นิตยสารราชมงคลล้านนา ฉบับที่ 7

Page 1


บทบรรณาธิ ก าร

Editorial

บทบรรณาธิการ “ตามที่ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบัติ หน้าที่ประธานรัฐสภาได้กล่าวในนามของปวงชนชาวไทย เชิญ ข้าพเจ้าขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ถ้าเป็นไปตาม พระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตรและเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎ มณเฑียรบาล ว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์กับรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยนั้น ข้าพเจ้าขอตอบรับเพื่อสนองพระราช ปณิธาน และเพื่อประโยชน์ของประชาชนชาวไทยทั้งปวง” พระราชดำารัสสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร เมือ่ ครัง้ ทรงตอบรับการขึน้ ทรงราชย์ตามคำากราบ บังคมทูลเชิญองค์รัชทายาทเสด็จฯ ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหา กษัตริย ์ สืบราชสันตติวงศ์ ของประธานสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ เมือ่ วันที ่ 1 ธันวาคม 2559 ณ พระทีน่ งั่ อัมพรสถาน พระราชวัง ดุสิต จากพระราชดำารัสดังกล่าวนำามาซึ่งความปีติยินดีของ พสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าที่มีพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ รัชกาลที่ 10 ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน วารสารราชมงคลล้านนา ฉบับนีไ้ ด้นาำ เสนอพระอัจฉริยภาพด้านการทหาร ของพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร รัชกาลที่10 กษัตริย์จอมทัพไทย เพื่อเทิด พระเกียรติพระองค์ท่านที่มีพระมหากรุณาธิคุณแก่พสกนิกร ชาวไทยอย่ า งหาที่ สุ ด มิ ไ ด้ รวมถึ ง ผลการดำ า เนิ น งานของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตามวิสัยทัศน์และ พันธกิจที่ได้นำาเสนอไว้ภายใต้การนำาของ รศ.ดร.นำายุทธ สงค์ ธ นาพิ ทั ก ษ์ อธิ ก ารบดี บนปณิ ธ านมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ว ่ า “มหาวิ ท ยาลั ย นวั ต กรรมเพื่ อ ชุ ม ชน”และเพิ่ ม เติ ม คำ า ว่ า “สู ่ ส ากล”โดยผลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ ส ายวิ ช าชี พ บนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคู่ไปด้วย อาทิ การจัดการศึกษาในรูปแบบโรงเรียนในโรงงาน การบูรณาการ การเรียนกับการทำางาน การเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา โครงการLearning Express และการพัฒนาทักษะบุคลากร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น รวมทั้งบริบทการจัดการ ศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาล สร้างบุคลากรเป็นทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ มีศักยภาพ มีความรู้ ทักษะที่เหมาะสมต่อการดำาเนินชีวิตและ การประกอบอาชีพในยุคดิจทิ ลั เพือ่ ขับเคลือ่ นและพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ต่อไป

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

“As President of the National Legislative Assembly, acting President of the National Assembly stated on behalf of all Thai people to invite me to enthrone and become a king that this is in accordance with the royal wish of King Bhumibol Adulyadej and the legislative act of the royal law on succeeding to the throne and the constitution of the Kingdom of Thailand, I therefore accept this as to respond to his royal wish and for all the sakes of all Thai people.” This is the royal remark of King Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun when he accepted the reign according to the invitation of President of the National Legislative Assembly for the crown prince to enthrone and become a king on 1 December 2016 at Amphorn Sathorn Villa, Dusit Palace. The royal remark has brought joy to all Thai people in that they have a new king, Rama X. Long live the King. This issue of RMUTL magazine presents his remarkable military talent of King Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun, King Rama X, Supreme Commander, King of the Thai Army, in order to praise his utmost mercy for all Thai people. This issue also includes the operations of Rajamangala University of Technology Lanna with the visions and missions as presented, led by Assoc.Prof. Dr.Numyoot Songthanapitak, President, on the determination of being “Innovation University for Community.” The word “global” is added aiming to produce professional graduates on the bases of science and technology. Take School in Factory, WiL, Learning Express, and STEM education, as examples. Education Management of the university is also correlated to the policy of Thailand 4.0 proposed by the government. This is to create quality personnel in order to be potential human capital with knowledge and skills for living and working in a digital era so as to drive and develop the country’s economy and society to sustainability in the future.


พระอัจฉริยภาพด้านการทหาร สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี กษัตริย์จอมทัพไทย

สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงสนพระทัยด้านอากาศยานและการบินมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ โดย ทรงสำ � เร็ จ การศึ ก ษาจากวิ ท ยาลั ย การทหารดั น ทรู น แคนเบอร์ ร า ออสเตรเลีย และด้านการบินเป็นพิเศษ จนได้รับการขนานนามว่า “กษัตริย์นักบิน” โดยเฉพาะเครื่องบินพาณิชย์ในตำ�แหน่งนักบินที่ 1 พระองค์ทรงพระปรีชาชาญในวิทยาการด้านการบิน ทรงรอบรู้เทคนิค สมัยใหม่ทงั้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ เคยทรงเข้าร่วมการแข่งขันการใช้ อาวุธทางอากาศ ณ สนามฝึกใช้อาวุธทางอากาศชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี และทรงชนะเลิศการแข่งขัน เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2530 ทรงได้ รับใบอนุญาตครูฝกึ ภาคอากาศและผูต้ รวจสอบนักบินสำ�หรับเครือ่ งบิน พาณิชย์ทรงผ่านการฝึกบินด้วยเครื่องบินใบพัด แบบมาร์คเคตตี้ของฝูง ขั้นปลาย โรงเรียนการบิน กองทัพอากาศ และการฝึกบินด้วยเครื่องบิน ไอพ่น แบบ ที 33 และหลักสูตรนักบินขับไล่ไอพ่นสมรรถนะสูงกับเครือ่ ง บินขับไล่ แบบ เอฟ 5 อี/เอฟ ของกองบิน 1 ฝูงบิน 102 ทรงเข้ารับ การฝึกหลักสูตรการบินในฐานะนักบินโบอิ้ง 737 - 400 จากบริษัท การบิ น ไทย จำ � กั ด ( มหาชน ) และทรงผ่ า นการตรวจสอบจาก การขนส่ ง ทางอากาศ ทรงได้ รั บ ใบอนุ ญ าตนั ก บิ น พาณิ ช ย์ เ อก

เมื่ อ ปี พ.ศ. 2548 ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก หลั ก สู ต รกั ป ตั น จากบริ ษั ท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) และทรงรับการทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายตำ � แหน่ ง นั ก บิ น ที่ 1 ในพ.ศ. 2549 ทั้ ง นี้ ทรงปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ นักบินที่ 1 อย่างดีเยี่ยมสมํ่าเสมอ รวมชั่วโมงบิน 3,000 ชั่วโมง เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2552 กรมการขนส่ ง ทางอากาศได้ ทู ล เกล้ า ทู ล กระหม่อมถวายใบรับรองในตำ�แหน่งครูฝึกภาคอากาศกับตำ�แหน่ง ครูฝึกเครื่องช่วยฝึกบิน สำ�หรับเครื่องบินโบอิ้ง 737 – 400 ทรงดำ�รง พระยศทางทหารของ 3 เหล่าทัพ คือ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศ เอก และได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการทหาร โดยทรงเข้า ร่วมปฏิบัติการรบในการต่อต้านการก่อการร้ายในภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ ของปวงชนชาวไทย ขอบคุณข้อมูลจาก : หนังสือจดหมายเหตุเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 5 รอบ 28 กรกฎาคม 2555 , หนังสือ 63 พรรษามหาวชิราลงกรณ, สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรม และข้อมูลบางส่วนจาก วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ,โครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำ�ริในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ),(สำ�นักงานกรรมการพิเศษเพื่อ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.) นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


His Royal Remarkable Talent Military Art and Science of

His Majesty King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun King Rama X of the Chakri dynasty, Supreme Commander King of the Thai Army

His majesty King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun has had an interest on aviation and aircrafts since he was young. He graduated from Royal Military College-Duntroon, Canberra, Australia, specifi cally in the fi eld of aviation. He is then so called “Pilot King.” He has expertise in aviation, especially in commercial aircrafts, being the fi rst pilot. The king knows modern techniques both in theories and in practice thoroughly. He participated in the competition of using air weapons at Chandy Range, Lop Buri province and won the competition on 1 April, 1987. He was granted the aviation teaching license and the pilot inspection license for commercial aircrafts and passed the aviation practice with an airscrew plane with the Marketty style in the advanced level of Aviation School of Thai Royal Airforce, the aviation practice with a jet plane in a T33 style, and the program of a high capacity fi ghter pilot for a jet plane with F 5 E/F of Fleet 1, Air Squadron 102. Moreover, he participated in the practice program as a Boeing pilot from Thai Airways International PCL. He has gone through the examination of air transportation and received the fi rst pilot license for commercial in 2005. Being trained in a captain program arrange by Thai airways international PCL, he was also offered the positon of First Pilot in 2006. The king has always performed his duty as First Pilot very well with 3,000 hours of fl ying experience. In May 2009, Department of Civil Aviation offered an aviation trainer certifi cate and a trainer certifi cate for a practice aided plane for Boeing 737-400. He has been titled in the 3 armed forces of the military as General, Admiral, and Air Chief Marshal. He participated in the military mission against terrorism in the north and north-eastern parts of Thailand. For all Thai people his royal grace has always been upon them. 4 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


สารบั ญ

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา ฉบับที่ 7 ฉบับพิเศษ RMUTL MAGAZINE

Issue 7

ประจําเดือน มกราคม - เมษายน 2560 January - April 2017

7 8 14 18 24 28 P

P

P P

7-12 บัณฑิตสายวิชาชีพ... หัวใจสําคัญของการพัฒนากําลังคนในยุคศตวรรษที่ 21 RMUTL Wil 13-17 TVET Hub Lanna Innovation for Life 18-20 เครื่องคั่วกาแฟ 21-23 เครื่องวัดความขุ่นของน้ํา ต้นทุนต่ํา สําหรับบ่อเลี้ยงปลา 24-26 ระบบควบคุมแสงสําหรับโรงเรือนปลูกดอกเบญจมาศ Start Up 27-33 Special-scoop ราชมงคลล้านนา ในบริบท 4.0 สังคมอุดมปัญญา ด้วยนวัตกรรมดิจิทัล Social Engagement 34-39 Talent Mobility STEM RMUTL 40-47 STEM Education Inter View 48 -51 Learning Express Technology for Life 52-55 RCDL Way of Life…style Lanna 56-57 เรื่องเล่า 58-59 สร้างฝายชะลอน้ําตามรอยพ่อ 60-61 ร่วมน้อมนําปณิธานความดี ปีแห่งการแสดงความอาลัยแด่พ่อหลวง RMUTL Movement 62-63 เด็กในวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า 64- 65 เศรษฐกิจพอเพียง Alumni Story 66-68 สัมภาษณ์ นายสําเนาว์ พุกละออ ศิษย์เก่าเกษตรบ้านกร่าง รุ่น 15 Healthy Corner 69 -71 เมล่อน Leader Talk

P P

P

40

52 66 69

P

P

P

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 5


คณะผู ้ จ ั ด ทํ า

คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา/Advisor

รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ ผศ.สนิท พิพิธสมบัติ ผศ.อุดม สุธาคํา ผศ.มนูญ เมฆอรุณกมล รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ ดร.ทินกร ทาตระกูล ผศ.ประพัฒน์ เชื้อไทย ดร.ภาสวรรธน์ วัชรดํารงศักดิ์ ดร.ยุพเยาว์ ดรุณ

บรรณาธิการ/Editor อ.อัคค์สัจจา ดวงสุภาสิญจ์

Assoc.Prof.Dr.Numyoot Songthanapitak Asst.Prof.Sanit Pipithasombut Asst.Prof.Udom Suthakam Asst.Prof.Manoon Mekaroonkamol Assoc.Prof.Dr.Komsan Annuaysit Dr.Tinnakorn Tathrakul Asst.Prof.Prapat Chaethai Dr.Passawat Wacharadumrongsak Dr.Yoopayao Daroon Mr.Akksatcha Duangsuphasin

บรรณาธิการภาคภาษาอังกฤษ/Co-Editor (English) นายเดชาธร พจนพงษ์

Mr.Dechathorn Pojchanaphong

ผูชวยบรรณธิการ/Assistant Editor นางสาวอภิญญา พูลทรัพย์

Creative Director นางสาวอาพัชรี ศิรินาโพธิ์

ถายภาพ/Photographer นายธนพล มูลประการ

Ms.Apinya Poolsab Ms.Arpacharee Sirinapho Mr.Tanapon Mulprakan

พิสูจนอักษร/Proof Writer นายชวรินทร์ คํามาเขียว

Mr.Chawarin Khammakheaw

กองบรรณาธิการ/Editorial consultants and staff ดร.ณงค์นุช นทีพายัพทิศ นาย เฉลิมชัย พาราสุข นางสาวสุภาภรณ์ ศุภพลกิจ นางสาวศิรินาถ จันทนะเปลิน นายคงศักดิ์ ตุ้ยสืบ นายพิศิษฐ์ พรหมอารีย์ นายสุรพงศ์ ขุนคง นางสาวสิริญญา ณ นคร นางสาวเยาวัลย์ จันทร์ตะมูล นายวิทยา กวีวิทยาภรณ์ นางสาวแววดาว ญาณะ นางสาวธริษตรี ธนรัตนพิมลกุล นางประไพ อินทรศรี นางธีร์วรา แสงอินทร์ นางปภาดา พลอยอิ่ม นางสาวเกศกนก เนตรวงศ์ นางสาวจารุวรรณ สุยะ นางสาวพัชราภรณ์ คําสร้อย นางสาวกิ่งกานต์ สาริวาท นางสาวอรวรรณ โกสละ

Dr.Nongnoot Nathipayapthis Mr.Chalermchai Parasuk Ms.Supaporn Supaponlakit Ms.Sirinart Jantanapalin Mr.Khongsak Tuisuep Mr.Pisit Promaree Mr.Surapong Khunkhong Ms.Sirinya Na Nakorn Ms.Yaowan Jantamoon Mr.Witthaya Kaweewitthayaporn Ms.Waewdao Yana Ms.Taristree Tanarattanapimolkul Mrs.Prapai Intrarasri Ms.Theewara Saengin Mrs.Papada Ployim Ms.Ketkanok Netwong Ms.Jaruwan Suya Ms.Patcharaporn Komsoy Ms.Kingkarn Sarivat Mr.Orawan Kosala

นักศึกษาฝกประสบการณ /Trainee นายศรันย์ ธรรมขันแก้ว นายสุทธิชัย เหมือนสุทธิวงษ์ นายอนุวิท ไชยเวช นางสาวอิสริยาภรณ์ คําไชย นางสาวธัญญาเรศ อ้วนวรรณา 6 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

Mr.Sarun Tammakankaew Mr.Sutthichai Mueansutthiwong Mr.Anuwit Chaiwet Ms.Issariyaporn Kanchai Ms.Tanyarate Oanwanna


Assoc.Prof.Dr.Numyoot

Leader Talk

Songthanapitak President

บัณฑิตสายวิชาชีพ…

...หั ว ใจสํ า คั ญ ของการพัฒนากําลังคน ในศตวรรษที่ 21

รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 7


Leader Talk

การจัดการศึกษาในรูปแบบของสายวิชาชีพ

โดยการบูรณาการศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามา ประยุ ก ต์ ใช้ นั้ น ถื อ ว่ า เป็ น วาระสำ า คั ญ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนามุ่งมั่นและให้ความสำาคัญเป็นอย่างมาก ประเด็น สำาคัญคือบัณฑิตทีเ่ ราผลิตออกสูต่ ลาดแรงงานไปแล้วนัน้ สามารถตอบ สนองต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งรูปแบบของการเข้าไปทำางาน การว่า จ้างงาน หรือการประกอบอาชีพต่างๆประกอบไปด้วย เนื้อหาด้าน นวัตกรรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางวิจัย ซึ่ง ผู้ประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิตจะเป็นส่วนสะท้อนให้เห็นภาพชัดเจน นำาไปสู่การพัฒนาให้บัณฑิตมีคุณภาพ เจตนารมณ์ในการดำาเนินการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล(มทร.) ล้านนา เพือ่ จะพัฒนาศักยภาพของบัณฑิต ทีผ่ า่ นมา เราสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพมีปริมาณที่เหมาะสม ได้ระดับ หนึ่งตรงต่อความต้องการของตลาดแรงงาน ภายในประเทศ แต่ในยุค โลกาภิวฒ ั น์ การเปลีย่ นแปลงของโลกหรือทีเ่ รารูก้ นั คือการดำารงอยูใ่ น ยุคดิจิทัล ผนวกกับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป สิ่งเหล่านั้นจะ เป็นส่วนสะท้อนกลับมายังมหาวิทยาลัยว่าเราต้องผลิตบัณฑิตอย่างไร ให้มีคุณภาพและตอบสนองต่อสังคม โดยมหาวิทยาลัยต้องหันกลับ มามองว่าผลผลิต สิ่งที่ทำาไปนั้นเพื่อประโยชน์ของคนในสังคม ชุมชน อย่างแท้จริงหรือไม่ เราพยายามผลิตบัณฑิตใหสามารถจบไปแลวมีงานทํา ที่ดี เราจึงพยายามหากิจกรรมสนับสนุนระหว่างเรียนซึ่งผลสำาเร็จ คือ สามารถตอบได้ว่าคนที่จบออกไปต้องมีงานทำาอย่างเป็นรูปธรรม และในระหว่างที่นักศึกษาเรียนอยู่เราต้องเปดประตูกว้างให้ไปถึง ภาคประกอบการและนำาแนวคิดต่างๆด้านวิชาการส่งต่อไปถึงสถาน ประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิตของเรา จนนำาไปสู่การเชิญชวนให้มา

8 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


Leader Talk ร่วมงานกันทำาสิ่งต่างๆ ที่บูรณาการกันระหวางสถานศึกษาและสถาน ประกอบการ ก็จะเปนสวนสงเสริมให้บัณฑิตมีทักษะที่เปนรูปธรรม ชัดเจน ไม่เป็นเพียงการทดลองทำาในห้องเรียนเท่านั้น แต่ยังสามารถ ทำางานได้จริง ซึ่งตอนนี้ในเชิงนโยบายได้ถ่ายทอดไปยังภาคปฏิบัติและ สถานประกอบการแล้ว การบูรณาการ การเรียนกับการทำางาน:WIl ขณะนี้เราได้ ดำาเนินการไปแล้วส่วนหนึ่ง มหาวิทยาลัยได้จัดสรรเวลาส่วนหนึ่งเพื่อให้ โอกาสเด็กที่เรียนได้เข้าไปฝึกฝนในโรงงาน ไม่ใช่การทดลองทำาเพียงแค่ ในมหาวิทยาลัย แต่ลงมือทำากับเครื่องมือและสถานการณ์จริง รูปแบบ ความร่วมมือของแต่ละสถานประกอบการอาจจะแตกต่างกันไปตามความ เหมาะสม ปลายทางแห่งความสำาเร็จมหาวิทยาลัยต้องดำาเนินการอย่างต่อ เนื่อง เพื่อให้บรรลุไปตามนโยบายที่มุ่งหวังไว้ ตัวอย่างที่เราจะยกให้เห็น อย่างเป็นรูปธรรมก็คอื การจัดการศึกษาทีเ่ รียกว่า Work-Intergreded Learning: WIl หรือจะเรียกง่ายๆว่าโรงเรียนในโรงงาน School in Factory ซึ่งเราย้ายวิธีการเรียนการสอนไปอยูในสถานประกอบการ ในโรงงานจริง นอกจากเด็กจะได้รับความรู้แล้วยังมีทักษะที่จะใช้ในการ ทำางานมากขึน้ ในบางสาขาได้รบั ความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐทีเ่ ข้า มาร่วมกัน เด็กจึงเกิดทัศนคติทดี่ ใี นการทำางานควบคูก่ บั การเรียนไปพร้อม กัน ความร่วมมือจากสถานประกอบการในปจจุบัน อาทิ กลุ่มบริษัท BDI Group กลุ่มบริษัมสยามมิชชิลิน กลุ่ม Cp All และกลุ่มเซ็นทรัล แต่ละ สถานที่ก็จะแตกต่างกันในเชิงระยะเวลาและหลักสูตรที่ดำาเนินการ การจัดรูปแบบการศึกษาดังกล่าวจะเป็นการเปลีย่ นทัศนคติของ ผูเ้ รียนว่า ไม่ใช่การเรียนเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการฝึกฝนการทำางานและ ได้รับค่าตอบแทน นอกจากที่เราได้คนที่ทำางานเป็นแล้ว ยังได้คนที่เข้าใจ ในองค์กร จึงเป็นการสร้างความเชื่อมั่นว่า คุณภาพของนักศึกษาในรูป แบบนี้ปลายทางนั้นภาคธุรกิจจะได้พนักงานที่มีคุณภาพด้วย สถานประกอบการในหลายๆแห่งมีการขยายฐานการผลิตออก สู่สากล ซึ่งหมายถึงการเพิ่มโอกาสของผู้ปฏิบัติงานที่ได้ทำางานในระดับ สากล มหาวิทยาลัยจึงไม่หยุดเพียงแค่ในประเทศเท่านัน้ แต่เราต้องเสริม ให้บัณฑิตของเราเรียนรู้ถึงวัฒนธรรมนานาชาติเข้าไปด้วย เช่น ภาษาที่ ต้องใช้ในการทำางาน การกินอยู่เพื่อแสดงให้เห็นว่าเด็กไทยสามารถไป ทำางานในต่างประเทศได้ หากว่าได้รับการแนะนำาถึงวิธีการต่างๆ อย่าง ถูกต้อง

TVET Hub Asean ขยายโอกาสการศึกษาสู่ระดับสากล

การขยายผลการศึกษาในระดับนานาชาติ เราต้องมีการขยาย ผลโดยการส่งเสริมให้มกี ารแลกเปลีย่ นการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา เช่น เราได้มีโอกาสในการร่วมกิจกรรมกับสมาคมพัฒนาครูสายอาชีวศึกษา (RAVTE) ในภูมิภาคอาเซียนและเอเชียตะวันออก ร่วมกับนานาประเทศ และมีการแลกเปลี่ยนแรงงานระหว่างประเทศ จึงเป็นการส่งสัญญาณว่า เมือ่ มีฝมี อื แรงงานจากต่างชาติเข้ามาในประเทศ เด็กไทยเองก็ตอ้ งสามารถ ออกไปทำางานต่างประเทศได้ อนาคตอันใกล้นี้ มทร.ล้านนา จะดำาเนิน การก่อตั้งศูนย์ที่เรียกว่า TVET Hub Asean ซึ่งจะเปนศูนยกลางใน การจัดการอบรมและพัฒนาเพื่อกอให้เกิดผลอยางชัดเจน โดยเมื่อเรา เข้ามาที่ มทร.ล้านนา เราจะเห็นว่า หลักการจัดการศึกษาในรูปแบบ TVET นั้นเป็นอย่างไร ถึงแม้ว่า Technical and Vocational Education and Training มีความสำาคัญในการสร้างคนที่จะเข้าไปทำางาน ได้อย่างจริงจัง โดยความรู้ในระดับต้นและเพิ่มเติมเสริมความเข้าใจ เก่ง ในศาสตร์ที่จำาเป็นต้องใช้ ที่เราเรียกว่า STEM Education โดยการบู รณาการศาสตรทั้งวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร รวมถึง คณิตศาสตรเข้าด้วยกัน และเรายังได้ผนวกเข้ากับสายอาชีวศึกษาจึงเกิด

