทุม. ม่วงมี.. (2527).. รากฐานทางสรีรวิทยายาของการออกกําลังกายและ การพลศึกษา. .กรุงเทพ :.ส�านักพิมพ์บูรพาสาส์น. พฤฒาจารย์วิพุธโยคะ. รัตนรังษี.. (2545). ตําราการนวดบรรเทา-รักษาโรคฉบับ สมบูรณสุดยอด. .กรุงเทพ :.ส�านักพิมพ์ปิรามิด. มานพ.ประภาษานนท์..(2545)..นวดไทยสัมผัสบําบัดเพื่อสุขภาพ. สมุทรปราการ:. ส�านักพิมพ์เรือนบุญ.

79


33

มานพ.พิทธไชย..(2540). อิทธิพลของการอบอุนรางกาย 3 วิธี ที่มีตอแรงระเบิด ของกลามเนื้อในนักกีฬา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิทยาศาสตร์การออกก�าลังกาย. และการกี าบัณฑิตวิทยาลัย,. บัณฑิตวิทยาลัย,.มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทิต.วัณนาวิบูล..(2533). กดจุดหยุดอาการ..กรุงเทพ :.ส�านักพิมพ์หมอชาวบ้าน. หวน. สังข์พราหม์.. (2551). หมอหวนจับเสน.. อุดรธานี:. สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี..เอกสารการสอน. อุดม.เชิดชูชัยไพบูลย์..2539.:. กปฏิบัติด้วยตัวเอง

80


นวดกระตุนพัฒนาการเดก า าร ภ า

. การนวดเปนศาสตร์และศิลปะ. ถ้าได้นวดอย่างสม�่าเสมอ. จะท�าให้เด็ก มีสมาธิดี. นิ่งขึ้น.อารมณ์ดี. นอนหลับได้ง่ายและนานขึ้น.นอกจากนี้ยังมีประโยชน์. ดังนี้ . 1.. ช่วยพัฒนาการใช้กล้ามเนือ้ แขน-ขาได้ดขี นึ้ ท�าให้ให้กล้ามเนือ้ แข็งแรง. และผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อ . 2.. ช่วยท�าให้ระบบประสาทท�างานได้ดีขึ้น.และสามารถประสานกับการ เคลื่อนไหวของระบบกล้ามเนื้อได้ดีขึ้นท�าให้การเคลื่อนไหวคล่องขึ้น. ส่งผลให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้มากขึ้น . 3.. ช่วยการไหลเวียนของเลือดและน�้าเหลืองดีขึ้น. . 4.. ช่วยกระตุ้นสารสุข.( อร์โมนเอนโดรฟิน).และลดการสร้างสารความ ตึงเครียด.( อร์โมน.แอดรีนาลีน).ท�าให้อารมณ์ดี.แจ่มใส.ร่าเริง . 5.. ช่วยกระตุ้นระบบการหายใจท�าให้ร่างกายได้รับออกซิเจนมากขึ้น . 6.. ช่วยปรับพฤติกรรมของเด็ก.เช่น.เด็กที่หลับยาก.

81


33 วธตรว .

1.. ซักประวัติการตั้งครรภ์. ประวัติการคลอด. ประวัติความเจ็บปวยของ เด็ก 2.. ตรวจจับชีพจร. 3.. ดูลักษณะโครงสร้างร่างกาย.แขน.ขา. 4.. ดูการเคลื่อนไหวของร่างกาย.กล้ามเนื้อ.องศาข้อต่อ

. . .

การนวดกระตุนทางระบบสมอง . . . . . . . . . .

1.. พื้นฐานหลังท่าหนุมานถวายแหวน 2.. นวดพื้นฐานบ่า 3.. นวดสัญญาณ4,5หลัง 4.. นวดโค้งคอ 5.. นวดสัญญาณ.1.2.5.ศีรษะด้านหลัง 6.. จุดจอมประสาท. 7.. จุดลูกคาง 8.. จุดริม ปากบน 9.. นวดแขนด้านนอกท่อนบน.ประมาณ.3. .4.จุด 10.. นวดจุดแกนกลางหน้าอก.3.จุด มายเ ุ ถ้ากระหม่อมเด็กยังไม่ปิดห้ามนวดจุดจอมประสาทเด็ดขาดเพราะ จะท�าให้เด็กปัญญาทึบ.(กระหม่อมหลังจะปิดภายในประมาณ.2.เดือน. กระหม่อมหน้าจะปิดประมาณขวบครึ่งถึง.2.ขวบ)

82


มายเ ตุ . สูตรการนวดเด็กกระตุ้นระบบสมองจะได้ผลดีมากกับเด็กอายุไม่เกิน. 5ขวบ.(สมองเด็กจะพัฒนาแบบรวดเร็วตั้งแต่แรกเกิดถึง.5ขวบ).สูตรนี้ยังสามารถ ปรับใช้ได้กับคนชราที่มีสภาวะสมองสับสน.

คําแนะนํา . . . .

1.. บริหาร.ดัด.ยืดข้อต่อส่วนที่เกร็ง.ให้มีความแข็งแรง.และยืดหยุ่น.โดย พยายามจัดท่าทางในการทรงตัว 2.. รับประทานอาหารบ�ารุงสมอง 3.. ท�ากิจกรรมต่างๆ.ที่เปนการช่วยกระตุ้นการพัฒนาการทางสมอง 4.. นวดรักษาสัปดาห์ละ.2.ครั้ง

รูปแสดงการนวดพื้นฐานบ่าในเด็ก

รูปแสดงการนวดลูกคางและร่องจมูก 83


33

.รูปแสดงการนวดพื้นฐานแขนด้านนอกท่อนบน

รูปแสดงการนวดแกนกลางหน้าอกสามจุด

84


ความรูสมุนไพร นกับ รคมะเรง พท น ร า น าร พท น น เ

ร น เพ ง น า ุร รร า น เรง

蔡佩玲中医师,华侨中医院肿瘤内科

ปัจจุบันอัตราการเกิดยังคงมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ. แต่มีอัตราการเสียชีวิตมาก เปนอันดับหนึ่งของประเทศไทยเรา. เปนอันดับสองของโลก. โดยมีสาเหตุการ เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง. 5. อันดับแรก. ได้แก่. มะเร็งตับและท่อน�้าดี. มะเร็งปอด. มะเร็งเต้านม. มะเร็งล�าไส้ใหญ่และทวารหนัก. และมะเร็งปากมดลูก. ปัจจุบัน แนวโน้มอัตราการผู้ปวยมะเร็งใหม่ยังมีเพิ่มขึ้นทุกป. ชนิดของโรคมะเร็งที่พบบ่อย ในแต่ละประเทศทัว่ โลกไม่เหมือนกัน.เนือ่ งจากมีการได้รบั รังสีสารเคมี.มีพฤติกรรม การกินอาหาร. ปัจจัยทางพันธุกรรม. การด�าเนินชีวิต. และอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ แตกต่ า งกั น . จากผลส�ารวจพบว่าสาเหตุที่ส� า คั ญ ส่ วนหนึ่ ง มาจากการใช้ ชี วิต ของคนเรา. การกินอยู่. และสภาพแวดล้อมสังคมรอบๆ. ตัวเรา. โดย. 1. ใน. 3. มีสาเหตุส�าคัญมาจากพฤติกรรมการกินอาหารเปนหลัก .. ปัจจัยต่างๆ. เหล่านี้จะเปนตัวกระตุ้นท�าให้เซลล์ในร่างกายเกิดการ เปลี่ยนแปลงไปจากเซลล์ที่ปกติ.กลายไปเปนเซลล์ที่ผิดปกติไปจากเดิม.และกลาย ไปเปนเซลล์มะเร็งในที่สุด. เมื่อเรายังใช้ชีวิตความเปนอยู่แบบเดิมๆ. มันจะเปน การกระตุน้ กลไกเหล่านีซ้ า�้ ซ้อนและเมือ่ สะสมนานวันเข้าก็จะมีโอกาสเปนมะเร็งได้. 85


33

แต่ระยะเวลาของการเกิดนั้นอาจใช้เวลายาวนานกว่า. 10. ถึง. 30. ป. ซึ่งในช่วงนี้ จะเปนช่วงที่ร่างกายยังแข็งแรงพอที่จะปรับสภาพ. ผลัดเปลี่ยนเซลล์ให้ฟนคืนสู่ปกติ ได้ง่าย. ดังนั้นถ้าหากเราเริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งการใช้ชีวิต. การกิน. การอยู่ ตัง้ แต่วนั นีจ้ งึ จะแนวทางป้องกันทีด่ ที สี่ ดุ .มะเร็งเปนเพียงโรคเรือ้ รังอย่างหนึง่ .ดังนัน้ ถ้าหากว่าเราอยากจะมีสุขภาพที่ดีห่างไกลจากโรคร้ายต่างๆ. ไม่เว้นแต่โรคมะเร็ง เราจึงควรจะหันมาใส่ใจสุขภาพตนเองและคนรอบข้าง. .. ถ้าไม่เปลี่ยนตั้งแต่วันนี้......หรือจะรอเปลี่ยนแปลงเมื่อสายไปเสียแล้ว. .. เมื่อร่างกายของเราเริ่มส่งสัญญาณเตือน. เช่น. รู้สึกอ่อนเพลียเหนื่อยล้า. ง่วงหงาวหาวนอนอยากจะหลับตลอดเวลา.อารมณ์ไม่แจ่มใส.หงุดหงิดง่าย.ความ เครียดสะสม.นอนไม่หลับหรือหลับไม่สนิท.เบื่ออาหาร.น�้าหนักลด.สิ่งเหล่านี้เอง ที่ร่างกายพยายามจะบอกเราว่าเริ่มจะมีความผิดปกติเกิดขึ้นในร่างกายแล้วนะ. ร่างกายตอนนี้ท�างานเกินก�าลังแล้ว. อาหารที่ทานเข้าไปไม่เหมาะสมหรืออาจไม่ เพียงพอทีจ่ ะหล่อเลีย้ งร่างกายได้.ถ้าปล่อยทิง้ ไว้ไม่ดแู ลสุขภาพแบบนีอ้ าจน�าพาให้ เกิดโรคต่างๆ.ตามมาได้ .. ดังนั้นจะมีวิธีไหนบ้าง.ที่สามารถจะชะลอหรือยับยั้งการเปนมะเร็งได้. .. 1). ปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตใหม่. ชะลอความเร่งรีบในชีวิตประจ�าวัน. ไม่ท�างานหักโหมจนเกินไป. . 2)..พักผ่อนให้เพียงพอและเหมาะสม. นอนหลับและตื่นนอนเปนเวลา. ไม่นอนดึกจนเกินไป .. 3)..ออกก�าลังกายอย่างพอเหมาะและสม�่าเสมอ. เปนประจ�าอย่างน้อย อาทิตย์ละ.4-5.วัน.เช่น.ออกก�าลังกายด้วยการเดินเร็ว.วิ่งช้าๆ.ว่ายน�้า.ชี่กง.ไทเก็ก. แอโรบิค.เปนต้น .. 4).. รับประทานอาหารอาหารให้ครบ. 5. หมู่. โดยเลือกรับประทานให้ หลากหลายในปริมาณที่เหมาะสมในแต่ละช่วงของร่างกาย. รับประทานผักและ 86


ผลไม้เปนประจ�าทุกวัน. รับประทานอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ. ไม่กินอาหาร หมักดอง.อาหารสุกๆ.ดิบๆ.อาหารค้างคืน.อาหารหมดอายุขึ้นรา.ของปิงย่างของ ทอดของมันทานแต่น้อย. เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งตับและถุงน�้าดี. มะเร็งกระเพาะอาหาร.มะเร็งล�าไส้ .. 5). หลีกเลีย่ งการดืม่ เหล้าแอลกอ อล์.และการสูบบุหรี.่ ซึง่ จะเสีย่ งต่อการ เปนมะเร็งตับ.มะเร็งช่องปาก.กล่องเสียง.มะเร็งปอดและหลอดอาหาร . 6). มีจิตใจแจ่มใส.มองโลกในแง่ดี. รู้จักหาวิธีผ่อนคลายความตรึงเครียด. เช่น.เดินเล่น.ดูหนัง.ฟังเพลง.เต้นร�า.ไปเที่ยว .. 7)..ควบคุมน�า้ หนักตัว.โรคอ้วนมีความสัมพันธ์กบั โรคมะเร็งมดลูก.ถุงน�า้ ดี. เต้านม.และล�าไส้ใหญ่. . อาหารเปนปัจจัยส�าคัญอย่างหนึ่งที่มีผลต่อสุขภาพร่างกายโดยตรง. ควรเลือกรับประทานอาหารที่เน้นไปทางมังสวิรัติ. นั่นคือการรับประทานให้ ครบทั้ง. 5. หมู่. แต่เน้นทานผักผลไม้ให้มาก. มีอาหารอะไรบ้างที่ควรจะเลือก รับประทาน. . . 1)..รับประทานผักตระกูลกะหล�่า. เช่น. บล็อคโคลี่. คะน้า. กะหล�่าปลี. กะหล�่าดอก. เพื่อป้องกันโรคมะเร็งล�าไส้ใหญ่. ล�าไส้ส่วนปลาย. กระเพาะอาหาร. และอวัยวะระบบทางเดินหายใจ. . 2)..รับประทานอาหารที่มีกากมาก. เช่น. ผัก. ผลไม้. ข้าว. ข้าวโพด. และ เมล็ดธัญพืชอื่นๆ.เพื่อป้องกันมะเร็งล�าไส้ใหญ่. . 3)..รับประทานอาหารที่มีเบต้า-แคโรทีนและวิตามิน. เช่น. มะเขือเทศ. กล้วย. แครอท. ฟักทอง. ผักขม. รั่ง. ส้ม. กีวี. สตอเบอรี่. แอปเปิ ล. เปนต้น. ซึ่งจะมีสารต้านอนุมูลอิสระ. ช่วยป้องกันมะเร็งหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร. กล่องเสียง.และปอด.

87


33

.. 4)..อาหารประเภทเห็ด.เช่น.เห็ดหอม.เห็ดเข็มทอง.เห็ดฟาง.เห็ดหัวลิง. เห็ดหลินจือ. เห็ดหูหนูขาว. เห็ดช้อนซ้อน. (ไมตาเกะ). เห็ดออเรนจิ. เปนต้น. มีส่วนประกอบของสารโพลีแซกคาไรด์. ซึ่งสารในกลุ่มนี้จะมีฤทธิ์ส�าคัญในการ ต้านมะเร็ง.และกระตุ้นภูมิต้านทาน.ลดการอักเสบ. .. ส�าหรับผูป้ วยมะเร็งไม่วา่ ทีก่ า� ลังเปนอยู.่ หรือเปนและรักษามาหลายปแล้ว. ส่วนใหญ่จะปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตอย่างมาก.รวมถึงสภาพจิตใจที่เข้มแข็งมองโลก ในแง่ดี. มีความเชื่อมั่นในตนเองและการรักษาซึ่งหลายๆ. คนประสบความส�าเร็จ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น. แต่ก็มีส่วนหนึ่งที่ท�าไม่ได้และยังใช้ชีวิตเหมือนเดิมอยู่ เหมือนกันซึ่งอาจได้ผลที่ไม่ดีเท่า. อย่างที่กล่าวในข้างต้นถ้าหากเราไม่ปรับเปลี่ยน การใช้ชีวิตการกินอยู่ตั้งแต่ตอนนี้.หรือจะรอเมื่อปวยแล้วถึงจะเริ่มเปลี่ยน. .. ทุกวันนี้หลายๆ. คนต่างค้นหาวิธีป้องกันและรักษามีวิจัยต่างๆ. มากมาย เกีย่ วกับการรักษาโรคมะเร็ง.ศาสตร์การแพทย์แผนจีนก็เปนศาสตร์หนึง่ ทีค่ อ่ นข้าง แพร่หลายในปัจจุบนั และมีการยอมรับเพิม่ มากขึน้ .จากงานวิจยั ในประเทศจีนหลาย ผลงานพบว่าการรักษาผสมผสานด้วยแพทย์แผนจีนและแพทย์แผนปัจจุบนั ควบคู่ กันสามารถยืดชีวติ ของผูป้ วยมะเร็ง.ยกระดับคุณภาพชีวติ .และช่วยลดผลข้างเคียง หลังจากการรักษาด้วยการผ่าตัด. ายแสง. หรือคีโม. เปนต้น. นอกจากนี้ยังส่งผล ให้ประสิทธิภาพการรักษาดียิ่งขึ้นอีกด้วย. .. ศาสตร์ ก ารแพทย์ แ ผนจี น มี ป ระวั ติ ย าวนานหลายพั น ป. จริ ง ๆ. แล้ ว ศาสตร์แพทย์แผนจีนจะให้ความส�าคัญในเรือ่ งของการป้องกัน.หรือรักษาตัง้ แต่กอ่ น เกิดโรค.และมองสภาพร่างกายเปนแบบองค์รวม.ความสมดุลหยิน-หยาง.และการ ท�างานของอวัยวะต่างๆ. โดยมองว่าโรคมะเร็งเกิดจากการที่พื้นฐานของร่างกาย อ่อนแอบกพร่องซึ่งอาจจะเกิดจากปัจจัยต่างๆ. เช่น. ทุนแต่ก�าเนิด. การกินอาหาร ที่ไม่เหมาะสม. เหน็ดเหนื่อยตรากตร�าเกินไป. หรืออารมณ์ที่ไม่เปนปกติสะสม เปนเวลานาน. จนท�าให้ร่างกายอ่อนแอเปนพื้นฐาน. และเมื่อนานวันเข้าท�าให้พิษ. 88


ปัจจัยเสียความชืน้ .เสมหะสะสม.เลือดและลมปราณเกิดการติดขัด.จนก่อตัวสะสม กลายเปนมะเร็งไปในทีส่ ดุ .จะเห็นว่าจริงๆ.แล้วสาเหตุการเกิดในปัจจุบนั กับมุมมอง แบบแพทย์แผนจีนมันไม่ได้ห่างไกลกันเลย. .. ส�าหรับยาสมุนไพรจีน.มีสว่ นช่วยอย่างไรกับโรคมะเร็ง.ยาสมุนไพรจีนบาง ชนิดมีผลวิจัยที่มีสรรพคุณที่ใช้ในการรักษามะเร็งสามารถยับยั้งเซลล์มะเร็งได้. แต่ จริงๆ. แล้วในการรักษาไม่ได้ใช้เพียงยาสมุนไพรจีนตัวใดตัวหนึ่งเพื่อรักษา. แต่จะ ต้องมีการวิเคราะห์วนิ จิ ยั โรคและกลุม่ อาการโดยการดู.การดมหรือฟัง.การซักถาม. และการแมะ.เพือ่ ทีจ่ ะเลือกใช้กลุม่ ยาหรือต�ารับยาสมุนไพรจีนในการรักษาซึง่ แตก ต่างกันไปในแต่ละคน. โดยในแต่ละช่วงการรักษาส�าหรับผู้ปวยมะเร็งก็จะมีความ แตกต่างกันไปอีกด้วย.คือ วงกอนรับการผา ัด คีโม ายรังสีแ ะอ่น .. ผู้ปวยควรจะบ�ารุงร่างกาย.เลือดและลมปราณ.กระเพาะม้าม.ตับและไต. เตรียมพร้อมก่อนเข้ารับการรักษาเพื่อช่วยให้ร่างกายแข็งแรงทนรับต่อการรักษา ต่างๆ.ได้. ช่วงนี้เปนช่วงที่ผู้ปวยร่างกายยังค่อนข้างแข็งแรง.ดังนั้นถ้าหากจะบ�ารุง ร่างกายไม่ว่าจะด้วยยาหรืออาหารจึงถึงว่าเปนช่วงที่ดีที่สุด วงผา ัด .. ส่วนใหญ่จะเปนผู้ปวยในระยะต้นที่เข้ารับการผ่าตัด. เนื่องจากหลังจาก ผ่าตัดเอาก้อนเนื้อออกไปหมดแล้ว.แต่หลังผ่าตัดพบว่าในบางรายมักจะเปนมะเร็ง กลับซ�้าใหม่ได้อีก. และท�าให้มะเร็งกระจายได้ง่าย. ในทางแพทย์แผนจีนคิดว่า. การผ่าตัดเปนการท�าให้สูญเสียเลือดและลมปราณ.ท�าให้อวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆ. เกิดการบาดเจ็บได้. ดังนั้น. จึงควรเน้นบ�ารุงเลือดและลมปราณ. และขจัดเลือดคั่ง. อาจใช้อาหารหรือยาจีนบ�ารุงรักษา.เมื่อร่างกายได้รับการฟนฟู.ก็สามารถที่จะทน ต่อการรักษาในขั้นตอนถัดไปหลังการผ่าตัดได้

89


33

3 วงทําคีโม .. ผู้ปวยมักจะต้องเข้าท�าคีโมบ�าบัดเปนจ�านวนหลายครั้ง. และการท�าคีโม เปนการ ่าเซลล์มะเร็งและเซลล์ทุกชนิด.แม้แต่เซลล์ที่ปกติก็ตาม.จึงท�าให้ร่างกาย ของผู้ปวยอ่อนแอลง.อวัยวะต่างๆ.ท�างานบกพร่องทั้งระบบเลือด.ระบบทางเดิน อาหาร. และระบบประสาทต่างๆ. ดังนั้นการใช้ยาจีนเข้ารักษาจะเน้นบ�ารุง. เลือด และลมปราณ. กระเพาะม้าม. ตับและไต. ลดผลข้างเคียงจากการท�าคีโม. บรรเทา อาการคลื่นไส้อาเจียน. ช่วยให้เจริญอาหาร. ยกระดับภูมิต้านทาน. อีกทั้งยังส่งให้ ประสิทธิภาพการรักษาดีขึ้นอีกด้วย. โดยผู้ปวยนอกจากจะใช้ยาจีนรักษาแล้วอาจ จะเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมเพิม่ ด้วย.เช่น.การรับประทานอาหารทีย่ อ่ ย ง่ายๆ.และเลือกอาหารที่เน้นบ�ารุงกระเพาะม้ามเปนหลัก.ก็สามารถที่จะช่วยฟนฟู สภาพร่างกายได้อีกทางหนึ่ง วง ายรังสี .. ผู้ป วยเมื่อได้รับการ ายรังสีมักจะให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นถูกท�าลาย. ใน ทางการแพทย์แผนจีนคิดว่าการ ายรังสีเปรียบเสมือนการได้รบั พิษความร้อนหรือ ไฟเข้าสู่ร่างกาย. ท�าให้สูญเสียลมปราณและสารอินหล่อเลี้ยง. อวัยวะและเนื้อเยื่อ ต่างๆ.ถูกท�าลาย.ซึ่งท�าให้เกิดอาการต่างๆ.ตามมาแตกต่างกันไปตามบริเวณที่ถูก ายรังสี. เช่นบริเวณศีรษะ.มักจะท�าให้เกิดการบวมน�้า.เลือดคั่ง.ส่งผลให้มีอาการ เวียนหัว.ปวดหัว.คลื่นไส้ได้. หรือบริเวณจมูกช่องปาก.มักจะท�าให้เนื้อเยื่อบริเวณ ช่องปากเกิดแผลพุพอง.เจ็บคอ.ปวดแสบ.จมูกคอแห้ง.เปนต้น.ดังนั้นจึงควรเน้น ระบายร้อนขับพิษ.บ�ารุงลมปราณและสารอิน.เพิม่ สารหล่อเลีย้ งเพือ่ บรรเทาอาการ ต่างๆ.จากการ ายรังสี. สํา รับผูปวยสูงอายุ รอ รางกายคอนขางออนแอ มสามาร รับการรักษาผา ัด คีโม ายแสง ด .. จะต้องวินิจ ัยโรคและกลุ่มอาการเพื่อเลือกวิธีการรักษา. เพื่อปรับสมดุล ภายใน. เพิ่มภูมิต้านทานร่างกาย. ยับยั้งมะเร็งไม่ให้กระจายหรือขยายตัวเพิ่ม. รักษาแบบประคับยกระดับคุณภาพชีวิต.และช่วยยืดชีวิตให้ยาวนาน 90


วง งั การรักษา าง เน้นการปรับสมดุลภายใน.เพิม่ ภูมติ า้ นทาน ร่างกาย.ยับยัง้ มะเร็งไม่ให้กระจายหรือเกิดขึน้ ใหม่.ยกระดับคุณภาพชีวติ .และช่วย ยืดชีวิตให้ยาวนาน

ตัวอยางยาสมุนไพร น .. .. .. .. .. ..

1)..บ�ารุงลมปราณเสริมภูมิต้านทาน. เช่น. หวง ี/ปักคี้. (黄芪). ตั่งเซิน. (党参).โสมอเมริกา.(西洋参/花旗参).ตังถั่งเ ้า.(冬虫草). 2). บ�ารุงเลือด.เช่น.ตังกุย.(当归).ตั่งเซิน(党参).ตันเซิน.(丹参).โสมแดง. (红参). วาเซิงอี.(花生衣) 3)..บ�ารุงกระเพาะม้าม. เช่นเม็ดบัว. (莲子). พุทธาแดง/อั่งจอ. (红枣). ลูกเดือย.(薏米仁).ขิง.(生姜).ซานเย่า/ ่วยซัว.(淮山).ฟูหลิง.(茯苓). รากบัว.(藕节) 4)..บ�ารุงปอด.เช่น.เปยซาเซิน.(北沙参).ยู่วจู/เหง็กเตก.(玉竹).ไปเหอ/ แปะ ะ.(百合).ซานเย่า/ ่วยซัว.(淮山).ตังถั่งเ ้า.(冬虫草). 5)..ระบายร้อนขับพิษ.ต้านมะเร็ง.เช่น.เสอเสอเ ่า.(白花蛇舌草).ปันจือ เหลียน/ปัวกิไน้. (半枝莲).หยูซิงเ ่า.(鱼腥草).หงเถิง/อั่งติ้ง.(红藤). ซานชือกู./ซัว ื่อโกว.(山慈菇). 6)..เสริมภูมิต้านทานและต้านมะเร็ง.เช่น.สปอร์เห็ดหลินจืน.(灵芝孢子 粉).ตังถั่งเ ้า.(冬虫草).ดอกถั่งเ ้า.(虫草花).เห็ดเกลียวเม .(云芝)

สูตรอา ารท่สามาร เลือก ผ  ปู วยมะเรงรับประทานเพือ่ น สู ภาพรางกาย สํา รับผูที่เบ่ออา าร ออนเพ ีย .. . ซุปบ�ารุงแก้อ่อนเพลีย.1.---ปักคี้. 5.กรัม.ตั่งเซียม.5.กรัม.ลูกเดือย. 10.กรัม.ตังกุย.5.กรัม. ่วยซัว.5.กรัม.ซุปบ�ารุงแก้อ่อนเพลีย.2.---ปักคี้. 5.กรัม. ตั่งเซียม.5.กรัม.รากบัว.20.กรัม. ่วยซัว.5.กรัม 91


33

สํา รับผูที่มีภาวะ ขกระดูก ูกกดการทํางาน . ซุปบ�ารุงเลือด.--- วาเซิงอี.30.กรัม.โสมแดง.5.กรัม.พุทธาแดง.6.เม็ด. 3 สํา รับผูปวย ายรังสี . โจกแก้พิษ.---หยูซิงเ ่า.30.กรัม.ถั่วเขียว.50.กรัม.ข้าวสาร.50.กรัม.

. .

อา ารท่ผูปวยมะเรงควร ลกเล่ยง ผูป วยมะเรงทั่ว ป :. ของหมักดอง. อาหารสุกๆ. ดิบๆ. ของทอด. ของมัน.เหล้า.บุหรี่.อาหารปรุงแต่งรสจัดจ้าน .. . ส�าหรับผู้ปวยที่ม้ามพร่องหลีกเลี่ยงอาหารที่มีฤทธิ์เย็นเกินไป. เช่น. ปู.แตงโม.มะระ .. . ส�าหรับผู้ปวยที่มีภาวะอินพร่อง.หลีกเลี่ยงอาหารที่มีฤทธิ์ร้อนเกินไป.. เช่น.พริก.เนื้อแพะ ผูปวยมะเรงปอด :.เหล้า.บุหรี่. 3 ผูป วยมะเรงทางเดินอา าร :.เหล้า.เนือ้ สัตว์.เนือ้ ทีผ่ า่ นกระบวนการ หมักหรือแปรรูป..ของทอด.ไขมัน. ผูปวยมะเรงสํา รับผู ิง :.เหล้า.ไขมัน.น�้ามะพร้าว.ไก่.อาหารปรุง แต่งรสจัดจ้าน

92


การดูแลผว นาดวย าสตร การแพทยแผน น พ

า เ พพ น

การรักษาความงามหรือเหม่ยหรงด้วยศาสตร์แพทย์จนี นัน้ ถือเปนศาสตร์ สาขาหนึง่ ในแพทย์แผนจีน.แพทย์แผนจีนนัน้ มีประวัตศิ าตร์มายาวนานหลายพันป. แต่ศาสตร์การรักษาด้านความงามนั้น.ในยุคแรกๆ.ได้ถูกบันทึกในลักษณะของการ รักษาโรคมีบันทึกอย่างกระจัดกระจายและมีจ�านวนไม่มากนัก. ต่อมาในสมัย ราชวงศ์จิ้นเก่อหงได้ท�าการบันทึกบทเ พาะการรักษาด้านความงามลงในคัมภีร์. โจ่วโ ่วจิ้วจูฟาง .เปนครั้งแรก.ต่อในสมัยราชวงศ์ถังการเมืองสงบนิ่ง.เศรษฐกิจ มีความเจริญก้าวหน้าท�าให้ประชาชนหันมาสนใจด้านความงามมากขึ้น. ซุนซือ เหมี่ยวได้ศึกษาวิจัยในศาสตร์ความงามโดยการใช้ยา. ังเข็ม. การนวดกดจุดและ บันทึกลงในคัมภีร์. เป้ยจี้เชียนจินเย่าฟาง .และ. เชียนจินอีฟาง .ท�าให้ในสมัย ราชวงศ์ศ์ถังนี้เองที่ศาสตร์ด้านความงามมีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด.

ประเภทของผว นังคนเรานันแบงได แบบ ผิวแ ง: เปนผิวที่มีต่อมไขมันผลิตน�้ามันออกมาน้อย. ผิวหนังไม่มี ความมันหล่อเลี้ยง.ดูภายนอกผิวค่อนข้างจะแห้งกร้าน.ไม่ทนต่อลมและแสงแดด. เปนผิวที่ละเอียดบอบบาง. มีริ้วรอยและแพ้ง่าย. ผิวแห้งลอกเปนขุย. เมื่อซับหน้า ด้วยกระดาษทิชชู.จะพบว่าผิวหน้าตึงมากหรือแห้งไม่สบายผิว. 93


33

ผิวมัน:.ผิวทีม่ ตี อ่ มไขมันใต้ผวิ หนังผลิตน�า้ มันออกมาเปนปริมาณมาก. โดยเ พาะบริเวณศีรษะ.และใบหน้า.ผิวจะมันเงา.รูขุมขนกว้าง.ผิวหยาบ.แต่ทน ต่อการกระตุ้นต่อแสงแดดได้ดี. ผิวจะไม่ค่อยมีริ้วร้อยหากมีจะมีช้ากว่าคนใน วัยเดียวกัน 3 ผิวธรรมดา: คือผิวระหว่างผิวแห้งและผิวมัน. ต่อมไขมันใต้ผิวหนัง ผลิตในปริมาณที่พอเหมาะ. ผิวภายนอกไม่แห้งไม่มันจนเกินไป. ผิวดูขาวสะอาดมี เลือด าด. เปล่งปลั่ง. ชุ่มชื้น. มีน�้ามีนวล. มีความยืดหยุ่นดี. ยากต่อการเกิดริ้วรอย ก่อนวัย.เปนผิวประเภทผิวในอุดมคติแต่พบได้น้อย ผิวผสม: เปนผิวทีม่ ที งั้ ผิวแห้งและผิวมันผสมกัน.แต่จะค่อนข้างมันใน บริเวณ. T- one. (หน้าผาก. จมูก. คาง). ส่วนบริเวณแก้ม. รอบดวงตา. คอจะมีผิว ธรรมดา.ต่อมไขมันบริเวณ.T- one.จะมีขนาดใหญ่.และท�างานได้ดีกว่าบริเวณอื่น. เนื่องจากเปนผิวที่มีทั้ง.ผิวแห้งและผิวมัน.ท�าให้มีลักษณะที่ผิวมีความมันได้ง่ายที่ บริเวณ.T- one.และผิวแห้งตึง.เปนขุย.หลังการล้างหน้า.บริเวณ.แก้มทั้งสองข้าง ผิวบอบบางแพงาย: เปนผิวที่แพ้ง่าย.มักมีการอักเสบ.คัน.มีผื่นแดง. เปนโรคผิวหนังต่างๆ.เช่น.แพ้ผลิตภัณฑ์เครื่องส�าอาง.เกสรดอกไม้. ุนละออง.อาจ ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ผิวหนังต่างๆ.เช่น.ผื่นแพ้สัมผัส.หรือ.ลมพิษ.เปนต้น. .. ในแต่ละช่วงวัยก็จะมีปัญหาด้านความงามที่แตกต่างกันไป. อย่างเช่นใน วัยรุ่น. ปัญหาที่พบได้บ่อยก็จะเปนเรื่องสิว. ในวัยกลางคนมักมีมีปัญหาเรื่อง ้า. กระ.ในผู้สูงอายุมักมีปัญหาเรื่องผมร่วงและผิวที่แห้งกร้าน.แต่ละปัญหาแต่ละโรค ในศาสตร์การแพทย์แผนจีนได้มีการบันทึกถึงอาการ.สาเหตุการเกิดโรค.และการ รักษาไว้อย่างชัดเจน.ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้.

สว . สิว.ถือเปนโรคผิวหนังชนิดหนึง่ ทีเ่ กิดจากรูขมุ ขนและต่อมไขมันใต้ผวิ หนัง มีการอักเสบเรื้อรัง.แพทย์แผนจีนเรียกว่า. เ ินชื่อ .(粉刺).ค�านี้มาจากลักษณะ 94


ที่ผิวหนังจะมีตุ่มนูนคล้ายหนาม.(ในภาษาจีนเรียกว่า. ชื่อ ).สิวนั้นมักพบบริเวณ ใบหน้า.หน้าอกและหลัง.มักพบในวัยรุ่น.เปนๆ.หายๆ.ในบางรายจะมีจ�านวนมาก ขึน้ ในช่วงก่อนหรือหลังมีประจ�าเดือน.ลักษณะผืน่ รวมไปถึงสิวหัวหนอง.สิวไม่มหี วั . หรือสิวอุดตันหัวขาวและหัวด�า.เมือ่ บีบจะมีกอ้ นไขมันสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน.ถ้ามี การติดเชื้อจะเกิดเปนรอยแดง. ผ่านไประยะหนึ่งจะเปนรอยด�าและเกิดรอยแผล เปนได้ง่าย.

สาเ ตุและป ัยการเกด รค แพทยแผนป ุบัน . 1.. ร่างกายผลิต อร์โมนแอนโดรเจน.(androgenic.hormones).ท�าให้ มีการสร้างไขมันเพิ่ม . 2.. ต่อมไขมันมีการผลิตไขมันมากขึน้ ร่วมกับเซลล์ทตี่ ายแล้วและแบคทีเรีย ท�าให้เกิดการอุดตัน . 3.. ติดเชื้อแบคทีเรีย.(propioni acterium.acnes) . 4.. กรรมพันธุ์ . 5.. ทานอาหารที่มีน�้าตาลสูง.รสจัด.ไขมันสูง . 6.. มลภาวะและแสงแดดท�าให้เปนหนักขึ้น . 7.. การใช้เครื่องส�าอาง แพทยแผน น 1.. ปอดร้อนเลือดร้อน:.มีจุดแดง.หรือสิวหัวหนอง.หรือคันและเจ็บ.มักมี อาการคอแห้งกระหายน�้า.ท้องผูกร่วมด้วย.ลิ้นมีสีแดง . 2.. ระบบย่อยอาการร้อนชื้น:. ผิวหนังบริเวณใบหน้า. หน้าอก. หลังค่อน ข้างมัน.มีผื่นสิวบวมแดง.สิวหัวหนอง.มักมีอาการปากมีกลิ่นแรง.ท้องผูกร่วมด้วย. ลิ้นสีแดง 95


33

. 3.. ความร้อน.ความชืน้ .เสมหะอุดกัน้ :.สิวมีสแี ดงคล�า้ .มักเปนสิวหัวหนอง ที่เปนเม็ดใหญ่. หรือสิวหัวช้าง.มีรอยแผลเปนจากสิว.เปนๆ.หายๆ.ผ่านการรักษา มาเปนระยะเวลานาน.มันมีอาการท้องอืด.อาหารไม่ย่อยร่วมด้วย.ลิ้นสีแดงคล�้า

การรัก า . .

1.. ปอดร้อนเลือดร้อน:.ผีผาชิงเฟยอิ่น 2.. ระบบย่อยอาการร้อนชื้น:.อินเ ินเ าทัง 3. ความร้อน.ความชื้น.เสมหะอุดกั้น:.เอ้อเ ินทัง.เถาหงซื่ออู้ทัง

ผื่นผว นังอักเสบเ บเดรม . เซ็บเดิรม์ เปนโรคผิวหนังทีเ่ กิดจากการทีผ่ วิ หนังมีการขับไขมันออกมามาก เกินไป. แพทย์แผนจีนเรียกว่า. เมี่ยนโหยวเฟิง. เซ็บเดิร์มมักพบในวัยรุ่นเพศชาย มากกว่าเพศหญิง. มักมีอาการบริเวณผิวหนังที่มีต่อมไขมันมาก. เช่น. หนังศีรษะ. หน้าผาก.หัวคิ้ว.ร่องปาก.ร่องจมูก.เปนต้น.บางรายที่มีอาการหนักอาจเปนได้ทั่ว ร่างกาย.เซ็บเดิร์มแบ่งออกได้เปน.2.ประเภท .. 1.. แบบแห้ง.มีอาการมีผนื่ แดง.ผิวหนังลอกเปนสะเก็ดสีขาว.ถ้าอยูท่ หี่ นัง ศีรษะอาจสะเก็ดแบบทับถมเปนชั้นๆ. คัน. เวลาหวีผมหรือเกามันมีรังแคร่วงปลิว ออกมา.ผมแห้ง.อาจมีอาการผมร่วงร่วมด้วย .. 2.. แบบชื้น. มีอาการมีผื่นแดง. บางครั้งมีน�้าไหลซึมออกมา. ผิวหนังลอก เปนสะเก็ดแบบเปยก.มักมีกลิน่ ไม่พงึ ประสงค์.ด้านหลังใบหูและจมูกอาจมีรอยแตก ของผิวหนัง. อาการที่หนังศีรษะในระยะแรกจะมีอาการผมและหนังศีรษะมัน. มีรังแคมาก.คัน.ต่อมาผมจะเส้นเล็กลงและหลุดร่วงง่าย.

96


สาเ ตุและป ัยการเกด รค แพทยแผนป ุบัน 1. ยังไม่ทราบสาเหตุทแี่ น่ชดั .แต่คาดว่าเกิดจากผิวหนังเกิดการระคายเคือง ไขมันที่ร่างกายผลิตขึ้นมาเอง.หรือเปนภูมิแพ้จากเชื้อเกลื้อนหรือเชื้อรา . 2.. ระดับ อร์โมนที่เปลี่ยนแปลง . 3.. กรรมพันธุ์.ความเครียด.ภูมิต้านทาน. . 4.. สิ่งแวดล้อม. ุนละออง . 5.. การดื่มเหล้าและบุหรี่ แพทยแผน น . 1.. ระบบย่อยอาการร้อนชืน้ .มีผนื่ แดง.มีสะเก็ดแบบชืน้ หรืออาจมีนา�้ ไหล ออกมา. มักมีอาการปากขมหรือรู้สึกเหนียวๆ. ในปาก. แน่นท้อง. ปัสสาวะสีเข้ม. ปริมาณน้อย.ถ่ายมีกลิ่นแรงร่วมด้วย.มีลิ้นสีแดง . 2.. ลมร้อนเลือดแห้ง.มีอาการมีผื่นแดง.ผิวหนังลอกเปนสะเก็ดสีขาว.คัน. หรือมีอาการคันที่หนังศีรษะ.มีรังแค.ผมแห้งกรอบ.มักมีอาการคอแห้งกระหายน�้า. ท้องผูกร่วมด้วย.มีลิ้นสีแดง

การรัก า . .

1.. ระบบย่อยอาหารร้อนชื้น.อินเ ินเ าทังและเซินหลิงไปจูซ่าน 2.. ลมร้อนเลือดแห้ง.เซียวเฟิงซ่านและตังกุยอิ่นจื่อ

97


33

า . ้าคือโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่มีรอยสีน�้าตาลเกิดขึ้นบนใบหน้า. พบได้ที่ ใบหน้าทั้งสองด้าน. มีขนาดใหญ่เล็กไม่เท่ากัน. รูปร่างไม่แน่นอน. ขอบชัดเจน. หลังจากตากแดดแล้วมีสีเข้มขึ้น.มักพบบริเวณแก้ม.หน้าผาก.จมูก.แพทย์แผนจีน เรียกว่า.เมี่ยนเ ิน.หรือ.หลีเ ยปัน

สาเ ตุและป ัยการเกด รค แพทยแผนป ุบัน ยังไม่พบสาเหตุทแี่ น่ชดั .ส่วนใหญ่เกิดจาก อร์โมนเพศมีการเปลีย่ นแปลง.

.

แพทยแผน น . 1.. ชี่ตับติดขัด. มีสี ้าค่อนข้างเข้ม. ต�าแหน่งกระจาย. ร่วมกับมีอารมณ์ แปรปรวน.ปวดแน่นที่สีข้าง.ช่วงมีประจ�าเดือนมีอาการแน่นหน้าอก.ประจ�าเดือน ไม่ปกติร่วมด้วย.ลิ้นมีสีแดง . 2.. ตับและไตพร่อง.มีสี า้ ออกด�า.สีหน้าหมองคล�า้ .มักมีอาการเวียนศีรษะ. หูอื้อ.ปวดเอว.ขี้ลืม.นอนไม่หลับร่วมด้วย.ลิ้นมีสีแดง . 3.. ม้ามพร่องความชื้นอุดกั้น. มีสีของ ้าออกสีน�้าตาลเทา. ลักษณะเปน จุดเล็กๆ. แบบกระจายตัว. มักมีอาการไม่มีแรง. ง่วงซึมไม่สดใส. สีประจ�าเดือนซีด. ตกขาวเยอะร่วมด้วย.ลิ้นอ้วนสีซีดมีรอยฟัน. 4. ชี่และเลือดติดขัด. มี ้าสีด�าหรือน�้าตาลเทา. มักพบในคนที่มีโรคตับ. หรือประจ�าเดือนสีคล�้ามีลิ่มเลือด.หรือปวดประจ�าเดือนร่วมด้วย.ลิ้นมีสีคล�้า.มีจุด สีม่วงคล�้า

98


การรัก า . . . .

1.. ชี่ตับติดขัด.เซียวเหยาซ่าน 2.. ตับและไตพร่อง.ลิ่วเว่ยตี้หวงทัง 3.. ม้ามพร่องความชื้นอุดกั้น.เซินหลิงไปจูซ่าน 4.. ชี่และเลือดติดขัด.เถาหงซื่ออู้ทัง

ผมรวง . เส้นผมก็ถือเปนส่วนหนึ่งของร่างกายที่ใครหลายๆ.คนให้ความสนใจและ ให้ความส�าคัญกับความงามของเส้นผมไม่แพ้ผิวเลยทีเดียว. ผมร่วงมีหลายชนิด. ทั้งแบบร่วงเปนหย่อม. หรือร่วงแบบกระจายๆ. ส่วนสาเหตุของผมร่วงนั้นก็มี หลากหลายมีทั้งความเครียด. การติดเชื้อรา. ผมร่วงจากการใช้ยา. ผมร่วงจากการ เปนโรคอื่นๆ. หรือแม้แต่ไม่พบสาเหตุก็มี. ผมร่วงที่จะพูดถึงจะหยิบยกมาเพียง. 2.ชนิดเท่านั้นคือ.ผมร่วงแบบเปนหย่อม.ผมร่วงที่เกิดจากความมัน.

ผมรวงเปน ยอม . มีอาการที่อยู่ๆ.ก็มีผมร่วงเปนหย่อมๆ.วงขนาดประมาณเหรียญบาทหรือ ใหญ่กว่านัน้ และอาจพบมีหย่อมเดียวหรือหลายหย่อมก็ได้.ผิวหนังบริเวณทีผ่ มร่วง มีลักษณะเรียบลื่น.เส้นผมโดยรอบไม่แข็งแรง.หลุดออกได้ง่าย.เส้นผมด้านที่ติดกับ รากผมมีขนาดเล็กลง.เส้นผมมีลักษณะคล้ายกับเครื่องหมายอัศเจรีย์.ในรายที่เปน หนักอาจมีอาการผมร่วงทั้งศีรษะ. ขนคิ้วร่วง. ขนหนวดร่วงร่วมด้วย. โรคนี้แพทย์ แผนจีนเรียกว่า.โหยวเฟิง.หรือที่ประชาชนทั่วไปรู้จักกันว่า.กุ่ยที่โถว.

99


33

สาเ ตุและป ัยการเกด รค แพทยแผนป ุบัน . ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด. แต่คาดว่าเกิดจากการที่เหนื่อยมากเกินไป. พักผ่อนไม่เพียงพอ.ความเครียด แพทยแผน น . 1.. ลมร้อนเลือดแห้ง. มีอาการผมร่วงกะทันหัน. หรือมีอาการคันที่หนัง ศีรษะ.รู้สึกร้อนที่หนังศีรษะ.หงุดหงิดโมโหง่าย.จิตใจไม่สงบร่วมด้วย.ลิ้นมีสีแดง . 2.. ชี่และเลือดติดขัด. ประเภทนี้มีอาการผมร่วงมาได้ช่วงระยะหนึ่ง. ก่อนที่จะมีอาการผมร่วงมากขึ้นมักมีอาการปวดศีรษะหรือเจ็บหน้าอก. หรือมี อาการนอน ันมาก.นอนไม่หลับร่วมด้วย.ลิ้นมีสีแดงคล�้า . 3.. ชี่และเลือดพร่อง. มักพบในหญิงหลังคลอดบุตรหรือหลังเจ็บปวย. มักมีการพัฒนาของโรคอย่างรวดเร็ว.อ่อนเพลีย.ลิ้มสีซีด . 4.. ตับและไตพร่อง. มีอาการผมร่วงเปนระยะเวลานาน. เส้นผมสีเหลือง หรือผมหงอก. มีผมร่วงเปนบริเวณกว้าง. มักมีอาการ. เวียนศีรษะ. หูอื้อ. ตาลาย. ปวดเอวร่วมด้วย.ลิ้นมีสีซีด การรัก า 1. ลมร้อนเลือดแห้ง.ซื่ออู้ทังและลิ่วเว่ยตี้หวงทัง . 2.. ชี่และเลือดติดขัด.ทงเชี่ยวหัวเสวี่ยทัง . 3.. ชี่และเลือดพร่อง.ปาเจินทัง . 4.. ตับและไตพร่อง.ชีเปาเหม่ยซู่ตัน

100


ผมรวงท่เกด ากความมัน . ผมร่วงประเภทนี้จะมีอาการผมร่วงเริ่มจากที่กลางกระหม่อมหรือขมับ ทั้งสองข้าง. ในช่วงแรกเส้นผมมีลักษณะมันวาวหรือแห้งกร้าน. ต่อมาเส้นผมมี ขนาดเล็กลงจากเดิม.อาการของโรคจะเปนแบบค่อยเปนค่อยไป.อาจมีรังแคและ อาการคันร่วมด้วย.

สาเ ตุและป ัยการเกด รค . . .

แพทยแผนป ุบัน 1.. กรรมพันธุ์ 2.. ความผิดปกติของ อร์โมน.ความเครียด 3.. ทานอาหารที่มีรสจัด.มีไขมันมากเกินไป 4. การติดเชื้อแบคทีเรีย

แพทยแผน น . 1.. เลือดแห้ง. มีอาการเส้นผมแห้ง. มีรังแค. ผมเส้นเล็กลง. อาจมีอาการ เวียนศีรษะไม่มีแรงร่วมด้วย.ลิ้นมีสีแดง. . 2.. ความร้อนความชื้นสะสม. มีอาการเส้นผมเหนียวเหนอะ. มันวาว. คล้ายไม่ได้สระผมหลายวัน.มักมีอาการแน่นหน้าอก.เบื่ออาหาร.ท้องผูกร่วมด้วย. ลิ้นเปนสีแดง

การรัก า . .

1.. ลมร้อนเลือดแห้ง.ตังกุยอิ่นจื่อ 2.. ความร้อนความชื้นสะสม.หลงต่านเซี่ยกันทัง

101


33

ตํารับยาท่และยาสวนประกอบท่  นแตละตํารับ . 1.. ผีผาชิงเฟยอิ่น:มีฤทธิ์ในการลดความร้อนในปอด. แก้ไอ. ปรับสมดุล กระเพาะ.ขับเสมหะ.ทางแพทย์แผนจีนนัน้ ปอดเปนอวัยวะทีม่ คี วามสัมพันธ์โดยตรง กับผิวหนังและเส้นผม.ถ้ามีความร้อนในปอดมากเกินไปก็ทา� ให้เกิดอาการทีผ่ วิ หนัง ได้.จึงมักใช้ยาต�ารับนี้ในการรักษาสิวที่เกิดจากสาเหตุนี้. . . ใบผีผา. ซางไปผี. หวง ิน. เซี่ยขู่เ ่า. จินอิน วา. เหลียนเชี่ยว. ูสือ. กันเ ่า . 2.. อินเ นิ เ า:.มีฤทธิใ์ นการลดความร้อนความชืน้ ของกระเพาะและล�าไส้ อินเ ิน.จือจื่อ.ต้าหวง . 3.. เอ้อเ ินทัง:. มีฤทธิ์ในการลดความชื้น. ขับเสมหะ. รวมชี่ไม่ให้แตก กระจาย . . ปันเซี่ย.ผิวส้ม. ูหลิง.กันเ ่า . 4.. ลิ่วเว่ยตี้หวงทัง:.มีฤทธิ์ในการบ�ารุงอินของตับและไต . . เซิงตี้.ซานเย่า.ซานหยูโร่ว.ตันผี.เจอเซี่ย. ูหลิง 5. ปาเจินทัง:. มีฤทธิ์ในการบ�ารุงชี่และเลือดท�าให้ชี่และเลือดไหลเวียน สะดวก . . โสม.ไปจู่. ูหลิง.ตังกุย.ชวนชง.ไปเส่า.สูตี้.กันเ ่า . 6.. ชีเปาเหม่ยซู่ตัน:.มีฤทธิ์ในการบ�ารุงอินและหยางของตับและไต . . โส่วอู.หนิวซี.ปูกู่จื่อ. ูหลิง.ทู่ซือจื่อ.ตังกุย.โก่ว ี. . 7.. เซียวเหยาซ่าน:.มีฤทธิท์ า� ให้เลือดและชีข่ องตับเดินได้สะดวก.พยุงเลือด. บ�ารุงม้าม . . ตังกุย.ไปเส่า.ไปจู่. ายหู. ูหลิง.ขิง.จื้อกันเ ่า.เซียง ู.ปอเหอ

102


. 8.. เซินหลิงไปจู่ซ่าน:.เสริมชี่บ�ารุงม้าม.ขับความชื้นลดอาการท้องเสีย . . ไปเปยนโต้ว.โสม.ไปจู้. ูหลิง.ซานเย่า.เหลียนโร่ว.เจียเกิ่ง.อี้อี่เหริน. ซาเหริน.กันเ ่า . 9.. ตังกุยอิ่นจึ:.บ�ารุงเลือดขับลมลดความแห้งในร่างกาย . . ตังกุย.ไปเส่า.ชวนชง.เซิงตี้.จีลี่. างเฟิง.จิงเจี้ย.โส่วอู.หวง ี่. 10... เซียวเฟิงซ่าน:.ขับลมร้อน . . จิ ง เจี้ ย . างเฟิ ง . หนิ ว ปั งจื่ อ . ไปเสี่ ย นผี . อิ น วา. ปอเหอ. มู ท ง. หวงเหลียน.กันเ ่า . 11... ซื่ออู้ทัง:.บ�ารุงเลือด.ท�าให้เลือดไหลเวียนสะดวก . . ตังกุย.สูตี้.ชวนชง.กันเ ่า . 12... เถาหงซื่ออู้ทัง:.บ�ารุงเลือด.ท�าให้เลือดไหลเวียนสะดวก . . จากต�ารับซื่ออู้ทังเพิ่ม.เถาเหริ่น.หง วา.

การปองกันและดูแลตนเอง รคสวและเ บเดรม . 1.. การล้างหน้าควรใช้น�้าอุ่น. ไม่ควรใช้น�้าเย็นป้องกันการอุดตันของ รูขุมขน . 2.. ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัด. รสเผ็ด. เหล้า. สูบบุหรี่. ของหมักดอง. ของหวาน.น�้าหวาน.อาหารที่มีไขมันสูง.ของทอด.ควรทานผักผลไม้.ดื่มน�้ามากๆ. . 3.. หลีกเลี่ยงการใช้มือกด.บีบ.เกาเพื่อลดการอักเสบ.ไม่ให้เกิดแผลเปน 4.. หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ที่มีฤทธิ์เปนด่าง.การตากลม.ตากแดด . 5.. ระมัดระวังในการเลือกใช้เครื่องส�าอาง. ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน ใช้ครีมที่มีความเข้มข้นน้อย.เนื้อค่อนข้างเหลวเพื่อลดการเกิดรูขุมขนอุดตันสะสม จนเกิดสิว . 6.. พักผ่อนให้เพียงพอ 103


33

า . .

1.. หมั่นท�าจิตใจให้สบาย.ปล่อยวางไม่คิดมาก 2.. พักผ่อนให้เพียงพอ. 3. หลีกเลี่ยงการตากแดดโดยตรง. ระมัดระวังการใช้เครื่องส�าอางค์ที่มี ส่วนผสมของน�้าหอม.หลีกเลี่ยงการใช้ยาเสตียรอยด์ . 4.. ควรทานผักผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง. . 5.. หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด.บุหรี่.เหล้า

ผมรวงเปน ยอม . . . .

1.. ท�าจิตใจให้ผอ่ งใส.หลีกเลีย่ งการวิตกกังวล.ไม่คดิ มาก.หรือหงุดหงิดง่าย 2.. ปรับจังหวะการใช้ชีวิต.พักผ่อนให้ตรงเวลาและเพียงพอ 3.. ทานอาหารที่มีวิตามิน.และมีสารอาหารมากขึ้น 4.. หมั่นรักษาความสะอาด.

ผมรวงท่เกด ากไขมันมาก . 1.. ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัด. รสเผ็ด. เหล้า. สูบบุหรี่. ของหมักดอง. ของหวาน.น�้าหวาน.อาหารที่มีไขมันสูง.ของทอด.ควรทานผักผลไม้.ดื่มน�้ามากๆ. . 2.. หลีกเลี่ยงการใช้ยาสระผมที่มีฤทธิ์รุนแรง . ถ้าหากเราไม่ได้มีปัญหาตามโรคที่กล่าวมาแล้วเราจะดูแลความงาม อย่างไร .. 1.. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ. สิ่งนี้เปนสิ่งส�าคัญอันดับต้นๆ. ที่ใครๆ. หลายคนทราบดีว่าควรท�าแต่มักจะท�าไม่ได้.ควรเข้านอนในเวลาประมาณ.22.0022.30. น.. ซึ่งเปนเวลาที่ร่างกายเราเริ่มท�าการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ. นอกจากนี้ การนอนให้ครบ. 8. ชั่วโมงก็ถือว่าส�าคัญ. ในแพทย์แผนจีนได้กล่าวถึงการนอน ไม่หลับ.นอนดึก.หรือนอนน้อยไว้ว่า.ช่วงเวลากลางคืนเปนช่วงเวลาของอิน.การที่ 104


เราไม่ได้พักผ่อนถือเปนการใช้หยาง. หยางต้องอาศัยอินเปนสารพื้นฐาน. เมื่อมี การใช้หยาง. อินจะไม่มีการเก็บสะสมในเวลากลางคืน. ท�าให้อิน. ลดลงเกิดภาวะ อินพร่อง. ซึ่งอินก็คือสารน�้าในร่างกายรวมไปถึงเลือดของเราด้วย. เมื่ออินไม่พอ นั่นก็หมายถึงร่างกายขาดสารน�้าขาดเลือด. ท�าให้ผิวแห้ง. ดูหมองคล�้าไม่สดใส. เมื่อผิวแห้งก็ท�าให้เกิดริ้วรอยได้ง่าย.ท�าให้ดูแก่กว่าวัย 2.. ขับถ่ายทุกวัน.เวลาที่ดีที่สุดในการขับถ่ายก็คือเวลา.05.00-07.00.น.. ซึ่งเปนเวลาการท�างานของล�าไส้ใหญ่. และควรขับถ่ายให้เปนเวลา. ถ้าเราไม่ถ่าย ให้ทุกวัน. ล�าไส้ก็จะมีการดูดซึมสารน�้าในกากอาหารกลับเข้ามาใช้ในร่างกายใหม่. มีผลท�าให้ผิวดูหมองคล�้า .. 3.. ทานผัก.ผลไม้.ดื่มน�้ามากๆ. .. 4.. หมั่นท�าจิตใจให้แจ่มใส. . ถ้าเราอยากจะดูแลรักษาความงามโดยใช้อาหารหรือยาที่หาได้ง่ายล่ะ. ทานอะไรดี. . สิ่งที่ทุกคนหาได้ทั่วไปและคุ้นเคยกันดีก็คือ.เต้าทึง.ในเต้าทึงนั้นประกอบ ไปด้วยธัญพืชชนิดต่างๆ. ที่มีสรรพคุณทางยาและมีฤทธิ์ในการบ�ารุงร่างกายเปน หลัก.ทานติดต่อกันได้เปนเวลานาน.ควรทานอาทิตย์ละครั้งหรือ.2.ครั้ง . 1.. ถั่วทองซีก . บ�ารุงตับ. ช่วยแก้ร้อนใน. ขับปัสสาวะ. บ�ารุงกระดูกให้ แข็งแรง.สร้างเม็ดเลือด.ช่วยให้การหมุนเวียนเลือดดี . 2.. รากบัว ลดอาการร้อนใน.ดับกระหาย.แก้ไข้.แก้ไอ.ดับพิษร้อน.บ�ารุง ก�าลัง.ขจัดเสมหะ.แก้อักเสบ.ปวดบวม.ลดอาการอ่อนเพลีย.อาเจียน.ขับปัสสาวะ. และบ�ารุงหัวใจ....... . 3.. พุทราจีน เปนผลไม้บา� รุงสุขภาพของชาวจีน.บ�ารุงเลือด.ม้าม.ตับ.สมอง. บ�ารุงประสาท. ช่วยขับปัสสาวะ. รักษาโรคโลหิตจาง. โรคนอนไม่หลับ. กระตุ้น ภูมคิ มุ้ กัน.ลดโคเลสเตอรอล.ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง.เส้นเลือดเเข็งตัว.เส้นเลือด หัวใจตีบตัน.เส้นเลือดในสมองแตก.แก้อาการท้องเสีย 105


33

. 4.. เหลียนโร่ว. (เม็ดบัว) บ�ารุงประสาท. บ�ารุงไต. บ�ารุงสมอง. ตับม้าม. แก้ทอ้ งร่วง.บิดเรื้อรัง.ลดความดันโลหิตสูง.ช่วยขยายหลอดเลือด.แก้โรคข้อต่างๆ. แก้ร้อนใน.กระหายน�้า . 5.. แปะกวย เปนหนึ่งในสมุนไพรส�าคัญที่มากไปด้วยสรรพคุณทางยา. ชาวจีนเชือ่ ว่าเปนยาอายุวฒ ั นะ.ช่วยบ�ารุงปอด.บ�ารุงสมอง.แก้ไอ.แก้หอบ.ขับเสมหะ. ลดปัสสาวะ. ่าเชื้อโรค.แก้วิงเวียนศีรษะ.หูอื้อ.หลอดลมอักเสบ.ตกขาว.หนองใน. ลดเสมหะ.แก้พิษ. ่าพยาธิ.และช่วยให้เลือดลมหมุนเวียนได้สะดวก . 6.. ลูกพลับแห้ง บ�ารุงร่างกาย. แก้อาการอ่อนเพลีย. ช่วยย่อยอาหาร. ขับเสมหะ.แก้ไอ.แก้อาการร้อนใน.ลดความดันโลหิต.ช่วยรักษาโรคระบบทางเดิน อาหาร.ท�าให้ระบบขับถ่ายดีขึ้น.แก้โรคปากเปอย.แก้ไอ.เจ็บคอ.ช่วยลดเสมหะ . 7.. ถั่วแดง บ�ารุงหัวใจ. บ�ารุงโลหิต. ระบบประสาท. และล�าไส้. ช่วย ขับปัสสาวะ.บรรเทาอาการปวดบวม.ปวดข้อ.ขับพิษ.ลดโคเลสเตอรอล.ป้องกัน การเกิดภาวะเส้นเลือดในสมองแตก.และป้องกันความผิดปกติของทารกในครรภ์ . 8.. อี้อี่เหริน.(ลูกเดือย) บ�ารุงไต.ม้าม.ปอด.กระเพาะอาหาร.ขับปัสสาวะ. ช่วยบ�ารุงกระดูก. บ�ารุงสายตา. แก้บวมน�้า. ปวดข้อเรื้อรัง. แก้เหน็บชา. บ�ารุง เลือดลมในสตรีหลังคลอด. แก้ร้อนใน. รักษาอาการคลื่นไส้. อาเจียน. ท้องร่วง. แก้ไข้.ชักกระตุก.สตรีตกขาวมากกว่าปกติ.และบ�ารุงก�าลัง . 9.. ล�าไย. บ�ารุงหัวใจ. ม้าม. ช่วยบ�ารุงเลือดลม. รักษาอาการนอนไม่หลับ. ใจสั่น. ขี้ลืม. ขับปัสสาวะ. ลดอาการบวม. เหมาะส�าหรับผู้สูงอายุทานเพื่อป้องกัน หลอดเลือดแข็งตัว . 10.. ลูกวอลนัท.มีฤทธิ์ในการบ�ารุงไต.บ�ารุงสมอง.สลายลิ่มเลือด.ช่วยใน การขับถ่าย.ในวอลนัทยังมีน�้ามันช่วยในการบ�ารุงผิว . 11...ตังกุย. บ�ารุงเลือด. ช่วยให้เลือดไหลเวียนสะดวก. มักใช้กับอาการ ปวดประจ�าเดือน.ปวดเอว.ท้องผูก.และยังช่วยบ�ารุงเส้นผม.ลดริ้วรอย.ลด ้า. 106


ยําสมุนไพร ะลอวัย น าร พท

น ท พ นา

ความเปนมา . มูลนิธิการแพทย์แผนไทยพัฒนา. กระทรวงสาธารณสุข. ได้มีโครงการ ส่งเสริมให้ประชาชนคนไทย.หันมาบริโภคผักพื้นบ้านมานาน.โดยจัดให้มีรูปแบบ การน�าเสนอเพื่อคนรุ่นใหม่สามารถรับประทานได้.เนื่องจากผักพื้นบ้านบางชนิดมี กลิ่น.และรสชาติที่คนรุ่นใหม่ยังไม่คุ้นเคย.จึงต้องพัฒนาต�ารับการประกอบอาหาร ด้วยผักพืน้ บ้านให้มคี วามหลายหลาย.เพือ่ เพิม่ รสชาติความอร่อยเหมาะกับผูบ้ ริโภค 107


33 รุ่นใหม่. โดยน�ามาท�าเปนย�าหรือสลัด.ผักพื้นบ้านมีคุณค่าตามภูมิปัญญาไทย.ด้วย สรรพคุณของรสยาสมุนไพร. 9. รส. ประกอบด้วย. รส าด. รสหวาน. รสเมาเบื่อ. รสขม. รสมัน. รสหอมเย็น. รสเค็ม. รสเปรี้ยว. และรสเผ็ดร้อน. โดยมีสรรพคุณ. รส าดชอบสมาน. หวานซึมซาบไปตามเนื้อ. เมาเบื่อแก้พิษ. ขมแก้ทางโลหิต และดี. มันชอบแก้เส้นเอ็น. หอมเย็นบ�ารุงหัวใจ. เค็มซาบไปจามผิวหนัง. เผ็ดร้อน. แก้ลม.เปรี้ยวกัดเสมหะฟอกโลหิต . เมื่อต้องการให้ร่างกายบ�ารุงด้วยผักพื้นบ้านครบทั้ง. 4. ธาตุ. เราจึง รับประทานผักให้หลากชนิด. และหลากรสชาติ. และถ้ารับประทานผักเกิน. 15. ชนิดขึ้นไป.ก็จะท�าให้สุขภาพสมบูรณ์ . ในปัจจุบันการด�ารงชีวิตที่อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่มีมลพิษ. ท�าให้คนเรา มีทัศนคติในการบริโภคผักพื้นบ้านเพื่อสุขภาพในแง่ของความต้องการสารต้าน ออกซิเดชัน่ . (antio idant). เพิ่มมากขึ้น. ซึ่งในผักพื้นบ้านจ�านวนมากที่ประกอบ ด้วยวิตามินที่มีคุณสมบัติเปนสารต้านออกซิเดชั่น.ได้แก่. วิตามินอี. วิตามินซี. และ เบต้า-แคโรทีน. ดังนั้นการส่งเสริมบริโภคผักพื้นบ้านหลากหลายชนิด. จึงช่วยให้มี สุขภาพทีด่ .ี การจัดรูปแบบอาหารให้งา่ ยสะดวกต่อการบริโภคและใช้ผกั ได้มากชนิด ครบทุกรสจึงน่าจะเปนต�ารับ. ย�า . ซึ่งมูลนิธิ . และหน่วยงานราชการได้มีการ ส่งเสริมให้ประชาชนรับประทานผักพื้นบ้านในงานชุมชนแพทย์แผนไทย. และ สมุนไพรแห่งชาติทุกครั้ง. เพื่อเปนการส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในการใช้ผักพื้นบ้าน เปนอาหาร. เพื่อประโยชน์ทางสุขภาพให้แก่ลูกหลานของชาวไทย. ล่าสุดได้มีการ จัดนิทรรศการ.และสาธิตการบริโภคผักพืน้ บ้านในต�ารับย�าผักพืน้ บ้าน.โดยรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข.(ดร.สิริกร.มณีรินทร์).ได้ตั้งชื่อว่า. ย�าสมุนไพร ชะลอวัย . ซึ่งมีความหมายว่า. เปนการย�าผักพื้นบ้านที่มีส่วนประกอบด้วยผัก พื้นบ้านมากกว่า.18.ชนิด.และเมื่อรับประทานแล้วจะมีสุขภาพดี

108


ื่ออา าร

ย�าสมุนไพรชะลอวัย

ความ มาย เปนย�าผักพื้นบ้านมีส่วนประกอบด้วยผักพื้นบ้านมากกว่า.18.ชนิด. . และเมื่อรับประทานจะมีสุขภาพดี

เครื่องปรุง (อย่างละประมาณ.1.ช้อนโตะ) . ตะไคร้. ใบบัวบก. . ข่าอ่อน. ใบทองหลาง. . กระชาย. ยอดมะกอก. . ใบโหระพา. ถั่วพู. . ผักชีลาว. มะม่วงดิบ. . งาด�า. .งาขาว. โปรตีนเกษตร

ใบมะกรูด. ขิงอ่อน. ใบกะเพรา. ผักชี รั่ง. ผักไผ่.

