บทบรรณาธิ ก าร
วารสารราชมงคลลานนา เปนอีกหนึง่ ชองทางทีน่ าํ เสนอขอมูล ขาวสาร องคความรู งานวิจัย สิ่งประดิษฐ งานบริการวิชาการและ กิจกรรมตางๆ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ซึง่ จะเผย แพรทกุ ๆ 6 เดือน โดย ปจจุบนั เปนฉบับที่ 4 แลว เนือ้ หาของวารสาร ฉบับนีจ้ ะประกอบไปดวย สารสวัสดีปใ หม 2559 จาก รศ.ดร.นํายุทธ สงธนาพิทักษ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา รวมถึงคําแนะนําดี ๆ ถึงนอง ๆ นักเรียนทีจ่ ะปรับเปลีย่ นเขาสูค วามเปน นักศึกษาของ มทร.ลานนา รวมถึงการผนึกกําลังระหวางมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา กับ สวทช. กระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีในการผลิตเมล็ดพันธุถ วั่ เขียวเพือ่ แจกจายใหแกเกษตรกรนําไป ใชปลูกในชวงฤดูแลงนี้ เพือ่ แกไขปญหาการขาดแคลนนํา้ ในการเกษตร แทนการปลูกขาว โดยเปดเปนศูนยผลิตเมล็ดพันธุตระกูลถั่วชุมชน การพัฒนาเครือ่ งชางนํา้ หนักและนาฬกา สือ่ การสอนชวยนองผูพ กิ าร ทางสายตา อีกทั้งยังมีสิ่งประดิษฐ สําหรับใชในวิสาหกิจชุมชน การ ทํามะพราวกวน และทํานํา้ ชาพาสเจอรไรด จากตนออนขาว เปนตน และที่สําคัญยังรวบรวม ภาพกิจกรรมการจัดกิจกรรมวิชาการ วิจัย และนวัตกรรมสรางสรรค ครัง้ ที่ 2 สูว จิ ยั รับใชสงั คม และนวัตกรรม ทองถิน่ นอกจากนี้ ยังมีตวั อยางงานบริการวิชาการเดนๆ เชน การที่ จะเปนศูนยกลางการเรียนรูก ารผลิตขาว และศูนย catacademy เพือ่ รองรับการขยายตัวของเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมถึงการนําองคความรู ทางดานวิศวกรรมไฟฟา ไปชวยเหลือในชุมชน เพือ่ แสดงถึงศักยภาพ ของบัญฑิตนักปฏิบตั ิ เปนตน และทีส่ าํ คัญ ภายในเลมยังไดนาํ เสนอ สุดยอดนักศึกษาที่มีทักษะฝมือแรงงานเทียบเทาระดับโลก ดังจะเห็น ไดจากการไดรับใบประกาศนียบัตร การแขงขัน world skill รวม ถึงรางวัลเอเชียสตารอวอด 2015 ที่นักศึกษา มทร.ลานนา ไดรับ จากการแขงขันการออกแบบบรรจุภณ ั ฑในระดับเอเชีย สุดทายนี้ ขอ ขอบคุณคณะกรรมการประชาสัมพันธทุกๆทานที่ใหความรวมมือชวย เหลือจนวารสารฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี และหวังเปนอยางยิ่ง วาเนื้อหาสาระที่อยูในวารสารฉบับนี้ จะเปนประโยชนสําหรับทุกคน
Editorial RMUTL journal is another channel to present information, knowledge, research, artifacts, work and other activities of RMUTL which published every 6 month. Content include New year 2016 proclamation of Assoc.Prof.Dr.Numyoot Songthanapitak president of RMUTL, advice to student to be collegian of RMUTL, the synergies between RMUTL and NSTDA Ministry of Science and Technology in mung bean seeds production for distribute to farmer during summer for solve problem of inadequacy of agriculture water instead of rice by open The Bean Seed Production Community Center. Voice Enabled Weight and Time Apparatus development, Instructional Medium for Students with Visible Disabilities. Also the artifacts for community for preserved coconut and pasteurized tea from rice sprout and gallery of academic activities, research and the 2nd Conference on “Research and Innovation for the Improvement of Local Community. In addition, the example of cat academy center reserve the expansion of the special economic zone, become a learning center for rice production and improve the knowledge of electrical engineering to demonstrate the potential for community. Also represent a student who obtained a diploma from ‘WorldSkills Competition 2015’ including reward of ASIAStar Award 2015 from ‘Designed Product Package’. Editorial team would like to thank Public Relations Committees for their contribution and cooperation in producing the RMUTL Journal. We sincerely hope that it will be useful for everyone.
Akksatcha Duangsupasin Editor
สารบั Journal 4 covers.pdf 1 28/1/2559 16:02:08
สารสวัสดีปีใหม่อธิการบดี 7 8 จากนักเรียนสู่นักศึกษา อธิการบดีแนะแนวทางการ ศึกษาในมหาวิทยาลัยปรับตัวเพื่อพร้อมรับองค์ความรู้ การจัดการเรียนการสอน เครื่องเจาะรูหมวกคาวบอยด้วยวิธีกดตัด งานอนุรักษ์ปลาเลียหิน ปลามัน มากกว่ารางวัล.... คือประสบการณ์ การผลิตนวัตกรรมเพื่อชุมชน วิจัยและสิ่งประดิษฐ์ วันเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว เครื่องชั่งนํ้าหนักและนา ิกา เครื่องกวนมะพร้าว เตาเผาถ่านชีวภาพ นํ้าชาพาสเจอร์ไรส์จากต้นอ่อน การประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรม สร้างสรรค์ ครั้งที่ C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
5
P
7 11
P
วารสาร รา RMUTL JOURNAL
Issue 4
ประจําเดือน กรก าคม ธันวาคม
July - December 2014
เรื่องจากปก
60
P
P
16
P 8
7 บริการวิชาการ 8 ข้าวแตนไรซ์เบอร์รี่ ติดตั้งระบบไ ้าพลังงานแสงอาทิตย์ จัดเวทีถ่ายทอดองค์ความรู้ 34 CAT ACADEMY ศูนย์กลางการเรียนรู้.....สู่ข่ายการผลิตข้าว 8 ศิลปวัฒนธรรม 8 ประเพณีตานกวยสลาก ประเพณีเดือนยี่เป็ง เจียงใหม่ ร่วมสืบสานตํานานพระวิษณุกรรม จากความพยายาม... นําสู่.......ความสําเร็จ 7 ตัวแทนประเทศไทยแสดง ีมือแรงงาน สู่เวทีโลก 8 ดูบอลงานวัด โปรแกรมขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 7 ข่าวรอบรั้ว 60-62 Asia Star 2015
า า
28
23
P
P
40
P
25
P
60
P
48
P
ค ผู ้ จ ั ด ทา
คณะผูจัดทํา
ที่ปรึกษา / Advisor
รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ Assoc.Prof.Dr. Numyoot Songthanapitak ผศ.อวยพร บัวใบ Asst.Prof. Auiporn Buabai ผศ.สนิท พิพิธสมบัติ Asst.Prof. Sanit Pipithasombut ดร.ภาสวรรธน วัชรดํารงศักดิ์ Dr.Passawat Wacharadumrongsak ผศ.อุดม สุธาคํา Asst.Prof. Udom Suthakam ผศ.มนูญ เมฆอรุณกมล Asst.Prof. Manoon Mekaroonkamol รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ Assoc.Prof.Dr.Komsan Annuaysit ดร.ทินกร ทาตระกูล Dr.Tinnakorn Tathrakul ผศ.ประพัฒน เชื้อไทย Asst.Prof. Prapat Chaethai ดร.ศิรประภา ชัยเนตร Dr.Siraprapa Chainetr รศ.ดร.พรหทัย ตัณฑจิตานนท Assoc.Prof.Dr. Pornhathai Tanjitanont
บรรณาธิการ /Editor
นายอัคคสัจจา ดวงสุภาสิญจ
Mr.Akksatcha Duangsuphasin
ผูชวยบรรณธิการ/assistant Editor นางสาวอภิญญา พูลทรัพย
Creative Director
นางสาวอาพัชรี ศิรินาโพธิ์
Ms.Apinya Poolsab Ms.Arpacharee Sirinapho
พิสูจนอักษร/Proof Writer Mr.Peter John Oswald นายชวรินทร คํามาเขียว
Mr.Chawarin Khammakheaw
ถายภาพปก/Photographer นายธนพล มูลประการ
Mr.Tanapon Mulprakan
กองบรรณาธิการ / Editorial consultants and staff ดร.ณงคนุช นทีพายัพทิศ นางสาวปาริฉัตร เดือนเพ็ญ นายภาคภูมิ ภัควิภาส นางสาวปริศนา กุลนลา ดร.วรวลัญธ รุงเรืองศรี นางสาวบุผา ระวิโรจน นางสาวณิชกุล คํารินทร นายธรรมนูญ บุพเต นายพนม แกวผาดี นางสาวสุภาวดี วรุณกูล นางสาววรัทยา มาภักดี นางสาวรุงกานต ลีลาโสภาวุฒ Ms.Kalil Zender Mr.Curtis Fry นางจิตตมนัส สมโน นางวรวรรณ สลีสองสม นางณัฐริกา ทองปชโชติ นายเมธาฤทธิ์ จันทรทอง นางสิริรัตน ตนผล นางสาวชมนพร นามวงค นายพิศิษฎ พรหมอารีย นายคงศักดิ์ ตุยสืบ นางสาวธีรวรา ขะบูรณ นายสุรพงศ ขุนคง นางปภาดา พลอยอิ่ม นางสาวพัชราภรณ คําสรอย นางสาวจารุวรรณ สุยะ นางสาวเกศกนก เนตรวงศ นางสาวสุภาภรณ ใจหนุน นางสาวสิริญญา ณ นคร นางสาวเยาวัลย จันทรตะมูล นายวิทยา กวีวิทยาภรณ นางสาวแววดาว ญาณะ นางสาวธริษตรี ธนรัตนพิมลกุล นางสาวกิ่งกานต สาริวาท นางประไพ อินทรศรี
Dr.Nongnoot Nathipayapthis Ms.Parichat Duenpen Mr.Pakphum Pakvipas Ms. Pristsana Koonnala Dr.Warawaran Roongruangsri Ms.Bupha Ravirot Ms.Nitchakun Khamrin Mr.Thammanoon buphate Mr.Panom Kaewphadee Ms.Supavadee Waroonkun Ms.Warattaya Mapakdee Ms. rungkan leelasopawut Mrs. Jitmanus sommano Mrs. worawan salisongsom Mrs. Natarica Thongpatchote Mr. Metarit Juntong Mrs. Sirirattana Thonpon Ms.Chamoonporn Namwong Mr.Pisit Promaree Mr.Khongsak Tuisuep Ms.Theewara Kabune Mr.Surapong KhunKhong Mrs.Papada Ployim Ms.Patcharaporn Komsoy Ms. Jaruwan Suya Ms. Ketkanok Netwong Ms. Supaporn Jainoon Ms. Sirinya Na Nakorn Ms. Yaowan Jantamoon Mr. Witthaya Kaweewitthayaporn Ms. Waewdao Yana Ms.Taristree Tanarattanapimolkul Ms.Kingkarn Sarivat Mrs. Prapai Intrarasri
นักศึกษาฝกประสบการณ/ Trainee นางสาวสุทธินันท อินลังกา นางสาวรัฐกานต แดงติ๊บ 4 วารสาร ราชมงคลล้านนา
Ms.Suttinan Inlangka Ms.Rattakarn Dangtip
ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ั ง
สารจากอธิการบดี มทร.ลา้ นนา
เนื่อง นวาร ดิ ี
ข้นปี ม่
2559
วารสาร ราชมงคลล้านนา 5
ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ั ง
Message From
President On the Occasion of New Year
2016
สวัสดีปใหมครับ
ผูบริหาร คณาจารย นักศึกษาและ บุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา และผูอาน วารสารราชมงคลลานนาทุกทาน กวาหนึ่งทศวรรษที่ มทร.ลานนา ของเราไดเจริญเติบโตโดยมีการพัฒนามาอยางตอเนือ่ งและในป พ.ศ. 2559 ก็จะเปนอีกหนึ่งปแหงความกาวหนา ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและพัฒนาบุคลากรของ มทร.ลานนาของเรา ที่ผานมานั้น มทร.ลานนา ไดดําเนินการพัฒนาอยางตอเนื่องเปนขั้นตอน ไมวา จะเปนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การปรับปรุงภูมิทัศน เชน การ ปรับปรุงดานอาคารและสถานที่เรียนใหมีสภาพแวดลอมที่ดี การ ลงทุนในเครื่องมืออุปกรณที่ใชในการเรียนการสอน การพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศใหมีความทันสมัย เพื่อใหเหมาะสมสําหรับเปน แหลงสําหรับการเรียนรู รวมถึงพัฒนาบุคลากรทางสายวิชาการใหมี สัดสวนคุณวุฒิและตําแหนงทางวิชาการ อีกทั้งยังสนับสนุนใหมีผล งานวิจัยระดับมาตรฐานสากลและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนใหมี ศักยภาพในการใหบริการและการเปนผูประสานงานที่ไดมาตรฐาน สูงขึ้น โดยมีเปาหมายใหมหาวิทยาลัยฯ กาวเขาไปสูความเปนเลิศทั้ง ทางดานวิชาการ ดานวิจยั และดานบริการวิชาการ โดย มทร.ลานนา ของเรา นอกจากมีหนาที่หลักในการสรางบัณฑิตที่ดีมีทักษะในการ ทํางานกลับคืนไปสูสังคมแลว ยังตระหนักถึงอีกหนาที่หนึ่งที่สําคัญ ยิ่งคือ การเปนมหาวิทยาลัยนวัตกรรมเปนที่พึ่งของชุมชนโดยไดรวม เปนสวนหนึ่งในการแกไขปญหาของสังคมชุมชน และประเทศชาติ ในการที่ มทร.ลานนาจะบรรลุถงึ ความสําเร็จตามหนาทีแ่ ละเปาหมาย ดังทีต่ งั้ ไวไดนนั้ ตองอาศัยความรวมแรงรวมใจของบุคลากรทุกคน โดยที่ ผานมา ทุกๆ ทานก็ไดชว ยกันทําใหการพัฒนา มทร.ลานนาของเรา ใหมีความกาวหนามาตามลําดับ ในวาระดิถีขึ้นปใหม 2559 นี้ ขออํานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใน สากลโลก โปรดอํานวยอวยพรใหผูบริหาร คณาจารย นักศึกษา และ บุคลากรทุกๆ ทาน ประสบแตความสุขความเจริญ มีสขุ ภาพพลานามัย ที่แข็งแรง สมบูรณ มีสติ มีปญญาที่ดีในการศึกษาเลาเรียน มีความ สุขในการทํางานและในชีวิตครอบครัว เพื่อใหทุกทานมีพลังรวมกัน สรางสรรคมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ‘บานหลังที่สอง ของเรา’ ใหเจริญกาวหนารุง เรืองยิง่ ขึน้ มีชอื่ เสียงเปนทีร่ จู กั ไดรบั การ ยอมรับ และพรอมที่จะรับใชสังคมทั้งระดับชุมชนและสากลสืบไป 6 วารสาร ราชมงคลล้านนา
Assoc. Prof. Dr. Numyoot Songthanapitak President of Rajamangala University of Technology Lanna
Happy New Year to all administrators, faculty, students and staff of Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL). Over a decade, RMUTL has grown significantly with its continuous development and this should lead 2016 to be another year of progress in improving the quality of education and human resources. Throughout the years, RMUTL has deliberately developed infrastructure and landscape developments such as improvements to buildings and classrooms, investments in teaching and learning tools and materials, modern and improved information technology systems to develop appropriate learning resources, and the development of academic personnel’s qualifi cations and academic positions. RMUTL has also encouraged international standards for research and development, as well as supporting staff to have the potential to serve as higher standard coordinators. RMUTL’s goal is to achieve academic, research and service excellence. In addition to our primary duty to generate graduates with professional skills in the labor market, RMUTL has recognized another important role as an innovative university relied upon by the community through engaging in and solving problems both local and national levels. The achievement of our goals requires the collaborative efforts of all personnel who have contributed to our advancement and progress. On the occasion of the New Year 2016, may all things sacred bless administrators, faculty, students, and staff with health, happiness, intelligence, and prosperity in work and family life throughout the year in order to have energy to creatively develop RMUTL as, our second home, into a prosperous, acceptable, and well-known education institution which is ready to continually serve the community at local and global levels.
การจั ด การเรี ย น การสอน
จากนักเรียนสูนักศึกษา อธิการบดีแน แนวทางการ ก า นม าวิทยาลัยปรับตัว เพื่อพร้อมรับองค์ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ลานนา จัด พิธี ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม ประจําปการศึกษา 2558 เมือ่ วันที่ 7 สิงหาคม 2558 ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยไดรับเกียรติจาก รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทกั ษ อธิการบดี มทร.ลานนา ใหเกียรติ เปน ประธาน กลาวตอนรับและใหโอวาทแกนกั ศึกษาใหม พรอมดวยคณะ ผูบริหาร รวมเปนเกียรติดวย ซึ่งมีการใหขอแนะนําจากหนวยงาน ตางๆของมหาวิทยาลัยทีจ่ ะสนับสนุนนักศึกษาตลอดระยะเวลาทีศ่ กึ ษา เลาเรียนในมหาวิทยาลัย และการบรรยายพิเศษ เรื่อง “นักศึกษาใน ยุคศตวรรษที่ 21 จะปฏิบตั ติ นอยางไรใหเรียนรอด” โดยพระอาจารย ดร.ฐานี ฐิตวิรโิ ย รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทกั ษ อธิการบดี มทร.ลานนา กลาวใหโอวาทแกนักศึกษาใหม ความวา “ในนามมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ขอตอนรับนักศึกษาใหมปก ารศึกษา 2558 ทุกคน เขาสูร วั้ มหาวิทยาลัยแหงนี้ ทีเ่ ปรียบเสมือนบานหลังทีส่ อง ดวย ความยินดียิ่ง และในวันนี้ถือเปนวันสําคัญ วันที่นักศึกษาใหมทุกคน ไดกาวผานจากการเปน “นักเรียน” มาเปน “นักศึกษา” ถือเปนอีก กาวหนึง่ กอนทีจ่ ะออกไปสูส งั คม แนนอนวานักศึกษาทุกคนตองพบกับ การเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญครั้งหนึ่งในชีวิต เพราะการศึกษาในระดับ อุดมศึกษานัน้ ตางกับระบบการศึกษา ทีผ่ า นมา เพราะระดับอุดมศึกษา นั้นไดใหความเปนอิสระมากขึ้นในการเลือกวิชาเรียน เพื่อที่จะไดรับ
องคความรูใ หมๆ รวมถึงการเปดโลกทัศนในยุคสารสนเทศ ซึง่ การรับ ขาวสารสมัยนี้เปนเรื่องงาย แตการรูจักคิดวิเคราะห สังเคราะหเปน เรื่องสําคัญ ดังนั้นนักศึกษาควรใชชวงเวลาของการเปนนักศึกษาใน รั้วมหาวิทยาลัยแหงนี้ อยางคุมคา ใหเปนชวง เวลาของการพัฒนา ความคิด ตลอดจนการเพิม่ ทักษะทางวิชาการ วิชาชีพ ทีไ่ ดรบั จากการ ถายทอดของคณาจารยที่มีความมุงมั่นตั้งใจ ที่จะประสิทธิประสาท วิชาองคความรูต า ง ๆ ใหอยางเต็มทีซ่ งึ่ มหาวิทยาลัยของเรานัน้ มีความ พรอมและมีมาตรฐาน ในการจัดการเรียนการสอนเปนที่ยอมรับมา โดยตลอด มุง ผลิตบัณฑิตใหพรอมออกไปสูส งั คม ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง ของเศรษฐกิจ สังคม ในการเขาสูก ารเปนประชาคมอาเซียนหรือ AEC รวมถึงมีความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ซึ่งทาง มหาวิทยาลัยฯ มีความมุง หวังสรางนักศึกษา ใหมคี ณ ุ สมบัตทิ พี่ งึ ประสงค พรอมปฏิบตั งิ านไดจริงมีความเปนมืออาชีพทางดานการทํางาน ทายนี้ อยากใหนักศึกษาทําตัวเปนดัง “ตนปญญา” ซึมซับ วิชาความรู จาก อาจารยผสู อน ประสิทธิ์ ประสาทวิชา และแตกกิง่ กานสาขาใหรม เงา ประหนึง่ ดังตนไมอนั จะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาสังคม ประเทศชาติ ตอไป” อธิการบดีกลาวในตอนทาย
วารสาร ราชมงคลล้านนา 7
การจั ด การเรี ย น การสอน
From School to University Guidance from the president for students’ readiness to acquire knowledge in the university.
Rajamangala University of Technology Lanna has held an Orientation Ceremony 2015 for new students on August 7, 2015, at the Chiangmai University Auditorium and with Assoc.Prof. Dr. Namyoot Songtanapitak, The president as a chairman of the ceremony. He has given a welcome speech to all university freshmen and the board of directors and teachers who have attended. The students also listened to recommendations given from the various departments of the university in order to support students throughout the duration of their studies. The special lecture on “Students in the 21st century: how to manage and succeed in studies” was given by Phra Achan Dr. Thani Thitawiriyo. Assoc. Prof. Dr. Namyoot Songtanapitak, the president said to the university freshmen “on behalf of Rajamangala University of Technology Lanna. We would like to welcome new students into the university academic year 2015. This university now has become our second home and now you have become university students which is another important step before you go out into the society. Of course, all students must meet the major changes in life. The higher education system is different than the school because you are more independent in choosing the courses that match yourselves and that make you gain new knowledge. In addition, you are in the information age where news and information are very easy to access but it is very important that you know how to analyze and synthesize them. Therefore, you should spend the time as a student of the university well worthily in order to develop your abilities and skills imparted by your teachers who are dedicated and accountable for teaching you and endow you with knowledge of various subjects. With our education standard, we have been recognized and accepted up till now. Our aim to produce Hands-on for the society, we focus on the economy and social changes ( ASEAN Economic Community, or AEC), including the advances in science and technology. Our university aim to equip students with hand-on ability to work professionally when they go into the workplace. Lastly, I want you to act as the “Tree of Wisdom” who absorb knowledge from teachers and sprout its branches to provide shade as if you are the major energy in the development of society and the nation” the president said at the end. 8 วารสาร ราชมงคลล้านนา
การจั ด การเรี ย น การสอน
เครื่องเจาะรูหมวกคาวบอยดวยวิธีกดตัด ( Design and Construction Drilling Cowboy Hat Machine by Cutting)
เครื่องเจาะรูหมวกคาวบอยดวยวิธีกดตัดเปนสิ่งประดิษฐของ นายธนารัตน หวานสุดใจ นายนวคุณ คําเครือ และนายรัชชานนท สุข ศรีวรรณ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง เพื่อแกไขปญหาดาน การผลิตหมวกคาวบอยจากยางพาราของกลุมผลิตหมวกคาวบอยบาน แลง ตําบลบุญนาคพัฒนา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง โดยมีอาจารย พงศกร สุรินทร และอาจารยมนินทรา ใจคําปน เปนอาจารยที่ปรึกษา สิ่งประดิษฐดังกลาวดําเนินการภายใตโครงการยกระดับปริญญานิพนธ เปนงานตีพิมพ สรางสรรค ชื่อผลงาน “ การออกแบบและสรางเครื่อง เจาะรูหมวกคาวบอยดวยวิธีกดตัด” ปงบประมาณ 2558 Hands-on Researcher (Small-2) หรือ HR2 ซึ่งเปนหนึ่งในกระบวนการผลิตนัก ปฏิบัติของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง โดยการนํา องคความรูของนักศึกษามาสรางนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐเพื่อแกไข ปญหาและพัฒนาชุมชนทองถิ่น จากการดําเนินงาน คณะดําเนินงานไดศึกษาปญหาและตรวจ สอบขั้นตอนการผลิตหมวกคาวบอย พบวา ขั้นตอนการเจาะรูหมวก คาวบอยมีการกําหนดจุดและรางแบบทุกชิ้น โดยใชเครื่องตอกตาไกใน การเจาะรูทีละรู ใชเวลา 15-20 นาทีตอชิ้นงาน มีผูชํานาญเพียง 2 คน ทานั้น สงผลใหการผลิตหมวกคาวบอยลาชา ไมสามารถสงสินคาตาม กําหนดระยะเวลาได คณะผูจัดทําจึงไดออกแบบและสรางเครื่องเจาะรู หมวกคาวบอยขึน้ เพือ่ ลดระยะเวลาการทํางานและแกไขปญหาในขัน้ ตอน ดังกลาว เครื่องเจาะรูหมวกคาวบอยดวยวิธีกดตัดออกแบบตามตนแบบ สินคาของชุมชน มีสวนประกอบหลัก 4 สวน คือ ตัวเครื่อง แบบแมพิมพ
ดวยวิธกี ดตัดสวนปกหมวก สวนตัวหมวกและสวนฝาปดดานบน มีวธิ กี าร ทํางานที่งาย สะดวก รวดเร็ว โดยการนําแบบยางพาราที่ตัด เรียบรอยแลวมาใสในแบบพิมพดว ยวิธกี ดตัด จากนัน้ กดแมพมิ พลงจนสุด จึงกดคันโยก 1 ครัง้ เพือ่ เจาะรูดว ยวิธกี ารกดตัดแทนการตอกตาไก หมุน เครื่องขึ้นเพื่อตรวจสอบความเรียบรอยของการเจาะรู วิธีการนี้สามารถ ลดระยะเวลาการทํางานจากเดิมไดถึง 10 นาทีตอชิ้น ทําใหกลุมสามารถ ผลิตหมวกคาวบอยไดอยางรวดเร็วตามความตองการของลูกคาได มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง ไดสงมอบเครื่องเจาะ รูหมวกคาวบอยดวยวิธีกดตัดแกกลุมผลิตหมวกคาวบอยบานแลง หมูที่ 2 ตําบลบุญนาคพัฒนา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2558 เพื่อใหชุมชนไดใชประโยชนรวมกันในการสรางงาน สรางราย ได และยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของสมาชิกกลุม โดยมีนายทิศ พรม ปงเครือ นายกองคการบริหารสวนตําบลบุญนาคพัฒนาและนางอัญชลี อินนวล ประธานกลุมผลิตหมวกคาวบอยบานแลงเปนผูรับมอบ นับ เปนสิ่งประดิษฐผลงานของนักศึกษาที่สามารถแกไขปญหาของชุมชนได อยางแทจริง วารสาร ราชมงคลล้านนา 9
การจั ด การเรี ย น การสอน
Cowboy Hat Punching Machine People in Thailand, a tropical country, always hat to protect them from heat and sunlight. Some hats like thatched ones ventilate the air while some like cowboy hats which are made from synthetic leather or material don’t let the air flow. Holes on these kinds of hats are necessary; the machine for making holes is needed. A cowboy hat punching machine is an innovation invented by a group of three students of Industrial Technology, Engineering Faculty of Rajamangala University of Technology Lanna Lampang, namely Mr. Tanarat Wansudjai, Mr. Nawakun Kumkrua and Mr. Rachanon Suksiwan, under supervision of Mr. Pongsakorn Surin and Ms. Manintra Jaikumpan, their lecturers. The project employed Hands-on Researcher budget which emphasized on forwarding students’ knowledge management for better life of community, Ban Laeng Village, Tambon Boonnakpattana, Amphur Muang, Lampang Province. The project started by studying the problems and checking the product process of cowboy hat making. It was found that there were only two employees who are skillful in punching holes on the hats by hand, using a puncher consuming 15-20 minutes per hat which caused a delay in delivering. The newly-invented machine has four important parts: the body machine, the mold, the body Hat, and the cover. It took only ten minutes to produce one hat that serves the customers’ needs.