รูปแบบการจัดการศึกษาที่เรียกว่า STEM for TVET โดยเราจะลบคำา ว่า คนเรียนไม่เก่ง มาเรียนสายอาชีพ ออกไป แต่จะมีคำาว่า คนเรียน สายอาชีพมีคุณภาพ ขึ้นมาทดแทน ในปจจุบนั เรามีหน่วยงานภายนอกเข้ามาสนับสนุนการจัดการ ศึกษาแบบ STEM for TVET เช่น โครงการ Chevron Enjoy Science : TVET HUB LANNA เกิดขึน้ จากความร่วมมือของมทร.ล้านนา สำานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ บริษทั เชฟรอนประเทศไทยสำารวจและผลิต จำากัด และสถาบันคีนนั แห่ง เอเชีย ในการจัดตัง้ ศูนย์เพือ่ พัฒนาทักษะแรงงานในสายอาชีวศึกษาเพือ่ ป้อนเข้าสูภ่ าคอุตสาหกรรม มุง่ เน้นการพัฒนาครูวชิ าชีพให้มคี ณ ุ ลักษณะ “STEM for TVET” ซึ่งโครงการสะเต็มศึกษาเป็นพื้นฐานสำาคัญในการ พัฒนาคน เน้นการเรียนการสอนแบบ Project Base Learning เริ่ม ตั้งแต่การปูพื้นฐานในระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา สนับสนุนให้ เกิดกระบวนการฝึกทักษะและวิธกี ารบริหารจัดการในภาคอุตสาหกรรม เพือ่ ให้การศึกษามีความหลากหลาย มีพร้อมสรรพ สิง่ นัน้ คือความมุง่ มัน่ ในการจัดการศึกษาของ มทร.ล้านนา รูปแบบสะเต็มศึกษา ที ่ มทร.ล้านนา ได้ดาำ เนินการอยูน่ นั้ เรา มองลึกลงไปถึงระดับมัธยมศึกษา โดยปูพื้นฐานให้เกิดความเข้มข้นใน เชิงวิชาการ และเปดช่องทางให้เห็นถึงลักษณะรูปแบบอาชีพในอนาคต ว่าเป็นอย่างไร ถ้าเราเลือกเรียนอะไร แล้วเราจะไปเป็นอะไรได้ในอนาคต ก็จะเป็นสิ่งสะท้อนให้เด็กกลับมามองตนเองว่าในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย จะต้องเน้นและเสริมเรื่องอะไรบ้าง เราจึงนำาสะเต็มศึกษามาใช้ในกระบวนการเรียนของเด็กเหล่านี้นำาไปสู่ การใช้งานจริง เพื่อเป็นทางเลือกที่สำาคัญที่จะทำาให้เด็กมีความแข็งแรง ในรายวิชาต่างๆทีท่ กุ คนเคยวิตกกังวลทัง้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ โดย เริ่มตั้งแต่เปลี่ยนวิธีการสอน วิธีการนำาเข้าสู่บทเรียน ตลอดจนการสร้าง แบบฝึกหัดเพือ่ ให้เกิดความคิด และวิธกี ารประยุกต์ใช้องค์ความรูเ้ หล่านี้ ปจจุบัน มทร.ล้านนา ได้ร่วมดำาเนินการกับสถาบันการศึกษา ในภาคเหนือ หลายๆสถาบัน โดยเราเริม่ สร้างครูเพือ่ ให้นาำ ไปถ่ายทอดให้ กับนักเรียนได้ และได้รับการสนับสนุนจากองค์กรภายนอกที่เข้ามาร่วม มือกัน เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ทรัพยากรต่างๆทีเ่ อื้อต่อการศึกษาเล่าเรียน ในรูป แบบสะเต็มศึกษา และนอกจากนั้นเมื่อเข้าไปในระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ(ปวช.) เด็กก็จะได้เรียนในศาสตร์ที่สูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการสอดรับ ในเชิงนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมให้เด็กเข้าเรียนในสายอาชีวศึกษา มากขึ้น ซึ่งไม่ใช่เป็นการเน้นปริมาณของจำานวนเด็กที่เรียนแต่ต้องเน้น คุณภาพของผูเ้ รียน เช่นคนทีเ่ รียนจบ ปวช. ก็จะมีสถานภาพทัดเทียมได้ กับเด็ก จบ ม. 6 และสามารถเข้าไปในระดับที่สูงขึ้น เช่นเรียนในระดับ ปวส. หรือเรียนในสายอื่นให้ถึงระดับปริญญาได้ หากเรามองว่าคุณภาพของบัณฑิตที่ดีนั้นคือ สามารถทำางาน ได้ แต่สิ่งที่สำาคัญอย่างยิ่งคือ นโยบายต้องมาก่อน แปลว่าปรัชญาของ การจัดการศึกษาในแตละสาขามีรากเหง้ามาจากอะไรบ้าง เราต้องการ สร้างรากแก้วให้เข้มแข็งหยั่งลึกลงไป เพื่อสร้างความเชื่อมั่นวา ผลผลิตจะมีความเข้มแข็ง ต้นไม้ต้นนี้จะสามารถคงอยู่คงทนถาวรได้ อย่างไร นโยบายถือเป็นสำาคัญ เมื่อเกิดนโยบายแล้วจะต้องนำาไปสู่ภาค การปฏิบตั ิ และตลอดจนถึงผูป้ กครองทีจ่ ะต้องเข้ามาร่วมรับรูว้ า่ เมือ่ บุตร หลานของท่านจบการศึกษาแล้วจะเป็นอะไร และทัศนคติของการเป็นครู อาจารย์กเ็ ป็นส่วนทีส่ าำ คัญไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าส่วนอืน่ คือ จะต้องไม่หยุด เพียงในมหาวิทยาลัยแต่ตอ้ งสามารถมีการปฏิสมั พันธ์กบั หลายภาคส่วน เช่นเดียวกัน โดยจะต้องเร่งดำาเนินการเพือ่ ให้ภารกิจของมหาวิทยาลัยซึง่ มีหลายด้านบรรลุตรงตามเป้าหมาย เป็นแหล่งผลิตบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพ ตอบสนองเป้าหมายในระดับชาติต่อไป นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 9


Leader Talk

Hands-on

graduate the key of manpower development in the 21st century

Vocational management in the form of vocational field, which applies integration science and technology, is considered an important agenda for Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL). The important issue is that the graduates who we have already produced for the labor market, who can respond to the need of the country, in the forms of working, hiring or the career comprise of innovative technological contents and advances research. The entrepreneurs will be a clear reflection of our graduates, leading to their quality. RMUTL has an intention to develop the ability of our graduates. In the past, we produced graduates to meet the quantity requirement of the domestic labor market. However, in the globalization era the world or that is known as “The world of digital rise” combined with the changing of consumer behaviors, are the reflections back to the university telling that we need to produce graduates with quality and social responsiveness. The university has to look back at whether the productivity of the work is for the benefits of the people in the community.

10 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

We try to produce graduates who are able to find good jobs after their graduation. Thus, we tried to find activities to support them while studying. The result is can answer that students who graduate from the university must get a good job and while students are studying, we have to open the door wider in order to reach the business sectors and bring the academic ideas forward to our employers or graduates. This leads to the cooperation of working together,and the integration between schools and workplaces. This is to encourage the graduates to have concrete skills, not only from classroom experiments, but also from work, now that the policy has put into practice and passed to workplaces. Now, we have done only part of the process. The university allocates part of the time to provide opportunities for the students to learn in the factories, not only the experiments done on campus, but also using real tools and working in real situations. The cooperation pattern of each workplace may vary depending on the suitability. The


Leader Talk destination of the university success must continue to operate, to achieve the intended policy. The example showing concrete educational management is called Work-Intergraded Learning: WIL or simply called the school in Factory, which we change the teaching method to prachce in an actual factory. In addition, the students will gain knowledge, and still have enough skills for work. In some branches, cooperation from government agencies is received. Students have a good working attitude and are coupled with learning along the way and cooperation with current workplaces such as BDI Group, Siam Michelin Group, CP all Group and Central Group. Each place is different in terms of the duration and course of action. The format of the study will change the attitude of the students, not just study. This includes training and rewards. Besides, we have people who can work and people who understand the organizations at the same time. It is believed that the quality of students of this approach, will be qualified staff for the business sectors. Many workplaces have expanded their production bases internationally. This means the chances of a worker

to work abroad is increasing. The university need to enhance the graduates to learn about international cultures, such as the language they need for work, to show that Thai people can work abroad if they have received the correct advised, when receiving good guidance

TVET Hub Asean: Educational Expands

Opportunities to the International Level

In an expansion of international education, we need to increase our efforts by promoting the exchange programs of vocational education. For example, we have the opportunity to participate in activities with the Association for the Development of Vocational Education (RAVTE) with international organizations and international labor exchanges. It is a signal that when skilled foreign workers come to the country, Thai people on the other hand must be able to work abroad. In the future, RMUTL will establish a center called TVET Hub Asean. This will be the center of training and development for a clear result. When people come to RMUTL, they will see what the principle of TVET education is. Although technical and vocational education and training are important in promoting people to work seriously using fundamental knowledge and further enhancing understanding for better science. We call this “STEM Education”. By integrating science, technology, engineering, and mathematics together, we have merged the vocational schools, which is an educational model called STEM for TVET. We will

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 11


Leader Talk deconstruct the saying “Students who are not good at academic subject should go to vocational institutions.” This shall be replaced by, “Students who go to vocational institutions are qualified”. At present, we have an outside organization from to support STEM for TVET such as, the Chevron Enjoy Science project: TVET HUB LANNA with the cooperation with RMUTL, National Science Technology and Innovation Policy Office, Chevron Thailand Exploration and Production Limited, and Kenan Institute of Asia to establish a center for vocational skills development for vocational education in order to enter the industry focusing on the development of professional teachers to feature “STEM for TVET” which is an important foundation for developing people focus on Project Base Learning. This starts from the basic foundation in secondary and vocational education. Encourage the process of training skills and management approaches in the industrial sector in order to have a diverse education available. This is the commitment to the educational management of RMUTL. The STEM study model at RMUTL is implemented. We look deeper into the secondary level by focusing on academic intensively and seek an opportunity to the future career. Subjects we choose to study and what we can go to in the future will be a reflection of the children to look at themselves when in junior and senior high schools. What to emphasize and reinforce? We bring STEM education to these children’s learning processes leading to practical use to be an important choice to make children strong in the subjects that they were anxious about both in sciences and mathematical, by starting teaching changes and how to transform them into the lesson as well as creating exercises to get ideas and how to apply this knowledge. Currently, RMUTL has cooperated with several educational institutions in the North. We start to create teachers to transfer knowledge to the students and received the support from organizations in order to obtain the resources to support STEM education. Moreover, when entering the vocational level, students will learn from higher education. This is in line with the government policy that encourages student to enroll in vocational education. This is not an emphasis on the number of children in class but on the quality of the students. For example, people who graduate with vocational certificates will have the same status as those in high school and can further to a higher level, such as studying at the higher secondary school level or studying for a degree.

If we look at the quality of the graduates, who are ready to work, the important thing is the policy which should first. This means the philosophy of is which the root of education is. We want to create a strong tap for building confidence that the output will be strong as the tree is strong and durable. The policy is important. When the policy comes, it must lead to a practical sector and to parents who have to know that when their children graduate, what they will be. The attitude of teacher is also as important as other parts. They are not going to stop learning but they’d rather interact with various sectors. This must be accelerated to fulfill the mission of the university to meet the target in order to meet the potential source of human resources in order to meet the national goals.

12 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


ผศ.ดร.นิวัตร มูลปา

RMUTL Wil

ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยี และสหวิทยาการ

โรงเรียนในโรงงาน

ตนแบบการจัดการศึกษา

ร่วมระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคสถานศึกษา

การจัดการศึกษาในรูปแบบโรงเรียนในโรงงาน เป็นสิ่งหนึ่งที่สถานศึกษาหันมาใส่ใจและให้ความสำาคัญ เพราะประเทศไทยประสบปญหาการขาดแคลนกำาลังคน ด้านเทคนิค นักเทคโนโลยี และวิศวกรนักปฏิบัติ และใน ฝงอุตสาหกรรมก็ขาดแคลนแรงงานเช่นกัน ดังนั้น สถาน ศึกษา สถานประกอบการและภาครัฐจึงต้องร่วมกันสร้าง คนในรูปแบบรัฐร่วมเอกชน (Public - Private Partnership, PPP) หรือ จัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสถานศึกษา เนื่องจากสถาน ศึกษาหรือภาครัฐปจจุบัน คงไม่อาจสร้างคนให้รู้ทันความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของภาค อุตสาหกรรมได้ทัน จึงจำาเป็นต้องสร้างการเรียนรู้ร่วมกับ สถานประกอบการ ภายใต้นโยบายการบูรณาการการเรียน รู้กับการทำางาน (Work-Integrated Learning: WiL) หรือ STEM Workforce ผศ.ดร.นิ วั ต ร มู ล ปา ผู ้ อำ า นวยการวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีและสหวิทยาการ ผู้รับผิดชอบโครงการบูรณา การการเรียนรู้กับการทำางาน : โรงเรียนในโรงงาน ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.)ล้านนา เล่าถึง การดำาเนินงานของโครงการนี้ว่า “หากมองย้อนกลับไป ยังสถานศึกษาจะพบปญหาหนึ่งที่สำาคัญคือการเรียนแบบ ทฤษฎีที่ไม่ได้นำาไปประยุกต์ใช้กับการทำางานแต่อย่างใด แต่เน้นศึกษาตามตำาราหรือเรียนตามบัณฑิตที่นิยมทฤษฏี เหมือนมหาวิทยาลัยวิชาการทั่วไป ซึ่งไม่ได้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์การจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (พรบ. มาตรา ๗) ที่มุ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่ผลิตบัณฑิต วิชาชีพด้านเทคโนโลยี ทำาให้ไม่สอดคล้องกับความต้องการ ของประเทศทีต่ อ้ งการกำาลังคนในภาคอุตสาหกรรมดังกล่าว ข้างต้น โครงการนี้จึงได้ถูกให้นำาร่องขึ้นมาด้วยโครงการที่ นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 13


RMUTL Wil

ส่งเสริมจากภาครัฐ คือ สำานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และภาคเอกชนคือ บริษัท สยามมิชลิน จำากัด โดยให้ผู้เรียนได้ทํางานไปพร้อมกับการเรียน ดังนั้น จำาเป็นต้องบูรณาการหลักวิชาการที่เรียนผนวกเข้ากับงานที่ทำาในชีวิต ประจำาวันในอุตสาหกรรม ตั้งแต่ระดับเตรียมตัวป้อนที่เป็นมัธยมศึกษา ตอนปลายและประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรีสายเทคโนโลยี ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ และ ปริญญาโทเทคโนโลยี เพื่อผลิตครูประจำาโครงการโรงเรียนใน โรงงาน จากผลการดำาเนินการที่ผ่านมาทำาให้มุมมองความคิดที่แตก ต่างระหว่างระบบมหาวิทยาลัยกับระบบโรงงานมีความเข้าใจกันมาก ยิ่ ง ขึ้ น ในกลุ ่ ม หน่ ว ยงานและบุ ค ลากรที่ ดำ า เนิ น โครงการ ทำ า ให้ ภ าพ ของการจัดการศึกษาวิชาชีพด้านเทคโนโลยีมีความแตกต่างกับสาย วิชาการมากขึ้น เพราะความมุ่งหมายของการพัฒนาคนให้สามารถ สร้างนวัตกรรม (Innovation) และสร้างผลิตภาพ (Productivity) และนอกจากนีส้ งิ่ ทีค่ าดหวังจากภาคเอกชน คือควรให้รายได้และเส้นทาง อาชีพของผูส้ าำ เร็จการศึกษาสายวิชาชีพมีความก้าวหน้าอย่างชัดเจนไม่แพ้ สายวิชาการ ซึง่ ถือว่าเป็นการเปลีย่ นวิกฤตให้เป็นโอกาส และจะเป็นการ 14 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

แก้ปญหาไม่มีคนอยากเรียนสายวิชาชีพ เพราะภาระงานที่หนัก แต่ค่า ตอบแทนน้อย แตกต่างจากต่างประเทศที่สายวิชาชีพที่มีความรู้ความ ชำานาญจะมีคา่ ตอบแทนทีส่ งู มาก การศึกษาด้านวิชาชีพของประเทศไทย ตัวอย่างที่ชัดเจนก็คืออาชีพแพทย์และกลุ่มวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์ สุขภาพ เช่น พยาบาล เทคนิคการแพทย์ เภสัชกร เป็นต้น โดยนักวิชาชีพ ดังกล่าวมีคณ ุ ลักษณะทีเ่ ป็นทัง้ นักวิชาการและนักวิชาชีพ มีทงั้ ทักษะและ ความรู้ที่สามารถนำามาบูรณาการกับการทำางานได้จริงเพราะต้องเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติในโรงพยาบาล และแนวทางดังกล่าวน่าจะใช้เป็นต้นแบบ ให้กับสายวิชาชีพอุตสาหกรรมได้ แนวคิ ด การเกิ ด โรงเรี ย นในโรงงาน เกิ ด จากการแปลง กระบวนการผลิ ต ในโรงงานซึ่ ง มี วั ส ดุ อุ ป กรณ์ วิ ธี ก ารทำ า งาน และ เทคโนโลยี ซึง่ ครูทอี่ ยูใ่ นโครงการต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับกระบวนการ เรี ย นรู ้ ใ นการจั ด การศึ ก ษาบู ร ณาการกั บ การทำ า งาน ซึ่ ง จุ ด เด่ น ของ อุตสาหกรรมแต่ละขนาดก็จะมีความแตกต่างกัน เช่น บริษัทขนาดใหญ่ จะฝึกให้นักศึกษาได้เรียนรู้การบริหารจัดการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ส่วนบริษทั ขนาดเล็กและขนาดกลางจะมีความรูด้ า้ นเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นวิชาการและวิชาชีพที่หาได้ยากในตำาราทั่วไป และหาก


RMUTL Wil

อาจารย์หรือนักศึกษาไม่ได้เข้าไปสัมผัสก็จะมองไม่เห็นภาพเลย เพราะ ภาพสะท้อนคือเราจะต้องนำาประสบการณ์ องค์ความรู้ ไปสร้างครู ประจำาที่อยู่กับนักศึกษาในโรงงาน หรือที่เรียกว่า ครูพี่เลี้ยง ซึ่งจะต้อง เข้าใจสภาพและระบบของโรงงาน และจะต้องนำามาออกแบบระบบรวม ถึงกระบวนการเรียนรูใ้ นโรงงานได้ ส่วนครูในมหาวิทยาลัยนัน้ จะทำาหน้าที่ ด้านการถ่ายทอดวิชาการและทำางานวิจัย โดยในการฝึกหัดครูพี่เลี้ยงนั้น จะใช้แนวทางการพัฒนาที่หลากหลาย ได้แก่ ให้เรียนวิชาการชั้นสูงกับ อาจารย์มหาวิทยาลัย ให้เรียนรู้เครื่องมือการบริหารและเทคโนโลยีกับ ผู้บริหารและวิศวกรพี่เลี้ยงจากบริษัท ปฏิบัติงานจริงในโรงงาน ร่วมตั้ง โจทย์วจิ ยั กับพีเ่ ลีย้ งและอาจารย์ทปี่ รึกษาจากมหาวิทยาลัย ทำาวิจยั สอน นักศึกษา และปกครองนักศึกษาในโครงการ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้าน STEM Workforce ซึง่ การจะ นำาสะเต็มศึกษาเข้ามาใช้กบั การเรียนสายวิชาชีพนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย เพราะ ขาดความเชี่ยวชาญในโรงงาน เนื่องจากครูในสถานศึกษาไม่เคยทำางาน จริงในสถานประกอบการ แต่อย่างไรก็ตามความเหมาะสมคือควรใช้ครูพี่ เลีย้ งฝง โรงงาน และครูในสถานศึกษา ร่วมกันเรียนรูก้ บั นักศึกษาไปพร้อม กัน เพราะนักศึกษาทีฝ่ กึ ปฏิบตั ใิ นโรงงานจะมีประสบการณ์ในการทำางาน ขณะที่ครูมีวิชาการที่สนับสนุนการทำางานของนักศึกษา หลังจากได้ดำาเนินโครงการนำาร่องกับบริษัทสยามมิชลินจำากัด และ สวทน. ทาง มทร.ล้านนา จึงได้ขยายผลรูปแบบดังกล่าวไปสู่ กลุม บริษัทบีดีไอ (BDI Group) บริษัท สตารไมโครอิเลกทรอนิกส จํากัด บริษทั ไทยนิจอิ นิ ดัสตรี จํากัด ทำาให้ปจ จุบนั มีนกั ศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ประมาณ 200 คน ซึง่ เราได้คดั เลือกเด็กนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ขาดโอกาสทางการศึกษาเข้ารับการศึกษา โดยการคัดเลือกนั้นฝาย บริหารบุคคลของบริษัทจะดำาเนินการเอง เมื่อเด็กกลุ่มนี้มาจากการขาด โอกาสทางสังคมทำาให้ตอ้ งเริม่ ฝึกทุกด้าน ทัง้ ด้าน ความรู ้ ทักษะฝีมอื วินยั การทำางาน และการใช้ชีวิตในสังคม เมื่อเด็กได้รับการฝึกปฏิบัติงานผ่าน ไปหนึง่ ปีจะเห็นได้วา่ เด็กกลุม่ นีจ้ ะมีความเป็นผูใ้ หญ่ขนึ้ มีความรับผิดชอบ มากขึ้น เข้าใจต่อการดำาเนินชีวิตมากขึ้นและสิ่งสำาคัญที่สุดคือนักศึกษา ในโครงการจะไม่มีพันธะสัญญากับโรงงาน เพราะแนวคิดโครงการนี้จะ เป็นการแปลงค่าใช้จ่ายด้านแรงงานของโรงงานเป็นค่าใช้จ่ายโครงการ ได้แก่ ค่าเดินทางและค่าตอบแทนอาจารย์จากสถานศึกษา ค่าตอบแทน ครูพี่เลี้ยง ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา ค่าประกันสุขภาพ ค่าธรรมเนียมการ ศึกษา ค่าที่พัก ค่าหนังสือ และค่าเครื่องแต่งกาย ทำาให้ผู้เรียนไม่ต้อง มีพันธะสัญญากับโรงงานเนื่องจากได้ปฏิบัติงานเหมือนกับพนักงาน ปกติ และเรียนหนังสือวันละ 3 ชั่วโมงจากครูจากสถานศึกษาสลับกับ

ครู พี่ เ ลี้ ย ง ดั ง นั้ น จะเห็ น ว่ า กว่ า จะเกิ ด โครงการนี้ ไ ด้ เ ป็ น ความ ยากลำาบากมากเนื่องจากต้องให้บริษัทร่วมลงทุนด้วย จึงต้อง ทำาความเข้าใจแก่บริษัทว่าค่าใช้จ่ายจำานวนเดียวกันที่จ่ายกับ พนักงานหากนำามาให้แก่ครูและนักศึกษาจะได้รับประโยชน์ที่ สูงกว่า การดำาเนินโครงการจนถึงปจจุบัน ทางบริษัทพบว่าเป็น แนวคิ ด ที่ ต อบโจทย์ ไ ด้ ทั้ ง ฝ  ง สถานศึ ก ษา สถานประกอบการ รวมถึ ง ตอบโจทย์ ข องการสร้ า งฝี มื อ แรงงานที่ ร องรั บ การ เปลี่ยนแปลงในยุคประเทศไทย 4.0 ในปีที่ผ่านมา การประเมิน ผลโครงการนำ า ร่ อ ง ที่ นำ า เสนอต่ อ ผู ้ บ ริ ห ารของมหาวิ ท ยาลั ย และบริ ษั ท พบว่ า แนวทางการดำ า เนิ น การสะเต็ ม ศึ ก ษากั บ สถานประกอบการคือการบูรณาการ การเรียนรู้กับการปฏิบัติ ในโรงงาน หลั ง จากได้ ดำ า เนิ น โครงการที่ ผ ่ า นมามากกว่ า 5 ปี มทร.ล้านนา จึงได้ใช้ประสบการณ์และเครือข่ายที่มีอยู่ขยายผล การจัดการศึกษาวิชาชีพด้านเทคโนโลยีไปสู่โรงเรียนมัธยมและ อาชีวศึกษา ผ่านโครงการ Chevron Enjoy Science: TVET Hub Lanna ทีท่ าำ หน้าทีเ่ ป็นส่วนสำาคัญในการขยายผล สร้างตัวป้อน และ สร้างกำาลังคนทางเทคนิคให้กับภาคอุตสาหกรรม ที่สำาคัญศูนย์นี้ ยังจะเป็นแหล่งฝึกหัดและพัฒนาครูให้ระบบการจัดการศึกษาร่วม ระหว่างสถานศึกษากับภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป้าหมายการดำาเนิน งานจะต้องสามารถสร้างครูต้นแบบและสามารถขยายผลไปยัง โรงเรียนมัธยมและวิทยาลัยในสังกัดสำานักงานการอาชีวศึกษาใน ภาคเหนืออีกด้วย

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 15


RMUTL Wil

The factory model school the participatory educational management

between Government

sector, Private sector and

Educational institution Education institutions pay attention and give importance to the education management in the system of the school in factory model because Thailand is facing the lack of human resources such as technicians and engineer practitioners, and the government have to collaborate together in creating a personnel in the model of Public – Private Partnership, PPP or participatory educational management between the government and private sector and educational institutions, because educational institutions or the government sectors at present might not provide personnel with acknowledgement of technological advances which change through time of industry sectors. Therefore, it is necessary to create education with the establishment under the policy of (Work-Integrated Learning: WIL) or STEM Workforce. Asst.Prof.Dr.Niwat Moonpa, the director of College of Integrated Science and Technology, who is in charge of Work-integrated Learning program; The factory model school of Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL), explained about a progress of the project that “if we look back to the educational institutions, you would face an important problem which is the theoretical learning, which cannot be applied in real work anyway. However, it emphasizes the study through a books or usually theory at the university, which is not related to the objective of Rajamangala University organization (Act. Section 7) focusing on being an educational institution which aim to create graduates in technical vocational areas. This is not associated to the demand of the country that need human resource in the industry. This pilot project is led with the project that is promoted by the government sector called National Science Technology and Innovation Policy Office (STI) and the private sector called Siam Michelin Co., Ltd. The student can therefore work and study at the same time. We need to integrate the principles into daily work in an industry sector from the level of Senior High School, Vocational Certificate, High Vocational Certificate, Bachelor of Technology, Master of Engineer, and Master of Technology. This is to create teachers of the factory model school. The previous performance report shows the different ideas between a university system and a factory system in order to create understanding in institution and project personnel. From the pilot projects the image of vocational educational management, and technological education management are different from academic because of the propose of human and research institution, development to create an innovation and productivity. Moreover, what I expect from the private sectors are an income and a career path of vocational graduates in order to have a career advancement for those 16 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

who are academic graduates. This can solve the problem of insufficient vocational graduates, which is due to hard work but low income. On the contrary, vocational graduate abroad earns high incomes. In Thailand, the professions with high incomes are; for example, medical doctor, and health science personnel. They are both academicians and professionals, because they have to practice their career skills in the hospitals. This can be a prototype of vocational education. The idea of a school in a factory is due to the conversion of the factory process which contains materials, equipment, methods and technology. The teachers in the project must adapt to the learning process in managing education and integration with work. The strength of each industry will be different. For example, large companies will train their students to learn about management and modern technology, but small and medium sized companies will have knowledge of product technology. These’re difficult to find in academic text books. If the teachers or student do not chance to get involved, they will not have no idea. We need to bring the experience of knowledge to create knowledge bodies to produce teachers to be a “mentor” for students in factories. They must understand the condition and system of the plants and can design the system including the learning process in the factory. The lecturers at the university will be responsible for academic transfer and research. In practice, the mentor will use a variety of development approaches, including advanced academic studies with university professors, learn management tools and technology with management and mentor engineers from companies and actual working in jobs. This includes participating in research projects with mentors and advisors from the university, conducting research, teaching students


