RMUTL Magazine Issue10

Page 1


บทบรรณาธิ ก าร

Editorial

บทบรรณาธิการ สวัสดีผูอานนิตยสารราชมงคลลานนาทุกทาน กอนอื่นขอแสดง ความยินดีกับบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่เขารับพระราชทานปริญญาบัตร ประจําปการศึกษา 2560 ณ หอประชุมใหญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2561 ที่ผานมา สําหรับนิตยสาร ฉบับที่ 10 ประจําเดือนมิถุนายน-ตุลาคม 2561นี้ เรา มีบทความที่เปนประโยชนใหคุณผูอานรวมถึงองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรมผลงานของอาจารยและนักศึกษาอีกดวย เนื้อหาในฉบับนี้ เราไดรวบรวมผลงานการออกแบบเครื่อง แตงกายที่มีการผสมผสานเอกลักษณลานนาเขากับการออกแบบสมัยใหม ซึ่งเปนผลงานการออกแบบและตัดเย็บโดยนักศึกษาสาขาวิชาสิ่งทอและ เครือ่ งประดับ คณะศิลปกรรมและสถาปตยศาสตรและมีโอกาสไดจดั แสดง ผลงานมาบางแลว ครัง้ นีเ้ ราจึงไดนาํ ผลงานบางสวนมานําเสนอในนิตยสาร รวมถึงไดนําเสนอเรื่องราวของนวัตกรรม สิ่งประดิษฐผลงานของอาจารย และนักศึกษาที่ไดมีโอกาสนําเสนอตอสังคม ทองถิ่นของตนเองเพื่อใหเกิด ประโยชนอนั สูงสุดตามปณิธานของมหาวิทยาลัยในการเปน “มหาวิทยาลัย อันเปนที่พึ่งของชุมชน”

P

P

8

56

( ชัชวิน วรปรีชา ) บรรณาธิการ

2 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

..............................................................

แบบสํารวจความคิดเห็น นิตยสารราชมงคลลานนา ฉบับที่ 10

นิตยสารราชมงคลลานนา ฉบับที่ 10 มิถุนายน-ตุลาคม 2561 ...................................... RMUTL Magazine Issue 10 June-October 2018 ...................................... ภาพปก:น.ส.ปองทิพยธิดา วจิตรสุวรรณ ดาวมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ประจําป 2561

20

P


สารบั ญ

P

P

12

36

Leader Talk : 5-7 5-7 แนวนโยบายการดํ า เนิ น งานของ

มหาวิทยาลัยจะมีแนวทางไปในทิศทางใด

STEM RMUTL : 8 - 11 8-11 ลานนาตาก เรียนรูวิทย คิดสรางสรรค

เสริมสรางเทคโนโลยีจาก STEM สู RMUTL STEAM3

Hands–on Graduate : 12 - 19 12-15 Brailler fighter เกมฝกพิมพอักษร

เบรลลเบื้องตน สื่อการเรียนรูเพื่อสังคม

16-19 MOU ผนึกกําลัง วสท. สนับสนุนงาน

ดานวิศวกรรมภาคตะวันตก

Innovation for Life : 20 - 23 20-23 เตาหุงตม เทคโนโลยีแกสซิไฟเออร (Gasifier Stove)

P

P

28 P

P

24

44

Technology for Life : 24 - 27 24-27 ระบบควบคุมโรงเรือนอัจฉริยะ สูการ พัฒนาเกษตรยุค 4.0

Community Services : 28 - 39 28-31 สืบลาย สานตอ ถักทอ ผืนตุง ดํารงไว

ซึ่งภูมิปญญาลานนา

32-35

โครงการสํารวจและจัดทําแผนการ อนุรักษพันธุทุเรียนพื้นบาน สนองพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี

36-39 แมวงั รักษถนิ่ สงเสริมการสรางอาชีพทํา กินแกกลุมผูปกครองผูพิการ

Social Engagement : 40-43 Talent Mobility

32

40 - 43

RMUTL Talent Academy 2018

P

68

Cultural Heritage : 44 - 55 44-47 รับนองใหมอยางสรางสรรค รุนพี่พารุนนองปลูกขาวแบบดํานา

48-51 คายอาสาและวัฒนธรรม 2018 Dehong-Tak Cultural Camp

52-53 วันวัฒนธรรม 54-55 พานองไหวพระธาตุ กิจกรรมรับนอง

สรางสรรค ราชมงคลลานนา ลําปาง

Way of Life Lanna style:

56-64

56-64 ลานนาสไตล by Young Designer Alumni Story : 65-67 ศิษยเกาเลาเรื่อง

65 - 67

RMUTL Movement : 68 - 71 68-71 ประมวลภาพพิธพี ระราชทานปริญญา

บัตร ประจําปการศึกษา 2560

นิตยสาร ราชมงคลลานนา


G Cr ae dr ue am t oi on ny

คณะผู ้ จ ั ด ทํ า

คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา/Advisor

รศ.ศีลศิริ สงาจิตร รศ.ดร.ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท ผศ.ดร.นิวัตร มูลปา อาจารยสุรียพร ใหญสงา ดร.สุรพล ใจวงศษา รศ.ดร.สมชาติ หาญวงศา

บรรณาธิการ/Editor อาจารยชัชวิน วรปรีชา

Assoc.Prof.Seensiri Sangajit Assoc.Prof.Dr.Teerasak Urajananon Asst.Prof.Dr.Niwat Moonpa Ms. Sureeporn Yaisa-nga Dr.Surapon Jaiwongsa Assoc.Prof.Dr.Somchart Hanwongsa

Mr.Chatchawin Worapreecha

ผูชวยบรรณาธิการ/Assistant Editor นางสาวอภิญญา พูลทรัพย

Creative Director นางสาวอาพัชรี ศิรินาโพธิ์

Ms.Apinya Pooltrub

Ms.Arpacharee Sirinapho

ชางภาพ / Photographer นายธนพล มูลประการ

Mr.Tanapon Munprakan

เรียบเรียงภาษาอังกฤษ / English Rewriter อาจารยภาคภูมิ ภัควิภาส

Mr.Pakphum Pakvipas

กองบรรณาธิการ / Editorial consultants and staff อาจายศิรินาถ จันทนะเปลิน อาจารยคงศักดิ์ ตุยสืบ อาจารยธีรวรา แสงอินทร นายพิศิษฐ พรหมอารีย นางสาวสิริญญา ณ นคร นางสาวเยาวัลย จันทรตะมูล นายวิทยา กวีวิทยาภรณ นางสาวแววดาว ญาณะ นางสาวธริษตรี ธนรัตนพิมลกุล นางประไพ อินทรศรี นางสาวอรวรรรณ โกสละ นางปภาดา พลอยอิ่ม นางสาวเกศกนก เนตรวงศ นางสาวจารุวรรณ สุยะ นางสาวพัชราภรณ คําสรอย นางสาวกิ่งกานต สาริวาท นางสาวชลาลัย กมลคุณาชัย

Ms.Sirinart Jantanapalin Mr. Khongsak Tuisuep Mrs.Theewara Saengin Mr.Pisit Promaree Ms.Sirinya Na Nakorn Ms.Yaowan Jantamoon Mr.Witthaya Kaweewitthayaporn Ms.Waewdao Yana Ms.Taristree Tanarattanapimolkul Mrs.Prapai Intrarasri Ms.Orawan Kosala Mrs.Papada Ployim Ms. Ketkanok Netwong Ms. Jaruwan Suya Ms.Patcharaporn Komsoy Ms.Kingkarn Sarivat Ms. Chalalai Kamonkhunachai

นักศึกษาฝกประสบการณสาขาการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ/IBM Student นายอิทธิศาสตร ดําเลิศ นายสิริพงศ มีลาภอุดมชัย

4 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

Mr.Ittisart Dumlert Mr.Siripong Meelapudomchai


Leader Talk

ปฏิรูปการศึกษา 6 ดาน รูปธรรมความสําเร็จการพัฒนา ศักยภาพกําลังคนของประเทศ

ผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาลดานการศึกษา (พ.ศ.2559-2561) การศึกษามีบทบาทสําคัญในการพัฒนาคนเพือ่ ขับ เคลื่อนการพัฒนาประเทศ รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรี พล เอก ประยุทธ จันทรโอชา ไดกําหนดนโยบายการปฏิรูป การศึกษาของประเทศทีม่ งุ ยกระดับคุณภาพ ลดความเหลือ่ มลํา้ ทางการศึกษา ซึง่ เปนโจทยของกระทรวงศึกษาธิการใน การขับเคลือ่ นการดําเนินงานการพัฒนาการศึกษาของชาติ และปกหมุดไปขางหนาเพื่อพัฒนาคุณภาพสูการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 หวงระยะเวลาทีผ่ า นมา กระทรวงศึกษาธิการ ได ดําเนินการปฏิรูป เพื่อแกปญหา ปรับปรุง และพัฒนางาน ภายใตกรอบการปฏิรปู ใน ๖ ดาน ประกอบดวย การปฏิรปู ครู การเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษา การปฏิรูป การบริหารจัดการ การผลิตและพัฒนากําลังคนเพื่อเพิ่ม ศักยภาพการแขงขัน การปฏิรูปการเรียนรู และการปรับ ระบบ ICT เพื่อการศึกษา โดยมีผลสัมฤทธิ์ตามนโยบาย รัฐบาลและขอสั่งการของนายกรัฐมนตรี ดังนี้

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 5


Leader Talk

1. ดานการปฏิรูปครู ไดดําเนินการโครงการสําคัญในหลายเรื่อง อาทิ การ พัฒนาศักยภาพครู โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ผานโครงการ Boot Camp การตัง้ สถาบัน คุรุพัฒนา เพื่อการพัฒนาครูแบบครบวงจรเพื่อลดการจัดอบรมสัมมนาซํ้าซอน แก ปญหาครูออกนอกหองเรียน การดึงคนเกงคนดีมาเรียนครูผานโครงการผลิตครูเพื่อ พัฒนาทองถิน่ จะทําใหไดครูเกงทีท่ าํ งานในภูมลิ าํ เนา จํานวนถึง 26,976 คน ในระยะ เวลา 5 ป นอกจากนี้ ยังสรางขวัญและกําลังใจใหครูผานโครงการตาง ๆ อีกมากมาย ทัง้ การปรับระบบการพัฒนาวิทยฐานะทีม่ งุ เนนการประเมินจากความมุง มัน่ ตัง้ ใจในการ ปฏิบตั งิ านของครูแทนการตรวจเอกสาร การปรับปรุงบานพักครู การแกปญ  หาหนีส้ นิ ครูดวยการลดดอกเบี้ย ชพค. เหลานี้ เพื่อพัฒนาศักยภาพครู เพื่อเปนกําลังสําคัญใน การพัฒนาผูเรียนตอไป 2. การเพิ่ม กระจายโอกาส และพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไดดําเนิน โครงการสําคัญตาง ๆ เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษา ดังนี้ การจัดการศึกษาใน เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจชายแดนภาคใต จัดการศึกษาของศูนยศาสนาอิสลามประจํา มัสยิด สถาบันศึกษาปอเนาะ จัดตั้งโรงเรียนประชารัฐจังหวัดชายแดนภาคใตและ อาชีวศึกษาประชารัฐ สําหรับเด็กที่มาจากครอบครัวผูมีรายไดนอย หรือไดรับผลกระ ทบจากความไมสงบ ดําเนินการเปดไปแลว จํานวน 68 แหง การกระจายโอกาสใหกบั เด็กที่อยูในพื้นที่หางไกล โรงเรียนขนาดเล็ก ผานโครงการติวฟรีดอทคอม DLTV DLIT โรงเรียนดีใกลบา น โรงเรียนประชารัฐ รวมทัง้ การจัดการศึกษาใหกบั ประชาชนทัง้ การ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐานใหประชาชนวัยแรงงาน การจัดการศึกษาอาชีพสําหรับประชาชนกวา 500,000 คนตอป การปรับระบบสอบเขาสถาบันอุดมศึกษา ตลอดจนการจัดทําแผน ยุทธศาสตรการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต การศึกษา สําหรับผูพิการ ทั้งนี้ เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนการศึกษาที่มีคุณภาพสําหรับคน ทุกคน 3. การปฏิรูปการบริหารจัดการ ไดมีการปรับระบบการบริหารจัดการใน หลายเรื่อง ดังนี้ พัฒนาการจัดการศึกษาในรูปแบบ Partnership School มีโรงเรียน เขารวม จํานวน 42 แหง และบริษัทเขารวม จํานวน 11 แหง กําหนดวิธีการจัดการ สอบผูอํานวยการเขตพื้นที่ในรูปแบบใหม โดยมุงเนนใหไดคนเกง และปองกันการ ทุจริตจากการคัดเลือก การปรับวิธีการประเมินและการประกันคุณภาพสถานศึกษา ที่สามารถประหยัดงบประมาณกวาพันลานบาท แตเปนการประเมินเพื่อพัฒนาและ 6 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Leader Talk ไมเปนภาระใหครู การประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ การจัดตั้งกระทรวงใหมที่ดูแล การศึกษาระดับอุดมศึกษา การตรากฎหมายเกี่ยวกับกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา การ สื่อสารสรางความเขาใจในการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการในรูปแบบที่ทันสมัยผานโครงการ การสรางการรับรูการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนการเรงปราบปรามการทุจริตใน กระทรวงศึกษาธิการ อาทิ ปราบปรามทุจริตกองทุนเสมาพัฒนาชีวิต ปราบปรามทุจริต MOE Net ปราบปรามทุจริตการตรวจสอบโครงการกอสรางอควาเรียม สงขลา เพื่อใหเกิดการบริหารงานของ กระทรวงศึกษาธิการเปนไปดวยความสุจริตและมีประสิทธิภาพ 4. การผลิตและพัฒนากําลังคน เพือ่ เพิม่ ศักยภาพการแขงขัน เปนการผลิตและพัฒนาคน ใหตรงกับความตองการของการพัฒนาประเทศ ดําเนินโครงการสําคัญ ดังนี้ จัดหลักสูตรอาชีวะพันธุ ใหม ดําเนินการสรางและผลิตอาชีวะในอุตสาหกรรม จัดหลักสูตรอาชีวะพันธุใหมที่เนนผลิตชางใน อุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ 5 สาขา มีวทิ ยาลัยอาชีวศึกษา เขารวมทัง้ หมด 27 แหง มีเปาหมาย ผลิตอาชีวะพันธุใหมใหได 8,500 คนใน 5 ป มาตรการลดการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวศึกษา ที่สงผลใหการทะเลาะวิวาทลดลงอยางตอเนื่อง สัตหีบโมเดลที่เนนการเรียนจริง รูจริง ไดลงมือทํา จริง ผลิตกําลังคนในสาขาที่เกี่ยวของกับ New S-Curve สรางระบบการเตรียมนวัตกรในพื้นที่ EEC การจัดการศึกษาดานอาชีพใหกับประชาชนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยมี ผูประกอบการพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 6,600 คน/ป โครงการหองเรียนอาชีพที่เรียน สามัญคูกับสายอาชีพ เพื่อเตรียมตัวเขาสูอาชีพ จบแลวมีงานทํา มีโรงเรียนนํารอง 6 แหง การสราง บัณฑิตพันธุใ หม เพือ่ ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรมของประเทศใน 8 สาขาวิชา มีสถาบันอุดมศึกษาเปด สอนในป 2561 จํานวน 20 แหง 235 หลักสูตร โครงการจัดตั้งศูนยประสานงานการผลิตและพัฒนา กําลังคนอาชีวศึกษาเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก เพื่อสงเสริมและเพิ่มปริมาณผูเรียนอาชีวศึกษา โดยจะดําเนินการไดครบทุกภาค การศึกษาระบบ KOSEN เพื่อเตรียมกําลังคนของประเทศ ซึ่งจะ เปนการเตรียมกําลังคนที่สําคัญในการพัฒนาประเทศตอไป 5. การปฏิรูปการเรียนรู ไดดําเนินการจัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถเฉพาะดาน ผานโครงการหองเรียนกีฬาหองเรียนดนตรี โครงการสานฝนการกีฬาชายแดนใต เพื่อใหเปนไปตาม ศักยภาพ การเสริมสรางอุดมการณรักชาติ ศาสนาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยไทย โดยปรับ หลักสูตรใหเพิ่มเติมทางประวัติศาสตร การสรางคานิยมที่พึงประสงคผานกิจกรรมลูกเสือ การบูรณา การการสอนวิทยาศาสตร เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร คณิตศาสตรผาน STEM ศึกษา การพัฒนาเด็ก ใหอา นคลองเขียนคลอง รวมถึงใหประชาชนอานออกเขียนไดทกุ คน การจัดทําแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย เพือ่ เปนไปตามรัฐธรรมนูญ การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ผูเ รียนผานโครงการ English for All EchoV รวมถึงการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ ใหเปนมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาทองถิ่นอยางแทจริง 6. การปฏิรูป ICT เพื่อการศึกษา โดยการพัฒนาระบบอินเทอรเน็ต และระบบฐานขอมูล ไดแก การดําเนินโครงการจัดหา High Speed Internet ในโรงเรียน ทีใ่ หโรงเรียนเลือกผูใ หบริการเครือ ขายอินเตอรเน็ตเอง ทําใหโรงเรียนมีอนิ เทอรเน็ตความเร็วสูงใช และสามารถลดคาใชจา ยจากเดิมปละ ประมาณ 2,000 ลานบาท และโครงการ Big Data กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการพัฒนาระบบฐาน ขอมูลกลางของทุกหนวยงานในกระทรวงศึกษาธิการใหสามารถรองรับการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ขอมูลกับฐานขอมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ ไดแบบ On-Line Real Time ทําใหสามารถใช ประโยชนในการบริหารจัดการฐานขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ

