วารสารเพลงดนตรี MUSIC JOURNAL
ISSN 0858-9038
Volume 25 No.3 November 2019
Volume 25 No. 3 November 2019
สวัสดีผู้อ่านเพลงดนตรีทุกท่าน เวลาในแต่ละปีได้ผ่านพ้นไปอย่าง รวดเร็ว อีกเพียง ๑ เดือน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ก็จะสิน้ สุดลง ในปีน้ี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ ได้จัดงานฉลองครบรอบ ๒๕ ปีไปเมื่อวัน ที่ ๒๓ กันยายนทีผ่ า่ นมา (วันคล้ายวันก่อ ตัง้ ของวิทยาลัย คือ วันที่ ๒๑ กันยายน) โดยมีการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองอย่าง อบอุน่ มีการแสดงดนตรีจากศิษย์เก่าและ ศิษย์ปัจจุบัน รวมทั้งกิจกรรมพูดคุยแลก เปลีย่ นประสบการณ์ทางดนตรีจากรุน่ พีส่ รู่ นุ่ น้อง และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ มีการจัดพิธเี ปิด “กองทุนเปรมดนตรี” อย่างเป็นทางการ เพือ่ สนับสนุนนักศึกษาของวิทยาลัยอย่าง ยั่งยืน รายละเอียดต่าง ๆ ของกิจกรรม สามารถติดตามได้ในเรื่องจากปก ในยุคสมัยของโลกปัจจุบัน ที่ เทคโนโลยีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการ ด�ำรงชีวิตและพฤติกรรมของผู้คน ท�ำให้ ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อวงการต่างๆ ทัง้ ทางธุรกิจ การเงิน และการศึกษา โดย ในเดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา คณบดีวทิ ยาลัย ดุริยางคศิลป์ได้ไปเข้าร่วมการประชุม International Council of Fine Arts
Volume 25 No. 3 November 2019
เจ้าของ
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
บรรณาธิการ
ฝ่ายภาพ
ฝ่ายสมาชิก
ฝ่ายศิลป์
ส�ำนักงาน
คนึงนิจ ทองใบอ่อน
ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ
จรูญ กะการดี นรเศรษฐ์ รังหอม
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
พิสูจน์อักษรและรูปเล่ม
ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
เว็บมาสเตอร์
นิธิมา ชัยชิต
สนอง คลังพระศรี Kyle Fyr
ธัญญวรรณ รัตนภพ
ภรณ์ทิพย์ สายพานทอง
Deans (ICFAD) ทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา โดยผูเ้ ข้าร่วมการประชุมนีค้ อื คณบดีของ คณะศิลปศาสตร์จากหลากหลายประเทศ ทัว่ โลก ซึง่ หนึง่ ในหัวข้อการประชุมคือ การ ปรับตัวของสถาบันการศึกษาเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล โดย สถาบันการศึกษาหลายแห่งได้ปรับตัวด้วย การเปิดสอนรายวิชาทางออนไลน์มากขึน้ คณบดีได้เขียนเล่าประสบการณ์จากการเข้า ร่วมประชุมนี้ใน Dean’s Vision ส�ำหรับผู้อ่านที่สนใจในทฤษฎี ดนตรีแบบ ๑๒ ตัวโน้ต (twelve tone system) สามารถพลิกไปอ่านบทความ วิเคราะห์บทประพันธ์ Simbolo ของ Luigi Dallapiccola ได้ใน Music Theory ด้านดนตรีไทย น�ำเสนอ ๒ บทความ เกีย่ วกับวงปีพ่ าทย์มอญ คณะเครือบันเทิง ศิลป์ และประวัติของหมอล�ำค�ำพอง หัส โรค์ หมอล�ำชื่อดังแห่งแดนอีสาน และพลาดไม่ได้กับบทความรีวิว กิจกรรมทางดนตรีและการแสดงคอนเสิรต์ ปิดท้ายฤดูกาลของวงทีพโี อ ติดตามเนือ้ หา ได้ในเล่มค่ะ
สุพรรษา ม้าห้วย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วารสารเพลงดนตรี) ๒๕/๒๕ ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่อ ๓๑๑๓ โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๓๐ musicmujournal@gmail.com
ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ
พิมพ์ที่
หยินหยางการพิมพ์ โทรศัพท์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๖๓๖ ๐ ๒๔๔๓ ๖๗๐๗
จัดจ�ำหน่าย
ร้านค้าวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่อ ๒๕๐๔, ๒๕๐๕
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ส�ำหรับข้อเขียนที่ได้รับการ พิจารณา กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่จะปรับปรุงเพื่อความเหมาะสม โดยรักษาหลักการและแนวคิดของผู้เขียนแต่ละท่านไว้ ข้อเขียน และบทความที่ตีพิมพ์ ถือเป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ขอรับผิดชอบบทความนั้น
สารบั ญ Contents Dean’s Vision
04
การศึกษากับการปรับตัวสู่อนาคต ณรงค์ ปรางค์เจริญ (Narong Prangcharoen)
Cover Story
Music Theory
Voice Performance
An Analysis of Luigi Dallapiccola: Simbolo, from Quaderno Musicale di Annalibera Duangruthai Pokaratsiri (ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ)
Viva Improvisation! Session 2 Haruna Tsuchiya (ฮารุนะ ซึชิยะ)
14
Music Entertainment
18
“เรื่องเล่าเบาสมองสนองปัญญา” เพลงไทยสากลอิงท�ำนอง เพลงต่างชาติ (ตอนที่ ๘) กิตติ ศรีเปารยะ (Kitti Sripaurya)
Thai and Oriental Music
30 08
๒๕ ปี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ณัฏฐา อุทยานัง (Nuttha Udhayanang)
ปี่พาทย์มอญ คณะเครือบันเทิงศิลป์ ธันยาภรณ์ โพธิกาวิน (Dhanyaporn Phothikawin)
Getting Ready
12
Pedagogy Tools for Applied Music Teachers: Sexual Abuse/Harassment and Music Teaching Joseph Bowman (โจเซฟ โบว์แมน)