RMUTL Wil

and administrating students in the project. This is in line with the Ministry of Science and Technology policy on STEM Workforce. It is not easy to apply full-time to a professional course because of the lack of expertise in the factory because the teachers in the schools did not actually work in the establishment. However, it is appropriate to use teachers from both school and factories. So, because students gain practice in the factory because teachers have academic knowledge support to them. After conducting a pilot project with Siam Michelin Co., Ltd. and STI, RMUTL has expanded the model to BDI Group, Star Micron Electronics Co., Ltd., and Thai Nichi Industry Co., Ltd. At the present there are students attending the project around 200 students, who have been chosen from high schools. These students lack the opportunity to study. The company’s management will manage by themselves. When the group of studentslacks social opportunities. They must start practicing all aspects of knowledge, skills, work disciplines and living in society. After one year of internship, student will grow up and be more mature, they are more responsible and understand life more. The most important thing in the project is that the students won’t have any commitment with the factory, because the concept of the project is to convert the labor costs of the plant into project expenses, such as traveling expenses and teaching wage from the school, mentor compensation, student allowance, health insurance,tuition fees,accommodation costs, book costs and costume costs. Thus students do not have any commitment with the factory, because they work as a regular employee and study three hours a day with the teachers from school who take turn with the mentors. Therefore, this project is very difficult because it requires joint venture. It is important for companies to understand that the costs pay to students are equal to what they pay for their employees. This pilot project have benefits both the universities and the factories in that it is in accordance with the Thailand 4.0 policy in term of producing skills labors. For more than 5 years, RMUTL has utilized for existing experience and network, extending the results of professional technology education to secondary and vocational education through the Chevron Enjoy Science Project, TVET Hub Lanna serves as a key player in expanding the input and technical strength of the industry. This center will also be a source of training and development of teachers for the educational management system between educational institutions and industries. The goal is to be able to create a model teacher and expand the to secondary colleges and schools under the vocational education office in the North. นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 17


Innovation for Life

เครื่อง

คั ว ่ กาแฟ นวัตกรรมอุตสาหกรรม สรางสรรค์เพื่อชุมชน

กาแฟเปนเครื่องดื่มที่นิยมมากในปจจุบัน เปนเครื่องดื่มที่ทํามาจากเมล็ดซึ่ง ได้จากต้นกาแฟ หรือที่มักเรียกวา เมล็ดกาแฟคั่ว กระบวนการคั่วจึงเปนขั้นตอนที่ ขาดไมได้ในการที่จะได้กาแฟรสชาติดีสักถ้วยหนึ่ง เมื่อกาแฟถูกคั่ว เมล็ดกาแฟสีเขียว ก็จะพองออกจนมีขนาดเปนสองเทาของเมล็ดเดิม เมื่อเมล็ดได้รับความร้อน มันจะ คอยๆ เปลี่ยนเปนสีเหลืองและในที่สุดก็จะกลายเปนสีนํ้าตาลออนๆ และจะมีสีเข้มขึ้น เรือ่ ยๆ จนกวาจะถูกยกออกจากความร้อน ในการคัว่ แบบออนๆ กาแฟจะเก็บรสชาติ ดั้งเดิมไว้ได้ดีกวา รสชาติดั้งเดิมนี้จะขึ้นอยูกับดินและสภาพอากาศในที่ท่ีต้นกาแฟได้ เติบโต ยิ่งเมล็ดกาแฟถูกคั่วให้เข้มมากขึ้นเทาไหร รสชาติดั้งเดิมของมันก็จะยิ่งถูก บดบังด้วยรสที่เกิดจากการคั่วมากขึ้นเทานั้น คณะนักวิจยั มทร.ล้านนา ลำาปาง จึงได้รว่ มกับศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที ่ 1 กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม ในการร่วมกันประดิษฐ์และส่งมอบเครื่องคั่วกาแฟ ภายใต้โครงการส่งเสริมนวัตกรรม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ปีงบประมาณ 2559 ประเภทธุรกิจกาแฟคั่วสำาเร็จ แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดอยผาส้ม เพิ่มประสิทธิภาพด้านการพัฒนาอุปกรณ์และเครื่องมือ ยกระดับวิสาหกิจชุมชน อาจารย์กรี ติ วุฒจิ ารี หัวหน้าคณะนักวิจยั เปดเผยว่า การดำาเนินโครงการนี ้ เป็นการนำางาน วิจยั และนวัตกรรมเข้าไปพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เพือ่ ยกระดับวิสาหกิจชุมชนของไทย ซึง่ มีพนื้ ทีใ่ นการ ดำาเนินงานคือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดอยผาส้ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ โดยเป็นกลุ่มวิสาหกิจที่ปลูกกาแฟ จำาหน่ายกะลากาแฟและแปรรูปกาแฟ จากเดิมทางกลุ่มประสบปญหาด้านเวลาและต้นทุนการผลิต 18 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


Innovation for Life

จึงมีความต้องการเครื่องคั่วกาแฟเพื่อใช้ในวิสาหกิจชุมชนเอง จากปญหา ดังกล่าว คณะนักวิจัยได้ลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลและหารือการสร้างเครื่องคั่ว เมล็ดกาแฟกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดอยผาส้ม โดยมีขนาด 5 กิโลกรัม ใช้ กาซหุงต้มเป็นพลังงาน ซึ่งภายหลังจากการสร้างเสร็จได้ทำาการทดลองใช้ และส่งมอบแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนดอยผาส้มได้ใช้ประโยชน์ต่อไป ด้านนาวสาวรุ่งนภา สุรเย ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดอยผา ส้มฯ กล่าวว่า ขอขอบคุณมทร.ล้านนา ลำาปาง และศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรม ภาคที ่ 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ทีร่ ว่ มกันสร้างและส่งมอบสิง่ ประดิษฐ์นี้ แก่กลุ่มฯ จากเดิมกระบวนการผลิตของกลุ่มฯ ทำาได้แค่การหมัก และการ ตาก พอเข้าสูก่ ระบวนการคัว่ การบรรจุ กลุม่ ต้องขนส่งเพือ่ ไปทำาในตัวเมือง เชียงใหม่ ซึ่งส่งผลต่อต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง เครื่องคั่วกาแฟที่ทางกลุ่ม ได้รับการสนับสนุนทำาให้กลุ่มสามารถดำาเนินการได้โดยการพึ่งพาตนเอง ภายในวิสาหกิจชุมชนและลดต้นทุนการผลิตได้ถึง 85.89 บาทต่อกิโลกรัม ส่งผลต่อรายได้ของกลุ่มที่เพิ่มขึ้นและสามารถนำากำาไรกลับคืนสู่ชุมชนได้ มากขึ้นอีกด้วย เครื่องคั่วเมล็ดกาแฟกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดอยผาส้มนับเป็นหนึ่ง สิ่งประดิษฐ์งานวิจัยที่สามารถแก้ไขปญหาด้านเครื่องจักร ในกระบวนการ ผลิตที่สามารถใช้งานได้จริง โดยความร่วมมือของภาคการศึกษาและภาค อุตสาหกรรมในการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมแก่วสิ าหกิจชุมชน เพือ่ การสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 19


Innovation for Life

Machine”

The research innovation

for the industrial development of

community enterprise

Nowadays Coffee is famous beverage which comes from coffee bean or called “Roasted Coffee Bean” If we want a good cup of coffee, the roasted process is cannot ignore. When the coffee been is roasted, the bean will expand for double size and when the roasted coffee bean receive the heat its color will change into yellow and gradually changes to light brown. Finally the bean will become dark brown. After that the coffee bean will be taken out from the heat. If we use the lower heat to roast the coffee bean, the coffee taste will be better. The original taste of coffee depends on soil and the condition that the coffee tress has grown. The more time that the coffee bean is roasted, the coffee original taste will be less delicious. 20 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

Coffee Roasted Machine

“Coffee Roasted

The researchers of RMUTL, lampang. Its cooperate with Industrial Promotion Center “This project is the collaboration between the research and innovation to develop the community enterprise for upgrading in Thailand community. Doi Pa Som community in Samoeng District Chiang mai, is the enterprise which grows coffee tree, sell parchment coffee and instant coffee. In the past the enterprise face with problem of time and production cost. Therefore the enterprise requested the coffee roasted machine to use in the community industry. Due to dimensioned problems, the team of researcher consulted with the enterprise for making 5 kilogram coffee roasted machine by using cooking gas. After the machine was completed and tested, the researcher team handed the machine to Doi Pa Som community enterprise. Miss Rungnapha Suraye, President of Doi Pa Som community enterprise, said that thank the RMUTL,Lampang and Industrial Promotion Center for inventing the machine for the enterprise. These helped the enterprise to reduce the cost. In the past the enterprise could only fermented and dried but the rest processes such as roasting and packaging. We must do them in Chiang Mai which resulted in high production cost. Moreover the machine could reduce the cost of production for 85.89 baths per kilogram which made the community enterprise gain more profit and can brought the profit back to the community. The coffee roasted machine is the research invention that can solve the problem and practical using. The machine is the collaboration between the educational sector and industrial sector to promote the industry to assist the community enterprises for earning sustainable income.


Innovation for Life

เครื่องวัดความขุนของนํ้า

ตนทุนตํ่า

สําหรับบอเลี้ยงปลา คุณภาพนํา้ มีความสำาคัญมากในการเลีย้ งปลาหากคุณภาพนำา้ ตำา่ ลง จะส่งผลกระทบต่อ การขาด ออกซิเจน การเจริญเติบโต และการฟกตัวอ่อนของปลา ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ต้องมีการควบคุมคุณภาพของ นำ้า เพื่อให้ส่งผลกระทบต่อแหล่งนำ้าน้อยที่สุด ในการตรวจสอบคุณภาพของนำ้ามีหลายวิธี ความขุ่นเป็น วิธหี นึง่ ทีช่ ว่ ยบ่งบอกถึงคุณภาพของนำา้ ได้ โดยการใช้เทคโนโลยี และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เข้ามาช่วยใน การวัดความขุ่นของนำ้า เช่น การวัดความขุ่นของนำ้าโดยใช้เทคนิคการกระเจิงของแสง โดยมีแหล่งกำาเนิด แสงที่ส่องแสงผ่านตัวกลาง และตัวเซ็นเซอร์ที่มีความไวต่อแสง เพื่อนำาค่าเอาต์พุตที่วัดได้จากตัวกลางที่ เปลี่ยนไป ปรับเทียบแรงดันให้อยู่ในหน่วยเอ็นทียู (NTU) แต่เครื่องวัดส่วนใหญ่ไม่เหมาะจะนำาไปใช้นอก สถานที่ทำาให้เกิดความยุ่งยาก และมีราคาแพง การประยุกต์ใช้เครื่องวัดความขุ่นในการตรวจวัดปริมาณ สารแขวนลอยในระบบบำาบัดนำ้าเสียแบบตะกอนเร่ง เครื่องวัดความขุ่นนำ้า เป็นต้น จากงานวิจัยที่ผ่าน มา มีการพัฒนาเครื่องวัดความขุ่นของนำ้าโดยใช้หลักการต่างๆ มากมาย เช่น การกระเจิงของแสง, การ ลดทอนของแสง, ความหนาแน่นของตัวกลาง อาจารย์ชญภพ บุญทาศรี กล่าวว่า การวัดความขุ่นของนำ้า โดยใช้เทคนิคการลดทอนของแสง เมื่อผ่านตัวกลางโปร่งแสง โดยใช้แสงเลเซอร์เป็นตัวกำาเนิดแสง มาประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ให้ทราบถึงลักษณะความขุน่ ของนำา้ และพัฒนาให้สามารถนำาเซ็นเซอร์ทใี่ ช้ตรวจวัดแช่ลงในแหล่งนำา้ ได้โดยตรงเพื่อความสะดวก ความถูกต้องในการวัด เพื่อให้ได้ค่าที่แท้จริง จากผลการทดลองพบว่า เครื่องวัดความขุ่นของนำ้าสามารถวัดความขุ่นในแหล่งนำ้าต่างๆ ได้ โดยใช้แหล่งกำาเนิดแสงเป็นเลเซอร์ไดโอด ตัวรับแสงใช้แอลดีอาร์ และใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ในการควบคุม แสดงผลผ่านจอแอลซีดี จากการทดลองเครื่องวัดความขุ่นของนำ้าด้วยแสงเลเซอร์ เปรียบเทียบกับเครื่องมือวัดมาตรฐาน HACH รุ่น 2100Q ที่ความขุ่นระดับ 60-600 NTU พบว่า ค่าความขุ่นของเครื่องวัดความขุ่นของนำ้าด้วยแสงเลเซอร์ ค่าความผิดพลาดไม่เกิน 10 % โดยค่า ความผิด พลาดดังกล่าวยอมรับ ได้ ในการนำ า เครื่ อ งวั ด ความขุ ่ น ของนำ้ า ไปวั ด ความขุ ่ น ในแหล่ ง นำ้ า ต่างๆ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงสามารถนำาไปประยุกต์ในการวัดความขุ่นของนำ้าในแหล่งนำ้าต่างๆ ช่วย สังเกตปริมาณสารแขวนลอยในแหล่งนำ้า เพื่อไม่ให้ปริมาณสารแขวนลอยในแหล่งนำ้าเกินค่าตาม ที่ ม าตรฐานของคุณภาพนำ้ากำาหนดไว้ สำ า หรั บผู ้ ส นใจสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ สามารถสอบถามรายละเอี ย ด ได้ ที่ ผศ.ดร.วิ โรจน์ ปงลั ง กา และอาจารย์ ช ญภพ บุ ญ ทาศรี สาขาวิ ศ วกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ มทร.ล้านนา เชียงราย หมายเลขโทรศัพท์ 053 723979 ต่อ 4205-7

เขียนโดย : นางสาวพัชราภรณ คําสร้อย ที่มาของบทความ/ภาพ : ผศ.ดร.วิโรจน ปงลังกา, อาจารยชญภพ บุญทาศรี อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มทร.ล้านนา เชียงราย

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 21


Innovation for Life

LOW COST TURBIDITY METER FOR FISH POND 22 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

ระดับความขุ่นของนํ้า หนวยเปน NTU

หลักการวัดความขุ่น ของนํ้า ด้วยเทคนิค การลดทอนของแสง เมื่อผานตัวกลางโปลง แสง

วงจรเครื่องวัดความขุน ของนํ้าด้วยแสงเลเซอร์

โครงสรางเครื่องวัด ความขุนของนํ้าเปน โครงสร้างเครื่องวัด ความขุนที่สร้างขึ้น มี เซนเซอร์ ที่สามารถยอน เซนเซอร์ลงวัดในแหลงนํ้า ได้โดยตรง จากนั้นทําการ ประมวลผล และแสดง ผลสูหน้าจอแอลซีดี เปน หนวยความขุนเอ็นทียู


Innovation for Life

LOW COST TURBIDITY METER FOR FISHING POND

Water quality is very important in fish farming. If the water quality is

lower, it will affect the oxygen deficit, growth and larvae of fish. These causes require water quality control to minimize of the impact on water resources. There are several ways to check the quality of water. Turbidity is one way to indicate the quality of water ,by using technology and electronic devices to help measure the turbidity of water.For example, the measuring turbidity by using the light scattering technique with a light source that shines through the medium. And sensors that are sensitive to light to take the measured output from the medium in which the pressure is to be adjusted in the NTU unit. On the other hand,most meters are not suitable for off-site use, because it is complicated and expensive. Application of turbidity meter is to detect suspended solids in accelerated sediment and turbidity meter, etc. Based on the past research, the development of water turbidity meter applyied various principles such as; scattering of light, attenuation of light and density of the medium.

Mr.Chayaphop Boonthasee said that turbidity water measurement, by using light attenuation through center point technique from laser. can be applied with electronic equipment for knowing the turbidity. Moreover, it can use sensor to measure water directly for convenience and accuracy. From the research of Asst.Prof.Dr.Wiroj Ponglangka, Senior Lecturer

in Agricultural Engineering in RMUTL Chiang Rai. It isfound that a turbidity meter can determine the level of turbidity in water, by using light source from laser the diode, photosensitive sensor (LDR) and microcontroller for controlling from LCD monitor. From theresult, comparing between the turbidity laser meter,measurement standards and HACH/2100Q with 60 – 600 NTU turbidity level. It is shown that the error of turbidity does not exceed 10% and this mistake and can be accepted in turbidity measurement. Therefore, this research can be applied in turbidity measurement. Furthermore, it can observe a quantity of suspensions (chemistry) for keeping suspensions not to exceed more than the water quality standard.

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 23


Innovation for Life

ระบบควบคุ ม แสง สําหรับโรงเรือนปลูกดอกเบญจมาศ ดอกเบญจมาศ เป็นไม้ตดั ดอกอีกชนิดหนึง่ ทีน่ ยิ มปลูกเลีย้ ง และมี การซื้อขายมากที่สุดเป็นอันดับ 2 มีถิ่นกำาเนิดในประเทศญี่ปุน และจีนเป็น พืชที่ต้องการแสงมาก หากได้รับแสงน้อยกว่า 13 ชั่วโมง จะออกดอกเร็ว และมีลำาต้นเล็ก ดังนั้นจึงเพิ่มแสงไฟให้มีช่วงเวลากลางวัน 16 ชั่วโมง เพื่อ บังคับไม่ให้ออกดอก และมีลาำ ต้นต้นทีส่ งู แข็งแรง ในประเทศไทยมีชว่ งเวลา กลางวันเฉลี่ย 12-13 ชั่วโมง ต่อวัน ต้องให้แสงไฟเพิ่ม 4-5 ชั่วโมง ปริมาณ การให้แสงสว่าง 80-100 ลักซ์ แสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดแอล อีดที มี่ แี สงสีขาวมีความยาวคลืน่ 462 นาโนเมตร สามารถใช้สงั เคราะห์แสง แทนดวงอาทิตย์ได้ ปจจุบนั เกษตรกรปลูกดอกเบญจมาศโดยใช้หลอดฟูลออเรสเซนต์ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นหลอดทีม่ กี าำ ลังวัตต์สงู ต้องใช้บลั ลาสต์ ทำาให้สนิ้ เปลืองไฟฟ้า มากกว่า หลอดแอลอีด ี ผศ.ดร.วิโรจน์ ปงลังกา และอาจารย์ชญภพ บุญทาศรี อาจารย์ประจำาสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมด้วยนายภานุพงค์ ชมภูตบิ๊ และนายคุณไกร ใจอักษรนักศึกษาชัน้ ปีท ี่ 3 ครุศาสตร์อตุ สาหกรรม สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา เชียงราย ได้ทำาการทดลองปลูกพืชนอกฤดู โดยทดลองใช้ ต้น พลูด่าง แบ่งเป็น 2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มแรกอาศัยแสงสว่างปกติ กลุ่มที่ 2 จะ รับแสงสว่างจากแหล่งกำาเนิดแสงเทียมความเข้มแสงอยูใ่ นช่วง 928.65 ลักซ์ เป็นระยะเวลา 5 วัน ผศ.ดร.วิโรจน์ ปงลังกา และอาจารย์ชญภพ บุญทาศรี อาจารย์ ประจำาสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กล่าวว่า “จากผลการทดลอง ต้นไม้ ที่ใช้แหล่งกำาเนิดแสงเทียมจะมีใบมีสีขาวกระจายทั่วไปเกือบตลอดทุก ๆ ใบมีขนาดความกว้างของใบเฉลี่ย 1 เซนติเมตร ซึ่งใหญ่กว่า กลุ่มแรกที่ ใช้แสงสว่างปกติ จากนั้นได้ทำาการพัฒนาระบบส่องสว่างในโรงเรือน ดอก เบญจมาศด้วยหลอดไดโอดเปล่งแสง โดยใช้หลอดไดโอดเปล่งแสง สีแดง สีนำ้าเงิน และสีแดงผสมสีนำ้าเงิน ส่องสว่างเปรียบเทียบกับหลอดอินแคน เดสเซนต์ พบว่า แสงสีแดง และแสงสีแดงผสมสีนำ้าเงิน สามารถช่วยยับยั้ง การเกิดตุ่มดอก และให้ความสูงตามต้องการได้ และให้ความสูงใกล้เคียง 24 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

กับหลอดอินแคนเซนต์ ส่วนแสงสีนำ้าเงินไม่สามารถยับยั้งการเกิดตุ่ม ดอกได้ จึงนำาเสนอระบบการควบคุมแสงระหว่างแสงที่ใช้จากหลอด แอลอีดีและหลอดฟลูออเรสเซนต์โดยแบ่งความสว่างของแสงขนาด 60 ลักซ์ และ 100 ลักซ์ ใช้ดอกเบญจมาศในการทดลอง” นายภานุพงค์ ชมภูติ๊บ นักศึกษาชั้นปีท่ี 3 ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ กล่าวว่า ระบบการควบคุมแสงสำาหรับโรง เรือนปลูกดอกเบญจมาศเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแสง ที่ ได้จากหลอดแอลอีดีและจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ โดยใช้ความ สว่าง 60 ลักซ์ และ 100 ลักซ์ พื้นที่ของโรงเรือนขนาด 5.5 ตาราง เมตร ความสูง 2 เมตร จำานวน 2 โรงเรือน ใช้ดอกเบญจมาศในการ ทดลองปลูกจำานวน 50 ต้น ต่อโรงเรือน โดยให้แสงวันละ 5 ชั่วโมง ระยะเวลา 4 สัปดาห์ ผลการทดลองจากการใช้แสง 100 ลักซ์ โดย ใช้หลอดแอลอีดีมีอัตราการเจริญเติบโตของดอกเบญจมาศ 4.49 เซนติเมตรต่อสัปดาห์ และจากการใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีอัตรา การเจริญเติบโตของดอกเบญจมาศ 3.29 เซนติเมตร ต่อสัปดาห์ ผลจากการให้ความสว่าง 60 ลักซ์ของหลอดทั้งสองชนิดมีอัตราการ เจริญเติบโตของดอกเบญจมาศไม่ต่างกัน โดยมีความสูงเฉลี่ย 3.86 เซนติเมตรต่อสัปดาห์ อัตราการสิ้นเปลืองพลังงาน จากการใช้หลอด แอลอีดีน้อยกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์เป็น 4.5 เท่าค่าความแม่นยำา


Innovation for Life

ชุดควบคุมแสงและไฟฟ้าโรงเรือน ปลูกดอกเบญจมาศ

จากการวัดค่าความสว่างของแสงจาก การออกแบบโดยใช้โปรแกรมไดอะลักซ์ 96.66% และจากการคำานวณ 96.40% ผลจากการใช้แสงที่ได้จากหลอดแอลอีดี ที่มีความสว่างของแสง 100 ลักซ์ ให้ผล ตอบสนองต่อการเจริญเติบโตของดอก เบญจมาศ ทีด่ กี ว่า และประหยัดพลังงาน มากกว่าการใช้แสงจากหลอดฟลูออเรส เซนต์ สำาหรับผูส้ นใจสิง่ ประดิษฐ์ สามารถ สอบถามรายละเอียดได้ที่ ผศ.ดร.วิโรจน์ ปงลั ง กา และอาจารย์ช ญภพ บุญ ทา ศรี สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มทร. ล้านนา เชียงราย หมายเลขโทรศัพท 053 723979 ตอ 4205-7

โครงสร้างโรงเรือนดอกเบญจมาศ

อัตราการใช้ไฟฟ้าในโรงเรือน เบญจมาศในสัปดาห์ที่ 4 ค่าความสว่ าง (Lux) 60 ลักซ์ ฟูลออเรสเซนต์

31.05

60 ลักซ์ แอลอีดี 100 ลักซ์ ฟลูออเรสเซนต์ 100 ลักซ์ แอลอีดี

31.16 29.5

ความสูงเฉลีย� 33.98 (เซนติเมตร)

26 28 30 32 34 36

ผลการเจริญเติบโตของดอก เบญจมาศ หลังจากการปลูก เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์

หลอดฟลูออเรสเซนต์

หลอดแอลอีดีที่ใช้ส่องสว่างใน โรงเรือนดอกเบญจมาศ เขียนโดย : นางสาวพัชราภรณ์ คำาสร้อย ที่มาของบทความ/ภาพ : ผศ.ดร.วิโรจน์ ปงลังกา, อาจารย์ชญภพ บุญทาศรี อาจารย์ประจำาสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มทร.ล้านนา เชียงราย, นายภานุพงค์ ชมภูตบิ๊ , นายคุณไกร ใจอักษรนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ครุศาสตร์อุตสาหกรรมสาขาวิชาวิศวกรร มอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 25


Innovation for Life

Lighting Control System for Chrysanthemum Greenhouse

Chrysanthemum is a popular cut-flower plants and it is in the top-best-selling flowers. It is originated in Japan and China. Chrysanthemum needs a lot of light to grow. If it receives light less than 13 hours, the flower will grow fast and has a small stem. Therefore, it needs 16 hours during day time to control the flower not to bloom too fast and have a thick stem. In Thailand, day time is about 12-13 hours a day. Greenhouse has to use more than 4-5 hours of 80-100 lux from a fluorescent lamp, and an LED lamp with white light that has 464 nanometers of wavelength. It can be used for photosynthesis instead of light from the sun. At present, agriculturists grow Chrysanthemum by using fluorescent lamps. Most of fluorescent lamps use high voltage. They have to use ballast that make electricity consumption more than LED lamps. Asst.Prof.Dr.Viroj Ponglungka and Lecturer Chanaphob Boontasri, together with Mr. Panuphong Chomputip and Mr. Kreangkrai Chaiauksorn, Third-year student from Technical Education, Electronics and Telecommunications Engineering Program, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL), ChiangRai conduct the experiment of an off-season cultivation using Golden Pothos by dividing Golden Pothos into two groups; group one uses natural lighting, and group two uses artificial lighting with light intensity about 928.65 lux for five days. LecturerChanaphob Boontasri, major of Electronic Engineering said that “from this experiment, plants that growing up from artificial lighting will have white dots on their leaves. Morever , the average of width in plant is one centimeter which is wider than plants that use natural lighting. Then, they develop a lighting system in Chrysanthemum greenhouse by using light-emitting diodes. They use red, blue and red-blue 26 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

color of light-emitting diodes. Comparing to incandescent, red and red-blue light can limit dots on leaves and can gain good height. On the other hand, blue light cannot limit dots on leaves. Therefore, they presented light-control between LED lamps and fluorescent lamps by brightness of light between60 lux and 100 lux of Chrysanthemum.” Mr.Panuphong Chomputip Third-year student from Technical Education, Electronics and Telecommunications Engineering Program, Faculty of Engineering said that Lighting Control System for Chrysanthemum Greenhouse when compared quality of LED lamp and fluorescent lamp, uses 60 and 100 lux of brightness. The area of greenhouse is 5.5 square meters, the height is two meters. They have two greenhouses, using 50 stems of Chrysanthemum per one greenhouse, by using five hours of light for four weeks. This is result of using 100 lux of light. Using LED lamp can get result of growth of Chrysanthemum 4.49 centimeters per week. Furthermore using fluorescent lamps can get the result of growth of Chrysanthemum 3.29 centimeters per week. The result of using 60 lux of these two lamps have similar growth rate of Chrysanthemum. The height average of Chrysanthemum is 3.86 centimeters per week. LED Lamps use electricity power less than fluorescent 4.5 lamps for times. Accuracy of brightness from Dialux program is 96.66% and from the experiment is 96.40%. The result of using 100 lux of LED lamp, has better interaction with the growth rate of Chrysanthemum and saver than using fluorescent lamps.


