Ebook energy saving#76

Page 1




Issue 74 March 2015 8 Editor’s Note 10 News Report : เปิดตัว สถาปนิก’ 58 จัดใหญ่ ASA NEXT ตัวตน คนไทย 18 Cover Story : SOLAR CELL ขุมพลังทีไ่ ม่มวี นั สิน้ สุด 24 Interview : พลาสมาก๊าซซิฟเิ คชัน่ เทคโนโลยีสเี ขียว แห่งศตวรรษที่ 21 26 Interview : บริหารจัดการพลังงานแบบ LeKise ประหยัดได้มากกว่า 40% 28 Interview : ต่อยอดนวัตกรรมฝีมอื คนไทย รับตลาด AEC ภายใต้แบรนด์ HEMan 30 Product Highlight - Construction : หน้าต่าง LOW-E ลดสภาวะโลกร้อน 32 Product Showcase – Construction : Beger Shield Air Fresh สีฟอกอากาศ สะอาด 3 มิติ 35 Product Highlight – Industrial : จอห์นสัน คอนโทรลส์ ร่วมมือ ฮิตาชิ จัดตั้ง บริษัทร่วมทุนด้านระบบท�าความร้อน-ความเย็น ระบบระบายอากาศ 38 Product Showcase – Industrial : เครื่องซักผ้าขนาดใหญ่ส�าหรับใช้ในอุตสาหกรรม

30

40 Product Highlight – Commercial : SAMSUNG เครือ่ งซักผ้าฝาหน้า กว้าง เงียบ เร็ว ประหยัดพลังงาน 43 Product Showcase – Commercial : Remote control Energy saver 46 Product Highlight – Logistics : TNT เริม่ ระบบชดเชยคาร์บอนบริการขนส่งด่วน ไม่คิดค่าธรรมเนียมเพิ่มเติม 48 Product Showcase – Logistics : น�า้ มันเครือ่ งส�าหรับรถบรรทุกเครือ่ งยนต์ดเี ซล 51 Special Feature : “เอเซนเทค” ชูนวัตกรรม RFID พัฒนาอากาศยานไร้คนขับและโฟล์คลิฟท์ 52 Renergy : ขยะเมืองไทยไม่มีปัญหา เอกชนพร้อมลงทุน 100% เทคโนโลยีพร้อม เงินทุนพร้อม ขยะยังไม่พร้อม 54 Energy Management : โรงแรมริชมอนด์ กับ การจัดการพลังงานสู่ความส�าเร็จ

52 40 4

March 2015



Issue 74 March 2015 56 Building Management : TREES PRE NC “เกณฑ์การประเมินอาคารเขียวขั้นออกแบบ“ 58 Green Logistics : แรงจูงใจของพนักงานขับรถ ส่งสินค้า ทีม่ ผี ลต่อการปฏิบตั งิ าน 60 0 Waste Idea : เมืองคาร์บอนต�่า แนวทางของเมืองในอนาคต 62 Environment Alert : ปัญหาการจัดท�าผังเมือง ถึงเวลาต้องปฏิรูปเพื่อชุมชน 64 Energy Focus : ศึกษาดูงานโรงไฟฟ้าในต่างแดน (ตอนจบ) 66 Greenhouse Gas Management : โลกก�าลังมุ่งหน้าสู่การจัดท�า “ข้อตกลงโลกร้อนฉบับใหม่” และ iNDC 68 Green Building : Bangkok Tree House 72 Green Industrial : ไออาร์พีซี ติดตั้ง ดาต้า เซ็นเตอร์ ขานรับ เออีซี ใช้บริการ จาก ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

68

72 6

March 2015

78 75 Open House : เปิดบ้าน บริษทั เพาเวอร์ โซลูชนั่ ฯ ผูน้ า� ด้านการบริหารจัดการระบบไฟฟ้าและพลังงาน 78 Vertical Market : ราคาพลังงาน... มีลง ย่อมมีขนึ้ ความจริงทีต่ อ้ งยอมรับ 82 Viewpoint : เพิ่มสถานีบริการ NGV รองรับความต้องการเพิ่ม 84 Energy Knowledge : มข. ปลืม้ งานวิจยั “อาคารทีใ่ ช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์” 86 Energy Invention : รถสามล้อพลังงานถ่านฟืน ประหยัดเชื้อเพลิงมากกว่า 10 เท่า 88 Energy Report : ต้นทุนส�าคัญของความคิด สร้างสรรค์ คือ ประสบการณ์ 90 Energy Loan : สถาบันไฟฟ้าฯ ใส่ใจพลังงาน จัดตั้งกองทุนส่งเสริมการออกแบบฯ วงเงิน 5 แสนบาท 92 Special Report : ก�ากับกิจการพลังงาน...เข้าเป้า ต่อยอดสูผ่ ใู้ ช้พลังงาน เพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน 94 Special Scoop : กรมโรงงานฯ รุกโครงการ อุตสาหกรรมสีเขียวหวังช่วยผู้ประกอบไทย ลดการใช้พลังงาน 98 Green 4U 101 แบบสมัครสมาชิก 102 แวดวงนักพลังงาน 103 Energy Gossip 104 Energy Movement 106 Event Calendar



และหลากหลาย เพือ่ ให ผอู า นได เพลิดเพลินและได สาระไปพร อมๆ กันด วยค ะ

แหง 4 หง 4 250 50 9

Anniversary

สํ า หรัAnniversary บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กั น ด ว ยเรื่ อ งของแผ น กระจก และอุนิปตกรณ ระกอบฉบับโดยการนํ าเสนอคอลั น แล Cover ยสารปBuilder เดือนตุลาคมนี ก้ เ็ ป นฉบับทีม่ 12 ว ครบรอบStory นิตหนึ ฉบับเดือนตุลตนาคมนี ก้ เ็ ป น่อฉบั บที่ 12างๆ แล ว ครบรอบ ผ านมุ มยสาร มองไปยั งงานสถาป ่งป ทBuilder ่นี ิตยสารของเราได ํยกรรมและงานตกแต าเสนอเรื งราวต ไว มงภายในที ากมาย ่ใช ่งป ท่นี ิตยสารของเราได เสนอเรื า่องๆงของวั มากมาย เพือ่ ให ผนอกจากนี อู นา ํานได เพลิ่อด้ยงราวต เพลิ นเและได สไว าระไปพร กและหลากหลาย ระจกได น าสนใจ ั ง มี รื ส ดุ ออุปมๆกรณ ที่ วัสดุหนึ สวัสดดีเพลิ คะ่ คุนณและได ผูอ้ า่ นทุสการะไปพร ท่าน กลับอมานั และหลากหลาย อ่ ให ผอู า นได เพลิ มๆง่ ทีร่ ายงานตัวกันเป็นประจ�าทุกเดือน กันด วยค ะ อเพืสร คณะผู้จัดทำ� ใช ประกอบการก า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั ้ ง บทสั มภาษณ ในช่วงเดือนที่ผ่านมาประเด็นด้านพลั งงานดูเหมือนจะเป็นประเด็น กันด วยค ะ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนวคิ แนล จ�าดกัดการทํางานของนักพัฒร้นาอสั อนแรงทีง่หหาริ ลายภาคส่ วพ นจัย บห ตามอง ม ทรั ญิ ง เก เพราะเป็ งแห งนเรื่องความมั่นคงด้าน สํ า หรั บ ฉบั บ ที ่ 12 นี ้ เรามาว า กั น ด ว ยเรื ่ อ งของแผ น กระจก 200/7-14 ซ.รามค�าแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง โดยเฉพาะกรณี ก ารเปิ ด สั ม ปทานปิ โ ตรเลี ย ม ฐ บปพร็ ี้ โดยการนํ และแนวคิ ด การสร งสรรค าและอุ หรั ฉบักรณ บอทีพเพอร ่ป12 นี้ ตเรามาว าพลักั นงางานของประเทศ ด ว ยเรื ่ อ งของแผ น กระจกง านของ ระกอบ มน ้ ยาั งCover กรุงเทพมหานคร 10250 พั ฒ สํนรั รอบทีเสนอคอลั ่ 21 ที่ ข ณะนี ไม่ ล งตั ว Story แม้ จ ะผ่ า นเวที รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น และอุ ปฒ กรณ ปเจริ ระกอบ โดยการนํ าเสนอคอลัมน Cover Story ญงชาศรี จากตจากภาคประชาชนและภาครั DUCTSTORE theงภายในที ผ านมุ มน มองไปยั งานสถาป ยกรรมและงานตกแต โทรศัพท์ (66) 2717-2477 คุณนนทวั ฐdesign บาลไปแล้่ใช วguru ผ าวันมุ งนงานสถาป ตยกรรมและงานตกแต งภายในที ่ใช รูป สดุมกด มองไปยั ระจกได าสนใจ นอกจากนี ้ ย ั ง มี เ รื ่ อ งของวั ส ดุ อ ุปกรณ ที่ แบบ โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 Co.,Ltd. ว ย GRAPHITECTURE แนวคิ ด นอกกรอบสู ล่าสุ้ยดังนายกรั มนตรีได้สมดุอบหมายให้ ระจกได น าสนใจ นอกจากนี มีเรื่อฐงของวั อบทสั ุปกรณ ที่ส�านักงานปลัดส�านักนายกรัฐมนตรี วัสใช ดุปกระกอบการก อ สร า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั ้ ง ม ภาษณ สรรหาคณะกรรมการขึ ้ น มาชุ ด หนึ ่ ง เพื คอลัมนิสต์​์: ที่หลากหลาย แต ห ากใครสนใจเรื ่ อ งของวั ส ดุ เ รายั ง มี ร ี ว ิ ว สิ่อนแก้ค ไาขปัญหาในประเด็นที่ยัง ใช แนวคิ ประกอบการก สร าง-ติดตัก้พังงานกระจก รวมทั ้งพบทสั มภาษณ ดการทํงประเทศไทย าองานของนั ฒไม่นาอสั งหาริ มนทรัหน้ เก งแห โงตรเลียมรอบที่ 21 โดยต้องให้ ลงตัวในการเดิ าย เปิหดญิสัมงปทานปิ คุณพิชัย ถ่ินสันติสุข ตบสาหกรรมแห่ เกีสภาอุ ่ยวกั กระจกให ผ อ ู า นของเราได ส าระเช น กั น แนวคิ ด การทํ า งานของนั ก พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ห ญิ ง เก ง แห ง ได้ข้อสรุปดก่การสร อนวันที่ า16งสรรค มี.ค. นีง้ านของ ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้ ประกอบไปด้วย พั ฒ นรั ฐ พร็ อ พเพอร ตี้ และแนวคิ

EDITOR’S NOTE

เดินหน้าโซลาร์ รูฟท็อป

อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์ บริษพั​ัทฒอินรั นโนเวชั ด ฐ พร็่นฒอเทคโนโลยี พเพอร ตจ�ี้ ากัและแนวคิ ด การสร า งสรรค ง านของ ตัDUCTSTORE วแทนกระทรวงพลั งthe งาน design กลุ ม่ ผูเ้ ห็นguru ต่าง กลุม่ นักวิชาการและนักกฎหมาย คุณนนทวั นนทวั เจริ ญชาศรี จาก ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร จุฬคุาลงกรณ์ มหาวิ ทน ยาลั ย ชาศรี ณ ฒ น เจริ ญ จาก DUCTSTORE the design guruอสรุปเดินหน้ เพื อ ่ ให้ ไ ด้ ข อ ้ มู ล ที ค ่ รบถ้ ว น ก่ อนหาข้ สุ ด ท า ยในวาระครบรอบหนึ ง ่ ป ที ม งาน Builder ขอขอบพระคุ ณาโครงการต่อไป ก็ไม่รวู้ า่ Co.,Ltd. ด ว ย GRAPHITECTURE แนวคิ ด นอกกรอบสู ร ป ู ดร.สิทธิชัย ฝร่ังทอง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ธนบุ ร ี Co.,Ltd. ด วย GRAPHITECTURE นอกกรอบสู แบบแบบ บทสรุแนวคิ ปงของวั สุดท้ดายจะเป็ นรายั เช่นงไรมี รูป เพราะยิ ่งค ได้าค�าตอบช้าเท่าไร ปัญหาความ รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูม มณ หาวิและผู ทยาลัแต ยอ ่ลากหลาย หลากหลาย ห ากใครสนใจเรื ่ อ ส ดุ เ ร ี ว ิ ว สิ น จุฬอี ทีาลงกรณ์ ปุ ่หทีการคุ า นทุ ก ท า นที ต ่ ด ิ ตามกั น มาโดยตลอด และหวั แต หากใครสนใจเรื งของวั เรายังมีรีวิวสินยค ิ่งาใกล้เข้ามาเท่งานั้น มั่น่อคงด้ านพลัสงดุงานของประเทศก็ อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ กรมส่ งเสริ มคุ่งบณว กระจกให ภาพสิ ่งท แวดล้ อ ามนของเราได เกี ย ่ วกั ผ อ ู ส าระเช น กั น นเราต อไป แล วเรา เป น อย า งยิ า ทุ ก า นจะติ ด ตามและสนั บ สนุ เกี่ยวกับกระจกให ผู อ านของเราได กลัสบาระเช มาเข้านเรืกั่อนงของเรากันบ้างดีกว่า Energy Saving ฉบับนี้ เรื่องเด่น คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม จะนํ า เรื อ ่ งราวดี ๆ ที น ่ า สนใจและไอเดี ย ใหม ๆ่องมานํ าเสนอในเล าฉบับเสนอเรื “Solar Cell” ที่เข้ากัมบสถานการณ์บ้านเมือง ดร.ณัฐริกา วายุภาพ นิติพน องค์กสุารบริ ารจัดการก๊าซเรือนกระจก่งป ประจ� าหยในวาระครบรอบหนึ มงาน Builder ขอขอบพระคุ ณ ง่ ทีจ่ ะช่วยแก้ไขปัญหาความ สุดงานพั ท ดาท ยในวาระครบรอบหนึ ่งป ทีปัมจทีงาน Builder ณอไปนะคะ จุบนั พอดิ บครบรอบเล พอดีขอขอบพระคุ ปฏิเสธไม่ไม ด้วต า่ หนทางหนึ อย า ลื ม ติ ด ตามเราในฉบั บ คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ต อส�ๆ านักผูไปนะคะ ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ ม ปุ อี การคุ ปุ การคุ ณและผู อ นทุา นทุ กาท นทีานที ต่ ตามกั ดิ ตามกั นงานของประเทศให้ มาโดยตลอด และหวั งนไปได้ คงจะหนีไม่พ้นเรื่องของ ผู ม อ ี ณ และผู อ า ก ท ต ่ ด ิ น มาโดยตลอด และหวั ง มั น ่ คงด้ า นพลั ง ผ า ่ นพ้ รี มรรคา มรรคา เทคโนโลยี แห่างชาติ เป นอย นอย งยิ ่งาว ทุากทุท กาท นจะติ านจะติ ดตามและสนั บนสนุเราต นเราต อไป แล วเรา ตย์ทตี่ อนนีร้ ฐั บาลเดินเครือ่ ง พลั ง งานทดแทน โดยเฉพาะพลั ง งานแสงอาทิ เป า งยิ ง ่ ว ด ตามและสนั บ สนุ อ ไป แล ว เรา มน มรรคา มรรคาทีมง�นฝ่�ยบริห�ร: มน จะนําเรืาเรื ่องราวดี าสนใจและไอเดี ยใหม ๆโซลาร์ มานํ ต่อยอดโครงการ รูฟาเสนอในเล ท็อป อย่มางเต็มมก�าลัง จากเดิมที่เคยติดปัญหา จะนํ ่องราวดี ๆ ๆที่นที า่นสนใจและไอเดี ยใหม ๆ มานํ าเสนอในเล าร มรรคา มรรคา กรรมการผู้จัดการ าร คุณชา ชาตรี มรรคา การขอใบอนุ ญาตประกอบกิ ต ๆอนัๆนไปนะคะ ไปนะคะอย อย ามลืติมดติตามเราในฉบั ดตามเราในฉบั บครบรอบเล มไปนะคะ ต จการโรงงาน อไปนะคะ(รง.4) ท�าให้หลายโครงการต้อง ต อ า ลื บ ครบรอบเล ม ต อ ณั ช ทกาญจน นุนุsupaman@ttfintl.com ชช มีมีเเมืมือองง รองกรรมการผู้จัดการ คุณศุภแมน มรรคา พับไปแบบไม่มีก�าหนด ซึ่งในปัจจุบันโครงการที่มีก�าลังการผลิตไม่เกิน หั ว หน า กองบรรณธิ ก าร 1,000 กิโลวัตต์ หรือ 1 เมกะวัตต์ ไม่เข้าข่ายโรงงานอุตสาหกรรมและ รองกรรมการผู้จัดการ คุณศุภวาร มรรคา ไม่ต้องยื่นขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4) แล้ว ส่งผลให้การ editor.buildernews@gmail.com Publishing Director คุณณัปิณั ยชะนุ ชนัมีนนัเมืทกาญจน ง ชชา นอทกาญจน ชา ลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์ รูฟท็อป กลับมาคึกคักอีกครั้ง... มน มรรคา มรรคา supaman@ttfintl.com supaman@ttfintl.com มน วหน ากองบรรณธิ ฝ่�ยข�ยโฆษณ� หัวหัหน ากองบรรณธิ การการ ถ้าคุณผูอ้ า่ นอยากรูร้ ายละเอียดเพิม่ เติมมากกว่านี้ Energy Saving ฉบับนี้ Sales Director คุณeditor.buildernews@gmail.com ศุeditor.buildernews@gmail.com ภแมน มรรคา มีค�าตอบ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า...สวัสดีค่ะ 2477 -2477 supaman@ttfintl.com 777 6-9976 ติดต่อฝ่ายขายโฆษณา โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 135, 144 16-9976 ปิยะนุช มีเมือง หัวหน้ากองบรรณาธิการ ติดต่อฝ่ายสมาชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 169, 171 ติดต่อฝ่ายบรรณาธิการ โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 108, 148, 226 piyanuch@ttfintl.com

ทีมง�นฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร:

ทีมงานฝ ยกองบรรณาธิ หัวหน้าาทีกองบรรณาธิ การ การ:การ: ปิยะนุช มีเมือง ทีมมงานฝ งานฝ าายกองบรรณาธิ ยกองบรรณาธิ หัวหน ากองบรรณาธิ การ การ คุณการ: ณัชชารุชตชานัเถืนนั่อทกาญจน กองบรรณาธิ ก าร า หั ว หน า กองบรรณาธิ ด หัวหน ากองบรรณาธิการ คุนัณคุษณั ณณัชชานนทองค� นัทกาญจน นทกาญจน natcha.tank@gmail.com าร natcha.tank@gmail.com อภั สรา วัลลิภผล าร natcha.tank@gmail.com

นคร 10250 านคร 10250

กองบรรณาธิ กองบรรณาธิ การ กการาร กองบรรณาธิ

จีรพร ทิพย์เคลือบ

คุณคุ่งหนึ ่งฤทั ยคาทุ คาทุ เซฟสกี ้​้ ้ คุณหนึ ย่งฤทั สสเซฟสกี ณฤทั หนึ ย งรุคาทุ สเซฟสกี คุมณี ณณัีรฐัตธยาน รุตะนะมงคล จิไพศาล เลขากองบรรณาธิการ น์ วั ฒ คุ ณ ณั ฐ ธยาน รุ ง รุ จ ไ ิ พศาล คุณณัคุณฐภัธยาน จิไพศาล ณฑิรา รุมี งลรุาภ ณฑินิภัชรณ มีลยาภ ศิลปกรรม คุณภัคุศุณ าา ฑิพวงเนตร มีรลาเสถี าภ ณคุภอรวรรณ รเขต ยรเขต อาร ตไดเรคเตอร คุณคุยิณ่งอรวรรณ ยศ จารุ บเสถี ุษปายน คุ ณ อรวรรณ เสถี ย รเขต อาร ตกไดเรคเตอร ยศ จารุ บกุษข ปายน กราฟ ดีไซเนอร March 2015 คุ่งณคุยศ ธีณรยิภั่งทจารุ ร สลั ดุษทุปายน อาร 8ตไดเรคเตอร คุ ณ ยิ บ กราฟ กดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข ชั่นแนลกราฟ จํากัดกดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข

WHERE TO FIND

WHERE TOTO FIND WHERE FIND



News Report อภิสิทธิ์ วัฒณลาภมงคล

เปิดตัว จัดใหญ่ ใกล้เข้ามาเต็มทีสา� หรับงานสถาปนิก’58 ซึง่ ปีนจี้ ด ั ขึน ้ เป็นปีท่ี 29 แล้ว ในปีนี้มีการพัฒนายกระดับมาตรฐานการจัดงานให้เป็นงานระดับ นานาชาติอย่างแท้จริง รองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อให้งานสถาปนิก ARCHITECT EXPO หรือ ASA EXPO เป็น ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและซื้อขายวัสดุก่อสร้าง ในกลุ่ม อาเซีย น และจะเป็น ปัจจัยหนึ่งที่ท�าให้เกิดการสนับ จาก ภาครัฐและสังคมมากยิ่งขึ้น

