PENINSULA MOMENTS At The Peninsula Bangkok, world-class hospitality enriched with compelling Thai cultural experiences creates perfect memorable moments.
Volume 26 No. 5 January 2021
สวััสดีีปีีใหม่่ผู้้�อ่่านทุุกท่่าน วารสารเพลงดนตรีีขอต้้อนรัับผู้้�อ่่าน เข้้าสู่่�ปีี ๒๕๖๔ ด้้วยบทความจากคณบดีี ที่่�จะมาเล่่าให้้ฟัังถึึงแผนการเดิินหน้้าของ วิิทยาลััยในปีีใหม่่นี้้� สำำ�หรัับบทความด้้านดนตรีีวิทิ ยา นำำ� เสนอบทความที่่�น่่าสนใจที่่�เข้้ากัับสถานการณ์์ social distancing โดยบทความเล่่าถึึง ประวััติศิ าสตร์์ของการร้้องเพลง-เล่่นดนตรีี อย่่างมีีระยะห่่าง ซึ่ง่� มีีมาตั้้�งแต่่สมััยโบราณ อีีกบทความในคอลััมน์์ดนตรีีวิทิ ยา นำำ� ผู้้�อ่่านไปทำำ�ความรู้้�จักั กัับคีีตกวีีด้า้ นดนตรีี คลาสสิิกเชื้้�อสายแอฟริิกันั ที่่�มีีชื่่�อเสีียงคน หนึ่่�งในประวััติศิ าสตร์์ดนตรีี โดยเขาได้้รับั ฉายาว่่า “Black Mozart” ผู้้�อ่่านที่่�พลาดการแสดงเปิิดฤดููกาล ที่่� ๑๖ ของวง Thailand Phil และงาน
เจ้าของ
ฝ่่ายภาพ
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คนึงนิจ ทองใบอ่อน
บรรณาธิิการบริิหาร ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ
จรูญ กะการดี นรเศรษฐ์ รังหอม
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
พิสูจน์อักษรและรูปเล่ม
ธััญญวรรณ รััตนภพ
ธัญญวรรณ รัตนภพ
ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
เว็บมาสเตอร์
ภรณ์ทิพย์ สายพานทอง
Kyle Fyr
ฝ่ายศิลป์
เทศกาลดนตรีีสมััยใหม่่ Thailand New Music and Arts Symposium (TNMAS) 2020 ติิดตามบรรยากาศได้้ในรีีวิิว นอกจากนี้้� ยัังมีีบทความด้้านดนตรีีที่่� หลากหลาย จากนัักเขีียนประจำำ�อีีกเช่่นเคย ถึึงแม้้เราจะก้้าวเข้้าสู่่�ศัักราชใหม่่ แต่่ สิ่่�งหนึ่่�งที่่�ยัังคงอยู่่�กัับเราไม่่เปลี่่�ยนแปลงคืือ สถานการณ์์แพร่่ระบาดของโควิิด-๑๙ ที่่�ยััง คงแพร่่กระจายไปในแต่่ละประเทศทั่่�วโลก หวัังว่่าภายในปีีนี้้� การแพร่่ระบาดจะดีีขึ้้�น ในวาระขึ้้�นปีีใหม่่นี้้� ขอให้้ผู้้�อ่า่ นรัักษา สุุขภาพ รัักษาระยะห่่าง ใส่่หน้้ากาก และ หมั่่�นล้้างมืือบ่่อย ๆ เพื่่�อปลอดภััยจากโควิิด ดวงฤทััย โพคะรััตน์์ศิริิ ิ
สำำ�นัักงาน
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วารสารเพลงดนตรี) ๒๕/๒๕ ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่่อ ๓๒๐๕ โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๓๐ musicmujournal@gmail.com
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ส�ำหรับข้อเขียนที่ได้รับการ พิจารณา กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่จะปรับปรุงเพื่อความเหมาะสม โดยรักษาหลักการและแนวคิดของผู้เขียนแต่ละท่านไว้ ข้อเขียน และบทความที่ตีพิมพ์ ถือเป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ขอรับผิดชอบบทความนั้น
สารบั ญ Contents Dean’s Vision
Musicology
Ethnomusicology
04
28
42
วิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์: ก้้าวต่่อไปในปีี ๒๕๖๔ ณรงค์์ ปรางค์์เจริิญ (Narong Prangcharoen)
Cover Story
ประวััติิศาสตร์์ของการ ร้้องเพลง-เล่่นดนตรีี อย่่างมีี ระยะห่่าง: จากทุ่่�งกว้้างถึึง ระหว่่างเฮลิิคอปเตอร์์ ธนพล เศตะพราหมณ์์ (Thanapol Setabrahmana)
ประเพณีีเกี่่�ยวข้้าวไร่่ (กกบึ๊๊�ง) กลุ่่�มชาติิพัันธุ์์�กะเหรี่่�ยงโพล่่ง ตำำ�บลยางหััก อำำ�เภอปากท่่อ จัังหวััดราชบุุรีี ธัันยาภรณ์์ โพธิิกาวิิน (Dhanyaporn Phothikawin)
Review
06
New Year, New Way, and New Normal ปีีใหม่่ กัับวิิถีีใหม่่ ณััฏฐา อุุทยานััง (Nuttha Udhayanang)
Music Entertainment
10
“เรื่่�องเล่่าเบาสมองสนองปััญญา” เพลงไทยสากล-เนื้้�อร้้องจาก วรรณคดีี (ตอนที่่� ๖) กิิตติิ ศรีีเปารยะ (Kitti Sripaurya)
38
คีีตกวีีเชื้้�อสายแอฟริิกััน ตอนที่่� ๑: Black Mozart กฤตยา เชื่่�อมวราศาสตร์์ (Krittaya Chuamwarasart)
Piano Repertoire
40
The place of Mozart’s sonatas in the piano repertoire Sornsuang Tangsinmonkong (ศรสรวง ตั้้�งสิินมั่่�นคง)
46
A Celebration of International Unity (27-28 November 2020) ธีีรนััย จิิระสิิริิกุุล (Teeranai Jirasirikul)
52
นำำ�ชม พื้้�นที่่� “เสีียง” (และอื่่�น ๆ) อัันไร้้พรมแดน ในงาน Thailand New Music and Arts Symposium (TNMAS) 2020 จิิตร์์ กาวีี (Jit Gavee)
DEAN’S VISION
วิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์: ก้้าวต่่อไปในปีี ๒๕๖๔ เรื่่�อง: ณรงค์์ ปรางค์์เจริิญ (Narong Prangcharoen) คณบดีีวิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล
สวััสดีีปีีใหม่่ทุุก ๆ ท่่านครัับ ในช่่วงปีี พ.ศ. ๒๕๖๓ ที่่�ผ่่านมา ประเทศได้้พบกัับเรื่่�องราวในหลาย ๆ ด้้านที่่�ไม่่เคยประสบมาก่่อน สร้้าง การปรัับตััวในหลายภาคส่่วนซึ่่�งเป็็น เรื่่�องดีีในการพััฒนาต่่อยอดสำำ�หรัับ อนาคต ทางวิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล ได้้มีีการปรัับ ตััวในหลายเรื่่�องเช่่นกััน ปีีที่่�ผ่า่ นมา เป็็นปีีที่่�ยากลำำ�บากเนื่่�องจากกิิจกรรม ต่่าง ๆ ของวิิทยาลััยดุุริยิ างคศิิลป์์ไม่่ สามารถดำำ�เนิินการได้้ในส่่วนใหญ่่ เป็็นเพราะสถานการณ์์โควิิด-๑๙ ทำำ�ให้้เราต้้องยกเลิิกกิิจกรรมต่่าง ๆ 04
ออกไปเป็็นจำำ�นวนมาก เราหวัังว่่าใน ปีีใหม่่ ๒๕๖๔ นี้้� จะเป็็นปีีที่่�ได้้กลัับ มาทำำ�โครงการที่่�เป็็นประโยชน์์แก่่ สัังคม ส่่งเสริิมการเรีียนการสอนที่่�มีี ประสิิทธิิภาพให้้แก่่นักั เรีียนนัักศึึกษา ของวิิทยาลััยอีีกครั้้�ง เมื่่�อก่่อนสิ้้�นปีี ๒๕๖๓ วิิทยาลััยได้้ ดำำ�เนิินการในหลายส่่วนที่่�ร่่วมมืือกัับ ภาคเอกชนในการขัับเคลื่่�อนโครงการ ให้้แก่่สัังคม ยกตััวอย่่างเช่่น ความ ร่่วมมืือกัับศููนย์์การค้้าเซ็็นทรััลเวิิลด์์ เพื่่�อจััดการแสดงในช่่วงเทศกาล และ มีีการประชาสััมพัันธ์์ผ่่านสื่่�อ ทั้้�งใน ศููนย์์การค้้าและด้้านหน้้า เป็็นการ
ส่่งความสุุขในช่่วงเทศกาลในรููป แบบใหม่่ให้้แก่่ประชาชน ด้้วยข้้อ จำำ�กััดที่่�มีีเรื่่�องการรวมตััวชุุมนุุม เป็็นกลุ่่�มใหญ่่ของการเฉลิิมฉลอง ทำำ�ให้้ไม่่สามารถแสดงดนตรีีสดได้้ ต้้องเล่่นผ่่านสื่่�อดิิจิทัิ ลั เพื่่�อให้้รับั ชม ผ่่านจอ panOramic screen ของ ทางศููนย์์การค้้า แม้้จะมีีความยาก ลำำ�บากในการบริิหารจััดการ แต่่ ทางวิิทยาลััยก็็ไม่่ย่อ่ ท้้อในการสร้้าง งานให้้แก่่มหาวิิทยาลััยและสัังคม เรายัังคงมุ่่�งมั่่�นในการส่่งเสริิมการ ใช้้ดนตรีีในการพััฒนาสุุขภาวะของ สัังคมอย่่างต่่อเนื่่�อง
ในปีี พ.ศ. ๒๕๖๔ นี้้� เราหวััง ว่่าจะได้้มีโี อกาสในการสร้้างงานมาก ขึ้้�น เช่่น คอนเสิิร์์ตที่่�สนัับสนุุนการ ร่่วมมืือของชุุมชน คอนเสิิร์ต์ ที่่�ผสม ผสานการแสดงหุ่่�นกระบอกกัับวง ออร์์เคสตรา ที่่�ชื่่�อว่่า The Adventure of Sandalwood Boy ซึ่ง่� ในขณะ นี้้�ต้้องเลื่่�อนการแสดงออกไป แต่่ การแสดงนี้้�จะรวบรวมชาวบ้้านใน จัังหวััดนครปฐมเข้้ามามีีส่่วนร่่วม ในการสร้้างงาน เปิิดพื้้�นที่่�เพื่่�อการมีี ส่่วนร่่วมจากภาครััฐและเอกชน ส่่ง เสริิมงานหััตถกรรม งานฝีีมืือ และ วััฒนธรรมพื้้�นบ้้านของจัังหวััด เรา หวัังว่่างานนี้้�จะสร้้างความเชื่่�อมโยง ให้้จัังหวััดมีีการใช้้กิิจกรรมดนตรีีใน การพััฒนาจัังหวััดโดยองค์์รวม นอก เหนืือจากนี้้�ยัังมีีกิจิ กรรมดนตรีีสำำ�หรัับ ผู้้�สููงวััย ที่่�เราได้้รับั ความร่่วมมืือจาก เทศบาลนครปฐมและเทศบาลศาลายา ซึ่่�งได้้ตั้้�งเป้้าให้้ทั้้�งสองพื้้�นที่่�นี้้�เป็็น ตััวอย่่างพื้้�นที่่�สร้้างสรรค์์ของจัังหวััด ทางวิิทยาลััยจะนำำ�ทีีมนัักดนตรีี
เข้้าไปในพื้้�นที่่� เพื่่�อจััดกิิจกรรมให้้ แก่่ทางจัังหวััด และเก็็บข้้อมููลเพื่่�อ พััฒนาโครงการเพื่่�อสร้้างสุุขภาวะที่่� ดีีให้้แก่่ชุมุ ชน เช่่นเดีียวกัับโครงการ ที่่�ทางวิิทยาลััยได้้ทำำ�แล้้วทั้้�งเด็็กเล็็ก และเยาวชน ทางด้้านการเรีียนการสอน วิิทยาลััยมีีโครงการปรัับปรุุงหลัักสููตร ให้้สอดคล้้องกัับโลกในยุุคปััจจุุบันั มาก ขึ้้�น มีีการเชื่่�อมโยงในการสร้้างงาน เปิิดศููนย์์แนะนำำ�วิิชาชีีพให้้นักั ศึึกษา (Career Development Center) เพื่่�อวางแผนการทำำ�งานแก่่นักั ศึึกษา ด้้วย เพราะเราอาจจะคิิดว่่านัักศึึกษา เมื่่�อจบแล้้วควรออกไปสร้้างงาน หา งานด้้วยตััวเอง ไม่่ใช่่หน้้าที่่�ของสถาน ศึึกษาที่่�จะต้้องดำำ�เนิินการ การคิิดแบบ นั้้�น จะนำำ�มาซึ่่�งปััญหาในการบริิหาร จััดการของประเทศ เพราะเราจะมีี บุุคลากรที่่�ประเทศไม่่ต้้องการ และ ขาดบุุคลากรที่่�ประเทศพึึงประสงค์์ เรา จึึงสร้้างการวางแผนให้้แก่่นักั ศึึกษา เมื่่�อจบออกไปแล้้วมีีทักั ษะในการเข้้า
ทำำ�งาน มีีการเชื่่�อมโยงนัักศึึกษากัับ สถาบัันต่่าง ๆ ในภาคเอกชนและ ภาครััฐ เพื่่�อให้้เห็็นอนาคตว่่า จบการ ศึึกษาแล้้วสามารถประกอบอาชีีพได้้ ด้้วยจุุดมุ่่�งหมายว่่า ในท้้ายที่่�สุุด เรา จะสามารถขยายโอกาสในการแข่่งขััน ในระดัับนานาชาติิได้้ ด้้วยเหตุุนี้้� ทาง วิิทยาลััยจึึงเคร่่งครััดกัับการเรีียน การสอน และมุ่่�งรัักษามาตรฐานใน การเรีียนการสอนให้้มีผี ลสััมฤทธิ์์�ที่่�ดีี เพื่่�อให้้นัักศึึกษามีีความพร้้อมใน หลากหลายด้้านเพื่่�อออกไปสู่่�สัังคม ได้้อย่่างมีีคุุณภาพ ทั้้�งหมดเป็็นเพีียงส่่วนเล็็ก ๆ ที่่� วิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์ได้้ริิเริ่่�มที่่�จะ พััฒนาอย่่างเต็็มที่่�ในปีีใหม่่นี้้� เรามีี หลากหลายโครงการที่่�ได้้เริ่่�มดำำ�เนิิน การแล้้วตั้้�งแต่่ปีที่่�ผ่ ี า่ นมา ซึ่่�งหวัังว่่า จะประสบผลสำำ�เร็็จในปีีใหม่่นี้้� และ มีีโครงการอีีกหลายโครงการที่่�จะเริ่่�ม ลงมืือทำำ�อย่่างจริิงจัังในปีีนี้้� เพื่่�อให้้ เกิิดการพััฒนาและสร้้างความยั่่�งยืืน ให้้แก่่วิิทยาลััยในอนาคตต่่อไป
05
COVER STORY
New Year, New Way, and New Normal
ปีีใหม่่ กัับวิิถีีใหม่่ เรื่่�อง: ณััฏฐา อุุทยานััง (Nuttha Udhayanang) ผู้้�จััดการการตลาดและประชาสัั มพัันธ์์ วิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล
เทศกาลปีีใหม่่ ถืือเป็็นช่่วงเดืือน ที่่�ยุ่่�งที่่�สุุดในรอบปีีของวงการดนตรีี เนื่่�องจากเป็็นช่่วงเวลาของการเฉลิิม ฉลอง ความบัันเทิิง ความรื่่�นรมย์์ เสีียงเพลงทั้้�งไทยและต่่างชาติิที่่�ร่ว่ ม กัันขัับขานเฉลิิมฉลองต้้อนรัับปีีใหม่่ หากแต่่ว่่าในครั้้�งนี้้� การเฉลิิมฉลอง แตกต่่างออกไปจากปีีที่่�ผ่่าน ๆ มา ด้้วยสถานการณ์์การระบาดโควิิด ที่่�เกิิดขึ้้�นอีีกระลอก ทำำ�ให้้การเฉลิิม 06
ฉลองเทศกาลนี้้�ต้้ อ งมีี ก ารปรัั บ เปลี่่�ยนที่่�ทั้้�งคำำ�นึึงถึึงความปลอดภััย สภาวะจิิตใจของผู้้�คน และสภาพ เศรษฐกิิจที่่�เพิ่่�งจะเริ่่�มกลัับมาฟื้้น� ตััว จากสถานการณ์์โควิิดเมื่่�อต้้นปีี แต่่ จากการเรีียนรู้้�และมาตรการที่่�ตอบโต้้ รัับมืือกัับสถานการณ์์ได้้รวดเร็็วและ ทัันท่่วงทีี ทำำ�ให้้สามารถหลีีกเลี่่�ยง การปิิดล็็อกดาวน์์แบบเต็็มรููปดัังครั้้�ง ที่่�แล้้วได้้ ผู้้�คนตลอดจนสถานประกอบ
กิิจการต่่างร่่วมใจกัันให้้ความร่่วม มืือเพื่่�อที่่�จะผ่่านเหตุุการณ์์ครั้้�งนี้้�ไป ให้้ได้้โดยที่่�จะให้้เกิิดความเสีียหาย ด้้านเศรษฐกิิจน้้อยที่่�สุุด ทางด้้านกิิจกรรมการแสดงดนตรีี ของวิิทยาลััยก็็ได้้รับั ผลกระทบไม่่น้อ้ ย หลัังจากที่่�กลัับมาเปิิดการแสดง อีีกครั้้�งจากการห่่างหายไปในช่่วง สถานการณ์์การระบาดของโควิิด ครั้้�งแรกในช่่วงต้้นปีี ในคอนเสิิร์ต์ เปิิด
ฤดููกาลที่่� ๑๖ ของวง Thailand Phil เมื่่�อเดืือนพฤศจิิกายน วง Thailand Phil ก็็ได้้มีีโอกาสจััดงานคอนเสิิร์์ต คริิสต์์มาส Christmas with the Thailand Phil ที่่�ได้้รัับการตอบรัับ จากผู้้�เข้้าร่่วมกิิจกรรมและคอนเสิิร์ต์ อย่่างอบอุ่่�น โดยทางวงได้้คััดเลืือก บทเพลงหลากหลายที่่�เข้้ากัับช่่วง การเฉลิิมฉลองเทศกาลมาบรรเลง ให้้ผู้้�ชมได้้เพลิิดเพลิินและมีีส่่วน ร่่วมในคอนเสิิร์์ตครั้้�งนี้้� นอกจาก คอนเสิิร์ต์ คริิสต์์มาสที่่�จััดแสดงขึ้้�นที่่� อาคารมหิิดลสิิทธาคารเมื่่�อวัันที่่� ๑๙ ธัันวาคมแล้้วนั้้�น ทางวง Thailand Phil ยัังได้้รับั เกีียรติิในการจััดแสดง คอนเสิิร์์ต ณ ลานต้้นคริิสต์์มาส ของศููนย์์การค้้าเซ็็นทรััลเวิิลด์์ โดยมีี ปราง กััญญ์์ณรััณ นัักแสดงสาวมาก ความสามารถมาร่่วมขัับร้้องเพลง Have Yourself a Merry Little Christmas ในวัันที่่� ๒๔ ธัันวาคม แต่่แล้้วการแสดงที่่�รวมนัักดนตรีีและ นัักร้้องประสานเสีียงมากกว่่า ๑๐๐ ชีีวิติ ก็็ไม่่เกิิดขึ้้�น เนื่่�องจากการระบาด ของโควิิด-๑๙ รอบที่่�สอง แม้้ทาง วิิทยาลััยและศููนย์์การค้้าเซ็็นทรััล เวิิลด์์จะไม่่สามารถจััดคอนเสิิร์์ต เพื่่�อจะมอบความสุุขให้้กัับทุุกคน
ได้้อย่่างที่่�ควรจะเป็็น วิิทยาลััยและ ศููนย์์การค้้าเซ็็นทรััลเวิิลด์์ก็ไ็ ม่่ได้้เลิิก ล้้มความตั้้�งใจที่่�จะมอบความสุุขให้้ กัับสัังคมผ่่านบทเพลง ถึึงแม้้ว่า่ ทุุก คนกำำ�ลัังประสบกัับความยากลำำ�บาก อีีกระลอกที่่�ทุุกคนต้้องสามััคคีี ร่่วม มืือร่่วมใจฟัันฝ่่าไปด้้วยกัันให้้ได้้ นั่่�น ก็็ไม่่ได้้หมายความว่่าการต่่อสู้้�ครั้้�งนี้้� จะต้้องขาดเสีียงเพลงที่่�เป็็นเสมืือน หยดน้ำำ��แห่่งความสดชื่่�นที่่�อาจจะ พอเป็็นกำำ�ลัังใจช่่วยให้้ทุุกคนใน สัังคมก้้าวผ่่านอุุปสรรคครั้้�งนี้้�ไปได้้ เหมืือนกัับที่่�ทางวิิทยาลััยและวง Thailand Phil เคยมอบให้้แก่่สังั คม มาแล้้วในช่่วงสถานการณ์์ต้น้ ปีีที่่�ผ่า่ น มา ในครั้้�งนี้้� ด้้วยความร่่วมมืือกัับ เซ็็นทรััลเวิิลด์์ วิิทยาลััยดุุริยิ างคศิิลป์์ และวง Thailand Phil ได้้ส่่งวิิดีีโอ บัันทึึกภาพการแสดงคอนเสิิร์์ต Christmas with the Thailand Phil ให้้ทางเซ็็นทรััลเวิิลด์์นำำ�ไปเปิิด ขึ้้�นจอ panOramix บริิเวณด้้านหน้้า และภายในศููนย์์การค้้าเซ็็นทรััลเวิิลด์์ ตั้้�งแต่่วันั ที่่� ๒๕ ธัันวาคม ๒๕๖๓ ถึึง วัันที่่� ๓ มกราคม ๒๕๖๔ โดยบทเพลงที่่�ถููกเลืือกนำำ�ไปเปิิด บนจอ panOramix คืือ บทเพลง The Prayer ที่่�ขัับร้้องโดยนัักศึึกษาจาก