Start Up

สกูปพิเศษ : “ราชมงคลลานนา ในบริบท 4.0 สังคมอุดมปญญาดวยนวัตกรรมดิจิทัล” กับภารกิจสรางคนสายพันธุ์ดิจิทัล ภายใตยุทธศาสตร์ “เชียงใหม่ สมาร์ท ซิตี้” โดย ณัฐชรัตน กฤตธน ศูนย์นวัตกรรมบ่มเพาะดิจิทัลสตาร์ทอัพราชมงคลล้านนา

ตอนที่ 1 : ไขรหัสการเปลี่ยนแปลงประเทศ ด้วยโมเดล “ไทยแลนด์ 4.0” ในยุครัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้กล่าวมอบนโยบายโดย จะนำาพาประเทศก้าวสู่โมเดล “ไทยแลนด์ 4.0” ซึ่งก็อดสงสัยไม่ได้ว่า ท่านผู้นำาประเทศกำาลังจะพาพวกเราไปในทิศทางไหนและไปได้จริง หรือเปล่า ในเบื้องต้น จะได้นำาความเห็นของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ ที่ อธิบาย “ไทยแลนด์ 4.0” ได้อย่างกระชับ กล่าวคือ ในอดีตของบ้านเรา มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่โมเดล “ไทยแลนด์ 1.0” ที่เน้นภาคการเกษตร ไปสู่ “ไทยแลนด์ 2.0” ที่เน้นอุตสาหกรรมเบา และก้าวสู่โมเดลปจจุบัน “ไทยแลนด์ 3.0” ที่เน้นอุตสาหกรรมหนัก ทว่า ภายใต้โมเดล “ไทยแลนด์ 3.0” ที่เป็นอยู่ในขณะนี้ ต้องเผชิญกับ คำาว่า “กับดัก” ที่สำาคัญคือ ไม่อาจนำาพาประเทศไทยให้พัฒนาไป มากกว่านี้ จึงเป็นประเด็นที่รัฐบาลต้องสร้างโมเดลใหม่ขึ้นมา เพื่อ ปฏิ รู ป เศรษฐกิ จ ของประเทศและนำ า พาประชาชนทั้ ง ประเทศไปสู ่ โมเดล “ไทยแลนด์ 4.0” ให้ ไ ด้ ภ ายใน 3-5 ปี ต ่ อ จากนี้ ไ ป แล้ ว ยุทธศาสตร์ “ไทยแลนด์ 4.0” คืออะไร และจะมีโอกาสใดเกิดขึ้นใน เศรษฐกิจใหม่บ้าง การกำาหนดโมเดลเศรษฐกิจใหม่ ภายใต้ยุทธศาสตร์ สำาคัญที่เน้นเรื่องการพัฒนาสู่ “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ด้วยการ สร้าง “ความเขมแข็งจากภายใน” ขับเคลื่อนตามแนวคิด “ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” ผ่านกลไก “ประชารัฐ” หลายประเทศได้ กำ า หนดโมเดลเศรษฐกิ จ รู ป แบบใหม่ เ พื่ อ สร้างความมั่งคั่งในศตวรรษที่ 21 อาทิ สหรัฐอเมริกาพูดถึง A Nation of Makers อังกฤษกำาลังผลักดัน Design of Innovation จีนได้ ประกาศ Made in China 2025 อินเดียก็กำาลังขับเคลื่อน Made in India หรื อ อย่ า งเกาหลี ใ ต้ ก็ ว างโมเดลเศรษฐกิ จ เป็ น Creative Economy เป็นต้น

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี ของประเทศไทย คนปจจุบัน

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 27


Start Up

Thailand 4.0 นภาค 1.0 เนการเก�ตร

ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

4.0

ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ทำมากไดนอย

ไทยแลนด 3.0 ไทยแลนด 2.0

ทำนอยไดมาก

การเปลี่ยนแปลงอยางนอยใน 3 มิติ

เนนดาน

2.0 อุตสาหกรรมเบา

สินคา โภคภัณฑ

ภาค อุตสาหกรรม

เนนภาคการ

ผลิตสินคา

HOTEL

สินคาเชิงนวัตกรรม ขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยี เนนภาคบริการมากขึ้น

SUPERMARKET

ความคิดสรางสรรค และนวัตกรรม

เนนดาน

เปนการเปลี่ยนผานทั้งระบบใน 4 องคประกอบ

3.0 อุตสาหกรรมหนัก

เกษต รแ

7-8%

“ไทยแลนด �.0 28 นิตยสาร

ราชมงคลล้านนา

01

03

กลุมเครื่องมืออุปกรณอัจฉริยะ หุนยนต และระบบเครื่องกล ใชระบบอิเล็กทรอนิกสควบคุม

Smart SMEs

แล

5 กลุมเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเปาหมาย

3-4%ตอป

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดวยนวัตกรรม� จะน�ไปสู

เ ดิม

ตอยอดความไดเปรียบ

3-4%

เติบโต

ะ ต่

ไทยแลนด �.0

IO

4.0

สิ่งแวดลอม เทคโนโลยี ความเหลื่อมล้ำ พ.ศ.2500-2536 การเติบโตที่ลดลงในปจจุบัน เติบโต ตอป พ.ศ.2500-2536 เติบโตพ.ศ.2537-ป 7-8%ตอจปจุบัน เติบโต จจุบัน ตอป พ.ศ.2537-ป

คา ตำ่ รมลู

OPT

�า�ก�า�

มลู คา สงู บรกิ า การ “ความหลากหลาย เชิงชีวภาพ” “ความหลากหลาย เชิงวัฒนธรรม”

S M Es

กั บ ดั ก ประเทศรายได

หม มยั ใ

มิ เ ดงั้ เด กษตรส บ บ ความไดเปรียบ เชิงเปรียบเทียบ ของไทยมี 2 ดาน N 06 แร ง ง า น ท ั ก ษ

ะS tart u ps

BANK

บริ

ไทยแลนด �.0

การ����าเ�ร��กิ����า�ต��เ�����

04

กลุมอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ

กลุมดิจิตอล เทคโนโลยี อินเตอรเน็ตที่เชื่อมตอ

02

05

กลุมสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย

กลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค วัฒนธรรม และบริการที่มี มูลคาสูง


Start Up

สําหรับประเทศไทยในขณะนี้ยังติดอยูใน “กับดักประเทศ รายไดปานกลาง” เห็นได้จากในชวง 50 ปที่ผานมา ในระยะแรก (พ.ศ.2500-2536) เศรษฐกิจไทยมีการเติบโตอย่าง ต่อเนือ่ งอยูท่ ี่ 7-8% ต่อปี อย่างไรก็ตาม ในระยะถัดมา (พ.ศ.2537-ปจจุบนั ) เศรษฐกิจไทยมีการเติบโตลดลงในระดับเพียง 3-4% ต่อปีเท่านั้น ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีอยูแ่ ค่ 2 ทางเลือก หากปฏิรปู โครงสร้างเศรษฐกิจได้สาำ เร็จ ไทยจะกลายเป็น “ประเทศที่มีรายไดที่สูง” แต่หากทำาไม่สำาเร็จ ก้าวข้าม กับดักนี้ไปไม่ได้ ประเทศไทยก็จะตกอยู่ในภาวะที่เรียกกันว่า “ทศวรรษ แหงความวางเปลา” ไปอีกยาวนาน อย่างไรก็ดี ภายใต้โมเดล “ไทยแลนด์ 3.0” นั้น นอกจากต้อง เผชิญกับกับดักประเทศรายได้ปานกลางแล้ว เรายังต้องเผชิญกับ “กับดัก ความเหลื่อมลํ้าของความมั่งคั่ง” และ “กับดักความไมสมดุลในการ พัฒนา” กับดักเหล่านีเ้ ป็นประเด็นทีจ่ ะต้องมีการปฏิรปู โครงสร้างเศรษฐกิจ เพือ่ ก้าวข้าม “ไทยแลนด์ 3.0” ไปสู ่ “ไทยแลนด์ 4.0”“ไทยแลนด์ 4.0” จะ ช่วยปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม” กล่าวคือ ในปจจุบัน เรายัง ติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทำามาก ได้น้อย” เราต้องการปรับเปลี่ยน เป็น “ทำาน้อย ได้มาก” นั่นหมายถึงการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง อย่างน้อยใน 3 มิติที่สำาคัญ คือ 1) เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสูส่ นิ ค้าเชิง “นวัตกรรม” 2) เปลีย่ นจากการขับเคลือ่ นประเทศด้วย ภาค อุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และ นวัตกรรม 3) เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาค บริการมากขึ้น ดั ง นั้ น “ไทยแลนด์ 4.0” จึ ง เป็ น การเปลี่ ย นผ่ า นทั้ ง ระบบ ใน 4 องค์ประกอบที่สำาคัญ คือ 1) เปลี่ยนผ่านจากการเกษตรแบบ ดั้งเดิม (Traditional Farming) ในปจจุบัน ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่ เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกร ต้องรำ่ารวยขึ้น เป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur) 2) เปลี่ยนผ่านจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ที่มีอยู่และรัฐต้อง ให้ความช่วยเหลือตลอดเวลา ไปสู่ Smart Enterprises และ Start ups ที่มีศักยภาพสูง 3) เปลี่ยนผ่านจาก Traditional Services ซึ่งมีการ สร้างมูลค่าค่อนข้างตำ่า ไปสู่ High Value Services 4) เปลี่ยนจากแรง งานทักษะตำ่าไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง และ ประเด็นที่น่าสนใจยิ่งก็คือ “การขับเคลื่อนเศรษฐกิจดวยนวัตกรรม” จะ นำาไปสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” จะเป็นการพัฒนา “เครื่องยนต์เพื่อขับเคลื่อน การเติบโตทางเศรษฐกิจใหม่” (New Engines of Growth) ด้วยการแปลง “ความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ” ของไทยที่มี 2 ด้าน คือ “ความหลาก หลายเชิงชีวภาพ” และ “ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม” ให้เป็น “ความไดเปรียบในเชิงแขงขัน” โดยการเติมเต็มด้วยวิทยาการ ความ คิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา แล้วต่อยอดความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบเป็น “5 กลุมเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมเปาหมาย” ประกอบด้วย 1) กลุ่มอาหาร เกษตร และ เทคโนโลยีชีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech) 2) กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Health, Wellness & Bio-Med) 3) กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบ อิเล็กทรอนิกส์ควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics) 4) กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว (Digital, IoT, Artificial

Intelligence & Embedded Technology) 5) กลุ่มอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง (Creative, Culture & High Value Services) ทัง้ 5 กลุม่ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย จะเป็นแพลทฟอร์มในการสร้าง “New Startups” ต่างๆ มากมาย อาทิ กลุมที่ 1 คือเทคโนโลยีการเกษตร (Agri-tech) เทคโนโลยีอาหาร (Food-tech) กลุมที่ 2 คือ เทคโนโลยีสุขภาพ (Health-tech) เทคโนโลยีการแพทย์ (Medi-tech) สปา กลุมที่ 3 คือ เทคโนโลยี หุนยนต์ (Robo-tech) เทคโนโลยีดานการเงิน (Fin-tech) อุปกรณ์ เชื่อมตอออนไลน์โดยไมตองใชคน (IoT) เทคโนโลยีการศึกษา (Edtech) กลุมที่ 4 คือ อี–มาร์เก็ตเพลส (E–Marketplace) อี–คอม เมิร์ซ (E–Commerce) และกลุมที่ 5 คือ เทคโนโลยีการออกแบบ (Design-tech) ธุรกิจไลฟสไตล์ (Lifestyle Business) เทคโนโลยี การทองเที่ยว (Travel-tech) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ (Service Enhancing) เปนตน ซึ่งคำาว่า “New Startups” ในที่นี้ คือบริบทของคำาจำากัดความในกลุ่มคลัสเตอร์ดิจิทัล นั่นเอง ทัง้ นี ้ ถ้าย้อนกลับไปที ่ 5 กลุม่ เทคโนโลยีหลักและอุตสาหกรรม เป้ า หมายใน “ไทยแลนด์ 4.0” นั้ น จะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ “10 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต” (5 อุตสาหกรรมทีเ่ ป็น Extending S-Curve บวกกับ 5 อุตสาหกรรมที่เป็น New S-Curve) ที่รัฐบาลได้ประกาศไป ก่อนหน้านัน้ กล่าวคือ ใน “10 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต” จะมีบางกลุม่ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่ยังต้องพึ่งพิงการลงทุนจากต่างประเทศ เป็นหลัก อาทิ อุตสาหกรรมการบิน (Aviation) ส่วนใน 5 กลุ่มเทคโนโลยีหลักและอุตสาหกรรมเป้าหมายใน “ไทย แลนด์ 4.0” จะเป็นส่วนที่ประเทศไทยต้องการพัฒนาด้วยตนเองเป็น หลัก แล้วค่อยต่อยอดด้วยเครือข่ายความร่วมมือจากต่างประเทศ ซึ่ง สอดรับกับ “บันได 3 ขั้น” ของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของ “การพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเอง และรวมกันเป็นกลุ่มอย่างมีพลัง” นั่นเอง ทัง้ นีร้ ฐั บาลได้ตงั้ เป้าสัมฤทธิใ์ น 3–5 ปี ตามยุทธศาสตร์ “ไทย แลนด์ 4.0” กล่าวคือ การขับเคลือ่ น 5 กลุม่ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม เป้าหมายให้เกิดผลสัมฤทธิ์ภายในระยะเวลา 3-5 ปีข้างหน้า หรือในปี 2562-2565 เป็นการเปลี่ยนจาก “ปญหาและความท้าทาย” ให้เป็น “ศักยภาพและโอกาส” ในการสร้างความมั่นคง มั่นคั่ง และยั่งยืนให้ กับประเทศอย่างเป็นรูปธรรม เช่น เปลีย่ นจากปญหาการเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุ ให้เป็น สังคมผู้สูงอายุที่มีพลัง (Active Aging) การพัฒนาหุ่นยนต์ ทางการแพทย์ การยกระดับเมืองเป็น Smart City ดั่งเช่น นโยบาย เชียงใหม่ สมาร์ท ซิตี้

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 29


Start Up

การเปลี่ยนสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ เช่น ข้าว ยางพารา นำ้าตาล มันสำาปะหลัง ให้กลายเป็นอาหารสุขภาพ (Functional Foods) หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (Nutraceutics) ที่มีมูลค่า สูง การเปลี่ยนการเกษตรแบบดั้งเดิม ให้เป็นการเกษตรแม่นยำา สูง (Precision Farming) และพัฒนาระบบการบริหารจัดการและ เทคโนโลยีนำ้า เป็นต้น ท้ายนี้ จะกล่าวโดยสรุปถึงกระบวนทัศน์ในการพัฒนา ประเทศ ภายใต้ “ไทยแลนด์ 4.0” มี 3 ประเด็นที่สำาคัญ 1) เป็น จุดเริ่มต้นของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ในการขับ เคลื่อนไปสู่การเป็นประเทศที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน อย่างเป็นรูป ธรรม 2) เป็น “Reform in Action” ที่มีการผลักดันการปฏิรูป โครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการวิจัยและการพัฒนา และการ ปฏิรูปการศึกษาไปพร้อมๆ กัน 3) เป็นการผนึกกำาลังของทุกภาค ส่วนภายใต้แนวคิด “ประชารัฐ” โดยเป็นประชารัฐที่ผนึกกำาลังกับ เครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ การวิจัยพัฒนา และบุคลากรระดับ โลก ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชา โดย การ “รู้จักเติม รู้จักพอ และรู้จักปน” ซึ่งหากแนวคิดและทิศทาง การพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ ก้าวเข้าสู่โมเดล “ไทยแลนด์ 4.0” ได้จริงตามที่กล่าวมา จะเกิดพลวัตรการขับเคลื่อนด้วยเศรษฐกิจ ดิจิทัล (Digital Economy) อย่างเป็นรูปธรรม ก็น่าจะเป็นหนทาง ที่จะนำาพาให้คนไทยได้หลุดพ้นจากความยากจนและขับเคลื่อนไป สู่ความเป็นประเทศพัฒนาที่มีความรำ่ารวยเสียที คนในชาติก็จะมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

B

การเปลี่ยนการเกษตร ...แบบดั้งเดิม ใหเปน...

การเกษตรแม่นยําสูง 30 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

ศาสตร์พระราชา

“รูจ้ กั เติม รูจ้ กั พอ ...และรูจักปน”

ตามที่ ก ล่ า วมาทั้ ง หมดนั้ น เมื่ อ ย้ อ นกลั บ มาที่ จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ของเรา ก็ จ ะเริ่ ม ได้ เ ห็ น ความ เปลี่ยนแปลงเช่นกัน โดยรัฐบาลได้ประกาศให้จังหวัด เชียงใหม่เป็นพื้นที่ส่งเสริมเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ใน กลุ่มซูเปอร์คลัสเตอร์ดิจิทัล ภายใต้นโยบายการพัฒนา เมื อ งอั จ ฉริ ย ะ หรื อ “เชี ย งใหม่ สมาร์ ท ซิ ตี้ ” และ สำานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้ให้ สิทธิประโยชน์การลงทุนกับนักลงทุนทั้งชาวไทยและต่าง ชาติอย่างทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน เพือ่ สร้างบรรยากาศให้จงั หวัด เชียงใหม่เป็นเมืองที่พัฒนาด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ดิจิทัล ซึ่งในส่วนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ก็เป็นสถาบันการศึกษาแรกที่เกิดกระบวนการ ส่ ง เสริ มด้ า นการลงทุ น ในรู ปแบบของ โครงการศูนย์ นวั ต กรรมดิ จิ ทั ล หรื อ Innovation Incubation Center (IIC) โดยร่วมกับภาคเอกชนและหน่วยงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งเป็นการเริ่มเข้าสู่บริบท “ไทยแลนด์ 4.0” และจะเกิดการพัฒนาระบบนิเวศน์ ดิจทิ ลั (Digital Ecosystem) การสร้างคนและเทคโนโลยี ดิจทิ ลั ให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ทมี่ มี ลู ค่าสูง และในฉบับ หน้า เรามาติดตามกันว่า “ราชมงคลล้านนา ในบริบท 4.0 สังคมอุดมปญญาด้วยนวัตกรรมดิจิทัล” กับภารกิจสร้าง คนสายพันธุ์ดิจิทัล จะเป็นเช่นไรต่อไป


Start Up

Special scoop: RMUTL under the context

of 4.0 knowledge based society with digital innovation a mission the creation of digital life generation under of strategy

“Chiang Mai Smart city” Part1: the key of changing

General Prayuth Chan-ocha Prime Minister of Thailand

the country with

“Thailand 4.0” model

At first, let’s see the brief view of Dr.Suvit Maesincee explaining about Thailand 4.0 model.

He said since the past Thailand has continuously developed our country with Thailand 1.0 model which focused on agriculture, then Thailand 2.0 which focused on light industry. Thailand 3.0 which focused on heavy industry. However under the model at the present is facing with the “Trap” Moreover, the most important thing is that we cannot make a further development. So, the government has to create a new model for reorganize Thailand economy and bring Thai people toward Thailand 4.0 model within 3-5 years after this. And what is the strategy of “Thailand 4.0” and the opportunity of new economy? The definition of a new economic model under an important strategy which emphasizes on the development of “Stability, Wealth, Sustainability” by making “Strong from inside” through the “Sufficiency economy” the process of “Civil State” Many countries which determine the new economy model to promote create wealth in 21st century for example, United states of America mentioned about “A Nation of Markers; England promoting “Design of Innovation; China has announced “Made in China 2025; India is under the operation of “Made in India; or south Korea economy model is “Creative Economy”. Now Thailand is under “Middle income Trap” as seen in the last 50 years. Now in the period (1957-1993) Thailand growth was continuously rated at 7-8 % per year. Thailand economy has decreased to 3-4 annually. So, Thailand has only 2 choices; firstly, economic reform has success will become “Highest income country” Secondly, does not succeed Thailand will be under the “Lost Decade”

However, under Thailand 3.0 model besides facing with “Middle Income Trap” it still faces with the inequality trap and imbalance trap. These traps are the issues that have to be restructured. The economy will break through Thailand 3.0 to Thailand 4.0. Therefore “Thailand land 4.0” is a change of the entire system in 4 key factors 1) transition from traditional farming at present to modern agriculture focusing on smart farming, making the farmers richer and being . 2) Transition from traditional SMEs by providing constant assistance to smart enterprises and high-potential startups. 3) Transition from traditional services, which creates a relatively low value to high value services. 4) Transition from low-skilled labors to leading skills workers with knowledge, expertise, and high skills. The interesting is “Driving the economy with innovation” to “Thailand 4.0” develop “New Engines of Growth”. Thailand has two advantages, “Biological diversity” and “cultural diversity.” There are our competitive advantages filled with creativity, innovation, science and technology, and research and and development.

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 31


Start Up

Precision Farming

Functional Foods

Digital Ecosystem 32 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

The 5 target group technology and industry target include 1) food, agriculture & Bio-Tech 2) health, wellness & Bio-Med 3) smart devices, robotics & mechatronics 4) digital, IOT, artificial intelligence & embedded technology and 5) creative, culture & high value services. All five groups of technology and industry will be a platform to create many “New Startups” in all of the five mentioned group. However, if we went back to the five groups of key technologies and industrial targets in “Thailand 4.0” is a part of “10 industries of the future” (5 industries Extending S-Curve with 5 i n d u s t r y i s N e w S - C u r v e . ) T h e government has previously announced that there were in “the 10 industries of the future.” There will be some industry groups and technology is still dependent on foreign investment, such as aviation. According to the five core technologies and target industries in “Thailand 4.0”, for Thailand to develop itself. Then, proceed to the country should , which is in line with the “three steps” of the Sufficiency Economy philosophy the government has set a goal a 3-5 year goal according to the “ Thailand 4.0”, driving 5 technologies and target industries to the achievement next 3-5 years, or in 2019-2022. It’s a change from “problems and challenges” to “potential and opportunity” for solidarity and sustainability of the country. For example, the change from the problem of entering the aging society into active aging. Development of the medical robots. Urban upgrading as smart city, such as; Chiang Mai Smart City policy.