สมาคมสถาปนิกสยามฯ จัดใหญ่ งานสถาปนิก’58 ภายใต้ คอนเซ็ปต์ “อาษา 2015 ( ASA Next ) ตัวตนคนไทย” เพื่ อ แสดงตั ว ตน ความเป็ น เลิ ศ ด้ า นการออกแบบของ สถาปนิกไทยในทุกสาขาอาชีพสูเ่ วทีโลก โดยสร้างภาพลักษณ์ ใหม่ให้เป็นงาน Design Fair ระดับอาเซียน น�าเสนอด้วย รูปแบบการจัด นิทรรศการงานมิวเซียม หรือ Art Gallery จัดแสดงวัตถุผลิตภัณฑ์ นวัตกรรม งานดีไซน์ใหม่ ๆ เพื่อเทียบชั้น กับ มิลานแฟร์ ซึ่งได้รับเกียรติจาก คุณพิชัย วงค์ไวศวรรณ นายก สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ คุณชนะ สัมพลัง ประธานจัดงานสถาปนิกสยาม และ คุณชาตรี มรรคา กรรมการ ผู้จัดการบริษัท ทีทีเอฟอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด ร่วมบรรยาย ให้ ข ้ อ มู ล ของงานในครั้ ง นี้ โดยงานดั ง กล่ า วจะจั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 28 เม.ย. – 3 พ.ค. 58 ณ ชาเลนเจอร์ 1-3 ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพค เมืองทองธานี

ภายในงานมี ก ารจั ด แสดงนิ ท รรศการและกิ จ กรรมส� า คั ญ อาทิ นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “ผ่านพระเนตร” (The world through HRH Princess Maha Sirinthorn’s eyes) นิทรรศการทีแ่ สดงถึงความเป็นไทย ภาพถ่ า ยฝี พ ระหั ต ถ์ เ กี่ ย วกั บ งานสถาปั ต ยกรรมไทย การศึ ก ษา สถาปัตยกรรมไทยผ่านสายพระเนตร สมุดบันทึกส่วนพระองค์ ซึง่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ กับการอนุรกั ษ์ การเรียนการสอนสถาปัตยกรรมไทยอันเป็น “ราก” ของคนไทย นิทรรศการสถาปนิก 100 (Selected projects) นิทรรศการส่วนนี้ จัดแสดงศักยภาพและความหลากหลายของสถาปนิกไทยให้ประเทศ ในกลุ่มอาเซียนได้รับรู้ นิทรรศการนิสิต – นักศึกษา เป็นการแสดง ผลงานทีเ่ ป็นทีส่ ดุ ของแต่ละมหาวิทยาลัย 99 ผลงาน จาก 33 สถาบัน การศึ ก ษา นิ ท รรศการสถาปนิ ก ไทยที่ ส ร้ างชื่ อเสี ยงในเวที โลก เป็นการน�าผลงานของสถาปนิกไทยตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั จัดมาแสดง ที่สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กับสถาปนิกรุ่นใหม่ นิทรรศการ สถาปนิกเอเชีย เป็นการเปิดโลกทัศน์ให้คนไทยได้เห็นความเป็นไป ในวงการสถาปัตยกรรมรอบ ๆ บ้านเรา ฯลฯ 10

March 2015

นอกจากนี้ ภายในงาน ยังมีการแลกเปลี่ยนความคิด ประสบการณ์ บรรยายให้ความรู้ สัมมนาวิชาการ (ASA FORUM 2015) จาก ผู้เชี่ยวชาญและนักออกแบบของไทย อาทิ คุณดวงฤทธิ์ บุนนาค คุณปรัชญา สุขแก้ว คุณอมตะ หลูไพบูลย์ และคุณภาณุ อิงคะ วัตเป็นต้น และที่พลาดไม่ได้คือ การบรรยายโดยสถาปนิกชื่อดัง ระดับโลกจากหลากหลายชาติ เช่น Mr. John Lin – Rural Urban Framework จากเขตบริหารพิเศษฮ่องกง Mr. Peter Rich – Peter Rich Architects จากปารากวัย Mr. Solano Benitez ผู้ก่อตั้ง Gabinete de Arquitectura และ Mr. Fernando Menis จาก Fernando Menis Architect ประเทศสเปน เป็นต้น โดยจะเริ่ม บรรยายใน วันที่ 30 เม.ย - 3 พ.ค. 58 การจั ด งานสถาปนิ ก ถื อ ว่ า เป็ น งานในวงการก่ อ สร้ า งใหญ่ ที่ สุ ด ในอาเซียนและมีความน่าสนใจ เพราะสถานการณ์การลงทุนใน ประเทศไทย ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ฉะนั้น ในปีนี้น่าจะมีการ เพิ่มผู้จัดแสดงสินค้าเพิ่มขึ้นประมาณ 200 บูธ ล่าสุดพื้นที่จัดแสดง สินค้าในงานสถาปนิก’58 มีผปู้ ระกอบการจับจองพืน้ ทีแ่ ล้วกว่า 80% ผู้ที่สนใจสามารถติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหว งานสถาปนิก’58 ได้ที่ www.ArchitectExpo.com และ Facebook/ArchitectExpo หรือ ดาวน์โหลด ArchitectExpo Application ได้ทั้ง iOS และ Android ส�าหรับผู้ที่ลงทะเบียนออนไลน์ล่วงหน้าผ่านทางเว็บไซต์ จะได้รับ ArchitectExpo Buyers’ Guide (ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขที่ก�าหนด )


News Report กองบรรณาธิการ

6 องค์กรยักษ์ใหญ่ผู้ผลิตไฟฟ้าและปิโตรเคมี น�าร่องทดลองระบบซื้อขายก๊าซเรือนกระจก

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. จับมือกับ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการผลักดัน 6 องค์กรยักษ์ใหญ่ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า และปิ โ ตรเคมี น� า ร่ อ งทดลองระบบการซื้ อ ขายใบอนุ ญ าต ปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Trading Scheme) หรือ ระบบ Thailand V-ETS อบก. และศูนย์บริการวิชาการแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ลงนามบันทึกความร่วมมือโครงการน�าร่องระบบการ ซื้อขายใบอนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจของประเทศไทย เพื่อร่วมกัน ทดสอบระบบการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Measurement, Reporting and Verification System หรือ ระบบ MRV) และพัฒนา กฎการด� า เนิ น งานส� า หรั บ ระบบการซื้ อ ขายใบอนุ ญ าตปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก ภาคสมัครใจของประเทศไทย เพื่อให้มีความเหมาะสมกับบริบทของอุตสาหกรรมในประเทศ โดยองค์กรที่เข้าร่วมน�าร่องคือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย กลุ่มบริษัทกัลฟ์ (บริษัทกัลฟ์ เจพี เคพี 1, 2 จ�ากัด และบริษัท กัลฟ์ เพาเวอร์ เจเนอเรชั่น จ�ากัด) บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ากัด บริษัท วีนิไทย จ�ากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที โกลบอลเคมิคอล จ�ากัด (มหาชน) (สาขาที่ 2-5 และ 11) และบริษัท ระยอง โอเลฟินส์ จ�ากัด โครงการนี้ จะช่วยเตรียมความพร้อมให้กบั อุตสาหกรรม หากในอนาคตประเทศไทยจ�าเป็นต้องใช้ระบบการซือ้ ขายใบอนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Emission Trading Scheme: ETS) เป็นมาตรการหนึ่งในการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก ของประเทศ ภายใต้กรอบการเจรจาอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ

มหกรรมงานแสดงเทคโนโลยีเครื่องจักร ผ่านไปแล้วกับงาน Thailand Industrial Fair 2015 มหกรรมงานแสดงสินค้า เทคโนโลยีเครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องใช้เพื่ออุตสาหกรรมการผลิตที่ครบวงจร ทีจ่ ดั ขึน้ ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค (บางนา) ครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เป็นครัง้ ที่ 13 ติดต่อกัน ศักยภาพของการจัดงานครั้งนี้ ไม่ใช่แค่เพียงการน�าผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ สินค้าคุณภาพ มาพบกับผู้ประกอบการที่มีคุณภาพ และคุณธรรมในการท�าการค้า เท่านั้น แต่ Thailand Industrial Fair 2015 เราได้ก้าวสู่เวทีการค้าที่ได้รับการตอบรับ จากภาคส่วนงานที่หลากหลายทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผนึกก�าลังเข้ามา ผลักดันให้วงการอุตสาหกรรมไทยยิ่งใหญ่ทัดเทียมผู้ประกอบการในแถบอาเซียน ทั้งหมด Thailand Industrial Fair 2015 ถือว่าเป็นเวทีการค้าเพื่อการพบปะเจรจา ขยายเครือข่าย รวมไปถึงการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการ ซึ่งคาดว่าจะมีกลุ่มนักอุตสาหกรรม ผู้ซื้อทั้งชาวไทยและต่างประเทศสนใจเข้าร่วมงานกับเรากว่า 50,000 ราย และในขณะเดียวกับภายในงาน ยังได้จัดให้มีกิจกรรมสัมมนาทางเทคโนโลยีและการเสวนาเชิงกลยุทธ์ที่เข้มข้น เพื่อลับสมอง เตรียมความพร้อม และเสริมเขี้ยวเล็บด้านการ แข่งขันให้แก่ธุรกิจไทยในทุกแขนง ภายในงาน Thailand Industrial Fair 2015 มีหัวข้อสัมมนาฟรีที่ครอบคลุมทุกต�าแหน่งงานในองค์กร เพื่อช่วย ผลักดันให้ธุรกิจไทยก้าวสู่ความเป็นผู้น�าด้านอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน Thailand Industrial Fair 2015 ยังเปิดกว้าง ให้ผู้ประกอบการ หรือผู้ที่สนใจ การบริการของภาครัฐบาล และหน่วยงานที่จะมีส่วนช่วยสนับสนุนในเรื่องของโครงการสินเชื่อด้านต่าง ๆ โครงการด้านการสนับสนุนแรงงาน และวิชาการ องค์ความรู้ที่ทันสมัย โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ กว่า 60 หน่วยงาน March 2015

11


News Report ณ ลาดพร้าว

ล็อกซเล่ย์ จับมือ เอ็กโก กรุ๊ป สร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์

ล็อกซเล่ย์ เตรียมสร้างโรงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 4 โครงการ ก�าลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ คาดสิ้นปีจะแล้วเสร็จเฟสแรก เตรียมรับรู้รายได้ทันไตรมาส 1 ปีหน้า พร้อมจับมือ เอ็กโก กรุ๊ป ศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมพัฒนาโครงการ

คุณธงชัย ล�่าซ�า

นายธงชัย ล�่าซ�า กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ล็อกซเล่ย์ จ�ากัด(มหาชน) กล่าวว่า ได้เตรียมพัฒนาโครงการพลังงานทดแทน โรงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ จ�านวน 4 โครงการ รวมก�าลังผลิตทัง้ สิน้ 60 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น 2 เฟสใหญ่ เฟสแรกภายใต้ชื่อ บริษัท แอล โซลาร์ 2 จ�ากัด หรือ แอล โซลาร์ 2 ประกอบด้วย 3 โครงการในพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มูลค่าโครงการละ 300 ล้านบาท มีก�าลังผลิตไฟฟ้าโครงการละ 5 เมกะวัตต์ และเฟส 2 ภายใต้ชื่อ บริษัท แอล โซลาร์ 3 จ�ากัด หรือ แอล โซลาร์ 3 ตั้ ง อยู ่ ที่ จั ง หวั ด สระแก้ ว ก� า ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า 45 เมกะวัตต์ โดยโครงการเฟสแรกมีมูลค่า การลงทุนรวมกว่า 900 ล้านบาท ส่วนเฟส ทีส่ องยังอยูร่ ะหว่างการพิจารณารายละเอียด ของโครงการอยู่ 12

March 2015

โครงการแอล โซลาร์ 2 ถือเป็นโรงไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ขนาดเล็กมาก หรือ VSPP : Very Small Power Producer ซึ่ ง ทั้ ง 3 โครงการของแอล โซลาร์ 2 จะเริ่มก่อ สร้า งและ แล้วเสร็จภายในปีนี้ คาดว่าจะสามารถรับรู้รายได้ในต้นปีหน้า โดยประเมินว่าจะได้อัตรา รับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในแบบ Feed-in Tariff (FIT) จากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ที่ประมาณ 5.66 บาท ส่วนการลงทุนในเฟส 2 หรือ แอล โซลาร์ 3 ขนาดก�าลังผลิตไฟฟ้า 45 เมกะวัตต์ ใน จังหวัดสระแก้ว ถือเป็นอีกเป้าหมายของบริษัทฯ โดยวางแผนที่จะเริ่มขยายการลงทุนใน ช่วงต้นปี 2559 เนื่องจากบริษัทฯ มองว่าธุรกิจพลังงานทดแทนยังเป็นธุรกิจที่ได้รับการ สนับสนุนจากทางรัฐบาลเป็นอย่างดี และพลังงานทางเลือกยังเป็นที่ต้องการของตลาด รวมถึงยังสร้างความมั่นคงด้านพลังงานให้กับประเทศไทยอีกด้วย นอกจากนี้ บริ ษั ท ล็ อ กซเล่ ย์ จ� า กัด ได้ เ ตรี ย มพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้า พลังงาน แสงอาทิตย์ดังกล่าว โดยได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ โรงไฟฟ้าชุมชนจากพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งจะคร อบคลุมทั้งด้านเทคนิค การเงิน การลงทุน ตลอดจนความเหมาะสมของพื้นที่ตั้งโครงการอีกด้วย


March 2015 PB


News Report ณ ลาดพร้าว

ก.พลังงาน โชว์ฝีมือคนไทยพัฒนาอย่างยั่งยืน ก.พลังงาน เปิดเวทีเทคโน ฟอรั่ม โชว์ ฝ ี มื อ คนไทยเพื่ อ การพั ฒ นา พลั ง งานอย่ า งยั่ ง ยื น ประเดิ ม นวั ต กรรมรถบรรทุ ก ดั ด แปลง เครื่องยนต์ใช้ E85 ควบคู่ NGV เพื่ อ เป็ น ตั ว อย่ า งการปรั บ ตั ว ของ ผู ้ ป ระกอบการ เพื่ อ รั บ มื อ ราคา พลั ง งานที่ ผั น ผวน ตามนโยบาย ปรับโครงสร้างราคาพลังงาน

นายทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผยว่า กระทรวง พลั ง งานได้ จั ด เวที เทคโน ฟอรั่ ม เพื่ อ เป็ น การแนะน� า เทคโนโลยี ห รื อ นวัตกรรมจากฝีมือคนไทยเพื่อการพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน ประเดิมการ จัดงานครั้งแรกด้วยการน�ารถบรรทุกต้นแบบภายใต้แบรนด์ FE85 (Flexible Efficiency 85) ที่สามารถใช้เชื้อเพลิง 2 ระบบได้ส�าเร็จ ซึ่งมีการดัดแปลง รถบรรทุ ก เดิ ม ที่ เ ป็ น เครื่ อ งยนต์ ใช้ เชื้ อ เพลิ ง ดี เซล ปรั บ เปลี่ ย นมาใช้ เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติในยานยนต์หรือ NGV และสามารถปรับมาใช้น�้ามัน E85 ได้ ถือเป็นนวัตกรรมการดัดแปลงเครื่องยนต์ในรถบรรทุกจากความ พยายามของภาคเอกชนโดยกลุ่มบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ เพาเวอร์ ซึ่งได้ปรับตัว เพื่อรับมือกับสถานการณ์ราคาพลังงานที่ยังมีโอกาสผันผวนได้ในอนาคต และนับเป็นตัวอย่างจากภาคเอกชนที่น่าชื่นชมอย่างยิ่ง การน�ารถบรรทุกทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงได้ 2 ระบบ มาจัดแสดงประเดิมครัง้ แรกของเวทีเทคโนฟอรัม่ นี้ เพื่ อ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ฝี มื อ และแนวคิ ด ของคนไทยที่ ส ามารถท� า ให้ เ กิ ด ความเข้ ม แข็ ง ทางธุ ร กิ จ เพราะถือได้ว่าเป็นการเพิ่มทางเลือกการใช้เชื้อเพลิงในภาคขนส่ง แม้ในช่วงแรกอาจต้อง มีการลงทุนปรับเปลี่ยนอุปกรณ์บ้าง แต่จะเป็นการลงทุนในระยะยาวที่คุ้มค่า เพราะจะ ท�าให้เกิดการใช้เชื้อเพลิงทั้ง NGV และ E85 ที่นับเป็นเชื้อเพลิงทางเลือกที่ยังมีราคาต�่ากว่า เชื้อเพลิงอื่น นายอภิชัย ซอปิติพร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ในกรุ๊ปดั๊บเบิ้ล เอ เพาเวอร์ กล่าวว่า รถบรรทุกรุ่น FE85 นี้ จะสามารถสร้างประโยชน์ได้ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวอย่างคุ้มค่า ช่วยให้ธรุ กิจควบคุมต้นทุนทางด้านการขนส่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ ยังช่วยแก้ปญ ั หา การรอคิ ว เติ ม ก๊ า ซ ซึ่ ง บางจุ ด ต้ อ งใช้ เวลานาน หรื อ บางจั ง หวั ด ก็ มี ค วามขาดแคลน 14

March 2015

ท�าให้สามารถเพิม่ รอบรถและควบคุมต้นทุน ค่าขนส่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีแผน ปรั บ เปลี่ ย นรถบรรทุ ก ทั้ ง หมดในเครื อ ซึ่งปัจจุบันมีมากกว่า 1,000 คัน ให้มาใช้ เชื้อเพลิง 2 ระบบในเร็ว ๆ นี้และในอนาคต ก็จะมีการผลิตรถบรรทุกเชื้อเพลิง 2 ระบบ ออกมาจ�าหน่ายในปลายปีนี้ โดยปัจจุบัน มีการท�า final test run อยู่ที่ประเทศจีน


News Report จีรพร ทิพย์เคลือบ

แถลงข่าว เชลล์ อีโค-มาราธอน เอเชีย 2015 เผย “เชลล์ ฟิวเซฟ จริงหรือมั่ว! นานาวิธีประหยัดน�้ามัน”

เครือ่ งยนต์ทงิ้ ไว้กอ่ นออกเดินทางจะช่วยประหยัด น�้ า มั น ได้ และที่ น ่ า สนใจคื อ อี ก ร้ อ ยละ 22 เชื่อว่าการเขย่ารถเพื่อไล่ลมออกจากถังน�้ามัน ก่อนเติม สามารถช่วยประหยัดน�้ามันได้เช่น เดียวกัน