วิิทยาลััยดุุริยิ างคศิิลป์์ เป็็นบทเพลง ที่่�ทรงพลัังและเหมาะกัับสถานการณ์์ ปััจจุุบััน ที่่�เราทุุกคนจะต้้องไม่่หมด หวััง เชื่่�อมั่่�น เดิินต่่อไปยัังแสงสว่่าง ที่่�เห็็นอยู่่�ตรงหน้้าแม้้จะริิบหรี่่� และ เราจะผ่่านอุุปสรรคนี้้�ไปได้้ด้้วยกััน นอกจากนี้้�การแสดงชุุดนี้้�ยัังได้้รับั เลืือก ให้้เป็็นการแสดงเปิิดงาน Countdown ของศููนย์์การค้้าเซ็็นทรััลเวิิลด์์ในคืืน วัันที่่� ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๓ โดยงาน Countdown ที่่�ยิ่่�งใหญ่่ครั้้�งนี้้�ได้้มีกี าร ปรัับเปลี่่�ยนรููปแบบการจััดงานให้้เข้้า กัับสถานการณ์์ปัจั จุุบันั โดยเป็็นการ จััดงานแบบออนไลน์์ มีีการแสดงจาก นัักร้้องศิิลปิิน การแสดงแสงสีีเสีียง บนจอ panOramix และการจุุดพลุุ เฉลิิมฉลองส่่งท้้ายปีีเก่่าต้้อนรัับปีี ใหม่่อย่่างยิ่่�งใหญ่่และงดงาม การปรัับเปลี่่�ยนรููปแบบการ แสดงดนตรีีให้้เข้้ากัับสถานการณ์์ ปััจจุุบันั ไม่่ว่า่ จะเป็็น การจััดการแสดง ในรููปแบบออนไลน์์ หรืือการแสดงแบบ New Normal ถืือเป็็นการปรัับตััว ให้้เข้้ากัับสัังคมและสถานการณ์์ที่่� ท้้าทายความสามารถและแสดงถึึง ศัักยภาพในการปรัับตััวของสัังคม เจ้้าของกิิจการ และผู้้�ประกอบอาชีีพ ต่่าง ๆ ทางวิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์
07
มหาวิิทยาลััยมหิิดล ก็็ได้้ปรัับตััวและ ตััดสิินใจเลื่่�อนกิิจกรรมหลายกิิจกรรม โดยคำำ�นึึงถึึงความปลอดภััยของผู้้�เข้้า ร่่วม ผู้้�แสดง และสัังคมเป็็นหลััก งาน กิิจกรรมใหญ่่ที่่�ได้้รับั การตอบรัับและ ความสนใจอย่่างมากทุุกปีีก็ถู็ กู เลื่่�อน ออกไป เช่่น งานคอนเสิิร์ต์ วัันเด็็กของ วง Thailand Phil ที่่�ปีีนี้้�วางแผนให้้ เป็็นคอนเสิิร์ต์ ที่่�จะแสดงถึึงเอกลัักษณ์์ ของภาคกลางและจัังหวััดนครปฐม ในการแสดง The Adventure of Sandalwood Boy หรืือมหััศจรรย์์ หุ่่�นไม้้จัันทน์์หอม คอนเสิิร์์ตนี้้�ถืือ เป็็นส่่วนหนึ่่�งของโครงการ City of Music ของจัังหวััดนครปฐม โดย การแสดงจะเป็็นการถ่่ายทอดเรื่่�อง ราวการผจญภััยของเด็็กชายหุ่่�นไม้้ ด้้วยการผสมผสานศิิลปะการแสดง พื้้�นบ้้าน การเชิิดหุ่่�นกระบอก และ การผสมผสานวงดนตรีีไทยและวง 08
ออร์์เคสตรา บทเพลงทั้้�งหมดถููกแต่่ง ขึ้้�นใหม่่โดยได้้รัับแรงบัันดาลใจจาก บทเพลงไทยพื้้�นบ้้าน ประพัันธ์์เพลง และควบคุุมวง Thailand Phil โดย อาจารย์์ ดร.ธนพล เศตะพราหมณ์์ นี่่�เป็็นหนึ่่�งในกิิจกรรมการแสดงดนตรีี ที่่�น่่าสนใจที่่�ทุุกคนควรติิดตามข่่าวการ จััดการแสดงครั้้�งใหม่่ในปีีนี้้� อีีกหนึ่่�งกิิจกรรมใหญ่่ของวิิทยาลััย ที่่�ถููกเลื่่�อนออกไปคืือ งาน Thailand International Jazz Conference 2021 (TIJC 2021) งานกิิจกรรม เพื่่�อการศึึกษาดนตรีีแจ๊๊สที่่�นอกจะมีีการ จััดการแสดงดนตรีี ยัังมีีการแข่่งขััน การอบรม และค่่ายดนตรีีแจ๊๊ส แต่่เนื่่�องด้้วยทางทีีมผู้้�จััดโครงการ คำำ�นึึงถึึงความปลอดภััยของผู้้�เข้้าร่่วม จึึงตััดสิินใจที่่�จะเลื่่�อนงานกิิจกรรม TIJC 2021 ทั้้�งหมดไปจััดปีีหน้้า เป็็น TIJC 2022
ในส่่วนการเรีียนการสอนของ วิิทยาลััยนั้้�น ทางวิิทยาลััยได้้ประกาศ เลื่่�อนการเปิิดการศึึกษาออกไปเพื่่�อ หลีีกเลี่่�ยงการเรีียนการสอนแบบ ออนไลน์์ ที่่�อาจจะไม่่เหมาะกัับการ เรีียนการสอนในสาขาดนตรีี โดย วิิทยาลััยเลื่่�อนการเปิิดการเรีียนการ สอนรวมไปถึึงกิิจกรรมการแสดงของ นัักเรีียนนัักศึึกษาของวิิทยาลััยออก ไปเป็็นวัันที่่� ๑ กุุมภาพัันธ์์ ๒๕๖๔ ด้้วยการตััดสิินใจที่่�ทัันท่่วงทีีและ การเรีียนรู้้�ที่่�จะรัับมืือกัับเหตุุการณ์์ที่่� เกิิดขึ้้�น การร่่วมมืือและความสามััคคีี ของคนในสัังคม จะทำำ�ให้้เราผ่่านพ้้น วิิกฤติิครั้้�งนี้้�ไปได้้อีีกครั้้�ง สวััสดีีปีีใหม่่ ๒๕๖๔ ขอให้้ทุุก คนปลอดภััยและมีีสุขุ ภาพที่่�แข็็งแรง
09
MUSIC ENTERTAINMENT
“เรื่่�องเล่่าเบาสมองสนองปััญญา”
เพลงไทยสากล-เนื้้�อร้้องจาก วรรณคดีี (ตอนที่่� ๖) เรื่อง: กิตติ ศรีเปารยะ (Kitti Sripaurya) อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาดนตรีสมัยนิยม วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
“ว่่าแต่่เขาอิิเหนาเป็็นเอง” สำำ�นวนนี้้�คงเป็็นที่่�คุ้้�นเคยของผู้้�อ่่านหลาย ๆ ท่่าน พจนานุุกรมฉบัับ ราชบััณฑิิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้้ความหมายไว้้ว่า่ “ตำำ�หนิิผู้อื่้� น่� เรื่่อ� งใดแล้้วตนก็็กลับั ทำำ�เรื่่อ� งนั้้�นเสีียเอง” สำำ�นวนนี้้�มาจากวรรณคดีีเรื่่�อง “อิิเหนา” ตอนที่่�ตััวพระเอกนามอิิเหนาตำำ�หนิิต่อ่ ว่่าจรกากัับวิิหยาสะกำำ� ที่่�ต่่างไปหลงรัักบุุษบา (นางเอก) จนเกิิดวิิวาทะแย่่งชิิงถึึงขนาดต้้องสู้้�รบกัันเอง อัันเป็็นสิ่่�งที่่�ไม่่ควรกระทำำ� อย่่างยิ่่�ง ต่่อมาเมื่่�ออิิเหนาได้้พบกัับนางบุุษบา ตััวเองกลัับหลงรัักถึึงขนาดต้้องทำำ�อุุบายเผาเมืืองดาหา เพื่่�อ ชิิงตััวนางบุุษบาเสีียเอง ๑) วรรณคดีี “อิิเหนา” เชื่่�อกัันว่่าเป็็นนิิยายอิิงประวััติิศาสตร์์ ปรุุงแต่่งมาจากพงศาวดารชวา (อิินโดนีีเซีีย) เดิิมเป็็นนิิทานที่่�เล่่าแพร่่หลายกัันมา เรีียกว่่า นิิทานปัันหยีี ตั้้�งแต่่พุุทธศตวรรษที่่� ๑๖ มีีด้้วยกัันหลายสำำ�นวน พงศาวดารเรีียกอิิเหนาว่่า “ปัันจีี อิินูู กรััตปาตีี” (Panji Inu Kartapati) แต่่ ในหมู่่�ชาวชวามัักเรีียกกัันสั้้�น ๆ ว่่า “ปัันหยีี” (Panji) ๒) “อิิเหนา” นัับเป็็นวรรณคดีีเก่่าแก่่เรื่่�องหนึ่่�งของไทย สัันนิิษฐานว่่าเข้้ามาในช่่วงปลายสมััยกรุุง ศรีีอยุุธยา โดยเชลยหญิิงปััตตานีีที่่�เป็็นข้้าหลวงรัับใช้้พระราชธิิดาของสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััวบรมโกศ
10
(ครองราชย์์ พ.ศ. ๒๒๗๕-๒๓๐๑) โดยเล่่าถวายเจ้้าฟ้้ากุุณฑลและเจ้้าฟ้้ามงกุุฎ พระราชธิิดา จากนั้้�นพระราชธิิดาทั้้�งสองได้้ทรงแต่่งเรื่่�องขึ้้�นมาองค์์ละเรื่่�อง เรีียกว่่า อิิเหนาเล็็ก (อิิเหนา) และอิิเหนาใหญ่่ (ดาหลััง) ถึึงยุุครััตนโกสิินทร์์พระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลกทรง พระราชนิิพนธ์์เพิ่่�มเติิม ลุุล่ว่ งสมััยรััชกาลที่่� ๒ พระบาทสมเด็็จพระพุุทธเลิิศหล้้านภาลััยทรง แก้้ไขปรัับปรุุงจนเป็็นที่่�ลงตััวเรีียบร้้อย (๑ และ ๒ ข้้อมููลตััดทอนจาก ประวััติคิ วามเป็็นมา อิิเหนา - Google Sites) ท่่านผู้้�อ่่านที่่�สนใจใคร่่รู้้�รายละเอีียดหรืืออยากอ่่านวรรณกรรม อิิเหนาฉบัับเต็็ม สามารถสืืบค้้นได้้จาก internet ซึ่่�งมีีหลากหลายรููปแบบ ตััวละครสำำ�คััญในวรรณกรรมเรื่่�องนี้้�ที่่�ผู้้�คนชนชาวไทยส่่วนใหญ่่รู้้�จักั เคยได้้ยินิ ผ่่านทางการ แสดงละคร (รำ��) ได้้เห็็นโดยการอ่่านจากหนัังสืือ ทั้้�งตำำ�ราเรีียนและนวนิิยายขายปลีีกทั่่�วไป รวมถึึงได้้ฟังั จากบทเพลงไทยสากลที่่�เผยแพร่่ทางสื่่�อต่่าง ๆ ประพัันธ์์โดยครููเพลงระดัับตำำ�นาน ท่่านใช้้เนื้้�อหาจากวรรณกรรมที่่�กล่่าวถึึงตััวละครนำำ� เช่่น อิิเหนา บุุษบา จิินตะหรา และจรกา มารัังสรรค์์เป็็นผลงานเพลงอัันทรงคุุณค่่า ซึ่่�งยัังคงแพร่่หลายรัับใช้้นัักเพลงทั้้�งหลายในบ้้าน เมืืองเราเหล่่านี้้�ล้้วนส่่งผลถึึงเจ้้าของลิิขสิิทธิ์์�ในแง่่ของรายได้้ บทความตอนนี้้� ผู้้�เขีียนฯ เลืือก งานเพลงมา ๘ เพลง นำำ�เสนอท่่านผู้้�อ่่านดัังต่่อไปนี้้� ๑) บุุษบาเสี่่�ยงเทียี น (https://www.youtube.com/watch?v=X0gOnI7SC1U) เพลงยอดนิิยมอมตะด้้วยความไพเราะของท่่วงทำำ�นองที่่�มาจากเพลงไทยเดิิม “ลาวเสี่่�ยง เทีียน” ซึ่ง่� เป็็นทำำ�นองที่่�มีีการนำำ�ไปสร้้างงานเพลงไทยสากลทั้้�งลููกทุ่่�งและลููกกรุุงมากที่่�สุุด ครูู ศัักดิ์์� เกิิดศิริิ ิ นำำ�มาดััดแปลงให้้สอดคล้้องกัับรููปแบบของเพลงป๊๊อบปููลาร์์พร้้อมรัังสรรค์์คำำ�ร้อ้ ง ที่่�สละสลวยสััมผััสสวยงาม เนื้้�อหาพรรณนาถึึงนางบุุษบาตอนที่่�ไปไหว้้พระในวิิหารบนเขา โดย มีีนางมะเดหวีีเป็็นคนจััดการเพื่่�อเสี่่�ยงเทีียนดููว่า่ คู่่�ครองจะเป็็นอิิเหนาหรืือจรกา เพลงนี้้�ขัับร้้อง บัันทึึกเสีียงต้้นฉบัับโดย วงจัันทร์์ ไพโรจน์์ นัักร้้องสาวเสีียงใสไพเราะเสนาะโสตในยุุคกว่่า ๖๐ ปีีที่่�แล้้ว เนื้้�อร้้องในกรอบตารางต่่อไปนี้้�ให้้รายละเอีียดได้้พอสมควร เพื่่�อให้้ได้้อรรถรส สมบููรณ์์แนะนำำ�ท่่านผู้้�อ่่านคลิิกลิิงก์์เข้้า YouTube รัับฟััง/ชมไปด้้วย
เทียนจุดเวียนพระพุทธาตัวขาบุษบาขออธิษฐาน เทียนที่เวียนนมัสการบันดาลใหหทัยสมปรารถนา ดลจิตอิเหนาใหเขามารักขา ขอองคพระปฏิมาเมตตาชวยคิดอุมชู ขอเทียนที่เวียนวนดลฤทัยสิงสู ใหองคระเดนเอ็นดูอยาไดรูคลายคลอน อาองคพระพุทธาตัวขาบุษบาขอกราบวิงวอน ขาสวดมนตขอพระพรวิงวอนใหหทัยระเดนปรานี รักอยาเคลือบแฝงดังแสงเทียนริบหรี่ ขอองคระเดนมนตรีโปรดมีจิตนึกเมตตา ขอเทียนที่เสี่ยงทายดลใหคนรักขา รักเพียงแตบุษบาดั่งขานี้ตั้งใจ
11
12
รููปแบบทำำ�นองเป็็นแบบ ๑ ท่่อน ความยาว ๑๖ ห้้อง บัันทึึกอยู่่�บนบัันไดเสีียงประเภทเมเจอร์์ (C major scale) กลุ่่�มเสีียงที่่�ใช้้ประกอบด้้วยโน้้ต ๖ ตััว ตามภาพต่่อไปนี้้�
๒) บุุษบาอธิิษฐาน (https://www.youtube.com/watch?v=IZteG4vgdSY) เพลงนี้้�ความหมายโดยรวมคล้้ายกัับเพลงลำำ�ดัับที่่� ๑ ต่่างกัันเพีียงแต่่แนวดนตรีีและลีีลาทำำ�นอง ไฟล์์เสีียง ต้้นฉบัับขัับร้้องบัันทึึกเสีียงโดย เพ็็ญศรีี พุ่่�มชููศรีี (ศิิลปิินแห่่งชาติิ) ร่่วมกัับ ดวงตา ชื่่�นประโยชน์์ ประมาณ ๕๐ ปีีที่่�แล้้ว แนวดนตรีีเป็็นลีีลาตะลุุงเทมโป (เคยฮิิตมากในยุุคสมััยที่่�การลีีลาศเต้้นรำ��ยังั เป็็นที่่�นิิยมกัันอยู่่� รายละเอีียด สืืบค้้นได้้จาก Google หััวข้้อ สมาคมกีีฬาลีีลาศแห่่งประเทศไทย) ข้้อมููลผู้้�ประพัันธ์์เพลงนี้้�ยัังค้้นหาไม่่เจอ เนื้้�อ ร้้องถอดความจากไฟล์์เสีียงพร้้อมโน้้ตสากลบัันทึึกตามหลัักการดนตรีีตะวัันตก ปรากฏตามตััวอย่่างต่่อไปนี้้�
ขาอภิวันทขานบพุทธา อธิษฐานมาเพราะขาตรมฤทัย ภาวนาแสงเทียนไมผิดเพี้ยนไป วาสนาใครผูใดเปนคูกัน ขาจรกาเทียนซายเปนคูครอง อันเทียนทองอิเหนาจงดับพลัน หากบุษบาคูกุเรปน ใหเทียนอําพันขวามือนั้นไซร แสงเรืองวิไล สมดังวาดไวในใจเอย
13
14
รููปแบบดนตรีีที่่�นัักเรีียบเรีียงเสีียงประสานออกแบบให้้มีี ๓ ท่่อน ท่่อนแรกมีี ๘ ห้้อง ท่่อน ๒ มีี ๑๒ ห้้อง ส่่วนท่่อนที่่� ๓ ตามโน้้ตเป็็นแนวดนตรีีรับั ๑๖ ห้้อง ๒ เที่่�ยว แล้้วจึึงย้้อนกลัับไปร้้องอีีกครั้้�ง กลุ่่�มเสีียงที่่�ประกอบ กัันขึ้้�นเป็็นเพลงนี้้�จััดระเบีียบตามหลัักการบัันไดเสีียงของดนตรีีสากลได้้ผลตามภาพต่่อไปนี้้�
เพ็็ญศรีี พุ่่�มชููศรีี ดวงตา ชื่่�นประโยชน์์
๓) บุุษบาในฝััน (https://www.youtube.com/watch?v=IFsod9m4XZ8) เพลงนี้้�เป็็นผลงานการประพัันธ์์ของครููไสล ไกรเลิิศ ผู้้�ขัับร้้องคนแรกคืือ สุุเทพ วงศ์์กำำ�แหง (ศิิลปิินแห่่งชาติิ) ต่่อมา ชริินทร์์ นัันทนาคร (ศิิลปิินแห่่งชาติิ) ขัับร้้องบัันทึึกเสีียงเป็็นคนที่่� ๒ เนื้้�อหาของเพลงกล่่าวถึึง อิิเหนาที่่� เพ้้อรำ��พัันถึึงบุุษบาถึึงขนาดเก็็บไปฝััน เป็็นจริิงเพีียงแค่่ในความฝัันที่่�ได้้เคีียงกายนางบุุษบา แต่่ในโลกแห่่งความ เป็็นจริิงมิิได้้เป็็นดั่่�งฝััน ด้้วยเหตุุที่่�อิิเหนาทำำ�ตััวเอง ด้้วยความไม่่รู้้� ถอดหมั้้�นหมายของนางบุุษบาแล้้วไปอภิิเษก กัับนางจิินตะหรา แต่่พอมารู้้อี� กที ี กลั ี บั เป็็นว่า่ ตนนั้้�นโง่่ที่่ทิ้้� ง� ดวงมาลีีอันั เลอค่่าไปหลงแต่่เงาจัันทร์.์ .. (ตััดทอนจาก บทเพลงอิิงวรรณคดีี ตอนที่่� ๒๔ ใน https://writer.dek-d.com/)
โอแมงามกระไรหานางใดในหลา มาเปรียบเสมอ เหมือนเจอบุษบา พี่อยากยลโฉมหนา ฝนหาพาภิรมย เนตรเจาคมคิ้วงอน สวยจริงโอเจาดวงสมร โอษฐสะคราญดุจพรานโนมงามโกงคันศร พี่หลับนอนคร่ําครวญปวนอุรา ทุกคืนหลับเห็นดวงหนา โอเจาอยามาหลอกหลอนพี่เลย หยามชายอายทั่ว ถันเธองอนตื่นตัว ฉันกลัวจริงสาวเอย ตาเธอซึ้งเหมือนปานประหนึ่งจะเยย จันทรแจมเวหา แกมเจานวลชวนเชิญยิ้มเมินทีทา เหมือนพาใหพี่พะวง ลืมมิลง คงจะหลงตายเปลา พี่ฝนนอนเคียงเจา ตื่นก็เฝาระทม พี่กอด พี่ชม พี่โลม เพียงเงา รักนงเยาว ใครจะเห็นใจเอย
15
พิิจารณากลุ่่�มคำำ�ที่่�ประกอบกัันขึ้้�นเป็็นเนื้้�อร้้องในกรอบตารางดัังกล่่าว เป็็นที่่�ประจัักษ์์แจ้้งถึึงแรงหลงที่่�อิิเหนา เฝ้้าพร่ำ���เพ้้อละเมอหาถึึงนางบุุษบา ประเภทว่่าหลัับก็็เห็็นหน้้า ตื่่�นมาก็็ยัังคิิดถึึงรำ��พึึงนาง
16
กลุ่่�มเสีียงที่่�ครููไสล ไกรเลิิศ นำำ�มาเรีียงร้้อยกัันขึ้้�นเป็็นแนวทำำ�นองเพลงนี้้�เมื่่�อจััดระเบีียบตามหลัักของดนตรีี สากลเรื่่�องบัันไดเสีียง จะได้้ Bb major pentatonic ตามภาพ
รููปแบบเพลงเป็็น ๓ ท่่อน ๑ - ๒ - ๓ หรืือ ABC ตามแบบดนตรีีสากล
ไสล ไกรเลิิศ
ชริินทร์์ นัันทนาคร
สุุเทพ วงศ์์กำำ�แหง
๔) จิินตะหราครวญ (https://www.youtube.com/watch?v=zP0oKu7Le4c) นางผู้้�นี้้�มีีความงามดัังถ้้อยคำำ�ที่่�ตััดทอนมาจากบทพระราชนิิพนธ์์ “อิิเหนา” ในพระบาทสมเด็็จพระพุุทธเลิิศ หล้้านภาลััย ที่่�ว่่า งามงอนอ่่อนระทวยนวยแน่่ง ดำำ�แดงนวลเนื้้�อสองสีี ผ่่องพัักตร์์ผิิวพรรณดัังจัันทรีี นางในธานีีไม่่เทีียมทััน ทำำ�ให้้อิิเหนาผู้้�ซึ่่�งหมั้้�นหมายกัับนางบุุษบาอยู่่�แล้้ว กลัับมาหลงรัักนางจิินตะหรา เกิิดกรณีีรััก ๓ เส้้า นาง จิินตะหราถึึงกัับตััดพ้้อต่่อว่่าอิิเหนา ดัังบทพระราชนิิพนธ์์ฯ ต่่อไปนี้้� แล้้วว่่าอนิิจจาความรััก พึ่่�งประจัักษ์์ดั่่�งสายน้ำำ��ไหล ตั้้�งแต่่จะเชี่่�ยวเป็็นเกลีียวไป ที่่�ไหนเลยจะไหลคืืนมา สตรีีใดในพิิภพจบแดน ไม่่มีีใครได้้แค้้นเหมืือนอกข้้า ด้้วยใฝ่่รัักให้้เกิินพักั ตรา จะมีีแต่่เวทนาเป็็นเนืืองนิิตย์์ โอ้้ว่่าน่่าเสีียดายตััวนััก เพราะเชื่่�อลิ้้�นหลงรัักจึึงช้ำำ��จิิต จะออกชื่่อลืือชั่่ � �วไปทั่่�วทิิศ เมื่่�อพลั้้�งคิิดผิิดแล้้วจะโทษใคร เพลง “จิินตะหราครวญ” ใช้้บทพระราชนิิพนธ์์ดังั กล่่าวเป็็นเนื้้�อร้้อง ไฟล์์เสีียงที่่�ผู้้�เขีียนบทความฯ นำำ�มาถอด โน้้ต มาจากงานเพลงประกอบละครโทรทััศน์์เรื่่�อง “สุุดหััวใจเจ้้าชายเทวดา” ขัับร้้องโดย ศรัันธร ทััศนะธาร ส่่วน ข้้อมููลผู้้�ประพัันธ์์ไม่่มีีการระบุุไว้้แต่่อย่่างใด
17
รููปสมมุุติิ “จิินตะหรา”
18