ใบชะพลู ผักกระโดน ยอดจิก ติ้ว แครอท

นํายา ประกอบดวย นําสมสาย ู นําตาลทรายสรํา เ ลือ ผสม 3 อน ตะ ปรับรสตามความ อบ

109


33 คุณประ ย น ตะไคร้. :. แก้อาการท้องอืด.ท้องเฟ้อ.ปวดท้อง.ขับปัสสาวะ ใบมะกรูด. :. ขับลม.แก้จุกเสียด ข่า. :. ขับลม.แก้อาการท้องอืด.ท้องเฟ้อ.ปวดท้อง กระชาย. :. แก้อาการท้องอืด.ท้องเฟ้อ.แน่นจุดเสียด ใบกะเพรา. :. แก้อาการท้องอืด.ท้องเฟ้อ.ปวดท้อง.คลื่นไส้อาเจียน ใบโหระพา. :. ช่วยขับลม.แก้จุกเสียด ผักชี รั่ง. :. ช่วยขับลม ผักชีลาว. :. ช่วยขับลม ผักไผ่. :. ช่วยขับลม ใบบัวบก. :. แก้อาการเจ็บคอ.ลดความดันโลหิต ใบชะพลู. :. ช่วยขับลม ใบทองหลาง. :. บ�ารุงธาตุดิน.แก้ลมเปนพิษ ผักกระโดน. :. บ�ารุงร่างกาย.แก้หวัด.แก้ไอ ยอดมะกอก. :. แก้เลือดออกตามไรฟัน ยอดจิก. :. แก้ท้องร่วง ถั่วพู. :. ช่วยย่อยอาหาร.ช่วยกระตุ้นการท�างานของล�าไส้ใหญ่ ติ้ว. :. ช่วยขับเสมหะ มะม่วงดิบ. :. ช่วยขับเสมหะ แครอท. :. บ�ารุงรักษาเซลล์บุผิว . นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ ค นไทย หั น มาบริ โ ภคอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพ. ตามทฤษ ี ธาตุเจ้าเรือนของการแพทย์แผนไทย. ซึ่งสภาวะ 110


สุขภาพของบุคคลจะถูกควบคุมด้วยธาตุทั้งสี่. ได้แก่. ธาตุดิน. ธาตุน�้า. ธาตุลม. ธาตุไฟ.โดยเน้นการบริโภคอาหารตามธาตุเจ้าเรือน อา ารประ ําธาตุดน . ควรรับประทานผัก. ผลไม้. ที่มีรส าด. หวาน. มัน. เค็ม. ตัวอย่าง. เช่น. ฟักทอง. เผือก. ถั่วต่างๆ.มังคุด. รั่ง.เงาะ.เปนต้น อา ารประ ําธาตุนํา . ควรรับประทานผัก. ผลไม้. ที่มีรสเปรี้ยว. ตั ว อย่ า ง. เช่ น . มะกรู ด . มะเขื อ เทศ. มะนาว. ส้ม.มะกอก.มะดัน.เปนต้น อา ารประ ําธาตุลม . ควรรับประทานผัก.ผลไม้.ที่มีรสเผ็ดร้อน. ตัวอย่าง. เช่น. ขิง. ข่า. ตะไคร้. กระชาย. พริกไทย. โหระพา.กะเพรา.เปนต้น อา ารประ ําธาตุไ . ควรรั บ ประทานผั ก . ผลไม้ . ที่ มี ร สขม. เย็น. ตัวอย่าง. เช่น. ผักบุ้ง. ต�าลึง. บัวบก. ฟักข้าว. สะเดา.มะระ.ขี้เหล็ก.แตงโม.เปนต้น 111


การผลตสบูธรรม าตและสบูสมุนไพร นา สน ุ พท น น ส เพ ารพ นา

เนือ า . . . .

. . . . .

หลักการเบื้องต้นการผลิตสบู่ธรรมชาติ การตั้งสูตรสบู่ธรรมชาติ ส่วนประกอบ.(วัตถุดิบ).และอุปกรณ์ในการผลิตสบู่ธรรมชาติ วิธีการและขั้นตอนการผลิตสบู่ธรรมชาติ การผลิตสบู่สมุนไพร.เช่น.สบู่ขมิ้นชัน.สบู่มะรุม.เปนต้น

วธการ .

. บรรยาย.สาธิต.และ กปฏิบัติ

112


สบูธรรม าตและสบูสมุนไพร . สบู่ผลิตขึ้นจากส่วนผสมพื้นฐาน.3.อย่าง.คือ. . 1.. น�้ามันพืช.รวมทั้งไขมันสัตว์. . 2.. ด่าง.(โซเดียมไ ดรอกไซด์.หรือที่เรียกว่า.โซดาไฟ) . 3.. น�้า. เมื่อด่างผสมกับน�้าเปนสารละลายด่างถูกน�าไปผสมกับไขมัน. ปฏิกริ ยิ าทางเคมีกจ็ ะเกิดขึน้ ระหว่างกรดไขมันและสารละลายโซเดียมไ ดรอกไซด์. ปฏิกิริยานี้เรียกว่า. saponification. ซึ่งได้ผลผลิตสุดท้ายที่เปนส่วนผสมของ. สบู่ และกลีเซอรีน

นํ้ามันพืช ไขมันสัตว

สารละลายดาง สบู กลีเ อรีน

113


นิดของ นํ้ามัน มะพร้าว.. . ปาล์ม. . มะกอก.. งา.. ถั่วเหลือง. ร�าข้าว. ทานตะวัน. ข้าวโพด. ละหุ่ง.

114 สี ขาว.. น้อย ขาวนวล. น้อย . . เหลืองอ่อน.. เหลืองอ่อน.. เหลืองอ่อน.. เหลืองอ่อน.. เหลืองอ่อน..

เน้อสบู

แข็งกรอบ.. . แข็ง.. . นิ่ม.. นิ่ม.. นิ่ม.. นิ่ม.. นิ่ม.. นิ่ม. นิ่มมาก. อยู่นาน.

ดีมาก ดีมาก พอควร พอควร พอควร พอควร มาก

ดีมาก..

การทํา ความ ุม ้น ความสะอาด อผิว อยู่นาน. ดีมาก..

ละลายเร็ว. ละเอียดเปนครีม. ละลายเร็ว.. ละเอียด.. ละเอียด.. พอใช้.. ละเอียด.. พอใช้.. ละเอียด.. พอใช้.. ละเอียด.. พอใช้.. ละเอียด.. พอใช้..

มาก..

ทนนาน.. เหลือง.. ขาวนวล.. ปานกลาง.. ปานกลาง.. ปานกลาง.. ปานกลาง.. ละลายเร็ว..

มาก..

ักษณะ อง

ความคงทน ของเน้อสบู .ทนทาน..

33

. น�้ามันพืชหรือไขมันสัตว์. เปนส่วนผสมหลักในการผลิตสบู่. สบู่จะมี คุณสมบัติอย่างไรขึ้นอยู่กับชนิดของน�้ามันที่จะน�ามาใช้ในการผลิตสบู่


. ดังนัน้ ในการท�าสบูก่ อ้ นหนึง่ .เราอาจเลือกใช้นา�้ มันพืชเพียงชนิดเดียวหรือ ใช้นา�้ มัน.2-3.ชนิดหรือมากกว่ารวมกันได้.เพือ่ ให้ได้สบูต่ ามคุณสมบัตทิ เี่ ราต้องการ. แล้วจึงไปก�าหนดสัดส่วนของน�้ามันพืชแต่ละชนิดที่ต้องการใช้ผลิตสบู่. โดยมี ข้อแนะน�าเบื้องต้นส�าหรับการท�าสบู่อาบน�้าถูตัวทั่วๆ.ไปดังนี้ นํ้ามัน ัก.ให้ใช้.น�้ามันมะพร้าว.น�้ามันปาล์ม.รวมกันประมาณ.70 นํ้ามันรอง. ให้ใช้. น�้ามันมะกอก. น�้ามันงา. ถั่วเหลือง. ร�าข้าว. ทานตะวัน. ข้าวโพด.30 . ส�าหรับปริมาณของด่างที่จะใช้ท�าปฏิกิริยากับน�้ามันนั้นขึ้นอยู่กับค่า. saponification.ของน�้ามันแต่ละชนิด.ค่า.saponification.คือ.ปริมาณของด่างที่ ท�าปฏิกิริยาพอดีกับน�้ามัน.(ไขมัน).หนัก.1.กรัม.ค่า.saponification.ของน�้ามัน แต่ละชนิด.มีดังนี้. . น�้ามันมะพร้าว.. .0.169. น�้ามันปาล์ม.. .0.13. . น�้ามันมะกอก.. .0.1246.. น�้ามันงา.. .0.1266 . น�้ามันร�าข้าว.. .0.1233. น�้ามันถั่วเหลือง.. .0.1246. . น�้ามันเมล็ดทานตะวัน.. .0.1256... น�้ามันข้าวโพด.. .0.126. . น�้ามันละหุ่ง.. .0.1183 . ด่างที่ใช้ในการท�าสบู่ก้อน. จะใช้โซเดียมไ ดรอกไซด์. (โซดาไฟ). ปริมาณ ของด่างที่จะใช้ขึ้นอยู่กับปริมาณของน�้ามันแต่ละชนิด.คูณกับค่า.saponification. ของน�้ามันชนิดนั้นๆ.ดังตัวอย่าง . . ถ้าใช้น�้ามันมะพร้าว.300.กรัม. . . จะใช้.ด่าง. .300. .0.169. .50.7.กรัม . . ถ้าใช้น�้ามันปาล์ม.300.กรัม.. . . จะใช้.ด่าง. .300. .0.13. .39.กรัม . . ถ้าใช้น�้ามันงา.400.กรัม.. . . จะใช้.ด่าง. .400. .0.126. .50.4.กรัม 115


33 . ดังนั้น.ถ้าเราใช้น�้ามัน.3.ชนิด.คือ.น�้ามันมะพร้าว.300.กรัม.น�้ามันปาล์ม. 300.กรัม.และน�้ามันงา.400.กรัม.รวมกันเปนน�้ามันทั้งหมด.1,000.กรัม.จะต้อง ใช้ด่าง.เท่ากับ.50.7. .39. .50.4. .140.1.กรัม . น�้าที่ใช้ผสมกับด่างควรเปนน�้า น. น�้าประปา. น�้ากรอง. ไม่ควรใช้น�้าบ่อ. น�้าบาดาล.หรือน�้าคลอง.ปริมาณน�้าที่ใช้.เราจะใช้ปริมาณ.สองเท่าของน�้าหนักด่าง. จากตัวอย่าง.ปริมาณน�้า. .140.1. .2. .280.2.กรัม

ขันตอนการผลตสบูธรรม าต . 1.. ชั่งน�้าใส่ในภาชนะแก้วหรือสแตนเลส. ชั่งด่าง. แล้วเทด่างลงในน�้า. ใช้ช้อนสแตนเลสกวนจนด่างละลายหมด. จะได้สารละลายด่าง. อุณหภูมิของ สารละลายด่างจะสูงถึง. 80-90. องศาเซลเซียส. ตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิลดลงเหลือ. 40-45.องศาเซลเซียส.(ขั้นตอนนี้ให้ท�าด้วยความระมัดระวัง.เพราะด่างมีอันตราย) . 2.. ชั่งน�้ามันแต่ละชนิด. ใส่รวมกันในชามหรือหม้อสแตนเลสอุ่นให้ได้ อุณหภูมิ.40-45.องศาเซลเซียส . 3.. เทสารละลายด่างลงในน�้ามัน. ใช้ไม้พายกวนส่วนผสมให้เข้ากัน. กวนต่อไปนานอย่างน้อย. 30. นาที. สบู่จะเริ่มจับตัวเหนียวข้นคล้ายนมข้นหรือ ครีมสลัด.ก็พร้อมที่จะเทลงแบบที่เตรียมไว้ . 4.. ถ้าต้องการใส่กลิ่น.หรือ.สมุนไพร.ให้ใส่ในขั้นตอนนี้.โดยสมุนไพรที่จะ ใส่ลงในสบู่. ถ้าเปนสมุนไพรผงให้ใส่ประมาณ.1 .ของน�้าหนักสบู่. กวนให้เข้ากับ เนื้อสบู่.แล้วจึงเทลงแบบ . 5.. ตั้งทิ้งไว้.1-2.วัน.สบู่จะจับตัวเปนก้อนแข็ง.เอาออกจากแบบ.เก็บสบู่ ต่อไปอีก.1-2.สัปดาห์.จึงน�าไปใช้ได้

116


ตัวอยางสูตรสบูธรรม าต . . . . . . . ..

สบูขมน ัน สวนผสม 1.. น�้ามันมะพร้าว. 200. กรัม 2.. น�้ามันงา. 100. กรัม 3.. น�้ามันละหุ่ง. 50. กรัม 4.. โซเดียมไ ดรอกไซด์. 45. กรัม 5.. น�้า. 100. กรัม 6.. ผงขมิ้นชัน. 5-10. กรัม 7.. น�้ามันหอมระเหย.. 5. ซีซี . (กลิ่นที่ชอบ).

. . . . . . . ...

สบูมะรุม สวนผสม 1.. น�้ามันมะพร้าว. 200. กรัม 2.. น�้ามันร�าข้าว. 120. กรัม 3.. น�้ามันมะรุม. 30. กรัม 4.. โซเดียมไ ดรอกไซด์. 45. กรัม 5.. น�้า. 100. กรัม 6.. ผงมะรุม. 5-10. กรัม 7.. น�้ามันหอมระเหย.. 5. ซีซี . (กลิ่นที่ชอบ).

วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ. 22.ซ.ช�านาญอักษร.ถ.พหลโยธิน.สามเสนใน.พญาไท.กรุงเทพ .10400.. โทรศัพท์.0-2279-5118,.0-2278-4068..โทรสาร.0-2617-0834.

117


การผลตแ มพูสมุนไพรแบบธรรม าต นา สน ุ พท น น ส เพ ารพ นา

เนือ า . . . .

. . . .

ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลรักษาเส้นผมและหนังศีรษะ องค์ประกอบพื้นฐานของแชมพูแบบธรรมชาติ.(ที่ไม่ใช้สารซักฟอก) 20.สมุนไพรที่ใช้ดูแลเส้นผมและหนังศีรษะ สูตรแชมพูสมุนไพร.(แชมพูสด).และวิธีการท�า

วธการ .. บรรยาย.สาธิต.และ กปฏิบัติ

118


แ มพูสมุนไพรแบบธรรม าต . เคล็ดลับความงามของเส้นผมของคนไทยสมัยก่อนอยู่ที่การใช้สมุนไพร ในการท�าความสะอาดและบ�ารุงเส้นผม. รวมทั้งหากมีปัญหากับเส้นผมและ หนังศีรษะ.ก็จะใช้สมุนไพรรักษาเช่นเดียวกัน. ซึง่ ตามต�าราแพทย์แผนไทยก็ระบุถงึ สมุนไพร ที่สามารถน�ามาใช้กับเส้นผมและหนังศีรษะ ได้หลายสิบชนิดเลยทีเดียว. . . . ในการสระผมคนไทยสมัยก่อน จะใช้มะกรูดเผาไฟมาสระผม. ซึ่งจะช่วย ท�าความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะ. ท�าให้เส้นผมดกด�าเงางาม. บางครั้งก็ ใช้น�้าซาวข้าว. หรือน�้าด่างมาสระผม. โดยมั ก จะน� า ไปผสมกั บ สมุ น ไพรที่ ท�าให้เกิดฟองอย่าง ักส้มปอยหรือลูก ประค� า ดี ค วาย. ช่ ว ยท� า ให้ ส ระผมได้ สะอาด.บ�ารุงเส้นผมและหนังศีรษะไปในตัว.หรืออาจจะเติมสมุนไพรอืน่ ๆ.เพือ่ เพิม่ สรรพคุณในการรักษาโรคที่เกิดกับเส้นผมและหนังศีรษะ.เช่น.ตะไคร้. แก้ผมแตก ปลาย.บวบขม.แก้รังแค.อัญชัน.ท�าให้ผมดก.เปนต้น . ตามต�าราโบราณมีสตู รสมุนไพรส�าหรับสระผมอยูห่ ลายสูตร.แต่สว่ นใหญ่ ก็มีส่วนผสมคล้ายคลึงกัน.ซึ่งเราสามารถน�าไปท�าใช้เองได้ในครัวเรือน.แต่บางสูตร ก็อาจต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงประยุกต์ให้เข้ากับยุคสมัยและความสอดคล้อง ของวัตถุดิบที่จะหาได้ง่ายในครัวเรือนเปนสูตรแชมพูสดที่ก�าลังเปนที่นิยมใช้ ในสถานธรรมชาติบ�าบัดและสถานบริการสปา 119


33 สมุนไพรท่ ดูแลเสนผมและ นัง ร ะ สมุน พร กระเบา ขิง

3 ขี้ นอน.. องแมว ขี้เ ก เทียนกิ่ง .

ะ คร..

120

สรรพคุณ

วิธีการ 

รักษาผมร่วงและโรคบน ใช้เมล็ดต�าพอแหลกไปเคี่ยวกับ หนังศีรษะ น�้ามัน.มะพร้าว.เอาน�้ามันมาทา หนังศีรษะที่เปน แก้ผมร่วง.ท�าให้ผมงอก น�าเหง้าสดมาเผาไฟแล้วทุบให้แตก. ผสมน�้า.แล้วน�าไปขยี้ให้ทั่วศีรษะ. วันละ.2.ครั้ง.3.วันหรือท�าเปนลูก ประคบขิง.ใช้ประคบบริเวณผมร่วง. ท�าวันละ.2.ครั้งๆ.ละ20.นาที. 3-5.วัน ใช้สระผม.แก้รังแค. น�าเปลือกมาสับเปนชิ้นเล็กๆ.ต้มกับ รักษาชันตุ. น�้า.หรือใส่น�้าตีให้เปนฟอง.ใช้สระผม รักษารังแค.ป้องกัน น�าใบมาต้มกับน�้า.ใช้สระผม ผมร่วง ท�าความสะอาดเส้นผม. น�าใบสดมาต้มกับน�้า.ใช้สระผม ท�าให้ผม.ชุ่มชื้น.เงางาม. ไม่มีรังแค ใช้ย้อมสีผม.ช่วยลด น�าใบของเทียนกิ่งมาตากแดดให้แห้ง. รังแค. บดให้เปนผง.ต้มน�้าให้เดือด.แล้วใส่ ผงของใบเทียนกิ่งลงไป.เติมน�้า มะนาว.แล้วใช้ย้อมผม แก้ผมแตกปลาย.ขจัด ใช้ต้นตะไคร้.3-4.ต้น.หั่นเปนชิ้นแล้ว รังแค. ต�า.คั้นเอาน�้ามาใช้นวดผมหลัง สระผมแล้วล้างออกท�าหลังสระผม. ผมจะดกด�า


สมุนไพรท่ ดูแลเสนผมและ นัง ร ะ (ตอ) สมุน พร ทองพัน ั่ง

สรรพคุณ

วิธีการ 

ใช้ทองพันชั่งต�าจนละเอียด.ผสมน�้า พอเหนียว.หลังสระผมน�ามาพอก บริเวณที่ผมร่วง.ใช้ผ้าคลุมไว้ทั้งคืน. รุ่งเช้าล้างออก.ท�าติดต่อกัน.2. สัปดาห์-.1.เดือน.อาการจะดีขึ้น ต้มกับน�้า.ใช้ชโลมศีรษะหลังสระผม. าทะ ายโจร.. แก้ผมร่วง. ทิ้งไว้สักครู่.แล้วจึงล้างออก บวบขม.. ก�าจัดเหา.ขจัดรังแค. ใช้ผล.1-2.ผล.โขลกให้ละเอียด. น�าทั้งน�้าและเนื้อชโลมให้ทั่วศีรษะ. แก้คันศีรษะ. เอาผ้าคลุมไว้ครึ่งชั่วโมงแล้ว จึงล้างออก มะกรูด ท�าให้ผมดกด�า.นิ่มสลวย. น�ามะกรูด.1.ลูกผ่าซีก.ต้มกับน�้า. 2.แก้ว.บีบเอาน�้าไปใช้สระผม. ขจัดรังแค. ผมจะนิ่มสลวย.หรือน�ามะกรูด.1.ผล. บีบเอาน�้ามะกรูดผสมกับหัวกะทิ. ชโลมให้ทั่วศีรษะ.โพกผ้าทิ้งไว้สักครู่ แล้วล้างออก.ท�าติดต่อกัน.7.วัน. ผมจะดกด�า บอระเพด แก้ผมหงอก.ลดอาการ เอาบอระเพ็ดสด.3.กก..คั้นเอาแต่น�้า น�ามาคั้นมะพร้าวขูด.1.กก..เอาน�้า ผมร่วง. ขึ้นตั้งไฟ.เติมขิงสด.1.ก�ามือ.เคี่ยว จนได้น�้ามัน.มากรองด้วยผ้าขาวบาง. ได้น�้ามันไปชโลมเส้นผมหรือนวด หนังศีรษะ.15.นาที.แล้วจึงล้างออก รักษาอาการผมร่วง จากเชื้อรา.

121


33 สมุนไพรท่ ดูแลเสนผมและ นัง ร ะ (ตอ) สมุน พร

สรรพคุณ

วิธีการ 

ใช้ใบบัวบกสดทั้งต้น.1.กก..เติมน�้า. 1.ลิตรปันให้ละเอียด.กรองเอาแต่น�้า กับน�้ามันมะพร้าว.1.แก้ว.เคี่ยวจน น�้าระเหยหมด.น�าน�้ามันที่ได้ชโลมผม หรือนวดหนังศีรษะทิ้งไว้นาน.15. นาที.จึงล้างออก ผักบุง แก้ผมร่วง.ท�าให้ผมนุ่ม น�าใบมาต้มกับน�้า.ใช้น�้าชโลมศีรษะ หลังสระผม.ทิ้งไว้.20.นาที. สลวย. จึงล้างออก ใช้ผล.1-2.ผล.ทุบแล้วต้มกับน�้า. ประคําดีควาย ใช้สระผม.แก้รังแค. ใช้สระผม รักษาชันตุ. มะพราว ท�าให้ผมนุ่มสลวย.ดกด�า ใช้น�้ากะทิเคี่ยวหรือหมักจนได้น�้ามัน มะพร้าวใช้ชโลมเส้นผม.ทิ้งไว้. 15.นาที.จึงสระผม มะเ อง.. บ�ารุงเส้นผม.ขจัดรังแค ใช้น�้าคั้นจากผลมะเฟอง.มาสระผม 18. วาน างจระเข.. ท�าให้ผมลื่น.หวีง่าย. ใช้เนื้อวุ้นว่านหางจระเข้. ที่ล้างสะอาดดีแล้วมาทาเส้นผม นุ่มสลวย. แทนการใส่น�้ามันใส่ผม สมปอย.. แก้รังแค.รักษาชันตุ. ใช้ ักทุบให้แตก.ต้มกับน�้า.ใช้สระผม หรือ.ใช้ใบต้มกับน�้า.ใช้สระผม ท�าให้ผมเงางาม. ใช้ดอกสดต้มกับน�้าชโลมเส้นผมแล้ว อั ัน ท�าให้ผมดกด�า ล้างออก 3 บบัวบก..

122

แก้ผมหงอก.


แ มพูสมุนไพร แ มพูมะกรูด แบบไม  ัวแ มพู รือผง อง . . . . . . .

สวนผสม 1.. มะกรูด.1.กิโลกรัม 2.. น�้าสะอาด.1.ลิตร วธการทํา 1...น�าผลมะกรูดมาล้างน�้าให้สะอาด. แล้วผ่าซีก. เอา เมล็ดออก.หั่นทั้งเปลือกให้เปนชิ้น 2...น�าไปต้มกับน�้าในหม้อ. ปิด า. ต้มไปนาน. 15.นาที 3...ทิ้งไว้ให้เย็น.แล้วน�าทั้งน�้าและเนื้อมะกรูด ไปปันในเครื่องปันจนละเอียด 4...น�ามากรองด้วยผ้าขาวบาง.จะได้น�้ามะกรูดที่ข้นเหนียวเปนครีม 5...น�าน�้ามะกรูดที่ได้ไปนึ่ง.หรือ.ต้มไฟอ่อนพอเดือดปุดๆ.ยกลงทิ้งไว้ให้ เย็น.น�าไปบรรจุขวดที่มี าปิด.เก็บได้นาน.3-6.เดือน

วธ  . ใช้สระผมแทนแชมพูทวั่ ไป.เวลาสระผมจะไม่มฟี อง.แต่จะท�าให้ผมสะอาด. นุ่มสลวย.ผมลื่นหวีง่าย.ผมจะดกด�า.เงางาม

123


33 แ มพูสด สูตรนํา าวขาว สวนผสม 1.. น�้าซาวข้าว.1.หม้อ 2.. ใบหมี่.5-6.ใบ 3.. มะกรูด.2.ลูก 4.. ักส้มปอย.2-3. ัก 5.. ประค�าดีควาย.3-4.ลูก 6.. ดอกอัญชัน.1.ก�ามือ

. . . . . ..

วธการทํา น� า มะกรู ด และ ั ก ส้ ม ปอยไปเผาไฟให้ มี ก ลิ่ น หอม. แล้ ว ขยี้ ใ บหมี่ ใ น น�้าซาวข้าวให้เกิดยางเหนียวๆ.แล้วน�ามะกรูดและ ักส้มปอยที่ย่างไฟแล้ว.รวมทั้ง ลูกประค�าดีควายที่ทุบพอแตก. ดอกอัญชัน. มาต้มรวมกับน�้าซาวข้าว. ต้มให้เดือด. แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น.จากนั้นกรองเอาน�้าไปใช้สระผม.

วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ. 22.ซ.ช�านาญอักษร.ถ.พหลโยธิน.สามเสนใน.พญาไท.กรุงเทพ .10400.. โทรศัพท์.0-2279-5118,.0-2278-4068..โทรสาร.0-2617-0834.

124


ผลตภัณ  ั่วเ ลืองเพื่อสุขภาพ นา สน ุ พท น น ส เพ ารพ นา

เนือ า . .

. ถั่วเหลือง.สารพันประโยชน์ . การท�าเต้าหู้แข็ง.เต้าหู้เหลือง.ไว้รับประทาน

วธการ .

บรรยาย.สาธิต.และ กปฏิบัติ

การแปรรูปอา าร าก ั่วเ ลือง ั่วเ ลือง สารพันประ ย น . ถั่วเหลือง.ถั่วเมล็ดเล็ก.ๆ.ซึ่งอุดมไปด้วยสารอาหารต่างๆ.ที่มีประโยชน์ ต่อร่างกายมากมาย. . ถั่วเหลือง. มีประโยชน์ต่อสุขภาพของเราโดยตรง. โดยให้สารอาหาร ที่จ�าเปน. 3. อย่างคือ. โปรตีน. คาร์โบไ เดรต. ไขมัน. และยังมีใยพืช. ให้ไวตามิน. เกลือแร่.แคลเซียม.เหล็ก 125


33 . ถั่วเหลือง. เปนพืชชนิดเดียว ที่ให้โปรตีน. ซึ่งมีคุณค่าเทียบเท่า โปรตีนที่ได้จากเนื้อสัตว์. นม. และไข่. . ที่ส�าคัญ. ถั่วเหลืองมี ประโยชน์ ใ นการป้ อ งกั น และ รั ก ษาโรคที่ ส� า คั ญ ของมนุ ษ ย์. ซึ่ ง ก� า ลั ง เผชิ ญ อยู ่ ใ นปั จ จุ บั น . ได้ แ ก่. โรคหัวใจ.เส้นเลือดอุดตัน.ความดันโลหิตสูง.และมะเร็ง . จากการวิจัยพบว่า. ผู้ที่บริโภคถั่วเหลือง. หรือผลผลิตจากถั่วเหลืองเปน ประจ�า.จะช่วยท�าให้ระดับคลอเลสเตอรอลในเลือดต�่า.ช่วยป้องกันโรคหัวใจ.และ ช่วยรักษาระดับความดันในเส้นเลือด . การกินนมถั่วเหลือง. 1. ถ้วย. หรือเต้าหู้. 1. ถ้วย. แป้งถั่วเหลือง. . ถ้วย ทุกวัน.จะช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเปนโรคมะเร็ง . มีรายงานว่า. ผู้หญิงในประเทศแถบซีกโลกตะวันออก. มีอัตราการเปน มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกน้อยกว่าผูห้ ญิงในอเมริกา.เพราะกินอาหารจาก ถั่วเหลืองมากกว่า. 20-50. เท่า. ผู้หญิงที่กินอาหารจากถั่วเหลือง. มีอัตราการเปน มะเร็งน้อยกว่าคนที่ไม่ได้กินถึงร้อยละ.50. . การวิจัยในญี่ปุน. พบว่า. นมเปรี้ยวจากถั่วเหลือง. มีประสิทธิภาพในการ ป้องกันมะเร็งในกระเพาะอาหาร . ถั่วเหลืองมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า. ysine.ma . err.ชื่อสามัญจะเรียก กันว่า.Soya. ean.หรือ.Soy ean.คนไทย เรียก. ถั่วเหลือง. ถั่วพระเหลือง. ถั่วแระ. ถั่วหนัง.ถั่วแม่ตาย.หรือถั่วเน่า.(มะถั่วเน่า) 126


. เมล็ดถั่วเหลือง. เปนอาหารที่มีโปรตีนสูง. สูงกว่าพืชอาหารถั่วชนิดต่างๆ. นอกจากนั้นยังมีแร่ธาตุต่างๆ. เช่น. แคลเซียม. ฟอสฟอรัส. เหล็ก. และวิตามินบี. 1. บี. 2. อาหารที่ให้โปรตีนที่สามารถแทนโปรตีนจากเนื้อสัตว์. จึงเปนที่นิยมในหมู่ นักนิยมมังสวิรัติ. และเริ่มแพร่หลายมากขึ้นในหมู่ชาวแมคโครไบโอติก. ในหมู่คน ที่บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ. . นอกจากนั้น. ถั่วเหลืองยังมีคุณสมบัติในทางสมุนไพร. แพทย์แผนไทยใช้ ถัว่ เหลืองปรุงเปนยาบ�ารุงก�าลัง.เปนยาระบาย.ขับปัสสาวะ.แก้ตานขโมย.ผอมแห้ง แรงน้อย.เปลือกเมล็ดถัว่ เหลืองยังน�ามาปรุงเปนยาบ�ารุงเลือด.ขับปัสสาวะ.แก้เหงือ่ ออกมาได้ด้วย . ถั่วเหลืองจึงเปนพืชที่มีประโยชน์สารพัด. สารพันเกินบรรยาย. ถั่วเหลือง ยังน�ามาแปรรูปอาหารได้อย่างหลากหลาย.ไม่วา่ จะเพาะเปนถัว่ งอกหัวโต.น�าไปท�า เปนน�้าเต้าหู้.และเต้าหู้.อาหารเพื่อสุขภาพของคนในยุคปัจจุบัน.น�าไปแปรรูปเปน เครื่องปรุงรสที่คนท�าอาหารในปัจจุบันขาดไม่ได้เช่นกัน. อย่างเช่น. ซีอิ้ว. เต้าเจี้ยว. เต้าหู้ยี้.เปนต้น

เตา ูแขง . . .

สวนผสม 1...ถั่วเหลือง.1.กิโลกรัม 2...น�้าสะอาด.10.ถ้วยตวง 3...ดีเกลือ.(แมกนีเซียมซัลเฟต).4.ช้อนชา.

วธทํา . 1...น�าถั่วเหลืองไปล้างน�้าให้สะอาด. ถ้าใช้ถั่วเหลืองเต็มเมล็ด. ให้แช่น�้า ทิ้งไว้. 1.คืน.แต่ถ้าใช้ถั่วเหลืองครึ่งซีก.ให้แช่ไว้ประมาณ.4-6.ชั่วโมง.จนเมล็ดถั่ว เต่ง.แล้วจึงล้างเอาเปลือกออก . 2...น�าถั่วเหลืองใส่เครื่องโม่หรือเครื่องปัน. ใส่น�้าให้ท่วมถั่ว. แล้วบด เมล็ดถั่วจนละเอียด 127


33 . 3...น�าน�้าถั่วเหลืองปันมากรองด้วยผ้าขาวบาง. ซึ่งวางอยู่บนกระชอนอีก ชั้นหนึ่ง.คั้นเอาเ พาะน�้า.ส่วนกากแยกออกไป . 4...น�าน�้าถั่วเหลืองที่ได้ใส่หม้อ. ยกขึ้นตั้งไฟ. ใช้ไฟอ่อน. หมั่นคน. อย่าให้ ไหม้ติดก้นหม้อ.ต้มจนเดือด.จึงยกลงจากเตา.ทิ้งให้อุณหภูมิลดลง.เหลือประมาณ. 70-80.องศาเซลเซียส . 5...เตรียมน�้าดีเกลือ. โดยผสมดีเกลือกับน�้าเล็กน้อย. แล้วค่อยๆ. เทน�้าดี เกลือลงในน�า้ ถัว่ เหลืองทีย่ งั ร้อนอยู.่ คนเบาๆ.น�า้ ถัว่ เหลืองจะค่อยๆ.จับตัวเปนก้อน. ตกตะกอนแยกชั้นกับน�้า . 6...เทน�้าถั่วเหลืองที่ตกตะกอนใส่ผ้าขาวบางที่วางอยู่ในแบบแม่พิมพ์. ใช้ ทัพพีกดรีดน�า้ ออกให้มากทีส่ ดุ .แล้วจึงทบปลายผ้าขาวบางปิดทับด้านบนของก้อน ถั่วเหลือง.น�า าแบบแม่พิมพ์มาปิด.ทับด้วยของหนัก.เพื่อทับให้น�้าออกจากก้อน ถัว่ เหลือง.ทิง้ ไว้ประมาณ.30.นาที.เปิดผ้าขาวบางออก.จะได้เต้าหูแ้ ข็งไว้รบั ประทาน

เตา ูเ ลือง

สวนผสม 1.. เต้าหู้แข็ง.(สีขาว).2.แผ่น 2.. ผงขมิ้น.1.ช้อนชา. 3.. น�้าสะอาด.

. . .

วธทํา . 1...น�าเต้าหู้แข็งไปต้มในน�้าสะอาดให้สุก . 2...ละลายผงขมิน้ ในน�า้ เตรียมไว้.แล้วจึงเทน�า้ ขมิน้ ลงในหม้อต้มเต้าหูแ้ ข็ง. ต้มต่อไปจนน�้าเดือดอีกครั้ง.จึงยกหม้อลงจากเตา . 3...น�าเต้าหู้ไปผึ่งให้แห้ง.จะได้เต้าหู้เหลืองไว้รับประทาน วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ. 22.ซ.ช�านาญอักษร.ถ.พหลโยธิน.สามเสนใน.พญาไท.กรุงเทพ .10400.. โทรศัพท์.0-2279-5118,.0-2278-4068..โทรสาร.0-2617-0834.

128


การทํายาส นสมุนไพร นา

ภ สุ  น น ส เพ ารพ นา

เนือ า . . . .

. . . .

ส่วนประกอบพื้นฐานของยาสีฟันแนวธรรมชาติ สมุนไพรที่ใช้ดูแลรักษาเหงือกและฟัน 10.สูตรยาสีฟันธรรมชาติและยาสีฟันสมุนไพร วิธีการและขั้นตอนการผลิตยาสีฟันสมุนไพร

วธการ .

.. บรรยาย.สาธิต.และ กปฏิบัติ

ยาส นสมุนไพร Herbal Toothpaste . ฟันเปนอวัยวะทีม่ คี วามส�าคัญต่อเรามากอย่างหนึง่ .หากฟันของเราเสีย.ผุ. หรือเปนโรค. นอกจากจะท�าให้เรามีบุคลิกที่ไม่ดี. แล้วยังท�าให้ร่างกายไม่สมบูรณ์ แข็งแรง. และเปนบ่อเกิดของโรคภัยไข้เจ็บอื่นๆ. การแปรงฟันอย่างถูกวิธีและ 129


33 เปนประจ�า.จะช่วยรักษาฟันและเหงือกให้สะอาด และแข็ ง แรง. แปรงสี ฟ ั น และยาสี ฟ ั น . จึ ง เปนอุปกรณ์ที่ส�าคัญในการท�าความ สะอาดฟัน . ยาสี ฟ ั น ที่ เราใช้ อ ยู ่ ทุ ก วันนี้มีส่วนประกอบของสารเคมี สังเคราะห์เปนจ�านวนมาก. ไม่ว่า จะเปนสารท�าความสะอาด.สารกันบูด. สารแต่งสี. รสและกลิ่น. รวมทั้งยา ่าเชื้อ จุลนิ ทรีย.์ ตามความเปนจริงมีสารธรรมชาติทเี่ ราสามารถน�ามาท�าความสะอาดฟัน ได้อย่างสะอาดหมดจด. อีกทั้งท�าให้ฟันและเหงือกแข็งแรง. นอกจากนั้นสมุนไพร หลายชนิดก็มคี ณ ุ สมบัตชิ ว่ ยรักษาและป้องกันโรคฟันและโรคเหงือกได้เปนอย่างดี. รวมทั้งท�าให้ปากสะอาด.ลมหายใจสดชื่น

สวนประกอบพืน านของยาส นแนวธรรม าต สารขัด ู . สารขัดถูท�าหน้าที่ขัดถูผิวฟัน. เพื่อขจัดเศษอาหาร. แผ่นคราบฟันและ คราบสีที่ติดอยู่บนผิวฟัน. สารขัดถูที่ใช้ในยาสีฟันทั่วๆไปได้แก่. แคลเซียมคาร์บอเนต.( a cium.car onate).ไดแคลเซียมฟอสเฟต.(dica cium. phospate). โซเดียมเมตาฟอสเฟต. ไ เดรต. อลูมินัม. (Sodium. metaphosphate. hydrated. a uminum). ซิลิกา. (Si ica). โซเดียมไพโรฟอสเฟต. (Sodium. pyrophospate). เปนต้น . ส่วนยาสีฟนั แนวธรรมชาติ.( atura .toothpastes).โดยทั่วไปจะไม่ใช้สารขัดถูที่มีส่วนประกอบ 130


ของอลูมินัม. แต่จะใช้สารประกอบของแคลเซียม. เช่น. แคลเซียม. คาร์บอเนต. รวมทัง้ ใช้เกลือแกง.(Sodium. h oride).ผงฟูหรือโซเดียมไบคาร์บอเนต.(Sodium. icar onate) . ปริมาณการใช้สารขัดถูในการผลิตยาสีฟันนั้น.มีการใช้ตั้งแต่.2 .-.50 . โดยน�้าหนัก.ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม.(มอก.45.-.2516).ก�าหนดให้สารขัดถูใน ผลิตภัณฑ์ยาสีฟันที่ผลิตออกจ�าหน่าย. ต้องมีปริมาณสารขัดถูไม่น้อยกว่าร้อยละ. 40.โดยน�้าหนัก สารทําความสะอาด . สารท�าความสะอาดท�าหน้าที่เปนสารลดแรง ตึงผิว. (Surfactants). เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการท�าความสะอาดให้ดียิ่งขึ้น. เมื่อใช้ แปรงฟันแล้วจะเกิดฟอง. สารท�าความ สะอาดในยาสีฟันนี้ต้องไม่เปนพิษ. ไม่ระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อในช่องปาก . ยาสีฟันทั่วไปมักใช้สารซักฟอก. ( etergent). ซึ่งเปนสารเคมีสังเคราะห์ สารที่นิยมใช้กันมาก. คือ. Sodium. aury . su fate. (S S). Sodium. aury . Sarcosinate.Sodium.ricino eate.Sodium.su fate.Sodium.pyrophospate. เปนต้น. ปกติสารเหล่านี้จะมีความระคายเคืองและเปนพิษมากกว่าสบู่ในความ เข้มข้นที่เท่ากัน.จึงถูกใช้ใน.ความเข้มข้นน้อยคือ.ไม่เกิน.2 . ยาสีฟันแนวธรรมชาติ. จะใช้สบู่ธรรมชาติ. (สบู่ท่ีผลิตจากน�้ามันพืชและ สารละลายโซเดียมไ ดรอกไซด์). เปนสารท�าความสะอาด. บดเปนผง. ใช้เปนส่วน ผสมในยาสีฟัน.ใช้ในปริมาณ.1.-.2 .โดยน�้าหนัก.

131


33 สาร ความ ุม ืน . สารให้ความชุ่มชื้นนี้ใช้ในกรณีที่ผลิตยาสีฟันเหลวบรรจุหลอด. ถ้าผลิต ยาสีฟันผง. ก็ไม่ต้องใช้สารให้ความชุ่มชื้นนี้ท�าหน้าที่ดูดความชื้นเอาไว้. เพื่อไม่ให้ ยาสีฟันแข็งตัว.ยังคงความเหลวอยู่. นอกจากนั้น.เวลาแปรงฟันสารนี้ จะช่วยดูดน�้าเข้ามา. ท�าให้สารขัดถูและสารท�าความสะอาดท�า หน้าที่ได้ดีขึ้น . ropy ene. g yco . เปนสารให้ความชุ่มชื้นที่นิยม ใช้ในการผลิตยาสีฟันทั่วๆ. ไป. สารนี้เปนสารเคมีสังเคราะห์. ที่ มี ค วามเป น พิ ษ มากกว่ า กลี เซอรี น . ( ycerin). และ ซอร์บิทอล. (Sor ito ). หรือแอลกอ อล์หวาน. ปัจจุบัน จึ ง หั น มาใช้ ก ลี เซอรี น . และซอร์ บิ ท อลซึ่ ง ก็ มี ทั้ ง ที่ ไ ด้ จ าก สารเคมีสังเคราะห์และได้จากวิธีธรรมชาติ. ยาสีฟันแนวธรรมชาติจึงใช้กลีเซอรีน. หรือซอร์บิทอลที่ได้จากพืช.ในอัตราความเข้มข้น.15.-.30 .ปริมาณที่ใช้ประมาณ. 10.-.30 .โดยน�้าหนัก สาร าเ ือแบคทเรย . สารนี้ไม่ได้เปนสารหลักในยาสีฟัน. แต่เปนสารที่ใส่เพิ่มเข้าไปในยา. สีฟันเพื่อช่วยลดจ�านวนแบคทีเรียในช่องปาก. ยาสีฟันทั่วๆ. ไปที่มีส่วนผสมของ สาร ่าเชื้อแบคทีเรีย. มักจะใช้สารไตรโคลซาน. (Tric osan). ซึ่งเปนสารเคมี ชนิ ด เดี ย วกั น กั บ ที่ ใช้ ใ นสบู ่ ่ า เชื้ อ. ในผลิตภัณฑ์ท�าความสะอาดห้องน�้า และ.บ้านเรือน.การใช้ไตรโคลซานนี้ ยังมีข้อถกเถียงอยู่มาก

132


. ยาสีฟันแนวธรรมชาติที่ใช้ผงฟู. หรือโซเดียมไบคาร์บอเนตเปนสารขัดถู. ก็จะได้สรรพคุณในการ า่ เชือ้ แบคทีเรียด้วย.นอกจากนัน้ สมุนไพรหลายชนิดทัง้ ใน รูปของสมุนไพรแห้งบดเปนผง.และน�า้ มันสกัดสมุนไพรก็มคี ณ ุ สมบัตใิ นการ า่ เชือ้ แบคทีเรีย. และรักษาโรคในช่องปากได้ดี. เช่น. กานพลู. อบเชย. เทียนข้าวเปลือก. เปนต้น สารปรุงแตงกล่นและรส . สารปรุงแต่งกลิ่นและรสนี้เติมเข้าไป. ก็เพื่อ ท�าให้ยาสีฟันน่าใช้ยิ่งขึ้น. ใช้แล้วรู้สึกปากสะอาด สดชื่นมากขึ้น. รสที่นิยมใช้กันทั่วไปก็คือ. เมนทอล. เปเปอร์มนิ ท์.สเปยร์มนิ ท์.เปนต้น.ยาสีฟนั ทัว่ ๆ. ไปมักจะใช้กลิน่ และสีสงั เคราะห์.แต่ยาสีฟนั แนวธรรมชาติจะใช้สารสกัดและน�า้ มันสกัด จากสมุนไพร.ซึง่ มีมากมายหลายชนิดทีส่ ามารถน�ามาเติมลงในยาสีฟนั .ซึง่ นอกจาก จะช่ ว ยเพิ่ ม กลิ่ น และรสแล้ ว . สมุ น ไพรหลายตั ว ยั ง เพิ่ ม คุ ณ สมบั ติ รั ก ษาโรค ในช่ อ งปากได้ อี ก ด้ ว ย. เช่ น . การบู ร . กานพลู . ขิ ง . อบเชย. เที ย นข้ า วเปลื อ ก. เทียนสัตตะบุศย์.ผักชี รั่ง.ผักชีลาว.สะระแหน่.แมงลัก.ลูกจันทร์เทศ.ลูกกระวาน. โปยกัก.เปนต้น

ยาส นผงอบเ ยเปเปอรมนท . . . .

สวนผสม . ผงชอล์กหรือ . แคลเซียมคาร์บอเนต. .. ถ้วย . ผงฟู.. .. ถ้วย . เกลือปน.. 2.. ช้อนโตะ. 133


33 . . .

. น�้ามันเปเปอร์มินท์.. . น�า้ มันอบเชย.. . อบเชยปน..

10.. หยด 5.. หยด. .. ช้อนชา

วธทํา 1... ผสมผงชอล์กเข้ากับผงฟูคนให้เข้ากัน 2... ผสมน�้ามันเปเปอร์มินท์เข้ากับน�้ามันอบเชยคนให้เข้ากัน 3... ค่ อ ยหยดน�้ า มั น สมุ น ไพรลงในส่ ว นผสมของผงยาสี ฟ ั น ในข้ อ . 1.. . คนให้ทั่ว 4... เวลาจะใช้แปรงสีฟัน.ก็ใช้เช่นเดียวกับข้อ.3.

. . . . .

ยาส นขอยรสเปเปอรมนท . . . . .

สวนผสม . ผงแคลเซียมคาร์บอเนต. . ผงฟู. . . เกลือปน. . น�้ามันเปเปอร์มินท์. . ผงข่อย.

. . . .

วธทํา 1..ผสมผงแคลเซียมคาร์บอเนต.ผงฟู.และเกลือแกง.คนให้เข้ากัน 2..ผสมผงข่อยเข้ากับส่วนผสมอื่นๆ. 3..หยดน�้ามันเปเปอร์มินท์เข้ากับส่วนผสม.คนให้เข้ากัน 4..บรรจุใส่กระปุกมี าปิด.เก็บไว้ใช้แปรงฟัน

3. ช้อน 2. ช้อน 1. ช้อน 10. หยด 1. ช้อน

วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ. 22.ซ.ช�านาญอักษร.ถ.พหลโยธิน.สามเสนใน.พญาไท.กรุงเทพ .10400.. โทรศัพท์.0-2279-5118,.0-2278-4068..โทรสาร.0-2617-0834.

134


การทําผลตภัณ นํามัน อมระเ ย นา สน ุ พท น น ส เพ ารพ นา

เนือ า . . . . .

. หลักการเบื้องต้นในการเลือกใช้น�้ามันหอมระเหยเพื่อการบ�าบัดและ . ความงาม . หลักการเบื้องต้นในการผสมน�้ามันหอมระเหย . 10.วีธีการใช้ประโยชน์จากน�้ามันหอมระเหย . การผสมหัวน�้าหอม. . การท�าสเปรย์หอม.สเปรย์ไล่ยุง.เทียนหอม.น�้ามันนวดตัว

วธการ .

บรรยาย.สาธิต.และ กปฏิบัติ

135


33 ผลตภัณ นํามัน อมระเ ย . น�้ามันหอมระเหยเปนน�้ามันที่ได้จากพืชหรือสัตว์ที่มีกลิ่นหอม. และมี องค์ประกอบทางเคมีมากมายหลายชนิด. เมื่อสูดดมเข้าไปหรือสัมผัสทางผิวหนัง ก็จะซึมผ่านไปยังส่วนต่างๆ.ของร่างกาย.และ มีผลต่อการท�างานของสมองและระบบ อวัยวะต่างๆ.ของร่างกาย.รวมทั้งผลต่อ อารมณ์และจิตใจให้มีการปรับสมดุล ท� า ให้ เ กิ ด การบ� า บั ด อาการของ โรคต่างๆ. . รู ป แบบการใช้ น�้ า มั น หอมระเหยมี.2.แนวทางใหญ่ๆ.คือ การสู ด ดมและการสั ม ผั ส ทาง ผิวหนัง.จากสองแนวทางนีส้ ามารถ ประยุกต์ใช้ได้. อีกมากมายหลายวิธีเลยทีเดียว. รวมทั้งน�าไปท�าผลิตภัณฑ์น�้ามัน หอมระเหยรูปแบบต่างๆ.

136


คุณสมบัตของนํามัน อมระเ ย นํ้ามัน อมระเ ย

คุณสมบั ิ

าเวนเดอร.( a ender).. แก้ปวดศีรษะ. บรรเทาอาการท้อแท้หดหู่. ลดความ ตึงเครียด.แก้ภูมิแพ้.แก้สิว.โรคน�้ากัดเท้า.รักษาแผล ไฟไหม้.รักษาโรคผิวหนัง.ไล่แมลง.แมลงสัตว์กัดต่อย. บรรเทาอาการปวดกล้ามเนือ้ .แก้เคล็ดขัดยอก.แก้หดื . หลอดลมอักเสบ.แก้หวัด.ดับกลิน่ ปาก.บรรเทาอาการ ปวดประจ�าเดือน ทีทรี.(Tea.Tree).. แก้สิว. ้า. หนอง.น�้ากัดเท้า.รักษาแผลไฟไหม้. ผื่น คัน.แมลงกัดต่อย.แก้ไข้.แก้หวัด.หืด.หลอดลมอักเสบ. แก้ไอ.ไซนัส มะนาว ( ime).. แก้สิว. ้า.ผิวหนังแตก.ลดความมันบนผิวหนัง.รักษา แผลพุพอง.แมลงกัดต่อย.แก้หดื .แก้เจ็บคอ.หลอดลม อักเสบ.บรรเทาไขข้ออักเสบ.ความดันโลหิตสูง.ช่วย ย่อยอาหาร.ช่วยให้เจริญอาหาร.แก้ไข้หวัด. เบอรกามอท.( ergamot).. บรรเทาอาหารหดหู่. ท�าให้จิตใจเบิกบาน. คลาย ความตึงเครียด.รู้สึกสดชื่น.บ�ารุงเส้นผม/หนังศีรษะ. แก้สิว ้า. รักษาโรคผิวหนัง. แมลงกัดต่อย. ไล่แมลง. ดับกลิน่ ปาก.แก้เจ็บคอ.แก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้อ.ช่วยเจริญ อาหาร.แก้ไข้หวัด ผิวสม.(Orange). ผ่อนคลายความตึงเครียด. แก้อาการท้อแท้หดหู่. ลดริ้วรอย. ผิวหนังหยาบ. ลดความมันบนผิวหนัง. บรรเทาอาการหลอดลมอักเสบ. แก้ท้องผูก. อาหาร. ไม่ย่อย.แก้หวัด.แก้ไข้หวัด 137


33 คุณสมบัตของนํามัน อมระเ ย (ตอ) นํ้ามัน อมระเ ย

คุณสมบั ิ

กระดังงา.( ang. ang).. บรรเทาอาการหดหู.่ เพิม่ สมรรถภาพทางเพศ.ช่วยให้ นอนหลับ.ลดความตึงเครียด.บ�ารุงหัวใจ.บ�ารุงก�าลัง. แก้สิว.รักษาผิวที่แพ้ง่ายและมีมันมาก. กุ าบ.(. ose.).. ลดอาการตึงเครียด. ช่วยให้นอนหลับสบาย. เสริม สมรรถภาพทางเพศ.ถนอมผิวพรรณ.ลดรอยเหีย่ วย่น. บ�ารุงหัวใจ.ช่วยเจริญอาหาร.แก้หืด.แก้ไอ มะ ิ (. asmine.).. ช่วยคลายเครียด.ท�าให้จติ ใจสงบ.บ�ารุงหัวใจ.ช่วยลด อาการแพ้ ที่ ผิ ว หนั ง . บรรเทาอาการปวดเมื่ อ ย กล้ามเนื้อ. แก้หวัด. แก้ไอ. เสียงแหบแห้ง. บรรเทา อาการปวดประจ�าเดือน เปเปอรมินท.. แก้ปวดศีรษะ. วิงเวียนศีรษะ. คลายเครียด. แก้สิว. รักษาโรคผิวหนัง. แก้ปวดฟัน. ดับกลิ่นปาก. แก้หืด. อาการหลอดลมอักเสบ.ช่วยย่อย.แก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้อ. คลื่นเหียนอาเจียน.ปวดท้อง.เสียดท้อง ะ คร ( emongrass).. คลายความเครี ย ด. แก้ ป วดศี ร ษะ. แก้ สิ ว . โรค น�้ากัดเท้า. ไล่แมลง. ช่วยย่อยลดกรดในกระเพาะ. ขับลม.แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ.ลดไข้. ยูคา ิป ัส.( uca yptus).. แก้หวัดคัดจมูก. แก้ไข้. บรรเทาอาการปวดศีรษะ. เจ็ บ คอ. กล่ อ งเสี ย งอั ก เสบโรคน�้ า กั ด เท้ า . เชื้ อ รา. แก้ รั ง แค. ผื่ น คั น . ไล่ แ มลง. บรรเทาปวดเมื่ อ ย. ขัดยอก 138


คุณสมบัตของนํามัน อมระเ ย (ตอ) นํ้ามัน อมระเ ย

คุณสมบั ิ

ขิง ( inger)..

แก้เสียดท้อง. ปวดท้อง. ท้องอืดท้องเฟ้อ. ท้องเสีย. คลื่นเหียน. เมารถ. เมาเรือ. แก้หวัด. คัดจมูก. ไซนัส. แก้ไข้หวัดใหญ่. บรรเทาอาการปวด. ข้อ/กล้ามเนื้อ กระตุ้นการงอกของเส้นผม. แกนจันทร.(Sanda wood). บรรเทาอาการท้อแท้หดหู.่ นอนไม่หลับ.ระงับประสาท. บ�ารุงก�าลัง.รักษาสิว.ผิวแตก.ผิวที่แห้งกร้าน.รักษา อาการไอ.หืด.หลอดลมอักเสบ.เจ็บคอ. โ ระพา (Sweet. asi ).. แก้ปวดหัว.ไมเกรน.ผ่อนคลายประสาท.ไล่ยงุ .ไล่แมลง. บรรเทาอาการยุ ง และแมลงกั ด ต่ อ ย. แก้ อ าการ ปวดเมื่อย.ปวดข้อ.บาดเจ็บกล้ามเนื้อ.แก้ไอ.ไซนัส. หลอดลมอักเสบ.แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ.อาหารไม่ย่อย. แก้ไข้.แก้หวัด พริก ทยดํา.. บรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ. เคล็ดขัดยอก. เส้นเอ็นยึด. ข้ออักเสบช่วยย่อย. ช่วยเจริญอาหาร. ลดไข้.บรรเทาหวัด.ป้องกันการติดเชื้อไวรัส โรสแมรี่.( osemary). รั ก ษาสิ ว . ขจั ด รั ง แค. แก้ โรคผิ ว หนั ง . เส้ น ผมมั น. ช่วยให้ผมงอก. แก้ ห วั ด . อาหารไม่ ย ่ อ ย. ท้ อ งอื ด ท้องเฟ้อ. ขับลม. แก้ปวดประจ�าเดือน. ปวดศีรษะ. บ�ารุงหัวใจ.บ�ารุงประสาท.ผ่อนคลายความตึงเครียด คาโม ม  (. hamomi e). แก้สิว.โรคภูมิแพ้.แผลไฟไหม้.โรคผิวหนัง.ตุ่มพุพอง. แก้ปวดฟัน.ปวดเมือ่ ยกล้ามเนือ้ .แก้ปวดประจ�าเดือน. 139


33 คุณสมบัตของนํามัน อมระเ ย (ตอ) นํ้ามัน อมระเ ย

คุณสมบั ิ

แก้ปวดศีรษะ. ไมเกรน. ผ่อนคลายความตึงเครียด. ช่วยให้นอนหลับสบาย.ช่วยบ�ารุงเส้นผม เจอราเนียม.( eranium).. แก้สิว.รักษาแผลไฟไหม้. โรคผิวหนัง.กลากเกลื้อน. แผลพุพอง.ไล่ยุง.ไล่แมลง.ปรับสมดุลย์ส�าหรับสตรี วัยหมดประจ�าเดือน.ท�าให้จิตใจสงบ . ไม่ท้อแท้.ห่อเหี่ยว.

นํามันนวดตัว . ส่วนผสมทีส่ า� คัญของน�า้ มันนวดตัว.มี.2.อย่างคือ.น�า้ มันพืน้ ฐาน.กับ.น�า้ มัน หอมระเหย. น�้ามันพื้นฐานก็คือน�้ามันพืชที่สกัดโดยวิธีบีบเย็น. ซึ่งมีอยู่หลายตัว ที่ใช้เปนน�้ามันพื้นฐานได้ดี. เช่น. น�้ามันมะพร้าว. น�้ามันงา. น�้ามันมะกอก. น�้ามัน สวีทอัลมอนด์. น�้ามันถั่วเหลือง. น�้ามันเมล็ดทานตะวัน. เปนต้น. ซึ่งจะใช้น�้ามัน เหล่านี้เปนน�้ามันหลัก. และอาจจะเติม น�้ามันชนิดอื่น. เช่น. น�้ามันจมูกข้าวสาลี. เปนน�า้ มันเสริม.เพือ่ เพิม่ วิตามินอี.แล้วน�า น�้ า มั น พื้ น ฐานนี้ ไ ปผสมกั บ น�้ า มั น หอม ระเหย. เพื่อเพิ่มสรรพคุณในการบ�าบัด ทั้งทางร่างกาย.อารมณ์.และจิตใจ. . โดยใช้น�้ามันหอมระเหยผสมลง ไปในน�้ามันพื้นฐาน.0.5.-.3. .ขึ้นอยู่กับ เงือ่ นไขของการใช้.เช่น.ใช้กบั ใบหน้า.หรือ 140


ใช้กับเด็ก.หรือใช้กับผิวบอบบางแพ้ง่าย.ก็ผสมน�้ามันหอมระเหยเพียง.0.5.-.1 . ถ้าใช้กับผู้ใหญ่โดยทั่วไปก็ใช้น�้ามันหอมระเหย. 2 . แต่ถ้าใช้ในการบ�าบัดรักษา. ก็ใช้.3. .โดยมีสัดส่วนในการผสมน�้ามันหอมระเหยกับน�้ามันพื้นฐานดังต่อไปนี้ ของนํ้ามัน อมระเ ย . . . .

0.5. 1. 2. 3.

.. .. .. ..

นํ้ามัน อมระเ ย

นํ้ามันพ้น าน

1.หยด.. 1.หยด.. 2.หยด.. 3.หยด..