‘เชลล์เปิดโอกาสให้เยาวชนคนรุน่ ใหม่ นักวิทยาศาสตร์ และวิศวกรเป็นผูน้ า� ในการขับเคลือ่ น การประหยัดพลังงานน�า้ มันในอนาคต โดยส่งเสริมให้คนไทยสามารถแยกได้ระหว่างความเชือ่ กับข้อเท็จจริงในการประหยัดน�า้ มัน เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องในการขับรถ ประหยัดน�า้ มันอย่างแท้จริง’ บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ากัด ร่วมกับ กระทรวงพลังงาน จัดงานแถลงข่าว เชลล์ อีโคมาราธอน เอเชีย 2015 ขึน้ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ พร้อมกันนีไ้ ด้มกี ารเปิดเผยผลการศึกษา “เชลล์ ฟิวเซฟ จริงหรือมัว่ ! นานาวิธปี ระหยัดน�า้ มัน” พิสจู น์โดยนักศึกษาจาก 9 มหาวิทยาลัย ทัว่ ประเทศ ตัวแทนเข้าร่วมการแข่งขัน เชลล์ อีโค – มาราธอน เอเชีย 2015 ณ กรุงมะนิลา ประเทศ ฟิลปิ ปินส์ ซึง่ มาร่วมทีมกับ 2 นักแสดงชือ่ ดัง “ออม” สุชาร์ มานะยิง่ และ “กอล์ฟ” พิชญะ นิธไิ พศาลกุล โดยมี ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน และ นายรัชตะพงศ์ บุญวัตรสกุล นักวิทยาศาสตร์ดา้ นน�า้ มัน บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ากัด ร่วมทดสอบความเชือ่ พร้อมเปิดเผย ข้อเท็จจริงทีถ่ กู ต้องในการประหยัดน�า้ มัน ดร.ณรงค์ชยั อัครเศรณี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า “เชลล์ อีโค-มาราธอน เอเชีย” เป็นกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมให้นกั เรียน นักศึกษาได้แสดงความสามารถด้านการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ ทีป่ ระหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและกระทรวง พลังงาน กิจกรรมนีไ้ ด้เปิดเวทีให้เยาวชนไทยคิดสร้างสรรค์ผลงานอย่างจริงจัง เกิดผลงานใหม่ๆ ทีจ่ ะ เป็นประโยชน์ต่อวงการพลังงานและประเทศไทยในอนาคต ที่ส�าคัญเยาวชนยังได้มีโอกาสออกไป เรียนรูแ้ ละหาประสบการณ์กบั เพือ่ นต่างชาติ นับว่าเป็นกิจกรรมทีค่ วรสนับสนุนอย่างต่อเนือ่ ง” กิจกรรมดังกล่าว เป็นโอกาสอันดีในการส่งทีมนักศึกษาตัวแทนประเทศไทยไปประชันผลงานกับทีม นักศึกษากว่า 140 ทีม จากประเทศทัว่ ทัง้ ภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกกลาง และออสเตรเลีย ไปรวมตัวกัน ทีก่ รุงมะนิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ เพือ่ แข่งขันในงาน เชลล์ อีโค-มาราธอน เอเชีย 2015 การแข่งขันด้าน การประหยัดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเป็นการแข่งขันที่ท้าทายความสามารถของนักเรียน นักศึกษาในการออกแบบ และสร้างรถต้นแบบแห่งอนาคตทีป่ ระหยัดน�า้ มันสูงสุด โดยการแข่งขัน ทีผ่ า่ นมา ทีมจากประเทศไทยสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศมาครองได้ 4 ปีซอ้ น ในปีนกี้ เ็ ป็นอีกครัง้ หนึง่ ทีเ่ ยาวชนไทยจะลงสนามชิงชัย เพือ่ น�าชัยชนะกลับมาให้คนไทยได้ชนื่ ชมอีกครัง้ จากการศึกษาล่าสุด “เชลล์ ฟิวเซฟ จริงหรือมัว่ ! นานาวิธปี ระหยัดน�า้ มัน” ได้สา� รวจผูใ้ ช้รถยนต์ ทัว่ ประเทศกว่า 1,000 คน ช่วงอายุตงั้ แต่ 18-40 ปี พบว่า ผูข้ บั ขีร่ ถชาวไทยพยายามหาวิธกี าร ประหยัดน�า้ มัน เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ย โดยร้อยละ 88 ของผูใ้ ช้รถเห็นว่าการขับรถให้ประหยัดน�า้ มันมีความ ส�าคัญ ในขณะทีร่ อ้ ยละ 63 ยอมรับว่าไม่ทราบวิธกี ารประหยัดน�า้ มันทีถ่ กู ต้อง และ 2 ใน 3 ของผูใ้ ช้รถ (ร้อยละ 59) มีความกังวลไม่รวู้ า่ วิธไี หน คือ วิธที ถ่ี กู ต้องในการประหยัดพลังงาน จึงน�าไปสูค่ วามเชือ่ ในการประหยัดน�า้ มันทีค่ ลุมเครือ นอกจากนี้ 3 ใน 4 (ร้อยละ 75) ของผูใ้ ช้รถเชือ่ ว่าการสตาร์ท

มร. แกรนท์ แมคเกรเกอร์ กรรมการบริหาร ธุรกิจการตลาดค้าปลีก กล่าวถึง “เชลล์ ฟิวเซฟ จริงหรือมั่ว! นานาวิธีประหยัดน�้ามัน” ว่า ผู้ใช้รถชาวไทยค�านึงถึงการขับรถให้ประหยัด น�้ามันเป็นสิ่งส�าคัญ ขณะเดียวกันพยามหาวิธี ประหยัดน�้ามันให้มีประสิทธิภาพสูงสุด แต่วิธี ต่าง ๆ ที่เกิดจากความเชื่อ กลับท�าให้เขาใช้ น�้ามันสิ้นเปลืองมากกว่าเดิม ซึ่งผลการศึกษา ท�าให้ทราบว่าผู้ใช้รถในประเทศไทย ให้ความ ส�าคัญกับการประหยัดพลังงานในบ้านมากกว่า การใช้รถตามท้องถนน เพราะยังขาดความรู้ ในการใช้นา้� มันอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ร้อยละ 91 ปิดไฟเวลาไม่ใช้ ร้อยละ 81 ปิดน�้าขณะก�าลัง แปรงฟัน และร้อยละ 79 ปิดเครือ่ งใช้ไฟฟ้าเวลา ไม่ใช้งาน ในทางกลับกัน เมื่อไปดูที่พฤติกรรม การใช้น�้ามัน มีเพียงร้อยละ 51 ของผู้ใช้รถน�า สิ่งของที่ไม่จ�าเป็นออกจากรถท�าให้รถมีน�้าหนัก เบา และเพียงร้อยละ 47 ดับเครือ่ งยนต์เมือ่ จอด รถอยูก่ บั ที่ สิง่ เหล่านีท้ า� ให้รวู้ า่ จะต้องให้ความรู้ และความเข้าใจในการประหยัดพลังงานจาก บ้านมาสูท่ อ้ งถนน” ผู้ใช้รถชาวไทยมีความเชื่อที่จะท�าให้ประหยัด น�้ามัน เช่น การสตาร์ทเครื่องยนต์ทิ้งไว้ก่อน เดินทาง การเปลีย่ นเกียร์ไปมา เติมน�า้ มันตอน กลางคืนเพราะอุณหภูมิต�่า ไม่ดับเครื่องยนต์ ขณะจอดอยู่กับที่ และเติมน�้ามันเพียงครึ่งถัง เพือ่ ลดน�า้ หนักของเครือ่ งยนต์ หรือเพือ่ ลดการ ระเหย ความเชือ่ เหล่านีอ้ าจท�าให้เกิดการสิน้ เปลือง น�้ ามันมากยิ่งขึ้น แต่ข ้อเท็จ จริงส�าหรับผู้ใช้ รถชาวไทยที่ควรปฏิบัติ คือ หมั่นตรวจสอบ ลมยาง ขับรถด้วยความเร็วคงทีต่ ลอดการเดินทาง ขับรถอย่างนิม่ นวล ไม่ขบั กระชาก ไม่เร่งหรือเบรก อย่างกะทันหัน หมัน่ น�ารถยนต์เข้าศูนย์บริการ เพือ่ ตรวจสอบสภาพเครือ่ งยนต์อย่างสม�า่ เสมอ และน�าสัมภาระที่ไม่จ�าเป็นออกจากรถเพื่อลด น�้าหนักบรรทุก สิ่งเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยที่จะ ท�าให้ประหยัดน�า้ มันอย่างแท้จริง March March2015 2015 15PB


News Report กองบรรณาธิการ

กทม. ชูแผนเมืองคารบอนตํา่ แนะประชาชนใชขนสงสาธารณะ กทม. วางนโยบาย “ปลูก ปลอย ปด ปรับ” ไปสูการเปนเมืองคารบอนตํ่า ดวยการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวและสวนสาธารณะ รวมถึงการปรับระบบขนสงสาธารณะ ใหกลายเปนทางเลือกหลักในการเดินทางของคนเมือง เพื่อลดการใชพลังงาน เชื้อเพลิง กรุงเทพมหานคร รวมกับ ภาครัฐ ภาคเอกชน ผลักดันโครงการ ‘กรุงเทพฯ สูเ มือง คารบอนตํ่า’ ภายใตแนวคิดในการลดปญหาภาวะโลกรอนอยางมีประสิทธิภาพ และเปนรูปธรรม โดยเฉพาะการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหมีจํานวนถึง 5 หมื่นไร เพื่อเปน ตัวชวยในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งทางกรุงเทพมหานครจะจัดใหมี สวนสาธารณะเพิ่ม ขึ้นอีก 9 แหง ภายในป 2559 นี้ โดยตั้งเปา ใหเปนเมือง คารบอนตํ่าภายในป 2563 กทม.จะใชยุทธศาสตรสําคัญ 4 ดาน คือ 1.ปลูก โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพ ฯ 2.ปลอย เปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการของ เสีย ทั้งขยะ และนํ้าเนาเสีย 3.ปด เปนการลดปริมาณการใชพลังงานตามครัวเรือนตางๆ และ 4.ปรับ คือการเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ของประชาชนอยางยั่งยืน ลดการบริโภคในสิ่งที่ไมจําเปน และนําสิ่งที่มีอยูกลับมาใชซํ้าใหเกิดผลสูงสุด โดย กทม.จะดําเนินการนํารองอาคาร ในสังกัดของ กทม.จํานวน 35 แหง เพื่อกําหนดมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการใชพลังงานเพื่อรวมลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด นอกจากนี้ ตองมีการปรับระบบคมนาคมใหความครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางใหกับคนกรุง เนื่องจากระบบ ขนสงมีความสําคัญในการชวยลดกาซคารบอนไดออกไซดโดยตรง ฉะนั้น การหันมาใชระบบขนสงสาธารณะจะทําใหชวยลดปริมาณกาซพิษ ที่เปนอันตรายตอสภาพแวดลอมไดมากยิ่งขึ้น จึงขอความรวมมือทุกภาคสวน ลดปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ใชชีวิต เรียบงาย ลดการบริโภคเกินจําเปน รวมถึงปรับใชชีวิตใหมีความสอดคลองกับธรรมชาติ

กูด เยียร สง แอชชัวแรนซ ดูราพลัส รุน ลาสุด

เจาะตลาดยางประหยัดนํา้ มัน

บริษัท กูดเยียร ประเทศไทย จํากัด (มหาชน) เปดตัวนวัตกรรมยางยนตประหยัดนํ้ามัน กูด เยียร แอชชัวแรนซ ดูราพลัส (Assurance DuraPlus) ยางรถยนตที่สามารถวิ่งไดมากกวา 100,000 กิโลเมตร มร.ฟนบาร โอคอนเนอร กรรมการผูจ ดั การ บริษทั กูด เยียร ประเทศไทย จํากัด (มหาชน) กลาววา กูดเยียร เอเชีย แปซิฟกไดคิดคนยางแอชชัวแรนซ ดูราพลัส ยางสําหรับรถยนตนั่งรุนใหมลาสุด ของบริษัท ออกแบบโดยอาศัยความตองการของผูบริโภคเปนหลักสําคัญทําใหมีความมั่นใจ ในการขับขี่มากยิ่งขึ้น พรอมทั้งเสริมสรางความปลอดภัยในการขับขี่อีกดวย ยางรุนแอชชัวแรนซ ดูราพลัส เหมาะกับรถยนตนั่งขนาดเล็กไปจนถึงขนาดกลาง พัฒนามาจาก เทคโนโลยีเทรดไลฟ (TredLife Technology) เสริมดอกยาง ผสานเขากันกับเสนใยดูปองท เคฟลาร ทําใหยางมีประสิทธิภาพคงทน ชวยเพิ่มสมรรถนะอายุการใชงานใหวิ่งไดมากกวา 100,000 กิโลเมตร มีสวนประกอบที่สําคัญ 3 ประการ คือ คารบอนสูตรใหม ยางผสมดวยคารบอน สูตรพิเศษที่ชวยลดการสึกหรอของเนื้อยาง ทําใหดอกยางมีสมรรถนะทนทานมากขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีนี้ยังชวยเสริมดอกยางที่หนาขึ้น เพิ่มพื้นที่สัมผัส เพิ่มปริมาณเนื้อยางในสวนที่สัมผัสถนนมากขึ้น และสุดทายคือชวยเพิ่มพื้นที่สัมผัสดอกยางลึกขึ้น ดอกยางจึงมีความทนทาน และเพิ่มพื้นที่สัมผัสตอพื้นถนน ซึ่งการใชเสนใยดูปองท เคฟลาร เปนวัสดุที่มีนํ้าหนักเบา แตแข็งแกรงและคงทนตอสภาวะที่มีอุณหภูมิ

16

March 2015



Cover Story กองบรรณาธิการ

SOLAR CELL ขุมพลังที่ไมมีวันสิ้นสุด

»ÃÐà´็¹àÃ×่ͧ SOLAR CELL ¢Í§»ÃÐà·Èä·ÂáÅТͧâÅ¡ ËÒ¡ÁͧŒ͹ä»àÁ×่ÍËÅÒÂÊÔº»‚·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ àÃ×่ͧ¢Í§¾Åѧ§Ò¹ä´Œà»Å‹Ò ¨Ò¡áʧÍҷԵ ໚¹àÃ×่ͧ·Õ่ÁÕ¡Òþٴ¶Ö§áÅоѲ¹Òµ‹ÍÂÍ´ÁÒªŒÒ¹Ò¹ «Ö่§ã¹»ÃÐà·È·Õ่¾Ñ²¹ÒáÅŒÇáʧÍҷԵ ໚¹¾Åѧ§Ò¹·Õ่¨ÐÁÒ àµÔÁàµ็ÁãËŒ¡ÒüÅÔµ¾Åѧ§Ò¹ÁÒ¡¢Ö้¹ à¾ÃÒÐᵋÅлÃÐà·ÈÁÕ·ÃѾÂҡþÅѧ§Ò¹·Õ่ᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ ʋǹ㹻ÃÐà·Èä·ÂáʧÍҷԵ ¶Ù¡ÁͧNjÒ໚¹¾Åѧ§Ò¹·´á·¹·Õ่¨ÐÁÒàµÔÁàµ็Á¤ÇÒÁÁÑ่¹¤§¢Í§¾Åѧ§Ò¹ã¹»ÃÐà·È ¨¹à»š¹ÇÒÃÐáË‹§ªÒµÔ·Õ่ÁÕ¡Òþٴ¶Ö§ÁÒâ´ÂµÅÍ´ ´ŒÇ¨شഋ¹´ŒÒ¹ÀÙÁÔÈÒʵà ·Õ่ä´Œà»ÃÕº¡Ç‹Ò»ÃÐà·ÈàÁ×ͧ˹ÒÇ ©Ð¹Ñ้¹¡ÒâѺà¤Å×่͹¾Åѧ§Ò¹áʧÍҷԵ ¢Í§»ÃÐà·Èä·Â¨Ö§äÁ‹ãª‹ àÃ×่ͧãËÁ‹áÅÐà¡‹ÒᵋÍ‹ҧäÃ

ที่ผานมา... ประเทศไทยไดมีการดําเนินนโยบายดานพลังงานมาหลายรูปแบบ ทั้งพลังงาน รูปแบบใหมและเกาเพื่อใหเพียงพอตอความตองการใชพลังงานในประเทศ โดยเฉพาะที่ เกี่ยวของกับการผลิตไฟฟา ถึงแมวากระทรวงพลังงานจะเนนยํ้าอยูเสมอวา ประเทศไทย จะตองมีปริมาณสํารองไฟฟาพรอมจายที่เพียงพอตอความตองการ โดยหนวยงานที่ รับผิดชอบหลักอยาง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จะตองเพิม่ สัดสวนการผลิต ไฟฟาจากถานหิน เพื่อกระจายสัดสวนเชื้อเพลิงจากการพึ่งพากาซธรรมชาติทั้งในประเทศ และจากการนําเขาในการผลิตไฟฟาที่ 70% ลงมาใหได รวมถึงการรับซื้อไฟฟาจากผูผลิต เอกชนขนาดเล็ก (SPP) ขนาดใหญ (IPP) และการรับซื้อไฟฟาจากประเทศเพื่อนบาน แตเราลืมไปหรือไม วาศักยภาพของประเทศในการผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย ก็สามารถ ทําไดหากไดรับการสนับสนุนและประชาสัมพันธที่ดีใหกับนักลงทุนและประชาชน

“พลังงานแสงอาทิตย” เรื่องเกา... แตไมเคยเกาจริง จึงถูกหยิบยกมากลาวถึงอยางตอเนื่อง

นายณรงคชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน กลาววา ป 2558 รัฐบาล มีแนวทางทีจ่ ะสงเสริมการผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยใหเพิม่ มากขึน้ ในอีก 10 ปขา งหนา และมีนโยบายรับซื้อไฟฟาจากโครงการผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนพื้นดิน หรือโซลารฟารม และโครงการผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคา หรือ โซลารรูฟท็อป โดยจะเรงเคลียรโครงการเดิมที่ยังคางอยูใหดําเนินการไดทั้งหมด และใน ป 2559 คาดวาจะนาเริ่มรับซื้อไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยในโครงการใหมไดทันที เมื่อหัวเรือใหญอยางภาครัฐบาลไฟเขียวและตั้งราคา ซื้อ-ขาย ในทุกภาคสวนเรียบรอย สิ่งที่นาเปนหวงที่ตามมา คือ สถานภาพการรับซื้อไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย ตัวเลขยัง ไมชัดเจนวาในที่สุดผูประกอบการจะสามารถจายไฟฟาเขาสูระบบไดครบตามเปาหมายที่ ขยายออกไปที่ 3,800 เมกะวัตตในป 2558 หรือไม? เพราะจากขอมูลยังมีอีกหลาย โครงการไมผานเกณฑและถูกยกเลิกสัญญารับซื้อไฟฟาไปพอสมควร เกิดเปนแนวคิด 18

March 2015

คุณณรงคชัย อัครเศรณี

ในการเปดเสรีการผลิตไฟฟาจากโครงการ โซลารรูฟท็อ ป โดยไมจํา กัดระยะเวลา และปริมาณการเสนอขายไฟฟา ซึ่งเซลล แสงอาทิตยทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคาภายใตโครงการ ดังกลาว จะถูกใชภายในบานพักที่อยูอาศัย กอน สวนปริมาณไฟฟาทีเ่ หลือ จะจําหนาย เขาระบบใหกับการไฟฟาสวนภูมิภาคและ การไฟฟานครหลวง เรียกวาระบบ Net Metering คาดวาศักยภาพในการผลิตไฟฟา ผานโครงการดังกลาวในระยะ 10-20 ป จะสามารถผลิตไฟฟาไดประมาณ 10,000 เมกะวัตต


เมื่อหลายฝ่ายได้พิจารณาความเป็นไปได้ จากการรับซือ้ ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ว่าถือเป็นทางเลือกที่ดีในการจัดหาพลังงาน มารองรั บ ความต้ อ งการภายในประเทศ “สภาปฏิ รู ป แห่ ง ชาติ (สปช.)” จึ ง มี ม ติ เห็นชอบ โครงการติดตัง้ พลังงานแสงอาทิตย์ ภาคครัวเรือน โดยที่ประชุมลงมติให้ความ เห็ น ชอบในหลั ก การรายงานการศึ ก ษา เรื่ อ งโครงการส่ ง เสริ ม การติ ด ตั้ ง โซลาร์ รู ฟ ด้วยคะแนน 206 ต่อ 15 เสียง งดออกเสียง 7 เสียง หลั ง จากพิ จ ารณารายงานการศึ ก ษาเรื่ อ ง โครงการส่งเสริมการติดตัง้ โซลาร์รฟู อย่างเสรี ซึ่งระบบโซลาร์รูฟเป็นการผลิตไฟฟ้าด้วย พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ติ ด ตั้ ง อยู ่ บ นหลั ง คา ของบ้านและอาคาร ผู้ติดตั้งสามารถใช้ ไฟฟ้าที่ตัวเองผลิตได้ ช่วยลดปริมาณไฟฟ้า ที่ซื้อจากการไฟฟ้า ท�าให้ประหยัดค่าไฟฟ้า ขณะเดียวกันปริมาณไฟฟ้าทีเ่ หลือจากการใช้ ยังขายให้แก่การไฟฟ้าเพื่อเป็นรายได้เสริม ในตัว

หากมองในแง่การสนับสนุนของภาครัฐบาล ถือว่าสอบผ่านในการเพิม่ ทางเลือกให้ประชาชน ได้พงึ่ พาตนเอง ผลิตไฟฟ้าใช้เอง และสามารถจ�าหน่ายไฟฟ้าได้เองอีกด้วย ซึง่ ในบางประเทศ ก็ยงั ไม่ได้รบั การสนับสนุนเท่าทีค่ วร ยกตัวอย่างประเทศเพือ่ นบ้านเราอย่าง “ประเทศสิงคโปร์” ตลาดพลังงานแสงอาทิตย์ยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเท่าที่ควร ไม่มีมาตรการ สนับสนุนทางการเงินในการลงทุนแต่อย่างไร ส�าหรับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะพื้นที่ที่จ�ากัดของประเทศ แนวโน้มที่เป็นไปได้ส�าหรับการผลิตไฟฟ้าจาก แสงอาทิตย์จงึ เป็นการติดตัง้ บนหลังคามากกว่าบนพืน้ ดิน ใช่วา่ ภาครัฐบาลจะไม่สนับสนุนเลย แต่ได้มีการสนับสนุนในด้านอื่นแทน อาทิ การจัดท�าแผนที่ศักยภาพแสงอาทิตย์ โดยใช้ แผนที่ GPS เพื่อให้รู้ว่าพื้นที่ส่วนใดมีความเข้มของแสงเหมาะแก่การติดตั้งโซลาเซลล์และ การลงทุน