34
หมอล�ำค�ำพอง หัสโรค์ หมอล�ำคนส�ำคัญแห่งภาคอีสาน และเรื่องบังเอิญ การพบหลักฐาน สมุดกลอนล�ำของหมอล�ำค�ำพอง จิตร์ กาวี (Jit Gavee)
42
Review
48
[บันทึกการเดินทาง] คอนเสิร์ตในสาธารณรัฐ ประชาชนจีน กอรัก เลิศพิบูลชัย (Korak Lertpibulchai)
52
สิ้นสุดฤดูกาลกับคอนเสิร์ต “Fabulous Finale” ธีรนัย จิระสิริกุล (Teeranai Jirasirikul)
58
ค�่ำคืนแห่งโลกตะวันออก “Turkish Delights” (๑๖-๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๒) วิษณ์กมล ชัยวานิชศิริ (Viskamol Chaiwanichsiri)
DEAN’S VISION
การศึกษากับการปรับตัวสู่อนาคต เรื่อง: ณรงค์ ปรางค์เจริญ (Narong Prangcharoen) คณบดีวท ิ ยาลัยดุรย ิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ก
ารศึกษายังเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ และจ�ำเป็นในโลกยุคปัจจุบัน เป็นอย่างมาก การที่สถาบันการ ศึกษาต้องปรับตัวและต่อสูก้ บั ความ เปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน อาจจะไม่ใช่เพราะคนไม่ต้องการที่ จะศึกษาหาความรู้ แต่อาจจะเป็น เพราะต้องการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ในเรือ่ งทีส่ นใจเฉพาะทาง ไม่ใช่เรียน รู้ทุกเรื่องทุกอย่างเหมือนอย่างเดิม ด้วยเป็นเพราะว่าสิ่งที่อยากจะท�ำมี ความเฉพาะเจาะจงมากขึ้น และสิ่ง ทีท่ ำ� อยูม่ กี ารเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็ว ท�ำให้ความรูท้ ไี่ ด้อาจจะไม่เข้ากับยุค สมัยอีกต่อไป ส่วนความรูท้ ไี่ ด้รำ�่ เรียน แบบเดิม ๆ โดยไม่มีการประยุกต์ใช้ จะไม่สามารถช่วยสร้างงานต่อไปได้ นั่นคือองค์ความรู้มีอายุที่สั้นลง ถ้า 04
ไม่สามารถปรับใช้ความรู้ให้ทันสมัย อยู่ตลอดเวลา เมื่อวันที่ ๒-๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่เมืองออสติน เมืองหลวง ของรัฐเทกซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา มีการจัดการประชุมคณบดีของคณะ ศิลปกรรมทัว่ ประเทศ และเชิญคณบดี จากทัว่ โลกเข้ามาร่วมในการประชุม ครัง้ นีด้ ว้ ย ซึง่ การประชุมครัง้ นีม้ ชี อื่ ว่า International Council of Fine Arts Deans (ICFAD) การประชุมนี้ เป็นโอกาสทีด่ สี ำ� หรับคณบดีทงั้ หลาย ทีจ่ ะได้พบปะแลกเปลีย่ นความรูแ้ ละ กระบวนการความคิดในแง่มมุ ต่าง ๆ เพือ่ ช่วยกันพัฒนาวงการศิลปกรรม และสร้างความมั่นคงให้กับองค์กร ในงานนี้ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเพียง
องค์กรเดียวจากประเทศไทย ที่ได้ รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมในครัง้ นี้ ในการประชุมนี้จะเห็นได้ว่าทุก องค์กรมีการเปลี่ยนแปลงและปรับ ตัวอย่างมาก เพือ่ ให้เข้ากับยุคสมัย และการเปลีย่ นแปลงของโลก หลาย มหาวิทยาลัยได้มีการปรับรูปแบบ การเรียนการสอนและเปิดโอกาส ทางการศึกษาในหลายรูปแบบ ไม่ ว่าจะเป็น การสร้างคอร์สออนไลน์ บางหลักสูตรเรียนออนไลน์ได้ตงั้ แต่ ต้นจนจบ เพื่อเป็นการปรับองค์กร หลายมหาวิทยาลัยลดการใช้ทรัพยากร ในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย และปรับเปลี่ยนหน้าที่ของอาจารย์ และพนักงาน ใช้ทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรทางด้านการบริหาร จัดการน้อยลง เช่น Kent State
University มีหลักสูตรปริญญาโท ออนไลน์ ซึ่งสามารถเรียนได้ตั้งแต่ เริม่ ต้นจนจบหลักสูตรทางออนไลน์ จะว่าไปแล้วทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา มีการท�ำหลักสูตรที่เรียนออนไลน์ ตัง้ แต่ตน้ จนจบแบบนีม้ านานแล้วใน ระดับปริญญาตรี ยกตัวอย่างเช่น ที่ American National University มุง่ เน้นการเรียนการสอนออนไลน์เป็น หลัก ไม่ได้มสี ถานทีเ่ ป็นแคมปัส จุด ประสงค์ของทีน่ ี่ มุง่ เน้นท�ำเพือ่ ช่วย ให้คนทีท่ ำ� งานอยูแ่ ล้วมีวฒ ุ ทิ างการ ศึกษาเพิม่ ขึน้ แต่อาจจะไม่ใช่การศึกษา ส�ำหรับทุกคน ในทางกลับกันก็มหี ลาย สถาบัน เช่น Master Class ที่ใช้ บุคลากรทีม่ ชี อื่ เสียงและท�ำงานจริง ในสาขาวิชาเหล่านั้น เป็นการสร้าง ความน่าเชือ่ ถือและสร้างองค์ความ รูอ้ ย่างแท้จริง แม้ไม่ได้เป็นการเรียน เพื่อให้ได้ปริญญา แต่เป็นการเรียน เพื่อสร้างทักษะโดยแท้จริง จากข้อสังเกตจะเห็นได้วา่ โลก ปัจจุบันไม่เพียงแค่ต้องการคนที่มี ความสามารถมาท�ำงานเท่านัน้ แต่ ยังคงต้องการคนทีม่ คี วามรูอ้ ย่างมาก อีกด้วย เพียงแต่เป็นความรูร้ ะดับสูง
ไม่ใช่ความรูพ้ นื้ ฐาน ท�ำให้การเรียน ขัน้ พืน้ ฐานได้รบั ผลกระทบอย่างต่อ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงนี้ การ เรียนในระดับปริญญายังคงเป็นการ เรียนทีส่ ำ� คัญของบุคคลทัว่ ไปและได้ รับความส�ำคัญมากกว่าการเรียนขัน้ พืน้ ฐาน ซึง่ ทีจ่ ริงแล้ว การเรียนในทุก ระดับย่อมมีความส�ำคัญเท่า ๆ กัน เพราะหากขาดการเรียนขัน้ พืน้ ฐาน ที่ดีแล้ว คงจะต่อยอดสร้างการ เรียนที่สูงขึ้นได้อย่างล�ำบาก หลาย คนอาจจะเห็นว่าหลายองค์กรยักษ์ ใหญ่เริม่ ประกาศว่าสามารถรับคนที่ ไม่ตอ้ งจบปริญญาได้ เพราะไม่สนใจ ในใบปริญญาบัตร แต่หากดูในราย ละเอียดแล้วจะเห็นได้ว่า องค์กร เหล่านัน้ มีการจัดการเรียนการสอน ในระดับสูงที่ลึกซึ้งให้แก่พนักงานที่ จะรับเข้าท�ำงาน ไม่ใช่แค่ว่ารับใคร ก็ได้เข้าท�ำงาน แต่ต้องมีการฝึกหัด ฝึกสอน และเป็นผูท้ ผี่ า่ นการทดสอบ แล้ว จึงจะสามารถเข้าท�ำงานได้ โดยไม่มใี บปริญญา นัน่ หมายความ ว่า องค์กรเหล่านั้นยังคงให้คุณค่า กับความรู้เป็นอย่างมาก เพียงแต่ ต้องการปรับเปลีย่ นระบบการเรียนรู้
