MEDTU Vol. 06

Page 1

Vol.06. มี.ค - พ.ค 2557

2 ปี

ของการพัฒนาคณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

5

แผนไทยออกหน่วย เคลื่อนที่บริการประชาชน

8 คนเจ้าอารมณ์

13 แพทย์โดม Society


2 ปี

ของการพัฒนาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2555 สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แต่งตั้ง รศ.นพ.ปรีชา วาณิชยเศรษฐกุล ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดี คณะแพทยศาสตร์ ซึ่งขณะนี้เป็นเวลา 2 ปีกว่าในการท�ำหน้าให้ กับคณะแพทยศาสตร์โอกาสนี้ขอรายงานความก้าวหน้าของการ บริหารงานกับประชาคมธรรมศาสตร์ ตามวิสยั ทัศน์การบริหารคือ “คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นสถาบันผลิต แพทย์และวิจัยชั้นน�ำ 1 ใน 2 ของประเทศ เป็นผู้น�ำในการเรียน การสอนแบบ PBL, CBL และแพทย์แผนไทย เป็นสถาบันที่มุ่งสู่ ความเป็นนานาชาติทั้งในระดับปริญญาตรี แพทย์หลังปริญญา และ บัณฑิตศึกษา”

-ปรับปรุงระเบียบการให้ทนุ ส่งเสริมอาจารย์ไปเสนอผลงาน วิชาการในต่างประเทศทุนอุดหนุนและทุนสมทบ - ปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมการใช้บริการด้านงานวิจัย - ปรับปรุงด้านกายภาพ ขยายส�ำนักงานไปชั้น 5 อาคาร ราชสุดา /ศูนย์วิจัยคลินิก / ห้อง lab แผนไทย / พรีคลินิก

ด้านการเรียนการสอน

ปรับปรุงหลักสูตรเดิมทั้งปริญญาตรี โท และ เอก ครบทุก หลักสูตร และเปิดหลักสูตรใหม่คือหลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต ภาษาอังกฤษโดยจะเปิดท�ำการสอนในปีการศึกษา 2557 ซึ่งจะ เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งแรกทีเ่ ปิดสอนหลักสูตรแพทยศาสตร์ภาษา อังกฤษ นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงหลักสูตรเภสัชวิทยาปริญญาโท และ เอก, หลักสูตรดุษฎีบัณฑิตแพทย์แผนไทยประยุกต์, และเปิด ฝึกอบรมแพทย์ประจ�ำบ้านสาขาวิชาวิสญ ั ญีวทิ ยา หลักสูตรใหม่ที่ จะเปิดสอนในปี 2557 คือหลักสูตรระบาดวิทยาคลินกิ ปริญญาโท และ เอก, หลักสูตรเซลล์ต้นก�ำเนิดปริญญาโท และ เอก (หลักสูตร นานาชาติ) เป็นหลักสูตรนานาชาติหลักสูตรแรกของคณะ, เปิด ฝึกอบรมผูเ้ ชีย่ วชาญพยาธิวทิ ยา, ร่างระเบียบกองทุนบัณฑิตศึกษา

ด้านวิจัย

- จัดตั้งกองทุนวิจัยคณะแพทยศาสตร์ - ออกระเบียบหน่วยวิจัยเฉพาะทางคณะแพทยศาสตร์ - ได้รับการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ (Center of Excellence ) จากคณะแพทยศาสตร์ 2 ศูนย์ - เริ่มโครงการศูนย์วิจัยทางคลินิกคณะแพทยศาสตร์ - ปรั บ ปรุ ง การให้ ทุ น วิ จั ย เช่ น ทุ น แพทยศาสตร์ ศึ ก ษา ทุนแพทย์ประจ�ำบ้าน ทุนเสนอผลงานในต่างประเทศของ บัณฑิตศึกษา จดหมา

ทย์โด วแพ ม

2

ยข่า

ด้านกิจการนักศึกษา

ก�ำหนดกลยุทธ 5 กลยุทธ 50 โครงการ, ก�ำหนดหลักเกณฑ์ การรับรองสมาคมศิษย์เก่าของคณะแพทยศาสตร์ พ.ศ.2555 และ สร้างห้องส่งเสริมสุขภาพ

ด้านวิเทศสัมพันธ์

มีการปรับปรุงเอกสาร ของที่ระลึก สร้าง website ภาษา อังกฤษ


ด้านการบริหารและอื่นๆ

- ออกระเบียบ และ ประกาศ คณะแพทยศาสตร์ ใหม่ และ ปรับปรุง ทั้งหมด 34 เรื่อง - ปรับโครงสร้างคณะแพทยศาสตร์ o มี 12 งานในส�ำนักงานเลขานุการ และเพิ่มงานสถานฯ 3 สถานฯ o ก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการเพิ่ม ลด สาขาวิชา และ /หรือ ภาควิชา o โครงการจัดตั้งภาควิชา รอปรับเป็นภาควิชา (แต่ขอให้ใช้ “ภาควิชา” ได้ไปก่อน) o เพิ่มต�ำแหน่ง รองคณบดี -โครงสร้ า งการบริ ห ารศู น ย์ บ ริ ก ารปฐมภู มิ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (คูคต) - งานปรับปรุงด้านกายภาพหลายโครงการ ได้แก่ o ซ่อมแซมอาคารทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ จัดหาครุภณ ั ฑ์ทดแทน ที่ได้รับเสียหายจากน�้ำท่วม o ศูนย์หนังสือคณะแพทยศาสตร์ o อาคารศูนย์บริการแพทย์แผนไทยและปฐมภูมิ o ลานจอดรถคณะแพทยศาสตร์ 2 แห่ง ได้แก่ ด้านตรงข้าม อาคารปัญจาฉายาลักษณ์และด้านข้างอาคารคุณาการ o เตรียมการก่อสร้างอาคารโรงไฟฟ้าคณะแพทยศาสตร์ o เตรียมโครงการปรับปรุงหน่วยงานต่างๆ อีก ประมาณ 22 โครงการ แนวทางการด�ำเนินงานต่อไปนัน้ ได้เตรียมโครงการ Simulation center, Clinical Research Center และ เตรียมการเรียนการ สอนหลักสูตรแพทยศาสตร์ภาษาอังกฤษ นอกจากนี้จะมีการจัด สัมมนาเพื่อปรับแผนยุทธศาสตร์และแผนด�ำเนินการประจ�ำปีทุก ปีโดยเน้นให้ผบู้ ริหารให้ความส�ำคัญของแผน การติดตาม และการ ประเมินผลมากขึ้น และจัดสัมมนาเพื่อประเมินจุดแข็งจุดอ่อน (SWOT Analysis) เพื่อเป็นข้อมูลในการท�ำแผนยุทธศาสตร์ในอีก 3 ปีต่อไป