“เหลานี้เปนสวนหนึ่งของผลสัมฤทธิ์การปฏิรูปการศึกษาจากการดําเนินการตามนโยบาย รัฐบาลและขอสั่งการของนายกรัฐมนตรี ที่กระทรวงศึกษาธิการมุงมั่นใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม เพื่อใหประชาชนของประเทศ มีคุณภาพและมีศักยภาพที่สอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศ อัน เปนพื้นฐานในการพัฒนาประเทศไทย ใหมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และสามารถแขงขันไดอยางเต็ม ภาคภูมิ” *บทความจากบทสรุปผูบริหาร (Executive Summary) เอกสาร “ผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานกระทรวงศึกษาธิการ ตามนโยบายรัฐบาลและขอสั่งการของนายกรัฐมนตรีดานการศึกษา” รายงานตอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2561

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 7


STEM RMUTL

3

RMUTL STEAM 8 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


STEM RMUTL

จาก STEM สู

3

RMUTL STEAM

ลานนาตาก เรียนรูวิทย คิดสรางสรรค เสริมสรางเทคโนโลยี สะเต็มศึกษา (STEM) คือ แนวทางการจัดการศึกษาทีบ่ รู ณาการความรูใ น 4 สหวิทยาการ ไดแก วิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร เทคโนโลยี และคณิตศาสตร โดยเนนการนําความรูไปใชแก ปญหาในชีวติ จริง รวมทัง้ การพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหมทเี่ ปนประโยชนตอ การดําเนินชีวติ และการทํางาน หากแตปจจุบันการเรียนรูไมเพียงจํากัดเพียงสะเต็มศึกษาเทานั้น ตองเรียนรูควบคูกับ การบริหารจัดการ ความคิดสรางสรรค รวมถึงการตอยอดความรูนั้นเพื่อนําไปสูการพัฒนาที่แท จริง จึงเกิดการเรียนรูอ กี รูปแบบหนึง่ ทีเ่ รียกวา “STEAM3” ไดแก S=Science, T=Technology, E=Engineering, A=Art, M3=Mathematics Management Marketing เปนการเรียนรูแบบ บูรณาการเนือ้ หาและทักษะความรู 4 สาระ รวมเขากับศิลปะ การบริหารจัดการ และการตลาด เพือ่ พัฒนาเปนแนวการศึกษาที่ครอบคลุม โครงการ “ลานนา ตาก เรียนรูวิทย คิดสรางสรรค เสริมสรางเทคโนโลยี (RMUTLSTEAM )” ภายใตโครงการเครือขายอุดมศึกษาพีเ่ ลีย้ ง เปนโครงการทีม่ งุ เนนพัฒนาครูและนักเรียน ในภาคการศึกษาระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา ผานกระบวนการจัดการเรียนรูแบบ STEAM3 โดยการบูรณาการความเชี่ยวชาญและความรวมมือของบุคลากรทั้ง 4 คณะ ในมทร.ลานนา ตาก ประกอบดวย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปกรรม และสถาปตยกรรมศาสตร และคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร ตลอดจนเพือ่ สรางเครือขายความ รวมมือระหวางสถานศึกษาระดับตางๆ ในการดําเนินการเพือ่ ยกระดับคุณภาพการศึกษาระดับการ ศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษา ทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติใหมีคุณภาพ 3

ผูเขารวมโครงการจะไดศึกษากระบวนการคิด ออกแบบ และทดลองประดิษฐจําลองเพื่อ ใชในสถานการณตางๆ ที่กําหนด ผานกระบวนการเรียนรูแบบ STEAM3 มีสถานศึกษาเครือขายที่ เล็งเห็นถึงความสําคัญและสนับสนุนบุคลากรเขารวมโครงการ เมือ่ เสร็จสิน้ แลวสถานศึกษาทีเ่ ขารวม โครงการจะไดนํากระบวนการเรียนรูดังกลาวไปถายทอดแกนักเรียน นักศึกษา โดยหลังจากนี้ มหาวิทยาลัยฯ จะไดติดตามและสงเสริมเพื่อนําไปสูการพัฒนาดานการศึกษาตอไป ในปทผี่ า น มทร.ลานนา ไดใชกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ใหแกครูและ นักเรียน และในปนมี้ หาวิทยาลัยฯ ไดดาํ เนินโครงการตอเนือ่ งในระยะที่ 2 ภายใตเครือขายอุดมศึกษา พี่เลี้ยง แสดงใหเห็นถึงความมุงมั่นที่จะนําวิธีการสอนไปพัฒนาคุณภาพนักเรียน นักศึกษา ผาน กระบวนการจัดการเรียนรูใ นรูปแบบ STEAM3 ตลอดจนไดสรางเครือขายความรวมมือระหวางสถาน ศึกษาระดับตางๆ ในทองถิน่ ซึง่ มหาวิทยาลัยฯ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาพีเ่ ลีย้ งจะไดนาํ ทรัพยากร ตลอดจนความรูความเชี่ยวชาญทางวิชาการและเทคโนโลยีไปชวยพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหแก สถานศึกษาเครือขาย สอดคลองกับนโยบายดานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการตอไป นิตยสาร ราชมงคลลานนา 9


STEM RMUTL

Lanna Tak, Science Learning, Creative Thinking, T echnol ogy Devel o p m e n t F r o m

3

STEM to RMUTL STEAM

The system of STEM is the guideline of learning management integrating four multi-disciplines: Science, Engineering, Technology, and Mathematic. This knowledge emphasizes on problem-solving in real life situations including system development or new products which are beneficial for living and work. Learning at present is not only limited to the STEM, it must be learned with creativity management and cumulated knowledge to true development. The new system of learning is emerged which is called “STEAM3”- S=Science, T= Technology, E=Engineering, A=Art, M 3=Mathematics Management Marketing. This system is the learning system integrated by four multi-disciplines with Art, Management, and Marketing to develop to comprehensive educational guideline. The project “Lanna Tak, Science Learning, Creative Thinking, Technology Development (RMUTLSTEAM3)” which is under supervision of the university network is the project focusing on teachers and students development in the level of junior high school and vocational school by using STEAM3 learning management. The system will integrate expertise and collaboration from educational persons of 4 faculties in Rajamagala University of Technology Tak Campus which are Faculty of Sciences and Agricultural Technology, Faculty of Engineering, Faculty of Fine Arts and Architecture, and Faculty of Business Administration and Liberal Arts as well as establishing the 10 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

collaborating network among educational institutes for operations to levitate the quality in both local and national basic educational level and higher education. The participants of this project will learn thinking process, design, and simulation experiments in different situations by using STEAM3 learning management. There are educational networks realized that it is important to support educational persons to participate in this project. When the project finished, the educational institutes attending the project could bring the learning process to pass on to students so that the universities can pursue and support which could lead to educational development in the next level. Last year, Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Mai applied the STEM learning process to teachers and students. This year, the university has continuously operated in phase 2 which is under supervision of the university network. This demonstrates that determination to bring the teaching techniques to enhance students by using STEAM 3 learning management, and to build collaborating network among local educational institutes. The university as a leader in higher education will supply resources and academic expertise and technology to develop educational quality to educational networks to be consistent with the educational policy of the Ministry of Education.


STEM RMUTL

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 11


Hands–on Graduate

Brailler fiFighter เกมฝกพิมพอักษรเบรลลเบื้องตน สื่อการเรียนรูเพื่อสังคม

“พวกเราดูงานของรุนพี่ปกอนๆ ที่ทํางานเกี่ยวกับผูพิการทางสายตา เห็นวาในโรงเรียน มีเครื่องเบรลลไมกี่เครื่อง และมีราคาสูง ตองสั่งจากตางประเทศ เราจึงอยากใชความรูที่เราเรียน มาพัฒนาซอฟตแวรที่ทําใหทุกคนเขาถึงอักษรเบรลลและอยากเรียนรูไปพรอมกัน” ณัฐพงษ ธิเชื้อ เลาถึงแรงบันดาลใจในการสรางเกมสฝกพิมพอักษรเบรลล สําหรับผูที่มีความบกพรองทางการ มองเห็น สื่อที่มีผลตอการดําเนินชีวิตไดแกสื่อ ประเภทเสียงและกายสัมผัส อักษรเบรลลจึง จําเปนอยางยิ่งที่พวกเขาจะตองเรียนรู แตใน สังคมไทยยังมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความ ตองการของผูพิการในแวดวงที่จํากัด อีกทั้ง โอกาสในการเขาถึงอุปกรณมนี อ ยมาก เนือ่ งจาก เครื่องพิมพดีด Brailler มีราคาสูงถึง 30,00035,000 บาท การเขาถึงอุปกรณของเด็กๆ จึงมี การทําผานสถานศึกษาและกระบวนการเรียน การสอนเทานั้น เปนเวลากวา 1 ปที่ณัฐพงษ ธิเชื้อ และจาตุรงค วงคใจ นักศึกษาสาขาวิชาระบบ สารสนเทศทางคอมพิวเตอร คณะบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร มทร.ลานนา ลําปาง ไดลงพื้น ที่ ศึ ก ษาข อ มู ล และพั ฒ นาเกมฝ ก พิ ม พ อั ก ษร เบรลลเบื้องตนสําหรับผูบกพรองทางการมอง 12 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

เห็น (Brailler fighter) รวมกับคุณครูและ นักเรียนโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดลําปาง เพื่อรวมกันพัฒนาซอฟตแวรสําหรับฝกพิมพ ดี ด อั ก ษรเบรลล และใช เ ป น ช อ งทางให ผู บกพรองทางการเห็น บุคลากรทางการศึกษา ของโรงเรียน สามารถศึกษาอักษรเบรลลและ เรียนรูดวยตัวเองได จาตุ ร งค วงค ใจ เล า ว า ภาษา เบรลลมีลักษณะเปนจุดนูนเล็กๆ ใน 1 ชอง ประกอบดวยจุด 6 ตําแหนง ซึ่งนํามาจัดสลับ กันไปมาเปนรหัสแทนอักษรและพยัญชนะ ทั่วไป พวกเราจึงสราง Brailler fighter ซึ่ง เปนซอฟตแวรฝกพิมพอักษรเบรลลเบื้องตน ในรูปแบบเสียง โดยใชหลักการเดียวกับเครือ่ ง พิมพดีด Brailler แตจัดทําในรูปแบบเกม เพื่อใหนองๆ และบุคลากรของโรงเรียนมีแรง บันดาลใจในการเรียนมากขึ้นในลักษณะของ

“เรียนปนเลน” ที่สามารถเขาถึงดวยตนเอง ไดจากคอมพิวเตอร Brailler fighter จะแตก ตางจากเกมอื่นทั่วไป เนื่องจากเปนเกมพิมพ ดีดแบบใหมของการเรียนรูท ที่ นั สมัย สามารถ ฝกทักษะการพิมพอักษรเบรลลทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษและตัวเลข มีระดับความยาก งายของเกม จากงาย ปานกลาง และยาก แลว แตความชอบของแตละคน ขณะที่ณัฐพงษ ธิเชื้อ เลาวา เราได วางโครงสรางเกมใหคลายกับการใชงานเครือ่ ง เบรลลมากที่สุด และหาขอสรุปสําหรับสีที่ นองๆ สายตาเลือนลางจะมองเห็น ซึ่งจะตอง เปนสีทตี่ ดั กัน นัน่ คือ สีเหลือง สีดาํ สีขาว หลัง จากนั้นพวกเราจึงเริ่มออกแบบ Interface และสรางเกมส มันเปนเรือ่ งทีย่ ากมาก เพราะ เราตองถอดรหัสของอักษรเบรลล การกดแปน พิมพในเครื่องพิมพเบรลลใหตรงกับการกด


Hands–on Graduate

แปนพิมพบนคียบอรด เสียงที่ใชในเกม เพื่อใหทุกอยางเชื่อมโยงกัน หลังจากได Brailler fighter ชุดแรก พวกเราก็ไดนําไป ทดสอบการใชงานกับนองๆ และคุณครูโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดลําปาง และนํากลับมาปรับปรุงจนกระทั่งได Brailler fighter ที่มีระดับการผสมคํา ซึ่งเปนชุดสมบูรณที่สุด สําหรับใชเปนสื่อการเรียนรู Brailler fighter นับเปนสือ่ การเรียนรูใ นรูปแบบใหมทสี่ ามารถทดแทนปญหาดานการเขาถึงอุปกรณตา งๆ ของ เด็กทีม่ คี วามบกพรองทางการมองเห็น และเปนผลผลิตของบัณฑิตนักปฏิบตั ขิ องมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง ในรายวิชาโครงงานทางระบบสารสนเทศ โดยมีอาจารยคนึงนุช สารอินจักร เปนอาจารยทปี่ รึกษาโครงงาน นอกจาก นี้ยังไดมีการบูรณาการรวมกับนักศึกษาหลากชั้นปในโครงงานกลาใหมสรางสรรคชุมชนปที่ 12 ผูสนใจสามารถศึกษาและ ดาวนโหลดโปรแกรมไดที่เฟสบุคแฟนเพจ BlindisFriends หรือติดตอขอรับแผนโปรแกรมไดที่ มทร.ลานนา ลําปาง

