วารสารเพลงดนตรี
MUSIC JOURNAL
Volume 22 No. 5 January 2017
Editor’s Talk
เจ้าของ
วารสารเพลงดนตรีขอกล่าว...สวัสดีปใี หม่ และต้อนรับผู้อ่าน เข้าสู่ปี ๒๕๖๐ ในฉบับนี้ วารสารฯ ได้สัมภาษณ์น้องๆ เยาวชนผูไ้ ด้รบั รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง จากการ ประกวด SET เยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ ๑๙ ซึง่ จัดขึน้ เมือ่ เดือนธันวาคม ๒๕๕๙ ทีผ่ า่ นมา น้องๆ แต่ละคนมีการเตรียมพร้อมอย่างไรจึง สามารถคว้ารางวัลชนะเลิศมาได้ พลิกไปอ่าน ได้ใน เรื่องจากปก ส�ำหรับผู้อ่านที่สนใจด้านเทคโนโลยี ดนตรี ฉบับนี้น�ำเสนอบทความ ขั้นตอนการ สร้างเสียงสังเคราะห์แบบ 808 Kick Drum ซึ่งเสียง 808 Kick Drum นี้ มีการใช้อย่าง แพร่หลายในบทเพลงประเภทฮิปฮอป ป็อป และอาร์แอนด์บี นอกจากนี้ บทความ Horn Corner in Switzerland ได้บอกเล่าเรื่องราวและ
กองบรรณาธิการ
บรรณาธิการบริหาร
นพีสี เรเยส พงศ์สิต การย์เกรียงไกร บวรภัค รุจิเวชนันท์ (นักศึกษาฝึกงาน)
ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
คนึงนิจ ทองใบอ่อน
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สุกรี เจริญสุข
สนอง คลังพระศรี
ผู้ช่วยบรรณาธิการ ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ Kyle Fyr นิธิมา ชัยชิต
ฝ่ายภาพ
ฝ่ายศิลป์
จรูญ กะการดี นรเศรษฐ์ รังหอม
พิสูจน์อักษรและรูปเล่ม ธัญญวรรณ รัตนภพ
ประสบการณ์ของนักศึกษาเครือ่ งมือเอกฮอร์น ของวิทยาลัย ที่เดินทางไปแสดงและเข้าร่วม มาสเตอร์คลาสที่มหาวิทยาลัย Hochschule Luzern (Lucerne University) ส�ำหรับบทความชุด The Bach Journey จากอาจารย์ฮโิ รชิ มะซึชมิ า่ ผูเ้ ขียนขอเริม่ การ เดินทางของบาค ในเดือนกุมภาพันธ์ทจี่ ะถึงนีค้ ะ่ ในนามของวารสารเพลงดนตรี ขออวยพร ให้ทา่ นผูอ้ า่ นมีความสุข สมหวัง จิตใจเบิกบาน ต้อนรับปีใหม่นี้
เว็บมาสเตอร์
ภรณ์ทิพย์ สายพานทอง
ฝ่ายสมาชิก
สรวิทย์ ปัญญากุล
ส�ำนักงาน
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วารสารเพลงดนตรี) ๒๕/๒๕ ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐
ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่อ ๓๑๑๓ โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๓๐ musicmujournal@gmail.com
พิมพ์ที่
หยินหยางการพิมพ์ โทรศัพท์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๖๓๖
จัดจ�ำหน่าย
ร้านค้าวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่อ ๒๕๐๔, ๒๕๐๕
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ส� ำหรับข้อเขียนที่ได้รับการพิจารณา กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่ จะปรับปรุงเพื่อความเหมาะสม โดยรักษาหลักการและแนวคิดของผู้เขียนแต่ละท่านไว้ ข้อเขียนและบทความที่ตีพิมพ์ ถือเป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการ ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ขอรับผิดชอบบทความนั้น
สารบัญ Contents Dean’s Vision
Jazz Studies
Music Business
04
42
54
Cover Story
ดริน พันธุมโกมล (Darin Pantoomkomol)
ภาวัต อุปถัมภ์เชื้อ (Pawat Ouppathumchua)
10
Getting Ready
Music Technology
46
56
ความเป็นมาตรฐานนานาชาติ สุกรี เจริญสุข (Sugree Charoensook)
READY ‘SET’ GO SET เยาวชนดนตรีแห่ง ประเทศไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๙ ครั้งที่ ๑๙
นิธิมา ชัยชิต (Nitima Chaichit) บวรภัค รุจิเวชนันท์ (Bavornpak Rujiveaschanun)
H.M. the King’s Compositions
16
สาระน่ารู้เกี่ยวกับ เพลงพระราชนิพนธ์ (ตอนที่ ๓) กิตติ ศรีเปารยะ (Kitti Sripaurya)
Music Education
38
การประยุกต์ทฤษฎีการ พัฒนาการของเพียเจต์ สู่การพัฒนาทักษะทางด้าน ดนตรีของเด็กปฐมวัย (บทที่ ๑)
น้อยทิพย์ เฉลิมแสนยากร (Noithip Chalermsanyakorn) ศศิรักษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ (Sasiluck Iamphichairit) ณัฐิดา นุ่มปราณี (Nuttida Numpranee)
แจ๊สล้วนๆ Harmonic Outline ใน Jazz Improvisation
Pedagogy Tools for Applied Music Teachers: Giving Interesting Master Classes
การจัดการการเงินกับธุรกิจดนตรี เข้าใจงบการเงินก่อนวิเคราะห์ งบการเงิน (ตอนที่ ๓)
Synthesising an 808 Kick Drum Michael David Brice (ไมเคิล เดวิด ไบรซ์)
Joseph Bowman (โจเซฟ โบว์แมน)
Review
Voice Performance
60
48
Diving Into the Unknown First Lesson – Part 1: Cello (2) Haruna Tsuchiya (ฮารุนะ ซึชิยะ)
Performance studies
50
The 43rd International Viola Congress, 2016
Daniel Jacob Keasler (แดเนียล จาคอบ เคียสเลอร์)
Horn Corner
52
Horn Corner in Switzerland Daren Robbins (ดาเรน รอบบินส์)
เพลินเพลงพระราชนิพนธ์ เจิดจ้า สไตล์ ทีพีโอ ในคอนเสิร์ต สายธารพระราชไมตรี นฤตย์ เสกธีระ (Narit Sektheera)
66
Royal Concertgebouw สุนทรียภาพชั้นยอดที่ประชาชน... เอื้อมถึง จิตร์ กาวี (Jit Gavee)
Alumni News and Notes
70
หวาย – ชญานี ศรีสุโร ผู้สืบทอดธุรกิจครอบครัว โรงเรียนดนตรีคีตพัฒน์
ตรีทิพ บุญแย้ม (Treetip Boonyam)
Dean’s Vision
ความเป็นมาตรฐานนานาชาติ เรื่อง: สุกรี เจริญสุข (Sugree Charoensook) คณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
จัดการศึกษาดนตรีครบวงจร
วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ได้ชอื่ ว่าเป็นสถาบันการศึกษาดนตรี ที่จัดการศึกษาครบทุกรูปแบบ ครบทุก ระดับชัน้ (ดนตรีเด็กเล็ก เตรียมอุดมดนตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก) ครบทุกอายุ (เริ่มตั้งแต่อายุ ๒ ขวบครึ่ง จนกระทั่งดนตรีส�ำหรับผู้สูงอายุ) ครบ ทุกเครือ่ งมือ (ร้องร�ำท�ำเพลง ดีดสีตเี ป่า เขย่าชักขูดดูดกวน) ครบทุกประเภทของ ดนตรี (ดนตรีไทย ดนตรีพื้นบ้าน ดนตรี เพื่อนบ้าน ดนตรีสากล ดนตรีสมัยนิยม ดนตรีแจ๊ส) และจัดการศึกษาวงดนตรี ทุกขนาด ตั้งแต่เล่นคนเดียวไปกระทั่งวง ซิมโฟนีออร์เคสตร้า วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ยังมีครูสอนดนตรีมาจากทั่วโลก เพื่อให้เกิดความหลากหลายทางดนตรี การถ่ายทอดวัฒนธรรมดนตรี ท�ำให้เกิด ความหลากหลายในความเข้าใจ ทั้งนี้ ดนตรีเป็นภาษาของทุกๆ คน นอกจาก จะมีการเรียนการสอนในชั้นเรียน การ เรียนเดี่ยว และการเรียนรวมวงแล้ว ยัง มีการแสดงให้ผฟู้ งั บทเวทีสาธารณะ เพือ่
04
เปิดโอกาสให้เด็กนักดนตรีได้แสดงดนตรี จริงๆ เหมือนสร้างอาชีพ ดังนั้น การจัด มหกรรมดนตรี เทศกาลดนตรี จึงเป็น กิจกรรมประจ�ำของวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ท�ำให้สถาบันดนตรีทวั่ โลกรูจ้ กั วิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ยิ่งใน ช่วงระยะเวลา ๕ ปีหลัง (พ.ศ. ๒๕๕๕๒๕๕๙) เป็นช่วงเวลาที่นักศึกษาดนตรี ของวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ได้รับการบ่มเพาะอย่างเข้มแข็ง มากขึ้น แล้วออกไปแสดงศักยภาพทั่ว โลกผ่านเวทีการแสดงและการประกวด เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นฐานเดิมที่ ยังอ่อนแออยู่ ในระยะเริ่มสร้างผลงาน สร้างเนื้อสร้างตัวของวิทยาลัย การส่ง นักเรียนดนตรีไปศึกษา ไปแสดงในต่าง ประเทศ การเปิดกว้างรองรับนักดนตรี และครูดนตรีที่เดินทางมาจัดกิจกรรม ดนตรี มาร่วมแสดงดนตรีในเทศกาล ต่างๆ เพราะการจัดงานบ่อยๆ ทุกงาน อยูใ่ นระดับที่มีคุณภาพ ท�ำให้สร้างความ จดจ�ำ สร้างความประทับใจ และมีราคา ของความน่าเชื่อถือกับคนที่เข้าร่วมงาน
หรือแม้แต่คนที่มาชมงาน คุณภาพของนักศึกษาทีอ่ อกไปแสดง ภายนอกมหาวิทยาลัยและต่างประเทศ ท�ำให้วทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล เป็นสถาบันดนตรีทมี่ ชี อื่ เสียงเป็น ทีร่ จู้ กั มีผคู้ นชืน่ ชมโด่งดังไปทัว่ โลกอย่าง รวดเร็ว ความนิยมในคุณภาพที่ต่อเนื่อง ๒๓ ปี นอกจากการออกไปแสดงต่างประเทศ แล้ว ยังมีนกั ดนตรีและสถาบันดนตรีตา่ ง ประเทศได้เดินทางมาขอความร่วมมือ มาเยี่ยมชม มาขอเรียนรู้ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ทางการศึกษา ก็ทำ� ให้วทิ ยาลัย ดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ขยาย ความน่าเชื่อถือมากขึ้น ทั้งนี้ ในภูมิภาค อุษาคเนย์กไ็ ม่มสี ถาบันดนตรีใดทีม่ คี วาม พร้อมด้านอุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ บุคลากร อาคารสถานที่ ทัง้ มีความสะดวก การเปิดกว้างยอมรับความแตกต่างและ การสร้างความเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็น ปัจจัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้วทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นที่รู้จัก ส�ำหรับความส�ำเร็จของวิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล นั้น