ใหม่ให้เข้ากับบริบทขององค์กร เพือ่ ให้ผู้ที่จบสามารถท�ำงานให้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น และตรงกับ ความต้องการของบริษัท ในองค์กรใหญ่ ไม่มคี วามจ�ำเป็น ทีจ่ ะรับพนักงานมาท�ำเรือ่ งไม่ซบั ซ้อน ทีไ่ ม่ตอ้ งใช้ความสามารถด้านอืน่ ๆ มาประกอบและประยุกต์อีกต่อไป เพราะสามารถใช้หนุ่ ยนต์ในการท�ำงาน ขัน้ พืน้ ฐานแทนมนุษย์ได้เป็นอย่างดี จึงมีความจ�ำเป็นต้องพยายามปรับ เปลีย่ นมนุษย์ให้สามารถท�ำงานทีม่ ี ความซับซ้อนมากขึ้น และควบคุม คุณภาพของหุ่นยนต์เหล่านั้นแทน ท�ำให้การเรียนขั้นพื้นฐานอาจจะ ดูว่ามีความส�ำคัญน้อยลง เพราะ ต้องการความรูเ้ ฉพาะเจาะจงมากขึน้ ในการเรียนรูข้ นั้ พืน้ ฐาน อาจจะ ต้องปรับเปลีย่ นให้เป็นความรูท้ กี่ ว้าง ขวาง เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ด้าน ต่าง ๆ ที่จะสามารถน�ำไปต่อยอด ได้ และท�ำให้ผเู้ รียนสามารถปรับตัว ได้ในอนาคต เพราะในอนาคต ผูเ้ รียน อาจจะต้องเปลีย่ นงานอย่างต่อเนือ่ ง จึงอาจจะต้องมีความรู้พี้นฐาน ที่กว้าง เพื่อน�ำไปต่อเป็นความรู้
05
เฉพาะเจาะจงได้หลายสาขา ควร สร้างเสริมให้ผเู้ รียนรูจ้ กั เข้าใจในหลัก มนุษยศาสตร์และศิลปศาสตร์ เพราะ เป็นสิง่ ทีแ่ ตกต่างจากเครือ่ งจักรและ หุ่นยนต์ เนื่องจากจินตนาการของ มนุษย์สามารถสร้างสิ่งมหัศจรรย์ ทีไ่ ม่นา่ เชือ่ ให้เกิดขึน้ ได้อย่างไม่รจู้ บ การเตรียมความพร้อมในเรือ่ งนี้ เป็น ความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีการ วางแผนสร้างรากฐานทีด่ สี ำ� หรับการ เรียนรูข้ องคนรุน่ ใหม่ อาจจะต้องปรับ เปลี่ยนการเรียนรู้ให้เป็นลักษณะที่ โต้ตอบได้ เป็น Virtual Learning Based Program เช่น การจ�ำลอง เหตุการณ์ ใช้วธิ คี ดิ เดียวกับการเล่น เกมคอมพิวเตอร์ของเด็กในยุคนี้ มา ปรับเป็นการเรียนการสอนเพือ่ สร้าง ทักษะในการแก้ปัญหา ให้ผู้เรียน และผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบ ที่มีการตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว ไม่ใช่แค่เรียนรู้ด้วยการฟังและจด 06
แต่เป็นการเรียนรู้ด้วยการฟังและ สร้างสถานการณ์จ�ำลอง เพื่อช่วย สร้างทักษะในการแก้ปญ ั หา ไม่ใช่แค่ การแก้ปัญหาในการท�ำงานเท่านั้น แต่ต้องรวมไปถึงการแก้ปัญหาใน ชีวิตส่วนตัวด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ ท�ำให้บทบาทของ การเข้าใจวิชามนุษยศาสตร์และ ศิลปศาสตร์ มีความส�ำคัญในการ สร้างความเข้าใจอันถ่องแท้ในชีวิต สร้างสิ่งยึดเหนี่ยวในการด�ำรงชีวิต เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและพร้อม ที่จะปรับเปลี่ยนไปตามกาลเวลา อาจจะถึงเวลาที่ต้องกลับมานั่งคิด ใหม่วา่ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทีส่ ร้าง broad education ต้องมุ่งเน้นไป ทางใด และต้องครอบคลุมเรื่องใด บ้าง อาจจะไม่จ�ำเป็นต้องเจาะลึก เข้าไปถึงความรูเ้ ฉพาะเจาะจงในขัน้ สูง เพราะเรื่องนั้นเป็นเรื่องที่สถาน ศึกษาในระดับปริญญาได้เตรียมไว้
แล้ว แต่อาจจะต้องแยกแยะความ เก่งและความสามารถออกจากกัน มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถ แล้วน�ำความสามารถนัน้ มาต่อยอด ให้เป็นความเก่งในการเรียนในระดับ ที่สูงขึ้น อีกประการหนึง่ ทีไ่ ด้มกี ารพูดคุย กันอย่างจริงจังในการประชุมครั้งนี้ คือ ท�ำอย่างไรทีจ่ ะสร้างการแข่งขัน ที่ยั่งยืนให้กับสถาบันการศึกษาทั้ง หลาย แน่นอนทุกคนอยู่ในธุรกิจ เดียวกัน คือ ธุรกิจด้านการศึกษา แต่คงไม่สามารถแค่สร้างการแข่งขัน อย่างดุเดือดโดยไม่คำ� นึงถึงผลกระทบ ในวงกว้างได้ ในขณะทีม่ กี ารแข่งขัน สูง ความร่วมมือทีจ่ ะสร้างพันธมิตร ก็ยอ่ มมีความจ�ำเป็นมาก ในประเทศ สหรัฐอเมริกา จะเปิดให้มกี ารแข่งขัน แบบเสรี ทุกมหาวิทยาลัยสามารถ แข่งขันกันได้อย่างเต็มที่ แต่กจ็ ะสร้าง กลุม่ พันธมิตรทีม่ คี วามสอดคล้องใน
การด�ำเนินการเหมือน ๆ กัน มีการ คิดเรื่องการรับนักศึกษาต่างชาติให้ มากขึน้ เนือ่ งจากตอนนีม้ นี กั ศึกษา ที่เป็นชาวอเมริกันลดลง การเปิด ให้มีการแข่งขันแบบนี้ เป็นการ ปรับสถานศึกษาให้เข้าสู่ความเป็น จริงของโลก ท�ำให้ทุกคนต้องรักษา คุณภาพทีด่ ที สี่ ดุ เพราะในท้ายทีส่ ดุ แล้ว นักศึกษาจะเลือกมหาวิทยาลัย ที่มีคุณภาพที่ดีที่สุดส�ำหรับตัวเอง ท�ำให้สถานศึกษาหลายแห่งต้องปิด ตัวลงเพราะไม่มผี เู้ รียนทีส่ นใจ อย่าง หนึ่งที่เป็นวัฒนธรรมของประเทศ สหรัฐอเมริกา คือ มีความเข้าใจและ ปรับตัวได้รวดเร็ว เพราะเมือ่ รูแ้ ล้วว่า สิง่ ทีท่ ำ� อยูไ่ ม่สามารถด�ำเนินการต่อ ได้ ก็จะมีการปรับตัว ปรับหลักสูตร การสอน และถ้าไม่สามารถด�ำเนิน การต่อได้ ก็จะยอมรับและเปลี่ยน กิจการ ซึ่งการท�ำเช่นนี้ เท่ากับ เป็นการแข่งขันทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานความ