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 13


Hands–on Graduate

Brailler fiFighter

“Braille typing training game” learning media for society

14 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Hands–on Graduate

“We look at the work of the senior project which working with vision impairment. We recognized that in schools there were a few braille machines and costly which had to order from abroad. We want to use the knowledge to develop software that enable everyone access to braille and want to learn along the way”. NatthaPhong ThiChuea said about the inspiration for the creation of Braille typing training game. For those who are visually impaired face with difficulty to live. Braille is essential for them to learn. Thailand also lacks of understanding the needs of the disabled people. Especially for vision impairment person, braille typewriter costs 30,000-35,000 baht. Therefore, students can use the machine only in the class from school only. For more than a year that Natthaphong ThiChuea and Chaturong Wongjai, Students of Computer Information Systems Department, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, Rajamangala University of Technology, Lampang Campus have been studying information and development of basic braille writing games for visually impaired people together with teachers and students at Lampang Blind School to develop software for braille writing and used as a communication channel for the visually impaired. Consequently, students can study braille and learn by themselves. Chaturong Wongjai said Braille language is a point raised in a small cell and has 6 positions, which led to a switch to a code of letters and alphabets. We created a software called “braille fi ghter training” in the preliminary print braille audio formats. Using the same principle of Brailler writer, but braille typewriter was made as a game to inspired students and user to learn as “Learn to Play”. User can access to “Brailler fighter” from computer which

they can learn Braille printing in Thai, English, and number. Program was set to have different level of difficulties from easy, moderate, and hard. NatthaPhong ThiChuea said “we have structured the game similar to braille typing machine as possible and also identify the suitable color for bleared students which would be a contrasting color such as yellow, black and white then we started to create games and Interface design. It was very difficult to decode braille letter and to match Keystrokes on braille printer with keystrokes on the keyboard and sounds used in the game so everything need to be interlinked. After the braille fighter created, it was tested by students and teachers of the blind school in Lampang and updated until “braille fighter” able to combine the words. Braille fighter is learning materials that can solve problem for inadequate equipment for children with impaired vision. Braille fighter was the project of student from Information System Department, Rajamangala University of Technology, Lampang Campus, lecturer Khanuengnut Sanin as a project advisor. Moreover this project cooperated with various students under the project of “Kla Mai Sangsan Chumchon” 12th year. Note. Interested persons can download the information from Facebook Fan Page BlindisFriends or contact to RMUTL Lampang.

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 15


Hands–on Graduate

16 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Hands–on Graduate

MOU ผนึกกําลัง วสท. สนับสนุนงานดาน วิศวกรรมภาคตะวันตก

วิศวกรรม (Engineering) เปนวิชาชีพที่ เกี่ยวของโดยชัดเจนกับวิทยาการและวิทยาศาสตร มา ประยุกต คิดคน ออกแบบ และประดิษฐสิ่งของตางๆ โดยการนําทรัพยากรที่มีอยูมาวางแผนการใชงานอยาง ถูกหลักวิชาการ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยตอชีวิตและ ทรัพยสินของผูบริโภค มทร.ลานนา ตาก นอกจากหนาทีข่ องการเปน สถาบันการศึกษามุงเนนผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความ เชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่ อ พั ฒ นาชุ ม ชน โดยมี ก ารบริ ห ารจั ด การตามหลั ก ธรรมาภิบาลแลว ยังไดคํานึงถึงความสําคัญในการยก ระดับขีดความสามารถของบัณฑิตและบุคลากรดาน วิ ศ วกรรมให เข ม แข็ ง สามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ วิ ช าชี พ วิศวกรรมไดอยางเต็มประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเล็งเห็นถึง ความสําคัญในการเผยแพรความรูและผลิตบุคลากรที่มี ศักยภาพออกสูภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ทางดานวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ (วสท.) เปนองคกรที่กอตั้งมาอยาง ยาวนาน มีหนาที่หลักในการสงเสริมและสนับสนุนการ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ซึ่งหมายรวมถึงการใหความ รวมมือในทุกๆ มิติที่จะผลักดัน ยกระดับ และพัฒนา มาตรฐานการประกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรม พร อ มทั้ ง สนับสนุนทุกกิจการที่จะขับเคลื่อนใหวิชาชีพวิศวกรรม กาวหนาและเกิดประโยชนตอสาธารณชนมากที่สุด

ฉะนั้นแลว เมื่อทั้งสองหนวยงานตางมีจุดมุงหมายสําคัญเดียวกัน คือ การ เสริมสรางศักยภาพวิชาชีพวิศวกรรมไทยใหมมี าตรฐานในระดับสากล จึงเกิดขอตกลง ความรวมมือดานวิชาการและวิชาชีพวิศวกรรมขึ้น โดยขอบเขตของความรวมมือใน ครั้งนี้คือใหการแสดงเจตนารมณรวมกันในการใหความรวมมือดานความรับผิดชอบ ทางสังคม (CSR) รวมถึงใหการแลกเปลี่ยนองคความรูทางดานวิชาการและวิชาชีพ วิศวกรรมระหวางสององคกรเพื่อกอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงานและ สุดทายใหการสนับสนุนวิชาการดานวิศวกรรม ประกอบดวยการสงเสริมและพัฒนา วิชาชีพ รวมถึงการสรางมาตรฐานวิชาชีพของบุคลากรทางดานวิศวกรรม โดยดําเนิน กิจกรรมดานการฝกอบรม การใหความชวยเหลือทางดานวิศวกรรม รวมทัง้ การจัดทํา มาตรฐานงานวิศวกรรมเพื่อพัฒนาสงเสริมใหเกิดประโยชนทางดานวิศวกรรมรวมกัน การลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือในครั้งนี้ เปนเพียงจุดเริ่มตนที่จะ ทําใหความรวมมือดานวิชาการและวิชาชีพวิศวกรรมเปนรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะ อยางยิ่งนับเปนโอกาสสําคัญที่ มทร.ลานนา ตาก ไดรับเกียรติจากวิศวกรรมสถาน แหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) คัดเลือกใหเปนสถานที่ตั้งสํานักงาน วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) สาขาภาคตะวันตก ในการพัฒนาองคความรูและใหบริการดานวิศวกรรมแกวิศวกร นักศึกษา และ ประชาชนผูสนใจในพื้นที่ 5 จังหวัด ประกอบดวยกาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ และตาก

การผนึกกําลังในครั้งนี้จะนํามาซึ่งการแลกเปลี่ยนองคความรูและพัฒนา ศักยภาพบัณฑิตและบุคลากรทางดานวิศวกรรมซึ่งเปนที่ตองการ และสอดรับกับบริบททางสังคมไทยขณะนี้ เปนกลไกสําคัญที่ผลักดันใหเกิด การตอยอดองคความรูในดานวิศวกรรมงานทางไดอยางครบวงจร และมีประสิทธิภาพมากที่สุดครั้งหนึ่งของประเทศไทย นิตยสาร ราชมงคลลานนา 17


Hands–on Graduate

MOU teamed with Engineering Institute of Thailand to

Support Engineering in Western Engineering is a profession which obviously related to technology and science to apply, create, design and invent things by planning to use available resources according to appropriate academic principles for safety of consumers’ lives and properties. RMUTL Tak Campus does not only act as an educational institute producing graduates having expertise in science, technology, and innovation for community development by adopting good governance, it also focuses on levitating the limitation in capability of graduates, and strengthening engineers to be able to effectively perform their responsibilities. Moreover, it is important to pass on knowledge and produce personnel having high potential to industrial sector of the country. 18 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Hands–on Graduate

Engineering Institute of Thailand is an organization which has been established for long time. The main responsibility is to support and to promote engineering which include collaboration in all dimensions to force, levitate, and develop the standard of engineering profession. The organization is ready to support for all activities that will drive the progress towards engineering profession to benefit the most to public. Consequently, these two organizations have the same objective which is to reinforce the potential of Thai engineering profession to have the same standard as international profession. This aim leads to Memorandum of Understanding (MoU) in academic aspect and engineering profession. The boundary of this collaboration is to share the common commitment in collaboration in corporate social responsibility (CSR), and to exchange academic knowledge and engineering profession between these two organizations to maximize the potential in performance. Finally, this is to support academic aspects of engineering which consists of profession support and development, standardization of engineering profession by organizing the trainings, engineering support, and standardization of engineering profession to develop and to support shared benefits of engineering. This Memorandum of Understanding is the beginning of collaboration in academic aspects and engineering profession to be more concreate. Particularly, it is an important opportunity that the RMUTL Tak Campus has been honored Engineering Institute of Thailand to be a location of Engineering Institute of Thailand in Western to develop knowledge and to provide engineering support to engineers, students, and public in 5 provinces which are Kanchanaburi, Ratchaburi, Petchaburi, Prachuab Khiri Khan, and Tak.

This synergy will bring the exchange of knowledge and potential development for graduates and engineering profession which is necessary needed and consistent with current Thai contexts. It is an important mechanism to promote completion of knowledge in engineering, and to have the highest potential of Thailand.

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 19


Innovation for Life

เตาหุงตม เทคโนโลยี

แกG aสs iซิf iไeฟเออร r Stove 20 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Innovation for Life

จากป ญ หาด า นพลั ง งาน และความตองการใชพลังงานใน

ประเทศไทย มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในทุกป สงผลใหเชื้อเพลิง เชน กาซ LPG มีการปรับราคาเพิม่ ขึน้ ซึง่ มีผลกระทบตอตนทุนการผลิตและพลังงานของ ภาคครัวเรือน จากปจจัยดังกลาววัสดุชีวมวล (Biomass) หรือวัสดุเหลือ ทิ้งทางการเกษตร ฟน ไมโตเร็ว เปนตัวเลือกอีกทางหนึ่งในการทดแทน กาซ LPG โดยอาศัยกระบวนการกาซซิฟเคชั่น (Gasification) แปรรูป เปนพลังงานความรอนและการประยุกตใชกับเตาแกสซิไฟเออร ซึ่งจะ เปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะชวยลดตนทุนดานพลังงาน อาจารยสรุ ยิ งค ประชาเขียว อาจารยประจําสาขาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ลานนา เชียงราย ได ออกแบบและสรางเตาหุงตมดวยการใชเทคโนโลยีแกสซิไฟเออร (Gasifier Stove) เพื่อใชทดแทนเตาอังโลที่มีประสิทธิภาพทางดานความรอนตํ่า และมีการสูญเสียเชื้อเพลิงเปนอยางมาก โดยเตาหุงตมเทคโนโลยีแกสซิ ไฟเออร อาศัยกระบวนการทางเคมี ความรอนจากการเผาไหมเชื้อเพลิง ในสภาวะจํากัดปริมาณอากาศ เพือ่ ใหความรอนแกชวี มวลรวมกับเทคนิค การจํากัดปริมาณอากาศ (air) หรือออกซิเจน (Oxygen, O2) หรือไอนํ้า (Steam) เกิดสภาวะที่มีการควบคุมปริมาณออกซิเจนในสัดสวนที่ตํ่า กวาปริมาณที่ทําใหเกิดการเผาไหมเชื้อเพลิงอยางสมบูรณ ทําใหชีวมวล เกิดการแตกตัวเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน (Hydrocarbon, HC) ในรูปของของแข็งและกาซ ซึ่งประกอบดวยกาซคารบอนมอนออกไซด (Carbon monoxide, CO) กาซไฮโดรเจน (Hydrogen, H2) กาซมีเทน (Methane, CH4) กาซคารบอนไดออกไซด (Carbon dioxide, CO2) กาซไนโตรเจน (Nitrogen, N2) และกาซอื่นๆ เรียกวา โปรดิวเซอรกาซ (Producer gas) กระบวนการแกสซิฟเคชันจากชีวมวลเปนกระบวนการ เผาไหมแบบไมสมบูรณ ทางคณะผูวิจัยจึงไดออกแบบเตาหุงตมแกสซิไฟเออรแบบใช ฟนเปนเชื้อเพลิง โดยออกแบบเปนประเภทอัพดราฟ แกสซิไฟเออร (Up draft gasifier) สวนประกอบมีผนังสองชั้นรูปทรงกระบอก ชั้นที่หนึ่ง เปนหองโซนการเผาไหมหลักและทําการผนังเจาะรูดานลางและดานบน ของผนัง สวนชั้นที่สอง เปนผนังที่มีชองรับอากาศออกซิเจนเขามาใหเกิด กระบวนการการเผาไหม เมื่อเกิดการเผาไหมความรอนจะถูกบังคับให ไหลจากดานลางสูดานบนของเตาและบางสวนจะเกิดแกสไหลขึ้นไปยังรู ดานบนของผนังที่มีอุณหภูมิสูงทําใหเกิดการลุกไหมของแกสชีวมวล โซน รีดักชัน (Reduction zone) อุณหภูมิเฉลี่ย 800 – 1,000 องศาเซลเซียส ออกแบบใหสามารถเติมเชื้อเพลิงไดอยางตอเนื่อง โดยมีประสิทธิภาพ พลังงานความรอนที่สูงกวาเตาอังโลเฉลี่ยประมาณ 30 เปอรเซ็นต และ เพื่อใหความรูที่ไดจากการวิจัยครั้งนี้ ทางคณะผูวิจัยจึงไดนําความรูไป ถายทอดใหกับผูที่สนใจ โดยการจัดฝกอบรมถายทอดเทคโนโลยีใหกับ เกษตรกร ชุมชน กลุมวิสาหกิจชุมชน ณ บานรองศาลา ตําบลดงมะดะ และบานทามะโอ ตําบลจอมหมอกแกว อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย เพือ่ เปนทางเลือกในการลดตนทุนการใชพลังงานสําหรับครัวเรือน ชุมชน และกลุมวิสาหกิจชุมชน นิตยสาร ราชมงคลลานนา 21


Innovation for Life

Cooking Stove,

Technology of Gasifier Stove

Thailand has encountered the problems of energy and its needs which have been increasing every

year. These cause fuel, for example, LPG has risen in its price affecting the cost of production and energy of household. According to this factor, biomass or agricultural waste: firewood and fast- growing plants are alternatives for replacing LPG by the process of gasification to transform thermal energy and to apply for using with gasifier stove which is a way to reduce the cost of energy. Mr.Suriyong Prachakiew, a lecturer of Faculty of Sciences and Agricultural Technology, RMUTL Chiang Rai, has designed and created a cooking stove by using technology of gasifier stove to replace a low-efficiency heat clay firepot that lose a lot of fuel. The gasifier stove used the chemical process, heat from combustion in limited air conditions to heat biomass along with limited air conditioning technique (air) or oxygen (O2) or steam. When the level of oxygen was in limited control condition in lower ratio caused complete combustion, it will cause biomass decomposed into Hydrocarbon (HC) in solid and gas composing of Carbon monoxide (CO), Hydrogen (H2), Methane (CH4), Carbon dioxide (CO2), Nitrogen (N2), and other gases called Producer 22 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

gas. The process of gasification from biomass is the process of incomplete combustion. The team of researchers has designed gasifier stove by using firewood as fuel. It is up draft gasifier composing of two layers of cylinders. The first layer is the zone of main combustion and hole-making on the bottom and top of the wall. The second layer is the wall having ventilator for oxygen to cause the process of combustion. When the combustion occurred, the heat will compulsory flow from the bottom to the top of the stove, and some parts of it will have gas leak up to the hole on the top of the wall having high temperature causing the combustion of biomass gas in reduction zone at average temperature 800 – 1,000 degree Celsius. This gasifier stove is designed to continuously refill fuel with having higher-efficient heater than the clay firepot average 30 percent, and to contribute the results of this research. The researchers broadcast knowledge to public who are interested in the topic by training to farmers, communities, community enterprise groups in Baan Rong Sala, Tambon Dongmada, Amphoe Mae Lao in Chiang Rai Province, and Baan Tahmao, Tambon Jom Morkkaew, Amphoe Mae Lao in Chiang Rai Province for alternatives in cost reduction of using energy for household, communities, and community enterprise groups.