แม้ประชาชนคนทั่วไป ทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ จะชื่นชมความส�ำเร็จ มากเพียงใด แต่กใ็ ช่วา่ จะเป็นสิง่ ทีผ่ บู้ ริหาร มหาวิทยาลัยมหิดลจะชื่นชมอย่างออก หน้าออกตานัก วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ยังคงเป็นส่วนงานที่มีหนี้ เป็นเด็กดื้อใน สายตาผู้บริหารอยู่ดี
การประกวดเยาวชนดนตรี เป็นการสร้างมาตรฐานชาติ
การประกวดเซ็ทเยาวชนดนตรีแห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ ๑๙ รอบชิงชนะเลิศ เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ ที่หอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งถือเป็นความ ส�ำเร็จในการพัฒนากิจกรรมดนตรีเป็น อย่างมาก ถือเป็นพื้นฐานที่ส�ำคัญในการ พัฒนาดนตรีในประเทศไทย สิง่ ทีเ่ ห็นก็คอื ฝีมอื เยาวชนทีเ่ ล่นดนตรีเก่งมาก กระจาย
อยูท่ วั่ ประเทศ แต่กม็ อี ยูน่ อ้ ยมากทีจ่ ะเห็น เยาวชนดนตรีมาจากภาคใต้ ส�ำหรับภาค เหนือ อีสาน และภาคกลาง โดยเฉพาะ ในกรุงเทพฯ จะเป็นพืน้ ทีห่ ลักทีม่ เี ยาวชน ที่เล่นดนตรีเก่ง เวทีเป็นครูดนตรีที่ยิ่งใหญ่ เมื่อนัก ดนตรีนักแสดงมีเวที ท�ำให้นกั ดนตรีหรือ นักแสดงมีความช�ำนาญ เก่งมาจากการฝึก ช�ำนาญมาจากการแสดงบ่อยๆ เชีย่ วชาญ มาจากท�ำเป็นประจ�ำ เด็กๆ อาจจะเล่นไม่ เก่งแต่มคี วามช�ำนาญ อาจจะไม่เชีย่ วชาญ แต่คนุ้ เคยมือ ก็จะเป็นปัจจัยท�ำให้นกั ดนตรี เล่นดนตรีเก่ง การมีเวทีแสดงท�ำให้อาชีพ ดนตรีมีคุณค่าและมีมูลค่า ส�ำหรับครูดนตรีที่ดีที่สุดคือ “เวที” นัน้ เวทีสำ� หรับการแสดงดนตรีเป็นครูทดี่ ี ที่สุด เพราะเวทีจะสอนเด็กที่ประหม่าให้ เลิกประหม่า เวทีจะสอนเด็กไม่ให้ประมาท เวทีจะสอนให้เด็กลดความอหังการ เวทีจะ
สอนให้เด็กมีความเชือ่ มัน่ ในตนเอง เวทีจะ สอนให้เด็กอ่อนน้อมถ่อมตน เวทีจะสร้างผู้ ชนะและสร้างประวัตศิ าสตร์ อีกทัง้ เวทียงั สอนให้เด็กเรียนรูแ้ ละยอมรับความผิดหวัง ด้วย บางครัง้ ความผิดหวังอาจจะเป็นครู ที่ยิ่งใหญ่กว่าความส�ำเร็จเสียอีก พื้นที่ใดมีเยาวชนที่เล่นดนตรีเก่ง ก็จะตอบได้ว่ามีครูดนตรีที่เก่งอยู่ด้วย นอกจากนั้นแล้วก็จะมีผู้ปกครองและผู้ บริหารโรงเรียนให้การสนับสนุนเด็กให้เรียน ดนตรีทเี่ อาใจใส่และตัง้ ใจสร้างการศึกษาทีด่ ี การสนับสนุนการจัดประกวดเซ็ทเยาวชน ดนตรี โดยมูลนิธิตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ที่ให้การสนับสนุนอย่างต่อ เนือ่ ง มีเงินส�ำหรับการจัดงานและเป็นทุน การศึกษา เป็นรางวัลสูงสุดในการประกวด ดนตรีในประเทศไทย (๑.๘ ล้านบาท) วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ในฐานะทีเ่ ป็นเจ้าภาพจัดงาน ก็ได้
05
ช่วยพัฒนาการศึกษาดนตรีของเยาวชนไทย ให้ก้าวหน้า ไม่จ�ำเพาะเด็กนักศึกษาของ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เท่านัน้ แต่ยงั ขยายผลให้เด็กทีเ่ ล่นดนตรี ในสถาบันอืน่ ๆ ทุกเครือ่ งมือ ทัว่ ประเทศ ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาไปด้วยกัน การประกวดเซ็ทเยาวชนดนตรีแห่ง ประเทศไทย ทัง้ ที่ ๑๙ บอกได้วา่ เป็นเวที ที่สร้างและพัฒนาดนตรีของไทยให้ไปสู่ ระดับนานาชาติ เพราะเด็กไทยสมัยใหม่ ทีอ่ อกไปสูอ่ าชีพดนตรี ไม่วา่ จะเป็นระดับ เวทีเล็กหรือเวทีใหญ่ ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่ ผ่านการประกวดเซ็ทเยาวชนดนตรีแห่ง ประเทศไทยมาแล้วทั้งสิ้น ดังนั้น เซ็ท เยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทย จึงเป็น บันไดขั้นส�ำคัญของนักเรียนดนตรีที่จะ ก้าวไปสู่อาชีพ
มาตรฐานนานาชาติ
ความพยายามทีจ่ ะยกระดับให้เป็น สถาบันการศึกษาให้ได้มาตรฐานนานาชาติ นัน้ เป็นความพยายามของทุกฝ่ายในระดับ การบริหารการศึกษาชาติ จนกระทั่งได้
06
ออกมาเป็นกฎหมายว่าสถาบันการศึกษา ไทยจะต้องมีมาตรฐาน ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน และจะต้องผ่านระบบตาม เกณฑ์มาตรฐาน โดยมีส�ำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) มีชอื่ ย่อว่า สมศ. เป็น ผู้รับรองโดยกฎหมาย (พ.ศ. ๒๕๔๓) ความไม่มีมาตรฐานการศึกษา ชาติ ท�ำให้ผู้มีอ�ำนาจต้องประกาศให้ทุก สถาบันมีมาตรฐาน ในที่สุดทุกส่วนการ ศึกษาก็มัวแต่ปรับปรุงสถาบันให้อยู่ใน เกณฑ์มาตรฐานให้ได้ จนสูญเสียบทบาท หน้าทีท่ เี่ คยท�ำอยูอ่ ย่างสิน้ เชิง ความเป็น มาตรฐานกลายเป็นหัวใจของการท�ำงาน จัดการศึกษา เวลา งบประมาณ บุคลากร ต่างก็มงุ่ งานมาตรฐาน ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่เคยรูว้ า่ ความเป็นมาตรฐานทีแ่ ท้จริงเป็นอย่างไร บุคลากรการศึกษาไทยยังไม่รู้จัก ของดี ไม่รู้จักของจริง ไม่รู้จักความงาม ไม่รู้จักความส�ำเร็จ ไม่รู้จักความถูกต้อง ไม่รู้จักความสุขด้วยซ�้ำไป เนื่องจากการ ศึกษาได้ทำ� ลายรากเหง้าของตนเองและการ ยอมรับความเป็นอืน่ ในนามว่ามาตรฐาน
“ตามเขาว่าเก่ง ท�ำเองว่าโง่” จนสูญเสีย ความเป็นตัวตนจนหมดสิ้น การจัดการศึกษาของวิทยาลัย ดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก็เป็น เช่นเดียวกัน ทัง้ ๆ ทีผ่ ลส�ำเร็จเป็นทีป่ ระจักษ์ เป็นทีย่ อมรับของการศึกษาดนตรีในระดับ นานาชาติ แต่กไ็ ม่เป็นไปตามระบบทีเ่ รียก ว่า “มาตรฐาน” หากวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ด�ำเนินกิจกรรมตาม แนวมาตรฐาน สิ่งที่ดีที่มีอยู่แล้วในการ ศึกษาดนตรีของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก็จะถูกท�ำลายโดย ระบบมาตรฐานลงอย่างราบคาบ เพราะพวก “ปีศาจคาบค�ำภีร์ มาตรฐาน” นัน้ ไม่รจู้ กั ธรรมชาติของวิชา ดนตรีและไม่รจู้ กั วิชาศิลปะ ไม่รจู้ กั ความ คิดที่แหกคอก ไม่รู้จักวิชากบฏ ไม่รู้จัก ความคิดสร้างสรรค์ ไม่รู้จักจินตนาการ ไม่รู้จักรสนิยม ซึ่งเป็นพวกที่ไม่มีเสน่ห์ จึงไม่สามารถทีจ่ ะเรียนรูส้ งิ่ เหล่านีไ้ ด้ การ ที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล จะไปเสียเวลาต่อสู้และอธิบาย คณะกรรมการ ตายไปแล้วเกิดใหม่ คน
พวกนี้ก็ไม่เข้าใจ ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งแสวงหา พันธมิตรทีม่ คี วามเข้าใจธรรมชาติของการ ศึกษาดนตรี แม้จะต้องดัน้ ด้น ข้ามน�ำ้ ข้าม ทะเลไปหาพวกที่มีมาตรฐานในยุโรป ซึ่ง อาจจะต้องซือ้ ระบบมาตรฐานของเขามา ช่วยป้องกันตัว แต่กเ็ ป็นการรักษาธรรมชาติ ของดนตรีเอาไว้ได้ คือ เรียนดนตรีแล้ว ต้องเล่นดนตรีเก่ง ไม่ใช่เรียนดนตรีแล้ว เล่นดนตรีไม่ได้ ได้แต่พูดและเขียนเรื่อง ดนตรี ซึ่งในความเป็นดนตรีถือการเล่น ดนตรีเท่านั้นที่เก่ง การพูดอธิบายและ เขียนเรือ่ งดนตรีได้ เป็นเพียงส่วนประกอบ แต่ไม่ใช่ตัวตนของดนตรีจริง เป้าหมายของวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในด้านการจัดมาตรฐาน การศึกษาดนตรีอยู่ที่มูลนิธิมาตรฐาน สถาบันดนตรีในยุโรป (Musique: Music Quality Enhancement) ซึ่งมูลนิธิตั้ง อยู่ที่กรุงบรัสเซล ในเบลเยียม (The
Foundation for Quality Enhancement and Accreditation in Higher Music Education) ในเมือ่ สถาบันอุดมศึกษาไทย รับรองตัวเองไม่ได้ กระทรวงศึกษาธิการ ของไทยให้การรับรองสถาบันการศึกษา ชาติไม่ได้ ในที่สุด สถาบันการศึกษาที่มี โอกาสลืมตาอ้าปาก ก็ต้องไปพึ่งองค์กร ระหว่างประเทศ ขัน้ ตอนของการด�ำเนินการ วิทยาลัย ดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก็ตอ้ ง ตัง้ คณะกรรมการมาตรฐานศึกษามาตรฐาน ของตัวเอง ศึกษาระบบมาตรฐานของมูลนิธิ มาตรฐานสถาบันดนตรีในยุโรป แล้วกรอก ข้อมูลทีม่ อี ยูใ่ นแบบสอบถามให้ครบ ซึง่ เป็น ทัง้ สมรรถภาพและศักยภาพของวิทยาลัย ส่งใบสมัครพร้อมค่าสมัคร (ราว ๙ แสน บาท) เพื่อให้คณะกรรมการมาตรฐานได้ ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม ต้องตอบค�ำถามผ่านทางเอกสารเพื่อให้ ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์สุด
เมื่อเอกสารครบสมบูรณ์แล้ว ทาง มูลนิธิมาตรฐานสถาบันดนตรีในยุโรป ก็จะน�ำเอกสาร (ข้อมูล) ของวิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เข้าที่ ประชุม หากที่ประชุมเห็นชอบ ก็จะแต่ง ตัง้ คณะกรรมการ ๓ คน เดินทางมาตรวจ สอบสภาพความเป็นจริงของวิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล การ จัดการเรียนการสอน การจัดการแสดง คุณภาพของนักศึกษา คุณสมบัตขิ องอาจารย์ ทัง้ นี้ ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ ของคณะกรรมการ ทีเ่ ดินทางมาตรวจวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นภาระรับผิดชอบ ของวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ทั้งหมด ซึ่งกระบวนการใช้เวลา ประมาณ ๖-๘ เดือน หากว่าการประเมินของคณะกรรมการ มูลนิธิมาตรฐานสถาบันดนตรีในยุโรป (Musique: Music Quality Enhancement) ประสบความส� ำ เร็ จ จริ ง วิ ท ยาลั ย
