Medtu vol 07

Page 1

Vol.08. ก.ค - ก.ย 2558

นักศึกษาแพทย์ธรรมศาสตร์ คว้ารางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่ง (The winner) และรางวัลโครงงานขวัญใจมหาชน (Popular Vote) จากกิจกรรม boot camp 2014

3

รางวัลของอาจารย์, นักศึกษาแพทย์

12

แพทย์โดม Society

15 ความจริง & สิ่งสมมุติ


สวัสดีทุกท่านครับ

3. 5.

รางวัลของอาจารย์,  นักศึกษาแพทย์

พบกันอีกครั้งในจดหมายข่าวแพทย์โดม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฉบับนี้เป็นฉบับเพือ่ เตรียมต้อนรับ ข่าว “จักษุ แพทย์ธรรมศาสตร์ งานประชุมวิชาการคณะแพทยศาสตร์ ร่วมประชุ มระดมความร่วมมือ ประจ�ำปี 2558 ในเดือนตุลาคม ที่มีหัวข้อที่ เตรียมความพร้อมป้องกันปั ญหา น่าสนใจภายใต้ชื่อ “Misconception in Everyday Practice” นอกจากนี้ยังมี โรคตา” เรื่องของความร่วมมือของจักษุแพทย์ ในการจัดการประชุมวิชาการในภูมิภาค โรงเรียนแพทย์สร้างเสริม อาเซียนที่ร่วมจัดโดยคณะแพทยศาสตร์ สุขภาพ “ดูแลตัวเองหน้าฝน” และร่วมแสดงความยินดีกบั อาจารย์ และนักศึกษาทีไ่ ด้รบั รางวัลสร้างชื่อเสียง ให้คณะแพทยศาสตร์ อีกทั้งช่วงนีเ้ ริม่ เข้า ก�ำหนดการประชุ มวิชาการ ฤดูฝนแล้ว เรามีวธิ เี ตรียมพร้อม ประจ�ำปี 2558 เพื่อดูแลตัวเองช่วงหน้าฝนมาฝากกัน อีกด้วยครับ   หวังว่าจดหมายข่าวนี้จะเป็นสื่อกลาง ที่เป็นประโยชน์ต่อทุกท่าน หากท่าน แพทย์โดม Society ต้องการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยน ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารกับ   คณะแพทยศาสตร์ หรือมีข้อเสนอแนะใด ความจริง & สิ่งสมมุ ติ โปรดส่งมาทาง pr.medtu@gmail.com เพื่อช่วยกันสร้างสรรค์ จดหมายข่าว เป็นช่องทางในการกระจายข่าวที่ เป็นประโยชน์ของคณะแพทยศาสตร์ ปฏิทินกิจกรรม กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ ที่ปรึกษา / Consultant: รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ปรีชา วาณิชยเศรษฐกุล,

7. 9. 12. 15. 16.

จดหมา

วแ

ยข่า

์โดม

พทย

2

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ บรรณาธิการ / Editor: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ณวพล กาญจนารัณย์ กองบรรณาธิการ / Editorial staffs: รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ณวพล กาญจนารัณย์, นางสาวปัณฑ์ณัฐ ปานพรม, นางสาวอารีณัฏฐ์ สีแก้ว, นางสาวภัทรา กิจงาม, นางสาวปัทมาพร ส้มไทย จัดท�ำโดย: งานประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0 2926 9006 โทรสาร 0 2516 3771 E-mail: pr.medtu@gmail.com Website : www.med.tu.ac.th Facebook : //webmedtufanpage


นักศึกษาแพทย์ธรรมศาสตร์คว้ารางวัล ชนะเลิศอันดับหนึ่ง (The winner) และรางวัลโครงงานขวัญใจมหาชน (Popular Vote) จากกิจกรรม boot camp 2014 ซึ่งมีนักศึกษาแพทย์จากสถาบันอุดมศึกษา ทั่วประเทศส่งผลงานเข้าประกวด จ�ำนวน 11 ทีม จาก 11 สถาบัน ซึ่งโครงงานนี้มีคณะผู้จัดท�ำ ได้แก่ นายณัฐิวุฒิ บุญสอาด นางสาวมธุรสทิม สุวรรณ และ นายภูริเดช เอ่งฉ้วน นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานคือ รศ.ปนัดดา โรจนพิบูลสถิตย์ และ รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ โครงงานมีชอื่ ว่า Don’t Let Steroid Be free! (อย่าปล่อยให้ สเตอรอยด์ลอยนวล) มีวตั ถุประสงค์คอื 1. เพือ่ สร้างความรูแ้ ละความเข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับการใช้ยาแผนโบราณ 2. เพือ่ ให้ประชาชนตระหนักถึงโทษของการรับประทานยาแผนโบราณ ที่ขายตามท้องตลาด ซึ่งอาจมีปริมาณสเตียรอยด์เกินมาตรฐาน 3. เพื่อแนะน�ำวิธีการเลือกซื้อยาแผนโบราณที่ถูกต้อง นายณัฐวิ ฒ ุ ิ บุญสอาด นักศึกษาแพทย์ชนั้ ปี 1 ได้กล่าวถึงความเป็นมา ของโครงการนี้ว่า ทีมงานลงพื้นที่เก็บยาตัวอย่างเพื่อน�ำมาตรวจสอบหา ปริมาณสเตียรอยด์พบว่ายาตัวหนึง่ ในตลาดย่านรอบๆ บริเวณ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มี อ งค์ ป ระกอบของสเตี ย รอยด์ ใ นปริ ม าณเกิ น มาตรฐานที่ ก�ำหนดไว้ หลังจากนั้นพวกเราจึงเริ่มประชาสัมพันธ์ถึงความรู้เกี่ยวกับ สเตียรอยด์ โดยมีการขึน้ เวทีประชาสัมพันธ์ ในงานครบรอบ 25 ปี สถาปนา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต รวมถึงมีการ แจกแบบสอบถามถึงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสเตียรอยด์แก่ประชาชนที่มา รับฟังข้อมูลในวันนั้น โดยผลจากแบบสอบถามพบว่าประชาชนมีความรู้ เกีย่ วกับการบริโภค สเตียรอยด์เพิม่ ขึน้ 11.665% และประชาชนมีความรูท้ วั่ ไป เกี่ ย วกั บ สเตี ย รอยด์ เ พิ่ ม ขึ้ น 17.62% นอกจากนี้ ท างคณะผู ้ จั ด ท� ำ ได้ แจกเอกสารแนะน�ำความรูใ้ ห้ประชาชนได้นำ� กลับไปศึกษาข้อมูลทีบ่ า้ นอีกด้วย หลังจากนั้นผู้จัดท�ำได้น�ำโครงงานชิ้นนี้ ไปแข่งขันในงาน National Meeting 2015 ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-7 มิถุนายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา ผลที่ออกมาก็ได้รับความชื่นชมและสร้างชื่อเสียงให้กับ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นอย่างมาก