Start Up

Commodities such as rice, rubber, sugar, cassava are change into functional foods or supplements high value nutraceuticals. Traditional agriculture are change into precision farming and development of water management and technology. To conclude, the paradigm in developing the country under “Thailand 4.0” has 3 important issues: 1) It is the beginning of a 20 year national strategy (2560-2579) to drive our country into a solid, prosperous, and sustainable country. 2) An action reform is to drive the economic structural reform, research and development reform, and educational reform along the way. 3) It combines the power of all sectors under the concept of “public” as a public authority with a network of business partners, research development and world-class personals, under the sufficiency economy philosophy of “Fulfilled, Enough and Sharing.” If the concept and direction of national economic development step into the model “Thailand 4.0” is true as mentioned, the dynamics driven by the digital economy are tangible. It would be a way to bring Thai people out of poverty and become prosperous developed country. People in the country will have a better quality of life. The government has announced Chiang Mai as a special economic zone in the digital super cluster group, under the policy of intelligent urban development or “Chiang Mai Smart City”. The Board of Investment (BOI) has given investment privileges to both Thai and foreign investors like never before, to create an atmosphere of Chiang Mai as a developed city with innovation and digital technology. In the part, RMUTL was the first institution to promote the investment process in the form of “The Innovation Incubation Center (IIC).” Cooperated with the private sectors and the digital economy promotion agencies which are the beginning of the context of “Thailand 4.0” and the development of the digital ecosystems, creating people and digital technology into a new product with high value, driving our country under Thailand 4.0 model policy. It is double that in which way our leader makes this policy in practice. นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 33


Social Engagement

ผศ.ดร.อุเทน คํานาน

เพิม่ ขีดความสามารถสถานประกอบการ ดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นวัตกรรม

“โครงการสงเสริมใหบุคลากรดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมในสถาบันอุดมศึกษา ไปปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับภาคเอกชน” เนื่องจากปจจุบันปจจัยคาแรงงานภายในประเทศเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงแนวโนมการแขงขันในตลาดโลกทีม่ ากขึน้ บริษทั ขามชาติจาํ นวนมาก ยายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่นๆ ทําใหภาคการผลิตและบริการใน ประเทศไทยจําเปนตองปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร จากเดิมที่แขงขันกันดวย ราคา เปลี่ยนเปนการใชนวัตกรรมและความแตกตางเปนจุดขาย โดยการ ปรับเปลี่ยนดังกลาวจําเปนตองใชบุคลากรดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) เขามาดําเนินการ ซึ่งบุคลากรดังกลาวสวนใหญ จะอยูในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยภาครัฐเปนจํานวนมาก ทั้งครู อาจารย และนักวิจยั ดังนัน้ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) และสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา(สกอ.)

จึงจัดใหมี “โครงการสงเสริมใหบุคลากรดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมในสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขันใหกับภาคเอกชน” หรือ “โครงการ Talent Mobility” ขึน้ เพือ่ เปนการแกไขปญหาการขาดแคลนบุคลากรวิจยั และ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันใหภาคเอกชนมากขึน้ แนวปฏิบตั ขิ อง โครงการคือ จะสงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรจากสถาบันอุดมศึกษา เขาไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการในลักษณะทํางานเต็มเวลาอยาง นอย 1 วัน/สัปดาห ภายในระยะเวลา 3 - 24 เดือนเพื่อชวยเหลือสถาน ประกอบการในการเพิ่มศักยภาพการทําวิจัยและพัฒนา รวมถึงการ ถายทอดองคความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมจาก อาจารย นักวิจยั ของมหาวิทยาลัยและหนวยงานภาครัฐแกสถานประกอบ การ เพือ่ ยกระดับขีดความสามารถในดานการผลิตและบริการ บูรณาการ การทํางานรวมกันระหวางสถาบันอุดมศึกษา หนวยงานภาครัฐ และสถาน ประกอบการ โดยมีลักษณะของโครงการที่สงเสริมและสนับสนุน ดังนี้ • การวิจัยและพัฒนา • การแกปญหาเชิงเทคนิคและวิศวกรรม • การวิเคราะหทดสอบและระบบมาตรฐาน • การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.) ลานนา ไดเล็งเห็น ถึงความสําคัญของนโยบายดังกลาวขางตนจึงไดเขารวมดําเนินโครงการ Talent Mobility โดยมีคณะวิศวกรรมศาสตรเปนหนวยงานหลักที่ได สนับสนุนและสงเสริมใหอาจารย บุคลากร ของมหาวิทยาลัย ไปรวมคิดคน วิจัย พัฒนา นวัตกรรมตางๆ รวมทั้งปรับปรุงกระบวนการผลิตของสถาน ประกอบการ เชื่อมโยงการทํางานและประสานงานขอมูลความตองการ ระหวางสถานประกอบการในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน และบุคลากร ดาน วทน. ของภาครัฐ จนนําไปสูความรวมมือระหวางทั้ง 2 ฝาย รวม ถึงติดตามและประเมินผลโครงการเปนระยะ เพื่อใหโครงการประสบผล สําเร็จและเปนการสรางความมั่นใจใหแกสถานประกอบการที่เขารวม โครงการ

34 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Social Engagement

ขั้นตอนการดําเนินโครงการ Talent Mobility แบงเปน 2 กรณี : 1.กรณียังไมเคยจับคูกันมากอน: สถานประกอบการและบุคลากร วทน.ยื่นใบสมัครแสดงความจํานงเพื่อเขารวมโครงการแกหนวยงานรวม ดําเนินงาน มทร.ลานนา เพื่อดําเนินการจับคู 2.กรณีจับคูกันมา: สถานประกอบการ และบุคลากร วทน. ยื่นใบ สมัครแกศูนยหนวยงานรวมดําเนินงานมทร.ลานนา ซึ่งทางหนวยงานรวมฯ จะเปนหนวยงานกลางในการดําเนินการเจรจา จัดทํารายละเอียดการดําเนิน โครงการ ยื่นขอเสนอโครงการ ตอ สวทน. และ สกอ. พรอมทั้งการขออนุมัติ ตอหนวยงานตนสังกัด ตลอดจนการจัดสรรคาชดเชยแกตนสังกัด การสนับสนุนงบประมาณโครงการ - สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) จายคาชดเชยใหแกสถาบันอุดมศึกษาตนสังกัด 1.5 เทาของเงินเดือนแตละเดือนไมเกิน 60,000 บาท/คน/เดือน คาสนับสนุน นักศึกษา

- สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จายคาตอบแทน สําหรับอาจารย/นักวิจัย วงเงินไมเกิน 400,000 บาท/โครงการ คาใชจายที่เกี่ยวของกับการวิจัย วงเงินไมเกิน 200,000 บาท รวมทั้งสิ้นไมเกิน 60,000 บาท/โครงการ

ปจจุบันการดําเนินการสงเสริมและสนับสนุนบุคลากร วทน. ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาใหออกไปปฏิบตั ิ งานในสถานประกอบการ ไดจัดกิจกรรม Road Show ภายใน มหาวิทยาลัย เพื่อประชาสัมพันธและสนับสนุนใหเกิดการเคลื่อน ยายบุคลากรใหไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการและมีการเขา สํารวจความตองการบุคลากร วทน. ในสถานประกอบการ กวา 60 แหง โดยสงขอเสนอโครงการ (proposal) ไปยัง สวทน. และ สกอ. เพื่อขอทุนสนับสนุนในการปฏิบัติงาน ซึ่งมีโครงการที่ได ผานการคัดเลือกทั้งหมด 13 โครงการ ซึ่งไดรับการสนับสนุนจาก สวทน. จํานวน 7 โครงการ และไดรับการสนับสนุนจาก สกอ. ทั้ง สิ้น 13 โครงการ โดยแตละโครงการมีรายละเอียด ดังนี้ 1. โครงการวิจ ัยและพัฒนาชุดทดลองดานวิศวกรรม ไฟฟ า โดย ผศ.สุรศักดิ์ อยูสวัสดิ์ รวมกับ บ.ออโต ไดแด็กติก จํากัด 2. โครงการวิจัยและพัฒนาหัวเจาะสําหรับงานระเบิด เหมืองถานหิน โดย อาจารยสรุ พิน พรมแดน รวมกับ หจก.แมเมาะ วิศวกรรมเหมืองแร 3. โครงการพัฒนาผิวเคลือบแข็งดวยเทคนิคการอารคส เปรยดวยลวดตางชนิดกัน โดย ดร. แมน ตุยแพร รวมกับ บริษัท แอดวานซ เซอรเฟส เทคโนโลยี จํากัด 4. โครงการศึกษาผลของพิกัดความเผื่อที่มีตอการสั่น สะเทือนของแขนหัวอานฮารดดิสกไดรฟ โดย อาจารย กุลทรัพย ผองศรีสุข รวมกับ บ.เบลตัน อินดัสเตรียล จํากัด 5. โครงการเครื่องบีบสกัดนํ้ามันแบบเย็นที่สามารถ ควบคุม อุณภูมิการสกัดได สําหรับผลิตภัณฑเพื่อการบริโภคโดย ดร.นํ้ามนต โชติวิศรุต รวมกับ หจก.เพื่อนพลังงาน 6. โครงการระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการธุรกิจบริการ ซอมบํารุงโดย ดร.ไพรพันธ ธนเลิศโศภิต รวมกับ บ. เซนเตอรไลน จํากัด 7. โครงการการศึกษากระบวนการผลิตนํา้ พริกหนุม และ หมูยอเพื่อพัฒนาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ โดย อาจารยชณิชา จินาการ รวมกับ โรงงานศุภลักษณ จ.ลําปาง 8. โครงการออกแบบผังกระบวนการผลิตและปรับปรุง เครื่ อ งจั ก รสํ า หรั บ ช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในกระบวนการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารโดย ผศ.เชษฐ อุ ท ธิ ยั ง ร ว มกั บ บริ ษั ท มาย เวียดนาม จํากัด 9. โครงการสรางวัสดุงานศิลปเพื่อวิสาหกิจชุมชนงาน ศิลปะและงานปน อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม โดย ผศ.ดร.ชินานาฏ วิทยาประภากร รวมกับ วิสาหกิจชุมชนงานศิลปะและงานปน อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม 10. โครงการเครื่องแยกตะกอนนํ้ามันงาดวยการเหวี่ยง ทีส่ ามารถควบคุมอุณหภูมไิ ดสาํ หรับผลิตภัณฑเพือ่ การบริโภค โดย ดร.นํ้ามนต โชติวิศรุตรวมกับ หจก.เพื่อนพลังงาน 11. โครงการการออกแบบและปรับปรุงเครื่องจักรเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตอาหารสัตวสาํ หรับแหลงทอง เทีย่ ว โดย ดร.ไกรลาศ ดอนชัย รวมกับ ปางชางแมแตง จ.เชียงใหม 12. โครงการระบบผลิตยางพาราแผนความชื้นตํ่า แบบ พลังงานรวม โดย อาจารยชญภพ บุญทาศรี รวมกับ สหกรณเจาของ สวนยางจํากัด 13. โครงการเครือ่ งอบชาเขียวใบหมอนสําหรับครัวเรือน โดย อาจารยวิโรจน ปงลังกา รวมกับ วิสาหกิจชุมชนปลูกหมอน เลี้ยงไหมครบวงจรบานสันธาตุ นิตยสาร ราชมงคลลานนา 35


Social Engagement

ตัวอยางโครงการพัฒนาผิวเคลือบแข็งดวยเทคนิคกา รอารคสเปรยดวยลวดตางชนิดกัน โดย ดร. แมน ตุยแพร รวมกับ บริษัท แอดวานซ เซอรเฟส เทคโนโลยี จํากัด บริษัท แอดวานซ เซอรเฟส เทคโนโลยี จํากัด เปน บริษัท รับทําผิวเคลือบ รับซอมพื้นผิวของชิ่นสวนเครื่องจักรในโร งานอุตสาหกรรม เชน ลูกรีด-ลูกกลิ้งขนาดใหญ ทอแลกเปลี่ยน ความรอน ทอสงนํ้ามันในทะเล เปนตน โดยการสรางผิวเคลือบ จากกระบวนการเชื่อมพอกแข็ง การบิดแบบแบริ่ง การพนเคลือบ ดวยความรอนแบบอารค การพนเคลือบแบบ HVOF การพนและ หลอม ปจจุบันสถานประกอบการประสบปญหาความลาชาใน การเลือกวัสดุทําผิวเคลือบ เนื่องจากวัสดุทําผิวเคลือบที่จําหนาย ในทองตลาดมีจาํ กัด อีกทัง้ ยังราคาสูง ทําใหลกู คาไมสามารถเลือก สินคาไดตามตองการ และปญหาในการทดสอบวัสดุผิวเคลือบ เพื่อนําเสนอคุณสมบัติตาง ๆ ของผิวเคลือบใหลูกคาตัดสินใจ โดยสถานประกอบการมีความตองการพัฒนาคุณสมบัติของผิว เคลือบแข็งดวยเทคนิคการอารคสเปรยโดยใชลวดพนตางชนิด กัน ตองการปรับปรุงปนพนเคลือบแบบอารคใหเหมาะสมกับ คุณสมบัติใหมของผิวเคลือบที่ถูกพัฒนา พรอมทั้งพัฒนาเครื่อง ทดสอบการสึกหรอเพื่อใชเปรียบเทียบผิวเคลือบ ดร. แมน ตุย แพร จึงไดเขารวมใหคาํ ปรึกษาและชีแ้ นะ แนวทางแกบริษัท แอดวานซ เซอรเฟส เทคโนโลยี จํากัด จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้น และจึงไดรวมกัน เสนอโครงการพัฒนาผิวเคลือบแข็งเทคนิคการอารคสเปรยดวย ลวดตางชนิดกันตอโครงการ Talent Mobility โดยใชความรูและ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีเขาไปชวยแกไขปญหา และถายทอดความรูใหแกบริษัท นอกจากนี้ยังมีการนํานักศึกษา จากมหาวิทยาลัยเข า ร ว มโครงการ เพื ่ อ เพิ ่ ม พู น ความรู  และเกิ ด การเรี ย นรู  จ ริ ง ในสถานประกอบการ เมื่อสิ้นสุดโครงการ บริษัท แอดวานซ เซอรเฟส เทคโนโลยี จํากัด จะสามารถตอบสนองความตองการของ ลูกคาไดมากขึ้น เนื่องจากจะมีคุณสมบัติของผิวเคลือบเปนตัว เลือกมากขึ้น โดยคุณสมบัติของผิวเคลือบแข็งที่ผลิตจากกา รอารคสเปรยดว ยลวดพนตางชนิดกันจะมีความแข็งสูง สามารถ ตานทานการสึกหรอและกัดกรอนไดดี การปรับปรุงปนพน แบบอารคสเปรยจะชวยใหสามารถใชกับลวดพนตางชนิดกัน ไดพรอมทั้งสามารถปรับความเร็วได และเครื่องทดสอบการ สึกหรอถูกออกแบบใหตรงตามมาตรฐาน ASTM G76 นอกจาก นี้บริษัทจะยังไดรับความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีการทําผิวเคลือบ ดวยความรอนสําหรับการซอมบํารุงในภาคอุตสาหกรรม เพื่อ ที่เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในกลุมธุรกิจเดียวกันได 36 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Social Engagement

Assit.Prof.Uthen Kumnan

Lecturers of the university bring innovation to help private empowerment

“The Project to promote scientific

personnel, technology and innovation in higher education institutions works to enhance the competitiveness of the private sector.” Because of the current increase in labor costs including the trend in the global market many multinational companies move production bases to other countries, so the manufacturing and service sectors in Thailand need to change their strategies. From the old to the new competitive price change, the use of innovation and difference are the selling points. By the modifications required, National Science Technology and Innovation Policy Office (STI) came into operation. Most of them are in universities and governmental research institutes, both lecturers and researchers. Therefore, National Science Technology and Innovation Policy Office (STI) and Office of the Higher Education Commission (OHEC) arranged “The Project of Encourages Science Personnels, Technology and Innovation in University for Working” to enhance the competitiveness of the private sector or “Talent Mobility Project.” This isto address the shortage of research personnel and increase the competitiveness of the private sector.The guideline of the project is to encourage personnelfrom higher education institutions to work full-time at least one day per week within a 3 to 24 month period.The purpose is to help businesses to increase their research and development potential, including the transfer of scientific knowledge, technology and innovation from teachers’ university researchers and government agencies in order to, raise the level of production and service capabilities, integration of collaboration between higher education institutions,

government agencies and establishments. The characteristics of the project are as follows: • Research and Development • Technical and Engineering Solutions. • Test Analysis and Standardization • Technology and Innovation Management Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) has seen the importance of the policies. Therefore, it participated in the Talent Mobility Project with The Faculty of Engineering as the main unit that supports นิตยสาร ราชมงคลลานนา 37


Social Engagement

and encourages the faculty staff of the university to co-conduct research and develop innovations, aswell as improving the manufacturing process of the enterprises which links work and data from enterprises in the Upper North and government personnel of National Science Technology and Innovation Policy Office (STI). So, this leads to the cooperation between the two parties which includes periodic monitoring and evaluation of the project in order to make the project successful and to ensure the participation of the enterprises. The Processes of Talent Mobility project are divided into 2 cases. 1.The case never has been matched before: Enterprise and STI Staff submit job applicants to RMUTL for the matching. 2.The case has been matched before: Enterprise and STI Staff submit job applicants to RMUTL which is a co-operative center in negotiations, preparation of details, implementation the project, submission of the proposals to National Science Technology and Innovation Policy Office (STI) and Office of the Higher Education Commission (MUA),an approver of the organizations, including allocation of their compensation National Science Technology and Innovation Policy Office (STI). Budget support Providing compensation to affiliated institutions of education about 1.5X of the salary with a limit of 60,000 baht/ person / month. Student Support Fees Office of the Higher Education Commission (MUA) Budget support

The compensation for lecturers or researchers is limit ed at 400,000 baht/project. The remuneration for lecturers and researchers is not more than 400,000 baht/project The costs associated with the research are no more than 200,000 baht. The total is not more than 60,000 baht/project. At present, science and technology and innovation staff of RMUTL are promoted and supported to work in the workplaces. The co-operation between Talent Mobility project and RMUTL is held via the road show at the University to promote and encourage staff transfer to work in enterprises. STI Staff in enterprises about 60 locations in 5 Educational service areas are surveyed.This includes the matches and proposal to request funding at STI and MUA. The result shows that 13 projects are qualified, which 7 project are supported by STI and 13 projects by MUA. 38 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Social Engagement

Each project contains the following details

- Research and Development Project on Electrical Engineerin Experiment Asst. Prof. Surasak YusawatandAuto Didactic Co., Ltd. - Research and development of drilling head for coal mine explosion Surapin Promdan and Mae Moh mining engineering partnership. - The hard coating development project with various types of arc spraying techniques Dr. Man Tuiphareand Advanced Surface Technology Co., Ltd. -A study on the effect of the tolerance of vibration on the arm of a hard disk drive Kunlasab Pongsrisuk and Belton Industrial Co., Ltd. - Cold-pressed oil extraction program that controls the extraction temperature. For consumer products Dr. Nammont Chotivisarut and Energy Friends Limited Partnership. - Project Management Information System for Business Management, Maintenance Services Prof. Dr. Praipan Thanalerdsopit and Centerline Co., Ltd. - Project to study the process of young chili paste and pork to improve quality and prolong shelf life Chanicha Jinakarn and Supaluck Factory, Lampang province. - Project plan, production process and improvement of machinery for enhancing the efficiency of production process of food products Asst. Chet Uthiyoung and My Vietnam Limited Company. - Art project for community arts and crafts, Chiang Dao district, Chiang Mai Asst. Prof. Dr. Chinanat Wittayaprapakorn, and Community Arts and Crafts Enterprise, Chiang Dao district, Chiang Mai province - Sesame Oil Separator Project with temperature controlled centrifuges for consumable products by Dr. Nammont Chotivisarut and Energy Friends Limited Partnership - Project to design and improve machinery to increase efficiency in animal feed production for tourism Prof. Dr. KrailasDonchaiandMae Taeng Elephant Camp, Chiang Mai province - Rubber Drywall System Joint Energy Model Professor Chayaphop Boontasri and rubber plantation cooperatives. - Mulberry Green Tea Machine for Households Professor Viroj Ponglanka and the community mulberry farming community integratedBan San That (Figure 08-18) Example of a hard surface development project with various types of wire spraying techniques Prof. Dr. Man Tuiphare and Advanced Surface Technology Co., Ltd. (Figure 20-23) Advance Surface Technology Co., Ltd. is a coating

company and industrial machine surface repairing such as rolls - large rollers, screw compressors, turbine blades, power generatorsheat exchanger tube, Oil pipelines and oil pipelines in the sea, etc. Customers can not select the product’ as needed. And the problem of coating test materials to provide the properties of the coating to the customer are decided by the workplace. There is a need to develop the properties of the hard coating by the spraying technique to improve the arc spray gun to suit the new features of coating and developing a wear tester to compare the coating. Faculty of Engineering, Industrial Engineering Program, RMUTL by Dr. Man Tuiphrae provide advice and guidance to Advanced Surface Technology Co., Ltd., Ayutthaya province to fix the problem. Then they jointly offered a project to develop hard coatings and wire spraying techniques on the Talent Mobility project, using their knowledge and expertise in technology to help solve problems and transfer knowledge to Company. Moreover, there are students from the university who attended the project to increase their knowledge and learning in the enterprises. At the end of the project, Advanced Surface Technology Co., Ltd. will be able to meet the needs of more customers, moreover, the company will also gain knowledge of thermal coating technology for maintenance in the industrial sector to enhance the competitiveness of the same business. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 39


STEM RMUTL

S cience T echnology E ngineering M athematics

STEM Education คืออะไร ทําไมเด็กไทยตองเรียน STEM Education อาจจะไมใชการศึกษาแนวใหมของ วงการศึกษาบานเรานัก และทีส่ าํ คัญในแผนพัฒนาการศึกษา ของไทยระบุไวอยางชัดเจนวา ... หลายคนอาจจะเคยไดยนิ คํา นีม้ าแตอาจจะไมรวู า คําวา STEM ยอมาจากอะไรและมีทมี่ าจาก ไหน ซึ่งเราจะพาไปหาคําตอบกันกับทีม STEM RMUTL ผศ.ดร.จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน หัวหนาทีมโครงการสะเต็มศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา STEM Rmutl เปดเผยวา “แนวคิดเรื่อง STEM Education หรืออาจจะเขียนทับศัพทเปน สะเต็ม ศึกษา นั้น เริ่มตนยอนกลับไปเมื่อป พ.ศ. 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึง่ พระองคทรงมีพระราชดําริ อยากจะใหการ ศึกษาของไทยมีการพัฒนาโดยใหเด็กไทยไดแสดงออกมากขึ้น กลาคิด กลาทํา เหมือนกับเด็กในตางประเทศ พระองคจึงไดจัดใหมีการประชุม ที่เรียกวา โตะกลม ไทย-สหรัฐฯ จัดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในครัง้ นัน้ มีผทู รงคุณวุฒใิ นวงการศึกษาเขารวมประชุมอาทิ คุณหญิง สุมณฑา พรหมบุญ อดีตอธิการบดี มศว.ประสานมิตร ดร.ไพรัช ธัชยพงษ อดีต ผอ.สวทช โดยเปนการแลกเปลีย่ นเรียนรู Show &Share ความแตก ตางของสองประเทศ และบรรจุเรื่องสะเต็มศึกษา ไวในแผนพัฒนาการ ศึกษาของไทย และในป พ.ศ. 2557 สะเต็มศึกษาเปนที่รูจักในวงการ ศึกษาไทยอยางเปนรูปธรรม เนื่องจากสภานิติบัญญัติแหงชาติไดบรรจุ ใหเปนวาระการศึกษาแหงชาติ โดยการศึกษาของไทยตองใชรูปแบบสะ เต็มศึกษา ในการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย มทร.ลานนา นําโดย รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี ไดเล็งเห็นความสําคัญของสะ เต็มศึกษา จึงไดจดั ตัง้ คณะทํางานโครงการสะเต็มศึกษา และขับเคลือ่ นใน เรือ่ งนีโ้ ดยตรง ถือวาเปนหนวยงานแรกๆของประเทศทีเ่ ริม่ นํารูปแบบสะ

40 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

โดย อัคคสัจจา ดวงสุภาสิญจ, อภิญญา พูลทรัพย และ ทีมงาน STEM Rmutl

เต็มศึกษามาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยและสราง ความรวมมือกับกลุมโรงเรียน มัธยมศึกษาตอนปลายและวิทยาลัยเทคนิค ที่ผลิตตัวปอนใหกับมหาวิทยาลัย โดยไดรับความรวมมือจาก บริษัท เชฟ รอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด และสถาบันคีนันแหงเอเชีย จน เกิดเปนศูนยความรวมมือขึ้นในมหาวิทยาลัยฯ” STEM เปนตัวอักษรยอที่มาจาก 4 คําของศาสตรตางๆ มารวม กันไดแก S มาจากคําวา Science, T มาจากคําวา Technology, E มา จากคําวา engineering และ M มาจากคําวา Mathematics โดยเปนการ บูรณาการศาสตรทั้ง 4 ศาสตรเขาดวยกันผานกระบวนการเรียนการสอน ที่สามารถเชื่อมโยงความรูสูสถานการณในชีวิตจริง โดยทาง ทีม STEM Rmutl จะใชโจทยจากภาคอุตสาหกรรมมาเปนเกณฑ หลายคนมักจะมีคาํ ถามวา เราเรียนในรูปแบบ สะเต็มศึกษา ไป เพือ่ อะไร การเรียนในรูปแบบสะเต็มศึกษานัน้ จะเปนการตอบโจทยของการ พัฒนาทักษะในการศึกษาของศตวรรษที่ 21 โดยเปาหมายสูงสุดของการ ศึกษาไทยคือ การสรางทักษะแกเยาวชนใหกา วทันตอการเปลีย่ นแปลงของ โลก รูจักการคนควาหาความรู รูปธรรมที่เห็นชัดเจนคือ เมื่อกอนเราเรียน


