RMUTL Magazine

Page 1


RMA IX A

King Bhumibol Adulyadej

พระราชประวัติ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 3


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จัก รีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เป็นพระมหากษัตริย์ลำ�ดับที่เก้าแห่ง ราชวงศ์จกั รี ทรงครองราชย์ตงั้ แต่วนั ที่ 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2489 เป็นพระมหากษัตริย์ ผู้เสวยราชย์นานที่สุดในโลกและยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย เสด็จพระราช สมภพในราชสกุ ล มหิ ด ล อั น เป็ น สายหนึ ่ ง ในราชวงศ์ จ ั ก รี ณ โรงพยาบาล เมาต์ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระโอรสองค์ ที่สามใน สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระ มหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาล ตะละภัฎ (ชูกระมล) (สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) ทรงมี พระนามขณะนั้นว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช ทรงมีพระเชษฐ ภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรง ออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำ�ลองว่า “เล็ก” พระนาม “ภูมิพลอดุลเดช” นั้น พระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระ ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำ�กับตัวสะกดเป็น อักษรโรมันว่า “Bhumibala Aduladeja” ทำ�ให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี ท รงเข้ า พระทั ย ว่ า ได้ รั บ พระราชทานนามพระโอรสว่ า “ภู มิ บ าล” ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า “ภูมิพลอดุลเดช” ต่ อ มา พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชเองทรงเขี ย นว่ า “ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช” โดยทรงเขี ย นทั้ ง สองแบบสลั บ กั น ไป จนมาทรงนิ ย มใช้ แบบหลังซึ่งมีตัว “ย” สะกดตราบปัจจุบัน 4 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


“ภูมิพล” ภูมิ หมายความว่า “แผ่นดิน” และ พล หมายความว่า “พลัง” รวมกันแล้วหมายถึง “พลังแห่งแผ่นดิน” “อดุลยเดช” อดุลย หมายความว่า “ไม่อาจเทียบได้” และ เดช หมายความว่า “อำ�นาจ” รวมกันแล้วหมายถึง “ผู้มีอำ�นาจที่ไม่อาจเทียบได้”

เมื่ อ พ.ศ. 2471 ได้ เ สด็ จ กลั บ สู่ ป ระเทศไทยพร้ อ มพระบรม ราชชนก ซึ่ ง ทรงสำ � เร็ จ การศึ ก ษา ป ริ ญ ญ า แ พ ท ย ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต เกียรตินยิ มจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรั ฐ อเมริ ก า พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระบรมราชชนนี สมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ และสมเด็ จ พระเชษฐา ธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็ จ พระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมี พ ระชนมายุ ไ ม่ ถึ ง สองพรรษา นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 5


พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้สี่พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอี จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จ พระราชดำ�เนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ “โรงเรียนแห่งใหม่ ของซืออีสโรมองด์” เมืองแชลลี-ซูร์-โลซาน

6 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตอย่างกะทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง ในวันเดียวกัน นั้นเอง รัฐสภาได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ในการที่จะอัญเชิญสมเด็จ พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งเป็นพระอนุชา ร่วมพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล ขึ้นทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์ต่อไป แต่เนื่องจากยัง มีพระราชกิจด้านการศึกษา จึงทรงอำ�ลาประชาชนชาวไทย เสด็จพระราชดำ�เนินไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม แต่เปลี่ยนสาขาจากวิทยาศาสตร์ ไปเป็นสาขาสังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ ซึ่งมีความจำ�เป็นสำ�หรับตำ�แหน่ง ประมุขของประเทศ


ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช ประทับรถพระทีน่ ง่ั เสด็จพระราชดำ�เนิน ไปยังสนามบินดอนเมือง เพื่อทรงศึกษาเพิ่มเติมที่สวิต เซอร์ แ ลนด์ ก็ ท รงได้ ยิ น เสี ย งราษฎรคนหนึ่ ง ตะโกนว่ า “ในหลวง อย่าทิ้งประชาชน” จึงทรงนึกตอบในพระราช หฤทัยว่า “ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะทิ้ง ประชาชนอย่างไรได้” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตระหนักในหน้าที่พระมหากษัตริย์ของพระองค์ ดังที่ได้ตรัสตอบชายคนเดิมนั้นในอีก 20 ปีต่อมา นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 7