จดหมา ยข่า

วแพ

ม ทย์โด

3


ส�ำหรับ International Federation of Medical Students’ Association – Thailand (IFMSA-Thailand) หรือสมาพันธ์ นิสิตนักศึกษาแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย เป็นองค์กร ตั ว แทนนั ก ศึ ก ษาแพทย์ ใ นประเทศไทยที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพือ่ สนับสนุนให้นกั ศึกษาแพทย์มบี ทบาทในการแก้ปญ ั หาสุขภาพ ต่างๆ รวมถึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาแพทย์ได้เรียนรู้ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ และสร้างเครือข่ายกับนักศึกษาแพทย์นานาชาติ พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาแพทย์ให้มีความเป็นผู้น�ำ ทัง้ การจัดกิจกรรม การเข้าร่วมประชุม และการจัดโครงการต่างๆ IFMSA-Thailand หรือสมาพันธ์นิสิตนักศึกษาแพทย์นานาชาติ แห่งประเทศไทย เป็นสมาชิกของ IFMSA หรือ International Federation of Medical Students’ Associations ซึ่งเป็นองค์กร อิสระภายใต้สังกัดองค์การสหประชาชาติและได้รับการสนับสนุน จากองค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการตัง้ แต่ปคี .ศ. 1969 โดย IFMSA-Thailand ได้เริ่มจัดตั้งขึ้นในเดือนสิงหาคม ปีค.ศ. 2002 และได้เข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการของ IFMSA ในปีถัดมา IFMSA-Thailand จึงจัดท�ำโครงการ IFMSA-Boot Camp ขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาแพทย์ไทยให้สามารถสร้าง และบริหารโครงการส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประโยชน์ตอ่ สังคมในวงกว้าง อีกทัง้ เป็นการสร้างความร่วมมือ และเป็นเวทีในการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหว่างนักศึกษาแพทย์ ด้วยกัน

จดหมา

วแ

ยข่า

์โดม

พทย

4


จักษุแพทย์ธรรมศาสตร์ ร่วมประชุมระดมความร่วมมือ เตรียมความพร้อมป้องกันปัญหาโรคตา “AECOM” (ASEAN Economic Community Ophthalmology meeting) ครั้งที่ 3 รศ.นพ.ปรีชา วาณิชยเศรษฐกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ พร้อมด้วยอาจารย์ภาควิชาจักษุวิทยา น�ำโดย รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ, รศ.พญ.มัญชิมา มะกรวัฒนา หัวหน้าภาควิชาจักษุวิทยา ร่วมงานประชุมวิชาการ AECOM (ASEAN Economic Community Ophthalmology meeting) ครั้งที่ 3 ที่เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา เมื่อวันที่ 12-13 มิถุนายน 2558

จดหมา ยข่า

วแพ

ม ทย์โด

5


ขอเช�ญเขารวมประชุมว�ชาการประจำป 2558 ในหัวขอเร�่อง

วันที่ 14-16 ตุลาคม 2558

อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร มหาว�ทยาลัยธรรมศาสตร รังสิต

14

ตุลาคม 2558

เช�ญฟงปาฐกถาพิเศษ “ช�ว�ตและผลงาน อาร� วัลยเสว�” The Seven ที่สุดแหงความภาคภูมิใจ

15

การบรรยายหัวขอ Misconception in Ophthalmology

ตุลาคม 2558

16

ตุลาคม 2558

การบรรยายหัวขอ ความเช�่อและการเลี้ยงดูที่ทำใหเกิด ผลทางลบกับลูก : กอนวัยเร�ยน วัยเร�ยน วัยรุน

ลงทะเบียนฟร�

จดหมา

CME : 16 หนวยกิต

ติดตามรายละเอียดเพิ่มไดที่ www.med.tu.ac.th ตั้งแต วันที่ 1 กรกฎาคม 2558 ยข่า

วแ

์โดม

พทย

6

Your image Here


การปฏิบัติตัวในช่วงเข้าสู่ฤดูฝน รศ.นพ.วิวัฒน์ พุทธวรรณไชย อาจารย์ประจ�ำสถานเวชศาสตร์ชุมชน และเวชศาสตร์ครอบครัว