STEM RMUTL

ในรูปแบบที่ทองจํา ลองผิดลองถูกแลวไมคนหาเหตุผลวาทําไม จึงเปน แบบนั้น ทําไมจึงมีคําถามแบบนี้ แตเมื่อไดเรียนในรูปแบบ สะเต็มศึกษา แลว เราจะเริ่มคิดวาทําไม อยางไร และพยายามคนหาคําตอบของสิ่งๆ นั้น และหนึ่งประเด็นสําคัญคือ การเรียนที่คูขนานไปพรอมกับการกาว เดินของเทคโนโลยีทไี่ มหยุดนิง่ ดังนัน้ การเสริมสรางทักษะใหกบั เด็กและ เยาวชนใหมีทักษะ มีความรู สามารถทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกจึง เปนสิง่ สําคัญ การสอนในรูปแบบสะเต็มศึกษานัน้ เปนการสอนใหเยาวชน ไดรูจักตนเอง รูจักคิดอยางเปนระบบ รูจักคนควาหาความรูจากแหลง ความรูที่ดี ดังนั้น กระบวนการเหลานี้ควรสงเสริมใหเกิดขึ้นตั้งแตการ ศึกษาขั้นเริ่มตนของประเทศไทย เดิมเราสอนแบบใหทําตาม แตอยาก ใหเกิดการจินตนาการ อยากใหเด็กมีความคิดเปนของตนเองซึง่ การศึกษา ในยุคเดิมนั้นถือวาดีอยูแลวเพียงแตไมเหมาะกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป สิ่ง หนึ่งที่จะชวยในการพัฒนาคือ ตองเชื่อในสิ่งใหม สถาบันการศึกษาใด

ที่สามารถปรับเปลี่ยนไดเร็วก็เกิดความเปนรูปธรรมชัดเจน ตัวอยางเชน การศึกษาในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษา ครู 1 คนตอง รับผิดชอบการสอนนักเรียน 6 ชั้นเรียน ถามวาครูคนนั้น จะสอนอยางไร ถาเราไมนํากระบวนการเรียนรูมาใชโดยครูเปนพี่เลี้ยง การเรียนรูที่เขาใจ ถึงกระบวนการทีเ่ ปนรูปแบบทีเ่ ปนการบูรณาการทําใหเราใชศกั ยภาพของ ครูได เราจะทําอยางไรใหเกิดการสอนการเพิม่ ศักยภาพของครูผสู อนถือ เปนสิง่ สําคัญอยางยิง่ ซึง่ บุคลากรกลุม นีจ้ ะเปนเสมือนพีเ่ ลีย้ งทีจ่ ะคอยให คําแนะนํา ดร.จัตตุฤทธิ์ ไดกลาวเพิ่มเติม “เด็ ก ไทยในป จ จุ บั น มี ค วามพร อ มสู ง เพราะเติ บ โตมา พรอมกับเทคโนโลยี แตคนที่ใหความรูตองพัฒนาตนเอง เรียนรูกับ เทคโนโลยีหรือเรียนรูจากกลไกตางๆ การเรียนในยุคสะเต็มศึกษาคนที่ จะเปนครู จึงสามารถจะเปนใครก็ไดเพราะการเรียนรูเ กิดขึน้ ในทุกๆที”่ ดร.จัตตุฤทธิ์กลาวปดทาย

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 41


STEM RMUTL

ดร.สุ วิ ช ช ธนะศานวรคุ ณ หนึ่งในทีม STEM Rmutl กลาววา “การนํารูปแบบ สะเต็มศึกษา มาปรับใชในการสอนของ มทร.ล า นนา ก อ นอื่ น ครู ผู ส อนต อ ง เข า ใจในระบบของสะเต็ ม ศึ ก ษา ก อ น ว า สะเต็ ม ศึ ก ษานั้ น เป น เครื่องมือชวยในการจัดการ เรี ย นการสอนแบบบู ร ณา การในสวนของผูสอนนั้น จะวิเคราะหเนื้อหาของ รายวิ ช าที่ รั บ ผิ ด ชอบ แล ว สร า งความเชื่ อ ม โยงเนื้ อ หาที่ ส ามารถ ส ง ต อ องค ค วามรู ไ ปยั ง รายวิชาอื่นตอไปได ซึ่ง ในทางปฏิบัตินั้นสามารถ ทําไดหลายแนวทาง อาทิ ศึกษาดวยตัวเองแลวขอคํา แนะนําจากผูสอนทานอื่นๆ หรือ การจัดการประชุมแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกับผูสอน ในรายวิชาที่มีเนื้อหาสอดคลอง กัน เปนตน ที่สําคัญตองสามารถ วิเคราะหเนื้อของรายวิชาวาตองสอน อะไรบาง เชน การเรียนเรื่องไฟฟากระแส สลับตองใชวิชาอะไรบางที่เรียน ตองวิเคราะหเนื้อหา ทั้งหมดวาการสงตอความรูในองคความรูเดียวกันสามารถสงตอ ถึงกันไดอยางไร โดยเราตองสราง Module เพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาเขาหา กัน ซึ่งอาจจะประกอบไปดวยวิชาฟสิกซ วงจรไฟฟา แคลคูลัส และ สถิติ ซึ่งครูผูสอนก็สามารถบูรณาการรวมกันในการออกแบบวิธีการสอน เปน ชุดความรู (module) หรือสามารถถอดออกมาเปนกิจกรรมหรือชิ้น งานที่สามารถตอบโจทยองคความรูสิ่งที่กําลังเรียนได เด็กอาจจะเรียนรูใน การทํากิจกรรมกอน แลวจึงเขาสูเนื้อหา หรือเรียนเนื้อหากอน แลวคอยลง กิจกรรม ก็ขึ้นอยูกับครูผูสอนที่จะตองมารวมกันบูรณาการ นอกจากนั้น แลว สะเต็มศึกษา ยังเปนการจัดการเรียน การสอนที่มุงเนนพัฒนาการ ทางดาน 1. Critical thinking 2. Creative thinking 3. Collaboration 4. Communication ของผูเรียน ที่ผูสอนสามารถสอดแทรกใหผูเรียนได ในระหวางกระบวนการเรียนรู รศ.ดร.ธี ร ะศั ก ดิ์ อุ รั จ นานนท กล า วเสริ ม ว า เราจะต อ ง สลายศาสตรตางๆ แลวนํามาบูรณาการการสอนแบบเชื่อมตอกัน เชน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร โดยสิ่งที่เรียนนั้นวิทยาศาสตรนําไปใช อยางไร คณิตศาสตรนาํ ไปใชอยางไร ในการบูรณาการภายในสาขาวิชานัน้ ๆ นัน่ หมายถึงวา เวลาเรียนก็เรียนในเรือ่ งเดียวกัน โดยแตละศาสตรยงั คงเดิม อยู แตตอ งสามารถนําความรูน นั้ ไปใชจริง สวนวิชาไหนทีส่ าขานัน้ ไมจาํ เปน ตองใชเลยก็ไมตองเรียน เพราะ สะเต็มศึกษา มีแนวคิดวา “สิ่งที่สอนตอง ไดใช สิง่ ทีใ่ ชตอ งไดสอน” สิง่ นีจ้ ะเปนหลักสําคัญของการศึกษาในรูปแบบ ใหม แตเราจะทิง้ การศึกษาในแบบเดิมนัน้ ก็ไมไดเพราะเราอยูใ นชวงของการ เริม่ ตนเปลีย่ นแปลงซึง่ แนวคิดแบบนีส้ ามารถนําไปใชไดทงั้ ในระดับประถม ศึกษาและมัธยมศึกษา 42 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


STEM RMUTL

“การสรางความเขาใจของครูผูสอนแบบ Teaching team โดย การนําเอาประสบการณของครูผูสอนที่มีความถนัดในรายวิชานั้นๆ เขามาบูรณการรวมกัน ก็เปนสิ่งสําคัญ เพราะจะเกิดเปนทิศทาง เดียวกันในการสอน ประเด็นแรกคือ เราตองรวมพัฒนาครูผูสอน ใหเขาใจในระบบของสะเต็มศึกษา เกิดเปนการเรียนแบบ Active Learning ประเด็นที่สองคือ การสรางความตระหนักในรูปแบบ Active Learning ตองเขาใจวา ในยุคปจจุบันนั้นคุณลักษณะที่พึง ประสงคของสถานประกอบการหรือสวนงานที่จะรองรับอาชีพใน อนาคตนั้น มีความตองการแบบไหนหรือตองการใหมีความรูแบบ ไหน สามารถทําใหเด็กมองเห็นภาพอาชีพในอนาคตของเด็ก ไดอยางชัดเจน โดยทีมสะเต็มศึกษา มทร.ลานนาไดทําการ ถอดเอาคุณลักษณะเฉพาะของแตละอาชีพไวและบูรณาการ 4 ศาสตรเขาดวยกันเพื่อใหเด็กไดเห็นเปาหมายในชีวิตไดอยาง ชัดเจนมากขึ้น ตัวอยางที่ผานมาเราถอดทั้งหมด 4 อาชีพไดแก : 1.ยานยนตชื่อกิจกรรมวา Automatic part เด็กจะเรียน รูชิ้นสวนและมีการปรับแตงชิ้นสวนตางๆของเครื่องยนต 2. Smart Farm Smart Home เด็ ก จะได เรี ย น รู เ ทคโนโลยี ใ นอนาคตนั้ น เป น อย า งไร การศึ ก ษา จะเป น การศึ ก ษาแบบไร พ รมแดน ศึ ก ษาผ า น ระบบออนไลน หรื อ การนํ า ไปใช ใ นภาคการเกษตร 3. Food อาหารปลอดภั ย เด็ ก จะได เรี ย นรู ก ระบวนการ ผ ลิ ต อ า ห า ร ที่ ป ล อ ด ภั ย สํ า ห รั บ ผู บ ริ โ ภ ค ใ น อ น า ค ต 4. Engineering โดยกิจกรรม Smart Dam คือการเรียนรูรูปแบบ สรางเขื่อนซึ่งสามารถมองเห็นภาพของศาสตรไดครบทุกศาสตร ทุกสาขา” อาจารยวิสูตร อาสนวิจิตร ไดกลาวเสริมทิ้งทาย ในการดําเนินงานของทีมสะเต็มศึกษา มทร.ลานนา จะมีการดําเนิน งานใน 3 ระดับ ระดับแรก คือการสรางความตระหนักใหเห็นความ สําคัญของการเรียนแบบสะเต็มศึกษา ระดับที่สอง คือ การบูรณาการ หลักสูตรและประเมินผล และระดับที่สาม คือ การสรางทีมขยายผลหรือ Coaching โดยการถอดบทเรียนเปนรูปแบบของตนเองเปนคูมือของครูใน รูปแบบของสถานศึกษานัน้ ๆ ซึง่ วันนีเ้ ราจะเห็นวามีหลายๆโรงเรียน หลายๆ วิทยาลัยทีเ่ ริม่ ทีจ่ ะทําความเขาใจและใหทมี สะเต็มศึกษา มทร.ลานนา เขาไป รวมเปนพี่เลี้ยง โดยฉบับหนาเราจะมาลงลึกถึงตัวอยางสถานศึกษาที่เริ่ม ดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษาที่เปนจริง เปนจัง ไมใช แคการอบรมใหความรูแลวแยกยายกันไป

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 43


STEM RMUTL

W hat is STEM education and why Thai students must learn it. STEM Education isn’t a new education system in our country and it is an important key of developing in Thai education plan. It is claimed that many people might hear this word but may not know what STEM stands for and where it’s from? So we are going to find the answer with RMUTL STEM team together. Asst.Prof.Dr.Jutturit thongpron head of STEM study project team at Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) said the concept of STEM education or transliteration to STEM study, at first, went back to 2009 when Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn gave speech whishing Thailand education to be developed by encouraging Thai students to show their ability more, dare to think, and dare to do like students in other countries. Her royal Highness held a round table meeting “ThailandUnited States of America” for the first time in the United States. So on occasion, many experts in education attended the meeting. By sharing and learning the difference of the two countries and starting assign this study in Thailand education development plan. In 2013, STEM study is well-known in Thai education by concretely, because The National Legislative Assembly has assign in National education agenda that Thai education requires STEM study to develop Thai education by schools and educational institutions to apply it in different ways. RMUTL is a first institution of Thailand has applied STEM education to improve teaching and learning in the university with a collaboration of The Chevron cooperation and The Kenan 44 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

Institute Asia, established as a center of cooperation in the university. “STEM” is an acronym, derived from 4 words in each science included which are S is from Science, T from Technology, T from Technology, E from Engineering and M from Mathematic by integrated each science together through the process of learning and teaching that used practical industrial as criteria. Many people often ask why we have to learn in the “STEM” system. STEM is the answer for educational skill in the 21st century. Therefore, the ultimate goal of Thai education is to improve the skills for the youth to keep a breast of changing, and searching for knowledge. In the past we learned in the form of memorizing, tried, and made error but didn’t find the cause of problem why it happened. However when we study in the STEM system we study to figure out why that happened. Trying to find the answer is another key issue a parallel study along with the development of technology that never stop. Therefore, he reinforcement of skill for the youth to give an ability to change with the time is important. Teaching and STEM is teaching to know oneself, systematic of thinking, and study from the good source. So these methods should promote in primary education in Thailand. In the past we taught them to follow but we need them to imagine, have their own ideas the previous education is good but not suitable at present. One thing which help


STEM RMUTL

to improve is to “trust to new thing”. For instance the education in the lack area which lack educational persons with only 1 teacher hwo has to teach classes. How the teacher does teach if we don’t bring the learning process by using the teacher as a mentor. This learning to understand the process which is integration. Thia help tha teachers use their ability. “How can we do to improve have ability of teacher?” this is important. this group of people is like a mentor to give an advice.

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 45


STEM RMUTL

“Thai students nowadays are ready because they grow up with technology. However educator must improve themselves by learning new technology or processes. A study in a STEM class instructor can be anyone because learning can occur everywhere and every time” Dr. Suvit Thanasanvorakun, one of the RMUTL STEM team member said that bringing the STEM education to apply in teaching at RMUTL. First of all, an instructor needs to understand the STEM education system. Moreover, the lecturer must be able to analyze a content of the course for teaching; For example, subject that needs to bedstudy in an alternating current course! The instructor must be able to analyze all content that how knowledge transfer can be forwarded to each other? Specifically, we need to build a model to link the content together, which may include physics, electric circuits, calculus, and statistics. The lecturer can integrate together to design teaching methods and create activities or products to meet the knowledge studied. Students may learn by the activity first and then access the content. After that, let them do the activity. It depends on the instructors to share their experience. 46 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

A s s o c . P r o f . D r . Te e r a s a k Urajanannon said that we must to gather subjects and integrat them into connected teaching, which are Mathematics and Science on how studying science and math can apply in integrating within the program. That means same the topic, and the same knowledge. Nevertheless, the student must be able to apply the knowledge in their real life. If course is not necessary, students needn’t to study it because STEM have concept that “What taught to be used, what used to be taught” This is the significance of the new education, but we must not leave the traditional education because we are at the beginning of the change, which can be applied in primary and secondary education. Creating the understanding of instructors in the teaching team by bringing the experience of lecturers who have expertise in the particular course to come into integrate together. It is very important because it will be the same way in teaching. The first point is we need to develop instructor to understand the STEM education system and Active Learning. The second point is creating an awareness in an Active Learning format. At present, it required characteristics of enterprises or segment to support the careers in the future to require the type of knowledge that can help students conceive


STEM RMUTL

the future. The RMUTL STEM team have divided the specific characteristics of each career into 4 subjects for guiding student’s goal. We have divided into 4 careers which are 1. Automatic part, the student can learn about a part of engine and customization of various parts of the engine. 2. Smart Farm Smart Home, students can learn about the future technology, online education that can apply to agriculture. 3. Food, the student can study the production of safe food for consumers in the future. 4. Engineering, Smart Dam activity is the study of building the dam that can see a picture of all majors and subjects. Mr.Visut Asanavijit said. In the operation of STEM education RMUTL team, there are 3 levels of operation. Firstly, creating the awareness to understand the significant of STEM education. Secondly, integrating the curriculum and assessment. Finally, creating the team or coaching by taking lessons into the format of instructor in each school. Many universities have understood STEM education. Furthermore, RMUTL STEM team participated as a mentor. By the next issue, we will go deep down to the example school that conducts the activity in studying of STEM education. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 47


Inter View

การคิดเชิง

ออกแบบ Learning Express เรียนรูจากสถานที่จริง (ปที่สอง) โดย อาจารยเฉลิมชัย พาราสุข

Learning Express คืออะไร?

Learning express หรือเรียกสัน้ ๆวา LeX เปนโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิ การในลักษณะสหวิชาการ (Multi-Disciplinary) เพื่อสรางนวัตกรรม แกชุมชน (Social Innovation) โดยใชทักษะกระบวนการคิดเชิง ออกแบบ (Decide thinking) โดยทาง Singapore Polytechnic College เปดโอกาสใหนักศึกษาไดเรียนรูทักษะใหมโดยการเรียนรูนอก หองเรียนและสรางมิตรภาพกับเพื่อนตางแดน ซึ่งทางทีมงานไดรวมกัน สงเสริมวิธีการสรางกระบวนการคิดออกแบบดานนวัตกรรมทางสังคม เพื่อชวยเหลือชุมชน โดยมุงมั่นที่จะตอบสนองความตองการของชุมชน ในทองถิ่นและยกระดับความเปนอยูใหดีขึ้น Learning Express เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหนักศึกษา ตางชาติไดแก ประเทศเวียดนาม ประเทศฟลิปปนส ประเทศสิงคโปร ประเทศญี่ปุน รวมถึงนักศึกษาของประเทศไทย คือ มทร.ลานนา ได มีโอกาสเขารวมกิจกรรม ที่มุงเนนสรางกระบวนการคิด (Decide thinking) หรือเรียกวา การคิดเชิงออกแบบ ซึ่งเปนกระบวนการสํารวจ ความตองการของชุมชนแบบเชิงลึก โดยความรวมมือของ Singapore Polytechnic College และ มทร.ลานนาจัดขึน้ เปนครัง้ ที่ 2 ณ ประเทศ สิงคโปร ดร.นพดล มณีเฑียร หัวหนาฝายวิเทศนสัมพันธ คณะ วิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ผูควบคุมโครงการ Learning Express กลาววา “ โครงการ Learning Express” เปนโครงการที่ทาง มทร. ลานนา รวมมือกับทาง Singapore Polytechnic College รวม กันออกแบบกิจกรรมนี้ขึ้นโดยตองการมุงเนนใหเกิดกระบวนการคิด เปนสําคัญ รวมถึงมีการสอดแทรกการเรียนรูทางวัฒนธรรมของแตละ ประเทศผนวกเขากับกิจกรรม ซึ่งไดจัดมาแลวเปนเปนปที่ 2 และเมื่อ เดือนมีนาคมทีผ่ า นมา มทร.ลานนาไดเปนเจาภาพจัดกิจกรรมนีข้ นึ้ โดยมี ตัวแทนจาก Singapore Polytechnic ประเทศสิงคโปร และ Kanaza-

48 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

wa Institute of Technology ประเทศญี่ปุน เขารวมกิจกรรมกวา 80 คน ซึ่งถือวาโครงการ LeX เปนกิจกรรมที่ไดสรางแนวคิดใหแก นักศึกษาไดเรียนรูก ระบวนการคิดอยางเปนระบบจากโจทยทมี่ มี าจาก ชุมชน และการทีเ่ ด็กไดแลกเปลีย่ นแนวคิด ความรูแ กกนั ก็จะชวยใหได เรียนรูถ งึ ทักษะและการศึกษาของแตละประเทศนําไปสูก ารสรางโมเดล ตนแบบทางความคิดเพื่อการพัฒนาทองถิ่นตอไป ดร.นพดล กลาวตออีกวา สําหรับกิจกรรม LeX ที่จัดขึ้น ในระหวางวันที่ 4 – 24 มิถุนายน 2560 ณ Singapore Polytechnic College ที่ประเทศสิงคโปร ทางมทร.ลานนา ของเราไดคัดเลือก ตัวแทนนักศึกษา ที่เขารวมโครงการ จํานวน 23 คน ซึ่งก็ถือวาเปนป แรกที่ทาง มทร.ลานนา ไดเขารวมกิจกรรมที่ประเทศสิงคโปร

หลักเกณฑ์ในการคัดเลือก

“ป แรกของการนํ า นั ก ศึ ก ษาไปที่ ป ระเทศสิ ง คโปร ซึ่ ง มี นั ก ศึ ก ษาจํ า นวนมากที่ ส นใจอยากเข า ร ว มโครงการ เราจึ ง ได คั ด เลื อ กนั ก ศึ ก ษาโดยวิ ธี ก ารจั ด กิ จ กรรมที่ ใ ห นั ก ศึ ก ษาได เรี ย นรู


Inter View

นักศึกษาทีไ่ ด้มโี อกาสไปเข้าร่วมกิจกรรม Learning Express

นายเอกภพ รัตนสุวรรณสิริ (ฟลุค) นักศึกษาสาขาระบบ สารสนเทศทางคอมพิวเตอร ชั้นปที่ 1 คณะบริหารธุระกิจและ ศิลปศาสตร กลาววา “ ทางมหาวิทยาลัยมีการจัดการเตรียมความ พรอมภาษาอังกฤษเปนเวลาสองสัปดาห ในการฝกทักษะภาษา อังกฤษเพือ่ การนําไปใช เพราะในปจจุบนั ภาษาอังกฤษถือเปนภาษา ทีส่ าํ คัญและถูกนําไปใชในการสือ่ สารในใชชวี ติ ประจําวันบอยมาก”

คาดหวังอะไรกับโครงการนี้บ้าง?

นางสาวพุทธิดา แสนใจบาล นักศึกษาสาขาสถาปตยกรรม ชั้นปที่ 4 คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร กลาววา “อยากจะทําหนาที่นี้ใหดีที่สุด เพราะการที่เราไดไปรวมกิจกรรม ครั้งนี้ถือไดวาเราเปนตัวแทนของประเทศไทย และจะไดถายทอด วัฒนธรรมที่ดีงามของเราใหแกเพื่อนๆนักศึกษาในแถบอาเซียน และสิ่งที่คาดหวังสําหรับกิจกรรมนี้ก็คือเราจะไดพัฒนาทักษะดาน ภาษาอังกฤษ เชน การพูด การสื่อสารโดยใชภาษาอังกฤษ และ พัฒนาการความคิดในการฝกทักษะความคิดเชิงสรางสรรคและวิธี การแกไขปญหา

อยากจะฝากอะไรถึงคนที่สนใจที่อยากจะเข้าร่วมโครงการนี้?

เปนเวลาหนึ่งวัน เพื่อจะสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีสวนรวม และการมีมนุษยสัมพันธที่ดีภายในกลุม รวมถึงทักษะการใชภาษาอังกฤษ ซึ่งกําหนดวานักศึกษาจะตองมีผลการทดสอบ TOEIC ไมนอยกวา 500 คะแนน”สําหรับงบประมาณในการสนับสนุนกิจกรรมครั้งนี้ทางกลุม “Temasek Foundation International” ไดสนับสนุนงบประมาณ ใหกับทาง Singapore Polytechnic College ในอัตรา 50,000 บาทตอ นักศึกษา 1 คนเพื่อใชสําหรับการเขารวมกิจกรรม

นาย ชยพล แสงบุญ (ไมค) นักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารสากลชั้นปที่ 3 คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร กลาววา“อยากจะฝากถึงเพือ่ นๆชาว มทร.ลานนา วาอยาทิง้ โอกาส ทีห่ ายากแบบนี้ และอยาคิดวาเรานัน้ ไมเกงทางดานภาษาแลวจะไม สามารถเขารวมโครงการนี้ได เพราะโครงการนี้เปนโครงการที่เนน การฝกทักษะดานกระบวนการคิดเชิงออกแบบและการเปนผูนํา (Leadership) สวนในดานภาษา ทุกคนสามารถฝกฝนไดจึงไมใช เรื่องยากที่จะเขามาเปนสวนหนึ่งของกิจกรรม” Learning Express เปนโครงการความรวมมือระหวาง ประเทศ ที่เกิดกระบวนการเรียนรูอยางเปนระบบ และที่สําคัญคือ การไดมโี อกาสเรียนรูว ฒ ั นธรรมของคนในภูมภิ าค เพือ่ นํามาปรับใช ในการเรียนรูอ ยางเปนระบบ ใชในการเรียนการสอนและการทํางาน ในอนาคต เปนการเปดประสบการณที่ไมไดมีอยูในตํารา เปนการ เรียนจากประสบการณที่อยูในโลกกวาง และจะไดนํามาถายทอด ใหเกิดประโยชนตอการศึกษาตอไป สําหรับผูที่สนใจสามารถติดตามขาวสารเพิ่มเติมที่ไดที่ งานวิเทศสัมพันธ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา หรือ ทางwww.facebook.com/oirrmutl นิตยสาร ราชมงคลลานนา 49


Inter View

“Learning Express” Design Thinking Learning From Real Situation ( Second Year )

What is Learning Express?

Learning Express (LeX) is a training program operation in multidisciplinary for creating a social innovation by using a design thinking skill. Singapore Polytechnic College provides an opportunity for students to learn new skills, making a new friend and finding oneself by learning outside the classroom. The staff have promoted a method of design thinking and social innovation for echancing the community. The purpose is to satisfy the demand of the local community. Learning Express is an activity which gives an opportunity for international students: for instance from Vietnam, Philippines, Singapore, Japan, etc. RMUTL students attend the programme that focuses on the design thinking method or creative thinking conducting a deep survey in the demand of the local community. In this year, this is a second time that Singapore Polytechnic college collaborates with RMUTL held the Learning Express programme at Singapore. Dr. Noppadon Maneetien, head of Office of International Relations, Faculty of Engineering at RMUTL, a person in charge of Learning Express programme, said that Learning express is a programme that RMUTL collaborate with Singapore Polytechnic College. This programme aims at the process of design thinking by inserting learning of culture in each country. The program has been held for 2 years. This year, there are 23 RMUTL students in LeX programme. It will be organized at Singapore Polytechnic College during June 4-24, 2017 in Singapore. This is the first time of RMUTL student to attend this programme aboard. 50 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Inter View

What are the criteria for selecting the participant?