ม ทย์โด พ แ ว

จดหมา ยข่า

- การพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ, มี MOU กับ สถาบันในต่างประเทศ 8 แห่ง ได้แก่ o ประเทศญี่ปุ่น 5 แห่ง ได้แก่ Nippon Medical School, Mie U., Osakat City U., Ryukul U., และ o ประเทศสหรัฐอเมริกา 2 แห่ง ได้แก่ Haweii U. และ UC Davis o ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้แก่ Masstricth U. - อยู่ระหว่างการรอเซนต์ MOU ได้แก่ National Seoul U. Korea -จัด International conference 2 ครั้ง (ปีละ 1 ครั้ง) - เริ่มมี Visiting Professors 3 ท่าน ในปีการศึกษา 2556

3


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

รางวัลคือผลสัมฤทธิท์ แี่ สดงให้เห็นถึงศักยภาพของตัวบุคคลในการปฏิบตั ภิ าระหน้าทีท่ รี่ บั ผิดชอบจนบรรลุผล การได้รบั การยอมรับ ให้ได้รบั รางวัลใด ๆ ก็ตามนอกจากจะเป็นขวัญและก�ำลังใจให้กบั ผูท้ ไี่ ด้รบั รางวัลแล้ว ยังเป็นเครือ่ งหมายทีแ่ สดงถึงศักยภาพทีจ่ ะขับเคลือ่ น ให้ผู้ที่ได้รับรางวัลจะต้องพัฒนาตัวเองตลอดเวลาเพื่อให้ภาระหน้าที่ที่รับผิดชอบเดินหน้าต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะแพทยศาสตร์ขอแสดงความยินดีกบั คณาจารย์ในโอกาสทีท่ า่ นได้รบั การประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่องให้ได้รบั รางวัลต่าง ๆ ซึง่ ได้ สร้างความปิติยินดีให้กับท่านและเป็นความภาคภูมิใจของพวกเราชาวแพทย์ธรรมศาสตร์ทุกคน รศ. นพ.อนุชา อภิสารธนรักษ์ อาจารย์ประจ�ำสาขาอายุศาสตร์ หน่วยโรคติดเชื้อ ได้รับคัดเลือกผู้ที่มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติรวมจ�ำนวนบทความ มากที่สุด (ผลงานตั้งแต่ปี พ.ศ.2554-2555) และผู้ที่มีผลงานวิจัยที่ถูกอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล สากล ISI , SCOPUS รวมจ�ำนวนครั้งสูงที่สุด (ผลงานที่ถูกอ้างอิงในปี พ.ศ. 2551-2555)

รศ. นพ.วิวัฒน์ พุทธวรรณไชย ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 การน� ำ เสนอผลงานด้ ว ยโปสเตอร์ เรื่อง หุ่นจ�ำลองทรวงอกส�ำหรับการฝึก เจาะโพรงเยื่อหุ้มปอด ในการประชุม วิชาการแพทยศาสตร์ศึกษา โครงการ ผลิต แพทย์เพื่อชาวชนบท ครั้งที่ 12 (CPIRD 2013) ระหว่างวันที่ 18-20 กันยายน 2556 และได้รับ 2 เหรียญเงินจากการแข่งขันเทเบิ้ลเทนนิสประเภทชายเดี่ยวและชาย คู่ในการแข่งขันกีฬา “มหกรรมกีฬา 80 ปี ธรรมศาสตร์” (TULYMPICS) เมื่อวันที่ 23-24 มกราคม 2557 ผศ.นพ.สมบัติ มุ่งทวีพงษา ได้รับรางวัลบุคคลต้นแบบการ พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพ “เครือ ข่ายโรคหลอดเลือดสมอง” ปี ๒๕๕๕ โดยส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่ง ชาติ ในการจัดประชุม “จากทศวรรษ แห่งการเรียนรู้สู่ทศวรรษใหม่แห่งการ พัฒนาที่ยั่งยืน”

ผศ.พญ.ณัฏฐิณี จรัสเจริญวิทยา รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ประจ�ำปี 2556 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จดหมา

ทย์โด วแพ ม

4

ยข่า

รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ ได้รบั รางวัลผลงานสร้างสรรค์สงิ่ ประดิษฐ์ เรื่อง Development of Hibicus Sabdariffa Extract in tablet form for diabetic and high blood pressure patients ในงาน 41th International Exhibition of Invention of Geneva ณ Geneva, Switzerland, รศ.พญ.อรพรรณ โพชนุกูล ได้รับรางวัลระดับโลก เหรียญ ทองเกี ย รติ ย ศ Super Gold และ เหรียญทอง Special Prize (ได้รบั การ โหวตจาก Taiwan Association Invention ประเทศไต้หวัน) จากการน�ำ ผลงานนวัตกรรม DIY Spacer ผล งาน “อุ ป กรณ์ ช ่ ว ยพ่ น ยาชนิ ด ท� ำ ได้ ด ้ ว ยตนเอง” เข้าร่วม ประกวดในงาน Exhibition of Inventions Geneva - Palexpo 2013 ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส

อ. นพ.ชญานิน อ่างทอง รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่นระดับคณะ ประจ�ำปี 2556


สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ออกหน่วยเคลื่อนที่บริการประชาชนส�ำรวจ

ปัญหาสุขภาพและจัดท�ำประชาพิจารณ์ชาวบ้าน

โดยนักศึกษาสาขาวิชาแพทย์แผนไทยประยุกต์รุ่นที่ 7 จ�ำนวน 22 คน ลงพื้นที่ฐานปฎิบัติงานเพื่อตรวจวินิจฉัยโรค รักษาโดยการจ่ายยาและนวด เพื่ออนุรักษ์การดูแลตนเองตาม กรรมวิธีการแพทย์แผนไทย ให้แก่ประชาชนในชุมชน หมู่ 2 ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี และเขตพื้นที่ใกล้ เคียง ระหว่างวันที่ 21 - 27 มกราคม 2557