เป็นจริง เป็นการแข่งขันทีส่ ร้างความ ยัง่ ยืนให้กบั ธุรกิจในด้านนี้ ท�ำให้เกิด การผลักดันให้มกี ารพัฒนาอย่างต่อ เนือ่ ง และปรับปรุงแก้ไขปัญหาภายใน ของตนเอง ไม่รอ้ งขอความช่วยเหลือ จากคนอืน่ ก่อนทีจ่ ะพยายามพัฒนา ภายในอย่างเต็มที่ นอกจากนี้ ในการประชุมมีการ พูดถึงประเทศคิวบา และวิธกี ารรับ นักศึกษาจากประเทศคิวบา อาจเป็น เพราะมีความต้องการจากประเทศ นั้นสูง และไม่ได้อยู่ไกลจนเกินไป แสดงให้เห็นว่าทุกสถาบันพยายาม ทีจ่ ะเรียนรูจ้ ากสถาบันอืน่ ๆ และน�ำ มาปรับใช้กบั องค์กรตัวเอง เมือ่ มีคน ทีไ่ ปท�ำแล้วประสบความส�ำเร็จ ก็จะ น�ำข้อมูลมาแบ่งปันให้สถาบันอืน่ ๆ ได้ลองน�ำไปประยุกต์ใช้ อย่างที่กล่าวไปแล้วว่าความรู้ มีอายุขยั สัน้ ลงในโลกปัจจุบนั ต้องมี การปรับเปลีย่ น เพิม่ เติมความรูอ้ ยู่
ตลอดเวลา สถาบันการศึกษาต้อง มีการปรับตัวอย่างรวดเร็ว ความรู้ ยังเป็นสิ่งจ�ำเป็นของผู้คนทั่วไป แต่ ต้องมีการปรับเปลีย่ นรูปแบบในการ ให้ความรู้ ขายความรู้ ให้บริการ ด้านความรู้ ในโลกที่เปลี่ยนเร็วเช่นนี้ ไม่มี พืน้ ทีส่ ำ� หรับคนทีค่ ดิ ทบทวนช้า จะมี แค่คนทีค่ ดิ เร็วและปรับตัวเร็ว ทีจ่ ะ มีโอกาสรอดในสภาวะทีป่ รับเปลีย่ น อย่างรวดเร็วเช่นนี้ คงถึงเวลาทีส่ ถาน ศึกษาต้องย้อนกลับมาดูความเป็น ตัวตน อัตลักษณ์ของตนเอง และ ท�ำในสิ่งที่ตนเองถนัด คนในองค์กร ควรต้องร่วมมือในการพัฒนา มอง ภาพรวมของสถานศึกษาของตนเอง ของประเทศ และพัฒนาปรับปรุงให้ มีความสามารถทีจ่ ะก้าวไปข้างหน้า ได้อย่างมั่นคง
07
COVER STORY
๒๕ ปี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
เรื่อง: ณัฏฐา อุทยานัง (Nuttha Udhayanang) ผู้จัดการการตลาดและประชาสั มพันธ์ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ใน
ฐานะหนึง่ ในคณะผูท้ ำ� งาน ภาพ ของผู้บริหาร คณะกรรมการ อ�ำนวยการ คณะผู้สนับสนุน และ คณาจารย์ ที่ถ่ายร่วมกันในช่วงท้าย ของพิธีเปิดกองทุนเปรมดนตรี เมื่อ วันจันทร์ที่ ๒๓ กันยายน ถือเป็น ภาพทีน่ า่ จดจ�ำ และเป็นการปิดงาน ทีน่ า่ ประทับใจของงานครบรอบ ๒๕ ปี วันสถาปนาวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล งานครบรอบ ๒๕ ปี วันสถาปนา วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ เป็นงานทีแ่ สดง 08
ถึงความเป็นวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ในด้านองค์กรการศึกษาด้านดนตรี ได้อย่างชัดเจน เมือ่ จบงานครบรอบ ๒๕ ปี ผูเ้ ข้าร่วมงานสามารถเข้าใจถึง แนวทางและจุดมุง่ หมายของวิทยาลัย ได้วา่ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ไม่ได้เป็น แค่ “โรงเรียนสอนดนตรี” แต่เป็น จุดเริม่ ต้นของเส้นทางของคนดนตรี งานครบรอบ ๒๕ ปี เริ่มขึ้น ตั้งแต่เวลา ๐๗.๓๐ น. จนถึงเวลา ๑๗.๐๐ น. ของวันที่ ๒๓ กันยายน งานในช่วงเช้าเริ่มด้วยพิธีสงฆ์ โดย
เปิดงานด้วยการบรรเลงเพลงจาก วงปีพ่ าทย์ของนักเรียนและนักศึกษา จากสาขาดนตรีไทย ภายในหอแสดง ดนตรี ด้านหน้าตึกภูมพิ ลสังคีต จาก นั้นตั้งแต่เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐ น. เป็นการแสดงของนักเรียน ศิษย์เก่า และอาจารย์ สลับไปกับเวทีเสวนา และปราศรัย โดยกิจกรรมดังกล่าว จัดเวียนสลับกันระหว่างโถงอาคาร ภูมิพลสังคีต และภายในหอแสดง ดนตรี การแสดงของนักเรียนนักศึกษา
09
ช่วงแรก เป็นการแสดงของนักเรียน วง Brass Ensemble บริเวณโถง ตึกภูมพิ ลสังคีต จนถึงเวลาประมาณ ๑๐.๓๐ น. กิจกรรมช่วงต่อมา เป็นการเสวนาดนตรีจากศิษย์เก่า ของวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ โดยเปิด ช่วงการเสวนาด้วยการแสดงจากน้อง จัสมิน (Jasmine) นักศึกษาชั้นปี ที่ ๒ จากสาขา Voice Popular Music ในเพลง November ส่วน กิจกรรมเสวนากับศิษย์เก่า ประสาน งานและด�ำเนินรายการโดย อาจารย์ อัคราวิชญ์ พิริโยดม หรือ เช่ The Richman Toy ศิษย์เก่ารุ่น ๖ (MS6) กิจกรรมเสวนาช่วงนี้เป็น เหมือนชั่วโมงแนะแนวส�ำหรับนัก ดนตรีรนุ่ น้องจากรุน่ พี่ MS ถัดจาก ช่วงแนะแนวจากรุ่นพี่ ก็เป็นชั่วโมง แนะแนวจากคนดนตรีมืออาชีพที่ โลดแล่นอยู่ในวงการทั้งเบื้องหน้า และเบื้องหลังมาเป็นระยะเวลา นานอย่าง คุณสุทธิพงษ์ วัฒนจัง 10
หรือ ชมพู ฟรุตตี้ ที่มาแบ่งปัน ประสบการณ์และมุมมองในเส้นทาง ดนตรีให้กบั น้อง ๆ กิจกรรมเสวนาสอง ช่วงนีม้ งุ่ หวังทีจ่ ะเล่าถึงการเดินทาง ของพี่ ๆ ในเส้นทางดนตรี จาก เรียนดนตรีสอู่ าชีพดนตรี จากความ หลงใหลสู่เส้นทางการใช้ชีวิต และ สุดท้ายแล้ว ความซือ่ สัตย์ตอ่ ตัวตน ทีจ่ ะท�ำให้เหล่านักเรียนและศิษย์เก่า วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์สามารถด�ำรง ชีวิตประกอบอาชีพในสายงานที่ตัว เองรักได้อย่างประสบความส�ำเร็จ นอกจากงานเสวนา “แนะแนว” งานครบรอบ ๒๕ ปียังอัดแน่นไป ด้วยการแสดงดนตรีจากนักเรียน นักศึกษา ศิษย์เก่า และคณาจารย์ การแสดงที่อยากจะพูดถึงคือ การ แสดงจากกลุ่มนักเรียนและศิษย์ เก่าที่มีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับของ คนทัง้ ในและนอกวงการดนตรี ว่ามี พรสวรรค์และความสามารถอย่างมาก เช่น พัชราวลี ด�ำรงค์ธรรมประเสริฐ