07
ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล อาจ เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของไทย ที่ได้รับรองมาตรฐาน ซึ่งขณะนี้สถาบัน ดนตรีของสิงคโปร์ (Yong Siew Toh) ก็ ก�ำลังด�ำเนินการโดยวิธเี ดียวกัน หากผ่าน ทัง้ ๒ สถาบัน ก็จะเป็นสถาบันดนตรีทมี่ ี มาตรฐานยุโรปเพียง ๒ สถาบันในภูมภิ าค ซึง่ หลังจากนีก้ ต็ อ้ งเสียค่ารับรองมาตรฐาน ประจ�ำปี ในเมือ่ ประเทศของเรารับรองตัวเรา เองไม่ได้ ก็ต้องจ่ายค่าหัวคิวให้กับคนอื่น ไป เพือ่ ให้เขายอมรับและให้เป็นทีย่ อมรับ ของเราเองด้วย คงหนีไม่พ้น “ตามเขา ว่าเก่ง ท�ำเองว่าโง่” ก็ต้องเสียค่าโง่โดย ไม่จ�ำเป็นต่อไป ทั้งที่เงินค่าสมัคร เงินค่า รักษามาตรฐาน เงินเป็นของเรา งานเรา ก็เป็นคนท�ำ ส่งงานให้เขาตรวจ เราก็ตอ้ ง รับรองและรองรับมาตรฐานจากเขา เพือ่ ให้เป็นทีย่ อมรับของทุกคน ยอมรับว่าเรา มีมาตรฐาน ซึง่ ก็นา่ สงสารการศึกษาไทย “แม้ภูเขาเราจะสูง แต่ก็หายอมรับความสูงของตัวไม่ ต้องไปหาคนอื่นมาวัดใหม่ เพื่อให้ได้ชื่อว่ามาตรฐานจริง อนิจจาการศึกษาชาติ คนฉลาดสูญหายทั้งชายหญิง ฉลาดในเรื่องโง่โง่นั้นฉลาดจริง ยิ่งฉลาดยิ่งโง่ไม่รู้ตัว” หลังจากวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการรับรอง จากมูลนิธมิ าตรฐานสถาบันดนตรีในยุโรป (Musique: Music Quality Enhancement) ซึง่ ประมาณว่ากันยายน ๒๕๖๐ การศึกษา ดนตรีในประเทศไทยน่าจะมีการตืน่ ตัวกัน มากขึน้ อาจจะมีสถาบันการศึกษาดนตรี สถาบันอื่นๆ สมัครเข้าสู่ระบบมาตรฐาน ยุโรปเพิ่มขึ้น (ส่งเงินออกนอกประเทศ เพื่อให้ได้มาตรฐาน) การศึกษาดนตรีใน ประเทศก็ต้องเข้มแข็งมากขึ้นด้วย ใน ทางกลับกัน ส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน) ก็ยอมรับมาตรฐานที่ได้รับการ รับรองจากมูลนิธมิ าตรฐานสถาบันดนตรี
08
ในยุโรป (Musique: Music Quality Enhancement) ถือว่าได้มาตรฐานสากล ผ่านโดยกฎหมาย
การให้ทุนนักเรียนดนตรีอาเซียน
เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๙ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เปิดอาคารพัฒนาวิชาชีพดนตรีสคู่ วาม เป็นเลิศ อาคารเรียนพร้อมหอพัก เพือ่ ให้ พ่อแม่ผู้ปกครองเข้าเยี่ยมชม ใช้ส�ำหรับ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย “เตรียมอุดมดนตรี” วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึง่ เพิง่ จะสร้างเสร็จ และย้ายเข้าไปด�ำเนินการเมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ทีผ่ า่ นมา อาคารหลัง นีต้ อ้ งใช้งบประมาณ ๘๔๐ ล้านบาท สร้าง เป็นอาคาร ๙ ชั้น ตั้งแต่ชั้นที่ ๑-๕ เป็น ห้องเรียน ห้องฝึกซ้อม ห้องพักอาจารย์ พร้อมการสอนเดีย่ ว และชัน้ ที่ ๖-๙ เป็น หอพัก ทุกห้องเป็นห้องเก็บเสียง เพื่อ ไม่ให้รบกวนซึ่งกันและกัน ตั้งใจให้เป็น อาคารเรียนดนตรีทสี่ มบูรณ์ ทัง้ เครือ่ งมือ อุปกรณ์สำ� หรับการเรียนดนตรี เด็กตืน่ ขึน้ มาก็สามารถที่จะซ้อมดนตรีได้เลย ความจริงเมือ่ เด็กได้ยา้ ยเข้าไปเรียน ในอาคารใหม่ มีหอ้ งเรียนและห้องเก็บเสียง เป็นอย่างดี แต่โดยธรรมชาติของเด็กไทย ทีอ่ ยูใ่ นภูมอิ ากาศร้อนชืน้ ทุกคนอยากอยู่ กับธรรมชาติ เด็กก็ซ้อมดนตรีนอกห้อง ซ้อมกันใต้ถุนอาคาร ซึ่งหรูสวยโปร่งโล่ง และเท่ ก็ส่งเสียงดังไปยังเพื่อนบ้าน ซึ่ง เป็นสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน ก็ถูก ร้องเรียน ๒ ครัง้ แล้ว ว่าเสียงดัง หนวกหู ก็พยายามทีจ่ ะแก้ปญ ั หาโดยให้เด็กฝึกซ้อม ในห้องซ้อม ปลูกต้นไม้หนาสูงให้เป็นรัว้ กัน้ เสียง พยายามให้เด็กเล่นให้ไพเราะ เพื่อ ว่าผูฟ้ งั จะลดการร้องเรียนบ้าง ซึง่ อาคาร เก่าๆ ของอาเซียนนั้นไม่ติดแอร์ ไม่ก้ัน เสียง จึงเกิดปัญหาเสียงดัง การสร้างอาคารพัฒนาวิชาชีพดนตรี สูค่ วามเป็นเลิศนัน้ ไม่ได้สร้างขึน้ เพือ่ เด็ก ไทยเท่านั้น แต่ตั้งใจจะให้ทุนการศึกษา แก่เด็กนักเรียนดนตรีในภูมิภาคอาเซียน
ด้วย (ปีละ ๑๐ ทุน) โดยประกาศรับ สมัครให้ทุนผ่านสื่อต่างๆ ทุกช่องทาง เพือ่ ให้นกั เรียนดนตรีทสี่ นใจสมัครมาเรียน ดนตรีในเมืองไทย โดยเฉพาะช่องทาง ผ่านราชการ กระทรวงการต่างประเทศ แม้แต่ละประเทศในภูมิภาคอาเซียนจะมี เงื่อนไขที่แตกต่างกันก็ตาม อาทิ กลุ่มที่ การศึกษาดนตรีตามหลัง อย่างลาว เขมร พม่า อาจจะมีเด็กทีเ่ ก่งดนตรีนอ้ ย พัฒนา ช้า ไม่ได้มาตรฐาน สอบเข้าก็จะไม่ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน นอกจากจะเลือกคนที่ มีแววแล้วให้ทุนเต็มที่มาเรียน เพื่อจะได้ ช่วยพัฒนาให้เพื่อนบ้านด้วย ส่วนนักเรียนดนตรีในกลุม่ ประเทศที่ ก�ำลังพัฒนา อย่างฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม เด็กมีพนื้ ฐานดีพอควร แล้ว ฝีมอื ดีแถมมีฐานะดีพอสมควร อาจ จะให้ทุนส่วนหนึ่งเพื่อจะได้เป็นก�ำลังใจ อยากมาเรียนดนตรีในประเทศไทย ส่วน เด็กสิงคโปร์นนั้ เขามีโรงเรียนดนตรีทดี่ ี ๒ สถาบัน โอกาสที่จะมาเรียนที่เมืองไทยก็ ยากอยู่ แต่ความหลากหลายของวิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ใน หลายด้านก็ยงั เหนือกว่าสถาบันดนตรีใน สิงคโปร์อยู่บ้าง ไม่ว่าจะเป็น ขนาดของ อาคารสถานที่ วิชาเอกทีเ่ ปิดสอน จ�ำนวน อาจารย์ ระดับปริญญาทีเ่ ปิดสอน เทศกาล ดนตรี และวงดนตรีที่เหนือกว่า เป็นต้น เด็กสิงคโปร์นั้นไม่ได้เรียนดนตรี มากนัก สถาบันดนตรีสิงคโปร์ได้ให้ทุน การศึกษาดนตรีแก่เด็กอาเซียนมาก่อน ไทย โดยหาคนเก่งดนตรีจากเพื่อนบ้าน ไปชักจูงให้เด็กสิงคโปร์เรียนดนตรี หาก เด็กของสิงคโปร์เก่งดนตรีจริง รัฐบาลก็จะ สนับสนุนสุดชีวติ เพือ่ ให้คนดนตรีสงิ คโปร์ มีโอกาส น�ำชือ่ เสียงมาสูป่ ระเทศ แม้จะมี ฝีมือเล็กๆ น้อยๆ ก็โฆษณาจนออกหน้า ออกตาทีเดียว ส�ำหรับเด็กนักเรียนดนตรีในประเทศ บรูไนนัน้ การศึกษาดนตรียงั ไม่อยูใ่ นความ สนใจ แต่เป็นประเทศทีเ่ ด็กมีฐานะดี หาก เด็กบรูไนอยากเรียนดนตรี ส่วนใหญ่จะมุง่ ไปเรียนที่ยุโรปและอเมริกา
มากขึ้น สื่อสารทางจิตใจกันมากขึ้น มี ความเข้าใจกันมากขึน้ โดยผ่านเสียงดนตรี ฝ่ายเด็กไทยก็จะต้องพัฒนาตัวเองทัง้ ศักยภาพความเป็นเลิศ พัฒนาเรือ่ งภาษา มากขึ้น (อังกฤษ อาเซียน เทคโนโลยี ดนตรี) ซึ่งจะเป็นภาษาที่ใช้ท�ำมาหากิน ในอนาคต เพราะตลาดดนตรีไม่ได้อยู่ แค่ประเทศไทยเท่านั้น แต่ดนตรีกลาย เป็นตลาดของอาเซียน ซึ่งมีประชากรถึง ๗๖๐ ล้านคน มีโรงแรมชั้นหนึ่ง ๕๐๐ โรงแรมที่ต้องการนักดนตรีฝีมือสูง ยังมี โรงเรียนนานาชาติที่ต้องการครูดนตรีอีก ๕๐๐ โรงเรียน หากเด็กในอาเซียนทุกคน ต้องการเรียนดนตรี ซึ่งเชื่อว่ามีครูดนตรี นักดนตรี ศิลปิน ที่จะสร้างผลงานอีก จ�ำนวนมาก ซึ่งทุกคนต้องการคุณภาพ เท่านั้นที่จะอยู่ได้ โอกาสของการศึกษา ดนตรีจึงเป็นเรื่องที่กว้างขวางมากกว่าที่ เป็นอยู่หลายร้อยเท่า
ท�ำไมต้องให้ทนุ การศึกษาดนตรีแก่เด็ก นักเรียนอาเซียน เป็นค�ำถามทีต่ อ้ งเตรียม ค�ำตอบไว้เลย เพราะจะมีพอ่ แม่ผปู้ กครอง ไทยจ�ำนวนมากถามว่า ท�ำไมไม่ให้ทนุ การ ศึกษาส�ำหรับเด็กไทย ความจริงก็ตอ้ งท�ำทัง้ ๒ ส่วน เพราะเด็กไทยทีเ่ ก่งและขาดแคลน ทุน วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ก็จะให้ทุนการศึกษากับเด็กไทย อยูแ่ ล้ว ในรูปแบบต่างๆ อาทิ ทุนเรียนดี ทุนเล่นดนตรีเก่ง ทุนชนะการประกวด ดนตรี ทุนสร้างชื่อเสียงให้แก่วิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ ทุนผูใ้ ห้การสนับสนุนเด็กยากจน เป็นต้น การให้ทนุ การศึกษาดนตรีแก่นกั เรียน อาเซียนในระดับมัธยมศึกษา เป็นการให้
ความช่วยเหลือการพัฒนาประเทศเพือ่ น บ้านผ่านการศึกษาดนตรี การขยายความ สัมพันธ์ทดี่ ผี า่ นเสียงดนตรี การเชือ่ มไมตรี ระหว่างคนกับคนผ่านเสียงดนตรีซึ่งเป็น ไมตรีที่ยั่งยืน การเปลี่ยนทัศนคติเพื่อน บ้านจากศัตรูสู่ความเป็นมิตรผ่านเสียง ดนตรี การศึกษาค้นคว้าวิจัย การเล่น ดนตรีร่วมกัน การแลกเปลี่ยนบทเพลง กันและกัน เป็นต้น เมื่อมีนักเรียนทุนดนตรีจากเพื่อน บ้านอาเซียนมาเรียนดนตรีที่วิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สิ่ง ที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคตก็คือ เชื่อว่า ประชาคมชาวอาเซียนจะมีทศั นคติตอ่ กัน เปลี่ยนไป ทัศนคติใหม่ก็จะเป็นมิตรกัน