ม ทย์โด พ แ ว

จดหมา ยข่า

5


ส�ำหรับการออกหน่วยเคลื่อนที่บริการประชาชนในครั้งนี้เป็น หนึง่ ในหลักสูตรการพัฒนาและฟืน้ ฟูวชิ าการด้านการแพทย์แผนไทย โดยนักศึกษาทุกคนจะต้องออกหน่วยบริการประชาชนเพื่อเป็นการ ฝึกฝนตนเองและเพิ่มประสบการณ์ในการรักษาและวินิจฉัยโรคได้ อย่างถูกต้อง ตลอดจนพัฒนาทักษะการท�ำงานในสถานที่จริง และ สร้างคุณค่าทางภูมปิ ญ ั ญาการแพทย์แผนไทยให้แก่นกั ศึกษาอีกด้วย ซึ่ ง นอกจากจะท� ำ การตรวจรัก ษาวินิจฉัย โรคแล้ว ยัง มีการให้ค�ำ แนะน�ำกับประชาชนในด้านการใช้พชื สมุนไพรใกล้ตวั มาใช้ประโยชน์ โดยมีประชาชนในต�ำบลบางพูดและเขตพื้นที่ใกล้เคียงสนใจเข้ารับ บริการเป็นจ�ำนวนมาก

จดหมา

ทย์โด วแพ ม

6

ยข่า


สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์จดั การเรียนการสอน ผลิตบุคลากรให้มคี วามรูค้ วามสามารถ ในการตรวจวินิจฉัยอาการ และให้การรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทย ประยุกต์ ครอบคลุมทั้งด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย หัตถเวชกรรม และผดุงครรภ์ได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ โดยจะสอนให้นักศึกษามี ทั ก ษะในการรั ก ษาโรควิ ธี ก ารป้ อ งกั น การเกิ ด โรคและวิ ธี ก ารรั ก ษา เพือ่ พัฒนาอนุรกั ษ์และรณรงค์ให้ใช้สมุนไพรอยูร่ อบข้างได้นำ� มาใช้ในการ ดู แ ลสุ ข ภาพขั้ น พื้ น ฐานได้ ม ากขึ้ น ตามหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โดยปัจจุบันมีผู้ที่สนใจเข้าศึกษาในด้าน สาขาวิ ช าการแพทย์ แ ผนไทย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์เพิ่มมากขึ้น เรื่องโดย ปัทมาพร ส้มไทย

จดหมา ยข่า

ม ทย์โด พ แ ว

7


คงไม่มีใครเคยมีประสบการณ์กับ “คนเจ้าอารมณ์” คนที่มี ความรู้สึกไวต่อสิ่งเร้าต่างๆ ทั้งสิ่งเร้าที่เกิดในใจตนเอง หรือสิ่งเร้า ที่มาจากภายนอกคนเจ้าอารมณ์พบได้ทั่วไป ทั้งชายและหญิง โดย หญิงจะพบบ่อยกว่า แต่จะรุนแรงน้อยกว่าชาย นอกจากนั้นยังพบ ได้ทั้งในเด็กเล็ก เด็กโต วัยรุ่น หนุ่มสาว และคนชราโดยการแสดง อารมณ์ก็จะแตกต่างกันไปตามวัย และวัฒนธรรม เด็กเล็กๆ อาจ แสดงออกในรูปของเด็กเลีย้ งยาก ขีแ้ ย ซึมเฉย หรือดิน้ รนอาละวาด เมื่อถูกขัดใจ เด็กโตจะแสดงออกในรูปการรังแกเพื่อน รังแกสัตว์ ขีแ้ งไม่กล้าสู้ วัยรุน่ จะมีอาการคล้ายกันแต่จะรุนแรงกว่า และจะพบ ปัญหาการใช้สุรา การใช้สารเสพติด การติดเกมส์คอมพิวเตอร์ การหมกมุ่นทางเพศ เป็นต้น ส่วนผู้สูงอายุอาจแสดงออกในรูปของ พฤติ ก รรมไม่ เ หมาะสมกั บ วั ย หงุ ด หงิ ด ง่ า ย ขี้ บ ่ น หรื อ แสดง พฤติกรรมที่แสดงถึงการเรียกร้องความสนใจ เป็นต้น

คนเจ้าอารมณ์ นพ.ธนู ชาติธนานนท์ อาจารย์พิเศษด้านจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ความรุนแรงของความแปรปรวนทางอารมณ์มีตั้งแต่ระดับ ไม่รุนแรงมาก โดยบุคคลจะมีสติรู้ในความแปรปรวนทางอารมณ์ รุนแรง บุคคลจะขาดสติที่จะรับรู้ความแปรปรวนที่เกิดขึ้นกับตน ควบคุมตนเองไม่ได้มีพฤติกรรมตามอารมณ์ ขณะนั้นอย่างเต็มที่ จนเกิดผลร้ายต่อตนเองและผู้อื่น ลักษณะของความแปรปรวนของอารมณ์มีหลายรูปแบบ มีตงั้ แต่ซมึ เศร้า หดหู่ ท้อ เบือ่ (เบือ่ ตนเอง เบือ้ งาน เบือ่ สังคม) รูส้ กึ ต่อสิ่งต่างๆ ในแง่ลบ ขาดความมั่นใจตนเอง ถ้าเป็นมากจัดอยู่ใน กลุม่ โรคซึมเศร้า (Depression) และอาจรุนแรงถึงขัน้ ท�ำร้ายตนเอง เช่น กรีดข้อมือ ฆ่าตัวตาย หรือฆ่าคนใกล้ชิด เพราะห่วงว่าถ้า บุคคลนัน้ มีชวี ติ อยูต่ อ่ ไปจะต้องมีชวี ติ ทีท่ กุ ข์ทรมาน เป็นต้น อีกรูป แบบหนึ่งของความแปรปรวนทางอารมณ์ คือ ภาวะ Mania หรือ hypomonia คนกลุ่มนี้จะมีลักษณะตรงข้ามกับกลุ่มซึมเศร้า โดยอาจจะมีลักษณะมากกว่าปกติ เช่น พูดมาก คึกคนองมาก ใจร้อน เชื่อมั่นในตนเองเกิดเหตุ คิดเร็ว ขยันมาก แต่ขาดสมาธิ เป็นต้น โดยทั่ ว ไปผู ้ มี อ ารมณ์ แ ปรปรวนส่ ว นใหญ่ จ ะมี ค วาม แปรปรวนในรูปแบบใดแบบหนึ่ง เช่น บางคนก็จะเกิดอาการ ซึมเศร้า ทุกครั้งที่มีอาการ ขณะที่อีกคนก็อาจจะมีอาการแบบ จดหมา