ทำำ�นองเพลงนี้้�บัันทึึกอยู่่�บนบัันไดเสีียง F minor ลัักษณะเพลงแบ่่งเป็็น ๓ ท่่อน ๑ - ๒ - ๓ จััดเป็็นรููป แบบ ABC ตามหลัักดนตรีีสากล ๕) จรกาคลั่่�งรััก (https://www.youtube.com/watch?v=RCg21cNuqH8) จรกา ตััวละครสำำ�คััญคนหนึ่่�งในวรรณกรรม “อิิเหนา” ความเป็็นมาของเขาผู้้�นี้้� พรรณนาโดย โกศล ใน บทความ “จรกา” ขี้�เ้ หร่่มีีเมีียสวยและการเลื่่อ� นชั้้�นทางสัังคม จากเว็็บ OK Nation.tv ดัังต่่อไปนี้้� จรกาเป็็นเจ้้าเมืืองจรกา อัันเป็็นเมืืองเล็็ก ๆ ที่่�ด้้อยเกีียรติิด้้อยยศในสายตาของบรรดาเจ้้าผู้้ค� รองนครใหญ่่ ๆ ทั้้�งหลาย อัันได้้แก่่ เมืืองกุุเรปััน ที่่�มีีท้้าวกุุเรปัันครองความเป็็นใหญ่่ เมืืองดาหา ที่่�ครองอำำ�นาจโดยท้้าวดาหา พระอนุุชาของท้้าวกุุเรปััน เป็็นต้้น ซึ่่ง� กษััตริิย์เ์ หล่่านี้้�อยู่่�ในวงศ์์พระอาทิิตย์์ หรืืออสััญแดหวา มีีความหยิ่่�งทระนง ถืือยศถืือศัักดิ์์� โดยเฉพาะท้้าวกุุเรปัันนั้้�น หลงตระกููลตััวเองมากกว่่าใคร ๆ จรกานอกจากจะเป็็นเจ้้าเมืืองเล็็ก ๆ แล้้ว ยัังเป็็นคนที่่�เรีียกว่่ารููปชั่่�วตััวดำำ� หน้้าปรุุประ ปากหนา จมููกโต อ้้วนก็็อ้้วน เสีียงก็็แหบเหมืือนเป็็ด ว่่าอย่่างนั้้�น สรุุปแล้้วรููปลัักษณ์์ภายนอกไม่่มีอี ะไรน่่าดูู คงไม่่เป็็นที่่น่� า่ พิิศวาส ของอนงค์์นางใด โดยท่่านได้้บรรยายรููปร่่างหน้้าตาของจรกาไว้้ว่่า “...ดููไหนมิิได้้งามทั้้�งกายา ลัักขณาผมหยััก พัักตร์์เพรีียง จมููกใหญ่่ไม่่สง่่าราศีี จะพาทีีแห้้งแหบแสบเสีียง...” จรกาได้้เห็็นภาพนางบุุษบาที่่�ให้้ลูกู สมุุนไปแอบวาดภาพนางมาดูู เพราะได้้ยินิ คำำ�เล่่าลืือถึึงความงามงดหมดจด สะพรั่่�งสาว ทำำ�ให้้เกิิดความหลงใหลคลั่่�งไคล้้อย่่างมาก จึึงหาวิิธีที่่�ี จะได้้นางมาเป็็นคู่่�ชิิดเชย แต่่ก็มี็ ีอุปุ สรรคขวาก หนามมาขวางกั้้�นไม่่ให้้สมหวััง เนื้้�อเพลง “จรกาคลั่่�งรััก” ในกรอบเหลี่่�ยมต่่อไปนี้้�ได้้ให้้นิยิ ามลัักษณะนิิสัยั ของชาย รููปชั่่�วตััวดำำ�ผู้้�นี้้�ตามสมควร พร้้อมโน้้ตสากลที่่�ถอดจากไฟล์์เสีียงต้้นฉบัับ (เพลงนี้้�ประพัันธ์์คำำ�ร้อ้ งและทำำ�นองโดย ครููไสล ไกรเลิิศ)
พิศดูรางริ้วผิวพรรณชั้นต่าํ มองแลวไมนําชื่นชม ทุกวันตองเศราตรม ไมสมดั่งใจหมาย เปรียบตัวเหมือนจรกา ยิ่งจะพาอับอาย ที่ใฝใจปอง เฝามองหลงรําพัน เพียงเธอเหมือนหนึ่งบุปผา เหมือนดวงเดือนเดนบนฟา ที่กระตายฝน โงงมหลงชมแจมจันทรคลั่งไคลใฝฝน เปรียบฉันก็เชนกระตายที่หลงเตนใฝใจไมเจียม คงมิเทียมเทาไดแตเฝาคลั่งลา อาวรณรักหนักดวงใจ แลวคงคลั่งไคลหัวใจเพอพร่ํา อกเอยเปนกรรมจรกา เพราะตัวเราเกิดมา ชั่วชาอยูไฉน ตางผองพรรณเผาเปรียบก็เทาอยูไกล ใฝใจควา บุษบาเขามองเมิน ควรดูรูจักเปนหงส เห็นลงมาเที่ยวเดิน จึงไดเพลินตา อกเอยไฉนเลยวาสนาสุดควาชื่นชม ไมสมคงเศราเที่ยวเฝาแตรักเพียงใดก็ไมมีหวัง ใจแมนชังมิชอบก็จะลอบคอยมอง ครองใจรักอยูจนตาย
19
ต้้นฉบัับขัับร้้องบัันทึึกเสีียงโดย สุุเทพ วงศ์์กำำ�แหง (ศิิลปิินแห่่งชาติิ) และเสีียงผู้้�หญิิงนิิรนาม ลัักษณะทำำ�นอง บัันทึึกอยู่่�บนบัันไดเสีียง Ab major pentatonic กลุ่่�มเสีียงที่่�ใช้้มีีเพีียง ๕ โน้้ต Ab, Bb, C, Eb, F รููปแบบเพลง แบ่่งเป็็น ๒ ท่่อน ท่่อนละ ๑๒ ห้้อง (AB form) ๖) จรกาแพ้้รััก (https://www.youtube.com/watch?v=fO9V58szlc4) เป็็นอีีกเพลงหนึ่่�งที่่�ช่่วยเสริิมคุุณลัักษณะของจรกา เป็็นผลงานของ “สำำ�เนีียง ม่่วงทอง” ครููเพลงระดัับตำำ�นาน อีีกท่่านหนึ่่�งของบ้้านเราซึ่ง่� ล่่วงลัับไปแล้้ว ไฟล์์เพลงต้้นฉบัับขัับร้้องบัันทึึกเสีียงโดย โกมิินทร์์ นิิลวงศ์์ เนื้้�อเพลง ในกรอบเหลี่่�ยมบรรยายถึึงรููปลัักษณ์์จรกาได้้อย่่างละเอีียด 20
จรกา อาภัพหนักหนาเกิดมาชาตินี้ รูปรางอัปลักษณช้ํานักไรศักดิ์ศรี ทั่วถิ่นนี้ใครช้ําเทาจรกา โออกเอยใครเลยหนอปน ชางเสกสรรปนเรามา ช้ําเหลือหลายรูปกายของขา ทั่วกายาชั่วชาอัปลักษณ แตขานี้มีใจสูงยิ่ง เฝารักหญิงที่งามพักตร ยอดหญิงเอยแมเอยผูสูงศักดิ์ ขามั่นรักไฉนเลามากลับกลาย ขาถูกลวงช้ําในทรวงตองอกหัก ขาถูกแยงรักหมายหมิ่นศักดิ์เชิงชาย ทั้งเยาะทั้งเยยซ้ําเปรียบเปรยใหอาย อยางนี้ขายอมตาย ไวลายชายชาติชาตรี ขาผูแพใหแกรักนั่น มอบชีวันนั้นขายอมพลี ขอเทิดไวหวังในรักนี่ ชีพขานี้ขอนอมมอบแดความรัก จรกา ใครเขาเหมือนขาก็คงช้ํานัก รูปรางไมงามพริ้งยอดหญิงถึงไมรัก เจ็บใจนักขายอมแพแพแลวสิ้นลาย จรกา โลกเหวยขาคือผูแพ
จรกา
21
เพลงนี้้�บัันทึึกอยู่่�บนบัันไดเสีียง D minor กลุ่่�มเสีียงที่่�ใช้้มีี ๕ โน้้ต ได้้แก่่ D, F, G, A และ C ลีีลาทำำ�นอง เพลงนี้้� ครููสำำ�เนีียง ม่่วงทอง ประพัันธ์์ในแนวของเพลง “เรีียกร้้องความสนใจ” โดยมีีผู้้�เรีียบเรีียงเสีียงประสาน เริ่่�มท่่อนนำำ�เพลง (introduction) ด้้วยวรรคแรกของเพลงไทยเดิิม “แขกปััตตานีี” นำำ�ส่่งเข้้าร้้องเน้้นคำำ� จ ร ก า ด้้วยโน้้ตตััวแรกของบัันไดเสีียง (D) เช่่นเดีียวกัับวรรคจบเพลง และเสริิมด้้วยแนวดนตรีีช่่วยเน้้น ดัังตััวอย่่าง
22
สำำ�เนีียง ม่่วงทอง
โกมิินทร์์ นิิลวงศ์์
๗) อิิเหนารำ��พึึง (https://www.youtube.com/watch?v=Ti-n5mwSAiY) เพลงนี้ ครูไสล ไกรเลิศ ใช้ท�ำนองเพลง “แขกขาว” มาสร้างค�ำร้อง ใจความที่อิเหนางอนง้อพร�ำ่ เพ้อละเมอ คร�่ำครวญถึงนวลนางบุษบา ดังเนื้อหาปรากฏในกรอบตารางต่อไปนี้
รูปทรงวงพักตรลักขณาบุษบานารี แมงามเทียบเทวีหญิงใดใครเปรียบไมมีสตรีศรีสดุ า ไฉไลเลิศล้ําลาวัลยพริ้งเพริศเฉิดโฉมโนมพรรณสุดสรรพรรณนา พักตรปลั่งเหมือนดั่งจันทราจะเยยองคอุมาเทพธิดาใหอาย งามพรอมมารยาทเลิศพิลาสนวยนาดเยื้องกาย เนตรเจางามเหลือเหมือนดังแมนางเนื้อทราย เมื่อสบตาชายโฉมงามแมอายชมายมา วิตกอกอิเหนาทุกวันเศราวิญญา รําพึงถึงบุษบาหลงรักเปนหนักหนาดวงยิหวาเจาเอย โอยอดชีวันกัลยาบุษบานาเชย เจาอยาโกรธเคืองเลยโฉมตรูเปนคูชมเชยแมเอยเคยเมตตา เสียแรงใฝฝนรัญจวนหัวอกพี่ช้ําคร่ําครวญนวลนองไมเวทนา งองอนออนวอนแกวตานงนุชบุษบากรุณาอยาอาย แรงฤทธิ์พิศวาสไมสามารถตัดรักหักไมคลาย โอแมรูปงามรักจริงยิ่งความเสียดาย พี่ไมกลับกลายหมายปองรูปทองนองชม นอยบุญวาสนาช้ําอุราตรอมตรม วิตกหัวอกระบมอิเหนาเศราระทมใหพี่ชมเถิดเอย
23
ผู้้�เขีียนบทความนี้้�ถอดโน้้ตสากลทั้้�งเพลงตั้้�งแต่่ intro จนถึึง coda จากไฟล์์เสีียงต้้นฉบัับที่่�ขัับร้้องโดย สุุเทพ วงศ์์กำำ�แหง (ศิิลปิินแห่่งชาติิ) ตามภาพต่่อไปนี้้�
รููปลัักษณ์์เพลงนี้้�เป็็นแบบ ๒ ท่่อน ๑ - ๒ (AB form) นอกจากใช้้ทำำ�นองเพลงไทยเดิิม “แขกขาว” แล้้ว ผู้้�เรีียบเรีียงเสีียงประสานยัังนำำ�เอา “ลููกจบ” ของเพลงดัังกล่่าวมาใช้้เป็็น ending ของงานเพลงนี้้�ด้้วยเช่่นกััน เมื่่�อนำำ�กลุ่่�มเสีียงที่่�ประกอบกัันขึ้้�นเป็็นทำำ�นองเพลงนี้้�มาจััดระเบีียบตามแบบอย่่างของการดนตรีีสากล ผลปรากฏ ตามภาพต่่อไปนี้้�
24
๘) อิเหนาร�ำพัน (https://www.youtube.com/watch?v=N7ag1Mu0XUA) อิิเหนารำ��พึงึ ไปรำ��พึงึ มาสุุดท้้ายก็็รำ��พันั ครวญคร่ำ���ถึงึ ชะตากรรมของตนในด้้านความรัักที่่�มีีต่อ่ นางบุุษบาตาม เนื้้�อหาในคำำ�ร้้องของเพลง “อิิเหนารำ��พััน” ซึ่ง่� ประพัันธ์์โดย ครููไสล ไกรเลิิศ ส่่วนทำำ�นองมาจากเพลงไทยเดิิม “แขกปััตตานีี” ชริินทร์์ นัันทนาคร (ศิิลปิินแห่่งชาติิ) เป็็นผู้้�ขัับร้้องบัันทึึกเสีียงคนแรกเมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๙๔ (ข้้อมููล จาก Wikipedia) อิเหนาเอย กรรมแลวเอยรักเจาผิดหวัง เพราะรักเขาเพอคลั่งเขาชังเมินหนาพาอดสู ขาดยอดชูเชยชมตรอมใจ ไหนจะอายผูคน ทุกขใจทนหมองไหม หลงลมใครโอใจบุษบา เจาเปลี่ยนคูพอไปชื่นเจาจรกา โอแกวตาลมรักใดพาลอยไป หลงรักเขา มองหาเงาแลวเศราหวั่นไหว รักหลงใหลเหมือนบานิจจาลืมไดหนอใจหญิง แมงามพริ้งมีมนตวาจา เหมือนอารมณบุษบา เหมือนพิมพาพิไล หลงลมใครโอใจชืน่ กมล โออกอิเหนาจะเปรียบตัวเราอับจน ใจกังวลคนรักมาเมินไปเอย
25
ท�ำนองตามโน้ตสากลทีผ่ เู้ ขียนถอดความจากไฟล์เสียงต้นฉบับเฉพาะช่วงทีม่ คี ำ� ร้องแบ่งออกได้เป็น ๒ ท่อน (ท่อน ๒ และ ๓)
(ส่่วนท่่อน ๑ เป็็นแนวดนตรีีบรรเลงทำำ�นองของท่่อน ๑ ก่่อนส่่งเข้้าร้้อง)
อิิเหนารำ��พััน (ภาพสมมุุติิ)
๘ เพลงไทยสากลเนื้้�อหาเกี่่�ยวข้้องกัับวรรณคดีีไทยเรื่่�อง “อิิเหนา” ที่่�ผู้้�เขีียนฯ คััดสรรมานำำ�เสนอต่่อท่่านผู้้� อ่่าน เกืือบทุุกเพลงยัังคงมีีการใช้้งาน หากเปรีียบเป็็นสิินค้้าทั่่�วไปแสดงว่่ายัังมีีการบริิโภคกัันอยู่่� เพลงไทยสากล เหล่่านี้้�เป็็นผลิิตผลจากกลุ่่�มคนดนตรีี เช่่น นัักประพัันธ์์เพลง นัักเรีียบเรีียงเสีียงประสาน นัักดนตรีี นัักร้้อง ล้้วน มากฝีีมือื ระดัับตำำ�นาน ร่่วมแรงร่่วมใจกัันสร้้างสรรค์์ผลงานออกมาให้้เราท่่านทั้้�งหลายได้้หฤหรรษาซึ่ง่� เป็็นสิ่่�งที่่�น่่า ภููมิิใจ แม้้งานจะไม่่ออกสู่่�วงกว้้างในต่่างประเทศ แต่่การยอมรัับในระดัับโลคอล (local) ก็็เป็็นที่่�น่่ายิินดีีปรีีดา หาน้้อยไม่่ ขอท่่านผู้้�อ่่านรัักษาสุุขภาพ โควิิด-๑๙ เจ้้าตััวร้้าย อย่่าได้้กล้ำำ��กราย สุุขกายสบายใจกัันทั่่�วหน้้าครัับ (ขอบคุุณข้้อมููลทุุกประเภทสำำ�เนา/ตััดทอนจาก Google แหล่่งข้้อมููลอัันอุุดม) 26
นำำ�เข้้าและจััดจำำ�หน่่ายโดยTSH MUSIC www.tshmusic.com (Tel. 02-622-6451-5)
27
MUSICOLOGY
ประวััติิศาสตร์์ของการร้้องเพลง-เล่่นดนตรีีอย่่างมีีระยะห่่าง:
จากทุ่่�งกว้้างถึึงระหว่่างเฮลิิคอปเตอร์์ เรื่่�อง: ธนพล เศตะพราหมณ์์ (Thanapol Setabrahmana) หััวหน้้าสาขาวิิชาการอำำ�นวยเพลง วิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล
ในช่่วงโรคระบาดโควิิด-๑๙ ที่่� ผ่่านมา ทำำ�ให้้ประชาชนในหลาย ประเทศต้้องขัังตััวเองอยู่่�ในบ้้าน ซึ่่�ง ก็็เป็็นในช่่วงเวลานี้้�เองที่่�เราได้้เห็็น ปรากฏการณ์์ทางดนตรีีบางประการ ผ่่านโซเชีียลเน็็ตเวิิร์์กต่่าง ๆ เช่่น นัักดนตรีีหรืือผู้้�มีีใจรัักดนตรีีได้้ออก มาเล่่นดนตรีีบนระเบีียงห้้องหรืือ ระเบีียงบ้้านของตััวเอง บางครั้้�งก็็ ถึึงกัับออกมาเล่่นกัันเป็็นวง โดยที่่� ต่่างคนต่่างเล่่นจากที่่�ไกล ๆ กััน จน ออกมาเป็็นประหนึ่่�งคอนเสิิร์์ต นัับ ว่่าเป็็นภาพน่่าประทัับใจที่่�เหล่่านััก ดนตรีีสามารถสร้้างความสุุขให้้แก่่ เพื่่�อนบ้้านได้้ในเวลาแบบนี้้� การเล่่นดนตรีี-ร้้องเพลงให้้คน ฟััง หรืือการที่่�นัักดนตรีีเล่่นด้้วยกััน ในขณะที่่�อยู่่� “ไกลกััน” นั้้�น มีีมานาน ในประวััติิศาสตร์์ ตั้้�งแต่่การเล่่นกััน ในลานกว้้าง เล่่นนอกหน้้าต่่างผู้้�ฟังั ร้้อง/เล่่นในโบสถ์์ ไปจนถึึงการเล่่น กัันบนท้้องฟ้้า! ลองมาสำำ�รวจกััน (โดยพอ สัังเขป) ว่่าในโลกของดนตรีีตะวัันตก การร้้อง-เล่่นเช่่นนี้้� มีีอยู่่�อย่่างไร ทั้้�งดููจากตััวเพลงเองและดููจากงาน เขีียนต่่าง ๆ
28
I. ทุ่่�งหญ้้าและทุ่่�งศึึก “O Danny Boy, the pipes the pipes are calling, from glen to glen and down the mountain side.” จากเนื้้�อเพลง Danny Boy “เสีียงไกล ๆ” นั้้�น ในอดีีตกาล นานโพ้้น มนุุษย์์คงได้้ยินิ จากคนเลี้้�ยง แกะในท้้องทุ่่�ง เสีียงร้้องเพลงเต้้นรำ�� จากหมู่่�บ้้านข้้าง ๆ หรืือไม่่ก็็เสีียงที่่� สะท้้อนก้้องอยู่่�ในหุุบเขา “Now as soon as Chloe was set on shore, the sound of the pipe from the promontore began to be heard again, … perfectly pastoral such as is used to lead the cattle to feed in the fields.” จากนิยาย Daphnis and Chloe ของ Longus ด้้วยความที่่� เสีียง มีีพลัังในการ เดิินทางให้้สรรพสิ่่�งในพื้้�นที่่�กว้้างได้้ยินิ การใช้้เสีียงเป็็นตััวสื่่�อข้้อความก็็เกิิดขึ้้�น ในประวััติิศาสตร์์ของสิ่่�งมีีชีีวิิต เช่่น เสีียงร้้องของสััตว์์ เสีียงหอนของ หมาป่่า เป็็นต้้น มนุุษย์์ได้้ดััดแปลง อุุปกรณ์์ต่า่ ง ๆ ขึ้้�นมา เพื่่�อใช้้เสีียงสื่่�อ ความระยะไกล จนกระทั่่�งในยุุคแห่่ง อารยธรรม ในการศึึกสงคราม เสีียง สััญญาณจากเครื่่�องดนตรีีถูกู นำำ�มาใช้้
อย่่างจริิงจััง ในสงครามโบราณ มีีการใช้้เครื่่�อง ดนตรีี เช่่น แตรและกลองต่่าง ๆ มา ใช้้ป่า่ วประกาศคำำ�สั่่�งหรืือข้้อความผ่่าน เสีียงสััญญาณในสนามรบอัันกว้้างใหญ่่ แม้้กระทั่่�งใช้้นักั ดนตรีีเป็็นทััพหน้้าใน การรบ การใช้้เครื่่�องดนตรีีในการศึึก นั้้�น พบได้้ในข้้อเขีียนโบราณต่่าง ๆ ไม่่ว่่าจะเป็็น มหากาพย์์อีีเลีียด (Iliad) พระคััมภีีร์์ไบเบิิล ไปจนถึึง รามายณะ และอื่่�น ๆ อีีกมากมาย ส่่วนในวััฒนธรรมเมืืองที่่�รุ่่�งเรืือง โดย เฉพาะอย่่างยิ่่�งในสมััยยุุคกลาง (ราว ศตวรรษที่่� ๕-๑๕) ก็็พบว่่ามีีการ ใช้้นักั แตรบรรเลงสััญญาณต่่าง ๆ ใน ชีีวิิตประจำำ�วััน ตั้้�งแต่่บอกเวลาไป จนถึึงเตืือนภััย [หากใครได้้ไปเที่่�ยว กรุุงปรากปััจจุุบันั นี้้� ก็็จะยัังคงได้้เห็็น ธรรมเนีียมการใช้้นัักทรััมเป็็ตบอก เวลาบนหอนาฬิิกาอยู่่�] หลายดิินแดน มีีการใช้้นักั แตรมาบรรเลงแฟนแฟร์์ (fanfare) สำำ�หรัับต้้อนรัับหรืือป่่าว ประกาศการมาถึึงของบุุคคลสำำ�คััญ และเพลงขนาดสั้้�นอย่่างแฟนแฟร์์นี้้� เองที่่�ต่่อมาจะถููกพััฒนาให้้กลายมา เป็็นเพลงอย่่างจริิงจััง เพลงจริิงจัังที่่�บรรเลงโดยเครื่่�อง ดนตรีีเสีียงดััง [เช่่น แตร ปี่่� กลอง]
ก็็พััฒนาบทบาทของตััวเองมากขึ้้�นเรื่่�อย ๆ ไม่่ว่่าจะเป็็น เพลงบรรเลงกลางแจ้้งตามจััตุุรััสต่่าง ๆ ของเมืือง หรืือเพลงมาร์์ชนำำ�แถวทหารที่่�ใช้้วงดนตรีีนำำ�แถวหน้้า ขณะเดิินขบวน
วงตุุรกีีในซีีเรีีย, ๑๙๑๗
เครื่่�องดนตรีีประเภท “อยู่่�แถวหน้้า” นี้้� นอกจากกลองกัับทรััมเป็็ต (แตรที่่�มีีลำำ�โพงยิิงไปด้้าน หน้้า) แล้้ว ก็็ยัังมีีแตรประเภทที่่�แตรยิิงไปด้้านหลััง ได้้แก่่ เครื่่�องดนตรีีประเภทฮอร์์น (horn) มีี ลัักษณะเป็็นท่่อที่่�ขดจนเป็็นวง วิิวััฒนาการมาจากเครื่่�องในสมััยก่่อน คืือ hunting horn ซึ่ง่� ใช้้ คล้้องบ่่าขณะขี่่�ม้้า โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งในกิิจกรรมล่่าสััตว์์ จะสะดวกในการเป่่าสััญญาณเพื่่�อสื่่�อสาร
II. เพลงรัักใต้้หน้้าต่่าง “But here comes Turio; now must we to her window, and give some evening music to her ear.” จากบทละคร Two Gentlemen of Verona ของเชกสเปีียร์์ กลัับไปที่่�ยุุโรปสมััยกลาง พบการร้้องเพลงเกี้้�ยวสาวในแบบที่่�มีีเอกลัักษณ์์พิิเศษ คืือ การที่่� ชายหนุ่่�มแบกเครื่่�องดนตรีีจำำ�พวกกีีตาร์์ ไปเล่่นดนตรีีร้้องเพลงอยู่่�ใต้้หน้้าต่่างห้้องนอนหญิิงสาว
29
ส่่วนหญิิงสาวก็็โดนหนุ่่�มจีีบอยู่่�ไกล ๆ ไม่่ต้้องสััมผััสเนื้้�อต้้องตััวกััน เพีียงฟัังเพลงอยู่่�ในห้้อง หรืือ จะโผล่่หน้้าออกมาที่่�หน้้าต่่างก็็ได้้ การร้้องเพลงรัักยามเย็็นเช่่นนี้้� มีีศัพั ท์์เรีียกว่่า “เซเรเนด” (serenade) ซึ่ง่� ตััวอย่่างที่่�ช่่วยให้้ เห็็นภาพชััด ๆ ของเห็็นการร้้องเซเรเนดนี้้� ได้้แก่่ ฉากเพลง “Deh, vieni all finestra” (“Oh, Come to the Window”) จากอุุปรากร Don Giovanni (1787) ของ W. A. Mozart