ประเด็นที่น่าสนใจ คือ โครงการดังกล่าว เป็นโครงการที่สามารถด�าเนินการได้ทันที โดยไม่ต้องรอกฎหมายใหม่ เพียงแค่ ครม. มีมติส่งเสริมการติดตั้งโซลาร์รูฟอย่างเสรีก็ สามารถด�าเนินโครงการได้ทนั ที จากคาดการณ์ เบื้องต้นภายใน 5 ปีแรก หรือตั้งแต่ ปี 2558 - 2563 ประเทศไทยจะมีโซลาร์รฟู ขนาดไม่เกิน 10 กิโลวัตต์ ส�าหรับบ้านที่อยู่อาศัยเกิดขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 แสนชุด ก�าลังการผลิ ต 500 เมกะวั ต ต์ และหากมองต่อไปอีก 20 ปี จะมีการติดตั้งไม่น้อยกว่า 1 ล้านชุด มีก�าลัง การผลิตไม่ตา�่ กว่า 5,000 เมกะวัตต์ แน่นอนว่า หากภาครัฐบาลมีการส่งเสริมการลงทุนต่อ ในอุตสาหกรรมผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อย่างครบวงจรแล้วประเทศไทยจะก้าวเป็น ศู น ย์ ก ลางอุ ต สาหกรรมผลิ ต แผงเซลล์ แสงอาทิตย์ของอาเซียนใน 10 ปีข้างหน้า

อนาคตหลังจากที่ราคาไฟฟ้าที่ผลิตจากเซลล์แสงอาทิตย์สามารถแข่งขันได้กับราคาไฟฟ้า จากระบบสายส่ง การสนับสนุนจากภาครัฐก็ไม่มีความจ�าเป็นต่อไป ประเด็นที่หลายฝ่าย เป็นห่วงหากโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างก้าวกระโดด การติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาของภาคประชาชนจะกระทบกับ รายได้ ข องการไฟฟ้ า หรื อ ไม่ กั บ รายได้ ที่ อ าจเสี ย ไป การบริ ห ารจั ด การที่ จ ะยากขึ้ น เรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องที่ไม่อาจคาดเดา แต่อย่าลืมว่า โครงการที่เกิดขึ้นก็เพื่อประโยชน์ ของประชาชนเป็นหลัก ถึงแม้วา่ เสียงส่วนใหญ่สมาชิกสภาปฏิรปู แห่งชาติ (สปช.) จะเห็นด้วยกับการเปิดเสรีการติดตัง้ โซลาร์รูฟ แต่ก็ยังมีเสียงคัดค้านในรายละเอียดหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นด้านเงินลงทุนที่ต้อง ให้ภาครัฐขอการสนับสนุนจากสถาบันการเงินในการปล่อยกู้แก่ประชาชน เพราะเป็น โครงการทีใ่ ช้เงินลงทุนสูงในการติดตัง้ ระบบดังกล่าว และเมือ่ มีการสนับสนุนด้านเงินลงทุนแล้ว แต่ความคุ้มค่าในการคืนทุนอาจจะใช้เวลา 5 – 10 ปี หรืออาจนานถึง 30 ปี ซึ่งอาจไม่คุ้มค่า ในการลงทุน สิ่งที่ภาครัฐบาลควรท�า คือ การสนับสนุนการท�าวิจัยเรื่องการผลิตพลังงาน แสงอาทิตย์ในทุกด้าน หากน�ามาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ จะเป็นแหล่งพลังงานส�าคัญของ ประเทศอย่างแน่นอน

March March2015 2015 1919


Cover Story กองบรรณาธิการ

แต่อย่ำลืมว่ำ สเปคของแผงโซลำเซลล์เป็นสิง่ ที่ ผูเ้ ลือกซือ้ อำจมองข้ำมไป เพรำะมีปจั จัยเรือ่ ง ของรำคำเข้ำมำจูงใจในกำรซือ้ แผงโซลำเซลล์ ที่สเปคไม่ดีเท่ำที่ควร ประสิทธิภำพกำรผลิต ไฟฟ้ำอำจลดลงไปตำมกำลเวลำ ท�ำให้ชว่ งเวลำ ของกำรคุ้มทุนอำจเพิ่มระยะเวลำออกไปอีก ฉะนั้นเมื่อมีโครงกำรที่ดีแบบโซลำร์รูฟแล้ว ก็ควรที่จะก�ำหนดสเปคของแผงโซลำเซลล์ ควบคู่กันไปด้วย จึงจะเกิดประโยชน์และ ประสิทธิภำพสูงสุด ตรงตำมวัตถุประสงค์ของ โครงกำร นายชวลิต พิชาลัย ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำน นโยบำยและแผนพลังงำน (สนพ.) ให้แนวคิด ในกำรซื้ อ แผงโซลำเซลล์ ม ำติ ด ตั้ ง เองว่ ำ ปัจจุบันมีผู้ผลิตจ�ำนวนมำกเข้ำมำตีตลำดในเมืองไทย โดยเฉพำะตลำดพลังงำนทดแทน อย่ำงแผงโซลำเซลล์ ซึ่งกำรเลือกซื้อต้องมองคุณสมบัติและสเปคเป็นหลัก ผู้ใช้ควรศึกษำ ให้ดีว่ำต้องกำรประสิทธิภำพกำรผลิตไฟฟ้ำขนำดใดให้เพียงพอต่อควำมต้องกำรส�ำหรับ บ้ำนพักที่อยู่อำศัย อำคำรส�ำนักงำน หรือส�ำหรับโรงงำนอุตสำหกรรม คุณฉัตรชัย ดีประเสริฐ

นายฉัตรชัย ดีประเสริฐ General Manager บริษทั INNOVATION TECHNOLOGY จ�ำกัด บริษัทที่ปรึกษำด้ำนพลังงำน ให้แนวคิดว่ำ บริษัทได้มีกำรออกแบบกำรติดตั้งแผงโซลำ เซลล์ประมำณ 100 กิโลวัตต์ ให้กระทรวง พลั ง งำน ณ อำคำรอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งำน เฉลิ ม พระเกี ย รติ เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ำรเรี ย น ด้ำนพลังงำนแสงอำทิตย์ให้ผู้สนใจ ไม่ว่ำ จะเป็นเจ้ำของอำคำร โรงงำนอุตสำหกรรม ที่ จ ะติ ด ตั้ ง แผงโซลำเซลล์ ไ ด้ เรี ย นรู ้ ข ้ อ มู ล ที่ส�ำคัญ รวมถึงปริมำณไฟฟ้ำที่ได้จำกแผง โซลำเซลล์แต่ละประเภท ในฐำนะบริษทั ทีป่ รึกษำด้ำนพลังงำนโครงกำร โซลำร์ รู ฟ ถื อ เป็ น โครงกำรที่ ดี ใ นแง่ ข อง กำรพึ่งพำตนเองด้ำนพลังงำนของประเทศ ลดกำรน�ำเข้ำพลังงำนรูปแบบอืน่ ๆ เพื่อน�ำ มำผลิตเป็นไฟฟ้ำ เพรำะนอกจำกจะผลิต ไฟฟ้ำใช้เองภำยในครัวเรือนแล้วยังสำมำรถ จ�ำหน่ำยให้กำรไฟฟ้ำได้อีกด้วย หำกมอง ในแง่ ก ำรลงทุ น ถื อ ว่ ำ คุ ้ ม ค่ ำ เพรำะแผง โซลำเซลล์ ที่ ติ ด ตั้ ง อำจมี อ ำยุ ก ำรใช้ ง ำน ได้ ถึ ง 20 – 25 ปี แล้ ว แต่ ยี่ ห ้ อ ของแผง โซลำเซลล์ที่จ�ำหน่ำยในปัจจุบัน

ที่ต้องเน้นย�้ำคือเรื่องคุณภำพ ถึงแม้ว่ำเทคโนโลยีและกำรแข่งขันจะท�ำให้อุตสำหกรรม แผงโซลำเซลล์มีรำคำถูกลง แต่ก็ไม่เสมอไป เพรำะของถูกและคุณภำพดีหำได้ยำก จึงควร มองที่พื้นฐำนกำรผลิต ควำมน่ำเชื่อถือของผลิตภัณฑ์เป็นหลัก เพรำะปัจจุบันสินค้ำประเภท แผงโซลำเซลล์ส่วนใหญ่จะเป็นกำรน�ำเข้ำ อีกทั้งยังไม่มีกำรก�ำหนดมำตรฐำนผลิตภัณฑ์ อุตสำหกรรม (มอก.) ให้กับสินค้ำแผงโซลำเซลล์ โดยสินค้ำประเภทโซลำเซลล์ที่ได้รับกำร ยอมรับทั้งเรื่องของเทคโนโลยีและคุณภำพ จะเป็นสินค้ำที่มำจำกฝั่งยุโรปและประเทศ ญีป่ น่ ุ เสียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนสินค้ำจำกจีนก็มี ให้เห็นเยอะ แต่ก็ต้องมองเรื่องคุณภำพเป็น หลั ก ในกำรเลื อ กซื้ อ ซึ่ ง หำกผู ้ ที่ ต ้ อ งกำร ข้อมูลของโซลำเซลล์ก็สำมำรถติดต่อขอรับ ข้อมูลได้กับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ว่ำ จะเป็นส�ำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน (สนพ.) หรือ กระทรวงพลังงำน

คุณชวลิต พิชาลัย

20

March 2015


สินค้า “โซลาเซลล์” ในประเทศไทย

อย่างที่กล่าวข้างต้นว่าโซลาเซลล์ไม่ใช่เรื่องใหม่ส�าหรับบ้านเรา เพราะมีโรงงานที่สามารถ ผลิตโซลาเซลล์คุณภาพได้มากว่า 10 ปีแล้ว แต่เมื่อกระแสก�าลังเติบโต สิ่งที่ไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้คือการหลั่งไหลเข้ามาของสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศ โดยเฉพาะสินค้าจาก ประเทศจีน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และ หอการค้าไทย หน่วยงานหลัก ที่เกี่ยวข้อง จึงต้องหาแนวทางปกป้องธุรกิจผลิตแผงโซลาร์เซลล์ในประเทศ เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ก�าหนดเงื่อนไขให้ผู้ขอรับการสนับสนุนการลงทุน โครงการโซลาร์เซลล์ตา่ ง ๆ ต้องใช้แผงโซลาร์เซลล์ทผี่ ลิตในประเทศก่อนจะมีการสัง่ ซือ้ สินค้า จากต่างประเทศ ที่ชัดเจนกับเรื่องดังกล่าวเห็นจะเป็นโครงการโซลาฟาร์ม เพราะที่ผ่านมา ประเทศไทยไม่มีมาตรการใด ๆ ในการปกป้องผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ในประเทศเท่าที่ควร ส่งผล ให้หลายบริษัทในประเทศไม่สามารถแข่งขันกับแผงโซลาร์เซลล์ราคาถูกและคุณภาพต�่าที่น�า เข้าโดยไม่ต้องเสียภาษีได้ ที่ผ่านมา บริษัทผลิตโซลาร์เซลล์ในประเทศได้มีการยืนหนังสือถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่าง กระทรวงพลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) ให้เลือกใช้แผงโซลาร์เซลล์ที่ผลิตในประเทศก่อน เพราะข้อก�าหนดในการจัดซื้อจัด จ้างตามระเบียบของหน่วยงานราชการก�าหนดให้ซื้อสินค้าในประเทศก่อน หากผู้ผลิตสินค้า ในประเทศประเภทนั้นได้การรับรองจากส�านักมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ซึ่ง ผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ในประเทศที่ผ่านมาตรฐานมีอยู่ประมาณ 3 ราย ได้แก่ บริษัท เอกรัฐ โซลาร์ จ�ากัด, บริษัท โซลาร์ตรอน จ�ากัด(มหาชน), บริษัท ไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จ�ากัด

ย�้า...รับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนต้องโปร่งใส

ปี 2558 ความชัดเจนเรื่องการรับซื้อไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนอย่างแสงอาทิตย์เริ่มเป็นที่น่า จับตามากขึ้น โดย คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน(กกพ.) ด�าเนินการออกประกาศการ รับซื้อไฟฟ้าจากโซลาร์รูฟ ท็อป ประเภทบ้านอยู่อาศัยให้ครบ 100 เมกะวัตต์ เพื่อตอบรับ นโยบายภาครัฐในการปฏิรูปด้านพลังงานของประเทศ พร้อมทั้งเดินหน้าออกระเบียบการ รับซื้อไฟฟ้าจากโซลาร์ฟาร์ม ส�าหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร มีผล บังคับใช้ภายในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา นายวีระพล จิรประดิษฐกุล กรรมการก�ากับกิจการพลังงาน เปิดเผยว่า จะเปิดรับซื้อไฟฟ้า จากโซลาร์รูฟ ประเภทบ้านอยู่อาศัยเพิ่มเติมให้ครบจ�านวน 100 เมกะวัตต์ โดยได้ออก ประกาศการรับซื้อไฟฟ้าเรียบร้อยแล้ว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 ประกาศ ดังกล่าวได้ให้การไฟฟ้าท�าการรับซื้อไฟฟ้าขนาดก�าลังการผลิตติดตั้งไม่เกิน 10 กิโลวัตต์ โดยสัญญาซื้อขายไฟฟ้ามีระยะเวลา 25 ปี และได้ก�าหนดให้จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบไฟฟ้า เชิงพาณิชย์ (COD) ส�าหรับอัตราการรับซื้อไฟฟ้าก�าหนดให้เป็นไปตามอัตราการรับซื้อแบบ FiT ประเภทบ้านอยู่อาศัย และก�าหนดให้การไฟฟ้ารับซื้อไฟฟ้าในอัตรา 6.85 บาทต่อหน่วย โดยผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการสามารถยื่นค�าขอขายไฟฟ้าได้ที่การไฟฟ้าฝ่ายจ�าหน่ายในเขต ที่ท�าการของการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์นี้ เป็นต้นไปถึงวันที่รับซื้อได้เต็มตามเป้าหมาย อีกโครงการทีภ่ าครัฐจะรับซือ้ ไฟฟ้า คือ พลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ดิ ตัง้ บนพืน้ ดิน (โซลาร์ฟาร์ม) ได้มีการออกระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าส�าหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร เพื่อที่จะน�าเอาพื้นที่ราชพัสดุของหน่วยงานราชการและที่ดินของสหกรณ์ภาคการเกษตรมา

คุณวีระพล จิรประดิษฐกุล

ใช้ให้เกิดประโยชน์ ในส่วนขั้นตอนการรับ ซื้อไฟฟ้า หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขจะ ได้มีการก�าหนด ปริมาณการรับซื้อที่ขนาด ก�าลังการผลิตติดตั้งไม่เกิน 5 เมกะวัตต์ต่อ หนึ่งโครงการ และรวมให้เต็มตามเป้าหมาย จ�านวน 800 เมกะวัตต์ มีระยะเวลา 25 ปี และจะได้รับอัตรารับซื้อไฟฟ้าแบบ FiT ที่ 5.66 บาทต่อหน่วย ซึ่งปัจจุบันกระทรวง พลังงานเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการที่ยังไม่ ได้ยื่นแสดงความจ�านงติดตั้งโซลาร์ฟาร์ม โดยความคืบหน้าของสถานภาพโครงการ โซลาร์ฟาร์ม พบว่าได้มี 25 โครงการ จ�านวน 138.35 เมกะวัตต์ เป็นกลุ่มที่ไม่ติดปัญหา ใด ๆ และขณะนีก้ ารไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) อยู ่ ร ะหว่ า งท� า สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า และ เตรียมส่งให้ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับ กิจการพลังงาน (สกพ.) รับทราบต่อไป อั ต รารั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า จากพลั ง งานหมุ น เวี ย น แบบ Feed-in Tariff (FiT) เรามักจะได้ยินค�า ว่า FiT หรือ Feed-in Tariff อยู่เป็นประจ�า ตามสื่อต่าง ๆ ว่าเข้ามาเกี่ยวข้องกับการรับ ซื้อไฟฟ้า เพราะเป็นมาตรการส่งเสริมการ รับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนประเภท หนึ่ง ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในต่างประเทศ เพื่ อ จู ง ใจให้ ผู ้ ป ระกอบการเอกชนเข้ า มา March March2015 2015 2121


Cover Story กองบรรณาธิการ

พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานน�า้ ขนาดเล็ก จะไม่มีต้นทุนในการจัดหาเชื้อเพลิง แต่จะมีความเสี่ยงจาก ความไม่แน่นอนของพลังงานจากธรรมชาติ ส่วนการผลิต ไฟฟ้าเทคโนโลยีกลุ่มพลังงานชีวภาพ ได้แก่ ชีวมวล ก๊าซ ชีวภาพ และขยะ จะมีความเสี่ยงจากความผันผวนของ ต้นทุนในการจัดหาเชื้อเพลิง ดังนั้น การก�าหนดอัตรารับ ซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FiT ที่เหมาะสม สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วนหลัก ดังนี้ 1. อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนคงที่ (FiT fixed : FiTF) คิดจาก ต้นทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าและค่าด�าเนินการและบ�ารุงรักษา (O&M) ตลอดอายุการใช้งาน ใช้ส�าหรับพลังงานหมุนเวียน ทุกประเภท ลงทุนในธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน 2. อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนแปรผัน (FiT variable : FiTV) คิดจากต้นทุนของวัตถุดิบที่ใช้ใน เพราะการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน การผลิตพลังงานไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนไปตามเวลา ใช้ส�าหรับพลังงานหมุนเวียนกลุ่มพลังงาน มีต้นทุนค่อนข้างสูง อย่างเช่นการลงทุน ชีวภาพ ในพลังงานหมุนเวียนจากแสงอาทิตย์ ซึ่ง อั ต รา FiT จะอยู ่ ใ นรู ป แบบอั ต รารั บ ซื้ อ นอกจากนี้ ยังได้มกี ารก�าหนดอัตรารับซือ้ ไฟฟ้าในรูปแบบ FiT พิเศษ (FiT Premium) เพิม่ เติม ไฟฟ้ า คงที่ ต ลอดอายุ โ ครงการ โดยอั ต รา จากอัตรารับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FiT ปกติ ส�าหรับบางประเภทเทคโนโลยี เพื่อสร้างแรงจูงใจ FiT จะไม่ เ ปลี่ ย นแปลงไปตามค่ า ไฟฐาน การลงทุนส�าหรับโครงการตามนโยบายรัฐบาล เช่น ขยะ ชีวมวล และก๊าซชีวภาพ และ และค่า Ft ท�าให้มีราคาที่ชัดเจนและเกิด โครงการในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ เพือ่ เสริมสร้างความมัน่ คงทางด้านพลังงานในพืน้ ที่ ความเป็นธรรม สูตรโครงสร้างอัตรา FiT จะประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่ อัตรารับซือ้ ไฟฟ้าส่วนคงที่ (FiTF) การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนแต่ละ ซึ่งจะคงที่ตลอดอายุโครงการ, อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนแปรผัน (FiTV) จะปรับเพิ่มขึ้นตามค่า ประเภทจะมี ค วามเสี่ ย งของการด� า เนิ น อัตราเงินเฟ้อขั้นพื้นฐาน (Core inflation) เฉลี่ยของปีก่อนหน้า ตามประกาศของกระทรวง กิจการที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน การผลิต พาณิชย์ และอัตรารับซื้อไฟฟ้าพิเศษ (FiT Premium) ตามนโยบายของภาครัฐที่ต้องการ ไฟฟ้ า จากกลุ ่ ม พลั ง งานธรรมชาติ ได้ แ ก่ สร้างแรงจูงใจการลงทุนบางประเภทเชื้อเพลิง สรุปสูตรโครงสร้างอัตรา FiT ได้ดังนี้