09
Cover Story
ฐานิตา ยงยิ่งศักดิ์ถาวร
ชัยธวัช อติโภภัย
ธนภัทร ปรัชเจริญวนิชย์
READY ‘SET’ GO
SET เยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๙ ครั้งที่ ๑๙ เรื่อง:
นั
นิธิมา ชัยชิต (Nitima Chaichit) ผู้ช่วยบรรณาธิการวารสารเพลงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล บวรภัค รุจิเวชนันท์ (Bavornpak Rujiveaschanun)
บเป็นเวลา ๑๙ ปีแล้ว ที่มีการจัด ประกวดเยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทย (หรือ ‘การประกวดเซ็ทเทรดเยาวชนดนตรี แห่งประเทศไทย’ ชื่อเดิม ที่หลายๆ ท่าน คุน้ ชิน) ต้องขอขอบคุณหนึง่ ก�ำลังสนับสนุน ส�ำคัญ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผู้ใหญ่ใจดีท่านอื่นๆ ที่มีจุดมุ่งหมาย เดียวกัน โดยสนับสนุนน้องๆ เยาวชน ที่มีความรู้ความสามารถด้านดนตรี ได้ มาแสดงออกให้ประจักษ์ต่อสาธารณชน เพราะดนตรีคือความสร้างสรรค์ พร้อม ทั้งยังฝึกสมาธิ นอกจากนี้ยังช่วยในการ ตัดสินใจ ในการแก้ปญ ั หา และใช้เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์ ดีกว่าที่จะไปยุ่งเกี่ยวกับ อบายมุขทั้งหลาย ลักษณะพิเศษของการประกวด SET เยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทยนั้น คือ การเปิดกว้างในการประกวดที่ไม่จ�ำกัด
10
ในเครื่องดนตรี แค่เป็นเครื่องดนตรีที่ไม่ ใช้ไฟฟ้าเป็นพอ และไม่จ�ำกัดแนวเพลง ในการประกวด มุ่งเน้นแค่ความสามารถ และความไพเราะของผูเ้ ข้าประกวดเท่านัน้ การประกวดแบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับอุดมศึกษา เริ่มเปิดรับสมัคร ตั้งแต่วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ มีเยาวชนให้ความ สนใจร่วมส่งผลงานเข้าประกวดรวมทัง้ สิน้ ๓๕๘ ผลงานในปีนี้ เวลา ๒ เดือนของการ ประกวดผ่านไปรวดเร็วดัง่ ต้องมนต์ ด้วย ความสุขจากการขับกล่อมเพลงและบรรเลง ดนตรี โดยน้องๆ ผูเ้ ข้าประกวด เมือ่ วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ การประกวด SET เยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทยก็มาถึงรอบ ชิงชนะเลิศ มีน้องๆ มากความสามารถ
กมลา ศิริวัฒน์
รวม ๔๐ ชีวติ จากทุกระดับชัน้ การศึกษา มาประชันความสามารถกัน ถึงแม้ผู้เขียนจะไม่ใช่กรรมการ แต่ สามารถบอกได้ว่า น้องๆ ๔๐ ชีวิตใน รอบชิงชนะเลิศนี้ ต้องสร้างความหนักใจ ให้คณะกรรมการกันบ้างไม่มากก็น้อย เนื่องจากน้องๆ ทุกๆ คนในวันนี้ ล้วนมี ความสามารถเต็มเปี่ยม คุณภาพคับจอ มาก แล้วผลประกาศก็มาสรุปได้ในช่วง เวลาประมาณ ๑๖.๓๐ น. ในความเป็นจริง ทุกการแข่งขันต้อง มีผชู้ นะรางวัลและผูท้ ผี่ ดิ หวัง แต่สำ� หรับ ผูเ้ ขียนแล้ว น้องๆ ทุกคนคือผูช้ นะ เพราะ ถึงแม้จะไม่ชนะในการได้รับรางวัล แต่ ก็ชนะใจตัวเอง เนื่องจากทุกๆ คนต้อง ฝ่าฟันอุปสรรคหลากหลาย กว่าจะมายืน บน Final Round และแสดงต่อหน้าผูช้ ม มากมายขนาดนีไ้ ด้ จึงอยากจะขอให้นอ้ งๆ ทุกๆ คนไม่ทอ้ ถอย และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า บทความสัมภาษณ์ของน้องๆ ผู้ที่ได้ รับรางวัลชนะเลิศนี้ จะเป็นแรงบันดาลใจ (Inspiration) เพือ่ ผลักดัน (Motivation) ส�ำหรับการประกวดในปีต่อๆ ไป เพราะ ไม่มีชัยชนะใด จะได้มาง่ายๆ เริ่มต้นไล่จากรุ่นเล็กของรายการ ประกวด SET เยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทย ไปยังรุ่นใหญ่ ตามล�ำดับ ดังนี้
เด็กหญิงฐานิตา ยงยิ่งศักดิ์ถาวร ผู้ชนะเลิศระดับประถมศึกษา น้อง วินนี่ เด็กหญิงฐานิตา ยงยิ่งศักดิ์ถาวร อายุ ๙ ปี เครื่องดนตรีที่เล่นคือเปียโน เพลงทีเ่ ลือกเข้าประกวด Valse-Scherzo in A Major ประพันธ์โดย Pyotr Ilyich Tchaikovsky ฝึกสอนโดยอาจารย์ Irina Novikova ขณะนีน้ อ้ งศึกษาอยูท่ โี่ รงเรียน นานาชาติโชรส์เบอรี่ กรุงเทพมหานคร น้อง เป็นคนกรุงเทพฯ ตั้งแต่ก�ำเนิด นอกจาก นี้ทางวารสารเพลงดนตรียังได้รับเกียรติ สัมภาษณ์คณ ุ แม่ของน้องวินนี่ คุณกมลรัตน์ ธรรมพลานนท์ ควบคูก่ นั ไปด้วย เนือ่ งจาก น้องเป็นคนขี้อาย คุณแม่จึงรับหน้าที่ ช่วยตอบค�ำถามเพื่อให้ผู้อ่านได้รู้จักน้อง วินนี่มากขึ้น
แนะน�ำตัว
สวัสดีค่ะ หนูชื่อวินนี่ค่ะ เป็นคน กรุงเทพฯ ค่ะ
คุณครูผู้ฝึกสอน
ความประทับใจต่อคุณครู (Irina Novikova) ที่สอนเปียโน เพราะคุณครู สอนเก่งค่ะ
(คุณแม่) น้องวินนี่เรียนเปียโนกับ Ms. Irina Novikova ซึ่งเป็นครูสอน เปียโนชาวรัสเซีย เป็นครูที่ส่งเด็กๆ แข่ง ในระดับโลกค่ะ น้องเลยเหมือนเป็นเด็ก แข่ง น้องออกสนามแข่งมาปีกว่าๆ แล้ว ค่ะ สนามที่น้องแข่งนั้น ในต่างประเทศ ตอนนี้ก็นับได้ประมาณสิบสนาม ซึ่งส่วน ใหญ่นอ้ งก็จะคว้ารางวัลทีห่ นึง่ หรือทีส่ อง ค่ะ ส่วนในเมืองไทย เราเพิ่งได้ลงสนาม ค่ะ สนามแรกที่ลงคือเทศกาล Trinity Music Learning FEST Bangkok ค่ะ และ SET เยาวชนดนตรีนี้ เป็นสนามที่ สองในเมืองไทยค่ะ
ชอบด้านเปียโน น้องก็ชอบไปด้วยค่ะ และ นอกเหนือจากเปียโน น้องก็เล่นไวโอลิน กับร้องเพลงด้วยค่ะ
ความรู้สึกกับความส�ำเร็จในวันนี้ ดีใจค่ะ
อุปสรรคและการแก้ไข
มีบา้ งค่ะ มีทที่ ำ� ได้บา้ ง ท�ำไม่ได้บา้ งค่ะ
การเตรียมตัวก่อนการประกวด
ต้องซ้อมหนักค่ะ ซ้อมทุกวัน วันละ ๒ ชั่วโมงค่ะ
คติประจ�ำใจ (ความคิดเมือ่ รูส้ กึ ท้อแท้) ศิลปินในดวงใจหรือแรงบันดาลใจ ไม่เคยท้อค่ะ (คุณแม่) น้องวินนี่และน้องสาวมี พืน้ ฐานชอบเล่นเปียโนอยูแ่ ล้วค่ะ แต่ถาม ว่าเด็กตัวเล็กแค่นี้ จะให้อยู่ๆ ลุกขึ้นมา ซ้อมเอง ก็ไม่ขนาดนั้นค่ะ คุณแม่ก็ต้อง ช่วยผลักดันว่า ซ้อมนะลูก ถ้าไม่ซ้อม เดี๋ยวไม่ได้นะคะ แต่น้องทั้งสองคนเป็น เด็กดีค่ะ เลยไม่ยากในการผลักดัน และ คุณพ่อเขาก็มีพรสวรรค์ทางด้านดนตรี
คุณพ่อค่ะ คุณพ่อเล่นเปียโน
เหตุผลในการเข้าประกวด หนูชอบเล่นเปียโนค่ะ
ความประทับใจต่อเวทีการประกวด รู้สึกดีกับเวทีนี้ค่ะ
11
เวทีประกวด SET นี้ แตกต่างจาก ฝากถึงผูท้ อี่ ยากมาประกวดในเวที อย่างที่ท่านประธานของงานได้กล่าวไว้ เวทีอื่นๆ อย่างไร SET นี้ หรือผู้อ่าน เหมือนที่อยู่ในใจเลยค่ะ ว่าไม่ใช่แค่เรียน แตกต่างตรงที่ ที่นี่เป็นเวทีที่ใหญ่ ที่สุดค่ะ
เป้าหมายต่อไป
ไปแข่งต่อค่ะ (คุณแม่) เป้าหมายต่อไปของน้อง คือ ไปประกวด เพราะในหนึ่งปี เราจะ มีอยู่ ๔-๕ รายการค่ะ โปรแกรมส่วน ใหญ่ที่เราจะลง อย่างเช่น โปรแกรมของ Osaka International Music Competition โปรแกรมทีฮ่ อ่ งกง และทางแถบทวีปยุโรปค่ะ
(คุณแม่) ขอขอบคุณตลาดหลักทรัพย์ และวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ทีใ่ ห้การสนับสนุนตรงนีค้ ะ่ คุณแม่ เองคิดว่าเวทีนเี้ ป็นประโยชน์มากๆ ส�ำหรับ เยาวชนไทย ทีม่ กี ารแข่งขันทีไ่ ม่นอ้ ยหน้า ระดับโลกค่ะ เพราะจากทีร่ ว่ มเดินทางพา ลูกๆ ไปแข่งในต่างประเทศมามากกว่าสิบ ประเทศ คุณแม่เห็นการแข่งขันมามาก เรียกได้ว่าเวทีประกวด SET เยาวชน ดนตรีแห่งประเทศไทยนี้ จัดได้ดีมากๆ ค่ะ เสมือนเป็นการยกระดับเยาวชนไทย
หนังสืออย่างเดียว จริงๆ เราไม่ได้อยาก ให้ลูกเป็นครูสอนดนตรี แต่เราน�ำดนตรี มาเป็นส่วนหนึง่ ทีน่ อกเหนือจากการเรียน หนังสือ แล้วเราควรจะมีอย่างอื่นเผื่อไว้ เมือ่ เขาโตขึน้ และมีปญ ั หาเขาจะได้มที พี่ งึ่ ไม่ว่าจะเป็นกีฬาหรือดนตรีค่ะ
เด็กชายชัยธวัช อติโภภัย ผูช้ นะเลิศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น น้องชัยชัย เด็กชายชัยธวัช อติโภภัย อายุ ๑๓ ปี เครื่องดนตรีที่เล่นคือเปียโน กับ บทเพลง Hungarian Rhapsody No. 11 ประพันธ์โดย Franz Liszt คุณครูผู้ ฝึกสอนคือ ดร.อินทุอร ศรีกรานนท์ ขณะนี้ น้องชัยชัยศึกษาอยู่ท่ีโรงเรียนนานาชาติ สาทรใหม่ กรุงเทพมหานคร
12
แนะน�ำตัว
สวัสดีครับ ผมชื่อชัยชัย เป็นคน กรุงเทพฯ ครับ มาจากโรงเรียนนานาชาติ สาทรใหม่ครับ
คุณครูผู้ฝึกสอน
คุณครูชื่อ ดร.อินทุอร ศรีกรานนท์ จบมาจากอเมริกา คุณครูอยูท่ ลี่ าดพร้าว
ครับ คุณครูสอนผมมาตัง้ แต่อายุ ๑๐ ขวบ ผมเริม่ เรียนกับคุณครู จึงมีการพัฒนาทีด่ ี ขึ้นเรื่อยมาครับ
คติประจ�ำใจ (ความคิดเมือ่ รูส้ กึ ท้อแท้) ซ้อมไปเรื่อยๆ ครับ
ความรู้สึกกับความส�ำเร็จในวันนี้
ดีใจมากเลยครับ จากความพยายาม ทีใ่ ฝ่ฝนั มาตลอด แต่เสียดายทีเ่ พือ่ นๆ ไม่ ได้รางวัล
อุปสรรคและการแก้ไข
เมื่อก่อนเวลามีคนตักเตือน ผมจะ ไม่คอ่ ยชอบครับ ผมจึงแก้ไขโดยพยายาม แก้ให้ตวั เองใจเย็น ฟังค�ำแนะน�ำ แล้วก็นำ� มาปรับปรุงครับ
การเตรียมตัวก่อนการประกวด
แต่ละวันก็ต้องพยายามเล่นเพลง ให้กระจ่าง ซ้อมไปเรื่อยๆ ครับ วันละ
๔-๕ ชั่วโมงครับ
เหตุผลในการเข้าประกวด
เพราะว่ารายการนี้มีหลายเครื่อง ดนตรี แล้วมันน่าสนใจตรงที่ว่า สถานที่ ก็ดี อยากได้ประสบการณ์ดๆี จากรายการ นี้ครับ