8 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงหมั้นกับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 และ เสด็จพระราชดำ�เนินนิวัติพระนครในปีถัดมา โดยประทับ ณ พระที่นั่งอัมพร สถาน ต่อมาวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้จดั การ พระราชพิธรี าชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตำ�หนัก สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ภายในวัง สระปทุม ซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ขึ้นเป็น สมเด็จ พระราชินีสิริกิติ์ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด

กระหม่อมให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณ ราชประเพณีขึ้น ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ เฉลิมพระปรมาภิไธยตามที่ จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลย เดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถ บพิตร พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดินโดย ธรรม เพือ่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” ในโอกาสนีพ้ ระองค์ทรง พระราชดำ�ริว่า ตามโบราณราชประเพณี เมื่อสมเด็จพระมหากษัตริยา ธิ ร าชเจ้ า ได้ เ สด็ จ เถลิ ง ถวั ล ยราชสมบั ติ บ รมราชาภิ เ ษกแล้ ว พระองค์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศ สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 9


พระองค์ทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า “สมเด็จพระภัทรมหาราช” หมายความว่า “พระมหากษัตริย์ผู้ประเสริฐยิ่ง” ต่อมาในปี 2539 มีการถวายใหม่ว่า “พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช” และ “พระภูมิพลมหาราช” อนุโลมตามธรรมเนียมเช่น เดียวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า “พระปิยมหาราช” พระองค์ทรงเป็นที่สักการบูชาของชาวไทยจำ�นวนมาก ประชาชนทั่วไป นิยมเรียกพระองค์ว่า “ในหลวง” คำ�ดังกล่าวคาดว่าย่อมาจาก “ใน (พระบรมมหาราชวัง) หลวง” บ้างก็ว่าเพี้ยนมาจากคำ�ว่า “นายหลวง” ซึ่งแปลว่าเจ้านายผู้เป็นใหญ่ ขอขอบคุณข้อมูลจาก เว็บไซต์เครือข่ายกาญจนาภิเษก http://www.kanchanapisek.or.th 10 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


HIS MAJESTY KING

BHUMIBOL ADULYADEJ RAMA IX OF THE CHAKRI DYNASTY King Bhumibol Adulyadej (Rama IX) was born in Cambridge, Massachusetts, United States of America, on 5 December 1927,the youngest son of Their Royal Highnesses Prince Mahidol of Songkla and the Princess Sri Nagarindra, the Princess Mother (formerly Miss Sangwal Talapat), and is the direct grandson of His Majesty King Chulalongkorn (Rama V) and Queen Savang. His Majesty the King had one older sister, Her Royal Highness Princess Galayani Vadhana of Naradhivas, and one older brother, His Majesty King Ananda Mahidol (Rama VIII). His Majesty became King of the Kingdom on Thailand on 9 June 1946. The Coronation Ceremony came later on 5 May 1950. His Majesty continued his education in Switzerland, and returned to Thailand in 1951. While in Switzerland, he met the aristocratic Mom Rajawongse Sirikit Kitiyakara, who has since become HM Queen Sirikit. During that time, Siam had become Thailand, and were still unstable since the change from Absolute Monarchy to Constitutional Monarchy in 1932. The people of Thailand was still in need of a King who could guide the country into prosperity. The Thai Kingship was, and still is, seen as a strong pillar for the Thai people to hold on to, while there is still uncertainty in the political arena, even to this day. More than 60 years on, many can still remember His Majesty's Oath of Succession to the Throne: King & his people " We will reign with righteousness for the benefit and happiness of the Siamese people." And what the King has said, he has done, and continues to do. His Majesty King Bhumibol has acted righteously in all of the political events of Thailand from past to present. He has only become involved during extreme situations involving bloodshed, and then only as a mediator between two or more factions, trying to get to a solution of calm and peace. Lately, many has forgotten the role of the King, and tried to drag his good name into the political mess. The King continues to stand tall, and has not involved himself. He neither denies nor accepts any misconceptions thrown out at him, as the modern Thai people continues to show their ignorance in not knowing what a constitutional king can or cannot do. Even political individuals have also forgotten this, and tries to drag the King’s good name to their sides, only with the sole intention of trying to win over the voice of the people. Many descendants of the different royal houses (rankings of Mom Rajawongse down) have also become involved in the different sides, and have since drag the King’s name with them as well. They are in fact not counted as

royals, but as citizens of the kingdom, who are descendants of royalty, but now have rights to vote and make known their political views. Even they have forgotten the role of a constitutional monarch, as well as how their fathers (Mom Chaos), as royals, were expected to act in the good name of the Thai Royal Family.