2.ช้อนชา.(.10.มล.) 1.ช้อนชา.(.5.มล.) 1.ช้อนชา.(.5.มล.) 1.ช้อนชา.(.5.มล.)

สเปรยไลยุง สวนผสม . . . . . . . . . .

1.. น�้ามันตะไคร้หอม . 3.ซีซี.(ประมาณ.60.หยด) 2.. น�้ามันตะไคร้บ้าน . 1.ซีซี.(ประมาณ.20.หยด) 3...น�้ามันลาเวนเดอร์ . 1.ซีซี.(ประมาณ.20.หยด) 4...แอลกอ อล์ . 50.ซีซี 5...น�้าสะอาด . 250.ซีซี.(หรือ.1.ถ้วยตวง) 141


33 วธการ . 1.. ผสมน�้ามันตะไคร้หอม.น�้ามันตะไคร้บ้าน.น�้ามันลาเวนเดอร์. ในชาม แก้วคนให้เข้ากัน.หรือจะผสมในขวดขนาด.5.ซีซี.ที่มี าปิด.แล้วเขย่าให้เข้ากันก็ได้. (ถ้าใช้น�้ามันตะไคร้หอมเพียงอย่างเดียว.ก็ให้ใช้น�้ามันตะไคร้หอมปริมาณ.5.ซีซี) . 2...ใส่แอลกอ อล์. 50. ซีซี. ลงในขวดขนาด. 300. ซีซี. จากนั้นเทน�้ามัน หอมระเหยที่ผสมกันดีแล้วลงไปในแอลกอ อล์. ปิด าเขย่าให้เข้ากัน. ตั้งทิ้งไว้ สักครู่. . 3...จากนัน้ เติมน�า้ สะอาดลงไป.250.ซีซ.ี ปิด าเขย่าให้เข้ากัน.ก็จะได้นา�้ มัน ไล่ยุง.ใส่หัว ีดแบบสเปรย์ใช้ ีด.ไล่ยุง

เทยน อม สวนประกอบ . . . . . . .

1...ขี้ผึ้งพาราฟิน. 150.. กรัม 2...สเตียริน. 15.. กรัม 3...ไส้เทียน.. ยาว.11.ซม. 4...สีผสมเทียน 5...น�้ามันหอมระเหย 6...ถ้วยแก้วส�าหรับใส่เทียนขนาดกว้าง. . 4.ซม..สูง.6.ซม.

142


วธการ เตรยมไสเทยน . ตัดไส้เทียนยาวประมาณ. 11. ซม.. คือให้ไส้เทียนยาวกว่าความสูงของ แก้วที่ใช้ใส่เทียนประมาณ.5.ซม. . เอาพาราฟินใส่หม้อต้ม.2.ชั้น.น�าขึ้น ตั้งไฟ.จนพาราฟินละลาย . จุ่มไส้เทียนที่เตรียมไว้ลงในพาราฟิน ที่ละลายแล้วยกขึ้นวางตามแนวยาว ของเชือกลงบนกระดาษไข.พาราฟิน จะแข็งตัวเคลือบไส้เทียนไว้.ก็จะได้ไส้ เทียนที่พร้อมจะน�าไปใช้ท�าเทียน . ผูกปลายหนึ่งของไส้เทียนไว้กับที่ยึดไส้เทียนที่ก้นแก้ว. อีกปลาย หนึง่ ผูกไว้กบั ไม้จมิ้ ฟันทีว่ างขวางปากแก้วให้ไส้เทียนอยูใ่ นต�าแหน่ง ตรงกลางของแก้ว

. . .

. . .

.

.

เตรยมขผง . หลอมสเตียรินในหม้อต้ม. 2. ชั้น. ใส่ . สี ผ สมเที ย นตามต้ อ งการ. คนจนสี . ละลายเข้ า กั บ สเตี ย ริ น . ได้ สี ต าม . ต้องการ . ใส่ พ าราฟิ น ลงไป. ตั้ ง ไฟต่ อ ไปจน . ขี้ผึ้ง.ละลายหมด

143


33 3 ผสมนํามัน อมระเ ย . เลือกน�้ามันหอมระเหย. 1. ชนิด. หรือหลายชนิดผสม เข้ากัน. ( ending). ตาม กลิ่ น และสรรพคุ ณ ของ เทียนหอมที่เราต้องการ . หยดน�้ามันหอมระเหยเพียง.5.-.6.หยด.ลงในขี้ผึ้งที่หลอมละลาย แล้วในข้อ.2.คนให้เข้ากับขี้ผึ้ง เท สแกว . เทขีผ้ งึ้ ลงตรงกลางของแก้วจนเกือบหมดขีผ้ งึ้ .เหลือขีผ้ งึ้ ไว้เล็กน้อย เพื่อเทยอดเทียนภายหลัง. . รอ.2. .3.นาทีใช้นิ้วเคาะๆ.ข้างแก้ว.เพื่อไล่อากาศออก . หลังจากนั้น.1.ชั่วโมง.แล้วจึงหลอมขี้ผึ้งที่เหลือให้เหลว.แล้วเทลง ไปด้านบน.ตั้งทิ้งไว้ให้แข็ง.ก็สามารถน�าไปใช้ได้. หรือจ�าหน่ายต่อ ไป.ถ้าเก็บไว้นานควรห่อด้วยกระดาษแก้ว.เพื่อรักษากลิ่นไว้นานๆ.

วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ. 22.ซ.ช�านาญอักษร.ถ.พหลโยธิน.สามเสนใน.พญาไท.กรุงเทพ .10400.. โทรศัพท์.0-2279-5118,.0-2278-4068..โทรสาร.0-2617-0834.

144


การทํา อส ากพื สมุนไพรและผลไม นา สน ุ พท น น ส เพ ารพ นา

เนือ า . . .

. หลักการเบื้องต้นในการท�าซอสผัก.ซอสผลไม้ . ขั้นตอนการผลิต . ขั้นตอนการท�าซอสพริก.ซอสมะเขือเทศไว้รับประทาน

วธการ .

บรรยาย.สาธิต.และ กปฏิบัติ

การทํา อส ากพื สมุนไพรและผลไม . . เครื่ อ งปรุ ง รสชนิ ด หนึ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มมาปรุ ง รสอาหารกั น มาก ในปัจจุบันก็คือ. ซอส . เช่น. ซอสถั่วเหลือง. ซอสมะเขือเทศ. ซอสพริก. เปนต้น.

145


33

ซอสมะเขือเทศและซอสพริก. เปนตัวอย่างของซอสข้นที่เรารู้จักกันดีที่ท�าขึ้นจาก ผัก.ผลไม้. ที่จริงมีผักผลไม้ในครัว.และในสวนอีกหลายชนิดที่เราสามารถน�ามาท�า เปนซอสข้น.ทีร่ สชาติเอร็ดอร่อยไม่แพ้กนั .เช่น.ซอสกล้วย.ซอสมะละกอ.ซอสมะม่วง. ซอสเห็ด. ซอสแอปเปิล. เปนต้น. ซอสผักซอสผลไม้มีกรรรมวิธีท�าที่ง่าย. ไม่ยุ่งยาก. ซอสผักผลไม้ทที่ า� เองในครัวเรือนจะมีรสชาติดกี ว่าซอสทีผ่ ลิตจากโรงงานทีว่ างขาย ตามท้องตลาด. ที่ส�าคัญยังปลอดภัยจากสารเคมี. การท�าซอสผัก. ซอสผลไม้. จึงเปนการแปรรูปผักผลไม้ที่น่าสนใจที่ท�าได้ในครัวเรือนและชุมชน

ลักการเบืองตน นการทํา อสผัก อสผลไม . ซอสผัก. ซอสผลไม้. เปนซอสข้นที่มีวิธีการท�าที่ง่ายได้จากการน�าเอาผัก หรือผลไม้มาสับหรือปันให้ละเอียด.แล้วน�าไปตุนกับสมุนไพรและเครื่องเทศ.แล้ว น�ามากรอง. เติมด้วยน�้าส้มสายชู. น�้าตายทรายแดง. และเกลือ. ซึ่งอาจจะเติม แป้งข้าวโพด. หรือแป้งสาลี. เพื่อให้ซอสอยู่ตัว. ไม่แยกชั้น. แล้วก็บรรจุขวด ่าเชื้อ ก็จะได้ซอสที่ต้องการ . ส่วนผสมหลักก็คือ. ผักหรือผลไม้ที่มีอยู่ในครัวเรือน. ในไร่ในสวน. เช่น. มะเขือเทศ. พริกชี้ฟ้า. กล้วย. มะละกอ. มะม่วง. แอปเปิล. หรือแม้แต่เห็ดก็น�ามา ท�าเปนซอสได้.ซึ่งก็จะท�าให้ได้รสชาติที่แปลกแตกต่างออกไป . ส่วนผสมอื่นที่ใช้ในการท�าซอสผักผลไม้ก็มีดังนี้ . 1.. น�า้ ส้มสายชู.เปนส่วนผสมทีน่ อกจากจะใช้แต่งรสเปรีย้ วให้แก่ซอสแล้ว ที่ส�าคัญยังท�าหน้าที่เก็บรักษาซอสไม่ให้เสีย. น�้าส้มสายชูที่ใช้ควรมีความแรง กรดอะซิติคไม่ต�่ากว่าร้อยละ.5.ควรเลือกใช้น�้าส้มสายชูแท้ชนิดดี . 2...เกลือ. เปนส่วนผสมที่ใช้แต่งรสให้แก่ซอส. และท�าหน้าที่เก็บรักษา ซอสไม่ให้เสีย.ควรเลือกเกลือที่สะอาด.คุณภาพดี . 3...น�้าตาล.ใช้ปรุงรส.ควรใช้น�้าตาลทรายแดง 146


. 4...สารท�าให้อยูต่ วั .ในบางกรณีซอสอาจเกิดการแยกตัว.จึงจ�าเปนต้องใช้ สารท�าให้อยู่ตัว. การท�าซอสแบบปลอดสารเคมี. เราจะใช้แป้งสาลี. แป้งข้าวโพด. หรือแป้งมัน.แต่ซอสที่มีเนื้อของผักผลไม้มาก.เช่น.ซอสพริก.ก็อาจไม่จ�าเปนต้องใส่ ก็ได้ . 5...พริก. ถ้าต้องการใช้ซอสมีรสเผ็ด. ก็ใช้พริกชี้ฟ้าแดงหรือพริกอื่นเปน ส่วนผสมมากน้อยตามความเผ็ดที่ต้องการ . 6...เครื่องเทศและสมุนไพร. ใช้ปรุงรสและกลิ่นให้แก่ซอส. มีหัวหอม. กระเทียม.ลูกจันทน์.กระวาน.กานพลู.อบเชย.ขิง.พริกไทย.ลูกผักชี.ยี่หร่า.เปนต้น. ถ้าเปนสมุนไพรทีบ่ ดละเอียดก็ใส่ในส่วนผสมได้เลย.ถ้าไม่ละเอียดให้หอ่ ผ้าน�าไปตุน กับเนื้อผักผลไม้

ขันตอน นการผลต . 1...น�าผักผลไม้ทจี่ ะท�าซอสล้างน�า้ ให้สะอาด.ปอกเปลือก.ในบางกรณีตอ้ ง น�าไปเผาไฟก่อน.เช่น.พริก.แล้วน�าเนื้อมาหั่นสับหรือปันให้ละเอียด . 2...น�าเนื้อผลไม้ที่สับหรือปนละเอียดแล้วใส่หม้อสแตนเลสที่มี าปิด. เติมน�้าให้ท่วม.เติมสมุนไพรเครื่องเทศ.หรือใช้สมุนไพรมัดเปนพวงเครื่องเทศ.ก็ห่อ ด้วยผ้าขาวบาง. แช่ลงในส่วนผสมตุนนานประมาณครึ่งชั่วโมง. หรือจนส่วนผสม เปอยยุ่ย . 3...ทิ้งไว้ให้เย็น. เอามันสมุนไพรและถุงเครื่องเทศออกแล้วกรองด้วย ตะแกรง . 4...น�าส่วนที่กรองแล้วใส่หม้อเติมน�้าส้มสายชู. น�้าตาลทรายแดง. เกลือ. และส่วนผสมอื่นๆ.ตามแต่ละสูตร.ตุนต่อไปอีกนาน.1-1 .ชั่วโมง.จนข้นขึ้น . 5...เติมแป้งข้าวโพด.หรือแป้งมัน.หรือแป้งสาลี.กวนให้เข้ากันจนได้ซอส ที่ข้น.ต้มนาน.1-2.นาทีก็จะได้ซอสข้นตามต้องการ 147


33

. 6...เทซอสที่ได้ลงในขวดแก้วที่ผ่านการ ่าเชื้อแล้ว. ปิด าขวดให้แน่น. แล้วน�าไป ่าเชื้ออีกที. ก็จะได้ซอสผัก. ซอสผลไม้. เก็บไว้รับประทานหรือน�าไป จ�าหน่าย

อสมะเขือเท สวนผสม 1...เนื้อมะเขือเทศสุกประมาณ. 10. ถ้วยตวง 2.. น�้าตาล.. .. ถ้วยตวง 3...หอมใหญ่.. 2.. หัว. 4...อบเชยปน.. 1.. ช้อนชา 5...พริกชี้ฟ้าแดง.. 5.. เม็ด.(หรือมากกว่า) 6...กานพลูปน.. 1.. ช้อนชา. 7...เกลือ.. 1.. ช้อนชา. 8...น�้าส้มสายชู.. 2. ..ถ้วย

. . . . . . . .

วธทํา . 1...น�ามะเขือเทศมาล้างน�้าให้สะอาด. ถ้ามี ก้านก็เอาก้านทิ้งไป . 2..จากนัน้ ปอกเปลือกมะเขือเทศออก.โดยต้ม น�า้ สะอาดพอให้ทว่ มมะเขือเทศ.แล้วยกขึน้ ตัง้ ไฟ.น�ามะเขือเทศลงไปลวกประมาณ. 3-4.นาที.หรือสังเกตว่าเปลือกมะเขือเทศเริ่มแตก.ให้ตักมะเขือเทศ..แช่ในน�้าเย็น. แล้วลอกเปลือกมะเขือเทศออก . 3...น�ามะเขือเทศที่ลอกเปลือกแล้วไปยีให้ละเอียดบนกระชอน. หรือใช้ เครื่องปันก็ได้. จากนั้นน�ามากรองด้วยกระชอนอีกครั้งหนึ่ง. จะได้น�้ามะเขือเทศ. 10.ถ้วยตวง 148


. 4...น�าหอมใหญ่. มาปอกเปลือก. และพริกชีฟ้ า้ แดง.ล้างน�า้ ให้สะอาด.แล้วหัน่ ให้เปนชิ้นเล็กๆ. . 5...น� า น�้ า มะเขื อ เทศที่ เ ตรี ย มไว้ เทใส่ในหม้อ. แล้วยกขึ้นตั้งไฟ. ใส่หอมใหญ่. และพริกชี้ฟ้าแดงลงไป . 6.. ใส่น�้าส้มสายชู. น�้าตาล. เกลือ. และเครื่องเทศ.ลงไป.แล้วชิมรสตามใจชอบ. (ถ้าเครื่องเทศหยาบหรือชิ้นใหญ่.ต้องห่อใส่ ผ้าขาวบาง). ต้มต่อไปจนหอมใหญ่. และ พริกชี้ฟ้าแดงนิ่ม . 7.. น�าส่วนผสมทั้งหมดในหม้อมา ปันด้วยเครื่องปัน. (ยกเว้นห่อเครื่องเทศ). แล้วกรองด้วยกระชอนอีกครั้งหนึ่ง . 8...ต้มส่วนผสม. ที่ปันและกรอง แล้วด้วยไฟแรงจนงวดลง. ซึ่งจะลักษณะ ไม่ใสหรือข้นจนเกินไป. ใช้เวลาประมาณ. 30-45.นาที . 9...กรอกใส่ขวดที่ท�าความสะอาด. โดยการต้ม ่าเชื้อแล้ว. ปิด าให้ สนิท. น�าขวดที่บรรจุซอสมะเขือเทศแล้วน�าไปนึ่งหรือต้ม ่าเชื้อนาน. 30. นาที. เก็บซอสมะเขือเทศที่ได้ในที่ที่มีลมไม่โกรก.แดดส่องไม่ถึง.และเย็น.จะช่วยให้เก็บ ซอมะเขือเทศได้นานขึ้น

149


33

อสพรก . . . . . . .

ส่วนผสม 1...พริกชี้ฟ้าแดง.. ..กิโลกรัม 2...พริกหยวกแดง.. ..กิโลกรัม 3...กระเทียมปอกเปลือก.. 1. ถ้วย 4...น�้าส้มสายชู.. 2.. ถ้วย 5...น�้าตาล.. 1.. ถ้วย. 6.. เกลือ.. 2.. ช้อนโตะ

วธทํา . .

1.. น�าพริกชี้ฟ้าแดง.พริกหยวกแดง.ล้างน�้าให้สะอาด 2.. ปอกเปลือกกระเทียม.ล้างน�้าให้สะอาด

150


.

3...น�าพริกทั้ง. 2. ชนิด. และกระเทียมที่เตรียมไว้. มาหั่นแล้วน�ามาต้ม ในน�้าสะอาด.2.ถ้วยตวง.ต้มจนพริก.และกระเทียมเปอย

.

4...จากนั้นน�าพริกและกระเทียมที่ได้. มายีบนกระชอน. หรือเครื่องปัน. เพื่อเอาเมล็ดออก.หรือจะใช้เครื่องบดอาหารก็ได้ 5...ผสมน�้าส้มสายชู.น�้าตาล.และเกลือ.ลงไปในส่วนผสมที่ยีหรือบดแล้ว. ปรุงรสตามใจชอบ

.

151


33

.

6...ต้มส่วนผสมทั้งหมด. ด้วยไฟแรงจนงวดลง. แล้วกรอกใส่ขวดที่ท�า ความสะอาดและต้ม ่าเชื้อโรคแล้วปิด าให้สนิท

.

7...น�าขวดที่บรรจุซอสพริกใส่ในหม้อ.ต้มหรือนึ่งนานประมาณ.30.นาที. แล้วจึงน�าออกมาตั้งทิ้งไว้ให้เย็น. เพียงเท่านี้ก็ได้ซอสพริกเอาไว้ รับประทาน

วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ. 22.ซ.ช�านาญอักษร.ถ.พหลโยธิน.สามเสนใน.พญาไท.กรุงเทพ .10400.. โทรศัพท์.0-2279-5118,.0-2278-4068..โทรสาร.0-2617-0834.

152


นวดตนเองปองกันออ

น ดรม

ส าพน พท น ท ง ร เท ท น สา าร สุข ารพ นา

การท�างานในส�านักงานแต่ละวันพนักงานทุกคนมุง่ มัน่ ในหน้าทีใ่ นช่วงเวลา ท�าการ.จนอาจละเลยเรื่องการดูแลสุขภาพ.ต่อเมื่อเกิดอาการต่างๆ.จึงเริ่มหันมา ค้นหาสาเหตุแห่งโรค. ซึ่งเกิดได้หลายสาเหตุ. เช่น. สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม. อากาศในออฟฟิศที่อับทึบ.การระบายอากาศไม่ดีท�าให้มี.กาซคาร์บอนไดออกไซด์ คั่งค้าง. รวมทั้งการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องถ่ายเอกสารภายในส�านักงาน มากจะส่งผลให้มีสารเคมีในห้องเพิ่มขึ้น. เพราะนอกจากคาร์บอนไดออกไซด์ จากตัวคนท�างานแล้ว.ยังมีสารระเหยบางประเภทท�าให้มีอาการแสบตา.แสบจมูก. แสบคอ.ไอ.แน่นหน้าอก.ปวดมึนศีรษะ.คลื่นไส้.อาเจียน.ง่วงนอน.และถ้ามีใครใน ส�านักงานสูบบุหรี่. ก็จะยิ่งเกิดมลพิษในห้องมากขึ้น. ด้วยเหตุนี้พนักงานออฟฟิศ จึงต้องไปพบแพทย์บ่อยครั้งด้วยเรื่องเจ็บคอและเปนหวัด. การปรับแสงสว่างใน ห้องเปนเรื่องส�าคัญมากเช่นกัน. แสงในห้องไม่ควรสว่างจ้าเกินไปหรือน้อยเกินไป. แสงสะท้อนจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่สว่างจ้าเกินไปจะท�าให้เกิดอาการแสบตา ต้องหยีตา.ปวดกล้ามเนื้อตา.จะท�าให้เกิดอาการปวดศีรษะ. . ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากอิริยาบถในการท�างานไม่เหมาะสม. พนักงาน ส่วนใหญ่มักจะนั่งอยู่กับคอมพิวเตอร์เปนเวลานานวันละหลายชั่วโมง. ในท่าที่ 153


33

(

)

ไม่เหมาะสม.เช่น.การนัง่ หลังค่อม.ท�างานหน้าจอคอมพิวเตอร์เปนเวลานานมากกว่า. 6.ชั่วโมงต่อวัน.โดยไม่ได้เปลี่ยนอิริยาบถ.ส่งผลให้เกิดความเครียดสะสมท�าให้เกิด อาการกล้ามเนื้ออักเสบ. ปวดเมื่อยตามอวัยวะต่างๆ. ตั้งแต่. ปัญหาทางสายตา. ปวดศีรษะ.บ่า.คอ.ไหล่. สะบัก.หลังส่วนบน.หลังส่วนล่าง.แขน.ข้อศอก.ข้อมือ. ลงมาถึง. เข่า. ขา. ในกรณีที่วางเท้าไม่เหมาะสมอาจมีอาการเท้าบวม. ปวดขาร่วม ด้วย.เนื่องมาจากเลือดลมเดินไม่สะดวก. . โดยท่าทางการท�างานทีถ่ กู วิธ.ี คือ.เวลานัง่ พิมพ์งานกับเครือ่ งคอมพิวเตอร์ นั้น.ควรนั่งเก้าอี้ที่มีพนักพิง.มีที่รองแขน.เท้าสามารถแตะพื้นได้. หลังสามารถพิง ลงไปโดยตัวอยู่ในท่านั่ง.หลังตรง.คอตรง.สายตามองตรง. . นอกจากนีย้ งั มีความจ�าเปนต้องพักสายตา.คือมองไปทางอืน่ เปนระยะหลัง ท�างานสักพักหนึ่ง. และบางคนจะท�างานเพลินจนลืมกระพริบตาท�าให้ตาแห้ง. เมื่อท�างานสัก.15.นาที. ถึงครึ่งชั่วโมง.ควรมีการยืนขึ้น.บิดหรือเหยียดตัวเพื่อแก้ อาการเมือ่ ย.และควรปิดเครือ่ งคอมพิวเตอร์.หรือโน้ตบุคทุกครัง้ ทีไ่ ม่ได้ใช้งาน.เพือ่ ลดระยะเวลาในการรับคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า.และถ้ามีความจ�าเปนต้องใช้คอมพิวเตอร์ เปนเวลานาน.จะต้องเงยหน้าขึ้นมองออกไปไกลๆ.ทุก.20.นาที.เพื่อบรรเทาความ เมื่อยล้าของสายตา. และควรหาต้นไม้ในร่มมาปลูก. เพื่อช่วยดูดซับสารพิษและ เปนที่พักสายตาที่อ่อนล้า.

สัญญาณเส่ยง รคออ

น ดรม

. ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดโรคออฟฟิศซินโดรม.(Office.syndrome).ได้.มีอาการ ที่เปนสัญญาณเตือนและพบบ่อย.คือ . 1). ปวดหลังเรื้อรัง. ปวดต้นคอ. สะบัก. จากการอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ นานวันละ.8.ชัว่ โมง.โดยเ พาะการนัง่ หลังค่อม.ท�าให้กล้ามเนือ้ ต้นคอ. สะบัก. เมื่อย. เกร็งอยู่ตลอดเวลา. ท�าให้กระบังลมขยายได้ไม่เต็มที่. 154


. .

สมองได้รับออกซิเจนไม่เต็มที่.ท�าให้ง่วงนอน.ศักยภาพในการท�างาน ไม่เต็มร้อย. 2)..ไมเกรนหรือปวดศีรษะเรื้อรัง. ความเครียด. การพักผ่อนไม่เพียงพอ. แสงแดด.ความร้อน.และการขาด อร์โมนบางชนิด.เปนปัจจัยก่อให้ เกิดโรคนี้ได้เช่นกัน. 3)..มือชา. เอ็นอักเสบ. นิ้วล็อค. การอักเสบของปลอกหุ้มเอ็นข้อมือ. เส้นเอ็นนิ้วมือพบมากขึ้น. เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์. การจับเมาส์ ในท่าเดิมนานๆ.ท�าให้กล้ามเนื้อกดทับเส้นประสาทและ.เส้นเอ็นจน อักเสบ. เกิดพังผืดยึดจับบริเวณนั้นเปนจ�านวนมาก. ท�าให้ปวดปลาย ประสาท.นิ้วล็อค.หรือข้อมือล็อคได้

. หากไม่ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม.อาการจะรุนแรงจนถึงขัน้ หมอนรองกระดูก เสื่อมหรือหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทได้. และอาการออฟฟิศซินโดรม. ยังรวมไปถึงกลุ่มอาการระบบทางเดินหายใจและภูมิแพ้.เนื่องจากจากการอยู่ในที่ อากาศถ่ายเทไม่สะดวก. เครื่องปรับอากาศไม่สะอาด. รวมไปถึงสารเคมีจากหมึก ของเครือ่ งถ่ายเอกสาร.เครือ่ งแฟกซ์.และเครือ่ งพิมพ์เอกสาร.ซึง่ วนเวียนอยูภ่ ายใน ห้องท�างานอีกด้วย.ดังนั้น.เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานท�างานได้อย่างมีความสุขทั้งร่างกาย และจิตใจ. จึงควรใส่ใจจัดการสถานที่ท�างานให้เอื้อต่อสุขภาพของคนท�างานด้วย การแบ่งพืน้ ทีเ่ ปนสัดส่วนอย่างเหมาะสม.จัดเก็บวัสดุ.อุปกรณ์เปนระเบียบเรียบร้อย. จัดห้องส้วมอย่างถูกลักษณะ. และมีการควบคุมสัตว์พาหะน�าโรค. อีกทั้งสถาน ประกอบกิจการยังต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์.วิธีการ.และเงื่อนไขของก หมายว่า ด้วยความปลอดภัยในการท�างานตามพระราชบัญญัติโรงงาน.พ.ศ..2535.อีกด้วย

155


33

(

)

. ทั้ ง นี้ . วิ ธี ก ารปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของตนเองให้ เ หมาะสมในขณะ ท�างาน.คือ. . 1)..ปรับความสูงของเก้าอี้และโตะให้เหมาะสม.นั่งสบาย. . 2)..หากใช้คอมพิวเตอร์.กึ่งกลางของจอควรอยู่ในระดับสายตา.การพิมพ์ งานแป้นคีย์บอร์ดควรอยู่ในระดับข้อศอก. ข้อมือ. ใช้เมาส์โดยพัก ข้อศอกบนที่รองแขน.และสามารถเคลื่อนไหวได้แบบไม่จ�ากัดพื้นที่. . 3)..ขณะนั่งท�างาน.ควรนั่งหลังตรงชิดขอบด้านในของเก้าอี้. กระพริบตา บ่อยๆ. พักสายตาจากจอคอมพิวเตอร์ทุกๆ. 10. นาที. เปลี่ยนท่าการ ท�างานทุก. 20. นาที. ยืดเหยียดกล้ามเนื้อมือและแขนทุก. 1. ชั่วโมง. (บริหารร่างกาย) . 4)..ปลูกต้นไม้ในร่ม. ช่วยดูดซับสารพิษและเปนที่พักสายตาจากการ จ้องมองจอคอมพิวเตอร์. . 5)..รับประทานอาหารให้ตรงเวลา.และครบ.5.หมู่. . 6)..ควรเปิดหน้าต่างส�านักงาน. เพื่อให้อากาศหมุนเวียนถ่ายเทบ้าง. อย่างน้อยในตอนเช้าและพักกลางวัน. . 7)..ตรวจสุขภาพเปนประจ�าทุกป ที่มา:. 1.. http://www.thaihea th.or.th/ ontent/27349-สัญญาณเสี่ยงโรคออฟฟิศ ซินโดรม.htm .ข่าวสร้างสุข. ข่าวสุขภาพ. ดร.นพ.พรเทพ. ศิริวนารังสรรค์. อธิบดี กรมอนามัย. . 2.. กลุ่มศูนย์การแพทย์เ พาะทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม. โรงพยาบาล.นพรัตนราชธานี.กรมการแพทย์.กระทรวงสาธารณสุข

156


การปองกันและแกปญ า รคออ

น ดรมดวยการนวดตนเอง

. 1... การนวดหน้าถนอมสายตา. (ดูในชุดความรู้การบริหารร่างกายและ การนวดตนเอง) . 2... การนวดตนเอง. ท่าดัดตน. เพื่อคลายกล้ามเนื้อบรรเทาอาการปวด เมื่อยจากโรคส�านักงาน . 3... การบริหารร่างกาย.12.ท่า.ใน.4.นาที การนวด นา นอมสาย า ดู น ดุ ความรูก ารบริ ารรางกายแ ะการนวด นเอง การนวด นเอง ทาดัด น เพ่อค ายก ามเน้อบรรเทาอาการปวดเม่อยจาก โรคสํานักงาน (คัดมาจาก. หนังสือ. 41. ท่าศิลปะการนวดตนเอง. มูลนิธิ สาธารณสุขกับการพัฒนา) . เมือ่ มีอาการปวดเมือ่ ยจากการท�างาน.ควรเปลีย่ นอิรยิ าบท.เพือ่ ผ่อนคลาย กล้ามเนื้อและช่วยการไหลเวียนโลหิต. โดยใช้ท่าดัดตนด้วยวิธีที่ง่าย. ในเวลาสั้นๆ. ดังภาพที่แสดงดังต่อไปนี้. ทาที่ ประสานมือไว้ที่หน้าอก.หายใจเข้า.หายใจออก.เหยียดแขนไป ข้างหน้า. ในลักษณะหงาย ามือที่ประสานกันออก. นับ. 1-10. ท�า.4.ครั้ง

ท่าที่..1

157


33

.

(

)

ทาที่

นั่งขัดสมาธิหายใจเข้ายกแขนขึ้นเหนือศีรษะ. ยืดตัวและแขน ให้สุด.นับ.1-10.ท�า.2-3.ครั้ง

.

.....ท่าที่.2..

.

.

ท่าที่.3

ทาที่ 3 นั่งขัดสมาธิงอข้อศอกข้างหนึ่ง. ยกขึ้นไว้ทางด้านหลังศีรษะ. มืออีกข้างจับมือไว้.หายใจเข้า.หายใจออก.พร้อมๆ.กับดึงข้อมือ ลงให้มากที่สุด.หายใจเข้าออกปกติ.นับ.1-10.ท�าสลับข้างๆ.ละ. 2.ครั้ง ทาที่ (เหมือนท่าที่. 2).นั่งขัดสมาธิหายใจ.เข้ายกแขนขึ้นเหนือศีรษะ. ยืดตัวและ.แขนให้สุด.นับ.1-10..ท�า.2-3.ครั้ง.

ท่าที่.4.

158


ทาที่

คลายกล้ามเนือ้ คอ.โดยประสานมือเข้าด้วยกันบริเวณท้ายทอย. ใช้นวิ้ มือหัวแม่มอื ทัง้ สองกดตามแนวเกลียวคอ.เริม่ จากจุดใต้ไร ผม.นับ.5-10.แล้วกดเลื่อนลงถึงแนวบ่า

ท่าที่.5

ทาที่ . นั่งขัดสมาธิมือข้างหนึ่ง.วางยันบนเข่า.(ไม่ให้ตัวโยกเอน). ามือ อีกข้างวางไว้ใต้กกหู. (ไม่ปิดหู. ไม่ทับกราม). หายใจเข้า-ออก. มือดันศีรษะ. ศีรษะต้าน ามือ. หายใจเข้าออกปกติ. นับ. 1-10. ท� า สลั บ ข้ า ง. ข้ า งละ. 2-3. ครั้ ง . ท่ า นี้ ช ่ ว ยยื ด และท� า ให้ กล้ามเนื้อบริเวณต้นคอแข็งแรง. บรรเทา. อาการปวดเมื่อยคอ. และปวดศีรษะ.

ท่าที่.6

159


33

(

)

ทาที่ . นั่งขัดสมาธิพนมมือขึ้นระหว่างอก. หายใจเข้า. หายใจออก. ออกแรงดันมือที่พนมไว้. แล้วค่อยๆ. ยกมือขึ้นเหนือศีรษะ ออกแรงดั น ามื อ เข้ า หากั น . ยื ด ล� า ตั ว หายใจเข้ า ออกปกติ. นับ.1-10.ท�า.4.ครั้ง

ท่าที่.7

ทาที่ . นั่งไขว้ห้างบนพื้น.มือข้างหนึ่งจับข้อเท้าดึงไปด้านหลัง.ขณะที่ มืออีกข้างดันหัวเข่าไว้. หายใจเข้าหายใจออก. ดันหัวเข่าให้ มากที่สุด. แล้วหายใจเข้าออกปกติ. นับ. 1-10. 3-5. ครั้ง. แล้ว ผ่อนออก.ท�าสลับข้าง.

ท่าที่.8

160


ทาที่

นั่งขัดสมาธิ. ใช้ข้อมือขัดไว้เหนือหัวเข่าด้านตรงข้าม. บิดล�าตัว. หายใจเข้ า ออก. บิ ด ตั ว ให้ ม ากที่ สุ ด . แล้ ว หายใจออกปกติ. นับ.1-10.ท�า.3-5.ครั้ง.ท�าสลับข้าง

ท่าที่.9

ทาที่

ยืนก้าวเท้าข้างหนึ่งไปข้างหน้าพอประมาณยกแขน. (ซ้าย-ใน ภาพ).ไปด้านหน้า.มืออีกข้างก�าหมัดยันไว้ตรงบัน้ เอว.หายใจเข้า. หายใจออก. พร้อมกับย่อเข่าหันหน้าไปข้างหลัง. กระดกข้อมือ (ซ้าย).ขึ้น.หายใจเข้า.ออกปกติ.นับ.1-10.ท�าสลับข้าง.3-5.ครั้ง.

..........ท่าที่.10

161


33 3 การบร ารรางกาย

(

)

ทา น นาท

. หลังจากการนั่งท�างาน.เปนเวลานานหน้าคอมพิวเตอร์. ท�าให้เกิดอาการ ปวดเมื่อยตามร่างกาย.การลุกขึ้นยืน-เดิน.ยืดเส้นบ้าง.จะช่วยคลายกล้ามเนื้อได้ดี. การบริหารร่างกายด้วยวิธที งี่ า่ ยและถูกต้อง.จะช่วยคลายกล้ามเนือ้ ได้ด.ี โดยใช้เวลา เพียง.4.นาที

ทีม่ า:. omputer. . es .Stretches,.Stretching. .2000. y. o .and. oan.Anderson.

162


นวดตนเอง สด สสมวัย างไกลความเครยด ส าพน พท น ท ง ร เท ท น สา าร สุข ารพ นา

การนวดเปนยาอายุวัฒนะ.นวดได้ทุกเพศทุกวัย.ด้วยหลักการและวิธีการ นวดที่ปรับให้เหมาะสมกับผู้รับการนวด. โดยผู้นวดต้องมีความรู้. ความสามารถ ในการประเมินและปรับการนวดเพื่อประสิ ท ธิ ผ ลของการนวด. เช่ นเดี ย วกั บ การนวดตนเองที่ผู้ปฏิบัติสามารถเลือกรับปรับใช้ให้เหมาะสมกับตนเอง. เพื่อ บรรเทาอาการปวดเมื่อยของแต่ละคนได้อย่างดียิ่ง. .. ชีวิตประจ�าวันของทุกๆคน. ทุกเพศทุกวัย. ในแต่ละวันมีสิ่งที่มากระทบ ต่ อ จิ ต ใจทั้ ง เรื่ อ งดี แ ละไม่ ดี . ตามสภาวะแวดล้ อ มที่ แ ต่ ล ะคนก� า ลั ง เผชิ ญ อยู ่. ผลกระทบต่ออารมณ์และจิตใจในด้านลบสะสมเปนความเครียดโดยไม่รู้ตัว.ท�าให้ มีผลต่อสุขภาพร่างกาย.เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ.เช่น.อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย. ปวดศีรษะ.ท้องผูก.โรคกระเพาะ.เปนต้น. . ผูท้ ไี่ ด้ ก นการนวดตนเองสามารถน�าท่านวดต่างๆ.มาใช้นวดตนเอง.เพือ่ ช่วยผ่อนคลายความเครียดได้อย่างได้ผลดี.โดยไม่ตอ้ งหาหมอ.และเปนการช่วยลด การใช้ยาเกินความจ�าเปน.

163


33

1

“การนวดตนเอง”

. เปนศาสตร์และศิลปของการนวดที่ประยุกต์ท่ามาจากท่าโยคะและ ฤ ษีดัดตน.โดยมูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา.และคณะ.ได้จัดท�าขึ้นรวมท่านวด ตนเองทั้งหมด.41.ท่า.ซึ่งเปนท่าได้กลั่นกรองแล้วว่าได้ผลดี. มีอันตรายน้อย.และ ปฏิบตั ไิ ด้ไม่ยากเกินไป.ผูป้ ฏิบตั สิ ามารถเลือกท่าทีเ่ หมาะสมกับสภาพร่างกาย.และ ปัญหาเ พาะของตนเอง.แต่พึงระลึกเสมอว่า.อย่าปฏิบัติหักโหมจนเกินความพอดี ของร่างกาย.ท่าใดที่ท�าไม่ได้ก็ควรข้ามไปท�าท่าที่ท�าได้ก่อน . การปฏิบัติการนวดตนเองที่ถูกต้องสามารถสังเกตได้จากผลที่เกิดขึ้น ตามมา. ซึ่งควรเปนการผ่อนคลายของเส้นสายในร่างกายที่ได้รับการนวดหรือ ดัดนั้น.หากเกิดเจ็บปวดหรือระบมมาก.ย่อมแสดงว่า.การปฏิบัติยังไม่ถูกต้องควร ปรึกษาผู้รู้.การศึกษาปฏิบัติศิลปการนวดตนเอง . ท่านวดตนเองมีทั้งท่านั่ง. ท่านอน. และท่ายืน. สามารถแก้ปัญหาอาการ ปวดเมื่อยไม่สบายตัวต่างๆ.ได้หลายอาการ.เช่น.อาการปวดคอ.ศีรษะ.ปวดเมื่อย มือ.แขน.ไหล่.ป้องกันอาการไหล่ติด.ปวดหลัง.เอวสะโพก.ขา.เข่า.ข้อเท้า.เปนต้น. ในที่นี้จะขอกล่าวในประเด็น.“นวด นเองสด สสมวัย าง ก ความเครียด” . (ดูรายละเอียดการนวดตนเองบรรเทาอาการต่างๆ. ในชุดความรู้การ บริหารร่างกายและการนวดตนเอง) 2

รูทันความ “ความเครยด”

. ความเครียดเปนภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลต้อง เผชิญกับปัญหาต่างๆ.และท�าให้รสู้ กึ ถูกกดดัน.ไม่สบายใจ.วุน่ วายใจ.กลัว.วิตกกังวล. 1. 41.ท่า.ศิลปการนวดตนเอง..มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา 2. บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน.ความเครียด.และวิธีแก้ความเครียด.รศ.ดร.ภญ.ศรีจันทร์.พรจิราศิลป.

ภาควิชาเภสัชวิทยา. คณะเภสัชศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหิดล. http://www.pharmacy.mahido .ac.th/ th/ now edge/artic e/47/ความเครียด-วิธีแก้ความเครียด.

164


ตลอดจนถูกบีบคั้น.เมื่อบุคคลรับรู้หรือประเมินว่าปัญหาเหล่านั้นเปนสิ่งที่คุกคาม จิตใจหรืออาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่รา่ งกาย.จะส่งผลให้สภาวะสมดุลของร่างกาย และจิตใจเสียไป . เมื่อเกิดความเครียด. บุคคลจะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียด และท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ. ไม่ว่าจะเปนด้านร่างกาย. ด้านจิตใจ และอารมณ์. รวมทั้งด้านพฤติกรรม.แต่เมื่อเวลาผ่านไป.และความเครียดเหล่านั้น คลายลง.ร่างกายจะกลับเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครั้งหนึ่ง

3 ความเครยดทํา เกดการเปล่ยนแปลง น วต . ผลจากปฏิกริ ยิ าตอบสนองทีม่ ตี อ่ ความเครียด.ท�าให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ในตัวบุคคลนั้น.โดยแบ่งออกเปน.3.ด้าน.ได้แก่ 3 ดานรางกาย . ภาวะเครียดที่เกิดขึ้นจะกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติ.ท�าให้เกิดอาการ หน้ามืด. เปนลม. เจ็บหน้าอก. ความดันโลหิตสูง. โรคหัวใจ. หลอดเลือดอุดตัน. โรคอ้วน. แผลในกระเพาะอาหาร. เมื่อบุคคลตกอยู่ในความเครียดเปนเวลานาน. จะท�าให้สุขภาพร่างกายเลวลงเนื่องจากเกิดความไม่สมดุลของระบบ อร์โมน. ซึ่ง เปนชีวเคมีทสี่ า� คัญต่อมนุษย์.เพราะท�าหน้าทีช่ ว่ ยควบคุมการท�างานของระบบต่างๆ. ภายใน. . ขณะเกิดความเครียดจะท�าให้ตอ่ มใต้สมองถูกกระตุน้ .ท�าให้ตอ่ มหมวกไต หลัง่ อร์โมนคอร์ตซิ อล.(cortiso ).เพิม่ ขึน้ .จะท�าให้เกิดอาการทางกายหลายอย่าง แตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล.ตั้งแต่ปวดศีรษะ.ปวดหลัง.อ่อนเพลีย.หากบุคคลนั้น ต้องเผชิญกับความเครียดที่รุนแรงมากๆ. อาจส่งผลให้บุคคลเสียชีวิตได้เนื่องจาก ระบบการท�างานทีล่ ม้ เหลวของร่างกาย.เช่น.คนทีม่ โี รคเบาหวานเปนโรคประจ�าตัว อยู่แล้ว. หากเกิดความเครียดอย่างรุนแรง. อร์โมนคอร์ติซอลจะไปกระตุ้นระดับ น�้าตาลในเลือดให้สูงขึ้นหรือลดต�่าลงอย่างผิดปกติ. และท�าให้เกิดอาการช็อกได้. 165


33

หรือในบางรายที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายท�างานได้ไม่เต็มที่ส่งผลให้เกิดเปน อาการของโรคหอบหืด.โรคภูมแิ พ้ตา่ งๆ.โรคผิวหนัง.อาจมีอาการผมร่วงและมีอตั รา เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ง่ายกว่าเมื่อเทียบกับคนปกติ ดานจิ จแ ะอารมณ . จิตใจของบุคคลที่เครียดจะเต็มไปด้วยการหมกมุ่นครุ่นคิด. ไม่สนใจสิ่ง รอบตัว. ใจลอย. ขาดสมาธิ. ความระมัดระวังในการท�างานเสียไปเปนเหตุให้เกิด อุบัติเหตุได้ง่าย. จิตใจขุ่นมัว. โมโหโกรธง่าย. สูญเสียความเชื่อมั่นในความสามารถ ที่จะจัดการกับชีวิตของตนเอง. เศร้าซึม. คับข้องใจ. วิตกกังวล. ขาดความภูมิใจใน ตนเอง.ในบางรายที่ตกอยู่ในภาวะเครียดอย่างยาวนานมาก.อาจก่อให้เกิดอาการ ทางจิต.จนกลายเปนโรคจิตโรคประสาทได้.เนือ่ งจากการเผชิญต่อภาวะเครียดเปน เวลานาน อร์โมนคอร์ติซอลที่มีปริมาณเพิ่มขึ้น. จะท�าให้เซลล์ประสาท อและลด จ�านวนลง.โดยเ พาะในสมองส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับความจ�าและสติปญ ั ญาความเครียด จึงท�าให้ความจ�าและสติปัญญาลดลง. และยังมีผลต่อการท�างานของระบบสารสื่อ ประสาทที่ท�าหน้าที่เกี่ยวกับอารมณ์และพฤติกรรมโดยเ พาะสารสื่อประสาท. จึงท�าให้เกิดอาการซึมเศร้าและวิตกกังวลกว่าเวลาปกติ 3 ดานพ ิกรรม . การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายดังที่กล่าวในข้างต้น. ไม่เพียงแต่จะท�าให้ ระบบการท�างานของร่างกายผิดเพีย้ นไป.แต่ยงั ท�าให้พฤติกรรมการแสดงออกของ บุคคลเปลี่ยนแปลงด้วย.ยกตัวอย่างเช่น.บุคคลที่เครียดมากๆ.บางรายจะมีอาการ เบื่ออาหาร. หรือบางรายอาจจะรู้สึกว่าตัวเองหิวอยู่ตลอดเวลาและท�าให้มีการ บริโภคอาหารมากกว่าปกติ.มีอาการนอนหลับยากหรือนอนไม่หลับหลายคืนติดต่อ กัน. ประสิทธิภาพในการท�างานน้อยลง. เริ่มปลีกตัวจากสังคม. และเผชิญกับ ความเครี ย ดอย่ า งโดดเดี่ ย ว. บ่ อ ยครั้ ง บุ ค คลจะมี พ ฤติ ก รรมการปรั บ ตั ว ต่ อ ความเครียดในทางทีผ่ ดิ .เช่น.สูบบุหรี.่ ติดเหล้า.ติดยา.เล่นการพนัน.การเปลีย่ นแปลง ของสารเคมีบางอย่างในสมอง.ท�าให้บุคคลมีพฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้น.ความอดทน 166


เริ่มต�่าลง. พร้อมที่จะเปนศัตรูกับผู้อื่นได้ง่าย. อาจมีการอาละวาดขว้างปาข้าวของ. ท�าร้ายผู้อื่น. ท�าร้ายร่างกายตนเอง. หรือหากบางรายที่เครียดมากอาจเกิดอาการ หลงผิดและตัดสินใจแบบชั่ววูบน�าไปสู่การ ่าตัวตายในที่สุด

การข ัดอาการเครยด . เมื่อรู้ตัวว่ามีภาวะความเครียด. เราสามารถขจัดความเครียดได้ด้วยสติ. โดยการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ท�าให้เกิดความเครียด. พิจารณาดูว่าสามารถแก้ไข ปัญหาที่ต้นเหตุได้หรือไม่. หากแก้ไขไม่ได้อาจต้องขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นเพื่อ แก้ไขปัญหา.เพราะบางครั้งปัญหานั้นอาจไม่ได้เกิดจากเราเพียงคนเดียวก็ได้ วิธีการจัดการกับความเครียด.มีหลายวิธี.ได้แก่ . การผ่อนคลายทางร่างกาย.เช่น.การออกก�าลังกาย.การนวด. . การพักผ่อน. การรับประทานอาหาร. การอาบน�้าอุ่น. การอ่านหนังสือ. การดูภาพยนตร์.การฟังเพลง. . การลดความตึงเครียดทางจิตใจ. เช่น. การสร้างอารมณ์ขัน. การคิดใน ทางบวก. การหัวเราะ. การหายใจลึกๆ. การท�าสมาธิ. การใช้เทคนิคความเงียบ. เพื่อหยุดความคิดของตัวเอง.ในเรื่องที่ท�าให้เครียด.

การ กผอนคลายความเครยด3 . วิธปี ฏิบัติเพื่อลดความเครียดมีมากมาย.หลายคนอาจเคยใช้.เช่น.การเล่น ดนตรี. การฟังเพลง. วาดรูป. ปลูกต้นไม้. หรือออกก�าลังกาย. เหล่านี้เปนวิธีการที่ ไม่เจาะจง. สามารถเลือกใช้ได้เมื่อเผชิญกับความเครียดไม่รุนแรง. ส่วนวิธีที่จะ น�าเสนอต่อไปนี้. นับเปนวิธีการเ พาะในการลดความเครียดในทางวิชาการ. ซึ่งสามารถลดความเครียดได้.ขึ้นอยู่กับว่าใครใช้ได้ผลมากน้อยแค่ไหน. 3. กรมสุขภาพจิต.กระทรวงสาธารณสุข.(http://www.dmh.go.th/news/

iew.asp id 1012)

167


33

. เมือ่ เครียด.กล้ามเนือ้ ส่วนต่างๆ.ของร่างกายจะหดเกร็งและจิตใจจะวุน่ วาย สับสน. ดังนั้น. เทคนิคการผ่อนคลายความเครียดส่วนใหญ่จึงเน้นการผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ. และการท�าจิตใจให้สงบเปนหลัก. ซึ่งวิธีที่จะน�าเสนอในที่นี้. จะเปนวิธี ง่ายๆ.สามารถท�าได้ด้วยตัวเอง.มี.8.วิธีดังนี้ . 5.1. การ กเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ . 5.2..การ กการหายใจ . 5.3..การท�าสมาธิเบื้องต้น . 5.4..การใช้เทคนิคความเงียบ . 5.5..การใช้จินตนาการ . 5.6..การท�างานศิลปะ . 5.7..การใช้เสียงเพลง . 5.8..การใช้เทปเสียงคลายเครียดด้วยตัวเอง . ส�าหรับการ กคลายเครียดนั้น.เมื่อเริ่ม กควร กบ่อยๆ.วันละ.2-3.ครั้ง. และควร กทุกวัน.ต่อเมื่อ กจนช�านาญแล้วจึงลดลงเหลือเพียงวันละ.1.ครั้งก็พอ. หรืออาจ กเ พาะเมื่อรู้สึกเครียดเท่านั้นก็ได้. แต่อยากแนะน�าให้ กทุกวัน. โดย เ พาะก่อนนอนจะช่วยให้จิตใจสงบ.และนอนหลับสบายขึ้น การ กเกรงแ ะค ายก ามเน้อ กล้ามเนื้อที่ควร กมี. 10. กลุ่ม ด้วยกัน.คือ . . 1). แขนขวา . . 2).. แขนซ้าย . . 3).. หน้าผาก . . 4).. ตา.แก้มและจมูก . . 5).. ขากรรไกร.ริม ปากและลิ้น . . 6).. คอ 168


. . . . . .

. . . . .

7).. อก.หลัง.และไหล่ 8).. หน้าท้อง.และก้น 9).. ขาขวา 10).ขาซ้าย วิธีการ กมีดังนี้ 1). นั่งในท่าสบาย.เกร็งกล้ามเนื้อไปทีละกลุ่ม.ค้างไว้สัก.10.วินาที. แล้วคลายออก.จากนั้นก็เกร็งใหม่สลับกันไปประมาณ.10.ครั้ง. ค่อยๆ.ท�าไปจนครบทั้ง.10.กลุ่ม .. 2).. เริ่มจากการก�ามือ.และเกร็งแขนทั้งซ้ายขวาแล้วปล่อย . 3).. บริเวณหน้าผาก.ใช้วธิ เี ลิกคิว้ ให้สงู .หรือขมวดคิว้ จนชิดแล้วคลาย . 4).. ตา.แก้ม.และจมูก.ใช้วิธีหลับตาป.ย่นจมูกแล้วคลาย . 5).. ขากรรไกร. ริม ปากและลิ้น. ใช้วิธีกัดฟัน. เม้มปากแน่นและ ใช้ลิ้นดันเพดานโดยหุบปากไว้แล้วคลาย . 6).. คอ. โดยการก้มหน้าให้คางจรดคอ. เงยหน้าให้มากที่สุดแล้ว กลับสู่ท่าปกติ . 7).อก.หลัง.และไหล่. โดยหายใจเข้าลึกๆ.แล้วเกร็งไว้. ยกไหล่ให้สูง ที่สุดแล้วคลาย . 8).. หน้าท้องและก้น.ใช้วิธีแขม่วท้อง.ขมิบก้นแล้วคลาย . 9).. งอนิว้ เท้าเข้าหากัน.กระดกปลายเท้าขึน้ สูง.เกร็งขาซ้ายและขวา แล้วปล่อย . . การ กเช่นนี้จะท�าให้รับรู้ถึงความเครียดจากการเกร็งกล้ามเนื้อ กลุ่มต่างๆ.และรู้สึกสบายเมื่อคลายกล้ามเนื้อออกแล้ว.ดังนั้น.ครั้งต่อไปเมื่อเครียด และกล้ามเนื้อเกร็งจะได้รู้ตัว.และรีบผ่อนคลายโดยเร็ว.ก็จะช่วยได้มาก

169


33

การ กการ าย จ. กการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลมบริเวณ หน้าท้องแทนการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าอก. เมื่อหายใจเข้า. หน้าท้องจะ พองออก.และเมื่อหายใจออก.หน้าท้องจะยุบลง.ซึ่งจะรู้ได้โดยเอามือวางไว้ที่หน้า ท้องแล้วคอยสังเกตเวลาหายใจเข้าและหายใจออก. หายใจเข้าลึกๆ. และช้าๆ. กลั้นไว้ชั่วครู่แล้วจึงหายใจออก. ลอง กเปนประจ�าทุกวัน. จนสามารถท�าได้โดย อัตโนมัติ . การหายใจแบบนี้จะช่วยให้ร่างกายได้รับออกซิเจนมากขึ้น. ท�าให้สมอง แจ่มใส.ร่างกายกระปรี้กระเปร่า.ไม่ง่วงเหงาหาวนอน.พร้อมเสมอส�าหรับภารกิจ ต่างๆ.ในแต่ละวัน 3 การทําสมาธิเบ้อง น เลือกสถานที่ที่เงียบสงบ. ไม่มีใครรบกวน. เช่น.ห้องพระ.ห้องนอน.ห้องท�างานทีไ่ ม่มคี นพลุกพล่าน.หรือมุมสงบในบ้าน.นัง่ ขัด สมาธิ.เท้าขวาทับเท้าซ้าย.มือชนกันหรือมือขวาทับมือซ้ายตัง้ ตัวตรง.หรือจะนัง่ พับ เพียบก็ได้ตามแต่จะถนัด.ก�าหนดลมหายใจเข้าออก.โดยสังเกตลมทีม่ ากระทบปลาย จมูก.หรือริม ปากบน.ให้รวู้ า่ ขณะนัน้ หายใจเข้าหรือออก.หายใจเข้าท้องพอง.หายใจ ออกท้องยุบ . หายใจเข้านับ.1.หายใจออกนับ.1.นับไปเรื่อยๆ.จนถึง.5.เริ่มนับใหม่จาก. 1-6.แล้วพอ.กลับมานับใหม่จาก.1-7.แล้วพอ.กลับมานับใหม่จาก.1-8.แล้วพอ. กลับมานับใหม่จาก. 1-9. แล้วพอ. กลับมานับใหม่จาก. 1-10. แล้วพอ. ย้อนกลับ มาเริ่ม.1-5.ใหม่วนไปเรื่อยๆ. . ขอเพียงจิตใจจดจ่ออยู่กับลมหายใจเข้าออกเท่านั้น. อย่าคิดฟุ้งซ่านเรื่อง อื่น. เมื่อจิตใจแน่วแน่จะช่วยขจัดความเครียด. ความวิตกกังวล. ความเศร้าหมอง. เกิดปัญญาที่จะคิดแก้ไขปัญหาและเอาชนะอุปสรรคต่างๆ. ในชีวิตได้อย่างมีสติ. มีเหตุมีผล.และยังช่วยให้สุขภาพร่างกายดีขึ้นด้วย

170


การ เ ทคนิคความเงียบ.การจะสยบความวุน่ วายของจิตใจทีไ่ ด้ผล. คงต้องอาศัยความเงียบเข้าช่วย.โดยมีวิธีการดังนี้. . . . เลือกสถานที่ที่สงบเงียบ.มีความเปนส่วนตัว.และควรบอกผู้ใกล้ ชิดว่าอย่าเพิ่งรบกวนสัก.15.นาที . . . เลื อ กเวลาที่ เ หมาะสม. เช่ น . หลั ง ตื่ น นอน. เวลาพั ก กลางวั น. ก่อนเข้านอน. ล . . . นั่งหรือนอนในท่าที่สบาย.ถ้านั่งควรเลือกเก้าอี้ที่มีพนักพิงศีรษะ อย่าไขว่ห้างหรือกอดอก . . . หลับตา.เพื่อตัดสิ่งรบกวนจากภายนอก . . . หายใจเข้าออกช้าๆ.ลึกๆ . . . ท�าใจให้เปนสมาธิ.โดยท่องคาถาบทสั้นๆ.ซ�้าไปซ�้ามา.เช่น.พุทโธ. พุทโธ.หรือจะสวดมนต์บทยาวๆ.ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ.เช่น.สวด พระคาถาชินบัญชร.3-5.จบ.เปนต้น . . กครั้งละ.10-15.นาที.ทุกวัน.วันละ.2.ครั้ง.แรกๆ.ให้เอานา ิกามา วางตรงหน้า.และลืมตาดูเวลาเปนระยะๆ.เมือ่ กบ่อยเข้าจะกะเวลาได้อย่างแม่นย�า. ไม่ควรใช้นา ิกาปลุก. เพราะเสียงจากนา ิกาจะท�าให้ตกใจเสียสมาธิ. และรู้สึก หงุดหงิดแทนที่จะสงบ

การนวดตนเองเพื่อผอนคลายความเครยด . ดูรายละเอียดใน. ชุดความรู้การบริหารร่างกายและการนวดตนเอง. เรื่อง.การนวดตนเองเพื่อผ่อนกล้ามเนื้อบริเวณคอ.ศีรษะ.บ่า.

171


การดูแลสุขภาพวัยทองดวยตนเอง ส าพน พท น ท ง ร เท ท น สา าร สุข ารพ นา

ภาวะวัยทอง “วัยทอง วงวัย เลือด ะไป ลม ะมา” . .

เลือดจะไป..หมายถึง..เลือดประจ�าเดือนจะจากไปแล้ว ลมจะมา.. หมายถึง. วัยที่ความเจ็บปวยมักเกิดจากวาโย.(ลม).เปนเหตุ

การเปล่ยนแปลงทางรางกาย นสตรวัยทอง . วัยทอง.วัยของหญิงที่เข้าสู่วัยหมดประจ�าเดือน.แพทย์แผนไทยเรียกวัยนี้ ว่า. ช่วงปัจ มิ วัย .ซึง่ เปน.ช่วงเวลาทีล่ มเปนเจ้าเรือน.แทรกด้วยเหงือ่ .และเสมหะ. วัยทองจะเริ่มต้นเมื่ออายุ ได้. 40.ปขึ้นไป.ซึ่งยังคงมี ประจ�าเดือนมาสม�่าเสมอ. หรือ. ขาดหายไปบ้างแค่ ไม่เกิน.3.เดือน

172


3

ญง

าย วัยทอง

“ส รีวยั ทอง” คือ. วัยหมดประจ�าเดือน .หรือ. วัยหมดระดู .โดยเ ลีย่ สตรีไทยจะหมดประจ�าเดือนเมื่ออายุ.49.ป.สตรีวัยนี้จะได้รับการกล่าวขานว่าเปน. สตรีวัยทอง. เปนช่วงที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ. (ผู้ที่ตัดรังไข่ก็ สามารถเกิดวัยทองได้). อันเปนไปตามวงจรของชีวิตของแต่ละวัยอย่างเปนปกติ. นับตั้งแต่วัยทารก.วัยเด็ก.วัยรุ่น.วัยกลางคน.วัยทอง.วัยชรา “ ายวัยทอง” คือ.ผู้ชายอายุ.40.ปขึ้นไป.อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงของ ร่างกายจากการเสือ่ มหน้าทีข่ องอวัยวะต่างๆ.อันเนือ่ งมาจากอัณฑะ.(testis).มีการ สังเคราะห์กลุ่ม อร์โมนเพศชายที่เรียกว่า. แอนโตเจน. (androgens) . ลดลง. โดยเ พาะอย่างยิ่ง. อร์โมนที่มีชื่อว่า. เทสโทสเตอโรน.testosterone) .ส�าหรับ ผู้ชายวัยทองมักไม่ค่อยแสดงอาการให้เห็นชัดเจนเนื่องจาก อร์โมนเพศชายลดลง อย่างช้า.ๆ.ไม่รวดเร็วเหมือนอย่างผู้หญิง.แต่ในรายที่ อร์โมนเพศชายลดลงอย่าง รวดเร็วก็จะแสดงอาการคล้ายคลึงกับที่เกิดในผู้หญิงวัยทองทุกอย่าง

อาการของภาวะวัยทอง . อาการไม่ ส บายตั ว ของแต่ ล ะคนในช่ ว งอายุ วั ย ทอง. ซึ่ ง มี อ าการต่ า งกั น. เกิ ด จากลมในร่ า งกายที่ พั ด เข้าไปสูอ่ วัยวะใด.จะท�าให้เกิด อาการผิดปกติต่ออวัยวะนั้นๆ. ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ แต่ ล ะบุ ค คลซึ่ ง ไม่เหมือนกัน อาการของสตรีวัยทอง

173


33 อาการของส รีวัยทอง แบงออกเปน ระยะ.คือ . ระยะเริ่มแรก.ช่วงใกล้หมดประจ�าเดือน.หรือเพิ่งหมดประจ�าเดือนใหม่ๆ. และ.ระยะยาว.หลังหมดประจ�าเดือนไปแล้ว ระยะแรก.คือ.อาการทีเ่ กิดจาก อร์โมนเอสโตรเจนเริม่ ลดระดับ ลง.ซึ่งมีผลต่อระบบสืบพันธุ์. และอวัยวะอื่นๆ.เช่น.กระดูก.หัวใจและหลอดเลือด. สมอง. ระบบประสาทอัตโนมัติ. เต้านม. ระบบทางเดินปัสสาวะ. ผิวหนัง. เล็บและ เส้นผม.เมื่อ อร์โมนลดระดับลง.จึงท�าให้เกิดอาการต่างๆ . . การเกิดอาการต่าง.ๆ.เหล่านี้.ขึ้นอยู่กับเชื้อชาติ.สิ่งแวดล้อม.บางคน โชคดี. ไม่มีอาการเลย. แต่บางคนมีอาการเกือบครบทุกอย่าง. ระยะเวลาที่เกิด บางคนอาจเกิดก่อนหมดประจ�าเดือนจริงๆ. ถึง. 5-6. ป. แต่บางคนก็เกิดในช่วงที่ ใกล้หมดประจ�าเดือน ระยะยาว. เมื่อหมดประจ�าเดือนแล้ว. การขาด อร์โมนเอสโตรเจน.จะท�าให้มีผลดังนี้ 2.1 ผ อกระดูก.ในสตรีวยั เจริญพันธุ.์ เอสโตรเจน.เปนปัจจัย ส�าคัญอย่างหนึ่ง. ในการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง. เนื้อกระดูกจะมีการสร้าง มากกว่าถูกท�าลาย.แต่เมือ่ หมดประจ�าเดือนจะท�าให้มกี ารสลายเนือ้ กระดูกมากกว่า การสร้างทดแทน.การเปลี่ยนแปลงนี้จะเกิดอย่างรวดเร็วใน.5.ปแรก.ท�าให้กระดูก บางลง.ถ้าบางลงเรื่อยๆ.จนถึงจุดๆ.หนึ่ง.เรียกว่า.ภาวะกระดูกพรุน.ซึ่งท�าให้เสี่ยง ต่อการหักง่าย. ต�าแหน่งที่พบกระดูกหักได้ง่าย. คือ. กระดูกสันหลัง. สะโพก. และ ข้อมือ. 2.2 ผ อ ัว จแ ะ อดเ อด.เมื่อขาดเอสโตรเจน.จะท�า ให้โคลเลสเตอรอลชนิดที่มีสารไขโปรตีน. ความหนาแน่นสูง( igh. ensity. ipoprotein. ho estero - )ลดต�่าลง. .นี้จะช่วยป้องกันโรคหลอดเลือด หัวใจตีบตัน.จึงพบว่าสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่มี อร์โมนเอสโตรเจนอยู่. จะมีโอกาสเปน โรคหัวใจ. และหลอดเลือดน้อยกว่าผู้ชายมาก. แต่หลังจากหมดประจ�าเดือนแล้ว. 174


โอกาสทีจ่ ะเปนโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันจะเพิม่ ขึน้ อย่างมาก.ท�าให้อตั ราการตาย จากโรคใกล้เคียงกับเพศชาย. 3 ผ อสมอง. เปนที่ยอมรับในปัจจุบันแล้วว่า. สตรีวัยหมด ประจ�าเดือน.จะมีโอกาสเปนโรคสมองเสื่อม.และอัลไซเมอร์ได้สูงมาก

การดูแลตนเองของสตรวัยทอง

การปองกันแ ะดูแ รักษา นเองเม่อ ึงภาวะวัยทอง . เมือ่ ถึงวัยทีร่ า่ งกายเปลีย่ นแปลงในวัยทอง.จึงควรป้องกันบางสิง่ ทีป่ อ้ งกันได้ และยืดเวลาการเสื่อมออกไปให้นานที่สุด.ซึ่งเปนวิถีทางที่ควรปฏิบัติดังนี้ . . 1). การปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ เสียใหม่ให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลง ที่เกิดขึ้นในวัยทอง.จะท�าให้อาการต่างๆ.ดีขึ้น.หรืออาจจะหาย ไปได้ . . 2). กสมาธิและผ่อนคลายความเครียด. ลดความวิตกกังวลต่างๆ. ทัง้ ทางร่างกายและจิตใจท�าจิตใจให้เข้มแข็งเบิกบานเพือ่ อาการ ต่างๆ.ที่เกิดขึ้น.จะได้ไม่มีผลกระทบต่อการด�ารงชีวิตมากนัก. . . 3). การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอจะท�าให้อาการต่างขึ้นไม่มาก ก็น้อย . . 4). เลือกอาหารที่เหมาะสมตามวัย. รับประทานอาหารสดจาก ธรรมชาติ.หลีกเลีย่ งอาหารทีม่ ไี ขมันอิม่ ตัว.โดยไม่จา� เปนต้องกิน อาหารเสริม. . . 5). ออกก�าลังกายเปนประจ�าสม�่าเสมอ. เพื่อให้การไหลเวียนของ เลือดดีขึ้น . . 6). หมั่นออกกายบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานด้วยการขมิบก้น. นานครั้งละ.10.วินาที.ให้ได้วันละ.50-100.ครั้ง. . . 7). รับประทานโยเกิรต์ หรือนมเปรีย้ วทีม่ แี บคทีเรีย. แลคโตแบซิลสั เปนประจ�าจะช่วยให้ภายในช่องคลอดมีแบคทีเรียที่เปนมิตร. 175


33 .