เวทีประกวด SET นี้ แตกต่างจาก เวทีอื่นๆ อย่างไร
เป้าหมายต่อไป
ผมอยากเดินทางไปแข่งขันในต่าง ประเทศ รายการทีอ่ าจจะใหญ่กว่านีค้ รับ
ฝากถึงผูท้ อี่ ยากมาประกวดในเวที SET นี้ หรือผู้อ่าน
ถ้าอยากชนะรายการนี้ ต้องฝึก ขยันซ้อมครับ
เครื่องดนตรีหลากหลายครับ มีทั้ง ไวโอลิน เชลโล เบส เครือ่ งดนตรีไทยด้วย แล้วก็บรรยากาศดีครับ
นายธนภัทร ปรัชเจริญวนิชย์ ผูช้ นะเลิศระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย น้องภัทร นายธนภัทร ปรัชเจริญวนิชย์ อายุ ๑๖ ปี เลือกมาประกวดด้วยเครื่อง มาริมบ้า ในบทเพลงชื่อ Land ประพันธ์ โดย Takatsugu Muramatsu ฝึกสอนโดย อาจารย์ไกรสิทธิ์ สุวรรณเหล่า น้องศึกษา อยูท่ วี่ ทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย
มหิดล ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
แนะน�ำตัว
สวัสดีครับ ผมชือ่ ภัทรครับ บ้านอยู่ แถวสมุทรปราการครับ ขณะนีศ้ กึ ษาอยูท่ ี่ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชั้น ม.๔ ห้องอาจารย์วินครับ
คุณครูผู้ฝึกสอน
อาจารย์ไกรสิทธิ์ สุวรรณเหล่า หรือ อาจารย์วนิ ครับ ประทับใจอาจารย์มากครับ และต้องขอบพระคุณอาจารย์ดว้ ยครับ ที่ ดูแลผมมาเป็นอย่างดีครับ นอกจากการ เรียน อาจารย์ยังได้สอนเกี่ยวกับการใช้ ชีวติ ร่วมกับคนอืน่ ๆ ในสังคม วินยั ในการ
13
ใช้ชีวิตของตัวเอง เป็นต้นครับ
ปีครับ เนือ่ งจากซิว่ มาด้วยอย่างหนึง่ เลย ต้องเรียนหนักพอสมควรเลยครับ
เปิดโอกาสให้เด็กทุกรุ่นทุกวัยได้แสดง ความสามารถครับ
เวลาท้อ ผมก็บอกกับตัวเองว่า วัน ข้างหน้ายังมีเสมอครับ อย่าเพิ่งเหนื่อย และท้อ แต่ท�ำให้ดีที่สุดครับ
การเตรียมตัวก่อนการประกวด
เป้าหมายต่อไป
ความรู้สึกกับความส�ำเร็จในวันนี้
เหตุผลในการเข้าประกวด
คติประจ�ำใจ (ความคิดเมือ่ รูส้ กึ ท้อแท้)
รู้สึกดีใจและภูมิใจมากครับส�ำหรับ ความส�ำเร็จครัง้ นี้ เพราะเป็นความส�ำเร็จ ครั้งแรกในชีวิตครับ
อุปสรรคและการแก้ไข
กว่าจะมาถึงวันนี้ ผมเหนือ่ ยมาหลาย
ซ้อมหนักมากครับ แต่ก็ได้ขอค�ำ ปรึกษาจากอาจารย์ครับ ตัดสินใจเข้าประกวดครั้งนี้เพราะ อยากเก็บเกี่ยวประสบการณ์ อยากให้ รางวัลกับชีวิตตัวเองบ้างครับ
ความประทับใจต่อเวทีการประกวด
ในอนาคต ถ้าถามถึงการประกวด บนเวทีอื่นๆ ผมยังไม่ได้คิดหรอกครับ เพราะผมไม่ค่อยได้แข่งขันครับ ผมคิดไว้ ว่าคงจะแค่เรียนจบให้สูงๆ ครับ
ฝากถึงผูท้ อี่ ยากมาประกวดในเวที SET นี้ หรือผู้อ่าน สู้ๆ ครับ
ผมประทับใจที่เวทีการประกวดนี้
นางสาวกมลา ศิริวัฒน์ ล�ำดับสุดท้าย ผู้ชนะเลิศระดับ อุดมศึกษา นางสาวกมลา ศิริวัฒน์ อายุ ๑๙ ปี กับการประกวดด้วยเครื่องดนตรี ฆ้องวงเล็ก ในเพลงปัญจภูไท เรียบเรียง โดย อาจารย์สุเชาว์ หริมพานิช ซึ่งเป็น ครูผฝู้ กึ สอนของน้องด้วย ซึง่ ขณะนีก้ ำ� ลัง ศึกษาอยูท่ ค่ี ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
14
แนะน�ำตัว
สวัสดีคะ่ ชือ่ กมลาค่ะ มาจากคณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คะ่
คุณครูผู้ฝึกสอน
คุณครูที่สอนคือ คุณครูสุเชาว์ หริมพานิช คุณครูเป็นคนทีล่ ะเอียด เป็น คนทีม่ คี วามคิดแปลกใหม่ ครูจะคิดเสมอ
ว่า จะท�ำอย่างไรให้ดนตรีไทยไม่น่าเบื่อ บางคนฟังดนตรีไทยแล้วหลับ ท�ำอย่างไร ให้คนหันมาฟังดนตรีไทย ครูจะมีเทคนิคใน การปรับเพลง มีการน�ำเพลงมาเรียบเรียง เพื่อให้คนเข้าถึงเพลงนั้นๆ เพราะในบาง ครัง้ คนรูส้ กึ ว่าดนตรีไทยเข้าถึงยาก แต่ครู จะคิดเสมอว่าท�ำอย่างไรให้คนเข้าถึงเพลง ท�ำให้เข้าใจเพลง สนุกไปกับเพลง การมี
อารมณ์ร่วมไปกับเพลงเป็นสิ่งส�ำคัญค่ะ
คติประจ�ำใจ (ความคิดเมือ่ รูส้ กึ ท้อแท้)
ไม่มวี นั ไหนสาย ทุกๆ วัน ถ้าเราคิด ว่าพรุ่งนี้สาย เมื่อวานสาย สายไปแล้ว พรุ่งนี้คงไม่ทัน เมื่อวานคงไม่ทัน ตอนนี้ เราคงท�ำอะไรไม่ได้ แต่จริงๆ เราคิดว่า ไม่ เราท�ำได้ อะไรก็แล้วแต่ ถ้าเราท�ำมัน มัน ไม่สาย แล้วก็ไม่มวี นั สาย แม้แต่ตอนทีเ่ รา ไม่อยู่หรือจากไปแล้ว ตอนนั้นจึงจะสาย แต่ ณ ปัจจุบัน คือ เราไม่รู้ว่าพรุ่งนี้เรา จะอยูไ่ หม แต่มนั ก็ไม่สายถ้าเราท�ำมันค่ะ
ความรู้สึกกับความส�ำเร็จในวันนี้
ภูมิใจที่สุดในชีวิตค่ะ เนื่องจากว่า เวทีนี้ให้เราแสดงศักยภาพออกมาได้เต็ม ที่ ไม่มีขอบเขตจ�ำกัดอะไร ท�ำให้เรารู้สึก ว่าเราท�ำได้ ภูมิใจมากๆ ค่ะ
อุปสรรคและการแก้ไข
อุปสรรคคือช่วงการแข่งขัน ซึ่ง ตรงกับช่วงทีเ่ ราต้องสอบทีม่ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ทั้งรอบรองและรอบชิง เป็นช่วงสอบทั้งคู่ค่ะ ปัญหาคือเวลา เรา ก็จะต้องท�ำให้มีเวลาในการซ้อมให้มาก ทีส่ ดุ หนึง่ คือเราว่างเราก็เข้าไปหาครู ต่อ เพลง ไล่มือ ไล่ก�ำลัง เพื่อให้เรามีก�ำลัง อยูต่ ลอดเวลา ออกก�ำลังกาย เวลาทีเ่ รา ไม่วา่ งตอนไหน เราก็นกึ เพลง ทบทวนใน ความจ�ำ ถ้าจ�ำไม่ได้ เปิดฟังเสียงที่เรา อัดเอาไว้ ที่ครูต่อเพลงให้ เปิดฟังเพื่อให้ มันซึมซาบเข้าไปข้างใน ให้เรารู้สึกอินค่ะ
ศิลปินในดวงใจหรือแรงบันดาลใจ
คุณครูสุเชาว์ค่ะ ครูเป็นคนที่ไม่ใช่ แค่เก่งด้านดนตรี แต่ยังเป็นคนที่มีราย ละเอียด มีความรู้สึกกับดนตรี สนุกไป กับมัน เศร้าไปกับมัน มีอารมณ์ทุกๆ อย่างไปกับมัน เรารู้สึกว่าเราดูแล้วเรา สนุก ครูเล่นดนตรีเราสนุก แค่เราดู เรา ยังสนุกเลย เราอยากที่จะเล่นให้คนรู้สึก ว่าสนุกไปกับเราด้วย อันนี้คือจุดจุดหนึ่ง ที่หนูชอบมากค่ะ
เหตุผลในการเข้าประกวด
การประกวดนีด้ ทู า้ ทาย ไม่จำ� กัดเครือ่ ง ดนตรีบนโลก สามารถเอามาบรรเลงแข่ง กันได้ โดยที่ไม่มีขอบเขตจ�ำกัด สามารถ ที่จะแสดงศักยภาพในตัวเรา ท้าทายตัว เองว่าเรามีศักยภาพพอไหม แล้วฝึกฝน ตัวเองเพือ่ แสดงให้ตวั เองเห็นว่า เราท�ำได้ แล้ว คนอืน่ ก็จะเห็นว่าเราท�ำได้ เป็นการ ฝึกฝนตัวเองไปในตัวที่ดีมากๆ ค่ะ
เวทีประกวด SET นี้ แตกต่างจาก เวทีอื่นๆ อย่างไร
แตกต่างตรงความท้าทาย เพราะมี เครือ่ งดนตรีหลายๆ เครือ่ ง ด้วยตัวเราเอง เครือ่ งทีเ่ ราเล่น จะเล่นอย่างไรให้คนเข้าใจ เข้าถึง และรู้สึกไปกับเรา ทั้งๆ ที่เครื่อง
ดนตรีสากลท�ำได้ แล้วเครื่องดนตรีไทย เราท�ำได้ไหม ท�ำอย่างไรให้ผชู้ มผูฟ้ งั สนุก ไปกับเรา ท�ำอย่างไรให้เขารูส้ กึ ซาบซึง้ ไป กับเรา การเล่นให้มีความสุข มันคือสิ่งที่ พิเศษที่สุดแล้วค่ะ
เป้าหมายต่อไป
ฝึกฝนและเรียนรูต้ อ่ ไปเรือ่ ยๆ โดยที่ ไม่หยุดค่ะ
ฝากถึงผูท้ อี่ ยากมาประกวดในเวที SET นี้ หรือผู้อ่าน
อยากให้เข้ามาสมัคร เข้ามาแสดง ศักยภาพของตัวเอง รอบแรกผ่านเทป รอบสอง รอบรอง รอบชิง อย่าไปคิด ว่าเราจะเข้ามาเพื่อแข่งขัน แต่เราเข้ามา เพือ่ พัฒนาตัวเอง เพือ่ ให้อยูใ่ นจุดจุดหนึง่ ที่เรารู้สึกว่าเรายอมรับมัน เพราะว่าการ พัฒนาตัวเองเป็นสิ่งที่ส�ำคัญค่ะ ทิ้งท้ายบทสัมภาษณ์ไว้เพียงเท่านี้ และหวังที่จะเห็นน้องๆ เยาวชนดนตรี ทุกๆ คน ก้าวต่อไปอย่างสวยงาม ตาม วัตถุประสงค์ของเวที SET เยาวชนดนตรี แห่งประเทศไทย อย่างไม่หยุดยั้ง
การเตรียมตัวก่อนการประกวด
การเตรียมตัวก็คอื ฝึกซ้อม การซ้อม เป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญมากๆ คือ ถ้าว่างก็ซอ้ ม ถ้า ไม่วา่ งเราก็ตอ้ งนึกว่าเราเล่นเพลงอะไร นึก ท�ำนอง นึกเนื้อเพลงขึ้นมา นึกอยู่ตลอด เวลา เพือ่ ให้เมือ่ ถึงเวลาเล่นจริงๆ เราจะ ได้เข้าถึงเพลงเพลงนั้น เข้าถึงความรู้สึก ความสนุกสนาน ความเศร้า ความรู้สึก ต่างๆ ในเพลงค่ะ
15
Alumni News and Notes
หวาย - ชญานี ศรีสุโร ผู้สืบทอดธุรกิจครอบครัว โรงเรียนดนตรีคีตพัฒน์ เรื่อง: ตรีทิพ บุญแย้ม (Treetip Boonyam) อาจารย์ประจ�ำสาขาธุรกิจดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ห
ากใครเป็นคนเมืองเพชร คงเคยได้ยนิ ชื่อเสียงของโรงเรียนดนตรีที่อยู่คู่ เมืองเพชรบุรีมาอย่างยาวนาน “โรงเรียน ดนตรีคีตพัฒน์” ซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ในนาม “พัฒน์ สตูดิโอ” โดย อาจารย์ชยพัฒน์และอาจารย์ทชั ชฎิล ศรีสโุ ร และจัดตั้งเป็นโรงเรียนในความควบคุม ของกระทรวงศึกษาธิการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เวลาผ่านมาเกือบ ๒๐ ปี วันนี้คง เป็นหน้าที่ของ หวาย - ชญานี กับการ สืบทอดต่อกิจการแห่งนี้ ด้วยความที่คลุกคลีกับดนตรีมา
70
ตั้งแต่เล็ก หวายจึงไม่ลังเลใจที่จะเรียน ต่อทางด้านดนตรีทวี่ ทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และเลือกเรียนใน สาขาธุรกิจดนตรี ด้วยแนวคิดที่ว่า นัก ธุรกิจทีไ่ ม่รดู้ นตรีมาท�ำงานด้านดนตรียอ่ ม ไม่ลึกซึ้ง และนักดนตรีที่จะท�ำธุรกิจย่อม ใช้เวลาไปกับการเรียนรู้ในศาสตร์ใหม่จน อาจไม่ทนั กาล เมือ่ หวายจบการศึกษา จึง ตัง้ ใจสืบทอดกิจการของทางบ้านให้สมกับ ชื่อเสียงที่สั่งสมมานานเกือบ ๒๐ ปี มา ท�ำความรูจ้ กั กับหวายให้มากขึน้ จากบท สัมภาษณ์แบบเป็นกันเอง