More than Words

“More than words” can perfectly express one's feeling towards King Bhumibol Aduyadej.

The King and His People

His Majesty King Bhumibol Adulyadej is undoubtedly his people’s King; the Father of the Land. When he moved back to Thailand for good in 1951, he began his visits to his people almost straight away. He is the first Thai King, and Thai individual, to see every single corners of his kingdom. He has visited far-reaching places. Where there were no roads, he used helicopters; where there were no place for helicopters to land, he went by jeeps, horses, as well as on foot. It is said that he is the only individual in Thailand, past and present, and most probably the future, to see every single square inch of his land. With his visits, he brought medical teams as well as surveyors to plan the connection of all towns and villages, a route to prosperity. He helped with irrigation problems as the majority of the Thai people were farmers, depending solely on their crops for their income. He has also eradicated the opium growing culture of many hilltribes of the north, and proposed substitutions with valuable crops. During the time of natural crisis, the King has always been the first person to be on the scene. Only until recently that the King has not been able to travel to the affected places due to health problems, nevertheless, his team has continued to visit and help out according to the King’s instructions. In addition, he has continued to contribute personal funds quick and fast to the needy, as seen most recently with the flooding disaster around the Kingdom in late 2010, when the King’s team was the first to act the fastest, while government team became the slowest, especially with all the bureaucracies they had to go through before help could be dispatch to the flooding victims. With the continual disputes within the political world, the Thai people are becoming more and more dependent on the King to guide them through everyday lives; a source of simple strength needed to lead a happy life in this ancient kingdom. นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 11


RMA A

X

King Maha Vajiralongkorn

พระราชประวัติ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

12 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 13


สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระเชษฐภคินี คือ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี และพระขนิษฐภคินีสองพระองค์คือ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรง ได้รบั การศึกษาระดับอนุบาลศึกษาทีพ่ ระทีน่ งั่ อุดร พระราชวังดุสติ และทรง เข้ารับการศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนจิตรลดา ระหว่างพุทธศักราช 2499-2505 ที่ประเทศอังกฤษระหว่างพุทธศักราช 2509 - 2513 หลังจากนัน้ ได้ทรงศึกษาระดับเตรียมทหารทีโ่ รงเรียนคิงส์ นคร ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย แล้วเข้ารับการศึกษาระดับอุดมศึกษา ทรงได้ รับปริญญาอักษรศาสตร์บณ ั ฑิต (การศึกษาด้านทหาร) คณะการศึกษาด้าน ทหาร จากมหาวิทยาลัยนิวเซาเวลล์ ประเทศออสเตรเลีย เมื่อ พ.ศ. 2519 นอกจากนี้ ยังทรงศึกษาที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบกหลักสูตรประจำ�ชุด ที่ 5-6 ระหว่าง พ.ศ. 2520-2521 และทรงได้รับปริญญานิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เมื่อ พ.ศ. 2530 ครั้งถึง พ.ศ.2533 ทรงได้ รับการศึกษา ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรแห่งสหราชอาณาจักรด้วย 14 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


เมื่อทรงพระเจริญวัยได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านต่างๆ นานัปการ ทั้งที่ทรงปฏิบัติแทนพระองค์ และทรงปฏิบัติในส่วนพระองค์เอง พระราชกรณียกิจทั้งปวงล้วนมีการสร้างสรรค์ความผาสุกสงบแก่ประชาชน นำ�ความเจริญไพบูลย์และความมั่นคงมาสู่ประเทศ เช่น ด้านการแพทย์และ สาธารณสุข การศึกษา การศาล การสังคมสงเคราะห์ การพระศาสนา การ ต่างประเทศ และการศึกษา ฯลฯ

เมื่อพระชนมายุครบ 20 พรรษา พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โปรดให้สถาปนาสมเด็จพระเจ้า ลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสา ธิราช สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 มี พ ระนามตามจารึ ก ในพระสุ พ รรณบั ฏ ว่ า “สมเด็ จ พระบรม โอรสาธิ ร าช เจ้ า ฟ้ า มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ นทรเทพยวรางกู ร สิริกิตยสมบูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศ อดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธิ สยามมกุฎราชกุมาร”