การร้้องเพลงเช่่นนี้้�แผ่่ขยายจากโลกตะวัันตกไปยัังส่่วนอื่่�นของโลกด้้วย เช่่น การร้้อง Harana ในฟิิลิปิ ปิินส์์ ที่่�ได้้รับั อิิทธิิพลผ่่านสเปน โดยผู้้�ชายจะเดิินทางไปร้้องเพลงที่่�นอกหน้้าต่่างบ้้านผู้้�หญิิง อาจมีีเพื่่�อนมาเล่่นดนตรีีประกอบ หรืือร้้องเป็็นหมู่่�
30
III. จากสวรรค์์ถึึงเวนิิส “…but those who stood on the right had the greater glory, and they all praised with one voice, and there was a throne in the midst, and those who were on the left gave praise after them…” จาก The Ascension of Isaiah นอกจากดนตรีีนอกบ้้านแล้้ว ดนตรีีที่่�มีอิี ทิ ธิิพลกัับชีีวิติ ที่่�สุุดของผู้้�คนในสมััยกลางก็็คือื ดนตรีีใน โบสถ์์คริิสต์์ เราพบยุุคเริ่่�มต้้นของการร้้องเพลงสวดที่่�ลัักษณะการร้้องโต้้ตอบกัันระหว่่างกลุ่่�มนัักร้้อง (antiphonal) ซึ่่�งรัับเข้้ามาผ่่านวััฒนธรรมโบสถ์์ของชาวยิิว ว่่ากัันว่่า อิิกเนเชีียสแห่่งแอนติิออก (Ignatius of Antioch) เป็็นผู้้�ผลัักดัันการร้้องเพลงโต้้ตอบระหว่่างนัักร้้องสองกลุ่่�มในโบสถ์์มา ตั้้�งแต่่ช่ว่ งศตวรรษที่่� ๒ เพราะท่่านนิิมิติ เห็็นเทวดาแบ่่งกลุ่่�มซ้้าย-ขวา ร้้องสรรเสริิญพระตรีีเอกา นุุภาพ และเชื่่�อว่่ามนุุษย์์ก็็ควรร้้องสรรเสริิญในลัักษณะเดีียวกัันนี้้�ด้้วย การแบ่่งกลุ่่�มของเทวดาร้้องเพลงสรรเสริิญนี้้� น่่าจะปรากฏอย่่างยิ่่�งใหญ่่ที่่�สุดุ ในบทกวีี Paradiso (1320) บทที่่� ๒๘ ของ Dante ที่่�อธิิบายลำำ�ดัับขั้้�นของเทวดา จััดเป็็น ๓ กลุ่่�มใหญ่่ ในแต่่ละ กลุ่่�มใหญ่่มีี ๓ กลุ่่�มย่่อย รวมกัันเป็็น ๙ กลุ่่�ม กระจายอยู่่�บนวงแหวนขั้้�นต่่าง ๆ ไล่่ขึ้้�นไป “I heard them sing hosanna choir by choir…” จาก The Divine Comedy ภาค Paradiso ของ Dante
เทวดา ๙ กลุ่่�ม (ไม่่ทราบที่่�มาของภาพ)
อัันที่่�จริิงลัักษณะของการร้้องแบบ antiphonal นี้้� พบเห็็นมาได้้ตั้้�งแต่่สมััยกรีีกโบราณ ยุุคที่่� การละครเฟื่่�องฟูู มีีการนำำ�คอรััสมาใช้้เป็็นกลุ่่�มตััวละครที่่�มีีบทบาทในเรื่่�อง บางครั้้�งก็็มีีการแบ่่ง คอรััสออกเป็็นกลุ่่�ม แล้้วพููดหรืือร้้องบทในลัักษณะโต้้ตอบกััน (อาจมีีการเต้้นรำ��ไปด้้วย) บางครั้้�ง ก็็เป็็นคอรััสโต้้ตอบกัับนัักแสดงเดี่่�ยว 31
ในวััฒนธรรมพื้้�นบ้้าน เราก็็พบการดนตรีีลัักษณะนี้้�อยู่่�มากมายเช่่นกััน อย่่างในบััลกาเรีีย ก็็ พบว่่าในช่่วงคืืนคริิสต์์มาสอีีฟและวัันคริิสต์์มาส กลุ่่�มผู้้�ชายจะไปร้้องเพลงตามบ้้านเพื่่�ออวยพร (carol) มีีลักั ษณะการขัับร้้องแบบ antiphonal (และมัักอยู่่�ในอััตราจัังหวะผสมเช่่น 5/16 7/16 9/16) หรืือเพลงร้้อง-เต้้นรำ��บางประเภทนั้้�นก็็มีลัี กั ษณะการร้้องโต้้ตอบโดยนัักร้้องหญิิงสองกลุ่่�ม ซึ่ง่� มีีการแบ่่งกลุ่่�มขัับร้้องตามลัักษณะสีีสันั ของเสีียง โดยแบ่่งเป็็นเสีียง “ใส” กัับเสีียง “ขุ่่�น” ซึ่ง่� ส่่วนใหญ่่ เป็็นความแตกต่่างของเนื้้�อเสีียงที่่�เกิิดจากช่่วงอายุุ ส่่วนในศาสนาของอีีกซีีกโลกหนึ่่�ง คืือ ฮิินดูู ในพิิธีศี าสนามีีเพลงสวดสรรเสริิญชนิิดหนึ่่�งเรีียกว่่า กีีรตััน (สัันสกฤต: कीीर्ततन) ที่่�มีีลัักษณะโต้้ตอบแบบ antiphonal ระหว่่างผู้้�นำำ�ร้้องกัับกลุ่่�มผู้้�ร้้อง
ด้้านใน St. Mark’s Basilica
การโต้้ตอบในโบสถ์์กลายมาเป็็นการแบ่่งนัักร้้องประสานเสีียงเป็็นสองกลุ่่�ม ร้้องเพลงโต้้ตอบ กััน ลัักษณะเพลงแบบนี้้�ถููกพััฒนาไปถึึงยุุครุ่่�งเรืืองที่่�สุุดที่่�เมืืองเวนิิส ในศตวรรษที่่� ๑๖ โดยเฉพาะ อย่่างยิ่่�งที่่�มหาวิิหารซานมาร์์โค หรืือเซนต์์มาร์์ค ซึ่ง่� มีีลัักษณะพิิเศษ ได้้แก่่ การมีีแนวระเบีียงชั้้�น สองที่่�ซัับซ้้อน วนรอบด้้านในของโบสถ์์ ตรงบริิเวณประกอบพิิธีีมีีออร์์แกน ๒ หลััง ตั้้�งอยู่่�ซ้้าย กัับขวา จึึงเกิิดการแบ่่งวงร้้องประสานเสีียงไว้้ประจำำ�บนระเบีียงเหนืือออร์์แกนแต่่ละเครื่่�อง ต่่อ มาก็็มีกี ารใช้้เครื่่�องดนตรีีเข้้ามาแทนนัักร้้องบ้้าง จนเกิิดวงดนตรีีตั้้�งแยกกัันสองฝั่่�งขึ้้�นมา เกิิดเป็็น สเตอริิโอซ้้าย-ขวา ให้้ผู้้�เข้้าร่่วมพิิธีีฟัังกัันอย่่างเพลิิดเพลิิน แต่่ไหน ๆ ก็็มีีระเบีียงล้้อมรอบเสีีย ขนาดนั้้�นแล้้ว การสร้้างเพลงสำำ�หรัับวงขัับร้้อง/วงดนตรีี จึึงมิิได้้หยุุดอยู่่�แค่่สองวง แต่่เป็็นสาม สี่่� ห้้า ฯลฯ รอบโบสถ์์ กลายเป็็นเสีียงเซอร์์ราวนด์์ในห้้องปิิด ยุุคสมััยก่่อนลำำ�โพงที่่�น่่าทึ่่�ง การเล่่น/ ร้้องแบบแยกวงแบบนี้้� มีีศัพั ท์์เรีียกว่่า “โพลีีคอราล” (polychoral) โดยนัักแต่่งเพลงที่่�มีีชื่่�อเสีียง ด้้านดนตรีีโพลีีคอราลที่่�ซานมาร์์โคนี้้� ได้้แก่่ Giovanni Gabrieli
32
Canzon Primi Toni a 8 (1597) ของ Giovanni Gabrieli แบ่่งผู้้�เล่่น ๘ คน เป็็น ๒ ฝั่่�ง
33
IV. วัันพิิพากษา “The trumpet, casting a wondrous sound in tombs, Summons all before the throne.” จากเนื้้�อร้้องท่่อน Tuba Mirum ในเพลง Requiem วััฒนธรรมดนตรีีโพลีีคอราลแบบในโบสถ์์ซานมาร์์โคไม่่ได้้ถูกู พััฒนาต่่อยอดให้้กลายเป็็นรููปแบบ ดนตรีีที่่�เป็็นที่่�นิิยมในเวลาต่่อมา แต่่การแยกผู้้�เล่่นเป็็นหลายกลุ่่�มก็็ยังั พบเห็็นได้้ในดนตรีีคลาสสิิก ในศตวรรษต่่อ ๆ มา อย่่างในงานของ Handel พบการแบ่่งกลุ่่�มเครื่่�องดนตรีีในออร์์เคสตราที่่�แยก กลุ่่�มออกจากกัันใน Concerto a due cori หรืือการแบ่่งคอรััสออกเป็็น ๒ กลุ่่�ม ใน Israel in Egypt (1739) และ Solomon (1748) ส่่วน Bach นั้้�น แบ่่งกลุ่่�มทั้้�งออร์์เคสตราและคอรััสใน St. Matthew’s Passion (1727)
ภาพ The Last Judgement (1541) ของ Michelangelo
การแยกกลุ่่�มอีีกแบบหนึ่่�งที่่�เป็็นที่่�นิิยมมากขึ้้�น ได้้แก่่ การนำำ�กลุ่่�มเครื่่�องบราสไปกระจายกัันอยู่่� นอกเวทีี ในเพลง Requiem (หรืือเพลงสำำ�หรัับนัักร้้องประสานเสีียงและออร์์เคสตราที่่�ยึึดโครงสร้้าง จากพิิธีีสวดศพ) ของ Hector Berlioz (1837) และ Giuseppe Verdi (1874) นั้้�น พบการ ตั้้�งกลุ่่�มเครื่่�องบราสไว้้นอกเวทีี (ส่่วนใหญ่่มัักเป็็นระเบีียงชั้้�นบนของโรงละคร อาจแยกซ้้ายขวา หรืือตำำ�แหน่่งอื่่�น ๆ) ในท่่อน Dies Irae ที่่�ว่่าด้้วยวัันพิิพากษา ที่่�เมื่่�อเสีียงทรััมเป็็ตของเทวดาดััง ขึ้้�น วิิญญาณผู้้�ตายจะฟื้้�นขึ้้�นมารัับการพิิพากษา และนั่่�นคืือวัันที่่�อาณาจัักรโลกจะกลัับสู่่�การเป็็น อาณาจัักรของพระผู้้�เป็็นเจ้้า ส่่วนในซิิมโฟนีี หมายเลข ๒ (๑๘๙๕) ของ Gustav Mahler นั้้�น เสีียงของกลุ่่�มบราส (เครื่่�องเป่่าทองเหลืือง) นอกเวทีี ดัังขึ้้�นในท่่อนสุุดท้้าย ที่่�มาห์์เลอร์์เองก็็ได้้ ใส่่คำำ�บรรยายไว้้ถึึงจิินตภาพแห่่งวัันพิิพากษาเช่่นเดีียวกััน การใช้้เครื่่�องดนตรีีนอกเวทีีหรืือหลัังเวทีี (off-stage) นี้้� เป็็นซาวนด์์เอฟเฟกต์์ที่่�นักั แต่่งเพลง หลายคนรัับนำำ�มาใช้้เป็็นเทคนิิคในการสร้้างงาน เมื่่�อต้้องการสร้้างความรู้้�สึึกว่่าเสีียงนั้้�นเป็็น “เสีียง ไกล ๆ” เป็็นเสีียงที่่�แว่่วมา เสีียงจากฟากฟ้้า หรืือเทวดาพิิโรธ ตััวอย่่างของการใช้้ off-stage ที่่� โด่่งดััง นอกจากสองเพลงที่่�กล่่าวมาก็็มีี เช่่น Leonore Overture No. 2 & 3 ของ Ludwig van Beethoven, Pines of Rome ของ Ottorino Respighi (บราส ๗ ชิ้้�น), Eine Alpensinfonie 34
(12 horn, 2 trumpet, 2 trombone) ของ Richard Strauss และอื่่�น ๆ อีีกมากมาย นอกจากนี้้� การตั้้�งวงนอกเวทีีก็ยั็ งั อาจนัับรวมไปถึึงในการแสดงอุุปรากรเวลาที่่�วงออร์์เคสตรา ตั้้�งอยู่่�ในหลุุมหน้้าเวทีี (orchestra pit) แล้้วมีีวงแยกต่่างหากตั้้�งอยู่่�บนเวทีี โดยมีีหน้้าที่่�เล่่นอยู่่� ในเนื้้�อเรื่่�อง หรืือบรรเลงเป็็นเสีียงจากหลัังฉาก เช่่น Les Troyens ของ Hector Berlioz หรืือ งานจำำ�นวนหยิิบมืือใหญ่่ ๆ ของนัักแต่่งอุุปรากรอิิตาเลีียน อาทิิ Giovanni Paisiello, Gioachino Rossini, Giuseppe Verdi เป็็นต้้น [วงแบบนี้้�เรีียกว่่า “banda”] หรืืออย่่างในอุุปรากรของดุุริยิ กวีี ไทย เช่่น เรื่่�อง Helena Citronova (2020) ของสมเถา สุุจริิตกุุล ที่่�มีีวง klezmer ตั้้�งอยู่่�บนเวทีี V. ในห้้วง space (๑) การแยกกลุ่่�มเพื่่�อสร้้างเอฟเฟกต์์ของเสีียงเช่่นดัังที่่�กล่่าวมานี้้� ได้้ถููกพััฒนาไปจนถึึงการแยก วงดนตรีีที่่�เป็็นเอกเทศจากกัันมากขึ้้�น เช่่น ในงาน The Unanswered Question (1908) ของ Charles Ives ซึ่่�งบรรเลงด้้วยวงเครื่่�องสาย กลุ่่�มฟลุุต ๔ เครื่่�อง (หรืือเครื่่�องเป่่าลมไม้้ ๔ ชิ้้�น) และทรััมเป็็ต ๑ เครื่่�อง ตั้้�งกลุ่่�มแยกจากกััน และแต่่ละกลุ่่�มเล่่นด้้วยอััตราความเร็็ว (tempo) ที่่� ไม่่เท่่ากััน บทเพลงเสมืือนการถามตอบปััญหาแห่่งการดำำ�รงอยู่่� โต้้ตอบกัันระหว่่างกลุ่่�มเครื่่�องเป่่า กัับทรััมเป็็ต (บางครั้้�งการจััดตำำ�แหน่่งก็็แตกต่่างกัันไปตามวงที่่�แสดง) การให้้ความสนใจกัับ space ที่่�จริิงจัังมากขึ้้�นนี้้� ปรากฏอยู่่�ในงานของนัักแต่่งเพลงในศตวรรษ ที่่� ๒๐ คนอื่่�น ๆ เช่่น ในเพลง Gruppen (1957) สำำ�หรัับออร์์เคสตรา ๓ วง ของ Karlheinz Stockhausen มาจนถึึงงานของ Henry Brant นัักแต่่งเพลงชาวอเมริิกััน ที่่�ดููจะสนใจเรื่่�องของ space เป็็นพิิเศษ เขาสร้้างงานที่่�แบ่่งกลุ่่�มวงดนตรีีกระจายอยู่่�ในพื้้�นที่่�แสดงขึ้้�นมามากมายหลาย ชิ้้�น ตััวอย่่างเช่่น เพลง Antiphony I (1953) ใช้้วงออร์์เคสตราตั้้�งแยกกััน ๕ วง เพลง Voyage Four (1963) ใช้้วาทยกร ๓ คน กำำ�กัับกลุ่่�มเครื่่�องดนตรีีที่่�กระจายอยู่่�จุุดต่่าง ๆ ทั่่�วหอแสดง ตั้้�งแต่่บนเวทีี ล่่างเวทีี บนระเบีียง จุุดต่่าง ๆ รอบคนดูู แม้้กระทั่่�งในที่่�คนดูู! นอกจากนั้้�นก็็ยััง มีีเพลง Verical Ascending (1967) ที่่�ใช้้วงออร์์เคสตราเครื่่�องลมแยกกััน ๒ วง และเพลง Windjammer (1969) นั้้�น ให้้นัักดนตรีีเคลื่่�อนที่่�ขณะเล่่นด้้วย
เพลง Gruppen สำำ�หรัับออร์์เคสตรา ๓ วง ของ Stockhausen
35
การตั้้�งวงกลุ่่�มย่่อยแยกตามจุุดต่่าง ๆ ของสถานที่่�แสดงและนัักดนตรีีเคลื่่�อนที่่�ขณะเล่่นนี้้� ได้้ มารวมอยู่่�ในเพลง Circus Maximus (2004) ของ John Corigliano ที่่�ใช้้วงเครื่่�องลม (wind ensemble) ตั้้�งบนเวทีี มีีทรััมเป็็ตจำำ�นวนมากล้้อมรอบคนดููอยู่่�วงนอก มีีวงดนตรีีกลุ่่�มย่่อยล้้อม รอบคนดููอยู่่�วงในเข้้ามา และมีีวง Marching Band เดิินแถวเข้้ามาในหอแสดง [เพลงนี้้�เป็็นแรงบัันดาลใจให้้นักั แต่่งเพลงไทยรุ่่�นเยาวชนอย่่าง วิิษณ์์กมล ชััยวาณิิชศิิริิ ประพัันธ์์ Symphony No. 1 (2017) ที่่�ใช้้พื้้�นที่่�ลานแสดงกลางแจ้้งของวิิทยาลััยดุุริยิ างคศิิลป์์ มหาวิิทยาลััย มหิิดล ในการจััดแสดงงาน โดยที่่�มีีออร์์เคสตราตั้้�งบนเวทีีวงรีี ที่่�ล้้อมรอบด้้วยตึึก ๓ ด้้าน มีีวง ขนาดย่่อมหลากประเภท ตั้้�งแต่่วงเครื่่�องเป่่า วงแจ๊๊ส และวงดนตรีีไทย กระจายอยู่่�ตามมุุมตึึก] นอกจากนี้้� งานในลัักษณะเช่่นว่่า ก็็ปรากฏอยู่่�ในงานของนัักประพัันธ์์ชาวไทยรุ่่�นใหม่่อีกี ท่่าน คืือ ปิิยวััฒน์์ หลุุยลาภประเสริิฐ เช่่น ในงาน Surrounding Obsession (2015) ที่่�ตั้้�งวงแยก กลุ่่�มรอบผู้้�ชม และมีีนัักร้้องโซปราโนวิ่่�งไปวิ่่�งมาในหอแสดง ลัักษณะของการเล่่นกัับ space แบบนี้้� ต่่อมาเมื่่�อเกิิดการผสมกัับเทคโนโลยีี มีีการใช้้ลำำ�โพง และเครื่่�องขยายเสีียงเข้้ามามีีส่่วนร่่วม จึึงเกิิดเป็็นดนตรีีแบบที่่�เรีียกกัันอย่่างเป็็นทางการว่่า “Spatial Music” ขึ้้�น VI. ในห้้วง space (๒) การผสมผสานเทคโนโลยีีเข้้ากัับแนวคิิดเรื่่�อง space นั้้�น ถููกพาไปไกลถึึงขั้้�นสุุดโต่่งที่่�สุุดใน งาน Helicopter String Quartet (1991) ของ Stockhausen ที่่�ใช้้นัักเล่่นเครื่่�องสาย ๔ คน ขึ้้�นไปประจำำ�บนเฮลิิคอปเตอร์์ ๔ ลำำ� แล้้วแสดงจากบนฟ้้า มีีไมโครโฟนติิดอยู่่�ทั้้�งในและนอกตััว เฮลิิคอปเตอร์์ เพื่่�อจัับทั้้�งเสีียงดนตรีีและเสีียงใบพััด ภาพวิิดีีโอและเสีียงถููกถ่่ายทอดมายัังผู้้�ชม ในหอประชุุม
Helicopter String Quartet ของ Stockhausen
36
ถ้้าหากเทคโนโลยีีของมนุุษยชาติิไปไกลกว่่านี้้� ภาพการเล่่นดนตรีีเป็็นวงในอวกาศขณะขัับหุ่่�นยนต์์รบ เช่่นที่่�ปรากฏในแอนิิเมชัันญี่่�ปุ่่�นเรื่่�อง Macross 7 (1994) ก็็คงเป็็นไปได้้สัักวัันหนึ่่�ง
เนกกิิ บาซาร่่ า และผองเพื่่�อน ใช้้ เ ครื่่�องดนตรีี ใ นการควบคุุ ม หุ่่�นยนต์์ เ พื่่�อสู้้�รบในอวกาศ ใน Macross 7
ส่่วนในวัันนี้้� แม้้นักั ดนตรีีตามบ้้านอาจจะยัังไม่่สะดวกนั่่�งเฮลิิคอปเตอร์์เพื่่�อเล่่นเป็็นวงด้้วยกััน อาจจะพอติิดตั้้�งอิินเทอร์์เน็็ตแรง ๆ แล้้วเล่่นด้้วยกัันผ่่าน application ต่่าง ๆ แก้้ขััดไปก่่อน
37
MUSICOLOGY
คีีตกวีีเชื้้�อสายแอฟริิกััน ตอนที่่� ๑:
Black Mozart เรื่่�อง: กฤตยา เชื่่�อมวราศาสตร์์ (Krittaya Chuamwarasart) นัักข่่าวอิิสระ
เมื่่�อพููดถึึงคีีตกวีี ใบหน้้าที่่�มััก โผล่่เข้้ามาในความทรงจำำ�มัักเป็็น อััจฉริิยภาพผิิวขาว... แน่่นอนว่่า “ผิิวขาว” ในที่่�นี้้� คืือ คนที่่�มีีรูปู ร่่างหน้้าตาอย่่าง “ฝรั่่�ง” ที่่� เราคนไทยมัักเรีียกกััน จนวัันหนึ่่�ง ท่่ามกลางกระแส Black Live Matter ที่่�โหมรุุนแรงช่่วงปีี ๒๐๒๐ เราก็็นึกึ สงสััยว่่า แล้้วนัักดนตรีีเชื้้�อสายแอฟริิกันั ซึ่ง่� ในบทความนี้้�ขอเรีียกว่่า “ผิิวดำำ�” ล่่ะ พวกเขาไม่่มีีความเกี่่�ยวข้้อง สร้้าง คุุณููปการ หรืือมีีความสำำ�คััญกัับ ดนตรีีคลาสสิิกบ้้างเลยหรืือ? มั่่�นใจว่่า ถ้้าหากลองศึึกษาให้้ ดีีแล้้ว ย่่อมมีีคำำ�ตอบต่่อคำำ�ถามนั้้�น ... และรู้้�ว่่า เราละเลยบางอย่่าง รวมทั้้�งเผลอมองโลกด้้วยอคติิโดย ไม่่รู้้�ตัวั ด้้วยกรอบคิิดที่่�ได้้รับั มาจาก ฝรั่่�งผิิวขาว หากจะบอกว่่า ชนวนเหตุุของ กระแส Black Live Matter คืือ ภาพ ความทรมานของ George Floyd ชาวอเมริิกันั เชื้้�อสายแอฟริิกันั ในเงื้้�อม มืือตำำ�รวจ เขาเป็็นผู้้�ต้้องสงสััยที่่�กำำ�ลััง นอนราบกัับพื้้�น โดยมีีร่่างกายของ เจ้้าหน้้าที่่�ตำำ�รวจกดทัับอยู่่�เบื้้�องบน ท่่อนขากดลงช่่วงคอจนเขาไม่่อาจ หายใจได้้ ไม่่นานหลัังจากนั้้�นเขาก็็ เสีียชีีวิิต ในวััยเพีียง ๔๘ ปีีเท่่านั้้�น ... แน่่นอนว่่าความรุุนแรงที่่�เกิิดขึ้้�น นี้้�ไม่่ใช่่ครั้้�งแรกและครั้้�งสุุดท้้าย แต่่ 38
หากย้้อนมองไปยัังห้้วงสมััยที่่� ดนตรีีคลาสสิิกกำำ�ลัังเจริิญก้้าวหน้้า ก็็พบว่่ามีี “คีีตกวีีผิวิ ดำำ�” ที่่�ถููกมองข้้าม ทั้้�งที่่�พวกเขาเองก็็มีคี วามสามารถ และ ผลงานของพวกเขาก็็มีคี วามสำำ�คััญ ไม่่ยิ่่�งหย่่อนไปกว่่ากััน...