22

March 2015


ประเภทของโซลาเซลลที่ใชในปจจุบัน

ปจจุบันแมจะมีโซลาเซลลกันอยางแพรหลาย แตชนิดของโซลาเซลลจะแบงไปตามชนิดของ เซลลแสงอาทิตยเปนสวนใหญ ตามวัสดุที่ใชในการผลิต แบงเปน 3 ชนิดหลักๆ คือ 1. เซลลแสงอาทิตยทที่ าํ จากซิลคิ อน ชนิดผลึกเดีย่ ว (Single Crystalline Silicon Solar Cell) หรือที่รูจักกันในชื่อ Monocrystalline Silicon Solar Cell และชนิดผลึกรวม (Polycrystalline Silicon Solar Cell) ลักษณะเปนแผนซิลิคอนแข็งและบางมาก 2. เซลลแสงอาทิตยที่ทําจากอะมอรฟสซิลิคอน (Amorphous Silicon Solar Cell) ลักษณะเปนฟลมบางเพียง 0.5 ไมครอน หรือ 0.0005 มิลลิเมตร นํ้าหนักเบามาก และ ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาเพียง 5-10% 3. เซลลแสงอาทิตยที่ทําจากสารกึ่งตัวนําอื่นๆ เชน แกลเลี่ยม อารเซไนด แคดเมียม เทลเลอไรด และคอปเปอร อินเดียม ไดเซเลไนด เปนตน มีทั้งชนิดผลึกเดี่ยว (Single Crystalline) และผลึกรวม (Polycrystalline) เซลลแสงอาทิตย ทีท่ าํ จากแกลเลีย่ ม อารเซไนดจะใหประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา สูงถึง 20 - 25%

March March2015 2015 23PB


Interview

อภัสรา วัลลิภผล

มร.ทิม โย

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเมืองซัลโฟลคใต สหราชอาณาจักร

พลาสมาก า ซซิ ฟ เ  คชั น ่ เทคโนโลยีสเี ขียว แหงศตวรรษที่ 21 เพือ่ การเปลีย่ นขยะเปนพลังงานไฟฟา ºÃÔÉ·Ñ àÇʵ ··Ù ÃÔ«µÔ Õ้ ÍÔ¹àµÍà ๪ѹá¹Å (»ÃÐà·Èä·Â) ¨ํÒ¡Ñ´ áÅзºÇ§¡ÒäŒÒ áÅСÒÃŧ·Ø¹áË‹§ÊËÃÒªÍҳҨѡà 䴌ࢌÒÁÒ Ã‹ÇÁàÊǹÒáÅ¡à»ÅÕÂ่ ¹¤ÇÒÁÃÙŒ ´ŒÒ¹à·¤â¹âÅÂÕ¾Åѧ§Ò¹à¾×Í่ ÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁ ÍѹÊÍ´¤ÅŒÍ§¡Ñº¡ÒûÃСÒÈÇÒÃÐáË‹§ªÒµÔ¢Í§ÃÑ°ºÒŠ㹡ÒÃá¡Œ»Þ ˜ ËÒÇԡĵԢÂÐÅŒ¹àÁ×ͧʹѺʹع¾Åѧ§Ò¹·Ò§àÅ×Í¡¨Ò¡¡Òà ¹ํÒ¢ÂÐÁÒà»ÅÕÂ่ ¹à»š¹¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò

มร.ทิม โย สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเมือง ซัลโฟลคใต สหราชอาณาจักร และประธาน คณะกรรมการกํากับกิจการดาน พลังงานและ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศแหงสหราช อาณาจักร ผูมีป ระสบการณดา นอนุรักษ สิ่งแวดลอม และ พลังงานทดแทน ไดกลาว ปาฐกถาพิเศษในหัวขอ “ฝาวิกฤติขยะลนเมือง : ทางเลือกใหมของการเปลีย่ นขยะ สูพ ลังงาน สะอาด” วา มุมมองตอเรือ่ งพลังงานทดแทน ภายใต แ ผนพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ 24

March 2015


นอกจากนี้ในอนาคตอันใกล้ เมื่อการพัฒนา เทคโลยีฟิวเซลส์ (fuel-cell) ประสบความ ส� า เร็ จ ในเชิ ง พาณิ ช ย์ จะถู ก น� า มาใช้ กั บ พลาสมาก๊าซซิฟิเคชั่น ที่ผลิตก๊าซสังเคราะห์ ที่มี “ไฮโดรเจน” เป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งเป็น ก๊าซพลังงานสะอาด ที่สามารถน�า มาบรรจุเก็บในฟิวเซลส์ ที่จะน�ามาทดแทน เครื่ อ งยนต์ สั น ดาปภายในหรื อ กั ง หั น ก๊ า ซ ในการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าในปัจจุบัน โดย ฟิวเซลส์จะให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า ที่สูงขึ้นกว่าร้อยละ 40 จากการน�าไฮโดรเจน ที่ ไ ด้ ม าเปลี่ ย นเป็ น กระแสไฟฟ้ า โดยตรง ผ่านฟิวเซลส์

พลังงานทางเลือกของประเทศไทยว่า เป็นโอกาสที่ดีทั้งในด้านการเพิ่มความมั่นคงด้าน พลังงาน และการใช้พลังงานทดแทนเป็นการลดการ พึ่งพาพลังงานฟอสซิล ซึ่งเป็นหนึ่ง ในตั ว การหลั ก ที่ ป ล่ อ ยคาร์ บ อนและท� า ให้ เ กิ ด วิ ก ฤติ ก ารณ์ ก ารเปลี่ ย นแปลงภู มิ อ ากาศ รวมไปถึงการสูญเสียต้นทุนทางชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อมจากผลกระทบที่เกิดจากการใช้ เชื้อเพลิงฟอสซิลในการผลิตพลังงานเป็นหลัก ปัญหาขยะล้นเมืองก�าลังเป็นปัญหาที่ส�าคัญของประเทศในปัจจุบัน ปริมาณขยะครัวเรือน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี และได้สร้างภาระในการจัดหาสถานที่ส�าหรับทิ้งฝังกลบขยะ ซึง่ บ่อฝังกลบขยะส่วนใหญ่เป็นแบบไม่ถกู หลักสุขาภิบาล จึงเป็นแหล่งมลพิษสร้างผลกระทบ สิ่งแวดล้อม จากการปนเปื้อนสารพิษสู่แหล่งน�้าผิวดินและใต้ดิน รวมถึงกลิ่นเหม็นรบกวน จากขยะและความเสี่ยงต่ออุบัติภัย เช่น กรณีไฟใหม้บ่อขยะที่เกิดขึ้นให้เห็นหลายครั้ง ในช่วงปีที่ผ่านมา ในอดีตหลายประเทศมีการน�าเอา “เตาเผาขยะ (incinerator)” มาใช้ เพื่อลดปริมาณขยะ แต่กลับพบว่าวิธีและเทคโนโลยี ดังกล่าวหากขาดซึ่งประสิทธิภาพ ในการควบคุ ม การปล่ อ ยมลพิ ษ ในระหว่ า งกระบวนการท� า งาน จะกลั บสร้ างมลภาวะ ยิ่งกว่าเดิม ทั้งมลพิษทางอากาศจากกระบวนการเผาใหม้ ฝุ่นควัน และสารพิษ และการ ต้องใช้พ้ืนที่ฝังกลบเถ้าหนักที่เกิดจากการเผาไหม้ที่ถูกหลักสุขาภิบาลเพื่อป้องกันสารพิษ ไหลซึมลงสู่ดินและแหล่งน�้า และแม้พลาสมาก๊าซซิฟิเคชั่นจะเป็นเทคโนโลยีที่ลงทุนสูง มากกว่ า เตาเผาขยะหลายเท่ า ตั ว แต่ ด ้ วยการจั ด การหาวั ต ถุ ดิ บเชื้ อเพลิ ง ที่ มีคุ ณ ภาพ ประกอบกับประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า และเงินสนับสนุนอัตราส่วนเพิ่มราคา รับซื้อ ไฟฟ้าจากภาครัฐ เหล่านี้ท�าให้การลงทุนในเทคโนโลยีดังกล่าวมีความเป็นไปได้เชิงพาณิชย์ โดยไม่ จ�า เป็ น ต้ อ งรั บ เงิ น สนั บ สนุ น จากหน่ วยงานท้ องถิ่ น เพื่ อรั บก� า จั ด ขยะ (gate fee) ในทางกลับกัน โครงการจะสามารถจ่ายต้นทุน เล็กน้อยส�าหรับวัตถุดิบเชื้อเพลิง คือ ค่าใช้จ่ายให้กับท้องถิ่นหรือเจ้าของบ่อขยะ ส�าหรับขยะหรือเศษวัสดุเหลือใช้ และน�ามา คัดแยก แปรรูปเป็นเชื้อเพลิงพลังงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์โดยตรงให้กับท้องถิ่นในการ มีงบประมาณ จัดการขยะ คัดแยก เกิดการจ้างงาน และลดปริมาณขยะ ปลายทางใน พื้นที่ได้อย่างชัดเจน

ส่วนในด้านการประกาศวาระแห่งชาติของ รัฐบาล ในการแก้ปัญหาวิกฤติขยะล้นเมือง โดยสนั บ สนุ น พลั ง งานทางเลื อ กจากการ น� า ขยะมาเปลี่ ย นเป็ น พลั ง งานไฟฟ้ า นั้ น ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีและวิธีการ จัดการขยะชุมชนใหม่ ๆ ขึ้นมาที่สามารถ ท�าใด้ในเชิงพาณิชย์ โดยเปลี่ยนหลักคิดจาก “การก�าจัดขยะ” เป็น “การใช้ประโยชน์ จากขยะ” หรือเปลี่ยนขยะเป็นเชื้อเพลิง พลังงานทีส่ มบูรณ์โดยใช้เทคโนโลยีทสี่ ะอาด เช่น พลาสมาก๊าซซิฟเิ คชัน่ ซึง่ มีประสิทธิภาพ ในการผลิตพลังงาน ให้ความคุ้มค่าในการ ลงทุน ควบคู่ไปกับการลดและคัดแยกขยะ ที่ ต ้ น ท า ง ดั ง นั้ น จึ ง จั ด ก า ร กั บ ป ั ญ ห า การจั ด การขยะและเพิ่ ม ความมั่ น คงด้ า น พลังงานให้กับประเทศได้ไปพร้อม ๆ กัน

March 2015 25


Interview

จีรพร ทิพย์เคลือบ

บริหารจัดการพลังงานแบบ ประหยัดไดมากกวา 40% ดร.ดํารงศักดิ์ เชื่องยาง

กรรมการและผูอํานวยการฝายพัฒนาธุรกิจ บริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด 26

March 2015


พลังงานเป็นเรือ่ งทีไ่ ม่อาจมองข้ามไปได้ หลายองค์กรได้กระตือรือร้นและให้ความส�าคัญ กับเรื่องนี้อย่างจริงจัง ไม่เว้นแม้แต่ผู้ผลิตอุปกรณ์ด้านแสงสว่างเองก็ได้มีการรณรงค์ และตอบสนองนโยบายในเรื่องการประหยัดพลังงานของรัฐบาล Interview ฉบับนี้จึง ได้มีโอกาสเข้าไปสนทนากับทาง “บจก. เลคิเซ่ ไลท์ติ้ง” เกี่ยวกับการบริหารจัดการ ด้านพลังงาน อนุรักษ์ ส่งเสริม เพื่อการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดร.ด�ารงศักดิ์ เชื่องยาง กรรมการและผู้อ�านวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บจก. เลคิเซ่ ไลท์ติ้ง บริษัทหนึ่งในเครือเลคิเซ่กรุ๊ป ได้เล่าว่า แต่เดิมลี้กิจเจริญแสง บริษัทคนไทยที่ผลิตอุปกรณ์ แสงสว่างอย่างครบวงจร (Lighting) เป็นเวลายาวนานกว่า 45 ปี จากที่เป็นผู้อยู่เบื้องหลังมา โดยตลอด แต่ในช่วง 5 – 6 ปีทผี่ า่ นมา ได้เริม่ สร้างแบรนด์เลคิเซ่ขนึ้ มา ประกอบกับหลอดไฟ T5 ก�าลังเป็นที่นิยมของท้องตลาด ซึ่งทางกระทรวงพลังงานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประทศไทย (กฟผ.) ได้ให้ความส�าคัญกับเรือ่ งนีเ้ ป็นอย่างมาก จึงได้สร้างผลิตภัณฑ์โดยเน้น ในเรื่องของพลังงานเป็นหลัก และมีการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับนโยบายการประหยัด พลังงานของทางรัฐบาล การด�าเนินงานครัง้ แรก เลคิเซ่ ได้รว่ มมือกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) โดยเริ่มเป็นเครือข่ายลดโลกร้อน ด้วยการน�าเสนอหลอดผอมใหม่ T5 เพื่อให้มีการประหยัด พลังงานไฟฟ้าและลดปัญหาภาวะโลกร้อน โดยส่งเสริมให้มีการใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 28 วัตต์ แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ 36 วัตต์ ซึง่ สามารถลดการใช้ไฟฟ้า ได้ประมาณ 40% ช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยการเริม่ ส่งเสริมกลุม่ เป้าหมายอย่างภาคครัวเรือน ภาคครัวเรือนเปลี่ยนมาใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง จึงท�าให้หลอดอ้วนหมดไปจาก ตลาดเมืองไทย จากนั้น ได้เข้าร่วมและจดทะเบียนกับบริษัทจัดการพลังงาน (Energy Service Company : ESCO) จากสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ภายใต้ แนวความคิด “เปลี่ยนเพื่อประหยัด” รณรงค์ต้นแบบ LED เพื่อประชาชนพร้อมสนับสนุน เต็มรูปแบบ ด้วยการหันมาใช้หลอด LED จากการใช้หลอดประหยัดหรือหลอดตะเกียบหรือ หลอด T8 Fluorescent แบบเดิม ๆ ซึ่งจะสามารถประหยัดพลังงานจากการใช้ไฟฟ้าเพื่อ แสงสว่างภายในครัวเรือน ลงมากกว่า 80% เมื่อมีความตื่นตัวในกระแสการอนุรักษ์พลังงานเป็นอย่างมาก จึงมีการบริหารจัดการด้าน พลังงานอย่างเต็มรูปแบบในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา แต่หนทางแห่งความส�าเร็จไม่ได้ โรยด้วยกลีบดอกไม้ เพราะในช่วงแรกที่ด�าเนินการเรื่องนี้อย่างจริงจัง ได้เกิดปัญหาและ อุปสรรคต่าง ๆ มากมาย ได้ใช้ประสบการณ์จากเข้าไปสนับสนุนองค์กรทีป่ ระสบความส�าเร็จ มาประยุกต์และบูรณาการเพือ่ องค์กร ด้วยการน�าเอาผลิตภัณฑ์ของเลคิเซ่มาใช้งาน ประกอบกับ มีมาตรการต่าง ๆ เช่น การจัดตั้ง สส.พลังงานมาดูแลในเรื่องของการใช้จ่ายพลังงาน เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุด การรณรงค์เปิด – ปิดเครื่องปรับอากาศหากไม่มี การใช้งาน และส่งบุคลากรเข้าไปฝึกอบรม รวมทัง้ ติดตัง้ อุปกรณ์แสงสว่างเป็น LED ของเลคิเซ่ รวมถึงเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศใหม่ พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ให้ประหยัดมากขึ้นและได้มีการ ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ ซึ่งการบริหารจัดการดังกล่าว สามารถท�าให้ช่วยประหยัดค่าไฟฟ้า ได้มากกว่า 40% และในเร็ว ๆ นี้ มีแผนผลิตโซลาร์รูฟบนหลังคาเพื่อน�ามาใช้ภายในองค์กร และจ�าหน่ายเชิงพาณิชย์ การบริหารจัดการดังกล่าวเกิดเป็นรูปธรรม และลดต้นทุนได้อย่าง มหาศาลเลยทีเดียว

เลคิเซ่ ได้ทา� หน้าทีใ่ ห้บริการแก่ผปู้ ระกอบการ ที่ ร ้ อ งขอ ด้ วยการท� าการตรวจสอบและ วิเคราะห์การใช้พลังงาน รวมถึงจัดท�าเป้าหมาย และแผนการอนุรักษ์พลังงาน การออกแบบ ทางวิ ศ วกรรมหรื อ ช่ ว ยจั ด หาเงิ น ทุ น ใน การด�าเนินการ การบริหารโครงการ ช่วยจัดหา อุปกรณ์ การติดตั้ง ก่อสร้าง ควบคุม ซ่อม บ�ารุง ตรวจสอบและประเมินผลการประหยัด พลังงานไฟฟ้าแสงสว่าง ร่วมถึงการรับประกัน ผลการประหยัดพลังงาน ตลอดจนการฝึก อบรมและให้บริการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าแสงสว่าง จนท�า ให้หลายองค์กรประสบความส�าเร็จด้านการ ประหยัดพลังงานมาแล้วมากกว่า 3,000 โครงการ นอกจากนีย้ งั ได้ดา� เนินการสนับสนุน ส่งเสริมและท�ากิจกรรมด้านสิง่ แวดล้อมร่วมกับ ชุมชน สังคมเป็นประจ�า และมีการเข้าไปให้ ความช่วยเหลือโรงเรียนในเขตทุรกันดาร เช่น โครงการใช้โซลาร์สว่างทั้งโรงเรียน ฯลฯ จากผลงานที่ ผ ่ า นมาท� า ให้ เ ลคิ เซ่ ป ระสบ ความส�าเร็จเป็นอย่างมาก ท�าให้ คุณสมนึก โอวุฒธิ รรม ประธานกรรมการบริหารเลคิเซ่ กรุป๊ ได้รบั รางวัล ด้านบุคลากรดีเด่นประเภท ผู้บริหาร โรงงานควบคุม จากการประกวด Thailand Energy Awards 2013 เนื่องจากมี ผลงานดีเด่นด้านการอนุรักษ์พลังงาน จึงส่ง ผลให้เลคิเซ่มีภาพลักษณ์ที่ดีและได้รับความ ไว้วางใจเพิม่ ขึน้ อีกด้วย และในปีนี้ เลคิเซ่กรุป๊ จะลงชิงชัยในการประกวด Thailand Energy Awards 2015 อีกครั้งอย่างแน่นอน

March 2015 27


Interview

นัษรุต เถื่อนทองคํา

คุณฐิติศักดิ์ สกุลครู ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัทครีเอทีฟ พาวเวอร จํากัด

ËÒ¡¨Ð¡Å‹ÒǶ×ͼŧҹÇԨѴŒÒ¹µ‹Ò§ æ ¢Í§¤¹ä·Â㹪‹Ç§·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ ¶×ÍÇ‹Ò໚¹¼Å§Ò¹·Õ่ÊÒÁÒöᢋ§¢Ñ¹¡Ñºµ‹Ò§»ÃÐà·È 䴌͋ҧäÁ‹ÂÒ¡àÂ็¹¹Ñ¡ ¢Ò´áµ‹à¾Õ§¤¹ä·Â´ŒÇ¡ѹàͧ·Õ่¨ÐãËŒâÍ¡ÒÊáÅÐà» ´ÃѺ¼Å§Ò¹àËÅ‹Ò¹Ñ้¹ËÃ×ÍäÁ‹ áÅÐàÁ×่ÍäÁ‹¹Ò¹ ÁÒ¹Õ้¼Å§Ò¹¢Í§¤¹ä·Â䴌໚¹·Õ่ÃÙŒ¨Ñ¡ÍÕ¡¤ÃÑ้§ÀÒÂ㵌áºÃ¹´ HEMan ¨Ò¡¤ÇÒÁËÇÁÁ×ͧ͢ ¤ÃÕàÍ·Õ¿ ¾ÒÇàÇÍà ¡Ñº Á·Ã.¸ÑÞºØÃÕ ã¹¡Òõ‹ÍÂÍ´¼Å§Ò¹ÇÔ¨ÑÂÊÙ‹¸ØáԨÍ‹ҧàµ็ÁµÑÇ·Ñ้§µÅÒ´ã¹»ÃÐà·ÈáÅе‹Ò§»ÃÐà·Èâ´Â੾ÒСÅØ‹Á ÊÁÒªÔ¡ÍÒà«Õ¹ ¹ํÒËͧ´ŒÇ¡ŋͧ¤Çº¤ØÁä¿¿‡ÒÍѨ©ÃÔÂÐ ÃØ‹¹ The ONE à¾×่Íà¨ÒСÅØ‹ÁÅÙ¡¤ŒÒâ¤Ã§¡ÒÃÍÊѧËÒÏ Ê¶Ò»¹Ô¡-ÇÔÈÇ¡ÃáÅСÅØ‹Á¼ÙŒãªŒ·Ñ่Çä»