หรือจัสมิน ปัจจุบนั ศึกษาอยูช่ นั้ ปีที่ ๒ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ และยังเป็น ศิษย์เก่าเอกขับร้องจากหลักสูตร เตรียมอุดมดนตรี (Young Artist Music Program) ของวิทยาลัย อีกด้วย จัสมินโด่งดังมาจากการ รังสรรค์ผลงานการคัฟเวอร์เพลงฮิต ของศิลปินดัง ๆ เผยแพร่ผ่านยูทูบ คนต่อมาคือ อัษฎกร เดชมาก หรือ AUTTA แร็ปเปอร์ที่มาแรง ที่สุดคนหนึ่งในวงการเพลงไทยวัน นี้ นักศึกษาจากสาขาวิชาเทคโนโลยี ดนตรี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ และ D Gerrard ศิษย์เก่าหลักสูตรเตรียม อุดมดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เจ้าของเพลง Galaxy ที่มียอดวิวมากกว่า ๑๗๐ ล้านวิว ทางสื่อออนไลน์ นอกจากกิจกรรมเสวนาและการ แสดงทีน่ า่ ประทับใจตลอดทัง้ วันแล้ว นัน้ ในช่วงเย็นของงานวันสถาปนาครบ รอบ ๒๕ ปี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ยังเป็นพิธเี ปิด “กองทุนเปรมดนตรี” โดยเป็นกองทุนที่ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและ รัฐบุรุษ อนุญาตให้ตั้งขึ้นและน�ำชื่อ ของท่านมาตัง้ ชือ่ กองทุน ก่อนพิธกี าร เปิดกองทุนเปรมดนตรีจะเริ่มขึ้น นักศึกษาวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ เอก ขับร้อง ได้แสดงความสามารถร่วม กันในการขับกล่อมผู้ฟังในหอแสดง ดนตรี ด้วยบทเพลงทีใ่ ช้ในการแสดง โอเปร่า เช่น “Brindisi” จากโอเปร่า La Traviata ของ Giuseppe Verdi จากนัน้ ดร.ณรงค์ ปรางค์เจริญ คณบดี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล และคุณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ ตระกูล ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของ
“กองทุนเปรมดนตรี” ว่าเพือ่ เป็นการ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาทาง ด้านดุริยางคศาสตร์อย่างยั่งยืน ซึ่ง จะช่วยท�ำให้มรี ายได้กลับมาเป็นทุน การศึกษาของนักเรียนนักศึกษาได้ มากขึน้ โดยในงานครบรอบ ๒๕ ปีนี้ ได้มกี ารมอบทุนการศึกษาจากบุคคล ภายนอกผู้สนับสนุนทางด้านการ ศึกษา โดยมี ดร.ณรงค์ ปรางค์เจริญ คณบดี เป็นผูร้ บั มอบทุนในครัง้ นี้ ณ หอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยความมุง่ มัน่ ของ รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ทีจ่ ะก่อตัง้ สถาบันการศึกษา ด้านดนตรีแห่งแรกของประเทศไทย เพือ่ เป็นต้นแบบของสถาบันศึกษาด้าน
ดนตรีในภูมภิ าคอุษาคเนย์ วิทยาลัย ดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ ถือก�ำเนิดขึน้ เมือ่ วันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๓๗ จากวันนัน้ ถึงวันนี้ เป็นเวลา ๒๕ ปี จากพื้นที่รกร้างว่างเปล่า จนถึงวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ในปัจจุบนั จากวิสัยทัศน์และปณิธานที่จะเป็น ต้นแบบของสถาบันการศึกษาด้าน ดนตรีในภูมภิ าคอุษาคเนย์ สูก่ ารเป็น ทีย่ อมรับในระดับสากล ตลอดระยะ เวลา ๒๕ ปี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ ได้เติบโตและพัฒนาสูก่ ารเป็นหนึง่ ใน วิทยาลัยชั้นน�ำทางด้านดนตรีของ ภูมภิ าคเอเชียอาคเนย์อย่างภาคภูมิ
11
THAI AND ORIENTAL MUSIC
ภาพสเกตช์หมอล�ำค�ำพอง (ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=irhzn1Wle3g)
34
หมอล� ำ ค� ำ พอง หั ส โรค์ หมอล�ำคนส�ำคัญแห่งภาคอีสาน
และเรื่องบังเอิญ การพบหลักฐาน สมุดกลอนล�ำของหมอล�ำค�ำพอง เรื่อง จิตร์ กาวี (Jit Gavee) อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
เกริ่น ในภาคอีสานของประเทศไทย นับเป็นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามอุดมสมบูรณ์ใน หลายด้าน หนึง่ ในสิง่ ทีโ่ ดดเด่นด้าน หนึ่งคือ “ดนตรีอีสาน” ที่ได้รับการ สัง่ สม ส่งต่อ จากรุน่ สูร่ นุ่ “หมอล�ำ” ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ในวัฒนธรรมการดนตรี ของภาคอีสานทีส่ ำ� คัญ ซึง่ ตัง้ แต่อดีต ถึงปัจจุบันก็ปรากฏ หมอล�ำ ผู้มี ความรูค้ วามสามารถทีไ่ ด้ฝากผลงาน ประดับแก่วงการหมอล�ำมากมาย ไม่ ว่าจะเป็น หมอล�ำจอมศรี หมอล�ำ คูณ หรือหมอล�ำค�ำพอง หัสโรค์ ซึง่ จะกล่าวถึงในบทความนี้ ทีม่ าและความหมายของค�ำว่า “หมอล�ำ” ประกอบขึน้ ด้วยค�ำ ๒ ค�ำ คือ “หมอ” และ “ล�ำ” ค�ำว่า หมอ นี้ หมายถึง ผูร้ หู้ รือเชีย่ วชาญในวิชา สาขาใดสาขาหนึ่ง เช่น หมอยา ผู้ เชี่ยวชาญในการใช้ยา... ส่วนค�ำว่า ล�ำ นัน้ ท่านผูร้ บู้ างท่าน ได้สนั นิษฐานไว้ดงั นี้ คือ แนวสันนิษฐาน