10 วารสาร ราชมงคลล้านนา
การจั ด การเรี ย น การสอน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ร่วมกับชุมชน
ในงานอนุรักษปลาเลียหิน ปลามัน ในแหลงนําธรรมชาติ ปลาเลียหิน arra a d iensis เปนปลาที่มีขนาดเล็ก มีการแพรกระจายในทวีปเอเชีย ทัง้ เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออก เฉียงใต อาศัยอยูใ นลําธารหรือแมนาํ้ ทีก่ ระแสนํา้ ไหลเชีย่ ว พืน้ ทองนํา้ เปน หินที่ขนาดตาง ๆ กัน คนในจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทยเรียก ปลาชนิดนีว้ า “ปลามัน” เนือ่ งจากเปนปลาทีม่ คี วามมันและรสชาติอรอย นอกจากนี้แลวปลาเลียหินเปนปลาที่มีขนาดเล็กจึงสามารถรับประทาน ไดทั้งตัว ดังนั้นปลาเลียหินจึงเปนปลาพื้นเมืองอีกชนิดหนึ่งที่เปนที่นิยม บริโภคของคนในจังหวัดทางภาคเหนือ ซึง่ ในจังหวัดนานมีราคาขายสูงถึง กิโลกรัมละ 400-500 บาท จึงเปนสาเหตุที่ทําใหมีการจับปลาชนิดนี้กัน มากขึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในฤดูผสมพันธุว างไขนนั้ ชาวบานจะรอจับปลา ชนิดนี้อยางใจจดใจจอ เพราะปลาจะมีความอรอยเปนพิเศษจากไขที่อยู ในทองของปลานั่นเอง นอกจากนี้ยังพบวาสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ ทีป่ ลาเลียหินอาศัยอยูม กี ารเปลีย่ นแปลงมากขึน้ เชน การบุกรุกปาตนนํา้ การขุดลอกแมนาํ้ การใชยาและสารเคมีในการทําการเกษตร เปนตน และ ยังพบวาแหลงเพาะขยายพันธุตามธรรมชาติของปลาเลียหินถูกรบกวน มากขึ้น จึงเปนเหตุทําใหปลาเลียหินตามธรรมชาติมีจํานวนลดนอยลง เรื ่ อ ย ๆ ทํ าให ค นในชุ มชนตาง ๆ จับ ปลาชนิด นี้ไ ดน อยลง ซึ ่ ง ส ง ผล กระทบต อ ปลาเลี ย หิ น ในแหล ง นํ้ า ธรรมชาติ และแหล ง อาหารตาม ธรรมชาติของคนในชุมชน
ตลอดระยะเวลา 6 ป ท ี ่ ผ า นมา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลลานนา นาน ไดมสี ว นรวมกับชุมชนตาง ๆ ในจังหวัดนาน ในการ เพาะขยายพันธุป ลาเลียหินมาตลอด ซึง่ ในป พ.ศ. 2558 นี้ มหาวิทยาลัย ฯ ไดรว มมือกับชุมชนใน 3 พืน้ ที่ ทําการเพาะขยายพันธุป ลาเลียหินเพือ่ การ อนุรกั ษในแหลงนํา้ สําคัญของแตละพืน้ ที่ นําโดยอาจารยประจําสาขาวิชา ประมง ไดแก อาจารยอมรชัย ลอทองคํา อาจารยเชาวลีย ใจสุข และ นักศึกษาสาขาวิชาประมง ระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 2 โดยพื้นที่แรก ที่ไดรวมดําเนินการ คือ ตําบลบอเกลือใต อําเภอบอเกลือ จังหวัดนาน ประกอบไปดวย 2 หมูบาน ไดแก บานบอหลวงและบานผาคับ โดยการ ทํางานครัง้ นีไ้ ดรบั ความรวมมือจากกรมทรัพยากรนํา้ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี ในการดําเนินงานเพาะพันธุปลาเลียหินจํานวนประมาณ 250,000 ตัว แลวทําการปลอยในแมนํ้ามาง ในเขตบานผาคับ ในวันที่ 24 มิถุนายน 2558 จํานวนประมาณ 50,000 ตัว และปลอยลงในแมนํ้ามาง บาน บอหลวง จํานวนประมาณ 200,000 ตัว ซึ่งมีนายจตุพร บุรุษพัฒน อธิบดี กรมทรัพยากรนํ้า เปนประธานในพิธีปลอยปลาเลียหินดังกลาว เหตุที่มี การปลอยปลาเลียหินในบริเวณดังกลาว เนือ่ งจากมีการขุดลอกแมนาํ้ มาง ซึ่งการขุดลอกแมนํ้ามีผลตอแหลงที่อยูอาศัยและแหลงอาหารของปลา เลียหิน จึงทําใหปลาเลียหินลดนอยลง ดังนั้นในปริมาณปลาเลียหินใน
วารสาร ราชมงคลล้านนา 11
บริเวณดังกลาวกลับมาเหมือนเดิม พื้นที่ที่ 2 ไดแก ตําบลดงพญา อําเภอ บอเกลือ จังหวัดนาน ประกอบไปดวย 2 หมูบาน ไดแก บานสปนและ บานสวา ซึ่ง อบต. ดงพญา ไดดําเนินการมาเปนปที่ 2 โดยมีจุดประสงค เพือ่ เพิม่ ปริมาณปลาเลียหินในแมนํ้าวาใหเพียงพอตอความตองการ ทางดานอาหารของชุมชนตาง ๆ ในเขตตําบลดงพญา ตลอดจนเปนการ อนุรกั ษปลาเลียหินใหคงมีอยู โดยการเพาะขยายพันธุป ลาเลียหินในครัง้ นี้ ไดลกู ปลาเลียหินจํานวนทั้งสิ้นประมาณ 437,000 ตัว แลวทําการปลอย ลงในแมนํ้าวาในเขตบานสปน และบานสวา ซึ่งมีนายประเดิม เดชา ยนตบัญชา นายอําเภอบอเกลือ มาเปนประธานในพิธีปลอยปลาเลียหิน ในครั้งนี้ และ อบต. ดงพญาไดตั้งเปาที่จะปลอยปลาเลียหินในแมนํ้าวา ไมนอยกวา 1,000,000 ตัวภายใน 2 ปขางหนา นอกจากนี้ อาจารยอมร ชัย ลอทองคํา ไดบรรยายความรูในการเพาะขยายพันธุปลาเลียหินใหกับ นักเรียนโรงเรียนบานสวา เพือ่ ใหนกั เรียนไดมสี ว นชวยเสริมสรางและรวม ดูแลรักษาปลาเลียหินใหกับชุมชนอีกดวย และพื้นที่ที่ 3 คือ บาน พญาแกว ตําบลพญาแกว อําเภอเชียงกลาง จังหวัดนาน ซึ่งชุมชนนี้ได ดําเนินการตอเนื่องมาเปนปที่ 3 โดยในปนี้ไดดําเนินการเพาะขยายพันธุ ปลาเลียหินไดจํานวนทั้งสิ้นประมาณ 350,000 ตัว และไดนําไปปลอยใน แมนาํ้ กอน เขตบานพญาแกว ในโครงการ “บวชปา ปลอยปลา สืบชะตา แมนํ้า” ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2558 โดยมี พระสุนทรมุนี รองเจาคณะ จังหวัดนาน เปนประธานฝายสงค และมีนายรังสรรค ขวัญเมืองเดิม นาย อําเภอเชียงกลาง เปนประธานฝายฆราวาส นอกจากนี้ยังมีคณะผูบริหาร อบต. เชียงกลางพญาแกว นักเรียนโรงเรียนไตรราษฎรสามัคคี เขารวม งานดวย ซึ่งในงานนี้อาจารยอมรชัย ลอทองคํา ไดอภิปรายในประเด็น คุณภาพนํา้ ของแมนาํ้ กอนดวย เพราะในการเพาะพันธุป ลาเลียหินในครัง้ นี้ประสบปญหากับไขปลาแตกและไขปลาเสียทั้งหมด อาจเนื่องมาจากมี การปนเปอนของโลหะหนักที่ปะปนมากับนํ้า ซึ่งการอภิปรายในครั้งนี้ได กอใหเกิดกระแสความรวมมือกันของชุมชนในตําบลพญาแกวในการแกไข ปญหาดังกลาวขึน้ ดังนั้นคนในชุมชนควรหันมาใหความสําคัญในการรวมกันดูแล สภาพแวดลอมที่มีผลตอปลา รักษาและอนุรักษพันธุปลาเลียหินในแหลง นํ้าธรรมชาติกันมากขึ้น ซึ่งจะเปนผลดีตอชุมชนทั้งทางดานแหลงอาหาร สภาพแวดลอมของชุมชนเอง สวนหนึ่งที่หนวยงานราชการไดชวยเสริม สรางและรวมดูแลรักษาปลาเลียหินใหกับชุมชน หากหนวยงานหรือองคกรหรือชุมชนใดสนใจการเพาะขยาย พันธุปลาเลียหิน สามารถติดตอผานฝายประชาสัมพันธ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน โทร. 054-710259 หรือติดตอโดยตรง ที่ อาจารยอมรชัย ลอทองคํา โทร. 082-893-2210 12 วารสาร ราชมงคลล้านนา
in Natural-Sourced Stone-Lapping Fish (Pla Man) Conservation Fair
Stone-lapping fish (Garra cambodgiensis) is a small fish found in both South and South East Asia. They live in rapids with underwater diverse sized stones. People in northern-thai provinces call them “Pla Man” after their delicious and oily taste. Besides, they are small fish that their whole bodies are easy to be eaten. Therefore, they are local fish favored for people in the northern thai. In Nan, they are sold for up to 400-500 baht/kg and that increases fishing of the fish especially in pairing and spawning season. In their spawning season, the taste of them are much delicious due to their spawn. Moreover, the natural environment of where the fish live has been disturbing and changing much with problems of watershed forest encroachment, river dredging, and chemical used in agriculture. These problems cost decreasing of the stone-lapping fish in the nature and the natural food sources of the local people. Through all 6 years, Rajamangala University of Technology Lanna Nan has been in cooperating with communities in Nan in breeding stone-lapping fish. In 2015, the university led by Acharn Amornchai Lauthongkham, Acharn Chaowalee Chaisook; instructors of Fisheries Department, and 2nd year students in partnership with communities in 3 areas have been breeding stone-lapping fish to conserve them in main water sources of each area. The first area which collaborated this project was Boh Kluea Tai, Boh Kluea district in Nan consisted of 2 villages which were Ban Boh Luang and Ban Pha Khab. The project has been helped in breeding 250,000 stone-lapping fish by Department of Water Resources, Ministry of Natural Resources, and King Mongkut s University of Technology Thonburi and released 50,000 of them into Mang River in Ban Pha Khab area on the 24th June, 2015
S ne a in s
การจั ด การเรี ย น การสอน
S ne a in s
การจั ด การเรี ย น การสอน
then another 200,000 into Mang River in Ban Boh Luang area with Mr.Chatuporn Buruspat; rector of Department of Water Resources, as the president of the ceremony. The reason of releasing the fish in those areas was because there was dredging of Mang River which affected habitats and food sources of the fish caused the decreasing of them. Therefore, this releasing was to increase the fish in those areas to previous quantities. The second area was Dong Phaya of Boh Kluea district in Nan consisted of two villages which were Ban Span and Ban Swah. The SAO of Dong Phaya has been carrying this project for two years aimed to increase stone-lapping fish in Wah River to meet the needs for food in communities in Dong Phaya area and to conserve them. There were 437,000 baby stone-lapping fish given in this breeding project to release into Wah River in Ban Span and Ban Swah area with Praderm Dechayonbancha; marshal of Boh Kluea as the president of the releasing ceremony. The SAO of Dong Phaya planned to release at least 1,000,000 stone-lapping fish in next two years. Moreover, Acharn Amornchai Lauthongkham; an instructor of Department of Fisheries, lectured to students of Ban Swah School on breeding stone-lapping fish to reinforce and have them look after the fish in communities. The third area was Ban Phaya Kaew, Phaya Kaew subdistrict, Chiang Klang district in Nan. This community has been in charge of this project for three years that they totally bred 350,000 stone-lapping fish and released them into Gon River of Phaya Kaew area in the project named “Buach-Pha Ploy-Pla Suebchata Maenam”; (protect forest, release fish, prolong
river’s life), on 27 July, 2015 with Phra Sundhorn Muni; the associate dean of Nan, as the president of the ceremony on behalf of priest, Mr.Rangsan Kwanmuangderm; the marshal of Chiang Klang district, as the president of the ceremony on behalf of secular, together with executive council from SAO of Chiang Klang, Phaya Kaew, and students from Trairach Samakkhee School. In this event, Acharn Amornchai Lauthongkham; the instructor, debated on the issues of water quality in Gon River as well, because there were problems of shattering and whole spoil spawns of fish found which could be the causes from the contamination of heavy metals in the water. This debate has raised the awareness of cooperation in solving the problems. Therefore, people in communities should pay more attention and look after for environment that could affect the fish in natural sources to conserve them. This results in good ways of both food supply and environment of the communities. This is one of the parts that government agencies join together in supporting and caring the fish for communities. For more information on how to breed stone-lapping fish, please contact Public Relation Department of Rajamangala University of Technology Lanna Nan at 054-710259 or call Acharn Amornchai Lauthongkham on 082-8932210. th
วารสาร ราชมงคลล้านนา 13
การจั ด การเรี ย นการสอน
มากกว า รางวั ล ....คื อ ปร สบการ ่ ์ es e to มทร.ล้ า นนา พิ ษ ณุ โ ลก รั บ เหรี ย ญทอง จาก การแข่งขัน “ชุดอาหารจานหลักจากพาสตา” ในรายการ
Thailand Junior Chef Championship
ภายใน งาน FOOD and HOTEL E 2014 ระหวางวันที่ 18 -20 กันยายน 2558 ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา จ.ขอนแกน นอกจากการจัดงานแสดงอาหาร สินคาและบริการที่ยิ่งใหญที่สุดในภาค อีสานแลว ภายในงานยังมีการจัดกิจกรรม การแขงขันทําอาหารของเหลา เชฟระดับเยาวชนทัว่ ประเทศ อาทิ การแขงขันชงกาแฟของเหลา Barista ใน Thailand Indy Barista Championship และการสัมมนาวิชาการที่ นาสนใจอีกมากมาย อันจะชวยพัฒนาศักยภาพผูป ระกอบการไทยใหกา ว สูระดับสากล โอกาสนี้ ดร.ทินกร ทาตระกูล รองอธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก พรอมดวยคณะผูบริหาร และ อาจารย ประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร จึงเล็งเห็นความสําคัญของ การจัดกิจกรรมภายในงาน คือ การแขงขันทําอาหาร จึงคัดเลือกและ ฝกฝนนักศึกษา เขารวมในการแขงขันครั้งนี้ จํานวน 5 คน โดยเมื่อวัน ที่ 20 กันยายน 2558 นายพลกฤษณ ปนศิลปชัย นักศึกษาเทคโนโลยี การอาหาร ควาเหรียญทอง การแขงขัน ประเภทเดี่ยว “ชุดอาหารจาน หลักจากพาสตา” พรอมไดรับถวยเกียรติยศ ดวยคะแนนสูงสุด ใน รายการ Thailand Junior Chef Championship นายเจษฎา วงศกร นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร ไดรับเหรียญเงินในแขงขันทํา อาหาร ประเภทเดี่ยว “ชุดอาหารจานหลักซีฟูด” และ นายศรัณย ลอม จันทร, นายวีระชัย อุทยั นาง และนายกฤษฎา บัวแกว เขารวมการแขงขัน ทําอาหาร ประเภททีม “ชุดอาหารตะวันตก” โดยไดรับเหรียญเงินมา ครองไดอยางภาคภูมิใจ จากผลการแขงขันครั้งนี้ นายพลกฤษณ ปนศิลปชัย กลาว วา “สิ่งสําคัญไมใชเพียงรางวัลที่ไดรับ แตมันคือประสบการณการณได พบกับเชฟระดับประเทศ อาจารยสอนการทําอาหารระดับประเทศ ซึ่ง ทําใหเราไดรับความรูใหม ๆ ในการทําอาหาร และนํากลับมาปรับใช ตอ ไป ไดอยางมีประโยชนสูงสุด และประสบการณที่ไดรับก็สามารถนํามา ปรับใชไดในการศึกษาเลาเรียน นํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับอาจารยและ เพื่อน ๆ ภายในหองเรียน เพื่อรวมกันพัฒนาทักษะการทําอาหารใหมี ความทันสมัยมากยิ่งขึ้น” จากการแขงขันครั้งนี้ แมจะนํามาซึ่งผลของการแขงขันที่ชนะ เลิศ แตสงิ่ ทีไ่ ดรบั คือประสบการณทมี่ ากกวา ถือเปนความภาคภูมใิ จสูงสุด ของนักศึกษาผูเ ขารวมการแขงขัน คณาจารย เพือ่ น พีน่ อ งในมหาวิทยาลัย และครอบครัว
14 วารสาร ราชมงคลล้านนา
“Pas a ain is ”
The Food and Hotel Ex 2014 during 18th – 20th September 2015 was organized at Central Plaza Kon Kaen. It displayed food, product and services from all sources of the North- East such as Thailand Indy Barista Championship and other academic seminars. Dr. Tinnakorn Thatrakool, the Vice President of RMUTL Phitsanuloke, together with lecturers from Food Technology Department believe it is very important to encourage and develop creativity in young people and that includes creativity in the kitchen. Cooking amongst young people is a growing interest and a valuable life skill. The university seems to agree to select 5 students to attend in the cooking competition. The competition offered students all over Thailand an opportunity to demonstrate their skills – and their nerves – by presenting different dishes prepared under competition conditions to a discerning judging panel. On the 20th September, Pholkrit Pinsilchai , student from Food Technology Department, was the winner and received the gold medal and a trophy from the “Pasta Main Dish” category from Thailand Junior Chef Championship. Kritsada Wongkorn, student from Food Technology Department, competes his game and won a silver medal in the category of “Seafood Main Dish”. Along with Saran Lomchan, Weerachai Uthainang and Kritsada Buakaew compete their game and won a silver medal in the category of “ Western Dish” Pholkrit said at the end of the long day’s cooking competition, “The important thing is not only the reward but also the feeling of excitement on the day and the sense of great achievement of all competitors – not just the top three – made it all worth while. It is an opportunity to meet all of the international chefs and gain knowledge about cooking. The more we exchange ideas about cooking, the more we discover the joys of being creative in the kitchens of the world.” It’s not only a challenge for students to create some superb quality cooking, but also it brings a great pride to their families, teachers, friends and university.
การจั ด การเรี ย นการสอน
From Scarps การผลิตกาซชีวภาพจากเศษอาหาร
จากปญหาในชุมชนสู่การผลิตนวัตกรรม เพื่อชุมชน ผลงานนักศึกษาสาขาวิศวกรรมโยธา ราชมงคล เชียงราย ปจจุบันพลังงานเชื้อเพลิงในประเทศไทยสวนใหญตองนําเขา และลดนอยลงทุกวัน จึงทําการศึกษาการผลิตกาซชีวภาพจากเศษอาหาร ที่เหลือจากอุปโภคบริโภคเพื่อผลิตกาซลดคาใชจายในครัวเรือน ทีม นักศึกษาสาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย ประกอบไปดวย นาย ดิเรกศักดิ์ ประสาทเขตการณ นาย นิกร สิทธิบุญเรือง และนาย ปยะพงษ หลายเจริญ โดยมี ดร.มงคลกร ศรีวิชัย ทีป่ รึกษาไดศกึ ษาการผลิตกาซชีวภาพจากเศษอาหารในรูปแบบการปลอย เศษอาหารถังตางระดับ เปรียบเทียบปริมาตรการเกิดกาซในแตละถังโดย ใชเศษอาหารในการเดินระบบ 1 กิโลกรัม และทําสอบคาความเปน กรด-ดางทีม่ ผี ลตอการเกิดกาซ ผลการทดลองการเก็บขอมูลปริมาตรกาซ ชีวภาพที่ไดคือปริมาตรกาซชีวภาพ ใหปริมาตรกาซเฉลี่ยที่ 126.7 103 ลูกบาศกเซนติเมตร และมีอุณหภูมิสูงสุดที่ 36 องศาเซลเซียส ผลการ ทดสอบคาคาวามเปนกรด-ดาง ในถังหมักท 1, 2 และ 3 มีคาความเปน กรด-ดางอยูท 4ี่ .83, 5.53, 7.65 ตามลําดับ จากผลการวิจยั เรือ่ งการศึกษา การผลิตกาซชีวภาพจากเศษอาหารในรูปแบบการปลอยเศษอาหารถังตาง ระดับพบวา พบวาอุณหภูมิและคาความเปนกรด-ดางและปริมาณการ ใสเศษอาหารมีผลตอการเกิดกาซชีวภาพในการผลิตกาซชีวภาพจากเศษ อาหารในรูปแบบการปลอยเศษอาหารถังตางระดับ โดยไดมอบผลงาน ชิน้ นีใ้ หกบั หมูบ า นหนองบัวใต ตําบลเมือพาน จังหวัดเชียงราย เพือ่ ใชเปน จุดเรียนรูตนแบในการจัดการขยะและแปลงขยะอินทรียใหเปนพลังงาน
A usage of innovation
Nowadays, fuel in Thailand is imported and is decreased, so biogas from scraps is used for expense reduction. Mr.Direksak Prasartketkarn, Mr.Nikorn Sittiboonrueang, and Mr.Piyapong Laijareuan who are civil engineer students in Rajamangala University of Technology Lanna Chiangrai who are supervised by Dr. Mongkonkorn Sriwichai. They studied about biogas production from scraps then compared gas capacity of scraps 1 kg. and tested PH. The result showed that the biogas capacity average was 126.7 x 10 cubic centimeters with the highest temperature of 36 Degree Celsius. The PH tested for 1st, 2nd, and 3rd bucket were 4.83, 5.53, and 7.65 respectively. The research for biogas production from scarps indicated that biogas production was affected by temperature and PH. This research was informed to Nong Bua Tai Village, Mueng Phan Sub-district, Chiang Rai Province in order to use for studying about waste management and converted organic waste to energy which also was published in channels 3 and 3HD on 29 October 2015 วารสาร ราชมงคลล้านนา 15
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
วันเก็บเกี่ยว
เมล็ดพันธุ์ ถั่วเขียว
มทร.ลานนา ผนึกกําลัง สวทช. กระทรวงวิทยฯจัดงาน “วันเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุถั่ว เขียว” รวมแกปญหาภัยแลง ขยายพันธุเมล็ดถั่วเขียวแจกจายเกษตรกร พรอมเปด “ศูนยผลิตเมล็ดพันธุตระกูลถั่วชุมชน” เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 สถาบันวิจัยเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล (มทร.) ลานนา รวมกับสํานักงาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ(สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร จั ด งาน “วั น เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุถั่วเขียว” ในโอกาสครบ กําหนดวันเก็บเกี่ยวทําการผลิตขยายพันธุ เมล็ดถัว่ เขียวสายพันธุใ หม 6 สายพันธุ จํานวน 7 ไร ผลผลิตไรละ 1 ตัน ตั้งเปาป พ.ศ. 2559 จะสามารถผลิตขยาย เมล็ดพันธุใหมใหแก เกษตรกรจํานวน 500 ไรในจังงหวัดตาง ๆ ช ว ยสร า งรายได ใ ห แ ก เ กษตรกรและภาค อุตสาหกรรมในการแปรรูปจากถัว่ เขียว พรอม มอบเมล็ดพันธุถั่วเขียวใหหนวยงานที่เกี่ยว ของนําไปขยายผลรวมกับเกษตรกรตอไป โดยไดรับเกียรติจาก ดร.พิเชษ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เปนประธานเปดงาน และ อธิบดี กรมสงเสริมการเกษตร ดร.ภาสวรรธน วัชร 16 วารสาร ราชมงคลล้านนา
ดํารงศักดิ์ รองอธิการบดี มทร.ลานนา พรอม ดวย รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง ผูอํานวย การ สวทช. รวมใหการตอนรับ ณ มทร.ลานนา ลําปาง โครงการการผลิตขยายพันธุเมล็ดถั่ว เขียวสายพันธุใหม ภายใตความรวมมือระหวาง กรมสงเสริมการเกษตรและสํานักงานพัฒนา วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี แ ห ง ชาติ โดยมี กลุมเกษตรกรที่สนใจเขารวมโครงการนํารอง จากจังหวัดอุทัยธานี ซึ่งเปนแหลงผลิตถั่วเขียว และขยายผลไปสูตัวแทนเกษตรกรเพื่อนําไป ผลิตเมล็ดพันธุถั่วเขียวและขยายผลไปสูกลุม เกษตรกรในจังหวัดอื่นๆ อีกทั้งกรมสงเสริม การเกษตรจะใชแนวทางในการสงเสริมการ ผลิตเมล็ดพันธุของเกษตรกรในลักษณะ “ศูนย ผลิตเมล็ดพันธุตระกูลถั่วชุมชน” ตั้งแตป 2555 จนถึงปจจุบัน รวม 160 ศูนย เพื่อเปนกลไก ขับเคลื่อนการดําเนินงานในยพื้นที่ โดยการสง เสริมใหเกษตรกรในชุมชนมีการรวมกลุมผลิต เมล็ดพันธุที่มีคุณภาพในฤดูฝนและกระจาย
เมล็ดพันธุที่ดีสูเกษตรกรผูปลูกในฤดูแลง ดร.พิเชษ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการ กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี กล า วว า “นโยบายของรั ฐ บาลในมาตรการของ super cluster โดยในสวนของกระทรวงวิทยาศาสตร จะ สราง “เมืองนวัตกรรมอาหาร” โดยเปนเมืองที่มี สถาบั น วิ จ ั ย ทั ้ ง ในประเทศไทยและตา งประเทศ จํานวนมากเขามาอยูรวมกัน เพื่อการวิจัยทางดาน อาหารที่จะสามารถออกสู ตลาดไดทั ่วโลกซึ ่งจะ สามารถสรางรายไดเพิม่ ใหเกษตรกรไดการทีม่ เี มล็ด พันธุถั่วเขียวเปนตัวนําในวันนี้ ถือเปนการเริ่มตนซึ่ง จะกอใหเกิดประโยชนในการชวยประเทศชาติใน เรื่องการบริหารจัดการนํ้า ซึ่งภายในป 2559 เราจะ ตองเผชิญกับสภาวะปญหาภัยแลงซึ่งเราจะตองใช พืชทดแทนที่ใชนํ้านอย ระยะเก็บเกี่ยวสั้น ถือเปน สองปจจัยเบื้องตนที่จะชวย ในเรื่องของการผลิตนํ้า สวนผูประกอบการนั้นจะตองรวมมือกับ เกษตรกรในการแปรรูปนอกเหนือจากเดิมที่มีอยูใน ตลาดอาจจะตองมีการวิจัยในดานนวัตกรรมอาหาร ที่จะมีการแปรรูปถั่วเขียวใหมากขึ้น ซึ่งวัฏจักรของ
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
การใชนํ้าก็จะมานอยลง ความตองการของเมล็ดถั่วเขียวก็จะเพิ่มขึ้น ซึ่ง ประโยชนของถั่วเขียวนั้นถึงจะเม็ดเล็กแตประโยชนมากมายดวยเชนกัน” ดร.พิเชษ กลาวทิ้งทาย ดร.ภาสวรรธน วัชรดํารงศักดิ์ รองอธิการบดี ดานวิจัยและการ ถายทอดเทคโนโลยี กลาววา “มหาวิทยาลัยเล็งเห็นความสําคัญของการ ผลิตและขยายเมล็ดพันธุดีเพื่อใหเพียงพอตอความตองการของเกษตรกร จึงเกิดเปนความรวมมือดังกลาวขึน้ โดยมอบหมายใหสถาบันวิจยั เทคโนโลยี เกษตรเปนผูด าํ เนินการ เนือ่ งจากมีความพรอมทัง้ ในดานบุคลากร วิชาการ และพืน้ ทีใ่ นการเพาะปลูกโดยไดรบั งบประมาณสนับสนุนจาก สวทช. ขยาย การผลิตเมล็ดพันธุด งั กลาวจํานวน 6 สายพันธุ ในพืน้ ที่ 7 ไร ระยะเวลาการ ปลูกระหวางเดือนกันยายน – พฤศจิกายน 2558 จึงเกิดเปน“วันเก็บเกีย่ ว เมล็ดพันธุถั่วเขียว”ขึ้น”
Harvest Day Rajamangala University of Technology Lanna has joined forces with The National Science and Technology Development Agency (NSTDA) of the Ministry of Science and Technology in holding ‘The Mung Bean Seed Harvest Day’ as well as opening ‘The Bean Seed Production Community Center’, in order to ght fi drought and propagate mung bean seeds, which have been given to the local farming community. On November 8, 2015, the Agricultural Technology Research Institute of RMUTL collaborated with NSTDA and Kasetsart University in organizing ‘The Mung Bean Seed Harvest Day.’ At this time six new species of mung bean crops had reached maturity and were ready to be harvested. The six new species of mung beans were planted in seven rai (one rai equaling 1,600 square meters), and each rai produced one ton of harvestable mung beans. In 2016, the organizations involved in this project aim to give seeds from the six new species of mung beans to farmers across Thailand, to be grown in 500 rai in order
to increase the income of both the local farmers and mung bean processing companies. Additionally, the seeds of the new species will be given to other related organizations who wish to collaborate with Thai farmers in order to cultivate further mung bean production. Dr. Pichet Durongkaveroj, the Minister of Science and Technology, opened the Harvest Day ceremony, which took place at RMUTL Lampang. He was welcomed by Director-General of the Department of Agriculture Extension, Dr. Passawat Wacharadumrongsak, the vice president of RMUTL, the vice governor of Lampang province, and the director of NSTDA.
วารสาร ราชมงคลล้านนา 17
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
The New Mung Bean Seed Species Production Project was began as a collaboration between NSTDA, the Department of Agriculture Extension Organization, and a group of farmers who attended the pilot project to produce new seed species in Uthai Thani province, which has been the main source of mung bean production in Thailand. The project was later expanded when seeds were given to farmers from other provinces. Furthermore, the Department of Agriculture Extension have used the Bean Seed Community Production Center as a dynamic strategy to promote and support seed production from 2012 to present. There are currently 160 centers throughout Thailand. The action plan of the Bean Seed Production Center involves groups of famers who produce quality seeds during the rainy season, which are then distributed to the other farming groups to be planted in the dry season. Dr. Pichet Durongkaveroj said that “In order to serve the government’s policy called ‘Super Cluster,’ the Ministry of Science and Technology has planned to create a project called ‘the City of Food Innovation,’ where there are many domestic and foreign research institutes cooperating in research about food, and international food distribution, which will lead to an increase in farmer’s income.” Mung bean seeds are currently considered the leading solution to Thailand’s water management. In 2016, it is expected that Thailand will draught. The main factor in managing this problem is having alternate crops which have a short harvesting time, thus using less water to produce. Dr. Pichet believes that local entrepreneurs and farmers need to work together in order to process new mung bean products which have not yet been seen on the market. He says that further research may be necessary to continue the development of these products. He suggests that an increase in mung bean products on the market will lead to an increase in mung bean demand, which will result in less water consumption. “Although mung beans are very small,” Dr. Pichet concluded, “They have many benefits.”
18 วารสาร ราชมงคลล้านนา
Dr. Pasawat Wacharadumrongsak, Vice President for Research and Technology Transfer said that RMUTL sees the importance of producing high quality seeds to distribute to farmers, and that this is the reason behind the project. The university has assigned the Agricultural Technology Research Institute of RMUTL to manage the project, because this institute already has the staff, academic knowledge, and the areas for planting. This project, which is run by RMUTL, receives its funding from NSTDA. “In order to support the government’s policy, six new species of mung bean seeds were created and planted in seven rai from September to November this year,” Dr. Pasawat said. “This project is now culminating today, at the Mung Bean Seed Harvest Day.” The Mung Bean Seed Harvest Day aims to be the alternative choice for farmers during the current and possible future drought crises. The collaboration between RMUTL, NSTDA, educational institutes, and government organizations supports the creation and production of new mung bean seed species, as well as their distribution to farmers, which will result in an increase in local farmer’s income.