.

8). ใช้เจลหล่อลื่นสูตรน�้าทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์. เพื่อช่วยการหล่อ ลื่น.ถ้ามีอาการมากควรปรึกษาแพทย์. การบริ ารรางกายสํา รับส รีวัยทอง การบริ ารก ามเน้ออุงเ ิงกราน รอก ามเน้อกระบัง ม ต�าแหน่งของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน

ท่อปัสสาวะ

กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ช่องคลอด

กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหรือกระบังลม.ท�าหน้าที่พยุงหรือรองรับอวัยวะต่างๆ.ที่อยู่ในช่องท้อง. และมีส่วนส�าคัญในการขับถ่ายปัสสาวะ.และอุจจาระ.ให้เปนไปได้ตามปกติ

การบร ารกลามเนืออุงเ งกราน รือกลามเนือกระบังลม .. หมายถึง. การขมิบก ามเน้อพ้นเ ิงกราน. ที่ปฏิบัติอย่างถูกวิธี. และ สม�่าเสมอ.จะเกิดประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติ.ดังนี้ . 1). เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน. ซึ่งจะช่วยป้องกันการ หย่อนตัวของมดลูก.กระเพาะปัสสาวะ.และทวารหนัก.อีกทั้งรวมถึง การป้องกันปัสสาวะเล็ดเวลาไอหรือจาม 176


.

2). มีผลต่อการมีเพศสัมพันธ์. โดยจะช่วยเพิ่มความรู้สึกที่ดีขึ้นทั้งหญิง และชาย . 3). ช่วยให้มารดาหลังคลอดบุตรฟนตัวได้เร็วขึ้น วิธีการบริ าร. การบริหารท�าได้ทั้งในท่านั่ง. ยืนและนอน. โดยที่เมื่อเริ่ม ท�าใหม่ๆ.ให้ใช้ท่านอน.เมื่อกล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้นค่อยเปลี่ยนไปท�าในท่านั่งหรือยืน. การขมิบท�าเช่นเดียวกับการที่เราพยายามกลั้นผายลม. หรือกลั้นปัสาวะ. ซึ่งท�าให้ เราได้ใช้กล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน . ในกรณีที่มีอาการปัสสาวะบ่อย.ปัสสาวะกระปริบกระปรอย.จ�าเปนต้อง บริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานเปนกิจวัตรประจ�าวันให้ได้.โดยท�า.2.ขั้นตอน.ดังนี้ ขั้น อนที่ ขมิบและคลายสลับกันอย่างรวดเร็วติดต่อกันนาน.1.นาที ขั้น อนที่ ..ขมิบค้างไว้แล้วนับ.1. .10.แล้วคลายออก.หลังจากคลาย ออกก็ให้นับ.1. .10.ท�าเช่นนี้สลับกันไปนาน.15.นาที.ในระยะแรกๆ.อาจเริ่มนับ จาก.1. .3.ก่อน.แล้วให้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ.(ขมิบแบบช้าๆ).ควรปฏิบัติทั้ง.2.ขั้นตอน อย่างต่อเนื่อง.โดยใน.2.วัน.ให้ท�าวันละ.3.ครั้ง.รวมครั้งละ.15.นาที.ระยะเวลาใน การขมิบ. การขมิบกล้ามเนื้อพื้นเชิงกรานนั้นต้องใช้ต้องใช้ระยะเวลาและความ สม�า่ เสมอ.เพราะ ะนัน้ ผูป้ ฏิบตั ติ อ้ งมีความตัง้ ใจจริง.โดยทัว่ ไปมักจะเห็นผลภายใน ระยะเวลา.3.เดือน.ขึ้นไป.แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้น.ควรปรึกษาแพทย์ การก อม โกยทองดวย นเอง วั ุประสงค . 1) เพื่อช่วยป้องกันและแก้ปัญหาปัสสาวะบ่อย.ปัสสาวะเล็ดเวลา ไอ.จาม.หรือกลั้นปัสสาวะไม่อยู่. . 2). เพือ่ ช่วยให้การขับถ่ายปัสสาวะ.อุจจาระคล่องเปนปกติ.ป้องกัน อาการท้องผูก . 3). เพื่อช่วยให้มดลูกกระชับไม่หย่อนคล้อย.ยกมดลูก. 177


33 การป ิบั ิ 3 ขั้น อน 1). การส�ารวจท้อง 2). การกล่อมท้อง 3). การโกยท้อง คําแนะนํา นการป ิบั ิ 1). ห้ามท�าในกรณีทมี่ ปี ญ ั หาในช่องท้อง.เช่น.หลังคลอด.หลังผ่าตัด ในช่องท้อง.เปนแผลในกระเพาะ.ล�าไส้.เปนต้น 2). ควรท�าตอนท้องว่างหรือตื่นนอนตอนเช้า 3). ควรได้รับการแนะน�าจากผู้เชี่ยวชาญ

. . . . . .

การสํารว ทอง . ก่อนโกยท้องต้องตรวจประเมินภายในช่องท้องว่า. ในท้องมีก้อนแข็ง หรือดาลลม. หรือไม่. หากพบความผิดปกติมีก้อนแข็ง. หรือกดเจ็บไม่ควรโกยท้อง. ควรไปพบแพทย์ ทาเ รียม นอนหงาย.ขาราบพื้น.แยกขาเล็กน้อย วิธีทํา . ใช้ ามือทั้งสองวางบนหน้าท้อง. แล้วกดลงตรงๆ. แล้วค่อยๆ. ยกมือขึ้น. กดส�ารวจให้ทั่วท้อง.รอบๆ.สะดือ.วนตามเข็มนา ิกา

178


การกลอมทอง . เพื่อให้ท้องนิ่ม.สบายท้อง.ก่อนการโกยท้อง ทาเ รียม นอนหงาย.ชันเข่าขึ้น.แยกขาเล็กน้อย วิธีทํา ใช้ส้นมือ.และสันมือ.ดันท้องจากทางซ้าย.ด้านขวา.ด้านล่าง.และ.ด้านบน. ดันท้องเข้าหาสะดือ. ท�าจนกว่าท้องนิ่ม. หรือสบายท้อง. ถ้าพบว่ามีก้อนแข็ง. ก้อนลม. ให้ขยับเคลื่อนไหวไปมา. หรือประคบร้อน. คลายให้ท้องนิ่มก่อน. หากมี ก้อนแข็ง.หรือกดเจ็บ.ไม่ควรโกยท้อง.ควรไปพบแพทย์

นอนหงาย.ชันเข่าขึ้น.แยกเข่าเล็ก น้อยใช้ส้นมือขวาดันท้องด้านขวา เข้าหาสะดือ

ใช้ส้นมือซ้ายดันท้องจาก. ด้านบนข้างซ้ายดันเข้าหา

ใช้สันมือขวาด้านนิ้วโป้ง.ดันท้องจากด้านบน.. เข้าหาสะดือ

ใช้ส้นมือซ้ายดันท้อง ....ใช้สันมือซ้ายด้านนิ้วก้อย.. ด้านซ้าย.ดันเข้าหาสะดือ ดันท้องจากด้านล่าง ดันเข้าหาสะดือ.

179


33 3 การ กยทอง ทาเ รียม นอนหงายศีรษะต�่า. ชันเข่าขึ้น. ยกก้นสูงประมาณ. 1. ามือ. หรือ.5-6.นิ้ว.หรือหนุนด้วยหมอนข้าง.แยกเข่าเล็กน้อย. วิธีทําการโกยทอง .. โกยท้องทั้งทางด้านซ้าย.ด้านขวา.ด้านบน.และด้านล่าง.โกยเข้าหาสะดือ. . จุดที่วางมือห่างจากกระดูกเชิงกราน.2.นิ้วมือ.

วิธีการวัดจุด างจากกระดูกเ ิงกราน นิ้วมอ การโกยทองดาน าย ขวา ใช้ปลายนิ้วก้อย.นิ้วนาง.นิ้วกลาง.ด้านซ้าย/ ขวา.ลงน�า้ หนัก.มืออีกข้างซ้อน.ประคอง.เริม่ วางมือและค่อยลงน�า้ หนักกดลงตรงๆ. จนรูส้ กึ ตึงแล้วจึงโกยเข้าหาสะดือ.เมือ่ รูส้ กึ ตึงแล้วค่อยๆ.คลาย.ท�าช้าๆ.อย่ารีบร้อน. ท�าเช่นเดียวกันทั้งด้าน ขอสังเก บริเวณที่กด งจะเปน องวาง นทอง ขณะที่กด มรูสึกเจบ

การโกยท้องด้านซ้าย.วางมือแล้วกดลงตรงๆ.ก่อน.แล้วจึงโกยท้องเข้าหาสะดือ

180


การโกยท้องด้านขวา.ท�าเช่นเดียวกับด้านซ้าย

การโกยท้องช่วงกลางท้อง..

. วางมือบริเวณเหนือหัวเหน่า.2.นิ้วมือ.(หรือใต้สะดือ.4.นิ้วมือ.จุดสิกขิณี). ใช้ปลายนิ้วก้อย.นิ้วนาง.นิ้วกลาง.ลงน�้าหนัก.มืออีกข้างซ้อน.กดลงตรงๆ.จนรู้สึก ตึง.แล้วโกยเข้าหาสะดือ.ต่อมาให้โกยท้องลงเข้าหาสะดือ.เพื่อลดอาการจุกเสียด. โกยท้อง.3-5.รอบ.หรือจนกว่าสบายท้อง 3 การบริ ารรางกาย ทาบริ ารขอสะโพก ขอเทา ขอเขา ยกมด กู ท�าหลัง จากโกยท้องนอนอยู่ในท่าเดิม ประโย น ช่วยป้องกันการเสื่อมของข้อต่าง.ๆ. . . ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ/เส้นเอ็นแนวเส้นขาด้านใน . . ช่วยลดไขมันหน้าท้อง . . ช่วยยกกระชับมดลูก 181


33 ทาบร าร ทาที่

นั่งราบกับพื้น. ขาเหยียดตรงไปข้างหน้ายกขาขึ้นทั้ง. 2. ข้าง. แยกขาออกเล็กน้อย. กระดกปลายเท้าขึ้น-ลง. และหมุนข้อเท้า. วน.เข้า-ออก ทาที่ .. งอเข่าทั้งสองข้าง.ท�าท่าปันจักรยาน.ในอากาศ.นับ.1-10.จาก นั้นกางขาออกให้มากที่สุด.แล้วหุบขาชิดกัน.นับ.1-10.ช่วยให้ กล้ามเนื้อ.เส้นเอ็น.แนวขาด้านในผ่อนคลาย ทาที่ 3. ท่าเหยียดล�าตัว.อยู่ในท่าคุกเข่า.แขนท้าวกับพื้น.ท�าท่าเหมือน ก�าลังคลานสี่ขา. หายใจเข้าลึกๆ. เหยียดแขนและล�าตัวให้ตึง พร้อมหายใจออก

ทาบร ารขอสะ พก ขอเทา ขอเขา ยกมดลูก .1.. นอนราบกับพื้นยกก้นสูง.ยกขา ขึ้นทั้ง..2.ข้าง.แยกขาออกเล็ก น้อย.กระดกปลายเท้าขึ้น-ลง. และหมุนข้อเท้าวน.เข้า-ออก. .2...งอเข่าทั้งสองข้าง.ท�าท่าปัน จักรยาน...ในอากาศ.นับ.1-10. จากนั้นกางขาออกให้มากที่สุด. แล้วหุบขาชิดกัน.นับ.1-10. ช่วยให้กล้ามเนื้อ.เส้นเอ็น. แนวขาด้านในผ่อนคลาย 182


.3...ท่าเหยียดล�าตัว.อยู่ในท่า คุกเข่า.แขนท้าวกับพื้น. ท�าท่าเหมือนก�าลังคลาน สี่ขา.หายใจเข้าลึกๆ.. เหยียดแขนและล�าตัว ให้ตึงพร้อมหายใจออก. ต่อด้วยท่าผีเสื้อขยับปก การบร ารทาผเสือขยับปก . ท่านี้ใช้ได้ผลทั้งหญิงและชาย . ผลดี.เพือ่ ให้เลือดไหลเวียนมาหล่อเลีย้ งอวัยวะภายในช่องท้องอุง้ เชิงกราน. และแผ่นหลังมากเปนพิเศษ. เนื่องจากการยืดเหยียดอย่างเต็มที่ของกล้ามเนื้อ ต้นขา. แผ่นหลัง. และการบีบกระชับหน้าท้อง. ท�าให้เกิดผลดีต่ออวัยวะ. เช่น. ไต. กระเพาะปัสสาวะ.มดลูก.หรือต่อมลูกหมาก. . ส�าหรับสตรีจึงช่วยแก้ปัญหาการปวดประจ�าเดือน. ภาวะประจ�าเดือนไม่ ปกติ.และภาวะหมดประจ�าเดือน... ส�าหรับสุภาพบุรษุ ช่วยบรรเทาอาการปวดถ่วงในลูกอัณฑะ. ป้องกันไส้เลือ่ น และยังช่วยแก้อาการปวดหลัง.และปวดขัดสะโพกได้ด้วย. ทาผีเส้อขยับปก

1.. นั่งราบกับพื้น. ขาเหยียดตรง ไปข้างหน้า

183


33 2.. งอเข่าทั้งสองข้าง.พับขาเข้ามาให้ าเท้า ประกบกัน.ใช้มือทั้งสองข้างจับที่นิ้วเท้า และใช้มือดันให้ส้นเท้าชิดเข้าหาล�าตัว บริเวณ เย็บ.โดยให้ด้านนอกของเท้าวาง ราบกับพื้น 3.. ขยับท่อนขาที่พับอยู่ขึ้นและลงเปน จังหวะสม�่าเสมอประมาณ.10.รอบ. (ลักษณะการบริหารนี้ดูคล้ายกับผีเสื้อ ก�าลังโบยบิน) 4.. ลดท่อนขาลง.ประสานนิ้วมือคล้องกับ ปลายเท้า.ยืดหลังให้ตรงและออกแรงดัน ให้ขาแนบติดกับพื้นหรือใกล้พื้นมากที่สุด เท่าที่จะท�าได้.หายใจเข้าออก.5.รอบ

5.. หายใจออกพร้อมกับหลังตรงโน้มตัวไป ข้างหน้าให้มากที่สุดเท่าที่จะท�าได้.. หายใจเข้าออกสม�่าเสมอ.

184


การดูแลสุขภาพผูสูงอายุ

ความ มายผูสูงอายุ . พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ. พ.ศ..2546.มาตรา.3.(เปนก หมายประกอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. พ.ศ.. 2540. มาตรา. 54. และมาตรา. 80. วรรคสอง).ให้นิยามว่า . ผู ้ สู ง อายุ . หมายถึ ง . บุ ค คลซึ่ ง มี อ ายุ เ กิ น หกสิ บ ปบริ บู ร ณ์ ขึ้ น ไปและมี สัญชาติไทย. . มติสมัชชาโลกผู้สูงอายุ. พ.ศ.. 2525. ที่นครเวียนนา. ให้ค�าจ�ากัดความ. ผู้สูงอายุ.หมายถึง.ชายและหญิงที่มีอายุ.60.ปขึ้นไป

สุขภาพของผูสูงอายุ ความเปลีย่ นแปลงของร่างกายเมือ่ เข้าสูว่ ยั สูงอายุ.ความเปลีย่ นแปลงของ ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอและค่อยๆ.เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา.มิใช่ ว่าพออายุครบ.60.ปแล้วจึงจะเปลี่ยนแปลง.กล่าวคือมีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่เกิด จนตาย. จะมีแตกต่างกันไปอยู่ที่ความเร็วหรือช้าของการเปลี่ยนแปลงในแต่ละ บุคคลซึ่งไม่เหมือนกัน

185


33 ความเปล่ยนแปลงทางกายภาพ . . 1).. ผิวหนัง. คนสูงอายุจะมีผิวหนังแห้ง. เหี่ยวย่นและตกกระเปน แห่งๆ. จากการเสื่อมของต่อมไขมัน. และจ�านวนเนื้อเยื่อคอลลาเจน. (co agen). ลดจ�านวนลง. ชั้นต่างๆ. ของผิวหนังจะบางลง. ท�าให้เกิดบาดแผลง่ายเวลาที่ได้รับ การขูดข่วนหรือถูไถเพียงเล็กน้อย.หรือกดทับนานๆ.ไขมันใต้ผิวหนังจะลดจ�านวน ลง.ผิวหนังบางส่วน.เช่น.คอและแขนจะมีการเสือ่ มสลาย.(atrophy).ท�าให้เกิดเปน วงสีมว่ งได้เปนหย่อมๆ.ต่อมเหงือ่ จะลดการท�างานหลัง่ เหงือ่ น้อยลง.มีผลท�าให้การ ระบายความร้อนของร่างกายในคนสูงอายุลดลง.ผิวหนังของคนแก่มากๆ.อาจเกิด เปนเนื้องอกได้ทั้งชนิดเนื้องอกธรรมดาและรุนแรงถึงเปนมะเร็งผิวหนังได้. เล็บมี การเจริญเติบโตลดลงร้อยละ.50.และบางแตกเปราะง่าย . . 2). กล้ามเนื้อชนิดลาย.(striated.musc e).จะลดจ�านวนลงและมี เซลล์ ไขมั น เข้ า ไปแทรกในเซลล์ ก ล้ า มเนื้ อ มากขึ้ น . ท� า ให้ ค วามแข็ ง แรงของ กล้ามเนื้อลดลง.จ�านวนเซลล์กล้ามเนื้อจะลดลงครึ่งหนึ่งในคนอายุ.80.ป . . 3).. กระดูก.จะเปราะบางจากการสูญเสียของแคลเซียม.ซึ่งเปนผล จากการกินอาหารที่มีส่วนประกอบแคลเซียมน้อยลง.หรือการดูดซึมน้อยลง.หรือ ภาวะ.deminera isation.ของกระดูกซึ่งเกิดจาก อร์โมนเอสโตรเจน.ซึ่งหลั่งออก มาน้อยลง. เปนผลท�าให้กระดูกบางลง. (osteoporosis). มีโอกาสแตกหักได้ง่าย จากภยันตรายเล็กๆ. น้อยๆ. เช่น. หกล้ม. เปนต้น. ฟันจะผุและหลุดไปตามสภาวะ ของแต่ละบุคคล . . 4). หลอดเลือด. โดยทั่วไปผนังหลอดเลือดแดงจะแข็งตัวและหนา ขึน้ .ท�าให้รหู ลอดเลือดแดงแคบลง(arteriosc erosis).ท�าให้การไหลเวียนไม่ด.ี ส่วน หลอดเลือดด�าจะมีผนังบางขึ้น. เมื่อการไหลเวียนเลือดไม่ดี. โดยเ พาะบริเวณขา. มักจะเกิดมีหลอดเลือดด�าโปงพองกลายเปนหลอดเลือดขอด

186


ความเปล่ยนแปลงทางสรรวทยา อวัยวะรับความรูสึก าง มีสมรร ภาพ ํ่า ง อวัยวะรับรส ก ิ่น. มีความสามารถในการรับรู้รสและกลิ่น น้อยลง า.มีความเปลีย่ นแปลงในการปรับตาต่อความมืดและสว่าง น้อย. เลนส์ปรับตัวได้น้อยท�าให้เพ่งมองสิ่งของใกล้ไม่เห็น สายตาจะยาวออก. เลนส์ที่แก่มากๆ. จะมีการเปลี่ยนแปลง กลายไปเปนต้อกระจก ู. ความสามารถได้ยินเสียงลดลง. ผู้ชายจะเสียการได้ยิน มากกว่าผู้หญิง.บางครั้งจะมีเสียงอื้อในหู.การเสียการได้ยิน มากหรือน้อยเปนผลจากการที่หูต้องอยู่กับเสียงดังเกินกว่า เหตุมาเมื่ออายุยังน้อยอยู่.ดังนั้นผู้ที่อยู่กับเสียงดังมากๆ.มา ก่อนมักจะมีอาการหูตึงเมื่ออายุมากขึ้น สมอง.เซลล์สมองตายไปจะลดจ�านวนเซลล์สมองลง.ท�าให้ ขนาดสมองเล็ ก ลง. สารเคมี ห ลั่ ง จากปลายประสาท. (neurotransmitter).ลดลง.การรับความรู้สึก.(receptor). ลดลง.ใยประสาทน�าส่ง.(ner e.conductor).ลดลง.จ�านวน เลือดไปเลี้ยงสมองลดลง. การใช้ออกซิเจนของสมองลดลง. หลอดเลือดของสมองตีบและแข็ง. ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ. เหล่านี้. มีผลท�าให้มีการเปลี่ยนแปลงในระบบประสาทและ สมอง.กล่าวคือ.คนแก่จะมีความจ�าเสื่อมลง.หลงลืม.ความ นึกคิดต่างๆ.เสียไป.อารมณ์แปรปรวน.บางรายมีความสับสน. ซึมเศร้า.ความรู้สึกต่างๆ.ช้าลง

187


33 ระบบการ เวียน ัว จ.เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจจะมีเนื้อพังผืด.(interstitia . fi rosis). และมีไขมันสะสมมากขึ้น. ท�าให้การยืดหยุ่นของ กล้ามเนื้อหัวใจลดลง. . ิ้ น ั ว จ. แข็ ง . ตี บ . ปิ ด ไม่ ส นิ ท . บางที มี ก ารเกาะติ ด ของแคลเซียมท�าให้ลิ้นหัวใจท�างานเลวลง. หลอดเลือด ของหัวใจตีบเล็กลง. จากภาวะผนังหลอดเลือดแข็งและ หนาขึ้น. (arteriosc erosis). ท�าให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ หัวใจน้อยลง . . ความเปลีย่ นแปลง.เหล่านีม้ ผี ลท�าให้หวั ใจเต้นช้าลง. และอัตราการเต้นประมาณ.50-60.ครั้งต่อนาที.บางรายจะ มีอาการของการเต้นไม่สม�่าเสมอ.(arrhythmia). . ความดันเ อด.การทีห่ ลอดเลือดแดงมีผนังหนาตีบตัน.ท�าให้ เลือดไหลผ่านล�าบาก.โดยเ พาะในส่วนปลายๆ.จะท�าให้เกิด ภาวะแรงดันเลือดซิสโตลิกสูงขึ้น 3 ระบบทางเดิน ม าย จ . ในคนสู ง อายุ พ บว่ า . เนื้ อ ปอดและหลอดลมต่ า งๆ. จะมีลักษณะแข็งจากการมีเนื้อเยื่อพังผืด. (fi rosis). เกิดขึ้น. ท�าให้การยืดหดของปอดเสียไป. กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ หย่อนสมรรถภาพลง.ท�าให้ทรวงอกขยายตัวได้นอ้ ย.มีผลท�าให้ ถุงลมมีอาการโปงพองได้ง่าย . ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ. เหล่านี้ท�าให้สมรรถภาพใน การหายใจ. และแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง. บางคนมีการ อักเสบของหลอดลมร่วมด้วยจะท�าให้มีอาการไอหรือมีอาการ หอบหืด

.

.. .

.

.

188


. .

.

.

.

ระบบทางเดินอา าร . มีการเสื่อมลงของเยื่อบุทางเดินอาหาร. และการหลั่ง น�า้ ย่อยต่างๆ.ลดลง.ท�าให้การย่อยและดูดซึมอาหารไม่ได้ด.ี เปน ผลท�าให้มีอาการขาดสารอาหารได้ในคนอายุมาก . ตับของคนสูงอายุ.จะมีขนาดและน�้าหนักลดลง.เพราะ มีการเก็บไกลโคเจนและวิตามินลดลงระบบการท�างานเอนไซม์ ลดลง.มีผลท�าให้ตบั มีสมรรถภาพในการท�าลายพิษต่างๆ.ทีเ่ ข้า สู่ร่างกายได้น้อยลง ระบบทางเดินปสสาวะ . ไต.จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพอายุ. โดยทั่วไป พบว่า. เมื่ออายุหลัง. 30. ป. เลือดไปเลี้ยงไตจะลดปริมาณลง ประมาณร้อยละ.1.5.ต่อปท�าให้การท�างานของไตลดลง.เมื่อ อายุ. 65. ป. การท�างานของไตจะมีหน้าที่เหลือเพียงร้อยละ. 40-50. เท่านั้น. (เมื่อเทียบกับคนอายุ. 25. ป). ดังนั้น. ความ สามารถที่จะก�าจัดของเสียจะลดลง. . บางรายต่อมลูกหมากในกระเพาะปัสสาวะชายจะมี ขนาดโตขึน้ .ท�าให้มกี ารขัดขวางทางเดินปัสสาวะ.ท�าให้ปสั สาวะ ล�าบากหูรูดกระเพาะปัสสาวะท�างานได้ไม่ดี. ท�าให้ไม่สามารถ กลั้นปัสสาวะได้ดีเหมือนหนุ่มสาว ระบบ อม รทอ . ซึ่งหลั่ง อร์โมนจะมีการลดลงของ อร์โมนต่างๆ.มีผล ท�าให้กล้ามเนื้อลีบ. กระดูกผุ. เปราะ. อ่อนเพลีย. ซึมเศร้า. ชีพจรช้า.พบว่าอาการเบาหวานมากขึ้นในผู้สูงอายุ

189


33 . .. .. .. ..

. . . . .

3 ความเปล่ยนแปลงทาง ต ความเปลี่ยนแปลงของจิตใจเกิดได้จากสาเหตุ.4.กลุ่มใหญ่.คือ 2.3.1.. เกิดขึ้นจากการที่สมองของคนเสื่อมไปตามวัย.. . .. 2.3.2.. เกิดขึ้นจากการที่จิตอารมณ์ผิดปกติไป.. 2.3.3. เกิดจากสังคมเปลี่ยนแปลงไป. 2.3.4.. เกิดจากการเกษียณอายุการงาน

3 สุขภาพของผูสูงอายุตามท

การแพทยแผนไทย

บุคคลซึ่งเกิดมาในโลกนี้.ย่อมมี.ชรา.พยาธิ.มรณะ.เปนธรรมดา.ความชรา แลมรณะนั้นเปนของประจ�าตัวสัตว์โลก. ถึงผู้มีวิชาความรู้วิเศษประเสริฐเพียงไร ก็ไม่สามารถจะป้องกันได้. ส่วนพยาธิคือความเจ็บไข้. นั้นมีเครื่องป้องกันอยู่. ถ้ายัง ไม่ถงึ อุปจั เ ทะกะกรรม.คือกรรมซึง่ ตัดชีวติ นิ ทรียเ์ ปนแท้แล้ว.ก็อาจเยียวยาให้หาย เปนปรกติได้. สิ่งที่เปนเครื่องเยียวยารักษาโรคให้หายได้นั้นคือ. ยา . นักปราชญ์ ผู้ช�านาญในวิชาแพทย์ได้เรียบเรียงร้อยกรองอาการโรคแลสรรพคุณยาที่แก้ไข ให้หายได้นั้น.ขึ้นไว้เปนพระคัมภีร์.มีอยู่แทบทุกประเทศ.ตามส่วนที่ได้เคยทดลอง เห็นคุณประโยชน์มาแล้ว. ในประเทศของตนนั้น. แต่พึงเข้าใจว่า. มีโรคบางอย่าง ที่ใช้ยาประเทศอื่นไม่เหมาะดีเท่ายาในประเทศนั้นเอง. เหตุด้วยดินฟ้าอากาศ ต่างกัน.เพราะ ะนั้นภูมิประเทศจึงเปนข้อส�าคัญใน.การรักษาไข้เจ็บอย่างหนึ่ง..... (จากแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์) การเปลี่ยนแปลงสภาวะร่างกายเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ในพยัญชนะไทย.ก.ไก่. . .นก ูก.ฒ.ผู้เฒ่า.มีลีลาในการเขียนสวยงาม ตัวหนึ่ง. กว่าจะมาถึง. ฒ.ผู้เฒ่า. ชีวิตได้ผ่านร้อนผ่านหนาวมาแล้วหลายฤดูกาล. มีประสบการณ์สะสม.มาเล่าสู่ลูก.หลานฟัง.เช่นในถิ่นล้านนา.ผู้เฒ่าผู้แก่มีค�ากล่าว เตือนสติลูกหลานถึงสังขารของชีวิตไว้.ดังนี้ . อายุ.10.ป.. อาบน�้า.บ่.หนาว.(ไม่สะทกสะท้าน.ไม่รู้ร้อน.ไม่รู้หนาว) . อายุ.20.ป.. แอ่วสาว.บ่ก้าย.(ไปจีบสาว.ไม่เบื่อ) 190


. . . . . . . .

อายุ.30.ป.. บ่หน่ายสงสาร.(สังขาร).(ไม่เบื่อหน่าย.ตัวเอง.ลืมแก่) อายุ.40.ป.. เยียกาน.เหมือนฟ้าผ่า.(ท�างานมีแรงเหมือนฟ้า า) อายุ.50.ป.. สาวด่า.บ่.เจ็บใจ.(สาวต่อว่า.ไม่เจ็บใจ.ไม่ถือสา) อายุ.60.ป.. ไอเหมือนฟานโขก.(ไอเหมือน.สัตว์ปาชนิดหนึ่งชื่อ.ฟาน) อายุ.70.ป.. บะโหกเต็มตัว.(มีโรคเต็มตัว) อายุ.80.ป.. ไคร้หัวเหมือนไห้.(หัวเราะเหมือนร้องไห้) อายุ.90.ป.. ไข้ก็ตาย. บ่ไข้ก็ตาย. จะเอ่าอะไรไปบ่ได้สักอย่าง. (เปนไข้ . . ก็ตาย.ไม่เปนไข้ก็ตาย.จะเอาอะไรไปไม่ได้สักอย่าง) เปนค�ากล่าวที่สอนให้คนเรารู้ว่า.วัยต่างๆ.นั้นมีคุณค่าอยู่ในตัวตนของผู้ที่ ใช้ชีวิตอย่างมีสติ.และไม่ประมาทในชีวิต มนุษย์เมื่อปฏิสนธิในครรภ์มารดาได้รับการทนุถนอมด้วยความรักและ ความอบอุ่นจนกระทั่งคลอดนั้น.ในทางการแพทย์ไทยเรียกการเกิดว่า.ชาติ. บอก ถึงการก�าเนิดมาในโลก. แล้วต่อมาก็มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเกิดขึ้นเรียกว่า. จะละนะ.จนถึงกาลเปลีย่ นแปลงสุดท้ายเรียกว่า.ภินนะ.นัน่ คือการแตกดับสลายไป ในที่สุด.ก่อนที่.พระพุทธเจ้าจะทรงออกบวชนั้น.ได้พบคนเกิด.คนเจ็บ.คนแก่.และ คนตาย.ท�าให้พระองค์ทรงคิดทีจ่ ะช่วยมนุษย์ให้หลุดพ้น.จากวัฏฏะสงสาร.ด้วยการ ให้.มนุษย์ได้อยู่ในโลกอย่างมีสติ.ให้ยึดถือไตรสรณะ.คือให้มีศีล.สมาธิ.ปัญญา.ยึด มั่นในความดี.ละเว้นความชั่ว.ท�าจิตใจแจ่มใสเบิกบานอยู่เสมอ. กกายใจให้อยู่กับ ปัจจุบันคนเราจะมีความสุขตลอดชีวิต อายุของมนุษย์จ�าแนกตามการแพทย์ไทยมี.3.ช่วง.ดังนี้ ช่วงที่.1.. ปฐมวัย.หมายถึงวัยเด็ก.นับตั้งแต่คลอดออกจากครรภ์มารดา . . . ได้.1.วันไปจนถึงอายุ.16.ป ช่วงที่.2.. มัช ิมวัย.หมายถึง.ผู้ที่มีอายุ.16.ปขึ้นไปจนถึง.32.ป ช่วงที่.3.. ปัจ ิมวัย. 2. ช่วง. หมายถึง. ผู้ที่มีอายุ. 32. ป. จนถึง. 64. ป. . . . พ้นอายุ.64.ป.จนถึงสิ้นอายุขัย 191


33 สมู านโรคของปจ ิมวัย . อายุ. 32.ป.ขึ้นไป.ถึง.64.ป.สมุ ฐานวาโย.เมื่ออายุพ้น.64.ป.ไปแล้ว. สมุ ฐานวาโยเปนเจ้าเรือน.อาโปธาตุแทรกพิกัดเสมหะและเหงื่อ ปจจัย าง ที่ทํา เกิดการเป ี่ยนแป งแ ะเกิดโรค าม ักการ แพทยแผน ทย . (พระคัมภีร์สมุฏฐาน.วินิจ ัย).มี.6.ประการ.ดังนี้ . 1.. ความไม่สมดุลของธาตุ.4.(ธาตุสมุฏฐาน) . 2.. การเปลี่ยนแปลงของฤดู.(อุตุสมุฏฐาน) . 3.. การเปลี่ยนแปลงของช่วงอายุ.(อายุสมุฏฐาน) . 4.. การเปลี่ยนแปลงของเวลา.(กาลสมุฏฐาน) . 5.. ที่อยู่อาศัย.(ประเทศสมุฏฐาน) . 6...พฤติกรรมมูลเหตุของการเกิดโรค การนวดไทยเพื่อการสรางเสรมสุขภาพผูสูงอายุ . การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีชีวิตเปนปกติสุข. สมบูรณ์แข็งแรง. ไม่เปนภาระของลูกหลานเปนเรือ่ งส�าคัญ.จึงมีความจ�าเปนมากทีต่ อ้ งร่วมกันรณรงค์ ให้มีการส่งเสริมกิจกรรมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้มีร่างกายสดชื่น.แข็งแรง.ป้องกัน โรคภัยไข้เจ็บที่จะเกิดขึ้นตามวัย. . การนวดและการบริหารร่างกายเปนแนวทางที่ใช้สร้างเสริมสุขภาพผู้สูง อายุได้อย่างดียิ่ง. ในที่นี้จึงขอน�าเสนอชุดความรู้การบริหารร่างกายและการนวด ตนเอง.ดังนี้ . 4.1..การบริหารร่างกายพื้นฐาน . 4.2..การนวดถนอมสายตา. . 4.3..การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายส่วนคอ.ศีรษะ. . 4.4..การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายส่วนมือ.แขน.ไหล่ . 4.5..การนวดตนเองป้องกันอาการไหล่ติด . 4.6..การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายส่วนหลัง 192


. . . . .

4.7.. การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายส่วนขา.เข่า.ข้อเท้า 4.8.. การนวดตนเองป้องกันอาการหลงลืม. 4.9.. การนวดตนเองป้องกันอาการนอนไม่หลับ. 4.10. การนวดตนเองป้องกันอาการท้องผูก 4.11. การนวดตนเองป้องกันอาการจุกเสียด

ุดความรูการบร ารรางกายและการนวดตนเอง การบริ ารรางกายพ้น าน

ทาบริ ารคอ.ท่าเตรียม.(ยืนเท้าเอว.แยกขา)

1.1. ก้มศีรษะ.-.หน้าตรง.-.เงยศีรษะ. . ท�า.8.ครั้ง.

1.2. เอียงศีรษะ.ซ้าย.-.ตรง.-.ขวา. . ท�า.8.ครั้ง

ทาบริ ารแขน.ท่าเตรียมเหยียดแขนตรงไปข้างหน้า 2.1. หงาย ามือ. .ก�า. .แบ.ท�า.8.ครั้ง..........2.2. ก�ามือ.กระดกข้อมือ.ขึ้น-ลง. . ท�า.8.ครั้ง............................

2.3. ก�ามือชกไปข้างหน้า.แขนซ้าย.-. 2.4. ก�ามือชกขึ้นฟ้า..แขนซ้าย.-.. . แขนขวา.สลับกัน..ท�า.8.ครั้ง............................ . แขนขวา.สลับกัน..ท�า.8.ครั้ง............................

193


33 3) ทากัง ัน ม บริ ารขอมอ.ท่าเตรียม.กางแขนออกไปข้างล�าตัวทั้ง.2.ข้าง.แล้วหมุนข้อมือ. หมุนไปข้างหน้า.ท�า.8.ครั้ง.หมุนไปข้างหลัง.นับ.1-8.ครั้ง

ทาโบก ม บริหารข้อ ไหล่..ท่าเตรียม..ยืนตรง กางแขนยืดมือออกไป ด้านหน้า.ยกแขนขึ้นลง ด้านหน้า..ท�า.8.ครั้ง

ทากระพอปก บริ าร ขอ .ท่าเตรียม.ยืน ตรงแขนแนบล�าตัว..กาง แขนไปด้านข้างล�าตัว.ยก แขนขึ้นลงทางด้านข้าง ล�าตัว..ท�า.8.ครั้ง

6) ทาบริ ารเอว ท่าเตรียม.ยืนกางขาเล็กน้อย.เท้าเอว

6.1.ก้มไปข้างหน้า.-. . ท่าตรง.-.แอ่นตัวไป . ข้างหลัง.ท�า.8.ครั้ง..

6.2.เอนตัวไปด้านข้าง. 6.3.บิดเอว..ซ้าย-ขวา. . ทางซ้าย.-.ท่าตรง.-.เอน . สลับกัน ไปทางขวา.ท�า.8.ครั้ง

7) ทาบริ ารเขา. นั่งเก้าอี้. ท่าเตรียม. ยกมือทั้ง.2.ข้าง.ค่อยๆ.ย่อเข่าลงนั่ง หลังตรง. .ยืนตรง.ขึ้นลง.ท�า.8.ครั้ง

194

ทาบริ ารเทา.ยกมือเท้าเอว. . เขย่งเท้า.ขึ้น.-.ลง.ท�า.8.ครั้ง


ทาบริ ารขา.ก้าวเท้า.ซ้ายขึ้น.ขวาขึ้น.ซ้ายลง.ขวาลง

.9..เตรียม....

. .

1

.2..

.3..

.4

ทาคายพิษ ขยายปอด.ยกแขน.(หุบแขน).ก�ามือขึ้นไว้ที่หน้าอก.หายใจเข้าทางจมูก. กางศอกให้ ากพร้อมกับหายใจออกทางปาก.ท�า.8.ครั้ง 10.1. ก�ามือพับข้อศอกขึ้น.(หุบแขน).ไว้ที่หน้าอกหายใจเข้าทางจมูก. 10.2. กางศอกออกพร้อมหายใจออกทางปาก ดํารงกาย อายุยน.ยืนแยกขา.ก�ามือซ้อนกันแล้วแยกเข่าย่อตัวขึ้นลง.ท�า.8.ครั้ง

10.1. ก�ามือพับข้อศอกขึ้น 10.2. กางศอกออกพร้ อ ม . (หุบแขน) . หายใจออก.ทางปาก . .

11..ด�ารงกายให้อายุยืน

การนวด นา นอมสาย า จากชุดความรู้.หลักพื้นฐานการนวดไทย,.มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา. . รศ.นพ.กรุงไกร. เจนพาณิชย์. ได้ศึกษาศาสตร์การนวดไทย. และร่วมพัฒนา การนวดไทยกับโครงการฟนฟูการนวดไทย. ตั้งแต่. พ.ศ.. 2528. ท่านได้จัดท�าท่านวด ถนอมสายตาด้วยตนเอง. มีทั้งหมด. 7. ท่า. เมื่อท�าครบ. 7. ท่า. แล้วจะท�าให้. รู้สึกสดชื่น. หัวโปร่งโล่ง.เบาสบาย.หายง่วง.ตาสว่าง.สดใส.ช่วยถนอมสายตาให้เปนปกติ. ผ่อนคลาย ความเครียด.ควรท�าทุกวันเพื่อชะลอความเสื่อมของ.สมอง.ตา.หู.จมูก.ลิ้น.คอ.ดังนี้

195


33 ทาเสยผม ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง.กดขอบกระบอกตาบนให้แน่นพอควร.ท�าทั้ง.2.ข้าง. พร้อมๆ. กัน. ค่อยๆ. ดัน. นิ้วทั้ง. 3. นิ้วเรื่อยขึ้นไปบนศีรษะจนถึงท้ายทอยแบบเสยผม. ท�า.10-20.ครั้ง.ท่านี้.ช่วยให้สมองโปร่งใส.แก้อาการมึนศีรษะ.เซื่องซึม.

1).ท่าเสยผม ทาทาแปง ใช้นวิ้ กลางทัง้ สองกดตรงหัวตา.(โคนสันจมูก).ให้แน่นพอควร.ดันนิว้ ขึน้ ไปจนถึง หน้าผาก.แล้วใช้นิ้วทั้งหมด.(เว้นนิ้วหัวแม่มือ).แตะหน้าผากโดยให้ปลายนิ้วจรดกัน.แล้ว ลูบลงไปข้างแก้มแบบแนบสนิท.ท�า.10-20.ครั้ง.ท่านี้ช่วยให้สายตาแจ่มใสเลือดลมเดินดี. สดชื่น.หายง่วง

2).ท่าทาแป้ง 3) ท่าเช็ดปาก.ใช้ ามือขวาทาบบนปาก.ลากมือไปทางขวาสุด.ให้ ามือกดแน่นกับปากพอควร. เปลี่ยน.ใช้มือซ้ายทาบปาก.แล้วท�าแบบเดียวกันนับเปน.1.ครั้ง.ท�า.10.-20.ครั้ง.ท่านี้.ช่วย กระตุ้นปลายประสาท.แก้ม.และ.กล้ามเนื้อ.ริม ปาก.แก้ปากเบี้ยว

3).ท่าเช็ดปาก 4) ท่าเช็ดคาง.ใช้หลังมือขวาทาบคาง.แล้วลากมือจากทางซ้ายไปทางขวา.ให้หลังมือกดแน่น กับใต้คาง.พอควร.เปลี่ยนใช้มือซ้ายท�าแบบเดียวกัน.นับเปน.1.ครั้ง.ท�า.10-20.ครั้ง.ท่านี้. ช่วยกระตุ้นประสาทโคนลิ้น.ขากรรไกร.ช่วยการเคี้ยวอาหาร.กระตุ้นต่อมน�้าลาย

4).ท่าเช็ดคาง

196


ทากด คาง ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง.2.ข้าง.กดใต้คาง.โดยให้ปลายนิ้วตั้ง ากกับคางใช้ แรงกดพอควรและนานพอควร.(นาน.10.วินาที.หรือนับ.1-10.อย่างช้า.ๆ).เลื่อน จุดกดให้ทั่ว.ใต้คางเ พาะทางด้านหน้า.ท�า.5.ครั้ง.ท่านี้.ช่วยกระตุ้นโคนลิ้นท�าให้ พูดได้คล่องและชัด ทา ู นาแ ะ งั .ู ใช้มอื แต่ละข้างคีบหู.โดยกางนิว้ กลางและนิว้ ชี.้ คีบอย่างหลวมๆ. วางมือให้แนบสนิทกับแก้มถูขึ้นลงแรงๆ. นับเปน. 1. ครั้ง. ท�า. 20-30. ครั้ง. ท่านี้. ช่วยกระตุ้นกล้ามเนื้อกกหู.แก้อาการหูอื้อ.มึนศีรษะ.ท�าให้การทรงตัวดีขึ้น

5).ท่ากดใต้คาง

6).ท่าถูหน้าและหลังหู

ทา บทายทอย ใช้มือปิดใบหูทั้ง.2.ข้าง.ใช้นิ้วทั้งหมด อยู่ที่ท้ายทอย.และปลายนิ้วกลางจรดกัน.กระดกนิ้ว ให้มากทีส่ ดุ .แล้วตบทีท่ า้ ยทอยพร้อมกันทัง้ .2.มือด้วย ความแรงพอควร.โดยไม่ยกมือออกจากหู.เพราะท�าให้ การตบแรงเกินควร. ซึ่งกลับท�าให้เกิดผลเสียได้. ท�า. 20-30.ครั้ง.ท่านี้.ช่วยแก้อาการเซื่องซึม.ท�าให้สดชื่น. หูตาสว่าง .

7)..ท่าตบท้ายทอย

3 การนวด นเองเพ่อผอนค ายก ามเน้อบริเวณคอ ีรษะ บา

(คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธสิ าธารณสุขกับการพัฒนา..2548) 1.. ใช้นิ้วชี้.นิ้วกลาง.และนิ้วนาง.กดบีบแนวบ่า. . ท�าสลับข้างนวดเช่นเดียวกันทั้งซ้าย.ขวา . ท่านี้ช่วยคลายความปวดเมื่อย.แนว.คอ.บ่า 1

197


33 2.. ใช้นิ้วชี้.นิ้วกลาง.และนิ้วนาง.กดบีบบริเวณเกลียวคอ.. . ท�าสลับข้างนวดเช่นเดียวกันทั้งซ้าย.ขวา .. ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยคอ 2

3

3.. ประสานมือเข้าด้วยกันบริเวณท้ายทอย .. ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองกดตามแนวเกลียวคอ .. ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยคอและศีรษะ.

4

4.. ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างกดจุดใต้ไรผม. 2. จุดพร้อมๆ. กัน. ด้วยแรงพอสมควร. . ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยคอ.และศีรษะ

5

5.. นั่งขัดสมาธิ.มือข้างหนึ่ง.วางยันบนเข่า.(ไม่ให้ตัวโยกเอน).. ามืออีกข้างวางไว้ใต้.กกหู.(ไม่ปิดหู.ไม่ทับกราม). หายใจเข้า-ออก.มือดันศีรษะ.ศีรษะต้าน ามือ. หายใจเข้า-ออกปกติ..3-5.ครั้ง..แล้วผ่อนออกท�าสลับข้าง.... . ท่านี้.ช่วยยืดและท�าให้กล้ามเนื้อบริเวณต้นคอแข็งแรง... . ช่วยบรรเทา.อาการปวดคอ.และปวดศีรษะ...

6

198

6...นั่งขัดสมาธิ.ตัวตรง.พนมมือระหว่างอก.หายใจเข้า-ออก. ออกแรงดันมือที่พนมไว้.และค่อย.ๆ.ยกมือขึ้นเหนือศีรษะ. ออกแรงดัน ามือเข้าหากัน.ยืดล�าตัว หายใจเข้า-ออก.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก. . ท่านี้ช่วยบริหารกล้ามเนื้อคอ.สะบัก.


7

7.. นั่งขัดสมาธิ.ประสาน ามือที่หน้าอก.หายใจเข้า-ออก.เหยียดแขน ไปข้างหน้าแล้วยกขึ้นเหนือศีรษะ.ยืดตัวและแขนให้สุดขณะที่ ชูแขนขึ้นให้หายใจเข้าจนลึกสุดถึงท้องน้อย.แล้วกลั้น ลมหายใจไว้.หายใจออก.หายใจเข้าลึกๆ.ใช้มือข้างหนึ่งดัดนิ้วของ อีกข้างหนึ่ง.ด้วยวิธีการกลั้นลมหายใจไว้อึดใจแบบเดียวกัน. . ท่านี้.ช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะ.เนื่องจากความวิตกกังวล

การนวด นเองเพ่อผอนค ายสวนมอ แขน ปวดมอ แขน

เพ่อปองกันอาการ

การนวด นเอง ามจุดนวดมอ

ดาน ามอ จุด ามอ อยู่บนเนินใหญ่ของ ามือ จุด ามอ อยูก่ ลาง ามือ จุด ามอ 3 อยูบ่ นเนินเล็กของ ามือ

ดาน ังมอ จุด ังมอ อยู่ตรงง่ามระหว่าง . นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ จุด ังมอ อยู่ตรงร่องระหว่างโคนนิ้ว

. นั่งขัดสมาธิกดจุด ามือ.3.จุด.กดด้วยนิ้วหัวแม่มือ.โดยให้ปลายนิ้วหัวแม่มือที่กดชี้ ไปทางปลายนิ้วมือที่ถูกนวด.กดจุดหลังมือ.1.และจุดหลังมือ.2.ให้วางนิ้วหัวแม่มือหันไปทาง ข้อมือทุกจุด

199


33 นวด นเอง ปองกันอาการปวดมอ แขน . (คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา..2548) . นั่งขัดสมาธิ. ประสาน ามือไว้ที่หน้าอก. หายใจเข้า. หายใจออก. เหยียดแขนไปข้างหน้า. ในลักษณะหงาย ามือ. หายใจเข้ายกแขน ขึ้ น เหนื อ ศี ร ษะ. ยื ด ตั ว และแขนให้ สุ ด. หายใจเข้า-ออกปกติ. 3-5. ครั้ง. แล้วผ่อน ออกท่านีช้ ว่ ยยึดกล้ามเนือ้ แขนทีใ่ ช้ในการ งอข้อมือ.และนิ้วมือ.และบริหารข้อไหล่ 3 การดัดนิ้วมอ ปองกัน อาการปวดนิ้วมอ มอ า.(อ.พิศิษฐ.เบญจมงคลวารี)

นั่งขัดสมาธิ.ตัวตรง.เหยียดแขนออกไปข้างหน้า.หันหลังมือเข้าหากัน.ประสานนิ้วมือเข้าหากัน. จากด้านหลังมือ.แล้วพลิกมือกลับ.ก�ามือให้แน่น.นับ.1-10.จึงค่อยๆ.คลายมือออก

การนวดแนวแขน เพ่อผอนค ายก ามเน้อแขน . (คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา..2548)

1. 200

1.. ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดแนวแขนด้านหน้า. จากเหนือ กึ่งกลางข้อมือ.(แนวนิ้วกลาง.ห่างจากข้อมือ.2.นิ้ว มือ).ไปจนถึงร่องกล้ามเนื้อสามเหลี่ยม. . .ทา่ นีบ้ รรเทาอาการปวดเมือ่ ยแขน.(นวดเช่นเดียวกัน. ทั้ง.2.ข้าง)


2.. ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดแนวแขนด้านหน้า. จากเหนือข้อมือทางด้าน นิ้วก้อยขึ้นไป.จนถึงจุดเหนือรักแร้ทางด้านหน้า . ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยแขน.(นวดเช่นเดียวกัน.ทั้ง.2.ข้าง)

2.

3.

3.. คว�่า ามือใช้นิ้วชี้.นิ้วกลาง.และนิ้วนางรวมกันกดจุดแนวแขนด้าน หลัง. เริ่มจากเหนือกึ่งกลางข้อมือด้านหลัง. ขึ้นไปจนถึงกล้ามเนื้อ สามเหลี่ยมระดับรักแร้ . ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยแขนด้านหลัง.(นวดเช่นเดียวกัน.ทั้ง. 2.ข้าง)

4.

4.. ใช้ส่ีนิ้วก�าที่หัวไหล่. นิ้วหัวแม่มือกดจุดใต้รากขวัญ. (ใต้กระดูก ไหปลาร้า) ... ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยแขน.และข้อไหล่. (นวดเช่นเดียวกัน. ทั้ง.2.ข้าง)

5). นวด นเองเพ่อปองกันแ ะบรรเทาอาการปวด (คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา..2548)

1.

1.. นั่งคุกเข่า. เข่าแยกกันเล็กน้อย. ให้หลังเท้าทั้งสองข้างวางราบ.. เหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้า. หงาย ามือวางปลายนิ้วบน หน้าตักนั่งลงบนส้นเท้า..หายใจเข้า.เงยหน้าแอ่นตัว.หายใจออก. ปกติ.3-5.ครั้งแล้วผ่อนออก . ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อคอ/อก. หลัง. และกล้ามเนื้อที่ใช้งอข้อมือ และข้อนิ้ว

201


33 2.. นั่งคุกเข่า.เข่าแยกเล็กน้อย.เอามือทั้งสองข้างจับปลายเท้า .....หายใจเข้าเงยหน้า.แอ่นตัวให้มากที่สุดแล้วหายใจเข้า-ออก .....ปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก. .....ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อคอ.อก.หลัง.แขน

2.

3.. ใช้สี่นิ้วก�าที่หัวไหล่นิ้วหัวแม่มือกดจุดใต้รากขวัญ. (ใต้กระดูกไหปลาร้า).......... .. ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยแขน.และข้อไหล่.ท�าสลับข้าง

3.

การดัดแขนปองกันแ ะบรรเทาอาการปวดแขน (อ.พิศิษฐ.เบญจมงคลวารี)

การนวด นเองปองกันอาการ

ิด

(คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา..2548) ทานวด นเอง

1. 202

นัง่ ขัดสมาธิ งอข้อศอกข้างหนึง่ .ให้มอื วางบนบ่าด้านตรงข้าม. ใช้มืออีกข้างจับที่ข้อศอกไว้. หายใจเข้า-ออกปกติ. 3-5. ครั้ง. แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง..................... . ท่านี้เปนการยืดข้อไหล่


2.

2. นั่งขัดสมาธิ.งอข้อศอกข้างหนึ่ง..ยกขึ้นไว้ทางด้านหลังศีรษะ. มืออีกข้างจับมือไว้. หายใจเข้า. หายใจออก. พร้อมๆ. กับดึง ข้อมือลงให้มากที่สุด. หายใจเข้า-ออกปกติ. 3-5. ครั้ง. แล้ว ผ่อนออก.ท�าสลับข้าง........................................ .....ท่านี้เปนการยืดข้อไหล่ ทาดัด น เพ่อปองกันแ ะบําบัดอาการขอ

ิด (อ.พิศิษฐ.เบญจมงคลวารี)

ป ิบั ิ. หายใจเข้าแล้วหายใจออกช้าๆ. พร้อมทั้งไถมือไปข้างหน้าจนสุดแขนก้มศีรษะลง. มากที่สุดเท่าที่ท�าได้..หายใจเข้าช้าๆ.พร้อมทั้งเงยหน้าขึ้นจนสุดลมหายใจแล้วกลั้นไว้. นับ. 1-10. หายใจออกพร้อมทั้งก้มศีรษะลง. และพยายามเหยียดแขนไปข้างหน้าอีก เล็กน้อย..แล้วค่อยๆ.ผ่อนคลายกลับท่าเดิม.ท�าสลับกันโดยเอาขาซ้ายทับขาขวาบ้าง

ป บิ ั .ิ ยืนแยกเท้าให้ห่างกันกว้างกว่าช่วงไหล่ล�าตัวตรง. มือทั้งสองจับกันแบบมัดข้าวต้มอยู่ ข้างหลังก้าวขวาไปข้างหน้า.เท้าซ้ายอยูข่ า้ งหลังเหยียดตรง.หายใจเข้าลึกๆ.ให้เต็มทีก่ อ่ น. แล้วหายใจออกช้าๆ.พร้อมทัง้ ค่อยๆ.ย่อเข่าให้ตงั้ ากกับล�าตัวโดยให้ขาทีอ่ ยูข่ า้ งหลังตึง จนสุด. แล้วหมุนตัวไปด้านซ้าย. พร้อมทั้งใช้มือซ้ายดึงมือขวามาให้เต็มที่. ค้างไว้ท่านี้ หายใจเข้า-ออก.ช้าๆ..2-3.ครัง้ .แล้วผ่อนคลายกลับสูท่ า่ เริม่ ต้น.ท�าสลับกัน.3-4.ครัง้

203


33 การนวด นเองเพ่อผอนค ายสวน ัง ทานวด นเอง เพ่อบรรเทาอาการปวด ัง เอว สะโพก (คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา..2548)

1

1.. นั่งไขว้ห้างบนพื้น.มือข้างหนึ่งจับข้อเท้าดึงไปด้านหลัง.ขณะ ที่มืออีกข้างดันหัวเข่าไว้..หายใจเข้า.หายใจออก.ดันหัวเข่า ให้มากที่สุดแล้วหายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก. ท�าสลับข้าง.. .... ท่านี้ช่วยยืดสะโพก

2

2.. นั่งขัดสมาธิ.ใช้แขนสอดหน้าแข้งข้างหนึ่งเตรียมยกขาขึ้น. หายใจเข้า-ออก.ยกขาขึ้นให้เข้าหาตัวมากที่สุด. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง.. ... ท่านี้ช่วยยืดข้อสะโพก.บรรเทาอาการปวดข้อสะโพก

3

4

204

3.. นั่งงอเข่าทั้งสอง.พับขาเข้ามาให้ าเท้าประกบกัน.ใช้มือทั้ง สองข้างจับที่นิ้วเท้า.และใช้มือดันให้ส้นเท้าชิดเข้าหา เย็บ. หายใจเข้า ออก.ก้มตัวให้คางแนบปลายเท้า. แล้วหายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก. .... ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อที่ใช้หุบขา.บรรเทา อาการปวดสะโพก.ข้อเข่า.หลัง.บั้นเอว 4.. นั่งขัดสมาธิ.ใช้ข้อมือขัดไว้เหนือหัวเข่าด้านตรงข้าม. บิดล�าตัว.หายใจเข้า.หายใจออก.บิดตัวให้มากที่สุด. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง..แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง. ... ท่านี้ช่วยท�าให้กระดูกสันหลังมีความยืดหยุ่น. ... บรรเทาอาการปวดหลัง.เอว.สะโพก


5

6

7

8

5.. นั่งคุกเข่า.เข่าแยกเล็กน้อย.ให้หลังเท้าทั้งสองข้างวางราบ. เหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้า.หงาย ามือวางปลายนิ้ว บนหน้าตักนั่งลงบนส้นเท้า.หายใจเข้า.เงยหน้าแอ่นตัว. แล้วหายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.. . ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อคอ/อก.หลัง.และกล้ามเนื้อที่ใช้ในการ งอข้อมือและนิ้วมือ 6.. นั่งคุกเข่า.เข่าแยกเล็กน้อย.เอามือทั้งสองข้างจับปลายเท้า.. หายใจเข้าเงยหน้า.แอ่นตัวให้มากที่สุด.แล้วหายใจเข้า-ออก. ปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก. . ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อคอ.อก.หลัง.และแขน 7.. ท�าต่อเนื่องจากท่านั่งคุกเข่า.น่องสัมผัสกับต้นขาปลายเท้า ชี้ไปทางด้านหลัง.หายใจออก.ค่อยๆ.เอนล�าตัวลงโดยใช้ศอก ยันพื้นไว้ทีละข้าง.หงายศีรษะให้เต็มที่.วางกระหม่อมลงกับ พื้น.วางแขนข้างล�าตัวแอ่นอกไว้.หายใจเข้า-ออกปกติ. 3-5.ครั้ง.ค่อยๆ.วางหลังแนบกับพื้น.ตะแคงตัว. และเหยียดเท้าออกทีละข้าง.เปนท่านอนหงาย . ท่านี้กล้ามเนื้อหลังและคอจะถูกเหยียดออกเต็มที่.ท�าให้ปอด ขยายตัว.และยืดกล้ามเนื้อบริเวณหน้าต้นขา 8.. นอนหงายชันเข่าก�ามือทั้งสองข้างไว้ใต้สะโพก.ให้น�้าหนักตัว กดทับไว้.โยกตัวเล็กน้อย . ท่านี้เปนการนวดบริเวณสะโพก. . -.จากสะโพกเลื่อนมือที่ก�าไว้วางที่ใต้ข้างกระดูกสันหลัง . . ช่วงบั้นเอว.ให้น�้าหนักตัวกดทับไว้.โยกตัวเล็กน้อย.. . . ท่านี้เปนการนวดแนวหลังช่วงบั้นเอว

205


33 9

10

11

12

13

206

9.. นอนหงายเหยียดขาข้างหนึ่งให้ตรง..งอเข่าอีกข้างใช้มือ ทั้งสองข้างจับเข่าไว้.หายใจเข้า.หายใจออก.ดึงเข่าให้ชิดอก มากที่สุด.แล้วหายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก. ท�าสลับข้าง. . ท่านี้เปนการยืดกล้ามเนื้อในการงอสะโพก..ช่วยบรรเทา อาการปวดหลังที่เอวแอ่นมากกว่าปกติ 10..นอนหงายเหยียดขาตรง.งอเข่าทั้งสองข้างขึ้น.ใช้มือทั้งสองข้าง จับเข่าไว้..หายใจเข้า.หายใจออก.ดึงเข่าให้ชิดตัวมากที่สุด. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก ......ท่านี้.บรรเทาอาการปวดหลังที่เอวแอ่นมากกว่าปกติ 11.. นอนหงายชันเข่า.หายใจเข้า.หายใจออก.หมุนเอวให้หัวเข่า ทั้งสองข้างแตะพื้นให้มากที่สุดโดยไม่ยกไหล่. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง. . ท่านี้เปนการบริหารกล้ามเนื้อหลัง.ช่วยบรรเทาอาการปวดหลัง 12..นอนหงายชันเข่าข้างหนึ่งขึ้น.วางเท้าไว้ข้างเข่าของขาที่เหยียด ตรงทางด้านนอก.ใช้มือด้านตรงข้ามจับหัวเข่าไว้.หายใจเข้า. หายใจออก.พร้อมกับดึงหัวเข่าให้แตะพื้น.โดยไม่ยกไหล่. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง.. .....ท่านี้ช่วยให้กระดูกสันหลังช่วงเอวมีความยืดหยุ่นดีขึ้น... บรรเทาอาการปวดหลัง.ปวดสะโพก 13..นอนแยกขา.ประกบ าเท้าเข้าหากัน.หายใจเข้า.หายใจออก. พร้อมกับใช้มือทั้งสองข้างกดบริเวณต้นขาทั้งสองเพื่อให้หัวเข่า แตะพื้น.หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก .....ท่านี้ช่วยยืดข้อต่อสะโพก


14

15

14..นอนแยกขา.ประกบ าเท้าเข้าหากัน.ใช้มือท้าวบริเวณสะโพก ......หายใจเข้า.หายใจออก.พร้อมกับออกแรงเหยียดแขนให้ตรง. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก ......ท่านี้ช่วยยืดกระดูกสันหลังช่วงเอว 15..ยืนก้าวเท้าข้างหนึ่งไปข้างหน้าพอประมาณ.ยกแขน ไปด้านหน้า.มืออีกข้างก�าหมัดยันไว้ตรงบั้นเอว.หายใจเข้า. หายใจออก.พร้อมกับย่อเข่าหันหน้าไปข้างหลัง. กระดกข้อมือ.(ซ้าย).ขึ้น.หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง. แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง .. ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อน่อง.คอ.เอว.และกล้ามเนื้อแขน ที่ใช้งอข้อมือ ทาดัด นแกยอกเอว .. นั่งชันเข่าทั้งสองข้าง. เอาศอกหนีบเข่าไว้พนมมือขึ้น. หายใจเข้าช้าๆ. พร้อมทั้งพยายามแบะเข่าออกทั้งสองข้างโดยมีศอกหนีบไว้. เปนการ ต่อสู้กันจนสุดลมหายใจ. กลั้นใจนิดหนึ่งแล้วหายใจออก. ผ่อนเข่าและ ศอกกลับมาในท่าเดิม.