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ครอบครัว

สวัสดีครับ

ช่วงนี้เป็นช่วงที่ย่างเข้าฤดูฝน อากาศมีการเปลี่ยนแปลงจากร้อนมาก เป็นฝนตก เราควรหันมาดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อให้ร่างกายสามารถปรับสภาพต่อการเปลี่ยนแปลง ของอากาศได้ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ และเพื่อป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ ระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะโรคไข้หวัด เพราะหากป่วยเป็นไข้หวัดและไม่มีการดูแลสุขภาพที่ดี อาจส่งผลให้กลายเป็นโรคหลอดลมอักเสบและโรคปอดบวมได้

การปฎิบัติตัวในช่วงนี้เป็นช่วงที่ย่างเข้าฤดูฝน มีดังนี้

1.

การรับประทานอาหาร ควรรับประทานผักให้หลากหลาย ทั้ ง สดและลวก ต้ ม ผั ด และรั บ ประทานผลไม้ ที่ มี วิตามินซีสูง เช่น ส้ม ฝรั่ง มะเขือเทศ องุ่น สับปะรด มะละกอ เป็นต้น เพราะจะช่วยสร้างภูมคิ มุ้ กันให้กบั ร่างกาย วแพ

จดหมา ยข่า

ม ทย์โด

7


4. 2. 3.

การดื่มน�้ำให้เพียงพอ วันละประมาณ 1.2-2 ลิตร

การออกก�ำลังกาย ควรเริม่ จากเบา ๆ ระยะ เวลาน้ อ ยๆ ก่ อ นแล้ ว ค่ อ ยเพิ่ ม เวลาขึ้ น เรื่อย ๆ ในแต่ละสัปดาห์เพื่อให้ร่างกาย ปรับตัว จากนั้นจึงเพิ่มความแรงหรือความหนักและย�้ำ ว่าไม่จ�ำเป็นต้องหนักหรือเหนื่อยมาก การออก ก� ำ ลั ง กายมากเกิ น ไปโดยเฉพาะในอากาศที่ ร้อนจัด จะท�ำให้เกิดภาวะทีเ่ รียกว่า โรคฮีทสโตรก (Heat Stroke) ได้งา่ ย และเป็นโรคทีอ่ นั ตรายมาก ผู้ป่วยจะมีอุณหภูมิร่างกายสูงมาก เหงื่อไม่ออก หมดสติ ไต หัวใจ ตับวาย อาจมีเลือดออก ทุกอวัยวะ ถึงแก่ชีวิต

ผู ้ ที่ เ ป็ น โรคภู มิ แ พ้ ค วรต้ อ งดู แ ลตั ว เอง เป็ น พิ เ ศษมากกว่ า คนอื่ น และควรที่ จะออกก� ำ ลั ง กายอย่ างสม�่ ำ เสมอ เพราะการ ออกก�ำลังกาย นอกจากจะช่วยท�ำให้ร่างกาย แข็งแรงแล้วยังช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรค อี ก ด้ ว ย การออกก� ำ ลั ง กายสามารถท� ำ ได้ หลายวิธี เช่น การเต้นแอโรบิค การเดินเร็ว ๆ การวิง่ เหยาะ การขีจ่ กั รยาน หรือการเล่นกีฬาทีม่ ี การเคลื่อนไหวต่อเนื่อง และการออกก�ำลังกาย ที่เหมาะสม คือ การออกก�ำลังกาย สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที ผูท้ มี่ โี รคประจ�ำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ควรเริม่ ออกก�ำลังกายเบา ๆ ก่อน แล้วค่อย ๆ เพิ่มตาม รายละเอียดในข้อ 3

5. 6.

ควรหลีกเลี่ยงการอยู่กลางแดดเป็นเวลา นาน ๆ โดยเฉพาะในช่วง 12-16 น.

ควรพกร่ม ติดตัวไว้เสมอ

7. 8. 9. 10.

เมื่อมีอาการไม่สบาย เช่น ไข้ ไอ น�้ำมูก ให้ใส่หน้ากากปิดปากปิดจมูก จนกว่า อาการจะทุเลา และรีบรักษาแต่เนิ่นๆ

นอกจากนี้

ก็มีการป้องกันยุงลาย ถึงแม้ ยังไม่มกี ารระบาดของโรคไข้เลือดออก เราก็ควร มีการป้องกัน โดยการก�ำจัดลูกน�้ำยุงลายอย่าง สม�่ำเสมอ เพียงเท่านี้ ท่านก็จะมีสุขภาพที่แข็งแรง ตลอดช่วงหน้าฝนนี้ แล้วพบกันในฉบับหน้าครับ

จดหมา

วแ

ยข่า

์โดม

พทย

8

นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ วันละ 7-8 ชั่วโมง ถ้าเปิดเครื่องปรับอากาศควรตั้ง อุณหภูมิให้อยู่ในช่วง 25-26 องศาเซลเซียส ไม่เครียด มีการผ่อนคลาย และมีการ จัดการความเครียดอย่างเหมาะสม “กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ” ยังใช้ได้ เสมอ