28

March 2015


ตอยอดนวัตกรรมฝมือคนไทย รับตลาด AEC ภายใตแบรนด นายฐิติศักดิ์ สกุลครู ประธานเจาหนาที่บริหารบริษัทครีเอทีฟ พาวเวอร จํากัด เปดเผยวา “ครีเอทีฟ พาวเวอร” เปนบริษัทที่เกิดจากความพยายามในการสงเสริมนวัตกรรมคนไทย ใหเปนที่รูจักในระดับสากล ดวยทีมงานบริหาร ทีมวิศวกร ทีมชางผูผลิต ที่มีประสบการณ ในวงการวิศวกรรมไฟฟามากวา 20 ป ผานการดําเนินงานทั้งในสวนใหคําปรึกษาการดําเนิน การและการแกไขปญหาพลังงานไฟฟาใหกับองคกรขนาดใหญทั้งในภาครัฐและเอกชน เกิดเปนสินคาแบรนด HEMan (Home Electric Manager) ภายใตคอนเซ็ปต นวัตกรรม คนไทย...เพื่อคนไทย โดยรวมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ในการนําผลงานวิจัยมาพัฒนาเปนสินคาใหผูบริโภคสามารถนํามาใชจริงได เพื่อผูบริโภค มี ทางเลือกในการใชสินคาประเภทที่เปนนวัตกรรมของคนไทยโดยสินคาตัวแรกที่ออกสู ตลาดคือ กลองควบคุมไฟฟาอัจฉริยะ HEMan รุน The ONE สําหรับอาคาร บานพักอาศัย เพื่อยกระดับการใชชีวิตใหปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น และพรอมวางแผนการตลาดเพื่อจําหนาย ภายใตความรวมมือครั้งนี้ บริษัทฯ พรอมที่จะรุกเขาสูตลาดอยางจริงจัง เพื่อนําผลิตภัณฑ ที่ไดจากการตอยอดผลงานวิจัยฝมือคนไทยมาพัฒนาสรางมูลคาในเชิงการคาพาณิชย ที่ผูบริโภคสามารถนําไปใชไดจริง และยังชวยกระตุนเศรษฐกิจ การคาและการลงทุนของ ประเทศไทย โดยจะเนนบุกตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศ ในเบื้องตนเนนกลุมสมาชิก อาเซียนเชื่อมั่นวาจะเปนการเปดโอกาสทางธุรกิจและการคาจากการเปดประตูสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community:AEC) ซึ่งถือวาเปนตลาดที่ใหญมาก สําหรับการคาและการลงทุนของไทย อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังเปดกวางพรอมทีจ่ ะเปนผูป ระกอบการ เอกชนที่นําเอาผลงานวิจัยจากสถาบันการศึกษาตาง ๆ ที่มีชิ้นงานวิจัยมาพัฒนาสราง มูลคางานวิจัยสูเชิงพาณิชยใหเห็นเปนรูปธรรมเหมือนกับที่ทํารวมกับ มทร.ธัญบุรี เชนกัน HEMan กลองควบคุมไฟฟาอัจฉริยะ รุน The ONE นวัตกรรมที่ไดจากการพัฒนาผลงงาน วิจัยของอาจารยและนักศึกษาของ มทร.ธัญบุรี ที่เล็งเห็นถึงปญหาอัคคีภัยหรือเพลิงไหม ที่ มี จํ า นวนการเกิ ด สู ง ขึ้ น ทุ ก ป จ ากสาเหตุ ที่ เ กิ ด แตกต า งกั น ไปและทุ ก ครั้ ง ที่ เ กิ ด ก็ นํ า มา ซึ่งความสูญเสียในชีวิตและทรัพยสินความเสียหายคิดเปนมูลคาในแตละปไมนอยกวา 2-3 หมื่นลานบาท หลังจากผานการทดสอบและเริ่มจําหนายออกสูตลาดแลวอยางจริงจัง ปรากฏวาไดรับการตอบรับดีจากลูกคาดวยคุณสมบัติที่โดดเดนดานความสามารถในการ ปองกันทุกอันตรายที่อาจจากไฟฟากอนที่อันตรายจะเกิดขึ้น เปนการสรางมาตรฐานใหม ดานความปลอดภัยของการใชไฟฟาภายในบานหรืออาคาร

HEMan

อาศัย

หลั ก การทํ า งานของกล อ งควบคุ ม ไฟฟ า อัจฉริยะ The ONE เปนนวัตกรรมเพื่อ ความปลอดภัยในการใชไฟฟาภายในบาน สามารถป อ งกั น อั น ตรายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จาก อุ ป กรณ แ ละการใช ไ ฟฟ า ที่ อ าจก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หายต อ ชี วิ ต และทรั พ ย สิ น จากแรงดันไฟฟาที่สูงหรือตํ่าเกินไป ทําให อุปกรณไฟฟาในบานชํารุดหรือเสียหายได การใชกระแสไฟฟามากเกินกําหนดหรือการ เชื่อมตอสายไฟสลับขั้ว หรือการเชื่อมตอ สายไฟสลับขั้วที่ทําใหเกิดอันตราย เปนตน ดวยระบบการจัดการ MMD24® ถูกออกแบบ มาเพื่อปองกันและคอยเฝาระวังตรวจสอบ ความผิ ด ปกติ ข องรู ป คลื่ น ไฟฟ า ที่ ใช อ ยู  ภายในบาน สามารถแจงเตือนหรือตัดกระแส ไฟฟ า ออกก อ นที่ จ ะเกิ ด เหตุ แ ละต อ คื น กระแสไฟฟ า กลั บ สู  ก ารทํ า งานปกติ ไ ด อัตโนมัติ เมื่อปญหาไดรับการแกไขหรือ สัญญาณความผิดปกติหายไป สวนคุณสมบัตเิ ดนอืน่ ๆ คือ อายุการใชงาน มากกวา 10 ป ระบบความปลอดภัยเชือ่ ถือได 100% ใชงานรวมกับ ตูไฟเกา ไดโดยไม ตองเปลีย่ น ติดตัง้ งานใชงานไดทนั ที แสดง สถานะไฟฟาดวย LED ที่ตัวเครื่อง การันตี การเปลี่ยนเครื่องใหมเมื่อมีปญหาการใช งาน และพรอมประกันในวงเงิน 1 ลานบาท อีกดวย

การวางแผนงานด า นการตลาดจะเน น เจาะตลาดกลุ  ม ผู  ป ระกอบการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ทั้งประเภทบานจัดสรร คอนโดมิเนียม และอาคารพาณิชยตาง ๆ รวมถึงกลุมผูประกอบการ ในธุรกิจรับสรางบาน กลุมผูประกอบการวิชาชิพทั้งสถาปนิก-วิศวกร และกลุมผูใชทั่วไป โดยการเขาถึงกลุม ลูกคาเปาหมายนัน้ จะมีทงั้ การนําโปรดักสไปแนะนํากับทางผูป ระกอบการ เจาของโครงการ การจัดกิจกรรมดวยการออกบูธตามงานแฟรตางๆที่เกี่ยวของกับการอยู March 2015 29


Product Highlight - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

กระจก LOW-E ลดสภาวะโลกรอน ÊÀÒÇÐâšÌ͹㹻˜¨ ¨ØºÑ¹ ·ํÒ ãËŒÊÀÒ¾ÍÒ¡ÒÈá»Ã»Ãǹ¡Ò÷Õ่ÍسËÀÙÁÔ ¢Í§âÅ¡ÊÙ§¢Ö้¹¹Ñ้¹ ໚¹¼ÅÁÒ¨Ò¡»ÃÒ¡¯¡Òó àÃ×͹¡ÃШ¡ (Greenhouse Effect) ·Õ่à¾Ô่ÁÁÒ¡¢Ö้¹¨Ò¡ÇÔ¸Õ¡ÒôํÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§âÅ¡ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ ÍÒ·Ôઋ¹ âç§Ò¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¡ÒüÅԵ俿‡Ò¨Ò¡¡ÒÃà¼Ò¶‹Ò¹ËÔ¹ ÃÇÁ·Ñ§้ ¡ÒÃà¼Ò¼ÅÒÞ ¹ํ้ÒÁѹàª×้Íà¾ÅÔ§¨Ò¡ÂÒ¹¾Ò˹е‹Ò§æ áÅÐÍ×่¹æÍÕ¡ÁÒ¡ÁÒÂ

PB30

March March2015 2015

ด ว ยเหตุ ที่ ป ระเทศของเราอยู  ใ นเขตร อ น เราจึงตองใชเครื่องปรับอากาศ เพื่อทําให อุ ณ หภู มิ ภ ายในบ า นของเราเย็ น สบาย โดยมิใดคํานึงถึงการปลดปลอยความรอน ของระบบเครื่องปรับอากาศออกภายนอก อาคาร ความรอนดังกลาวนัน้ เปนสวนหนึง่ ที่ ทํ า ให เ กิ ด ปรากฏการณ เ กาะความร อ น (Heat Island Effect) ซึ่งทําใหอุณหภูมิของ อากาศภายนอกอาคารสูงยิง่ ขึน้ ปรากฏการณ เรือนกระจก ปรากฏการณเกาะความรอน และรังสีอินฟราเรดในแสงอาทิตย ที่แผเขา มาในบานนั้นทําใหความรอนภายในอาคาร และบานเรือนเพิ่มขึ้นอยางมาก สวนใหญ แล ว เรามั ก จะแก ป  ญ หากั น ที่ ป ลายเหตุ โดยการออกแบบระบบเครื่องปรับอากาศ ใหมีกําลังมากขึ้น ซึ่งสงผลใหมีคาใชจาย เพิ่มขึ้นทั้งดวยราคาของระบบเครื่องปรับ อากาศเอง และอัตราการใชพลังงานไฟฟา รวมถึงการเพิ่มปริมาตรคาเกาะความรอน


ทานทราบหรือไมวาประตูและหนาตางแบบดั้งเดิมของบานทั่วไป ในเมืองไทยนั้น ไมวาจะเปนประตูหนาตางกระจกกรอบอลูมิเนียม uPVC หรือประตูหนาตางกระจกกรอบไม มักมีชอ งรัว่ ซึมของอากาศ (Air Leakage) ทําใหอากาศเย็นจากเครื่องปรับอากาศภายในบาน ไหลออกนอกตัวอาคาร รวมถึงมีการถายเทความรอนจากแสงอาทิตย เขามาภายในตัวบาน (Solar Heat Gain) และการนําความรอน ผานกระจกเขาสูตัวอาคาร (Energy Transfer) ดังนั้นการใชประตู และหนาตางที่มีประสิทธิภาพ ในการควบคุมปจจัยทั้งสามประการ ดังกลาว จะชวยลดปรากฏการณเรือนกระจก ปรากฏการณเกาะ ความรอน และลดรังสีอินฟราเรดและรังสีอัลตราไวโอเลต จาก แสงอาทิตยที่สองเขามาทําลายผิวหนังของเรา และเฟอรนิเจอร ตาง ๆ ภายในบานไดเปนอยางดี

อากาศ (Air Infiltration) ตํ่า โดยการรับรองจากองคกร NFRC (National Fenestration Rating Council) และผานการทดสอบ มาตรฐานสากล ASTM E283 อากาศรอนจากภายนอก แทบจะ ไม เข ามาสู  ภายในตั ว อาคารเลย และยังผา นการทดสอบความ รัว่ ซึมของนํา้ ในการจําลองแรงอัดอากาศพรอมกับนํา้ ตามมาตรฐาน สากล ASTM E547 กรอบประตู แ ละหน า ต า งแอนเดอร สั น (Andersen) นั้นประกอบขึ้นดวยวัสดุที่ทนทานและดูแลงาย เราใช ระบบเพอรมาชีลด (Perma-Shield) ในการปกปองเนื้อไมจากนํ้า และรอยขู ด ขี ด ได เ ป น อย างดี โดยยังคงคุณคา และความคงทน ของไม นอกจากนั้นยังไมจําเปนตองมีการบํารุงรักษาใดๆ วัสดุ ไมลอก ไมรอน ไมแตกลาย และไมผุพัง

เราขอแนะนํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระตู แ ละหน า ต า งของแอนเดอร สั น (Andersen) ที่ ผ ลิ ต จากกระจกฉนวนประหยั ด พลั ง งาน (Low-E Insulated Glass) ซึ่ ง สามารถป อ งกั น รั ง สี อั ลตราไวโอเลต และ อิ น ฟราเรดจากแสงอาทิ ต ย ไ ม ใ ห เข า สู  ตั ว บ าน ปกป องคุ ณ และ คนที่คุณรัก รวมทั้งเฟอรนิเจอรตัวโปรดของคุณ อีกทั้งยังชวยคุณ ลดการใชพลังงานไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ ชวยใหบานคุณยัง คงความสวางและความเย็นไดในคราวเดียวกัน

ดวยประสบการณกวาหนึ่งรอยปในการวิจัยและคิดคนผลิตภัณฑ ที่มีคุณภาพสูงเสมอมา เรามีการตรวจสอบคุณภาพสินคาอยาง ละเอียดถี่ถวนตามมาตรฐาน WDMA Hallmark Certification ทําใหทานมั่นใจไดวา ผลิตภัณฑแอนเดอรสัน (Andersen) ทนตอ ทุกสภาพอากาศ แมในสภาพอากาศที่แปรปรวนจากอุณหภูมิติดลบ ถึงสภาพอากาศทะเลทราย ผลิตภัณฑแอนเดอรสัน (Andersen) เปนแบรนดอันดับ 1 ของหนาตางในสหรัฐอเมริกา สินคาผลิตจาก สหรัฐอเมริกา

กระจกหนาตางแอนเดอรสัน (Andersen) ชวยลดการสิ้นเปลือง พลั ง งานโดยได รั บ การรั บ รองจากสถาบั น Energy Star จาก สหรัฐอเมริกา มีความทนทานในทุกสภาพอากาศ มีคา การแลกเปลีย่ น

พบกับผลิตภัณฑ Andersen ไดในงาน “สถาปนิก’58” วันที่ 28 เมษายน – 3 พฤษภาคม 2558 ณ ชาเลนเจอรฮอลล 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี March March2015 2015 31PB


Showcase - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

Beger Shield Air Fresh สีฟอกอากาศ สะอาด 3 มิติ กลุมบริษัทสีเบเยอร ผูนําดานนวัตกรรมสีรักษโลก แนะนําผลิตภัณฑใหม Beger Shield Air Fresh “สี ฟ อกอากาศ สะอาด 3 มิ ติ ” ที่ ผ สมผสานเทคโนโลยี ดานสิ่งแวดลอม ดวย Air clean ฟอกอากาศ สะอาดบริสุทธิ์ ตลอด 24 ชั่วโมง Bio clean สามารถฆาและสลายเชือ้ โรคได 99.99% Wall clean คุณสมบัตใิ นการ เช็ดลางทําความสะอาดงาย ทนทานตอการขัดถู และสามารถสลายคราบอินทรีย เองไดดว ยแสง กลิน่ สีออ น ปลอดภัย สามารถเขาอยูไ ดใน 5 นาที หลังทาสีแลว สีแหงสนิทสอดคลองตามมาตรฐานอาคารเขียว มีจําหนายขนาด 3.5 ลิตร และ 9 ลิตร ดูรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.beger.co.th

BSM Wall System L100 ผนังสําเร็จรูป บริษัท บิวเดอสมารท จํากัด (มหาชน) หรือ BSM แนะนํา ผนังสําเร็จรูป L100 ทีม่ าพรอมจุดเดนของการเปนระบบผนังสําเร็จรูป ที่ สามารถลดขั้ น ตอนในการติ ดตั้ง ประหยัดทั้งตนทุนและเวลา พรอมมีใหเลือกทั้งแบบผนังทึบ ผนังชองแสง และระบบประตู ทีแ่ ตละสวนสามารถเชือ่ มตอกันไดอยางลงตัว โดยขัน้ ตอนการติดตัง้ จะไม มี ง านเป ย กเข า มาเกี่ ย วข อ ง ช ว ยให ลู ก ค า ประหยั ด เวลา รวมถึ ง ค าใช จ  ายต าง ๆ พร อมทั้งยังสามารถวางระบบโทรศัพท สายอินเตอรเน็ต และสายไฟตางๆ ดานในผนัง เพิ่มความเรียบรอย สวยงาม และงายตอการซอมบํารุง

Camarcio AC 100-U พัดลมไอเย็น บริษทั เดอะ ซิกเนเจอรแบรนด (ประเทศไทย) ผูน าํ เขาเครือ่ งใชไ ฟฟา ในแบรนด CAMARCIO แนะนําผลิตภัณฑพดั ลมไอเย็น หรือ Air Cooler Camarcio AC 100-U สําหรับบานและอาคาร ที่ตองการเพิ่มความเย็น ใหกับพื้นที่ในบริเวณกวาง สามารถปรับระดับความแรงได 3 ระดับ พัดลมกระจายลมในแนวระนาบดวยวงกว างถึ ง 120 องศา พร อมทั้ง ตั้ ง เวลาการทํ า งานได น านสู ง สุ ด ถึ ง 7 ชั่วโมง ควบคุมการทํางานดวย รีโมทระบบดิจิตอล ที่สําคัญทํางานดวยระบบ ion ทําใหสัมผัสถึงลม แห ง ความเย็ น ที่ ส ดชื่ น มากกว า พั ด ลมทั่ ว ไป ปลอดภั ย ด ว ยระบบ สัญญาณเตือนและตัดการทํางานอัตโนมัติของปมนํ้า เมื่อนํ้าหมด และ ประหยัดพลังงาน 32

March 2015

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



Showcase - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

Q-CON อิฐมวลเบา Q-CON อิฐมวลเบาหรือคอนกรีตมวลเบา ผลิตภัณฑคอนกรีตทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เพื่อใชสําหรับงานกอสรางผนังและพื้นดวยคุณสมบัติพิเศษที่เหนือกวา ประกอบกับการออกแบบเพื่องานกอสรางอาคารบานเรือนในปจจุบัน ประหยัดพลังงานดวยการกันความรอนไดดีกวาอิฐมอญถึง 4-8 เทา จึงชวยลดการถายเทความรอนจากภายนอกสูภ ายในอาคาร ชวยประหยัด คาใชจายจากขนาดเครื่องปรับอากาศที่เล็กลงและลดคาไฟฟาไดถึง 30% นํ้าหนักเบากวาอิฐมอญ 2-3 เทา และเบากวาคอนกรีต 4-5 เทา สงผลใหประหยัดคากอสรางโครงสรางอาคารและเสาเข็มลงไดอยางมาก แตอาคารยังคงมีความแข็งแรงเทาเดิม มิติเที่ยงตรงดวยชิ้นงานที่เรียบ กันเสียงและดูดซับเสียงไดดี ทนไฟนานกวา 4 ชัว่ โมง และมีอายุการใชงาน ยาวนานไม สึ ก กร อ นและสามารถทนต อ สภาพอากาศได ทุ ก สภาวะ ทุกภูมิประเทศทั่วโลก

ECO STONE หินฟองนํา้ BSG GLASS แนะนํา ECO STONE หินฟองนํ้า ผลงานนวัตกรรม ดานออกแบบดีไซน เพื่อการตกแตงสวน และเปนผลงานนวัตกรรมเชิง สิ่งแวดลอม เพราะมีคุณสมบัติชวยกักเก็บความชุมชื้น โดยการดูดซับ และกักเก็บนํ้าเอาไวในตัว ไมใหนํ้าระเหยออกไป และเมื่อเวลาผานไป จะคอยคลายนํ้าออกมาใหกับตนไม ทําใหตนไมชุมชื้นอยูไดตลอด โดยไมจําเปนตองรดนํ้าตนไมบอย ๆ และลดการใสปุย เพราะเก็บความ ชุ  ม ชื้ น และความอุ ด มสมบู ร ณ ข องผิ ว หน า ดิ น เอาไว และยั ง ทํ า ให วัชพืชเติบโตชาลง มีความแข็งแรง ไมเปราะหรือหักงาย นํ้าหนักเบา เพื่อรองรับการตกแตงสวนแนวใหม ตามคอนโดมิเนียม ที่เนนสีสัน สดใส และรูปลักษณหนาตาที่สวยงาม

Dogma ซิงคนาํ้ อัจริยะ บริษัท เดอะซิกเนเจอร แบรนด จํากัด หรือ Sbo ผูนําเขาและ ทําตลาดชุดเครื่องครัวแนะนําผลิตภัณฑซิงคนํ้าอัจริยะ Dogma ผลิตดวยวัสดุแบบ VitroTek ที่ทําจากผงแกวบริสุทธิ์คุณภาพสูง ทนตอแรงกระแทกไดเปนอยางดี พรอมระบบ SIR Compact Draining System การจัดการนํ้าและปองกันนํ้าลนดวยระบบ อิเลคโทรนิคส และแผงควบคุมแบบ soft touch ปรับเพิ่ม-ลด อุณหภูมินํ้าเพียงปลายนิ้วสัมผัส นอกจากนี้ ยังมีนวัตกรรมทันสมัย ดวยเทคโนโลยี ซิงคอัจริยะ ที่ชวยดูดคราบนํ้ามันบนภาชนะนําไป กรองเพื่อเก็บไวใชในครั้งตอไป รวมถึงมีระบบขจัดเศษอาหารให เปนโมเลกุลที่เล็กมาก จนสามารถไหลไปกับนํ้าได เพื่อปองกันการ อุดตันของทอนํ้า 34