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 15


ในด้านการแพทย์และการสาธารณสุขนั้นทรงตระหนักว่า สุขภาพ พลานามัยอันดีของประชาชนเป็นปัจจัยสำ�คัญของการสร้างสรรค์ทรัพยากร บุคคล เมือ่ รัฐบาลได้นอ้ มเกล้าฯ ถวายโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช จำ�นวน 21 แห่ง ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ พระองค์ก็ได้ทรงพระอุตสาหะเสด็จ พระราชดำ�เนินไปทรงเยี่ยมโรงพยาบาลสมํ่าเสมอ และพระราชทานพระ ราชทรัพย์สนับสนุนให้มีอุปกรณ์การแพทย์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัยเพื่อ สามารถให้บริการที่ดีแก่ประชาชนและเมื่อ พ.ศ. 2537 ทรงรับเป็นประธาน กรรมการอำ�นวยการจัดสร้างอาคารศูนย์โรคหัวใจ สมเด็จพระบรมราชินนี าถ เป็นต้น ในด้านการศึกษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร ทรงทราบดีว่าเยาวชนในถิ่นทุรกันดารยังด้อยโอกาสในการ ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาในถิ่นทุรกันดาร 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา จังหวัดนครพนม กำ�แพงเพชร สุ ร าษฎร์ ธ านี โรงเรี ย นมั ธ ยมสิ ริ วั ณ วรี จั ง หวั ด อุ ด รธานี สงขลา และ ฉะเชิงเทรา ได้เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงวางศิลาฤกษ์เอง ทรงรับโรงเรียน ไว้ในพระราชูปถัมภ์ พระราชทานวัสดุอุปกรณ์การศึกษาอันทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ วิดีทัศน์ พระราชทานคำ�แนะนำ� และทรงส่งเสริมให้ โรงเรียนดำ�เนินโครงการอันเป็นประโยชน์แก่นักเรียน เช่น โครงการอาชีพ อิสระ เพื่อให้เยาวชนใช้ความรู้ประกอบอาชีพเลี้ยงตนและครอบครัวได้เมื่อ จบการศึกษา ได้เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงเยี่ยมโรงเรียน ทรงติดตามผล การศึกษา และโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา และพระเจ้าหลานเธอ สิริวัณวรีนารีรัตน์พระราชธิดาทั้งสองพระองค์ทรง ร่วมกิจกรรมของโรงเรียนต่างๆ เสมอทัง้ นีด้ ว้ ยนํา้ พระหฤทัยทีท่ รงพระเมตตา ห่วงใยเยาวชนผูด้ อ้ ยโอกาส และในด้านอุดมศึกษา พระองค์ได้ทรงพระกรุณา เสด็จพระราชดำ�เนินแทนพระองค์ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บณ ั ฑิตของ มหาวิทยาลัยต่างๆ ปีละเป็นจำ�นวนมากทุกปี การมีสัมพันธไมตรีอันดีกับมิตรประเทศ เป็นรากฐานสำ�คัญของ ความสงบสุขและความมัน่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ก็ได้ทรงพระวิรยิ ะอุตสาหะประกอบ พระราชกรณียกิจสำ�คัญๆ ในการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ เสมอ มา ได้เสด็จพระราชดำ�เนินแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงเยือนมิตรประเทศ ทัว่ ทุกทวีปอย่างเป็นทางการเป็นประจำ�ทุกปียงั ทรงสนพระราชหฤทัยในการ ทอดพระเนตรและศึกษากิจกรรมต่างๆ ทีจ่ ะทรงนำ�มาเป็นประโยชน์ในการนำ� มาพัฒนาบ้านเมืองไทย ด้ า นการพระศาสนา สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร ได้ ท รงแสดงพระองค์ เ ป็ น พุ ท ธมามกะที่ วั ด พระ ศรีรตั นศาสดาราม เมือ่ วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2509 ก่อนเสด็จพระราชดำ�เนิน ไปศึกษาที่ประเทศอังกฤษ และมีพระราชศรัทธาทรงออกผนวชในพระบวร พระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 ระหว่างทรงผนวช ทรงศึกษา และปฎิบัติพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด นอกจากนั้นได้เสด็จ พระราชดำ�เนินแทนพระองค์ ไปปฏิบัติพระราชกิจทางศาสนาเป็นประจำ� เสมอ เช่น ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระ ศรีรัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระราชดำ�เนินแทนพระองค์ไปทรง บำ�เพ็ญพระราชกุศลในวันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วัน วิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และการถวายกฐินหลวงตามวัด ต่างๆ เป็นต้น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงสนพระราชหฤทัยในวิทยาการด้านการทหาร มาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ นอกจากทรงรับการศึกษาทางด้านการทหารจากประเทศออสเตรเลียแล้ว ยัง ทรงพระวิรยิ ะอุตสาหะในการเพิม่ พูนความรูแ้ ละพระประสบการณ์อยูต่ ลอด เวลา โดยเฉพาะในด้านวิทยาการการบิน 16 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา

ขอขอบคุณข้อมูลจาก เว็บไซต์เครือข่ายกาญจนาภิเษก http://www.kanchanapisek.or.th


HIS MAJESTY KING

MAHA VAJIRALONGKORN KING RAMA X KING OF THAILAND King Maha Vajiralongkorn was born on 28 July 1952, the only son of King Bhumibol Adulyadej and Queen Sirikit. King Maha Vajiralongkorn was invested the title of Crown Prince of the Kingdom of Thailand on 28 December 1972. He received his education at Kings Mead and Millfield Schools in Great Britain, and at the King’s School and the Royal Military College at Duntroon, Australia. He also received the Degree of Bachelor of Laws from Sukhothai Thammatirat University, Thailand. Since he was young, he has been inclined towards the life in the military, and has since shown himself to be a great Military Man. After his father, he has immersed himself in activities in promotion of the general welfare and economic betterment of his people as well as activities in promotion of public health through the Crown Prince Hospital and the Maha Vajiralongkorn Foundation. He has also represented his father on numerous State Visits abroad, far too many to list in just a page. Military Training and Career Deputy Secretary of Defense Paul Wolfowitz (right) escorts Thailand’s Crown Prince Maha Vajiralongkorn through an honor cordon and into the Pentagon on June 12, 2003. Wolfowitz and the Prince will meet to discuss a range of bilateral security issues and the global war on terror. After completing his studies, Vajiralongkorn served as a career officer in the Royal Thai Army. He served as a staff officer in the Directorate of Army Intelligence, attended the Command and General Staff College in 1977. Vajiralongkorn trained for periods with the US, British, and Australian armed services, studying unconventional warfare and advanced navigation. He is a qualified fixed-wing and helicopter pilot. In 1978 he became head of the King’s Own Bodyguard Battalion. Later that year he interrupted his military career to be ordained for a season as a Buddhist monk, as is customary for all Thai Buddhist men. Vajiralongkorn holds the ranks of General in the Royal Thai Army, Admiral in the Royal Thai Navy and Air Chief Marshal in the Royal Thai Air Force. He

is qualified to pilot the Northrop F-5, F-16, and the Boeing 737-400. Intermittently, he engaged in actions for counter -insurgency purposes in the North and Northeast areas of Thailand as well as for protective purposes in areas around Cambodian refugee camps at Khao Lant, Trat Province. His military role in recent years has become increasingly ceremonial. As his father grew older, Vajiralongkorn took a more prominent part in royal ceremonial and public appearances. He officially opened the 2007 Southeast Asian Games, held in Nakhon Ratchasima. The event occurred one day after the 80th birthday of his father. Medical and Health Care Vajiralongkorn established the “Crown Prince Hospitals” through funds donated by the public to serve as medical and health care centers for people living in remote areas. Crown Prince Hospitals had been set up in 21 locations in 1977. These hospitals had become major community hospitals providing services of international standard to the general public in 2011. Ocus on Education Vajiralongkorn has initiated education projects with the aim of improving children’s access to quality learning and instilling the concept of lifelong learning. He has special ties to the Rajabhat University system of 40 institutions of higher learning. The chairman of the Council of Rajabhat University Presidents of Thailand said that Vajiralongkorn has presided over commencement ceremonies at all Rajabhat Universities nationwide and personally handed out degrees to all Rajabhat university graduates every year since 1978. It is estimated that over the past 35 years at least 2,100,000 degrees have been handed out by the crown prince to Rajabhat graduates. In addition, every year he donates 42 million baht to a scholarship fund benefiting Rajabhat students. นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 17


R

AJA MANG MANGA

LA

ราชมงคล มงคลแห่งพระราชา

18 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 19


ตราสัญลักษณ......