การประชุมวิชาการประจ�ำปี 2558

“Misconception in Everyday Practice” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอเชิญแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์และผูส้ นใจ เข้าร่วมการประชุมวิชาการประจ�ำปี 2558 “Misconception in Everyday Practice” ระหว่างวันที่ 14-16 ตุลาคม 2558 ณ อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีภารกิจที่ส�ำคัญ คือ การผลิตบัณฑิตแพทย์ การใช้ผลิตวิจยั การให้บริการทางวิชาการแก่สงั คม และการจัดการศึกษาต่อเนือ่ งส�ำหรับแพทย์และ บุคลากรในสายวิชาชีพทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม ดังนัน้ ผลงานทางวิชาการ และงานวิจัยต่างๆ จ�ำเป็นต้องมีการเผยแพร่ทั้งภายในและต่างประเทศเพื่อความก้าวหน้าทาง วิชาการแพทย์ ผลงานบางอย่างจ�ำเป็นต้องเผยแพร่เพื่อชี้น�ำสังคม เพิ่มประสิทธิภาพ และ ประกันคุณภาพในการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชนในประเทศ ตลอดจนเพื่อเป็นการตอบแทน ต่อสังคมด้วยการน�ำเสนอทั้งความรู้และสาระให้แก่ประชาชน ในด้านการดูแลรักษาสุขภาพ และ การป้องกันโรค จากอดีตจนกระทั่งปัจจุบัน วิชาความรู้รวมทั้งเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์มีการ พัฒนาเพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึง่ มีผลต่อเวชปฏิบตั ทิ ตี่ อ้ งการความมีประสิทธิภาพ และความถูกต้อง บุคลากรทางการแพทย์จึงมีความจ�ำเป็นต้องติดตามความรู้ความก้าวหน้าอย่าง ต่อเนื่องตลอดเวลา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้จดั การประชุมวิชาการประจ�ำปี 2558 ขึน้ ภายใต้หวั ข้อ “Misconception in Everyday Practice” ซึง่ นับเป็นการประชุมวิชาการทางการแพทย์ ที่ยิ่งใหญ่อีกสถาบัน ส�ำหรับหัวข้อและเนื้อหาของการประชุมจะเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุการณ์ และ วิทยาการใหม่ ๆ ทางการแพทย์ สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย รูปแบบของ การประชุมจะเป็นการบรรยาย การอภิปรายโดยวิทยากรผูม้ คี วามเชีย่ วชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ ทัง้ ภายใน และภายนอกคณะ มีการน�ำเสนอผลงานวิจยั การประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร โดยในปีนคี้ ณะแพทยศาสตร์ มีแนวคิดในการน�ำเสนอความก้าวหน้าทางวิชาการที่โดดเด่นของคณะแพทยศาสตร์ มธ. โดยการ น�ำเสนอความรูท้ างการแพทย์ใหม่ ๆ ทีแ่ พทย์เวชปฏิบตั ทิ วั่ ไปควรรูใ้ นการดูแลและให้คำ� แนะน�ำแก่ผปู้ ว่ ย ผู ้ สนใจสามารถดูรายละเอียดเพิ่ม เติ มและลงทะเบี ย นเข้ าร่ ว มงานประชุ มวิ ช าการได้ที่ http://www.med.tu.ac.th หรือติดต่อสอบถามเพิม่ เติมที่ คุณรัตนา เนือ่ งแก้ว สถานวิทยาศาสตร์ คลินกิ คณะแพทยศาสตร์ มธ. โทรศัพท์ 02-926-9487-8 การประชุมครัง้ นีผ้ เู้ ข้าร่วมประชุมภาครัฐ มีสิทธิ์เบิกค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ได้ตามระเบียบของกระทรวงการคลัง โดยได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา จดหมา ยข่า

วแพ

ม ทย์โด

9


“Misconception in Everyday Practice” วันพุธที่ 14 ตุลาคม 2558

ห้อง A โดม 2 8.30 น.

คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวรายงาน ศ.นพ.สุชาติ อินทรประสิทธิ์ กล่าวเปิดงาน

8.40 น.

แนะน�ำองค์ปาฐกโดย รศ.นพ.ปิยะ ปิ่นศรศักดิ์

8.45 น.

แสดงปาฐกถาพิเศษ “ชีวิตและผลงาน อารี วัลยเสวี” โดย ศ.นพ.สุชาติ อินทรประสิทธิ์

9.45 น.

พัก

10.00-12.00 น.

The Seven “บทบาทของหมอโรคหัวใจเด็ก รพ.ธรรมศาสตร์ ในเขตบริการสุขภาพที่ 4” ผศ.นพ.บุญชู ศิริจงกลทอง “Helicobacter pylori: research and my life” ศ.ดร.นพ.ประกิตพันธุ์ ทมทิตชงค์ “Surgical therapy: A miracle for women suffering from dyspareunia caused by vestibulodynia” รศ.ดร.นพ.อติวุธ กมุทมาศ “Severe stress, burnout, and intention to quit in GenY doctors” รศ.พญ.วินิทรา นวลละออง “Thrombolytic treatment in Acute Stroke” ศ.พญ.พรภัทร ธรรมสโรช “Brain - heart axis during stroke” รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ “บทบาทของแพทย์แผนไทยในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรค NCDs” รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: รศ.พญ.วนิดา เปาอินทร์ รศ.นพ.ปิยะ ปิ่นศรศักดิ์ 13.00- 15.00 น.