ทย์โด วแพ ม

8

ยข่า

mania ในทุกครั้งที่เกิดความแปรปรวน แต่ก็มีบางคนอาจจะเกิด อาการได้ทั้งสองแบบในต่างวาระกัน เช่น บางครั้งก็มีอาการแบบ ซึมเศร้า บางครั้งก็มีอาการแบบ mania เป็นต้น ในกลุ่มที่มีอาการ แบบสองอย่ า งในคนๆ เดี ย วจะเรี ย กว่ า คนอารมณ์ ส องขั้ ว หรือ Bipolar disorders สาเหตุของการเป็นคนเจ้าอารมณ์ หรืออารมณ์แปรปรวนมี หลายประการด้วยกัน แต่ที่ส�ำคัญได้แก่ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและความสัมพันธ์ระหว่างแม่กับลูก ตัง้ แต่ยงั เป็นเด็กเล็กๆ ในด้านพันธุกรรม ได้มกี ารศึกษาไว้มาก พบ ความสัมพันธ์อย่างมีนัยยะส�ำคัญทางสถิติ ระหว่างผู้มีความ แปรปรวนทางอารณ์ในปัจจุบนั บุคคลสายเลือดเดียวกัน เช่น พีน่ อ้ ง พ่อแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ที่มีความแปรปรวนทางอารณ์คล้ายๆ กัน หรืออยู่ในกลุ่มเดียวกัน แม้จะยังไมสามารถค้นพบยีนที่มีลักษณ์ ผิดปกติจ�ำเฉพาะก็ตาม แต่ก็มีข้อมูลที่เชื่อกันว่าน่าจะมียีนหลาย ตัวที่เกี่ยวข้อง และร่วมกันท�ำให้เกิดภาวะเปราะบางทางอารมณ์ ในผู้นั้น มากกว่าที่จะเป็นสาเหตุของโรคโดยตรง ในด้านสิ่งแวดล้อมในวัยเด็กเล็กโดยเฉพาะความสัมพันธ์ ระหว่างเด็กเล็กกับแม่ พบว่าเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูมาโดยตลอด “แม่ที่ดีพอ” ไม่ต้องสมบูรณ์แบบแม่ที่มีวุฒิภาวะทางอารมณ์พึง


“I am what I am, you are what you are. We don’t have to be the same. I am O.K. you are O.K.”

เนื่องจากความบกพร่องทางกรรมพันธุ์กรรม และความ บกพร่องด้านพัฒนาที่เกิดในช่วงชีวิตที่ผ่านมา ล้วนเป็นสิ่งที่ผ่าน ไปแล้ว ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ ในปัจจุบันไม่มียา หรือ กระบวนการทางการแพทย์ใดทีจ่ ะแก้ไขยีนทีบ่ กพร่องได้ บุคคลจะ ต้องหาทางทีจ่ ะเรียนรูท้ จี่ ะอยูก่ บั ยีนทีบ่ กพร่องเหล่านนัน้ ให้ได้มาก ที่สุด ยอมรับการมีอยู่ของมัน แต่ไม่ยอมอยู่ใต้อ�ำนาจของมัน ไม่ เป็นทุกข์กับมัน เช่นเดียวกับคนตาบอดที่เรียนรู้ที่จะอยู่กับความ ตาบอดของตนถึงจะไม่สดวกเหมือนคนตาดีอนื่ ๆ แต่ไม่เป็นทุกข์ใช้ ชีวิตของตนต่อไปอย่างดีที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ส่วนความบกพร่องของพัฒนาการในอดีตก็เป็นอดีตที่ผ่าน เลยไปแล้วไม่สามารถย้อนเวลาไปแก้ไขได้อีกบุคคลต้องไม่ปล่อย ให้ความคิดและอารมณ์ในปัจจุบันของตนผูกติดไว้กับอีดต ไว้กับ ความกลัวความโกรธความเหงา ความสับสน ต้องฝึกสติให้เข้มแข็ง พอที่จะน�ำตเองให้พ้นจากพันธนาการเหล่านนั้น ปล่อยความคิด และอารมณ์ของตนให้อสิ ระ กลับมาอยูก่ บั ความเป็นจริงในปัจจุบนั ใช้สติและปัญญามองสิง่ ต่างๆ ด้วยความเข้าใจยอมรับในความไม่ สมบูรณ์ของตนเองและของผู้เกี่ยวข้องในอดีต รู้สึกถึงการให้อภัย ให้ความเมตตา ให้ความปรารถนาดีทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสรรพ สิ่งต่างๆ ปรับความคิดและความรู้สึกเมื่อใจเป็นอิสระจากความ กลัว ความโกรธ ความเหงาและความสับสนในอดีตใจก็จะสงบเย็น ขึ้น ความเจ้าอารมณ์จะผ่อนคลายลงหรือหายไปได้ในที่สุด ในกรณีที่ความแปรปรวนเกิดขึ้นอย่างรุนแรงสมองจะเสีย ความสามารถในการท�ำหน้าที่ตามปกติ ความคิดและอารมณ์จะ เกิดความสับสนควบคุมไม่ได้ในกรณีเช่นนี้ การรักษาทางการ แพทย์ เช่นการใช้ยากิน ยาฉีด และอื่นๆ อาจช่วยให้สมองกลับมา ท�ำหน้าที่ได้ตามปกติอีกครั้งหนึ่ง ถ้าสมองไม่เสียหายมากจนเกิน ไป สมองที่กลับมาท�ำหน้าที่ได้ตามปกติแล้ว ความสามารถในกร ใช้สติและปัญญาเพื่อแก้ไขอารมณ์แปรปรวนของตนก็จะกลับคืน ได้อกี ครัง้ ช่วยตนเองให้หลุดจากภาวะความแปรปรวนของอารมณ์ ได้ในที่สุดต่อไป