จุดเริ่มต้นของหวาย
เรียกว่าโตมากับเสียงดนตรีเลยก็วา่ ได้คะ่ เพราะทัง้ คุณพ่อและคุณแม่มคี วาม สามารถในการเล่นดนตรีทั้งคู่ พอหวาย อายุครบ ๘ ปี ก็ได้เริ่มต้นเรียนเปียโน โดยมีคณ ุ พ่อคุณแม่เป็นผูส้ นับสนุน เพราะ ท่านเห็นความส�ำคัญของการเรียนดนตรี เป็นอย่างมาก สมัยนั้นที่จังหวัดเพชรบุรี ยังไม่มีโรงเรียนดนตรี หวายจึงต้องไป เรียนที่กรุงเทพฯ ทุกๆ วันเสาร์ เป็น เวลาเกือบ ๑๐ ปี ระหว่างทีเ่ รียนนัน้ คุณ พ่อคุณแม่เริม่ สอนดนตรีทบี่ า้ นเป็นอาชีพ
เสริมนอกจากรับราชการครู จนกิจการ ค่อยๆ ขยับขยายเป็นโรงเรียนดนตรีใน ที่สุด การที่หวายอยู่กับตรงนี้มานาน จึง มีความใฝ่ฝันว่า เราอยากเรียนต่อคณะ ที่เกี่ยวกับดนตรี เริ่มปรึกษาคุณพ่อคุณ แม่ จนกระทั่งช่วงใกล้จบชั้น ม.๓ ถือว่า เป็นโชคดีมากๆ ส�ำหรับหวาย เพราะในปี นัน้ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ได้เปิดรับสมัครนักเรียนเตรียม อุดมดนตรีเป็นปีแรก หวายเลยไปสมัคร และสามารถสอบเข้าเรียนต่อที่นี่ได้ โดย ปีนั้นเปิดรับพร้อมกันทุกชั้นปี (ม.๔-๖) รุน่ หวายเลยเป็นรุน่ ทีเ่ ข้า ม.๔ ปีแรก แต่ เรียนจบหลักสูตรเตรียมอุดมดนตรีเป็นรุน่ ที่ ๓ และเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี โดยเลือกแขนงธุรกิจดนตรี
ท�ำไมถึงเลือกแขนงธุรกิจดนตรี (Music Business)
เหตุผลทีเ่ ลือกศึกษาต่อในแขนงธุรกิจ ดนตรีนนั้ เนือ่ งจาก ตอน ม.๖ ทางวิทยาลัย จะมีวชิ าของแต่ละแขนงให้นกั เรียนได้ลอง เรียน เพือ่ ทีจ่ ะได้เป็นแนวทางว่าเราอยาก เรียนต่อในสาขาไหน ซึง่ ในตอนนัน้ ได้เรียน วิชาธุรกิจดนตรี โดยอาจารย์ผู้สอน คือ อาจารย์อริยา เจริญสุข ระหว่างทีไ่ ด้เรียน วิชานี้ หวายมีความรู้สึกว่า วิชานี้สนุกดี เหมือนเปิดอีกหนึ่งมุมมองที่ผสมผสาน ระหว่างดนตรีและธุรกิจเข้าด้วยกัน และ อีกเหตุผลหนึ่งที่เลือกแขนงนี้คือกิจการ ที่บ้านเป็นโรงเรียนดนตรี เลยท�ำให้เรามี ความอยากรูว้ า่ ดนตรีกบั ธุรกิจจะเกีย่ วข้อง กันได้อย่างไร และเราจะน�ำความรูท้ เี่ กีย่ ว กับธุรกิจมาต่อยอดให้กับวิชาดนตรีที่เรา เรียนมาได้อย่างไร หวายมองว่า ปัจจุบนั นี้ ไม่วา่ อะไรเราก็สามารถหยิบจับให้เป็น ธุรกิจได้ทงั้ นัน้ ยกตัวอย่างธุรกิจโรงเรียน ดนตรี ถ้าเราเล่นดนตรีเก่งสอนเก่งอย่าง เดียว คนอื่นๆ ก็อาจจะเล่นเก่งสอนเก่ง เหมือนกัน แต่ถา้ เรารูว้ ธิ ที ำ� การตลาดการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ รู้จักการบริหาร งาน รู้จักการจัดการ เราสามารถดึงครูที่ เก่งมาอยู่กับเราได้ อาจจะท�ำให้นักเรียน และผู้ปกครองเลือกที่จะเรียนกับเรา ทุก
อย่างเป็นองค์ประกอบกัน ถ้าถามว่าแล้วท�ำไมไม่เรียนด้านธุรกิจ ไปเลย ส�ำหรับธุรกิจดนตรีนนั้ หวายมอง ว่า นักธุรกิจที่ไม่มีความรู้ทางด้านดนตรี แต่อยากประกอบอาชีพธุรกิจที่เกี่ยวกับ ดนตรีนนั้ ต่างกับนักธุรกิจทีม่ คี วามรูค้ วาม เข้าใจและเล่นดนตรีได้ คือคนทั่วไปเขา จะไม่เข้าใจว่า กว่าจะออกมาเป็นเพลง สักเพลงหนึ่งได้ มันต้องใช้เวลาและมีขั้น ตอนอย่างไรบ้าง แต่เราเรียนดนตรีมา ด้วย เราย่อมรู้ดี หวายจึงตัดสินใจเลือกเรียนแขนงนี้ และแขนงนี้ก็ยังให้อะไรมากกว่าที่หวาย คิด ไม่เพียงแต่เรียนด้านทฤษฎี แขนง วิชานี้เรายังได้เรียนด้านปฏิบัติอีกด้วย ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ หวายอยู่ปี ๓ จะต้อง ท�ำโปรเจกต์รว่ มกับเพือ่ นๆ ซึง่ หวายเป็น ประธาน โปรเจกต์ของรุน่ หวายคือ ละคร เวที ทีเ่ ป็นละครเพลงภาษาไทยเรือ่ งแรก เรื่องแผลเก่า (The Convicted Love) หวายคิดว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีมากๆ หวายได้เรียนรู้การท�ำงานหลายๆ อย่าง หวายได้น�ำประสบการณ์ตรงนั้นมาปรับ ใช้ในชีวิต ทั้งการเขียนแผนงาน การน�ำ เสนองาน การบริหารคน การจัดการ หลายสิง่ หลายอย่าง ซึง่ ในการท�ำงานนัน้ ย่อมมีปญ ั หาอุปสรรค แต่รนุ่ เราพยายาม แก้ปัญหาให้ผ่านไปให้ได้ พวกเราท�ำงาน อย่างตั้งใจมาก จนกระทั่งวันที่การแสดง รอบสุดท้ายจบลง เพื่อนในรุ่นเดียวกันที่ เรียนแขนงวิชาอืน่ เดินมาจับมือแล้วบอก
ว่า “ไม่คิดว่าแขนงวิชาธุรกิจดนตรีจะ สามารถท�ำอะไรได้มากมายขนาดนี้ ไม่ น่าเชื่อว่าจะเป็นการจัดการของเพื่อนรุ่น เดียวกัน” ตอนนั้นค�ำพูดของเพื่อนคน นั้น เป็นอีกสิ่งที่ยืนยันว่า เราเชื่อมั่นใน สิ่งที่เราเลือกเรียนในสาขานี้ได้เป็นอย่าง ดี จากการที่ได้ผ่านการเรียนด้านปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็น การท�ำโปรเจกต์ หรือการ ฝึกงาน ท�ำให้เรามีแนวทางในการท�ำงาน ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบ ถ้าเทียบกับคนอื่นที่ เรียนจบมาอาจจะยังไม่มีประสบการณ์ ในการท�ำงาน
การเติบโตของคีตพัฒน์
เริ่มต้นปี พ.ศ. ๒๕๒๕ คุณพ่อคุณ แม่ (อาจารย์ชยพัฒน์ - อาจารย์ทชั ชฎิล ศรีสโุ ร) เปิดสอนดนตรีทบี่ า้ นตัง้ แต่เริม่ รับ ราชการครูทจี่ งั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ เมือ่ ย้ายมารับราชการครูที่จังหวัดเพชรบุรี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้เปิดสอนดนตรีเริ่ม จากชื่อ พัฒน์ สตูดิโอ โดยเปิดสอนวิชา อิเล็กโทน กีตาร์ เปียโน และกลองชุด ต่อ มาในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ มีนักเรียนเพิ่มเป็น จ�ำนวนมาก คุณปู่ (อาจารย์จิตต์ ศรีสุโร อดีตผู้อ�ำนวยการ) ได้ด�ำเนินการเปิด โรงเรียน สร้างหลักสูตร และขออนุญาต จัดตั้งเป็นโรงเรียนในความควบคุมของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีคุณปู่ด�ำรง ต�ำแหน่งครูใหญ่และผูจ้ ดั การ และคุณพ่อ เป็นผู้ขอรับใบอนุญาต นั่นเป็นที่มาของ โรงเรียนดนตรีคีตพัฒน์จังหวัดเพชรบุรี
71
กิจการของโรงเรียนดนตรีไปได้ดี ขนาด สร้างอาคารเรียนเพิม่ เติมแล้วก็ยงั ไม่เพียง พอต่อจ�ำนวนนักเรียน และในช่วงระหว่าง ทีห่ วายก�ำลังเรียนอยู่ คุณแม่ได้มาปรึกษา ว่า เราจะสร้างตึกใหม่หรือว่าจะอยู่ที่เก่า หวายก็ไฟแรงเลยตัดสินใจว่า สร้างใหม่ไป เลย ด้วยเหตุผลทีว่ า่ ไหนๆ จะท�ำแล้ว ก็ ท�ำให้ดีไปเลย ในที่สุดก็ได้มาเป็นอาคาร ๕ ชั้น (รวมชั้นใต้ดิน) โรงเรียนดนตรีคตี พัฒน์มหี อ้ งเรียนเพิม่ ขึน้ พร้อมขึน้ หลังจากทีย่ า้ ยมาอยูต่ รงนี้ ท�ำให้มนี กั เรียนเพิม่ มากขึน้ ด้วย รายวิชาเรา ก็พฒ ั นาขึน้ จากเดิม คือมีจำ� นวนวิชามาก ขึน้ เปียโน ไวโอลิน อิเล็กโทน กีตาร์ เบส กลองชุด ดนตรีเด็กเล็ก รวมทั้งยังมีวิชา บัลเลต์และแจ๊สแดนซ์อกี ด้วย ส�ำหรับการ วัดและประเมินผล โรงเรียนดนตรีคตี พัฒน์ จัดอยูใ่ นโรงเรียนเอกชน มาตรา ๑๕ (๒) หมวดศิลปะ เราสามารถจัดสอบได้เอง โดย มีผทู้ รงคุณวุฒมิ าเป็นผูป้ ระเมินผล และผู้ สอบจะได้รบั ประกาศนียบัตรจากโรงเรียน ดนตรี หรือถ้าในรายวิชาเปียโน นักเรียน บางส่วนสามารถไปสอบกับสถาบัน Trinity หรือ Royal เราก็จะจัดส่งนักเรียนไป เพือ่ ที่จะได้ใบประกาศที่เป็นมาตรฐานสากล เรือ่ งบุคลากรผูส้ อน โรงเรียนดนตรีคตี พัฒน์ เรามุง่ เน้นคุณภาพมาตรฐาน จึงคัดเลือก อาจารย์ที่ส�ำเร็จการศึกษาด้านดนตรี สากลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
72
และมหาวิทยาลัยพายัพ เป็นต้น ดังนั้น โรงเรียนดนตรีคตี พัฒน์จงั หวัดเพชรบุรี จึง ได้รบั การยอมรับจากประชาชนชาวจังหวัด เพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรขี นั ธ์ เป็นอย่าง ดี และปัจจุบนั คุณแม่ (อาจารย์ทชั ชฎิล ศรีสุโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการ
อุปสรรคที่เกิดขึ้น
ปัญหาภายในโรงเรียนดนตรี ส่วน ใหญ่เป็นเรือ่ งการสือ่ สารระหว่างโรงเรียน และผูป้ กครอง จากเดิมทีท่ ำ� ทีบ่ า้ นจะค่อน ข้างเป็นระบบครอบครัว การสื่อสารกับ ผู้ปกครองจึงใกล้ชิดกันมาก เราจะเป็น คนคุยกับผู้ปกครองด้วยตัวเอง แต่พอ ย้ายมาที่ใหม่เปลี่ยนระบบใหม่เป็นระบบ โรงเรียนดนตรีมากขึ้น เราก็พยายาม สื่อสารกับผู้ปกครองให้ได้มากที่สุด ตอน นีม้ นี กั เรียนประมาณ ๓๐๐ กว่าคน ด้วย จ�ำนวนนักเรียนทีม่ ากขึน้ อาจจะท�ำให้การ สื่อสารของโรงเรียนกับทางผู้ปกครองไม่ ทั่วถึงได้ เราจะใช้วิธีกระจายข่าวผ่านครู ให้ครูผู้สอนไปคุยกับผู้ปกครองแทน แต่ ปัจจุบนั นีก้ จ็ ะมีเทคโนโลยีมากมายหลาย ช่องทาง อย่าง Facebook หรือ Line ที่ ท�ำให้เราสามารถติดต่อกับผู้ปกครองได้ สะดวกมากขึ้น และเรือ่ งมุมมองทางด้านการเรียน ดนตรี นักเรียนบางส่วนในโรงเรียนของเรา มีความสนใจอยากจะเรียนด้านดนตรีตอ่ ใน อนาคต หวายจะเชิญผูป้ กครองมาพบปะ พูดคุย มาสอบถามว่าเด็กอยากจะเรียน