Joseph Bologne, Chevalier de Saint-Georges
“ความชััดเจน” ที่่�เกิิดขึ้้�นกลายเป็็น ชนวนเหตุุสำำ�คัญ ั ให้้ประชาชนออกมา เรีียกร้้องถึึงความไม่่เท่่าเทีียม การ เลืือกปฏิิบัติั ิ ซึ่ง่� ส่่งผลถึึงความตื่่�นตััว เรื่่�องสิิทธิิ เสรีีภาพ ของประชาชน ทั่่�วโลก กระนั้้�นแล้้ว ความโหดร้้ายและ การใช้้ความรุุนแรงของเจ้้าหน้้าที่่� ตำำ�รวจ ก็็ยัังคงปรากฏให้้เห็็น ในแวดวงดนตรีี เ องก็็ มีี ก าร เคลื่่�อนไหวที่่�เรีียกว่่า “Blackout Tuesday” เมื่่�อวัันที่่� ๒ มิิถุุนายน ๒๐๒๐ ที่่�ผ่่านมา ค่่ายเพลงและศิิลปิิน ชื่่�อดััง ประกาศหยุุดทำำ�การ ๑ วััน เพื่่�อแสดงเจตนารมณ์์ในการต่่อสู้้�เพื่่�อ ความเท่่าเทีียม และสนัับสนุุนกลุ่่�ม Black Lives Matter
Joseph Bologne, Chevalier de Saint-Georges (1745-1799) เขาถููกขนานนามว่่าเป็็น ‘le Mozart noir’ หรืือ ‘Black Mozart’ เพราะได้้รับั การยอมรัับว่่าเป็็นคนเชื้้�อ สายแอฟริิกันั คนแรกที่่�ได้้เป็็นคีีตกวีี เขาเกิิดในวัันคริิสต์์มาสของปีี ๑๗๔๕ ที่่� Guadeloupe เกาะในทะเล แคริิบเบีียน ที่่�มีีฐานะเป็็นแคว้้นของ ประเทศฝรั่่�งเศส พ่่อของโจเซฟเป็็น นายทาสเจ้้าของไร่่ผู้้�ร่ำ���รวย ขณะที่่� แม่่ก็เ็ ป็็นทาสชาวแอฟริิกันั ... ถ้้าใคร ได้้ดููภาพยนตร์์เรื่่�อง “12 Years a Slave” คงพอนึึกออกว่่าชีีวิติ ความ เป็็นอยู่่�ของทาสนั้้�นเป็็นอย่่างไร ผลงานของเขาส่่วนใหญ่่เป็็น ซิิมโฟนีี คอนแชร์์โต และสตริิงควอเท็็ต ทั้้�งยัังเป็็นผู้้�นำำ�วงออร์์เคสตราที่่�ดีี ที่่�สุุดคนหนึ่่�งในยุุโรป คืือ Concert des Amateurs ในมหานครปารีีส ที่่�จััดแสดงคอนเสิิร์์ตเป็็นประจำำ�ทุุก สััปดาห์์ กระทั่่�งได้้รัับการยกย่่อง จาก John Adams (1735-1826) ประธานาธิิบดีีสหรััฐ ว่่าเป็็น “ชาย
Monostatos ในอุุปรากรเรื่่�องขลุ่่�ยวิิเศษ จััดแสดงโดย National Opera of Wellington ที่่�นิิวซีีแลนด์์ เมื่่�อปีี ๑๙๙๙
ที่่�ประสบความสำำ�เร็็จที่่�สุุดในยุุโรป” บางทฤษฎีีบอกว่่า ช่่วงที่่�โจเซฟ ประสบความสำำ�เร็็จอย่่างมากในยุุโรป ตรงกัับช่่วงที่่� “โมสาร์์ท” กำำ�ลัังดิ้้�นรน ด้้วยความริิษยา เพื่่�อให้้ผลงานของ เขาเป็็นที่่�รู้้�จััก ขณะเดีียวกัันก็็มีีคน สัันนิิษฐานว่่า โมสาร์์ทได้้ไอเดีีย บางอย่่างจากงานของโจเซฟ มาใช้้ กัับเพลง Sinfonia concertante และใช้้ความอิิจฉาเป็็นแรงขัับใน การสร้้างตััวละครผิิวดำำ�สุุดร้้ายกาจ “Monostatos” ในอุุปรากรเรื่่�อง The Magic Flute (1791) แนวคิิดที่่�ว่่า จริิงแท้้แค่่ไหน ในอุุปรากรเรื่่�องดััง Monostatos คืือชาวมััวร์์ ตััวละครที่่�สะท้้อนถึึงการ เหยีียดผิิวที่่�เกิิดขึ้้�นในยุุโรปช่่วงปลาย
ศตวรรษที่่� ๑๘ การที่่� Monostatos ซึ่ง่� เป็็นผู้้�ดููแลวิิหาร Sarastro มีีผิวิ ดำำ� แตกต่่างจากผู้้�คนในยุุโรป ทำำ�ให้้เขา ถููกมองว่่าไม่่น่า่ ไว้้วางใจและเป็็นคน จิิตใจชั่่�วร้้าย ทั้้�งเมคอััพและคอสตููม ของตััวละครที่่�มัักจะแปลกประหลาด สกปรก ชวนให้้ผู้้�ชมรู้้�สึึกว่่าเขาไม่่ อาจเป็็นที่่�รัักของคนอื่่�นได้้ ลำำ�พััง ชื่่�อของเขาในภาษากรีีก ซึ่่�งตรงกัับ ภาษาอัังกฤษว่่า “Standing alone” ก็็สะท้้อนถึึงการเป็็นคนนอกและไม่่ เป็็นที่่�ยอมรัับของคนผิิวดำำ�ในยุุคนั้้�น ได้้เป็็นอย่่างดีี เมื่่�อเวลาผ่่านไป บริิษััทหรืือ คณะอุุปรากรก็็ต้้องประสบปััญหา ในการจััดแสดงอุุปรากรชื่่�อดัังเรื่่�อง นี้้� ขณะที่่�นัักวิิจารณ์์บางคนก็็ออก
มาตั้้�งคำำ�ถามว่่า ทำำ�ไมยัังมีีการแสดง เรื่่�องนี้้� (ทั้้�งที่่�มัันสะท้้อนการเหยีียด ผิิวอย่่างยากจะปฏิิเสธ) อุุปรากรเรื่่�องขลุ่่�ยวิิเศษเป็็นหนึ่่�ง ในโอเปร่่าที่่�ได้้รับั ความนิิยมมากที่่�สุุด ในประวััติศิ าสตร์์ดนตรีี แต่่ทว่่ากลัับ ถููกตั้้�งคำำ�ถามอย่่างมากในปััจจุุบันั กัับ การที่่�โมสาร์์ทสร้้างให้้ Monostatos ชาวมััวร์์ซึ่ง่� มีีผิวิ ดำำ�เป็็นตััวละครที่่�แย่่ เป็็นตััวแทนของความเลวร้้าย “ความ ต่ำำ��ช้้าและความขี้้ข� ลาด ตััวละครขี้้�แพ้้ ที่่�ถููกสร้้างขึ้้�นเพื่่�อให้้สอดคล้้องกัับ เชื้้�อชาติิของเขา” นี่่�เป็็นประโยคที่่� ปรากฏในอััตชีีวประวััติขิ องโมสาร์์ท ซึ่่�งเขีียนโดย Georg Nikolaus von Nissen สามีีคนที่่�สองของ Constanze Weber อดีีตภรรยา หม้้ายของโมสาร์์ท น่่าสงสััยว่่า บริิบททางสัังคม ของยุุโรปช่่วงปลายศตวรรษที่่� ๑๘ นั้้�นเป็็นอย่่างไร จนทำำ�ให้้โมสาร์์ท ไม่่ได้้ตั้้�งคำำ�ถาม ทั้้�งๆ ที่่�ก็็มีีความ คุ้้�นเคยและได้้รัับการยอมรัับอย่่าง สููงจากชาวแอฟริิกัันที่่�อาศััยในกรุุง เวีียนนาขณะนั้้�น หรืือแท้้จริิงแล้้วจะเป็็นแรงริิษยา ของโมสาร์์ทที่่�มีีต่อ่ โจเซฟ โบโลญ ที่่� เป็็นพลัังขัับเคลื่่�อนการสร้้างสรรค์์ ขลุ่่�ยวิิเศษ... นั่่�นก็็เป็็นสิ่่�งที่่�เราต้้องหา คำำ�ตอบ ตอนต่่อไป มาติิดตามชีีวิิต และผลงานของ โจเซฟ โบโลญ ว่่า สามารถเป็็นต้้นเหตุุให้้โมสาร์์ทอิจิ ฉา ได้้จริิงหรืือ
อ้้างอิิง https://www.jstor.org/stable/10.5325/soundings.102.4.0275?seq=1. https://blackcentraleurope.com/sources/1750-1850/the-character-monostatos-in-mozarts opera-the-magic-flute-1791/. https://www.classicfm.com/discover-music/black-composers-who-made-classical-music-history /?fbclid=IwAR09mdgWVA595ko5uiu_Pk0ytjSGg0nbyAVwXgaoUa7GH9tQzG14B133ndA. 39
PIANO REPERTOIRE
The place of Mozart’s sonatas in the piano repertoire Story: Sornsuang Tangsinmonkong (ศรสรวง ตั้้�งสิิ นมั่่�นคง) Piano Department, College of Music, Mahidol University
Mozart was a major composer in the classical period. His compositions varied in many genres such as operas, symphonies, concertos, etc. For his solo keyboard sonatas, Mozart composed at least 24 sonatas; 18 sonatas and 6 divertimenti. Compared to Haydn and Beethoven, the amount of his sonatas is less than both
composers. Although most of the Mozart’s sonatas first movement are in sonata-allegro form, there are some sonatas that do not follow the sonata-allegro form which presents progressiveness of Mozart’s compositional ideas which will be discussed later in the article. In this paper, I completely support that Mozart’s sonatas
should be taught and performed more frequently. Mozart’s sonatas are most frequently referred to by their Köchel (K.) catalog numbers. His keyboard sonatas composed in his second period, 1772-81, were originally catalogued according to Dennerlein.1 They are divided into three periods. His sonatas in
Newman, William S. “Haydn and Mozart.” In The Sonata in the Classic Era: The Second Volume of a History of the Sonata Idea, 478. Chapel Hill: University of North Carolina Press, 1963. 1
40
the earlier period are shorter and have a thinner texture than those of the later periods. Moreover, many of them were written for his students. Thus, these sonatas are not too difficult and suitable for teaching pieces, such as Sonata in C major, K. 545. However, some of them he composed for himself. This type of his sonata is much more difficult, requiring musical depth and techniques; for example, Sonata in D major, K. 576. Mozart’s sonatas as teaching repertoire are vital for students to learn articulation such as appoggiaturas, slurs, staccatos, etc. If the teachers have enough knowledge to teach, these sonatas will be good repertoire for their students to practice many types of articulations and become a good foundation for sonatas from other composers. Additionally, most of Mozart’s sonatas have three movements and the first movements often have a clear sonata-allegro form. Teachers can bring an example from his sonatas and explain what the traditional sonata-allegro form is and where the exposition, development, and recapitulation sections are. For developing students’ techniques, scales, arpeggios are extensively employed in Mozart’s sonatas. Moreover, his sonatas are suitable for young children’s hands because they have no extended intervals; for example, 9th, 10th and any larger ones. Another advantage of his sonatas is the keys of these sonatas are not too difficult to read. Even his last sonata, K. 576, one
of the most difficult ones, is in D major (only two sharps). In order to develop playing articulation, his sonatas are very good pieces for studying articulations; slurs and staccatos, and lyrical passages are found in his sonatas. Students will learn how to differentiate each touch. Not only traditional sonata-allegro form is found in the first movement, but theme and variations are also employed in his sonata; for instance, Sonata in A major, K. 331. Students will learn how Mozart composed theme and variation. In the 3rd movement of K. 331“Turkish March”, students have a chance to study gypsy or folk elements inside this movement. In my opinion, Mozart’s sonatas are good choices to contrast to other pieces in a recital. It is relaxed and light-hearted compared to the composers in the later periods; for example K. 330 in C major or K. 332 in F major. It is very interesting that many pianists think that Mozart sonatas are not difficult repertoire compared to other composers in later periods. However, I found that his sonatas are extremely difficult in terms of interpretation. Moreover, the light touch and articulations are not easy to play while playing on today’s modern pianos. I have attended many recitals featuring performances of Mozart’s sonatas. Many pianists played other composer pieces so well but not quite well in Mozart’s sonatas. Sometimes, their performance is not in the correct style; their sound is too serious, too much expression and also too
romantic. In addition, some of them are not careful in articulations and pedaling. For instance, unevenness of finger when performing the first movement of Sonata in D major K. 576 can interrupt the flow and the joyfulness of this sonata. In my point of view, Mozart sonatas are not easy repertoire. To perform well, articulation should be observed and studied carefully. I would suggest that pianists must be concerned about articulation when performing Mozart sonatas. In conclusion, I encourage teachers to and perform Mozart sonatas and teach these pieces to their students as well. His sonatas represent the beauty of the mainstream of classical sonatas and also show the foundation of sonatas in later periods.