This is the first time that we take the students to Singapore. Therefore, there are many students who want to join this programme. We selected the participant by doing full day activities to observe the cooperations and relationships of the participants. Moreover, we look for the participants who were good at English. Participant need at least 500 TOEIC score to attend this programme

How does the university support this programme?

Temasek Foundation International provided the budget to participants for 50,000 baht for each person.

How do the participant prepare for this programme?

Mr. Aekaphop Rattanasuwansiri (Fluk), 1st year student of Computer Information System, said that the program will conduct a 2 weeks English course to improve student’s English skills because English is an important language used in communication.

What do you expect from this programme?

Miss. Putthida Sanjaiban, 4 th year student of Architecture Program, said that we will do our best because we are the representatives of the country. We expect that we will improve English communication, design thinking and problem-solving skills.

Do you have anything to say for those who want to join this programme?

Mr. Chayaphon Saengbun (Mike), 3rd year student of English for International Communication program said everyone in RMUTL, that it’s hard to find the opportunity like this. You don’t need to be good at English because this programme emphasizes in design thinking and being leadership. English is not difficult to practice. Moreover, everyone can be a part of this programme. Learning Express is the international collaboration programme that provides a learning process. Furthermore, there is an opportunity in studying the culture of people in the region for applying in the learning process, studying and teaching for the future. This is an experience that cannot find in a book and learning from the world experience. This programme will be beneficial to the future study. For more information, please contact us at Office of International Relations of Rajamangala University of Technology Lanna (www.facebook.com/oirrmutl) นิตยสาร ราชมงคลลานนา 51


Technology for Life

TM

ICDL Thailand

ICDL หนึ ง ่ ในกลไกขั บ เคลื อ ่ นไทยแลนด 4.0 การพัฒนามาตรฐานการใชงานคอมพิวเตอรของอาจารย บุคลากร และ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา

โดย ออมทรัพย อินกองงาม สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ : arit.rmutl.ac.th

ปจจุบันโลกกําลังเขาสูยุคของระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลที่ เทคโนโลยีไมเปนเพียงแคเครื่องมือในการสนับสนุนการทํางาน แตยังเปน เครื่องมือสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงติดตอสื่อสาร การคา การใหบริการและกระบวนปฏิสัมพันธทางสังคมอื่นๆ ใหมีความ สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ตามนโยบายของภาครัฐไดกําหนดแผนยุทธศาสตรของชาติเพื่อ ขับเคลือ่ นประเทศไทยไปสูก ารพัฒนาตามนโยบาย Thailand 4.0 โดยมีเปา หมายใหประเทศสามารถสรางสรรค และใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัล อยางเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน นวัตกรรม ขอมูล ทุน มนุษยและทรัพยากรทุกภาคสวน เพือ่ การขับเคลือ่ นและพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศไปสูค วามมัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน โดยมีแนวยุทธศาสตรในการ พัฒนาขอที่ 5 คือ การพัฒนากําลังคนเขาสูยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล เปาหมายในการพัฒนาทุนมนุษยสูยุคดิจิทัล ดวยการเตรียมความพรอมให บุคลากรทุกกลุม มีความรูและทักษะที่เหมาะสมตอการดําเนินชีวิตและการ ประกอบอาชีพในยุคดิจิทัล ประชาชนมีความสามารถในการพัฒนาและ ใชสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพมีความตระหนัก ความรู ความเขาใจ มีทักษะการใชเทคโนโลยีดิจิทัลใหเกิดประโยชนและสรางสรรค (Digital Literacy) จากนโยบายของภาครัฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.) ลานนา โดยสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดจัดใหมีโครงการ พัฒนามาตรฐานการใชงานคอมพิวเตอรของอาจารย บุคลากร และนัก ศึกษามทร.ลานนา ขึ้น ซึ่งโครงการดังกลาวผูเขารับการอบรมจะไดรับการ ฝกทักษะการใชงานคอมพิวเตอรในรูปของหลักสูตรภาษาอังกฤษ โดยใช มาตรฐานการใชงานคอมพิวเตอรมาตรฐานสากล ICDL (The International Computer Driving License) มาเปนเกณฑในการวัดระดับความรู ในปการ ศึกษา 2559 ที่ผานมา มีอาจารยและบุคลากรของมหาวิทยาลัยไดผานการ

52 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

ทดสอบและรับรองมาตรฐานในหลักสูตร Base Module กวา 200 คน และหลักสูตรผูฝกสอน (Train the Trainer) ICDL 2016 เปน จํานวนมากกวา 40 คน ซึง่ เปนสถาบันการศึกษารายแรกของประเทศ ทีไ่ ดรบั การรับรองมาตรฐานในหลักสูตร ICDL Trainer 2016 อีกดวย นอกจากนี้สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศยัง ไดจดั เนือ้ หาบทเรียนออนไลน (E-Learning) ทีเ่ นนใหผเู รียนสามารถ เขาเรียนไดสะดวกทุกที่ ทุกเวลา สงเสริมใหเกิดสังคมแหงการเรียนรู (Learning society) และมีทีมวิทยากรจัดกิจกรรมการฝกอบรมเชิง ปฏิบัติการและทดสอบการใชงานคอมพิวเตอรมาตรฐานสากลใน หลักสูตร Base Module ประกอบดวยวิชา Computer Essentials , Online Essentials , Word Processing และ Spreadsheets ควบคู ไปดวยหลักสูตร Base Module การใชงานคอมพิวเตอรมาตรฐาน สากล ICDL (The International Computer Driving License) ซึ่งแตละหลักสูตรมีรายละเอียดดังนี้ วิชา Computer Essentials เนื้อหาการฝกอบรม และทดสอบ ผู เรี ย นมี ค วามเข า ใจในกรอบแนวคิ ด หลั ก (Main Concepts) ในการใชงานคอมพิวเตอรระดับพื้นฐาน สวนประกอบ ตางๆ ของระบบคอมพิวเตอร ความเขาใจทั่วไปในดานฮารดแวร และซอฟตแวร ระบบปฏิบัติการ , พื้นฐาน ICT (Information and Communication Technology) ความเขาใจในความปลอดภัย ระบบรักษาความปลอดภัย (Security) และ กฏหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ลิขสิทธิ์ตางๆทางคอมพิวเตอร


Technology for Life

สําหรับผูที่สนใจเขารับการฝกอบรมและทดสอบ สามารถติดตอสอบถามเพิ่มเติมไดที่ สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มทร.ลานนา โทรศัพท 0 5392 1444 ตอ 5302, 5305 และ 1624

วิชา Online Essential เนื้อหาการฝกอบรมและ ทดสอบ ผูเรียนมีความเขาใจในหลักการพื้นฐานและทักษะการ ใขงาน Web Browser ไดอยางมีประสิทธิภาพ การคนหาขอมูล จากอินเตอรเน็ต การใชงานสื่อออนไลน และการใชงาน E-mail การคนหาขอมูลทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประเมินเว็บไซตหรือมีความ เสี่ยง ความเขาใจเรื่องของลิขสิทธิ์การใชงานและการปองกัน ขอมูลที่สําคัญ ความเขาใจในพื้นฐานที่สําคัญของระบบสังคม ออนไลน การติดตอสื่อสาร และการใชงาน E-mail การรับและ การสง E-mail และการใชงานปฏิทินออนไลน วิชา Word Processing เนื้อหาการฝกอบรมและ ทดสอบ ผู เรี ย นมี ค วามเข า ใจและทั ก ษะในการใช ง านระบบ ประมวลผลคํา เพื่อตอบสนองความตองการใชงานดานเอกสาร การจัดทําเอกสาร และการบันทึกชอมูลในระบบแบบไฟลได หลายรูปแบบ การเลือกใชรูปแบบเอกสาร (format) ไดหลายรูป แบบตามความตองการ การแทรกตาราง รูปภาพ รูปวาด (Drawn Object) ลงในเอกสาร การจัดและการปรับแตงหนา (Pages) ของ เอกสาร วิชา Spreadsheets เนือ้ หาการฝกอบรมและทดสอบ ผู เรี ย นมี ค วามเข า ใจและทั ก ษะในการใช ง านตารางคํ า นวณ (Spreadsheet) เพื่อใหไดผลลัพธตามตองการและ การเลือกใช งานสูตรสําเร็จรูป (Built-In) เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางาน การปอนขอมูลลงในเซลล (Cell) อยางถูกตอง การคัดเลือก,เรียง ลําดับและการคัดลอกขอมูล การยาย และการลบ การสรางสูตร คํานวณทางคณิตศาสตรและตรรกศาสตรโดยใชฟงคชันพื้นฐาน ของตารางและการเลือกใชงานสูตรคํานวณ การเลือกใช การ สรางแผนภูมิไดอยางเหมาะสมและสามารถสื่อความหมายได อยางชัดเจน รวมทั้งยังไดจัดเตรียมหลักสูตรการฝกอบรมสําหรับ นักศึกษาและบุคลากรทีส่ นใจ อาทิเชน หลักสูตรการเตรียมความ พรอมการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานสหกิจ ศึกษา, หลักสูตรการใชโปรแกรมสํานักงานอยางมีประสิทธิภาพ , การฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Microsoft Excel ในการ วิเคราะหขอมูล เปนตน ซึ่งโครงการดังกลาวเปนกลไกสําคัญใน การเตรียมความพรอมของนักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่มีความเปน เลิศทางดานวิชาชีพ บนฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปน บัณฑิตนักปฏิบตั บิ นฐานสมรรถนะวิชาชีพทีม่ คี วามพรอมในการ ออกสูโลกการทํางานแบบดิจิทัล (Digital Workplace) ไดอยาง มีประสิทธิภาพ นิตยสาร ราชมงคลลานนา 53


Technology for Life

The Development of a

Standard Computer Usage of Instructors, Staff and Students Rajamangala University of Technology Lanna.

At present, the world is entering the era of digital economy and society, where technology is no longer just a tool to support work. It is also an important tool in driving the economy change, communication, trade, service, and other social interactions as convenient, fast and effective. According to the government policy, a national strategic plan was set up to drive Thailand towards the development of Thailand 4.0 with the goal of enabling the country to be creative, and a leverage digital technology in order to realize the full potential of the infrastructure development, human capital, and human resources. This is to drive and develop the economy and society of the country towards prosperity and sustainability, with the development strategy; Article 5, Development of people into the digital economy and society. The goal of developing human capital into the digital age, with the preparation of all people is to the right knowledge and skills to live and work in the digital age. People have the ability to develop and use information effectively, including awareness, knowledge, understanding, and digital literacy skills. From the policy of bringing information technology is an important tool in supporting and promoting. Office of Academic Resources and Information Technology Rajamangala University of Technology Lanna has developed a project to enchance computer use of faculties, staff and students of Rajamangala University of Technology Lanna. In this program, the trainees will be trained with computer skills taught in English. The University has adopted the International Computer Driving License (ICDL). In the academic year 2016, the faculty and

54 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Technology for Life

staff of the university have passed the 200-unit Base Module test and certification; Train the Trainer The ICDL 2016 is the first institution in the country to certify ICDL Trainer 2016. The Office of Acdemic Resource and Information of Technology provides e-learning contents that allow students to easily attend schools anywhere, at anytime, and promote a learning society and a team of trainers to train the activities. Computer-aided and computer-based standardized tests in the Base Module include Computer Essentials, Online Essentials, Word Processing, and Spreadsheets.

The Office of Academic Resources and Information Technology has provided training courses for students and interested individuals such as preparatory courses for cooperative education in information technology, curricula, effective usage of offi ce programs, training and use Microsoft Excel for data analysis, etc. This project is an important process in preparing students for graduation, excellence in professional science and technology, and being hands – on graduates based on professional performance who are ready to work for the digital workplaces effectively.

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 55


. Way of Life …style Lanna

น า ง  ม ว ร ง ั ล  ห า เรื่องเล าการดาน ประชุมวิช ติ

า ช า น า น ี ด ค ณ โบรา

....... โดย นายศักรินทร ณ นาน คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา นาน

การนําเสนอบทความทางวิชาการเรื่อง การตรึกตรองสะทอน ความคิดตอโบราณคดีชาติพันธุวิทยาของชาวมลาบรีในฐานะกลุมชนเก็บ ของปาลาสัตวในประเทศไทย (A Reflection on Ethnoarchaeology of the Hunter-Gatherer Mlabri in Thailand) ในงานประชุมวิชาการดาน โบราณคดีนานาชาติครั้งที่ 8 (The World Archaeological Congress (WAC-8) จั ด ขึ้ น ระหว า งวั น ที่ 28 สิ ง หาคมถึ ง วั น ที่ 2 กั น ยายน 2559 ณ มหาวิ ท ยาลั ย โดชิ ช า (Doshisha University) เมื อ ง เกี ย วโต ประเทศญี่ ปุ น ได รั บ ทุ น สนั บ สนุ น การเดิ น ทาง ที่ พั ก และการ ลงทะเบี ย นจากรั ฐ บาลญี่ ปุ น โดยเป น ส ว นหนึ่ ง ในเวที ป ระชุ ม ย อ ยว า ด ว ยเรื่ อ งปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งกลุ ม ชนเก็ บ ของป า ล า สั ต ว แ ละกลุ ม ชน ข า งเคี ย งยุ ค ก อ นประวั ติ ศ าสตร ใ นเอเชี ย (Interactions between Prehistoric Hunter-Gatherers and Neighbors in Asia) โดยผูร บั ผิดชอบ เวทีการประชุมหัวขอนีค้ อื ศาสตราจารยคาซึโนบุ อิเคยะ (Kazunobu Ikeya) จากพิพธิ ภัณฑแหงชาติดา นชาติพนั ธุว ทิ ยา ประเทศญีป่ นุ การประชุมนีไ้ ดรวม ผลงานศึกษาจากผูน าํ เสนอ 7 คน ซึง่ พยายามตรวจสอบวา กลุม ชนเก็บของปา ลาสัตวยุคกอนประวัติศาสตรไดสรางปฏิสัมพันธระหวางกลุมตางๆ ที่อยูขาง เคียงตนเองอยางไร เชน กลุมผูเพาะปลูก กลุมผูเลี้ยงสัตว ชุมชนประมงและ ผูค นทีอ่ าศัยตามเมืองตางๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ การประชุมนีใ้ หความสําคัญกับ การดํารงอยูร ว มกัน (Coexistence) และความขัดแยงในยุคกอนประวัตศิ าสตร และยุคประวัติศาสตรระหวางกลุมชนเก็บของปาลาสัตวกับกลุมผูเพาะปลูก (เชน ระหวางกลุมชนโบราณของญี่ปุนอยางโจมอน (Jomon) ที่เปนกลุม นักลากับกลุมยาโยอิ (Yayoi) ซึ่งเปนกลุมผูเพาะปลูก หรือระหวางกลุมชาว ไอนุ (Ainu) กับคนญี่ปุนในปจจุบัน) อาศัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชีย ตะวันออกเฉียงเหนือ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประเด็นสําคัญในที่นี้ คือ จะอธิบายปฏิสัมพันธระหวางกลุมนักลากับกลุมผูเพาะปลูกในอดีต จากมุมมองทางโบราณคดีไดอยางไร โดยสามารถอนุมานการดํารงอยูของ ปฏิสัมพันธรูปแบบดังกลาวไดจากสิ่งตางๆ เชน การปรากฏของเครื่องมือ หรือซากทีเ่ หลืออยูข องสัตวและพืชในชัน้ หลักฐานทางโบราณคดี การกระจาย ตัวอันมีรูปแบบจําเพาะของแหลงโบราณคดี และการประกอบสรางของ สิ่งแวดลอมยุคกอนประวัติศาสตร แตอยางไรก็ตาม การทําใหขอมูลเหลา นี้ มี ค วามหมายที่ เข า ใจได จํ า เป น ต อ งมี ตั ว แบบทางความคิ ด ที่ จ ะช ว ยให เขาใจปฏิสัมพันธในอดีตระหวางทั้งสองกลุมนี้ โดยแนวทางหนึ่งซึ่งเปน 56 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

ประโยชนคือ โบราณคดีชาติพันธวิทยา (ethnoarchaeology) ซึ่งอนุมานปฏิสัมพันธในอดีตไดโดยการสังเกตกลุมชนในปจจุบัน โดยอาจบ ง บอกตั ว แบบของปฏิ สั ม พั น ธ ต า งๆ ที่ ห ลากหลายได บาง เชน การแลกเปลี่ยน/การคาขาย การมอบสิ่งของใหกันและ การแตงงานระหวางกัน เปนตน การตรวจสอบการดํารงอยูของ ปฏิ สั ม พั น ธ ห ลายแบบในการประชุ ม ครั้ ง นี้ จ ะใช ห ลั ก ฐานทาง โบราณคดี แ ละทางโบราณคดี ช าติ พั น ธุ วิ ท ยา สํ า หรั บ ผลงานนี้ เปนการชวนพินิจชาวมลาบรีในฐานะที่เปนกลุมชาติพันธุหนึ่งใน ตอนเหนือของประเทศไทยในปจจุบัน โดยมีนักวิชาการจากหลาย สาขาวิชาไดศึกษาเกี่ยวกับชาวมลาบรีมาตั้งแตชวงทศวรรษ 1930 อยางไรตาม ทามกลางงานวิจัยจํานวนมาก กลับมีงานวิจัยไมมากนัก ทีใ่ ชแนวทางโบราณคดีชาติพนั ธุว ทิ ยา ทัง้ นีห้ ลังจากกลับไปพิจารณา งานวิจยั ของนักโบราณคดีไทยอยาง ศาสตราจารย ดร. สุรนิ ทร ภูข จร (Surin Pookajorn) ทีไ่ ดศกึ ษาชาวมลาบรีในชวงทศวรรษ 1980 เพือ่ พัฒนาตัวแบบทางความคิดทีอ่ ธิบายวัฒนธรรมยุคกอนประวัตศิ าสตร ฮัวบิงเนียน (the prehistoric Hoabinhian culture) งานวิจัยชิ้นนี้ ไดชวนตัง้ คําถามมากขึน้ ไปอีกวา แนวทางโบราณคดีชาติพนั ธุว ทิ ยาจะ สามารถชวยใหเราเขาใจปฏิสัมพันธระหวางชาวมลาบรีและกลุมชน อืน่ ๆ ในปจจุบนั ไดอยูห รือไม เชน กลุม ผูเ พาะปลูกและผูค นทีอ่ าศัยใน เมือง ทั้งนี้เพื่อจะชวยตั้งคําถามดังกลาวนั้น ผูเขียนไดนําเสนอขอมูล เชิงชาติพันธุวรรณาเกี่ยวกับการตอสูดิ้นรนเพื่อการดํารงชีพของชาว มลาบรี ภ ายใต ก ระบวนการลงหลั ก ป ก ฐานโดยรั ฐ (the stateoriented sedentarization) ที่เกิดในภาคเหนือของประเทศไทย ประเด็นหลักในการชวนถกเถียงของงานชิ้นนี้คือ ชองวางในงาน ศึกษาของสุรินทร ภูขจร มีความสําคัญที่ตองคนหาใหพบเพื่อพัฒนา ความเขาใจตอการศึกษากลุมชนเก็บของปาลาสัตวในประเทศไทย มากยิ่งขึ้นตอไป


Way of Life …style Lanna

The Story After Attended at Conference of The world Archaeological congress By Sakarin Na-nan Faculty of Bussiness and Liberal Arts RMUTL Nan

The presents the academic article topic “ Reflection on Ethnoarchaeology of Hunter – Gatherer Mabri in Thailand in the conference The world Archaeology congress WAC-8” held between 28 August to 2 September 2016 at Doshisha university, Kyoto, Japan. in traveling, accommodations, and registation were funded by the government of Japan. This presentation is a part of a conference about Interaction between prehistoric Hunter-Getherers and Neighbors in Asia. The conference topic is responsible by Prof. Kazunobu Ikeya from National Museum of Ethnology in Japan and Author. In this conference works form 7 presenters, surveying about the hunter-getherer in prehistory, were collected on .How they interact between neighbor group such as the tiller, the herdsman, fisherman communities and villager in other cities, especially in this conference the focus is on coexistence and conflicts in prehistory and history period between the hunter-getherer and the tiller for example among the ancient people of Japan like the Jomon, the hunter Yayoi the tiller and the Ainu and present the Japanese that who lived in East Asia, Northeast Asia and Southeast asia. The point of this topic is how we explain interaction between the hunter and the tiller from archaeology point of view. We can infer the conxistence of interaction in this pattern from these example such as the discovery of tools or fossils, distibution of archaeology sources and constructions of the enviroment in prehistory. However, making this information understandble is necessary for the model of thinking, which can make people understand the interaction in the past between these two groups by one process that is beneficial to ethnoarchaeology, which infer the interaction of the past by observing present people. We can indicate the model of interaction such as exchaing, trading, giving and marriage, etc. The observation of various conxistences

of interaction in this conference use the evidence of ethnoarchaeology. The malabri has been observed since 1930. However, in many previous reserche there are a few reserch using an ethnoarchaeology process. So, after considering the work of Thais Archaeologist, (Surin Peekajan) who studied the Mlabri in 1980, the propose to develop the model of thinking to explain the prehistoric Hoabinhian culture. This work invite more questions about the process of ethnoarchaeology. This helps us understand the interaction between the Mzlabri and other groups at present, for example, the tiller prople in the city. Therefore, Author has presented the information Ethnographic about fighting difficulties for a living of the Malabri under the process of the state – riented sedentarization that occured in the north of Thailand. The main issue of the discusstion of this work is a space in Surin Pookajorn, which is important to study in order to develop understanding of the hunter-gatherer in Thailand.

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 57


Way of Life …style Lanna

ราชมงคลรวมใจสราง

ฝายชะลอนํ้า ตามรอยพอ

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม

คือหนึ่งในพันธกิจของมทร.ลานนา การสงเสริมการมีสวนรวมและปลูกจิต สํานึกของนักศึกษาใหตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษแหลงตน นํ้าลําธารและทรัพยากรปาไม เปนกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยใหความสําคัญ โครงการราชมงคลรวมใจ สรางฝายชะลอนํ้าตามรอยพอ เปนโครงการที่สง เสริมการมีสวนรวมของนักศึกษาดานการบําเพ็ญประโยชนและอนุรักษสิ่ง แวดลอม ดําเนินโครงการโดยสโมสรนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา มทร. ลานนา ลําปาง มีวัตถุประสงคเพื่อนอมรําลึกถึงพระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ที่ พ ระองค ท า น ได ท รงตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการพั ฒ นาป า ไม แ ละการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งเพื่อใหนักศึกษามีจิตสาธารณะตอชุมชนที่อาศัย อยู มีจติ สํานึกในการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม รวมทัง้ ฝกประสบการณการทํางาน รวมกันของนักศึกษา การจัดโครงการครั้งนี้ดําเนินการ ณ อางเก็บนํ้าหวยยาง บาน ทรายมูล ต.บานเสด็จ อ.เมืองลําปาง จ.ลําปาง (ดานหลังมหาวิทยาลัยฯ) มี เปาหมายในการสรางฝาย 6 ฝาย โดยเปนฝายดินผสมปูน 5 ฝาย ฝายไมไผ 1 ฝาย ซึ่งฝายเหลานี้จะเปนแหลงนํ้าตนทุนที่จะใชในการอุปโภค บริโภค และ ใชในการเกษตรของชุมชนในพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัย 58 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Way of Life …style Lanna

Check Dams

Project follow in

His Majesty’s footsteps. The

preservation of arts, culture and the environment is one of the missions of Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) . This is to promote student participation and awareness, raising the importance of conservation of watersheds and forest resources, which are the university activities. RMUTL created Check Dam project, one of the project that promotes student participation in the field of environmental services and the environment. This project is run by student clubs, Department of Student Affairs, RMUTL Lampang. The objective is to commemorate the royal duties of His Majesty King Bhumibol Adulyadej, who recognized the importance of forest development and natural resources management. The project also provides students with a volunteering mind to the community and consciousness in environmental conservation. This includes student collaboration. The project was conducted at Huay Yang Reservoir, Ban Sai Mun, Ban Sadet, Mueang Lampang, Lampang Province (behind the university). The goal was to build 6 reservoirs. 5 clay and cement reservoirs, and 1 bamboo reservoir. These will be sources of water for consumption and use in agricultural communities of surrounding areas. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 59


Way of Life …style Lanna

มทร.ลานนาพิษณุโลก

รวมนอมนําปณิธานความดี ปแหงการแสดงความอาลัยแดพอหลวง

ดวยพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ที่วา“คนไทย รักษาชาติ รักษาแผนดิน เปนปกแผน มั่ น คงมาได ด ว ยสติ ป ญ ญาความสามารถ และด ว ยคุ ณ ความดี อิสรภาพ เสรีภาพ ความรมเย็นเปนสุข ตลอดจนความเจริญ ทุกอยาง ที่มีอยูบัดนี้ เราทั้งหลายในปจจุบัน จึงตองถือเปนหนาที่รับผิดชอบ อยางสําคัญ ในอันที่จะรักษาคุณความดี พรอมทั้งจิตใจที่เปนไทยไว ใหมั่นคงตลอดไป” ซึ่งไดพระราชทานไวเมื่อครั้งเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2521 จากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ 9 อันเปนแนวทางที่เหลาพสกนิกรชาวไทยพรอมใจกันนํามาตั้งปณิธาน ความดีในปแหงการแสดงความอาลัยตอการสวรรคตของพระองคทาน โดยศูนยวฒ ั นธรรมศึกษา มทล. ลานนา พิษณุโลก ไดนาํ นักศึกษาเขารวม กิจกรรมในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาเปนประจําทุกป โดยเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2560 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลกรวมกับสภา วัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก จัดโครงการ “งานสัปดาหสง เสริมพระพุทธ ศาสนา เนือ่ งในเทศกาลมาฆบูชา ประจําป 2560” ณ วัดวิหารทอง เขต โบราณสถานพระราชวังจันทร และวัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร ซึง่ เปนอีกหนึง่ กิจกรรมทีเ่ ปนการตัง้ ปณิธานความดีตามคําสอนพอซึง่ ใน กิจกรรมครัง้ นีเ้ ปนการแสดงตนเปนพุทธมามกะ การฟงเทศนา และการ เวียนเทียน เพื่อใหเกิดแนวทางการประพฤติปฏิบัติตน ในวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนา สรางสันติสขุ ความปรองดองสมานฉันทในสังคมอยาง ยั่งยืน สงเสริมการนําคานิยมหลัก 12 ประการมาเปนภูมิคุมกันในการ ดําเนินชีวิต ประกอบดวยการเคารพตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหา กษัตริย การรักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย และการมีศีลธรรม รักษา ความสัตย ดํารงตนดวยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนการนํา มิติทางศาสนา มาสรางความรักความสามัคคีในสังคม เกิดความรวม มือสานสัมพันธระหวางบาน วัด โรงเรียน และเปนการตั้งปณิธานความ ดีในปแหงการแสดงความอาลัยตอการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อันจะทําใหนักศึกษาไดตระหนัก และ แสดงออกถึงความจงรักภักดีสืบตอไป

“Thai

people have defended the nation and the land stably and firmly with their intelligence, capability, virtue, independence and liberation. We, people of the present time, are entitled to keep peace and all progresses we have in order to maintained virtue as well as our Thai spirit firmly foreovermore. Royal Address by H. M. King BhumibolAdulyadej on the Occasion of His Birthday Anniversary 5 December 1978 The royal remark of H.M. King Bhumibol Adulyadej sheds some light on Thai people to live their lives. People from all parts of the nation sent their condolences over the death of King Bhumibol Adulyadej and many of them started to have volunteering spirits. One of those activities is the project of “the week of Buddhism.” RMUTL Cultural Center brought students together with Phitsanuloke Provincial Cultural Center and the Council of Cultural Affairs organized an activity “the week of Buddhism in Makha Bucha celebration, 2017.” The activity was held on the 11th of February, 2017 at Wat Wiharnthong in the area of archaeological site, Chandra Palace and Wat Phra Sri Rattana Mahatat Woramahawihan. The forementioned activity included listening to the sermon and circumambulation and followed by the national core values such as the preservation of Thai traditions and cultures; morality, integrity, considerateness, generosity, sharing and being conscious, and mindfulness of actions in accordance with His Majesty’s the King’s royal statement.