Innovation for Life

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 23


Technology for Life

สุขภาพดีไมมีขาย อยากไดตองทําเอง....ประโยคนี้ที่เราคุนเคยกันดี เพราะการจะมีสุขภาพที่ดีนั้น ตองเริ่มตนจากการดูแลตนเอง ทั้งจาก การพักผอนใหเพียงพอ การออกกําลังกาย และการทานอาหารที่ดีมี ประโยชน แตดวยวิถีการดําเนินชีวิตอยางเรงรีบในยุค 4.0 นี้ เราจึง ไมมีเวลามากพอที่จะใสใจสุขภาพของตัวเอง และสงผลใหคุณภาพ ชีวิตลดลงเปนอยางมาก การทานอาหารทีด่ มี ปี ระโยชน จึงเปนทางเลือกหนึง่ ทีเ่ ราสามารถ ทําไดงายและใกลตัวที่สุด อาทิ การเลือกทานผัก ผลไมปลอดสารพิษ หรือ “เกษตรอินทรีย” เชน ผักไฮโดรโปนิกส ถือไดวากําลังเปนที่นิยมในกลุมผู ที่รักสุขภาพ เนื่องจากคุณภาพของผักที่สด สะอาด ปลอดภัยจากสารพิษ และสามารถปลูกทานเองได ทั้งแบบที่ใชดินและไมใชดิน ดวยอัตลักษณ “เกษตรปลอดภัย” ของ มทร.ลานนา พิษณุโลก คณะวิศวกรรมศาสตร เล็งเห็นถึงความสําคัญทีจ่ ะสนับสนุนและผลักดันการ ทําเกษตรปลอดภัย ภายใตสงั คมการเกษตรในอุดมคติทวี่ า ผูบ ริโภคปลอดภัย เกษตรกรอยูได โดยการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหเกิดประโยชน สูงสุดภายใตแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรม จึงคิดคนงานวิจัยชุดจําลองระบบ ควบคุมโรงเรือนดวยเครือขายสัญญาณผานโทรศัพทมือถือ โดยทั่ ว ไปในระบบ Hydroponics จะมี ก ารเติ ม สารอาหาร

24 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

“ระบบควบคุมโรง เรือนอัจฉริยะ สูการพัฒนา เกษตรยุค 4.0” โดย อาจารยธีรวรา แสงอินทร


Technology for Life

ใหกับพืช ซึ่งตองมีการวัดความเขมขนของสารละลายคา EC (Electrical Conductivity) โดยความเขมขนจะขึ้นอยูกับชนิดและชวงอายุของผัก สําหรับการปลูกพืชดวยนํ้า คา pH (Potential of Hydrogen ion) ซึ่งมี สวนสําคัญสําหรับการทําปฏิกริ ยิ ายาทางเคมีกบั ธาตุอาหารทีใ่ ชเลีย้ งพืช เพือ่ การเจริญเติบโตของพืชอยางสมบูรณ กระบวนการสังเคราะหแสงของพืช และการใชแสงของพืชเปนปจจัยของการเจริญเติบโต ในแสงแดดประกอบ ดวยรังสีในชวงตาง ๆ เชน แสงสีขาวทีต่ า มองเห็นรังสีอนิ ฟราเรด รังสีอลั ตรา ไวโอเล็ต เปนตน แตการสังเคราะหแสงในพืชสวนใหญเกิดจากการ กระตุน ของแสงสวางเพียง “บางชวงความยาวคลื่น”

ชุดจําลองระบบควบคุมโรงเรือนอัจฉริยะนี้ เปน นวัตกรรมสําหรับการเกษตรยุค 4.0 โดยการใชงานสามารถสั่ง งานจากทางไกลผานระบบเครือขาย ทัง้ การติดตอและตัดสินใจ ในการสั่งงานแบบอัตโนมัติ เพื่อดูแลสภาพแวดลอมภายใน โรงเรือน เชน การปรับคาของแสง ความชื้นและอุณหภูมิ ตามความตองการของพืช โดยเกษตรกรไมจาํ เปนตองอยูห นา โรงเรือน อันจะชวยใหสอดคลองกับความตองการ ลดการ สูญเสีย เพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เวลาในยุคปจจุบัน นิตยสาร ราชมงคลลานนา 25


Technology for Life

Smart Hydroponics System for Agriculture 4.0 Era

26 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Technology for Life

“A person who is full of beans” has become

a word amongst those wanting to be active and stay healthy. With this, many are utilizing the benefits of growing their own food and take care of their health. People tend to aware about their lives and health, providing an opportunity for hydroponics and organic gardening. In Thailand 4.0 Era, many people confront with the hustle of the big city and busy lifestyles, consuming chemical-free fruit and vegetables seems to be one of the best way to have good health. Organic fruits and vegetables have a major impact on your health. Under RMUTL Identity of “Good Agricultural Practice”, the Faculty of Engineering RMUTL, Phitsanuloke campus, foresees the importance of it. Good Agricultural Practices (GAP) and Good Handling Practices (GHP) are voluntary audits that verify that fruits and vegetables are produced, packed, handled, and stored as safely as possible to minimize risks of microbial food safety hazards.

United States Department of Agriculture Retrieved from https://www.ams.usda.gov/services/ auditing/gap-ghp The lecturers did the research about “Wireless Control System for Plant Nursery via Android” Hydroponics is a form of gardening that uses no soil, but instead grows plants in a solution of nutrients mixed with water. The basic hydroponic setup, researchers need meters to test the Electrical Conductivity (EC) and Potential of Hydrogen ion (pH) of the water, as well as the temperature and relative humidity of the room. There are some combination meters available that will test the EC, pH, and water temperature. Lighting is also important to hydroponics system. In direct sunlight, there infrared rays and ultraviolet rays which has an impact on Photosynthesis of plants in a period of time. Hydroponics Plant Nursery project is launched in order to be a tool for Agricultural 4.0 Era, it supports farmers from its wireless control system which requires on one hand less labor costs and timing and on the other hand, it creates more time management and product. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 27


Community Services

สืบลาย สานตอ ถักทอ ผืนตุง ดํารงไวซึ่งภูมิปญญาลานนา

การบริการวิชาการแกสังคม เปนหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบัน อุดมศึกษา ซึง่ สถาบันอุดมศึกษาพึง่ ใหบริการวิชาการทีส่ ามารถนํามาใชได จริงแกชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ในรูปแบบตางๆ ตามความถนัดและ ในดานที่สถาบันอุดมศึกษามีความเชี่ยวชาญ การบริการวิชาการนั้นอาจ เปนการใหเปลาหรืออาจคิดคาใชจา ยตามความเหมาะสม โดยใหบริการทัง้ หนวยงานภาครัฐและเอกชน หนวยงานอิสระ หนวยงานสาธารณะ ชุมชน และสังคมโดยกวาง รูปแบบการใหบริการทางวิชาการมีความหลากหลาย เชน การใชทรัพยากรของสถาบัน เปนแหลงการอางอิงทางวิชาการใหคํา ปรึกษา ใหการอบรม จัดประชุมหรือสัมมนาวิชาการ การทํางานวิจัยเพื่อ ตอบคําถามตางๆ หรือเพื่อชี้แนะสังคม การบริการทางวิชาการนอกจาก เปนการทําประโยชนใหสงั คมแลว สถาบันยังไดรบั ประโยชนในดานตางๆ อาทิ การเพิ่มพูนความรูและประสบการณของอาจารย อันจะนํามาสูการ พัฒนาหลักสูตร การทํางานวิจยั สรางเครือขายการทํางาน ศูนยวฒ ั นธรรม ศึกษาเชียงราย โดย อาจารยภีราวิชญ ชัยมาลา หัวหนาศูนยวัฒนธรรม ศึกษา มทร.ลานนา เชียงราย จึงไดนําเอาความรูทางดานศิลปวัฒนธรรม การทําตุงมาสอนยังชาวบานบริเวณใกลเคียงมหาวิทยาลัยฯ ไดเรียนรูแ ละ เปนการสรางรายไดเสริมใหแกแมบานและผูสูงอายุ อาจารยภีราวิชญ ชัยมาลา กลาววา โครงการดังกลาวเกิดจาก การวางแผนการดําเนินงานของศูนยวัฒนธรรมที่จะนําศิลปวัฒนธรรม ดานตางๆ ที่บุคลากรมีความเชี่ยวชาญไปสอนใหกับชุมชน ซึ่งปจจุบัน ความรูของการทําตุงนี้ไดถูกเลือนหายไปจากสังคม แมกระทั้งผูเฒาผูแก บางทานก็ไมสามารถตัดหรือทําตุงออกมาได ซึ่งทางศูนยวัฒนธรรมไดมี บุคลากรรุน ใหมทมี่ คี วามรูค วามสามารถในการตัดหรือทําลวดลายของตุง 28 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

คือ นายกวินวุฒิ สุทธนะ เจาหนาที่ศูนยวัฒนธรรมศึกษา ซึ่งเปน วิทยากรในการสอนชาวบานในขั้นตอนตางๆ ของการทําตุง โดยวาง กลุม เปาหมายเปนชุมชนบริเวณใกลเคียงมหาวิทยาลัยฯ โดยกลุม แรกที่ เรานําความรูไปสอนไดแก ชุมชนบานโปงแดง ตําบลทรายขาว อําเภอ พาน จังหวัดเชียงราย การบริการวิชาการการทําตุงนีไ้ ดนาํ อาจารยจาก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร เขามาชวยเพือ่ ใหเกิดความยัง่ ยืนของ การดําเนินงาน อาทิ อาจารยจากสาขาวิชาการบัญชี สอนการคิดหา ตนทุนการจัดทําบัญชีกําไรตนทุนของกลุม อาจารยจากสาขาวิชาการ ตลาดเปนการสอนการทํา package การหาตลาด การคํานวณปริมาณ ความตองการ และอาจารยจากสาขาวิชาการจัดการใหความรูท างดาน บริหารจัดการกลุม โดยชี้แนะแนวทางการสรางรายไดเสริมจากการ ทําตุงในเวลาวาง ซึ่งการทําตุงหนึ่งตัวนั้นจะใชเวลาในการทําประมาณ 5-6 ชัว่ โมง แตสามารถสรางกําไรได 3-4 เทาตัวของตนทุนเลยทีเดียว ซึง่ ชุมชนบานโปงแดงไดเริม่ รวมกลุม และทําในชวงเดือนเมษายนทีผ่ า นมา สามารถสร า งรายได ใ ห ค นในกลุ ม และเป น การใช เวลาว า งให เ กิ ด ประโยชนและเปนการสรางสายสัมพันธระหวางคนในหมูบาน เมื่อเกิดการถายทอดองคความรูการทําตุงใหกับชุมชน บานโปงแดงแลว กลุมผูสูงอายุ ชุมชนบานมวงคํา อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย ก็ไดขอความอนุเคราะห มทร.ลานนา เชียงราย ใน การเขาสาธิตการทําตุงใหกับกลุมผูสูงอายุ ซึ่งศูนยวัฒนธรรมศึกษา เชียงรายมีความยินดีอยางยิ่งในการถายทอดองคความรูดังกลาวให กับชุมชนใกลเคียงหรือผูที่สนใจ


Community Services

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 29


Community Services

“Tung”

Academic services to the society is one of the main mission of higher education institutions, which institutions who provide academic services to community society and the country should focus on practical for the in various ways regarding on their aptitude in the institutions of higher education and expertise. Academic services may be launched for free or may be charged accordingly in order to serve both government and private sectors. Independent agency, there are a variety of academic service model, such as the use of resources of the Institute, provide training program, academic reference, or consultation. 30 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Community Services

The Institute also benefit in various fields such as Knowledge and experience of instructors will lead to curriculum development research, and networking operation. Cultural study of Chiang Rai, Lecturer Peravit Chaimara Leader for cultural studies Rajamangala University of Technology, Chiang Rai campus, has adopt his cultural knowledge to teach housewives and the elderly in a village nearby university to make traditional paper flag called “Tung” which will enable them to learn and earn extra income. Lecturer Paravit Chaimara said “Project was planned and operated by cultural center to reserve arts and culture by expertise to teach community. At present, knowledge of making Tung was fade from the society, even some of the elders do not know how to make it. VinWut sutana, staff of cultural center, was guess speaker and arranged workshop on Tung making at community nearby university”, Ban Pong Dang, Tumbon saikhao, Amphoe Pan, Chiang Rai Province was selected as a first community to launch this project with corporative of Lecturers from Faculty of Business Administration and Liberal Arts. To achieve sustainable development, Lecturers from accounting department, responsible for teaching cost accounting and profit. Lecturers from marketing department responsible for teaching about package, channel of distribution, and determine market demand. Lecturers from management department responsible for organizational management. Community can make Tung as their part time, though it takes 5-6 hours to finish each Tung but can generate 300 - 400 percent profit margin. Villagers gathered and started making Tung since April, it can generate income for member and enhance the relationship between group member. Since, the first knowledge transfer project was accomplished successfully, Rajamagkala University of Technology Lanna, Chiang Rai campus was requested by older group in Muang Kam, Amphoe Pan, Chiangrai Province to continue this preserving culture workshop. Moreover, cultural study center, Chiang Rai are welcome to transfer cultural knowledge to those who interested. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 31