41
ETHNOMUSICOLOGY
ประเพณีีเกี่่�ยวข้้าวไร่่ (กกบึ๊๊�ง) กลุ่่�มชาติิพัันธุ์์�กะเหรี่่�ยงโพล่่ง ตำำ�บลยางหััก อำำ�เภอปากท่่อ จัังหวััดราชบุุรีี เรื่่�อง: ธัันยาภรณ์์ โพธิิกาวิิน (Dhanyaporn Phothikawin) อาจารย์์ประจำำ�สาขาวิิชาดนตรีีศึึกษา วิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล ภาพ: นิิรวััจ อนุุรััตน์์ (Nirawat Anurat) รองผู้้�อำำ�นวยการโรงเรีียนโพธิ์์�คีีรีีราชศึึกษา ปัั ญญา พููพะเนีียด (Panya Pupanead) นัักวิิชาการช่่างศิิลป์์ชำำ�นาญการพิิเศษ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร
จัังหวััดราชบุุรีี มีีสภาพภููมิปิ ระเทศ ที่่�มีีความอุุดมสมบููรณ์์ให้้ชาวพื้้�น เมืืองหลายกลุ่่�มที่่�อาศััยอยู่่�บริิเวณ ชายแดนระหว่่างไทยและสาธารณรััฐ แห่่งสหภาพเมีียนมาอพยพเข้้ามาตั้้�ง รกราก ทำำ�ให้้เมืืองราชบุุรีีประกอบ ด้้วยชนหลายเชื้้�อชาติิ เสริิมให้้เมืือง ราชบุุรีีเป็็นศููนย์์รวมทางวััฒนธรรม ที่่�มีีความสำำ�คััญทางประวััติิศาสตร์์ และวััฒนธรรมของจัังหวััดราชบุุรีี ชาวกะเหรี่่�ยง เป็็นอีีกชนชาติิหนึ่่�ง ที่่�อพยพเข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานอยู่่�ในจัังหวััด ราชบุุรีี (สำำ�นัักงานจัังหวััดราชบุุรีี, ๒๕๖๒: ๑๙) กะเหรี่่�ยง เป็็นคำำ�ที่่� 42
คนไทยภาคกลางเรีียกผู้้�คนกลุ่่�มหนึ่่�ง ที่่�มีีภาษาและวััฒนธรรมหลายอย่่าง เป็็นแบบฉบัับเฉพาะตนเอง ภาษา พม่่าโบราณเรีียกชาวกะเหรี่่�ยงว่่า เกอะยาง หรืือกะยาง ในส่่วนของ ชาวกะเหรี่่�ยงราชบุุรีีจะมีีการเรีียก ตนเองว่่า หละโผล่่ง หรืือเหลอะโผล่่ง มีีความหมายว่่า คน หรืือมนุุษย์์ แต่่บางเอกสารที่่�กล่่าวถึึงกะเหรี่่�ยง ราชบุุรีีใช้้ว่่ากะโพล่่ง, โพล่่ง, โพล่่ว, โปว์์หรืือโป (วีีระพงศ์์ มีีสถาน, ๒๕๕๐) ชาวกะเหรี่่�ยงตำำ�บลยางหััก เป็็นกลุ่่�มชาติิพัันธุ์์�กะเหรี่่�ยงโพล่่ง ที่่�ได้้เข้้ามาอาศััยอยู่่�ในพื้้�นที่่�อำำ�เภอ
ปากท่่อ จัังหวััดราชบุุรีี ซึ่ง่� เป็็นกลุ่่�ม ชาติิพันั ธุ์์�ที่่�มีีความเป็็นเอกลัักษณ์์ทั้้�ง ในด้้านภาษา ประเพณีี พิิธีกี รรม ที่่� สะท้้อนถึึงวิิถีชีี วิี ติ และการดำำ�รงชีีพใน สัังคมเกษตรกรรม โดยมีีประเพณีี ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับวิิถีีชีีวิิตที่่�สำำ�คััญ คืือ ประเพณีีที่่�เกี่่�ยวกัับข้้าว ข้้าว เป็็นพืืชพัันธุ์์�ที่่�มีคี วามสำำ�คััญ ต่่อวิิถีีชีีวิติ และความเป็็นชุุมชนของ ชาวกะเหรี่่�ยง เพราะพิิธีกี รรมประเพณีี ต่่าง ๆ ล้้วนมีีข้า้ วเป็็นส่่วนประกอบ ที่่�สำำ�คััญ ชาวกะเหรี่่�ยงเชื่่�อว่่า ข้้าว มีีผู้้�ดููแลปกปัักรัักษา คืือ พระแม่่ โพสพ ซึ่ง่� เป็็นผู้้�มีีพระคุุณเทีียบเท่่า
ดัังแม่่ผู้้�เลี้้�ยงดููลููก ๆ ข้้าวจึึงมีีความ สำำ�คััญที่่�สุุดในชีีวิติ ของชาวกะเหรี่่�ยง ประเพณีีที่่�เกี่่�ยวกัับข้้าวของชาว กะเหรี่่�ยงเกิิดขึ้้�นต่่อเนื่่�องตลอดทั้้�งปีี เริ่่�มต้้นในช่่วงต้้นปีี ไปจนถึึงปลายปีี โดยในช่่วงแรกจะเป็็นการเลืือกพื้้�นที่่� ในการปลููก การฟัันไร่่ การเผาไร่่ การหยอดเมล็็ดข้้าว การดายหญ้้า และการเฝ้้าไร่่ จากนั้้�นเมื่่�อข้้าวเจริิญ เติิบโตเต็็มที่่�ก็็จะเข้้าสู่่�การเกี่่�ยวข้้าว ไร่่ และการทำำ�บุุญข้้าวใหม่่ต่่อไป ประเพณีี เ กี่่�ยวข้้ า วไร่่ เป็็ น ประเพณีีที่่�ชาวกะเหรี่่�ยงสืืบทอด กัันมานัับกว่่า ๑๐๐ ปีี เมื่่�อถึึงช่่วง
การเก็็บเกี่่�ยวข้้าว
หน้้าเกี่่�ยวข้้าว จะมีีการจััดเตรีียม อุุปกรณ์์และเครื่่�องสัักการบููชาสิ่่�ง ศัักดิ์์�สิิทธิ์์� การทำำ�พิิธีีจะนำำ�โดยผู้้�นำำ� หมู่่�บ้้านพร้้อมชาวกะเหรี่่�ยงที่่�จะแต่่ง กายด้้วยเสื้้�อผ้้าทอมืือ ซึ่่�งเป็็นชุุด ประจำำ�พื้้�นถิ่่�น แล้้วนำำ�อุุปกรณ์์การ เก็็บเกี่่�ยวข้้าวเปลืือกที่่�เรีียกว่่า “ปา” ใช้้สำำ�หรัับเก็็บข้้าวฟ่่อน และ “ไน” ใช้้สำำ�หรัับใส่่ข้า้ วเปลืือก รวมทั้้�ง “โง ใหญ่่” เป็็นอุุปกรณ์์ใส่่ข้า้ วฟ่่อน เพื่่�อ ใช้้แบกข้้าวฟ่่อนขึ้้�นบนห้้างสููง การเก็็ บ เกี่่�ยวข้้ า วของชาว กะเหรี่่�ยง จะเริ่่�มเก็็บเกี่่�ยวในเดืือน พฤศจิิกายนถึึงเดืือนธัันวาคม ในวัันที่่�
เก็็บเกี่่�ยว ชาวกะเหรี่่�ยงจะให้้ผู้้�อาวุุโส ในชุุมชนเกี่่�ยวข้้าวขึ้้�นมา ๓ ฟ่่อน เพื่่�อ เป็็นการให้้ความเคารพต่่อผู้้�ที่่�อาวุุโส กว่่า จากนั้้�นชาวกะเหรี่่�ยงที่่�เป็็นวััย หนุ่่�มสาวจะเริ่่�มเข้้ามาเกี่่�ยวข้้าว ในระหว่่างการเกี่่�ยวข้้าว ชาว กะเหรี่่�ยงจะนำำ�วััฒนธรรมดนตรีีเข้้า มาร่่วมประกอบประเพณีีด้ว้ ย “แคน” เป็็นเครื่่�องดนตรีีที่่�ชาวกะเหรี่่�ยงนิิยม นำำ�มาบรรเลงในงานต่่าง ๆ ซึ่ง่� ในการ เกี่่�ยวข้้าวครั้้�งนี้้� ก็็ได้้นำำ�แคนเข้้ามาร่่วม ด้้วย ท่่วงทำำ�นองของการเป่่าแคนจะ เน้้นท่่วงทำำ�นองที่่�มีีความสนุุกสนาน ครึึกครื้้�น ร่่วมไปกัับการขัับร้้องที่่� มีีเนื้้�อหาเกี่่�ยวกัับการเกี้้�ยวพาราสีี ระหว่่างหนุ่่�มสาวชาวกะเหรี่่�ยง เพื่่�อ สร้้างความสนุุกสนานรื่่�นเริิง สร้้าง ความบัันเทิิงในระหว่่างการทำำ�งาน นอกจากนี้้�ยัังเป็็นการสร้้างความ สามััคคีีระหว่่างการเกี่่�ยวข้้าวอีีกด้้วย เมื่่�อเก็็บเกี่่�ยวข้้าวเสร็็จแล้้ว ชาว กะเหรี่่�ยงจะนำำ�ข้้าวฟ่่อนแบกขึ้้�นไป บนห้้าง เรีียงเก็็บไว้้เป็็นแถว แล้้ว นำำ�กล้้วย อ้้อย ข้้าวห่่อ บุุหรี่่� และ หมากพลูู ใส่่กระเช้้า ขึ้้�นไปบููชาพระ แม่่โพสพ เพื่่�อความเป็็นสิิริมิ งคล ให้้ ชาวกะเหรี่่�ยงอยู่่�เย็็นเป็็นสุุข และมีี ความอุุดมสมบููรณ์์ในทุุก ๆ ปีี ชาว กะเหรี่่�ยงเชื่่�อว่่า กระเช้้า คืือ สายใย รัักของพระแม่่โพสพที่่�มีีต่อ่ ลููกหลาน เป็็นกระเป๋๋าเงิิน กระเป๋๋าทอง ที่่�ทำำ�ให้้ ลููกหลานอยู่่�ดีีมีสุี ขุ ความเชื่่�อดัังกล่่าว แสดงให้้เห็็นถึึงการปลููกฝัังค่่านิิยม ให้้ชาวกะเหรี่่�ยงรุ่่�นต่่อ ๆ ไปมีีความ กตััญญููกตเวทีี เคารพสำำ�นึึกคุุณค่่าต่่อ ข้้าวในฐานะเป็็นผู้้�มีีพระคุุณเทีียบเท่่า ดัังแม่่ผู้้�เลี้้�ยงดูู และประเพณีีดังั กล่่าว ยัังสอดแทรกความเคารพนอบน้้อม ต่่อผู้้�อาวุุโสและเคารพต่่อธรรมชาติิ สร้้างความผููกพัันและเอื้้�ออาทรต่่อ กัันให้้เกิิดขึ้้�นภายในชุุมชนอีีกด้้วย
43
น้ำำ��ใจ การช่่วยเหลืือเกื้้�อกููลซึ่่�งกััน และกััน โดยการนำำ�วััฒนธรรมทาง ดนตรีีที่่�เป็็นเอกลัักษณ์์ ทำำ�หน้้าที่่� เป็็นสื่่�อกลางในการเชื่่�อมโยงและหล่่อ หลอมคนในชุุมชนเข้้าด้้วยกััน เพื่่�อ สร้้างความสมััครสมานสามััคคีีให้้ เกิิดขึ้้�นในหมู่่�บ้้านได้้อีีกด้้วย ดัังนั้้�น ประเพณีีเกี่่�ยวข้้าวไร่่ (กกบึ๊๊�ง) ของ กลุ่่�มชาติิพันั ธุ์์�กะเหรี่่�ยงโพล่่ง ตำำ�บล ยางหััก อำำ�เภอปากท่่อ จัังหวััด ราชบุุรีี จึึงเป็็นประเพณีีสำำ�คััญที่่�จะ เสริิมสร้้างความเข้้มแข็็งทางสัังคม และวััฒนธรรมให้้แก่่กลุ่่�มชาติิพัันธุ์์� ได้้ในอนาคต
การเก็็บเกี่่�ยวข้้าว
จากนั้้�นนำำ�ข้้าวฟ่่อนมานวดข้้าว ซึ่่�งจะทำำ�บนห้้างลัักษณะสููง มีีบันั ได ไม้้สูงู เมื่่�อถึึงเวลานััดหมายก็็จะช่่วย กัันนวด ช่่วยกัันฟาด เพื่่�อให้้เมล็็ด ข้้าวได้้หล่่นลงตามร่่องไม่่ไผ่่มาด้้าน ล่่าง ที่่�มีีผืืนรำ��แพนใหญ่่ที่่�สานจาก ไม้้ไผ่่ปููรองไว้้ คนที่่�อยู่่�ด้้านล่่างก็็จะ ใช้้พััดโบกเพื่่�อให้้ข้้าวเปลืือกที่่�เป็็น เมล็็ดลีีบปลิิวออกจากกอง จาก นั้้�นจึึงขนนำำ�ไปใส่่กะล่่อมข้้าว เพื่่�อ เตรีียมจััดพิิธีีกิินข้้าวใหม่่อีีกครั้้�งใน เดืือนมกราคม เป็็นอัันเสร็็จพิิธีีใน การเก็็บเกี่่�ยวข้้าวไร่่ 44
จากการศึึกษาประเพณีีเกี่่�ยวข้้าว ไร่่ของชาวกะเหรี่่�ยงชาติิพันั ธุ์์�โพล่่งใน จัังหวััดราชบุุรีี พบว่่า ประเพณีีดััง กล่่าวสะท้้อนให้้เห็็นถึึงความคิิด ความเชื่่�อ และความศรััทธาของชาว กะเหรี่่�ยงที่่�มีีต่่อสิ่่�งศัักดิ์์�สิิทธิ์์�ที่่�ตน เคารพบููชา รวมทั้้�งความเคารพต่่อ ธรรมชาติิที่่�สััมพัันธ์์กัับวิิถีีชีีวิิตของ ชาวกะเหรี่่�ยงมาอย่่างยาวนาน เพื่่�อให้้หมู่่�บ้้านที่่�ตนอาศััยอยู่่�เกิิด ความร่่มเย็็นเป็็นสุุขและมีีความ อุุดมสมบููรณ์์ นอกจากนี้้� ประเพณีี ดัังกล่่าวยัังแสดงให้้เห็็นถึึงความมีี
ชาวกะเหรี่่�ยงเป่่าแคนในระหว่่างการเกี่่�ยวข้้าว
เอกสารอ้้างอิิง กาฝาก บุุ ญเปรืื อง สัั มภาษณ์์ เมื่่�อวัันที่่� ๒๓ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓. มุุทิติ า มหาลาภก่่อเกีียรติิ สััมภาษณ์์ เมื่่�อวัันที่่� ๒๓ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓. โกวิิท แก้้วสุุวรรณ. (๒๕๔๓). ทู่่�รู่่�เหมย เบี่่�ย: กิิจกรรมจารีีตประเพณีีของ กะเหรี่่ย� งโป. วารสารมหาวิิทยาลััย ศิิลปากร ปีีที่่� ๑๙-๒๐ ฉบัับที่่� ๑. ๑๓๓-๑๖๓. คณะนิิสิติ คณะครุุศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย ราชภััฏบ้้านสมเด็็จเจ้้าพระยา. (๒๕๕๓). การศึึกษาสำำ�รวจ ชุุมชนกะเหรี่่�ยง บ้้านห้้วยน้ำำ�� หนััก อำำ�เภอสวนผึ้้�ง จัังหวััด ราชบุุ รีี . คณะครุุ ศ าสตร์์ มหาวิิทยาลััยราชภััฏบ้้านสมเด็็จ เจ้้าพระยา. วีีระพงศ์์ มีีสถาน. (๒๕๕๐). คน ราชบุุรี.ี ราชบุุรี:ี ธรรมรัักษ์์การ พิิมพ์์จำำ�กััด. สยามรััฐ. https://siamrath. co.th/n/117605 เข้้าถึึงเมื่่�อ วัันที่่� ๒๓ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓. สำำ�นัักงานจัังหวััดราชบุุรี.ี (๒๕๖๒). แผนพััฒนาจัังหวััดราชบุุรีี พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔ (ฉบัับทบทวนปีี พ.ศ. ๒๕๖๒). ราชบุุรี:ี สำำ�นัักงาน จัังหวััดราชบุุรีี. ศููนย์์วัฒ ั นธรรม ไทย-กะเหรี่่�ยง ตำำ�บล ยางหััก อ.ปากท่่อ จ.ราชบุุรีี. https://www.facebook. com/permalink.php?story_fb id=2706371992913974& id=1734214863463030 เข้้า ถึึงเมื่่�อวัันที่่� ๒๓ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓.
ห้้างที่่�เก็็บข้้าวฟ่่อน
45
REVIEW
A Celebration of International Unity (27-28 November 2020) เรื่่�อง: ธีีรนััย จิิระสิิ ริิกุุล (Teeranai Jirasirikul) อาจารย์์ผู้้�ประสานงานสาขาวิิชาเปีียโน โรงเรีียนเตรีียมอุุดมดนตรีี วิิทยาลััยดุุริิยางคศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล
หลัังจากที่่�วงดุุริยิ างค์์ฟีลี ฮาร์์โมนิิก แห่่งประเทศไทย หรืือ Thailand Phil ต้้องปิิดการแสดงไป เนื่่�องจาก สถานการณ์์การระบาดของไวรััส โคโรนาสายพัันธุ์์� ๒๐๑๙ ทำำ�ให้้เหล่่า มิิตรรัักแฟนเพลง รวมถึึงนัักดนตรีี ในวง ห่่างหายจากหอประชุุมมหิิดล สิิทธาคารไปนาน แต่่ในวัันศุุกร์์ที่่� ๒๖ พฤศจิิกายน ๒๕๖๓ ที่่�ผ่่านมา ผู้้�คน ทั้้�งหลาย นัักเรีียนดนตรีี และนััก ดนตรีีในวง ต่่างก็็ตื่่�นเต้้นที่่�จะกลัับ มาเฉิิดฉายบนเวทีีนี้้�อีีกครั้้�ง การ แสดงเปิิดฤดููกาลครั้้�งนี้้�มาในชื่่�อ A 46
Celebration of International Unity เป็็นการนำำ�เสนอบทเพลงจากนานา ประเทศทุุกทวีีปทั่่�วโลกจำำ�นวน ๑๒ บทเพลง พร้้อมกัับบทเพลงเปีียโน คอนแชร์์โต หมายเลข ๒๓ ในบัันได เสีียง A major ของ W. A. Mozart เป็็นการแสดงที่่�สื่่�อถึึงความร่่วมมืือ ความมีีน้ำำ��ใจจากทุุกประเทศทั่่�วโลก ที่่�พร้้อมใจกัันฟัันฝ่่าอุุปสรรคโรค ระบาดครั้้�งยิ่่�งใหญ่่ของมวลมนุุษยชาติิ นี้้�ไปให้้จงได้้ คอนเสิิร์ต์ นี้้�ได้้รับั เกีียรติิจากบรม ครููเปีียโนของประเทศไทย อาจารย์์
ณััฐ ยนตรรัักษ์์ มาเป็็นแขกรัับเชิิญ ในการบรรเลงบทเพลงคอนแชร์์โต หมายเลข ๒๓ ในบัันไดเสีียง A major ของ W.A. Mozart อาจารย์์ ณััฐเป็็นนัักเปีียโนและเป็็นครููที่่�มีีชื่่�อ เสีียงทั้้�งในระดัับประเทศและระดัับ นานาชาติิ และยัังคงแสดงผลงาน อย่่างสม่ำำ��เสมอ อีีกทั้้�งอาจารย์์ณััฐ เป็็นคนไทยคนแรกที่่�ได้้รัับตำำ�แหน่่ง Steinway Artist อีีกด้้วย ในค่ำำ��คืืนนี้้� อาจารย์์ณัฐั บรรเลงร่่วมกัับวง Thailand Phil เป็็นครั้้�งแรก โดยใช้้คอนเสิิร์์ต แกรนด์์เปีียโนยี่่�ห้้อ Yamaha สำำ�หรัับ
ผู้้�เขีียนที่่�ติิดตามผลงานอาจารย์์ณัฐั มาตั้้�งแต่่เด็็ก รู้้�สึึกแปลกตา เพราะ โดยปกติิอาจารย์์ณัฐั จะเล่่นบนเปีียโน ยี่่�ห้้อ Steinway and Sons จน กลายเป็็นภาพชิินตา เมื่่�ออาจารย์์ เล่่นบนเปีียโนยี่่�ห้้อ Yamaha เลยมีี ความรู้้�สึึกแปลกใจไปบ้้าง อีีกอย่่าง อาจารย์์ณััฐไม่่ได้้บรรเลงร่่วมกัับ ออร์์เคสตรามานานเกืือบ ๕ ปีี ครั้้�งนี้้� จึึงเป็็นครั้้�งที่่�พิิเศษมากสำำ�หรัับมิิตรรััก แฟนเพลงที่่�ติิดตามผลงานอาจารย์์ ณััฐมาโดยตลอด บทเพลงคอนแชร์์โต หมายเลข ๒๓ นี้้� เป็็นผลงานที่่�ประพัันธ์์ขึ้้�นในช่่วง เวลาเดีียวกัันกัับอุุปรากรเรื่่�อง The Marriage of Figaro ซึ่ง่� บทเพลง เปีียโนคอนแชร์์โตนี้้�แสดงออกถึึง ความสุุขุุมและความละเมีียดละไม มากกว่่าผลงานอื่่�นที่่�เป็็นที่่�รู้้�จัักใน ลัักษณะเปิิดเผย แจ่่มใส และเป็็น เด็็กตลอดกาล บทเพลงขึ้้�นต้้นด้้วย ทำำ�นองหลัักที่่�บรรเลงโดยออร์์เคสตรา ซึ่่�งน้ำำ��เสีียงของวง Thailand Phil ครั้้�งนี้้�แลดููทึึบ ๆ ไม่่สดใสในแบบที่่� ควรจะเป็็นในบทเพลงยุุคคลาสสิิก
และเมื่่�อแนวเปีียโนบรรเลงขึ้้�น น้ำำ�� เสีียงของเปีียโนมีีลักั ษณะที่่�ใหญ่่และ หนา เมื่่�อรวมกัับวงออร์์เคสตราจึึง ทำำ�ให้้บทเพลงแลฟัังดููหนัักไปบ้้าง แต่่ โดยรวมความคล่่องแคล่่วของนิ้้�วนััก เปีียโนและออร์์เคสตราประสานงาน กัันได้้พร้้อมเพรีียงดีี ถึึงแม้้จังั หวะที่่� เลืือกเล่่นนั้้�นอาจจะฟัังดููช้้าไปกว่่า คำำ�ว่่า Allegro แต่่อาจารย์์ณััฐก็็ ทดแทนด้้วยการบรรเลงให้้มีน้ำำ�� ี เสีียง ที่่�ชััดเจนและดัังกัังวาน จนสามารถ ทะลุุทะลวงออกจากวงออร์์เคสตรา มาได้้อย่่างน่่าทึ่่�ง เพราะหลายครั้้�ง การแสดงเปีียโนคอนแชร์์โตนั้้�น วง ออร์์เคสตราที่่�มีีขนาดใหญ่่มักั มีีเสีียง ดัังกว่่าโซโลอิิสต์์ ทำำ�ให้้บางช่่วงของ บทเพลงนั้้�น เสีียงวงจะกลบเสีียง เปีียโน แต่่ในครั้้�งนี้้� ความสมดุุลของ เสีียงระหว่่างเปีียโนและออร์์เคสตรา เป็็นไปด้้วยดีี ในกระบวนที่่� ๒ ท่่อน Adagio เปีียโนบรรเลงขึ้้�นมาในบัันไดเสีียง F-sharp minor ด้้วยทำำ�นองที่่�สุุขุมุ อ่่อนหวาน อาจารย์์ณััฐบรรเลงได้้ อย่่างลึึกซึ้้�ง อิิสระ และเปี่่�ยมไป