จริงๆ หรือเปล่า หรือเด็กบางคนเพียง แค่คิดว่าเรียนอะไรไม่ได้ เลยหันมาสนใจ ด้านนีด้ กี ว่า เราก็ตอ้ งบอกเขา เด็กหลาย คนพอได้มาเริม่ เรียนรูอ้ ย่างจริงจัง จึงได้รู้ ว่า ถ้าเราเรียนดนตรี ก็ยังต้องเรียนวิชา ทฤษฎี วิชาประวัตศิ าสตร์ และอีกหลายๆ วิชา บางคนก็ยังสนใจที่จะต่อด้านดนตรี นี้อยู่ แต่ก็มีนักเรียนบางคนที่เล่นดนตรี เก่งมากๆ และก็เรียนหนังสือหนักมาก และดีมากๆ ด้วยเช่นกัน ทางผู้ปกครอง ไม่สนับสนุนให้เรียนต่อทางด้านดนตรี นักเรียนจึงต้องพักการเรียนดนตรีไป ถ้า เขาเห็นว่าทางด้านวิชาการวิชาอื่นๆ มี ความส�ำคัญกว่า เราก็ต้องปล่อยให้เขา ไปเรียนตามทีพ่ อ่ แม่ตอ้ งการ แต่ถา้ ถึงจุด หนึง่ ทีเ่ ด็กสามารถบริหารเวลาได้ เขาก็จะ กลับมาเรียนอีกครัง้ หนึง่ เรือ่ งแบบนีท้ าง เราก็ได้แต่พูด ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับทัศนคติของ ผูป้ กครอง ในปัจจุบนั ผูป้ กครองส่วนใหญ่ เปิดใจรับมากขึ้นว่าดนตรีดีอย่างไร ช่วย พัฒนาสมอง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ คนส่วนใหญ่ที่เข้ามาสมัครเรียนก็จะรู้อยู่ แล้วว่าดนตรีมีประโยชน์อย่างไร แต่บาง คนทีม่ าลงเรียนแค่คอร์สเดียว ซึง่ มีแค่ ๑๐ กว่าครั้ง เขาอาจจะรู้สึกว่า ๑๐ กว่าครั้ง มันไม่ได้อะไร เราต้องบอกเขาว่าบางทีก็ ต้องดูในระยะยาว ทางโรงเรียนเราจึงใช้วธิ ี จัดกิจกรรม จัดคอนเสิร์ตในทุกๆ ครั้งที่ ปิดคอร์ส เพือ่ ทีจ่ ะให้ผปู้ กครองได้เห็นเด็ก คนอื่นๆ เล่น ผู้ปกครองส่วนใหญ่จะเห็น แค่ลกู ของตัวเองเล่น พอเขามาดู เขาก็จะ ได้เห็นว่า เด็กคนนี้เรียนมาแล้ว ๓ ปี ได้ เท่านีน้ ะ เด็กอีกคนเรียนมา ๕ ปี ได้เท่านี้ เพื่อที่เขาจะได้เข้าใจว่าการเรียนดนตรี นั้นต้องใช้เวลา ส่วนในมุมของนักธุรกิจ ก็จะมีเรือ่ ง การแข่งขันทางด้านธุรกิจโรงเรียนดนตรี ที่เพิ่มมากขึ้น หลังจากที่โรงเรียนสร้าง ตึกใหม่ ธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจังหวัด เพชรบุรีก็แพร่หลายมาก จะมีนักดนตรี ที่เล่นดนตรีได้ หรือนักดนตรีอาชีพ ก็ พยายามจะเปิดโรงเรียนเอง แต่ทางเราก็ มั่นใจว่าโรงเรียนของเราดี โรงเรียนเรามี คุณภาพ เราสูก้ นั ด้วยคุณภาพ ในมุมของ
ชญานี ศรีสุโร จบการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต จาก วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล รุน่ ที่ ๗ (แขนงธุรกิจดนตรี รุ่นที่ ๓) ปั จ จุ บั น เป็ น ผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น ดนตรีคีตพัฒน์จังหวัดเพชรบุรี ครูสอนดนตรีวิชาเปียโน และเป็น เจ้าของร้านขายเครือ่ งดนตรี พัฒน์ มิวสิค (บริเวณชัน้ ๑ ของโรงเรียน ดนตรีคีตพัฒน์)
หวาย หวายมองว่ามันดีดว้ ยซ�ำ้ กับการที่ เรามีคแู่ ข่ง เพราะการทีเ่ ราไม่มคี แู่ ข่ง เรา ก็อาจจะคิดว่า เด็กที่อยากเรียนดนตรีก็ ต้องมาเรียนที่เรา ท�ำให้เราไม่ง้อใคร แต่ การทีม่ อี กี หลายๆ ทีเ่ ขาเปิด มันท�ำให้เรา พัฒนาอยูต่ ลอดเวลา ท�ำให้เราดีขนึ้ แล้ว การทีเ่ รามีคแู่ ข่ง ก็แน่นอนว่านักเรียนของ เราบางคนอาจจะไปเรียนที่อื่นแทน และ เราก็รู้สึกดีใจมาก เพราะว่าในที่สุด เขา กลับมาเรียนที่เรา ทางผู้ปกครองจะเป็น ผูพ้ สิ จู น์เอง ทางเด็กจะเป็นคนพูดเองว่าที่ ไหนเป็นอย่างไร ที่ไหนดีกว่า
ความส�ำเร็จของหวาย
อย่างทีบ่ อกไปว่าหวายค่อนข้างโชคดี ที่คุณพ่อคุณแม่ได้เริ่มต้นท�ำไว้ให้เราแล้ว ถือว่าเรามีตน้ ทุนทีด่ มี ากกว่าคนอืน่ ตอน นี้หวายก็ยังไม่ได้บริหารเองอย่างเต็มตัว ยังมีคณ ุ พ่อคุณแม่เป็นผูบ้ ริหารหลัก และ เรามีหน้าที่ค่อยๆ ศึกษางานต่อจากท่าน ซึ่งต่อไปในอนาคต หวายจะต้องท�ำเอง แน่นอนว่าหวายจะท�ำให้ดียิ่งขึ้น ถ้าถามหวายว่าตอนนีห้ วายประสบ ความส�ำเร็จแล้วหรือยังในด้านธุรกิจ หวาย มองว่าโรงเรียนเราก็ถอื ว่าเป็นธุรกิจทีอ่ ยู่
ในเกณฑ์ดี มีการพัฒนาขึน้ เรือ่ ยๆ ในทุกๆ ด้าน ถ้ามองในมุมหวายจริงๆ นัน้ หวาย มองว่าความส�ำเร็จอาจเป็นเรือ่ งของการ ศึกษามากกว่าเรือ่ งของธุรกิจ เพราะพืน้ ฐาน เราอยากเป็นครูมากกว่า อยากจะเป็น ผู้ให้มากกว่า เราเปิดโรงเรียนเพราะเรา อยากสอนดนตรี เราอยากให้เด็กในจังหวัด เพชรบุรหี รือจังหวัดใกล้เคียงมีทเี่ รียน ย้อน กลับไปในสมัยหวายเด็กๆ ทีเ่ พชรบุรไี ม่มี โรงเรียนสอนดนตรี หวายต้องเข้าไปเรียน ในกรุงเทพฯ แต่ปัจจุบันโรงเรียนดนตรี ของเราท�ำให้เด็กในจังหวัดเพชรบุรีมีที่ เรียน เราได้ส่งต่อความรู้ให้เด็กที่อยาก ศึกษาต่อด้านดนตรีสามารถเข้าศึกษาต่อ ระดับมหาวิทยาลัยได้ และสามารถน�ำไป ประกอบอาชีพในอนาคตได้อีกด้วย ส�ำหรับเคล็ดลับความส�ำเร็จของ หวายคือ เราจะไม่อยู่นิ่ง ถ้าเราหยุด คน อื่นๆ จะก้าวทัน หรืออาจจะแซงหน้าเรา เพราะฉะนั้น โรงเรียนดนตรีของเราจะ พัฒนาตลอดเวลา ทั้งหลักสูตรการเรียน และครูผสู้ อน มีการจัดอบรมครูทกุ ๆ ภาค เรียน เพื่อพัฒนาการของเด็กนักเรียน Music Business ไม่ใช่รู้แค่เรื่อง ดนตรี นอกจากเรื่องดนตรีปฏิบัติแล้ว
เราสามารถน�ำธุรกิจกับดนตรีมาผสมกัน ไม่จำ� เป็นว่าเราจะต้องเปิดธุรกิจโรงเรียน ดนตรีอย่างเดียว แต่เรายังสามารถท�ำอะไร ได้อีกเยอะแยะมากมาย และงานเสริม ของหวายยังเป็นผู้จัดการหานักดนตรีไป เล่นดนตรีในงาน Event และก�ำลังศึกษา งานด้าน Organizer ด้วย ตอนนีม้ เี พือ่ น หวายบางคนที่จบธุรกิจดนตรี มีคนมา ทาบทามให้ไปท�ำการตลาดของบริษัท แห่งหนึ่ง ซึ่งจริงๆ ไม่เกี่ยวกับดนตรีเลย หวายว่าการเรียนแขนงนี้เป็นการสร้าง โอกาสสร้างอาชีพให้เรามากมายหลาย อย่าง อยากให้ลองศึกษาดู อย่างที่บอก ว่าทุกๆ อย่างรอบตัวเราเป็นธุรกิจหมด ไม่วา่ เราจะท�ำอะไรเราก็ตอ้ งมีการท�ำการ ตลาดทัง้ นัน้ อย่างเช่น ร้านอาหาร แม้จะ อร่อยมากก็จริง แต่ถา้ ไม่ทำ� การตลาดเลย ก็ไม่มีใครรู้จัก ไม่มีใครไปกิน ร้านก็จะอยู่ ไม่ได้ในที่สุด สุดท้าย ฝากไว้ส�ำหรับน้องๆ ที่ ก�ำลังจะศึกษาต่อทางด้านดนตรี อยากให้ แขนงวิชาธุรกิจดนตรีเป็นทางเลือกหนึ่ง ไม่อยากให้มองว่าคนทีเ่ ลือกเรียนแขนงนี้ คือคนทีไ่ ม่มคี วามสามารถทางด้านดนตรี เท่าแขนงดนตรีปฏิบัติ (Performance) ในเรื่องความสามารถด้านดนตรี ขึ้นอยู่ กับการฝึกซ้อมของตัวเราเอง แม้ว่าเรา จะเรียนแขนงธุรกิจดนตรี แต่ถ้าเราขยัน ซ้อม เราก็จะเก่งดนตรีดว้ ย แถมมีความรู้ เกี่ยวกับธุรกิจอีกด้วย ปัจจุบันอาชีพที่ เกี่ยวกับธุรกิจดนตรีมีอีกมากมาย น้อง ไม่จำ� เป็นจะต้องจบมาเปิดโรงเรียนดนตรี ทุกคน อยากให้ลองเปิดมุมมองและให้ โอกาสตัวเองดู แล้วน้องจะภูมิใจอย่างที่ พี่หวายภูมิใจที่ได้เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่ จบจากแขนงวิชาธุรกิจดนตรี วิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ค่ะ
73
ข้อก�ำหนดในการส่งบทความ
Guidelines for Contributors
หัวข้อในการเขียนบทความประเภทรีวิว • การแสดงคอนเสิร์ตหรือแผ่นบันทึกเสียงการแสดง • หนังสือหรือสื่อการสอนต่างๆ • บทประพันธ์เพลงใหม่ • ซอฟท์แวร์ดนตรี เทคโนโลยีดนตรี หรือเว็บไซต์ดนตรี • สื่ออื่นๆ ที่เป็นที่สนใจในวิชาการดนตรีหรือการศึกษาดนตรี หัวข้อในการเขียนบทความทางวิชาการดนตรี • การแสดงดนตรีและวิธีการสอนดนตรี • ดนตรีวิทยาและมานุษยดนตรีวิทยา • ดนตรีศึกษาและดนตรีบ�ำบัด • การวิเคราะห์ดนตรีและทฤษฎีดนตรี • รายงานการสัมมนา • งานวิจัยข้ามสาขาและงานวิจัยเชิงบูรณาการ บทความทุกประเภทที่ส่งจะได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการกลั่น กรองบทความ ในการนี้ ผูส้ ง่ บทความสามารถร้องขอให้มกี ารกลัน่ กรองบทความ แบบพิเศษ ซึ่งจะใช้ระยะเวลาในการพิจารณาประมาณ ๔-๖ เดือน การอ้างอิงและการเขียนบรรณานุกรมให้ใช้ข้อก�ำหนดการเขียนอ้างอิง ของ ชิคาโก/ทูราเบียน หรือ เอพีเอ รูปภาพประกอบบทความ มีขนาดความละเอียดเท่ากับ ๓๐๐ ดีพีไอ ตัวโน้ตและสัญลักษณ์อื่นๆ ทางดนตรี ต้องไม่ส่งผลกระทบกับช่อง ว่างระหว่างบรรทัด (ดูตัวอย่างและดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ http://www. searchfreefonts.com/free/shpfltnat.htm) หรือถ้าต้องการใช้สัญลักษณ์ พิเศษอื่นๆ ให้ส่งไฟล์ของสัญลักษณ์เหล่านั้นแนบมาด้วย เจ้าของบทความมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบด�ำเนินการขออนุญาตอ้างอิงข้อมูล ที่อยู่ภายใต้การคุ้มครองของกฎหมายลิขสิทธิ์ก่อนการตีพิมพ์ของบทความ ตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ใช้ Cordia New ขนาด ๑๖ พอยต์ ใช้การจัดบรรทัดแบบดับเบิ้ลสเปซ ขนาดกระดาษ A4 (ขนาด ๒๑ x ๒๙.๗ เซนติเมตร) จัดส่งบทความในรูปแบบของ Microsoft Word มาที่ musicmujournal@ gmail.com ผูส้ ง่ บทความต้องส่งบทคัดย่อความยาวประมาณ ๗๕-๑๐๐ ค�ำ เมือ่ ได้ รับการพิจารณาให้ตพี มิ พ์ ส�ำนักพิมพ์จะเป็นผูจ้ ดั ท�ำบทคัดย่อภาษาไทยส�ำหรับ บทความที่ใช้ภาษาอังกฤษในการเขียน สามารถดูตวั อย่างการอ้างอิงบทความในรูปแบบ ชิคาโก/ทูราเบียน ได้ที่ http://www.lib.uwo.ca/files/music/Cite-mus-2010.pdf และดูตัวอย่าง การอ้างอิงในรูปแบบเอพีเอ จากหนังสือคู่มือเอพีเอ