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
เครื่องชั่งนํ้าหนักและนา ิกา
สื่อการสอนชวยนอง ผูพิการทางสายตา
สื่อการเรียนการสอนเปนสิ่งหนึ่งที่จะ ชวยเสริมสรางพัฒนาการของเด็กชั้นประถมวัย ใหเรียนรูแ ละเขาใจบทเรียนไดมากขึน้ นอกเหนือ จากการอานในตําราเรียน สื่อการเรียนตาง ๆ ที่ จับตองไดลวนแลวแตทําใหเด็กสนใจที่จะเรียนรู แตถาเด็กเหลานั้นตาบอด จะมีสื่อใดที่ชวยให พวกเขาเรียนรูไ ดอยางเขาใจ โดยเฉพาะเรือ่ งของ เวลาและการชั่งนํ้าหนัก สองนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล (มทร.) ล านนา “เพื่อน” สิริพงษ มาทาเม และ “โม” สราวิทย ทิมอิม่ นักศึกษาสาขา วิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จึง ไดประดิษฐ “โมเดลบอกสเกลเครื่องชั่งนํ้าหนัก และนา ิกา” ซึ่งเปนผลงานในโครงการปริญญา นิพนธขึ้น เพื่อเสริมสรางการเรียนรู ใหแกนองๆ นักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนตน (ป.1- ป.3) โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรม ราชินูปถัมภ จังหวัดเชียงใหม ความพิ เ ศษของตราชั่งและนา ิก า ที่เพื่อนและโมประดิษฐขึ้น คือ ปุมบอกเสียงที่ นักเรียนสามารถกดปุมเพื่อฟงเสียงวาขณะนี้ได ชั่งของไปแลวกี่กิโลกรัม หรือขณะนี้เปนเวลา กี่นา ิกา ซึ่งจะมีเสียงทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ และในแตละปุม จะมีอกั ษรเบรลลกาํ กับ ไว เพื่อใหนองๆ สามารถเรียนรูเพิ่มเติมไดดวย
ตนเอง อีกทั้งยังมีวิธีการใชไมตางจากเครื่องชั่ง และนา ิ ก าแบบธรรมดา สํ า หรั บ ตราชั่ ง เมื่ อ เอาสิ่งของที่ตองการทราบนํ้าหนักไปวางแลว ก็ สามารถกดปุมฟงเสียงไดทันที สวนนา ิกาสื่อ การสอนเรื่องเวลา นักเรียนสามารถเรียนรูเวลา ตาง ๆได โดยใชมือหมุนเข็มสั้นหรือเข็มยาว ชี้ ไปตามเวลาทีต่ อ งการ แลวกดปุม ฟงเสียง ก็จะได เรียนรูจากตําแหนงเข็มนา ิกาวาเปนเวลากี่โมง อุปกรณการเรียนการสอนนีเ้ ปนประโยชนตอ เด็ก นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 – 3 เปนอยางมาก เนื่องจากเปนชั้นที่มีการเรียนการสอนเรื่องสเกล เวลา และสเกลการชั่ง รวมไปถึงยังชวยแบงเบา ภาระของคุณครูในการพูดออกเสียงอีกดวย โดย การทํางานในครั้งนี้ตองอาศัยระยะเวลาในการ ประดิษฐ คิดคน แกไขเปนเวลานานพอสมควร เนื่องจากไมมีเครื่องตนแบบ โดยเพื่อนกับโมเลา ใหฟงวา “ผลงานทั้งสิบชิ้น ประกอบดวยเครื่อง ชัง่ นํา้ หนัก 5 เครือ่ ง และนาิกา 5 เรือน ใชระยะ เวลาในการทํากวาสองป คือทําแลวก็ใหนองๆ ที่ โรงเรียนสอนคนตาบอดฯทดลองใช สวนไหนทีย่ งั ไมดี ก็นาํ ไปปรับปรุง แกไข จนไดผลงานทีอ่ อกมา คอนขางสมบูรณ” การประดิษฐสอื่ การสอนดีๆเชนนี้ เกิด ขึ้นจากการนําของ ดร.ยุพดี หัตถสิน อาจารย ที่ปรึกษา ซึ่งอาจารยกลาววา “การลงพื้นที่ที่
โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ ทําใหเราได พูดคุยกับครูผสู อนและทราบวาโรงเรียนตองการ สือ่ การสอน เพราะวาคนพิการไมคอ ยมีโอกาสได ออกนอกสถานที ่ อี ก อย า งหนึ ่ ง สื ่ อ การสอน เหลานี้จะชวยแบงเบาภาระคุณครูได” ซึ่งผล งานตอไปทีจ่ ะเกิดขึน้ คือ “เทอรโมมิเตอรสาํ หรับ ผู พิ ก ารทางสายตา” ที่ ข ณะนี้ อ ยู ใ นระหว า ง การดําเนินงาน โดยไดรับเกียรติจากคุณครูของ โรงเรียนสอนคนตาบอดฯ รวมเปนกรรมการใน การทําปริญญานิพนธของนักศึกษาดวย นี่เปนเพียงหนึ่งผลงานของนักศึกษา มทร.ล า นนา ที่ ถื อ เป น บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ อยางแทจริง เปนหนึ่งในความภาคภูมิใจของ มหาวิทยาลัย และเชื่อมั่นวาบัณฑิตที่จบออกไป จะสรางคุณประโยชนใหแกสังคมทุกภาคสวนได อยางแนนอน .............................................................. โรงเรียนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรมราชินูปถัมภ จังหวัดเชียงใหม The Northern School for the Blind under the Patronage of the Queen โมเดลบอกสเกลเครื่องชั่ง นํ้าหนักและนา ิกา Voice Enabled Weight and Time Apparatus “เพื่อน” สิริพงษ มาทาเม Siripong Matame “โม” สราวิทย ทิมอิ่ม Sarawit Timim ดร.ยุพดี หัตถสิน Upady Hatthasin
วารสาร ราชมงคลล้านนา 19
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
Voice Enabled Weight and Time Apparatus Not only reading school books at school but also multimedia learning can improve learning development of primary school students and help them to have more learning and understanding of school lessons. Touchable instructional media interests and stimulates the students to learn more. However, how about students who have invisible disabilities Which media will assist them to learn things correctly, especially learning about telling time and weighing things From questions to inspiration, Mr. Siripong Mata-me (Pheun) and Mr. Sarawit Tim-im (Mo), Computer Engineering Department, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL), have invented “Models of Weighing Scales and Clock” which is a part of their bachelor’s thesis in order to enhance learning for primary school students in Prathom 1-3 , the Northern School for the Blind under the Patronage of the Queen, Chiang Mai. A specialty of the weighing scales and the clock is a sound button which students can press to listen how much thing(s) weighs or what time it is. The button is spoken in Thai and English language. Also, each button has Braille characters on it in order to let students to learn more by themselves. Moreover, using models of weigh scales and clocks is not different from other general weigh scales and clocks. For using the weigh scales, students just put an object on it and press a button to listen its weight. Similarly, to learn about time, students can rotate a minute hand or an hour hand and press a sound button to practice telling time. They will learn telling time from different positions of the minute hand and 20 วารสาร ราชมงคลล้านนา
the hour hand. These instructional medium give students the great benefit of leaning telling time and weighing things. Also, they become a teacher assistant which can speak out anytime as students want. It took a long time to study, invent and adjust the models because there was no a prototype. Inventors (Mo and Pheun) told us “All 10 models consist of 5 weighing scales and 5 clocks which we spent almost 2 years working on them. Then, we gave the models to the students and brought feedbacks or suggestions to adjust or improve our models to become the nearly perfect ones.” Inventing such some good instructional medium was initiated by Dr. Upady Hatthasin who is a thesis advisor of the inventors. She told us “Visiting the school gave us a chance to talk to teachers and to know how we could help them about teaching. Next, our mission is “Thermometer for Students with Visible Disabilities” which now, we are working on it. Also, the teachers at the Northern School for the Blind under the Patronage of the Queen, Chiang Mai honor us by becoming a thesis committee of our students.” These are only some works of RMUTL students who are hands-on graduates. We, RMUTL, are greatly proud of our students and strongly believe that our graduates can serve and produce useful advantages for our society. Notes (equivalent to Year 1-3) Translated by Nitchakun Khamrin
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
เครื่องกวนมะพราว
นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ มทร.ลานนา ตาก ประดิษฐเครื่องกวนมะพราวมอบสูชุมชน สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ตาก สงมอบเครื่องกวนมะพราวใหแกกลุมแมบานเกษตรกรทิพย ศิลา ชุมชนบานวังหิน หมูที่ 5 ตําบลวังหิน อําเภอเมือง จังหวัดตาก เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2558 ณ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ซึ่งผลงานดังกลาวเปนของนายวิรัตน ดําสนิท นายมานิต แสงทานั่ง และนายสุรพันธ พิณดนตรี นักศึกษาสาขาวิศวกรรม อุตสาหการ โดยมี ผศ.เชวง อยูยืนยง อาจารยจุมพล ชัยประเดิมศักดิ์ และอาจารย ภาคภูมิ ใจชมภู เปนอาจารยที่ปรึกษาโครงการ โดยนักศึกษา กลาววา “จากการไดไปสํารวจชุมชนบานวังหิน พบวามีการ รวมกลุมกลุมแมบานเกษตรกรทิพยศิลาผลิตทอฟฟสงจําหนายตามที่ตาง ๆ ซึ่งวิธี การผลิตจะใชแรงงานคนในการกวนมะพราว ทําใหใชเวลานานและไดปริมาณนอย ไมเพียงตอความตองการของตลาด และหลังจากการกวนมะพราวจะเกิดอาการปวด ตามกลามเนื้อแขนบริเวณที่ใชงาน จึงทําใหทางกลุมสนใจอยากเขาไปชวยเหลือกลุม แมบานวังหิน จึงไดดําเนินการจัดทําโครงการเครื่องกวนมะพราวขึ้น” โดยหลักการทํางานของเครือ่ งกวนมะพราว สามารถทดแทนแรงงานคนและ ชวยลดเวลาในการกวน โดยใชหลักการทํางานของมอเตอรขนาด 1 แรงมา 220 โวลท 1 เฟส สงผานสายพานลิ่มไปยังชุดเฟองทด 50 : 1 จากนั้นสงกําลังตอไปยังชุดใบกวน ซึง่ มีความเร็วรอบ 18 รอบตอนาที การใหความรอนใชระบบแกสทําใหสามารถควบคุม อุณหภูมิและเวลาในการกวนมะพราวได การกวนมะพราวดวยเครื่องกวนมะพราวที่ จัดสรางขึน้ เปรียบเทียบกับการกวนมะพราวดวยแรงงานคนในปริมาณวัตถุดบิ 15.27 กิโลกรัมตอการกวนหนึ่งครั้ง พบวาการกวนมะพราวโดยใชแรงงานคน ใชเวลา 2.30 ชั่วโมง และการกวนมะพราวดวยเครื่องกวนมะพราวที่ใชเวลา 1.30 ชั่วโมง ที่นํ้าหนัก หลังการกวนมะพราวเฉลี่ยเทากับ 10.14 กิโลกรัม เมื่อเปรียบเทียบกับการกวนดวย แรงงานคน เครือ่ งกวนมะพราวทีจ่ ดั สรางขึน้ สามารถลดเวลาในการกวนมะพราวได 1 ชัว่ โมง ซึง่ การกวนดวยเครือ่ งลดคาใชจา ยได 280 บาท การกวนมะพราวโดยใชเครือ่ ง กวนมะพราวจึงมีประสิทธิภาพมากกวาคน 60 เปอรเซ็นตตอการกวนหนึ่งครั้ง วารสาร ราชมงคลล้านนา21
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
ทั้งนี้ กลุมแมบานเกษตรกรทิพยศิลามี ความยินดี และพอใจในการทํางานของเครื่อง กวนมะพราวเปนอยางยิ่ง เพราะชวยลดคาใชจาย ประหยัดเวลาแรงงาน ผลิตไดในปริมาณที่มากขึ้น เกิดการสรางรายไดแกกลุมแมบานและชุมชนบานวัง หินตอไป
...............................................................................................................................................
a s o on t ti ing a ine. The Faculty of Industrial Engineer of Rajamagala University of Technology Lanna Tak handed over the coconut stirring machine the agricultural female group of 5th Tip-Sila Community, Wang-Hin subdistrict in Tak province, on September 16th 2015 at the Department of Industrial Engineering. This machine was invented by three industrial engineering students; Mr. Wirat Dam-Sanit, Mr. Manit Seang-Tanang, and Mr.Surapun Pin-Dontri, which it was supervised by three RMUTL Tak’s lecturers; Asst.Prof. Chaweng Yuyeinyong, Mr.Chumpon ChaiPradermsak, and Mr.PakPum Jai-Chompu. The students stated that “What we perceived from observing Wang-Hin community was that the community group produces and distributes coconut candies. The manufacture of their product mainly relies on manpower in stirring coconut, which consumes much time, but produces inadequately to the markets. Members of the group also get muscle pain from the production. This drew the attentions of the survey group to support the community group. Then, the student group started the project of coconut stirring machine”. How the machine works can replace the manpower in the production and can reduce stirring time. The machine operates with a 1 horsepower and 220 volt motor that lets electricity flow to a 50:1 gear set through V-belts. Then, it goes to a stirring set that rotates 18 rpm. The machine employs gas system, which is able to control temperature and time for stirring, to heat. In addition, the stirring process of 15.27 Kg. of coconut at a time with the manpower takes 2.30 hours. Whereas, the same process with the same quantity of coconut takes only 1.30 hours by the machine. The weight obtained after the coconut stirring is around 10.14 kg. It shows that the coconut stirring machine can operate 1 hour faster than the manpower and it reduces the process cost for 280 Baht a time. So, the machine is 60 more effective than the manpower process at a time. 22 วารสาร ราชมงคลล้านนา
เตาเผาถา่ นชีวภาพ ดร.กันยาพร ไชยวงศ, นายณัฐพล วิขาญ, นายอริยะ แสนทวี สุข และ ดร.ธัญศิภรณ จันทรหอม
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
การพัฒนาเตาเผาถานชีวภาพ
จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “การพัฒนาเตาถานชีวภาพจากวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร” เปนหนึ่งในโครงการวิจัยภายใต โครงการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ที่ ไดรับการสนับสนุนโครงการโดย สวทช.ภาคเหนือ สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ประจําป 2556 การพัฒนาเตาเผา ถานชีวภาพในงานวิจยั นี้ มุง เนนสงเสริมใหชมุ ชนเกษตรกร ไดนาํ เอาวัสดุ เหลือทิง้ ทางการเกษตรมาใชใหเกิดประโยชน ในรูปแบบของเชือ้ เพลิง โดย มีปจ จัยทีส่ ง ผลกระทบโดยตรงในเชิงเศรษฐศาสตร คือการใชถา นชีวภาพ ในรูปแบบของเชือ้ เพลิงแข็งสําหรับหุงตมทดแทนการใชเชือ้ เพลิงฟอสซิล เชน แกสหุงตม รวมถึงลดการใชหรือซือ้ ถานไมและฟนทีถ่ อื วาเปนหนึง่ ใน คาใชจายหลักในครัวเรือน ซึ่งถือไดวาเปนการสรางแนวทางการพัฒนา แบบยั่งยืน จากผลของการลดรายจายและเพิ่มรายไดจากการพัฒนา ผลิตภัณฑที่สามารถนํามาใชในรูปแบบของเชื้อเพลิง ลดคาใชจายดาน พลังงานและยังสามารถจําหนายถานชีวภาพเพื่อจําหนายใหเกิดรายได กลับคืนสูชุมชน เทคโนโลยีการผลิตเตาเผาถานชีวภาพในการศึกษานี้ เปน แนวทางหนึง่ ของการพัฒนาพลังงานทดแทนดวยวิธกี ารทางดานเคมีความ รอน ทีเ่ รียกวาไพโรไลซิส ซึง่ ลักษณะของตัวเตานอกจากจะสามารถใชใน การผลิตถานชีวภาพแลว ยังสามารถใชประโยชนแทนเตาหุงตมขนาด เล็กในครัวเรือนได ซึ่งถือไดวาเปนการพัฒนาเทคโนโลยีที่ไมซับซอนเพื่อ ประโยชนสูผูใชที่แทจริง สําหรับความนาสนใจของการออกแบบเตาถาน ชีวภาพในโครงการวิจัยนี้ คือการพัฒนาเตาถานชีวภาพที่สามารถใชงาน ในการหุงตมควบคูก บั การผลิตเตาถานชีวภาพได โดยลักษณะของตัวเตาที่ มีการออกแบบในรูปแบบทรงกระบอก 2 ชัน้ บริเวณชัน้ ในจะเปนตําแหนง ของการเผาไหม ดวยการปอนเชื้อเพลิงและใหความรอนกับเตาปกติ สวนบริเวณรอบนอกจะมีเปนบริเวณของการควบคุมการเกิดปฏิกิริยา ไพโรไลซิส หรือการยอยสลายดวยความรอนของชีวมวลที่ไดความรอน ที่สงผานมาจากผนังทอในโซนเผาไหม นอกจากนั้นบริเวณเปลือกทอยัง มีการเจาะรูระบายอากาศ สําหรับใหแกสที่ไดจากกระบวนการไพโรไล ซิสไหลเขาสูชองของการเผาไหมเพื่อเปนเชื้อเพลิงเสริมในขณะทําการ เผาไหม ดังนั้นในการใชเตาถานชีวภาพที่ไดทําการออกแบบจึงไมจําเปน ตองมีการปอนเชือ้ เพลิงเพิม่ ลดการใชเชือ้ เพลิงจากเตาปกติได 40–50 และชวยเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงความรอนของเตาใหสงู กวา 30 นอกจาก การใชงานเตาในการใหความรอนปกติแลว เตาดังกลาวยังใหผลิตภัณฑที่ สามารถนําไปใชประโยชนไดอกี ตอหนึง่ ไดแก ถานชีวภาพทีผ่ ลิตไดบริเวณ เปลือกเตา รวมถึงนํ้าสมควันไมที่ไดจากการควบแนน ผลิตภัณฑในกลุม สารระเหยโดยการตอทอจากเปลือกเตาเพื่อดักเก็บสารดังกลาวนั้นเอง จากผลการพัฒนาคณะผูวิจัยไดมีการถายทอดองคความรู ในกิจกรรม ถายทอดความรู ณ.ชุมชนบานหนองเงือก อ.ปว จ.นาน และนําเสนอผล งานวิจยั รวมกับกลุม นักวิจยั สวทช.ภาคเหนือ ในงานประชุมวิชาการ งาน วิจัยเพื่อแกไขปญหาทองถิ่นประจําป 2558 ซึ่งไดรับความสนใจจากกลุม ผูเขารวมงานเปนจํานวนมาก ขอบขอบคุณ สวทช.ภาคเหนือ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ และ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน วารสาร ราชมงคลล้านนา 23
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
Development of io a to e f o g i lt al Residue Development of Biochar Stove from Agricultural Residue is a research project under the Research, Development and Engineering. The project was supported by. National Science and Technology Development Agency (NSTDA) Northern Region 2011. This research focuses on encouraging community Bring agricultural waste utilization. In the form of fuel The factors that directly impact on the economics, Biochar is the use of char in the form of solid fuel for cooking instead of fossil fuels such as gas, including reducing the use of firewood or charcoal, and is considered one of the major costs in the household is considered. that creates a sustainable development approach. As a result of lower costs and increase revenue by developing products that can be used in the form of reduced fuel costs, energy and bio-char can be sold to generate income for distribution back to the community. Production technology, Biochar stove in the study. As a guide in the development of renewable energy by means of chemical heat.So-called Pyrolysis. The nature of the stove can be used to produce bio-char, then. It can also use the stove, small household. This can be considered as non-complex technologies to the benefit to the actual user. For the attractiveness of Biochar design in this project.Is developing biologically active charcoal to cooking with charcoal producing Biochar. The nature of the stove are designed to form a cylinder, two layer in a place of burning. By entering fuel and heating the furnace normal stove. The surrounding area is the area of control of the reaction by Pyrolysis. Or thermal decomposition of biomass for heat transmission from the wall of the combustion zone. 24 วารสาร ราชมงคลล้านนา
In addition, the area is still a shell casing is perforated ventilation holes. For the gas from the Pyrolysis process flow into the cavity of burning extra fuel during combustion. Thus, in a Biochar stove was designed so it is not necessary to enter the fuel. Reduce fuel consumption of the furnace, usually 40-50 and improves the thermal efficiency of the furnace is more than 30 of the active furnace to provide heat normally. Such stoves also provide products that can be utilized in the future, namely bio-char produced in the furnace shell. Including wood vinegar made from condensation. Products in the volatile by connecting pipe from the furnace shell to capture the substance itself. Investigators have transferring knowledge at Ban NongNgeuak Amphur Pua Provice Nan with NSTDA Northern Region and Conference on “Research for solving local problems 2015”. (NSTDA )Northern Region. Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna Nan.
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
น้า าพาสเจอร์ รส์
จากตน้ ออ่ นขา้ วพันธุ์พิ ุโลก
Pasteurized tea product from Phitsanuloke 2 rice seedlings ในอาหารจําพวกผัก และผลไมจะพบวามีสารตานอนุมูลอิสระ หรือสารแอนติออกซิแดนท (Antioxidant) ที่ทําหนาที่ตอตาน หรือยับยั้ง ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation) โดยสามารถยับยั้ง หรือเหนี่ยวรั้งการ เกิดออกซิเดชันของไขมัน และโมเลกุลอืน่ ๆ ซึง่ มีประโยชนตอ สุขภาพ และ สามารถปองกันการเกิดโรคบางชนิดได เชน โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ อุดตัน และสามารถชะลอความชราได นอกจากนี้ยังยับยั้ง อนุมูลอิสระ ไมใหมีผลทําลายเซลล ดวยขาวพันธุพิษณุโลก 2 เปนพันธุขาวตนคอนขางเตี้ย สูง ประมาณ 114 ซม. ทรงกอตั้ง แตกกอดี ปลองและกาบใบสีเขียว ใบสีเขียว มีขนบนใบ ใบธงตัง้ ตรง ใบแกชา รวงแนนปานกลาง ระแงคอ นขางถี่ คอรวง สั้น เมล็ดขาวเปลือกสีฟาง เมล็ดขาวกลองรูปรางเรียวยาว 7.3 มิลลิเมตร กวาง 2.1 มิลลิเมตร หนา 1.6 มิลลิเมตร ขาวสุกรวนแข็ง ระยะพักตัว ประมาณ 8 สัปดาห และการสํารวจขอมูลของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา พิษณุโลก พบวา กลุมเกษตรกร 22 กลุม ที่เขารวม โครงการกลุมผูผลิตขาวปลอดภัย มีการใชขาวพันธุพิษณุโลก 2 มากที่สุด โดยเปนการปลูกแบบนาหวานนํ้าตม จํานวน 97 ไร และปลูกแบบโยนกลา 44 ไร ซึง่ การปลูกขาวโยนกลานีต้ อ งมีการปลูกตนกลากอน ในการปลูกขาว แตละครัง้ มีตน ออนบางสวนทีเ่ หลือจากการโยนกลา เกษตรกรไมไดนาํ ไปใช ประโยชน ซึง่ หากนํามาใชประโยชนไดจะทําใหมลู คาของตนขาวออนสูงขึน้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก จึงไดศึกษา และทําการวิจ ัยโดยใชขาวพันธุพิษณุโลก 2 มาพัฒนาเพื ่อผลิตนํ ้าชา พาสเจอรไรสจากตนออนขาว โดยพบวา ความสามารถในการตานอนุมลู อิส ระของนํ้าชาที่ไดจากการชงชาดวยนํ้ารอน 70 องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 นาที ยังมีความสามารถในการตานอนุมูลอิสระเหลืออยู ดังนั้นการพัฒนา ผลิตภัณฑนาํ้ ชาพาสเจอรไรสจากตนออนขาวพันธุพ ษิ ณุโลก 2 สามารถชวย เพิม่ มูลคาสินคาเกษตร และพัฒนาศักยภาพการสงออกในกลุม สินคาทีส่ ราง รายไดหลักจากการสงออกและสรางรายไดใหกบั ชุมชน การวิจยั เพือ่ ตอยอด ภูมปิ ญ ญาใหเกิดประโยชนเชิงพาณิชย เกิดประโยชนตอ ชุมชน ทองถิน่ และ สาธารณะ รวมทัง้ การพัฒนาคุณภาพสินคาและผลิตภัณฑ มาตรฐานสินคา และผลิตภัณฑ ความปลอดภัย ของอาหาร (Food Safety) และความมัน่ คง ดานอาหาร (Food Security) ได
Vegetables and fruits containing high antioxidant which assisting in oxidation resistantance of fat and other molecules and also protecting people from some critical illnesses such as cancer or Ischemic heart disease. Phitsanuloke 2 rice seedlings is 114 cms tall, the rice crop is straight with green leaves and dense in ear of rice. The paddy rice has light brown color with a length of 7.3 mm and a width of 2.1 mm and a thickness of 1.6 mm. The synthesis processes proceed within 8 weeks. From the survey of Rajamangala University of Technology of Lanna Phitsanuloke campus, it discovered that the Phitsanuloke 2 rice seedlings was on the top list that 22 groups of agriculturists used to harvest in “alternate wetting and drying (AWD)” paddy field for 97 rais and 44 rais in rice parachute transplanting. Agriculturists used some of the remained seedlings after the transplanting to produce pasteurized tea product from Phitsanuloke 2 rice seedlings. The product assists in oxidation if it is boiled in 70 degree Celsius water for 5 minutes. The product adds more marketing value and develops the capacity to become export products bringing income and benefit back to the community under the standard of Food Safety and Food Security.