ห้อง A

Aging ความเสื่อมที่ชะลอได้ (สมอง ตา หู กระดูก ฟัน) อ.นพ.ธรรมนาถ เจริญบุญ ผศ.นพ.ไพบูลย์ บวรวัฒนดิลก รศ.นพ.ไวพจน์ จันทร์วิเมลือง อ.นพ.ชญานิน อ่างทอง อ.ทพญ.ดร.มันทนา เกษตระทัต ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.พญ.มุทิตา พนาสถิตย์

ห้อง B

More drugs, more cure (or kill) in elderly อ.ดร.นพ.พสิษฐ์พล วัชรวงศ์วาน Common presentations, when environmental hazards should be on the list? ศ.ดร.นพ.สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.อภิชา น้อมศิริ

ห้อง C

ENT: เรือ่ งเล็กทีม่ กั เข้าใจผิด ห้ามแคะหู ไม่ควรสัง่ น�ำ้ มูกแรง ห้ามดืม่ น�ำ้ เย็นถ้าเจ็บคอ จริงหรือไม่ อ.พญ. ปิยมาภรณ์ อิทธิโสภณพิศาล Misconception in anesthesia practice ผศ.พญ.อลิสา เสียงลิ่วลือ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.พญ.นิดา ไรท์

ห้อง D

Common pitfall in surgical practice อ.นพ.พลินท์ ลิมปวิทยาพร อ.นพ.ณัทธร บูชางกูร ผศ.พญ.ศิริภัทร เกียรติพันธุ์สดใส อ.พญ.ตะวัน อิ่มวิเศษ ผศ.นพ.พรชัย ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์ อ.นพ.เทิดภูมิ เบญญากร ผศ.นพ.โอภาส ศรัทธาพุทธ อ.นพ.อมรพล กันเลิศ อ.นพ.ดลลชา วาณิชย์การ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.นพ.อมรพล กันเลิศ

วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม 2558 ห้อง

9.00-12.00 น.

ห้อง A

นโยบายลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของกระทรวงสาธารณสุข ผู้ด�ำเนินการอภิปราย อ.ดร.นวลจันทร์ ใจอารีย์ และ อ.ปิยพล พูลสุข แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันของการแพทย์แผนไทย รศ.นพ.สมบัติ มุง่ ทวีพงษา นพ.ชานนท์ นันทวงศ์ อ.ดร.ณภัทร พานิชการ พทป.จิรายุ ชาติสุวรรณ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย อ.จิตพิสุทธิ์ จันทร์ทองอ่อน อ.ภาณัฐ เดชะยนต์ อ.กิตรวี จิรรัตน์สถิต

น�ำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา ป.ตรี โท เอก คณะกรรมการประกวด รศ.ดร.ตรีทิพย์ รัตนวรชัย ผศ.ดร.พินทุสร หาญสกุล ผศ.ดร. เภสัชกรรัฐพล อาษาสุจริต อ.ดร.เภสัชกรหญิงรุจิลักขณ์ รัตตะรมย์ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย อ.ดร. ศรีโสภา เรืองหนู และ อ.เบญจพล แตงบัว

Misconception in Ophthalmology - จริงหรือทีฉ่ ดี filler แล้วท�ำให้ตาบอดได้ อ.นพ.ดวงมนตรี โรจน์ดำ� รงรัตนา - ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องแว่นตากับเด็กสายตาสั้น อ.พญ.สุนทรี ธิติวิเชียรเลิศ - การนวดตาสามารถรักษาโรคตาได้จริงหรือไม่ อ.พญ.ทิพย์นภา พัฒนธ�ำรงเกษม - How to detect glaucoma like a pro อ.นพ.อนุวชั ร์ พฤทธิพงศ์สทิ ธิ ์ - Glucosamine: A Hit or a Myth? รศ.พญ.มัญชิมา มะกรวัฒนะ - แสงสีฟา้ จากสมาร์ทโฟนมีผลต่อจอตาหรือไม่ ผศ.นพ.ณัฐพล วงษ์คำ� ช้าง ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: ผศ.นพ.ณวพล กาญจนารันย์

Fact and myth in psychiatry - จิตเวช คืออะไร เหมือนหรือต่างกับ psycho-support อ.นพ.ธรรมนาถ เจริญบุญ - จิตเวช โรคของสมองหรือจิตใจ อ.พญ.มุทิตา พนาสถิตย์ - Placebo & placebo effect อ.นพ.ธรรมนาถ เจริญบุญ - ยาเสพติด เลิกได้ถ้าใจเข้มแข็ง จริงหรือไม่ อ.พญ.พัชรพิมพ์ กวีนัฎยานนท์ - เด็กผลการเรียนไม่ดีควรตรวจ IQ หรือไม่ อ.พญ.อัญชลิตา รัตนจารุรักษ์ - รักษาโรคจิตเวชด้วยการท�ำสมาธิได้หรือไม่ อ.พญ.ล�ำพู โกศัลย์วิทย์ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.พญ.ติรยา เลิศหัตถศิลป์

ห้อง B

จดหมา

วแ

ยข่า

์โดม

พทย

10

13.00-15.00 น.


วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม 2558 (ต่อ) ห้อง

9.00-12.00 น.

13.00-15.00 น.