.....อั​ันเปนดั่งดวงใจ

20 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 21


22 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


คือความ ความภาคภู ภาคภูมิใจจ...... ...... ..........อั​ันสูงสุด

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 23


24 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


พระบรมราโชวาท “...ผู้สำาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษานั้นเป็น ผู้ที่มีพื้นฐานการศึกษาอบรมมาอย่างพร้อมถ้วน ทั้งด้านวิชาการ ทั้งด้าน ปฏิบตั ิ จึงมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมอย่างยิง่ สำาหรับการพัฒนาบ้านเมืองในปจจุบนั ซึ่งต้องการนักปฏิบัติงานผู้มีหลักวิชาดีด้วย ต่อไปนี้ จึงอยากจะขอให้ทุกคน ตัง้ ใจทำางานให้ดจี ริงๆ เพือ่ ตนเองและเพือ่ บ้านเมือง วิธที าำ งานทีด่ นี น้ั เบือ้ งต้นจะ ต้องพิจารณาให้เห็นจุดหมายให้ได้โดยแจ่มแจ้งก่อนเพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจและพึงใจ ทีจ่ ะทำา ต่อไปก็ตอ้ งกำาหนดวิธแี ละขัน้ ตอนการปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องตามหลักวิชาให้ เหมาะแก่ความสามารถของผูป้ ฏิบตั ิ ให้เหมาะแก่เวลาและความประสงค์ทตี่ งั้ ไว้แล้ว จึงลงมือปฏิบตั ใิ ห้ได้ตามกำาหนดนัน้ ด้วยความหมัน่ ขยันโดยสมำา่ เสมอจนกว่าจะ สำาเร็จขณะปฏิบตั กิ ต็ อ้ งเอาใจใส่จดจ่อ ไม่วางมือละทิง้ เสียกลางคัน พร้อมกัน นัน้ ก็ตอ้ งคอยระมัดระวังพิจารณาตรวจตราโดยละเอียดรอบคอบเพือ่ มิให้เกิด ข้อบกพร่องเสียหาย...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษา วันพุธที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2527 ..........................................................................................................

“...การทำางานให้ได้ยงั่ ยืนและมัน่ คงก้าวหน้าไม่เลิกราท้อถอยเสียกลาง คันเป็นสิง่ สำาคัญอย่างหนึง่ สำาหรับผูม้ หี น้าทีส่ ร้างสรรค์ความเจริญ ข้อนีข้ นึ้ อยูก่ บั การรักษาเจตนา รักษาความตัง้ ใจ พอใจและผูกใจในงานยิง่ กว่าอืน่ เพราะ ความแน่วแน่และพอใจในงานนัน้ ย่อมทำาให้ทาำ งานได้โดยสะดวก ด้วยความเบิกบาน เบาใจเหมือนกับนักกีฬาทีห่ มัน่ ฝกซ้อมยิง่ ฝกก็ยงิ่ ได้ทงั้ กำาลังและความเก่งกาจ เพิม่ ขึน้ สิง่ ทีท่ าำ ยาก ก็คอ่ ยๆกลายเป็นง่ายจะทำาอะไรก็ทาำ ได้รวดเร็วและเหนียวแน่น จนสำาเร็จ...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษา วันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2527

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 25


พระบรมราโชวาท “...ปริญญาบัตรเป็นเครือ่ งรับรองความสำาเร็จของการศึกษา ความสำาเร็จนีน้ อกจากจะ มีความหมายสำาคัญสำาหรับแต่ละคนแล้ว ยังมีความหมายสำาคัญสำาหรับชาติบา้ นเมืองด้วย กล่าว คือ ชาติบา้ นเมืองย่อมจะได้บคุ คลผูม้ คี วามรูแ้ ละความสามารถทางปฏิบตั ริ ะดับสูงหลายสาขา มา เป็นกำาลังสร้างความเจริญมั่นคงในด้านต่างๆ การนำาวิชาการและวิธีการ ตลอดจนเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ มาใช้ปฏิบัติงานให้ได้ผลแน่นอนโดยสมบูรณ์แท้จริงนั้น มีหลักการใหญ่อยู่ว่าจะ ต้องพิจารณาประเภท ลักษณะ และความสำาคัญของงานทีจ่ ะทำา พร้อมทัง้ จุดหมายและประโยชน์ที่ พึงประสงค์ ให้เห็นแน่ชดั โดยละเอียดก่อน เพือ่ ให้ทราบว่าควรจะใช้วชิ าการระดับสูงเพียงใด ละเอียด เฉพาะเพียงใดหรือจะต้องประกอบวิชาสาขาอืน่ ให้สอดคล้องเกือ้ กูลกันอย่างไรบ้าง จึงจะช่วยให้ สามารถเลือกสรรหลักวิชาและวิธกี ารทีถ่ กู ต้อง มาใช้ให้พอเหมาะพอดีแก่งานทีท่ าำ และอำานวยประ โยชน์ที่ต้งอการได้อย่างคุ้มค่า...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 .........................................................................................................