....Mindfulness of actions in accordance with His Majesty’s the King’s royal statement.

60 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Way of Life …style Lanna

royal wish for the year R MU T L t o f o l l o w t h e

.....of condolences

According to the royal statement of His Majesty King Bhumibol Adulyadej;

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 61


RMUTL Movement

“à´ç¡ã¹Çѹ¹Õé¤×Í... .....ผู้ใหญ่ในวันหน้า”

โดย งานประชาสัมพันธ มทร.ลานนา ลําปาง

กวา 36 ป ที่ มทร.ลานนา ลําปาง ได เล็งเห็นความสําคัญของเด็กและเยาวชน โดย ไดจัดงานวันเด็กแหงชาติขึ้นในทุกป เพื่อสง เสริมใหเด็กและเยาวชน ไดแสดงออก กลาคิด กลาทําในทางสรางสรรค และเพื่อให นักศึกษามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมสงเสริม พัฒนาการของเด็กและเยาวชนไทย กิจกรรมวันเด็กของสถาบันการศึกษาแหง นี้จัดขึ้นครั้งแรกในป 2524 เมื่อครั้งเปน วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขต เกษตรลําปาง โดยจัดภายใตชื่อ วันเด็ก และเทคโนโลยีการเกษตร มีรูปแบบการจัด กิจกรรมที่แสดงถึงความเติบโตทางวิชาการ ดานการเกษตร ประกอบดวย กิจกรรม ประกวดสินคาเกษตร การประกวดไกสวยงาม การประกวดโค ตลาดนัดสินคาเกษตรและ สินคาทั่วไป การใหความรูทางวิชาการเกษตร ในรูปแบบการยองานฟารมมาจัดแสดง

62 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


RMUTL Movement

O

“As today’s children...

......will become...... tomorrow’s adult”

มีรถแทรกเตอรนําเที่ยวชมงาน กิจกรรมเวทีกลางที่เปดโอกาส ใหเด็กๆ ไดแสดงความรูความสามารถฯลฯ โดยจัดตอเนื่อง จนถึงยุคสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลําปาง และในป 2548 ในยุคของมทร.ลานนา ลําปาง ไดมีการเปลี่ยน ชื่อการจัดงานเปน “วันเด็กแหงชาติและราชมงคลลําปาง แฟร” จนถึงปจจุบัน โดยมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมตามยุค สมัย แตยังคงความโดดเดนในดานเทคโนโลยีการเกษตร ภาย ใตเอกลักษณดานอุตสาหกรรมเกษตรและการมีสวนรวมของ นักศึกษา เพื่อบริการวิชาการแกชุมชน ผานกระบวนการ เรียนรูที่สอดแทรกองคความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดานวิศวกรรมและบริหารธุรกิจ อาทิ บูทการเรียนรูตาม ศาสตรสาขาวิชาตางๆ กิจกรรมรถนําเที่ยวมหาสนุกโดย ความรวมมือของสาขาวิชาการทองเที่ยวและสาขาเทคโนโลยี เครื่องกล การจําหนายผลิตภัณฑทางการศึกษาและสินคา เกษตร เปนตน นับเปนหนึ่งกิจกรรมบริการวิชาการที่ บูรณาการการเรียนรูระหวางศาสตรไดอยางลงตัว

ver 36 years, Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL), Lampang has recognized the importance of children and young people. So, the university holds National Children’s Day every year, to encourage children and the young to be confident in expressing, thinking, and performing creatively. Moreover, students can participate in organized activities. This promotes to improves Thai children and youth. Children’s day was first held at the institution in 1981, when it was a college of technology and vocational education, named Lampang College of Agricultural, organized under the name of Children’s Day and Agricultural Technology. There is an activity model that shows the academic growth in agriculture, consisting of agricultural products contest, beautiful chicken contest, cow contest, agricultural products market, agricultural education in short term, sightseeing tour tractors, stage activities, that allow the children to show their talents, etc. This has continued until the institution became Rajamangala Institute of Technology, Lampang. In 2005, RMUTL Lampang changed the name of the event to the National Children’s Day and Rajamangala Lampang Fair untill now by modifying the activities of the generation but still keep outstanding agricultural technology under the uniqueness of agro-industry and student participation. The academic services are conducted for the community through a learning process that incorporates knowledge of science and technology, engineering and business management, such as learning a variety of subjects. An exciting bus tour with the cooperation of tourism and mechanical technology, sale of educational and agricultural products are part of the academic services, which integrate learning between sciences perfectly.

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 63


RMUTL Movement

Enhancing the Principles of the Philosophy of

King Rama IX

64 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


RMUTL Movement

เสริมสรางประสบการณดวย

ศาสตรพระราชา Enhancing the Principles of the Philosophy of King

Rama IX

โดย งานประชาสัมพันธ มทร.ลานนา พิษณุโลก

การบริโภคอาหารปลอดสารพิษ กําลังเปนกระแสทีไ่ ดรบั ความ นิยมเปนอยางมาก เพื่อสุขภาพรางกายที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งการรับ ประทานพืช ผัก และผลไมที่ปลอดสารพิษ คณาจารย ป ระจํ า แผนกสั ง คม คณะบริ ห ารธุ ร ะกิ จ และ ศิลปศาสตร มทร.ลานนา นําโดย ผศ.สุภวรรณ พันธุจันทร หัวหนาแผนก ไดเล็งเห็นถึงคุณคาของการรับประทานพืช ผัก ผลไมปลอดสารพิษที่ทุก คนสามารถหารับประทานไดงายๆ ใกลตัว จึงดําเนินโครงการ “ปลูก พืชผักสวนครัวขางสํานักงาน” เพื่อเปนการเสริมสรางประสบการณ ให นั ก ศึ ก ษาน อ มนํ า ศาสตร พ ระราชา ว า ด ว ยหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียง มาปรับใชเปนแนวทางในการดํารงชีวิต โดยใหนักศึกษาที่ลง ทะเบี ย นเรี ย นในรายวิ ชาปรัช ญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพั ฒ นาที่ ยั่งยืนเขารวมโครงการทุกคน ซึ่งนักศึกษาจะไดดําเนินการปลูกผักสวน ครัวตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินท รมหาภูมิพลอดุลยเดช มาเปนแบบอยางเพื่อการพัฒนาตนไดอยางยั่งยืน ทั้งนี้ กิจกรรมดังกลาวนอกจากจะชวยใหนักศึกษาไดลงมือ ปฏิบัติจริงเพื่อเสริมทักษะในการเปนบัณฑิตนักปฏิบัติตามอัตลักษณของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาแลว ผลผลิตที่ไดจาก การดําเนินโครงการนี้ ยังชวยใหบุคลากรและนักศึกษาของมหาวิยาลัยได รับประทานพืช ผัก และผลไมทปี่ ลอดภัยจากสารพิษ อันเปนประโยชนตอ สุขภาพรางการอีกดวย

Organic food has become very popular. Organic foods often have more beneficial nutrients, such as antioxidants which are good for our health. Assistant Professor Supawan Panchan, head of Social Study department, sees the importance of organic food. For this reason, she organizes the project “HomeGrown Vegetables in Campus” in order to let students lead the way of life based on the principles of “Sufficiency Economy” from His Majesty King Bhumibol Adulyadej. The project requires students studying “Sufficiency Economy for Sustainable Development” to apply the principle to develop their lives. Apart from the principles of “Sufficiency Economy”, this project aims students to be part of the university policy; being “hands-on students.” Moreover, teachers, officers and students have an opportunity to consume organic food.

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 65


Alumni Story

“สําเนาว พุกละออ” นายกสมาคมศิษยเกาเกษตรบานกราง

66 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Alumni Story

สําเนาว พุกละออ ศิษยเกาเกษตรบานกราง รุน 15 (มทร.ลานนา พิษณุโลก ในปจจุบัน) นายกสมาคมศิษยเกาเกษตรบานกราง วารสารฉบับนี้ จึงไดพูดคุยถึง แนวคิดตางๆที่ทําให ประสบความสําเร็จในการทํางาน นายสํ า เนาว พุ ก ละออ เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ปจจุบันดํารงตําแหนง รักษาการหัวหนาสํานักงานองคการสง เสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย (อสค.) สํานักงานภาคเหนือตอน ลาง อําเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย ซึ่งเปนโรงงานผลิตและจําหนาย นมวัวแดง ไทย-เดนมารค ในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ และสงออก ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) สาธารณรัฐ ประชาชนกัมพูชา และสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา นอกจากนั้น ดํารงตําแหนงอุปนายกสมาคมศิษยเกาจานกรองพิษณุโลก อีกดวย ดานการศึกษา จบการศึกษาจากโรงเรียนจา การบุญ โรงเรียนจานกรอง ป 2517 โรงเรียน พิษณุโลกพิทยาคม ป 20-22 วิชาชีพ (ปวช.) และ วิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลลานนา พิษณุโลก(เกษตรบานกรางรุน 15) ระดับปริญญาตรีคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภั ฎ นครราชสี ม า และระดั บ ปริ ญ ญาโท คณะเกษตรศาสตร สาขาสงเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ซึง่ ถือเปนเปาหมายหลักของการทํางาน ฉะนัน้ ผลงานทีอ่ อกมาจากความ ตัง้ ใจทุกครัง้ เราเรียกวาการทํางานทีม่ ปี ระสิทธิผล โดยวิธกี ารทีจ่ ะชวยใน การทํางาน ทีมงานและองคกร สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิผล คือ การทบทวนผลการทํางาน “แบบเหลียวหลัง แลหนา” ไมวาการทํางาน ของเราจะประสบความสําเร็จหรือลมเหลว หรือ มีปญ  หา เราควรจะนํามา เปนบทเรียนในการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในการทํางานใหมีความ ชํานาญและเชียวชาญมากยิ่งขึ้นครับ”

.....การทําใหชีวิตมี ความสุข....เราควร

คติในการดําเนินชีวิตใหมีความสุข

“การทําใหชีวิตมีความสุข เราควร มองตนเอง ใหมีคา หามคิดวาชีวิตของเรานั้นไมมีคาสําหรับใคร เพราะความจริงแลวเรานั้นมีคากับคนที่รักเราเสมอ ไมวาจะเปน พอแม ญาติพี่นอง หรือเพื่อนสนิท ดัง นั้นเมื่อเกิดความรูสึกไมดี เสียใจ ไมวาเรื่องอะไรก็ตาม อยาไปยึดติดกับมัน ปลอยใหผานไป และคิดอยูเสมอ วาชีวิตเรามีคามากกวาที่จะตองไปจมปลักอยูกับมัน นอกจากนี้ ควรรูจักการให การใหที่ยิ่งใหญและมี คุณคา คือ “นํ้าใจ” การเอื้อเฟอเผื่อแผนั้นเปนวิธีการเสริมสรางความ สุขทางใจอยางหนึ่ง และใหเราคิดเสมอวาการใหนั้นมักจะนําสิ่งดีๆ มา สูทั้งผูใหและผูรับ แคนี้เราก็จะมีความสุขแลว ความสุขเปนเรื่องที่เกี่ยว กับความรูส กึ นึกคิดลวนๆ เพียงแคเราคิดดี ทําดี มีชวี ติ อยูก บั ปจจุบนั ใหดี และมีความหวัง มีกาํ ลังใจอยูเ สมอ เทานีช้ วี ติ ของเราก็จะไมหา งไกลจาก คําวาความสุขแลวครับ”

มองตนเองใหมีคา

หามคิดวาชีวิตของเรา นั้นไมมีคาสําหรับใคร

แนวทางการทํางานเพื่อสมาคมศิษยเกาเกษตรบานกราง

“อันแรกตองขอขอบคุณพี่นองเกษตรบานกรางทุกทาน ที่ กรุณามอบความไววางใจใหกับผมและทีมงานเขามาบริหารสมาคมฯ โดยจะคํานึงถึงความเสียสละ ความโปรงใส และปฏิบัติตามขอบังคับ ของสมาคม ทั้งนี้ จะเปนสื่อกลางประสานรุนสูรุน เพื่อสรางความเขาใจ และความเขมแข็ง มีแนวทางที่จะสนับสนุนการศึกษาและกิจกรรมของ สถาบัน ตลอดจนศิษยเกาและศิษยปจจุบัน อีกทั้งประสานความมือกับ องคกรตางๆ เพื่อดําเนินกิจกรรมหารายไดดานสวัสดิการและกิจกรรม สาธารณกุศลตอไป”

ขอคิดในการทํางานอยางไรใหประสบผลสําเร็จ

“ในการทํางานจริง คนทีท่ าํ งานและประสบความสําเร็จ ไมได ขึ้นอยูกับทฤษฎี ตัวอยางเชน ไทเกอรวูด เวลาตีกอลฟจริงไมตองคิดถึง เรื่องทฤษฎีในการตี แตใชความชํานาญและประสบการณ ดังนั้น การ ฝกฝนใหเกิดความชํานาญเชี่ยวชาญนั้น จะเปนสิ่งสําคัญมากกวาการ เรียนรูด า นทฤษฎีเพียงอยางเดียว นอกจากนี้ ในการทํางานใครๆ ก็อยาก ใหผลงานออกมาดีเยี่ยม และทํางานในหนาที่ของตนเองที่ไดรับมอบ หมายใหดที สี่ ดุ ซึง่ การทํางานใหประสบผลสําเร็จ เพียงครัง้ เดียวหรือสอง ครั้ง ดูจะไมนาพอใจมากนักในสายตาของคนทํางานและรวมถึงเจานาย

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 67


Alumni Story everyone want to do the best or responsible for their assignment as best as they can. In order to succeed in work for only one or two times is not enough in view of a working man or even the boss. Therefore, every output is called the efficiency work. The method of being successful in work is that we should use our experience whether it is successful not as our lesson to enhance our work skills.

“Mr.Samnao Phuklao” President of Ban Krang Alumni

The president of Ban Krang Alumni batch 15 (Rajamangala University of technology Lanna, Phitsanulok) This journal will tell how he in sucessful in this work. Mr. Samnao Phuklao was born on July 25, 1962 and at present he is the director of the Office of the Dairy farming Promotion Organization of Thailand (DPO). The office is responsible for the lower Northern Region Office, Srinakorn District, Sukhothai Province which is factory producing and selling Thai-Danish red cow milk in 17 provinces. The office is also export to Lao PDR, the People’s Republic of Cambodia And the Republic of the Union of Myanmar. In addition, he is also Vice President of Janokrong School Alumni, Phitsanulok. Education : graduated from Jakarnboon school Janokrong school in 1974 Phitsanulok Pittayakom School Year 20-22 Vocational Certificate and Higher Vocational Diploma (Vocational Certificate) from Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanulok., B.Sc. from Faculty of Science Nakhon Ratchasima Rajabhat University ; Master’s degree in Agriculture from Konkan University.

Working guidelines for Ban Krang Alumni

“ First of all, thank you all Ban Krang people Who trust me and the team to manage the association I will consider the sacrifice, good governance and comply to the alumni role. By the way I will be the coordinator for both the new and senior alumni batch for understanding and strengthening. Moreover, we will support the education and the alumni’s activities including the new and senior alumni batch and cooperate with other organization to earn money for the welfare and public activities. “

How to succeed in your work?

“In the real work, people who work and succeed do not only depend on a theory. For example, Tiger Woods, a famous golf player : actually, we don’t think about the theory too much but use skills and experience instead. So practicing for being experts is more important than only studying a theory. A part from this, in working 68 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

Motto of a happy life

“ To have a happy life, we should think our lives are valuable because our livea are valuable for the persons who love us whether they are our parents, brother or sister, or close friend. Thus when we have a bad felling or sadness whether from any issue, don’t stick to it. Let it be and always think our live are valuable. Moreover, we should devote to society. The best devotion is “kindness”. Being kind is a way of being happy and it always bring good luck to us only doing this we will be happy.”


เมลอน

Healthy Corner

ผลไมที่กําลังไดรับความนิยมเปนอยางมากในขณะนี้ดวย รสชาติ ที่ เป น เอกลั ก ษณ หอม หวาน เหมาะสํ า หรั บ นํ า เป น ของกํานัล ของฝากในทุกเทศกาล ปจจุบันมีรูปแบบที่หลาก หลาย หากสามารถกําหนดลวดลายที่ปรากฏบนเปลือกของ เมลอนไดก็เปนการเพิ่มมูลคาและความตองการของผูบริโภค

เมลอนเปนชือ่ หนึง่ ของแคนตาลูปซึง่ เปนพืชตระกูล แตงเริ่มนําเขามาปลูกในประเทศไทยตั้งแตปพ.ศ. 2478 เดิม เรียกวาแตงเทศหรือแตงฝรั่ง ซึ่งเปนพืชลมลุก มีลักษณะ เปนไมเถา กานใบมีขนนิ่ม สามารถแบงไดสองประเภท คือ ประเภทเนือ้ สีเขียวหรือเขียวขาวเปนพันธุล กู ผสมตางประเทศ มีทงั้ ผิวเรียบและผิวลายตาขาย เนือ้ มีทงั้ เนือ้ กรอบและเนือ้ นุม รสหวาน มีกลิ่นหอม และประเภทเนื้อสีสม ผลมีทั้งผิวเรียบ และผิวตาขาย เนือ้ มีทงั้ กรอบและเนือ้ นุม รสหวานมีกลิน่ หอม คอนขางแรงในผลเมลอนหรือแคนตาลูปนัน้ มีสารอาหารตางๆ มากมายอาทิแคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ วิตามินซี ซึง่ ใกล เคียงกับสมเขียวหวานและสารอาหารที่จะชวยบํารุงกระดูก และฟน เนื้อผลสุก ยังเปนยาขับปสสาวะ ขับนํ้านม ขับเหงื่อ ดับพิษรอน บํารุงธาตุและสมอง ชวยบรรเทาอาการอักเสบของ ทางเดินปสสาวะ แกกระหาย เอ็นไซมที่มีอยูในแคนตาลูปยัง ชวยเคลือบกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการอักเสบของลําไส และบรรเทาอาการทองปนปวนจากการรับประทานอาหาร ไมตรงตามเวลา สาขาวิ ช าพื ช ศาสตร คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.) ลานนา พิษณุโลก โดยความรวมมือของภาคเอกชน ในทักษะ วิชาชีพการผลิตพืชในสภาพโรงเรือนและการใชนํ้านอย กรณี พืชเมลอนหรือ โรงปลูกพืชของ RL ไฮโดรฟารม เพื่อเปนการ ฝกทักษะวิชาชีพการผลิตพืชในสภาพโรงเรือนใหแกนักศึกษา ซี่งจะสามารถประกอบอาชีพอิสระและสามารถนําผลผลิตที่ ไดจําหนายเพื่อสรางรายไดอีกทาง รศ.ดร.สมชาติ หาญวงศา ผู รั บ ผิ ด ชอบ โครงการ กลาววา “โรงปลูกพืชของอารแอลไฮโดรฟารม ดําเนินการทดลองปลูกเมลอนจํานวน 5 สายพันธุไดแก นิตยสาร ราชมงคลลานนา 69


Healthy Corner

พั น ธุ Green net มี ลั ก ษณะผลกลม ผิ ว ตาข า ย เนื้ อ สี เขี ย ว รสชาติหวานฉํา่ มีกลิน่ หอม สายพันธุ Port Orange มีลกั ษณะผลกลม มี ต าข า ยสี เขี ย วนู น เด น ชั ด รสหวาน เนื้ อ สี ส ม เข ม สายพั น ธุ Emerald Sweet ผิวตาขายทรงกลมสีเทาเขียว เนื้อสีเขียวมรกต กรอบ รสหวานฉํ่ามาก สายพันธุ Sweet B เนื้อสีสม มีกลิ่นหอม นวล รสหวาน เปลือกคอนขางแข็ง ผลทรงกลม และสายพันธุ Piel de sapo หรือ The Santa Claus melon สายพันธุจาก ประเทศสเปน ซึ่งมีลักษณะพิเศษ เนื้อสีเขียว กรอบ ซึ่งดร.เอนก เพิม่ วงศเสนีย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูท รงคุณวุฒนิ าํ เมล็ดพันธุ มาใหทดลองปลูกและไดผลผลิตทีเ่ ปนทีน่ า พอใจเพราะสามารถปลูก ในประเทศไทยได” ดร.ทินกร ทาตระกูล รองอธิการบดี มทร.ลานนา พิษณุโลก กลาววา “ในป 2559 โรงปลูกพืชของอารแอลไฮโดรฟารม มีผลผลิต

70 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

เมลอนที่เปนไปตามมาตรฐาน ไมนอยกวา 1,800 กิโลกรัม ออกสูผู บริโภคจากกลุมภายในขยายวงกวางไปสูภายนอก ในปตอไปตั้งเปา ที่จะผลิตเมลอนใหเพียงพอตอความตองการของตลาดซึ่งจะไดรวม มือกับสาขาวิชาอื่นๆที่จะบูรณาการศาสตรตางๆมาประยุกตใชเขา กับโจทยการทํางานจริงพัฒนาหองเรียนแหงนี้ใหเปนแหลงเรียนรู เทคโนโลยีการผลิตพืชและผลไมที่ปลอดภัยแกชุมชน พัฒนาสูการ เปนสถานที่ทองเที่ยวเชิงเกษตรตอไป”

โดย งานประชาสัมพันธ มทร.ลานนา


Melons

Healthy Corner

Nowadays, melons are very popular. Many people buy them as souvenirs because they have a unique taste, are sweet, and fragrant. They are convenient for every festival. Thus, creating various patterns on melon skin can increase the value and demand of consumers. A melon is a kind of plants in the Cucurbitaceae family. People started importing melons into Thailand in 1932. Melon is an annual crop which can be classified into two types. The Green pulp and green and white hybrid pulp are the first. In other countries, melons have a smooth surface, and net surface. They are crispy, smooth and have sweet meat. Second, the orange pulp,

which is similar to green pulp, has stronger smell than the green pulp. There are many nutrients in melon such as calcium, phosphorus, vitamin A, and vitamin C. Melon can repair and maintain bones and teeth, excretion, etc. The Bachelor of Science Program in Plant Science, Faculty of Science and Agriculture, Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanulok campus co-operates with the private sectors to produce qualified plant professionals. Plant Science can be an independent career and well paid. Assoc.Prof.Dr.Somchart Hanvangsa, who is responsible for the project said “ the greenhouse of RL hydrofarm is conducted an for experiments on growing 5 melon species including Green net, Port Orange, Emerald Sweet, Sweet B, Piel de sapo, and The Santa Claus melon species. Dr. Anek Permvongseni “ a member of the university council”. brought seeds for the planting trial and the output was satisfactory. Dr.Tinnagon Tartrakoon, Vice President, Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanulok campus said “ In 2016, the greenhouse of RL hydrofarm has a melon that conform to the standards of domestic consumer groups and can be distributed to external consumer groups. In the future, they plan to produce enough melons for the market demand and coperate with other departments to apply new knowledge with real work and develop this classroom as a learning resource of plant production technology.” นิตยสาร ราชมงคลลานนา 71



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.