ห้อง C

Cervical Cancer Screening: ตรวจอย่างไรให้ได้ประโยชน์ รศ.นท.นพ.คมสันติ์ สุวรรณฤกษ์ ผศ.นพ.ยุทธเดช ทวีกุล Misconception in Routine Obstetrics Ultrasound รศ.พญ.จรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์ ผศ.พญ.ต้องตา นันทโกมล กฎหมายไทยกับการอุ้มบุญ รศ.นพ.เจริญไชย เจียมจรรยา ยาคุมก�ำเนิดทีใ่ ช้มากกว่าการคุมก�ำเนิด รศ.นพ.ช�ำนาญ แท่นประเสริฐกุล ผู้ด�ำเนินรายการอภิปาย: รศ.พญ.เย็นฤดี ภูมิถาวร

ULTRASOUND (HIFU) รักษามะเร็งได้หรือไม่ อ.พญ.ธัญญารัตน์ วัฒนเศรษฐสิริ การฝังแร่กัมมันตภาพรังสีในจีน ประโยชน์หรืออันตราย อ.นพ.อรรถพล พินิจพัชรเลิศ Head and neck imaging: CT vs MRI เลือกอย่างไร ให้ได้การวินิจฉัย อ.พญ.อาวีมาศ วัชรากร ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: ผศ.พญ.วรรณฤดี โลหิตวิเศษ

ห้อง D

How to deal with chronic daily headache ศ.นพ.ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร Antibiotics: common misuse ผศ.นพ.ธนา ขอเจริญพร, อ.พญ.ศศินุช รุจนเวช Biomarkers: Procalcitonin - overuse to overdiagnosis? อ.พญ.ภัทริน ภิรมย์พานิช, Cardiac Troponin and BNP: To use or too overused in acute dyspnea? ผศ.นพ.อดิศัย บัวค�ำศรี Fat diet: เลือกอย่างไร อ.พญ.ศานิต วิชานศวกุล ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.นพ.ฐิติ ศรีเจริญชัย

Corticosteroid injection in routine practice: myth or an effective tool?: รศ.นพ.ณัฐพล ธรรมโชติ Glucosamine for osteoarthritis: current state of the evidence: รศ.นพ.ปิยะ ปิ่นศรศักดิ์ Massage and bath: their roles in the musculoskeletal problems: อ.นพ.กู้พงษ์ ศิริบ�ำรุงวงศ์ Sexual dysfunction and quality of life after pelvic fracture: อ.นพ.กฤต บุญธนาพิบูลย์ Chiropractic care in back and neck pain: believe it or not?: ผศ.นพ.รัฐฤกษ์ อรุณากูร ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.นพ.ชญานิน อ่างทอง

ห้อง E

Basic science research: ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.ดร.เดชา บูรณจิตร์ภิรมย์

หมายเหตุ พัก 10.15-10.45 น.

วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม 2558 ห้อง

9.00-12.00 น.

13.00-15.00 น.

ห้อง A

Misconception in emergency medicine - CPR & Post cardiac arrest care อ.นพ.วินชนะ ศรีวิไลทนต์ - Shock management ผศ.นพ.กัมพล อ�ำนวยพัฒนพล - Neonatal and pediatric resuscitation อ.นิพนธ์ ดิศกัมพล ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.นพ.วินชนะ ศรีวิไลทนต์

Misconception in emergency medicine Emergency airway and ventilatory management อ.นพ.เกียรติชัย ดาวรัตนชัย Toxicological resuscitation ผศ.พญ.จิตรลดา ลิ้มจินดาพร ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.นพ.วินชนะ ศรีวิไลทนต์

ห้อง B

Common pitfalls in Myofascial Pain Syndrome treatment อ.พญ.จินธนา เกษมสุวรรณ Joint & Bone Supplements; ใช้แบบนี้ ชัวร์หรือมั่วนิ่ม? อ.พญ.ศิรัญญา แพเจริญ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: ผศ.พญ.ชื่นชม ชื่อลือชา

Pitfalls of gun shot wound examination อ.นพ.ทศนัย พิพัฒน์โชติธรรม ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.นพ.อภินันท์ ตั้งเสริมกิจสกุล

ห้อง C

ความเชือ่ และการเลีย้ งดูทที่ ำ� ให้เกิดผลทางลบกับลูก: ก่อนวัยเรียน วัยเรียน False belief in allergic disease อ.พญ.ประภาศรี กุลาเลิศ วัยรุ่น รศ.พญ.ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย อ.พญ.ติรยา เลิศหัตศิลป์ Not all wheezing is asthma รศ.พญ.วนิดา เปาอินทร์ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: อ.พญ.ติรยา เลิศหัตศิลป์ Genetic diseases: พบน้อยมาก วินจิ ฉัยยาก รักษาไม่ได้...จริงหรือ อ.พญ.กิตติวรรณ โรจน์เนืองนิตย์ ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: ผศ.นพ.รัฐพล ว่องวันดี

ห้อง D

ประกวดวิจัย

มอบรางวัลการประกวดผลงานวิจัย แพทย์ และแพทย์แผนไทยประยุกต์ ผู้ด�ำเนินรายการ: อ.ภาณัฐ เดชะยนต์

หมายเหตุ พัก 10.15-10.45 น.

จดหมา ยข่า

วแพ

ม ทย์โด

11


แพทย์โดม Society นางสาวสุวรรณา บุญศิริจันทร์, นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5: ประธาน ฝ่ า ยต่ า งประเทศ Asian Medical Students’ Association ปีการศึกษา 2557 น� ำ เสนอผลงานในรู ป Oral presentation เรื่อง Polypharmacy in the Elderly ในการประชุม 36th Asian Medical Students’ Conference (AMSC), 5 - 12 July 2015, Singapore