วารสาร ราชมงคลล้านนา 25
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
มทร.ลานนา จัดการประชุมวิชาการวิจัย และนวัตกรรมสรางสรรค ครั้งที่ 2
“สู่วิจัยรับใช้สังคมและนวัตกรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ลานนา จัดการ ประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสรางสรรค ครั้งที่ 2 “...สูวิจัยรับใช สังคมและนวัตกรรมทองถิ่น”จุดเริ่มตนของการศึกษาคนควางานวิจัย ผานกระบวนการศึกษา ทดลอง จนกลายเปนผลงานวิจัยและนําไป ตอยอด ถายทอดลงสูการรับใชสังคม สรางงานนวัตกรรม การประชุม ครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อเปนเวทีนาเสนอผลงานทางวิชาการของอาจารยและ นักศึกษาและเผยแพรผลงานงานวิจยั สิง่ ประดิษฐ นวัตกรรม และผลงาน สรางสรรค สูสาธารณะ โดยไดรับเกียรติจากนายพุฒิพงศ ศิริมาตย ปลัด จังหวัดเชียงใหม ใหเกียรติเปนประธานเปดงานซึ่งการจัดงานครั้งนี้เปน ความรวมมือระหวาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ลานนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) และ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (มจพ.) ดร.ภาสวรรธน วัชรดํารงคศักดิ์ รองอธิการบดีดานวิจัยและ การถายทอดเทคโนโลยี มทร.ลานนา ในฐานะประธานการจัดงานกลาว วา “การจัดงานวิจัยนี้จัดขึ้นเปนครั้งที่ 2 โดยใชแนวคิดเรื่องนวัตกรรม สรางสรรค ซึ่งหมายรวมถึงผลงาน สิ่งประดิษฐที่เปนสิ่งใหม มานํา เสนอ เพื่อใหสังคม ชุมชน ไดนําไปใชประโยชน ซึ่งเปนความรวมมือ ของ3 มหาวิทยาลัยและภาคีเครือขายรวมกันจัดงาน อีกทั้งปณิธานของ มหาวิทยาลัยยังมุงเนนผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่ออกรับใชสังคม การจัด งานครั้งนี้จึงเปนเวทีของนักวิจัยไดแลกเปลี่ยนองคความรู ประสบการณ ในการทําวิจยั รวมถึงการไดรบั คําแนะนําจากผูท รงคุณวุฒภิ ายนอกทีร่ ว ม แลกเปลี่ยนและใหคําแนะนําในการพัฒนาองคความรูใหมๆนั้นจะเปน สวนหนึง่ ในการพัฒนาเพือ่ ใหเกิดผลงานนวัตกรรมเชิงสรางสรรคเพือ่ ออก สูสังคมตอไป” กิจกรรมภายในงาน การบรรยายพิเศษ เรื่อง งานวิจัยรับใช สังคมและงานวิจัยในภาคอุตสาหกรรม โดย ศ.ดร.ปยวัติ บุญ-หลง ผอ.คลังสมองแหงชาติ และ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสภาวะภูมิ อากาศโลกที่มีผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศไทยโดย รศ.ดร.กิตติ ลิ่มสกุล อาจารยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อดีตที่ ปรึกษานายกรัฐมนตรีและผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ การนํา เสนอผลงานในรูปแบบบรรยาย (Oral) 37 บทความ มีการนําเสนอผล งานทางวิชาการ รูปแบบโปสเตอร (Poster) 72 บทความ แบงเปน 6 สาขา ไดแก 1.วิศวกรรมและเทคโนโลยี 2.บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร 3.วิทยาศาสตรกายภาพและสุขภาพ 4.เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร 5.ศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร 6.งานวิจยั ทีม่ ผี ลกระทบตอชุมชน สังคมและหนวยงาน นําเสนอบทความทางวิชาการจาก 8 มหาวิทยาลัย ไดแก 1. ม.เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 2. มทร.รัตนโกสินทร 3. ม.เกษตรศาสตร 4. มทร. ศรีวิชัย 5. ม.ราชภัฎมหาสารคาม 6. สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร7. ม.เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 8. มทร.ลานนา เชียงราย พิษณุโลก นาน ตาก ลําปาง และสถาบันวิจัย เทคโนโลยีเกษตรและนิทรรศการแสดงผลงานและการประกวดสิ่ง 26 วารสาร ราชมงคลล้านนา
ประดิษฐ นวัตกรรม และผลงานสรางสรรคของ มทร.ลานนา 45 ผลงาน 6 หนวยงาน ไดแก งานวิจัยและบริการวิชาการจาก โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชน คณะ วิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร นิทรรศการ การนําผลงานวิจัยสูเชิงพาณิชย โดย ศูนยบมเพาะวิสาหกิจ มทร. ลานนา บรรยายพิเศษ นิทรรศการและการเปดใหคาํ ปรึกษาเกีย่ วกับ “การขอจดสิทธิบตั ร/อนุสทิ ธิบตั ร/ลิขสิทธิท์ างปญญา โดย สํานักงาน บริหารทรัพยสินและสิทธิประโยชน มทร.ลานนา โดยไดรับเกียรติ จากผูท รงคุณวุฒใิ นการใหขอ เสนอแนะสําหรับผูน าํ เสนอ อาทิ ศ.ดร. ศักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา จาก มจธ. รศ.ดร.ขวัญเนตร สมบัติ สมภพ จาก มจพ. และการนําเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ นวัตกรรม สรางสรรค ในดานวิศวกรรมศาสตร ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และดานศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร ซึง่ งานนีจ้ ดั ขึน้ ระหวาง วันที่ วันที่ 14 – 15 กันยายน 2558 ณ ศูนยประชุมนานาชาติ เอ็ม เพรส โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม ซึ่งรางวัลการนําเสนอผล งานสิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และผลงานสรางสรรคยอดเยี่ยม ไดแก เรื่อง “การศึกษาอกแบบโคมไฟโปรงแสงเซรามิกที่มีการตกแตง ดวยเอนโกบและเคลือบ” โดย ผศ.อภิญญา วิไล คณะศิลปกรรม และสถาปตยกรรมศาสตร มทร.ลานนา และรางวัลการนําเสนอผล งานทางวิชาการ ภาคบรรยาย (oral presentation) ยอดเยีย่ มไดแก เรือ่ ง “แบบจําลองเอ็มพิรคิ อลสําหรับพอลิเมอไรเซชัน่ แบบเปดวงของ เอปไซลอน คาโพรแลกโทนทีร่ เิ ริม่ โดยกรดแอล-แลกติก” โดยอาจารย วาณิช หลิมวานิช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์
“Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) r ani ed e 2nd Conference on
“
The 2nd Conference on “Research and Innovation for the Improvement of Local Community” has been organized by Rajamangala University of Technology Lanna. The event has taken place on 14th -15th September, 2015 at Chiang Mai International Exhibition and Convention Centre and exhibition Hall and the Empress Hotel, Chiang Mai, Thailand. Dr. Passawat Wachadumrongsak, the RMUTL Vice President for Research and Technology Transfer has given the honor for being the Chair person in the conference stated that “the 2nd conference on ‘Research and Creative Innovations’ aims at transferring the discovered knowledge and wisdom from the innovative findings for Community’s improvement . The conference is organized in order to provide the platform for researchers to share their experiences and for knowledge exchange. The conference gives the opportunities to the researchers to make a fruitful discussion which will lead to the development and improvement of creative innovations. It is a great opportunity to view many effective studies as well as making positive suggestions for the completion of the unfinished researches. The creative innovations have the ultimate goal to transfer the discovered knowledge to the society as being Community University. The conference has been successful with the collaboration between 3 Universities and participating schools and industrial sectors. The conference illustrates the principles of RMUTL which marked as ‘The leading vocational learning institute where learners are motivated to acquire the professional knowledge through Hands-on teaching approach. RMUTL is the university for community”. The organizing of the conference brought up various honorable specialized professionals to advice and provides some suggestions for better improvement that would contribute to the advance of creative innovations for our society” The conference began with the presentation on “Research for the Improvement of the Social welfare and Industrial researches”. The presentation was delivered by Assoc. Prof. Dr. Piyawat Boon-Long, the Executive Director from the Knowledge Network Institute of Thailand and “The Effect of Global Warming to Thai Economy” by Asst. Prof. Dr. Kitti Limsakul from the Faculty of Economics, Chulalongkorn University, the former advisor to Thai Prime Minister Assistant to Education Ministry, Thailand. Oral presentations of 37 articles, poster presentations of 72 articles, all of the works were divided into 6 Faculties; 1) Faculty of Engineering, 2 Faculty of Business Administration And Liberal Arts),3) health and
physical science, 4) Faculty of Science and Agricultural Technology, 5) Faculty of Arts and Architecture, 6) the Community Transfer Research and Development Centre. The presentations were carried out by the well-known speakers from various universities such as King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Kasetsart University, Rajamangala University of technology Srivijaya, Rajabhat Maha sarakham University, National Institute of Development Administration (NIDA), King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Rajamangala University of Technology Lanna; Ching Rai Campus, Pitsanulok Campus, Nan Campus, Tak Campus, Lampang Campus and Faculty of Science and Agricultural Technology. In this event, platform was dedicated for the exhibition of innovative products up to 45 masterpieces from 6 faculties including Research and Developments Center, Faculty of Engineering, Faculty of Business Administration and Liberal Arts etc. In this occasion, the industrial researches were brought up to show at the exhibition by Rajamangala University of Technology Lanna Business Incubators and also the presentation on “Patent registration Guide” delivered by Rajamangala University of Technology Lanna’s Office of Asset Administration. The conference has received an honorable advice by specialized professors such as Prof. Dr.Sakamon Devahastin from King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Assoc.Prof. Dr. Kwannate Sombatsompop from King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. The participants also received some fruitful advice for the improvement on the area of research and creative innovations regarding Engineering. Science, Technology, sArts and Architecture. In this occasion, the awarded prize for the excellent innovation and creative product has been given to Asst. Apinya Wilai from the Faculty of Arts and Architecture, Rajamangala University of Technology Lanna for the creative innovation on “The study of การศึกษา ออกแบบโคมไฟโปรงแสงเซรามิกที่มีการตกแตงดวยเอนโกบและ เคลือบ”. The excellent oral presentation prize was awarded to Mr. Vanish Limvanish, a lecture from Rajamangala University of Technology Lanna for the presentation on” แบบจําลองอ็มพิริคอลสําหรับพอลลิเมอรไรเววั่นแบบวงแอปไซลอน คาโพรแลกโทนที่ริเริ่มโดยกรดแอลแลกติก วารสาร ราชมงคลล้านนา 27
งานบริ ก ารวิ ช าการ
ขาวแตน ร ์เบอร์รี่ “ขาวแตนไรซเบอรรี่ ” เกิดจากการคิดคนสูตร การลองผิดลองถูก ของคณะทํางานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตฯ และการผสมผสาน องคความรูภูมิปญญาทองถิ่นของชาวบานบานโปงแดง
อาจารยภีราวิชญ ชัยมาลา หัวหนาโครงการยอย แปรรูปขาวเปนขาว แตนดวยภูมิปญญาพื้นบาน กลาววา ขาวแตนไรซเบอรี่ ของกลุมวิสาหกิจหมูบาน โปงแดงใหม เกิดจากโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมูบาน ชุมชน แบบมี สวนรวม เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรง เจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา กรณีบานโปงแดงใหม หมูที่ 12 ตําบลทรายขาว อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย เปนโครงการทีม่ หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย มองเห็นถึงศักยภาพในชุมชนและ เปนพืน้ ทีซ่ งึ่ อยูใ กลทตี่ งั้ ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย อีกทั้งอําเภอพานถือเปนอําเภอที่มีการปลูก ขาวเปนอันดับตน ๆ ประชาชนสวนใหญมีอาชีพเกษตรกรรม ทํานาเปนหลัก แต กลับมีรายไดตํา บางรายมีหนี้สิน เชนเดียวกับชาวนาและเกษตรกรในภูมิภาคอื่น เนือ่ งจากผลผลิตทีไ่ ดมปี ริมาณตาํ ตนทุนในการผลิตสูงและคุณภาพของขาวผลผลิต ไมดี ทําใหราคาสินคาตกตํา ประกอบกับ นายกันทา แกวกูล ผูใหญบาน ไดเขารวม โครงการของ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ ไดรบั เมล็ดพันธขา วไรซเบอรี่ ซึง่ เปนผลผลิตจากโรงเรียนชาวนา ของทาน ว วชิรเมธี (พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี) มาทดลองปลูก ในนาขาวของตนเอง ผูใหญบานรวมกับชาวบานและนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย รวมกันปลูกขาวไรซเบอรี่ ดวย วิธกี ารโยนกลาและเก็บเกีย่ วดวยวิธภี มู ปิ ญ ญาทองถิน่ ผลผลิตทีไ่ ดกแ็ จกจายใหชาว บานทีม่ าชวย และไดนาํ มาทดลองแปรรูปเปนขาวแตนดวยภูมปิ ญ ญาชาวบาน ทําให ชาวบานเกิดองคความรูใหม 28 วารสาร ราชมงคลล้านนา
องคความรูใหมที่ชาวบานคนพบ คือการเอาขาว เหนี่ยวขาว มาผสมกับขาวไรซเบอรี่ ซึ่งเปนขาวที่มีคุณคาทาง อาหาร มาทําเปนขนม (ขาวแตน) เปนอาหารวางของคนสําหรับ ภาคเหนือ ทีใ่ ชตอนรับแขกบานแขกเมือง เวลาไปมาหาสูก นั ใช เปนของฝากใหกบั บุคคลทีส่ าํ คัญ การผสมตองขึน้ กับสูตรทีค่ น พบ เพราะขาวไรซเบอรี่เปนขาวจาว ใชหุง จําเปนตองใชยาง ขาวเหนียวมาผสมเพือ่ ใหการเกาะติด เวลาเอาไปตากแหงจะได เปนแผนเดียวกัน ทอดจะไดไมแตก การตากแหงก็ไมควรมีแดด แรงมากเกินไป ซึ่งกรรมวิธีในการผลิตคอนขางที่จะละเอียด ใช ความเอาใจใส ตองรักษาความสะอาดในการทําเปนอยางมาก ชาวบานไดคิดคนเอาทุกวิถีทางที่จะใชทรัพยากรที่มีอยูอยาง ประหยัด ดวยเหตุนี้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย จึงไดพิจารณาพื้นที่ดังกลาวเปนพื้นที่ในการยกระดับ คุณภาพชีวิตแบบมีสวนรวม ตั้งแตป พ.ศ.2556-2558 จาก ผลการดําเนินโครงการทําใหเกิดความเขมแข็งและสามารถพึ่ง ตนเองไดอยางแทจริง อีกทั้งสรางชุมชนตนแบบในการพัฒนา ใหแกชุมชนอื่นใหเกิดความเขมแข็งตอไป สําหรับคุณสมบัติเดนทางดานโภชนาการ คือมีสาร ตานอนุมูลอิสระสูง ไดแก เบตาแคโรทีน แกมมาโอไรซานอล วิตามินอี แทนนิน สังกะสี และโฟเลตสูง มีดัชนีนํ้าตาลตํา-ปาน กลางนอกจากนี้ รําขาวและนํา้ มันรําขาว ทัง้ ยังมีคณ ุ สมบัตติ า น อนุมลู อิสระทีด่ ี ซึง่ จากคุณสมบัตขิ อ นี้ นอกจากจะใชรบั ประทาน เพื่อเสริมสรางสุขภาพที่ดี ลดความเสี่ยงตอการเปนโรคมะเร็ง ทางการแพทยยังนําไปใชทําผลิตภัณฑอาหารโภชนบําบัด สาร อาหารสําคัญทีอ่ ยูใ นขาวกลองไรซเบอรี่ ประกอบดวยโอเมกา 3 มีอยู 25.51 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม กรดไขมันจําเปน มีบทบาท สําคัญตอโครงสรางและการทํางานของสมอง ตับและระบบ ประสาท ลดระดับคอเลสเตอรอล ธาตุสังกะสี 31.9 มิลลิกรัม ตอกิโลกรัม ชวยสังเคราะหโปรตีน สรางคอลลาเจน รักษาสิว ปองกันผมรวง กระตุนรากผม, ธาตุเหล็ก 13-18 มิลลิกรัมตอ กิโลกรัม สรางและจายพลังงานในรางกาย เปนสวนประกอบที่ สําคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง และเปนสวนประกอบ ของเอนไซมซ่ึงเกี่ยวของกับการใชออกซิเจนในรางกาย และ สมอง นอกจากนี้ เสนใยอาหาร (fiber) มีอยูป ริมาณมากในขาว กลองไรซเบอรรี่ ชวยลดระดับไขมันและคอเลสเตอรอล ปองกัน โรคหัวใจ ชวยควบคุมนํ้าหนัก ชวยระบบขับถายอีกดวย
งานบริ ก ารวิ ช าการ
Berry Rice Cracker Berry rice cracker A snack for Northern Thai people Berry rice cracker was discovered by staff of improve life quality project and local wisdom of Pong Dang villagers. Mr.Peerawit Chaimala, the project manager of converting rice into rice cracker by using local wisdom stated that berry rice cracker was developed according to the project of improving life quality which aim to honor 60th of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, in Pong Dang Mai Village, Village Number 12, Sai-Khaw Sub-district, Phan District, Chiang Rai Province. Rajamangala University of Technology Lanna Chiangrai supported this project which the area is near Phan District, also it has a highest number of rice agriculture. Most of the villagers are agriculturists who have low income and in debt. This is common for farmers and agriculturists in other places, due to less amount of products and high cost of production which cause poor quality of rice and low price products. Mr. Kanta Kaewkul, Head of the village, who participated Bank of Agricultural project, received berry rice seed which was farm school project of Phra Maha Wuttichai Wacharametee. Head of the village and the students in Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Rai planted berry rice seed by throwing rice seed then harvested by using local wisdom which converted rice into rice cracker. New theory that was discovered by the villagers was the mixture of sticky rice and berry rice to make rice cracker which was a snack for Northern Thai people. It can be used as a souvenir. Rice berry cracker was made by mixing rice berry with sticky rice, then dried in the sun. Do not dry with too much sun. Therefore, Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Rai considered Pong Dang Village as the area for improve life quality project from 2013 to 2015 which causes the strength community. The nutrition of rice berry is high anti-oxidant such as beta catotine, gramma oryzanol, vitamin E, tannin, zinc, and high folate with low sugar index. Its bran has high anti oxidant which is good for cancer preventing. Berry rice consists of omega-3 of 25.51 mg/kg, acid which is useful for brain, liver, and brain, also decreased cholesterol. Zinc for 31.9 mg/kg is useful for synthesize protein, collagen, acne care, and prevent hair fall. Iron for 13-18 mg/kg help hemoglobin and enzyme that produce oxygen. Its fiber helps to decrease cholesterol, heart attack, digest, and excretory system. วารสาร ราชมงคลล้านนา 29
งานบริ ก ารวิ ช าการาการ
บัณฑิตนักปฏิบัติ ผนึกกําลังกับ จ.ตาก ติดตั้งระบบไฟฟา
พลังงานแสงอาทิตย์และซอ่ มบํารุงในถิ่นทุรกันดาร
30 วารสาร ราชมงคลล้านนา
งานบริ ก ารวิ ช าการ
นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส คณะวิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก ลงพื้นที่หมูบานในถิ่น ทุรกันดาร เพื่อติดตั้งระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยและซอมบํารุงใน พื้นที่ตางๆ โดยมีอาจารยรุงโรจน ขะมันจา อาจารยจีรพงษ จีบกลํา อาจารยสนั ติภาพ โคตทะเล และอาจารย Aleksei Nekhaev เปนอาจารย ที่ปรึกษาและเดินทางลงพื้นที่พรอมกับนักศึกษา ดังนี้ วั น ที่ 3-6 กั น ยายน 2558 ดํ า เนิ น การซ อ มบํ า รุ ง ไฟฟ า พลังงานแสงอาทิตยครัวเรือน(โซลารโฮม) หมูบานกามาผาโด ต.แมหละ อ.ทาสองยาง และหมูบ า นหวยจะกือ หมูบ า นขุนหวยชางไล ต.ดานแมละ เมา อ.แมสอด จ.ตาก วันที่ 29 - 30 สิงหาคม 2558 ดําเนินการซอมแซม ระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ณ ศูนยการเรียนตํารวจตระเวนชายแดน บานทีวะเบยทะ และศูนยการเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานเลผะสุคี หมู 10 ต.แมตื่น อ.แมระมาด จ.ตาก วันที่ 21-24 สิงหาคม 2558 ดําเนิน การติดตัง้ ระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยขนาด 900 วัตต ณ สถานบริการ สาธารณสุขชุมชน(สสช.) บานแมสองนอย หมูที่ 8 ต.แมอุสุ อ.ทาสองยาง จ.ตาก สําหรับการติดตัง้ ระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยและการซอม บํารุงเปนการดําเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 ของจั ง หวั ด ตาก ในชื่ อ โครงการ “ติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ า พลังงานแสงอาทิตยในถิ่นทุรกันดาร” ซึ่งเปนความรวมมือระหวาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก และจังหวัดตากเพื่อ พัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานใหแกประชาชนในพื้นที่หางไกลและ พัฒนาคุณภาพชีวติ ความเปนอยูใ หดขี นึ้ และสิง่ สําคัญสําหรับอาจารยและ นักศึกษาทีจ่ ะไดรบั คือการทีอ่ าจารยไดสอน นักศึกษาไดฝก ปฏิบตั ิ ชุมชน และสังคมไดประโยชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก เปนมหาวิทยาลัย ที่มีชื่อเสียงดานการจัดการเรียนการสอนดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยเมื่อป 2553 ที่ผานมา นักศึกษา มทร.ลาน นา ตาก ในนามทีมหนองกระโห ไดควาแชมป M-150 Ideology 2009 รับถวยพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ใหชาวราชมงคลลานนาไดชื่นชมมาแลว
The Department of Electronic, Engineering Faculty of RMUTL Tak to Collaborate Tak Administrative Organization in Providing Solar System Service and Maintenance in Rural areas. The Electronic students of Engineering Faculty, Rajamagala University of Technology Lanna Tak went to villages in rural area to install solar system and maintain the devices. This service trip was supervised on site by many RMUTL lecturers; Mr. RungRoj Khamanja, Mr.Jeerapong Jeepkhoa, Mr.Santipab Kodtalae, and Mr.Aleksei Nekhaev. The schedule of this RMUTL Tak service group is following. 3 - 6 September 2015 – Maintain solar home in Kamapado village, Mae-la subdistrict, Thasongyang district, later in Huay-Ja-Keu village and Khun-Huay-Chang-Lai village, Dan Mae La Mao subdistrict, Maesod, Tak province. 29-30 August 2015 – Provide a repair service at border patrol police learning center in Wa-Biey-Ta and Lae-Pa-Su-Kee villages, which is situated in Mae Teun subdistrict, Mae Ra Mad, Tak province. 21-24 August 2015 – Install a 900 watt solar system at public health center in Mae Song Noi village, Mae U-Su subdistrict, Ta Song Yang, Tak province. In addition, the installing and maintenance service of solar system is part of Tak’s 2015 fiscal operation plan. The project was conducted under the title “Providing Solar System in the Rural Areas”. It was the cooperative project between RMUTL Tak and Tak’s administrative organization aiming to improve fundamental public utility in the rural areas and to improve life quality of the people in those areas. In the same time, an important achievement for the RMUTL Tak’s students and lecturers is that the lecturers took this opportunity to teach the students practical lessons which are beneficial to the communities and the society. Rajamagala University of Technology Lanna Tak has been well-known of the Electrical and Electronic curriculum. In 2010, a student group of RMUTL Tak, in the name of “Nong-Ka-Ho team”, won HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn’s royal trophy in M-150 Ideology 2009, which brought great admiration to the university. วารสาร ราชมงคลล้านนา 31
งานบริ ก ารวิ ช าการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา น่าน จัดเวที
ถายทอดองคความรูจาก งานวิจัยสูชุมชน มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ลานนา นาน นําโดย อาจารยอมรชัย ลอทองคํา อาจารย เชาวลี ย ใจสุ ข และอาจารย ป กรณ สุนทรเมธ อาจารยประจําคณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร ไดทําการจัดเวทีถายทอด องคความรูจากงานวิจัยสูชุมชน จากงานวิจัย เรื่อง “การสํารวจความหลากชนิดปลาในแมนํ้า วาตอนลาง จังหวัดนาน”ในวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ณ โรงเรียนบานนํา้ พาง ตําบลนํา้ พาง อําเภอแมจริม จังหวัดนาน โดยมีผูเขารวมรับฟง และแลกเปลี่ยนความรูในการจัดเวทีถายทอด องคความรูในครั้งนี้จํานวนทั้งสิ้น 70 คน ซึ่ง ประกอบไปดวย คณะครู นักเรียนระดับมัธยม ตน และผูนําชุมชน
32 วารสาร ราชมงคลล้านนา
งานบริ ก ารวิ ช าการ
ซึ่งงานวิจัยดังกลาวไดดําเนินการระหวางเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 ถึง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 โดยผลจากการวิจัยพบวามีชนิด ปลาแพรกระจายในแมนํ้าวาตอนลางไมนอยกวา 60 ชนิด ซึ่งปลาบาง ชนิดสามารถนํามาพัฒนาตอยอดไปสูการเพาะเลี้ยงเพื่อสรางเปน อาชีพทางเลือกใหกับคนในชุมชนในอนาคตได บางชนิดมีความสวยงาม เหมาะที่จะนํามาเปนปลาสวยงาม บางชนิดเปนตัวบงบอกถึงคุณภาพ นํ้าของแมนํ้าวาตอนลางไดเปนอยางดี บางชนิดเปนปลาประจําถิ่นบาง ชนิดเปนปลาที่พบไดยาก บางชนิดก็เปนปลาที่ไมสามารถพบไดจาก แหลงนํ้าอื่น ๆ ในระบบแมนํ้าเจาพระยา (first record) และบาง ชนิดเปนปลาตางถิ่นที่สามารถสงผลกระทบตอปลาทองถิ่น การถายทอดองคความรูเกี่ยวกับปลาในแมนํ้าวาตอนลางแก ชุมชนในครั้งนี้ ถือวาเปนงานวิจัยตน ๆ ที่ชุมชนไดรับรูถึงทรั พ ยากร ธรรมชาติที่มีอยูในชุมชนที่ครอบคลุมพื้นที่ของแมนํ้าวาตอนลาง และ ไดจุดประเด็นตาง ๆ ใหเกิดขึ้นกับชุมชน เชน การอนุรักษพันธุปลาที่ ถู ก ต อ ง การใช ป ระโยชน จ ากความหลากชนิ ด ของปลาในแม นํ้ า ว า ตอนลางเปนตน นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังไดแสดงใหชุมชนไดเห็นบริบท ตาง ๆ ทีม่ ผี ลตอทรัพยากรธรรมชาติของแมนาํ้ วาตอนลาง ไดแก (1) ความ เสือ่ มโทรมของพืน้ ทีป่ า ตนนํา้ (2) ระบบการจัดการขยะมูลฝอยทีย่ งั ไมดพี อ (3) การใชยาและสารเคมีเพื่อการเกษตรในปริมาณสูง และ (4) การสราง เขื่อนและการขุดลอกแมนํ้า ซึ่งเปนการทําลายระบบนิเวศและแหลงที่อยู อาศัยของปลาอยางสิน้ เชิง ซึง่ ปญหาทัง้ หมดสงผลกระทบทัง้ ทางตรงและ ทางออมตอคุณภาพนํ้า สัตวนํ้าชนิดตาง ๆ และทุกคนในชุมชน ในการนี้คณะวิจัยยังไดนําเสนองานทางดานพันธุกรรมของ กลุมประชากรปลาเลียหินในแมนํ้าวา โดยอาจารยเชาวลีย ใจสุข และ การเพาะพันธุป ลาเลียหินเพือ่ การอนุรกั ษ โดยอาจารยอมรชัย ลอทองคํา ให แ ก ผู เข า ร ว มงานในครั้ ง นี้ รั บ ฟ ง ด ว ย ซึ่ ง ได รั บ ความสนใจจากผู นํ า ชุมชนเปนอยางมาก เพราะขอมูลดังกลาวชุมชนสามารถนําไปวางแผน ในการอนุรักษปลาเลียหินในแหลงนํ้าธรรมชาติของชุมชนไดในอนาคต สําหรับงานวิจัยนี้ไดรับความรวมมือและอํานวยความสะดวก จากชุมชนทั้ง 10 ชุมชนที่เขาไปทําการ ึก าวิจัย ดังนั้นคณะวิจัยจึงขอ ขอบคุณคนในชุมชนทั้ง 10 ชุมชนเปนอยางสูง และในการนี้คณะวิจัยขอ ขอบพระคุณสํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ ที่สนับสนุนทุน วิจยั และขอขอบคุณ ายวิจยั กองการ กึ านาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา นาน ที่ไดสนับสนุนใหงานวิจัยนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี
Rajamangala University of Technology Lanna Nan held the knowledge forum from the research to community
Rajamangala University of Technology Lanna Nan led by Acharn Amornchai Lauthongkham, Acharn Chaowalee Chaisook, and Acharn Pakorn Suntornmeth; instructors of faculty of Agricultural Science and Technology held the knowledge forum from the research to community based on the research “A survey of various fish species of lower Wah River, Nan”. The research had been carried on from June, 2014 to July, 2015 and found that there over 60 types of fish in the lower area of Wah River. Some fish can be raised for selective careers for the community in the future. There are different fish that can be represented in every single way such as beautiful fish, fish that can identify the quality of the river, local fish, rare found fish, (first record) fish that cannot be found in other areas of Chao Praya River System, and some are fish from other area that can cause effect to local fish. The knowledge forum had been held on 29th July, 2015 at Ban Nam Phang School, Nam Phang, Mae Charim, in Nan. There were 70 participants consisted of high school teachers and students, and leaders of community who exchanged and passed on knowledge about fish in lower area of Wah River. This probably be the firstly research which provides environmental information for community in lower Wah River area and makes notice in various issues such as conservation of fish varieties and utilization of fish in the river in different types. Furthermore, the research showed activities in the community which affected natural resources of the river such as (1) degeneration of riverhead forest (2) improper waste disposal system (3) high utilization of chemical fertilizer (4) building of dams and river dredging which entirely destroyed ecosystems and habitats of the fish. All these activities caused direct and indirect effects to water quality, aquatic animals, and people in community. In this forum, the research team led by two instructors of the university; Acharn Chaowalee Chaisook on genetic work of garra (Pla Lia-hin) populations in Wah River, and Acharn Amornchai Lauthongkham on Breeding of the Fish for Conservation, presented to the audiences. The topics were attractive to people because they could be applied to conservation plan of garra in the future. This research had been in cooperated and facilitated by 10 communities participated in the project. The research team would like to thank you to people in the communities, The National Research Council who supported for research funding, research division of Education Department of Rajamangala University of Technology Lanna Nan who helped and supported through all this research. วารสาร ราชมงคลล้านนา 33
งานบริ ก ารวิ ช าการ
มทร.ล้านนา จับมือ แคทเธอร์พิลลาร์ ผุด
CAT ACADEMY รองรับการขยายตัวเขตเศรษฐกิจพิเศษ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล(มทร.)ล า นนา รั บ มอบ เครื่องจักรกลหนัก ไวใชฝกปฏิบัติสําหรับนักศึกษา จากบริษัท แคทเธอ รพิลลาร(ประเทศไทย) จํากัด (Caterpillar Thailand Co.,Ltd.) บริษัท ยักษใหญดา นเครือ่ งจักรกลหนัก เพือ่ รวมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา ของ มทร.ลานนา ในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั สิ นองนโยบายรัฐ รวม ถึงหารือการจัดตั้งศูนยการเรียนรูดานเครื่องจักรกลหนัก วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2558 รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี พรอมดวยคณะผู บริหาร มทร.ลานนา รับมอบอุปกรณทางการศึกษา จากบริษทั แคทเธอรพลิ ลาร (ประเทศไทย) จํากัด (Caterpillar Thailand Co.,Ltd.) เพื่อใชในการ จัดการเรียนการสอน ของนักศึกษาหลักสูตรจักรกลหนัก สาขาวิศวกรรม เครื่องกล โดยเปนอุปกรณทางการศึกษาขนาดใหญซึ่งจะเปนพื้นฐานการ พัฒนาการเรียนการสอนสูการเปนบัญฑิตนักปฏิบัติ( Hands-on ) รวมทั้ง ไดรวมหารือถึงประเด็นความรวมมือทางวิชาการดานตาง ๆ คือ 1. ความรวมมือการฝกประสบการณของนักศึกษา(สหกิจศึกษา) และอาจารยของมทร.ลานนารวมกับบริษัทเปนระยะเวลา 6 เดือน ถึง 1 ป และทุก ๆ ป 2. ความรวมมือดานการวิจัยระหวางอาจารยของ มทร.ลานนา และบริษัท 3. การแลกเปลี่ยนและการฝกอบรมบุคลากรของทั้งสองหนวย งาน เพือ่ พัฒนาใหเปนศูนยการฝกอบรมของบุคลากรดานเครือ่ งจักกลหนัก ในภูมิภาคและสอดรับกับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษดานตะวันตกของ ประเทศ (เขตเศรษฐกิจพิเศษ แมสอด) ซึง่ ติดกับประเทศพมา รวมถึงการจัด ตัง้ ศูนยการเรียนรูด า นเครือ่ งจักรกลหนักภายใตผลิตภัณฑของบริษทั ( CAT 34 วารสาร ราชมงคลล้านนา
Academy ) ณ มทร.ลานนาตาก เพื่อใชเปนหองปฏิบัติการสําหรับการ เรียนรู และฝกฝนประสบการณและการทดสอบสมรรถนะใหกบั บุคลากร ของบริษทั และนักศึกษา รวมถึงเปนศูนยสอบเทียบชางฝมอื และศูนยฝก อบรมเพือ่ พัฒนากําลังคนในการรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด ทีจ่ ะ ขยายฐานตลาดของบริษัทไปยังประเทศพมาไดในอนาคต มทร.ลานนา ซึ่งเปนสถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอน ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มุงเนนการบูรณาการระหวางการเรียน กับการทํางานเขาดวยกัน ( Work Integrated Learning) ทั้งในรูป แบบการจัดการศึกษาตามขอกําหนดของทางมหาวิทยาลัยหรือองคกร วิชาชีพ (Formal Engineering Education) และการจัดการศึกษาใน รูปแบบการบูรณาการเรียนกับการฝ กปฏิบัต ิในรู ปของการทํา งาน (Co-operative Engineering Education) นําไปสูการเปนบัณฑิตนัก ปฏิบัติที่ตรงกับความตองการของสถานประกอบการ รวมถึงการสราง นวัตกรรม งานวิจัย สิ่งประดิษฐ ที่สามารถนําไปตอยอดในเชิงพาณิชย และในปจจุบันมหาวิทยาลัยไดใหความสําคัญกับการพัฒนากําลังคน ชางเทคนิค วิศวกรทางดานเครื่องจักรกลหนักซึ่งถือวาเปนแหงเดียวใน ประเทศที่มีการจัดการเรียนการสอนในสาขานี้ สวนบริษัท แคทเธอ รพิลลาร (ประเทศไทย) จํากัด (Caterpillar Thailand Co.,Ltd.) เปน ผูน าํ ดานการผลิตเครือ่ งจักรกลหนักขนาดใหญ เครือ่ งยนตดเี ซลความเร็ว สูงที่สุดในโลก ดังนั้นความรวมมือในครั้งนี้จะสามารถผลิตกําลังคนที่มี คุณภาพ มีทักษะวิชาชีพตรงตามมาตรฐานสากล ใหแกตลาดแรงงานทั้ง ในระเทศและภูมิภาคอาเซียนได
งานบริ ก ารวิ ช าการ
RMUTL and Caterpillar Thailand Co. Ltd., in collaborative hand to pilot CAT ACADEMY for the preparation of potential vocational graduates to the upcoming of Special Economic Zone Caterpillar machine has been given to RMUTL for students training purpose by Caterpillar Thailand Co. Ltd., the forefront company well known for the production of heavy machines. The propose of the machine offer is to support the education and training for RMUTL in order to produce the learners to meet the national policy as well as to establish the center for heavy machine education. On October 28, 2015, Assoc. Prof. Dr. Numyoot Songthanapitak, president of Rajamangala University of Technology Lanna, with members from RMUTL Board of Administration Office, has received a great opportunity to welcome Caterpillar Thailand Co. Ltd. On this occasion, machines and tools from the company were given for academic training to help in the contribution of knowledge to the students of RMUTL, particularly with students under Mechanical engineering course. The caterpillar machine is believed to perform as a great sample to enhance practical learning of vocational students. The offered machine would strengthen the practice of Hands-on based teaching and learning among the learners where highly professional competency can be developed and skillful practitioner are the learning outcomes of the teaching approach. Apart from that, the meeting also brought up the academic discussion and the conclusions are the cooperation between RMUTL and Caterpillar Thailand Co. Ltd., in terms of; 1. Providing internship program and training program for undergraduates and participating schools’ students as well as teachers, staffs from RMUTL at the company for a period of 6 months to 1 year for each year, 2. The cooperation between research and development of the RMUTL teachers and the company, 3. Exchange program for staff training and seminar in order to develop both the parties as the hub for heavy machines and mechanic engines in accordance with the upcoming of Special Economic Zone in the western part of
Thailand, namely Mae Sod in Tak province close to the border of Myanmar. With the realization, the initiated establishment of the center for CAT Academy at RMUT at Tak Campus through the use of products of Caterpillar Thailand, Co. Ltd., provides the laboratory for learning and experience training for the company’s staffs and the students. The center also can be used as examination center to upgrade the knowledge level of the technicians and skill workers. Moreover, CAT Academy will also provide the training courses for human resources for sufficient supply and expansion of the company to Myanmar in the future. Rajamangala University of Technology Lanna, a government institute, offers vocational education and training based on science and technology teaching where work integrated learning is encouraged. RMUTL offers both formal engineering education as well as the Co-operative Engineering Education with the aim to prepare the learners to fulfill the requirements of the industrial sector and enterprises. RMUTL also encourages the research and development of innovative inventions and teaching approach. For RMUTL, the community’s needs and demands have been considered the major concerns which motivate different forms of invention for commercial benefi ts. At the present time, RMUTL is considered to be the only institute to provide heavy machine education under mechanical engineering course and pay major concern to the development of technical skill workers while Caterpillar Thailand Co. Ltd., is known as a leading company for heavy mechanical machine and the world’s highest speed diesel machines. Henceforth, the cooperation between RMUTL and the Caterpillar Co. Ltd., would contribute to the achievement of successful production of skillful and potential technical human resources that meet the global standard and the ASEAN Economics Community and South East Asian career requirements.