ด้้วยประสบการณ์์ มีีประโยคเพลง ที่่�สวยงามในแบบฉบัับของดนตรีี ยุุคคลาสสิิก ช่่วงท้้ายที่่�มีีการรัับส่่ง กัันระหว่่างเปีียโนและแนวโซโลของ แต่่ละเครื่่�องในวง ซึ่่�งความเชื่่�อมต่่อ นั้้�นน่่าจะทำำ�ได้้ต่อ่ เนื่่�องดีีกว่่านี้้� ทั้้�งใน เรื่่�องของน้ำำ��เสีียงและลีีลาการบรรเลง ของแต่่ ละเครื่่�องดนตรีี เปีี ยโน ซึ่่�งเป็็นตััวเชื่่�อมโยงระหว่่างเครื่่�อง ดนตรีีเหล่่านั้้�น จึึงมีีบทบาทสำำ�คััญ ที่่�นอกเหนืือจากการบรรเลงเดี่่�ยว เป็็นตััวเอกเพีียงอย่่างเดีียว ในกระบวนที่่� ๓ Allegro assai มีีจัังหวะที่่�เร็็วและสนุุกสนานที่่�สุุด มีีลีีลาของทำำ�นองที่่�เปี่่�ยมไปด้้วย ความเป็็นเด็็ก หยอกล้้อ ขี้้�เล่่น และ ซุุกซน ซึ่่�งอาจารย์์ณััฐในวััย ๖๖ ปีี บรรเลงด้้วยน้ำำ��เสีียงดัังกัังวานและ เป็็นประกาย ทำำ�ให้้บทเพลงกระบวน นี้้�อาจจะแสดงถึึงความโอ่่อ่า่ สง่่างาม ไปมากกว่่าความซุุนซน ผนวกด้้วย น้ำำ��เสีียงของเปีียโนที่่�มีีความใหญ่่หนา และการจััดเสีียงที่่�ไม่่ค่อ่ ยจะโปร่่งใส นััก จึึงทำำ�ให้้บทเพลงนี้้�ฟัังดููราวกัับ ว่่าเป็็นโมสาร์์ทที่่�ค่่อนข้้างอายุุมาก 47
และแก่่ประสบการณ์์ แต่่อย่่างไร ก็็ตาม ความสดใสของเสีียงดนตรีี ความแพรวพราวของเทคนิิคการ บรรเลง และพลัังบวกอัันยิ่่�งใหญ่่ของ โมสาร์์ท ก็็แสดงให้้เห็็นอย่่างเด่่นชััด ในการแสดงนี้้� ในครึ่่�งหลัังของการแสดง เป็็น บทเพลงที่่�คััดสรรมาเพื่่�อเป็็นตััวแทน ของนานาประเทศทั่่�วโลก ผู้้�เขีียน จะขอหยิิ บ ยกเพีี ย งเฉพาะบาง บทเพลงที่่�น่่าสนใจและไม่่ค่่อยเป็็น ที่่�รู้้�จัักกััน มาให้้ผู้้�อ่่านได้้ทำำ�ความ รู้้�จััก บทเพลงแรกเป็็นตััวแทนของ ประเทศไทย Celebration ประพัันธ์์ โดย ดร.ณรงค์์ ปรางค์์เจริิญ คณบดีี วิิทยาลััยดุุริยิ างคศิิลป์์ มหาวิิทยาลััย มหิิดล ของเรานี่่�เอง บทเพลงนี้้�ได้้แรง บัันดาลใจจากความสััมพัันธ์์ไทย-จีีน ที่่�มีีมาอย่่างยาวนาน บทเพลงเริ่่�มต้้น ด้้วยความอลัังการที่่�ยิ่่�งใหญ่่ของเสีียง เครื่่�องเป่่าทองเหลืือง (brass) ใน 48
ลัักษณะของการประโคม (fanfare) โดยมีีเครื่่�องเป่่าลมไม้้ (woodwind) และเครื่่�องกระทบ (percussion) บรรเลงกลุ่่�มโน้้ตในบัันไดเสีียงห้้าเสีียง (pentatonic scale) อย่่างรวดเร็็ว ซึ่่�งเป็็นบัันไดเสีียงที่่�พบในบทเพลง พื้้�นบ้้านของประเทศทั้้�งสอง บทเพลง
มีีความเคลื่่�อนไหวเปลี่่�ยนแปลงอย่่าง รวดเร็็วและมีีขนาดกะทััดรััด แต่่เต็็ม ไปด้้วยสีีสันั มากมายของเครื่่�องดนตรีี และมีีเนื้้�อหาที่่�ครบถ้้วน เพลงต่่อมา Spring Festival Overture ประพัันธ์์ โดย Li Huanzhi นัักประพัันธ์์เพลง ชาวจีีน เปิิดตััวอย่่างยิ่่�งใหญ่่ด้ว้ ยเสีียง
เครื่่�องสายที่่�บรรเลงบนบัันไดเสีียง ห้้าเสีียงของจีีน ที่่�เปี่่�ยมไปด้้วย ความสุุขและการแสดงออกถึึงการ เฉลิิมฉลองของงานเทศกาลตรุุษจีีน ด้้วยเครื่่�องดนตรีีฉาบจีีน (Chinese cymbal) สร้้างบทเพลงให้้มีน้ำำ�� ี เสีียง ที่่�เป็็นเอกลัักษณ์์และสามารถรู้้�ได้้
ทัันทีีเลยว่่าบทเพลงนี้้�เป็็นตััวแทน ของประเทศอะไร เพลงต่่อมาจากประเทศสเปน La Boda de Luis Alonso ประพัันธ์์ โดย Geronimo Gimenez ลัักษณะ เด่่นของบทเพลงนี้้�คืือ ลัักษณะของ จัังหวะเต้้นรำ��พื้้�นบ้้านในรููปแบบของ
Malaguena ซึ่่�งมีีการดำำ�เนิินจัังหวะ และคอร์์ดที่่�ซ้ำำ��กัันเป็็นเอกลัักษณ์์ เสีียงของเครื่่�องสายที่่�ดีีดคล้้ายกัับ การเล่่นของกีีตาร์์ และการนำำ�เครื่่�อง เคาะอย่่าง Castanets ซึ่่�งเป็็นเครื่่�อง ดนตรีีพื้้�นบ้้านของสเปนมาใช้้ ทำำ�ให้้ บทเพลงนี้้�มีีน้ำำ��เสีียงเหมืือนเพลงพื้้�น บ้้าน ให้้อารมณ์์ของการเต้้นรำ��เฉลิิม ฉลองของชาวเมืืองที่่�สนุุกสนาน อีีกบทเพลงที่่�ประทัับใจผู้้�เขีียน อย่่างมากคืือ Danzon No. 2 ของ นัักประพัันธ์์ชาวเม็็กซิิโก Arturo Marquez บทเพลงมีีลีีลาจัังหวะ พื้้�นบ้้านที่่�มีีเสน่่ห์์ ด้้วยเครื่่�องดนตรีี Clave ในตอนต้้นชวนให้้นึกึ ถึึงเพลง จากละครเพลงอมตะเรื่่�อง West Side Story ทำำ�นองแรกที่่�ดููล่อ่ งลอย นั้้�นเป็็นทำำ�นองหลัักที่่�จะวนกลัับมา ตลอด แต่่จะแตกต่่างกัันไปในแต่่ละ ครั้้�ง ในช่่วงที่่�สองบทเพลงค่่อยๆ ทวีีคููณความรุุนแรงมากขึ้้�นเรื่่�อย ๆ 49
ด้้วยจัังหวะที่่�เร่่าร้้อนและตื่่�นเต้้นนั้้�น ชวนให้้ผู้้�ฟัังขยัับตััวและมีีอารมณ์์ ไปกัับบทเพลง ผู้้�เขีียนนึึกถึึงความ เร่่าร้้อนของนัักเต้้นพื้้�นบ้้านสตรีีเพศ ที่่�มีีลวดลายการเต้้นรำ��ที่่�เย้้ายวนใจดั่่�ง 50
ความเผ็็ดร้้อนของพริิกเม็็กซิิโก มีีเสน่่ห์์ที่่�สามารถดึึงดููดสายตาของ ผู้้�ชมให้้หลงกลติิดตามเธออย่่างไม่่ สามารถละสายตาไปได้้ และมีีลูกู เล่่น การผ่่อนหนัักผ่่อนเบาของอารมณ์์
เพลง ทำำ�ให้้เธอคนนั้้�นสามารถสร้้าง ความตราตรึึงใจได้้อย่่างไม่่ซ้ำำ��ใคร บทเพลงสุุดท้้ายเป็็นบทเพลง Overture to Candide ผลงานของ Leonard Bernstein นัักประพัันธ์์
เพลงและวาทยกรชาวอเมริิกััน ที่่� ประสบความสำำ�เร็็จในทุุกด้้านของแง่่ มุุมดนตรีี บทเพลงนี้้�เป็็นบทโหมโรง จากจุุลอุุปรากรเรื่่�อง Candide ซึ่ง่� บท โหมโรงนั้้�นมีีชื่่�อเสีียงอย่่างมาก และ ได้้นำำ�ไปบรรเลงในคอนเสิิร์์ตต่่าง ๆ ทั่่�วโลก เพลงนี้้�มีีอััตราจัังหวะที่่� ประหลาด มีีประโยคเพลงขาด ๆ เกิิน ๆ มีีจัังหวะตกอยู่่�ผิิดที่่�ผิิดทาง
ทั้้�งนี้้�วง Thailand Phil บรรเลงออก ของวง Thailand Phil ทำำ�ให้้แฟน มาฟัังแลดููง่า่ ยและรื่่�นหููนักั เสมืือนว่่า เพลงได้้อิ่่�มหนำำ�สำำ�ราญเบิิกบานใจ ทุุกคนรู้้�จักั บทเพลงนี้้�เป็็นอย่่างดีี อีีก ไปตาม ๆ กััน ทั้้�งยัังบรรเลงด้้วยความเร็็วที่่�เหมาะ สม ฟัังดููง่า่ ยดายยิ่่�งนััก ทำำ�ให้้การจบ คอนเสิิร์์ตในค่ำำ��คืืนนี้้�อิ่่�มเอมไปด้้วย ความรู้้�สึึกรื่่�นเริิงยิินดีี ด้้วยบทเพลง ที่่�คััดสรรมาอย่่างหลากหลายจำำ�นวน มาก ผนวกกัับการบรรเลงที่่�ทรงพลััง
51
REVIEW
นำำ�ชม พื้้�นที่่� “เสีียง” (และอื่่�น ๆ) อัันไร้้พรมแดน ในงาน Thailand New Music and Arts Symposium (TNMAS) 2020 เรื่่�อง: จิิตร์์ กาวีี (Jit Gavee) อาจารย์์ประจำำ�สาขาวิิชาดนตรีี คณะมนุุษยศาสตร์์และสัั งคมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยราชภััฏอุุดรธานีี
เสีียงในสัังคมมนุุษย์์ เป็็นองค์์ ประกอบหนึ่่�งที่่�ทำำ�ให้้สัังคมเจริิญ ก้้าวหน้้า เป็็นทั้้�งความทรงจำำ�ที่่� บัันทึึกเรื่่�องราวทางประวััติิศาสตร์์ สร้้างสุุนทรีียรส และยัังเป็็นอะไรได้้ อีีกหลายประการ กล่่าวได้้ว่า่ เสีียง เป็็นปััจจััยหนึ่่�งในชีีวิิตมนุุษย์์ที่่�แยก ออกจากกัันไม่่ได้้ ในสัังคมปััจจุุบััน ที่่�เปิิดกว้้าง มีีเทคโนโลยีีที่่�พััฒนา รุุดหน้้า และมีีทรััพยากรมนุุษย์์ที่่�
52
มีีความคิิดริิเริ่่�มสร้้างสรรค์์ไปตาม สิ่่�งรอบตััวที่่�มีีการพััฒนา ย่่อมไม่่ใช่่ เรื่่�องแปลกที่่�จะเกิิดพื้้�นที่่�นำำ�การนำำ� เสนอเสีียงจากความคิิดเหล่่านั้้�น นัักประพัันธ์์ดนตรีีถืือเป็็นผู้้� สร้้างงานดนตรีี เป็็นผู้้�ที่่�ใช้้เสีียงเป็็น วััตถุุดิบิ หลัักในการสร้้างสรรค์์ หาก พิินิิจดููจะพบว่่า นัักประพัันธ์์ดนตรีี ในช่่วงยุุคใหม่่ในรอบหนึ่่�งร้้อยปีีที่่� ผ่่านมานี้้� ได้้มีีการหยิิบจัับวััตถุุดิิบ
หนึ่่�งซึ่ง่� เป็็นหลัักหมายสำำ�คััญของการ ประพัันธ์์ดนตรีีสมััยใหม่่ นั่่�นคืือ เสีียง จาก “อิิเล็็กทรอนิิกส์์” อัันเป็็นเสีียง จากเทคโนโลยีีที่่�พััฒนาโดยมนุุษย์์ เป็็นการนำำ�วิิทยาการและความรู้้�ทาง วิิทยาศาสตร์์มาประยุุกต์์ใช้้ให้้เกิิด ประโยชน์์ในทางปฏิิบััติิ ปรากฏให้้ เห็็นเป็็นงานเพลงดนตรีีที่่�ใช้้เสีียงจาก เทคโนโลยีีเหล่่านี้้�โดยคีีตกวีีหลายท่่าน เช่่น Karlheinz Stockhausen, John
Cage, Steve Reich, Alexander Schubert เป็็นต้้น การสร้้างสรรค์์งานเพลงดนตรีี โดยใช้้เทคโนโลยีีแพร่่หลายไปยััง ทุุกภููมิิภาคทั่่�วโลก เกิิดการปะทะ ทางวััฒนธรรมในพื้้�นที่่�นั้้�น ๆ ทำำ�ให้้ สีีสััน รููปแบบ การเล่่าเรื่่�องนั้้�นแตก ต่่างกัันไปตามแต่่ละพื้้�นที่่� รวมไปถึึง ในประเทศไทย ในช่่วงปลายปีี พ.ศ. ๒๕๖๓ ที่่� ผ่่านมา แม้้เป็็นช่่วงเวลาอัันแสนหนััก หน่่วงจากการระบาดของ COVID-19 แต่่ก็ไ็ ด้้มีกี ารสร้้างพื้้�นที่่�เล็็ก ๆ ที่่�ใช้้นำำ� เสนอ ศึึกษาเรีียนรู้้�ร่ว่ มกััน และสร้้าง ประสบการณ์์แก่่ผู้้�มีีส่ว่ นร่่วมทุุกคน ในรููปแบบของการประชุุมสััมมนาและ เทศกาลทางดนตรีีที่่�ชื่่�อว่่า Thailand New Music and Arts Symposium 2020 จััดขึ้้�นโดยกลุ่่�มที่่�เรีียกตนว่่า
โครงการ Thailand Music and Art Organization (TMAO) ซึ่ง่� จััด ขึ้้�นในวัันที่่� ๑๘-๒๐ ธัันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ หอศิิลปวััฒนธรรมแห่่ง กรุุงเทพมหานคร (Bangkok Art and Culture Centre: BACC) เปิิดให้้เข้้าชมโดยไม่่เสีียค่่าใช้้จ่า่ ย ผู้้� เขีียนได้้เข้้าร่่วมและสัังเกตการณ์์ใน กิิจกรรมดัังกล่่าวทั้้�งสามวััน โอกาส นี้้�จึึงจะขอนำำ�ท่่านผู้้�อ่่านเข้้าไปรู้้�จััก ศึึกษาเรีียนรู้้� และทำำ�ความเข้้าใจกัับ พื้้�นที่่�ของเสีียงใหม่่แห่่งนี้้� รู้้�จััก Thailand New Music and Arts Symposium 2020 ฉบัับย่่นย่่อ งาน Thailand New Music and Arts Symposium 2020 เป็็นงาน สััมมนาทางดนตรีีควบรวมกัับการ จััดงานแบบเทศกาลดนตรีีสมััยใหม่่
นำำ�เสนองานตั้้�งแต่่งานที่่�มีีแนวคิิด สมััยใหม่่เกี่่�ยวกัับมนุุษยศาสตร์์ เทคโนโลยีี โดยเฉพาะเสีียงที่่�มา จากอิิเล็็กทรอนิิกส์์ รวมถึึงผลงาน แนวคิิดเชิิงลึึกที่่�จำำ�ลองหรืือสื่่�อถึึง ความสััมพัันธ์์ระหว่่างมนุุษย์์และ เครื่่�องจัักรกล มีีแม่่งานสำำ�คััญคืือ มููลนิิธิดิ นตรีีและศิิลปะสมััยใหม่่แห่่ง เอเชีียอาคเนย์์ (Southeast Asia New Music and Art Foundation) ร่่วมกัับโครงการ Thailand Music and Art Organization (TMAO) โดยศิิลปิินผู้้�อำำ�นวยการและทำำ�หน้้าที่่� ภััณฑารัักษ์์ในการจััดงานครั้้�งนี้้� คืือ ปิิยวััฒน์์ หลุุยลาภประเสริิฐ ศิิลปิิน นัักประพัันธ์์ผู้้�ประสบความสำำ�เร็็จใน เวทีีระดัับนานาชาติิมากมาย การจััดงานครั้้�งนี้้�เกิิดจากการ จััดเทศกาลครั้้�งก่่อนหน้้า ที่่�เป็็นการ
53
พััฒนารููปแบบดนตรีีสมััยใหม่่ชื่่�อ ว่่า New Orient Music - Score Online, New Music Workshop and Streaming เมื่่�อวัันที่่� ๒๕-๒๖ สิิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ที่่�เป็็นการ เปิิดพื้้�นที่่�ศึึกษารููปแบบของดนตรีี สมััยใหม่่ โดยมุ่่�งเน้้นให้้เยาวชนไทยได้้ พััฒนางานดนตรีีสมััยใหม่่ของตนเอง นำำ�โดยเยาวชนนัับสิิบคน ซึ่่�งเป็็นผู้้� ชนะในปีีต่า่ ง ๆ ของรางวััลยอดเยี่่�ยม สาขาการประพัันธ์์ดนตรีี โครงการ รางวััลยุุว ศิิลปิินไทย สนัับสนุุนโดย มููลนิิธิิเอสซีีจีี ซึ่่�งเป็็นการประกวด การประพัันธ์์ดนตรีีสมััยใหม่่และงาน ศิิลปะด้้านอื่่�น ๆ ที่่�ได้้สร้้างบุุคลากร ทางดนตรีี (สมััยใหม่่) ไว้้ประดัับ วงการ เป็็นที่่�รู้้�จัักในระดัับชาติิและ นานาชาติิมากมาย ภายหลัังการ จััดงานในครั้้�งนี้้� แรงบัันดาลใจและ ความรู้้�ในการเวิิร์์กชอปก็็ได้้ถููกนำำ� มาต่่อยอดในงาน Thailand New Music and Arts Symposium 2020 กล่่าวได้้ว่่า เยาวชนไทยมีี 54
บทบาทเป็็นอัันมากต่่อวงการดนตรีี สมััยใหม่่ในประเทศไทยยุุคปััจจุุบััน อย่่างชััดเจน Thailand New Music and Arts Symposium 2020 จััดขึ้้�น ภายใต้้แนวคิิด มนุุษย์์ เทคโนโลยีี และการจำำ�ลองเสมืือน (human technology simulation) ปิิยวััฒน์์ ได้้กล่่าวในฐานะศิิลปิินผู้้�อำำ�นวยการ และภััณฑารัักษ์์ว่า่ การจััดงานในครั้้�ง นี้้� มองไกลไปจากมุุมมองที่่�ว่่าดนตรีี คืือดนตรีี แต่่มองในมุุมที่่�ว่่าในปััจจุุบันั นี้้�เทคโนโลยีีถืือเป็็นส่่วนสำำ�คััญของ ชีีวิติ มนุุษย์์ ในทุุกวัันทั่่�วทั้้�งโลก การ จััดงานในครั้้�งนี้้�จึึงเป็็นเสมืือนการจััด เตรีียมผลงานที่่�ตอบคำำ�ถามอัันเกี่่�ยว กัับการนำำ�เสนอความเป็็นมนุุษย์์ การ ประยุุกต์์ใช้้เทคโนโลยีีที่่�มีีอยู่่� และ สร้้างจำำ�ลองขึ้้�นเพื่่�อนำำ�เสนอออกมา เป็็นรููปธรรม จึึงถืือเป็็นโอกาสที่่�ดีีทั้้�ง ต่่อตััวศิิลปิินเองและตััวผู้้�ชม ที่่�การ จััดงานครั้้�งนี้้� จะทำำ�ให้้ตระหนัักถึึง การดำำ�รงอยู่่�ของมนุุษย์์ ไปจนถึึงได้้
ทบทวนถึึงการใช้้เทคโนโลยีีในสัังคม โลกปััจจุุบััน แน่่นอนว่่าในงานนี้้�ยััง เป็็นการกระตุ้้�นความอยากรู้้�อยาก เห็็นจนเกิิดเป็็นการสร้้างสรรค์์งาน ดนตรีี ศิิลปะ และเทคโนโลยีี แก่่ มนุุษยชาติิต่่อไป Thailand New Music and Arts Symposium 2020 ได้้มีีการ แบ่่งกิิจกรรมออกเป็็น ๔ ส่่วน ได้้แก่่ ส่่วนเวทีีการสััมมนาและอภิิปราย กลุ่่�ม (discussion panel) เกี่่�ยวกัับ ดนตรีี มนุุษย์์ เทคโนโลยีี (และอื่่�น ๆ) ส่่วนของการแข่่งขััน International Composition Institute of Thailand (ICIT) ส่่วนนิิทรรศการ และส่่วนการ แสดงคอนเสิิร์ต์ งานดนตรีีสมััยใหม่่ที่่� ผ่่านการเลืือกสรรมาแล้้ว นอกจากนั้้�น ยัังได้้มีกี ารร่่วมมืือกัับชมรมหุ่่�นยนต์์ แห่่งสถาบัันเทคโนโลยีีพระจอมเกล้้า เจ้้าคุุณทหารลาดกระบัังเป็็นส่่วน หนึ่่�งของนิิทรรศการที่่�ทำำ�ให้้การจััด งานครั้้�งนี้้�มีีสีีสัันมากยิ่่�งขึ้้�น
การสััมมนาและอภิิปรายกลุ่่�ม แม้้ว่า่ สถานการณ์์การแพร่่ระบาด ของ COVID-19 จะทำำ�ให้้ทั้้�งโลกหยุุด ชะงััก โดยเฉพาะวงวิิชาการดนตรีี ที่่�มีีความจำำ�เป็็นต้้องหยุุดเดิินทาง ระหว่่างประเทศเพื่่�อความปลอดภััย แต่่สถานการณ์์ดังั กล่่าวก็็เปิิดโอกาส ให้้มนุุษย์์ได้้ใช้้งานเทคโนโลยีีมาก ขึ้้�น ในการจััดงานครั้้�งนี้้�มีีส่่วนของ การสััมมนาและอภิิปรายกลุ่่�ม ซึ่่�ง บรรดาผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิหลายท่่านเป็็น ชาวต่่างชาติิพำำ�นัักอยู่่�ต่่างประเทศ จึึงเป็็นครั้้�งแรกของเทศกาลนี้้�ที่่�ใน ส่่วนการสััมมนาได้้ใช้้วิธีิ กี ารอภิิปราย กลุ่่�มผ่่านการประชุุมระบบออนไลน์์ เป็็นการย่่อโลกให้้แคบลงแต่่ยังั คงได้้ เนื้้�อหาสาระที่่�สมบููรณ์์ไม่่ขาดตก บกพร่่อง จากผู้้�ร่่วมสนทนาส่่งตรง ถึึงผู้้�ชม ทั้้�งนี้้� มิิใช่่เฉพาะการสนทนา เท่่านั้้�น แต่่การแสดงต่่าง ๆ ทางผู้้� จััดงานก็็ได้้ดำำ�เนิินการบัันทึึกและ ถ่่ายทอดสดผ่่านช่่องทางออนไลน์์ อย่่าง YouTube ทำำ�ให้้ผู้้�สนใจเข้้า ร่่วมงานแม้้จะอยู่่�ห่่างไกลก็็สามารถ