Community Services

โครงการสํารวจและจัดทําแผน

การอนุรักษพันธุทุเรียนพื้นบาน

สนองพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

“ทุเรียน ราชาแหงผลไม” คําพูดนี้เรามักไดยินกันมา

เปนเวลานาน ดวยทั้งลักษณะภายนอกที่เปนหนามคลายมงกุฎของ พระราชา และเนื้อในที่มีรสชาติที่แสนอรอยที่ยากจะหาผลไมอื่นมา เทียบได ทุเรียนเปนผลไมมีเนื้อสีเหลืองออน มีรสชาติหวานมัน ราคา ทุเรียนถูกหรือแพงขึ้นอยูกับสายพันธุ เปนผลไมที่ไดรับความนิยม มากทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ เนื่องจากมีรสชาติและกลิ่นเฉพาะ ตัว ซึง่ บางคนบอกวาหอมบางคนอาจจะบอกวาเหม็น นอกจากนีย้ งั มี คุณประโยชนมากมาย สามารถนําไปทําอาหารไดหลากหลาย โครงการอนุรกั ษพนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี (อพ.สธ.) ไดกําหนดใหทุเรียนเปนหนึ่งในพืชอนุรักษ อพ.สธ. สืบเนื่องจาก พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเห็นวาสวนเกาในแถบนนทบุรี มีพนั ธุไ มเกาๆ อยูม าก เชน ทุเรียน บางพันธุอาจยังคงมีลักษณะดีอยู แตสวนเหลานี้จะเปลี่ยนสภาพไป จึงทรงหวงวาพันธุไ มเหลานัน้ จะหมดไป โดยมีศนู ยวจิ ยั พืชสวนจันทบุรี 32 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร รับผิดชอบสนองพระราชดําริ ในการจัดทําแปลงอนุรักษพันธุกรรมทุเรียนและรวบรวมพันธุทุเรียน จากแหลงปลูกที่สําคัญทั่วประเทศไทย ปจจุบัน อพ.สธ. มีเครือขาย ทุเรียนในรูปของคณะทํางานพืชอนุรักษทุเรียนรวมกับหนวยงานรวม สนองพระราชดําริในการทํางานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับทุเรียนอยูท วั่ ประเทศ และในป พ.ศ. 2559 อพ.สธ. ไดรวมกับสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจาก ฐานชีวภาพ (องคการมหาชน) หรือ BEDO ซึ่งเปนหนึ่งในหนวยงาน ที่รวมสนองพระราชดําริ อพ.สธ. มีการประชุมในเชิงนโยบายเพื่อขับ เคลื่อนและดําเนินการจัดทําแผนงานอนุรักษและใชประโยชนทุเรียน ในภาพรวมของประเทศไทยรวมกันและเพือ่ การรักษาผลประโยชนของ ประเทศและประชาชนชาวไทยและการแสดงสิทธิ์ความเปนเจาของ ทรัพยากรตามเงื่อนไขของ พิธีสารนาโงยา (ที่มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2557 ที่ผานมา) นําไปสูการพัฒนาศักยภาพของทุเรียน ไทยในอนาคต


Community Services

จากการสํ า รวจเบื้ อ งต น พบพั น ธุ ทุ เรี ย นพื้ น เมื อ งซึ่ ง ปลู ก อยูในพื้นที่ตําบลแมจัน อําเภออุมผาง จังหวัดตาก ซึ่งมีตนทุเรียน มีอายุมากกวา 100 ปขึ้นไป ขึ้นอยูบริเวณชันเขาและมีราคาถูก โดย มทร.ลานนา ตาก เปนหนวยงานที่รวมสนองงานอันเนื่องมาจากพระ ราชดําริ เล็งเห็นความสําคัญของโครงการดังกลาว จึงเขารวมทํางานใน เครือขายงานวิจยั เรือ่ งทุเรียนกับทาง อพ.สธ. และเพือ่ เปนการรวบรวม ขอมูลดังกลาว จึงไดจัดทําโครงการสํารวจและจัดทําแผนการอนุรักษ พั น ธุ ก รรมทุ เรี ย นพื้ น บ า นในจั ง หวั ด ตาก สํ า หรั บ เป น แนวทางใน การดําเนินโครงการวิจัยตามแนวพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ เปนการสงเสริมการอนุรักษพันธุทุเรียนพื้นเมืองของจังหวัดตาก เพื่อ ศึกษาการแปรรูปผลิตภัณฑและการนําไปใชประโยชนจากทุเรียน และเพื่อศึกษาการขยายพันธุของทุเรียนพันธุพื้นเมืองในตําบลแมจัน อําเภออุมผาง จังหวัดตาก

ภายหลั ง จากการสํ า รวจเบื้ อ งต น มทร.ล า นนา ตาก ได จั ด การประกวดการแข ง ขั น ทุ เรี ย นท อ งถิ่ น บ า นเป ง เคลิ่ ง เมื่ อ วั น ที่ 14-15 มิ ถุ น ายน 2561 ที่ ผ า นมา โดยความร ว มมื อ จาก สํ า นั ก งานเกษตรจั ง หวั ด ตาก นายอํ า เภออุ ม ผาง การท อ งเที่ ย ว และกีฬาจังหวัดตาก เทศบาลตําบลแมจัน โรงเรียนทานผูหญิงวิไล อมาตยกุล (บานเปงเคลิ่ง) และชาวบานเปงเคลิ่ง โดยมีวัตถุประสงค เพือ่ คัดเลือกทุเรียนพันธุพ นื้ บานทีด่ ที สี่ ดุ ของหมูบ า นเปงเคลิง่ สําหรับใช ในการศึกษาพันธุกรรมทุเรียนพืน้ บาน และเปนการสงเสริมการอนุรกั ษ พันธุท เุ รียนทองถิน่ ผลการประกวดไดผชู นะเลิศพันธุท เุ รียนพืน้ บานทีด่ ี ที่สุดของหมูบานเปงเคลิ่ง และคณะกรรมการไดเขาเยี่ยมชมตนทุเรียน ที่ไดรับรางวัล พรอมพัฒนาและอนุรักษสายพันธุทุเรียนพื้นเมืองของ จังหวัดตากตอไป การคัดเลือกสายพันธุทุเรียนทองถิ่น นาจะเปนโอกาส อันดีที่ทําใหไดทุเรียนสายพันธุพื้นเมืองที่เปนของจังหวัดตาก และ ในอนาคตจะเปนแหลงผลิตเพื่อสงออกไดเปนอยางดี ขณะเดียวกัน ยังตองใหเกษตรกรในจังหวัดตากหันมาทําสวนทุเรียนพรอมกับ อนุรักษสายพันธุตอไป

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 33


Community Services

Survey and Preparation of Local Durian Conservation P l a n R e gar di ng o n Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn “Durian, the King of fruits”, we always hear this word for a long time. Outer peel as the King’s Crown, the taste is very unique and incomparable. Durian fruit is light yellow and sweet. Prices of durian are depending on species. It is very popular in among Thai and foreigners because of the unique taste and aroma, which some say aroma, some people might say that stink. There are also many benefits and can be cooks in many dishes. Plant genetic conservation project came from Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. Durian has been designated as one of the traditionally conservative plants. Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn has seen many farms in Nonthaburi that had many species of local durian. Horticulture Research Center, Chantaburi province responsible gather and reserve local durian and had network with many organizations around country. In 2016 Plant genetic conservation project came from Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn project joined with BEDO a meeting of the policy-driven and action plan for the conservation and use of durian for a country. In order to safeguard the interests of the country and Thai people to indicate the right and ownership of the resource according to San Na Ngo Ya (activated since 13 October 2014) leads to potential development of Thai durian in the future,

34 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Community Services

RMUTL Tak Campus arranged contests called “local Durian Baan Peng Khloeng” on 14-15 June 2018 with cooperation of the Office of agriculture Tak, Aum Phang district officer, Tak provincial office of tourism and sport, Mae Jun municipal district, Wilaischool (Bann Peng Khloeng), and villagers. The purpose of this contest was to identify the best local durian for genetic studies and conserve the of local durian. After awarded giving, committee would visit the durian tree to receive the award and would develop and conserve this durian. Selection of local durian would benefit to Tak province to be aware of conservation of local durian Meanwhile, it would increase numbers of Tak farmers to do more durian farming for conservative. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 35


Community Services

ศึกษาดูงาน ารมผลิต เชื้อเห็ดและผลิตเห็ดที่ได รับมาตร านนะครับ

36 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Community Services

แมวังรักษถิ่นสงเสริมการสรางอาชีพทํากิน แกกลุมผูปกครองผูพิการ โดย จารุวรร สุยะ สังคมไทยยังมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความตองการของ ผูพิการในแวดวงจํากัดสงผลตอการจัดสวัสดิการตางๆ ที่ผูพิการพึงมี ไมวาจะเปนการศึกษา สภาพแวดลอม การคมนาคมและอีกหลายดาน ที่พึงมีนั้นยังไมครอบคลุม สงผลกระทบถึงการรับผูพิการเขาทํางาน โดยการบริการตางๆ นั้นยังไมเอื้ออํานวยและตอบโจทยความตองการ ตอการใชชีวิตของผูพิการอยางแทจริง นักศึกษากลุมแมวังรักษถิ่น มทร.ลานนา ลําปาง จึงเกิด แนวคิดในการสงเสริมใหผพู กิ ารมีอาชีพเปนของตัวเอง โดยการสงเสริม การผลิตเห็ดเพื่อสรางรายได ภายใตโครงการยกระดับอาชีพการผลิต เห็ดของกลุมผูปกครองผูพิการ ตําบลแมสัน - เมืองยาว ต.เมืองยาว อ.ห า งฉั ต ร จ.ลํ า ปาง เพื่ อ สร า งรายได อ ย า งยั่ ง ยื น แก ก ลุ ม สมาชิ ก นางสาวสุชาดา ธิชโู ต นักศึกษาสาขาพืชศาสตร คณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร หัวหนาโครงการฯ เลาวา “จากการลงพืนทีแ่ ละ สัมภาษ สมาชิกกลุม พบวา มีผูพิการดานสติป าและรางกาย ทังเพศชายและเพศห ิง อายุระหวาง - ป สงผล หผูปกครอง จะตองดูแลอยาง กลชิด มสามาร ทํางานนอกบาน ด นอกจากนี ยังพบวา นการสงเสริมอาชีพการผลิตเหดเพือ่ สรางราย ดทผี่ า นมา ประสบป หาตนทุนสูง ผลผลิตนอย ทํา หตอ งยุตกิ ารดําเนินกิจกรรม ลง ทางสมาชิกจึงมีความตองการ หทีมแมวังรักษ ิ่น ปสงเสริมและ ายทอดความรูเรื่องการผลิตเหด ตังแตกระบวนการตนนํา ึงปลาย นําเพื่อ หสมาชิกกลุมมีความรู สามาร ผลิตเหด ดดวยตนเอง”

การดําเนินโครงการดังกลาว เปนหนึ่งในพันธกิจดานการ บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งมีการบูรณาการรวมกันระหวาง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร ในการตอยอดองคความรู ภูมิปญญาทองถิ่นมาพัฒนาชุมชน และเปนไปตามแนวคิดของกลุม ผูปกครองผูพิการ “การปรับบาน หเปนโรงเรียน เปลี่ยนแม หเปน ครู” ผูปกครองสามารถดูแลบุตรที่บานไดอยางใกลชิด มีกิจกรรมการ เรียนรูร ว มกัน ระหวางเด็กและผูป กครอง ตลอดจนมีรายไดในครัวเรือน โครงการยกระดับอาชีพการผลิตเห็ดของกลุมผูปกครองผู พิการฯ ดําเนินงานรวมกับโครงการออมสินยุวพัฒนรักษถิ่น โดยมีการ ถายทอดองคความรูการผลิตเห็ดจากตนนํ้าสูปลายนํ้า การวางแผน การผลิตเห็ดใหเปนที่ตองการของตลาดสามารถจําหนายไดในราคาดี และจําหนายไดตลอดทั้งป การศึกษาดูงานฟารมผลิตเชื้อเห็ดและผลิต เห็ดที่ไดรับมาตรฐานจากหนวยงานที่เชื่อถือได การพัฒนาสถานที่ผลิต เชื้อและผลิตเห็ดและการถอดบทเรียนของโครงการ มีสมาชิกกลุม ผูปกครองผูพิการเขารวม 20 คน นักศึกษาผูดําเนินกิจกรรม 22 คน โดยมีอาจารยชัยธวัช จารุทรรศน รองคณบดีดานวิชาการและกิจการ นักศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ลานนา และผูชวยศาสตราจารยนวลศรี จารุทรรศน หัวหนาสาขาศิลปศาสตร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา ลําปาง เปนอาจารย ที่ปรึกษาโครงการ นิตยสาร ราชมงคลลานนา 37


Community Services

Change home to be school, Mae Wang Rak Thin support career disable parents.. Thailand society has limited knowledge towards disabled people needs which impact on their social welfare management such as education, environment, transportation and many other areas. Moreover, it affects to employment of disable peoplein service business and make they live difficulty. Group of Students called “ Mae Wang Rak Thin” Rajamangala University of Technology Lanna Lampang campus had an idea to create job for disable people on mushroom farming to generate their income under the project of career development by mushroom farming of disable parents in Tumbol San Muang Yao, Aumphur Hangchat, Lampang Proivince to increase income among group members for economic sustainable in community. Mrs. Suchada Tichutho, students of plant science, Faculty of Science and Agriculture Technology, who was project leader said “ according to our observation, there were both intelligence and physically disabled 38 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

people who were between - years old which they needed special care from their parent and could not work outside. In addition, there were problems from career support on mush room farming such as high cost and low productivity, so many of them had given up. Therefore, members of disable people need “Mae Wang Rak Thin” to support and knowledge transfer on mushroom farming management and its supply chain which could produce mushroom by themself”. As one of University mission on academic service this project had cooperative between students from Faculty of Science and Agriculture Technology in agriculture, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, and Faculty of Engineering to adopt local wisdom based on parent of disabled needs . “Change home to be school, change mother to be teacher” project enable parent to have more time to taking care of disabled kid closely, parent and disabled kids have the experience in learning together, as well as generating income for the household.


Community Services

change mother to be teacher.

Career development by mushroom farming of parents of disabled people in Tumbol San Muang Yao, Aumphur Hangchat, Lampang Proivince to increase income was cooperated with Omsin Yuwapat Rakthin project to transfer knowledge from the upstream to the downstream process. Plans for mushroom production were to fulfill market demand and enable them to sell all year round, to side visiting standard mushroom farming, improve

plantation and facilities. Participants were 20 parents of disabled people. This project launched by 22 and having Lecturer Chaitawat Jarutat, Associate Dean for academic and student affairs, Faculty of Science and Agriculture Technology, Rajamangala University of Technology Lanna and Associate Professor Nuansi Jarutat, Head of Liberal Arts, Faculty of Business Administration Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang campus as project advisors. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 39