1. แพทย์โดม Society ฉบับนี้ข่าวแรกต้องแสดงความยินดี

กับน้อง ๆ นักศึกษาแพทย์และขอน�ำเสนอผลงานของนักศึกษา แพทย์ ธรรมศาสตร์ ซึง่ ในช่วงปีทผี่ า่ นมา ได้สร้างชือ่ เสียงและ ผลงานทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติไว้มากมาย ดังนี้ นายปฐมภพ คุณกิตติ, นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6: ประธานคณะกรรมการนักศึกษาแพทย์ ปีการศึกษา 2557 น�ำเสนอผลงานในรูป Poster presentation เรือ่ ง The Successful Implementation of Online PDCA Processes in Student-Councils ในการประชุม 2015 WGEA/ WGSA/WOSR Regional Conference, scheduled for April 23-26, 2015 in San Diego, California นายอภิวัฒน์ สกุลรุ่งเจริญ, นักศึกษา แพทย์ชั้นปีที่ 3: อุปนายกฝ่ายในคณะ กรรมการนักศึกษาแพทย์ ปีการศึกษา 2558 น� ำ เสนอผลงานในรู ป Poster presentation เรือ่ ง Start from Scratch: The First Step in Becoming a Thammasat Medical Student ในการ ประชุม 2015 WGEA/WGSA/WOSR Regional Conference, scheduled for April 23-26, 2015 in San Diego, California นางสาวธมนวรรณ โสระเวท, นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 3: ประธาน นางสาวธมนวรรณ โสระเวท สมาพันธ์นักศึกษาแพทย์แห่งเอเชีย Asian Medical Students’ Association ปีการศึกษา 2558 น�ำเสนอผลงาน ที่ถูกจัดเป็น top ten lists scientific paper for presentation เรื่อง Primary Care Practice and system Characteristics and Elderly Care in Thailand: A Perspective of Experts in Primary Care Medicine ในการประชุม 36th Asian Medical Students’ Conference จดหมา (AMSC), 5-12 July 2015, Singapore ย วแ

ข่า

์โดม

พทย

12

นายณัฐวุฒิ บุญสอาด, นางสาวมธุรส ทิมสุวรรณ, นายภูริเดช เอ่งฉ้วน นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 2: กรรมการและ เลขานุการ, สมาชิก Asian Medical Students’ Association ปีการศึกษา 2558 น�ำเสนอผลงานในรูป Oral presentation เรื่อง Don’t let Steroid be Free ในการประชุม National meeting Asian Medical Students’ Conference (AMSC), Mahidol University, Thailand ได้รับรางวัล Popular Vote และ the Winner

นายพงศกร ชูชื่น, นักศึกษาแพทย์ ชัน้ ปีที่ 3: อุปนายกฝ่ายนอกคณะกรรมการ นักศึกษาแพทย์ ปีการศึกษา 2558 ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ในการน�ำเสนอ ผลงานในรูป Poster presentation เรื่อง คุณลักษณะของติวเตอร์ในระบบการเรียน แบบ PBL ที่นักศึกษาต้องการ; ในมุมมอง ของนักศึกษา (Desirable Character of the Tutor In Problem-based Learning; in Student Aspect) ในการประชุมวิชาการ แพทยศาสตร์ศึกษา โครงการผลิตแพทย์ร่วม เพือ่ ชาวชนบท ครัง้ ที่ 14 (CPIRD 14) ระหว่าง วันที่ 1-3 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมไดมอนด์ พลาซ่า สุราษฎร์ธานี นายพงศกร ชูชื่น


2. เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2558 ห้องประชุมแพทย์โดม 1

ชั้น 2 อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ รศ.นพ.ปรี ช า วาณิ ช ยเศรษฐกุ ล คณบดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พร้อมด้วย รศ.นพ.จิตตินดั ด์ หะวานนท์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ รศ.นพ.ประกิตพันธุ์ ทมทิตชงค์ รองคณบดี ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ได้ลงนามข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) ระหว่างคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กับโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์ โดยมี ศ.นพ.สิน อนุราษฎร์ ผู้อ�ำนวยการด้านการแพทย์กลุ่มโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์ นพ.น�ำ ตันธุวนิตย์ ผู้อ�ำนวยการด้านบริหารโรงพยาบาล บ�ำรุงราษฎร์ พร้อมด้วยคณะผู้บริหารของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และผูบ้ ริหารโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์ เข้าร่วมการลงนามในครั้งนี้ โดยสาระส� ำ คั ญ ของการลงนามความร่ ว มมื อ ทาง วิ ช าการในครั้ ง นี้ ได้ มุ ่ ง เน้ น ไปที่ ก ารแลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษา ระหว่างสถาบันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อเปิดโอกาส ให้นกั ศึกษาทัง้ สองสถาบันได้มปี ระสบการณ์ในการศึกษา ทัง้ นี้ ทั้งสองสถาบันจะประสานความร่วมมือกันและจะสนับสนุน การด�ำเนินงานตลอดจนด�ำเนินการติดตามผลการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป

3.

นักศึกษาแพทย์ปี 2 ปี 3 และเจ้าหน้าที่งานกิจกานักศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จ�ำนวน 90 คน จัดกิจกรรม “ค่ายอาสานักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ สร้างบ้านดินห้องเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง” ระหว่าง วันที่ 1-10 มิถนุ ายน 2558 ณ โรงเรียนช่องสาริกา อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี โดยนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับชุมชนในการจัดสร้างห้องเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงเป็นอาคาร บ้านดิน นับเป็นการร่วมมือร่วมใจครั้งยิ่งใหญ่

จดหมา ยข่า

วแพ

ม ทย์โด

13


4. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี และสมาคมกายวิภาคศาสตร์ จัดประชุมวิชาการ เรือ่ ง 38th Annual Conference of the Anatomy Association of Thailand เมื่อวันที่ 24-26 มิถุนายน 2558 ณ โรงแรมเอวัน เดอะ รอยัล คลูช พัทยา