วารสาร ราชมงคลล้านนา35
งานบริ ก ารวิ ช าการ
The learning center for rice production ศูนยก์ ลางการเรียนร.ู้ ... .........สู่ข่ายการผลิตข้าว
จากการดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีการปลูกขาวแบบโยนกลา เมื่อป 2556 ที่หมูบาน บานทุงใหญ ตําบลนิคมพัฒนา อําเภอบางระกํา จังหวัดพิษณุโลก ประสบผลสําเร็จจากการพัฒนาทางดานการผลิตเมล็ด พันธุขาว การพัฒนาดานกลไกการคาขาว และการพัฒนาตอยอดในดาน การผลิตเครื่องมือการเกษตรใชในกลุมและชุมชนนั้น ในป 2557 มทร.ลานนา พิษณุโลก ไดดําเนินการตามแผนการ ดําเนินงานอยางตอเนื่อง โดยจัดตั้งศูนยการเรียนรูที่หมูบานบานทุงใหญ เพิ ่ ม ขึ ้ น ประกอบด ว ย แหล ง เพาะกล า นาโยน แหล ง คั ด เมล็ ด พั น ธุ แหลงทดสอบเมล็ดพันธุขาว แหลงรวบรวมเมล็ดพันธุ การทําปุยสั่งตัด ซึ่งการดําเนินการผลิตเมล็ดพันธุขาวอยางตอเนื่องเพื่อตอบสนองความ ตองการของชุมชน โดยพันธุขาวที่ไดผลิต ประกอบดวย ขาวพิษณุโลก2 กข.31 กข.43 กข.41 ขาวหอมนิล ขาวไรซเบอรรี่ และขาวหอมมะลิ ซึ่ง เปาหมายในการผลิตคือ การผลิตเมล็ดพันธุ และการทําขาวขัดสีและ ขาวกลองจําหนาย เพราะขาวมีราคาตกตํา ซึ่งจําเปนที่จะตองหาวิธีการ อื่นแกไขตอไป เพื่อแกไขปญหาดานราคา และชวยเหลือกลุมสมาชิกดวย กันเอง นอกจากนีย้ งั ไดมกี ารประดิษฐคดิ คนเครือ่ งปลูกขาวแบบโรยเมล็ด โดยปลูกไดครั้งละ 14 แถว ใชเมล็ดพันธุเพียง 8 กิโลกรัมตอไร เพื่อลด ตนทุนใหกับกลุมสมาชิก ปจจุบันกลุมสมาชิกและคณะทํางานบานทุงใหญ ตําบลนิคม พัฒนา อําเภอบางระกํา จังหวัดพิษณุโลก ไดดําเนินงานมุงเนนการผลิต ขาวปลอดภัย มาตร าน AP และเปนจุดศูนยกลางในการเรียนรูและ การแลกเปลี่ยนซื้อขายเมล็ดพันธุขาวของชุมชนจังหวัดพิษณุโลก และ จังหวัดใกลเคียง ซึ่งสงผลใหไดรับการยกระดับเปนหมูบานแมขายดาน การผลิตเมล็ดพันธุ โดยไดรับรางวัลการันตีคุณภาพ จากรางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 ระดับจังหวัด และรางวัลชนะเลิศระดับเขต 4 พรอมโลประกาศ เกียรติคุณ จากพลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี เนื่องในวัน ขาวและชาวนาแหงชาติ ประจําป 2558 ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานครฯ 36 วารสาร ราชมงคลล้านนา
From the transmission of Rice Parachute planting in 2013 in Baan Thung Yai, Tombon Nikompattana, Amphoe Bangrakam, Phitsanuloke, Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanuloke has great success in this project. This project supports rice trade production, rice trade development and agricultural device innovation. The 2013 project proceeded in an orderly manner. The team built the learning center which has been facilitating on rice parachute knowledge, seed selection, rice seed testing, rice seed collection and fertilizer production. The project has produced a wide variation of paddy seeds (e.g. Phitsanuloke Kor Kho 31, Kor Kho 43 and Kor Kho 41 (RD31, RD 43 and RD 41), Black Cargo Rice (Hom Nin rice), Rice Berry and Jasmine Rice). The project aimed to develop rice seed production and commercial due to the low price. The team has innovated the seed sprinkle that requires only 8 kilograms of rice seeds per rai in 14 rows assisting in cost reduction for members. Recently, the project center works under the GAP standard in rice production and exchange in Phitsanuloke and its nearby provinces prompting the village to get the first prize (in provincial level), the 4th prize (in district level) and a trophy from the Prime Minister, General Prayuth Chan-ocha on National Rice and Farmers Day 2015 at Santi Maitree Building, Government House, Bangkok.
งานบริ ก ารวิ ช าการ
หมู่บ้านข้าวนาโยน พริกปลอดสาร
Nayoan Village, Hydroponic Chili Project hey are 120 families in Ban ah-Hiang moo in Stan subdistrict ua district in Nan with totally people in the lowland heir main occupations are agricultures hey grow rice chili tobacco hinese mustard green banana corn sweet corn and longan respectively he handicraft and food processing are their part-time careers eople form themselves into four professional groups which are for banana chips chili paste broomstic s and woven fabrics his village was rewarded as the peaceful living suf ciency economy village of Nan n 201
บานปาเหียง หมู 7 ตําบลสถาน อําเภอปว จังหวัดนาน มีจาํ นวน ครัวเรือน 120 ครัวเรือน มีประชากรรวม 476 คน ลักษณะเปนพื้นที่ ราบ มีการทําเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก พืชหลักที่ปลูกไดแก ขาวและ พริก รองลงมาคือ ยาสูบ กลวย ผักกาดเขียวปลี ขาวโพดหวาน ขาวโพด ขาวเหนียว (ไมปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว) ลําไย อาชีพเสริม ไดแก การทํา หัตถกรรมและแปรรูปอาหาร โดยมีการรวมตัวจัดตั้งกลุมอาชีพ 4 กลุม ไดแก กลุมทํากลวยฉาบ กลุมทํานํ้าพริก กลุมทําไมกวาด และกลุมทอ ผา เปนหมูบานที่ไดรับรางวัลหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง อยูเย็น เปนสุข จังหวัดนาน ป 2557 ปญหาดานการประกอบอาชีพของหมูบานที่พบคือ มีการปลูก ขาวกันทุกครัวเรือนแตมีคาใชจายในการปลูกขาวสูง (คาเมล็ดพันธุ คา จางดํานา คาปุย รวมแลวมีคาใชจายทั้งหมดไมนอยกวา 5,000 บาท/ไร) มีปญหาโรคและแมลงในการปลูกพริกทําใหตองใชสารเคมีปองกันกําจัด และผลผลิตเกิดความเสียหาย นอกจากนั้นยังมีปญหาดินเสื่อมคุณภาพ เนื่องจากดินไมไดพัก ไมไดมีการบํารุงดิน มีการใชปุยเคมีในปริมาณสูง เกินความจําเปน ไมไดใชตามสภาพของดิน ทําใหสงผลกระทบตอสิ่งมี ชีวิตหรือระบบนิเวศนในแปลงเกษตรเปนอยางมาก คลินกิ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน รวมกับ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไดคดั เลือกบานปาเหียง ตําบลสถาน อําเภอปว จังหวัดนาน เขารวมโครงการหมูบ า นวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ในชื่อวา “หมบานขาวนาโยน พริกปลอดสารพิษ” ประจําปงบประมาณ 2558-2560 รวมกรอบระยะเวลาดําเนินการ 3 ป ตอเนือ่ ง มีวตั ถุประสงคของโครงการเพือ่ สงเสริมใหชมุ ชนนําวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไปใชในการแกไขปญหาและพัฒนาการประกอบอาชีพ กิจกรรมที่ดําเนินการในป 2558 ประกอบดวยการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องดินและปุย การวิเคราะหคาดิน การใชปุยตามคาวิเคราะหดิน การ เพาะกลานาโยนและการโยนกลา การทําแปลงเปรียบเทียบจํานวนกลา ขาวที่ใชในการทํานาโยน การดูแลและกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี การคัด เลือกเมล็ดพันธุขาวและพริก รวมทั้งจัดใหมีการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มพูน ความรูและประสบการณใหกับเกษตรกรผูเขารวมโครงการ
The problems found in working are the high cost of growing rice (e.g. seeds, fertilizer, and transplant rice seedlings are at least 5,000 baht per farm in total), and the damage in growing chili caused by using chemical to protect the chili from insects and disease. Besides, there was the problem of soil degradation that it has been used continually with too much of chemical fertilizer without treatment. The use of fertilizers without concerning about soil conditions affected lives and ecology in the agricultural plot greatly. The Clinic of Rajamangala University of Technology Lanna Nan in conjunction with the Ministry of Science and Technology selected Ban Pah-Hiang, Pua, Nan to participate in the Village of Science and Technology Project named “Na hao oan illage Hydroponic hilli” of fiscal year 2015 - 2017. The aim of this is to encourage the communities to apply science and technology with the method of solving problems and to improve careers. The activities in 2015 are consisted of the workshop on soil and fertilizer, analysis of the soil, the use of fertilizers based on soil analysis, cultivating of Nayoan (parachute rice growing method), and casting the sprouts, making other plots to compare sprouts quantity with the one using parachute rice growing method (Nayoan), biological pesticide and nourishing, selection of rice seeds and chili, and arranging a tour of inspection to increase knowledge and experience for agriculturist participated in the project. วารสาร ราชมงคลล้านนา 37
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม
ประเพณีตานก ๋านกว๋ ยสลาก ประเพณีตา นกวยสลาก หรือ สลากภัต เป น ประเพณี ท ี ่ ท างภาคเหนื อ นิ ย มจั ด กั น ใน ชวงเดือน 12 เหนือถึงเดือนยี่เหนือ หรือตั้งแต เดือนกันยายนจนถึงเดือนตุลาคมของทุกป และ เปนหนึ่งในประเพณีที่ชาวลานนาไดนิยมทําสืบ ตอการมา โดยมีความเชื่อวาประเพณีเมื่อสมัย พุทธกาลไดมนี างยักษิณตี นหนึง่ มักจะเบียดเบียน ผู ค นอยู เ สมอ ครั้ น ได ฟ ง ธรรมคํ า สอนของ พระพุ ท ธเจ าแล ว นางก็บ ังเกิด ความเลื่อมใส ศรัทธานิสัยใจคอที่โหดรายก็กลับเปนผูเอื้ออารี แกคนทั ่วไปจนผู คนตางพากันซาบซึ้งในมิตร ไมตรีของนางยักษิณีตนนั้น ถึงกับนําสิ่งของมา แบงปนให แตเนื่องจากสิ่งของที่ไดรับมีจํานวน มาก นางยักษิณีจึงนําสิ่งของเหลานั้นมาทําเปน สลากภัต แลวใหพระสงฆ สามเณร จับสลาก ดวยหลักอุปโลกนกรรม คือสิ่งของที่ถวาย มีทั้ง ของของมีราคามากและมีราคานอยแตกตางกัน ไปตามแตโชคของผูไดรับ ประเพณีตานกวยสลากของชาวลานนา จะมีกวยสลากทั้งหมด 2 ประเภท คือ กวย สลากเล็ก กวยสลากใหญหรือกวยสลากโชค ซึ่ง กอนทําพิธีตานกวยสลาก 1 วัน จะเรียกวาวัน ดาเปนวันจัดเตรียมสิ่งของเพื่อใสในกวยสลาก ผูชายจะตัดไมมาจักตอกสลากกวย (ชะลอม) ไว หลายๆใบตามศรัทธาและกําลังทรัพย ฝายหญิง จะจัดเตรียมสิ่งของที่จะนํามาบรรจุในกวย เชน ขาวสาร พริกแหง หอม กระเทียม เกลือ กะป นํ้าปลา ขนม เมี่ยง บุหรี่ ไมขีดไฟ เทียนไข สี ยอมผา ผลไม รวมทั้งเครื่องใชตาง ๆ แลวบรรจุ ลงในกวยสลากทีก่ รุดว ยใบตอง ใบหมากผูห มาก เมีย “ใสยอด” คือ ธนบัตร ผูกติดไม เสียบไว
38 วารสาร ราชมงคลล้านนา
ในกวยใหสวนยอดหรือธนบัตรโผลมาแลวรวบ ปากกวยสลากตกแตงดวยดอกไม “ยอด” หรือ ธนบัตรที่ใสนั้นไมจํากัดวาเปนจํานวนเทาใด และสมัยกอนจะนําใบลานมาทําเปนเสนสลาก แทนกระดาษสําหรับเขียนระบุไปวา อุทิศตา นกวยสลากใหกับใคร อาจเปนบรรพบุรุษ ญาติ พี่นองที่ลวงลับไปแลวหรือจะตานไปภายหนา ไวใหตัวเอง สวนสลากโชคหรือสลากกวยใหญ ของที่นําบรรจุในกวยเชนเดียวกับกวยสลากเล็ก แตปริมาณมากกวาหรือพิเศษกวา สมัยกอน จะทําเปนรูปเรือหลังเล็กมีขาวของเครื่องใช ตางๆ เชน หมอขาว หมอแกง ถวยแกงถวยชาม เครื่องนอน เครื่องนุงหม อาหารสําเร็จรูปใสไว ดวย มีตนกลวย ตนออยผูกติดไว “ยอด” หรือ ธนบัตรจะใสมากกวาสลากนอย วันทานสลาก ชาวบานนํากวยสลากที่จัดทําแลวไปวัด และ เอา”เสนสลาก” ทั้งหมดไปรวมกันที่หนาพระ ประธานในวิหาร จะมีการฟงเทศนอยางนอย 1 กัณฑ ผูรวบรวมสลากมักจะเปนมัคทายก นํา เสนสลากทั้งหมดมารวมกันแลวแบงเสนสลาก ทั้งหมด เปน ๓ สวน สวนหนึ่งเปนของพระเจา (คือของวัด)อีก ๒ สวนเฉลี่ยไปตามจํานวนพระ ภิกษุสามเณรทีน่ มิ นตมารวมในงานทําบุญ หากมี เศษเหลือมักเปนของพระเจา (วัด) ทั้งหมด พระ ภิกษุสามเณรเมื่อไดสวนแบงแลว จะยึดเอาชัย ภูมิแหงหนึ่งในวัดและออกสลากคือ อานชื่อเสน สลากดัง ๆ หรือใหลูกศิษย(ขะโยม) ที่ไดตะโกน ตามขอความที่เขียนไวในเสนสลาก หรือเปลี่ยน เปนคําสั้นๆเชน ศรัทธา นายแกว บุญมี มีนี่เนอ บางรายจะหิ้ว “กวย” ไปตามหาเสนสลากของ ตนตามลานวัดเมื่อพบสลากของตนแลวจะเอา
สลากของตนถวายพระ พระจะอานขอความใน เสนสลากและอนุโมทนาใหพรแลวคืนเสนสลาก นั้นใหเจาของสลากไป เจาของสลากจะนําเสน สลากไปรวมในวิหาร เมื่อเสร็จแลวมัคทายกจะ นําเอาเสน สลากนัน้ ไปเผาหรือทิง้ เสีย อาจารยภี ราวิชญ ชัยมาลา อาจารยสาขาวิชาสังคม คณะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร ไดกลาวถึงการจัด กิจกรรมตานกวยสลากวา สําหรับการจัดประ เพณีตานกวยสลากในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา เชียงราย เปนการบูรณาการ การเรียนการสอนรายวิชา ใหนักศึกษาไดลงมือ ปฏิบัต ิเพื ่อใหน ักศึกษาไดเรียนรู ถ ึงประเพณี ต า นก ว ยสลาก รู จ ั ก ขั ้ น ตอนวิ ธ ี ก ารจั ด งาน ประเพณีต านกวยสลาก รูถ งึ การความหมายใน การบรรจุสิ่งของตาง ๆ ลงในกวย รูวัตถุประสงค ในการจั ด ประเพณี ต า นก ว ยสลาก ได เรี ย นรู ถึงการใหจากการทําบุญตาง ๆ และที่สําคัญ นักศึกษาจะไดนําเอาประสบการณที่ไดจากการ จัดงานตาง ๆ ไมวาจะเปนการทําโรงทาน การ จั ด ก ว ย การทํ า เส น สลาก สามารถถ า ยทอด องคความรูนี้ใหแกรุนหลังสืบตอๆไป สําหรับการจัดประเพณีตา นกวยสลาก ในมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลลา นนา เชียงราย จัดขึน้ โดยนักศึกษา อาจารย เจาหนาที่ รวมทัง้ ไดรบั ความรวมมือจากคณะศรัทธาวัดโปง แดง คณะศรัทธาวัดธารทอง คณะศรัทธาวัดทา โพธิท์ อง (ทาดีหมี) และประชาชนทัว่ ไป และยอด การเสนสลากภัตตไดทงั้ หมด 1,200 เสน โดยเงิน สวนหนึ่งจะนําไปจัดซื้ออุปกรณทางการศึกษา และอี ก ส ว นหนึ ่ ง จะได น ํ า ไปจัดสรา งหองนํ้า บนลานธรรมตอไป
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม
Tan Kuay Salak
is Northern Thai tradition an Kuay Sala is Northern hai tradition which is held during the period from the Northern 12 months or between September and ctober here was a story that giantess attac ing villagers She felt appreciation after listening to the ord Buddha s preaching and became ind he villagers showed their gratitude by offering her food and necessary items Due to many ob ects offered so the giantess made bas ets lled with ob ects then offered to the mon s here are two types of Kuay Sala which are small and large A day before ceremony is preparation day when men made bamboo bas ets and women pac the bas ets with rice dried chilly onion garlic salt shrimp paste sh sauce snac food wrapped in leaves cigarette candle dyeing color and fruit eople decorate bas ets with ower or ban notes with paper stated that offered ob ects would transfer the merit earned by their good deeds to relatives n the past a small boat was used as a bas et that lled with pot bowl bedding clothes and food with sugar cane tree or ban notes were used to decorate at the top n Kuay Sala Day villagers will collect all the paper stripes (Sala ) and put them in front of the Buddha mage here is a chanting he Sala is divided into groups for mon s and novices on s will read message in Sala and bless for the bas et owners and their relatives r eerawit haimala lecturer in Social Science aculty of Business Administration and iberal Arts stated an Kuay Sala activity that it is integrated teaching and learning so students will learn about Kuay Sala tradition and ma ing merit activity with they can pass on to the other people Kuay Sala in Ra amangala niversity of echnology anna hiang Rai was organi ed by students lecturers staff people in ong Dang illage people in an ong illage and people in a o ong illage here are 1 200 Sala with the donation of 020 baht which is used for learning e uipment and restrooms
วารสาร ราชมงคลล้านนา า 39
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม
ยี่เป็ง
ประเพณีเดือนยี่เป็ง เจียงใหม่ ณ ดินแดน นครทีเ่ ป็นทีส่ ดุ แหง่ ความ สงา่ งามทางวัฒนธรรม
40 วารสาร ราชมงคลล้านนา
หากพูดถึงเทศกาลลอยกระทงทุกทานคงจะตองนึกถึง หลายๆ แหงในประเทศไทย ทั้งประเพณีเผาเทียนเลนไฟ จัง หวัดสุทัย ประเพณีไหลเรือไฟ ประเพณีลองสะเปา หรืองาน ลอยกระทงเฟสติวอล ตามสถานที่สําคัญตาง ๆ เปนตน แตถา หากตองการหลบความวุนวายและอยากลอยกระทงในสายนํ้า ที่ถือวาเปนตนนํ้าของคนลุมเจาพระยาตองไปที่นี่เลย เชียงใหม ซึ่งเปนเมืองแหงวัฒนธรรมลานนา อีกทั้งชวงนี้บรรยากาศเริ่ม เย็นเหมาะมากสําหรับนักทองเที่ยวที่จะไปเปนครองครัวหรือ คูรัก ประเพณียี่เปง ในป 2558 นี้ จัดขึ้นในระหวางวันที่ 24-26 พฤศจิกายน 2558 จังหวัดเชียงใหมยังคงกิจกรรมที่สําคัญทั้งการ ประกวดโคมลอยลานนา การประกวดกระทงเล็ก และที่สวยงาม อลังการคือ การประกวดขบวนกระทงใหญ ซึง่ ในจังหวัดเชียงใหม ก็มหี ลายๆหนวยงานทีใ่ หความสําคัญและเขารวมกิจกรรมดังกลาว โดยเฉพาะขบวนกระทงใหญทที่ กุ ๆหนวยงานไมสามารถยอมใคร ได หนี่งในนั้นมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาดวย ซึ่ง เปนสถาบันการศึกษาที่เปดสอนในดานศิลปกรรมและ สถาปตย ก็ไดส งขบวนกระทงใหญเขาประกวดในครั ้งนี ้ด วย ผศ.ถาวร ฝน ชมภู คณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร กลาววา ในป พ.ศ.2558 ซึง่ ถือวาเปนปมหามงคล เนือ่ งในวโรกาสทีส่ มเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงมีพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา ใน วันที่ 2 เมษายน 2558 ดังนั้นเพื่อเปนการ เฉลิมฉลองในวโรกาสอันเปนมหามงคลดังกลาว จึงประดิษฐ กระทงภายใตแนวคิด การเฉลิมฉลองในวโรกาสที่สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงมีพระชนมายุครบ 60 พรรษา โดยใชนักษัติประจําปเกิดคือ “แพะ” เปนพาหนะที่ รองรับซุมประตูโขงที่ประดิษฐตราสัญลักษณพระองคทาน โดย มีองคพระบรมธาตุดอยสุเทพซึ่งเปนพระธาตุประจําปพระราช สมภพเปนฉากหลัง พรอมกับความงามของสถานทีท่ อ งเทีย่ วทาง วัฒนธรรมตาง ๆ ของเมืองเชียงใหมเปนองคประกอบใหสมกับเปน ดินแดนนครทีเ่ ปนทีส่ ดุ แหงความสงางามทางวัฒนธรรม ทางดาน อาจารยวิทยา พลวิฑูรย อาจารยประจําสาขาศิลปะไทย คณะ ศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร ผูซ งึ่ เปนหัวหนาคณะทํางาน ในการออกแบบไดกลาววา การดําเนินงานครั้งนี้ไดรับความรวม มื อ จากคณาจารย เจ า หน าที ่ นั ก ศึก ษาของคณะเปนอยา งดี รวมถึงศุนยวฒ ั นธรรมศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะนักศึกษา สาขาศิลปะไทย ชั้นป 2 ไดเปนแมงานในการจัดทํากระทงใน ครั้งนี้ โดยไดแบงรายละเอียดของการจัดเตรียมขบวนกระทงไว ดังนี้ 1.โครงสราง 2.ตัวรถ 3.การประดับตกแตง 4.การฉะลุลาย 5.ขบวนประกอบกระทง โดยจะมีผูรับผิดชอบแตละสวนอยาง ชัดเจนทั้งอาจารยและนักศึกษา เรามาลองฟงเสียงนองๆ ที่เขา รวมในกิจกรรมครั้งนี้ดูวาเขามีสวนชวยเหลืออยางไรบาง 1.นาย อัษฎาวุธ คําอาย นักศึกษาสาขาศิลปะไทย ชั้นปที่ 2 ไดเลาวา “ในสวนที่ผมไดรวมทํานั้นจะเปนในเรื่องของการฉะลุลาย หรือ เรียกวา ตองลาย ในสวนองคประกอบที่เปนพระธาตุดอยสุเทพ และซุมประตูโขง รวมถึงการประดับตกแตงอื่นๆ โดยใชหลัก วิชาการที่เรียนมาในชั้นเรียนมาประยุกตใช เพราะเราเรียนดาน ศิลปะไทยซึง่ สิง่ เหลานีเ้ ปนภูมปิ ญ ญาไทยทีเ่ ราจะตองทําเปนและ คงรักษาไว” 2. นางสาวแพรวพรรณ เปงสายนักศึกษาสาขาศิลปะ ไทย ชั้นปที่ 2 ซึ่งมีหนาที่ในการประดับเกล็ดพญาลวงซึ่งคลาย เกล็ดมังกรซึ่งตองใชเวลา และสมาธิโดยการทําการติดทีละเกล็ด และสลับลายใหเกิดแสงระยิบระยับเวลาทีโ่ ดนแสงไฟ ดังนัน้ รุน พี่ และอาจารยจะคอยแนะวิธกี ารติดลายเกล็ดซึง่ จะมีสสี ลับกันออน ไปหาเขม ทําใหไดความรูเรื่องการใชสีตาง ๆ ไปดวยในตัวอีกทั้ง
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม
ยังเปนการฝกความอดทนดวยคะ สวนในขบวน กระทงนั้นคงจะหนีไมพนนางนพมาศซึ่งในปนี้มี ตําแหนงดาว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนาป 2558 นางสาวนิศารัตน แซจู หรือ นอง แนน นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด หลักสูตร 4 ป ภาคปกติ ปจจุบัน กําลังศึกษาในระดับชั้นปที่ 1 บอกกับทีมขาววา “รูสึกดีใจมากที่ได เปนตัวแทนของนักศึกษา มทร.ลานนา ในการ รวมเปนสวนหนึ่งของการรวมอนุรักษ ประเพณี ลอยกกระทงซึ่งเปนกิจกรรมที่ถือวาเปนประเทศ ทีช่ าวตางชาติตา งใหความสนใจและรวมกิจกรรม เปนจํานวนมาก ทั้งนี้ ในสวนของตนในฐานะ ตัวแทนนักศึกษาก็จะเปนสวนหนึ่งที่จะรวมเผย แพรประเพณีน ี ้และบอกกลาวชาวตางชาติให เห็น คุณคาและความสํ า คั ญของประเพณี ข อง ไทย” และนางนพมาศอีกหนึ่งคนของมทร.ลาน นา นางสาวศศิวิมล มงคลกาวิน หรือ นองอิง นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการทั่วไป หลักสูตร 4 ป ภาคปกติ ปจจุบัน กําลังศึกษาในระดับชั้นปที่ 4 “ ปนี้เปนปสุดทายที่จะไดรวมในกิจกรรมประ เพณียี่เปงของมหาวิทยาลัยฯซึ่งในปที่ผานมาการ ไดรว มกิจกรรมนีม้ าทุกปกอ็ ยากบอกนองๆทีจ่ ะได รวมมาทําในสวนนีต้ อ ไปนัน้ วาอยากใหทกุ สวนมา รวมกันเพราะแสดงถึงความสามัคคีของทุกๆฝาย นั่นคือพลังอันยิ่งใหญของนักศึกษา มทร.ลานนา ดวย” สวนนางนพมาสคนสุดทาย นางสาวญา นิศา สิทธิประเสริฐหรือ นองแพ็ตตี้ นักศึกษาสาขา วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ หลักสูตร 4 ป ภาคปกติ ปจจุบัน กําลังศึกษาในระดับชั้นปที่ 2 กลาววา ปนี้ถือวาเปนครั้งที่สองในการรวมขบวนกระทง ซึ่งถือวาเปนความภูมิใจของตนที่ไดรวมเปนสวน หนึ่งในขบวนกระทงอีกครั้ง เมื่อปท่ีแลวไดรวม เปนนางนพมาศในปนี้ก็ไดรับเกียรติอีกครั้ง ก็ เปนความภูมิใจที่ไดรวมเปนสวนหนึ่งในกิจกรรม ของมหาวิทยาลัยถึงแมจะเปนเพียงสวนหนึ่งแต เบื้องหลังความสําเร็จยังมีเพื่อนๆพี่ๆนองๆอีก หลายคนทีไ่ ดลงมือชวยกันทําใหขบวนกระทงของ มหาวิทยาลัยมีความสวยงาม”
วารสาร ราชมงคลล้านนา 41
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม
Yee Peng and Loy Krathong Festival in Chiangmai, the Land of Elegant Cultures Loy Krathong is one of the most famous and beautiful festivals in Thailand. It is held on the night of the 12th full moon of the year and celebrated throughout the country. There are particularly beautiful celebrations held in Sukhothai, Ayutthaya, Tak, and Bangkok, where the celebrations take place over several days, but for a truly breathtaking Loy Krathong and Yee Peng Festival experience, Chiangmai is the place to go. Yee Peng and Loy Krathong Festival 2015 in Chiangmai was held on 24th – 26th November, 2015. There were many interesting activities conducted and the highlights were: Yee Peng Lantern Procession Contest, Small Krathong Procession Contest, and Grand Krathong Procession Contest (for the Royal Trophy) which was the most interesting and spectacular activity that everyone was looking forward to. There were many private organizations, government offices and education institues in Chiangmai that took part in the Grand Krathong Procession Contest, including Rajamagala Unversity of Technology Lanna. Assist. Prof. Thaworn Funchompoo , Dean, Fine Arts and Architecture Faculty said that “Rajamangala University of Technology Lanna’s Grand Krathong Procession was respectfully and gorgeously decorated to celebrate the auspicious occation on Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 5th Cycle Birthday Anniversary 2nd April 2015″. The Grand Krathong Procession was also beautifully decorated with the portraits of Doi Suthep Temple and others famous tourist attractions in Chiangmai signifying “the Land of Elegant Cultures.”