Reviews can be of: • recent concert performances or recordings • books and pedagogical materials • new music compositions • music software, technology, or websites • any materials of interest to professional musicians, scholars, or educators As an interdisciplinary music journal, scholarly articles can encompass all manner of writings pertaining, but not limited to: • Performance Arts and Pedagogy • Musicology/Ethnomusicology • Education/Music Therapy • Analysis/Composition • Reports on conferences • Interdisciplinary research All submissions will undergo peer-review and contributors may request that their submission undergo a double-blind peerreview process. This dual-system of review enables a quick review process for short items (i.e. reviews, concise pedagogical documents, and brief articles). The double-blind review process is anticipated to take upwards of four-six months. Citations and bibliographies may employ the style guidelines for either the Chicago Manual of Style/Turabian’s Manual for Writers, or the American Psychological Association (APA). All figures and examples must have 300 DPI (dots per inch) resolution. Music fonts that do not impact vertical line spacing, such as Shpfltnat Medium <http://www.searchfreefonts.com/free/shpfltnat. htm>, may be used. If a specialty music font is employed, the contributor may be required to supply the font file. The author is responsible for obtaining written permissions to reproduce any copyrighted materials for the journal (in both digital and printed format), as well as payment of any related fees. Submissions should be sent as a Microsoft Word-compatible file, using a standard size 12 font, double-spaced, on A4 paper dimensions (21cm x 29.7cm). Submit separate files for the main document, accompanying figures, and bibliography (i.e. Arvo_Part.doc, Arvo_Part_Figures.doc). Articles must include a 75-100 word abstract. If approved for publication, a Thai-language translation of the abstract will accompany the English-language article. Contributions and all correspondence should be emailed to Mahidol Music Journal <musicmujournal@gmail.com>.
วารสารเพลงดนตรี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดพิมพ์ ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ทางดนตรีในระดับอุดมศึกษา ผู้ สนใจสามารถส่งบทความประเภทรีวิวและบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ใน วารสารเพลงดนตรีได้ โดยบทความประเภทรีววิ ควรมีความยาวระหว่าง ๓๐๐๕๐๐ ค�ำ และบทความทางวิชาการควรมีความยาวระหว่าง ๑,๐๐๐-๒,๕๐๐ ค�ำ วารสารเพลงดนตรีเปิดรับหัวข้อต่างๆ ในทุกสาขาทางดนตรีทเี่ ป็นประโยชน์ ต่อการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา โดยรับบทความทัง้ ในประเทศและต่าง ประเทศ ทัง้ นี้ บทความทีส่ ง่ จะต้องเป็นบทความทีไ่ ม่เคยมีการตีพมิ พ์ในวารสาร หรือสิ่งพิมพ์ใดมาก่อน
Mahidol University Music Journal serves to share collegiate music scholarship. Prospective contributors are encouraged to submit reviews (300-750 words), and scholarly writings (10002500+ words) of interest to a collegiate music readership. General music or higher education announcements of direct relevance to Thailand and/or South East Asia are also welcome. Contributions may be in either English or Thai. Submissions are reviewed on the premise that they are unpublished and not being considered for publication in a journal or monograph elsewhere.
Sample bibliographic formatting for Chicago/Turabian is available at the following url: <http://www.lib.uwo.ca/files/music/Cite-mus-2010.pdf> When citing music scores and recordings with APA, contributors are strongly encouraged to consult: Sampsel, L. J. (2009). Music research a handbook. New York, NY: Oxford University Press.
วารสารเพลงดนตรี
MUSIC JOURNAL ใบสมัครสมาชิกวารสารเพลงดนตรี
Music Journal Subscription Form
ชือ่ …………………………………………… นามสกุล……………………………………… สังกัดองค์กร/สถาบัน..................................................................... ................................................................................................ สถานทีจ่ ดั ส่ง…………………………………………………………………………….... ………………………………………………………….............……................... ..……….................................................................................. โทรศัพท์……………………………………… โทรสาร………………...………………….. E-mail……………………………………………………………………………….……….…
First name....................................................................... Last name....................................................................... Institution affiliation......................................................... Shipping address............................................................. ....................................................................................... Telephone....................................................................... Facsimile....................................................................... E-mail.............................................................................
มีความประสงค์ สมัครเป็นสมาชิก ต่ออายุ (หมายเลขสมาชิกเดิม………………….....……………) เป็นเวลา ๑ ปี เริ่มจาก เดือน…………………………ปี……………… จ�ำนวน ๑๒ ฉบับ เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท
First time member Extend membership period (Membership no.............................................................) Annual subscription starts (month/year).................................................................. Twelve issues cost 1200 baht or approx. 40 USD excluded international shipping fee.
ช�ำระค่าวารสาร ช�ำระเป็นเงินสด โอนเงินผ่านทางธนาคาร วันที่โอน………………………................... …………….............................................................................. (กรุณาแนบหลักฐานการโอนเงินมาพร้อมกับใบสมัคร การสมัครของท่านจึงจะสมบูรณ์)
สั่งจ่าย ชื่อบัญชี ร้านค้าวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ม.มหิดล เลขที่บัญชี ๓๓๓-๒-๓๒๑๕๓-๖ กรุณาน�ำส่ง ฝ่ายสมาชิกวารสารเพลงดนตรี ร้านค้าวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕/๒๕ ถนนพุทธมณฑล สาย ๔ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่อ ๒๕๐๔, ๒๕๐๕ โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๓๐ E-mail : msshop_mahidol@hotmail.com
Payment Cash Transfer through banking service Payment date................................................................ (Please fill in the subscription form attached with the evidence of payment and return to the address below.) Account name: College of Music Shop Siam Commercial Bank Mahidol University Branch Account no. 333-2-32153-6 Subscription of Music Journal College of Music Shop, Mahidol University 25/25 Phutthamonthon Sai 4 Road, Salaya District, Phutthamonthon, Nakhonpathom 73170 Thailand Telephone 0 2800 2525-34 ext. 2504, 2505 Facsimile 0 2800 2530 E-mail: msshop_mahidol@hotmail.com