ม ทย์โด พ แ ว

จดหมา ยข่า

พอใจและตระหนักในความเป็นแม่ เลี้ยงดูบุตรของตนด้วยความ รัก ความเข้าใจอย่างเหมาะสมสม�ำ่ เสมอเด็กก็จะเป็นเด็กทีอ่ ารมณ์ ดีมีความสุข และจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่อารมณ์ดี มีความสุขต่อไป เป็นบุคคลที่พอใจในตนเองพอใจในผู้อื่นมองและรู้สึกต่อสิ่งต่างๆ อย่างไว้ใจพอใจส่วนเด็กเล็กๆ ทีไ่ ด้รบั การเลีย้ งดูโดยแม่ทไี่ ม่พร้อม ทางอารมณ์ไม่พร้อมที่จะให้ความรักความเอาใจใส่ใช้อารมณ์ มากกว่าเหตุผล ลูกก็จะกลายเป็นเด็กที่ขาดความสุข อารมณ์ไม่ พร้อมที่จะให้ความรัก ความเอาใจใส่ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล ลูกก็จะกลายเป็นเด็กที่ขาดความสุข อารมณ์แปรปรวน และจะ เติบโตเป็นผูใ้ หญ่ทเี่ จ้าอารมณ์สบั สนและไม่มนั่ ใจในตนเองในผูอ้ นื่ และในสภาพแวดล้อม ถ้าระดับความแปรปรวนทางอารมณ์ไม่รุ่นแรง บุคคลยัง พอมีสติหยั่งรู้ในสภาพอารมณ์ของตนการจะแก้ไขปัญหา โดย ตนเองอาจพอท�ำได้โดยต้องเริ่มจากการยอมรับให้ได้เสียก่อนว่า ลักษณะความอ่อนไหวทางอารมณ์ของตนเป็นความเปราะบาง (sensitivity) ทางอารมณ์ที่มีอยู่ในตนเองเนื่องจากความบกพร่อง ทางกรรมพันธ์สว่ นหนึง่ และจากความบกพร่องในพัฒนาการทาง จิตใจและอารมณ์แต่อดีตในวัยเด็กของคนอีกส่วนหนึ่ง ความเจ้า อารมณ์ของคนไม่ได้เกิดเพราะผู้อื่นหรือเหตุการณ์ภายนอกใน ขณะนั้นอื่นๆ ท�ำให้เกิดขึ้น เช่น อารมณ์ที่แปรปรวนของตนไม่ได้ เกิดเพราะภรรยา ลูก เพื่อน หรือสิ่งอื่นๆ รอบตัวขณะนั้นไม่เป็น ดังใจตนเมื่อเข้าใจและรับความจริงนีไ้ ด้จะต้องหยุดโทษว่าตนเอง ไม่ดีแต่เป็นเพียงความโชคร้าย หยุดโทษผู้อื่น หยุดโทษสิ่งนอกตัว อื่นๆ สิ่งทั้งหลายเป็นของมัน เช่นนั้นเอง ใช้สติเตือนตัวเองให้หยุด โทษ หยุดหวังว่าตนจะต้องเป็นเหมือนคนอื่น หรือคนอื่นจะต้อง เป็นเหมือนที่ตนคิด พัฒนาความคิดและความรู้สึกตามแนวของ Fritz Pearl ว่าเหมือนคนอืน่ หรือคนอืน่ จะต้องเป็นเหมือนทีต่ นคิด พัฒนาความคิดและความรู้สึกตามแนวของ Fritz Pearl ว่า

9


โภชนาการ ของวัยรุ่น ภาวะโภชนาการของวัยรุ่น ช่วงอายุ 12-18 ปี

วัยรุ่นคือวัยที่อยู่ในช่วงอายุ 12-18 ปีเป็นวัยที่ร่างกายจาก วัยเด็กเข้าสูว่ ยั ผูใ้ หญ่ระยะนีม้ กี ารเปลีย่ นแปลงทางสรีรวิทยาหลาย อย่าง ต่อมไร้ทอ่ ต่างๆ ท�ำงานมากขึน้ กระดูกมีขนาดใหญ่ขนึ้ ท�ำให้ ร่างกายสูงใหญ่และน�ำ้ หนักเพิม่ ขึน้ ร่างกายเติบโตรวดเร็วมากเมือ่ เข้าสู่วัยรุ่น การเติบโตในระยะนี้จะสูงกว่าวัยอื่น ยกเว้นวัยทารก เด็กหญิงจะเริม่ เข้าสูว่ ยั รุน่ เมือ่ อายุ 11-13 ปี การเปลีย่ นแปลงทาง สรีรวิทยาจะชัดเจนเมื่ออายุ 13-14 ปี ระยะนี้เด็กหญิงจะเจริญ เติบโตเร็วกว่าเด็กชายทัง้ ด้านความสูงและน�ำ้ หนัก หลังจากนีอ้ ตั รา การเจริญเติบโตจะลดลงและสิน้ สุดเมือ่ อายุ 17 ปี ส่วนเด็กชายจะ เริ่มเข้าสู่วัยรุ่นเมื่ออายุ 13-16 ปี ระยะนี้เด็กชายจะมีรูปร่าง สูงใหญ่กว่าเด็กหญิง หลังจากนี้แล้วจะเริ่มช้าลง

จดหมา

ทย์โด วแพ ม

10

ยข่า

การเจริญเติบโตของกระดูกจะสิ้นสุดเมื่ออายุ 20 ปี วัยรุ่นจะมี ลักษณะเปลี่ยนไปเป็นผู้ใหญ่ ท�ำให้ร่างกายต้องการสารอาหาร ต่างๆ เพิม่ ขึน้ นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมเพิม่ ขึน้ ท�ำให้ตอ้ งการอาหาร ที่ให้พลังงานเพิ่มขึ้น วัยนี้จึงมีความอยากอาหารมากขึ้น กินจุ กิน ตลอดเวลา แต่ไม่คอ่ ยสนใจเรือ่ งคุณค่าทางโภชนาการ ท�ำให้ได้รบั สารอาหารไม่เพียงพอ อาหารมีความส�ำคัญต่อวัยรุน่ มาก เพราะนออกจากจะช่วย ให้เติบโตแข็งแรงแล้ว ยังเป็นรากฐานต่อสุขภาพของการเป็นผูใ้ หญ่ ที่แข็งแรงในอนาคตด้วย ดังนั้นวัยรุ่นจึงควรปฏิบัติดังนี้

1.