3 ทาดัด น บรรเทาอาการปวด ัง “ทานั่งบิด ัว” . ท่านี้ท�าโดยการบิดล�าตัวไปทางด้านข้างทั้งซ้ายและขวา. โดยอาศัยการขัดกันของแขน และขาเปนเครื่องช่วย 1... นั่งราบกับพื้น.ขาเหยียดตรงไปข้างหน้า.แขนแนบล�าตัว. ามือ วางคว�่ากับพื้นข้างล�าตัว.

207


33 2... งอเข่าซ้าย.และยกเท้าซ้ายพาดขาขวา. าเท้าซ้ายวางบนพื้นด้านนอก.ของหัวเข่าขวา. หายใจเข้า-ออก.สม�่าเสมอ.3.รอบ 3... หายใจออกพร้อมกับบิดล�าตัวไปทางซ้าย. ยกแขนขวามาพาดด้านนอก..ของ หัวเข่าซ้าย.แขนขวาเหยียดตรงมือขวา จับที่หัวเข่าขวา.หันหน้าไปทางซ้ายจนสุด.หายใจเข้า-ออก.4-6.รอบ 4.. หายใจเข้าพร้อมกับปล่อยมือขวา.และบิดตัวพร้อมกับยกแขนกลับ มาอยู่ในท่าตรง.. ามือขวาวางคว�่าบนพื้นข้างล�าตัว.ศีรษะตั้งตรง. ดังท่าในภาพที่.2 5.. . . . .

ยกเท้าซ้ายขึ้น.เหยียดตรงไปข้างหน้าดังในภาพที่.1.แล้วผ่อนคลาย ท�าตามขั้นตอนตั้งแต่ข้อ.2.ถึงข้อ.5.อีก.แต่สลับขากัน.(ภาพที่.4,.5) ท่านี้กระดูกสันหลังโดยเ พาะบริเวณเอวจะถูกบิดไปทั้งทางซ้าย และขวา.ท�าให้กระดูกสันหลังมีความยืดหยุ่นและแข็งแรงขึ้น.. ช่วยบรรเทาอาการปวดหลัง.ปวดเอว.และสะโพก

การนวด นเองเพ่อผอนค ายสวนขา เขา ขอเทา เพ่อผอนค าย ปองกัน แ ะ บรรเทาอาการปวดขา เขา แ ะขอเทา

.

1.. ท่านวดตนเอง.ผ่อนคลายและบรรเทาอาการปวดขา.เข่า. (คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา..2548)

1

208

1). นั่งขัดสมาธิ.ให้ าเท้าข้างที่จะนวดหงายขึ้น.ใช้ศอก ด้านตรงข้ามกับ าเท้ากดจุดแนวกึ่งกลาง าเท้า.3.จุด. แล้วใช้นิ้วหัวแม่มือกดคลึงให้ทั่ว าเท้าและนิ้วเท้า.. ... ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อย าเท้า.และกระตุ้นอวัยวะ ภายในให้ท�างานปกติ


2

3

2). เหยียดขาข้างหนึ่งออกไป.ขาอีกข้างวางระดับเข่า.ใช้นิ้วหัวแม่มือ ซ้อนกันแนวนอน.กดจุดแนวชิดกระดูกหน้าแข้งด้านใน.โดยวางนิ้ว ขนานกับแนวกระดูก. .. ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยน่อง.และข้อเท้า 3). ใช้นิ้วหัวแม่มือซ้อนกัน.กดจุดแนวขาด้านหลัง.จากเหนือ เอ็นร้อยหวายขึ้นไป.ผ่านกึ่งกลางน่องถึงใต้พับเข่า.. .....ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยน่อง.เอ็นร้อยหวาย.และข้อเท้า 4). ใช้สี่นิ้วมือทั้งสองข้างบีบแนวขาด้านนอกช่วงข้างกระดูกหน้าแข้ง ....ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ.หน้าแข้ง

4

5

5). นั่งตามสบาย.ใช้มือข้างหนึ่งเหนี่ยวเข่าขึ้น.ใช้ส้นมืออีกข้าง.. กดตามแนว.ต้นขาด้านใน.จากเหนือหัวเข่าขึ้นไปถึงใต้ขาหนีบ. .....ท่านี้ช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยต้นขาด้านใน 6). นั่งพับเพียบ.ใช้ข้อศอกกดแนวขาด้านข้างช่วงต้นขา. เริ่มจากเหนือหัวเข่าถึงข้างสะโพก.. .....ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยต้นขาด้านนอก

6

7

7). นั่งพับเพียบ.ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดแนวขาด้านหลัง. เริ่มจากเหนือเอ็นร้อยหวาย.ผ่านกลางน่องถึงใต้ข้อพับ.. ท�าสลับข้าง... . ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยน่องและข้อเท้า..

209


33 8). นั่งเหยียดขาข้างหนึ่ง.ใช้มือเดียวกับขาข้างที่เหยียดจับ ปลายเท้าไว้.มืออีกข้างกดไว้ไม่ให้งอ..หายใจเข้า.หายใจออก. ก้มตัวให้มากที่สุด.แล้วหายใจเข้าออกปกติ.3-5.ครั้ง. แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง... .....ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อขาด้านหลัง.บรรเทาอาการ ปวดเข่า.ขา.หลัง.ตะคริวน่อง

8

9). นั่งเหยียดขาทั้ง.2.ข้าง.ใช้มือทั้งสองข้างจับปลายเท้าไว้. โดยไม่งอเข่า.หายใจเข้า-ออก.ก้มตัวให้มากที่สุด. แล้วหายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก .....ท่านี้บรรเทาอาการปวดเข่า.ขา.หลัง.

9

10

10). นอนหงายชันเข่าข้างหนึ่งไว้.วางขาอีกข้างบนหัวเข่าเริ่มจาก เหนือเอ็นร้อยหวาย.หายใจเข้า.ยกก้นขึ้น.หายใจเข้า-ออก ปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วหย่อนก้นลง.จะเกิดแรงกดบริเวณเหนือ เอ็นร้อยหวายเลื่อนไปกดต�าแหน่งถัดไปตามแนวกึ่งกลางขา ด้านหลัง.ท�าสลับข้าง......

11

.11).ยืนแยกขา.ปลายเท้าชี้ออกด้านข้าง.ก�ามือทั้งสองวางซ้อนกัน.. มือด้านบนกดลง.ด้านล่างดันขึ้นต้าน.หรืออาจใช้ไม้ค�้าไว้บน พื้นช่วยในการยืน.หายใจเข้า.หายใจออก.พร้อมกับย่อตัวลง ให้เข่างอเปนมุม าก.แล้วค่อยๆ.ขึ้นและลงสลับกัน. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.. .. ท่านี้บริหารกล้ามเนื้อหน้าต้นขา.และกล้ามเนื้อที่ใช้กางขา ให้มีความแข็งแรง

210


. . . .

การนวด นเองปองกันอาการ ง ม นผูสูงอายุ การนวด นเองปองกันอาการ ง มที่ควรท�าเปนประจ�า.คือ. 1.. การนวดถนอมสายตา. 2.. การนวดตนเอง.เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อบริเวณคอ.ศีรษะ.บ่า. 3.. ท่าดัดตนช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนเลือด . โดยเ พาะเส้นเลือดใหญ่บริเวณล�าคอ.ท�าให้สมองตื่นตัว

การเพิ่มสมรรถนะให้สมองเพื่อป้องกันการหลงลืมมีหลักการ.3.ประการคือ . 1...ท�าให้ร่างกายมีความสมดุลและมีการเคลื่อนไหวอย่างสมดุล. . 2...ท�าให้สมองมีความกระตือรือร้นและท�างานได้ดี. . 3...ท�าให้จิตใจ.อารมณ์เบิกบาน.ผ่อนคลาย. การบริ ารที่ วย รางกายมีความสมดุ แ ะมีการเค ่อน วอยางสมดุ ทายนกระโดดนํ้าเพื่อ กการทรงตัว.ความสมดุลให้ดีขึ้น.ยืนแยกเท้าเล็กน้อย. แขนแนบล�าตัว.เขย่งปลายเท้า.ยกแขนไปข้างหน้า.ให้ขนานกับพื้น.คว�่ามือ.นิ่งในท่านี้ นับ.1.ถึง.10.ท�าซ�้าอีกครั้ง.(รูปที่.1).เมื่อการทรงตัวดีขึ้น.ให้นับ.1.ถึง.15.หรือมากกว่า

1

2

3

211


33 ทายนขาเดียวยืนแยกเท้าเล็กน้อย.มือเท้าสะเอว.ศีรษะตั้งตรง.ยกขาข้าง หนึ่งขึ้นช้าๆ.ให้ าเท้าแนบขาข้างที่ยืนจนถึงเข่า.หยุดนิ่ง.นับ.1.ถึง.10.(รูปที่.2).ท�าสลับ ขาอีกข้างหนึ่งเมื่อช�านาญแล้ว.ให้หลับตาท�าซ�้าและนับให้นานขึ้น 3 การเดินเปนเสน รงเพื่อเพิ่มความสามารถในการทรงตัว.ช่วยให้ร่างกาย มีความสมดุลและมีการเคลื่อนไหวอย่างสมดุล. . โดยวางเท้าข้างหนึ่งอยู่หน้าเท้าอีกข้างหนึ่ง. เริ่มเหมือนยืนอยู่บนเส้นตรง. ให้ ศีรษะตั้งตรง.และมองตรงไปข้างหน้ากางแขนออกเพื่อช่วยการทรงตัว.(รูปที่.3).เริ่มเดิน โดยให้ส้นเท้าของเท้าหลังไปวางตรงปลายเท้าของเท้าหน้า.และก้าวต่อไปแบบนี้เรื่อยๆ. ต่อไป.เดินถอยหลัง.ให้ปลายนิ้วเท้ามาแตะส้นเท้า.เช่นเดียวกัน. ปจจัยที่ วย นการพั นาสมองปองกันการ ง ม นผูสูงอายุ.คือ อา ารสมอง ช่วยสร้างพลังงานให้สมอง. ต้องได้รับสารอาหารครบถ้วน. โดยเรียงจากปริมาณที่ต้องการมากที่สุดคือกลุ่มธัญพืช. รองลงมาคือผักผลไม้. โปรตีน. และอื่นๆ.ต้องกินทุกมื้อ.โดยเ พาะมือ้ เช้าส�าคัญมาก.และไม่ควรกินก่อนนอน.หลีกเลีย่ ง อาหารกึง่ ส�าเร็จรูป.ฟาสต์ฟดู้ .ลดปริมาณเกลือ.ไขมัน.โดยเ พาะน�า้ ตาลทีท่ า� ให้มพี ลังงาน มากจนไม่อยู่นิ่ง.ขาดสมาธิ. ออก เิ จน ให้ชวี ติ แก่เซลล์สมอง.สมองทีม่ อี อกซิเจนมากเพียงพอจะท�าให้ มีสารเคมีที่ท�าให้เครียดลดน้อยลง.ท�าได้โดยการหายใจที่ถูกต้อง.หายใจลึกๆ.ให้ทั่วปอด. หายใจเข้าท้องพอง. หายใจออกท้องแฟบ. รวมทั้งการเคลื่อนไหว. การออกก�าลังกาย. หัวเราะ.ร้องเพลงและพูดคุย.ก็เปนการเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้สมองได้ดีอีกด้วย. 3 นํ้าเป า มีส่วนส�าคัญในการส่งข้อมูลในสมอง. ถ้าเราไม่ได้ดื่มน�้าแค่ครึ่ง ชัว่ โมง.สมองก็ขาดน�า้ แล้ว.เพราะท�าให้กา้ นสมองหด.เซลล์สมองส่งข้อความถึงกันไม่ราบ รื่น.อาจท�าให้รู้สึกสับสน.และเหตุผลที่น�้าเปล่าดีต่อสมองก็เพราะดูดซึมสู่สมองได้ทันที. ถ้าเครื่องดื่มอื่นๆ.ร่างกายจะคิดว่าเปนอาหาร.แล้วส่งไปย่อยก่อนถึงจะดูดซึมไปที่สมอง. การผอนค าย เริ่มจากการนอนหลับเพียงพอ. ตอนหลับร่างกายพักแต่ สมองตื่น.สมองจะสร้างจุดเชื่อมต่อใหม่ๆ.ระหว่าง.2.ซีก.สมองจะแยกประเภทและเก็บ ประสบการณ์ที่ได้ในแต่ละวัน. โดยที่เราควบคุมไม่ได้. ซึ่งประสบการณ์ที่เรารู้สึกกับมัน

212


มากๆ. จะจ�าได้ง่าย. ดังนั้นถ้านอนไม่พอ. สมองยังจัดระบบไม่เรียบร้อย. จึงตื่นมางงๆ. เบลอๆ.นอกจากนี้ยังผ่อนคลายได้ด้วยการเคลื่อนไหวในท่าบริหารสมอง.( rain. ym). ฟังเพลงจังหวะเบาๆ. ช้าๆ. ออกก�าลังกายเบาๆ. การพูดคุย. ร้องเพลง. ยิ้ม. นั่งสมาธิ. การเรียนรู้จากภาพ.และการพักช่วงสั้นๆ.ระหว่างการท�ากิจกรรม. ความสมดุ ของรางกายแ ะสมอง ควรมีการ กการทรงตัวหรือ กไขว้ ร่างกายในท่าต่างๆ.การหายใจที่ถูกต้อง.บุคลิกท่าทางที่เหมาะสม.ใช้เพลงจังหวะเบาๆ. มาประกอบการท�ากิจกรรม.ลดพฤติกรรมที่น�าไปสู่ความเครียด. การสรางทั นค ิ นเ ิงบวก คิด.และแสดงออกอย่างสร้างสรรค์.จะช่วย ให้สมองจดจ�าแต่สิ่งที่ดีๆ.

การนวดตนเองปองกันอาการนอนไม ลับ . การนอนหลับเปนการพักผ่อนทีด่ ที สี่ ดุ ของร่างกาย.โดยทัว่ ไปร่างกายคนท�างาน ปกติในเวลากลางวันและ.พักผ่อนนอนหลับในเวลากลางคืนประมาณ.8.ชั่วโมง.เมื่อเข้า สู่วัยสูงอายุ. พฤติกรรมการหลับนอนมีการเปลี่ยนแปลง.อาจนอนหลับยาก.หรือ.หลับ แล้วตื่นมากลางดึกแล้วหลับต่อยาก การนวด นเองปองกันแ ะบําบัดอาการนอน ม ับ คือ . 1... การนวดถนอมสายตา. . 2... การนวดตนเอง.เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อบริเวณคอ.ศีรษะ.บ่า. . 3... การนอนท่านอนพัก. ร่างกายได้รับการผ่อนคลายอย่างเต็มที่.ต�าราโยคะเรียกท่านี้ว่า ทา พ

. นอนหงายเหยียดยาวกับพื้น.ให้ส้นเท้าติดกัน.ปล่อยปลายเท้าให้แยกกันตาม ธรรมชาติ.แขนทั้งสองข้างทอดห่างจากล�าตัวเล็กน้อย. ามือหงายขึ้น.หลับตาให้สบายๆ.

213


33 ก�าหนดความรู้สึกไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย. โดยใช้ความรู้สึกส�ารวจว่า. มีความ ตึงเครียด.ตามร่างกายส่วนใดบ้าง.ขยับแขน.ขา.สะโพก.ศีรษะและส่วนต่างๆ.ของร่างกาย. ให้อยู่ในท่าที่สบายที่สุด. . ผ่อนคลายส่วนต่างของร่างกาย.ตัง้ แต่ปลายเท้าขึน้ ไปถึงศีรษะ.ท�าความรูส้ กึ ว่า ส่วนต่างๆของร่างกายทิง้ น�า้ หนักลงบนพืน้ อย่างสิน้ เชิง.อย่าให้กรามและใบหน้าขมวดตึง หายใจเข้าออกลึกๆ.และค่อยๆหายใจเข้า-ออกอย่างแผ่วเบา.ถ้าจิตใจฟุ้งซ่านให้กลั้นลม หายใจช่วงสั้นๆ.หลังการหายใจออกแต่ละครั้ง.อยู่ในท่านี้นานเท่าที่ต้องการ

การนวดตนเองปองกันอาการทองผูก . อาการท้องผูก.หมายถึง.อาการถ่ายอุจจาระแข็งหรือไม่ถา่ ยอุจจาระนานหลาย วัน.หรือถ่ายล�าบาก.ถ่ายเปนก้อนแข็งคล้ายขีแ้ พะ.เปนพรรดึก.อึดอัดในท้อง.ผายลมบ่อย. จุกเสียดในท้อง. ร้อนใน. ปากเปนแผล. ลิ้นเปน ้า. หายใจมีกลิ่นเหม็น. เปนสิว. . เปน ริดสีดวง. สามาร ปองกันอาการทองผูก ดโดย . 1. กินอาหารที่มีกากมากๆ.เช่น.ผัก.ผลไม้ . 2... กการขับถ่ายให้เปนเวลาเปนประจ�าทุกวัน.ไม่ควรกลั้นอุจจาระ . 3.. ดื่มน�้าสะอาดวันละมากๆ.อย่างน้อยวันละ.6-8.แก้ว . 4... ออกก�าลังกายสม�่าเสมอ การนวด นเองปองกันแ ะบําบัดอาการทองผูก (คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธสิ าธารณสุขกับการพัฒนา..2548) (1). นอนหงายเหยียดขาข้างหนึ่งให้ตรง.งอเข่าอีกข้างใช้ มือทั้งสองข้างจับเข่าไว้.หายใจเข้า.หายใจออก.. ดึงเข่าให้ชิดอกมากที่สุด.หายใจเข้า-ออกปกติ. 3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง....

214


(2). นอนหงายเหยียดขาตรง.งอเข่าทั้งสองข้างขึ้น.ใช้มือทั้ง สองข้างจับเข่าไว้.หายใจเข่า-ออก.ดึงเข่าให้ชิดตัวมากที่สุด. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง (3). นอนหงายชันเข่า.หายใจเข้า-ออก.หมุนเอวให้หัวเข่า ทั้งสองข้างแตะพื้นให้มากที่สุด.โดยไม่ยกไหล่. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง (4). นอนหงายชันเข่าข้างหนึ่งขึ้น.มือด้านตรงข้ามจับเข่าที่ชัน ขึ้นโน้มเข่าลงมา.วางเท้าไว้ข้างเข่าของขาข้างที่เหยียดตรง.. หายใจเข้า-ออก.พร้อมกับดึงหัวเข่าให้แตะพื้น.. หายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก.ท�าสลับข้าง

การนวด นเองปองกันอาการจุกเสียด . ผู้สูงอายุเมื่อมีปัญหาระบบย่อยอาหาร. ท�าให้มีอาการจุกเสียดตรงบริเวณ ยอดอกหรือใต้ลิ้นป.บริเวณชายโครง.มีลมในท้อง.แน่นท้อง.และหายใจล�าบาก การปองกันอาการจุกเสียด . 1). กินอาหารย่อยง่าย. . 2). ออกก�าลังกายเพื่อให้กล้ามเนื้อได้เคลื่อนไหว . 3). กินยาขับลมหรือดื่มน�้าขิง . 4). หลีกเลี่ยงความเย็น.ใช้น�้าร้อนประคบเมื่อมีอาการ

215


33 การนวด นเองบรรเทาอาการจุกเสียดทอง (คัดมาจาก.หนังสือ.41.ท่าศิลปะการนวดตนเอง.มูลนิธสิ าธารณสุขกับการพัฒนา..2548)

(1). ใช้สี่นิ้วมือทั้งสองข้างบีบแนวขาด้านนอกช่วงข้างกระดูก หน้าแข้ง

(2). นั่งคุกเข่า.เข่าแยกเล็กน้อย.เอามือทั้งสองข้างจับปลายเท้า หายใจเข้าเงยหน้า.แอ่นตัวให้มากที่สุดแล้วหายใจเข้า-ออก. ปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก (3). นั่งงอเข่าทั้งสองพับขาเข้ามาให้ าเท้าประกบกัน.ใช้มือ ทั้งสองข้างจับที่นิ้วเท้า.และใช้มือดันให้ส้นเท้าชิดเข้าหา เย็บ. หายใจเข้า-ออก.ก้มตัวให้คางแนบปลายเท้า. แล้วหายใจเข้า-ออกปกติ.3-5.ครั้ง.แล้วผ่อนออก

การดัด น แกแนนทอง แนน นาอก . ท่าเตรียม.ยืนแยกเท้าความกว้างเท่าไหล่.มือท้าวเอว. หั ว แม่ มื อ กดจุ ด ท้ า วเอว. ก้ า วเท้ า ซ้ า ยถอยหลั ง แอ่นตัวไปด้านหลังให้มากทีส่ ดุ .โดยนิว้ โป้งกดสะโพก ต้านไว้.ขาหลังตึงพร้อมหายใจเข้า.นับ.1-10.หายใจ ออก.แล้วก้าวเท้ากลับมายืนตรงเหมือนเดิม.สลับท�า อีกข้างเช่นเดียวกัน.

216


การดัด นทายกเทา ปองกันอาการแนนทอง แนน นาอก (1)

(2)

3

(1). นอนหงายราบกับพื้นขาเหยียดตรง. แขนแนบล�าตัว. ามือคว�่ากับพื้น จากนั้นชันเข่าข้างใดข้างหนึ่งขึ้น................. (2). หายใจเข้า.พร้อมกับยกแขนขึ้นเหนือ ศีรษะจนสุด.ให้แขนวางบนพื้น. ามือหงาย (3). หายใจออก.พร้อมกับยกขาข้างที่เหยียดตรง ขึ้นจากพื้น.จนตั้ง ากกับพื้น.หรือยกให้สูง เท่าที่จะท�าได้.หายใจเข้าออก.3.รอบ. ในขณะที่หายใจออกรอบที่สาม..ให้วางขา ข้างที่ยกขึ้นลงราบกับพื้นพร้อมกับยกแขน กลับมาวางแนบล�าตัว. ามือคว�่าลง.................... (4)....หายใจเข้า.พร้อมกับเหยียดขาข้างที่ชันเข่า ขึ้นมาออกไปจนสุด..แล้วผ่อนคลาย. .ท�าสลับข้างตามขั้นตอนตั้งแต่ข้อ.1.ถึง.4

217


การนวดสงเสรมพัฒนาการเดกเลก นครอบครัว ส าพน พท น ท ง ร เท ท น สา าร สุข ารพ นา

การนวดสัมผัสเด็ก. จะท�าให้เด็กมีพัฒนาการทางสมองที่ดี. มีสุขภาพ ทางกายและจิตดีขึ้น.เพราะการสัมผัสจะเปนการสือ่ สารทางกายทีแ่ สดงออกได้ถงึ ความรัก. เด็กก็จะเติบโตขึ้นมาอย่างสมบูรณ์. และมีภูมิคุ้มกัน. ไม่เปนโรคขาดรัก . (รสนา.โตสิตระกูล,.http://www.wandc.dsdw.go.th) . สัมผัสจากแม่เปนภาษาแรกแห่งรักส�าหรับ ทารก. เป น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของสายใยความผู ก พั น ที่ จ ะ ถ่ายทอดความรักและความห่วงใยจากแม่สู่ลูก.ทารก ทีไ่ ด้รบั การนวดสัมผัสอย่างสม�า่ เสมอจะมีจติ ใจแจ่มใส และมีพัฒนาการทางร่างกาย.ทางสมองและอารมณ์ดี ขึ้น. พร้อมที่จะเปิดรับการเรียนรู้และมีความสัมพันธ์ กับโลกภายนอกได้เปนอย่างดี.การสัมผัสด้วยความรัก จึงนับได้ว่าเปนปัจจัยพื้นฐานในพัฒนาการทุกด้านของเด็ก

ความ มาย “เดกเลก” . เด็กเล็ก.หมายถึง.เด็กที่มีอายุ.1.ป.6.เดือน-6.ป.(สมร.ทองดี,.2537.:.7) . เด็กปฐมวัย.หมายถึง.เด็กตั้งแต่แรกเกิดเด็กที่มีอายุตั้งแต่ปฏิสนธิ. จนถึง. 6.ป.ทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา.ซึ่งพัฒนาการทางด้านร่างกาย.อารมณ์. 218


สังคม.และสติปัญญาก�าลังพัฒนาอย่างเต็มที่. (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช, 2537.). . เด็กวัยนี้.เปนวัยที่ก�าลังเจริญเติบโตและมีพัฒนาการด้วยตัวเอง.สามารถ พึง่ ตนเองได้ตามวัย.พัฒนาการด้านต่าง.ๆ.เกิดขึน้ มากมาย.เช่น.พัฒนาการทางด้าน จิตใจ.ด้านร่างกาย.พัฒนาการทางด้านสติปัญญา.ซึ่งพัฒนาการของเด็กเริ่มตั้งแต่ อยู่ในครรภ์มารดา. โดยจะส่งผลต่อเด็กหลังจากที่เด็กคลอดแล้ว. การส่งเสริม พัฒนาการของเด็กเล็ก.วัยแรกคลอดถึง.6.ป.จึงมีความส�าคัญที่สุดของชีวิต

รคและอาการท่เกดกับเดกวัย

. สมุ ฐานโรคตามการแพทย์แผนไทย. . ปฐมวัย .หมายถึง.วัยแรกเกิด.-.16.ป.เสมหะสมุฏฐาน. . เสมหะสมุฏฐาน.คือ.เหตุที่เปนรากฐานของความเจ็บปวยเกิดจากเสมหะ. มักมีอาการต่อไปนี้. น�้ามูกไหล. ไอมีเสมหะ. เสมหะคั่ง. หอบหืด. หลอดลมอักเสบ. แน่นหน้าอก.หนักเนื้อตัว.บวม.เซื่องซึม.ขี้เกียจ.นอนมาก.เบื่ออาหาร.รู้สึกอิ่มทั้งที่ ท้องว่าง . ดังนั้นอาการปวยที่พบบ่อยในเด็กเล็ก. ได้แก่. เปนหวัดง่าย. น�้ามูกไหล. อาเจียน.ไอมีเสมหะ.หอบ.หลอดลมอักเสบ.ปอดบวม.ซึม.นอนมาก.เบื่ออาหาร. ท้องอืด.ท้องเฟ้อ.เปนต้น . การศึกษาเรือ่ ง. โรคทารก .ศึกษาตามคัมภีรป์ ฐมจินดา.เบือ้ งต้นอธิบายไว้วา่ . . ...อันกุมารคลอดออกจากครรภ์.ในระหว่าง.1.วัน.ถึง.1.เดือนนั้น.เปนกาล ที่อยู่ในเรือนเพลิง.มารดามักจะบังเกิดโรคต่างๆ.อันเนื่องจากโลหิตกระท�าพิษบ้าง. โลหิตตีขึ้นบ้าง.และอยู่ไฟ.อังไฟมิได้บ้าง.กระท�าให้น�้านมเกิดโทษ.โดยที่มิได้เปน น�้านมบริสุทธิ์.เนื่องจากมีโลหิตและน�้าเหลืองระคน.มิควรที่จะให้เด็กดูดน�้านมนั้น. หากทารกใดได้ดื่มน�้านมนั้น.มักจะบังกิดโรคขึ้น.คือ.เปน.เขม่า.ส�ารอก.ทราง.หละ. ละอองต่างๆ. 219


33

. ลักษณะเขม่า.หละ.ละออง.และ.ทราง.นั้น.ขึ้นอยู่ในปากของเด็ก.หละ และทรางนั้น. มีลักษณะเปนเม็ด. ส่วนเขม่า. และ. ละอองนั้นเปน ้า. และผุด เปนแผ่น. โดยมากเขม่า. หละ. ละออง. ทราง. มักจะขึ้นที่ลิ้น. เพดาน. กระพุ้งแก้ม. โคนขากรรไกร. ล .เปนอาทิ.ในที่นี้จะกล่าวเ พาะลักษณะส�ารอก.ดังนี้ . . ถ้าแลกุมารกุมารีผู้ใดคลอดจากครรภ์มารดาแล้วแลก�าเนิดอันจะเปน เหตุที่จะให้บังเกิดโรคต่างๆ.นั้น.คือส�ารอก.7.ครั้ง.เมื่อรู้ชันคอนั้นครั้ง.1.เพราะเส้น เอ็นนั้นไหว.ทรางจึ่งพลอย.ท�าโทษเอาครั้ง.1.เมื่อรู้นั่งกระดูกสันหลังคลาดทรางจึ่ง พลอยท�าโทษครัง้ .1.เมือ่ รูค้ ลานนัน้ เพราะว่าตะโพกแลเข่านัน้ เคลือ่ นทรางจึง่ พลอย ท�าโทษครั้ง.1.เมื่อดอกไม้.(คือฟัน).ขึ้นทรางจึ่งพลอยท�าโทษครั้ง.1.เมื่อรู้ย่างเพราะ ว่ากระดูกทัง้ .300.ท่อนนัน้ สะเทือนไหว.แลเส้นเอ็นกระจายสิน้ .ท่านว่าส�ารอกกลาง ทรางก็พลอยท�าโทษครั้ง.1.เมื่อรู้ยืนรู้ย่าง.เพราะว่าไส้พุงตับปอดนั้นคลอน.ท่านว่า ส�ารอกใหญ่ให้ระวังจงดีเถิด.ทรางก็พลอยท�าโทษครัง้ .1.ซึง่ ว่ามาทัง้ นีธ้ รรมดาวิไสย มนุษย์ทกุ ๆ.คน.มิได้เว้นเลย.เหตุดงั นีท้ า่ นจึง่ ประกาศสรรพคุณยา.ไว้ให้กมุ ารกินเปน ยาประจ�าท้องทุกเดือน. หวังจะกันเสียซึ่งส�ารอกแลตานทรางตามประเพณีดุจดัง กล่าวมานี้

3 การดูแลเดกเลกแบบว ไทย . การดูแลเด็กเล็กตัง้ แต่แรกคลอดตามแบบวิถไี ทย.ซึง่ มีแบบแผนและความ เชื่อสืบทอดกันมา.ดังนี้ . 3.1. ส�ารวจลูกแรกคลอดโดยผูท้ า� คลอด/หมอต�าแย.โดยวางลูกน้อยนอน บนขาที่เหยียดคู่กัน. ให้ศีรษะลูกหันไปทางข้อเท้า. พาดผ้าอ้อมไว้บนอกของลูกให้ อบอุ่นอยู่เสมอ.สังเกตทั่วร่างกายของลูกด้วยว่ามีความผิดปกติใดบ้าง . 3.2.. ท�าความสะอาดและอาบน�้า.เช็ดหลังตาและบนคิ้วเบาๆ.ทั้ง.2.ข้าง. ด้วย ้ายชุบน�้าอุ่นๆ.(แม่เก็บ ้ายจากต้นตากแดดเตรียมไว้แทนส�าลี).ดูแลใบหูโดย ใช้สา� ลี า้ ยชิน้ ใหม่ชบุ น�า้ อุน่ (หมาดๆ.).เช็ดใบหูและคลีใ่ บหูลกู ออกเบาๆ.ให้แนบไป 220


ทางท้ายทอยทั้ง.2.ข้าง.จากนั้นเช็ดไขมันตามคิ้ว.2.ข้างและหลังใบหูทั้งด้วย.ด้วย ส�าลี า้ ยชุบน�า้ มันมะพร้าวบีบออกพอหมาด.(น�า้ มันมะพร้าวทีท่ า� เองใหม่ๆ.ทีม่ กี ลิน่ หอมอ่อน). ตรวจดูตามง่ามนิ้วและเช็ดตามซอกนิ้วทุกนิ้วทั้งมือและเท้า. ตลอดจน เช็ดรักแร้. ซอกคอ.เริ่มอาบน�้าให้ลูกน้อยด้วยน�้าอุ่นๆ.แม่ใช้มือวักน�้ามาแตะบนอก เบาๆ.คุยกับลูก. อาบน�้ากันนะ .ล้างผมด้วยน�้าอุ่นล้างไขมันให้หลุดออกให้หมด เพื่อไม่ให้เปนชันตุ.เสร็จแล้วใช้ผ้าเช็ดผมเบาๆ.เช็ดซอกขาหนีบและใต้อัณฑะ.ซอก ขาและก้นกบ.และสังเกตตรงท้ายทอยว่าแดงหรือเหลืองเปล่า . 3.3.. ดูแลทั่วร่างกาย. โดยจับใบหูคลี่ออกแนบหลังหูไปทางท้ายทอยอีก ครั้ง. จับแขนทั้งสองข้างก�าเบาให้แนบล�าตัว. จับขาทั้งสองข้างก�าเข้าหากันเบาๆ. ดึงดั้งจมูกเบาๆ. แต่งคิ้วโดยใช้ก้านใบพลูเด็ดมาจากค้างพลูใหม่ๆ. ลนไฟตะเกียง. หรือใช้มะพร้าวผ่าซีกใช้มีดขวางดังวงพระจันทร์ลนไฟตะเกียงแล้วแตะหลังมือ พออุน่ ๆ.หรือใช้ดอกอัญชันบดสดๆ.ต�าในครกยาเล็กๆ.หรือถ้วยแล้วใช้ขนไก่ตวั เมีย รวกน�้าร้อนเสียก่อนมาชุบวาดเขียนคิ้วให้ . 3.4.. บีบนมทารกให้น�้านมออกมาเปนสีขาวข้างละ. 1. หยด. (ท�าทั้งเด็ก ผู้ชายหรือผู้หญิง). เมื่อเขาโตขึ้นมาเมื่อถึงวัยแตกพานจะได้ไม่บวมเจ็บระบมมาก. แล้วก็จะไม่ค่อยเปน ทรวงอกด้วย . 3.5.. ใช้ใบพลูรนไฟแล้วแตะหลังมือพออุ่นๆ. มานาบท้องทารก. เมื่อเห็น ท้องบางใสจนเห็นเส้นเลือดเขียว.(เรียกว่าท้องบาง).เด็กจะท้องขึ้นปวดท้องได้ง่าย. และใช้มะกรูดกับปูนแดงทาท้อง. ใช้มหาหิงคุ์ชนิดแท่งห่อพันผ้าผูกข้อมือซ้ายขวา ไว้.ส่วนชนิดน�้าทาท้อง . 3.6.. ลูกผูห้ ญิงจะมีเลือดออกทางอวัยวะเพศ.โบราณเชือ่ ว่า.ให้ใช้สา� ลีเช็ด เลือดเก็บใส่ขวดไว้จะค้าขายดี.เอาขมิน้ โรยพอแห้ง.และเมือ่ สายสะดือหลุดก็ให้เก็บ ไว้ด้วยเช่นกัน.โบราณเชื่อว่าเด็กจะได้ไม่ดื้อไม่ซน.บีบปลายเนินอวัยวะแล้วดันขึ้น เบาๆ. แล้วพูดว่า. เนินขุมทรัพย์จะอวบอิ่มอูม. เชื่อกันว่าจะเรียกทรัพย์เข้าบ้าน. สติปัญญาลูกจะดี . 221


33

. 3.7.. ลูกผูช้ ายตรวจดู.ถ้าพบว่าอัณฑะใหญ่.ยานผิดปกติ.และมีเม็ดอยูข่ า้ ง เดียว.(ถ้าพบหมอที่.ร.พ.ต้องผ่าตัดแต่ต้องรอ.3.ขวบก่อนจึงจะท�าได้).ให้ใช้มะเขือ สีม่วงลักษณะคล้ายๆ. มะเขือยาวแต่ไม่ยาว. (ชาวบ้านเรียกมะเขือกระโปกแพะ). น�ามาลนไฟพออุ่นแล้วแตะหลังมือจึงน�าไปแตะอัณฑะดันขึ้นเบาๆ. (ต่อมาให้หมอ โบราณพ่นด้วยเหล้าขาวเปาซ�้าอีกหายแล).ไม่ต้องผ่าตัด . 3.8.. ลูกไม่ถ่ายเพราะมีขี้เทาเหนียว. จะท�าให้นอนไม่หลับทั้งแม่ทั้งลูก. แม่ก็มีอาการพร้อมกันคือไม่ถ่าย. เจ็บระบมแผลที่คลอดและปวดเต้านม. น�้านม ไม่ไหล. หมอต้องท�ายาระบายขับเลือดน�้าคาวปลาให้กินทันที. เมื่อลูกกินนมแม่ แล้วขี้เทาจะไม่เหนียวออกง่าย.(ขี้เทาเด็กจะมีช่วงแรกคลอดจนถึง.5-7.วัน) . 3.9.. ถ้าลูกถ่ายไม่ออกหรือปวดท้อง. เขาจะร้องไห้มาก. ให้นมก็ไม่ดูด. อาจเปนเพราะการกินอาหารของแม่.แม่ตอ้ งระวังเรือ่ งอาหารการกินตอนอยูไ่ ฟด้วย. เพราะลูกมันยังเล็กอยู่บอกเราไม่ได้.ร้องได้อย่างเดียว . ลูกสาวร้องผิดปกติให้สังเกต. ปวดท้อง. ท้องขึ้นจะแข็ง. หัวแม่เท้าลูกจะ งอหงิก. ร้องไม่หยุด. ลูกชายร้องผิดปกติให้สังเกต. ปวดท้อง. ท้องขึ้นท้องจะแข็ง. หัวแม่เท้าลูกจะงอหงิกและอัณฑะจะหดตัว. แต่ถ้าลูกชายอัณฑะหดตัว. (ไม่ร้อง). นอนเล่นดิ้นไปมาระวังมุ้งจะเปยก.ให้รีบจัดการให้ถ่าย.ลูกสาวก็เช่นกันเบาะเปยก แน่.(สมัยก่อนไม่มีแพมเพอร์ส)มีแต่ผ้าอ้อม . 3.10. ห้ามอุ้มเข้าเอวนานๆ. นานขาจะถ่าง. (ใส่ผ้าอ้อมแพมเพอร์สนาน. อาจขาถ่างได้เช่นกัน) . 3.11..เลีย้ งลูกด้วยนมแม่.ระวังถ้าลูกดูดนมระหว่างนมคัด.(คือน�า้ นมเยอะ). ลูกดูดแล้วเบือนหน้าหนี.แล้วหันมาดูดจากเต้าอีกแล้วเบือนหน้าหนีอีก.ลักษณะนี้ เรียกว่า. นมพล่าน . ลูกยังอยากดูดอยากกินอีก. แต่น�้านมไหลแรงลูกกลืนไม่ทัน. ให้แม่บีบน�้านมทิ้งไปบ้างจะไหลพอดีลูกดูด.ณ.ปัจจุบันสามารถปัมนมแม่เก็บไว้ได้ . ถ้าดูดนมจากขวด. ให้ระวังถ้าดูดแล้วหันหน้าหนีขวดนม. กลิ้งไปมา. เดียวคว้ามาดูดอีกคล้ายอยากกิน.อยากเล่นดูดไปมาแต่นมไม่หมด.ไม่ลดสักออนซ์. ให้ตรวจดูรูหัวนมมีนมแข็งตัวคล้ายเม็ดข้าวสารอุดอยู่ 222


. 3.12. ระวังอาหารของแม่. แม่กิน อะไรลู ก ก็ ไ ด้ รั บด้ วย. แม่ ให้ นมลู ก. ห้ามกินเผ็ดจัด. คาวจัด. ลูกจะท้องเสียถ่ายออกมาคล้ายเม็ดมะเขือ. มีกลิ่น ุน. ถ่ายบ่อยหลายครั้ง.ให้พลียาโบราณ.ใบทับทิม.3.ยอด.ล้างให้สะอาดต้มน�้า.1.แก้ว. ให้ลูกน้อยเกิดมาได้.10.วัน.ทานครึ่งช้อนชา.ไม่ควรกินผักสด.อาหารย่อยยาก.เช่น. เนื้อสัตว์มากเกินไป.หรือให้นมผงผสม.จะท�าให้ลูกท้องผูก.แม่ควรกินอาหารบ�ารุง น�้านมแกงเลียงหัวปลีใส่ใบแมงลักเยอะๆ.ระบายท้องดี. น�้านมเยอะดีถ้าไม่ระบาย ให้พลียาโบราณ.คือ.เถาเครือเต่าไห้. 3.ยอด.(หรือใบได้).ล้างน�้าให้สะอาดต้มน�้า. 1.แก้วให้ลูกน้อยเกิดใหม่กิน.3.หยด.ถ้ายังไม่ระบายวันต่อไปให้ครึ่งช้อนชา . 3.13. สังเกตลักษณะของซางที่จะเกิดกับลูก. ให้แม่สังเกตตรงท้ายทอย ลูกช่วงเกิดใหม่ๆ. จะไม่มีสีแดง. ซางจะอยู่ข้างในเพราะเปนซางประจ�าวันเกิด. ถ้าหากมีพิษขึ้นมาท�าให้ป วย. ตรงท้ายทอยของลูกจะแดง. ลักษณะคล้ายปาน สีแดงอยู่ใต้ผิว การดูแลเดกเลกอายุ ป . 4.1. การให้ความรักและความอบอุ่น.การกอด.พูดคุย.เล่นกับลูก. . 4.2.. การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม. อากาศภายในห้องถ่ายเทได้ สะดวก.อุณหภูมิเหมาะสม . 4.3.. การรักษาความสะอาดร่างกาย. ใช้เพลงช่วยกระตุ้นให้ลูกรักษา ความสะอาดของร่างกาย . . เพ งอาบนํ้าแ วสบาย ัว อาบน�้าแล้วสบายตัว.สระหัวแล้วสบายผม.ตัดเล็บที่มันแหลมคม. . . ปากหอมน่าดม.เพราะหนูแปรงฟัน.ดี.ดี.ดิ้วๆ.ดี.ดี.ดิ้วๆ.ดี.ดี.ดิ้วๆ. . 4.4. ดูแลลูกอย่างใกล้ชิด.ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ . 4.5. เสริมสร้างความรูแ้ ละประสบการณ์ดว้ ยกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว อย่างใกล้ชิด.เพื่อการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย.จิตใจ.อารมณ์. สติปัญญา.และสังคม แล้ว.พร้อมที่จะพัฒนาตนเองให้เปนผู้ใหญ่ที่ดีในสังคม 223


33

. 4.6. การดูแลเรื่องอาหาร. อาหารเด็ก(เสมหะสมุ ฐาน). ควรกินอาหาร. ผัก. ผลไม้. กล้วยน�้าว้า. นม. ไข่. การแก้ปัญหาลูกไม่รับประทานอาหาร. พ่อแม่. ควรมีวิธีการต่างๆ.ที่ช่วยให้ลูกรับประทานอาหารได้มากขึ้นดังนี้ . 1). ให้อาหารที่มีปริมาณและคุณค่าพอเพียงกับความต้องการของลูก . 2). กให้ลูกรับประทานอาหารแปลกใหม่จากที่เด็กเคยรับประทานมา ก่อน.เช่น.ผัก.มะเขือเทศ.ไม่ควรบังคับเด็ก.อาจท�าน�้าปัน.ผัก.ผลไม้. . 3). ถ้าเด็กไม่ยอมรับประทาน. ไม่ควรบังคับเพราะจะท�าให้เด็กไม่ชอบ อาหารชนิดนั้น. ควรใช้วิธีดัดแปลง. ปรุงรสชาติให้ถูกใจจนลูกชอบ. ยอมรั บ ประทานอาหารได้ ม าก. เช่ น . ท� า อาหารที่ มี ลั ก ษณะสี สั น. น่ารับประทาน.ท�าไข่ตุนผสมผัก.เปนต้น. . 4). อาหารต้องรสชาติไม่จัด.ไม่เค็ม.ไม่หวาน.ไม่เปรี้ยว . 5). อาหารควรมีขนาดเล็ก.อ่อนนุ่ม.เคี้ยวง่าย . 6). แบ่งมื้ออาหารเปนหลายมื้อ.ให้เด็กได้รับเพียงพอต่อความต้องการ . 7). สร้ า งบรรยากาศการรั บ ประทานอาหารที่ ดี ไ ม่ เ ครี ย ดไม่ ดุ บ ่ น ว่ า. ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง.ระหว่างรับประทานอาหาร . 8). ไม่ น� า อาหารที่ ป รุ ง สุ ก ๆ. ดิ บ ๆ. หรื อ อาหารเหลื อ ค้ า งมาให้ เ ด็ ก รับประทาน . 9). มีกิจกรรมท�าอาหารร่วมกัน

พัฒนาการเดกเลก แรกเกด ป . . .

ที่มาข้อมูล:.กรมอนามัย.กระทรวงสาธารณสุข เรียบเรียงโดย.ทีมงานพัฒนาการเด็ก www.พัฒนาการเด็ก.com/2012/02/chi d-de e opment-info.htm

224


วงอายุ

พั นาการเดก

วิธีการสงเสริมพั นาการ

1.เดือน

สบตา.จ้องหน้าแม่

2.เดือน

คุยอ้อแอ้.ยิ้ม ชันคอในท่าคว�่า

3.เดือน

ชันคอได้ตรงเมื่ออุ้ม นั่ง.ส่งเสียงโต้ตอบ ไขว่คว้า.หัวเราะเสียง ดังชูคอตัง้ ขึน้ ในท่าคว�า่

ให้กนิ นมแม่อย่างเดียว.พูดคุยยิม้ แย้ม.มองสบตาลูก.ท�า ตาลักษณะต่างๆ. เช่น. ตาโต. กระพริบตา. เพื่อให้เด็ก สนใจ.ยิ้มเพื่อให้เด็กมองที่ปากแทนสลับกันไป กินนมแม่อย่างเดียว. เล่นพูดคุยกับลูก. ท�าเสียงต่างๆ. และร้องเพลงเอียงหน้าไปมาช้าๆ.ให้ลูกมองตาม.หรือ แขวนของสีสด.ห่างจากหน้าลูกประมาณ.1.ศอกให้ลูก มองตามอุ้มบ่อยๆ. อุ้มพาดบ่าบ้าง. ให้ลูกนอนคว�่าใน ที่นอนที่ไม่นุ่มเกินไป กินนมแม่อย่างเดียว,อุม้ ท่านัง่ .พูดคุยท�าเสียงโต้ตอบกับ เด็กให้ลูกนอนเปล.หรืออู่.ที่ไม่มืดทึบ กินนมแม่อย่างเดียว,.จัดทีท่ ปี่ ลอดภัยให้เด็กหัดคว�า่ .คืบ เล่นกับลูกโดยชูของเล่นให้ลูกไขว่คว้า,.ชมเชย.ให้ก�าลัง ใจลูกเมื่อลูกท�าได้ หาของเล่นสีสดชิ้นใหญ่ที่ปลอดภัยให้หยิบ.จับ.และให้ คืบไปหา.พ่อแม่ช่วยกันพูดคุย.โต้ตอบ.ยิ้มเล่นกับเด็ก พูดถึงสิ่งที่ก�าลังท�าอยู่กับเด็ก.เช่น.อาบน�้า.กินข้าว เวลาพูดคุยกับลูกให้เรียกชื่อลูก.เล่นโยกเยกกับเด็ก หาของให้จับ

4.เดือน 5.เดือน

คืบ. พลิกคว�่า.พลิกหงาย

6.เดือน

คว้าของมือเดียว หันหาเสียงเรียกชื่อ ส่งเสียงต่างๆ.โต้ตอบ นั่งทรงตัวได้เอง อุม้ น้อยลง.ให้เด็กได้คบื และนัง่ เล่นเอง.โดยมีคณ ุ แม่คอย เปลี่ยนสลับมือถือ ระวังอยู่ข้างหลัง.ให้เล่นสิ่งที่มีสี.และขนาดต่างกัน.เช่น. ของได้ ลักษณะผิวเรียบ-หยาบ. อ่อน-แข็ง. ให้หยิบจับสิ่งของ. เข้า.-.ออก.จากถ้วย.หรือกล่อง มองตามของที่ตก กลิ้งของเล่นให้เด็กมองตาม. พูดและท�าท่าทางเล่นกับ กลัวคนแปลกหน้า เด็ก.เช่น.จะเอ.จับปูด�า.แมงมุม.จ�้าจี้.ตบมือ เข้าใจเสียงห้ามเล่น หัดให้เกาะยืน.เกาะเดิน.หัดให้เด็กใช้นวิ้ หยิบ.จับของกิน จะเอ.ตบมือ.ใช้นิ้วชี้ ชิ้นเล็กเข้าปาก. เช่น. ข้าวสุก. มะละกอหั่น. มันต้มหั่น.

7.เดือน

8.เดือน 9.เดือน

225


33 วงอายุ

พั นาการเดก และนิ้วหัวแม่มือหยิบ ของชิ้นเล็ก 10.เดือน เหนี่ยวตัว.เกาะ ยืน-เดิน.ส่งเสียง ต่างๆ. หม�่า.หม�่า ,. จะ.จา 1.ป ตั้งไข่.พูดเปนค�าที่มี ความหมาย.เช่น. พ่อ.แม่,.เลียนเสียง ท่าทางและเสียงพูด 1.ป. เดินได้เอง 3.เดือน ชี้ส่วนต่างๆ.ของ ร่างกายตามค�าบอก ดื่มน�้าจากถ้วย 1.ป. เดินได้คล่อง 6.เดือน รู้จักขอ.และท�าตาม ค�าสั่งง่ายๆ.ได้ 1.ป. พูดแสดงความ 8.เดือน ต้องการพูด.2-3.ค�า. ติดต่อกัน.เริ่มพูด โต้ตอบขีดเขียนเปน เส้นได้ เรียกชื่อสิ่งต่างๆ. 2.ป และคนที่คุ้นเคย ตักอาหารกินเอง 2.ป. ซักถาม. อะไร . 6.เดือน พูดค�าคล้องจอง.

226

วิธีการสงเสริมพั นาการ ฟักทองต้ม. ห้ามใช้ถั่ว.หรือของที่จะส�าลักได้. จัดที่ให้เด็กคลาน.และเกาะเดินอย่างปลอดภัย เรียกเด็ก.และชูของเล่นให้เด็กสนใจเพื่อลุกขึ้นจับ ให้เด็กมีโอกาสเล่นสิ่งของโดยอยู่ในสายตาผู้ใหญ่ พูดชมเชย.เมื่อเด็กท�าสิ่งต่างๆ.ได้ พูดคุย.ชี้.และบอกส่วนต่างๆ.ของร่างกาย พูดคุย.โต้ตอบ.ชีช้ วนให้เด็กสังเกตของและคนรอบข้าง ให้หาของที่ซ่อนใต้ผ้า.ชี้ให้ดูภาพ.และเล่าเรื่องสั้นๆ.ให้ เด็กฟัง.ให้เด็กหัดตักอาหาร.ดืม่ น�า้ จากถ้วย.และแต่งตัว โดยช่วยเหลือตามสมควร ให้โอกาสเด็ก.เดิน.วิง่ .และหยิบจับสิง่ ของโดยระมัดระวัง ความปลอดภัยร้องเพลง.คุยกับเด็กเกีย่ วกับสิง่ รอบตัว.เล่น เกมส์งา่ ยๆ.จัดหา.และท�าของเล่นทีม่ สี .ี และรูปทรงต่างๆ เมือ่ เด็กพยายามท�าสิง่ ใด.ควรสนใจ.ชีแ้ นะ.และให้กา� ลัง ใจ.โดยให้เด็กคิดเอง.และท�าเองบ้าง. กลูกให้ช่วยตัวเอง.เช่น.ขับถ่ายให้เปนที่. รู้จักล้างมือ ก่อนกินอาหารและหลังขับถ่าย. ให้เด็กมีส่วนร่วมท�า กิจกรรมต่างๆ.ในบ้าน คุณพ่อคุณแม่ท�าตัวเปนตัวอย่างที่ดีตลอดเวลา. และ อบรมสัง่ สอนลูกด้วยเหตุผลง่าย.สอนลูกให้รจู้ กั ทักทาย. ขอบคุณ.และขอโทษในเวลาที่เหมาะสม พาเด็กเดินรอบบ้าน.และบริเวณใกล้ๆ.ชี้ชวนให้สังเกต สิ่งที่พบเห็น.หมั่นพูดคุยด้วยค�าพูดที่ชัดเจน.และตอบ


วงอายุ

3.ป

4.ป

4.ป. 6.เดือน

5.ป

6.ป

พั นาการเดก ร้องเพลงสั้นๆ เลียนแบบท่าทาง หัดแปรงฟัน บอกชื่อ.และเพศ ตนเองได้.รู้จักให้ และรับ.รู้จักรอ ซักถาม. ท�าไม ล้างหน้า.แปรงฟัน เองได้บอกขนาด. ใหญ่.เล็ก.ยาว-สั้น. เล่นรวมกับคนอื่น.รอ ตามล�าดับก่อนหลัง ไม่ปัสสาวะรด รู้จักสีถูกต้อง.4.สี ยืนทรงตัวขาเดียว. และเดินต่อเท้า เลือกของที่ต่างจาก พวกได้..นับได้.1-10. รู้จักค่าจ�านวน.1-5 พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ ท�าความเคารพ รู้จักขอบคุณ รู้จักเล่าเรื่องสั้นๆ นับได้.1-30.รู้ค่า. 1-10.รู้จักซ้าย.ขวา เริ่มอ่านและเขียนตัว อักษรและตัวเลข

วิธีการสงเสริมพั นาการ ค�าถามของลูกโดยไม่ดุ.หรือแสดงความร�าคาญ ชวนลูกแปรงฟัน.เมื่อตื่นนอนและก่อนนอนทุกวัน สนับสนุนให้ลูกพูด. เล่าเรื่อง. ร้องเพลง. ขีดเขียน. และ ท�าท่าทางต่างๆสังเกตท่าทีความรูส้ กึ ของเด็ก.และตอบ สนองโดยไม่บังคับ. หรือตามใจลูกเกินไป. ควรค่อยๆ. รู้จักผ่อนปรนจัดหาของที่มีรูปร่าง.และขนาดต่างๆ.ให้ เด็กเล่น.หัดขีดเขียน.หัดนับแยกกลุ่ม.และเล่นสมมุติ ตอบค�าถามของเด็ก. เล่าเรื่องจากภาพ. คุย. ซักถาม. เล่าเรื่อง. กให้ ลู ก ใส่ เ สื้ อ ผ้ า . ติ ด . และกลั ด กระดุ ม. รูดซิป

ให้ลูกหัดเดินบนไม้กระดานแผ่นเดียว. หัดยืนทรงตัว ขาเดียว.และกระโดดข้ามเชือก เล่นทาย. อะไรเอ่ย .กับลูกบ่อยๆ กหัดนับสิ่งของและหยิบของตามจ�านวน.1-5.ชิ้น ให้ลูกช่วยงานบ้านง่ายๆ. และพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ท�า. เช่น. ซักผ้า กให้ลูกสังเกต. รู้จักเปรียบเทียบสิ่งที่แตก ต่าง.และจัดกลุ่มสิ่งที่เหมือนกัน ให้ลูกนับสิ่งของที่พบเห็น. หัดอ่าน. เขียนรูป. และตัว อักษร.พูดคุยกับลูกเกี่ยวกับบุคคลต่างๆ.และประเพณี ท้องถิน่ ให้ลกู วาดรูปตามความคิดของตน.และเล่าเรือ่ ง จากรูปที่วาด.หรืออธิบายสิ่งที่ตนพบเห็น

227


33

การนวดสงเสรมพัฒนาการเดกเลก

. การส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กด้วยการนวด.จะสามารถช่วยกระตุน้ ให้เกิด พัฒนาการของโครงสร้างกล้ามเนื้อและระบบต่าง.ๆ.ในร่างกาย.และยังช่วยสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกายแข็งแรง. ป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ. ตามแนวคิดการนวดไทย เปนยาอายุวฒ ั นะมีผลดีของต่อสุขภาพคนทุกเพศทุกวัย. การนวดช่วยสร้างสุขภาพ. น�าการซ่อมสุขภาพ .. 6.1. ประโยชน์ของการนวดไทยส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก. . . 1). เปนการถ่ายทอดความรักและความห่วงใยจากแม่สู่ลูก. ท�าให้ ลูกมีจิตใจแจ่มใสซึ่งเปนปัจจัยพื้นฐานในพัฒนาการพัฒนาการ ทางร่างกาย.ทางสมอง.และอารมณ์ดีขึ้นของลูก . 2). ท�าให้เกิดการผ่อนคลายทั้งทางร่างกายและจิตใจ . 3). ช่ ว ยให้ ค วบคุ ม การทรงตั ว และการเคลื่ อ นไหวส่ ว นต่ า งๆ ของร่างกายได้ดีขึ้น.. . 4)..กระตุ้นให้ระบบการไหลเวียนของเลือดดีขึ้น . 5)..กระตุ้นให้ระบบอื่นๆ.ท�างานได้ดีขึ้น.เช่น.ระบบทางเดินหายใจ. ระบบทางเดินอาหาร.การขับถ่ายอุจจาระ.เปนต้น . 6)..ช่วยให้หลับง่ายและนาน . 6.2.. การเตรียมความพร้อมในการนวด . การเตรี ย มความพร้ อ มในการนวดเป น สิ่ ง ส� า คั ญ ช่ ว ยให้ น วดง่ า ยขึ้ น ขณะนวดลูกต้องมีความสุข. เพื่อให้นวดได้อย่างต่อเนื่องและเกิดประโยชน์สูงสุด. การนวดอาจนวดเวลาเด็กอาบน�้าหรือเวลาเล่น. ท�าได้ตลอดเวลาที่เด็กพร้อม. ต้องให้เด็กคุ้นเคยกับการนวด.จึงต้องมีความพร้อมทั้งแม่และลูกดังนี้ . การเ รียมความพรอมของ ูก . 1). ลูกไม่มีอาการปวย.ไม่มีไข้.ตัวร้อน . 2)..ควรนวดตอนท้องว่าง.หรือหลังทานอาหารอย่างน้อย.1.ชั่วโมง. . 3). อาบน�้าให้ร่างกายสะอาด.อารมณ์ดี.สดชื่นก่อนนวด . 4)..ควรพูดคุย.เล่น.ร้องเพลงกับลูกก่อนนวดและขณะนวดลูก 228


การเ รียมความพรอมของแม 1)..แม่มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย. และจิตใจ. มีสมาธิ. ส�ารวมจิตในการนวด. จิตใจไม่ขุ่นมัว . 2)..อาบน�้าให้ร่างกายสะอาด.อารมณ์ดี.สดชื่น.ตัดเล็บสั้น . 3)..ท�ามือให้อุ่น .. การเ รียมส านที่แ ะอุปกรณ . 1)..ขณะนวดไม่มสี งิ่ เบีย่ งเบนความสนใจลูก.เพือ่ ให้นงิ่ อยูก่ บั การนวด.เช่น. เสียงดัง.โทรทัศน์.โทรศัพท์.เปนต้น . 2)..อุณหภูมิไม่ร้อนหรือเย็นมากเกินไป.อากาศถ่ายเทได้สะดวก. . 3)..พื้นที่ใช้ กต้องไม่แข็งหรือนิ่มจนเกินไป.ควรใช้เบาะ.หรือปูผ้าหนาๆ. . 4)..ใช้หมอนหนุนศีรษะ.และหมอนรองขาในบางท่า.เช่น.ท่านอนตะแคง . 5)..ใช้แป้ง.และน�้ามันจากธรรมชาติบริสุทธิ์.เช่น.น�้ามันงา.น�้ามันมะกอก. น�้ามันมะพร้าว.เพื่อลดการเสียดสีเวลาลูบ.ท�าให้ลูกไม่เจ็บและนวดได้ คล่องขึ้น.โดยใช้ผ้าปูรองที่พื้น. 6.3..ข้อห้ามในการนวดเด็ก. . 1).ห้ามนวดในต�าแหน่งห้ามนวดตามหลักการนวดไทย.ได้แก่.กระหม่อม ของเด็กอายุต�่ากว่า.2.ขวบ(เนื่องจากยังไม่ปิด).ต่อมน�้าลาย.คอด้าน หน้า(มีหลอดเลือดใหญ่บริเวณข้างคอ). ใต้รักแร้. ข้อต่อกระดูกต่างๆ. เปนต้น. . 2)..ห้ามดัด.ดึง.เพราะอาจเกิดอันตรายต่างๆได้.เช่น.ข้อสะโพกหลุด.กระดูก หัก.เปนต้น . 3)..ห้ามอาบน�้าหรือดื่มน�้าเย็นทันทีหลังการนวดอย่างน้อย.30.นาที. .1. ชั่วโมง.หรือห้ามให้เด็กกระทบเย็นทันทีหลังการนวด 6.4..การนวดสัมผัสเด็กเล็ก . การนวดเด็กเล็กใช้วธิ กี ารนวดสัมผัสอย่างอ่อนโยน.นวดคลึงคลาย.ไม่นวด กดจุด. ลงน�้าหนักบีบหนัก. การนวดสัมผัสอย่างสม�่าเสมอจะช่วยให้โครงสร้าง .. .

229


33

ร่างกายและกล้ามเนือ้ แข็งแรง.น�า้ หนักตัวเพิม่ ขึน้ .อารมณ์ด.ี มีพฒ ั นาการทางสมอง ดีขึ้น.