“...ความเจริญของบ้านเมืองนัน้ แท้จริงเกิดจากความเจริญของบุคคลแต่ละคนประกอบ กันขึน้ เพราะฉะนัน้ ผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถทัง้ หลายควรจะได้ถอื เป็นภาระรับผิดชอบสำาคัญ ทีจ่ ะ ต้องตัง้ ใจพยายามทำางานของของตนๆ ให้ประสบผลสำาเร็จและเจริญก้าวหน้า ความเจริญของ แต่ละคนจักได้ประกอบเกือ้ กูลกัน ส่งให้บา้ นเมืองมีความเจริญมัน่ คงขึน้ ด้วย วันนี้ จึงใคร่แนะนำา หลักการปฏิบตั งิ านแก่ทกุ ๆ คน เบือ้ งต้นเมือ่ จะทำางานสิง่ ใด ไม่วา่ ใหญ่หรือเล็ก ขอให้พจิ ารณา จุดมุ่งหมายและประโยชน์ของงานนั้นให้เห็นชัด จนเกิดความมั่นใจและพอใจที่จะกระทำา เมื่อมั่นใน แล้ว จึงกำาหนดขัน้ ตอนทำางานให้เหมาะแก่การปฏิบตั ิ และลงมือปฏิบตั ใิ ห้ได้ครบถ้วนตามขัน้ ตอน นัน้ ๆ โดยสมำา่ เสมอ จนกว่าจะสำาเร็จขณะทีป่ ฏิบตั กิ เ็ อาใจใส่จดจ่อ ไม่วางมือให้ลา่ ช้าเสียหาย ทัง้ พยายามใช้ความพินจิ พิจารณาปรับปรุงการปฏิบตั ใิ ห้เหมาะสมและก้าวหน้าอยูต่ ลอดเวลาเพือ่ ให้ บรรลุผลที่สมบูรณ์ ท่านทั้งหลายทำาได้อย่างนี้ ก็จะได้ชื่อว่าเป็นนักปฏิบัติงานที่ดี ที่กระทำาการ งานทุกอย่างด้วย...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วันอังคารที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 ..........................................................................................................

“...ในฐานะนักปฏิบตั ิ ซึง่ จะต้องทำางานและแก้ปญ  หาต่างๆ ร่วมกับผูอ้ นื่ ฝายอืน่ อยูเ่ ป็น ปกติ ทุกคนจำาเป็นต้องศึกษาแนวกว้างควบคูก่ นั ไปด้วย การศึกษาตามแนวกว้างนี้ หมายถึงการ ศึกษาให้รใู้ ห้ทราบ ถึงวิทยาการสาขาอืน่ ๆ ตลอดจนความรูร้ อบตัวเกีย่ วกับสภาวะและวิวฒ ั นาการ ของบ้านเมืองและสังคมในทุกแง่มุม เพื่อช่วยให้มองเห็นช่วยให้เข้าใจปญหาต่างๆ อย่างชัดเจน ถูกถ้วน และสามารถนำาวิชาการด้านของตนประสานเข้ากับวิชาการด้านอื่นๆ ได้โดยสอดคล้อง ถูกต้องและเหมาะสม...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2533

26 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 27


28 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 29


30 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 31


32 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 33


แจกัน

ศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ .....ระดมสรรพกำาลัง อาจารย์ นักวิชาการ ศิลปินและบุคลากรทุกส่วน ร่วมสร้างสรรค์งานอย่างวิจิตร......

34 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


การเขียนลวดลายตกแต่ง

แนวคิดในการออกแบบลวดลาย ประดับบนแจกัน การเขียนโดยการออกแบบลวดลายใหม่เพือ่ ประดับบนแจกัน ซึง่ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ลายกรอบภาพ ลายคลืน่ ลายเถาวัลย์และดอกไม้ ซึ่งออกแบบโดย นายอุดม ธราวิจิตรกุล