42 วารสาร ราชมงคลล้านนา
Mr. Wittaya Pholwitoon, Lecturer, Thai Arts Department, Fine Arts and Architecture Faculty who was the project manager for Designing Rajamangala University of Technology Lanna’s Grand Krathong Procession said that “In order to elaborately create the Grand Krathong procession, the work was accordingly assigned to particular groups and divided into five main parts: structure, carriage, decoration, pattern design, and procession line.”He also mentioned that all the faculty members and students, especially second year Thai Arts students of Rajamangala University of Technology Lanna had dedicated their best knowledges and skills to make the Grand Kratong Procession beautifully completed. Now, lets hear what Rajamangala University of Technology Lanna students have to say about their university Grand Krathong Procession and what they had contributed : Mr. Aussadawut Kameye, a second year Thai Art student said that “ I am really proud and happy that I could contribute to the university Grand Krathong Procession by using my Thai Arts knowledge and skills to crave patterns of the portraits of Doi Suthep Temple, and the arched entrance and decorated other parts of the Grand Krathong Procession” He also mentioned that Thai arts is something that needs to be preserved and handed down to young generations. Miss. Praewpan Pengsai, a second year That Arts student said that “ I was really lucky that I was the one who decorated the statue of the Nagas for the Grand Krathong carriage.
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม
It needed lots of hard work but I am very happy that I did it.” Miss. Nisarat Saejoo, a fi rst year Marketing student, Miss Sasiwimol Mongkolgawin, a fourth year Management student, and Miss Yanisa Sitthiprasert, a second year Business English student who are the Noppamas Queens in the Grand Krathong Procession of Rajamangala University of Technology Lanna said that “ hey are very proud to be parts of this event he ee eng and oy Krathong estival is one of the most well nown and valuable hai cultures and traditions that all hai people are very proud of We should also tell all the visitors so that they will aslo understand the values of our ee eng and oy Krathong estival And the gorgeous rand Krathong rocession also shows unity and love that we have for our univerisity”
วารสาร ราชมงคลล้านนา 43
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม
Over fify years, it has been For long The divine master ‘Vishnu’ The great The guardian of the institute Of Technical Educate the soon-to-be workforce Througout the nation
ราชมงคลลานนา ตาก รวม
สืบสานตํานานพระวิษณุกรรมเจา RMUTL Tak to inherite the ritual of the sacred God “Vishnu”
กวา่ หา้ สิบปีผา่ น วิษณุเทพาจารย์ ค้ําจุนสถาบัน ผลิตบุคลา
เนินนาน เลิศหลา้ เชิงชา่ ง ทั่วฟ้าแดนสยาม
พระวิษณุกรรมเจาเปนสิ่งศักดิ ์สิทธิ ์ประจํามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนาตาก มาตั ้งแตป พุทธศักราช 2504 โดยในปน ั ้นพระองคเจา ภานุพนั ธ ยุคล ทรงประทานเงินจํานวน 3,000 บาท ผานทางเลขานุการของพระองค ทั้งนี้ทานผูอํานวยการ วีรพล ส.สุจริตจันทร และทานอาจารยสมยศ สมคง คณะ ผูบริหารในสมัยนั้น ไดจัดสงหนังสือขอประทานทรัพยผานหมอมเจาบุญฤทธิ์ เกษมสันต ปลัดจังหวัดตาก ซึ่งดําเนินการกอสรางเสร็จในปดังกลาว ในปพุทธศักราช 2513 ไดยายองคพระวิษณุกรรมเจามาประดิษฐาน ณ สถานที่ปจจุบัน และมีการบูรณะซอมแซมมาเปนระยะ ซึ่งการบูรณะองคพระวิษณุ กรรมเจาและปรับปรุงภูมิทัศนครั้งใหญเกิดขึ้นในปพุทธศักราช 2550 โดยคณะ ศิษยเกามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาตาก เพื่อใหเกิดความมั่นคงถาวร สงางามสมนามองคพระวิษณุกรรมเจา ซึ่งเดือนสิงหาคมของทุกป มหาวิทยาลัยจะ จัดพิธีไหวครูและพิธีบวงสรวงพระวิษณุกรรมเจาเปนประจําทุกป พรอมประกอบ พิธีสงฆ เจริญพระพุทธมนต ถวายภัตราหาร สังฆทาน แดพระภิกษุสงฆ เพื่อเปน มิง่ ขวัญและเสริมสิรมิ งคลแกคณะครูอาจารย เจาหนาที่ นักศึกษาใหมทเี่ ขามาศึกษา ตอ มาอยูในรั้วราชมงคลลานนาตากแหงนี้ ตลอดจนบุคคลทั่วไปที่มีความเลื่อมใส ศรัทธาตอองคพระวิษณุกรรมเจา 44 วารสาร ราชมงคลล้านนา
The sacred God Vishnu shrine has been situated at Rajamagala University of Technology Lanna Tak since 2504 B.E. (1961). In that year, H.H. Prince Panupan Yukon donated three thousand baht through his secretary. At that time, The director, Mr.Weerapon Sor. Sujaritchan and one of institute administrators sent the financial supporting request through H.S.H. Boonyarit Kasemsan, the deputy governor of Tak and the shrine was completely constructed in that year. In 2513 B.C. (1970), Vishu shrine was moved to where it is now. In addition, there has been occasionally restorations on the shrine. And in 2550 B.C. (2007), a big restoration and landscape improvement on Vishnu shrine were conducted by the group of RMUTL Tak’s alumni, in order to make the sacred shrine as permanently stable and splendid as the God’s name. Every year in August, the university holds ‘Wai-Kru’ ceremony and Vishnu Worship event. In this occasion, there are religion rites such as Buddhist rituals, reciting prayer, offering food to monks, and making merit. These activities aim to encourage and to bless all lecturer, staff, and freshmen who become RMUTL Tak’s members. Moreover, this event allows the people outside, who believe in God Vishnu, to participate.
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม
จากความพยายาม นําสูความสําเร็จ...
มทร.ลานนา พิษณุโลก ควารางวัลชนะเลิศ โครงการ เย็บรอย คอยจีบ ประดิษฐใบตอง ระดับชาติ ครั้งที่ รับถวยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราสุดา สยามบรมราชกุมารี นับจากประสบการณที่ไดเขารวมการแขงขันเมื่อป พ.ศ.2553 จนถึงปจจุบนั ป พ.ศ. 2558 ในโครงการเย็บรอยคอยจีบ ประดิษฐใบตอง ระดับชาติเปนระยะเวลากวา 6 ป ที่ความฝนอันยิ่งใหญก็ไดประสบผล สําเร็จทําใหคณะผูบริหาร คณาจารย นักศึกษา และที่สําคัญคือทีมงาน ผูฝกสอนไดภาคภูมิใจกับถวยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี นายสุชาติ สาดอํา ครูภูมิปญญาไทย ดานศิลปวัฒนธรรม รุนที่ 7 จ.พิษณุโลก พรอมดวย นายณัฐวัฒน ดวงฉุน และ นายอํานาจ ชื่นแสงมอญ ผูฝกสอนและ ควบคุมทีม นํานักศึกษา ซึ่งประกอบดวย นายดนัย เนียมหอม นักศึกษาชั้นปที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยี การอาหาร นายศุภกิจ ยอดเพชร นักศึกษาชัน้ ปที่ 4 สาขาวิชาสัตวศาสตร นายอนุพงษ ยอดเพชร นักศึกษาชัน้ ปที่ 4 สาขาวิชาเทคโนโลยี การอาหาร นายสมศักดิ์ พูลสงวน นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาวิชาวิศวกรรม ไฟฟาและคอมพิวเตอร และนายสุรยิ า การรัตน นักศึกษาชัน้ ปที่ 4 สาขาวิชาวิศวกรรม ไฟฟาและคอมพิวเตอร นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก เขารวมการแขงขัน ณ อาคารรักตะกนิษฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสติ กรุงเทพมหานคร ระหวางวันที่ 9 – 10 กรกฎาคม 2558 ดวยความพยายาม ความตั้งใจ และการเตรียมความพรอม ที่ เต็มเปรีย่ มดวยอยางเขมแข็งของทุกคนในทีมงาน จึงทําใหการทําบายศรี เฉลิมพระเกียรติ 7 ชั้น ในงานครั้งนี้ ประสบผลสําเร็จตามกําหนดเวลา ที่ตั้งไว และสวยงดงามตระการตาที่สุด จึงควารางวัลชนะเลิศ โดยไดรับ ถวยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ในการประกวด “วิจติ รตระการบายศรีแกวเ ลิมพระเกียรติ 0 พรรษา เจาฟามหาจักรีสริ นิ ธร บายศรีเ ลิมพระเกียรติ ชัน้ ” ระดับอุดมศึกษา ภายในโครงการ เย็บรอย คอยจีบ ประดิษฐใบตอง ระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 การ ไดรบั รางวัลในครัง้ นี้ ถือเปนความภาคภูมใิ จของคณะผูบ ริหาร คณาจารย พนักงาน และนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เปน อยางยิง่ ดวยความพรอมและความมุง มัน่ สงเสริมใหนกั ศึกษาเยาวชนของ ประเทศ ไดตระหนักถึงคุณคาและรวมอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย ใหคง อยูสืบไป
Students from Rajamangala University of Technology Lanna, Phitsanuloke campus were the winners of the first prize in the 6th National banana leaf decoration contest. The winners received the trophy from Princess Sirindhorn. The competition is held annually to promote student’s skills in Thai arts. It has received support from lecturers, staff and students from 6 years. This year the team performed their best skills on handicraft and decoration and won the first prize. The team coaches and the competitors are ; Suchart Sard-arm, the outsource staff in Thai wisdom and Thai tradition Natthawat Duangchun, the team coach Amnat Chuenseangmorn, the team coach Danai Niamhom, the competitor, the 3rd year student from Food Technology Department Supakit Yodpetch, the competitor, the 4th year student from Animal Science Department Anupong Yodpetch, the competitor, the 4th year student from Food Technology Department Somsak Poonsa-nguan, the competitor, the 4th year student from Electrical and Computer Engineering Suriya Karnrat, the competitor, the 4th year student from Electrical and Computer Engineering The contest took place on 9th -10th July 2015 at Raktakanit Building, Suan Dusit Rajabhat University in Bangkok. It was set to shed light on the importance of traditional handicrafts and strengthen national identity through local crafters efforts to revive, preserve and teach these crafts to future generations. The contest is an opportunity for students to meet and demonstrate their handicrafts skills, while heightening the importance of the preservation of these skills to the society. With their hard effort and experienced skills in decoration made them success. The trophy from the contest “ layered baisee on the Auspicious ccasion of rincess Sirindhorn s 0 th Birthday” brought them a great pride. วารสาร ราชมงคลล้านนา 45
WorldSkills Competition
นักศึกษา ราชมงคลล้านนา ตัวแทนประเทศไทยแสดงฝมือแรงงาน สูเวทีโลกคว้าเหรียญรางวัลยอดเยี่ยมสาขาแมคคาทรอนิกส์ ปดฉากลงแลวอยางยิง่ ใหญ สําหรับการแขงขันฝมอื แรงงานนานาชาติ หรือ World Skills ครัง้ ที่ 43 ทีเ่ มืองเซาเปาโล สหพันธสาธารณรัฐบราซิล ซึง่ ผลการแขงขัน ปรากฏวา ประเทศไทยสามารถควารางวัลมาได 1 เหรียญทอง จากสาขางานกลึง อัตโนมัติ และ 1 เหรียญทองแดง จากสาขาเทคโนโลยีงานเชื่อม และ 10 เหรียญ รางวัลยอดเยีย่ มรับรองความสามารถฝมอื ผานเกณฑมาตรฐานจากการแขงขันฝมอื แรงงานนานาชาติ นักศึกษา มทร.ลานนา ไดรับคัดเลือกเขารวมการแขงขันครั้งนี้ใน 3 สาขา ไดแก นายปฏิภาณ หวงศร และนายธีรัช จันจองคํา ในสาขาแมคคาทรอนิกส นาย ชัยพร สมบูรณชัยและนายมงคล เทพวรรณ สาขาสาขาเทคโนโลยีหุนยนตเคลื่อนที่ และนายสุรพงษ ดวงสีลา สาขาออกแบบเขียนแบบเครื่องกลดวยคอมพิวเตอร เขา รวมการแขงขันในฐานะตัวแทนประเทศไทยโดยมีเยาวชนไทยเขารวมการแขงขันทัง้ สิน้ 23 คน ใน 19 สาขาจากทัง้ หมด 21 สาขา ซึง่ การแขงขันครัง้ นีม้ ตี วั แทนนักศึกษา ที่เขารวมการแขงขันกวา 54 ประเทศทั่วโลก และสามารถควาเหรียญรางวัลยอด เยี่ยมในสาขาแมคคาทรอนิกสมาครองไดสําเร็จ รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา พรอมดวยคณะผู บริหารและผูท รงคุณวุฒิ ทีเ่ ดินทางไปชมการแขงขันและใหกาํ ลังใจกับนองๆนักศึกษา กลาวใหสมั ภาษณวา “การมาในครัง้ นีน้ อกจากมาใหกาํ ลังใจเยาวชนทีส่ ง เขาแขงขัน แลวยังมาเรียนรูท ศิ ทาง การแขงขัน WorldSkills วาขณะนีม้ สี าขาอะไรบาง เพือ่ นํา กลับไปปรับหลักสูตรการเรียนการสอนใหเขมขนมากขึ้น ขณะเดียวกันมองวาการ แขงขันไมไดเปนประโยชนแคมหาวิทยาลัยฯ แตเปนการสรางโอกาสใหกับผูเขา แขงขันและประเทศชาติดวย แมจะไดเหรียญรางวัลหรือไมก็ตาม” 46 วารสาร ราชมงคลล้านนา
WorldSkills Competition
RMUTL Students on Behalf of Thailand’s Representatives Receive Excellence Awards
for WorldSkills Competition 2015
นายปฏิภาณ หวงศร ตัวแทนในสาขาแมคคาทรอนิกสกลาว เปดใจวา “การแขงขันครั้งนี้ไดเตรียมความพรอมมาเปนอยางดีแตยาก ตรงที่เราไมสามารถรูโจทยลวงหนาไดเลยซึ่งจะรูพรอมกันในวันแขงขัน และทีส่ าํ คัญปนเี้ ปนปแรกทีเ่ ราไดมโี อกาสเปนตัวแทนเขารวมการแขงขัน World Skills ซึง่ เราเองไมมรี นุ พีห่ รือผูท มี่ ปี ระสบการณมาบอกเลาใหรถู งึ เทคนิคแนวทาง แตในการแขงขันก็พยายามทําอยางสุดความสามารถและ ไดรบั เหรียญรางวัลยอดเยีย่ มในสาขาแมคคาทรอนิกสกน็ บั เปนความภาค ภูมใิ จของตนเองทีไ่ ดสรางชือ่ เสียงใหแกมหาวิทยาลัยในฐานะตัวแทนจาก ราชมงคลลานนาและสิง่ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ คือการไดรบั ประสบการณทหี่ าไมได อีกเลยซึ่งสิ่งเหลานี้หากมีโอกาสก็พรอมที่ถายทอดใหแกรุนนองๆในป ตอๆไป” การแขงขันครั้งนี้ นักศึกษา มทร.ลานนา สามารถควาเหรียญ รางวัลยอดเยี่ยมในสาขาแมคคาทรอนิกสมาครองไดสําเร็จพรอมดวย ประสบการณทไี่ ดรบั จากการแขงขันทีม่ คี า ยิง่ ใหญและจะนําไปถายทอดสู นองๆ ซึง่ จะกาวเขามาสูเ วทีระดับโลกในปตอ ไป ครัง้ หนึง่ นองๆ นักศึกษา กลุมนี้เคยไดรับโอกาสใหแสดงฝมือในเวทีระดับโลก และบอกใหรูวา ชาติไทยก็ไมแพชาติใดในโลก สามารถฝาฟนจนไดรับใบรับรองความ สามารถฝมือผานเกณฑมาตรฐานจากการแขงขันฝมือแรงงานนานาชาติ ได ประสบการณครั้งนี้จะเปนเครื่องการันตีความเปนบัณฑิตนักปฏิบัติ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดเปนอยางดี
WorldSkills Competition is the biggest vocational education and skills excellence event in the world. This year with the 43rd WorldSkills São Paulo 2015 in Brazil, Thailand received gold medal for Automatic Lathe, bronze medal for Welding Technology and 10 excellent awards for Accreditation skilled labor from competition. This competition involved with students from over 54 countries and on behalf of Thailand’s representatives, there are 23 students qualified for 19 skills. RMUTL Students were qualified to participate in 3 skills; Mr. Padipan Huangsorn and Mr. Teeruch Janjongcam for Mechatronics skill, Mr. Chaiporn Somboonchai and Mongkol Tepphawan for Mobile Robotics skill and Mr. Surapong Duangsila for Mechanical Engineering Design – CAD. RMUTL students are awarded in Mechatronics skills. Assoc. Prof. Dr. Numyoot Songthanapitak, the president of RMUTL with the executive council went to Anhembi Park, São Paulo, Brazil in order to watch the match and cheer the students said in an interview that “To come here not only to cheer the students up but also the learn the direction of WorldSkills competition about the skills area in order to develop the curriculum. Moreover, this competition is not benefit only the universities but also give opportunity for the contestants and nations whether being awarded or not.” Mr. Padipan Huangsorn, representatives in Mechatronics skills said in an interview that “We are wellprepared for this competition but it is hard that we have no idea about the topic and this is the first year that we participated. We do not have any example or anyone who has an experience to share the techniques. Although we have tried our best and received the excellent award in Mechatronics skill. This is not only the pride for us but also the university as a representatives of RMUTL. And the most important thing is the valuable experience and ready to convey to younger generations.” RMUTL students received an excellent award in Mechatronics skills for WorldSkills 2015 with a great experience and ready to convey to younger generations that we have step into the World class. To let the World knows that “ hailand did not lose any nation in the world ” They have overcame and received the award from the international competition. The experience is guaranteed to be a hand-on graduates from RMUTL. Translated by Ms.Warattaya Mapakdee w.mapakdee@gmail.com
วารสาร ราชมงคลล้านนา 47
รอบรั ้ ว สถานศึ ก ษาปลอดแอลกอฮอล์ ษา ปลอดแอลกอฮอล์
“ดูบอล อลงานวัด”
กิจกรรมสร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่ กินนม ชมบอล เชียร์ทีมไทย ในงานวัด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ลานนา รวมกับ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดโครงการ “ดูบอลงานวัด” ดื่มนม เชียรบอลไทยปลอดแอลกอฮอล ในรูปแบบงาน วัด พรอมรับชมการแขงขันฟุตบอล FIFA World Cup Qualifier ระหวาง ทีมชาติไทย พบกับ ทีมชาติอิรัก ถายทอดสดจากสนามราชมังคลากีฬา สถาน รับชมผานจอโปรเจคเตอรขนาดใหญพรอมกันทัว่ ประเทศ เปลีย่ น ทัศนคติใหมในการชมกีฬาของนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ในการดื่ม แอลกอฮอลตามสถานบันเทิง มาเปนการดืม่ นมและเครือ่ งดืม่ เพือ่ สุขภาพ สนองนโยบายชาติ “รอบรั้วสถานศึกษาปลอดแอลกอ อล” สนับสนุน ใหนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ผศ.ดร.พีระ จูนอ ยสุวรรณ ผูอ าํ นวยการกองพัฒนานักศึกษา ใน ฐานะที่ปรึกษาโครงการกลาววา “โครงการดูบอลงานวัดนี้เปนโครงการ นํารองซึ่งทาง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ไดคัดเลือกสถานศึกษา 11 แหง ทั่วประเทศ รวมจัดกิจกรรม โดยในภาค เหนือ มทร.ลานนา เปนหนึง่ ในสถานศึกษาทีร่ ว มจัดกิจกรรมครัง้ นี้ ถือวา เปนกิจกรรมสรางสรรครูปแบบใหมที่เชื่อวาความสนุกไมจําเปน ตองมี แอลกอฮอลและสารเสพติดมาเกี่ยวของและถือเปนโอกาสที่นักศึกษา รวมถึงประชาชนทั่วไปจะไดรวม ใหกําลังใจนักกีฬาทีมชาติไทยในการ แขงขันฟุตบอลโลกรอบคัดเลือกและรวมกิจกรรมความบันเทิงอีกมากมาย ที่นักศึกษารวมกันจัดขึ้นดวย” กิ จ กรรมภายในงานประกอบด ว ย การทายผลการแขงขัน ฟุตบอลเพื่อลุนรับรางวัล กิจกรรมความบันเทิง อาทิการ ปากระปอง ปาลูกโปง สาวนอยตกนํ้า ลวงไขเสี่ยงโชคและกิจกรรมความสนุกอีก มากมาย และชม การแขงขันฟุตบอล พรอมทานอาหารและเครื่อง ดื่มและขนมหวานที่มีประโยชน เชน นมสด ไอศกรีม นํ้าหวาน เปนตน สนับสนุนกิจกรรมสรางสรรคโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ลานนา สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) และ สํานักงานเครือขายองคกรงดเหลา (สคล.) Stop Drink Network 48 วารสาร ราชมงคลล้านนา
รอบรั ้ ว สถานศึ ก ษาปลอดแอลกอฮอล์
“Doo Ball Ngan Wat” Creative activity for new generation drinking milk, watch and cheer Thailand nation football team in temple fair theme
Rajamangala University of Technology Lanna and Thai Health Promotion Foundation arranged “Doo Ball Ngan Wat” for students and people to watch live FIFA World Cup Qualifier between Thai and Iraq by providing a large projector screen. The aims were first, to change students’ attitude of having alchohol during watching sports at pubs to be more concern about their health by brinking milk instead. Second, to fulfil policy of “ No alchohol in accademic institutes” Asst.Prof.Dr. Peera Junoisuwan, director Student Development Division and project advisor, said that RMUTL was 1 of 11 accademic institutes that selected by Thai Health Promotion Foundation to launch this program which believed that enjoyment can be happened without alchohol and drugs. Moreover, this activity would enable people to participate in cheer Thai football team. Generally, there were many amusement activities such as football result perdiction, Cans Shooting Game, balloon shootting Game, and lucky draw. Snack, ice cream and soft drink was also avialable. This project was well supported by Rajamangala University of Technology Lanna, Thai Health Promotion Foundation and Stop Drink Network.
วารสาร ราชมงคลล้านนา 49
การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
โปรแกรมขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ผูเขียน
นางสาวภาวิณี ทรัพยปาน , นางรุงอรุณ มณีกุล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนามีระบบสารสนเทศ บุคลากรเพื่องานบริหารงานบุคคล ซึ่งจะมีขอมูลบุคลากรทั้งหมดใน สถาบัน ระบบนี้จะเปนฐานขอมูลที่มีประโยชนตอการคนหาและเก็บ รวบรวมขอมูลของบุคลากรทุกประเภทของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนาไวเพือ่ ชวยการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล สําหรับ บุคลากรและเจาหนาที่จะมี 1 โมดูลที่ชื่อวาการขอพระราชทานเครื่อง ราชอิสริยาภรณที่จะชวยจัดการคัดกรองบุคลากรที่มีสิทธิ์ในการรับ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณประจําป เครื่องราชอิสริยาภรณเปนเครื่องหมายแหงเกียรติยศ ซึ่ง พระมหากษัตริยทรงพระราชทานแกผูกระทําความดีซึ่งเปนประโยชน ตอแผนดิน โดยแตละหนวยงานจะคัดเลือกบุคลากรในสังกัดเพือ่ เสนอ ตอรัฐบาลในการขอพระราชทานบําเหน็จความชอบและเครื่องหมาย อิสริยาภรณอยางสูงแกผไู ดรบั พระราชทาน โดยจะมีขนั้ ตอนการการขอ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณเริ่มจากการสืบคนประวัติบุคลากร ที่มีคุณสมบัติตามที่รัฐบาลหรือสํานักนายกรัฐมนตรีกําหนด โดยระบบ จะจั ด เรี ย งบุ ค ลากรผู ม ี ส ิ ท ธิ ์ ใ นการเสนอชื ่ อ เข า รั บ พระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณและสามารถระบุลาํ ดับชัน้ เครือ่ งราชอิสริยาภรณ ที่แตละบุคคลจะไดรับในแตละป ครั้งตอไปก็สามารถคํานวณการขอ พระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณในลําดับชัน้ ทีส่ งู ขึน้ ไปเรือ่ ยๆ ตลอด จนสรุปมาเปนรายงานที่สามารถนําสงผลของบุคลากรมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนาที่มีสิทธิ์ไดรับใหกับสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ผานมาขั้นตอนการคัดกรองผูที่มีสิทธิ์ไดรับพระราชทานเครื่องราช อิสริยาภรณจะสืบคนจากสมุดประวัติรายบุคคล การจัดทํารายงานผูมี สิทธิข์ อพระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณกด็ าํ เนินการโดยใชโปรแกรม เอกสาร Microsoft Excel ซึ่งการดําเนินการจะใชระยะเวลานานและ เกิดขอผิดพลาดไดงาย ดังนั้นเพื่อการจัดการบริหารงานบุคคลที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้นจึงนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวยในการ จัดการผูมีสิทธิ์ขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนาที่สมบูรณมากขึ้น
50 วารสาร ราชมงคลล้านนา
Authors: Ms. Pawinee Subpan, Ms. Rungarun Maneekul
The human resource information system is stored overall personnel of Rajamangala University of Technology Lanna in order to useful the human resource management such as search and execute in different kinds of reports. One of module is the Royal Thai decorations and awards that can operate who has an opportunity to receive an awards for this year. The Royal Thai decorations and awards is a badge of the honor’s the king of Thailand for the Thai government officers who makes the benefits of these land. Rajamangala University of Technology Lanna must report who should receive the Royal Thai decoration and awards to the Prime Minister’s office. The functional of these module can generate people who has the characteristic which is the definitions of Prime Minister’s office. The system selects the level of an award of these people should be received and after they will take upper level award continuously. A system can records the history of receiving an award to be summary the reports into formal form for sending both of Prime Minister’s office and Thai government officers. Last time we was create the reports to the Prime Minister’s office to survey each Thai government officers’ profile and store the information into Microsoft Excel. It spent a lot of time to make a summary report. Therefore, the new human resource information system of Rajamangala University of Technology Lanna resolves some problem to reduce the time and could not be mistake to fulfill the great performance of processes to construct the Royal Thai decorations and awards execute the complete information of reports.