5. บรรยากาศการสอบสัมภาษณ์และรับน้องทีส่ อบผ่านระบบ

admission ประจ�ำปี 2558 สาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์ เมือ่ วันที่ 15 มิ.ย. 58 ทีอ่ าคารราชสุดา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จดหมา

วแ

ยข่า

์โดม

พทย

14


ความจริง & สิ่งสมมุติ รศ.นพ.วิวัฒน์ พุทธวรรณไชย อาจารย์ประจ�ำสถานเวชศาสตร์ชุมชน และเวชศาสตร์ครอบครัว ในช่วงชีวิตมนุษย์ มีการเผชิญสิ่งต่างๆ ในทุกๆ วัน สิ่งที่เราเผชิญมีทั้งสิ่งที่เป็นความจริง และสิ่งสมมุติ อาจแบ่งสิ่งที่เราเผชิญ ออกเป็น 3 กลุ่ม

กลุ่มที่ 1 ความจริงเที่ยงแท้

คือ ธรรมชาติ ได้แก่ เกิด แก่ (เจ็บ)* ตาย ชีวิต คือการเดินทาง ความจริงเที่ยงแท้ คือ ตัวท่านต้องเดินทางโดยล�ำพัง ไม่ว่าท่านจะมี ต�ำแหน่ง ลาภยศใหญ่โต มีนามสกุลใหญ่โต ญาติพี่น้องมากมาย เมื่อถึงเวลา ท่านก็ต้องเดินทางโดยล�ำพัง อยากเอาอะไรไป ก็เอาไม่ได้ ใครอยากไปด้วย ก็ไปไม่ได้ สิ่งที่ติดตัวไป มีเพียง บาป บุญ คุณ โทษ ที่จะส่งผลให้เราไปที่ใด

กลุ่มที่ 2 ความจริงชั่วคราว

คือ ครอบครัว ญาติพี่น้องและรวมถึงเพื่อนแท้ (ถ้ามี) กลุ่มนี้เป็นสิ่งที่ท�ำให้เรามีความสุข เพียงแต่ เป็น สุขชั่วคราว ที่เราต้องตระหนักรู้ให้เท่าทัน เพราะถ้าเรายึดติด จะกลายเป็นทุกข์

กลุ่มที่ 3 สิ่งสมมุติ

ได้แก่ เงินทอง ลาภยศ สรรเสริญ สิ่งปรุงแต่งทั้งหลาย ที่สมมุติขึ้นมา ในช่วงที่เรายังมีชีวิต เท่านั้น ขึ้นกับว่า เราหลงอยู่ในวัฏสงสารนี้ หรือไม่ “หลังจากที่เราจากไป จะมีผู้คนที่รู้จัก และจ�ำเราได้ เพียง 3 ช่วงอายุเท่านั้น คือ รุ่นเรา รุ่นลูก และรุ่นหลาน”

เราพร้อมที่จะเผชิญ ความจริงเที่ยงแท้ หรือไม่ เราพร้อมจะละจาก ความจริงชั่วคราว หรือไม่ ในวันที่ต้องจาก และ เราพร้อมจะลดการยึดติด สิ่งสมมุติ หรือไม่ ในเมื่อมันไม่จีรัง

วแพ

จดหมา ยข่า

*บางคน ไม่ผ่านขั้นตอน “การเจ็บ” เลย หมายถึง เกิด แก่ และตาย

ม ทย์โด

15


การประชุมเชิงปฏิบัติการเซลล์วิทยา ครัง้ ที่ ๙ เรือ่ ง Innovation in cytology ในวันที่ 20 - 21 สิงหาคม 2558 ณ ห้องสโมสร ชั้น 4 อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สอบถามรายละเอียด โทร. 02-926-9367

การบรรยายเรื่อง ประชุมวิชาการ เรื่อง Multidisciplinary “เริ่มต้นท�ำวิจัยเขียน Update in Critical Care Medicine โครงร่ างงานวิจยั อย่างไรดี” ในวันที่ 22 - 24 กรกฎาคม 2558 ณ ห้องสโมสร ชั้น 4 อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลงทะเบียนฟรี (รับเฉพาะแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์) สอบถามรายละเอียด โทร. 02-926-9793

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การบําบัดด้วยการรับรู้และพฤติกรรม: กลุ่มโรควิตกกังวลและยํ้าคิดยํ้าทํา” (CBT Workshop: Anxiety disorders and OCD)

วันที่ 17-19 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ สอบถามรายละเอียดและลงทะเบียนที่ โทร. 02-926-9708 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 95 หมู่ 8 ถนนพหลโยธิน ตำ�บลคลองหนึ่ง อำ�เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

วิทยากรโดย : ศ.ดร.นพ.ชยันตร์ธร ปทุมมานนท์ วันพฤหัสบดีที่ 20 สิงหาคม 2558 ณ ห้องแพทย์โดม 4 ชั้น 2 อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฟรีค่าลงทะเบียน !!! ส�ำรองที่นั่งได้ที่ : ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รับจ�ำนวน 30 คน) โทร. 02-926-9834 ชำ�ระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตที่ 4/2537 ปทฝ.ธรรมศาสตร์ รังสิต 12121

12120

เหตุขัดข้องที่นำ�จ่ายผู้รับไม่ได้ 1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน 2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้า 3. ไม่ยอมรับ 4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้า 5. ไม่มารับตามกำ�หนด 6. เลิกกิจการ 7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่ 8. อื่นๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.