ลายก้อนเมฆ เป็นลวดลายที่ใช้เขียนเป็นลายกรอบภาพของ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทั้ง 9 ภาพ ผู้ออกแบบ ได้ออกแบบตามลวดลายแบบหนึง่ ของศิลปะล้านนา ทีเ่ กิดจากคติความเชือ่ ว่าก้อนเมฆเป็นสิง่ ทีล่ อยอยูบ่ นท้องฟ้าเหนือมนุษย์ทงั้ ปวง จึงเป็นสัญลักษณ์ ทีแ่ สดงถึงพระบรมเดชานุภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช อันท�ำให้ภาพแต่ละภาพทรงคุณค่าสวยงามโดดเด่น ลายคลืน่ เป็นลวดลายขนาดเล็กทีล่ ากผ่านรอบแจกัน จ�ำนวน 6 แถว มีลกั ษณะเป็นเส้นลายคลืน่ สลับกัน มีลายกนกสอดแทรกอยู่ ระหว่าง ลายคลืน่ เป็นสัญลักษณ์นำ�้ หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ภายใต้รม่ พระบารมี ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีแ่ ผ่ไพศาลบังเกิด ความร่มเย็นเป็นสุขแก่ปวงชนชาวไทย ลายเถาวัลย์และดอกไม้ เป็นลวดลายทีต่ อ่ เนือ่ งกันในแนวนอน อยู่ระหว่างเส้นลายก้อนเมฆหรือลายกรอบภาพของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ผู้ออกแบบได้ออกแบบลายเถาวัลย์ให้เป็น เส้นโค้งเว้า มีกระหนกแตกตัวออกจากเถาวัลย์สลับจังหวะกับดอกไม้ อัน เป็นสัญลักษณ์ของการมีชีวิตเบิกบานและการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาดั่ง พระอั จฉริ ย ภาพและพระปรีช าสามารถขององค์พระบาทสมเด็ จ พระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 35


“ เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ ”

ธ ทรงเปนร่มเกล้าชาวสยาม เสด็จสู่เขตคามสวัสดิศรี ประสูติในราชวงศจักรี นฤบดีภูมิพลล้นเกล้าไทย

36 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


“ สืบราชสันตติวงศ์ ”

ราชาภิเษกพระผ่านเกล้าเจ้าชีวิต ทศทิศนบองคทรงพิศาล ครองแผ่นดินโดยธรรมนําบันดาล พระภูบาลประกาศก้องทั่วสากล

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 37


“ พระคู่บารมี ” รัตนนารีศรีสยาม ทรงพระรามสิริกิติ์วิจิตรสมัย พระมิ่งขวัญเคียงคู่ภูวนัย ปวงข้าไทยแซ่ซ้องสดุดี

38 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


“ เย็นศิระ ธ คุ้มเกล้า ”

เย็นศิระ ธ ปองปกเกศ จอมนเรศอภิบาลบันดาลผล พระมิ่งขวัญดุจเทพบันดาลดล นิกรชลนิราศทุกขสุขด้วยกัน

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 39


“องค์อัครศาสนูปถัมภ์” พระเมตตาปรานีต่อทวยราษฎร บํารุงศาสนบํารุงเขตพิเศษศานติ์ พุทธธรรมลํ้าค่ามาประทาน คุ้มครองบ้านเมืองเย็นอยู่เปนไท 40 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


“ พระอัจฉริยภาพ ”

งามพระอัจฉริยะศิลปศาสตร ภูวนาถเอกองคธํารงศิลป รังสรรคงานแบบอย่างศิลปน จอมนรินทรขวัญเกล้านิกรชน

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 41


“ พระบิดาแห่ง การประดิษฐ์ไทย ”

ธ ทรงเปนแบบอย่างของนักคิด ธ ประดิษฐนวัตกรรมนําสมัย ดิน นํ้า ฝน พัฒนาเกษตรไทย ให้ก้าวไกลแกร่งกล้าสู่สากล

42 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


“ เทิดไท้เหนือเกล้าชาวไทย ”

รอยพระบาทยาตรายังจารึก น้อมสํานึกพระเมตตามหาศาล เย็นศิระเพราะพระบริบาล ทั่วสถานถิ่นแคว้นแผ่นดินไทย

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 43


“ เสด็จออกมหาสมาคม ”

หกสิบป ธ ครองราชยชาติยิ่งใหญ่ ประชาไทยปรีดิ์เปรมเกษมสันต เศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีวัน สมานฉันทสังคมอยู่ร่มเย็น

44 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


“ พระนามาภิไธย รัชกาลที่ 9 ”

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 45


“ถวายความอาลัย” พิธีถวายความอาลัยน้อมสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในวันพุธที่ 19 ตุลาคม พศ. 2559

46 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 47


“นิทรรศการเทิดพระเกียรติ” พิธีเปิดนิทรรศการเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

48 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 49


50 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


“ราชมงคลลานนา....

...รวมพลังแหงความภักดี” วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 51


52 นิตยสาร ราชมงคลล้านนา


นิตยสาร ราชมงคลล้านนา 53


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.