Social Engagement

RMUTL Talent Academy 2018 เปดตัวไปแลวกับ “โครงการพัฒนาผูเชี่ยวชา อุตสาหกรรมรุน หมเพื่อยกระดับขีด ความสามาร ด า นวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี และนวั ต กรรม นภาคเอกชน (Talent Academy)” โครงการนีเ้ ปนแนวคิดทีเ่ กิดจาก กระทรวงวิทยาศาสตรและสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ สนับสนุนให มทร.ธัญบุรี มทร.ลานนา มทร.สุวรรณภูมิ และมทร.อีสาน ดําเนินการนํารอง โครงการ Talent Academy โดยมีจุด ประสงค เ พื่ อ ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให บุ ค ลากรวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมจาก มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยของภาครัฐไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการ เพื่อเพิ่มขีดความ สามารถทางการแขงขันของภาคเอกชน อีกทั้งเพื่อเปนการสรางเครือขายถายทอดองคความรู ผูเชี่ยวชาญที่ผานการออกปฏิบัติงานรวมกับสถานประกอบการ เพื่อถายทอดประสบการณและ องคความรูจากนักวิจัยผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณการปฏิบัติงานสูบุคลากรวิทยาศาสตรรุนใหม ที่มีความรูแตยังขาดประสบการณในการปฏิบัติงานรวมกับอุตสาหกรรม และสรางชุดองคความ รูการออกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ (ถอดบทเรียน) ทําสื่อที่จะนํารองถายประสบการณสู นักวิจัยรุนใหม ซึ่งกลุมอุตสาหกรรมนํารองนั้นจะทําการคัดเลือกจากกลุมอุตสาหกรรมที่มีลักษณะ ของความตองการการแกปญหาทางเทคนิคที่ใกลเคียงกัน และมีความตองการจํานวนนักวิจัยผู เชี่ยวชาญสูง จัดเปน 3 กลุม คือกลุมวัสดุ (เนนพลาสติกและพอลิเมอร), กลุมสิ่งแวดลอม, และ กลุมชีววิทยาและสมุนไพร และเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2561 ที่ผานมา หนวยงานรวมดําเนินงานโครงการ Talent Mobility มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการ พัฒนาผูเชี่ยวชาญอุตสาหกรรมรุนใหมเพื่อยกระดับขีดความสามารถดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมในภาคเอกชน RMUTL Talent Academy 2 1 รุนที่ 1 ระยะแรก เปนการ อบรมหลักสูตรการเพิม่ มูลคาวัสดุและการจัดการในอุตสาหกรรมวัสดุ โดยไดเชิญนักวิจยั ผูเ ชีย่ วชาญ ที่มีประสบการณการปฏิบัติงานรวมกับภาคอุตสาหกรรม ภายใตโครงการ Talent Mobility ไดแก ดร.แมน ตุยแพร และ วาที่รอยโทสุรพิน พรมแดน มาเปนวิทยากร (Mentor) เพื่อถายทอดองค ความรูพื้นฐานเรื่องการแกปญหาเชิงเทคนิค การแกปญหาเชิงเทคโนโลยี และการสรางมาตรฐาน สินคาและโรงงาน แกบุคลากรวิทยาศาสตรรุนใหมที่มีความรูแตยังขาดประสบการณในการปฏิบัติ งานรวมกับอุตสาหกรรม และกิจกรรมการศึกษาดูงาน ณ บริษทั ออโตเทค อินเตอรเนชัน่ เนล จํากัด และ บริษทั ชางเผือกกิจการชางวัสดุ จํากัด เพือ่ ใหเกิดการเรียนรูล กั ษณะการทํางานและการปฏิบตั ิ งานรวมกับสถานประกอบการ

40 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Social Engagement

สวนในระยะที่ 2 เปนการออกไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการของ นักวิจัย (New Talents) ที่ผานการอบรมในระยะที่ 1 และมีศักยภาพที่จะทํางานใน สถานประกอบการ มีพฒ ั นาขอเสนอโครงการ แกไขปญหาและปฏิบตั งิ านรวมกัน ภาย ใตการดูแลของผูเ ชีย่ วชาญรุน พีท่ มี่ ปี ระสบการณวจิ ยั (Mentor) โดยโครงการทีน่ าํ รอง ปฏิบตั งิ านรวมกันคือ การพัฒนาผิวเคลือบแข็งและการทดสอบลักษณะเฉพาะของผิว เคลือบที่เตรียมดวยการพนเคลือบดวยความรอน ณ บริษัทแอดวานซ แมททีเรียล เทคโนโลยี จํากัด โดยเริม่ ดําเนินการระหวางเดือน กรกฏาคม – กันยายน 2561 โดย มุงหวังใหกลุมนํารองนี้เปนตนแบบในการถายทอดองคความรูทางดานการจัดการ แกปญหาทางเทคนิค การแกปญหาทางเทคโนโลยี การสรางมาตรฐานสินคา การใช เทคโนโลยี 4.0 ในระบบบริหารจัดการ ซึ่งเปนการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับกลุม อุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง เพือ่ ใหเกิดการเชือ่ มโยงและการนําองคความ รูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปใชอยางแทจริง

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 41


Social Engagement

RMUTL Talent Academy

2 0 1 8

42 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Social Engagement

The project “Talent Academy has been launched recently. This initial idea of this project is taken form Ministry of Science and Technology and National Science Technology and Innovation Policy Office which provide support to Rajamangala University of Technology, Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Mai, Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, and Rajamangala University of Technology Isan to navigate the pilot project of Talent Academy. The objectives of this project are to support and promote persons working in science, technology, and innovation from the governmental universities and research institute to operate in organizations for enhancement the ability to compete with private sector. In addition, they also build the knowledge network with experts who work together in the operation with the organizations to share experience and knowledge from the research specialists who have experienced in the operation to the new talents who have knowledge but have not yet had experience in operation with industrial sector, and create knowledge for operation in organizations (Lesson Learned) to create pilot media for sharing experience to the new generation of researchers. The group of pilot industrial sector will be selected from the industrial group having qualified in similarity of technical problem-solving, and require the number of high experience research specialist categorized into 3 groups which are Materials group (focused on plastics and polymers), Environmental group, and Biological and herbal group. On the 21st June 2018, the organizations joining the project “Talent Mobility at Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Mai have organized the workshop RMUTL Talent Academy 2018, Batch 1. The first phase is the training course for material value and material management in industrial business with the mentors, Dr. Man Tuiprae and Acting Sub Lt. Surapin Promdan who are research specialists having experience in operation with industrial sector in the project Talent Mobility to share basic knowledge of technical problem-solving, technological problem-solving, and standardization of products and factories to the new talents who have knowledge but have not yet had experience in operation with industrial sector, and to visit Auto Tech International Company Limited and Chang Puak Supplies Company Limited for learning in organizations’ working styles and operating with the organizations. The second phase is that the new talents go out to work with the organizations they have been with in the training of phase 1 and have potential to work with organizations, have the proposal of project development, solution of the problem, and ability of collaboration under supervision of experienced mentors. The collaborative pilot project is development of hard coating and testing for specific coating with heat-treated coating at Advance Material Technology Company Limited during July to September in 2018. The project is hoped to the pilot group is the prototype of knowledge management in technical problem-solving, technological problem-solving, standardization of products, technology 4.0 in management which the use of technology is suitable for the small and medium industrial groups to truly connect and apply scientific knowledge and technology in real situations. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 43


Cultural Heritage

กิจกรรมรับนองใหม อยางสรางสรรค

รุนพี่พารุนนอง ปลูกขาวแบบดํานา

44 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

มทร.ลานนา พิษณุโลก มุงสงเสริมการรับนองอยางสรางสรรค จึงจัด โครงการ “ราชมงคลรวม จสืบสานวิ ีขาว ทย(ดํานา)” ครั้งที่ 4 ประจําปการ ศึกษา 2561 ในวันที่ 24 มิถุนายน 2561 ณ แปลงนาสาธิตสาขาวิชาพืชศาสตร มีคณาจารย พนักงาน และนักศึกษา มทร.ลานนา พิษณุโลก เขารวมกิจกรรม จํานวนกวา 600 คน ทําการปลูกในพื้นที่ จํานวน 10 ไร ใชขาวพันธุ A1 (เอวัน) ซึง่ เปนพันธุข า วทีไ่ ดรบั ปรับปรุงจากวิทยานิพนธของมหาบัณฑิต ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก สามารถตานทานแมลงศัตรู พืช ไดดีกวาพันธุพิษณุโลก2 และ พันธุ กข47 มีการปลูกในเขตพื้นที่ เพชรบูรณ พิจิตร สุโขทัย และพิษณุโลก มีระยะการปลูก 100 - 105 วัน โดยสาขาวิชา พืชศาสตรไดเพาะเปนตนกลาไว จํานวน 400 ถาด (320,000 ตน) ทําการปลูก แบบไรสารเคมี ตามเอกลักษณ “เกษตรปลอดภัย” ของมทร.ลานนา พิษณุโลก กอนการทํากิจกรรมลงแขกดํานา นักศึกษาไดรับความรูเรื่องวิธีการ ปลูกขาวแบบดํานา และ งานฟารมการผลิตพืชไรนา ตามกําหนดการปฏิบัติทาง การเกษตรที่ดี (GAP) จากนั้น ลงพื้นที่เตรียมความพรอมบริเวณแปลงนาสาธิต


Cultural Heritage

สาขาพืชศาสตร และพรอมใจกันประกอบ “พิ ีแรกดํานา” กลาว คําขอขมาพระแมธรณี พระแมคงคา และ พระแมโพสพ และรวม ลงแขกดํานา ดวยความสมัครสมานสามัคคี ทั้งนี้ เพื่อใหนักศึกษาใหม ไดเรียนรูวิธีการปลูกขาวแบบดํานา ตระหนักถึงความสําคัญของขาว เปนการสานสัมพันธอันดีระหวางรุนพี่กับรุนนอง และสิ่งสําคัญเพื่อสง เสริมใหนักศึกษารวมกันอนุรักษประเพณีการลงแขกดํานาใหดํารงไวซึ่ง เอกลักษณของชาติไทย มทร.ลานนา พิษณุโลก มุงเนนการรับนองอยางสรางสรรค ควบคุมไมใหเกิดความรุนแรงในการรับนอง เพื่อใหนองใหมที่เขามา ศึกษาภายในรัว้ มหาวิทยาลัยฯ เกิดความอบอุน ใจ ความรัก ความสามัคคี ระหวางนักศึกษา ในสถาบัน เกิดความมุงมั่นตั้งใจศึกษาเลาเรียนให ประสบความสําเร็จเปนทีภ่ าคภูมใิ จของครอบครัว ซึง่ มหาวิทยาลัยฯ จะ สรางแรงผลักดันในการศึกษาเพื่อสงเสริมใหนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษา มีคุณภาพเปนที่ยอมรับของสังคม และประเทศชาติ ตอไป

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 45


Cultural Heritage

Creative Welcoming Ceremony : Transplant Rice Seedling among Senior and Juniors Generations at RMUTL Phitsanuloke Rajamangala University of Technology Lanna, Phitsanuloke campus set up a creative ritual ceremony known as “Rajamangala the 4th Transplant Rice Seedling Project” on 24th June, 2018. There were 600 various interested lecturers, officers and students participated at rice demonstration plot of Plant Science department covering 10 rais. The A1 rice, the variety of rice used in this plot, was proved in the research that there was a significant of pest resistance more than Phitsanuloke 2 and RD 47 varieties. The transplantation area were a vailable in Petchabun, Phichit, Sukhothai and Phitsanuloke with the transplant duration between 100-105 days. The Fishery department cultivated in 400 trays or 320,000 rice seedlings under the “Green Agriculture” policy. Students learned the transplant rice seedling, farming under the Good Agricultural Practice (GAP) and the ritual ceremony to the goddess of land, water and rice. We believe that welcoming ceremony is an opportunity to start with a good customs from generation to generation that creates a warmth, pride and happiness when students move in to the university lives.

46 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Cultural Heritage

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 47


Cultural Heritage

Dehong-Tak Cultu

48 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Cultural Heritage

คายอาสาและวัฒนธรรม 0

Dehong-Tak Cultural Camp

ral Camp นับตั้งแตที่ประเทศไทยและจีน สถาปนาความ สัมพันธทางการทูตระหวางกันเมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2518 เป น ต น มา ความสัม พัน ธระหวางไทย-จีน ไดพัฒนากาวหนาอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปนดาน การเมือง ดานเศรษฐกิจ ดานสังคมและวัฒนธรรม ทั้งสองชาติมีความผูกพันใกลชิด มีการไปมาหาสู กันบอยครั้ง แมบางคราวอาจหางเหินไปบาง อัน เนื่องมาจากปญหาภายในของแตละประเทศและ สถานการณระหวางประเทศ แตนั่นไมไดทําใหความ สัมพันธระหวางทั้งสองประเทศลดนอยลงไป การใช วัฒนธรรมเปนสื่อเชื่อมความสัมพันธจึงกอใหเกิดผล ดีตามมามากมาย รวมไปถึงการพัฒนาดานการศึกษา จังหวัดตากไดรับการประกาศจากคณะ กรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหเปน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ทําใหตองดําเนิน การพั ฒ นากํ า ลั ง คนเพื่ อ รองรั บ แผนยุ ท ธศาสตร การพัฒนาของจังหวัดตอไป ซึ่งหนึ่งในนั้นคือการมุง เนนใหเยาวชนจังหวัดตากไดเกิดการเรียนรูจาก

ประสบการณจริง ไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพยิ่งขึ้น ไดฝกการพัฒนากระบวนการ คิดวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค รวมถึงการใชภาษาเพือ่ การสือ่ สารในสถานการณ ตางๆ โดยเฉพาะภาษาจีนและภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนที่ตองการในตลาดแรงงาน รวมถึงสถานประกอบกิจการที่เนนการคาและการลงทุนกับตางประเทศ เพื่อ ให มี ผ ลประกอบการที่ ดี ขึ้ น อั น จะส ง ผลต อ ดั ช นี ม วลรวมรายได ข องประเทศ มทร.ลานนา ตาก รวมกับจังหวัดตาก จึงไดจัดโครงการ “คายอาสา และวัฒน รรม ehong-Tak Cultural Camp” เพื่อใหเยาวชนทั้ง สองประเทศไดรับประสบการณ การแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรมไทย-จีน และเปนการเสริมสรางความสัมพันธอันดีของทั้งสองประเทศใหแนนแฟนยิ่งขึ้น โดยมีกิจกรรมหลัก 2 กิจกรรม คือกิจกรรมการจัดกระบวนการหรือการออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหผูเขารวมโครงการไดรับความรู เกิดการพัฒนาทักษะ ความชํานาญ อาทิ การเรียนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารเบื้องตน กระบวนการคิด เชิงสังเคราะห การศึกษาศิลปวัฒนธรรมไทย การฝกประกอบอาหารไทย การฝก ประดิษฐสิ่งประดิษฐไทย เชน กระทงกะลา และกระทงจากวัสดุธรรมชาติ รวมถึง การแลกเปลี่ยนความคิดทัศนคติ เปนตน และกิจกรรมลงพื้นที่ทัศนศึกษาในพื้นที่ จังหวัดตาก เพื่อเรียนรูประวัติความเปนมาของประเทศไทยและวิถีชีวิตของคนใน ทองถิน่ อาทิ การเขาชมแหลงโบราณสถานสําคัญของจังหวัดตาก การเขาชมอุทยาน แหงชาติ เพื่อศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน เปนตน คายอาสาและวัฒนธรรม 2 1 Dehong Tak Cultural Camp จึงเปรียบเสมือนทูตทางวิชาการอันจะเปนการสรางความสัมพันธอันดีและเปน เครื่องมือสรางความสัมพันธกอใหเกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรูวัฒนธรรมอันดี ของทั้งสองประเทศที่จะชวยประสานและพัฒนาความกาวหนาดานวิชาการและ ระบบการศึกษาของทัง้ สองประเทศใหกา วทันตอการเปลีย่ นแปลงในยุคเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งจะกอใหเกิดประโยชนอยางเปนรูปธรรมแกเยาวชนทั้งสองประเทศ ทั้งในดานการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม และการยกระดับคุณภาพชีวิตความเปนอยู ของประชาชนของทั้งสองประเทศ ทามกลางกระแสโลกาภิวัตนและการพัฒนา อยางรวดเร็ว และความรวมมือในครั้งนี้จะเปนพลังสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของภูมิภาคเอเชียและโลกโดยรวมอีกดวย

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 49


Cultural Heritage

Volunteer and culture Camp 2018 :

Dehong-Tak Cultural Camp

Since Thailand and China established diplomatic relations on 1st July 2518. The relationship between Thailand and China has developed a rapidly such as political, economic, social and culture. Though, sometime relationship was diluted due to internal problems and the international situations. But that doesn’t make the relations between the two countries decrease. The use 50 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

of a culture as a tool to continue relation would benefi cial to both parties especially on educational development. Tak Has been announced by board policy, special economic development zone to be a special economic development zone. Therefore, it needs to develop a strategic plan for the development of the province. On of strategy is to emphasized on the youth Tak to learn

from experience by improve quality of education such as analytical skills, creative thinking and the use of language for communication in different situations particularly Chinese and English which is one of required skills in labor market and international trade businesses. In order to have a better performance and it will increase the index of gross national income.