ที่บอกว่า ล�ำ เป็นค�ำลักษณนาม ใช้เรียกสิง่ ทีม่ ลี กั ษณะยาว เช่น ล�ำไผ่ ล�ำพร้าว... เนื่องจากนิทานพื้นบ้านหรือ วรรณกรรมอีสานเป็นเรือ่ งทีย่ ดื ยาว คนทั้งหลายจึงเรียกวรรณกรรม เหล่านี้ว่า ล�ำ เช่น ล�ำสังข์ศิลป์ชัย ล�ำกาฬเกศ ล�ำสีธนมโนรา ล�ำแตง อ่อน ล�ำขูลูนางอั้ว เป็นต้น หากผู้ ใดมีความช�ำนาญในการจดจ�ำหรือ ท่องจ�ำบทกลอนเนื้อหาของนิทาน หรือวรรณกรรมเหล่านี้ได้ บุคคล ผู้นั้นก็ได้ชื่อเป็น “หมอล�ำ” (อ้าง วิภารัตน์ ข่วงทิพย์, ๒๕๖๐: ๒-๕) ค�ำ “หมอล�ำ” จึงสื่อความ หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ความ เชีย่ วชาญในเรือ่ งของการขับล�ำ หรือ อีกนัยหนึ่งคือการขับร้อง ซึ่งมีเนื้อ มาจากกลอนล�ำหรือบทกลอน ใช้ ภาษาอีสานเป็นภาษาในการเล่าเรือ่ ง ผสมกับท�ำนองบทเพลงด้วยเครื่อง ดนตรีอีสาน ซึ่งมักใช้ “แคน” เป็น
เครื่องดนตรีประกอบ นอกจากนั้น ค�ำ “หมอล�ำ” ยังมีการขยายแตก ย่อยความหมายเป็นค�ำต่าง ๆ เช่น หมอล�ำกลอน หมายถึง หมอล�ำที่ ร้องเป็นคู่ประชันกลอนกันระหว่าง หมอล�ำที่เป็นฝ่ายชายและหมอล�ำ ฝ่ายหญิง หมอล�ำพื้น หมายถึง หมอล�ำที่ร้องเล่านิทานพื้นบ้าน มี แคนเป็นเครื่องดนตรีประกอบ โดย ผู้ร้องล�ำจะสวมบทบาทตัวละคร ต่าง ๆ ในเรือ่ ง หมอล�ำซิง่ หมายถึง หมอล�ำทีผ่ า่ นการประยุกต์ให้เข้ากับ ยุคสมัย มีการใช้เครื่องดนตรีอื่น ๆ โดยเฉพาะเครื่องดนตรีตะวันตกมา เสริม ไปจนถึงนักแสดงสมทบในรูป แบบหางเครือ่ งมาเป็นส่วนหนึง่ ของ องค์ประกอบการแสดง เป็นต้น (อ้าง สนอง คลังพระศรี, ๒๕๕๔: ๗๙๖) ภายในบทความฉบับนี้ได้น�ำ เสนอประวัติและความส�ำคัญของ หมอล�ำค�ำพอง หัสโรค์ หมอล�ำคน ส�ำคัญแห่งภาคอีสาน ในยุคก่อนปี 35
วัดบึงแก้ว ที่หมอล�ำค�ำพองบวชเป็นสามเณรเมื่อวัยเยาว์ (ที่มา: Facebook: @buddhist.sima)
พ.ศ. ๒๕๐๐ และการพบสมุดบันทึก กลอนล�ำของท่าน ทีบ่ นั ทึกกลอนล�ำ อันมีคา่ เป็นหลักฐานประวัตศิ าสตร์ ชิ้นหนึ่งของวงการหมอล�ำ รู้จักหมอล�ำค�ำพอง หัสโรค์ ชีวติ ปฐมวัยของหมอล�ำค�ำพอง หรือนายค�ำพอง หัสโรค์ มิได้สอ่ แวว ให้เห็นถึงการจะเป็นหมอล�ำผู้มีชื่อ เสียงในอนาคตแต่แรกเริม่ เด็กชาย ค�ำพอง เกิดในปี พ.ศ. ๒๔๔๕ ณ บ้านชนบท อ�ำเภอชนบท จังหวัด ขอนแก่น เป็นบุตรของนายนวน หัสโรค์ กับ นางอวน หัสโรค์ ด้านการศึกษา เด็กชายค�ำพอง ได้รับการศึกษาเบื้องต้นในโรงเรียน ชนบท บริเวณบ้านเกิด ซึ่งจบการ ศึกษาระดับชัน้ ประโยคสูงสุดในขณะ นั้น คือ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ก่อน ที่จะได้บวชเป็นสามเณร ณ วัดบึง 36
แก้ว อ�ำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น แล้วสึกออกมาเมื่อมีอายุได้ ๒๐ ปี เศษ ประมาณช่วงปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ตลอดช่วงระยะเวลาที่นายค�ำพอง ได้อยู่ใต้ร่มเงาของศาสนา ได้สั่งสม ประสบการณ์จากการศึกษาธรรมะ อย่างแตกฉาน ท�ำให้มกี ารฉายแวว และเบ่งบานอยูใ่ นผลงานของหมอล�ำ ค�ำพองอย่างเห็นได้ชัด นายค�ำพอง ได้เข้ารับราชการ ต�ำรวจ ภายหลังการสึกจากสมณเพศ โดยเป็นนายต�ำรวจที่สถานีต�ำรวจ ภูธรกิ่งอ�ำเภอบ้านไผ่ (ปัจจุบัน เปลี่ยนเป็นอ�ำเภอบ้านไผ่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๒: ผู้เขียน) ซึ่งได้รับ ราชการหลายปี มีความเจริญใน หน้าที่การงาน จนได้รับยศสูงสุด คือ สิบต�ำรวจตรี ซึ่งเมื่อเทียบกับ การรับราชการในอ�ำเภอที่อยู่ต่าง จังหวัดห่างไกล ถือว่ามีความใหญ่โต
เป็นทีน่ บั หน้าถือตามาก และในช่วง ระยะเวลาทีร่ บั ราชการต�ำรวจนีเ้ อง สิบต�ำรวจตรี ค�ำพอง ก็เป็นหมอล�ำ สมัครเล่นเป็นครั้งคราวทั่วไปแล้ว เพียงแต่ยงั ไม่ได้ประกอบเป็นอาชีพ หลัก และยังไม่มคี วามสามารถด้าน หมอล�ำที่โดดเด่น หนังสือ ๒ ทศวรรษหมอล�ำ ค�ำพอง ซึง่ รวบรวมโดย นายเทพฤทธิ์ หัสโรค์ ได้กล่าวถึงจุดเปลีย่ นของการ เบนเข็มจากอาชีพทางราชการมา สู่การเป็นหมอล�ำอย่างเต็มตัว ซึ่ง อ้างจากค�ำบอกเล่าของนางสงวน หัสโรค์ ภริยาคนที่ ๑ ของหมอล�ำ ค�ำพองว่า นายค�ำพองนั้น ได้หลง รักกับหมอล�ำสาวที่มีรูปงามและ มีน�้ำเสียงไพเราะ คือ หมอล�ำเพา เป็นหมอล�ำที่มีชื่อเสียงในขณะนั้น อยู่ที่บ้านข้องโป้ ต�ำบลบ้านขาม อ�ำเภอเมืองหนองบัวล�ำภู จังหวัด
อยูใ่ นช่วงเวลาหนึง่ เพือ่ ให้พอมีรายได้ มาจุนเจือค่าใช้จา่ ยในครอบครัว เมือ่ ฝีมอื ของหมอล�ำค�ำพองเป็นทีย่ อมรับ ต่อสาธารณชนทั่วไป ท�ำให้หมอล�ำ ค�ำพองสามารถสร้างรายได้ดว้ ยการ ด�ำรงชีพเป็นหมอล�ำเพียงอย่างเดียว โดยไม่จ�ำเป็นต้องท�ำอาชีพเสริมอีก ต้องไป ทัง้ ยังท�ำหน้าทีค่ รูทจี่ ะส่งต่อ องค์ความรูแ้ ละวัฒนธรรมหมอล�ำแก่ หมอล�ำรุ่นใหม่ ให้ศิลปวัฒนธรรม สาขานี้สืบทอดต่อไป
หมอล�ำค�ำพอง (ขวาสุด) พร้อมหมอล�ำขันทอง หรือขานทอง (ซ้ายสุด) และหมอแคนทองสุข คณะบันทึกแผ่นเสียงครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๙๑ (ที่มา: ๒ ทศวรรษหมอล�ำค�ำพอง)