ทานวดสัมผัสลูกนอยของมูลนธสุขภาพไทย การนวดสัมผัสลูกน้อยด้วยน�า้ มัน.แม่ควรนัง่ บนพืน้ เหยียดขาตรง.และคลุม ด้วยผ้าขนหนู.ถอดเสื้อผ้าลูกออก.วางลูกน้อยบนขาของแม่.ข้างตัวแม่มีภาชนะใส่ น�้ามันที่ใช้นวด. การนวดสัมผัสแต่ละท่าควรท�า. 8-10. ครั้ง. การนวดสัมผัสทุกท่า จะใช้เวลาประมาณ.15-20.นาทีเท่านั้น.การนวดนี้สามารถท�าได้ทุกวัน. ทาทรวงอก . จุ่มนิ้วลงในน�้ามัน. และถูมือทั้งสองข้างเข้า ด้วยกัน.เพื่อให้เกิดความอุ่นจากนั้นบรรจงทาน�้ามันลง ไปบนอกลูกน้อย.เลื่อนมือทั้งสองข้างช้าๆ.และนุ่มนวล เคลื่อนที่ออกไปยังด้านข้างตามแนวซี่โครงลูบสลับ ในท่าทแยงมุม. มือขวาลูบเ ียงจากแนวสะโพกซ้าย ของลูกไปยังไหล่ด้านตรงกันข้าม. และเลื่อนไปตามหัวไหล่และล�าคอ. เมื่อมือขวา เลื่อนกลับไปยังสะโพก. มือซ้ายก็เริ่มเคลื่อนไปยังไหล่อีกด้านและเลื่อนไปตาม หัวไหล่และล�าคอท�าสลับกัน

230


ทานวดแขน มือ .. พลิกตัวลูกให้นอนตะแคง.มือแม่จับข้อมือลูก. และเหยียดแขนลูกให้ตรง.ใช้มอื อีกข้างกุมทีห่ วั ไหล่และ เคลือ่ นมือขึน้ มาตามล�าแขนอย่างช้าๆ.เมือ่ เคลือ่ นมาถึง ข้อมือให้จับกุมไว้. และปล่อยมืออีกข้างมาจับที่หัวไหล่. เคลือ่ นตามล�าแขนจนถึงข้อมือ.ท�าสลับ.เช่นนีด้ ว้ ยความ เนิบช้า.ใช้. 2.มือ.กุมที่หัวไหล่บีบแล้วบิดเบาๆ.หมุนมือเคลื่อนที่สลับทางกันจาก หัวไหล่สขู่ อ้ มือ.เมือ่ ถึงข้อมือแล้วกลับมาเริม่ ต้นใหม่ทหี่ วั ไหล่อกี ใช้นวิ้ หัวแม่มอื และ นิว้ ชีค้ ลึงรอบข้อมือลูกอย่างแผ่วเบาและเนิบช้า.ใช้มอื ทัง้ สองข้างของแม่กมุ ทีข่ อ้ มือ ลูก. ใช้นิ้วหัวแม่มือของแม่ลูบสลับจาก ามือไปสู่นิ้วมือ. และนวดนิ้วมือโดยการ คลี่นิ้วออกทีละนิ้ว. จากนั้นพลิกตัวลูกนอนตะแคงอีกข้างท�าซ�้าบนแขนและมือ อีกข้าง. ข้อมือและนิ้วมือของลูกเปนส่วนที่ส�าคัญ. การนวดข้อมือและนิ้วมืออย่าง นุ่มนวล. ประณีต. จะช่วยให้พัฒนาการในการใช้น้ิวมือดีข้ึน. และช่วยให้เด็กทารก มีข้อมือที่แข็งแรงพร้อมในการรับน�้าหนักตัวเมื่อลูกหัดคลาน 3 ทานวดทอง .. พลิกตัวลูกให้นอนหงาย.เพือ่ นวดสัมผัสบริเวณ ท้อง.มือทั้งสองข้างของแม่นวดสัมผัสท้องลูก.โดยการ ลูบเข้าหาตัวแม่สลับมือกันไปมา.โดยเริ่มจากใต้อก..ใช้ มือขวาของแม่จับขาทั้ง.2.ข้างของลูกยกขึ้นให้เหยียด ตรงแล้วลูบซ�้าด้วยมือซ้ายโดยกดได้ลึกกว่าเดิม

231


33

ทานวดขา .. แม่จับข้อเท้าลูกข้างหนึ่งเหยียดขาให้ตรง.มือ อีกข้างจับที่ต้นขาแล้วรีดด้วยนิ้วทั้งห้าของแม่ขึ้นมายัง ข้อเท้า.เมือ่ มาถึงข้อเท้าให้จบั ข้อเท้าไว้ปล่อยมืออีกข้าง ไปจับที่ต้นขา.แล้วรีดขึ้นมาหาข้อเท้าท�าสลับกันเช่นนี้. ใช้มอื ทัง้ สองข้างของแม่จบั ทีต่ น้ ขาลูก.บีบและบิดเบาๆ. หมุนเคลื่อนที่สลับทางกัน.จากต้นขาสู่ข้อเท้าลูก.เมื่อถึงข้อเท้าแล้วกลับมาเริ่มต้น ที่ต้นขาอีก. แม่ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้คลึงรอบเท้าลูกอย่างแผ่วเบา. นุ่มนวล ให้รอบข้อเท้า. คลึงรอบตาตุ่มและบริเวณเอ็นร้อยหวาย. แม่ใช้นิ้วหัวแม่มือนวด าเท้าลูกจากส้นเท้าขึ้นมาที่นิ้วเท้าลูกทุกนิ้ว. จากนั้นลูบ ามือบน าเท้าของลูก เข้าหาตัวแม่.ท�าซ�้าบนขาและเท้าอีกข้าง.เท้าและข้อเท้าของลูกมีความส�าคัญมาก. เพราะเปนส่วนที่รับน�้าหนักตัวเมื่อเด็กหัดยื่นและเดิน.การนวดเท้าและข้อเท้าของ ลูกจะเปนการเตรียมความพร้อมให้กับเด็กในการยืนและเดินต่อไป ทานวด ลัง . แม่อมุ้ ลูกน้อยให้นอนคว�า่ ขวางตักโดยให้ศรี ษะ หันไปทางซ้ายมือของแม่.แม่ใช้ ามือทัง้ .2.ข้าง.ลูบตาม ขวางไปบนแผ่นหลังของลูก. โดยท�าสลับมือซ้าย-ขวา พร้อมๆ.กัน.มือซ้ายลูบเข้ามือขวาลูบออก.โดยลูบจาก หลังช่วงบนไปสิน้ สุดบริเวณสะโพก.ท�าช้าๆ.สลับกันเช่นนีล้ บู ตามแนวกระดูกสันหลัง. โดยใช้มอื ซ้ายของแม่ลบู .ส่วนมือขวาดันไว้ทกี่ น้ ย้อยของลูกอย่างมัน่ คง.มือซ้ายเริม่ ลูบ จากบริเวณท้ายทอยลงมาที่สะโพก. เมื่อมาถึงสะโพกแล้วก็มาเริ่มใหม่ที่บริเวณ ท้ายทอยอีก..แม่ใช้มือขวาจับข้อเท้าทั้ง.2.ของลูก.เหยียดขาลูกให้ตรง.ใช้มือซ้ายลูบ จากบริเวณท้ายทอยมาถึงสะโพกและเคลือ่ นต่อไปจนถึงข้อเท้าของลูกในลักษณะของ การลูบเพียงครั้งเดียว 232


ทานวด บ นา . แม่พลิกตัวลูกน้อยให้นอนหงาย. ตามความยาวของ ล�าขาแม่อีกครั้ง. ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง. 2. ลูบจากกึ่งกลาง หน้าผากของลูกไปที่ขมับ. โดยลูบให้ทั่วทั้งหน้าผากมา จนถึงแนวคิว้ ของลูก.ใช้นวิ้ หัวแม่มอื ทัง้ .2.ลูบจากหัวคิว้ ไปตามด้านข้างของสันจมูกลงมาที่พวงแก้ม. ลูบเ ียงขึ้นไปตามมุมปาก. และนวด บริเวณริม ปากอย่างนุ่มนวล. ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง. 2. ลูบจากกึ่งกลางคางของลูก. ลูบขึ้นไปจนจรดบริเวณติ่งหูทั้งสองข้างของลูก. . ใช้นิ้วชี้และหัวแม่มือทั้งสองข้าง. ลูบรอบนอกของใบหูทงั้ สองของลูกโดยเริม่ จากด้านบนลูบลงมาถึงติง่ หู.ใช้ปลายนิว้ ทั้ง.4.กดแนบใบหูทั้งสองของลูกกดแล้วคลาย ทาบร าร . ใช้ มื อ ทั้ ง สองข้ า งของแม่ จั บ ข้ อ มื อ ทั้ ง สอง ของลูก. ไขว้แขนทั้งสองข้างมาที่หน้าอกแล้วเปิดออก. โดยยืดแขนออกไปจนสุด. แล้วไขว้แขนทั้งสองข้างมา ที่อกอีกครั้ง..จับข้อมือและข้อเท้าของลูกที่อยู่ตรงข้าม กัน. ไขว้เ ียงกันมาที่หน้าอกท�าสลับข้างกัน. จับข้อเท้าทั้งสองของลูกดึงมาไขว้กัน บริเวณท้อง.พับกดลงไปอย่างนุ่มนวลแล้วคลายออก.ยืดขาทั้งสองให้กางออกแล้ว ไขว้เข้าหากันอีก.ท่าบริหารทั้งสามท่า.ต้องท�าด้วยความอ่อนโยนที่สุด

233


33

จุดมุ่งหมายของท่าบริหารเพื่อเปนการยืดแขน. ขา. กล้ามเนื้อผ่อนคลาย. ข้อต่อต่างๆ. ท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น. และการนวดบริเวณปาก. เปนการกระตุ้นให้เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ดีขึ้น . การนวดสัมผัสใช้เวลาประมาณ.15-20.นาที. หลังจากนั้นควรอาบน�้าให้ ลูกน้อย.ไม่ใช่เพือ่ ท�าความสะอาด.เพราะน�า้ มันทีใ่ ช้จะถูกผิวหนังดูดซึมไปหมดแล้ว. แต่การอาบน�้าเพื่อให้ลูกเกิดความรู้สึกเปนสุขและผ่อนคลายอย่างเต็มที่. การนวด เช่นนี้สามารถท�าได้ทุกวัน .

ทานวดผอนคลายกลามเนือ คอ ลัง สะบัก . การนวดเด็กแต่ละครั้งต้องใช้เวลานานพอควร. เด็กจะให้ความร่วมมือใน การนวดดีถา้ ผูน้ วดอยูใ่ นท่าทีท่ า� ให้เด็กสบายและสงบ.แม่อาจปวดเมือ่ ยร่างกายได้ ถ้าอยู่ในท่าที่เกร็งและ นนาน. ดังนั้นอาจมีการปรับใช้ท่านอนหงาย. นอนตะแคง. หรือท่านั่ง.ในการนวดได้.(ดังรูป)

.. วิธกี ารนวดเริม่ จากการนวดผ่อนคลายส่วนศีรษะ.คอ.บ่า.สะบัก.หลัง.แขน. และมือ.โดยแม่ใช้ปลายนิว้ มือลูบ.ใช้นา�้ หนักเล็กน้อยไปตามบริเวณศีรษะ.ไล่ลงมาที่ คอด้านหลัง.บ่าทัง้ สองข้าง.ร่องสะบัก.หลัง.(ข้างแนวกระดูกสันหลัง).แล้วจึงมาก�า ที่ต้นแขนเบาๆ. ในลักษณะก�าแล้วปล่อยไล่ลงไปจนถึงข้อมือ. ส่วน ามือของเด็ก ให้ใช้วธิ ลี บู หรือคลึง ามือ.ส่วนการนวดขาสามารถใช้วธิ เี ดียวกันกับการนวดแขนได้

234


. ส�าหรับการนวดเท้าให้กด.ลูบ.หรือคลึงเบาๆ.บริเวณ าเท้า.ขอบ าเท้า. และรอบตาตุ่ม.(ดังรูป) .. .. .

ทานวดคอ สะบัก

ทานวดคอ แขน มือ

ทานวดเพื่อ วยระบบขับ าย . วิธีการนวดเพื่อช่วยให้เด็กขับถ่ายแบบง่ายๆ.มีอยู่.2.วิธีคือ . 1). นวดแบบโกยท้อง.ผูน้ วดนัง่ ข้างล�าตัว.หันหน้าเข้าหาเด็กตามแนวขวาง ของล�าตัว. วางมือลงบนท้องเด็กในลักษณะขวางมือใช้ปลายนิ้ววางชิดขอบซี่โครง. (ตามภาพ. ก.). กดปลายนิ้วมือลงช้าๆ. อย่างนุ่มนวล. แล้วดึงเข้าหาสะดือ. แล้วใช้ ส้นมือดันกลับไปเข้าหาสะดือ.(ตามภาพ.ข.).นวดประมาณ.3-5.ครั้ง . 235


33

ภาพ.ก...ใช้ปลายนิ้วโกยท้องเข้าหาสะดือ

ภาพ.ข..ใช้ส้นมือผลักดันท้องเข้าหาสะดือ

. 2). นวดตามเข็มนา กิ า.ใช้ ามือคลึงท้องเด็กวนตามเข็มนา กิ าประมาณ. 3-5.รอบ.อาจนวดขณะอาบน�้าให้เด็ก.เมื่อถูสบู่ให้ลูบบริเวณท้องตามเข็มนา ิกา ประมาณ.3-5.รอบ . ขอควรระวัง ไม่นวดหลังจากที่เด็กกินอาหารอิ่มใหม่ๆ ขอแนะนํา.. ควรนวดตอนเช้าเมื่อเด็กตื่นนอน.ซึ่งท้องยังว่างอยู่ ผ ที่ ด ช่วยให้เด็กขับถ่ายอุจจาระดีขึ้น. เมื่อเด็กขับถ่ายดีขึ้นแล้ว . . เด็กก็สบายตัว.กินอาหารได้.มีอารมณ์ดีขึ้น

การนวดเพื่อ วย นอน ลับ . วิธีการนวดมีวิธีการหลากหลาย. ได้แก่. การกด. การบีบ. การก�า. การลูบ. การคลึง.และการเคาะ . ต้องสังเกตเด็กว่า.เด็กชอบให้สมั ผัสส่วนใดของร่างกายมากทีส่ ดุ .เช่น.ศีรษะ. ใบหน้า. หลัง. หรือเท้า. เปนต้น. เมื่อทราบว่าเด็กชอบให้สัมผัสส่วนใดก็ให้เริ่มนวด จากส่วนนั้นก่อนเพื่อให้เด็กผ่อนคลาย. แล้วตามด้วยส่วนของร่างกายทีละส่วน. ได้แก่.การคลึงศีรษะเบาๆ.ด้วยปลายนิ้ว.ตามด้วยท้ายทอย.หลัง.แล้วไล่ลงมาที่ขา. เท้า.แขน.ท้อง.หน้าอกและล�าคอ.โดยใช้เวลาเพียง.15-20.นาทีเท่านั้น.หากเด็ก ชอบเสียงเพลง.หรือฟังนิทาน.ก็สามารถเปิดเพลงคลอเบาๆ.หรือเล่านิทานให้ฟัง ในขณะที่นวดก็ได้จะยิ่งช่วยให้เด็กผ่อนคลายมากขึ้น 236


. ข้อควรระวัง.ไม่ควรนวดขณะทีเ่ ด็กยังไม่พร้อม.เช่น.ก�าลังสนุกกับการเล่น. ก�าลังหิวหรือก�าลังอิ่ม.เพราะจะท�าให้การนวดไม่มีประสิทธิผล .

ตัวอย่างเด็ก..กลุ่มเด็กมีพัฒนาการช้า.(ด้านร่างกาย)

ตัวอยาง เดกอายุ

เดือน

เดือน และ

เดือน

. ปัญหา.3.ราย..คล้ายกันคือพัฒนาการด้านร่างกายช้าล่าช้ากว่าเด็กปกติ ในวัยเดียวกัน..ได้แก่..กล้ามเนื้อหลังล�าตัวไม่แข็งแรง...ควบคุมการทรงตัวในทานั่ง ด้วยตนเองไม่ได้.เกาะยืน./.ยืนทรงตัว.ด้วยตัวเองไม่ได้. ...........หลังจากใช้การนวด.ค่อยๆเริ่มนั่ง..คลาน..ยืนทรงตัว.และเดิน.ตามล�าดับ. . ในระยะเวลา1-.2.ป.ใช้นวด.กายภาพ..และการเคลื่อนไหวกิจกรรมบ�าบัด. กท�ากิจวัตร. และจัดกิจกรรม. รวมทั้งเลือกการเล่นของเล่นเพื่อ กและส่งเสริม การเคลื่อนไหว.การทรงตัวและการเรียนรู้ด้านต่างๆ ..........ปัจจุบัน.ทั้ง.3.คนมีพัฒนาการสามารถเขาเรียนในโรงเรียนได้ตามเกณฑ์ . ตัวอย่างเด็ก. น�้าหนักตัวแรกคลอดน้อย,. มีกล้ามเนื้อน้อย,. ท้องผูก. จากการดื่มนมผสม.(นมชง).... . 1). น�้าหนักตัวแรกคลอด.2,560.กรัม..มีกล้ามเนื้อน้อย.และกล้ามเนื้อ ไม่มีแรง.อ่อนปวกเปยก. แม่กงั วลลูกจะมีพฒ ั นาการช้า.ส่งผลให้สขุ ภาพไม่แข็งแรง.เคยเรียนนวดไทย.. . จึงน�ามาใช้หลังคลอดได้. 3.สัปดาห์. โดยใช้นา�้ มันชโลมผิวก่อนนวด.นวดวันละ.3.ครัง้ . 237


33

ครั้งละ. 15-20. นาที. โดยการ. บีบ. ก�า. ลูบ. เบาๆทุกส่วน. บริเวณก้นใช้การลูบ และคลึงสลับกัน. ขณะนวดสื่อสารกับลูกด้วย. เช่น. ร้องเพลง. เล่านิทาน. และ บอกลูกว่าขณะนี้ก�าลังท�าอะไร.มีผลดีขึ้นหลังนวดสม�่าเสมอ.2.เดือน ...........ลูกอารมณ์ดี.มีกล้ามเนื้อทุกส่วนแข็งแรงขึ้น..ควบคุมการชันคอ..พลิกตัว. คว�่า-หงาย.ส่งเสียงอ้อแอ้ . 2). ปัญหาการขับถ่ายจากการทีล่ กู ต้องดืม่ นมผงชง.เพือ่ เตรียมความพร้อม ก่อนแม่ออกท�างาน. (ครบก�าหนดแม่ลางาน). และแม่มีน�้านมน้อย. ส่งผลให้ลูก มีปัญหาการขับถ่าย.ถ่ายล�าบาก.ร้องไห้. 1.สัปดาห์. ถ่าย.1-2.ครั้ง.หากใช้ยาสวน เกรงจะเกิดอันตราย .. ใช้การนวดท้องตอนก่อนดื่มนมและหลังตื่นนอน..ท�าวันละ.2-3.ครั้ง.มีผล ขับถ่ายง่ายขึน้ .และถ่ายเปนปกติทกุ วัน.การร้องไห้โยเยหายไป.ส่งผลให้หลับสบาย. หลับนานแม้จะมีเสียงดังรบกวน .. แม้ตอนนี้ลูกอายุ.2.ขวบกว่าแล้ว.ยังใช้การนวดให้กับลูกบ่อย..ตอนก่อน นอน..และเมื่อมีปัญหาท้องผูก.ลูกมีความสุขและชอบการนวด . ขอบคุณภูมิปัญญาไทยที่สืบสานส่งต่อกันมา.จนถึงปัจจุบัน.ให้ได้มีโอกาส เรียนรู้ร่วมกัน จัดท�าโดย..อาจารย์สนิท.วงษ์กระวัน อาจารย์กรกมล.เอี่ยมธนะมาศ อาจารย์นิทรา.ต่ายลีลาศ อาจารย์สุดารัตน์.สุวรรณพงศ์.

238


อา ารไทยตาม ดูกาล ทา

าร พท

น ท ภ ภเ ร

ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ. โดยเ พาะด้านอาหาร. การกิน.เปรียบดัง่ เปนครัวของโลก.นอกจากนัน้ ยังมีวถิ ชี วี ติ ทีเ่ หมาะสมกับทรัพยากร ที่มีอีกด้วย. คือ. แต่ละภาคก็จะมีอาหารประจ�าถิ่น. รสชาติที่ค่อนข้างเ พาะถิ่น. เปนต้น.หรืออาหารที่เหมาะสมกับฤดูกาลก็มีการพูดถึง . คัมภีร์ทางการแพทย์แผนไทยได้เขียนไว้ว่า.เมื่ออากาศเปลี่ยน.ฤดูเปลี่ยน. สมุฏฐานการเกิดโรค.(ทีต่ งั้ การเกิดโรค).ก็เปลีย่ น.ร่างกายผูใ้ ดทีป่ รับตัวไม่ทนั ก็อาจ เกิดการเจ็บปวยขึ้นได้. และอาหารก็เปนส่วนหนึ่งที่มีส่วนในการรักษาสมดุลของ ร่างกายให้ไม่เจ็บปวย. ดู น เปนช่วงที่ร่างกายมีภาวะของลมหรือวาตะก�าเริบได้ง่าย. ดังนั้น รสชาติอาหารทีร่ บั ประทานจะต้องมีรสร้อน.จะช่วยขับลมได้ด.ี เช่น.เครือ่ งเทศต่างๆ. ขิง.ข่า.กะเพรา.กระวาน.พริกไทย.หอม.กระเทียม.เปนต้น.ตัวอย่างอาหารเช่น. ผัดกะเพราโบราณ.ต้มโคล้ง.แกงข่าไก่ ดู นาว เปนช่วงที่ร่างกายมีภาวะของน�้าหรือเสมหะในร่างกายก�าเริบ ได้ง่าย. ก็มักจะเปนหวัด. หรือมีโรคระบบทางเดินหายใจก�าเริบมากในฤดูนี้. ดังนั้น

239


33 ควรรับประทานอาหารที่มีรสชาติออกเปรี้ยว.เพื่อบ�ารุงให้ธาตุน�้าในร่างกายสมดุล. หรือรสร้อนเพื่อเพิ่มความอบอุ่นให้ร่างกาย ดูรอน เปนช่วงที่ร่างกายจะเจ็บปวยได้ง่ายจากภาวะที่ธาตุไฟก�าเริบได้ ง่าย.เช่น.เปนไข้.ปวดศีรษะ.ดังนั้นอาหารที่ควรรับประทานก็คืออาหารที่มีฤทธิ์เย็น. เช่น.ผักผลไม้ที่อวบน�้า.เช่น.แตงโม.ฟัก.แฟง.บวบ.เปนต้น

ตัวอยางอา ารท่เ มาะสมท่ ะรับประทาน น ดู นและ นาว ผัดกะเพรา บราณ . สวนประกอบ . . พริกแห้ง. หอมแดง. กระเทียม. ลูกกระวาน. รากผักชี. พริกไทยล่อน. รากกะเพรา.ใบกระเพรา.ดอกกระเพรา. . . ไข่เปด.1.ฟอง . . น�้าปลา.น�้าตาลปบ.เกลือ. . . น�้ามันพืช . . เนื้อหมูหรือเนื้อสัตว์อื่นตามชอบใจ วิธีทํา . 1.. น�ากระวานไปคั่วบนกระทะให้มีกลิ่นหอมแล้วยกลง. . 2.. จากนัน้ น�ากระวานและเครือ่ งแกงทัง้ หมดมาต�าโขลกรวมกันจนพอหยาบ. . 3.. ตั้งกระทะและใส่น�้ามัน. น�าเครื่องแกงที่โขลกไว้ทั้งหมดลงไปผัดให้ กลิ่นหอม ุน . 4.. น�าเนื้อสัตว์ที่หั่นเตรียมไว้ลงไปผัด. พอเนื้อเริ่มสุก. ใส่ใบกะเพรา. ดอกกะเพรา. . 5.. รอสักครูแ่ ล้วจึงปิดไฟ.ปรุงรสด้วย.น�า้ ปลา.เกลือ.น�า้ ตาลปบ.ตามชอบใจ. . 6.. จากนั้นน�าไปราดข้าว. ตกแต่งด้วยใบและดอกกะเพรา. โปะด้วย ไข่ดาว.(ไข่เปด) 240


ยาเกลด ตรก ก สวนประกอบ . 1.. ใบบัวบก.. 300.. กรัม. . 2.. น�้าสะอาด.. 200.. มิลลิลิตร. . 3.. น�้าตาลทราย.. 600.. กรัม . 4.. ผงสมุนไพร.ได้.แก่.พริกไทย.ขิง.ดีปลี.อย่างละ.1.ช้อนโตะ. วิธีทํา. . 1.. คั้นใบบัวบกกับน�้าสะอาด.กรองเอาแต่น�้า. . 2.. น�าน�า้ บัวบกทีไ่ ด้มาเคีย่ วกับน�า้ ตาลทราย.โดยเคีย่ วไปเรือ่ ยๆ.จนกระทัง่ ข้นเหนียวเหมือนน�า้ ผึง้ .(สังเกตโดย.น�าน�า้ บัวบกทีเ่ คีย่ วได้หยดลงไปในน�า้ .น�า้ บัวบก จะจับกันเปนก้อนไม่แตกตัว). . 3.. ใส่ผงสมุนไพรตรีกฏกลงในน�้าบัวบก. เคี่ยวไปเรื่อยๆ. จนข้นเหมือน น�า้ ตาลปก.(ต้องคนตลอดเวลา.ไม่เช่นนัน้ น�า้ ทีเ่ คีย่ วจะแข็งและไม่แตกตัวเปนเกล็ด). . 4.. ยกกระทะลงจากเตา.แล้วน�ามากวนเร็วๆ.จนยาแห้งเปนเกล็ด. วิธีรับประทาน. . ใส่. ยาเกล็ด.1.ช้อนชา.ชงกับน�้า.1.แก้ว.(250.มิลลิลิตร).สามารถใช้ดื่ม หรือใช้ปรุงแต่งในอาหารได้.หลีกเลี่ยงการใช้ขณะที่มีไข้สูง

เตาสวนเมดบัว สวนประกอบ . 1.. เม็ดบัวแกะเปลือก.. 200.. กรัม.. . 2.. ลูกเดือย.. 300.. กรัม . 3.. น�้าตาลทรายแดง.. 5.. ช้อนโตะ

241


33 . 4.. แป้งท้าวยายหม่อม.. 3-4.. ช้อนโตะ . 5.. กะทิ.. 200.. มิลลิลิตร. . 6.. เกลือ.. .. ช้อนชา . 7.. น�้า.. 1.. ลิตร. วิธีทํา . 1.. น�าเม็ดบัวที่แกะเปลือกแล้วมาผ่าเอาไส้ใน. (ดีบัว). ออกแล้วจึงน�า เม็ดบัวที่ได้ไปล้างในน�้าสะอาด . 2.. น�าเม็ดบัวมาผ่าซีกและลูกเดือยน�าไปต้มในน�้าเดือดจนเม็ดบัวสุกแล้ว จึงน�าขึ้นมาพักไว้ . 3.. น�าแป้งท้าวยายหม่อมละลายกับน�้าคนให้เข้ากัน. ก่อนน�าไปตั้งไฟจน แป้งสุก . 4.. น�าเม็ดบัวผ่าซีกและลูกเดือยที่ต้มสุกแล้วเทลงผสมกับแป้งเท้ายาย หม่อมที่ตั้งไฟไว้ . 5.. น�้าตาลทรายแดงและกวนจนส่วนผสมทั้งหมดเข้ากัน . 6.. น�าน�้ากะทิ.เติมเกลือเล็กน้อย . 7.. น�าเม็ดบัวที่กวนได้ที่ตักใส่ถ้วยพร้อมรับประทานราดหน้าด้วยกะทิ ที่เตรียมไว้ด้านบน

242


ตัวอยางเครื่องดื่ม น ดูรอน นํา กปน บบัวบก สวนประกอบ. ฟัก.1.ลูก. บัวบกสด.1.ก�ามือ. เกลือ.1.ถ้วย . . หญ้าหวาน.50.กรัม. น�้ามะนาว.1.ถ้วย. วิธีทํา . 1... น�าใบบัวบกสดล้างให้สะอาด.ปันกรองเอาแต่น�้า . 2... ต้มหญ้าหวานกับน�้า.1.ลิตร.ประมาณ.15.นาที.กรองเอาแต่น�้า . 3... น�าฟักมาปอกเปลือก.ล้างให้สะอาด.หันเปนสี่เหลี่ยมเล็กๆ . 4... น�าฟักไปปันกับน�้าใบบัวบกเติมน�้าแข็ง. ปรุงรสเพิ่มด้วยน�้ามะนาว. น�้ า เชื่ อ มจากหญ้ า หวานและเกลื อ ตามชอบ. ปั  น ให้ เข้ า กั น . ตั ก ใส่ แ ก้ ว พร้ อ ม รับประทาน นํา กปนกระเ ยบ สวนประกอบ. ฟัก.1.ลูก. กระเจียบ.50.กรัม. น�้ามะนาว.1.ช้อนชา . ขิง.1.แง่ง. หญ้าหวาน.10.กรัม. เกลือ.1.ช้อนชา วิธีทํา . 1... น�าขิงล้างให้สะอาดแล้วหั่นเปนแว่น . 2... ต้มกระเจียบ. ขิง. กับน�้า. 1.5. ลิตร. ประมาณ. 10. นาที. จากนั้นเติม หญ้าหวาน.ต้มต่ออีก.5.นาที.กรองเอาแต่น�้า . 3... น�าฟักมาปลอกเปลือก.ล้างให้สะอาด.หันเปนสี่เหลี่ยมเล็กๆ . 4... น�าฟักที่ได้ไปปันโดยเติมน�้าแข็ง. เกลือเล็กน้อย. และน�้าขิงกระเจียบ. (อาจเติมใบสาระแหน่หรือใบเนียมหูเสือก็ได้เพื่อเพิ่มความสดชื่น). ปันให้เข้ากัน. ตักใส่แก้วพร้อมรับประทาน 243


อ รมาแบบไทยคลายความเครยด ทา

าร พท

น ท ภ ภเ ร

อ รมา แปลวา กล่น กล่น อม .

เมื่ อ มี อ าการเครี ย ด. หลายๆคนมั ก หาวิ ธี บ� า บั ด ความเครี ย ดด้ ว ย. กลิ่นหอม . ซึ่งกลิ่นที่ว่าไม่ได้มีประโยชน์แค่ท�าให้รู้สึกสดชื่นเท่านั้น. แต่ยังท�าให้ เรารู้สึกผ่อนคลายบรรเทาความเครียด. หรือแม้กระทั่งอาการเจ็บปวยบางอย่าง ได้อีกด้วย . การน�ากลิ่นจากพืชมาใช้. บ�าบัด . โดยสกัดเปนน�้ามันหอมระเหย. หรือ ที่เรารู้จักกันในชื่อ. อโรมาเธอราป. (คนไทยรู้จักในชื่อ. คันธบ�าบัด). มีมานานกว่า. 6,000. ปแล้ว. เท่าที่มีหลักฐานก็คือ. มีการใช้ในสมัยอียิปต์ทั้งในพิธีกรรมและเพื่อ การผ่อนคลาย. ต่อมาชาวกรีกได้น�าน�้ามันหอมระเหยมาใช้บ�าบัดโรคโดยพบว่า มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน . กลิ่นจากน�้ามันหอมระเหยที่ผ่านการสกัดนั้นมีประโยชน์ต่อร่างกายและ จิตใจของเรา.เมือ่ ร่างกายเราได้รบั สารส�าคัญจากน�า้ มันหอมระเหย.จะมีผลต่อระบบ การท�างานในร่างกายที่ควบคุมระบบประสาทและการหลั่ง อร์โมน.โดยกลิน่ ที่เรา ได้รับเข้าไปนั้นจะไปกระตุ้นสมองส่วนที่มีผลต่ออารมณ์. ท�าให้เราสามารถน�ามา จัดการกับอารมณ์ได้ตามคุณสมบัติของกลิ่นนั้นๆ 244


.. ในปัจจุบนั กลิน่ ทีส่ กัดจากน�า้ มันหอมระเหยถูกน�ามาใช้ในการบ�าบัดรักษา โรค.การนวด.การบ�าบัดจิตใจ.การท�าเครือ่ งหอม.และเปนส่วนหนึง่ ของเครือ่ งส�าอาง. โดยเราจะพบได้ในโรงแรม.สปา.รวมทั้งในผลิตภัณฑ์ต่างๆ.เปนหลัก.ซึ่งน�้ามันหอม ระเหยแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป. เช่น. ช่วยแก้ภูมิแพ้. ก�าจัด แบคทีเรีย. ส่วนกลิ่นแต่ละกลิ่นก็จะท�าให้เกิดความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไป. เช่น. ผ่อนคลาย.สงบ.หรือกระปรี้กระเปร่า . ัวอยางก ิ่นที่ บําบัดความเครียด ได้แก่. .. 1... กลิ่นพิมเสน. แก้สิว. ลดการอักเสบและ ่าเชื้อ. แก้รังแคบ�ารุงเส้นผม. ไล่แมลงและบรรเทาความเครียด .. 2... กลิ่นลาเวนเดอร์. ช่วยให้นอนหลับง่าย.ช่วยปรับอารมณ์ให้เกิดความ สมดุล.จิตใจสงบ .. 3.. กลิ่นตะไคร้หอม. ท�าความสะอาดผิวได้ดี. ช่วยบรรเทาอาการหวัด. ปวดศีรษะ.ลดไข้และผ่อนคลายกล้ามเนื้อ .. 4... กลิ่นโรสแมรี่.ท�าให้สดชื่นแจ่มใส.มีสมาธิและมีก�าลังใจ.แก้ปวดศีรษะ. ไมเกรน .. 5... กลิ่นคาโมมายล์. ท�าให้ผิวสะอาด.จิตใจแจ่มใส.มีสมาธิ. ใช้นวดตัวจะ ท�าให้ผิวหนังผ่อนคลาย .. 6... กลิน่ ยูคาลิปตัส.ช่วยให้หายใจโล่ง.ปลอดโปร่ง.มีสมาธิ.บรรเทาอาการ อ่อนล้า.ถ้าใช้นวดจะท�าให้สดชื่. . 7..กลิน่ เปปเปอร์มนิ ต์.ท�าให้จติ ใจสดชืน่ .แจ่มใส.ปลอดโปร่ง.กระตุน้ ความ คิดสร้างสรรค์ .. 8... กลิ่นเลมอน.(มะนาว).ท�าให้สดชื่น.แจ่มใส.มีสมาธิ. ใช้นวดจะท�าให้ ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น

245


33

.. 9... กลิ่นจัสมิน.(มะลิ).ช่วยให้เกิดความมั่นใจ.มองโลกในแง่ดี. ช่วยผ่อน คลายและกระตุ้นอารมณ์รัก .. 10...กลิ่นส้ม.ช่วยในการเผาผลาญพลังงาน.ให้ความสดชื่น.ผ่อนคลาย .. นอกจากนี้ประเทศไทยของเราก็ยังมีหลักฐานการใช้เรื่องกลิ่นจากพืช เช่นกัน.ดังจะเห็นหลงเหลือในสมัยนี้.ได้แก่.น�้าอบ.น�้าปรุง.เปนต้น.ซึ่งเหล่านี้จะมี กลิ่นหอม.ใช้แล้วเกิดความผ่อนคลาย.แล้วยังน�ามาใช้ในประเพณีต่างๆ.ด้วย . การท�าน�า้ อบ.น�า้ ปรุง.แป้งร�า่ .เปนมรดกทางปัญญาของชาวไทย.ทีบ่ รรพบุรษุ ถ่ายทอดสืบต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น. ซึ่งในองค์ประกอบของการท�าน�้าอบ. น�้าปรุง. แป้งร�่านี้ได้มีการน�าสมุนไพรไทยต่างๆ. มาเปนส่วนประกอบที่ช่วยเรื่องของความ หอม.เช่น.ใบเนียมอ้ม.เปลือกมะกรูด.ใบเตยหอม.ก�ายาน.ชะลูด.และการสกัดกลิ่น หอมจากดอกไม้หลากหลายชนิด. เปนต้น. ซึ่งชาวไทยสมัยโบราณมักจะใช้เครื่อง หอมดังกล่าวกับชีวิตประจ�าวัน. และยังใช้ในวันส�าคัญอีกวันหนึ่งคือประเพณีวัน สงกรานต์เพราะเปนวันขึ้นปใหม่ของไทย. สิ่งที่อยู่ควบคู่กับวันสงกรานต์คือการ รดน�้าด�าหัวผู้ใหญ่. หรือการเล่นสาดน�้า. ปะแป้ง. แต่ส่ิงที่ขาดไม่ได้ในวันส�าคัญดัง กล่าว.คือน�้าอบ.น�้าปรุง.แป้งร�่า.ภูมิปัญญาไทยที่จะมาช่วยเติมความสดชื่นในช่วง ที่อากาศร้อน.และผ่อนคลายความเครียดได้ด้วย แปงรํ่า สวนผสม. . 1.. . 2.. . 3.. . . . 4.. 246

แป้งดินสอพองสะตุ.หรือแป้งหิน. 2. ถ้วยตวง น�้าอบไทย.. 1.. ช้อนโตะ น�้าลอยดอกไม้สดหรือน�้าสะอาด. . ถ้วย. (ดอกมะลิและดอกกุหลาบลอยน�้าทิ้งไว้.1.คืน) น�้าสมุนไพรที่ต้องการสี.(ตามที่ต้องการ)


. 5.. น�้ามันดอกไม้ต่างๆ.. .. ช้อนชา. . . (น�้ามันจันทน์กะพ้อ,.กระดังงา,.มะลิ,.ล�าเจียก,.ไ ซิน) . 6.. หญ้า รั่นอย่างดีบดละเอียด.. 1. ช้อนชา . 7.. พิมเสนบดละเอียด วิธีทํา . 1.. ตวงแป้งใส่ชามที่เตรียมไว้ผสมน�้ามันหอมต่างๆ. และน�้าอบไทยเคล้า แป้งให้เข้ากัน . 2.. ค่อยๆ.เติมน�้าลอยดอกไม้.นวดจนเข้ากันดี . 3.. น�าถุงบีบแป้งมาท�าเปนกรวย. โดยใส่หัวบีบไว้ตรงปลายเตรียมหยด (บีบ)แป้ง . 4.. บีบแป้งลงในถาดที่ปูผ้าขาวบางไว้เรียบร้อยแล้ว.ผึ่งลมไว้ให้แห้ง.เก็บ ไว้ในโหลแก้ว การรํ่าแปง สวนผสม . 1.. ก�ายานบด.. .. ถ้วย . 2.. ผิวมะกรูดต�าละเอียด.. . ถ้วย . 3.. น�้าตาลทรายแดง.. .. ถ้วย . 4.. พิมเสนบดละเอียด วิธีการรํ่าแปง . 1.. น�าแป้งวางลงในโถเหลือตรงกลางส�าหรับวางทวน . 2.. น�าส่วนผสมที่เตรียมไว้ผสมให้เข้ากัน . 3.. น� า ตะคั น ไปตั้ ง ไฟให้ ร ้ อ นจั ด และน� า มาวางบนทวนที่ ตั้ ง ในโหล. ตักส่วนผสมที่เตรียมไว้ใส่ลงไปประมาณ. 1. ช้อนชา. และปิด ารอจนควันจาง ท�าซ�้ากันประมาณ.9.ครั้ง 247


33

นําอบไทย สวนผสม . 1.. ดอกกระดัง.. 10.. ดอก . 2.. ชะลูดบดหยาบ.. 2.. ช้อนโตะ . 3.. แก่นจันทน์เทศบดหยาบ.. 2.. ช้อนโตะ . 4.. ใบเตยสดหั่นละเอียด.. 5.. ใบ . 5.. น�้าสะอาด.. 4.. ถ้วย . 6.. เทียนหอมอบขนม วิธีทํา . 1.. น�าน�า้ สะอาดตัง้ ไฟให้เดือด.ดับไฟแล้วใส่สว่ นผสมทีเ่ ตรียมไว้ปดิ าทิง้ ไว้จนเย็นสนิท . 2.. กรองใส่โถกระเบื้องอบด้วยควันเทียน.3-5.ครั้ง . 3.. ร�่าด้วยส่วนผสมที่ใช้ในการร�่าแป้ง.ประมาณ.7-9.ครั้ง . 4.. บดแป้งที่ร�่าแล้วประมาณ. . ของน�้า(ก่อนบดแป้งร�่าให้หยดน�้ามัน ดอกไม้.กลิ่นละ.3-5.หยด).ตามด้วยพิมเสน.1.หยิบมือและน�าไปกรองด้วยผ้าขาว. บางอีก.1.หรือ.2.ครั้ง

248


นําปรุง สวนผสม . 1.. น�้าลอยดอกไม้.. .. ถ้วย . 2.. น�้ามันดอกไม้ต่างๆ.. .. ช้อนชา . 3.. แอลกอ อล์.95 .. .. ถ้วย . 4.. ใบเนียมหั่นละเอียด.. 10.. ใบ . 5.. ใบเตยหั่นละเอียด.. 5.. ใบ . 6.. ผิวมะกรูดบดละเอียด.. .. ถ้วย . 7.. พิมเสนบดละเอียด.. .. ช้อนโตะ วิธีทํา . 1.. น�าน�้าลอยดอกไม้ผสมกับกลิ่นน�้าหอมต่างๆ. ผสมและใส่ขวดทิ้งไว้. 3.วัน . 2.. น�าแอลกอ อล์.95 .ผสมกับใบเนียม.1.ขวด.ผสมกับใบเตย.1.ขวด. และผสมกับผิวมะกรูด.1.ขวด.ปิด าทิ้งไว้.3.วัน . 3.. น�าน�้าในข้อ. 1. และข้อ. 2. มากองรวมกัน. ถ้าสีค่อนข้างขุ่นให้เติม แอลกอ อล์.95 .และปิด าทิ้งไวัประมาณ.3.เดือน.จึงจะน�ามาใช้ได้

249


ผมสวยดวยสมุนไพร ทา

าร พท

น ท ภ ภเ ร

ผม หมายถึง. ขนที่งอกปกคลุมหนังศีรษะของมนุษย์. องค์ประกอบหลัก ของผม. คื อ. เครา ิ น ซึ่งเปนโปรตีนโพลีเ มอร์ ข นาดใหญ่ ที่ ประกอบขึ้ นจาก กรดอะมิโน. ซึ่งจะบ่งบอกถึงความแข็งแรงโดยรวมของเส้นผม. นํ้า. เมื่อเส้นผมมี องค์ประกอบน�้าสูง. เส้นผมจะยิ่งมีความยืดหยุ่นมากขึ้นเช่นกัน.เม านิน. เปนตัว ก�าหนดสีผม. ผมขาวเกิดจากการผลิตเม็ดสีเมลานินลดลงหรือหยุดการผลิตเม็ดสี เมลานิน. ขมัน เปรียบเสมือน. กาวเชื่อม .ที่ยึดผมเข้าไว้ด้วยกัน.ไขมันเปนเกราะ ป้องกันการสูญเสียความชืน้ จากเส้นผม.และช่วยให้เกล็ดผมต้านทานต่อการเสียดสี ที่ท�าร้ายเส้นผม . ผมถูกแบ่งออกเปน.2.ส่วน.คือ.เส้นผม.(hair.shaft).เปนส่วนที่งอกเหนือ หนังศีรษะ.และรากผม.(hair.root).เปนส่วน ังอยู่ใต้หนังศีรษะ. เสนผม .เปนเซลล์ส่วนที่ตายแล้ว.เปนส่วนที่งอกเจริญยาว ออกมาปกคลุมศีรษะ. มีลักษณะโครงสร้างภายในต่างกันไปส�าหรับผมชนิดต่างๆ. ท�าให้ปรากฏให้เห็นภายนอกได้ต่างกัน. เช่น. ผมเหยียดตรง. ผมหยักศก. ผมสีด�า. ผมสีบรอนด์. ผมสีน�้าตาล. เปนต้น. ถ้าน�าเส้นผมมาตัดขวางจะแยกส่วนประกอบ. ได้.3.ชั้น.คือ 250


. 1.. ผิวนอก.( utic e).อยูช่ นั้ นอกสุด.โปร่งแสงไม่มสี .ี เปนเกล็ดใสๆ.ทีเ่ รียง ซ้อนกันแบบเกล็ดปลา. เรียกว่า. eratini ed. ce . รอบเส้นผม. ประกอบด้วย. เคราตินชนิดแข็ง. (hard. eratin). เปนส่วนใหญ่. ท�าให้เส้นผมมีความแข็งแรง. ช่วยป้องกันการซึมผ่านของสิ่งสกปรกที่จะเข้าไปท�าลายเส้นผมและยังปกป้อง ชั้นเนื้อผมไม่ให้สูญเสียความชุ่มชื้น.เม็ดสี.รวมถึงน�้ามันตามธรรมชาติซึ่งช่วยให้ผม ดูเปนเงา . เกล็ดผมจะเปิดก็ตอ่ เมือ่ มีความร้อนความชืน้ ทัง้ จากธรรมชาติและเคมีบาง ตัวเข้ามาท�าปฏิกิริยากับเส้นผม. เปนที่สังเกตว่าผมที่สุขภาพดีเกล็ดผมจะปิดและ เรียงตัวกันดี.ส่วนผมที่เริ่มแห้งเสียเกล็ดผมจะ ีกขาดและไม่สามารถเรียงตัวปิดได้ ท�าให้เกล็ดผมไม่สามารถปกป้องความชุม่ ชืน้ ภายในและท�าให้แห้งเสียเพิม่ ขึน้ หาก ขาดการบ�ารุง . 2.. เนื้อชั้นนอก.( orte ).เปนชั้นที่มีความหนาที่สุด.ประกอบด้วยเซลล์ รูปกระสวยล้านเส้นใยเรียงอัดกันแน่นตามยาว. เนื้อผมชั้นนอกเปนแหล่งรวมของ เม็ดสี.(pigment).เปนจ�านวนมาก.ซึง่ เปนตัวก�าหนดสีผม.มีชอ่ งอากาศ.(air.space). โปรตีน.เคราติน.และเส้นใยโปรตีนที่เกาะเกี่ยวกันก�าหนดโครงสร้างตามธรรมชาติ. ช่วยให้ผมมีความนิ่มยืดหยุ่น . 3... แกนผม. ( edu a). แกนผมเกิดจากโปรตีนและไขมัน. แกนผมไม่มี บทบาทในการท�างาน. ส่วนมากจะพบในผมที่มีสภาพแข็งแรง. และผมเส้นเล็กมัก ไม่มีแกนผม รากผม . เปนส่วนที่ ังตัวอยู่ในเนื้อเยื่อของหนังศีรษะซึ่งมี รูปทรงเหมือนหลอดปากแคบเรียกว่า.ต่อมรากผม.(hair.fo ic e).ตอนล่างสุดของ รากผมมีลกั ษณะโปงออก.เปนกระเปาะเปิดเปนโพรงเว้าเข้าด้านในรูปร่างคล้ายคีม. เรียกว่า.hair. u .รากผมตั้งอยู่บนฐานซึ่งเปนเนื้อยึดต่อ.(connecti e.tissue). ลักษณะนิว้ มือยืน่ เข้าไปใน.โพรงของ.hair. u .เรียกว่า.ปุมปลายแหลม.(papi a). 251


33 ดังนัน้ ต่อมรากผมแต่ละต่อมจะมีปมปลายแหลม.1.อั ุ นเสมอ.ปุมนีม้ คี วามส�าคัญมาก ต่อการเจริญเติบโตของเส้นผม. เพราะเปนส่วนมีโลหิตและเส้นประสาทมาเลี้ยง ท�าให้เซลล์รากผมมีการเจริญแบ่งตัวเกิดเซลล์ใหม่ของผมขึ้นเรื่อยๆ. คนที่หัวล้าน มีสาเหตุมาจากเซลล์ของปุมปลายแหลมนี้ตายหรือ อไป. ผมจะขาดอาหารและ หลุดร่วงโดยไม่มีการงอกใหม่ . ทุกๆต่อมรากผมจะมีต่อมน�้ามัน. (se aceous. g and). มาต่อและ หุ้มห่อไปจนสุดที่ปากรูขุมขน. เพื่อสร้างน�้ามัน. (se um). ออกมาหล่อลื่นท�าให้ เส้นผมอ่อนนุ่ม. มันเงา. ดังนั้นคนที่ผมแห้งมีสาเหตุมาจากต่อมน�้ามันสร้างน�้ามัน ออกมาน้อยเกินไป. ในทางตรงกันข้ามถ้าต่อมน�้ามันท�างานมากเกินไป. จะท�าให้ เส้ น ผมมี ส ภาพที่ เ รี ย กว่ า ผมมั น . ซึ่ ง อาจเป น สาเหตุ ห นึ่ ง ของรั ง แคน�้ า มั น. (oi .dandruff).ได้ . คนปกติที่เปนผู้ใหญ่จะมีต่อมรากผมประมาณ. 5. ล้านต่อม. และลด จ�านวนลงเมื่ออายุมากขึ้น. ส�าหรับวัยรุ่นจะมีเส้นผมประมาณ. 615. เส้นต่อตาราง เซนติเมตร. และลดลงเหลือ. 435. เส้น. เมื่ออายุ. 80. ป. แต่คนหัวล้านจะมีเส้นผม หรือต่อมรากผมไม่เกิน. 306. เส้นต่อตารางเซนติเมตร. ถ้าหัวล้านมากจ�านวน ต่อมรากผมจะยิ่งน้อยลง วง ร วตเสนผม แบ่งออกเปน.3.ระยะ . 1.. ระยะเจริญเติบโต.(Anagen. hase). . เปนช่วงของการงอกเต็มที่. (acti e. phase). ของเส้นผมระยะเวลาของ ช่วงนี้จะเปนตัวก�าหนดความยาวของเส้นผมและเปนระยะเส้นผมมีโครงสร้าง สมบูรณ์แบบ. ผมบนศีรษะทั้งหมดจะมีเส้นผมที่อยู่ในระยะนี้มากถึง. 80-85 . เส้นผมแต่ละเส้นมีอายุนานถึง. 3. ป. ถ้าไม่มีสาเหตุที่ท�าให้ผมร่วงก่อนก�าหนด. เมื่อคนเราอายุมากขึ้นระยะนี้จะสั้นลง 252


. 2.. ระยะหลุด.( atagen. hase). .. เปนระยะที่เส้นผมหยุดเจริญเติบโตเตรียมพร้อมที่จะหลุด. โดยที่รากผม จะเริ่มแยกตัวออกจากปุมปลายแหลม. แต่ยังมีชีวิตและได้รับอาหารอยู่เส้นผมใน ระยะนี้.มีช่วงอายุสั้นๆ.คือประมาณ.10-14.วันเท่านั้น. . 3.. ระยะฟัก.(Te ogen. hase). .. เปนช่วงทีผ่ มแก่และพร้อมทีจ่ ะร่วงได้โดยง่าย.ผมแยกตัวหลุดจากปุมปลาย แหลมอย่างเด็ดขาด. แต่ยัง ังตัวอยู่ในต่อมรากผม. โดยค่อยๆ. เคลื่อนขึ้นมาที่ผิว เรื่อยๆ. ขณะเดียวกันปุมปลายแหลมก็จะสร้างผมเส้นใหม่ขึ้นมาแทนที่. ดังนั้นเมื่อ ผมเก่าร่วงหลุดไปไม่นานก็จะมีผมใหม่งอกออกมาแทนที่. คนปกติเส้นผมจะร่วง ประมาณวันละ.40-90.เส้นต่อวัน สภาพผมของคน แบ่งออกได้ดังนี้.คือ . 1.. ผมธรรมดา. คือผมที่มีน�้ามันและน�้าหล่อเลี้ยงในส่วนหนังศีรษะและ เส้นผมอย่างเพียงพอ. จึงท�าให้ผมมีน�้าหนักและเงางามตามธรรมชาติ. ผมธรรมดา ไม่ตอ้ งการการดูแลเปนพิเศษ.เพียงแค่รจู้ กั ท�าความสะอาดผมและหนังศีรษะอย่าง สม�่าเสมอเพื่อขจัดสิ่งสกปรก. และรักษาน�้ามันและน�้าหล่อเลี้ยงที่ส�าคัญตาม ธรรมชาติก็เพียงพอ. . 2.. ผมแห้ง.มักเกิดจากการทีร่ ากและบริเวณรอบๆ.ของเส้นผมขาดน�า้ มัน และน�้าหล่อเลี้ยงตามธรรมชาติ.จึงท�าให้ผมมีลักษณะกรอบ.ฟู.เปราะ.จัดทรงยาก. ขาดและแตกปลายง่าย.นอกจากผมแห้งจะเกิดได้ตามธรรมชาติแล้ว.อาจเกิดจาก การความเครียด.การดัดผม.การท�าสีผม.และการใช้ผลิตภัณฑ์ส�าหรับเส้นผมและ หนังศีรษะบางชนิดอีกด้วย. คนผมแห้งจึงไม่ควรสระผมบ่อยๆ. และไม่ใช้แชมพู ที่ผสมสารเคมีรุนแรง.

253


33 . 3.. ผมมัน.คือ.สภาพผมทีม่ นี า�้ มันหล่อลืน่ ตามธรรมชาติมากเกินไป.ท�าให้ ผมมีสภาพลีบติดศีรษะเหนียวเหนอะหนะ. ไม่เงางาม. จัดทรงยาก. จึงจ�าเปนต้อง ท�าความสะอาดผมบ่อยกว่าผมประเภทอื่นเพื่อขจัดสิ่งสกปรก. และช่วยควบคุม น�้ามันส่วนเกินบนหนังศีรษะและเส้นผมไปในตัว ส่งท่มอทธพลตอเสนผม .. 1.. อร์โมน. อร์โมนจากต่อมไทรอยด์เปนตัวที่กระตุ้นให้ผมงอกเร็ว. ในขณะที่สเตียรอยด์ อร์โมนระงับการงอกของผม .. 2.. อาหาร.วิตามินบีรวม.ซึง่ มีมากในยีสต์และโยเกิรต์ .จ�าเปนต่อการเจริญ ตามปกติของเส้นผม. ส่วนวิตามินเอ. ยับยั้งการเจริญของเซลล์ผิวท�าให้ผมงอกช้า. การได้รับวิตามินเอมากผิดปกติจะเปนสาเหตุของผมร่วงได้. นอกจากนี้การขาด อาหารโปรตีน.ท�าให้ผมเปราะบางและร่วง.เส้นผมไม่มีสี.เปนต้น .. 3.. สภาพแวดล้อมของอากาศ.มีรายงานพบว่าสภาพอากาศเปลีย่ นแปลง อุณหภูมปิ ระจ�าวันไม่มผี ลต่ออัตราการงอกของเส้นผม.แต่มผี ลต่อสภาพเส้นผม.เช่น. การถูกความร้อนมาก.การตากแดดจะท�าให้. ผมแห้งกรอบและ.เปราะ.เช่นเดียว กับการอบและการดัดผมในฤดูหนาว.ความชืน้ ในอากาศต�า่ ผมจะแห้งเพราะปล่อย น�้าออกมาท�าให้เกิดประจุไฟฟ้า. เปนสาเหตุของผมชี้ฟู. ความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะ สมและดีที่สุดส�าหรับผมคือ.40.-.60 . .. 4.. สภาพบางอย่างของโรค.โรคขาดโปรตีนเรียกว่า. washior or.ท�าให้ ผมเปราะบางและไม่มีสี. หรือความเปนพิษของโลหะหนักบางชนิด. หรือการเปน รังแคเนื่องจากการติดเชื้อมีโอกาสที่ท�าให้ผมร่วงได้ . 5.. สารเคมี.สารเคมีบางชนิดโดยเ พาะสารลดแรงตึงผิวอาจระคายเคือง ต่อหนังศีรษะและส่งผลท�าให้ผมร่วงได้เช่นกัน.หรือท�าให้ผมหยาบกระด้าง.เพราะ สารช�าระล้างอย่างแรงและขจัดไขมันตามธรรมชาติของเส้นผมท�าให้ผมแห้ง. 254


. .

. .

.

.

การดูแลรัก าเสนผม . เวลาสระผมให้คุณนวดหนังศีรษะไปด้วย.จะช่วยให้เกิดการหมุนเวียน โลหิตที่หนังศีรษะดีขึ้นและท�าให้น�้ามันตามธรรมชาติไปหล่อเลี้ยง เส้นผมได้ดียิ่งขึ้น . การเลือกผลิตภัณฑ์ส�าหรับเส้นผมก็ส�าคัญ. เราต้องมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ เหล่ า นั้ น ต้ อ งมี ค ่ า ความเป น ด่ า งที่ ส มดุ ล . (p . a ance). เช่ น. ครีมนวดผมต้องมีคุณสมบัติปรับสภาพเส้นผมให้ชุ่มชื่น. และสามารถ ล้างออกได้ง่าย.เปนต้น . การหวีผมขณะที่เส้นผมเปยกน�้าจะท�าให้เส้นผมขาดได้ง่าย. ดังนั้น ถ้าจ�าเปนต้องหวีผมขณะที่เปยก. ควรใช้หวีไม้ซี่ห่างจะช่วยให้เส้นผม ขาดน้อยลงได้ . ถ้านิยมไดร์ผมให้ตรง.ดัดผมด้วยโรลไฟฟ้า.และรีดผมด้วยไฟฟ้าควรใช้ ผลิตภัณฑ์ปกป้องเส้นผมจากความร้อนด้วยเสมอ. เวลาเปาผมให้แห้ง ควรเปาผมจากบนลงล่าง.เพราะเกล็ดผมจะเรียงตัวตามธรรมชาติ.ท�าให้ เส้นผมเรียงตัวสวยและเรียบเงางาม.ไม่ชี้ฟู . การรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ก็ช่วยให้เส้นผมมีสุขภาพที่ดี ด้วยเช่นกัน. ดังนั้นควรเลือกรับประทานอาหารจ�าพวกผัก. ผลไม้. และควรดืม่ น�า้ มากๆ.นอกจากนีต้ อ้ งหลีกเลีย่ งอาหารทีผ่ า่ นกระบวนการ ขัดสีต่างๆ.รวมทั้งเครื่องดื่มแอลกอ อล์และบุหรี่ . ถ้ามีกจิ กรรมทีจ่ า� เปนต้องท�ากลางแจ้งก็อย่าลืมทีจ่ ะปกป้องเส้นผมจาก แสงแดด. โดยการสวมหมวกหรือทาครีมปรับสภาพผมทิ้งไว้เมื่อต้อง ออกแดดหลังจากนั้นค่อยล้างออกตามปกติ

255


33 แ มพูสมุนไพรมะกรูด อัญ ัน ขง บอระเพด ยานาง บัวบก สวนผสม . 1... มะกรูด.. 1.. ก.ก. . 2... บอระเพ็ด.. 3.. ก�า. . 3... บัวบก.. .. ก.ก. . 4... ขิงสด.. .. ก.ก. . 5... อัญชันแห้ง.. 50.. กรัม. . 6.. ย่านาง.. 1.. ก�า. . 7... น�้าสะอาด. วิธีทํา . 1... ล้างสมุนไพรทุกอย่างให้สะอาด.โดยการแช่ในน�า้ เกลือ.แล้วเอาขึน้ พัก ไว้ให้สะเด็ดน�้า . 2... หัน่ บอระเพ็ด.บัวบก.ขิง.ย่านาง.ให้เปนชิน้ เล็กๆ.แล้วเอาไปปัน เติมน�า้ . คั้น.กรองเอาแต่น�้าเอาไปต้มให้เดือดพักไว้ . 3... ล้างดอกอัญชัน.แล้วต้มกับน�า้ ประมาณ.30.นาที.(สังเกตสีดอกอัญชัน จะซีดขาว) . 4... มะกรูด.หั่นเปนแว่นๆ.เอาเมล็ดออก.แล้วเอาไปต้มจนเปอย.พักไว้ให้ พออุ่นๆ. แล้วเอามาปัน. กรองเอาแต่น�้าที่ผ่านกระชอนมาแล้วเอาขึ้นตั้งไฟให้ร้อน อีกครั้ง.แล้วพักไว้ . 5... ตักสมุนไพรอย่างละ.1.ส่วน.ใส่หม้อ.ตั้งไฟอ่อนๆ.ต้มพอร้อนควันขึ้น เพื่อ ่าเชื้ออีกที.เทใส่ขวดที่ล้างสะอาด.เอาเข้าตู้เย็นเก็บได้ประมาณ.2-3.เดือน วิธี 

256

น�ามาสระผม.หมักไว้ประมาณ.5.นาที.แล้วล้างออกด้วยน�้าสะอาด.