Cultural Heritage

RMUTL Tak campus coperatved with Provitional of Tak launch the project Volunteer and culture Camp 2018 : Dehong - Tak Cultural Camp The objectives were first to provide youth of both countries get to experience by language and cultural exchange between Thai-China. Second, And to reinforce the relationship of the two countries. The main activities were 1 Activity on process design or learning activities

which allows participants to gained knowledge and skills such as basic Thai for communication, Thai cooking class, creating traditional Thai fabricating such as Ka Thong Kala and Ka Thong from natural staff and opinion exchanges. 2. Activities on excursions into the area in Tak province, to learn the history of the country and the livelihoods of local people such as visits to major historical sites of the province at National Park

Visits and exchange knowledge with each other. olunteer and culture Camp 2 1 Dehong Tak Cultural Camp is able to create a good relationship and the benefit youth for both countries in perspective of education, culture, and improving the quality of life for the well-being of the people of the two countries. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 51


Cultural Heritage

เรียนรูวัฒนธรรมนานาชาติที่หลากหลายกับกิจกรรม

วันวัฒนธรรมนานาชาติ

อาจารยธีรวรา แสงอินทร

ด ว ยสภาวะทางสั ง คมมี ก าร พัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยอยูตลอดเวลา โดยเฉพาะด า นการสื่ อ สาร ที่ ส ามารถ สื่อสารซึ่งกันไดอยางกาวไกลทั่วโลก การ ใชภาษาอังกฤษจึงเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง เพื่อการติดตอสื่อสารกันในระดับสากล ดังนั้นศูนยภาษามทร.ลานนา พิษณุโลก จึงเล็งเห็นถึงความสําคัญของการพัฒนา ศักยภาพดานภาษาสูระดับสากลสําหรับ นักศึกษาและบุคลากร ศู น ย ภ าษา มทร.ล า นนา พิ ษ ณุ โ ลก โดยนางสาวอุ น อารี ตลาด เงิน หัวหนาศูนยฯพรอมดวยคณาจารย สาขาศิลปศาสตรรวมกันจัดกิจกรรมวัน วัฒนธรรมนานาชาติ (Inter-Cultural Day 2018) ภายใตโครงการ การพัฒนา ศักยภาพดานภาษาสูระดับสากลสําหรับ นักศึกษาและบุคลากร ประจําป 2561 52 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

ซึ่งเปนกิจกรรมในรูปแบบการประกวดจัด แสดงศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ ไดแก การ ประกวดการทําอาหารนานาชาติ การแตง กายนานาชาติ การแสดงศิลปวัฒนธรรม นานาชาติ และการจั ด นิ ท รรศการ นานาชาติ จากประเทศต า ง ๆ ได แ ก ประเทศไทย ลาว ฟลิปปนส จีน เกาหลี ญี่ปุน อเมริกา อังกฤษ เม็กซิโก และอิตาลี ซึ่ ง จั ด แสดงโดยนั ก ศึ ก ษา มทร.ล า นนา พิ ษ ณุ โ ลก เพื่ อ ส ง เสริ ม ให นั ก ศึ ก ษา ได พัฒนาศักยภาพดานภาษาอังกฤษสูระดับ สากลและได เรี ย นรู ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของ แตละประเทศ สงเสริมใหเห็นคุณคาและ เข า ใจความแตกต า งทางวั ฒ นธรรมเพื่ อ สร า งการเรี ย นรู ท างวั ฒ นธรรมและเป น สมาชิกที่ดีของสังคมพหุวัฒนธรรมได

กิจกรรมนี้นับวาเปนโอกาส ที่ ดี สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาทุ ก คน ด ว ย บรรยากาศที่ เ ป น กั น เองระหว า ง อาจารย แ ละนั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด มี โ อกาส เข า ร ว มงานวั น วั ฒ นธรรมนานาชาติ หรือ Inter Cultural Day 2 1 นี้ เพราะการเรียนรูภาษาและวัฒนธรรม ตางประเทศชวยสงเสริมใหไดเรียนรู ถึงความเหมือนความแตกตาง และ สามารถปรั บ ตั ว ให อ ยู ใ นสั ง คมพหุ วัฒนธรรมอยางเชนโลกปจจุบันนี้ได อีกทัง้ นักศึกษายังไดฝก การทํางานรวม กันเปนทีม การเปนผูนําและผูตามที่ดี เพื่อทําใหงานที่ไดรับมอบหมายสําเร็จ ลุลวงไปดวยดี


Cultural Heritage

Inter-Cultural Day 2018 English is our primary source of communication which is having its impact on every work field. If students have a strong basic of English, they can make themselves understood in their surroundings and a large amount of information from the internet. The lecturers aware the importance of English and communication. It is realized that to access them, students need to practice it. For this reason, on the 6th of August 2018, Miss Unaree Taladngoen, Head of Language Center (RMUTL Phitsanuloke) together with English lecturers from Liberal Arts department set up an Inter-Cultural Day 2018. The event was participated by various students, lecturers and spectators to witness the beauty and cultures of the 10 participating countries namely: Thailand, Italy, Mexico, Philippines, Laos, South Korea, Japan, USA, UK and China. At the end of the event, the best booth, national costumes, traditional food and traditional performance were awarded to the deserving winners. The project aims to: 1. enhance students both GE and EIC learn different cultures from various countries 2. provide an opportunity for students to value each culture and learning about the difference 3. promote students to learn cultures and being a potential citizen in multi-cultural community 4. last but not least, to develop their English skills and be prepared for international society Inter Cultural Day 2 1 brought up team work and the adaptation among students. The excitement of seeing splendid costumes, food and performance leads to comfortable feeling between lectures and students.

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 53


Cultural Heritage

พานองไหวพระธาตุ

กิจกรรมรับนองสรางสรรค ราชมงคลลานนา ลําปาง การรับนองใหมเปนประเพณีทนี่ กั ศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หลายแหงถือปฏิบัติกันมา มีรูปแบบที่แตกตางกัน นักศึกษาใน มหาวิทยาลัยหลายแหงจัดกิจกรรมตอนรับนองใหมหรือเพื่อนใหม โดยการชวยเหลือและจัดการตอนรับอยางอบอุน เชนเดียวกับ มทร. ลานนา ลําปาง ที่จัดกิจกรรมรับนองอยางสรางสรรค รวมกับรุนพี่ สมาคมศิษยเกาแมวังฯ ที่เรามักเรียกกิจกรรมนี้วา “พานอง หว พระ าตุ” ซึ่งถือเปนหนึ่งกิจกรรมการรับนองอยางสรางสรรคในแบบ ฉบับของ มทร.ลานนา ลําปาง โดยการพานองใหมไปนมัสการพระ ธาตุเสด็จ ณ วัดพระธาตุเสด็จ ต.บานเสด็จ อ.เมือง จ.ลําปาง ซึ่งเปน พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวมหาวิทยาลัยและชุมชนในบริเวณโดยรอบ เคารพสักการะ นายตะวัน ตันตา นายกสโมสรนักศึกษา มทร.ลานนา ลําปาง เลาถึงกิจกรรมครัง้ นีว้ า “กิจกรรมนีนับเปนประเพ กี ารรับนองทีส่ บื ตอกันมารุนตอรุน โดยความรวมมือของศิษยเกา ศิษยปจจุบันและ บุคลากรของมหาวิทยาลัย ึ่งชวงเชาเปนการพานองเดินขบวน ป หวพระ าตุ ทําพิ ีทางศาสนา ชวงสายสักการะเจาพอชางเผือก 54 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

สิ่งศักดิสิท ิประจํามหาวิทยาลัย และทํากิจกรรมศิษยเกาสัมพัน  แมวังรุนที่ รวมกับสมาคมศิษยเกาแมวัง มทร.ลานนา ลําปาง การดําเนินกิจกรรมดังกลาวนอกจากจะเปนการตอนรับนอง หม อยางอบอุนแลว ยังเปนการเชื่อมสัมพัน อันดีงาม นทุกภาคสวน ตังแตค ะผูบริหาร ค าจารย บุคลากร นักศึกษาศิษยเกาและ ศิษยปจจุบัน นับเปนกิจกรรมการรับนอง นเชิงสรางสรรค ภาย ต การปลูก งศิลปวัฒน รรมและขนบ รรมเนียมประเพ ีอันดีงาม ของ ทยแกนอง หมดวย” กิจกรรมรับนองของแตละมหาวิทยาลัยอาจจะมีวิธีการที่ แตกตางกันขึน้ อยูก บั การสรางสรรคของรุน พีแ่ ตที่ มทร.ลานนา ลําปาง กิจกรรมรับนองเปนสวนหนึ่งที่ใชเปนเครื่องมือในการเชื่อมความ สัมพันธระหวางรุนพี่และรุนนองที่ไมตองใชความรุนแรง ใชอํานาจให รุน นองหวาดกลัวแตทดแทนดวยกิจกรรมสรางสรรคอนั เปนประโยชน เพื่อสรางความประทับใจระหวางรุนพี่กับรุนนอง เกิดเปนมิตรภาพที่ ยาวนานจากรุนตอรุนสืบไป


Cultural Heritage

Worship Buddha Relics, Creative welcoming junior activity Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang Campus

Welcoming junior activity is traditional in higher education institutions which can be arranged in various activities. Many universities conduct warm welcome ceremony to those juniors. Traditionally, RMUTL Lampang campus has arranged creative welcoming junior activity called “Pa Nong Wai Phathat” with coordination of Mae Wang Alumni Association as they took junior students to worship Buddha’s relics at Phathat Sadet temple, Tumbol Bann Sadet, Aumphur Muang, Lampang Province. Mr.Thawan Tanta, president of student Union, RMUTL Lampang campus said “This tradition activity has been inherited by coporation of alumni and university staffs. In the morning, students procession moved to Phathat Sadet temple for worship Buddha’s relics and back to university by late morning to worship “Jao Phor Chang Phuk” the holy goddess of the university. After that, juniors join ice breaking activity with Mae Wang Alumni batch ”. Apart from giving a warm welcome to juniors, this activity also enables new students to build relationship with others such as top levels, lecturers, staffs, senior students. This Creative welcoming junior activity also cultivate new students on traditional Thai culture. Welcoming junior activity could be arranged differently which depend upon creativity of seniors. Senior students of Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang Campus use this activity as a tool to build up relationship with juniors without violence and harshness. Moreover, this creative activity would impress juniors and generate a goodwill. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 55


ลานนาสไตล

by Young

Designer เขมินทรา

ภาณุวัฒน

กิตติธนัตถ

นิยาม

Time Jenny Loogpla Som Fern 56 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

Young Designer

Way of Life style Lanna


Way of Life style Lanna

นางสาวปองทิพยธิดา วจิตรสุวรรณ (นองลูกปลา ) ตําแหนง ดาวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ประจําป 2561

นายแพนนเรศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา (นองไทม ) ตําแหนง รองอันดับที่ 1 เดือนมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ประจําป 2561

Makeup air คิมเบอรี่ Photographer Arpacharee/Tanapon นิตยสาร ราชมงคลลานนา 57


Way of Life style Lanna

ผล ง า นช ุ ด

On T h e L i g ht

แรงบันดาลใจในการออกแบบ การผสมผสาน เครื่องแตงกายของชนเผาลาหูโดยการนําเอาสีของ เครื่องเงินมาดัดแปลงเขากับรูปแบบเสื้อผาสมัยใหม ออกแบบในชุดเดรสยาว เนนความเปนสากลนิยม เจาของผลงาน นายทศพร แกวมาลัย นักศึกษา ชั้นปที่ 3 สาขาออกแบบ สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่อง ประดับ คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร อาจารยที่ปรึกษา รศ.ดร.รจนา ชื่นศิริกุลชัย นางแบบ นางสาวปองทิพยธิดา วจิตรสุวรรณ (ลูกปลา) นักศึกษาชั้นปที่ 1 สาขาวิชาภาษา อังกฤษธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร

Makeup air คิมเบอรี่ Photographer Arpacharee/Tanapon 58 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Way of Life style Lanna Makeup air คิมเบอรี่ Photographer Arpacharee/Tanapon

ผล งา นช ุ ด

Mr. R o o ki e

แรงบันดาลใจในการออกแบบ เปนการนําเอาวัฒนธรรม การแตงกายของชนเผาเยา ผสมผสานเขากับการออกแบบ ชุดลําลองแนว Street รวมสมัย เจาของผลงาน นายอิทธิพล รินฟอง นักศึกษาชั้นปที่ 3 สาขาออกแบบ สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร อาจารยที่ปรึกษา รศ.ดร.รจนา ชื่นศิริกุลชัย นางแบบ นายแพนนเรศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา (ไทม) นักศึกษาชั้นปที่ 1 ปวส.สาขาการไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 59


Way of Life style Lanna

ผล ง า นช ุ ด

Hm o o b ( ม ้ ง )

แรงบันดาลใจในการออกแบบ การ ออกแบบที่นําเอาผาปกลายกนหอยซึ่งเปน ลายปกโบราณจะใชเมื่อโอกาสพิเศษนํามา ผสมผสานตัดเย็บใหมีความทันสมัย วิถีของ ชนเผามงในการปกลวดลายชุดของชนเผา

เจาของผลงาน นางสาวจิราพร แซหลี นักศึกษาชั้นปที่ 3 สาขาออกแบบ สาขาวิชา สิ่งทอและเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมและ สถาปตยกรรมศาสตร อาจารยที่ปรึกษา รศ.ดร.รจนา ชื่นศิริกุลชัย นางแบบ นางสาวปองทิพยธิดา วจิตรสุวรรณ (ลูกปลา) นักศึกษาชั้นปที่ 1 สาขาวิชาภาษา อังกฤษธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร Makeup air คิมเบอรี่ Photographer Arpacharee/Tanapon

60 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Way of Life style Lanna

ผลงานชุ ด

G a stb y W hite

แรงบันดาลใจในการออกแบบ : การออกแบบ ชุดโดยใชแฟชั่น ยุค Gatsby มาเปนตนแบบ เอกลักษณที่สําคัญที่สุดของยุค Gatsby ก็คือ แฟชั่นสตรี ที่ถือเปนยุคแหงการเปลี่ยนแปลงการ แตงกายของผูหญิงครั้งใหญ ซึ่งเปนยุคของความ หรูหรา ฟูฟาของหนุมสาวชาวเมืองของอเมริกา เครื่องแตงกายจะเปนชุดลําตัวตรง ที่มีความหรูหรา ผาพริ้วๆ หนาอกแบนเปนไมกระดาน ไมเนนชวง เอว กระโปรงสั้นลง ยุคนี้เปนยุคที่ผูหญิงแตงหนา จัดมากคิ้วเขียนเขม ตาบล็อคดวยสีดําหรือสีเขมๆ ปากแดงจัด คาดหนาผากดวยลูกไมประดับขอบ ดวยขนนก เจาของผลงาน : นายกิตติ์ธนัตถ บุญมา นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาออกแบบ สาขาวิชา สิ่งทอและเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมและ สถาปตยกรรมศาสตร อาจารยที่ปรึกษา อาจารยรติรส บุญญะฤทธิ์ นางแบบ นางสาวสิริภากร จันทรอุทะ (เ รน) นักศึกษาชั้นปที่ 1 สาขาการทองเที่ยวและการ บริการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร

นางสาวสิริภากร จันทรอุทะ (นองเฟรน)

ตําแหนง รองอันดับ 1 ดาวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ประจําป 2561

Makeup air คิมเบอรี่ Photographer Arpacharee/Tanapon นิตยสาร ราชมงคลลานนา 61


Way of Life style Lanna

ผลง านชุ ด

L a d y G ats by

แรงบันดาลใจในการออกแบบ : การออกแบบชุดโดยใชแฟชั่น ยุค Gatsby มาเปนตนแบบเอกลักษณที่สําคัญที่สุดของยุค Gatsby ก็คือแฟชั่นสตรี ที่ถือเปนยุคแหงการเปลี่ยนแปลงการ แตงกายของผูหญิงครั้งใหญ ซึ่งเปนยุคของความหรูหรา ฟูฟา ของหนุมสาวชาวเมืองของอเมริกา เครื่องแตงกายจะเปนชุดลํา ตัวตรง ที่มีความหรูหรา ผาพริ้วๆ หนาอกแบนเปนไมกระดาน ไมเนนชวงเอว กระโปรงสั้นลง ยุคนี้เปนยุคที่ผูหญิงแตงหนาจัด มากกกกก คิ้วเขียนเขม ตาบล็อคดวยสีดําหรือสีเขมๆ ปากแดง จัด คาดหนาผากดวยลูกไมประดับขอบดวยขนนก

เจาของผลงาน : นางสาวนิยาม คําแกวตระกูล นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาออกแบบ สาขาวิชา สิ่งทอและเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมและ สถาปตยกรรมศาสตร อาจารยที่ปรึกษา อาจารยรติรส บุญญะฤทธิ์ นางแบบ นางสาวเจนจิรา ขัติรัตน (เจน) ชั้นป1 สาขาการจัดการสํานักงาน (เทียบโอน) คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร 62 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

Makeup air คิมเบอรี่ Photographer Arpacharee/Tanapon


Way of Life style Lanna

ผล ง า นช ุ ด

G o ld e n G a t s b y แรงบันดาลใจในการออกแบบ การออกแบบ ชุดโดยใชแฟชั่น ยุค Gatsby มาเปนตนแบบ เอกลักษณทสี่ าํ คัญทีส่ ดุ ของยุค Gatsby ก็คอื แฟชัน่ สตรี ทีถ่ อื เปนยุคแหงการเปลีย่ นแปลงการแตงกาย ของผูหญิงครั้งใหญ ซึ่งเปนยุคของความหรูหรา ฟูฟาของหนุมสาวชาวเมืองของอเมริกา เครื่อง แตงกายจะเปนชุดลําตัวตรง ที่มีความหรูหรา ผา พริ้วๆ หนาอกแบนเปนไมกระดาน ไมเนนชวงเอว กระโปรงสั้นลง ยุคนี้เปนยุคที่ผูหญิงแตงหนาจัด มากกกกก คิ้วเขียนเขม ตาบล็อคดวยสีดําหรือสี เขมๆ ปากแดงจัด คาดหนาผากดวยลูกไมประดับ ขอบดวยขนนก

เจาของผลงาน : นางสาวเขมินทรา เครือออน นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาออกแบบ สาขาวิชา สิ่งทอและเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมและ สถาปตยกรรมศาสตร อาจารยที่ปรึกษา อาจารยรติรส บุญญะฤทธิ์ นางแบบ นางสาววณิชชา พวงมาลา (สม) นักศึกษา ชั้นปที่ 2 สาขาบัญชี ระดับปริญญาตรี (เทียบโอน) คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร Makeup air คิมเบอรี่ Photographer Arpacharee/Tanapon นิตยสาร ราชมงคลลานนา 63


Way of Life style Lanna

ผล งา นช ุ ด

G astb y G r e y

แรงบันดาลใจในการออกแบบ : การออกแบบ ชุดโดยใชแฟชั่น ยุค Gatsby มาเปนตนแบบ เอกลั ก ษณ ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ของยุ ค Gatsby ก็ คื อ แฟชั่นสตรี ที่ถือเปนยุคแหงการเปลี่ยนแปลงการ แตงกายของผูหญิงครั้งใหญ ซึ่งเปนยุคของความ หรูหรา ฟูฟาของหนุมสาวชาวเมืองของอเมริกา เครือ่ งแตงกายจะเปนชุดลําตัวตรง ทีม่ คี วามหรูหรา ผาพริ้วๆ หนาอกแบนเปนไมกระดาน ไมเนนชวง เอว กระโปรงสั้นลง ยุคนี้เปนยุคที่ผูหญิงแตงหนา จัดมาก คิ้วเขียนเขม ตาบล็อคดวยสีดําหรือสีเขมๆ ปากแดงจัด คาดหนาผากดวยลูกไมประดับขอบ ดวยขนนก เจาของผลงาน : นายภาณุวัฒน ยอดดี นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาออกแบบ สาขาวิชา สิ่งทอและเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมและ สถาปตยกรรมศาสตร อาจารยที่ปรึกษา อาจารยรติรส บุญญะฤทธิ์ นางแบบ นางสาวสิริภากร จันทรอุทะ (เฟรน) นักศึกษาชั้นปที่ 1 สาขาการทองเที่ยวและการ บริการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร

64 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


Alumni Story

นางอาภรณ ปลื้มพิทักษกุล

ความโชคดีที่ไดศึกษาที่วิทยาลัย เทคนิคภาคพายัพ เปนจุดเริ่มตน ที่ทําใหประสบความสําเร็จในชีวิต นิตยสาร ราชมงคลลานนา 65


Alumni Story

นางอาภรณ ปลื้มพิทักษกุล

เกิดวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 24 5 อายุ 66 ป ปจจุบัน ตําแหนง รองกรรมการผูจัดการ บริษัท เชียงใหมสยามทีวีจํากัด

กา ก า

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนหอพระจังหวัดเชียงใหม หลักสูตรบั ชีภาคคํ่า 1 เดือน วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดเชียงใหม ระดับปริ าตรี สาขาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ระดับปริ าโท รั ศาสนสตรมหาบัณ ิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรบัญชีภาคคํ่า 18 เดือน เรารูสึกดีใจเปนอยางมาก จึงไดสมัคร เขาเรียน และเปนความโชคดีที่ไดเขาเรียนดวย ในชวงเวลานั้น เชาทํางาน ตอนเย็นก็ไปเรียน หนังสือ สมัยกอนการเดินทางก็ไมสะดวกแตสงิ่ นั้นก็ไมใชอุปสรรคในความอยากเรียนของเรา เมื่อไดเขาเรียนแลว สิ่งที่จําไดและ ประทับใจ คือ อาจารยใจดีมาก และเพื่อน ๆ ก็เปนมิตร ชวยเหลือซึ่งกันและกัน เรียนดวย ความสนุกสนาน ถึงจะเหนื่อยแตก็อดทน เมื่อ เรียนจบแลวจึงมีโอกาสที่ดีข้ึน โดยทํางานเปน เลขานุ ก ารที่ สํ า นั ก งานเกษตรภาคเหนื อ ซึ่ ง ทําใหไดมีโอกาสไดนําความรูที่ไดเรียนมาใชใน การทํางานไดเปนอยางดี และหลังจากแตงงาน เราและสามีไดเริ่มตนคาขายเครื่องใชไฟฟาที่ บริเวณคูเมือง โดยใชช่ือวาบริษัท เชียงใหม สยามทีวี จํากัด ซึ่งสามีรับผิดชอบเรื่องการนํา สินคาเครื่องใชไฟฟาเขามาขาย การบริการจัด สงติดตั้งสินคา การซอมสินคา และการทํา โ ษณา สวนเราดูแลเรื่องหลังบานการบัญชี ทั้ ง หมด ซึ่ ง เป น การทํ า งานอย า งหนั ก การ คาขายก็มีความกาวหนาตามลําดับ ดวยความ 66 นิตยสาร ราชมงคลลานนา

ความโชคดีที่ไดศึกษาที่วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ เปนจุดเริ่มตนที่ทําใหประสบความสําเรจในชีวิต

การเขาถึงการศึกษาในอดีตเปนเรื่องยากและเปน เรื่องปกติของครอบครัวมาก ในบรรดาพี่นอง 7 คนลูกสาวจะ มีโอกาสไดเรียนหนังสือตอเมื่อจบมัธยม 3 จึงเปนโอกาสที่ยาก เราชอบที่จะเรียนหนังสือ แตเพื่อใหนอง ๆ ไดมีโอกาสเรียน และชวยแบงเบาภาระทางบาน เราจึงตองหางานทําดวยการ เป น พนั ก งานขายผ า ไหม อยู ร า นในบริ เวณตลาดวโรรส (กาดหลวง) และเมื่อไดรูวาทางวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ

ประหยัด อดออม ทําใหเรามีโอกาสขยายราน มายังที่ตั้งปจจุบัน ถนนชางหลอ ตําบลหายยา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งถือวาเปน ร า นเครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ที่ ทั น สมั ย และมี ส าขาตั้ ง อยู อําเภอจอมทอง , จังหวัดลําพูน , จังหวัด ลําปาง อีกดวย ในดานงานสังคม ไดมีโอกาสเปน สมาชิกสโมสรไลออนสเชียงใหม เพชรนครพิงค มากวา 20 ปและมีโอกาสที่ไดรวมกิจกรรมตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอสังคม ในดานครอบครัว มีครอบครัวที่นา รัก ปจจุบันบุตรสาว และบุตรชาย ที่เขามา ชวยทํางานสานตอกิจการที่พอแมวางรากฐาน ไวใหเปนอยางดี เราจึงไดมีโอกาสเขาศึกษาตอ จนจบปริญญาโทตามความฝนที่ตั้งใจไว และ ยังมีโครงการทีจ่ ะเปดพิพธิ ภัณฑ เพือ่ เปนแหลง เรียนรูใ หผทู สี่ นใจมีโอกาสเขาศึกษาหาขอมูลใน อนาคต ความรูสึกถึงวิทยาลัยเทคนิคภาค พายั พ ซึ่ ง เป น จุ ด เริ่ ม ต น ของโอกาสที่ ดี ใ น ปจจุบัน วิทยาลัยเทคนิค ภาคพายัพในวันนั้น จวบจนวันนีเ้ ราไดแปรเปลีย่ นเปน มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ซึ่งเปนจุดเริ่ม ตนทําใหเราไดมีโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดีใน ปจจุบัน และเชื่อวาศิษยเกาทุกคนก็คงระลึก ถึงสถาบันการศึกษาแหงนีเ้ ชนกัน เชือ่ มัน่ วาทุก คนทีจ่ บการศึกษาจากทีน่ จี่ ะไดมโี อกาสทํางาน ในองคกรและบริษัทชั้นนําของประเทศ จึงเชื่อไดวามหาวิทยาลัยของเรา ผลิตบัณ ติ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีความประพฤติดี มา อยางตอเนื่อง ทําใหมหาวิทยาลัยของเรามีชื่อ เสียง เปนที่ไววางใจของผูปกครองและนองๆ มาสมัครเรียนที่นี่ เพราะฉะนั้น นอง ๆ ทุกคน ตองชวยกันรักษามาตรฐานของมหาวิทยาลัย เราไว

ขอคิดที่อยากจะบอกนอง

สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ ของคนเราคื อ ความรู ความรูเราสามารถศึกษาไดหลากหลายชอง ทาง ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยผาน การเรียนรูในหองเรียน สื่อตางๆ ประวัติของผู ประสบความสําเร็จ ความรูจะชวยใหเราเดิน ทางไปตามเปาหมายและประสบความสําเร็จ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และความรูสามารถศึกษา ไดตลอดเวลาไมมีที่สิ้นสุด


Alumni Story

Mrs. Arporn Pluempitakkul

Date of Birth 2nd ctober 1 52 Age 66 years Current Position Associate Managing Director at Chiang Mai Siam T. . Co.,Ltd.

Educational background

unior igh School, orpra School, Chiang Mai Accounting Evening Programme (1 months), Payap Technology College Senior igh School, Non formal Education Centre, Chiang Mai Province Bachelor of Arts in Social Development, Naresuan University, Phitsanulok Province Master of Public Administration, Ramkhamhaeng University ....................................................................................................................................

It was luck that I studied at Payap Technology College. This was the start of success in my life.

It was rarely to access to education in the past which was normal for our family. There are 7 siblings in our family which females had limitation on continuing their studies after graduated in junior high school level. We loved study however, I had to work as a silk seller at Waroros Market (Kad Luang) to help my family share expenses and to give opportunities to my younger siblings to study. When Payap Technology College was opened for the Accounting Evening Programme (18 months), I was really glad. Therefore, I enrolled for the course, and was successful for enrolment. At that time, I worked in the morning, and studied in evening. Even though transportation was not convenient, it could not be the obstacle to stop me to go to study. When I started studying there, I remembered that teachers were very kind and classmates were friendly and help each other. We happily studied there and enjoyed studying. Although I was exhausted, I had to be patient. When I graduated, I gained better opportunity by started working as a secretary at Office of Agricultural Northern Region which I could bring all knowledge that I studied to apply well to my work. After married, I and my husband started selling electrical appliances at the moat under the name of Chiang Mai Siam T.V. Company Limited which my husband was responsible for electrical supplies imported for selling, delivery and installation the products, repair and maintenance, advertising. I myself was responsible for accounts. We were all hard working after that the business was growth step by step. With our saving habits, we have opportunity to expand our business to our current location which is a modern electrical appliances store located on Chang Lor Road, Tambon Hai Ya, Amphoe Mueang in Chiang Mai province and also, there are other branches located in Amphoe Jom Thong, Lamphun Province, and Lampang Province. Regarding social committee, I have been a member of Lion Clubs Chiang Mai Petch Nakornping more than 20 years, and have attended in social activities that benefit society. In the aspect of family, I have a lovely family. Currently, our daughter and son have continued and helped family’s business that their parents have grounded for them. Finally, we had opportunities to pursue in higher study until we graduated Master’s Degree as we hoped. In addition, we have a plan to open a museum for being a learning centre opened to public to obtain information in the future.

Expressions towards Payap Techology College which was the beginning of the good opportunity in present

Payap Techonology College from then until now has changed to Rajamangala University of Technology Lanna which is the beginning of opportunity to have better life. It is believed that all alumni will remember this educational institute, and we also believed that all people graduated from the institute will have opportunities to work with leading national companies and organisations. It is obviously seen that our university has been continuously producing graduate students having high qualities with good manners which lead to reputation of the university. The university is trustworthy for parents and successors leading to the number of students enroll to study here. Therefore, it is necessary that our successors need to maintain the standard of the university.

Thoughts shared to the next generation

Knowledge is the most important factor of people which people could seek for knowledge in different ways both in theories and practicals by learning in classroom, media, and other people who succeeded in their lives. Knowledge will lead us to reach the goal and to succeed, to have quality of life, and to be able to have lifelong education. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 67


RMUTL Movement

ประมวลภาพ พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ปการศึกษา 2560 68 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


RMUTL Movement

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 69


RMUTL Movement

70 นิตยสาร ราชมงคลลานนา


RMUTL Movement

นิตยสาร ราชมงคลลานนา 71



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.