หนองบัวล�ำภู ด้วยความหลงรักครัง้ นี้ ส่งผลให้นายค�ำพองนั้นมีความ ตัง้ ใจอย่างเด็ดเดีย่ วทีจ่ ะลาออกจาก อาชีพรับราชการต�ำรวจ ส่วนหนึ่ง คือความตั้งใจอันมุ่งมั่นในความรัก และอีกส่วนหนึ่งคือความเชื่อมั่นใน ความสามารถของตนเอง จึงเป็นเหตุ ให้สิบต�ำรวจตรี ค�ำพอง หัสโรค์ ได้ ลาออกจากราชการต�ำรวจภายหลัง ท�ำหน้าที่มาหลายปี นายค�ำพองได้ฝกึ ปรือฝีมอื ของ ตนในระดับที่เอาจริงเอาจัง ไม่ว่า จะเป็นในด้านของการร้องล�ำ การ ประพันธ์ค�ำกลอนส�ำหรับร้องล�ำ โดยเล่าเรียนกับพระอาจารย์พนั วัด
บ้านชาติ ต�ำบลเปือยใหญ่ อ�ำเภอ ชนบท จังหวัดขอนแก่น นอกจาก นั้น นายค�ำพองยังได้ศึกษา ฝึกฝน วิชาการซ่อมสร้างขึน้ ดนตรีแคน ไป จนถึงการบรรเลงจนมีความช�ำนาญ สามารถที่จะเริ่มรับงานต่างๆ ใน ฐานะ “หมอล�ำ” ได้ ในช่วงต้นของอาชีพหมอล�ำ ชือ่ หมอล�ำค�ำพอง ยังไม่เป็นทีร่ จู้ กั ในวง กว้าง ท�ำให้รายได้ไม่เป็นที่แน่นอน และพอเพียงแก่การด�ำรงอยู่พร้อม ทัง้ ดูแลครอบครัวได้ จึงเป็นส่วนหนึง่ ของเหตุผลทีห่ มอล�ำค�ำพองได้สมัคร งานเข้าท�ำหน้าทีเ่ สมียนอ�ำเภอและที่ ว่าการอ�ำเภอชนบทเป็นอาชีพเสริม
ความส�ำเร็จ และปัจจัยสูค่ วามส�ำเร็จ ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๓ ได้มีการบันทึกแผ่นเสียง เพลงหมอล�ำในกรุงเทพฯ ขับล�ำโดย หมอล�ำคูณและหมอล�ำจอมศรี ซึ่ง ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก ด้วยความส�ำเร็จครั้งนั้น ท�ำให้ผู้จัด จ�ำหน่าย คือ นายเตีย เง็กชวน หรือ นาย ต. เง็กชวน เจ้าของแผ่นเสียง ตรากระต่าย ได้เสาะหาหมอล�ำคน อืน่ ๆ ทีม่ ฝี มี อื มาบันทึกเสียงส�ำหรับ เผยแพร่ เป็นเหตุให้หมอล�ำค�ำพอง ซึง่ ช่วงเวลานัน้ เป็นหมอล�ำทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จเป็นที่รู้จัก ได้รับการ ชักชวนให้เข้ามาบันทึกแผ่นเสียงใน กรุงเทพฯ ตรงกับปี พ.ศ. ๒๔๙๑ หลักฐานการบันทึกเสียงครั้งนั้นได้ หลงเหลือมาถึงปัจจุบัน ๓ ชุด คือ ชุดที่ ๑ เป็นการบันทึกกลอนล�ำ ล่อง เรือ่ งการสวรรคตของรัชกาลที่ ๘ หรือเรียกกันอีกอย่างว่า “กลอน หน่ออานันท์” ชุดที่ ๒ คือกลอนล�ำ ยาวเรื่อง “แม่น�้ำ” และชุดที่ ๓ คือ กลอนล�ำยาวเรื่อง “พระนเรศวรกู้ ชาติไทย” การบันทึกเสียงครั้งนั้น ยิง่ ท�ำให้ชอื่ เสียงของหมอล�ำค�ำพอง เป็นทีร่ จู้ กั กระจายไปทัว่ มีผลต่อการ จ้างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างเห็นได้ชดั โดย ภายหลังจากการบันทึกเสียงครั้งนี้ หมอล�ำค�ำพองก็ยังคงมีงานบันทึก เสียงออกมาอีกจ�ำนวนหนึง่ ทัง้ จาก 37
แผ่นเสียงตรากระต่าย หนึ่งในชุดบันทึกเสียงครั้งแรกของหมอล�ำค�ำพอง (ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=ts7SO8yQHsA)
แผ่นเสียงตรากระต่าย ไปจนถึงแผ่น เสียงตราฟิลิปส์และตราสิงโต เมือ่ ศึกษาอุปนิสยั และการท�ำงาน ของหมอล�ำค�ำพอง ท�ำให้สามารถ สรุปถึงปัจจัยส�ำคัญของการเป็น หมอล�ำทีป่ ระสบความส�ำเร็จได้ ดังนี้ ๑. หมอล�ำค�ำพองมีความรู้ เรื่องของธรรมะในพุทธศาสนา ซึ่ง เป็นการสั่งสมมาตั้งแต่วัยเยาว์ ที่ มีการบวชเรียน ปฏิทินการเข้าหา
พระสงฆ์ผู้มีความรู้ต่าง ๆ ๒. หมอล�ำค�ำพองเป็นผูท้ มี่ นี สิ ยั ใฝ่รอู้ ยูต่ ลอดรอบด้าน มิได้จำ� กัดแต่ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ๓. หมอล�ำค�ำพองเป็นผูน้ ยิ มชม ชอบในการสะสมหนังสือและต�ำรา ต่าง ๆ อันเป็นวัตถุดิบชั้นดีในการ การพบสมุดกลอนล�ำ ความส�ำคัญ สร้างบทกลอนล�ำที่ใช้ในการแสดง และสรุป ๔. หมอล�ำค�ำพองเป็นผู้ที่มี ช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ความสนใจในเรื่องของข่าวสาร ๒๕๖๑ ผูเ้ ขียนได้พดู คุยกับอาจารย์
สภาพภายนอกของสมุดกลอนล�ำของหมอล�ำค�ำพอง (ที่มา: ธวัช วิวัฒนปฐพี)
38
บ้านเมืองต่าง ๆ ซึ่งมิได้จ�ำกัดแต่ เรื่องราวภายในประเทศ แต่ยังคง ติดตามข่าวสารเรื่องราวระหว่าง ประเทศอีกด้วย จากทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาจะเห็นได้ ว่า การที่หมอล�ำค�ำพองมีลักษณะ ดังทีก่ ล่าวมาสีป่ ระการนัน้ ส่งผลต่อ ผลงานอย่างชัดเจน เพราะผลงาน แต่ละชิ้นของหมอล�ำค�ำพองนั้นมี ความทันต่อยุคสมัย เปรียบเสมือน จดหมายเหตุของสังคมทีม่ าในรูปแบบ ของหมอล�ำ ทัง้ ยังแฝงไปด้วยแง่คดิ และคติธรรมสอนใจ หมอล�ำค�ำพองอุทิศตลอดชีวิต ที่เหลือเป็นหมอล�ำ และ “ครู” ผู้ สืบสานความรูข้ องหมอล�ำแก่บรรดา ลูกศิษย์ โดยมีลกู ศิษย์ทมี่ าจากหลาก หลายสารทิศทัว่ ทัง้ ภาคอีสานเข้ามา พึง่ พาและศึกษาหาความรู้ หมอล�ำ ค�ำพองเสียชีวิตในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ด้วยโรคปอด รวมอายุได้ ๗๒ ปี
สภาพภายในของสมุด (ที่มา: ธวัช วิวัฒนปฐพี)
จากสภาพโดยรวมจะเห็นได้ว่า มี ร่องรอยความพยายามจะซ่อมแซม หลายต่อหลายครัง้ และท้ายทีส่ ดุ ก็ เสื่อมสภาพตามกาลเวลา ส่วนของเนื้อหานั้น ส่วนมาก จะบันทึกด้วยปากกาหมึกด�ำ มีการ ใช้ดนิ สอบ้างประปราย มีความเลือน ลางตามกาลเวลา (สันนิษฐานว่าเป็น ลายมือของหมอล�ำค�ำพองเอง หรือ อาจลายมือของเสมียนเก่าส่วนตัว) ทัง้ ยังมีการฉีกขาด ท�ำให้ยากแก่การ ปะติดปะต่อเนือ้ หา เลขหน้าทีร่ ะบุใน ตัวเล่มมีส่วนที่ขาดตอนไม่ต่อเนื่อง บ้าง แต่การเรียงล�ำดับของเนื้อหา ยังคงเรียงล�ำดับได้ถกู ต้อง ไม่มกี าร สลับหน้า จากเนื้อหาในเล่ม ท�ำให้ สามารถอนุมานถึงปีที่มีการบันทึก