March 2015


Product Highlight - Industrial กรีนภัทร์

จอหนสัน คอนโทรลส รวมมือ ฮิตาชิ จัดตัง้ บริษทั ดานระบบทําความรอน-ความเย็น ระบบระบายอากาศ ¨ÍË ¹Êѹ ¤Í¹â·ÃÅÊ áÅÐ ÎÔµÒªÔ á;¾ÅÒÂá͹« à«Ê 䴌ËÇÁŧ¹ÒÁã¹ ¢ŒÍµ¡Å§¢Ñ้¹ÊØ´·ŒÒ à¾×่ͨѴµÑ้§ºÃÔÉѷËÇÁ·Ø¹ÃдѺâÅ¡ º¹àÇ·Õ¡ÒûÃЪØÁ àÈÃÉ°¡Ô¨ÃдѺâÅ¡ ËÃ×Í World Economic Forum ³ àÁ×ͧ´ÒÇÍÊ »ÃÐà·È ÊÇÔÊà«Íà Ᏼ â´ÂºÃÔÉÑ·Ã‹Ç Á·Ø¹¨ÍË ¹Êѹ¤Í¹â·ÃÅÊ -ÎÔµÒªÔ ¨Ðª‹ÇÂãËŒ ·Ñ้ § ÊͧºÃÔ ÉÑ · ÊÒÁÒö¢ÂÒÂÊÔ ¹ ¤Œ Ò áÅкÃÔ ¡ ÒôŒ Ò ¹à·¤â¹âÅÂÕ ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁ à¤Ã×่ͧ·ํÒ¤ÇÒÁÌ͹ ¤ÇÒÁàÂ็¹ áÅÐÃкºÃкÒÂÍÒ¡ÒÈáÅеٌ᪋àÂ็¹ãËŒËÅÒ¡ËÅÒ ÂÔ่§¢Ö้¹

ดาน ฮิตาชิ แอพพลายแอนซเซส ถือเปนผูใหบริการดานเครื่องใชในบานและโซลูชั่น เครื่องปรับอากาศ เปนบริษัทในเครือของ ฮิตาชิ ผูนําดานโซลูชั่นโครงสรางพื้นฐานและ อิเล็กทรอนิกสระดับโลก ฮิตาชิ แอพพลายแอนซ-เซส ใหบริการดานโซลูชั่นเครื่องปรับ อากาศที่มีคุณภาพสูง มีประสิทธิภาพ และนาเชื่อถือใหแกตลาดทั่วโลก ไมวาจะเปน เครื่องปรับอากาศสําหรับที่พักอาศัย ระบบเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน และอุปกรณ เครือ่ งปรับอากาศเชิงพาณิชยและเชิงอุตสาหกรรม โดยหลังจากการรวมทุน ฮิตาชิ แอพพลาย แอนซเซส จะยังคงใหบริการผลิตภัณฑระบบความรอน ความเย็น และระบบระบาย อากาศ ภายใตแบรนดฮิตาชิในตลาดญี่ปุน

และภายใตขอ ตกลงนี้ จอหนสัน คอนโทรลส จะถือหุน 60 เปอรเซ็นต ในบริษัทฮิตาชิ แอพพลายแอนซ เซส ซึ่ ง มี ย อดขายใน ธุ ร กิ จ เครื่ อ งปรั บ อากาศทั่ ว โลก ไม ร วม ยอดขายผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก ารในญี่ ปุ  น มากกวา 3 แสนลานเยน (หรือราว 84,785 ล า นบาท) บริ ษั ท ร ว มทุ น จอห น สั น คอนโทรลส-ฮิตาชิ จะนําเสนอผลิตภัณฑ เครื่ อ งปรั บ อากาศอย า งเต็ ม รู ป แบบ รวมไปถึ ง เทคโนโลยี เ ครื่ อ งปรั บ อากาศ ระบบ VRF (Variable Refrigerant Flow) เครื่ อ งปรั บ อากาศสํ า หรั บ ที่ พั ก อาศั ย และเครื่ อ งทํ า ความเย็ น แบบดู ด ซึ ม ที่ ใช เทคโนโลยีอินเวอรเตอรชั้นนํา เพิ่มเติม จากผลิตภัณฑของจอหนสัน คอนโทรลส ที่มีอยูเดิม ซึ่งสามารถมาตอบสนองความ ตองการของผูบ ริโภคทัว่ โลกได ดวยจํานวน พนักงานราว 13,800 คน และโรงงานผลิต กวา 24 แหง การรวมทุนนี้จะสรางเสริม March 2015 35


Product Highlight - Industrial กรีนภัทร์

จอหนสัน คอนโทรลส บริษัทระดับโลก ผู  ใ ห บ ริ ก ารในหลากหลายอุ ต สาหกรรม มีประวัติยาวนานกวา 130 ป ในการ นํ า เสนอระบบทํ า ความร อ น-ความเย็ น ระบบระบายอากาศ ระบบควบคุมอาคาร ตูแชเย็น และระบบรักษาความปลอดภัย สํ า หรั บ อาคาร หน ว ยธุ ร กิ จ Building Efficiency ของจอหนสัน คอนโทรลส นําเสนอ โซลูชนั่ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน และลดตนทุนการดําเนินงานใหแกลูกคา กวาหนึ่งลานราย ในบริษัทกวา 700 แหง ใน 150 ประเทศ ทั่วโลก

ความเปนผูนําดานเทคโนโลยี การคนควาวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ รวมถึงชวยขยาย ชองทางการตลาดใหแกทั้งสองบริษัท ซึ่งคาดวาการรวมทุนจะสําเร็จภายในปนี้ ขึ้นอยู กับการอนุมัติตามระเบียบขอบังคับ และดานระเบียบเงื่อนไขอื่น ๆ สําหรับ จอหนสัน คอนโทรลส ความรวมมือในครั้งนี้สะทอนใหเห็นพันธสัญญาทาง ยุทธศาสตรทมี่ งุ มัน่ เติบโตและสรางรากฐานธุรกิจดานอาคารอยางยัง่ ยืน และการรวมทุนนี้ จะชวยขับเคลื่อนให เราก า วไปข า งหน า ด ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ดี ขึ้ น ซึ่ ง จะทํ า ให จอห น สั น คอนโทรลส มี สิ น ค า และบริ ก ารด า นเทคโนโลยี ที่ ห ลากหลายที่ สุ ด ในอุ ต สาหกรรม เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคในตลาดโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ทีมบริหารของบริษัทรวมทุนจอหนสันคอนโทรลส-ฮิตาชิ นําโดย ประธานเจาหนาที่ บริหาร ฟรานซ เซอวินกา ผูซึ่งรวมงานกับจอหนสัน คอนโทรลส มายาวนานเกือบ 20 ป และเคยรับตําแหนงรองประธาน ฝายการเงินของจอหนสัน คอนโทรลส ออโตโมทีฟ ประเทศญีป่ นุ นาน 4 ป รวมทัง้ มีประสบการณ ในกิจการรวมทุนมากกวา 10 ครั้ง

36

March 2015

ในสวนตลาดเครือ่ งทําความรอน-ความเย็น และระบบระบายอากาศทั่ ว โลกยั ง คง เติบโตอยางมัน่ คง นอกจากนี้ ความตองการ ระบบเครือ่ งปรับอากาศทีป่ ระหยัดพลังงาน พร อ มด ว ยประสิ ท ธิ ภ าพและเทคโนโลยี ระดั บ แนวหน า ก็ กํ า ลั ง ขยายตั ว เช น กั น ระบบเครื่องปรับอากาศ คือ ปจจัยสําคัญ ในโซลูชั่นสําหรับอาคาร เราเชื่อวาความ รวมมือในครัง้ นี้ จะทําใหฮติ าชิและจอหนสัน คอนโทรลส สามารถนําเสนอโซลูชั่นที่ดี ที่สุดใหแกลูกคา นอกเหนือไปจากระบบ เครื่องปรับอากาศของบริษัทยังสามารถ นําเสนอโซลูชั่นสําหรับอาคารดานอื่น ๆ ที่ จ ะช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพให ทั้ ง อาคาร และบริเวณโดยรอบได

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



Showcase - Industrial อภัสรา วัลลิภผล

เครือ่ งซักผาขนาดใหญสาํ หรับใชในอุตสาหกรรมขนาดใหญ เหมาะสําหรับใชในอุตสาหกรรมขนาดใหญ เชน โรงพยาบาล โรงแรม ธุรกิจซักรีด ประหยัดทั้งพลังงานและเวลาคุมคากับการใชงานดวยประสิทธิภาพในการซักสูง มีระบบการฆาเชื้อภายในตัวสะดวกรวดเร็วกับการซักผาในปริมาณมากปฏิวัติการ ควบคุม UniLinc สามารถควบคุมที่เหนือชั้นของสถานที่ซักผาของคุณ คุณสมบัติ ทีโ่ ดดเดน คือ นาฬกาเรียลไทมการแจงเตือนการบํารุงรักษาและการตรวจสอบรหัส ข อ ผิ ด พลาดและเวลาวา งทั้งหมดชว ยผูจัดการในการรั ก ษาซั ก รี ด ทํ า งานที่ มี ประสิทธิภาพดีที่สุดในขณะที่เจาของเพลิดเพลินไปกับการตรวจสอบขั้นสูงและ คุณลักษณะวงจรโปรแกรมเพื่อใหแนใจวาผาที่มีการประมวลผลเปนไดอยาง มีประสิทธิภาพเทาที่จะทําไดซักผาไดอยางรวดเร็วประหยัดพลังงาน สนใจติดตอ คุณใหญ โทร. 09 4789 5645 หรือทีเ่ ว็บไซต www.washingmachine.lnwshop.com

อุปกรณประหยัดพลังงานสําหรับติดตัง้ ภาคสวนอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑที่เหมาะสําหรับการประหยัดพลังงานที่มีภาระการ เหนี่ยวนําที่ใชในครัวเรือน พื้นที่เชิงพาณิชย ไมมีการเชื่อมตอ โดยตรงกับอุปกรณ ไฟฟาอัตโนมัติชดเชยคูไฟฟาฉนวนกัน ความรอน ทนทานและมีความนาเชื่อถือ สวนประกอบไฟฟา ใชสแตนเลสเหล็กฝาครอบ หลักการพื้นฐานของการชดเชย กําลังไฟฟาเปนอํานาจการเชื่อมตอแบบขนานของ capacitive อุปกรณโหลดและในวงจรปรับปรุงคุณภาพของแหลงจายไฟ ใหไปยังจุดสิ้นสุดอุปกรณไฟฟา ยกประสิทธิภาพของการใช พลั ง งานและลดจํ า นวนเงิ น ที่ ห ายไป สนใจดู ข  อ มู ล ได ที่ www.lcbtech.en.alibaba.com

อุปกรณตดิ ตัง้ อุตสาหกรรมไฟฟาทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงประหยัดพลังงาน ใชสําหรับบันทึกแหลงพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพเปน มิตรกับสิง่ แวดลอม เสถียรภาพแรงดันไฟฟา ยืดอายุการใชงาน ของอุปกรณไฟฟา ใชงายโดยเสียบไฟฟาที่บันทึกไวในกลอง ซ็อกเก็ตตาง ๆ ตามปริมาณการใชไฟฟาและโหลดดําเนินการ ไมจาํ เปนตองบํารุงรักษา

38

March 2015


เครือ่ งทําความเย็นระบบการดูดซึมลิเธียมโบรไมดโดยใชเชือ้ เพลิงโดยตรง เป น การพั ฒ นาเครื่ อ งทํ า ความเย็ น ระบบการดู ด ซึ ม ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง มีประสิทธิภาพการใชพลังงาน (energy-efficient absorption unit) โดยเครือ่ งฯ นี้ ใชพลังงานจากความรอนทีไ่ ดจากการเผาไหมโดยตรงของนํา้ มันเบา นํา้ มันหนัก ก าซจากอุตสาหกรรมหรื อ ก าซธรรมชาติ สามารถผลิต นํ้า เย็นที่อุณหภูมิ ระหวาง 5 องศาเซลเซียส โดยใชความรอนจากเกรดที่แตกตางกัน ซึ่งนํ้าที่ได เปนทีน่ ยิ มใชมากทีส่ ดุ ในระบบ การออกแบบมีนา้ํ หนักเบาและกะทัดรัดชวยให เครื่องทําความเย็นระบบการดูดซึมมีรอยตอขนาดเล็กและลดขนาดของฐาน นอกจากนี้คุณสมบัติการประหยัดพลังงานจะชวยประหยัดคาใชจายในการ ดําเนินงาน เทคโนโลยีการผลิตและการออกแบบที่นาเชื่อถือสูงชวยใหสราง ความแข็ ง แรงแก เ ครื่ อ งทํ า ความเย็ น ระบบการดู ด ซึ ม ให มี ก ารบํ า รุ ง รั ก ษา ที่นอย สนใจดูรายละเอียดไดที่ http://sl-ecoenergy.sg

มอเตอรสตารทเตอร/คอนโทรลเลอรประหยัดพลังงาน บริษัท อารเอส คอมโพเน็นส เปดตัว ชุดคอนโทรลเลอร PowerXL DE1 ที่มี คุณสมบัติแรงขับซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนความเร็วไดหลายระดับ เพื่อประหยัด พลังงาน และยังสอดคลองกับขอกําหนดดานประสิทธิภาพของมอเตอรทมี่ คี วาม เขมงวดมากขึ้น สําหรับความเร็ว การเรง และลดความเร็วของมอเตอรนั้น สามารถปรับไดดวยการปรับตําแหนงของสวิทชบน DXE-EXT-SET ซึ่งเปนพารา มิเตอรโหลดเดอรแบบปลัก๊ อินขนาดเล็ก ขณะทีผ่ ทู ไี่ มมคี วามรูเ ฉพาะทางก็สามารถ ใชงานได อุปกรณชุดนี้ยังนําเสนอไฟ LED ที่ใชแสดงสถานะและซีเลคเตอร สวิทช 50 เฮิรต ซ/60 เฮิรต ซสาํ หรับปรับแตงแรงขับเพือ่ การใชงานในประเทศตาง ๆ ทั่วโลกไดอีกดวย สนใจดูรายละเอียดไดที่ www.rs-online.com

วาลวไฮดรอลิก NACHI ใชแทน ATOS อุปกรณไฮโดรลิคคุณภาพสูงจากญีป่ นุ ผลิตจากโรงงานในญีป่ นุ ของแท สามารถใชแทนวาลว ATOS DHI, DHU, DHD, DKI, DKU, DKD, DLOH, DLOK, DPH ผลิตดวยเทคโนโลยีเฉพาะของ NACHI ที่ไดรับ การยอมรับในการผลิตลูกปน สวาน Cutting tool หุนยนตอัตโนมัติ และวัสดุเหล็กพิเศษชนิดตาง ๆ เหมาะสําหรับผูที่ตองการอุปกรณ ไฮดรอลิกที่มีอายุการใชงานยาวนานคุณภาพญี่ปุนแทดั้งเดิม ลดการ สูญเสียจากการหยุดซอมเครื่องจักรไฮดรอลิคในสายการผลิต สนใจดู รายละเอียดไดที่ www.siam-shop.com

March 2015 39


Product Highlight - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

SAMSUNG เครือ่ งซักผาฝาหนา กวาง เงียบ เร็ว ประหยัดพลังงาน

à¤Ã×่ͧ㪌俿‡Ò໚¹ÊÔ่§ÊํÒ¤ÑÞ㹡ÒôํÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШํÒÇѹ¢Í§Á¹ØÉ à¾ÃÒÐÁÕ¤ÇÒÁ Êдǡ ÃÇ´àÃ็Ç »ÃÐËÂÑ´àÇÅÒ áÅÐÊÒÁÒö·Ø‹¹áç䴌ÁÒ¡¡Ç‹Ò¡ÒÃ㪌áç§Ò¹ Ẻà´ÔÁ æ ´Ñ§¹Ñ้¹ ¡ÒÃàÅ×Í¡à¤Ã×่ͧ㪌俿‡Ò¨Ö§à»š¹àÃ×่ͧ·Õ่ÁÕ¤ÇÒÁÊํÒ¤ÑÞÍ‹ҧÁÒ¡ ÊÔ่§·Õ่¼ÙŒºÃÔâÀ¤¤ํÒ¹Ö§ÍÂÙ‹àÊÁÍ ¤×Í ÍÒÂØ¡ÒÃ㪌§Ò¹·Õ่ÂÒǹҹ¢Í§à¤Ã×่ͧ㪌俿‡Ò áÅСÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹à¾×่ÍãËŒ¤‹Ò㪌¨‹ÒÂÀÒÂ㹤ÃÑÇàÃ×͹Ŵŧ¡็Âѧ໚¹àÃ×่ͧ ÊํÒ¤ÑÞ·Õ่äÁ‹ÍÒ¨Áͧ¢ŒÒÁä»ä´Œ

Samsung ไดพัฒนาเครื่องซักผาฝาหนาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รุน WW8000 Eco Bubble Digital Inverter ภายใตดีไซน Crystal Gloss มีคุณสมบัติหักเหแสง และมีสีสัน สวยงาม อีกทั้ง เปดไดกวาง นําผาออกจากเครื่องไดงาย มีความจุมากถึง 12 กก. ทําให ประหยัดเวลาในการซัก เงียบ รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และที่สําคัญประหยัดพลังงาน อีกดวย เครื่องซักผา Samsung ชวยใหประหยัดพลังงานไดมาก ดวยการใชเทคโนโลยี Eco Bubble™ เครื่องสรางฟองจะเริ่มทํางานกอนเริ่มรอบการทํางานปกติ โดยใชอากาศและ นํ้าเพื่อสรางฟองที่ละลายและเพิ่มประสิทธิภาพในการซักใหกับผงซักฟอกทําใหแทรกซึม เสนใยผาไดอยางรวดเร็ว สามารถขจัดฝุนผงและรอยเปอนไดอยางงายดาย ทําใหเสื้อผา สะอาดหมดจดไมมีการตกคางของผงซักฟอก

40

March 2015

ตัวเลือกที่ชวยตอบสนองความตองการใน การใชงานรูปแบบที่เหมาะสมกับผูใชงาน เชน Eco Wash ตัวเลือกที่ชวยประหยัด คาใชจายหรือลดคาไฟฟาและรวมอนุรักษ สิ่งแวดลอม แตหากตองการซักผาอยาง รวดเร็วตองใช Speed Wash และสําหรับ ผูที่ตองการความเงียบสงบควรใชตัวเลือก Silent Wash นอกจากนี้ เทคโนโลยี VRT Plus™ ของเครือ่ งซักผา Samsung WW8000 ลดเสียงรบกวนและการสัน่ สะเทือนระหวาง การซัก เซ็นเซอรแรงสั่นสะเทือน 3 มิติของ VRT Plus™ ชวยใหรักษาสมดุลของถังซัก แมกระทัง่ ระหวางการปน แหงดวยความเร็วสูง จึงชวยลดเสียงรบกวนและการสั่นสะเทือน มี ร อบการซั ก แบบพิ เ ศษ 6 แบบ


11.05-11.30 .