กินอาหารให้ครบ 3 มือ้ เนือ่ งจากเป็น วัยทีม่ กี ารเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จึง จ�ำเป็นต้องได้รับอาหารที่เพียงพอ อย่างน้อย วันละ 3 มื้อ ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายได้รับสาร อาหารต่างๆ อย่างเพียงพอกับความต้องการ ของร่างกาย ดังนัน้ จึงควรกินอาหารให้ครบ 3 มื้อ หรือจะกิน 4 มื้อก็ได้ โดยเพิ่มอาหาร


ว่างตอนบ่ายจะเป็นการช่วยให้เด็กได้รับอาหารเพิ่มขึ้น แต่อาหาร ว่างควรเป็นอาหารที่มีประโยชน์แกร่างกาย กินอาหารให้ถกู หลักโภชนาการ วัยรุน่ ควรฝึกกินอาหาร ให้ครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่เพียงพอทุกวัน เพื่อช่วยให้ ร่างกายเจริญเติบโตแข็งแรง อาหารทุกมือ้ ควรประกอบด้วยอาหาร หลักอย่างน้อย 4 หมู่ คือ เนื้อสัตว์ ข้าว แป้ง ผัก ไขมัน ส่วนผลไม้ ควรได้รบั อย่างน้อยวันละ 1 ครัง้ การกินอาหารถูกหลักโภชนาการ ไม่ได้ท�ำให้อ้วน การที่มีน�้ำหนักมากเกินไปหรือน้อยเกินไปมักเกิด จากการขาดความรู้ด้านโภชนาการและการมีนิสัยการบริโภคที่ ไม่ดี ท�ำให้ไม่รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ การงดกินอาหารที่ มีประโยชน์จะท�ำให้ร่างกายได้โปรตีนและพลังงานไม่เพียงพอ มีภูมิต้านทานต�่ำ เจ็บป่วยได้ง่าย วัยรุ่นควรจ�ำกัดอาหารที่มีไขมัน มากๆ และอาหารที่มีพลังงานมากแต่ให้ประโยชน์น้อย เพราะ อาหารเหล่านีจ้ ะท�ำให้นำ�้ หนักเพิม่ ได้งา่ ย ในขณะเดียวกันก็ควรกิน ผัก ผลไม้ให้มากขึ้น เพราะนอกจากจะได้วิตามินและเกลือแร่แล้ว ยังมีใยอาหาร ซึ่งจะช่วยกระตุ้นการท�ำงานของล�ำไส้ท�ำให้ท้องไม่ ผูกแล้วยังช่วยให้อาหารที่มีพลังงานมากถูกดูดซึมน้อยลง ผลไม้ ควรเลือกกินผลไม้ทมี่ วี ติ ามินซีมาก และออกก�ำลังก�ำลังกายอย่าง สม�่ำเสมอและเพียงพอ

2.

ต่อน�้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมและเนื่องจากวัยรุ่นยังอยู่ในวัยที่เจริญ เติบโต โปรตีนที่ได้รับจึงควรเป็นโปรตีนที่มีคุณภาพดี ประมาณ 2 ใน 3 ของปริมาณโปรตีนที่ได้รับ โปรตีนที่ได้ควรมาจากเนื้อสัตว์ ต่างๆ ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้ง

ความต้องการสารอาหารในวัยรุ่น อายุ 12-18 ปี 1. พลังงาน

2. โปรตีน

วัยรุ่นควรได้รับโปรตีนให้เพียงพอเพื่อเสริมสร้างเซลล์และ เนือ้ เยือ่ ต่างๆ ได้แก่กล้ามเนือ้ กระดูก เลือด และสารทีค่ วบคุมการ ท�ำงานในร่างกาย วัยรุน่ จึงควรได้รบั โปรตีนอย่างน้อยวันละ 1 กรัม

3. เกลือแร่

วัยรุน่ ต้องการเกลือแร่ตา่ งๆ เพิม่ ขึน้ เพือ่ ใช้ในการเสริมสร้าง ร่างกาย แคลเซียม เป็นเกลือแร่ที่จ�ำเป็นในการเสริมสร้างเซลล์ กระดูก เพือ่ การเจริญเติบโต และท�ำความแข็งแรงให้แก่กระดูกและ ฟัน นอกจากนี้แคลเซียมยังช่วยในการท�ำงานของระบบประสาท ต่างๆ ดังนั้น วัยรุ่นจึงจ�ำเป็นต้องได้รับแคลเซียมให้เพียงพอ ประมาณวันละ 500-900 มิลลิกรัม ซึ่งจะได้จากการกินอาหาร จ�ำพวก น�้ำนม สัตว์เล็กที่สามารถกินได้ทั้งกระดูก นอกจากนี้ยังมี มากในผักใบเขียวต่างๆ เหล็ก ควรได้รบั ประมาณวันละ 16 มิลลิกรัม ซึง่ จะได้จาก อาหารจ�ำพวกเครื่องในสัตว์ ไข่แดง และผักใบเขียว ม ทย์โด พ แ ว

จดหมา ยข่า

วัยรุน่ เป็นระยะทีร่ า่ งกายเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมากและ ยังมีกิจกรรมต่างๆ ในด้านการเรียน การสังคม การกีฬา จึงจ�ำเป็น ต้องได้รับพลังงานให้เพียงพอ วัยรุ่นควรได้รับพลังงานประมาณ วันละ 2,200-3,300 แคลอรี ทั้งนี้อาหารที่ให้พลังงานควรมาจาก คาร์โบไฮเดรตและไขมัน คาร์โบไฮเดรตทีไ่ ด้รบั ควรเป็นจ�ำพวกข้าว หรือแป้งต่างๆ เป็นส่วนใหญ่ ไขมันที่ได้รับควรมาจากพืชและสัตว์ ไขมันนอกจากจะให้พลังงานแล้ว ยังช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ ละลายในไขมันอีกด้วย

11


ไอโอดีน เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นต่อมไธรอยด์จะท�ำงานเพิ่มขึ้น ท�ำให้ความต้องการไอโอดีนเพิ่มขึ้นด้วย วัยรุ่นจึงจ�ำเป็นต้องได้รับ อาหารทีม่ ไี อโอดีนให้เพียงพอ มิฉะนัน้ อาจขาดไอโอดีนและเกิดโรค คอพอกขึ้นได้ เพื่อเป็นการป้องกันการขาดไอโอดีน วัยรุ่นควรใช้ เกลือที่เติมไอโอดีนในการประกอบอาหารเป็นประจ�ำและทาน อาหารทะเลอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง

4. วิตามิน

วัยรุ่นควรได้รับวิตามินต่างๆ ให้เพียงพอ เพื่อการเจริญ เติบโตและป้องกันโรคขาดวิตามิน วิตามินเอ จ�ำเป็นในการเจริญเติบโต และเพื่อบ�ำรุงสุข ภาพของเยื่อบุต่างๆ วัยรุ่นจึงควรได้รับวิตามินอย่างน้อยวันละ 2500 หน่วยสากล ซึง่ จะได้จากการกินตับสัตว์ตา่ งๆ ไข่แดง น�ำ้ นม เนย ผักที่มีสีขาวจัด และผักที่มีสีเหลือง วิตามินบี2 เป็นวิตามินทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นเอนไซม์ชว่ ยในการ เผาผลาญอาหารในร่างกายโดยเฉพาะโปรตีน การขาดจะท�ำให้ เกิดแผลที่มุมปากทั้งสองด้านเรียกว่า โรคปากนกกระจอก พบใน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น เพื่อป้องกันการขาด วัยรุ่นควรได้รับวันละ 1.2-1.8 วิตามินซี จ�ำเป็นในการสร้างคอลลาเจน ซึ่งเป็นส่วน ประกอบของเนือ้ เยือ่ ต่างๆ การขาดวิตามินท�ำให้แผลหายยาก และ เกิดโรคเลือดออกตามไรฟัน วัยรุ่นควรได้รับวิตามินซีวันละ 35 มิลลิกรัม ซึ่งจะได้จากการกินผักสด ผลไม้สดทุกวัน

5.น�้ำ

เป็นสารอาหารที่มีความส�ำคัญมาก เป็นส่วนประกอบของ เซลล์ต่างๆ ในร่างกาย และช่วยควบคุมการท�ำงานในร่างกาย ดังนั้นจึงควรได้รับน�้ำให้เพียงพอ โดยเฉพาะเมื่อมีการออกก�ำลัง กายและเสียเหงือ่ มาก วัยรุน่ ควรได้รบั น�ำ้ อย่างน้อยวัยละ 6-8 แก้ว น�้ำที่ได้รับอาจเป็นน�้ำสะอาดหรือเครื่องต่างๆ เช่น น�้ำนมหรือ น�้ำผลไม้

อาหารและปริมาณอาหาร ที่วัยรุ่นควรได้รับ น�้ ำ นม ควรดื่มวันละ 2-3 ถ้วยตวง เพราะมีแคลเซียม โปรตีน และวิตามินมากมาย ไข่ ควรทานวันละ 1 ฟอง เพราะมีโปรตีน เหล็ก และ วิตามินเอ เนื้ อ สั ต ว์ ต ่ า งๆ ควรได้ รั บ วั น ละ 150-180 กรั ม หรื อ ประมาณ 3/4 ถ้วยตวง และควรได้รับเครื่องในสัตว์ควบคู่ไปด้วย ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง ผั ก อาจเป็นผักสีเขียวหรือผักสีเหลือง ควรได้รับทุกวัน มื้อละ 1/2 ถ้วยตวง ผลไม้ ควรได้รับทุกมื้อ ข้าว ควรได้รับวันละ 5-6 ถ้วยตวง ไขมัน ควรได้รับน�้ำมันวันละ 3-4 ช้อนโต๊ะ

ปัญหาด้านการรับประทาน อาหารของวัยรุ่น

เบื่ออาหาร มีสาเหตุมาจากการที่ผู้ใหญ่บังคับให้เด็กกิน อาหารชนิดหนึ่งมากเกินไป หรือเกิดจากอารมณ์ เช่น ความ เหน็ดเหนื่อย ผิดหวัง โรคอ้วน มีสาเหตุมาจากลักษณะนิสัยในการกินของเด็กที่ ชอบกินจุบจิบ กินอาหารไม่เป็นเวลา เด็กวัยรุ่นมักอดอาหารเช้า เพราะ กลัวว่าจะอ้วน หรือเร่งรีบไปโรงเรียน

ข้อมูลจาก : http://110.164.64.133/nutrition/teens.php

จดหมา

ทย์โด วแพ ม

12

ยข่า


แพทย์ โดม Society

3.

รศ.นพ.ปรี ช า วาณิ ช ยเศรษฐกุ ล คณบดี ค ณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ น�ำทีมผู้ บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ไปศึกษาดูงานด้านการบริหาร จั ด การคณะแพทยศาสตร์ ใ นภาพร่ ว มองค์ ก รที่ ค ณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่ 8 - 10 มกราคม พ.ศ. 2557

ม ทย์โด พ แ ว

จดหมา ยข่า

1.

ลงนามข้อตกลงทางวิชาการ รศ.นพ.ปรีชา วาณิชเศรษฐกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท�ำพิธีลง นามในบันทึกข้อตกลงทางวิชาการ (MOU) ระหว่างคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่ง ชาติกรุงโซล เมื่อวันที่ 13 ม.ค. 57 ณ ประเทศเกาหลี

2.

รศ.นพ.ปรีชา วาณิชยเศรษฐกุล คณบดีคณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท�ำพิธี ลงนามในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงทางวิ ช าการ (MOU) กั บ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ยูซีเดวิด เมืองซานฟราน ซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา เพือ่ เป็นการแลกเปลีย่ นทาง ด้านวิชาการ การเรียนการสอน กับสถาบันการศึกษา ต่างประเทศ เมื่อวันที่ 16- 24 พฤศจิกายน 2556

13


4.

เมื่อวันที่ 21-24 มกราคม 2557 ที่ผ่านมา รศ.นพ.ปรีชา วาณิชยเศรษฐกุล คณบดีคณะ แพทยศาสตร์ พร้อมด้วยทีมผู้บริหารและอาจารย์ สาขาเวชศาสตร์ชมุ ชนและเวชศาสตร์ครอบครัวเดิน ทางไปศึ ก ษาดู ง านสถาบั น การศึ ก ษา ณ เมื อ ง พนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายและเผยแพร่หลักสูตร CBL และแพทย์ปฐมภูมิสู่อาเซียน

5.

รศ.นพ.ปรีชา วาณิชเศรษฐกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ หัวหน้าทีมสีสม้ รับถ้วยรางวัลชนะเลิศประเภทกองเชียร์ ในการ แข่งขันกีฬาบุคลากรศูนย์สุขศาสตร์ ครั้งที่ 4 ประจ�ำปี 2556 ภายใต้ ชื่อ “กีฬาสร้างสรรค์ สุขศาสตร์สัมพันธ์ รวมกันเป็นหนึ่งเดียว” เมื่ อ วั น ที่ 21 ธ.ค. 2556 ณ สนามกี ฬ าหญ้ า เที ย มโรงพยาบาล ธรรมศาสตร์ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ โดยที ม สี ส ้ ม มี บุ ค ลากรคณะ แพทยศาสตร์ แ ละบุ ค ลากรกองอ� ำ นวยการงานผ้ า โรงพยาบาล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

6.