ธวัช วิวฒ ั นปฐพี ซึง่ เคยด�ำรงต�ำแหน่ง อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาดนตรี คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และ ยังเป็นเจ้าของหอพักที่ผู้เขียนได้ เช่าอาศัย ท�ำให้ได้ทราบและพบว่า มีสมุดบันทึกกลอนล�ำของหมอล�ำ ค�ำพองหลงเหลือมาในสภาพทรุด โทรม ซึ่งเป็นสมบัติที่สืบทอดมา จากทางฝัง่ ภรรยาท่าน คือ ดร.เกศรี วิวฒ ั นปฐพี ซึง่ เป็นหลานแท้ ๆ ของ หมอล�ำค�ำพอง นับเป็นเหตุบังเอิญ อย่างยิง่ ทีไ่ ด้พบเอกสารส�ำคัญในช่วง เวลาและสถานที่ที่คาดไม่ถึง สมุ ด กลอนล� ำ ที่ พ บนั้ น มี สภาพทรุดโทรมเป็นอย่างมาก มี ขนาดเล่มค่อนข้างใหญ่ คือ ๒๐ x ๓๑ เซนติเมตร หนาประมาณ ๗๐ หน้า รูปเล่ม สัน เนื้อกระดาษ มี ความเสื่อมสภาพอย่างเห็นได้ชัด ภายในบรรจุกลอนล�ำเรื่องต่าง ๆ ไปจนถึงบันทึกเบ็ดเตล็ด เป็นองค์ ความรู้ที่หมอล�ำค�ำพองใช้อ้างอิง บันทึกกลอนล�ำเรื่องพระเวสสันดรซาดก ๑๔ กัณฑ์ (ที่มา: ธวัช วิวัฒนปฐพี) ในการประพันธ์กลอนล�ำของท่าน 39
๑๗. กลอนเกี้ยวสาวผู้ฮ้าย ๑๘. กลอนถามข่าว ๑๙. ประวัติบ้าน ๒๐. กลอนบอกบ้าน ๒๑. กลอนล�ำ (ไม่สามารถ ระบุชื่อได้) ๒๒. กลอนล�ำ ๒๓. กลอนแก้เขาส่าว่าเราท�ำบ่อดี ๒๔. เบ็ดเตล็ด ๒๕. กลอนผอกชู้เก่า ๒๖. ภาษาเวียดนาม ๒๗. คัมภรีองั ครมุติ (ถาม-แก้) ๒๘. บาลีไวยกรณ์ (ถาม-แก้) และ ๒๙. กลอนแก้อำ� เภอต่าง ๆ ใน ๗๐ จังหวัด จะเห็นได้ว่า ในเนื้อหาส่วนที่ เป็นกลอนล�ำนัน้ มีเนือ้ หาทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ประวัตศิ าสตร์ สังคม เหตุการณ์ บ้านเมืองของประเทศไทย รวมไป ถึงนิทานพืน้ บ้าน ชาดกในพระพุทธ ศาสนา สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถ ของหมอล�ำค�ำพอง ทีส่ ามารถหยิบ จับวัตถุดบิ ความรูร้ อบตัวให้มาอยูใ่ น รูปแบบของกลอนล�ำได้ โดยสรุป กล่าวได้ว่า ความ กลอนล�ำเรื่องไทยขืนดินแดนให้ฝรั่งเศส (ที่มา: ธวัช วิวัฒนปฐพี) ส�ำคัญของการพบสมุดกลอนล�ำของ หมอล�ำค�ำพองนี้ จะช่วยให้การศึกษา ได้ คือ อยู่ในช่วงประมาณปี พ.ศ. กับลูกคือท้าวสุริวงศ์ ทางด้านประวัตศิ าสตร์หมอล�ำได้รบั ๒๔๙๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๑ (จากกลอน ๖. ความรู้เบ็ดเตล็ด การเพิม่ เสริมแต่งให้มคี วามสมบูรณ์ ล�ำเรือ่ งรัฐประหาร ตอน ๒ มีเนือ้ หา ๗. ลาํ เรือ่ งพระเวสสันดรซาดก และเป็นประโยชน์แก่ชนรุน่ หลัง โดย สื่อไปในปี พ.ศ. ๒๔๙๐: ผู้เขียน) ๑๔ กัณฑ์ ในขั้นตอนต่อไปที่ต้องด�ำเนินการ เนื้อหาทั้งหมด ซึ่งประกอบไปด้วย ๘. กลอนเจ๊กโง่ โดยเร่งด่วน คือ ผู้เขียนจะส�ำเนา กลอนล�ำ บันทึกข่าวสาร ไปจนถึง ๙. กลอนมัก เนื้อหาต่าง ๆ ภายในสมุด ก่อนที่ เนื้อหาเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ภายในเล่ม ๑๐. เบ็ดเตล็ด ตัวเล่มต้นฉบับจะเสื่อมสภาพ (จน มีดังนี้ (หมายเหตุ ๖ หน้าแรกของ ๑๑. ล่องของ ไม่สามารถใช้งานได้) ให้อยูใ่ นระบบ ตัวเล่ม ฉีกขาดสูญหายไป) ๑๒. ภูมิศาสตร์เมืองกาย ดิจติ อลเพือ่ เผยแพร่เป็นประโยชน์แก่ ๑. รัฐประหาร ตอน ๒ ๑๓. กลอนว่าผู้หญิงไม่ดี นักวิจยั ผูส้ นใจ ให้สามารถเข้าถึงได้ ๒. พุทธธรรมนาย ๑๔. แก้ผู้ชายดี โดยง่าย อย่างไรก็ดี สมุดกลอนล�ำของ ๓. เรือ่ งไทยขืนดินแดนให้ฝรัง่ เศส ๑๕. พระมูลกระจายนสูตร หมอล�ำค�ำพองนี้ มีสภาพทีท่ รุดโทรม ๔. เดินดงสินไชย ๑๖. กลอนรวมกฎหมายธรรมนูญ เป็นอย่างมากดังทีแ่ จ้งไว้แต่ตน้ ท�ำให้ ๕. นิทานเรือ่ งนางพิมพาเดินดง ๑๘๘ มาตรา มีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องปฏิบตั ิ 40
ตามหลักการส�ำเนาเอกสารโบราณ ทีจ่ ำ� เป็นต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร ในการด�ำเนินการ เชื่อว่าเมื่อการ ส�ำเนาส�ำเร็จลุล่วงไปได้ หลักฐาน ส�ำเนาของสมุดกลอนล�ำนีจ้ ะเป็นฐาน ข้อมูลส�ำคัญในการศึกษาผลงานของ หมอล�ำค�ำพอง และประวัติศาสตร์ หมอล�ำอีสานต่อไป
บันทึกเบ็ดเตล็ดที่ปรากฏในเล่ม (ที่มา: ธวัช วิวัฒนปฐพี)
บรรณานุกรม โต้ง อนุรกั ษ์. (๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗). ล�ำตอบข่าว-หมอล�ำค�ำพอง หัสโรค์. เข้าถึงได้จาก www.youtube. com: https://www.youtube. com/watch?v=irhzn1Wle3g โต้ง อนุรกั ษ์. (๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๙). ล�ำเรื่องสวรรคต-กลอนหน่อ อานันท-หมอล�ำค�ำพอง หัสโรค์ [๒๔๙๑]. เข้ า ถึ ง ได้ จ าก www.youtube.com: https://www.youtube.com/ watch?v=ts7SO8yQHsA เทพฤทธิ์ หัสโรค์. (๒๕๓๖). ๒ ทศวรรษ หมอล�ำค�ำพอง. ม.ป.ท. วิภารัตน์ ข่วงทิพย์. (๒๕๖๐). Basic Mo-Lum. (หน้า ๒-๕). มหาสารคาม: คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สนอง คลังพระศรี. (๒๕๕๔). แคน: ระบบเสียงและทฤษฎีการบรรเลง. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ดนตรี). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
หมอล�ำค�ำพองในวัยสูงอายุ (ที่มา: ๒ ทศวรรษหมอล�ำค�ำพอง)
41