นํามัน มักผมสมอไทย มะขามปอม สวนประกอบ . 1... สมอไทย.. 1.. ส่วน. . 2... มะขามป้อม.. 1.. ส่วน. . 3... น�้ามันมะพร้าวหรือน�้ามันทานตะวัน.. 2.. ส่วน. วิธีทํา . ล้างสมุนไพรให้สะอาดจากนั้นน�ามาทอดในน�้ามันมะพร้าว. หรือน�้ามัน ทานตะวันจนเหลืองกรอบ. ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น. จากนั้นกรองด้วยผ้าขาวบางเก็บใน ภาชนะที่แห้งไว้ใช้ วิธี . . ใช้หมักผมก่อนสระ.หมักทิ้งไว้.10-15.นาที

257


ผวสวยดวยสมุนไพรขัดผว ทา

าร พท

น ท ภ ภเ ร

ผว นังและ นาท่ของผว นัง . ผิวหนังจัดว่าเปนอวัยวะทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในร่างกายและจะห่อหุม้ ร่างกายเราไว้ ทัง้ หมด. ท�าหน้าทีป่ กป้องอวัยวะต่างๆ. ทีอ่ ยูใ่ ต้ลงไปจากความร้อน. แสง. การติดเชือ้ . และสภาพแวดล้อมทั้งหลาย.นอกจากนี้มันยังท�าหน้าที่ . 1.. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ . 2.. เปนที่กักเก็บน�้าและไขมัน . 3.. มีปลายประสาทรับรู้ความรู้สึก . 4.. ป้องกันการสูญเสียน�้า . 5.. ป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย .. ผิวหนังทั่วทั้งร่างกาย.จะมีความแตกต่างกันไปทั้งสี.ความหยาบ.ละเอียด. และความหนา.เช่น.ทีศ่ รี ษะจะมีรากผมอยูม่ ากกว่าทีอ่ นื่ .ในขณะที่ ามือและ าเท้า ไม่มีเลย. แต่จะมีความหนาของชั้นผิวที่มากกว่า. เปนต้น. ประกอบด้วยชั้นผิวหนัง. 3.ชั้น.อันได้แก่. ผิวหนังชั้นนอกสุด .ซึ่งเปนส่วนที่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมภายนอก. ชั้นหนังแท้ .ซึ่งเปนชั้นที่มีต่อมไขมัน.และ. ชั้นเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง .ซึ่งเปนผิวชั้น ที่อยู่ล่างสุด

258


ผว นัง ันนอกสุด . ผิวหนังชั้นนอกสุด . ( pidermis). เปนผิวหนังส่วนที่บางมากและเปน ส่วนนอกสุดทีส่ มั ผัสกับอากาศ.ท�าหน้าทีป่ กป้องสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายในร่างกายเสมือนเปน เกราะป้องกันต่อการรุกรานจากสิ่งเร้าภายนอก. เช่น. น�้า. รังสีอัลตร้าไวโอเลต. แบคทีเรีย.เปนต้น.ผิวหนังชั้นนอกสุดแบ่งออกเปน.4.ชั้น.คือ.ชั้นหนังก�าพร้าหรือ ชั้นสตราตัม.คอร์เนียม.(Stratum.corneum).ชั้นสตราตัม.แกรนูโลซัม.(Stratum. granu osum). ชั้นสตราตัม. สไปโนซัม. (Stratum. spinosum). และชั้นสตราตัม. เบซาเล.(Stratum. asa e)

ัน นังแท . ผิวที่อยู่ใต้ผิวหนังชั้นนอกเรียกว่า. ชั้นหนังแท้ . ( ermis). เปนชั้นผิว ที่ช่วยรักษาความยืดหยุ่นและความชุ่มชื้นของผิวหนัง. ด้วยชั้นผิวมีความหนา ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยน�้ า และสารอื่ น ๆ. จ� า นวนมากเช่ น . คอลลาเจน. อิ ล าสติ น. กรดไ ยาลูโรนิก. เดอร์มาทันซัลเฟต. เปนต้น. กรดไ ยาลูโรนิกเปนตัวสร้างโปรตีโอไกลแคนจากการท�าปฏิกริ ยิ าระหว่างเดอร์มาทันซัลเฟตกับคอลลาเจน.นอกจาก นี้.ในผิวหนังยังมีเส้นเลือด อย.ท่อน�้าเหลือง.เส้นประสาท.ไขมัน.รากขนและอื่นๆ. นอกเหนือจากการน�าพาสารอาหารที่จ�าเปนไปหล่อเลี้ยงผิวหนังทั่วร่างกายแล้ว. ผิวหนังก็ยังขับไขมันออกมาช่วยสร้างชั้นฟิล์มไขมันเพื่อปกป้องผิวหนังอีกด้วย

ันเนือเยื่อ ตผว นัง . ผิวหนังชัน้ ทีอ่ ยูล่ า่ งสุดเรียกว่า. ชัน้ เนือ้ เยือ่ ใต้ผวิ หนัง .(Su cutaneous. tissue). ส่วนมากเปนไขมันใต้ผิวหนังที่ท�าหน้าที่รักษาอุณหภูมิของร่างกาย. เปนเสมือนหมอนรองรับแรงกระแทกจากภายนอก.และยังรับหน้าที่ส�าคัญในการ เปนเสมือนแหล่งเก็บพลังงานอีกด้วย 259


33 ตอมไขมัน . ในต่อมไขมันประกอบด้วย.เซลล์ต่อมไขมัน.และเซลล์ที่เรียกว่า.ซีโบไซต์. (Se ocyte). เซลล์เหล่านี้ท�าหน้าที่ผลิตซีบัมออกทางรูขุมขนมาปรากฏขึ้นบน ผิวหนัง.ซีบมั ทีข่ บั ออกมาจากต่อมไขมันจะเคลือบปกคลุมผิวหนังเปนชัน้ ฟิลม์ ไขมัน. มีบทบาทส�าคัญในการรักษาการท�างานเปนเกราะป้องกันร่างกาย. เช่น. รักษา ความชื้น. ่าเชื้อโรค.บรรเทาการกระตุ้นจากปัจจัยภายนอก.เปนต้น

พื ผัก กนครัวบํารุงความงาม . มีพืชผักผลไม้ท้องถิ่นของไทยหลายชนิดที่ออกฤทธิ์ในการบ�ารุงผิวหน้า ได้ดี. อีกทั้งด้วยความเปนพืชผักที่หาง่าย. ราคาถูก. ประชาชนสามารถท�าได้เอง. และไม่เปนอันตรายเนื่องจากเปนของธรรมชาติล้วนๆ. จึงไม่ทิ้งสารเคมีใดๆ. ไว้ให้ ก่อพิษต่อร่างกายเลย. . ักการงาย นการ สมุน พรสํา รับผิว นา มีดังนี้ . เปนสมุนไพรที่มีความปลอดภัย. จ�าง่าย. ๆ. ก็คืออะไรที่กินได้. (เช่นผัก. ผลไม้ต่าง.ๆ).นั้นสามารถใช้เปนเครื่องส�าอางได้ . ต้องอยู่บนพื้นฐานของความสะอาด . ไม่มีการระคายเคืองต่อผิวหนัง. สมุนไพรที่ใช้ต้องสดใหม่. มีคุณภาพดี. ย่อยจนละเอียด . ต้องเชื่อมั่นธรรมชาติของผิวหนังที่มีกลไกดูแลตัวเองอยู่แล้ว. ต้องรักษา กลไกนั้นไว้นาน.ๆ . ขอควรรูเกี่ยวกับการ สมุน พร . สมุนไพรทุกอย่างอาจมีบางคนที่แพ้ได้. การทดสอบว่าแพ้หรือไม่ให้น�า ส่วนผสมที่จะใช้ทาที่ท้องแขนก่อน. เพราะผิวหนังบริเวณนี้จะเปนส่วนที่บางกว่า หน้า.ทิ้งไว้สักพักหนึ่งถ้าไม่เกิดอาการแสบร้อน.มีผื่น.ถือว่าไม่แพ้ 260


. การใช้สมุนไพรเพื่อที่จะได้ผลต้องมีการใช้อย่างสม�่าเสมอต่อเนื่อง. จึงจะ เห็นผล . ต�ารับต่าง.ๆ.ในการใช้สมุนไพรเพื่อความงามส่วนใหญ่เปนผลไม้หรือผักที่ ไม่ได้ตายตัวสามารถที่ปรับได้.ผสมสูตรขึ้นมาใหม่ได้ตามชนิดผลไม้หรือผักที่มีอยู่ . ระยะเวลาในการท�าหรือพอกก่อนล้างออกนั้นไม่ได้ตายตัว. ขึ้นกับสภาพ ผิวของแต่ละคน.คนที่ผิวแพ้ง่ายควรใช้เวลาน้อยกว่า.และการใช้ในช่วงแรกไม่ควร พอกหรือทาทิ้งไว้นาน.ๆ.โดยเ พาะต�ารับที่มีกรดผลไม้.(ที่มักมีในมะขาม.มะนาว. สับปะรด).ซึ่งต้องมีการปรับตัวในการใช้ช่วงแรก.ๆ.ต้องใช้ปริมาณน้อย.ๆ.และใน ช่วงเวลาสั้น.ๆ.ก่อนใช้. เช่น.ถ้าใช้มะขามล้างหน้า.ในช่วงแรกอาจจะต้องล้างออก ทันทีประมาณ.1.สัปดาห์.ก่อนทาหรือพอกทิ้งไว้ . สามารถปรับตามสภาพของผิว. เช่น. ผิวแห้ง. ควรน�านมโยเกิร์ต. ไข่แดง. ผิวมัน.ใช้น�้ามะนาวหรือน�้าส้ม.ไข่ขาว.ส่วนน�้าผึ้งสามารถเติมลงไปได้ทุกสภาพผิว

พื ผักสมุนไพรท่ เพื่อความงามของผว นา แตงกวา . เพิ่มความชุ่มชื้น.ท�าให้ผิวหนังสดชื่น.เพิ่มความยืดหยุ่น.ลดการบวมแดง. สมานผิว. แตงกวาเปนสมุนไพรที่เหมาะส�าหรับผู้ที่มีผิวหน้าแห้ง. จากการที่มี คุณสมบัติไปเพิ่มความชุ่มชื้น. และเหมาะกับคนที่มีหน้ามันจากการที่คุณสมบัติ สมานผิว วิธีทําโทนเนอรแ งกวา . น�าแตงกวาปอกเปลือก.4.ส่วน.กลีเซอรีน.3.ส่วน.น�้า.1.ส่วน.ปันเข้าด้วย กัน.กรองเก็บน�้าไว้ใช้ได้ประมาณ.1.ป. มะเขือเท สุก . เพิ่มความชุ่มชื้น. ท�าให้ผิวหนังสดชื่น. ป้องกันผิวจากอนุมูลอิสระ. ท�าให้ หน้าขาวขึ้น 261


33 . น�้าคั้นจากผลมะเขือเทศมีวิตามินหลายชนิด. จึงมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ. และช่วยท�าให้ผิวหน้าชุ่มชื้นและมีสารกลูโคอัลคาลอยด์. ชื่อโทเมทีน.(tomatine). เปนสารที่ออกฤทธิ์สมานแผล.นอกจากนั้นมีฤทธิ์เปนกรดอ่อน.ๆ.ช่วยล้างผิวหน้า ให้สะอาดนุ่มนวล.ปรับสภาพผิวแห้งกร้าน.และคืนสภาพผิวชุ่มชื้นได้เปนอย่างดี B จากมะเขอเท . มะเขือเทศสุกบดละเอียด. ผสมน�้านมสด. พอกหน้าทิ้งไว้. 15-20. นาที. แล้วล้างออก.พอกเปนประจ�า.จะท�าให้ผทู้ มี่ หี น้าด�าเปนจุด.ๆ.ค่อย.ๆ.ขาวขึน้ .ช่วยท�า ให้ผิวหน้าสะอาดขึ้น 3 มะขาม . ลดรอยด่างด�าบนใบหน้า. เพิ่มความชุ่มชื้น. ป้องกันผิวจากอนุมูลอิสระ. ท�าให้ผิวหน้าเรียบลื่น.ท�าให้ผิวหนังสดชื่น . ต�ารับความงามทีส่ บื ทอดมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัย.ซึง่ พบต�ารายาสมุนไพรเขียน ด้วยภาษาล้านนา.ว่า. มะขาม ักกระดาน.สักก�ามือแช่น�้าอุ่น.ทาตัวทาหน้า.ผิวด�า และ ้าย่อมเสี้ยงไป . (เสี้ยง. หมายถึง. หมดไป). ที่เปนเช่นนี้. เพราะในผลไม้ที่มี รสเปรี้ยว. เช่น. มะนาว. มะขาม. สับปะรด. จะมีกรดเอเอชเอ. (A A. หรือ. a pha. hydro y.acid).ซึ่งเปนกรดอ่อน.ๆ.จะช่วยขัดผิว.ลอกผิวด่างด�า.และ ้า . นอกจากนี้.มะขามยังมีกรดทาร์ทาริก.(tartaric.acid).กรดซิตริก.(citric. acid).และกรดมาลิก.(ma ic.acid).ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยลบรอยด่างด�าบนใบหน้า. ช่วยเพิม่ ความชุม่ ชืน้ .ก�าจัดรอยเหีย่ วย่น.ท�าให้ผวิ ขาว.นวลเนียน.ท�าให้ผวิ อ่อนเยาว์ ขึ้น. แต่มะขามมีข้อได้เปรียบมะนาวและสับปะรดตรงที่มะขามมีลักษณะเปนครีม โดยธรรมชาติสามารถใช้ได้ดีกว่า . ครีม าง นามะขามทําเอง ด . ใช้มะขามเปยกที่แกะเมล็ดแล้วขนาดประมาณ.1.ก�ามือ.นมสด.1.กล่อง. ขย�าให้เข้ากัน.กรองด้วยตะแกรง.เพื่อเอาซังมะขามออก.น�าไปเคี่ยวด้วยไฟอ่อน.ๆ. พอใกล้งวด.เติมน�้าผึ้งลงไป.1.ช้อนโตะ.อาจเติมขมิ้นชันลงไปประมาณ. .ช้อนชา. 262


(ระวังอย่าใส่มากเกินไปจะท�าให้หน้าเหลือง). เคี่ยวต่อจนงวด. แต่อย่าให้ข้นเกิน. สังเกตว่ายังสามารถแตะขึน้ มาได้งา่ ย.เสร็จแล้วบรรจุลงในกระปุกสะอาด.ถ้าไม่เปิด เลยจะอยู่ได้ประมาณ.6.เดือน.ใช้ล้างหน้าทุกวันท�าให้หน้าขาวขึ้น ตําลง . ต�าลึงอุดมไปด้วยวิตามินเอ. วิตามินซี. เกลือแร่และสารต้านการอักเสบ. มีฤทธิใ์ นการ า่ เชือ้ โรค.คนโบราณนิยมใช้สมุนไพรแก้สวิ และพอกหน้าเพือ่ ท�าให้ผวิ หน้าสดใส.ปัจจุบนั อุตสาหกรรมเครือ่ งส�าอางในไทยและญีป่ นเริ ุ ม่ ทีจ่ ะน�ายอดอ่อน และมือเกาะของต�าลึงมาเปนส่วนผสมในครีมบ�ารุงผิว. เพราะเชื่อมั่นในคุณสมบัติ พิเศษจากสารธรรมชาติที่มีอยู่ในสมุนไพรชนิดนี้.ต�าลึงมีฤทธิ์แก้อักเสบ.เหมาะกับ ใบหน้าทีเ่ ปนสิว.หรือแพ้งา่ ย.ใช้เพิม่ ความชุม่ ชืน้ .ท�าให้ผวิ หนังสดชืน่ .ป้องกันผิวจาก อนุมูลอิสระ . โบราณว่าหากเลือกใช้ต�าลึงตัวผู้. (ต�าลึงที่ใบเว้าลึก.ๆ.ประมาณ.5.แ ก). จะได้ผลกว่าใบต�าลึงตัวเมียและต้องล้างให้สะอาด. (เพราะต�าลึงมักจะมีตัวบุ้งอยู่). ก่อนที่จะน�ามาปันเปนครีมหรือคั้นเอาน�้า . วิธีทําสมุน พรพอก นาจาก ํา ึง . น�าใบต�าลึงตัวผูท้ ลี่ า้ งสะอาด.ประมาณ.3.ก�ามือ.น�ามาปัน ผสมน�า้ เล็กน้อย. แล้วคั้นเอาน�้าที่ได้.ผสมกับดินสอพองสะตุ.น�ามาพอกที่ใบหน้าทิ้งไว้.15.นาที.แล้ว ล้างออก ขาว . ขาว บํารุงผิว . สาวไทยสมัยก่อนใช้น�้าซาวข้าวล้างหน้า. เพื่อท�าให้ผิวเปล่งปลั่ง. ไร้สิว ้า. แป้งข้าวจ้าวก็ใช้ในการบ�ารุงผิว. ซึ่งส่วนต่างๆ. ของเมล็ดข้าวสามารถน�ามาเปน ผลิตภัณฑ์บ�ารุงผิวได้. . รําขาว. มีแร่ธาตุ. วิตามินต่างๆ. และกรดไขมันโดยเ พาะวิตามินอีและ แกรมมาโอไรซานอล.(γ-ory ano ).ในปริมาณสูง.ซึ่งแกรมมาโอไรซานอลนั้นเปน 263


33 สารต้านอนุมูลอิสระ.ต้านการอักเสบของผิวหนัง.ท�าให้ผิวขาวขึ้น.เอนไซม์ที่ได้จาก ข้าวและร�าข้าวสามารถยังยั้งการสร้างเมลานิน. และการเกิดเม็ดสีจากรังสี. . ช่วยลดริ้วรอย. โดยสามารถยับยั้งการเกิด. ipid. pero idation. และท�าให้เกิด การสร้างคอลลาเจน สารสกัดจากรําขาว ท�าให้ผิวหนังชุ่มชื้น นํ้ า มั น จากจมู ก ข า ว เคลื อ บผิ ว ไม่ ใ ห้ เ สี ย ความชุ ่ ม ชื้ น . เพื่ อ ป้ อ งกั น การระคายเคืองของผิวหนัง วิธีทําสครับจากรําขาว . น�าร�าข้าว.1.ช้อนโตะ.ผสมกับน�้ามันร�าข้าว.1.ช้อนชา.แล้วน�ามาขัดหน้า เบาๆ.ถ้าร�าข้าวแห้งไปให้ผสมน�้ามันร�าข้าวเพิ่ม.

ขอควรระวัง . ในผู้ที่ใบหน้ามีสิวอักเสบ. ไม่เหมาะที่จะสครับผิว. เนื่องจากจะกระตุ้นให้ เกิดการอักเสบมากขึ้น การประยุกตองคความรูดานการนวดไทยกับการดูแล บ นา . นอกจากการน�าผัก.ผลไม้มาใช้ชะลอวัยของท่านแล้ว.ส่วนหนึง่ ทีส่ า� คัญคือ การนวดหน้าเพือ่ กระตุน้ ให้ผกั .ผลไม้เหล่านัน้ ซึมเข้าสูผ่ วิ หน้าของท่านได้ดขี นึ้ .และ ยังกระตุ้นการไหลเวียนเลือดมาเลี้ยงใบหน้า.ช่วยให้การดูแลใบหน้าและการแก้ไข ปัญหาทีพ่ บบนใบหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ .ขัน้ ตอนนีจ้ ะท�าหลังการมาร์ค หน้าเสร็จเปนขั้นตอนสุดท้าย. สามารถท�าควบคู่กับการท�าครีมบ�ารุงหรือครีม กันแดด.หรือครีมใด.ๆ.ก็ได้.ที่มักจะใช้ทาเปนประจ�า วิธีป ิบั ิ . 1.. การกดจุดแนวขากรรไกรล่าง . 2.. กดจุดคางแล้วลากลงไปหาหน้าหู 264


. 3.. กดจุดร่องจมูกนิ่งนานนับ.1-10.แล้วลากลงมาหาหน้าหู . 4.. กดด้านข้างจมูกนิ่งนับ.1-10.แล้วลากนิ้วลงมาหามุมปากและหน้าหู . 5.. กดนิ่งตามแนวสันจมูกนับ.1-10.แล้วลากมาตามแนวคิ้วลงไปหางตา และขมับ . 6.. กดตรงกลางระหว่างหัวคิ้วนิ่งนับ. 1-10. แล้วลากไปตามแนวคิ้ว. จากนั้นเลื่อนมือขึ้นเรื่อย.ๆ.จนทั่วหน้าผาก.แล้วเลื่อนมาคลึงที่ขมับทั้ง.2 . 7.. ใช้ปลายนิว้ กรีดกระตุน้ ทัว่ ใบหน้าเพือ่ ผ่อนคลายกล้ามเนือ้ หลังการกด จุดต่าง.ๆ.เปนที่เรียบร้อย . 8.. ใช้ปลายนิ้วสับเบา. ๆ. เปนขั้นตอนสุดท้ายเพื่อกระตุ้นการตื่นตัวของ ร่างกายหลังการนวด

สมุนไพรขัดผว

สวนผสม . ..ว่านนางค�า.. 100.. กรัม . ..ว่านไพร.. 25.. กรัม . ..ขมิ้น.. . 25.. กรัม . ..ดินสอพอ.. 1,000. กรัม . ..ลิ้นทะเล.. 200.. กรัม . ..สารส้มสะตุ.. 100.. กรัม วิธีทํา .. ..น�าสมุนไพรว่านนางค�า. ว่านไพร. ขมิ้น. และลิ้นทะเล. มาหั่นเปนชิ้น บาง.ๆ.ตากแดดให้แห้งแล้วน�ามาบดให้ละเอียด . ..น�าสารส้มมาสะตุ. ดินสอพอง.บดให้ละเอียด.แล้วน�าส่วนผสมทั้งหมด มาผสม.คนให้เปนเนื้อเดียวกัน . ..น�าใส่กระชอนร่อนให้ละเอียดอีกครัง้ .แล้วจึงน�าไปบรรจุในภาชนะไว้ใช้ ต่อไป 265


สเปรยสมุนไพรคลายปวดเขา ทา

าร พท

น ท ภ ภเ ร

ขอเขาเสื่อม เปนโรคที่มักพบในผู้สูงอายุ. หรือ ในวัยกลางคนขึน้ ไป.โดยเ พาะในเพศหญิง. ปัจจัยเสี่ยงหนึ่งที่ท�าให้ข้อเข่าเสื่อมได้เร็ว. คือ. การมีน�้าหนักตัวที่มากเกินไป. อาการ ข้อเข่าเสื่อม. ก็จะเริ่มต้นด้วยการมีอาการ ปวดข้อ. หลังจากที่มีอายุมากขึ้น. อาการ ปวดข้อก็จะมากขึ้นตามไปด้วย

กลไกการเกดขอเขาเสื่อม เข่าของคนเราเปนข้อที่ใหญ่และต้องท�างานมากท�าให้เกิดโรคที่เข่าได้ง่าย. โรคข้ อ เข่ า เสื่ อ มหมายถึ ง การที่ ก ระดู ก อ่ อ นของข้ อ มี ก ารเสื่ อ มสภาพท� า ให้ กระดูกอ่อนไม่สามารถเปนเบาะรองรับน�า้ หนัก.และมีการสูญเสียคุณสมบัตขิ องน�า้ . หล่อเลี้ยงเข่า.เมื่อมีการเคลื่อนไหวของเข่าก็จะเกิดการเสียดสีและเกิดการสึกหรอ ของกระดูกอ่อน. ผิวของกระดูกอ่อนจะแข็งผิวไม่เรียบ. เมื่อเคลื่อนไหวข้อเข่าก็จะ เกิดเสียงดังในข้อเกิดอาการเจ็บปวด.หากข้อเข่าทีเ่ สือ่ มมีการอักเสบก็จะมีการสร้าง 266


น�้าข้อเข่าเพิ่มท�าให้เกิดอาการบวม. ตึงและปวดของข้อเข่า. เมื่อมีการเสื่อมของ ข้อเข่ามากขึ้นข้อเข่าก็จะมีอาการโก่งงอท�าให้เกิดอาการปวดเข่าทุกครั้งที่มีการ เคลื่อนไหว. และขนาดของข้อเข่าก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้น. ในที่สุดผู้ปวยต้องใช้เท้า ช่วยเดินหรือบางคนจะเดินน้อยลงท�าให้กล้ามเนื้อ. ต้นขาลีบลงข้อจะติดเหมือน มีสนิมเกาะเหยียดขาได้ไม่สุด เมื่อเกิดเข่าเสื่อมมากขึ้นกระดูกอ่อน.(carti age).จะมีขนาดบางลง.ผิวจะ ขรุขระ.และมีการงอกของกระดูกขึ้นมาที่เรียกว่า.osteophytes.เมื่อมีการอักเสบ เยือ่ หุม้ ข้อก็จะสร้างน�า้ หล่อเลีย้ งข้อเพิม่ ขึน้ ท�าให้ขอ้ เข่ามีขนาดใหญ่.เอ็นรอบข้อจะ มีขนาดใหญ่ขึ้น. กล้ามเนื้อจะลีบลง. การเปลี่ยนแปลงของข้อจะเปนไปอย่างช้าๆ. โดยที่ผู้ปวยไม่ทราบ. ในรายที่เปนรุนแรงกระดูกอ่อนจะบางมาก. ปลายกระดูกจะ มาชนกัน.เวลาขยับข้อจะเกิดเสียงเสียดสีในข้อ

อาการท่สําคัญ .. เริม่ แรกจะปวดเมือ่ ยตึงทัง้ ด้านหน้าและด้านหลังของเข่า.หรือบริเวณน่อง. เมื่อเปนมากขึ้นจะปวดบริเวณเข่าเมื่อมีการเคลื่อนไหว.ลุกนั่งหรือเดินขึ้นบันไดไม่ คล่องเหมือนเดิม.โดยจะมีอาการส�าคัญดังนี้ . . มีเสียงในข้อ.เมื่อเคลื่อนไหวผู้ปวยจะรู้สึกมีเสียงในข้อและปวดเข่า . . อาการบวม.ถ้าข้อมีการอักเสบก็จะเกิดข้อบวม . . ข้อเข่าโก่งงอ. อาจจะโก่งด้านนอกหรือโก่งด้านใน. ท�าให้ขาสั้นลง เดินล�าบากและปวดเวลาเดิน

ป ัยท่ทํา เกดขอเสื่อม . .

. อายุ.อายุมากมีโอกาสเปนมากเนื่องจากอายุการใช้งานมาก . เพศหญิงจะเปนโรคเข่าเสื่อมมากกว่าผู้ชาย.2.เท่า.น�้าหนัก.ยิ่งน�้าหนัก ตัวมากข้อเข่าจะเสื่อมเร็ว 267


33 .

. การใช้ข้อเข่า.ผู้ที่นั่งยองๆ.นั่งขัดสมาธิ. หรือนั่งพับเพียบนานๆ.จะพบ ข้อเข่าเสื่อมเร็ว . การได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า. ผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุที่ข้อเข่าไม่ว่าจะ กระดูกข้อเข่าแตกหรือเอ็น ีก.จะเกิดข้อเข่าเสื่อได้

.

แนวทางการดูแลรัก าดวย าสตรการแพทยแผนไทย . . . .

1.. การนวดรักษาอาการ 2.. การใช้น�้ามันนวด.หรือสเปรย์แก้ปวด.หรือกักน�้ามัน. 3.. การพอกเข่า 4.. การท�าท่าบริหาร

การนวดรัก าอาการ ในองค์ความรูก้ ารแพทย์แผนไทยมีการนวดเพือ่ บรรเทาอาการปวดข้อเข่า อยู ่ ห ลากหลายเทคนิ ค . ซึ่ ง มี ก ารให้ บ ริ ก ารให้ ค ลิ นิ ก การแพทย์ แ ผนไทยตาม โรงพยาบาลต่างๆ.แต่อย่างไรก็ตามการนวดไทยโดยมากแล้วมักจะเปนการกดตาม จุดต่างๆ.เพื่อบรรเทาอาการปวด.แต่การกดตามจุดนั้นอาจท�าให้เกิดความร้อนสูง ขึ้นในบริเวณที่กดได้. ซึ่งอาจไม่เปนผลดีในผู้ปวยที่มีการอักเสบของข้อเข่า. ดังนั้น. ในรายที่มีการอักเสบของข้อเข่าอาจมีการชโลมน�้ามันที่กัดจากยาสมุนไพรที่มี สรรพคุณเพิม่ ความชุม่ ชืน้ .ลดความร้อนและชะลอไม่ให้ขอ้ เสือ่ มมากขึน้ .แต่อย่างไร ก็ตามในหมอนวดทีม่ คี วามช�านาญอาจน�าน�า้ มันมาผสมผสานกับการนวด.เปนการ เพิ่มประสิทธิภาพของการนวดไทย

268


สเปรยกระดูกไกดํา

สรรพคุณ แก้อาการปวดข้อ.ปวดเมื่อย.ฟกช�้า.อักเสบเ ียบพลัน สวนประกอบ 1.. สารสกัดกระดูกไก่ด�า. 400. มิลลิลิตร . 2.. เมนทอล. 60. กรัม . 3.. การบูร. 120. กรัม . 4.. น�้ามันหอมระเหย. 10. มิลลิลิตร . 5.. น�้ามันเขียว. 8. มิลลิลิตร . 6.. แอลกอ อล์.95 วิธีทําสารสกัดกระดูก กดํา . -. น�าแอลกอ อล์เทใส่กระดูกไก่ด�าให้ทั่ว.แช่ทิ้งไว้ประมาณ.7.วัน.กรอง เอาแต่น�้า.แล้วน�าไประเหยเอาแอลกอ อล์ออก. วิธีทําสเปรย . 1..ละลายเมนทอลและการบูรด้วยกัน.แล้วน�ามาเติมลงในสารสกัดกระดูก ไก่ด�า . 2..คนสารละลายให้เข้ากัน.เติมน�้ามันเขียว.แล้วคนให้เข้ากัน . 3..บรรจุใส่ขวดสเปรย์ ขอบง  ใช้ ีดบริเวณที่มีอาการปวดหรือมีการอักเสบของข้อต่างๆ. เปนยาใช้ ภายนอกห้ามรับประทาน

การนวดนํามัน

ท�าโดยการชโลมน�า้ มันอุน่ ๆ.บนร่างกายส่วนทีม่ อี าการ.เช่น.กล้ามเนือ้ หรือ ข้อต่อที่มีปัญหาตามด้วยการนวดบริเวณเหล่านั้น.โดยอาจใช้เทคนิคการนวดแบบ ต่างๆ.เช่น.นวดคลึงเปนวงกลม.นวดกดพร้อมกับรูด.(หรือรีด).ตามแนวกล้ามเนื้อ บริเวณทีเ่ ปน.บีบพร้อมกับหมุนและรีดเปนวงกลม.(โดยเ พาะในกรณีของการนวด นิ้วมือ). หรือการกดเน้นเปนส่วนๆ. โดยใช้แรงในการนวดแตกต่างกันตามความ เหมาะสม 269


33

การใช้เทคนิคการนวดและใช้ส่วนต่างๆ.ของมือของผู้นวด.รวมทั้งแรงใน การนวดขึ้นอยู่กับต�าแหน่งหรือบริเวณของร่างกายที่มีอาการ. รวมทั้งระดับความ เจ็บปวดและความทนทานต่อแรงกดนวดของผู้ปวยด้วย. และขึ้นอยู่กับความถนัด ของผู้นวดด้วย. การนวดน�้ามัน. นอกจากจะช่วยลดความตึงเกร็งของกล้ามเนื้อ บริเวณทีเ่ ปนและช่วยให้บริเวณทีถ่ กู นวดมีการไหลเวียนของกระแสประสาท.เลือด. สารอาหาร. ล .ดีขึ้น.(หรือที่เรียกในทางการแพทย์แผนไทยว่าเลือดลมไหลเวียน ดีขึ้น).จากการกดนวดด้วยเทคนิคต่างๆ.ดังที่กล่าวมาแล้ว.น�้ามันซึ่งมีคุณสมบัติชุ่ม มันและช่วยในการหล่อลื่น.จะมีส่วนช่วยให้ร่างกายที่ถูกชโลมด้วยน�้ามันได้รับการ หล่อลื่น.ส่งผลให้กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นตึงเกร็งลดลง.และช่วยให้เกิดการหล่อลื่น ของข้อต่อ. นอกจากนี้. ตัวน�้ามันเองโดยเ พาะน�้ามันงายังมีสรรพคุณบ�ารุงกล้ามเนื้อ. เส้นเอ็น.และกระดูกอีกด้วย.ตามองค์ความรู้ของอายุรเวทอินเดีย.หากใช้น�้ามันที่ ปรุงตามต�ารับซึง่ มีสมุนไพรหลายชนิด.ก็จะยิง่ ช่วยเสริมสรรพคุณในการรักษาความ ผิดปกติของกล้ามเนื้อ.กระดูกและข้อ.ได้ดียิ่งขึ้น แม้วา่ การนวดโดยใช้นา�้ มันร่วมด้วย.จะมีขอ้ ดีในการเสริมการบ�าบัดความ ผิดปกติเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ. กระดูกและข้อ. แต่ก็มีข้อควรปฏิบัติในการนวดและ ข้อห้ามเช่นกัน ขอควรป ิบั ิ ได้แก่. . -. น�า้ มันทีใ่ ช้นวดควรน�าไปอุน่ ก่อน.เพราะเมือ่ น�า้ มันอุน่ ๆ.สัมผัสกับร่างกาย. ความร้อนในน�้ามันจะท�าให้รูขุมขนและช่องในร่างกายเปิดโล่งขึ้น.จึงช่วยให้น�้ามัน ซึ่งมีตัวยาและสรรพคุณทางยาอยู่ซึมซาบเข้าสู่ร่างกายได้ดีขึ้น . นอกจากนี้.การนวดไม่ควรนวดในห้องที่เย็น.ไม่ว่าจากเครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม.เนื่องจากความเย็นจะท�าให้รูขุมขนและช่องในร่างกายหดตัว.ส่งผลให้ น�้ามันซึมซาบเข้าสู่ร่างกายได้ไม่ดีเท่าที่ควร. . -..หลังจากนวดน�้ามัน. (รวมทั้งการบ�าบัดด้วยการใช้น�้ามันวิธีอื่นๆ. เช่น. การกักน�า้ มัน. ล ).เสร็จ.ไม่ควรเช็ดหรือล้างน�า้ มันออกทันที.แต่ควรปล่อยให้นา�้ มัน 270


ซึมซาบกับร่างกายสักระยะเวลาหนึ่ง. เช่น. ครึ่งชั่วโมง. จากนั้นจึงใช้ผ้าชุบน�้าอุ่น ประคบและเช็ดออก.หรือให้ผู้ปวยอาบน�้าอุ่น.น�้าอุ่นจะช่วยชะล้างคราบน�้ามันบน ผิวหนังออก. ช่วยท�าให้ไม่รู้สึกเหนอะหนะตามผิวหนัง. ทั้งยังช่วยให้น�้ามันซึมซาบ ลึกขึ้น.และช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย.เนื่องจากความร้อนท�าให้การไหลเวียนดีขึ้น . ในส่วนของข้อห้าม.ในกรณีที่ผู้ปวยมีไข้.ไม่ควรนวดน�้ามันหรือใช้วิธีบ�าบัด ด้วยน�า้ มันโดยเด็ดขาด.เพราะไข้คอื ภาวะทีค่ วามร้อนในร่างกายเพิม่ ขึน้ .ซึง่ ส่วนหนึง่ เกิดจากร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนออกไปได้.(โดยเ พาะผ่านรูขุมขนบน ผิวหนัง).การชโลมน�้ามันตามร่างกายจะยิ่งท�าให้รูขุมขนอุดตันมากขึ้น.ส่งผลให้ไข้ ก�าเริบยิ่งขึ้นได้. . หรือในกรณีที่ผู้ปวยมีอาการหวัด. แต่ไม่มีไข้. และไม่มีแนวโน้มจะเปนไข้. เช่น. ไม่มีอาการรุม. ล . และต้องแน่ใจว่าผู้ปวยไม่มีอาการอ่อนเพลีย. อาจนวด น�้ามันที่ร่างกายช่วงล่างได้. คือ. บริเวณหลังส่วนเอวลงไป. แต่ไม่ควรนวดน�้ามันที่ ร่างกายส่วนบน. เพราะน�้ามันซึ่งมีความชุ่มมันจะท�าให้ร่างกายส่วนบนมีความชื้น มากขึ้น.อาจท�าให้อาการหวัดเปนมากขึ้นได้. และหลังจากนวดเสร็จแล้ว.อาจเช็ด ด้วยผ้าชุบน�้าอุ่นหรือล้างด้วยน�้าอุ่นทันที

การกักนํามัน . การกักน�า้ มัน.คือการใช้วสั ดุทสี่ ามารถรองรับหรือซับน�า้ มันวางบนร่างกาย ส่วนที่จะท�าการกักน�้ามัน.เช่น.ผ้าสาลู.ส�าลี.หรือผงธัญพืชที่เมื่อผสมน�้าแล้วมีความ เหนียวสามารถปันให้คงรูปได้. จากนั้นเทน�้ามันยาอุ่นๆ. ลงบนวัสดุนั้น. และท�าให้ น�า้ มันอุน่ อยูเ่ สมอๆ.จนกระทัง่ ครบระยะเวลาทีก่ า� หนด.การกักน�า้ มันมีจดุ มุง่ หมาย เช่นเดียวกับการชโลมน�้ามันตามร่างกาย. คือเพื่อให้น�้ามันซึ่งมีคุณสมบัติเปนมัน. ชุ่ม. และช่วยในการหล่อลื่น. ซึมซาบเข้าสู่ร่างกายส่วนที่มีการกักน�้ามัน. ท�าให้ บริเวณนัน้ ได้รบั การหล่อลืน่ ของน�า้ มัน.จึงช่วยลดอาการติดขัดในบริเวณทีม่ ปี ญ ั หา ได้. นอกจากนี้ตัวน�้ามันเองโดยเ พาะน�้ามันงายังมีสรรพคุณบ�ารุงกล้ามเนื้อ. 271


33

เส้นเอ็น.และกระดูกอีกด้วย.การกักน�า้ มันโดยใช้นา�้ มันงา.โดยเ พาะน�า้ มันยาทีป่ รุง ตามต�ารับเ พาะ. จะยิ่งเพิ่มสรรพคุณในการบ�าบัดเยียวยาความผิดปกติของ. กล้ามเนื้อ.กระดูกและข้อได้ดียิ่งขึ้น . การกักน�้ามันจึงสามารถใช้กับกล้ามเนื้อตึงเกร็งเรื้อรัง. และใช้กักตามข้อ ต่อเพื่อบ�าบัดความผิดปกติเกี่ยวกับข้อ. เช่น. ข้อติด. ข้ออักเสบ. ข้อเสื่อม. รวมทั้ง กักน�้ามันตามแนวกระดูกสันหลังเพื่อบ�าบัดความผิดปกติของกระดูกสันหลัง. โดย เ พาะหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน. . ในกรณีของความผิดปกติของข้อ.เช่น.ข้อเข่าเสือ่ ม.หรือข้ออักเสบ.สามารถ กักน�า้ มันบริเวณข้อ.ตัวยาซึง่ ซึมซับอยูใ่ นน�า้ มันจะซึมซาบเข้าไปในข้อ.ช่วยบรรเทา. บ�าบัด.หรือเยียวยาการอักเสบ.(ปิตตะก�าเริบ).บวม.(เสมหะก�าเริบ).หรือข้อเข่าเสือ่ ม. (วาตะก�าเริบ).ได้.โดยเลือกต�ารับยาน�้ามันที่เหมาะสม

วธกักนํามัน . ใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติในการซึมซับน�้ามัน.เช่น.ส�าลี. ผ้าสาลู. ล .โดยอาจ ทบหลายๆ.ชั้นให้มีความหนาพอประมาณ.(เช่น.ใช้ส�าลีที่เปนม้วนคลี่ออกและทบ สัก.3-4.ทบ).ตัดให้ได้ขนาดเหมาะกับพืน้ ทีส่ ว่ นทีจ่ ะกักน�า้ มัน.เช่น.หากจะกักน�า้ มัน บริเวณหลัง.ควรให้มคี วามกว้าง.(หลังจากทบให้หนาพอประมาณแล้ว).ราวครึง่ หนึง่ ของแผ่นหลัง.เพื่อให้น�้ามันซึมซาบคลุมทั้งกระดูกสันหลังและกล้ามเนื้อหลัง.ส่วน ความยาวกะให้ครอบคลุมพื้นที่ส่วนที่มีอาการ.เช่น.ในกรณีของหมอนรองกระดูก สันหลังส่วนเอวเคลื่อน. อาจตัดแผ่นส�าลีให้ยาวตั้งแต่กึ่งกลางหลังลงมาถึงบริเวณ ก้นกบ . วางวัสดุ. (เช่น.แผ่นส�าลี)ที่เตรียมไว้. บนต�าแหน่งของร่างกายที่จะท�าการ กักน�้ามัน.จากนั้นอุ่นน�้ามันยา.น�ามาเทลงบนแผ่นส�าลีทีละน้อย.เวลาเทน�้ามันควร ระวังไม่ให้น�้ามันหยดบนผิวหนัง.เพราะอาจท�าให้ผิวหนังพุพองหรือร้อนแทนที่จะ 272


เทน�้ามันจากหม้อโดยตรง. (ในกรณีที่ใช้วิธีอุ่นน�้ามันโดยเทน�้ามันลงในหม้อแล้วน�า ไปตั้งไฟ).อาจใช้กระบวยขนาดเล็กตักน�้ามันราดบนแผ่นส�าลีทีละน้อยจนเกือบทั่ว แผ่น.โดยเว้นตามขอบไว้.เพือ่ ไม่ให้นา�้ มันเยิม้ ไหลออกนอกส�าลี.ใช้หลังมือแตะน�า้ มัน ทีร่ าดบนส�าลี.หากน�า้ มันไม่รอ้ นเกินไป.ให้พลิกแผ่นส�าลีเพือ่ ให้ดา้ นทีม่ นี า�้ มันสัมผัส กับผิวตรงบริเวณทีก่ กั น�า้ มัน.จากนัน้ ปล่อยไว้สกั พัก.โดยเอามือแตะส�าลีดา้ นทีแ่ ตะ กับผิวหนัง.(ซึ่งมีน�้ามันอยู่).เปนระยะๆ.เพื่อดูว่าแผ่นส�าลีหายร้อนหรือยัง เมื่อแผ่นส�าลีหายร้อนแล้ว. ท�าการอุ่นแผ่นส�าลีที่มีน�้ามันอยู่. โดยอาจใช้ วิธียกแผ่นส�าลีมาวางบนกระทะเคลือบ. ซึ่งตั้งไฟอ่อนๆ. กะว่าส�าลีอุ่นพอเหมาะ. (ต้องระวังไม่ให้ร้อนเกินไป. เพราะอาจลวกผิวได้). แล้วน�าแผ่นส�าลีกลับมาวางบน ต�าแหน่งที่กักน�้ามันตามเดิม. เมื่อส�าลีที่มีน�้ามันหายร้อนแล้ว. น�าไปอุ่น. ท�าเช่นนี้ ไปเรื่อยๆ. จนครบระยะเวลาที่ก�าหนด. ซึ่งโดยทั่วไปจะกักน�้ามันนานประมาณ. 30.นาที นอกจากวิธีอุ่นน�้ามัน.(ที่ซึมซับอยู่บนส�าลี).ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว.อาจอุ่น โดยใช้ไดร์เปาผม. (เปิดลมแบบร้อน). โดยหลังจากใช้ไดร์เปาผมเปาบนส�าลีที่อยู่ ด้านบนจนร้อนแล้ว.ให้พลิกแผ่นส�าลี.เพื่อให้ด้านที่เพิ่งเปาเสร็จวางบนผิว.แต่ต้อง แน่ใจว่าไม่รอ้ นเกินไป.โดยใช้หลังมือแตะน�า้ มันบนส�าลีกอ่ นทีจ่ ะพลิกส�าลีกลับด้าน หลังจากกักน�้ามันจนครบเวลาที่ก�าหนดแล้ว. ยกแผ่นส�าลีใส่จานหรืภาชนะ. และหา าปิดเพื่อใช้ได้อีกครั้งต่อไป. ส�าลีที่ใช้แล้วนี้สามารถใช้ซ�้าได้. (โดยสามารถ เติมน�า้ มันเพิม่ ลงไปเมือ่ น�า้ มันทีใ่ ช้ตอนแรกพร่องลง).จนกว่าส�าลีจะยุย่ จนไม่สามารถ ซึมซับน�้ามันแล้ว.(สังเกตจากน�้ามันจะไหลเยิ้มออกจากส�าลี).จึงเปลี่ยนแผ่นใหม่. เวลาเปลี่ยนใช้ส�าลีแผ่นใหม่. ให้บีบน�้ามันจากส�าลีแผ่นเดิมออกมาใช้ได้อีก. และทิ้งเ พาะส�าลีที่ใช้แล้ว เมื่อครบเวลาในการกักน�้ามันแต่ละครั้งแล้ว. อาจนวดน�้ามันตาม. จากนั้น ทิ้งไว้สักพักจึงใช้ผ้าชุบน�้าอุ่นประคบและเช็ดออก.หรือล้างด้วยน�้าอุ่น 273


33

มายเ :ุ 1. นอกจากใช้สา� ลีหรือผ้าสาลู. (หรืออาจใช้ผา้ กอซทบหลายๆ.ชัน้ ).ในการ กักน�า้ มันแล้ว.อาจใช้ถวั่ เขียวหรือถัว่ เขียวเปลือกด�าบดเปนผงละเอียด. ผสมน�้าอุ่นทีละน้อยพร้อมกับนวด. จะได้ก้อนแป้งที่มีความเหนียว สามารถปันเปนเส้นได้.เพือ่ น�าเส้นแป้งมาล้อมเปนวงกลมบนต�าแหน่ง ที่จะกักน�้ามัน. โดยกะปริมาณแป้งให้มีเส้นผ่าศูนย์กลางและมีความ ยาวพอที่จะล้อมบริเวณที่จะกักน�้ามันได้ . . . หลังจากน�าเส้นแป้งมาล้อมเปนวงกลมแล้ว. เชื่อมรอยต่อ ระหว่างปลายทั้งสองข้างให้สนิท. โดยใช้นิ้วเกลี่ยรอยต่อให้เปนเนื้อ เดียวกัน.วิธนี คี้ ล้ายกับการท�าให้เกิดแอ่งบนร่างกายส่วนทีจ่ ะกักน�า้ มัน. โดยมีเส้นแป้ง.(ที่ท�าจากผงถั่วเขียวผสมน�้าอุ่นปัน).เปนขอบกันไม่ให้ น�้ามันไหลซึมออกมา.แต่หลังจากน�าปลายทั้งสองข้างมาเชื่อมจนเปน เส้นวงกลมและเกลีย่ รอยต่อจนสนิทดีแล้ว.ต้องใช้นวิ้ มือเกลีย่ ขอบแป้ง ด้านล่างส่วนที่แนบกับผิวหนัง. มิเช่นนั้นเมื่อเทน�้ามันลงไป. น�้ามัน จะซึมและเยิ้มหรือไหลออกมาข้างนอก. ท�าให้ไม่สามารถกักน�้ามัน ไว้ได้ . . . หลังจากท�าแอ่งบนร่างกายส่วนที่จะกักน�้ามันแล้ว. อุ่นน�้ามัน เทลงในแอ่ง.และใช้นวิ้ มือแตะน�า้ มันเปนระยะ.เพือ่ ตรวจสอบว่าน�า้ มัน หายร้อนหรือยัง.เมือ่ น�า้ มันหายร้อน.ใช้กระบวยหรือช้อนตักน�า้ มันส่วน หนึง่ ไปอุน่ และน�ามาเทไปในแอ่ง.(ต้องระวังและแน่ใจว่าน�า้ มันไม่รอ้ น เกินไป).ท�าเช่นนี้จนครบตามเวลาที่ก�าหนด. . . ขอควรป บิ ั ิ รวมทัง้ ขอ า มแ ะขอควรระวัง.เปนเช่นเดียว กับการนวดน�้ามัน

274


นํามันรากขัดมอน นํามันเก ยรพล . สรรพคุณเด่นของสมุนไพรตัวนี.้ คือช่วยเพิม่ พละก�าลังและเสริมสร้างความ แข็งแรงให้ร่างกาย สวนผสม . 1.. รากขัดมอน. 1. กิโลกรัม.(ส�าหรับท�ายาต้ม) . 2.. น�้ามันงา.. 1.. ลิตร . 3.. รากสามสิบ.. 60.. กรัม . 4.. ขัดมอน.(ส�าหรับท�ายาผง). 60.. กรัม . 5.. เหมือดหอม.(แก่นจันทน์แดง). 40.. กรัม. . 6.. แก่นสน. .20.. กรัม . 7.. จันทน์เทศ.(จันทน์ขาว).. 20.. กรัม.. .. . . 8.. เถาเอ็นอ่อน. .20.. กรัม . 9.. โกฐกระดูก. 20.. กรัม . 10.. รากละหุ่ง.. 20.. กรัม . 11.. เทียนขาว.(ยี่หร่า).. 20.. กรัม . 12.. แ กหอม. 20.. กรัม . 13.. ว่านน�้า. 20.. กรัม . 14.. เถาโคคลาน. 20.. กรัม . 15.. ชะเอมเทศ. 20.. กรัม . 16.. เทียนตาตักแตน. 20.. กรัม. . 17.. อบเชย. 20.. กรัม . 18.. มะขามป้อม. 20.. กรัม. . . 19.. สมอไทย. 20. กรัม . 20.. สมอพิเภก. 20.. กรัม 275


33

วิธีทํา . 1.. บดตัวยารายการที.่ 3-20.เก็บในภาชนะแห้ง.สะอาด.และมี าปิดสนิท. เวลาท�าน�้ามันต�ารับนี้แต่ละครั้ง.(1.ลิตร).แบ่งชั่งมา.125.กรัม. . 2.. รากขัดมอน.1.กิโลกรัม.บดหยาบ.เติมน�้า.16.ลิตร.(คือใช้น�้า.16.ส่วน ต่อตัวยา.1.ส่วน).ต้มให้เหลือน�้า.4.ลิตร.(คือต้มให้เหลือน�้า. .ส่วน).กรองเอาแต่ ยาต้มไว้เคี่ยวรวมกับน�้ามัน . 3.. น�ายาผงที่เตรียมไว้ในข้อ.1.(ใช้ยาผง.125.กรัมต่อน�้ามันงา.1.ลิตร. หรือยาผง. . ของน�้ามัน). เติมยาต้มรากขัดมอน. (ที่เตรียมไว้ในข้อ. 2). ทีละน้อย. คลุกเคล้าจนได้เนือ้ ยาทีเ่ นียน.(คล้ายกับการผสมดินสอพองข้นๆ).หรืออาจใส่ยาผง ทั้งหมดลงในภาชนะที่มีขนาดใหญ่พอ. เติมน�้าพอประมาณ. และคลุกเคล้าให้ เข้ากัน . 4.. เติมน�า้ มันงา.1.ลิตรลงในหม้อปากกว้างหรือกระทะขนาดใหญ่.(พอที่ จะจุส่วนผสมทั้งหมดได้).เติมยาที่เคล้าแล้วในข้อ.3.และยาต้มรากขัดมอนที่เหลือ ลงไป.คนให้เข้ากัน.จากนั้นเปิดไฟอ่อนๆ.เพื่อเคี่ยวน�้ามัน.โดยคอยคนเปนระยะๆ. เพื่อไม่ให้ตัวยาที่ตกตะกอนติดก้นหม้อจนอาจไหม้ได้ . 5.. เมื่อยาเริ่มเดือด. เพิ่มไฟให้ได้ระดับปานกลาง. (สังเกตว่ายาจะเดือด อ่อนๆ. ไม่เดือดแรงเกินไป). และคอยคนเปนระยะๆ. เคี่ยวไปเรื่อยๆ. จนน�้าระเหย. หมด. (กากยาจะเปนเม็ดคล้ายทรายเม็ดใหญ่). จึงปิดไฟ. ยกภาชนะลง. และกรอง เอาแต่น�้ามันเก็บในภาชนะแห้งสะอาด.ปิด าให้สนิท สรรพคุณแ ะขอบง  ใช้บรรเทา. บ�าบัด. หรือเยียวยาความผิดปกติเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ. กระดูก และข้อ. ที่เกิดจากวาตะก�าเริบ. (อาการส�าคัญคือปวด). โดยเ พาะอย่างยิ่งที่มี ภาวะของความเสื่อมร่วมด้วย. เช่น. กล้ามเนื้ออ่อนแรง. รวมทั้งอาการข้อและ กระดูกเสื่อม 276


เมือ่ น�าน�า้ มันงาไปชโลมและนวด.หรือหยาดหรือกักตามร่างกาย.คุณสมบัติ และสรรพคุณของตัวยาอื่นๆ. ย่อมถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย. อีกทั้งร่างกายยังได้รับ ประโยชน์จากสรรพคุณของน�้ามันงาด้วย. นั่นคือ. บ�ารุงหรือเติมเต็มเนื้อเยื่อต่างๆ. ได้แก่.กล้ามเนื้อ.เส้นเอ็น.น�้าเลี้ยงไขข้อ.และกระดูก . นอกจากน�้ามันงาแล้ว.ส่วนผสมหลักอีกอย่างของน�้ามันต�ารับนี้.คือ.ยาต้ม จากรากขัดมอน.ซึ่งมีรสหวาน.คุณสมบัติหนัก.(หมายถึงช่วยเพิ่มมวลให้ร่างกาย). อีกทั้งยังมีตัวยาอื่นๆ. ซึ่งมีสรรพคุณบ�ารุงร่างกาย. เช่น. รากสามสิบ. เถาเอ็นอ่อน.โคคลาน.รากละหุง่ .ชะเอมเทศ.เปนต้น.น�า้ มันรากขัดมอนจึงมีสรรพคุณ เด่นในการเสริมหรือบ�ารุงเนื้อเยื่ออย่างเช่น.กล้ามเนื้อ.กระดูกและข้อ. นอกจากนี้. ตัวยาอื่นๆ.ที่มีคุณสมบัติร้อน.เช่น.แก่นสน.เทียนตาตักแตน. อบเชย. ล .จะมีส่วนช่วยท�าให้ช่องทางการไหลเวียนในร่างกายโล่งขึ้น.ส่งผลให้ วาตะหรือลมซึง่ ก�าเริบและคัง่ ค้างอยูต่ ามกล้ามเนือ้ และข้อต่อ.(จนท�าให้เกิดอาการ ปวด). กระจายหรือถูกขับออกไป. อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ. หรือการปวดบวม ในข้อจึงย่อมลดลงด้วย กล่าวโดยรวม.น�้ามันเกษียรพลเหมาะส�าหรับความผิดปกติของกล้ามเนื้อ. กระดูกและข้อต่างๆ.เช่น.ปวด.บวม.อักเสบ.ทีเ่ กิดจากวาตะก�าเริบและมีภาวะพร่อง ของเนือ้ เยือ่ ร่วมด้วย.เช่น.ใช้ชโลมและนวด.หยาด.หรือกักตามร่างกาย.เพือ่ บรรเทา. บ�าบัด.หรือเยียวยาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ.กล้ามเนื้ออ่อนแรง.หรือกล้ามเนื้อ ลีบจากภาวะกล้ามเนื้อตึงเกร็งเรื้อรัง. หรือกล้ามเนื้อลีบซึ่งเปนผลจากอัมพฤกษ์ อัมพาต. หรือใช้ชโลมและนวด.หยาด.หรือกักทีห่ ลัง.หรือข้อ.ในกรณีของหมอนรอง กระดูกสันหลังเสื่อมหรือเคลื่อน.และข้อเสื่อม

277


33

การพอกเขา การพอกเข่าเปนการน�าต�ารับยาสมุนไพรที่มีสรรพคุณช่วยลดการอักเสบ ของข้อเข่า.มาพอกทิง้ ไว้ชวั่ ระยะเวลาหนึง่ .ซึง่ ต�ารับยาพอกนีม้ บี นั ทึกในคัมภีรต์ า่ งๆ. และองค์ความรู้ของหมอพื้นบ้าน.โดยต�ารับยาจะมีแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับพื้นที่.

ยาพอกเขา ตํารับ มอพืนบาน . . . . . วิธีทํา . .

1.. แป้งข้าวเจ้า. 2.. ลูกแป้งข้าวหมาก. 3.. ดองดึงบดละเอียด. 4.. ขิงแก่สด. 5.. น�้าต้มสุก

500. 1. 100. 200.

กรัม ลูก กรัม กรัม

1.. บดลูกแป้งข้าวหมากให้ละเอียด.แล้วน�ามาผสมลงในแป้งข้าวเจ้า.คลุก เคล้าให้เข้ากัน 2.. น�าผงดองดึงทีบ่ ดละเอียดแล้ว.โรยลงในแป้งทีผ่ สมแล้วในข้อที.่ 1.ก็จะ ได้ยาพอกเข่าแบบผงเก็บไว้

วิธี  . 1.. น�าผงยาพอกเข่าประมาณ.3.ช้อนโตะ.มาผสมกับน�้าขิงที่คั้นแล้ว . 2.. คลุกเคล้าให้เข้ากัน.แล้วน�ามาพอกที่เข่า.ทิ้งไว้ประมาณ.15.นาที.หรือ จนกว่ายาพอกเข่าจะแห้ง . 3.. พอกเข่า.วันละ.2.ครั้ง.เช้า-เย็น มายเ ุ .เหมาะส�าหรับเข่าที่มีอาการบวม.แดง.ร้อน.

278


ทาบร าร

ดัดตน

ทาแกกลอน และแกเขาขัด

ทาเ รียม.นั่งเหยียดขาทั้งสองข้าง. เท้าชิดกัน.มือทั้งสองข้างวางไว้บริเวณ หน้าขา.หน้าตรง.หลังตรง

สูดลมหายใจเข้าให้ลึกที่สุดพร้อมกับ ใช้มือทั้งสองข้างนวดตั้งแต่ต้นขาต่อเนื่อง ไปจนถึงปลายเท้า

ใช้มือจับปลายเท้าและก้มหน้าให้มาก ที่สุด.กลั้นลมหายใจไว้สักครู่

ผ่อนลมหายใจออกพร้อมกับคลายมือจากปลาย เท้า.นวดจากข้อเท้ากลับขึ้นมาจนถึงต้นขา

แล้วกลับมาอยู่ในท่าเตรียมเริ่มต้นท�าซ�้า.จนครบ.5-10.ครั้ง

279


สมาธบําบัดแบบ สาน าร พท ทางเ

. SKT. คือตัวย่อที่มาจากชื่อของ. รศ.ดร.สมพร. . กันทรดุษ ี-เตรียมชัยศรี. ซึ่งเปนผู้พัฒนาเทคนิคนี้ขึ้นมาตั้งแต่ป. พ.ศ.. 2541. ถึงปัจจุบัน. โดยอาจารย์ได้มี โอกาสศึกษาเรื่องสมาธิและระบบประสาทของมนุษย์. ในระหว่างการศึกษาระดับ ปริญญาเอก.จึงเข้าใจถึงความเชือ่ มโยงของการปฏิบตั สิ มาธิกบั การท�างานของระบบ ประสาทมากขึ้น. ประกอบกับเมื่อได้ท�างานวิจัยเรื่อง. สมาธิเพื่อการสร้างเสริม สุขภาพ. จึงพบว่าแม้การท�าสมาธิแบบสมถะ. หายใจเข้าพุทธ. หายใจออกโธ. นั้นสามารถช่วยให้คลายเครียดได้อย่างดี. แต่หากเราสามารถควบคุมการ ก ประสาทสัมผัสทั้ง. 6. ได้แก่. ตา. หู. จมูก. ลิ้น. การสัมผัส. และการเคลื่อนไหวด้วย. ก็จะท�าให้การท�าสมาธินั้นมีผลดีต่อการท�างานของระบบประสาทส่วนกลาง. ระบบประสาทส่วนปลาย. ระบบประสาทอัตโนมัติ. ระบบอารมณ์และพฤติกรรม. ระบบภูมิต้านทานของร่างกาย. ระบบไหลเวียนเลือด. และระบบอื่นๆ. ในร่างกาย ได้เปนอย่างดี. จึงได้น�าองค์ความรู้ทั้งเรื่องสมาธิ. โยคะ. ชี่กง. การออกก�าลังกาย แบบยืดเหยียด. การปฏิบัติสมาธิด้วยเทคนิคการหายใจ. และการควบคุมประสาท สัมผัสทางตาและหู. ผสมผสานกัน.จนพัฒนาเปนรูปแบบสมาธิบ�าบัดแบบใหม่ขึ้น. 7.เทคนิค.หรือเรียกว่า.SKT.1.-.7.สอนผู้ปวยที่มีปัญหาสุขภาพ.ช่วยเยียวยาผู้ปวย โรคเรื้อรังและผู้ปวยระยะสุดท้าย.ให้มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น. 280


นั่งผอนคลาย ประสานกายประสาน ต . เปนการนั่งหรือนอนปฏิบัติสมาธิด้วยการหายใจเข้าทางจมูกลึกๆ. และ หายใจออกทางปากช้าๆ . 1.. ถ้าหากนัง่ ให้หงาย ามือทัง้ สองข้างวางบนหัวเข่าท่านอนหงาย.ให้วาง แขนข้างล�าตัว.หงาย ามือขึ้น.หรือคว�่า ามือไว้ที่หน้าท้อง . 2.. ค่อยๆ.หลับตาลงช้าๆ.สูดลมหายใจเข้าทางจมูกลึกๆ.ช้าๆ.นับ.1.-.5. กลั้นลมหายใจ.นับ.1.-.3.ช้าๆ.(3.วินาที).แล้วค่อยๆ.ผ่อนลมหายใจออกทางปาก ช้าๆ.พร้อมกับนับ.1.-.5.อีกครั้ง.ถือว่าครบ.1.รอบ.ท�าซ�้าแบบนี้ทั้งหมด.30.-.40. รอบแล้วค่อยลืมตาขึ้นช้า.ๆ . 3.. ให้ปฏิบัติวันละ.3.รอบ.ก่อนหรือหลังอาหาร.30.นาที

. ท่า.SKT1.ช่วยลดความดันโลหิต.ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ.และลดน�้าตาลใน ผูป้ วยเบาหวาน.นอนไม่หลับ.ด้วยการปรับประสาทการรับรูข้ องเส้นประสาทสมอง คู่ที่.1,.2,.3,.4,.6,.10.( hemoreceptors.และ. hotoreceptors).ในช่วงหายใจ เข้าลึก. และปรับประสาทการรับรู้. ของเส้นประสาทการรับรู้ของเส้นประสาท. ustation.และเส้นประสาทสมองคู่ที่.7,.9,.10

281


33 ยืนผอนคลาย ประสานกาย ประสาน ต . 1.. ยืนตรงในท่าทีส่ บาย.สวมหรือไม่สวมรองเท้าก็ได้.แยกเท้าห่างเท่ากับ ช่วงไหล่.ถ้าสวมรองเท้า.ต้องเปนรองเท้าแบน.ค่อยๆ.หลับตาลงช้าๆ . 2.. ค่อยๆ. ชูมือขึ้นเหนือศีรษะ. ามือสองข้างประกบกันต้นแขนแนบ ศีรษะ . 3.. สูดลมหายใจเข้าทางจมูก.ลึกๆ.ช้าๆ.นับ.1.-.5.กลั้นหายใจนับ.1.-.3. ช้าๆ.พร้อมกับ.นับ.1.-.5.อีกครั้ง.ถือว่าครบ.1.รอบ.ท�าซ�้าแบบนี้.ทั้งหมด.30.รอบ. แล้วค่อยๆ.ลืมตาขึ้นช้าๆ . 4.. ค่อยแยก ามือออกจากกันช้าๆ.แขนตรงและเหยียด.ในท่าหงาย ามือ. ค่อยๆ.ลดระดับมือลง.พร้อมกับลดระดับแขนที่ยืดเหยียดและมือลงไป.1.จังหวะ. นับ.1.ลดระดับแขนที่ยืดเหยียด.และมือลงไปอีก.1.จังหวะ.นับ.2.ค่อยๆ.ลดมือลง ช้าๆ.พร้อมกับนับจังหวะไปเรื่อยๆ.จนถึง.30 . 5.. ปฏิบัติวันละ.3.รอบ.ส�าหรับผู้สูงอายุให้ กในท่านั่งหรือท่านอนก็ได้. . 6.. ถ้า กในทานั่ง. ต้องนั่งเก้าอี้ครึ่งก้น. เท้าต้องวางราบขนานกับพื้น. หลังตรง.แล้วค่อยๆ.ยกมือขึ้น. ามือประกบกัน.และ กเช่นเดียวกับท่ายืน . 7.. ถ้า กในท่านอน. ต้นแขน. 2. ข้าง. ต้องแนบใบหู. ามือที่ประกบกัน ต้องไม่ปล่อยลดไปถึงระดับพื้น.หลัง กครบ.30.รอบ.การลดระดับแขนลงต้องท�า ซ�้าๆ. ค่อยๆ. ลดแขนลง. ข้อศอกพับและค่อยๆ. ลดมือลงจนถึงต้นขานับ. 1. -. 30. จังหวะ.เช่นเดียวกันกับท่ายืนหรือท่านั่ง

282


ท่า. SKT. 2. ช่วยลดความดันโลหิต. และลดน�้าตาล ในเลื อ ดได้ ดี . ด้ ว ยการควบคุ ม และปรั บ ประสาท. รับความรู้สึกบริเวณไขสันหลัง. กล้ามเนื้อ. ข้อต่อ. เอ็น.การท�างานของเส้นประสาทสมอง.คู่ที่.1,.2,.3,. 4,. 6,. 7,. 9,. 10. และปรับ. arore e . receptor. ให้ไวขึ้น.ร่วมกับการออกก�าลังกายแบบ.Isometric. ercise

3 นั่งยืด เ ยยดผอนคลาย ประสานกาย ประสาน ต . 1...นั่งบนพื้นราบในท่าที่สบาย. เหยียดขา. เข่าตึง. หลังตรง. เท้าชิด. คว�่า ามือบนต้นขาทั้ง.2.ข้าง.ค่อยๆ.หลับตาลงช้าๆ.สูดลมหายใจเข้าทางจมูกลึกๆ. ช้าๆ.นับ.1.-.5.กลั้นลมหายใจ.นับ.1.-.3.ช้าๆ.แล้วค่อยๆ.เปาลมหายใจออกทาง ปากช้าๆ.นับ.1.-.5.อีกครั้ง.หายใจแบบนี้.3.-.5.ครั้ง.(ดังรูปที่.1) . 2...หายใจเข้าทางจมูกลึกๆ.ช้าๆ.พร้อมกับค่อยๆ.โน้มตัวไปข้างหน้า.ผลัก ามือทั้งสองข้างไปด้านหน้า.ค่อยๆ.ลูบจากเข่า.หน้าแข้งไปถึงข้อเท้า.ให้ปลายมือ จรดข้อเท้าหรือนิ้วเท้า.หยุดหายใจชั่วครู่.นับ.1.-.3.ประมาณ.3.วินาที.(ดังรูปที่.2) . 3...ค่อยๆ.ผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ. ามือลูบหน้าแข้ง.เข่า.พร้อม กับค่อยๆ.เอนตัวไปข้างหลัง.เงยหน้าขึ้น.หน้าท้องตึงให้ได้มากที่สุด.นับเปน.1.รอบ. ท�าซ�้ากัน.30.รอบ.แล้วค่อยๆ.ลืมตาขึ้นช้าๆ.นั่งตัวตรงตามปกติ.(ดังรูปที่.3)

283


33 ท่า.SKT.3.ช่วยลดไขมันหน้า ท้อง. ไขมันในเส้นเลือด. และ อาการปวดเข่า. ปวดกล้าม เนื้ อ ต้ น คอ. หลั ง . ต้ น แขน. อาการท้องอืด. นอนไม่หลับ. ลดความดั น โลหิ ต . และลด ระดับน�้าตาลในเลือดได้เปน อย่างดี. ด้วยการควบคุมและ ปรั บ ประสาทรั บ ความรู ้ สึ ก บริเวณไขสันหลัง.การท�างาน ของเส้นประสาทสมอง.คูท่ .ี่ 1,. 2,.3,.4,.5,.6,.7,.9,.10,.11,. 12. และปรั บ . arore e . receptor. ให้ไวขึ้น. ร่วมกับ การออกก�าลังกายแบบ. Isometric. ercise. และปรับประสาทรับรู้ท่ีกล้ามเนื้อ. ข้อต่อ.เอ็น.( roprioceptors)

ทาท่

“กาวยางอยางไทย เยยวยากาย ประสาน ต”

. 1.. ยืนตรงในท่าที่สบาย. ลืมตา. แบมือทั้งสองข้างวางไขว้หลัง. หรือวาง ทาบที่หน้าท้อง.สูดลมหายใจเข้าทางจมูกลึกๆ.นับ.1.-.5.กลั้นหายใจนับ.1.-.3.ช้าๆ. แล้วเปาลมหายใจออกทางปากช้าๆ.พร้อมกับนับ.1.-.5.อีกครั้ง.ถือว่าครบ.1.รอบ. ท�าซ�้าแบบนี้ทั้งหมด.5.รอบ . 2.. ยืนตัวตรง.มองต�่าไปข้างหน้า.หายใจเข้าช้าๆ.พร้อมกับค่อยๆ.ยกเท้า ขวาสูงจากพื้นเล็กน้อย. หายใจออกช้าๆ. พร้อมกับค่อยๆ. ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า. 284


จรดปลายเท้าแตะพืน้ .ตามด้วยส้นเท้าวางลงบนพืน้ .นับเปน.1.รอบ.เดินไปข้างหน้า. 20.รอบ.หยุดเดินรอบที่.20. . 3.. วางเท้าซ้ายชิดเท้าขวาในช่วงที่หายใจออก.ยืนตรง.ตามองพื้น.หมุน ขวา.โดยหายใจเข้า.วางปลายเท้าขวาลง.หายใจเข้าพร้อมกับยกเท้าซ้ายลอยจาก พืน้ เล็กน้อย.หายใจออกพร้อมวางเท้าซ้ายชิดเท้าขวา.แล้วค่อยๆ.หมุนขวา.โดยขยับ เท้าให้เอียง.60.องศา.และ.90.องศา.ในท่ายืนตรง.ท�าซ�้าเดิมโดยเดินไป-กลับ.2. เที่ยว.ใช้เวลาประมาณ.45.นาที.ถึง.1.ชั่วโมง

ทาที่ S ก้าวย่างอย่างไทย. เยียวยากาย. ประสานจิต ท่า.SKT4.ช่วยเยียวยาและเพิ่มภูมิต้านทานกับโรคเรื้อรังทุกประเภท

ทาท่

“ยืดเ ยยดอยางไทย เยยวยากาย ประสาน ต”

. 1.. เริม่ จากยืนตรงในท่าทีส่ บาย.เข่าตึง.ค่อยๆ.หลับตาลงช้าๆ.สูดลมหายใจ เข้าทางจมูกลึกๆ.ช้าๆ.นับ.1.-.5.กลั้นหายใจนับ.1.-.3.ช้าๆ.แล้วเปาลมหายใจออก ทางปากช้าๆ.นับ.1.-.5.อีกครั้ง.ท�าแบบนี้.5.รอบ. . 2...ค่อยๆ.ยกมือทั้งสองข้างขึ้นเหนือศีรษะ ามือประกบกัน.แขนตึงแนบ ใบหู.หายใจเข้าออก.1.ครั้ง.(ดังรูปที่.1).แล้ว.ค่อยๆ.ก้มตัวลง.โดยศีรษะ.ตัว.และ 285


33 แขนก้มลงพร้อมๆ.กัน.ช้าๆ.นับเปนจังหวะที่. 2.(ดังรูปที่. 2).ค่อยๆ.หายใจ.และ ก้มตัวลงเปนจังหวะช้าๆ.ไปเรื่อยๆ.จนถึงจังหวะที่.30.ปลายนิ้วกลางจรดพื้นพอดี. (ดังรูปที่.3) . 3...จากนั้นหายใจเข้าและออก.1.ครั้ง.แล้วค่อยๆ.ยกตัวขึ้น.ศีรษะตั้งตรง. นับจังหวะเหมือนตอนก้มลง. โดยในจังหวะที่. 30. ให้เข่าตึง. แขนตึง. กลับมา อยู่ในท่าเดิมดังรูปที่.1

ทาที่ S ยืดเหยียดอย่างไทย. เยียวยากาย. ประสานจิต ทา S เทคนิค : ต้องเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ. หายใจช้าๆ. จึงจะได้ ประโยชน์สูงสุด.โดยเริ่มจากวันละ.30.จังหวะ.และค่อยๆ.เพิ่มขึ้นในวันต่อๆ.ไป. ช่วยป้องกันและเสริมสร้างสุขภาพได้เปนอย่างดี

ทาท่

“เทคนคการ กสมาธการเยยวยาไทย นตภาพ”

. 1...นอนบนพื้นเรียบ.แขนสองข้างวางแนบล�าตัว.ค่อยๆ.หลับตาลงช้าๆ. สูดลมหายใจเข้าทางจมูกลึกๆ.ช้าๆ.นับ.1.-.5.กลั้นหายใจนับ.1.-.3.ช้าๆ.แล้วเปา ลมหายใจออกทางปากช้าๆ.นับ.1.-.5.อีกครั้ง.ท�าแบบนี้.3.รอบ.