ทีมนักกีฬากลุ่มคณะสุขศาสตร์ได้รับเหรียญ ประเภทกีฬา บาสเกตบอลหญิง จากการแข่งขันมหกรรมกีฬา 80 ปี ธรรมศาสตร์ TULYMPICS สรุปผลการแข่งขันทีมกลุ่มคณะสุข ศาสตร์คว้า 1 เหรียญทอง 4 เหรียญเงิน 6 เหรียญทองแดง จดหมา

ทย์โด วแพ ม

14

ยข่า


สถิติศาสตร์คลินิกประยุกต์ Applied Clinical Statistics-2014 Clinical Research Center คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และชมรมระบาดวิทยาคลินิก

15-17 มกราคม 2557 CRC-CES-1-Applied Clinical Statistics Workshop Series 1: การวิเคราะห์สถิติส�ำหรับนักวิจัยคลินิกระดับต้น Day 1 : Data type, database, data coding, data transfer, data management, descriptive statistics, chi-squared test, exact test & tests for paired proportions Day 2 : t-test, paired t-test, Mann-Whitney-U-test, sign-rank test, ANOVAs, correlation & regression Day 3 : Analysis of risk, odds, rates, survival time & diagnostic index 5-7 กุมภาพันธ์ 2557 CRC-CES-2-Applied Clinical Statistics Workshop Series 2: การวิเคราะห์ถดถอยที่จ�ำเป็นส�ำหรับนักวิจัยคลินิกระดับกลาง Day 1 : Analysis of means with Gaussian regression (intermediate level) Day 2 : Analysis of risk & odds with logistic & other regressions (intermediate level) Day 3 : Analysis of event-time with Poisson & Cox’s regression (intermediate level) 5-7 มีนาคม 2557 CRC-CES-3-Applied Clinical Statistics Workshop Series 3: การวิเคราะห์ถดถอยลอจิสติกระดับสูงส�ำหรับนักวิจัยคลินิกระดับสูง Day 1 : Standard binary logistic regression, modeling strategies, goodness-of-fit & AuROC curve Day 2 : Alternatives to logistic regression, conditional logistic regression & introduction to logistic regression for correlated data Day 3 : Polytomous & ordinal logistic regression 9-11 เมษายน 2557 CRC-CES-4-Applied Clinical Statistics Workshop Series 4: การวิเคราะห์ถดถอยส�ำหรับข้อมูลที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันและข้อมูลวัดซ้าส�ำหรับนักวิจัยคลินิกระดับสูง Day 1 : Simplified & advanced analysis of repeated and serial measurements Day 2 : Simplified & advanced analysis of correlated data Day 3 : Regression analysis of factorial design and crossover design 6-8 พฤษภาคม 2557 CRC-CES-5-Applied Clinical Statistics Workshop Series 5: การวิเคราะห์รอดชีพก้าวหน้าส�ำหรับนักวิจัยคลินิกระดับสูง Day 1 : Standard Cox’s, stratified Cox’s, parametric regression & modeling strategies Day 2 : Survival analysis for correlated, recurrent and multiple events Day 3 : Competing risk survival analysis 11-13 มิถุนายน 2557 CRC-CES-6-Applied Clinical Statistics Workshop Series 6: การวิเคราะห์วิจัยเชิงวินิจฉัยและเกณฑ์ท�ำนายคลินิกส�ำหรับนักวิจัยคลินิกระดับกลางและระดับสูง Day 1 : Data analysis for diagnostic research & clinical prediction rules (CPR) for binary response Day 2 : Derivation & validation of CPR, discrimination, calibration & CPR for continuous response Day 3 : CPR for ordinal & polynomial response 16-18 กรกฎาคม 2557 CRC-CES-7- Applied Clinical Statistics Workshop Series 7: การค�ำนวณขนาดตัวอย่างส�ำหรับนักวิจัยคลินิกระดับกลางและระดับสูง Day 1 : Sample size & statistical power, two means, two proportions, repeated measures Day 2 : Sample size for cohort & clinical trial design using means, risk, rates & survival time Day 3 : Sample size for case-control design, diagnostic research & other designs\ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลงทะเบียน: 50 ที่นั่ง บุคคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่เสียค่าลงทะเบียน (จ�ำกัด 5 ที่นั่ง) บุคคลภายนอกคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีค่าลงทะเบียน: 5,000 บาท (ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ เบิกได้ตามสิทธิ์) โปรแกรมสถิติ: Stata®13 (มีลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย) โปรดน�ำคอมพิวเตอร์ส่วนตัว (notebook) มาด้วย คุณเสาวรัตน์ แก้วใจเย็น โทร. 02-5644444-7532,7539 Email : medtu_research@yahoo.com

ม ทย์โด พ แ ว

จดหมา ยข่า

Place : Available : Applicants : Program : Computer : สอบถามเพิ่มเติม :

15


คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 95 หมู่ 8 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตที่ 4/2537 ปทฝ.ธรรมศาสตร์ รังสิต 12121

12120

เหตุขัดข้องที่น�ำจ่ายผู้รับไม่ได้ 1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน 2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้า 3. ไม่ยอมรับ 4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้า 5. ไม่มารับตามก�ำหนด 6. เลิกกิจการ 7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่ 8. อื่นๆ

กองบรรณาธิการ

จดหมา

ทย์โด วแพ ม

16

ยข่า

ที่ปรึกษา / Consultant : รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ปรีชา วาณิชยเศรษฐกุล, รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ บรรณาธิการ / Editor : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ณวพล กาญจนารัณย์ กองบรรณาธิการ / Editorial staffs : รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ไวพจน์ จันทร์วิเมลือง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์อภิชาติ คณิตทรัพย์, ปัณฑ์ณัฐ ปานพรม, ปัทมาพร ส้มไทย จัดท�ำโดย : งานประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0 2926 9006 โทรสาร 0 2516 3771 E-mail : pr.medtu@gmail.com Website : www.med.tu.ac.th Facebook : //webmedtufanpage


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.