สรุปข่าวรอบรั้ว
WorldSkills 2015
Brawijaya University
รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา และคณะผูบ ริหาร ใหการตอนรับ 9 นักศึกษา (สาขาธุรกิจเกษตร สัตว ศาสตรและพืชศาสตร) จาก Brawi aya niversity ประเทศอินโด นีเชีย ซึ่งเปนความรวมมือดานวิชาการและศิลปวัฒนธรรมระหวาง สองมหาวิทยาลัยที่จะไดแลกเปลี่ยนนักศึกษาเขาศึกษาดูงาน
rmutl
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา รวมการ แขงขันฝมือแรงงานแหงชาติ ครั้งที่ 26 ระดับภาค ควา เหรีย ทอง 1 เหรีย ทองแดง ณ สถาบันพัฒนา มือแรงงานภาค พิษณุโลก และสถาบันพัฒนา มือแรงงานภาค 10 ลําปาง ซึ่งผู ชนะเหรียญทองและเหรียญเงินจะเปนตัวแทนของสถาบันพัฒนา ฝมือแรงงานระดับภาค เขารวมแขงขันฝมือแรงงานระดับประเทศ เดือนมีนาคม 2559 ณ ศูนยการแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็คเมืองทองธานี จ.นนทบุรี
..............................................................................................................................................................................................
MOU NCIC
No-S No-L ครั้งที่ 7
สโมสรนักศึกษา มทร.ลานนา จัดโครงการเปดโลกใหมใน มหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2558 ภายใตชอื่ “มหกรรมรักนอง No-S No- ” ครั้งที่ เนนการรับนองอยางสุภาพ สรางสรรคและ ปราศจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล บุหรี่และสารเสพติดทุกชนิด เพื่อ แนะนํานักศึกษาใหมในการปรับตัว เรื่องการเรียนและการชีวิตใน ระดับอุดมศึกษาใหแนะนําโดยนักศึกษารุนพี่ตัวอยางโดยแบงฐาน กิจกรรมตางๆ ทั้งหมด 12 ฐาน ภายในมหาวิทยาลัย
มทร.ลานนา MOU NCIC สานสัมพันธ ไทย- จีน รวมแลก เปลี่ยนวัฒนธรรม ผศ.อุดม สุธาคํา รองอธิการบดีดานยุทธศาสตร และแผนพัฒนา เปนประธานเปดกิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม จากวิทยาลัยนานาชาติ New entury nternational ollege (N ) สาธารณรัฐประชาชนจีน พรอมกันนี้ยังไดรวมลงนาม ความรวมมือดานวิชาการ อันไดแก การแลกเปลี่ยนนักศึกษา ศิลป วัฒนธรรมการ การเรียนการสอนทัง้ ดานศิลปะ ดานกีฬา รวมถึงการ เรียนในสาขาวิชาตางๆ
..............................................................................................................................................................................................
อาสาสมัครวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
พัฒนาบุคลิกภาพและทักษะการสื่อสาร
คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา จัดฝก อบรมหลักสูตร “การพัฒนาบุคลิกภาพและทักษะการสื่อสาร ที่ดี เพื่อเตรียมความพรอมสตลาดแรงงาน” โดยไดรับเกียรติจาก ผศ.ชนิตา โชติเสถียรกุล คณบดีคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ล า นนา เป น ประธาน และ ดร.ประณม ถาวรเวช และ คุณเพรชรัตน กันยาบาล วิทยากรผูเชี่ยวชาญ วิทยากรจากสถาบัน พั ฒ นาบุ ค ลิ ก ภาพ จอห น โรเบิ ร ต เพาเวอร ส สถาบั น พั ฒ นา บุคลิกภาพเปนที่ยอมรับจากทั่วโลก
มทร.ลานนาจัดประชุมสมาชิก อสวท. เชียงใหม เพิ่ม ศักยภาพดานวิทยาศาสตร ดร.ภาสวรรธน วัชรดํารงคศักดิ์ รอง อธิการบดีดานวิจัยและการถายทอดเทคโนโลยี มทร.ลานนา เปน ประธานในพิธเี ปด โครงการสรรหาสมาชิกอาสาสมัครวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (อสวท ) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 พื้นที่ จังหวัดเชียงใหม ณ โรงแรมเมอรเคียว จังหวัดเชียงใหม ซึ่งเปน โครงการในความรวมมือของมทร.ลานนา กับ กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี รับสมัครอาสาสมัครวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (อสวท.) ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม ใน 6 บทบาทของชุ ม ชน
..............................................................................................................................................................................................
การพัฒนาแนวทางการดําเนินงาน คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา จัดประชุมสัมมนา “การพัฒนาแนวทางการดําเนิน งาน การติดตาม ลการ กทักษะและการติดตาม ลสัม ทธิของบัณ ิต” โดยไดรับเกียรติ จาก ดร.กิจจา ไชยทนุ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร เปนประธานเปดการประชุมและบรรยาย พิเศษ หัวขอเรื่อง นโยบายการจัดทําโครงสรางและการบริหารงานสหกิจศึกษา ฝกงาน และฝก ประสบการณวิชาชีพครู โดยเนนการปฏิบัติงานจริงในภาคอุตสาหกรรม เพื่อทําใหบัณฑิตไดฝก ประสบการณในระหวางเรียนทั้ง ฝกงาน ฝกสอน และสหกิจ ศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ มีผล สัมฤทธิ์ที่ชัดเจน โดยตองอาศัยความรวมมือจากทุกสาขาในคณะที่จะตองระดมความคิดเห็นเพื่อ มุงไปสูการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม ณ โรงแรมคุมภูคํา อ.เมือง จ.เชียงใหม วารสาร ราชมงคลล้านนา 51
สรุปข่าวรอบรั้ว
rmutl
นมัสการครูบาศรีวิชัย 2558
การพัฒนาความรวมมือทางวิชาการ
คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มทร.ลานนา ดําเนินโครงการ “การพัฒนาความรวมมือทางวิชาการ” กับ มหาวิทยาลัยฝกหัดครูกวางซี มณฑลกวางซี สาธารณรัฐประชาชน จีน โดยผศ.ชัยรัตน ปานสุวรรณจิตร ผูชวยอธิการบดี มทร.ลานนา รวมลงนามความรวมมือทางวิชากับศาสตราจารยปาย เสี่ยวตุน รองอธิการบดี วิทยาลัยฝกหัดครูกวางซี เพื่อศึกษาแนวทางการ พัฒนาดานวิชาการ 5 ดาน ไดแก ดานการพัฒนาหลักสูตรรวม กัน (3+1), ดานการแลกเปลี่ยนอาจารยและนักศึกษา, ดานการจัด กิจกรรมและแสดงผลงานรวม, ดานการทํางานวิจยั รวมและดานการ แลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหวางประเทศ
สโมสรนักศึกษา มทร.ลานนา จัดพิธีนมัสการครบาศรี วิชยั ประจําปการศึกษา 2558 เริ่มเดินขบวนแบบประเพณีลานนา โบราณ ขบวนหมากสุม หมากเบง ขบวนตนผึ้งตนเทียน และ ชางฟอนนางรํา จากมหาวิทยาลัยฯ ไปยังอนุสาวรียครูบาศรีวิชัย พรอมดวยคณะผูบริหาร คณาจารย สําหรับพิธีนมัสการครูบา ศรีวิชัย มทร.ลานนา ไดจัดขึ้นเปนประจําทุกๆ ป เพื่อรําลึกถึง คุณงามความดีของครูบาศรีวชิ ยั ยังความเปนสิรมิ งคลแกนกั ศึกษา ใหมและสืบสานประเพณีอันดีงามใหคงอยูสืบไป
..............................................................................................................................................................................................
นิทรรศการกลุมเจ็ดยอด
การพัฒนาหลักสูตรรวม
ดร.ยรรยง เฉลิมแสน คณบดีคณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เปนประธาน การประชุมรวมกับคณจารย วิทยาลัยเทคโนโลยีและ สหวิทยาการ ในการพัฒนาหลัก สตรรวม ในหลักสูตรเตรียม เทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร ณ หองคณบดีคณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร
คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มทร.ลานนา จั ด นิ ท รรศการผลงานผู ส อนศิ ล ปะ สาขาวิ ช าทั ศ นศิ ล ป ค ณะ ศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลลานนา “นิทรรศการกลุมเจดยอด” ครั้งที่ 12 ณ หอศิลป วัฒธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยไดรับเกียรติจาก อาจารยพิชัย นิรันต ศิลปนแหงชาติสาขาทัศนศิลป (จิตรกรรม) พ.ศ.2546 เปน ประธานเปดนิทรรศการ
..............................................................................................................................................................................................
รายการเกษตรโลกเกษตรเรา ลงพื้นที่บันทึกเทปรายการ ชวงเกษตรฮอตนิวส ในพื้นที่ชุมชนบานปาจี้ ต.ทุงหลวง อ.พราว จ.เชียงใหม ในโครงการยกระดับคุณภาพชีวติ หมบานชุมชนแบบมี สวนรวม ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ซึง่ ไดดาํ เนิน การโครงการนี้ตอเนื่อง เปนระยะเวลา 3 ป โดยสงเสริมใหชาวบาน เรียนรูกระบวนการปลูกขาวนาโยน การทําปุยอินทรีย การเลี้ยงไข อินทรียและการสรางแบรนดและผลิตตภัณฑบรรจุสินคา เพื่อเพิ่ม มู ล ค า ให แ ก ช าวบ า น โดย อาจารย อ ั ค ค ส ั จ จา ดวงสุ ภ าสิ ญ จ รองผูอํานวยการกองประชาสัมพันธ และดร.ณงคณุช นทีพายัพทิศ ผูร บั ผิดชอบโครงการรวมใหขอ มูล แก คุณคํารณ หวางหวังศรี พิธกี ร รายการ และเยี่ยมชมแปลงเกษตรสาธิตของชาวบานดวย
นักศึกษา สถาปตยกรรมศาสตร มทร ลานนา ครอง ถวยพระราชทาน การแขงขันออกแบบภายในหองนิทรรศการ พิพิธภัณ เวียงทากาน นักศึกษา สาขาสาขาสถาปตยกรรมศาสตร และสาขาสถาปตยกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มทร. ลานนา ควารางวัลชนะเลิศยอดเยี่ยม การประกวดออกแบบ ภายในหองนิทรรศการหมุนเวียนพิพธิ ภัณฑเวียงทากาน โครงการจัด สรางพิพิธภัณฑเวียงทากาน ครั้งที่ 5 กิจกรรมยอยภายใตงาน สาน ตํานานยิ่งใหญสายใยชุมชนทองถิ่น สรางสรรคศิลป พิพิธภัณฑเวียง ทากาน ครัง้ ที่ 5 ครองถวยพระราชทานจากสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจา ฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี พรอมเงินรางวัล 50,000 บาท
..............................................................................................................................................................................................
เกษียณรักสัมพันธสานใจ สายใย ราชมงคลลานนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ลานนา จัดงานเกษียณรักสัมพันธสานใจ สายใยราชมงคลลานนา แสดงมุฑิตาจิตแกผูเกษียณอายุราชการประจําป 2558 จํานวน 36 ทาน โดยไดรับเกียรติจาก รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา เปนประธานในพิธี กลาวแสดงมุฑิตาจิตและมอบเข็มราชมงคลสรรเสริญแกผูเกษียณอายุราชการ ณ ศูนยประชุม นานาชาติเชียงใหมแกรนดวิว 52 วารสาร ราชมงคลล้านนา
สรุปข่าวรอบรั้ว
จิตอาสาปนนํ้าใจใหนอง โรงเรียนบานดงดาน อาจารยคุณากร สุปน อาจารยประจําแผนกวิชาสังคมศาสตร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา ตาก นํานักศึกษา สาขาวิชาการทองเที่ยวและการโรงแรม ชั้นปที่ 1 จัดโครงการจิตอา สาปนนํ้าใจใหนอง เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 ณ โรงเรียนบานดงดาน ตําบลวังจันทร อําเภอสามเงา จังหวัดตาก โครงการนี้จัดขึ้นเพื่อบูรณ าการการเรียนการสอนในรายวิชาทักษะชีวิตและจิตอาสา เพื่อเสริม สรางคุณธรรมจริยธรรมและปลูกจิตสํานึกที่ดีงามแกนักศึกษาที่จะเปน อนาคตของชาติ ในการตอบแทนสังคม
ปนนํ้าใจ ใหนอง
rmutl
กสทช. จัดกิจกรรมใหความรูเรื่องผูบริโภคฯ มทร.ล า นนา ตาก ร วมกั บสํ า นัก งานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคมแห ง ชาติ (สํ า นั ก งาน กสทช.) จั ด กิ จ กรรมให ค วามรู เรื่ อ งผู บ ริ โ ภคในกิ จ การ โทรคมนาคม โดย ดร.พิศมัย สุภัทรานนท รองผูอํานวยการกองการ ศึกษา ตาก ใหเกียรติเปนประธานเปดงาน เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2558 ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ กิจกรรมดังกลาวจัดขึ้นเพื่อสงเสริมให ผูบริโภคในกิจการโทรคมนาคมและประชาชนทั่วไป เกิดความรู ความ เขาใจ ตระหนักถึงสิทธิที่ตนมีตามกฎหมาย ทราบถึงบทบาท อํานาจ และหนาที่ของ กสทช. และแจงชองทางการรองเรียนปญหา จากการ ใชบริการโทรคมนาคมใหแกผูบริโภคทราบโดยทั่วกัน
ปนนํ้าใจ ใหนอง .............................................................................................................................................................................................. วิศวกรรมอุตสาหการฯ จัดโครงการเสริมสรางจิตอาสา
สืบสานตํานานชาง จากใจพี่ สูใจรุนนอง
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ตาก จัดโครงการเสริมสรางจิตอาสาและสืบสานตํานานชาง “จากใจพี่ สู ใจรุนนอง” รุนที่ 4 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2558 ณ มทร.ลานนา ตาก โดย อาจารยพิบูลย เครือคําอาย อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ เปนประธานเปดงาน โครงการนี้จัดขึ้นเพื่อเสริมสรางความสัมพันธอันดี ระหวางรุนพี่ชั้นปตางๆ กับรุนนองชั้นปที่หนึ่ง เปนการสืบสานประเพณี ตอไปเปนรุนๆ ในงานนี้มีกิจกรรมละลายพฤติกรรมของนักศึกษาชั้นป ที่ 1 กิจกรรมเขาฐานตางๆ ที่เสริมสรางความรักใคร สามัคคี กลมเกลียว ในหมูคณะ ในชวงคํามีการจัดกิจกรรมบายศรีสูขวัญตอนรับนักศึกษา ใหม เสริมสรางขวัญและกําลังใจในการศึกษาและใชชีวิตในมหาวิทยาลัย ใหเปนไปอยางมีความสุข ทั้งนี้ ผศ.ธงชัย เบ็ญจลักษณ ผูอํานวยการกอง บริหารทรัพยากร ตาก กลาวใหโอวาท และตอนรับนักศึกษาใหม ที่ไดเขา มารวมกิจกรรมในครั้งนี้
วิศวะฯ อุตสาหการ ประดิษฐเครื่องกวนมะพราวมอบสูชุมชน เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2558 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ วิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ตาก สงมอบ “เครื่องกวนมะพราว” ให แกชุมชนบานวังหิน จังหวัดตาก ผลงานของนายวิรัตน ดําสนิท นาย มานิต แสงทานั่ง และนายสุรพันธ พิณดนตรี นักศึกษาสาขาวิศวกรรม อุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ตาก โดยมี ผศ.เชวง อยู ยืนยง อาจารยจุมพล ชัยประเดิมศักดิ์ และอาจารยภาคภูมิ ใจชมภู เปน อาจารยที่ปรึกษาโครงการ เครื่องกวนมะพราวสามารถทดแทนแรงงาน คน และชวยลดเวลาในการกวน ทําใหชุมชนสามารถผลิตมะพราวกวน จําหนายไดสะดวกยิ่งขึ้น เปนการสรางรายไดเพิ่มใหกลุมแมบานและ ชุมชน
..............................................................................................................................................................................................
ราชมงคลตาก ซอมบํารุงระบบไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยในถิ่นทุรกันดาร คณะทํางาน โครงการติดตั้งระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย นําโดยอาจารยรุงโรจน ขะมันจา รวมกับเจาหนาที่ และนักศึกษาสาขา วิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ตาก ไดดําเนินการซอมบํารุงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยครัวเรือน (โซลารโฮม) ระหวางวันที่ 3-6 กันยายน 2558 ณ หมูบานกามาผาโด ต.แมหละ อ.ทาสองยาง และหมูบานหวยจะกือ หมูบานขุนหวยชางไล ต.ดานแม ละเมา อ.แมสอด จ.ตาก
คณะผูบริหาร มทร.ลานนาตาก เขาพบผูวาราชการจังหวัดตาก ผศ.ประพัฒน เชื้อไทย รองอธิการบดี มทร.ลานนา ตาก พรอม คณะผูบริหาร เขาพบนายสมชัยฐ หทยะตันยติ ผูวาราชการจังหวัดตาก และ นายวสันต ชํานาญจุย รองผูวาราชการจังหวัดตาก เมื่อวันที่ 10 พฤศจิ ก ายน 2558 เพื ่ อ มอบของที ่ ร ะลึ ก ในโอกาสเขา รับ ตํา แหนง รองอธิการบดี มทร.ลานนา ตาก พรอมกันนี้ ไดรวมหารือแนวทาง การขับเคลื่อนและพัฒนาการทองเที่ยวจังหวัดตาก โดยใหนักศึกษา คณาจารย และบุคลากรในมหาวิทยาลัยไดมีสวนรวม
วารสาร ราชมงคลล้านนา 53
สรุปข่าวรอบรั้ว
rmutl
ทีมเรือแมปอม A มทร.ลานนา นาน โครงการเพิ่มศักยภาพงานวิจัยทาง ควาแชมปถวยพระราชทานฯ นัดปดสนาม วิทยาการคอมพิวเตอรและสารสนเทศฯ
ทีมเรือแมปอม A มทร.ลานนา นาน ควาแชมปถวยพระราช ทานฯ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร การแขงขัน เรือกลาง ประเภท 40 ฝพาย นัดปดสนาม ปลอดเหลา-เบียร ประจําป 2558 ซึ่งจัดโดย จังหวัดนาน รวมกับเทศบาลเมืองนาน ระหวางวันที่ 6 - 8 พฤศจิกายน 2558 ทางมหาวิทยาลัยฯ ไดใหความสําคัญ สนับสนุน สงเสริม และอนุรักษงานประเพณีแขงเรือจังหวัดนาน นอกจากแขงขัน เพื่อความสนุกสนาน เชื่อมความสามัคคีแลว ยังเปนกีฬาตานยาเสพติด และสนับสนุนใหนักศึกษาใชเวลาวางใหเปนประโยชนอีกดวย
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ลานนา นาน จัด โครงการเพิ่ ม ศั ก ยภาพงานวิ จั ย ทางวิ ท ยาการคอมพิ ว เตอร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 โดยไดรับเกียรติ จาก ดร.จักรกฤช เตโช บรรยายเรื่อง การสรางความเขาใจและเตรียม ความพรอมแกอาจารยและนักศึกษา เพื่อพัฒนางานวิจัยในโครงการ แขงขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย 2016 ครั้งที่ 18 ตลอดจนวิธีการลงทะเบียนและการสงขอเสนอโครงการวิจัยออนไลน ผานระบบ GENA ดร.จักรกฤช เตโช รวมกับ ดร.นงนุช เกตุย บรรยาย เรื่อง การสรางแรงบันดาลใจ และเสนอแนะการเขียนขอเสนอโครงการที่ ดี ซึ่งวัตถุประสงคของโครงการนี้จัดขึ้นเพื่อ ชี้แจงรายละเอียดและตอบ ขอสงสัยใหแกอาจารยและนักศึกษาที่สนใจจะสงผลงานวิจัยแขงขัน เพื่อพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย 2016
การสัมมนาผูแทนสถาบันเครือขาย โครงการสงเสริมกี าเพื่อสุขภาพฯ
รศ.ดร.อนุชา จันทรบูรณ ผูอํานวยการกองการศึกษา นาน และ นางสาวสุภัควดี พิมพมาศ ฝายกิจการนักศึกษา แผนกกีฬาและสุขภาพ เขารวมการสัมมนาผูแทนสถาบันเครือขาย โครงการสงเสริมกีฬาเพื่อ สุขภาพในสถาบันอุดมศึกษา 22 สถาบัน เขตภาคเหนือตอนบน ป พ.ศ. 2558 ระหวางวันที่ 29-30 ตุลาคม 2558 ณ สวนพฤกษศาสตรทวีชล อําเภอดอยสะเก็ต จังหวัดเชียงใหม การจัดสัมมนาในครั้งนี้มีการสรุปผล ประเมินโครงการสงเสริมกีฬาเพื่อสุขภาพในสถาบันอุดมศึกษา ป พ.ศ. 2557 และชี้แจงรายละเอียดเครือขาย โครงการสงเสริมกีฬาเพื่อสุขภาพ ในสถาบันอุดมศึกษา 22 สถาบัน เขตภาคเหนือตอนบน ป พ.ศ. 2558 ทําใหผูเขารวมสัมมนาเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู Best Practice การ จัดโครงการกีฬาเพื่อสุขภาพ และระดมความคิดเห็น เพื่อจัดกิจกรรม สงเสริมกีฬาเพื่อสุขภาพในสถาบันอุดมศึกษาตอไป
กิจกรรมสืบฮีต ตามฮอย ละออนนาน
สานศิลป ถิ่นลานนา
มทร.ลานนา นาน รวมกับ ธนาคารออมสิน (สาขาหางนราไฮ เปอรมารท) จัดพิธีเปดธนาคารโรงเรียน เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2558 ณ อาคารราชมังคลานครินทร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร. ลานนา นาน โดยนายชัยรัตน ธาราสันติสุข รองผูวาราชการจังหวัดนาน เปนประธานเปดงาน และ รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ รองอธิการบดี นาน กลาวรายงาน ธนาคารจําลองหรือธนาคารโรงเรียนนี้ เปนโครงการที่จัด ขึ้นเพื่อเสริมสรางประสบการณการทํางานเสมือนจริง ในรูปแบบของ สถาบันการเงิน ใหนักศึกษาไดเรียนรูวิธีการดําเนินงาน ภายใตการดูแล ของอาจารยที่ปรึกษาและเจาหนาที่ธนาคารออมสิน ซึ่งจะชวยปลูกฝง ใหนักศึกษารูจักการอดออมมากขึ้น
..................................................................................................................................................................................................
คณาจารยและบุคลากร รวมโครงการอบรมเชิง ป ิบัติการเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม คณาจารย และบุคลากร มทร.ลานนา นาน เขารวมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม ใหแกบคุ ลากรทางการศึกษา ระหวางวันที่ 18-20 กันยายน 2558 ณ ศูนยปฏิบัติธรรม world peace valley เขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา เพื่อฝก ทบทวน เพิ่มพูนคุณธรรมและจริยธรรมใหกับตนเอง ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรูรูปแบบ แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนานิสิต นักศึกษา ใหสอดคลองกับนโยบายสงเสริมคุณธรรม นําความรูของกระทรวงศึกษาธิการอยางเปนรูปธรรมยิ่งขึ้น 54 วารสาร ราชมงคลล้านนา
สรุปข่าวรอบรั้ว
พิธียกฉัตรพระเจาทันใจ
สมาคมศิ ษ ย เ ก า มทร.ล า นนา เชี ย งราย จั ด กิ จ กรรม พิธียกฉัตรพระเจาทันใจ โดยคุณบงกช นุตพงษ และครอบครัว เปนประธานในพิธี ภายในงานมีศิษยเกา คณาจารย บุคลากร และนั ก ศึ ก ษาเข า ร ว มพิ ธี ณ บริ เวณลานธรรมพระเจ า ทั น ใจ มทร.ลานนา เชียงราย
rmutl
โครงการ กอบรม “ การแปรรูป ผลิตภัณฑจากขาว ”
นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าการจั ด การ สาขาบริหารธุรกิจ คณะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา เชียงราย จัดโครงการฝก อบรม “การแปรรูปผลิตภัณฑจากขาว” ณ หองประชุมใหญ อาคาร วิทยบริการ มทร.ลานนา เชียงราย โดยไดรับเกียรติจากอาจารย วิทูรย สองแสง ผูอํานวยการกองบริหารทรัพยากร เชียงราย เปน ประธานเปดงาน และคุณศิรินาฏ กิตติโรจนโยธิน เปนวิทยากร เพื่อสงเสริมใหนักศึกษามีประสบการณและสามารถจัดโครงการ ฝกอบรมไดจริง และ มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการแปรรูป ผลิตภัณฑจากขาว และสรางอาชีพเสริมเพิ่มเติมรายได
โครงการพัฒนาฝมือแรงงานกลุมแรงงานใหม อาจารย วิ ทู ร ย ส อ งแสง ผู อํ า นวยการกองบริ ห าร ทรัพยากร เชียงราย รวมกับนางสาวอาภากร วองเขตกร ผูอํานวย การศูนยพัฒนาฝมือแรงงาน จังหวัดเชียงราย จัดโครงการพัฒนา ฝมือแรงงานใหกับกลุมแรงงานใหม แกนักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขา วิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร ที่กําลังจะจบการศึกษา โดย มีหลักสูตร การควบคุมไฟฟาดวย PLC การเดินสายไฟฟาในอาคาร เทคนิคการติดตั้งระบบกลองวงจรปด การวางระบบเครือขาย และ เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ เพื่อเตรียมความพรอมดาน ทักษะฝมือ นิสัยอุตสาหกรรมและจริยธรรม
นักศึกษา ควารางวัลชนะเลิศประกวด สุนทรพจน “ผูนํายุคใหมหางไกลยาเสพติด”
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา เชียงราย ควารางวัลชนะเลิศ และรางวัลชมเชย ในการประกวด แขงขันสุนทรพจนระดับอุดมศึกษาจังหวัดเชียงราย ในหัวขอ “ผูนํา ยุคใหมหางไกลยาเสพติด” จัดโดยสโมสรการพูดจังหวัด ณ หอง ประชุมชั้น 5 สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน จังหวัดเชียงราย นักศึกษาที่ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก นางสาวอมฤตา อินจาย และรางวัลชมเชย ไดแก นางสาวสโรชา ราชคมน โดยมีอาจารย วรรธนะรัตน ไชยวงศ เปนผูควบคุมดูแล
นักศึกษา วิศวะฯ รับฟงบรรยายพิเศษ แผนดินไหวจากเชียงรายสูเนปาล นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ศ วกรรมโยธาและสิ่ ง แวดล อ ม คณะ วิศวกรรมศาสตร รับฟงการบรรยาย ในหัวขอ “แผนดินไหวจาก เชียงรายสูเนปาล” เรื่อง “การสํารวจทางวิศวกรรม กรณีแผนดินไหว เนปาล” โดย รศ.ดร.สุทธิศกั ดิ์ ศรลัมพ ผูอ าํ นวยการศูนยวจิ ยั และพัฒนา วิศวกรรมปฐพีและฐานราก ณ หองประชุมอาคารวิทยบริการ มทร.ลาน นา เชียงราย เนื่องจากจังหวัดเชียงรายเปนพื้นที่เฝาระวังแผนดินไหว นักศึกษาจําเปนที่จะตองไดรับการเพิ่มพูนองคความรูดานวิศวกรรม โยธา โดยเฉพาะวิศวกรรมปฐพี ซึง่ เปนแขนงหนึง่ ของงานวิศวกรรมโยธา เพื่อเปนพื้นฐานความรูในการใชงานจริง เมื่อตองเผชิญกับเหตุแผนดิน ไหวขนาดใหญ วารสาร ราชมงคลล้านนา 55
สรุปข่าวรอบรั้ว
rmutl
ทีมงานโรงพยาบาลอมกอย ศึกษาดูงาน “รถเข็นสงอาหารฯ ไฟฟา” อาจารยประเทือง ฝนแกว และอาจารยชัยยันต ใจบุญมา อาจารยสาขาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ลําปาง ใหการตอนรับคุณเสาวลักษณ ดวงเกตุ พยาบาลวิชาชีพชํานาญ การ คุณวิฑูรย พาทีหิน เจาหนาที่งานวิทยาศาสตรการแพทยชํานาญ งาน และนายกอทอง ศิรวิ รรณ นายชางเทคนิค จากโรงพยาบาลอมกอย จังหวัดเชียงใหม ที่ไดศึกษาดูงาน โครงการ “รถเข็นสงอาหารในโรง พยาบาลขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟา” ณ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ลําปาง ซึง่ รถเข็นสงอาหารนีส้ ามารถ ขับเคลื่อนขึ้นทางลาดชัน 10-30องศา ขณะบรรทุกภาระมวลรวม 220 กิโลกรัมได ระยะเวลาการใชงานเฉลี่ยของแบตเตอรี่ เทากับ2 ชั่วโมง ตอการชารจ 1 ครั้ง ใชความเร็วเฉลี่ยที่ 2 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทั้งนี้ คณะทีมงานจากโรงพยาบาลอมกอยไดนําผลงานวิจัยดังกลาวไปเสนอ ตอผูบริหาร เพื่อตอยอดงานวิจัยตอไป
..............................................................................................................................................................................................