286


. 2...แล้วให้ท่องในใจว่า. ศีรษะเราเริ่ม.ผ่อนคลาย.ผ่อนคลาย.ผ่อนคลาย. ผ่อนคลาย. ผ่อนคลายลงไปเรื่อยๆ . พร้อมกับก�าหนดความรู้สึกไปที่อวัยวะที่เรา จดจ่อ.ไล่จากศีรษะ.หน้าผาก.ขมับ.หนังตา.แก้ม.คาง.ริม ปาก.คอ.ไหล่.ต้นแขน. แขน.มือ.หน้าอก.หลัง.หน้าท้อง.ก้น.ต้นขา.เข่า.น่อง.เท้า.และตัวเราทั้งตัว . 3.. โดยเมื่อครบทั้งตัวแล้ว. ให้ท่องว่า. มือเราเริ่มหนักขึ้น. หนักขึ้น. หนักขึ้น. หนักขึ้นไปเรื่อยๆ . ไล่ลงไปจนถึงเท้า. เมื่อท�าครบแล้วให้หายใจเข้า. กลั้นใจ.และหายใจออกเหมือนตอนเริ่มต้นอีก.3.รอบ ทาที่ S เทคนิคการ กสมาธิ การเยียวยาไทย จินตภาพ . ท่า.SKT6.เหมาะส�าหรับ.ผู้ปวยมะเร็ง.ผู้ติดเชื้อเอชไอวี. อัมพาต.และผู้ที่ มีปัญหาระบบการไหลเวียนโลหิต

ทาท่

“เทคนคสมาธเคลื่อนไ วไทย ่กง”

. 1...ยืนตัวตรง.แยกเท้าทั้งสองข้างพอประมาณ.ค่อยๆ.หลับตาลงช้าๆ.สูด ลมหายใจเข้าทางจมูกลึกๆ.ช้าๆ.นับ.1.-.5.กลั้นหายใจนับ.1.-.3.ช้าๆ.แล้วเปาลม หายใจออกทางปากช้าๆ.นับ.1.-.5.อีกครั้ง.ท�าแบบนี้.5.รอบ. . 2...ค่อยๆ.ยกมือ.แขน.ข้อศอกทั้งสองข้างอยู่ระดับเอว.หัน ามือทั้งสอง ข้างเข้าหากัน.ขยับ ามือเข้าหากันช้าๆ.นับ.1.-.3.และขยับมือออกช้าๆ.นับ.1.-.3. (ดังรูปที่.1.-.2).ท�าทั้งหมด.30.-.40.รอบ.แล้วยืนอยู่ในท่าเดิม. 287


33 . 3.. หายใจเข้าลึกๆ.นับ.1.-.5.ค่อยๆ.ยกมือขึ้นเหนือศีรษะคล้ายกับก�าลัง ประคองหรืออุ้มแจกันใบใหญ่. แล้วค่อยๆ. ยกมือลงในท่าประคองแจกันเช่นกัน. นับเปน.1.รอบ.(ดังรูปที่.3.-.4).ท�าทั้งหมด.30.-.40.รอบ.แล้วยืนอยู่ในท่าเดิม

ทาที่ S เทคนิคสมาธิ เคลื่อนไหวไทยชี่กง

. ท่า.SKT7.ลดอาการท้องผูก.นอนไม่หลับ.อาการปวดเรื้อรัง/เ ียบพลัน. และภูมิแพ้

288


ขอควรระวัง . . . . . . . . . .

1.. ขณะ กปฏิบัติ.ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ.ไม่รัดตึง 2.. อุณหภูมิของสถานที่ กต้องไม่ร้อนหรือเย็นเกินไป 3.. ไม่ควร กขณะหิวหรืออิ่มเกินไป 4.. จิตจะต้องเปนสมาธิ. ไม่ไหวตามสิ่งเร้ารอบข้าง. เช่น. เสียง. กลิ่น. การพูดคุยของคนที่อยู่ข้างๆ.เปนต้น 5.. ควรควบคุมอารมณ์และความคิดให้นงิ่ .ไม่คดิ เรือ่ งใดๆ.ทัง้ สิน้ .ให้จดจ่อ อยู่ที่ลมหายใจเข้าออก 6.. ระวังการถูกรบกวนทันที.ต้องควบคุมจิตใจให้เปนสมาธิอย่างแน่วแน่ 7.. ขณะ กอาจมี อ าการง่ ว งนอน. ห้ า ม กขณะขั บ ขี่ ย านพาหนะ. ขณะท�างานกับเครื่องจักร.หรือในสถานที่ที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ 8.. หากมีอาการแน่นอึดอัดหรือหน้ามืด. ให้หยุด ก. และลงนั่งหรือ นอนพักทันที 9.. ผู้ที่เปนเบาหวาน.ควรพกลูกอมติดตัวไว้ด้วย. 10.. ควรเคลือ่ นไหวอย่างช้าๆ.นุม่ นวล.ระวังการบาดเจ็บของอวัยวะภายใน. ได้แก่.หัวใจ.ปอด.ม้าม.ตับ.ไต

289


33 เอกสารอางอง 1.. Triamchaisri.SK.. indfu ness. editation.SKT.Techni ue..11st..ed.. ang o ,.Thai and:.Sam arean. ress .2008. 2.. Artsantia. . ,. awn. . ,. haiphi a sarisdi. . ,. itayasuddhi. ,. Triamchaisri..SK.. p oring.the...pa iati e.care.needs.of.peop e. i ing. in. Thai and. with. end. stage. rena . disease.. ourna . of.. ospice. . a iati e. ursing..2011 .13:.6:.403-410.. 3.. Traimchaisri.SK,..Artsantia.. ,. awn.. ..(2013).. e e opment.of.a. home- ased.pa iati e.care.mode .for.peop e. i ing.with.endstage.rena .disease.. ourna .of. ospice. . a iati e. ursing.. (Inpress). 4.. aew ood..S,.Sora a oo .S,.Triamchaisri.SK..The. o e.of. e igion. in. e ation. to. ood. ressure. ontro . Among. a. Southern. a ifornia. Thai. opu ation. with. ypertension.. . ourna . of. e igion.and. ea th,. arch.2012,. o ume.51,.Issue.1,.pp.187197.

สนใจข้อมูลเพิ่มเติม.สามารถดาวโหลดในเว็บไซต์ของส�านักการแพทย์ทางเลือก. www.thaicam.go.th.หรือเบอร์โทรศัพท์.0-2149-5636.

290


สัมผัสบําบัดแบบแอส สต นา พท ง า ร ุ พสุท สาน าร พท ทางเ

แอส สต แอส ิส  คือ. วิธีการซึ่งสามารถบรรเทา ความไม่สบาย.หรือความอึดอัดทีเ่ ปนอยูใ่ นปัจจุบนั . และช่วยให้บคุ คลฟนตัวจากอุบติเหตุ.ความเจ็บปวย. หรือความเศร้าโศกเสียใจได้เร็วขึ้น1. . แอสซิสต์มีมากกว่า. 130. วิธี2. มีทั้งที่เปน วิธีการพื้นฐาน. และวิธีการขั้นสูง. ทั้งหมดคิดค้น โดย. แอล. รอน. ับบาร์ด. ( .. on. u ard. นั ก วิ ท ยาศาสตร์ แ ละนั ก ปรั ช ญาทางศาสนา ชาวอเมริกัน.มีชีวิตอยู่ระหว่างป.ค.ศ..1911-1986).

แอล รอน ับบารด

. แอสซิสต์ขั้นพื้นฐาน.แบ่งได้เปน.2.แบบ.(ตามความเห็นของผู้เขียน) . 1). แบบที่ผู้ท�าแอสซิสต์ท�าให้ผู้ป วยเกิดการรับสัมผัส. (perception). ทางร่างกาย. หรือ. เกิดการรับรู้ถึงส่วนของร่างกายที่ก�าลังบาดเจ็บหรือเจ็บปวย. ซึ่งจัดได้ว่าเปนรูปแบบของ. สัมผัสบ�าบัด .โดยจะกล่าวถึงแอสซิสต์แบบนี้.2.วิธี 291


33

(

)

. 2). แบบที่ท�าให้ผู้ป วยมองหรือสังเกตสิ่งแวดล้อม. เพื่อน�าความสนใจ ของผู้ปวยให้ออกจากบริเวณที่เจ็บปวดของร่างกายหรือปัญหาความยุ่งยาก. และ หันเหไปสู่สภาพแวดล้อมภายนอก . จากแนวคิดของสุขภาพองค์รวมที่ให้ความส�าคัญกับความสมดุลของ ทั้งทางร่างกาย. จิตใจ. สังคม. และ. จิตวิญญาณ. แอสซิสต์เปนวิธีการที่ใช้เปน เครื่องมือในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมได้อย่างดี. เนื่องจากแอสซิสต์มีหลักการ ของการมุง่ ทีจ่ ติ วิญญาณเปนส�าคัญ.จิตวิญญาณมีผลกระทบต่อร่างกาย.อาการเจ็บ ปวยไม่สบายสามารถบรรเทาได้หากมีการจัดการที่จิตวิญญาณ. . ในปรัชญาของ. แอล. รอน. ับบาร์ด. เรียกจิตวิญญาณว่า “เททัน” ซึ่งหมายถึง.ตัวตนของบุคคลนั้นเอง.เททัน.คือสิ่งที่ตระหนักรู้ว่าตนนั้น รับรู้. เปนตัวตนซึ่งบุคคลนั้นเปนอยู่. ค�าว่า. เททัน . นี้เปนค�าศัพท์ที่สร้างขึ้นเพื่อ ก�าจัดความสับสนที่อาจเกิดขึ้นได้กับบางแนวคิดก่อนๆ. ซึ่งไม่ถูกต้อง. ค�านี้มาจาก ตัวอักษรกรีก.ตัว. . . .(theta).ที่ชาวกรีกเคยใช้เพื่อหมายถึง.ความคิด.หรืออาจ หมายความถึง.จิตวิญญาณด้วย.โดยเติมตัว.n.เข้าไปเพื่อเปลี่ยนรูปให้เปนค�านาม. ตามวิธีการสมัยใหม่ที่ใช้สร้างค�าในสาขาวิชาวิศวกรรม3. . . แอส สิ  ม สิง่ แทนการรักษา ทางการแพทย และไม่ใช่ความพยายามที่ จะรักษาอาการบาดเจ็บที่ต้องการความ ช่ ว ยเหลื อ ทางการแพทย์ . แต่ แ อสซิ ส ต์ เปนการช่วยเสริมให้การรักษาพยาบาล สมบูรณ์ยิ่งขึ้น. และช่วยให้ผู้ที่เจ็บปวยหรือบาดเจ็บมีโอกาสฟนตัวเร็วขึ้น. เพราะ แอสซิสต์ช่วยให้บุคคลรักษาตนเอง.หรือรับการรักษาจากปัจจัยอย่างอื่นได้4 . การท�าแอสซิสต์เพื่อท�าให้ผู้ปวยเกิดการรับสัมผัสทางร่างกาย. หรือรับ สัมผัสบริเวณที่บาดเจ็บหรือเจ็บปวย. จะช่วยท�าให้ผู้ปวยฟนฟูการติดต่อสื่อสาร 292


ระหว่างตัวเขากับร่างกาย.หรือบริเวณที่บาดเจ็บหรือเจ็บปวยนั้น.ซึ่งถูกตัดทอนไป เมือ่ ได้รบั ความกระทบกระเทือนจากอุบตั เิ หตุ.การบาดเจ็บ.หรือความเจ็บปวยต่างๆ. เมื่อความสนใจถูกถอนออกจากส่วนของร่างกายที่ได้รับบาดเจ็บหรือที่เจ็บปวย. ส่งผลให้ระบบการไหลเวียนเลือดและน�้าเหลือง.การส่งกระแสประสาทในทางเดิน ประสาท. และพลังงานก็ย่อมลดลงด้วย. ท�าให้บริเวณนั้นได้รับสารอาหารน้อยลง. การขับถ่ายของเสีย.(meta o ic.waste.product).ไม่มีประสิทธิภาพ.เมื่อมีการ ฟนฟูการติดต่อสือ่ สารระหว่างผูป้ วยกับร่างกายของตนเองโดยใช้แอสซิสต์.การฟน คืนสู่สภาวะปกติในผู้ปวยจะเกิดขึ้นได้5.

นยาม ัพท . ก่อนที่จะศึกษาและ กปฏิบัติแอสซิสต์.ต้องเข้าใจค�าศัพท์ที่ส�าคัญ.เช่น .. คอกนิชั่น (cognition).หมายถึง.ความเข้าใจชัดแจ้งใหม่ๆ.เกี่ยวกับชีวิต. คือค�าพูดที่ว่า. . ันเพิ่งรู้ว่า... .หรือ.บางสิ่งซึ่งคนๆ.หนึ่งเข้าใจหรือรู้สึกขึ้นมาอย่าง ับพลันในขณะนั้น. ตัวอย่างเช่น. ขณะที่มีการท�าแอสซิสต์. บุคคลนั้นอาจจะรู้ชัด แจ้งขึ้นมาเกี่ยวกับการบาดเจ็บของเขา. หรือสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องว่าการเกิด การบาดเจ็บหรือสิ่งแวดล้อมในตอนนั้นเปนอย่างไร . ตัวบงชี้ (indicator).หมายถึง.สภาวะหรือสภาพการณ์ต่างๆ.ที่เกิดขึ้น ระหว่างการท�าแอสซิสต์.ซึ่งบ่งชี้.(ชี้ให้เห็นหรือแสดงออก).ว่าก�าลังไปได้ด้วยดีหรือ ไม่น่าพอใจนัก.ตัวอย่างเช่น.บุคคลที่ก�าลังได้รับแอสซิสต์ดูสดใสหรือร่าเริงมากขึ้น. จัดเปนตัวบ่งชี้ที่ดี เซสชั่น (session).หมายถึง.ช่วงเวลาที่มีการท�าแอสซิสต์ โพรเซส (process).หมายถึง.ชุดของค�าสั่งหรือล�าดับของการกระท�าที่ แน่นอนตายตัว.เพื่อให้บรรลุผลตามที่ต้องการ.

293


33

(

)

เน วแอส สต . เนิฟว์แอสซิสต์.เปนการช่วยเหลือทางระบบประสาท6.( er e).ทีม่ วี ธิ กี าร ใช้มือของผู้ท�าแอสซิสต์.ท�าการลูบเบาๆ.(stro ing).อย่างสุภาพไปบนบ่า.แผ่นหลัง. ด้านข้างล�าตัว.และแขนขา.อย่างสมดุลข้างขวาและซ้ายของร่างกายผูร้ บั การบ�าบัด. ประกอบกับให้ผู้รับการบ�าบัดมีการนอนคว�่าและนอนหงายสลับกันไป. ผู้ท�า แอสซิสต์ต้องมีการสื่อสารที่ดีตลอดเวลากับผู้รับการบ�าบัด. และยุติการท�าเนิฟว์แอสซิสต์ตามข้อก�าหนด . ประโย นของ เนิ วแอส ิส  . ช่ ว ยฟนฟู ก ารสื่ อ สารระหว่ า งผู ้ รั บ การบ� า บั ด กั บ ร่ า งกายของตนเอง. ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ.และช่วยจัดกระดูกสันหลังรวมทั้งข้อต่อให้ยืดตรง6 . เนื่องจากยาเสพติดสร้างผลกระทบต่อระบบประสาท. และสร้างความ เจ็บปวดให้กับผู้ที่ก�าลังเลิกเสพ.เนิฟว์แอสซิสต์จึงมีประโยชน์อย่างมากในการช่วย บรรเทาอาการถอนยาเสพติด.(withdrawa .symptoms)7 ทษ ี . เส้นประสาทใหญ่ในร่างกายคนเรา.ซึง่ ตัง้ อยูต่ ามแนว กระดูกสันหลังลงไป.และแผ่กระจายไปยังไหล่ทงั้ สองข้างและ แผ่ น หลั ง . เส้ น ประสาทเหล่ า นี้ แ ตกแขนงออกไปเป น เส้ น ประสาทขนาดเล็กลงไปและเปนปลายประสาทต่างๆ. เส้น ประสาทมีผลต่อกล้ามเนื้อ. และถ้ากล้ามเนื้อเกิดอาการตึงตัว อย่างต่อเนือ่ ง.ก็อาจท�าให้กระดูกสันหลัง.รวมทัง้ ส่วนอืน่ ๆ.ของ โครงสร้างร่างกายถูกดึงออกจากต�าแหน่งที่ควรอยู่ได้6 . แอล. รอน. ับบาร์ด. กล่าวว่า. เส้นประสาทนั้น ล�าเลียงการสัน่ สะเทือนทีเ่ กิดจากการกระทบกระแทก.(shoc . เสนประสาท of.impact).ต่างๆ.การสั่นสะเทือนเช่นนี้ควรที่จะสลายไป.แต่ ในระบบประสาท ก็ยากนักทีจ่ ะสลายไปทัง้ หมด.เส้นประสาทจะออกค�าสัง่ ไปยัง 294


คลืน่ นิง่ ของพลังงานจะกอตัว ขึน้ เมือ่ การสัน่ สะเทือนทีเ่ กิด จากการกระทบกระแทก ถูก กักขังอยูในแนวเสนประสาท

กล้ามเนื้อ. เมื่อร่างกายได้รับการกระทบกระแทก. คลื่นพลังงานที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันจะเริ่มกระจาย ตัวไปตามแนวของเส้นประสาท. และเมื่อถึงปลาย ประสาทเล็กๆ. ทิศทางของคลื่นพลังงานดังกล่าวจะ ไหลย้อนกลับ. เป นผลท� า ให้ เ กิ ด การอั ดแน่ นของ พลังงานซึ่งหยุดอยู่ตรงกลางทางเดินของแนวเส้น ประสาท.(ner e.channe s).ท�าให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า. ค น่ นิง่ .ซึง่ เปนคลืน่ ทีจ่ ะหยุดนิง่ อยู่อย่างนั้น.ไม่ไหลไปที่ใด .. และกล่ า วว่ า . การท� า เนิ ฟ ว์ แ อสซิ ส ต์ ประกอบไปด้ ว ยการค่ อ ยๆ. ปลดปล่ อ ยคลื่ น นิ่ ง ออกจากทางเดินของแนวเส้นประสาทในร่างกาย. การปรับปรุงการสื่อสารกับร่างกาย. และการช่วยให้ บุคคลรู้สึกทุเลาลง .

วธการป บัต . 1... ให้บคุ คลนัน้ นอนคว�า่ บนเตียงหรือเตียงพับ.จากนัน้ ใช้นวิ้ ชีท้ งั้ สองข้าง ของคุณแตะที่บริเวณใกล้กับกระดูกสันหลังแต่ละข้างของเขาแล้วลากนิ้วลงไป ตามแนวให้เร็วพอสมควรแต่ไม่ต้องแรงมาก.แล้วท�าอย่างนี้ซ�้าอีกสองครั้ง . 2... จากนั้นให้คุณลากย้อนขึ้นไปในทางตรงกันข้าม. โดยใช้นิ้วทั้งสอง ลากย้อนกลับขึ้นไปตามแนวกระดูกสันหลังเช่นเดิม.ท�าเช่นนี้สามครั้ง . 3.. ทีนกี้ างนิว้ มือออกเหมือนพัด.ลูบแนวเส้นประสาทพร้อมๆ.กันด้วยมือ ทั้งสองข้าง. ให้ลูบจากกระดูกสันหลังไปยังข้างล�าตัวตามแนวเส้นประสาทอย่างที่ ที่มาของภาพ:

. 1. . 13.

.

. :

.

:

295


33

(

)

แสดงในภาพท่ า นอนคว�่ า . เมื่ อ คุ ณ ลู บ ทั่ ว แผ่ น หลั ง ในลั ก ษณะนี้ แ ล้ ว . (โดยเริ่ ม จาก ด้านบนไปยังด้านล่างของกระดูกสันหลัง). ให้ท�าขั้นตอนนี้ซ�้าอีกสองครั้ง . 4... ตอนนีใ้ ห้สลับทิศทางในการลูบ. โดยลูบกลับเข้าหากระดูกสันหลัง. จากด้าน ล่างไปสู่ด้านบน ภาพทานอนควํา่ : ใหลบู มือไปตามแนว 5... จากนั้นให้เขาพลิกตัวเพื่อนอน เส น ประสาท ึ่ ง แตกแขนงออกจาก . กระดูกสันหลังพาดยาวไปถึงดานหนา หงาย. ใช้มือทั้งสองข้างลูบต่อเนื่องขนานไป กับแนวเส้นประสาทเดิมมายังบริเวณด้าน ของรางกาย หน้าของล�าตัว มายเ ุ: ในการลูบไปตามแนวเส้นประสาทที่พาดต่อเนื่องมาถึงด้านหน้าของล�าตัว. ให้ ลูบถึงแค่จุดที่ลูกศรยาวถึงเท่านั้น. ตามภาพท่านอนหงาย. เนื่องจากแนว เส้นประสาททีก่ า� ลังได้รบั การดูแลอยูน่ นั้ ไม่ได้ผา่ นข้ามบริเวณหน้าอกหรือหน้า ท้อง.ดังนั้นจึงไม่ต้องท�าการลูบผ่านบริเวณนั้น)

.. 6... ให้ลูบกลับในทิศทางตรงกัน ข้ามไปตามแนวเส้นประสาทเดิม มายเ ุ: ในการลูบไปตามแนวเส้นประสาท ในขั้นตอนที่.6.ให้เริ่มลูบจากจุดที่ แสดงด้ ว ยเครื่ อ งหมายลู ก ศรใน ภาพท่านอนหงาย. โดยลูบไปยัง ด้านหลัง) ที่มาของภาพ:

. 1. . 1 .

296

.

. :

ภาพทานอนหงาย: เมื่อผูรับการทํา แอส ิสตอยูในทานอนหงาย ใหลูบถึง แคจุดที่ลูกศรยาวถึงเทานั้น .

:


. 7... ตอนนี้ให้ลูบลงไปตามแขนทั้งสองข้างและขาทั้งสองข้าง. . ให้บุคคลนั้นนอนคว�่าอีกครั้ง.และให้เริ่มขั้นตอนแรกใหม่ . ให้ท�าวิธีการนี้ต่อไปเรื่อยๆ. จนกระทั่งเขามี. คอกนิชั่น เกิดขึ้น. หรือ แสดงใหเหนถึงอาการที่บรรเทาลง และมี.ตัวบงชี้ตาง ที่ดีมาก เขาอาจจะรู้สึกว่า กระดูกของเขากลับเข้าที่ด้วย. ซึ่งบ่อยครั้งจะมีเสียงลั่นเบาๆ. มาจากภายใน. ณ.จุดนี้ควรยุติการท�าเนิฟว์แอสซิสต์ในเซสชั่น.(session).นั้น. . เนิฟว์แอสซิสต์ควรจะท�าซ�้าทุกวันจนกระทั่งคลื่นนิ่ง. (standing. wa e). ทั้งหมดถูกปลดปล่อยออกไป

ขอควรระวัง

.. ไม่ควรท�าเนิฟว์แอสซิสต์ให้กับผู้มีปัญหาสุขภาพที่เปนอุปสรรคต่อการ เปลีย่ นสลับท่านอนระหว่างนอนคว�า่ และนอนหงาย.อย่างเช่นผูท้ มี่ ภี าวะหรืออาการ. วิงเวียน. หน้ามืด. หอบเหนื่อย. ความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรง. โรคหัวใจที่รุนแรง. โรคปอดที่รุนแรง. มีกระดูกหักที่อยู่ในระยะห้ามการเปลี่ยนท่า. และการตั้งครรภ์. เปนต้น

 การปลดปลอยคลื่นนิ่งออกไปตามวิธีการทําเนิ วแอส ิสต จะชวย น ูการสื่อสารระหวาง เททันกับรางกาย ชวยผอนคลายกลามเนื้อ และชวยจัดกระดูกสันหลังรวมทั้งขอตอใหยืดตรง ที่มาของภาพ:

. 1. . 1 .

.

. :

.

:

297


33

(

)

รูปภาพขั้น อนวิธีการป ิบั ิ เนิ วแอส ิส  1..ให้เริม่ ต้นการท�าเนิฟว์แอสซิสต์ โดยใช้สองนิว้ แตะทีบ่ ริเวณใกล้กบั กระดูกสันหลังแต่ละข้าง.แล้วลาก ลงไปตามแนวกระดูกสันหลัง

2...จากนั้นให้ลากนิ้วย้อนกลับ ขึ้นไปในทางตรงกันข้าม

3..กางมือออกให้เหมือนพัด แล้วลูบออกจากกระดูกสันหลังไป ข้างล�าตัว

ใหทํา 3 ครั้ง อางอิงจาก

ที่มาของภาพ :

. : 3. . 3 - . .

1. . 1 .

298

.

. :

. :

-

. :

.

.

:


รูปภาพขั้น อนวิธีการป ิบั ิ เนิ วแอส ิส  ตอ 4...สลับทิศทางอีกครั้ง.และ ลูบเข้าหากระดูกสันหลัง

5..ให้เขาพลิกตัวเพื่อนอนหงาย..แล้ว ลูบมือไปตามแนวเส้นประสาทที่พาด ยาวมาถึงด้านหน้าของล�าตัว .จากนั้น ให้ลูบไปในทิศทางตรงกันข้ามอีกครั้ง

6..ลูบลงไปตามแขนและขา ทั้งสองข้าง .แล้วให้เขากลับ ไปนอนคว�่าและเริ่มต้นใหม่ ทั้งหมด.โดยเริ่มจากการลาก นิ้วขนานกระดูกสันหลังลงไป ใหทํา 3 ครั้ง อางอิงจาก

ที่มาของภาพ:

. : 3. . 3 - . .

1. . 1 .

.

. :

. :

-

. :

.

.

:

299


33

(

)

ตัวอยางผูปวยท่ไดรับการบําบัดดวย เน วแอส สต ผูปวย าย ทย อายุ ป เข้ารับการบ�าบัดการเสพติดกระท่อม.ครั้งนี้ เปนครั้งที่.3.เพราะเสพซ�้า . อาการ ในวันที.่ 2.ของการถอนพิษยา.ผูป้ วยมีอาการถอนยา.(withdrawa . symptoms). มีสีหน้าซึมดูอ่อนเพลีย. บ่นว่าปวดทั้งตัว. ปวดเคล็ดตามข้อต่างๆ. คะแนนความเจ็บปวด. ( ain. Score). . 10. ท�าให้อ่อนเพลียต้องนอนทั้งวัน. ไม่ค่อยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มการบ�าบัดรักษา. ผู้ดูแลต้องคอยกระตุ้นให้ลุกขึ้นมา ออกก�าลังกาย . ประวั ิอดี .การบ�าบัดการเสพติดครั้งที่. 1,2.มีอาการถอนยาอย่างน้อย. 3.วัน.ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อระดับปานกลางซึ่งคงอยู่ประมาณ.1.สัปดาห์.หลัง.5.วัน. ไปแล้ว.ผูป้ วยจึงจะร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่ การบ�าบัดรักษา.และต้องใช้ เวลาในการถอนพิษยาประมาณ.14.วัน . (หมายเหตุ.การรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อและข้อ.จะรักษาตามอาการ) . การบําบัดรักษา.ผู้ปวยรายนี้ได้รับการท�าเนิฟว์แอสซิสต์. 1.ครั้ง.ในวันที่. 2.ของการถอนพิษยา.ใช้เวลาทั้งหมด.13.นาที.หลังได้รับการบ�าบัด.ผู้ปวยมีสีหน้า สดใส.ยิ้ม.สบตาเมื่อพูดคุยกับผู้อื่น.ผู้ปวยพูดว่า. มันสบายตัว.หายปวดข้อแล้ว . ประเมินคะแนนความเจ็บปวด. . 0. หลังจากนั้น. ร่วมท�ากิจกรรมกลุ่มการบ�าบัด รักษา.เช่น.ไปช่วยขนย้ายถุงเสื้อผ้ากับผู้ปวยอื่นได้ . การ ิด ามผ วันที่. 3.ของการถอนพิษยา.มีอาการปวดกล้ามเนื้อและ ข้อเล็กน้อย.สามารถเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มได้ตลอดการประชุมกลุ่ม.นาน.1.5.ชม.. ทัง้ ช่วงเช้าและช่วงบ่าย.ให้ความร่วมมือค่อนข้างดีในการท�ากิจกรรมตามโปรแกรม การบ�าบัดรักษา . วันที่. 4.ของการถอนพิษยา.คะแนนความเจ็บปวด. .0.สามารถเข้าร่วม กิจกรรมกลุ่มได้ตามปกติ.ทั้งช่วงเช้า.และช่วงบ่าย 300


. สรุป.ผูป้ วยรายนีฟ้ นตัวจากอาการถอนยา.(อาการปวดกล้ามเนือ้ และข้อ). ได้เร็วขึ้น.และเข้าร่วมในการท�ากิจกรรมกลุ่มการบ�าบัดรักษาได้เร็วขึ้น

3

8 รูปภาพถาย บางสวน ขณะที่ผูปวยรายนี้ไดรับการบําบัด อาการถอนยาเสพติดดวย เนิ วแอส ิสต

301


33

(

)

เ ตุผลทางการแพทยท่อธบายกลไกของเน วแอส สตเพื่อการบําบัด .. เนิฟว์แอสซิสต์ใช้การนวดแบบลูบเบา. (stro ing). ด้วยการสัมผัสเบาๆ. บริเวณผิวหนังจะเพิม่ การไหลเวียนของโลหิตเ พาะทีไ่ ด้.การสัมผัสเปนการกระตุน้ ที่ตัวรับสัมผัสประสาทส่วนปลาย. (periphera . receptor). เกิดปฏิกิริยาโดยตรง บริเวณที่ถูกนวด. ท�าให้กล้ามเนื้อคลายตัว. และมีการส่งสัญญาณกระแสประสาท ไปตามเส้นประสาทขนาดใหญ่. ส่งต่อไปยังประสาทไขสันหลังและสมอง. ซึ่งท�าให้ เกิดกลไกยับยั้งสัญญาณความเจ็บปวดที่มีการส่งเปนกระแสประสาทวิ่งไปตาม เส้นประสาทขนาดเล็ก. ผลเช่นนี้อธิบายตามทฤษ ีการควบคุมประตูรับความรู้สึก. ( ate. contro . theory). การนวดสามารถเพิ่มความทนทานต่อความเจ็บปวด ได้ดีขึ้น. นอกจากนี้. การนวดสามารถกระตุ้นสมองให้มีการหลั่งเอ็นดอร์ฟิน. ( ndorphins).ช่วยท�าให้ผู้รับการบ�าบัดรู้สึกสบาย.และท�าให้ความเจ็บปวดลดลง. และในด้านผลทางจิตใจของการนวด.จะช่วยลดความวิตกกังวล.ลดความตึงเครียด ของจิตใจ.และส่งผลกลับไปช่วยเพิ่มภูมิต้านทานโรคได้อีก8. .

เดอะ บอด คอมมูนเค ั่น พรเ ส . เดอะ. บอดี้. คอมมูนิเคชั่น. โพรเซส. มีจุดประสงค์เพื่อท�าให้บุคคลหนึ่ง สามารถสร้างการสื่อสารกับร่างกายขึ้นมาใหม่อีกครั้งได้. จึงเปนแอสซิสต์ที่เหมาะ กับผู้ปวยที่ขาดการสื่อสารกับร่างกายของตนเองอย่างต่อเนื่องยาวนาน9. เช่น. ผู้ที่ เจ็บปวยหรือบาดเจ็บเรื้อรัง.หรือผู้ที่นอนติดเตียง. . แอสซิสต์นี้อาจจะท�าได้หลังจากที่ผู้ป วยได้รับการดูแลทางการแพทย์ ทีจ่ า� เปน.หรือการท�าแอสซิสต์อนื่ ๆ.ทีจ่ า� เปน.เสร็จสิน้ หมดแล้วเท่านัน้ .ไม่ได้มไี ว้เพือ่ ทดแทนสิ่งเหล่านั้น 302


ประ ย นของ เดอะ บอด คอมมูนเค ั่น พรเ ส .. ช่วยฟนฟูสภาพร่างกายของผู้เจ็บปวยหรือผู้บาดเจ็บ. โดยเ พาะผู้ที่มี อาการเรื้อรัง9. มีประโยชน์มากในขั้นตอนการถอนพิษยา. โดยเ พาะอย่างยิ่งช่วย ให้ผู้เสพติดเ โรอีนสามารถผ่านพ้นการถอนยาไปได้โดยที่มีอาการถอนยาเพียง เล็กน้อย10.

วธการป บัต9 .. 1... ให้บุคคลนั้นนอนหงายบนโซฟา. เตียง. หรือเตียงพับ. การให้ผู้รับ แอสซิสต์ถอดรองเท้าออกจะช่วยให้การท�าแอสซิสต์นไี้ ด้ผลทีน่ า่ พอใจ.สิง่ ของอะไร ก็ตามที่บีบรัดร่างกายอยู่. เช่น. เน็คไทหรือเข็มขัดที่รัดแน่นควรถอดออกหรือปลด ให้หลวม.ไม่จ�าเปนที่จะต้องถอดเสื้อผ้า.ยกเว้นเสื้อผ้าที่หนักหรือหนาเทอะทะ. .. ในกรณีที่จะท�าแอสซิสต์นี้มากกว่าหนึ่งเซสชั่น.(session).อาจสับเปลี่ยน ท่านอนผูป้ วยให้หลากหลายรูปแบบเพือ่ ให้ได้ผลดีทสี่ ดุ .โดยให้เขานอนคว�า่ หน้าลง. สลับกันไปจากเซสชั่นหนึ่งไปอีกเซสชั่นหนึ่ง .. 2... ใช้ค�าสั่ง. รู้สึกถึงมือทั้งสองข้างของ ัน .(หรือ. รู้สึกถึงมือของ ัน . เปนครั้งคราวเมื่อใช้แค่มือเดียว) .. 3... อธิบายจุดมุ่งหมายของแอสซิสต์นี้ให้บุคคลนั้นฟัง. และบอกเขาสั้นๆ. ว่าคุณก�าลังจะท�าอะไร .. 4... ให้บคุ คลนัน้ หลับตาลง.แล้ววางมือบนไหล่ทงั้ สองข้างของเขา.โดยจับ ให้แน่นแต่ออ่ นโยน.ใช้แรงกดของมือเท่าทีเ่ ขายินยอมหรือรับได้และให้คา� สัง่ กับเขา .. 5... เมื่อเขาตอบรับหรือแสดงว่าได้ท�าตามค�าสั่งแล้ว. ให้คุณตอบรับเขา กลับด้วย .. 6..วางมือไปตามส่วนต่างๆ.ของร่างกายเขา.ให้คา� สัง่ และตอบรับเขาแต่ละ ครัง้ หลังจากทีเ่ ขาตอบรับหรือแสดงว่าได้ทา� ตามค�าสัง่ แล้ว.ให้แตะทีอ่ ก.ทีด่ า้ นหน้า 303


33

(

)

ของอก. ที่ด้านข้างทั้งสองของอก. ด้านข้างของส่วนท้องบริเวณเอว. จากนั้นใช้มือ ข้างหนึง่ แตะวนไปรอบบริเวณหน้าท้องตามเข็มนา กิ า.(ทีท่ า� ตามเข็มนา กิ า.เพราะ ว่าเปนทิศทางการวนของส�าไส้ใหญ่). ท�าต่อไปโดยใช้มือของคุณจับแผ่นหลังตรง ช่วงเอวมือละข้างแล้วยกขึ้นอย่างมั่นคง. ใช้มือแต่ละข้างกดลงบนสะโพกซ้าย และขวาพร้อมๆ.กัน.โดยกดให้แรงขึ้นตรงส่วนที่เปนกระดูกเหล่านี้.จากนั้นวางมือ ทั้งสองข้างลงบนขาข้างหนึ่งไล่ไปจนถึงหัวเข่า.และวางมือทั้งสองลงไปที่ขาอีกข้าง ไล่ไปจนถึงหัวเข่าด้วยเช่นกัน.เสร็จแล้วกลับไปที่ขาอีกข้างหนึ่ง.จับไล่ลงไปถึงน่อง ส่วนบน.น่องส่วนล่าง.ข้อเท้า.เท้าและนิว้ เท้า.และก็เปลีย่ นไปจับขาอีกข้างหนึง่ จาก หัวเข่าถึงนิ้วเท้าเช่นเดียวกัน .. จากนัน้ ให้วางมือย้อนขึน้ ไปเรือ่ ยๆ.จนถึงไหล่ทงั้ สองข้าง.แล้วไล่ลงมาตาม แขนแต่ละข้างไปจนถึงนิ้วมือ.จับที่บริเวณด้านหลังล�าคอแต่ละด้านด้วยมือทั้งสอง. จับที่ด้านข้างของใบหน้าทั้งสองด้าน. หน้าผากและด้านหลังของศีรษะ. ด้านข้าง ทั้งสองของศีรษะ.ไปจนถึงปลายแขนและขาทั้งสองข้าง .. การวาง ามือทัง้ สองข้างนัน้ ท�าได้หลากหลายไม่มขี อ้ จ�ากัด.แต่แน่นอนว่า ต้องละเว้นไม่แตะต้องบริเวณอวัยวะเพศหรือบั้นท้ายของผู้ปวยทั้งชายและหญิง. รวมทั้งเต้านมของผู้หญิงด้วย. แอสซิสต์นี้จะท�าไล่ขึ้นและไล่ลงไปตามร่างกายรวม ทั้งมือและเท้า .. 7... ให้ท�าแอสซิสต์นี้ต่อไปเรื่อยๆ. จนกระทั่งเขาเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี ขึน้ .มีคอกนิชนั่ และแสดงให้เห็นถึง.ตัวบงชีต้ า ง ทีด่ มี าก พอมาถึงจุดนีค้ ณ ุ อาจยุติ การท�าแอสซิสต์ได้.ให้บอกเขาว่า. จบการท�าแอสซิสต์ .. ในการท�าแอสซิสต์นี้ไม่ควรท�าเลยผ่านจุดที่เขาเกิดคอกนิชั่น.และมีตัวบ่ง ชี้ว่าดีขึ้นมากแล้ว

304


การวางมือลงไปตามสวนตาง ของ รางกาย และใหผูรับการทําแอส ิสต รูสึกถึงมือนั้น จะชวยนําคนที่ปวยหรือ บาดเจบมาสูส ภาพทีส่ ามารถสือ่ สารกับ รางกายไดดีขึ้น

ที่มาของภาพ:

. :

.

1. . 1 .

ตัวอยางผูปวยท่ไดรับการบําบัดดวย อ อ

. :

.

. ผูปวย ิง อายุ ป อาการก่อนได้รับการท�าแอสซิสต์ครั้งแรก.เมื่อ วันที่. 15. พฤศจิกายน. พ.ศ.. 2554. มีอาการหอบหืด. เหนื่อยง่าย. ไม่มีเรี่ยวแรง. ตัวแข็งและขยับตัวล�าบากมาก. ต้องใช้ออกซิเจนช่วยหายใจสัปดาห์ละประมาณ. 10.ถัง.ได้รบั การท�าแอสซิสต์เดือนละ.1.ครัง้ .ด้วย.เดอะ.บอดี.้ คอมมูนเิ คชัน่ .โพรเซส. และ.เนิฟว์แอสซิสต์.(แต่ตามหลักการควรท�าทุกวัน)

15 พ.ย. 2554 อาการก อ นได รั บ แอส ิ ส ต : หอบเหนื่ อ ย นอนติดเตียงตองใชออก ิเจนชวยหายใจ

กําลังไดรับแอส ิสต เดอะ บอดี้ คอมมูนิเคชั่น โพรเ ส

305


33

(

)

. อาการหลังได้รับการท�าแอสซิสต์ครั้งที่. 2. ผู้ปวยสามารถพลิกตัวได้เอง. และมือทั้ง.2.ข้างก�าได้คล่องขึ้น . อาการหลังได้รับการท�าแอสซิสต์ครั้งที่. 3. ผู้ปวยใช้ออกซิเจนช่วยหายใจ ลดลงเหลือเดือนละประมาณ.10.ถัง . และเมื่อวันที่. 12. ธันวาคม. พ.ศ.. 2555. ผู้ปวยหายใจได้โล่งขึ้น. อาการ เหนือ่ ยลดน้อยลงมาก.เคลือ่ นไหวร่างกายได้ดขี นึ้ มาก.ใช้ออกซิเจนช่วยหายใจเหลือ เพียงเดือนละ.2-3.ถัง

อาการดีขึ้นเรื่อย และเมื่อ พ.ย.

306

มีอาการดีขึ้นมาก นั่งคุยไดนาน ไมเหนื่อย


ตารางเปรี ยบเทียบเที ยบระดั บการได้ “แอสซิ​ิส ส”ต์” ารางเปรี ยบระดั บการ ปดระโยชน์ ประโย นจจากการใช้ ากการ  “แอส เพื่อช่วเพ่ยเสริ มกับมการบ าบัดารับักดษาทางการแพทย์ าง ๆ* อ วยเสริ กับการบํ รักษาทางการแพทยในภาวะต่ นภาวะ าง ตัวอย่างภาวะ ทางการแพทย์

ระดับการได้ประโยชน์ (+) จาก เดอะ บอดี้ คอมมูนเิ คชัน่ โพรเซส

เนิฟว์ แอสซิสต์

การนอนติดเตียง

++++

+++

กล้ามเนื้อตึงหรือเกร็งตัว

+++

++++

ข้อต่อยึดติด

++

++++

ปวดข้อ

++

++

ปวดหลัง

++

++++

แผลกดทับ

+++

++

บวมตามแขน ขา

+++

++

ท้องผูก

++++

++

บาดแผลที่ศีรษะ

+

+

* เสนอแนะโดย นายแพทย์องอาจ ศิริกุลพิสุทธิ์ เสนอแนะโดย นายแพทยองอาจ ศิริกุลพิสุทธิ

307


33

(

)

เอกสารอางอง 1...แอล. รอน. ับบาร์ด.. อภิธานศัพท์.. ใน:. องค์การไซแอนโทโลยีนานาชาติ,. ผู้เรียบเรียง.. การท�าแอสซิสต์ส�าหรับความเจ็บปวยและอาการบาดเจ็บ.. กรุงเทพ :สงวนกิจ.พริ้นท์.แอนด์.มีเดีย .2553.หน้า.45-6. 2... u ard. ..Assists.processing.hand oo .. openhagen:. ew. ra. pu ications .c1992. 3...แอล. รอน. ั บ บาร์ ด .. ปั จ จั ย เกี่ ย วกั บ การท� า แอสซิ ส ต์ . . ใน:. องค์ ก าร ไซแอนโทโลยีนานาชาติ,. ผู้เรียบเรียง.. การท�าแอสซิสต์ส�าหรับความ เจ็บปวยและอาการบาดเจ็บ..กรุงเทพ :.สงวนกิจ.พริ้นท์. แอนด์. มีเดีย . 2553..หน้า.3-6.. 4...แอล.รอน. ับบาร์ด..การช่วยบุคคลให้รักษาตนเอง..ใน:.องค์การไซแอนโทโล ยีนานาชาติ,.ผูเ้ รียบเรียง.การท�าแอสซิสต์สา� หรับความเจ็บปวยและอาการ บาดเจ็บ..กรุงเทพ :.สงวนกิจ.พริ้นท์.แอนด์.มีเดีย .2553..หน้า.7-8. 5...แอล. รอน. ับบาร์ด.. ทัชแอสซิสต์.. ใน:. องค์การไซแอนโทโลยีนานาชาติ,. ผู้เรียบเรียง.. การท�าแอสซิสต์ส�าหรับความเจ็บปวยและอาการบาดเจ็บ. กรุงเทพ :.สงวนกิจ.พริ้นท์.แอนด์.มีเดีย .2553..หน้า.13-20. 6.. แอล. รอน. ับบาร์ด.. เนิฟว์แอสซิสต์.. ใน:. องค์การไซแอนโทโลยีนานาชาติ,. ผู้เรียบเรียง.. การท�าแอสซิสต์ส�าหรับความเจ็บปวยและอาการบาดเจ็บ.. กรุงเทพ :.สงวนกิจ.พริ้นท์.แอนด์.มีเดีย .2553..หน้า.21-5. 7... u ard. ..The. er e.Assist..In:. arconon.Internationa ,.compi er.. The. arconon.first.step.program.:.an.effecti e.method.for. drug-free. withdrawa .. os. Ange es:. arconon. Internationa . c2003..p..35-9. 308


8...ประดิษฐ์.ประทีปะวณิช..การนวด..ใน:.ประดิษฐ์.ประทีปะวณิช.และ.พงศ์ภารดี. เจาฑะเกษตริน,. บรรณาธิการ.. กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังพืด.. พิมพ์ครั้งที่.1..กรุงเทพ :.อมรินทร์ .2542..หน้า.109-19. 9...แอล. รอน. ับบาร์ด.. เดอะ. บอดี้. คอมมูนิเคชั่น. โพรเซส.. ใน:. องค์การ ไซแอนโทโลยีนานาชาติ,. ผู้เรียบเรียง.. การท�าแอสซิสต์ส�าหรับความเจ็บ ปวยและอาการบาดเจ็บ.กรุงเทพ :.สงวนกิจ.พริ้นท์.แอนด์.มีเดีย .2553.. หน้า.26-8. 10.. u ard. .. The. ody. ommunication. Assist.. In:. arconon. Internationa ,.compi er..The. arconon.first.step.program.:.an. effecti e. method. for. drug-free. withdrawa .. os. Ange es:. arconon.Internationa .c2003..p.41-3. 11..อาสาสมัครไซแอนโทโลยีประเทศไทย.รายงานการสรุปผลการให้บริการแอส ซิสต์แก่ผู้สูงอายุศูนย์พัฒนาการจัดการสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ. บ้าน บางละมุง.ระหว่างเดือนพฤศจิกายน.พ.ศ..2554. .ธันวาคม.พ.ศ..2555..

309


กระ ับพุงดวยนํามันนวดสมุนไพร าพ ทรพ สาน าร พท ทางเ

. โรคอ้วนลงพุง. ( eta o ic. syndrome). เปนภาวะที่อ้วนโดยเ พาะ ส่วนเอวและท�าให้เกิดผลเสียต่อร่างกายหลายระบบ. eta o ic. syndrome. ค�านี้เปนค�าศัพท์ทางการแพทย์ที่ใช้อย่างแพร่หลาย. หมายถึง. กลุ่มโรคที่เกิดจาก การเผาผลาญอาหารทีผ่ ดิ ปกติ. ส่งผลท�าให้เกิดโรคไขมันในเลือดสูง.ความดันโลหิตสูง. มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน.ในที่สุดเสี่ยงที่จะเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสูง.สมัยก่อน เรียกกลุ่มโรคนี้ว่า. Syndrome. ,. insu in. resistance. syndrome. เกณฑ์ที่ใช้ วินิจ ัยว่าเปนโรคอ้วนชนิดลงพุง. กล่าวคือมีเส้นรอบเอวมากกว่า. 90. เซนติเมตร ในเพศชาย.และมากกว่า.80.เซนติเมตรในเพศหญิง.กลุ่มคนที่มักจะเปนโรคอ้วน ลงพุงได้แก่. ผู้ที่เปนโรคเบาหวานชนิดที่. 2. ผู้ท่ีเปนความดันโลหิตสูงและมีระดับ อินซูลินในเลือดสูงรวมไปถึงผู้ที่ปวยด้วยโรคหัวใจ . ค�าว่า. พุง . ค�านี้น่าจะไม่มีใครอยากบัญญัติไว้ในพจนานุกรมของผู้รัก สุขภาพ.รวมไปถึงผู้ที่รักความสวยความงามทั้งหลาย.ไม่เพียงฟังไม่รื่นหูแต่. พุง . ยังน�าพาสิง่ ทีไ่ ม่พงึ ปรารถนาตามมาอีกหลายประการ.อันดับแรกเลยคือ.อัตราความ เสี่ยงต่อโรคร้าย.เช่น.มะเร็ง.เบาหวาน.หัวใจและหลอดเลือด.ตับอักเสบ.ไขมันใน เลือดสูง.และอีกสารพัดโรคทีเ่ พิม่ ขึน้ กว่าคนไร้พงุ เปนเท่าตัว.นัน่ หมายถึงอายุทกี่ า� ลัง 310


จะสั้นลงของคนไว้พุงอีกด้วย.ด้วยเหตุนี้เราจะนิ่งดูดายอยู่ไม่ได้ต้องรีบหาวิธีก�าจัด พุงโดยด่วน. จึงขอหยิบยกภูมิปัญญาของบรรพบุรุษมาน�าเสนอเปนวิธีแก้ปัญหา ง่ายๆ.ทีเ่ รียกว่า.กระ บั พุงดวยนํา้ มันนวดสมุน พร.โดยใช้สมุนไพรพืน้ บ้านมาปรุง เปนน�้ามันนวด. ผสมผสานกับหลักการของวิทยาศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่อย่าง สอดคล้องกลมกลืน. เทคนิคการนวดนี้จะช่วยกระตุ้นระบบน�้าเหลืองและกระตุ้น อวัยวะภายในช่องท้องให้ทา� งานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ .กระตุน้ การไหลเวียน ของเลือดและน�้าเหลืองช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลายและที่แน่นอน.คือ.ลดการเกิด เซลลูไลท์หรือผิวเปลือกส้ม.ได้อย่างดี . การนวดสมุนไพรสลายพุงด้วยเทคนิคการนวดโกยท้องโบราณผสมผสาน การนวดระบายน�า้ เหลืองในปัจจุบนั .การนวดโกยท้องในโบราณนัน้ มีดว้ ยกันหลาก หลายวิธแี ละรูปแบบทีแ่ ตกต่างกันไป.ปัจจุบนั จะพบในงานการพยาบาลสูตศิ าสตร์ และงานการแพทย์แผนไทยยังไม่มีการศึกษากันอย่างจริงจัง. หมอต�าแยนวดโกย ท้องกล่อมท้องให้เด็กกลับหัวคลอดง่าย.กระตุน้ น�า้ คาวปลาให้ไหลสะดวกดี.กระตุน้ มดลูกหดรัดตัวเข้าอู่เร็วและนวดในรายที่ท้องผูก.ปวดกระเพาะ.จุกเสียด.ท้องอืด. ปวดหลังแก้กษัยเถาดานในท้อง.การนวดท้องจ�าเปนต้องมีความรูเ้ รือ่ งอวัยวะภายใน ช่องท้องระบบที่เกี่ยวข้องส�าคัญๆ.ดังนี้ . . ระบบโครงสร้าง . . ระบบผิวหนังและกล้ามเนื้อ . . ระบบการไหลเวียนเลือดและน�้าเหลือง . . ระบบทางเดินอาหาร . . ระบบหายใจ . การนวดท้องที่จะกล่าวถึงในที่นี้ท�าได้หลายรูปแบบการนวดผสมผสาน ซึ่งแต่ละรูปแบบมีเทคนิคการนวดที่แตกต่างกันออกไป . 1.. นวดท้องกระตุ้นการท�างานตามหลักเส้นประธานสิบซึ่งเกี่ยวข้องกับ พลังปราณ.เส้น.ลม.จุด.ในการบ�าบัด 311


33 . 2.. นวดท้องกระตุ้นการท�างานของธาตุในร่างกาย.เช่น.ดิน.น�้า.ลม.ไฟ. อากาศธาตุ . 3.. นวดท้ อ งกระตุ ้ น การท� า งานอวั ย วะภายในช่ อ งท้ อ ง. ระบบการ ไหลเวียนเลือดและน�้าเหลือง. . 4.. นวดท้องกระตุน้ การท�างานของระบบกล้ามเนือ้ และเนือ้ เยือ่ เกีย่ วพัน. กระชับกล้ามเนื้อ.เร่งการเผาผลาญ . 5.. ปรับสมดุลโครงสร้างร่างกาย.บริหารข้อต่อต่างๆ.ด้วยการยืดเหยียด. ปรับคลึง.ดึงดัด.บิดบีบ

สมุนไพรท่  นการนวดและสรรพคุณทางยา . สมุนไพรพื้นบ้านที่คุ้นเคยและหาได้ง่ายทั่วไป. เน้นกลุ่มสมุนไพรที่มี รสเผ็ดร้อน. เพื่อเร่งการเผาผลาญ. กระตุ้นการไหลเวียนเลือด. รวมทั้งช่วยขับลม. แก้จุกเสียด.ได้แก่ . . ดีปลี. รสเผ็ดร้อน. ขม. ช่วยบ�ารุงสายตา. ขับลม. แก้ท้องอืด. จุกเสียด. แก้ปวดท้อง.ท้องเฟ้อ . . ขิง.รสหวานเผ็ดร้อน.แก้ลมจุกเสียด.บ�ารุงธาตุ.ขับเสมหะ.แก้คลืน่ เหียน อาเจียน.เพิ่มอัตราการไหลเวียนเลือด . . กานพลู.มีกลิ่นหอม.สรรพคุณคือ.ขับลม.แก้ตะคริว.ปวดท้อง. . . ตะไคร้. กลิ่นหอม. แก้หืด. แก้ปวดท้อง. ขับลมในล�าไส้. ขับปัสสาวะ. ขับเหงื่อ.บ�ารุงธาตุ . . พริกไทย.รสเผ็ดร้อน.แก้ลม.ขับเสมหะ.บ�ารุงธาตุ.ช่วยย่อยอาหาร . . พริก.รสเผ็ดร้อน.แก้ลมจุกเสียด.แก้ทอ้ งขึน้ .ท้องอืด.ท้องเฟ้อ.ขับผายลม. ขับเหงื่อ.ช่วยในการเจริญอาหาร.ช่วยบ�ารุงธาตุแก้ปวดหลัง.ปวดเอว

312


. . .

. ชาเขียว. รสขม. ช่วยบ�ารุงประสาท. ปรับความดันโลหิต. ขับปัสสาวะ. ทั้งยังมีสารไฟโนทอลที่จะไปลดไขมันที่เกาะตามผนังเส้นเลือดแดง อีกด้วย . น�า้ มันมะพร้าว.รสมัน.ใช้ทาแก้ปวดเมือ่ ยขับลมตามเส้นเอ็น.รักษาแผล น�้าร้อนลวกไฟไหม้ . น�้ า มั น งา. รสมั น . ช่ ว ยขยายหลอดเลื อ ด. ลดความดั น โลหิ ต . และ คอเลสเตอรอล.

วธการสกัดนํามัน . เริ่มจากน�าสมุนไพรแต่ละชนิดมาล้างท�าความสะอาด.ผึ่งให้แห้ง.หลังจาก นั้นน�ามาหั่นเปนแว่นบางๆ. เท่ากันเพื่อน�าไปทอดในน�้ามันพืชหรือน�้ามันมะพร้าว. โดยใช้ไฟอ่อนที่สุดทอดจนเหลือง.ก�าหนดอัตราส่วนสมุนไพรต่อน�้ามันที่. 1:1.แล้ว น�าน�้ามันที่ได้มากรองเพื่อแยกกากเก็บไว้เปนส่วนๆ. แยกแต่ละชนิดไม่ปะปนกัน. เมื่อได้น�้ามันที่ได้จากการแยกกรองของสมุนไพรแต่ละชนิดแล้ว. ให้เตรียมน�้ามัน ตามอัตราส่วนดังนี้ น�้ามันมะพร้าว. น�้ามันพริก. น�้ามันพริกไทย. น�้ามันตะไคร้. น�้ามันขิง. น�้ามันดีปลี.

1. 0.5. 0.5. 0.5. 0.5. 0.5.

กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม

. .ต่อจากนัน้ ให้นา� ส่วนผสมทัง้ หมดมาผสมกัน.โดยคนไปในทิศทางเดียวกัน ก็จะได้น�้ามันนวด.รสร้อน.สุขุม.เพื่อลดเซลลูไลท์และกระชับกล้ามเนื้อ. 313



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.