เข้้าร่่วมได้้เพีียงแค่่ปลายนิ้้�วสััมผััส เท่่านั้้�น ท่่านผู้้�อ่่านทุุกท่่านสามารถ รัับชมทั้้�งการสััมมนา อภิิปรายกลุ่่�ม และการแสดงทั้้�งหมดย้้อนหลัังได้้ทุกุ รายการใน YouTube channel ชื่่�อ Thailand New Music and Arts Symposium TMAO กลัับมาที่่�ประเด็็นการสััมมนา และอภิิปรายกลุ่่�ม ได้้มีีหััวข้้อและ ประเด็็นน่่าสนใจมากมาย ไม่่ว่า่ จะเป็็น Sound Installation and Multimedia Art, Humanity VS Technology, Evolution of Today’ Sonology, Technological Simulations เป็็นต้้น มีีผู้้�ร่่วมอภิิปรายมากมายหลาย ท่่านจากทั่่�วโลกมาร่่วมแลกเปลี่่�ยน มุุมมองและความคิิดเห็็นกััน เช่่น Miles Fridays นัักประพัันธ์์ชาว อเมริิกััน Masafumi Rio Oda นััก ทดลองดนตรีีอิเิ ล็็กทรอนิิกส์์ชาวญี่่�ปุ่่�น ดร.ภมรพรรณ โกมลภมร วาทยกร ชาวไทย Karl Friedrich Gerber นัักประพัันธ์์และนัักประดิิษฐ์์ชาว เยอรมััน เป็็นต้้น
ในส่่วนของการสััมมนาและ อภิิปรายกลุ่่�ม ได้้สร้้างประเด็็น คำำ�ถามและการร่่วมกัันหาคำำ�ตอบ ระหว่่างผู้้�สนทนาได้้อย่่างน่่าสนใจ คำำ�ถามสำำ�คััญในงานที่่�ผู้้�เขีียนเห็็น ว่่าเป็็นประเด็็นที่่�ได้้รัับการถกเถีียง มานานและก็็น่่าจะยัังคงมีีการถก เถีียงต่่อไปคืือคำำ�ถามว่่า ท้้ายที่่�สุุด แล้้วเทคโนโลยีีจะแทนที่่�มนุุษย์์ใน การสร้้างงานศิิลปะได้้หรืือไม่่ ใน ทััศนะของผู้้�เขีียนเห็็นว่่า สิ่่�งที่่�แน่่นอน ที่่�สุุดในปััจจุุบัันนี้้�ก็็คืือ เทคโนโลยีี กัั บ มนุุ ษ ย์์ ข้้ อ งเกี่่�ยวกัั น จนแทบ จะแยกออกไม่่ได้้ เพราะนััยหนึ่่�ง เทคโนโลยีีคืือการใช้้ความคิิดความ สร้้างสรรค์์ของมนุุษย์์ผสมกัับองค์์ ความรู้้�ทางวิิทยาศาสตร์์ รัังสรรค์์ ออกมาเป็็นวิิทยาการเพื่่�ออำำ�นวย ความสะดวกแก่่มนุุษย์์อีีกทีี และ แน่่นอนอีีกว่่าเทคโนโลยีีเหล่่านี้้�จะยััง คงพััฒนาต่่อเนื่่�องไม่่มีวัี นั หยุุด คำำ�ถาม เรื่่�องการ “แทนที่่�” กััน อาจไม่่ใช่่ สาระสำำ�คััญเท่่าคำำ�ถามที่่�ว่่า มนุุษย์์ และเทคโนโลยีีจะพึ่่�งพากัันและ
55
นำำ�พาสัังคมให้้มีีคุุณภาพที่่�สุุดได้้ รอบแข่่งขัันนี้้� ผ่่านการคััดเลืือกทาง อย่่างไร ต่่างหาก ออนไลน์์ โดยคณะกรรมการผู้้�ทรง คุุณวุุฒิิ จนเหลืือผู้้�เข้้ารอบจำำ�นวน ๖ International Composition Institute คน จากประเทศต่่าง ๆ ได้้แก่่ เยอรมนีี of Thailand (ICIT) ฝรั่่�งเศส โรมาเนีีย สกอตแลนด์์ และ กิิ จกรรมสำำ�คัั ญหนึ่่�งคืื อการ สิิงคโปร์์ แข่่งขัันผลงานการประพัันธ์์เพลง ภายในงานได้้มีกี ารจััดเตรีียมวง สมััยใหม่่ โดยนัักประพัันธ์์จากทั่่�วทุุก ดนตรีีสมััยใหม่่ คืือ วง Tacet(i) ซึ่่�ง มุุมโลก บทเพลงที่่�นำำ�มาบรรเลงใน เป็็นวงดนตรีีชาวไทยที่่�มีีประสบการณ์์
56
การบรรเลงเพลงสมััยใหม่่มาอย่่าง โชกโชน มีีผลงานเป็็นที่่�ประจัักษ์์ใน ระดัับนานาชาติิ จึึงไม่่จำำ�เป็็นต้้องกัังขา ถึึงคุุณภาพดนตรีี หรืือการแก้้ปัญ ั หา เฉพาะหน้้าของวง ในการแข่่งขััน งานประพัันธ์์ครั้้�งนี้้� คณะกรรมการ ได้้เลืือกผลงาน ๖ ชิ้้�น จากนัับร้้อย ชิ้้�นในรอบคััดเลืือกมาบรรเลงรอบ ตััดสิินนี้้� ได้้แก่่ Geisterschatten
โดย Jakob Stillmark, Thickness โดย Jonas Regnier, The Art of Baroque โดย Kevin Lang, limen โดย Kevin Leomo, iridescent shadows โดย Toh Yan Ee และ Dream Sequence โดย Yuting Tan หากกล่่าวโดยรวมเกี่่�ยวกัับ บทเพลงในการแข่่งขัันครั้้�งนี้้� กล่่าว ได้้ว่่า ครบเครื่่�อง ด้้วยเป็็นเพลงที่่� อยู่่�ในการแข่่งขััน ย่่อมผลัักดัันให้้นักั ประพัันธ์์ต่า่ งหยิิบนำำ�วััตถุุดิบิ รอบตััว ของตนมาพััฒนาเป็็นไม้้เด็็ดเข้้าร่่วม การแข่่งขััน ทำำ�ให้้แต่่ละบทเพลงมีี เอกลัักษณ์์ชััดเจน จุุดร่่วมที่่�แต่่ละ บทเพลงมีีคล้้ายคลึึงกัันก็็คืือ การ หยิิบนำำ�เสีียงอิิเล็็กทรอนิิกส์์ให้้เข้้ามา มีีบทบาทในบทเพลง สะท้้อนให้้เห็็น ถึึงแนวคิิดทางดนตรีีอิเิ ล็็กทรอนิิกส์์ที่่� เป็็นที่่�สนใจในกลุ่่�มนัักประพัันธ์์เพลง สมััยใหม่่เป็็นอัันมาก ด้้วยความหลาก หลาย ลููกเล่่น ที่่�สามารถพลิิกแพลง ได้้ตลอดเวลา อาจกล่่าวได้้ว่่าเป็็น อีีกหนึ่่�งเสน่่ห์ข์ องวััตถุุดิบิ ทางดนตรีี
ประเภทนี้้� งานเพลงและผู้้�ชนะในการแข่่งขััน ได้้แก่่ งานเพลง Thickness สำำ�หรัับ ฟลุุต คลาริิเน็็ต เครื่่�องกระทบ กีีตาร์์ ไฟฟ้้า เปีียโน และเชลโล เป็็นบท ประพัันธ์์ของ Jonas Regnier นััก ประพัันธ์์หนุ่่�มชาวฝรั่่�งเศส โดยผู้้� ชนะจะได้้เงิินรางวััลจำำ�นวน ๑,๐๐๐ เหรีียญสหรััฐ พร้้อมสััญญาจ้้างในการ ประพัันธ์์เพลงสำำ�หรัับการจััดงาน นี้้�ในปีีต่่อไป เทคโนโลยีี-สัังคีีตนิิทรรศ ในการจััดงานครั้้�งนี้้� ยัังได้้มีกี าร เปิิดพื้้�นที่่�สำำ�หรัับจััดแสดงนิิทรรศการ ที่่�ผนวกรวมทั้้�งเรื่่�องศิิลปะ มนุุษย์์ เทคโนโลยีี และดนตรีี เข้้าไว้้ด้ว้ ยกััน นิิทรรศการที่่�ผู้้�เขีียนสนใจเป็็นพิิเศษ มาจากกลุ่่�มน้้อง ๆ นัักศึึกษาที่่�มาจาก สถาบัันเทคโนโลยีีพระจอมเกล้้าเจ้้า คุุณทหารลาดกระบััง ที่่�ใช้้เครื่่�องกล ประเภทต่่าง ๆ นำำ�เสนอออกมาใน รููปแบบของนวััตกรรม เช่่น Swam
Ottobot หุ่่�นยนต์์ที่่�ถููกออกแบบมา ให้้ใช้้ระบบปฏิิบััติิการตามเวลาจริิง (Real time Operating System: RTOS) ทำำ�ให้้ตััวหุ่่�นสามารถตอบ สนอง รัับรู้้� และสร้้างเสีียงต่่าง ๆ ขึ้้�นได้้จากสภาพแวดล้้อมรอบตััว งาน Musical Tesla Coil ก็็ เป็็นอีีกงานหนึ่่�งที่่�น่่าสนใจ ซึ่่�งได้้รัับ แรงบัันดาลใจมาจากขดลวดของ เทสลา (Nikola Tesla) มาสัังเคราะห์์ สร้้างออกมาเป็็นเสีียงดนตรีี แม้้สิ่่�งนี้้� จะไม่่ใช่่เรื่่�องใหม่่เสีียทีีเดีียวเพราะมีี ตััวอย่่างที่่�เคยทำำ�มาก่่อนหน้้า อย่่าง เช่่นงานของ Franzoli Electronics ในช่่องทาง YouTube ที่่�นำำ�ขดลวด เทสลานี้้�มาสร้้างสรรค์์เป็็นงานดนตรีี เสีียงอิิเล็็กทรอนิิกส์์ที่่�ฟัังดููสดใหม่่ น่่าตื่่�นตา กวาดยอดรัับชมไปนัับ ล้้าน แต่่อย่่างไรก็็ตาม การปรากฏ ตััวของขดลวดของเทสลา ในงาน Thailand New Music and Arts Symposium 2020 แม้้ไม่่ใช่่งานที่่� หวืือหวาเทีียบเท่่าต่่างประเทศที่่�ทำำ� 57
ออกมาอย่่างจริิงจัังเป็็นอาชีีพสร้้าง รายได้้ แต่่ก็เ็ ป็็นชิ้้�นงานที่่�สร้้างความ อยากรู้้�อยากเห็็นแก่่ผู้้�ชมได้้ไม่่น้้อย นิิทรรศการผนวกรวมเทคโนโลยีี ต่่าง ๆ ให้้ยึดึ โยงกัับเรื่่�องของดนตรีี ที่่� ผู้้�เขีียนขอตั้้�งชื่่�อให้้เองว่่า “เทคโนโลยีี -สัังคีีตนิิทรรศ” ที่่�จััดแสดงในงาน Thailand New Music and Arts Symposium 2020 ครั้้�งนี้้� ยัังมีีผลงาน จััดแสดงอีีกหลายชิ้้�นที่่�น่่าสนใจ แต่่ น่่าเสีียดายที่่�หน้้ากระดาษมีีจำำ�กััด ขอกล่่าวโดยสรุุปได้้ว่่า การจััดทำำ� นิิทรรศการทำำ�นองนี้้� ถืือว่่าเป็็นความ แปลกใหม่่และท้้าทายต่่อตััวผู้้�จััดไม่่ น้้อย ในการนำำ�ศาสตร์์ที่่�ดูเู หมืือนจะห่่าง ไกล (แต่่หากพิินิจิ ดููแล้้วนิิทรรศการ ทั้้�งหมดเหล่่านี้้�ล้้วนเป็็นสาระที่่�ยึึดโยง ซึ่่�งกัันและกัันอยู่่�แล้้ว) มาเสิิร์ฟ์ ให้้ผู้้� เข้้าชมงานในรููปแบบองค์์ความรู้้�แฝง ความบัันเทิิงที่่�ย่่อยง่่าย ไม่่สลัับซัับ ซ้้อน และแน่่นอนว่่าได้้สร้้างความ ประทัับใจให้้แก่่ผู้้�เข้้าร่่วมหลายท่่าน อย่่างแน่่นอน 58
เสีียง สีี ภาพ และการแสดง กิิจกรรมการแสดงดนตรีี เป็็น กิิจกรรมที่่�ไม่่พูดู ถึึงไม่่ได้้ เพราะตลอด ช่่วงเวลาสามวัันของการจััดงาน อััด แน่่นไปด้้วยการแสดงดนตรีีคุณ ุ ภาพ ทั้้�งเป็็นการแสดงสดต่่อหน้้าผู้้�ชม และการแสดงแบบ Live Stream ส่่งตรงมายัังผู้้�ชมจากทั่่�วทุุกมุุมโลก โดยทางผู้้�จััดงานได้้กำำ�หนดและแบ่่ง การแสดงเป็็นหััวข้้อต่่าง ๆ ซึ่ง่� ล้้วน เกี่่�ยวข้้องกัับมนุุษย์์ เทคโนโลยีี และ การจำำ�ลองเสมืือน ไม่่ว่า่ จะเป็็นหััวข้้อ Space from Afar with Cornell Contemporary Chamber Players (CCCP), Techno Night, Swiss Simulation: Contemporary Art from Switzerland and Europe (Support by Pro Helvetia), Troops of Alive Machines with the Techno-Orchestra เป็็นต้้น รวมแล้้วนัับสิิบการแสดง บทเพลงอีีก กว่่า ๔๐ บทเพลง (ไม่่รวมงานศิิลปะ จััดวางที่่�นำำ�ออกแสดงในนิิทรรศการ)
โดยผู้้�เขีียนจะขอกล่่าวถึึงผลงานบาง ส่่วนที่่�น่่าสนใจมาในส่่วนต่่อไปนี้้� งานเพลง Infinite Configuration for tenor saxophone, bass clarinet, percussion, piano, and guitar ประพัันธ์์โดย Wen Liu นัักประพัันธ์์ชาวจีีน ผู้้�มีีผลงาน เป็็นที่่�ประจัักษ์์ในระดัับนานาชาติิ มากมายหลายชิ้้�น ผลงาน Infinite Configuration ชิ้้�นนี้้�เดิิมประพัันธ์์ ขึ้้�นสำำ�หรัั บ วง International Contemporary Ensemble (ICE) เพื่่�อบรรเลงในเทศกาลดนตรีี Music & Arts ReSound (M.A.R.S.) Los Angeles 2017 จััดเป็็นเพลงที่่� สามารถดึึงสีีสัันจากเครื่่�องดนตรีีได้้ อย่่างเต็็มประสิิทธิิภาพ นอกจาก นั้้�นยัังเปิิดช่่องให้้ผู้้�บรรเลงสอดแทรก แนวความคิิดต่่าง ๆ เข้้าไปได้้ โดย กำำ�หนดรููปแบบการบรรเลงอย่่าง มีีระบบคิิดที่่�ดีี ถืือเป็็นบทเพลงที่่�มีี ความน่่าสนใจอยู่่�แทบทุุกช่่วงของ การบรรเลง แม้้บทเพลงจะยาวนัับ ๑๐ นาทีี
งาน Hongkong 2019 for electronic and video ประพัันธ์์ โดย จิิรัตั น์์ พััดประดิิษฐ นัักประพัันธ์์ ชาวไทย เป็็นตััวแทนของคนรุ่่�น ใหม่่ที่่�สร้้างผลงานมานำำ�เสนอเคีียง คู่่�ศิิลปิินระดัับนานาชาติิมากมาย สำำ�หรัับงาน Hongkong 2019 ผู้้�
ประพัันธ์์ได้้ให้้แนวคิิดเกี่่�ยวกัับงาน ชิ้้�นนี้้�ว่่า “เป็็นการนำำ�เสนอเหตุุการณ์์ Anti-Extradition Law Amendment Bill (Anti-ELAB) movement ใน ฮ่่องกงช่่วงปีี ค.ศ. ๒๐๑๙ ผ่่าน แนวคิิดดนตรีีไฟฟ้้ามิิวสิิกคงแคร็็ต โดยเล่่าเรื่่�องสถานการณ์์ที่่�เกิิดขี้้�น
ผ่่านเสีียงที่่�เกิิดขึ้้�นจริิง ณ สถานที่่� จริิง นำำ�มาจััดวางด้้วยกระบวนการ ประพัันธ์์เพลง การจััดวางเสีียงที่่� นำำ�ไปสู่่�สภาพแวดล้้อมเสมืือนกัับ อยู่่�ในสถานที่่�จริิง จากส่่วนประกอบ หลัักที่่�ใช้้เสีียงจากการชุุมนุุมและ สถานการณ์์จริิงในฮ่่องกง” ถืือว่่า
59
งานชิ้้�นนี้้�ประสบความสำำ�เร็็จตามจุุด ประสงค์์ผู้้�ประพัันธ์์ที่่�ต้อ้ งการสื่่�อให้้ผู้้� ฟัังได้้เห็็นถึึงมุุมมองของบุุคคลที่่� ๓ ที่่�รัับรู้้�เหตุุการณ์์ที่่�เกิิดขึ้้�น แต่่แก่่นที่่� สำำ�คััญอีีกประการคืือ เรื่่�องของความ รััก สิิทธิิเสรีีภาพ ประชาธิิปไตย อััน เป็็นบัันไดสู่่�อนาคตที่่�สวยงามมั่่�นคง งาน Violinautomat โดย Karl Friedrich Gerber นัักดนตรีีและ นัักประดิิษฐ์์ชาวเยอรมััน ผลงาน ชิ้้�นดัังกล่่าวเป็็นการประดิิษฐ์์คิิดค้้น เครื่่�องกลที่่�สามารถทำำ�งานร่่วมกัับ ไวโอลิินได้้ โดยการติิดตั้้�งคัันชัักภายใน เครื่่�องกลนี้้�จำำ�นวน ๓ ชิ้้�น เพื่่�อสีีใน บริิเวณต่่าง ๆ ของตััวไวโอลิิน ควบคุุม ด้้วยระบบคอมพิิวเตอร์์ ผู้้�ประพัันธ์์ ได้้ให้้แนวคิิดกัับงานชิ้้�นนี้้�ว่่า เกิิดขึ้้�น
60
ได้้จากความหลงใหลในเสีียงของ เครื่่�องจัักรกลผนวกกัับความสนใจ ที่่�ต้้องการให้้เสีียงต่่าง ๆ เหล่่านี้้�เกิิด ขึ้้�นได้้โดยไร้้ผู้้�เล่่น งาน Tele Tera (2020) เป็็น บทเพลงปิิดของการจััดงานครั้้�งนี้้� ประพัันธ์์โดย ปิิยวััฒน์์ หลุุยลาภ ประเสริิฐ ศิิลปิินนัักประพัันธ์์เจ้้าของ รางวััลต่่าง ๆ มากมาย อาทิิ ผู้้� ชนะเลิิศโครงการรางวััลยุุวศิิลปิิน ไทย ปีี ๒๕๕๖, Royal concerto orchestral composition prize 2017 ประเทศอัังกฤษ, The Otto R. Stahl Memorial Award 2018 ประเทศสหรััฐอเมริิกา Tele Tera เป็็นผลงานที่่�พััฒนา มาจากผลงานก่่อนหน้้าของปิิยวััฒน์์
เองที่่�ชื่่�อว่่า Tele Tele อัันประพัันธ์์ขึ้้�น ในปีีเดีียวกััน Tele Tera เป็็นผลงาน ที่่�ประพัันธ์์ขึ้้�นสำำ�หรัับกีีตาร์์ไฟฟ้้า แสง วิิดีีโอ อิิเล็็กทรอนิิกส์์ และวง ออร์์เคสตรา ผลงานเพลงชิ้้�นนี้้�เปรีียบ ได้้กับั งานศิิลปะแบบจััดวาง Tele Tera เป็็นการแสดงที่่�นำำ�มนุุษย์์ เทคโนโลยีี และการจำำ�ลองภาพบางอย่่างเข้้ามา อยู่่�ในบทเพลง สีีแสงเสีียงต่่าง ๆ ที่่� สะท้้อนให้้เห็็นมายัังผู้้�ชมก่่อให้้เกิิด ทั้้�งความชััดเจนและพร่่ามััวในเวลา เดีียวกััน โดยเฉพาะระบบแสงที่่�มีี การเชื่่�อมต่่อกัันอย่่างเป็็นระบบ ก่่อ ให้้เกิิดความสลัับซัับซ้้อนในตััวชิ้้�นงาน ทำำ�ให้้ผู้้�ชมได้้พบกัับประสบการณ์์ใน การชมการแสดงดนตรีีอีีกรููปแบบ หนึ่่�ง และนำำ�มาสู่่�ความเข้้าใจที่่�ว่่า
ด้้วยความสััมพัันธ์์ของมนุุษย์์ พื้้�นที่่� ความรุุนแรง ทััศนวิิสัยั ความเที่่�ยง ธรรม และเทคโนโลยีี นำำ�ไปสู่่�การ ปิิดฉากเทศกาลที่่�สมบููรณ์์ บทสรุุป เทคโนโลยีี x มนุุษย์์ และเสีียง ไร้้พรมแดน ครั้้�งหนึ่่�ง กระแสไฟฟ้้า จัักรยาน รถยนต์์ หรืือแม้้แต่่กระดาษเพีียงหนึ่่�ง แผ่่น ก็็เคยเป็็นสุุดยอดเทคโนโลยีีใน ยุุคสมััยหนึ่่�ง ๆ คำำ�ว่่า เทคโนโลยีี จึึงเรีียกได้้ว่่าเป็็นภููมิิปััญญาของ
มนุุษยชาติิแห่่งยุุคสมััย สิ่่�งที่่�งาน Thailand New Music and Arts Symposium 2020 ได้้หยิิบมานำำ�เสนอ ตลอดสามวัั น คืื อ เสีี ย งจาก อิิเล็็กทรอนิิกส์์ ก็็ถืือเป็็นเทคโนโลยีี ที่่�มนุุษย์์ในปััจจุุบันั ยัังคงต่่อยอดและ เล็็งเห็็นถึึงลู่่�ทางในการพััฒนาอยู่่� อย่่างต่่อเนื่่�อง แม้้งานจะจบลงแล้้ว แต่่เชื่่�อว่่าทั้้�งผู้้�เข้้าชม นัักดนตรีี ไปจนถึึงศิิลปิิน ยัังคงครุ่่�นคิิดถึึง เสีียง แสง สื่่�อต่่าง ๆ ที่่�ได้้พบเจอ ในพื้้�นที่่�แห่่งนี้้� พื้้�นที่่�ที่่�ทำำ�ให้้การนำำ�
เสนอความคิิดเหล่่านี้้�ไร้้ซึ่ง่� พรมแดน พื้้�นที่่�ที่่�ทุุกคนสามารถเข้้ามาเรีียนรู้้� ร่่วมกััน เมื่่�อประสบการณ์์ทั้้�งหลาย ได้้บ่ม่ เพาะมาอย่่างดีี ก็็เจริิญเติิบโต ได้้ดีี เมื่่�อนั้้�นวงการดนตรีีสมััยใหม่่ คง มีีอะไรสนุุก ๆ ให้้ชมให้้ฟัังกัันอย่่าง ต่่อเนื่่�องด้้วยประการฉะนี้้�
61
63
64