มทร.ลานนา ลําปาง มอบ“แผนเกราะกันกระสุน”ใหแกศูนย ก อบรมตํารวจภูธรภาค
ผศ.ดร.ไกรสีห พิสิฐกุล รองผูอํานวยการกองการศึกษา ลําปาง พรอมดวยอาจารยเอกรัฐ ใจบุญ และนักศึกษา สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ลําปาง จัดแสดงผลงานวิจัยเสื้อเกราะกันกระสุน ระดับ 2A ตามมาตรฐาน NU 0101.04 ในงานพิธี มอบประกาศนียบัตรแกผูสําเร็จการฝกอบรมนักเรียนนายสิบตํารวจ และพิธีลงนามบันทึกขอตกลงทางวิชาการ (MOU) และมอบแผนเกราะ กันกระสุน ณ หองประชุมแสงสิงแกว ศูนยอบรมตํารวจภูธรภาค 5 อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง โดยมี พล.ต.ท ธนิตศักดิ์ ธีระสวัสดิ์ ผูบัญชาการ ตํารวจภูธรภาค 5 เปนผูรับมอบ
..............................................................................................................................................................................................
การอบรมเชิงปฏิบัติการ การทําขนมตม ขนมถั่วแปบ และขาวแตนนํ้าออย อาจารยไพโรจน ไชยเมืองชื่น อาจารยสาขา วิชาการทองเที่ยวและการโรงแรม คณะบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร และอาจารยสุพัฒน ใตเวชศาสตร อาจารยสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการ อาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ลานนา ลําปาง รวมเปนวิทยากรฝกอบรมเชิง ปฏิบัติการ การทําขนมตม ขนมถั่วแปบ และขาว แตนนํ้าออย ใหแกนักศึกษาสาขาวิชาการทองเที่ยว และการโรงแรม และนักศึกษาสาขาวิชาสัตวศาสตร ชั้นป 4 มทร.ลานนา ลําปาง เพื่อใหนักศึกษานําไป ประยุกตใชและสามารถนําไปประกอบอาชีพได 56 วารสาร ราชมงคลล้านนา
สรุปข่าวรอบรั้ว
ศูนยวฒ ั นธรรมศึกษา มทร.ลานนา พิษณุโลก จัดโครงการตลาด พอเพียง เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 ณ บริเวณหอประชุมกลาง เพื่อ สงเสริมใหนกั ศึกษาในรายวิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไดฝก ทักษะการ จําหนายผลิตภัณฑ เรียนรูระบบการทํางานเปนทีม โดยนักศึกษาไดรวม กันระดมความคิดในการทํากิจกรรม อีกทั้งเปนการสงเสริมใหนักศึกษา ไดเรียนรูชีวิตวิถีดานภูมิปญญาไทย อันจะสงผลใหนักศึกษาไดตระหนัก ในการรักษาขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมไทย ในคงอยูสืบไป
.........................................................................................................................................................................................................................................................................................
ตลาดพอเพียง...เรียนรูคูวิถีไทย
rmutl
นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระเจาอยูหัวฯ “ใชนํ้า อยางรูคุณคา ปวงประชาถวายพอของแผนดิน”
รศ.เดชา นาวานุเคราะห ผูอํานวยการกองการศึกษา พิษณุโลก นําทีมคณาจารยและนักศึกษา จัดแสดงนิทรรศการในโครงการเทิดพระ เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ “ใชนํ้าอยางรูคุณคา ปวงประชา ถวายพอของแผนดิน” โดยองคการตลาดเพื่อเกษตรกร กระทรวงเกษตร และสหกรณ ดําเนินงานจัดขึ้น โดยภายในงานไดรับเกียรติจาก รองปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนประธานเปดงาน ณ สํานักงาน อ.ต.ก. จังหวัดพิษณุโลก ระหวางวันที่ 9 - 11 ตุลาคม 2558
............................................................................................. .............................................................................................
โครงการป ิบัติธรรมพัฒนาจิต ถวาย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ครั้งที่ 10
ศูนยวฒ ั นธรรมศึกษา มทร.ลานนา พิษณุโลก จัดโครงการปฏิบตั ิ ธรรมพัฒนาจิตถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ครั้งที่ 10 ประจําป 2558 ระหวางวันที่ 11 - 13 กันยายน 2558 ณ หอประชุมกลาง เพื่อ ถวายเปนพระราชกุศล โดยพระสุเมศ สุเมโธ และพระมหาคมสัน จิตญาโณ พระวิทยากรจากวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อ.จอมทอง จ.เชียงใหม อบรมการฝกนั่งสมาธิตามแนวสติปฏฐาน 44 การสนทนาธรรม และ ในวันสุดทายของการฝกปฏิบัติธรรม ไดมีกิจกรรมทอดผาปาความดี ตัด ความชั่ว และปฏิญาณตนเปนคนดีถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยมีศิษยเกา คณาจารย เจาหนาที่ นักศึกษา และประชาชนผูสนใจ เขารวมฝกปฏิบัติธรรมกวา 350 คน
นักเรียนโรงเรียนผดุงราษฎร ทัศนศึกษา คณะวิทยาศาสตรฯ
นักเรียนและคณาจารย โรงเรียนผดุงราษฎร ทัศนศึกษาคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร โดยไดเขาชมศูนยเรียนรูเรื่องขาว และภูมปิ ญ ญาไทย ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยไดเรียนรูเ รือ่ งขาว การ เลีย้ งสัตว การปลูกพืช จากคณาจารยและนักศึกษา คณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งนักเรียนไดทดลองปลูกขาวแบบนาโยน ทําคุกกี้ มะมวงหิมพานต และคุกกี้งาดํา เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2558 ณ มทร. ลานนา ตาก
.............................................................................................
.............................................................................................
มทร.ลานนา พิษณุโลก รวมใจบริจาคโลหิต คณาจารย เจาหนาที่และนักศึกษา มทร.ลานนา พิษณุโลก รวม กิจกรรมบริจาคโลหิต เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2558 ณ อาคารวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มทร.ลานนา พิษณุโลก โดยไดรับเกียรติจาก นางสุจิตรา ศรีนาม รองนายกเหลากาชาดจังหวัดพิษณุโลก รวมใหกําลัง ใจแกคณาจารย เจาหนาที่และนักศึกษา ที่บริจาคโลหิต
สถานีโทรทัศนกองทัพบก ชอง 7 ถายทํารายการ
นางสาวสุขกมล จันจร พรอมทีมงานขาวเกษตร ทางสถานี โทรทัศนกองทัพบก ชอง 7 ถายทํารายการ “เพื่อนเกษตร” โดยได สัมภาษณงานวิจัย เรื่องชาตนขาวออน โดย ผศ.เฉลิมพล ถนอมวงศ คณาจารยและนักศึกษา สาขาเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีการเกษตร และงานวิจัยการใชใบมะรุมในอาหารสัตวปก เพื่อเพิ่มโปรตีนและสีในไขแดง โดย ดร.ณิฐิมา เฉลิมแสน หัวหนาสาขา สัตวศาสตรและประมง พรอมดวยนักศึกษา เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2558
วารสาร ราชมงคลล้านนา 57
คอลัมน์ ปัญหาสุขภาพ
เตือนวัยทํางานเสี่ยงโรคอาการป่วย
กระทรวงสาธารณสุข หวงสุขภาพวัยทํางาน เหตุใชชวี ติ ในอาคารทีม่ รี ะบบคุณภาพอากาศไมดี เสีย่ งการสูดดม ฝุน ละออง ผงหมึก และสารอินทรียระเหย หวั่นเสี่ยงเกิดโรคอาคารปวย (Sic building Syndeom) แนะคุมเขมผูสัมผัสกับ เครื่องถายเอกสารตลอดเวลา ยําตองสวมหนากากอนามัยทุกครั้งปองกันตนเอง ศ.คลินิก เกียรติคุณ นพ.ปยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข เปดเผยวา ประชาชน สวนใหญใชเวลาอยูภายในอาคาร บาน สํานักงาน และโรงแรม ทําใหเสี่ยงตอปญหาคุณภาพในอากาศที่เกิดจากฝุนละออง จากเครื่องปรับอากาศที่ขาดการดูแล สารอินทรียระเหยงาย (VOCs) เชน ไซลีน โทลูอีน เบนซีน เปนตน ผงหมึกจากเครื่อง ถายเอกสาร สีทาอาคารและวัสดุ สิง่ เหลานีล้ ว นทําใหคณ ุ ภาพอากาศไมดี โดยเฉพาะหากไมมรี ะบบถายเทอากาศ ทีด่ พี อ จะ สงผลกระทบตอสุขภาพวัยทํางานตามมา นอกจากจะเสีย่ งเจ็บปวยดวยโรคระบบทางเดินหายใจซึง่ ขอมูลสํานักงานนโยบาย และยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ป 2555 พบคนไทยปวยเปนโรคระบบทางเดินหายใจมีอัตราปวย 473.34 ตอประชาชน 1,000 คน แลว ยังทําใหเสี่ยงโรคอาคารปวย (Sick building Syndrome) ที่มีการสูดดมฝุนละออง สารระเหย และผงหมึก เปนตน โดยอาการของโรคแบงได 5 กลุม คือ 1) อาการระคายเคืองตา มีอาการตาแหง นํ้าตาไหล ตาแดง ระคายเคืองตา จะเปนมากในรายที่ใสคอนแทคเลนส 2) อาการคัดจมูก ระคายเคืองคอจาม ไอ 3) อาการทางลําคอ คอแหง ระคายคอ หายใจลําบาก 4) อาการผิวหนังแหง คัน เปนผื่น ผิวหนังอักเสบ และ 5) อาการปวดศีรษะบริเวณหนา ผาก เหนื่อยลา มึนงง ขาดสมาธิในการทํางาน โดยอาการเหลานี้จะดีขึ้นหรือหายไดเอง เมื่อออกจากอาคาร ไปแลว 2-3 ชั่วโมง ศ.คลินิก เกียรติคุณ นพ.ปยะสกล กลาวตอไปวา กลุมที่กระทรวงสาธารณสุขเปนหวงคือวัยทํางาน โดยเฉพาะ ผูที่ ตองทํางานถายเอกสาร เนื่องจากเครื่องถายเอกสารมีกลิ่นสารเคมี มีผงหมึกที่เปนฝุนผงเสี่ยงตอการสูดดมเขาสูรางกายได งาย ทําใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจมีอาการไอ จาม ซึง่ ผงหมึกนีม้ ที งั้ แบบผงคารบอนดํา 100 เปอรเซ็นต ผสมกับพลาสติกเรซิน ในเครื่องถายเอกสารระบบแหง และผงหมึกละลายในสารอินทรียประเภทปโตรเลียม ในเครื่องถาย เอกสารระบบเปยก ซึง่ ทัง้ 2 แบบนี้ เปนสารเคมีทเี่ ปนอันตรายจึงตองระมัดระวังขณะเติมหมึก รวมทัง้ ขณะทําความสะอาด หรือกําจัดฝุนผงหมึกที่ใชแลว และหลีกเลี่ยงการสัมผัสผงหมึกหรือสูดดมเอาผงหมึกเขาสูรางกาย หากพบผงหมึกเปอน ติดกระดาษจํานวนมาก ควรหยุดการทํางานของเครื่องถายเอกสาร แลวติดตอบริษัทเพื่อซอมบํารุงตอไป ทางดาน ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค อธิบดีกรมอนามัย กลาววา ผูใชเครื่องถายเอกสารตองรูจักวิธีปองกัน ตนเองใหปลอดภัย เมื่อถายเอกสารทุกครั้งควรปดฝาครอบใหสนิท พรอมทั้งติดตั้งพัดลมดูดอากาศเฉพาะที่ในหองถาย เอกสาร สวมถุงมือขณะเติมหรือเคลื่อนยายผงหมึก ควรใสหนากากกันฝุนเคมี หรือหนากากอนามัย โดยผงหมึกที่ใชแลว หรือผงหมึกทีห่ กตามพืน้ ในขณะทีเ่ ติมตองนําไปกําจัดลงในภาชนะทีป่ ด มิดชิด อีกทัง้ ควรบํารุงรักษาเครือ่ งเปนประจํา และ ใหตั้งเครื่องถายเอกสารแยกไวที่มุมหองที่ไกลจากคนทํางาน และผูที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการถายเอกสาร ควรไดรับการ แนะนําอบรมวิธีการใช การเปลี่ยนผงหมึกรวมทั้งการกําจัดผงหมึก ตลอดจนผูซอมบํารุงเครื่องถายเอกสารควรสวมถุงมือ แบบใชแลวทิ้ง และหลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับลูกกลิ้งดวย ที่มา : สํานักสื่อสารและตอบโตความเสี่ยง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 58 วารสาร ราชมงคลล้านนา
คอลัมน์ ปัญหาสุขภาพ
ศ.คลินิก เกียรติคุณ นพ.ปยะสกล สกลสัตยาทร
Reminders
working age risk
of illness.
Ministry of Public Health care working age health because living in buildings with poor air quality. Risk of inhaling dust, toner and volatile organic compounds, risk of sick building syndrome. Suggest tightening control the copier user to wear a procedure mask to protect themselves. Clinical Professor emeritus MD. Piyasakon Sakonsattayatorn a Minister of ministry of Public Health revealed that most people spend more time inside homes, offices and hotels. This making it vulnerable to air quality problems caused by dust in lack of care of air conditioning, volatile organic compounds (VOCs) such as xylene, toluene, benzene, etc. Toner from copying machine, painting wall and equipment those cause the bad air quality especially if there isn’t enough ventilation which can affect health. copier toner, paint and building materials all these make the air quality poor. Especially if the system isn’t enough ventilation can affect subsequent health. In addition to the risk of respiratory illness, which information of Bureau of Policy and Strategy Ministry of public Health in 2012 found people with respiratory illness incidence rate of 473.34 per 1,000 people, also makes it vulnerable sick building syndrome by inhaled dust and toner
so volatile. The symptoms of disease divided into 5 group are 1. Eyes irritated, dry eyes, tearing or conjunctivitis. Eyes irritated most found in people who wear contact lenses. 2. Nasal congestion, throat irritation, sneezing, coughing. 3. Symptoms of throat, dry throat, throat irritation, difficulty breathing. 4. The symptoms of dry skin, itching, rash, skin inflammation. 5. Frontal headache, fatigue, dizziness, lack of concentration. by These symptoms will get better or disappear after leaving the building for 2-3 hours. Clinical Professor emeritus MD. Piyasakon Sakonsattayatorn said Ministry of Public Health concern in working age, especially for people who work with copying machine which has a chemical smell. The risk from easier inhaled toner into the body cause irritation to the respiratory system, coughing, sneezing. In dry copiers, the toner is 100 percent carbon black mixed with plastic resin. In wet copiers, soluble organic compounds and petroleum. By those 2 type contain dangerous chemical which need insentive careful while refilling. As well as cleaning or disposal of used tone and avoid to touch or inhale into body. If toner stain the paper a lot should stop the copier. Then contact the company for maintenance. Dr.MD.Pornthep Siriwanarangsan the head of department of health said the user must know how to protect themselves. When copying should always close the cover tightly, the installation of exhaust fans at the copier place, always wear gloves while adding or removing toner. By used toner or dropped toner should be eliminate in closed container, always maintenance and put copier far from working table and worker. Provide training on how to use. Replacing toner and toner disposal. As well as the maintenance of a copier should wear disposable gloves. And avoid direct exposure with the roller. Department of Health : inistry of Public Health
วารสาร ราชมงคลล้านนา 59
เรื่อง จากปก
ผลงานเด็กไทยไมแพชาติใดในโลก คงเป็นคํากล่าวที่ดูไม่เกินไป หากเทียบกับผลงานของน้องๆ นักศึกษา สาขาวิชา คณะศลิ ปกรรม และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา ที่คว้ารางวัล Asia Star 2015 Winners จากการแข่งขัน ASIA STAR Awards 2015 ณ กรุงอิสตันบูล สาธารณรัฐตุรกี ซึ่งเด็กไทยสามารถคว้ารางวัล Winners 3 รางวัลจากผลงานส่งเข้าประกวด 196 ผลงาน 9 ประเทศสมาชิก APF ในทวีปเอเชีย
การแขงขันออกแบบบรรจุภัณฑเกิดขึ้นโดย ความรวมมือของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม โดยกอง พัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา 2 รวมกับสมาคมการ บรรจุภัณฑไทย (TPA) สมาคมบรรจุภัณฑกระดาษ ลูกฟูกไทย ( HA A) รวมกันจัดขึ้นเพื่อเปนการ สงเสริมใหนักออกแบบไดมีการพัฒนาการออกแบบ บรรจุภัณฑ สงเสริมใหสินคาไทยไดไปจําหนายยังตาง ประเทศ ยกระดับมาตรฐานบรรจุภัณฑไทยสูสากล และเพื่อสงผลงานดานบรรจุภัณฑของไทยไปประกวด ในนามตัวแทนประเทศไทย ทัง้ ในระดับนานาชาติ และ ระดับโลกนัน้ สวนพัฒนาอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑและ การพิมพ กองพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา 2 กรม สงเสริมอุตสาหกรรม จึงไดจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุน กิจกรรมดังกลาวดวยการจัดประกวดบรรจุภัณฑไทย ประจําป 2558 ( haiStar 2015) โดยรวมกับภาค เอกชน และสถาบันการศึกษา ทีเ่ กีย่ วของกับการบรรจุ ภัณฑภายใตหัวขอ “หลากหลายวัสดุบรรจุภัณ ” ผลงานที่ไดรับรางวัลจะไดรับการพิจารณาใหเปน ตัวแทนประเทศไทย ในการประกวดบรรจุภัณฑระดับ เอเชีย (AsiaStar) ซึ่งในปนี้ จัดขึ้น ณ กรุงอิสตันบูล สาธารณรัฐตุรกี นางสาวสุวิมล อุนเรือนหรือนองเมย ตัวแทน ประเทศไทย เจาของผลงาน N SH LAMP เลาใหฟงถึงแนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑนี้ วา “เนือ่ งดวยสินคามีรปู รางขนาดสูงใชพนื้ ทีใ่ นการจัด เก็บคอนขางมากและตัวสินคาสามารถถอดประกอบ ไดจึงเปนจุดที่ทําใหเกิดความสนใจที่จะนํา “โคมไฟ กะลามะพราว” มาพัฒนาเปนตนแบบบรรจุภณ ั ฑเพือ่ การขนสงบรรจุภัณฑชั้นใน ไดใชหลักการออกแบบ ใหสามารถลดพื้นที่ในการจัดเก็บและมีการจัดวางชิ้น สวนตางๆใหดูเหมือนสินคาขณะประกอบเสร็จแลวจึง ทําใหเกิดความรูสึกสนุกสนานดังกราฟฟกของบรรจุ ภัณฑ เพื่อชวยยกระดับใหสินคามีความนาสนใจและ มีคุณคามากยิ่งขึ้น” 60 วารสาร ราชมงคลล้านนา
Asia Star
2015 Winners
เรื่อง จากปก
น้องบวย
น้องเมย
น้องนุก
COCONUT SHELL LAMP
RESIN DOLLS ตนเองรู สึก ดีใจเพราะภาคภูมิใจที่ไ ดสรางชื่อ เสี ย งให แก ทางมหาลัย ครอบครัว ที่ไดนําความรูและไดแสดงความสามารถ ที่ ไ ด เรี ย นมา และจะใช ร างวั ล นี้ เ ป น แรงบั น ดาลใจเพื่ อ สร า งสรรค ผลงานการออกแบบให ดี ยิ่ ง ขึ้ น ต อ ไป น อ งเมย ก ล า วในตอนท า ย อี ก คนที่ ไ ด รั บ รางวั ล นี้ น างสาวโสรยา กั น ใจ หรื อ น อ งบ ว ย เจาของผลงาน ชื่อ R S N D S บอกเหตุผลที่เลือกผลิตภัณฑนี้มา ออกแบบและผลิตผลงานสงเขาประกวดวา “เชียงใหมมีงานหัตถกรรม ที่หลากหลายและมีลักษณะที่โดดเดนแตกตางกันไป โดยตุกตาเรซิ่น นั้นเปนผลิตภัณฑที่สวยงาม มีความนาสนใจดูแปลกตา อีกทั้งตัวของ ผลิตภัณฑเองสามารถบอกเลาเรื่องราวไวอยางชัดเจน จึงไดเห็นวา ผลิตภัณฑ “ตุกตาเรซิ่น” เปนผลิตภัณฑที่สามารถนํามาตอยอดเพื่อ เพิ่มมูลคา สรางความแตกตางที่มีอยูทั่วไป” “ผลงานชิ้นนี้เปนผลงานที ่ สรางความภาคภูม ิใจเพราะเปนผลงานที ่สรางชื ่อเสียงใหกับสาขา เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ และมหาวิทยาลัย การมีแรงบันดาลใจในการ ทํางานทําใหสามารถสรางผลงานที่ดี พรอมดวยการไดรับคําแนะนํา จากอาจารยทําใหผลงานออกมามีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ซึ่งการเปน ตัวแทนประเทศไทยเขารวมประกวดระดับเอเชียทําใหรูสึกมีความภาค ภูมิใจทั้งตอตนเอง ตอสาขาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ และมหาวิทยาลัย ซึ่ง เปนการแสดงศักยภาพในการสรางผลงานและเปนการนํากระบวนการ ความรูตางๆที่ไดเรียนมานํามาใชใหเกิดประโยชน อีกทั้งการไดรับการ สนับสนุนและคําแนะนําจากอาจารยใหผลงานมีความสมบูรณมากยิง่ ขึน้ ” และนองนุก นางสาวเนตรนภา ทิชาชาติ เจาของผลงาน K S N W R กลาววา “จังหวัดเชียงใหมไดขึ้นชื่อวาเปนเมือง หัตถกรรม ผลงานหัตถกรรมสวนใหญมีความเปนเอกลักษณและเปนที่ นิยมในกลุมนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางชาติจึงเปนเหตุผลใน การเลือกชุดเครื่องประดับหินเทอรควอยส ( ur uoise) มาพัฒนา ใหมีคุณคามากยิ่งขึ้นเปนหินนําโชคที่มีสีฟาสดใสจึงใชเปนที่มาของโทน สีสวนหลักในการออกแบบบรรจุภัณฑ ไดนําจุดเดนของลวดลายพื้นผิว
LUCKY STONE JEWELRY ตางหู (Texture) มาผสมผสานระหวางความเรียบงายและความหรูหรา ไดอยางลงตัว” “การประกวดครั้งนี้ไดแสดงใหผูอื่นไดเห็นถึงศักยภาพในการ ทํางานซึ่งผลงานแตละชิ้นจะตองใชระยะเวลา ความมุงมั่นพยายามใน การทําเปนอยางยิ่ง และไดนําองคความรูที่ไดเรียนจากอาจารย รวมถึง คําแนะนําจากรุนพี่และเพื่อนๆ มาปรับใชในการแกไขปญหา จึงทําให การดําเนินงานประสบความสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เนื่องจากผลงาน ที่ไดรับรางวัลนี้สรางความภาคภูมิใจใหแกตนเอง ครอบครัว สาขาวิชา คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ซึง่ ในอนาคตจะนําประสบการณทไี่ ดรบั ไปพัฒนาตอย อดเพื่อที่จะเปนตัวแทนสงผลงานการออกแบบทางดานบรรจุภัณฑ เขา รวมประกวดในระดับโลก (World Star ) และจะถายทอดองคความ รูใหแกรุนนอง เพื่อเปนการพัฒนาและสงเสริมใหนักออกแบบไดมีการ พัฒนาการออกแบบบรรจุภัณฑใหกาวไปสูระดับสากลตอไป” และอีกหนึง่ ทานทีข่ าดไมไดคอื อาจารยทปี่ รึกษา อาจารยศศิธร ทองเปรมจิตต อาจารยผคู รํา่ หวอดในวงการบรรจุภณ ั ฑมากวา 8 ปกบั การ รักษามาตรฐานของบรรจุภณ ั ฑบอกกับเราวา “ปนเี้ ปนปที่ 8 แลวทีเ่ ราได สงผลงานนักศึกษาเขารวมประกวด ASIA STAR Awards ซึง่ ทีผ่ า นมาวิชา เอกเทคโนโลยีบรรจุภัณฑไดพยายามสงเสริม ใหนักศึกษาทุกคนที่ศึกษา ชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 มีโอกาสไดเขารวมโครงการประกวดบรรจุภัณฑ ไทย ประจําป และเปนตัวแทนประเทศเขาแขงขันในระดับเอเชียเพื่อให นักศึกษาพัฒนาศักยภาพของตนเอง จากบัณฑิตนักปฏิบตั ิ (Hands -on) จากการฝกปฏิบตั ใิ นภาคทฤษฎีนาํ มาออกแบบ แกไขปญหา ทดสอบ และ ลงมือปฏิบัติจริง การแขงขันเพื่อคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยนั้นคนที่ ชนะอาจจะไมไดรางวัลในระดับเอเชีย ในทางกลับกันคนที่ไมไดชนะเลิศ ในประเทศแตอาจจะไดรับรางวัล he winner ในระดับเอเชียก็ได เพราะฉนั ้ น เราจะต อ งพยายามที ่ จ ะชนะเลิ ศ ในระดั บประเทศเพื่อ จะเขาเปนตัวแทนไปแขงระดับเอเชียใหได การทํางานของอาจารยและ วารสาร ราชมงคลล้านนา 61
เรื่อง จากปก บรรจุภัณฑระดับโลก ป 2555 และป 2556 เขารวมการประกวด และได รับเกียรติบัตรจํานวน 4 รางวัล สวนผลงานระดับเอเชีย (AsiaStar 2015) ไดรบั 3 รางวัล ซึง่ จะตอยอดสงการประกวด World Star 201 ตอไป ” การประกวดในป 2558 ภายใตหัวขอ “หลากหลายวัสดุบรรจุ ภัณ ” ซึ่งสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพและบรรจุภัณฑ ไดสนับสนุน ใหนักศึกษาชั้นปที่ 3 ทุกคน สงผลงานของตนเองเขารวมประกวด โดย ใหโอกาสนักศึกษาไดแสดงความสามารถ และศักยภาพของตนเอง โดย อาจารยผูสอน ปรึกษา ใหคําแนะนําตั้งแตการจัดหาผลิตภัณฑเขารวม ผลิตผลงานบรรจุภัณฑ หลังจากนั้นนักศึกษาออกแบบและจัดทําตนแบบ บรรจุภัณฑ นํามาสูการออกแบบบรรจุภัณฑของนักศึกษาเปนรายบุคคล
นักศึกษาจะเนนการนําประสบการณ การประกวดจากปกอ นๆและขอผิด พลาดมาปรับปรุงแกไขและหาแนวทางการออกแบบตามหัวขอทีก่ าํ หนด ในแตละป การจะไดรางวัลหรือไมก็ขึ้นอยูกับวาการออกแบบผลงานนั้น รองรับตอบโจทยผลิตภัณฑไดมากนอยเพียงใด จนปรากฏผลงานระดับ ประเทศ รวมทั้งหมด 34 รางวัล ระดับเอเชีย 25 รางวัล รางวัลมาตรฐาน
62 วารสาร ราชมงคลล้านนา
จากประสบการณ์ ในการส่ ง ผลงานเข้ า ร่ ว มการ ประกวดมาตลอดระยะเวลา 8 ปี นั้น ในการทํางานทุกขั้นตอน ได้สร้างกระบวนการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และได้สร้าง โอกาสให้แก่นกั ศึกษาได้มเี วทีในการแสดงความสามารถ การรักษา มาตรฐานของบรรจุภัณฑ์ให้อยู่ในระดับแถวหน้าของประเทศ คงไม่ใช่เรื่องง่ายแต่ความท้าทายของโจทย์แต่ละปีก้ได้สร้างนัก ออกแบบหน้าใหม่ออกสู่วงการซึ่งนักศึกษาได้ผ่านกระบวนการ เรียนรู้ วิเคราะห์ เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีคุณภาพในวงการ บรรจุภัณฑของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
1.อัพเดทขาวสาร กิจกรรม ของ มทร.ลานนา
2.ติดตามอานวารสาร จุลสารผาน E-Book
5.ติดตามขาวสาร กิจกรรม 8.ปฏิทินการศึกษา ของสมาคมศิษยเกาผาน และปฏิทินกิจกรรม News Feed Alumni 7.สิทธิพิเศษจาก สมาคมศิษยเกาในรานคา และบริการตางๆ 4.ดูผลการเรียน ของตนเอง ไดทุกที่ทุกเวลา
3.รับฟงขาวสารสาระความบันเทิง จากสถานีวิทยุ มทร.ลานนา ผาน E-Radio
6.ขอมูลทั่วไปของ มทร.ลานนาและ นนาและ สมาคมศิษยเกา
10.ดาวนโหลด ตราสัญลักษณ และเอกสาร แบบฟอรมตางๆ 9.สาขาวิชาที่เปดสอน
สามารถดาวนโหลดไดทั้งระบบ Android และ iOS
11.ชมภาพ กิจกรรมสวยๆ
ติดตอสอบถาม กองประชาสัมพันธ
053 921444 ตอ 1 0 3 3