Product Highlight - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

เครื่องซักผ้า Samsung ประกอบด้วย Smart Check ซึ่งเป็นระบบตรวจสอบข้อ ผิดพลาดอัตโนมัติ โดยจะตรวจจับและ วินิจฉัยปัญหา พร้อมทั้งน�าเสนอวิธีแก้ ปัญหาอย่างรวดเร็วและง่ายดาย การใช้งาน ผ่านแอพพลิเคชั่นของสมาร์ทโฟน จึงเป็น อีกวิธหี นึง่ ทีช่ ว่ ยประหยัดเวลาในการค้นหา คู่มือ และหลีกเลี่ยงค่าใช้จ่ายและความไม่ สะดวกที่เกิดจากการเรียกใช้บริการของ ช่างซ่อมโดยไม่จ�าเป็น อีกทั้งยังหลีกเลี่ยง ค่าซ่อมราคาแพงอีกด้วย

โปรแกรมซักทีไ่ ด้รบั การออกแบบพิเศษเพือ่ ขจัดสิง่ สกปรกและรอยเปรอะเปือ้ นทีซ่ กั ออกยาก ดังนั้น การท�าความสะอาดต้องมีมากว่าการซักแบบ ‘ปกติ’ จึงต้องเลือกรอบการซักแบบ พิเศษที่มีความเหมาะสม อาทิ ตัวเลือก Gardening จะปรับเปลี่ยนการตั้งค่าเพื่อท�าความ สะอาดรอยเปื้อน เช่น เศษหญ้าและดินโคลนต่าง ๆ ส่วนรอบการซักแบบ Cooking & Dining เหมาะส�าหรับการขจัดคราบอาหารและคราบไขมันทีเ่ กิดจากการท�าอาหารในครัว รอบการซักแบบพิเศษอื่นๆ ได้แก่ Hygiene Care, Active Sports, Active Kids และ Working & Everyday ดังนั้นไม่ว่าจะท�ากิจกรรมใด ปัญหาเรื่องคราบต่าง ๆ บนเสื้อผ้า ก็จะหมดไปอย่างง่ายดาย การท� า งานที่ ช าญฉลาดของมอเตอร์ แ บบ Digital Inverter เครื่องซักผ้า Samsung ช่วย ประหยัดพลังงานได้มากกว่า ปราศจากเสียง รบกวน และมีประสิทธิภาพการใช้งานทีย่ าวนาน ด้วยการใช้แม่เหล็กที่แข็งแกร่งจึงน�าไปสู่การ ท�างานที่เต็มเปี่ยมไปด้วยสมรรถนะ แต่ใช้ พลังงานน้อยกว่ามอเตอร์ทวั่ ไป และเนือ่ งจาก ไม่มีการใช้แปรงซึ่งก่อให้เกิดการเสียดสีและ การสึ ก หรอ ประกอบกั บ มี ก ารน� า ชิ้ น ส่ ว น คุ ณ ภาพสู ง และวิ ศ วกรรมเชิ ง กลมาใช้ ง าน ท�าให้มคี วามทนทาน สามารถใช้งานได้ยาวนาน ถึง 11 ปี

42

March 2015

การท�างานด้วยฟังก์ชนั Eco Drum Clean ช่วยให้ถงั ซัก ช่องจ่ายน�า้ และกระจกฝาเครือ่ ง สะอาดและถูกสุขอนามัย จึงขจัดคราบ ผงซักฟอก ฝุ่นละออง และแบคทีเรียที่ก่อ ให้เกิดกลิ่นอับ ซึ่งจับตัวอยู่บนพื้นผิวของ ดรัมในเครื่องซักผ้า โดยไม่จ�าเป็นต้องใช้ น�้ า ยาชนิ ด พิ เ ศษหรื อ สารเคมี อั น ตราย ส�าหรับท�าความสะอาดเครือ่ งซักผ้า ดังนัน้ จึงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและประหยัด ค่าใช้จ่ายได้มาก


Showcase - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

Remote control Energy saver Philips หลอดประหยัดไฟแบบมีรีโมทคอนโทรล ชวยใหสามารถควบคุมแสงไฟไดดวย ระบบไรสายจากรีโมทคอนโทรลที่สะดวกสบาย รวมถึงการปรับหรี่แสงไฟไดงายๆ ชวยลดปริมาณการใชพลังงานภายในบาน ทําใหคาไฟลดลงและทําใหผูผลิตพลังงาน ไฟฟาลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด มีปริมาณกินไฟนอย ทําใหสามารถ ชวยประหยัดคาใชจา ยไฟฟาไดมากขึน้ แตระดับการประหยัดไฟจะมากหรือนอยก็ขนึ้ อยู กับประเภทของหลอดไฟและเทคโนโลยีดวย

Acer P1173 ภาพสวยคมชัด ในราคาทีป่ ระหยัดกวา ดีไซนเรียบหรูดูสวยงามนาใชงานดวยรูปทรง และการเชื่อมตอที่ถูกออกแบบมาใหเหมาะ กับความตองการใชงานในปจจุบันดวยเครื่องฉายโปรเจคเตอร Acer P1173 ทํางาน เทคโนโลยี Acer Eco Protection ทีจ่ ะชวยใหประหยัดพลังงานไดมากถึง 80% โดยในรุน นี้ มีอายุการใชงานยาวนานถึง 5,000 ชั่วโมง พรอมกับเทคโนโลยีการฉายภาพแบบ DLP รองรับการทํางานดวยระบบ 3D ใหความคมชัดสีสันสดใสเปนธรรมชาติ มีอัตรา แสงสวาง 3,000 ANSI Lumens และอัตราความคมชัด 13,000:1 แมวาหลอดภาพ จะถูกใชงานมายาวนานแตก็ยังสามารถใชงานไดคมชัดเชนเดิม

เครือ่ งดูดฝุน ไรสาย ไรถงุ ดักฝุน เครื่องดูดฝุนไดสัน Digital Slim DC62 ไรถุงดักฝุนลดทอนพลังดูดและไมมี คาใชจายในอนาคต พรอมดีไซนทันสมัย นํ้าหนักเบาเพียง 2 กิโลกรัม อุปกรณ หัวเปลี่ยนหลากหลายแบบใหใชงานไดอยางคลองแคลว ไมวาจะเปนพื้นที่สูง ตํ่า หรือ ในบริเวณที่ยากจะเขาถึง สามารถถอดเครื่องออกจากอุปกรณได ทําใหใชงานงายและ สะดวก การทํางานของไดสัน DC62 ประกอบดวยเทคโนโลยีไซโคลนแบบ 2 Tier Radial Cyclone เพื่อดักจับฝุนละเอียดอยางมีประสิทธิภาพ กอพลังแรงเหวี่ยงปนแยกฝุนออกจากอากาศ พรอมขนแปรงเสนใยคารบอนมีคุณสมบัติลดการสะสมของไฟฟาสถิตย ชวยในการจับฝุนละเอียด บนพื้นแข็ง เพราะมีขนแปรงไนลอนแข็งที่สามารถดึงฝุนและสิ่งสกปรกออกจากพรมไดอยางดีเยี่ยม

March 2015 43


Showcase - Commercial ณ ลาดพร้าว

เครือ่ งปรับอากาศพานาโซนิค iAUTO-X บริษทั พานาโซนิค เอ.พี.เซลส (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัวเครือ่ งปรับอากาศพานาโซนิค iAUTO-X ทีม่ าพรอมกับนวัตกรรมอันลํา้ หนาดวยระบบการทําความเย็นอันทรงพลัง P-TECH ซึ่งเปนเทคโนโลยีเฉพาะของพานาโซนิคที่ชวยใหคอมเพรสเซอรมีความเร็วรอบสูงสุดใน ระยะเวลาอันสั้นที่สุด ใหความเย็นทันใจทันทีที่เปดเครื่องเร็วขึ้นถึง 35% ระบบชาวเวอร คูลลิ่ง (Shower Cooling) มีบานสวิงแบบแอโรวิงส (Aerowings) ปรับทิศทางกระแสลมที่ถูก ปลอยออกมาใหขึ้นดานบนและกระจายความเย็นไปยังพื้นที่กวางทั่วหอง จึงทําใหรูสึก เย็นสบาย โดยไมโดนลมเย็นเปาถูกตัวโดยตรงตลอดเวลา ทั้งยังผสานเทคโนโลยีประหยัด พลังงาน Econavi และ Inverter เขาดวยกัน ทําใหสามารถประหยัดพลังงานไดถึง 65%

ตูเ ย็น L – Class inverter ผลิตภัณฑจาก Mitsubishi ถูกออกแบบเพื่อความสะดวกสบาย ดวยระบบ Neuro Inverter ของตู  เ ย็ น ที่ มีชิ พ อั จ ฉริ ย ะควบคุ ม การทํ า งาน เรี ยนรู  และจดจํ าพฤติ ก รรมผู  บริ โภคเพื่ อ ประสิทธิภาพสูงสุดในการใชงาน ประกอบกับ Multi Fan พัดลมคูตัวใน ทําหนาที่กระจาย ความเย็นภายในตูและเปาระบายความรอนคอมเพรสเซอร ทํางานเงียบและประหยัด พลังงาน ผนังภายในชองแชแข็งและชองแชเย็นผสมสารแอนตี้แบคทีเรีย เพื่อยับยั้งการ เจริ ญ เติ บ โตของเชื้ อ แบคที เรี ย ที่ ติ ด บนผนั งภายในตู  เ ย็ น พร อมทั้ ง กํ าจั ด กลิ่ น อั ต โนมั ติ ปราศจากกลิน่ และเชือ้ แบคทีเรีย นอกจากนี้ ชัน้ วางเปนถาดกระจกนิรภัยสามารถรับนํา้ หนัก ได ม ากถึ ง 100 กก. และมี สั ญ ญาณแจ ง เตื อนเมื่ อประตู ป ด ไม สนิ ท เป น การป องกั น การสูญเสียความเย็นอีกดวย

ชิปเซ็ต ประหยัดพลังงาน

ARM ผู  ผ ลิ ต ชิ ปเซ็ ต ชื่ อดั ง เป ด ตั ว ARM Cortex-A72 Processor ชิปเซ็ต รุนใหมลาสุดแบบ 64-bit สามารถประมวลผลไดเร็วกวาชิปเซ็ต ARM Cortex-A15 Processor ไดมากถึง 3.5 เทา และยังชวยประหยัดพลังงานไดมากกวาชิปเซ็ต รุนเดิม 75% มีการนํา CoreLink CCI-500 เปนสวนประกอบภายใน ที่จะชวย เพิ่มความเร็วในการประมวลผลอีก 30% ซึ่งสงผลใหทํางานแบบ Multitasking ไดดีขึ้น ปรับปรุงการทํางานของวีดีโอ และอินเทอรเฟสตอบสนองตอการใชงาน ไดดี นอกจากนี้ ชิปเซ็ต ARM Cortex-A72 Processor จะมาพรอมกับหนวย ประมวลผลภาพ Mali T880 GPU ซึ่งประมวลผลไดดีกวา Mali T760 GPU หนวยประมวลผลภาพแบบเดิมๆ ถึง 80% โดย ARM Cortex-A72 Processor จะมีการนํามาใชงานจริงประมาณปลายปนี้ หรือตนป 2016 44

March 2015



Product Highlight - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

TNT เริ่มระบบชดเชยคาร์บอนบริการขนส่งด่วน ไม่คดิ ค่าธรรมเนียมเพิม่ เติม หากพู ด ถึ ง การขนส่ ง สิ น ค้ า เชื่ อ ว่ า หลายคนจะนึ ก ถึ ง การขนส่ ง ที่สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ จะมีสักกี่คนตระหนักถึง การขนส่งที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยตั้งค�าถามว่า ขนส่งอย่างไร จะสู ญ เสี ย การใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง น้ อ ยที่ สุ ด หรื อ วิ ธี ใ ดที่ จ ะท� า ให้ ก าร ขนส่งสินค้าแต่ละครั้งปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไอเสีย และ ควันพิษออกมาสู่ชั้นบรรยากาศน้อยที่สุด

46 46

March March 2015 2015

ทีเอ็นที หนึง่ ในผูใ้ ห้บริการขนส่งพัสดุภณ ั ฑ์ดว่ นทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของโลก โดยท�าหน้าทีข่ นส่งหีบห่อ เอกสาร และพัสดุภณ ั ฑ์รวมกว่าหนึง่ ล้าน ชิน้ ต่อวัน ทัง้ ยังเป็นผูด้ า� เนินงานเครือข่ายการขนส่งทัง้ ทางบก และ ทางอากาศ ซึ่งครอบคลุมทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง แอฟริกา เอเชียแปซิฟิก และอเมริกา เมือ่ ความต้องการในการขนส่งสินค้าของผูบ้ ริโภคเพิม่ ขึน้ การปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก็เพิ่มขึ้นเช่น ดังนั้น ทีเอ็นที จึงได้เริ่มใช้ ระบบการชดเชยคาร์บอนเท่ากับศูนย์ (CO2 neutral) กับบริการ ขนส่งสินค้าด่วนทุกรูปแบบภายในประเทศเยอรมันโดยไม่คิด ค่าธรรมเนียมเพิ่มเติม ในปัจจุบันผู้ให้บริการขนส่งจ�านวนมาก เริ่มให้ความสนใจในระบบนี้ เนื่องจากผู้บริโภคต่างแสวงหาระบบ ห่วงโซ่อปุ ทานทีค่ รบวงจร ซึง่ รวมถึงระบบการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในขั้นตอนการขนส่งสินค้าด้วย โครงการนี้จะช่วยให้ ผูป้ ระกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมถึงผูบ้ ริโภค จ� า นวนมากสามารถช่ ว ยบรรเทาผลกระทบที่ อ าจจะเกิ ด กั บ สิ่งแวดล้อมได้อย่างเป็นรูปแบบ


Product Highlight - Logistics BARBEER

การขนสงสินคาแบบชดเชยคารบอน บริการ นี้เปนการมอบความรูและกระตุนเตือนให ผูบ ริโภคไดมสี ว นรวมในการรักษาสิง่ แวดลอม โดยถู ก ออกแบบมาเพื่ อ ตอบสนองบริ ษั ท ขนาดใหญ ผู  ป ระกอบธุ ร กิ จ ขนาดกลาง และขนาดยอมทีม่ แี ผนการลดปริมาณคารบอน ที่ ค รอบคลุ ม จํ า เป น ต อ งอาศั ย เครื่ อ งมื อ ตรวจวัดจากบริษัทภายนอก ซึ่ง ทีเอ็นที มี ความพรอมในการใหบริการ พรอมทั้งมี ความเชี่ ย วชาญในงานดํ า เนิ น งานด า น คารบอน ประกอบกับ มีความพรอมของ เครื่องมือในการตรวจวัดปริมาณการปลอย กาซคารบอนไดออกไซด ป ระกอบในอดี ต และการสร า งแบบจํ า ลองของกิ จ กรรม ในอนาคต การขนสงสินคาแบบชดเชยคารบอนเปนศูนย มีการทํางาน 2 ขั้นตอน คือ ในขั้นตอนแรก ทีเอ็นทีจะประเมินปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว า งการขนส ง สิ น ค า ของผู  บ ริ โ ภค หลั ง จากนั้ น ที เ อ็ น ที จะซื้ อ เครดิ ต คาร บ อนในปริ ม าณเท า กั น เพื่อนํามาชดเชยใหปริมาณการปลอยกาซ เปนศูนย ซึ่งทีเอ็นทีเปนผูใหบริการเพียง รายเดียวที่ใชเครดิตคารบอนจากโครงการ พลั ง งานหมุ น เวี ย นที่ ไ ด ม าตรฐานระดั บ โกลดสแตนดารด โดยผูตรวจสอบอิสระจาก ภายนอก (SGS) ใหการรับรองวา กระบวนการ คํ า นวณปริ ม าณก า ซคาร บ อนไดออกไซด ของที เ อ็ น ที ต รงตามมาตรฐานของยุ โรป (European Norm EN16258) ทุกประการ ทั้ ง นี้ ที เ อ็ น ที มุ  ง หมายในการสนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ขนส ง สิ น ค า ด ว นที่ มี ก ารปล อ ยก า ซ คาร บ อนในระดั บ ตํ่ า จากการดํ า เนิ น งาน โดยมีเปาหมายคือการลดการปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดลงใหอยูที่รอยละ 45

ผูที่มีความตองการใชบริการของทีเอ็นทีในการขนสงสินคาระหวางประเทศ สามารถเลือกใช บริการขนสงระบบชดเชยคารบอนได ซึ่งผูใชบริการจะไดรับใบประกาศนียบัตรที่ระบุถึง ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่ทีเอ็นทีสามารถลดการปลอยสูชั้นบรรยากาศไดในนาม ของผูใชบริการ โดยบริการบนเครือขายการขนสงทางบกในยุโรปของทีเอ็นที (European Road Network) ชวยใหผูบริโภคสามารถลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดโดยตรงเมื่อ เปรียบเทียบกับการขนสงทางอากาศ นอกจากนี้ ทีเอ็นที ยังมีแผนการนําเสนอบริการ ที่เกี่ยวของกับการลดปริมาณคารบอนรูปแบบปรับปรุงใหมในอีกหลายประเทศทั่วทวีป ยุโรปในเร็วๆ นี้ อยางไรก็ตาม การขนสงสินคาแบบชดเชยคารบอนก็เปนอีกทางเลือกทีน่ า สนใจในการสงสินคา ไปยังสถานที่ตาง ๆ ทั่วทุกมุมโลก นอกจากจะมีความสะดวก รวดเร็วแลว การขนสงใน ลักษณะนีย้ งั ชวยสรางความสมดุลใหเกิดขึน้ โดยเฉพาะในชวงของปรากฏการณภาวะโลกรอน ที่มีการเปลี่ยนอยางตอเนื่อง บริการของทีเอ็นทีชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด สูชั้นบรรยากาศ ลดมลพิษ มลภาวะตาง ๆ เปนการอนุรักษและรักษาสิ่งแวดลอมไดอีกดวย

March March2015 2015 4747


Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

นํา้ มันเครือ่ งสําหรับรถบรรทุกเครือ่ งยนตดเี ซล ผลิตภัณฑนํ้ามันเครื่อง คาสตรอล เวคตอน 15W-40 เปนสูตรสําหรับรถบรรทุก เครื่องยนตดีเซลที่ใชงานหนัก ผลิตภัณฑนี้มี System 5 Technology® สามารถ รับมือกับการเปลี่ยนแปลงนี้เพื่อตอบสนองประสิทธิภาพสูงสุด ปองกันการเกิด ยางเหนียว ทําใหลดอัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามันเชื้อเพลิง ปองกันการเกิดคราบ เขมาที่ลูกสูบและการปนเปอน ทําใหเพิ่มระยะการเปลี่ยนถายนํ้ามันเครื่องได นานขึ้น ปองกันการสึกหรอและกัดกรอน ทําใหเพิ่มอายุการใชงานในชิ้นสวน เครื่ อ งยนต ที่ สํ า คั ญ ช ว ยควบคุ ม การเกิ ดเขม าสะสม ทํ าให รั ก ษากํ าลั ง ของ เครื่องยนตไดอยางสมํ่าเสมอตอเนื่องจนถึงระยะการเปลี่ยนถายนํ้ามันเครื่อง ครั้งตอไป

ผาเบรกอาเคโบโน ผาเบรกคุณภาพสูง ผลิตโดย Akebono Brake Industry Co., Ltd. ผูนําในการผลิตผาเบรกและระบบเบรกที่มีชื่อเสียงของญี่ปุนใหกับ โรงงานประกอบรถยนตญปี่ นุ ทัว่ โลกมากวา 70 ป มีสดั สวนครองตลาด ระบบเบรกรถยนตในประเทศญีป่ นุ มากกวารอยละ 50 ผาเบรกอาเคโบโน เปนผาเบรกที่นุม หนึบ เงียบ ไรเขมาดํา มีอายุการใชงานยาวนาน เหมาะสําหรับการใชงานทั่วไป ถึงใชงานงานหนัก อัตราการเกิดเสียง รบกวนตํา่ ในระหวางทีส่ มั ผัสคันเบรก ไรเขมาดํา ดูแลรักษางาย มีสว นผสม โลหะในอัตราที่ตํ่า ทําใหอายุฝกเบรกยาวนานกวาการใชเนื้อผาเบรก ชนิดอื่น ชวยลดคาใชจาย ในการบํารุงรักษาจานเบรกในระยะยาว

ฟลม รถยนต Nano Ceramic Film ฟลมรถยนต Maxxma Nano Ceramic Film เปนฟลมกันแดด ที่ชวยในการประหยัดพลังงาน ปองกันรังสีอันตราย ลดความรอน ไดสูง สามารถปองกันรังสียูวี ไดมากกวา 99% และชวยลดการ ทํางานของเครื่องปรับอากาศ อีกทั้ง ไมสงผลกระทบตอระบบการ ทํางานภายในรถยนต เชน ระบบการนําทางดวยดาวเทียมหรือ GPS และระบบเก็บคาผานทางอัตโนมัติ Easy Pass สําหรับ Maxxma Nano Ceramic Film ผลิตจากโพลีเอสเตอรคุณภาพสูง เคลือบดวย ผงเซรามิกโมเลกุลเล็ก ผสมสารปองกันรังสี UV และปดทับดวยสาร กันรอยทีม่ คี วามแข็งแรงสูงอยางอินฟาเรดทําใหเนือ้ ฟลม ใส ไมขนุ มัว สามารถมองเห็นภาพอยางคมชัด สบายตาทัง้ เวลากลางวันและเวลา กลางคืน สีของฟลมมีความคงทน ไมเปนรอยขูดขีด และสามารถ ดูแลรักษาไดงาย 48

March 2015



Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

เทคโนโลยี nanoFlowcell(R) บริษัท นาโนโฟลวเซลล เอจี พัฒนาเทคโนโลยี nanoFlowcell(R) เพือ่ นํามาใชกบั QUANT F รุน ใหมลา สุด โดยทําหนาทีป่ อ นกระแสไฟฟา กวา 50 แอมแปร สูระบบบัฟเฟอรที่ไดมีการพัฒนาขึ้นมาใหมของ QUANT F ซึ่งระบบบัฟเฟอรนี้สามารถสงตอกระแสไฟฟาไดกวา 2,000 แอมแปร เมื่อเครื่องยนตทํางานเต็มที่ ทั้งนี้ ทางคณะนักวิจัยมุงมั่น ที่จะทําใหเกิดความเปนไปไดทางเทคนิคและอัตราการใชพลังงาน ซึ่ ง จะส ง ผลให ก ารขั บ ขี่ เ ป น ไปอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประหยั ด พลังงาน และทําใหยานยนตสามารถขับเคลื่อนในระยะทางที่ไกลขึ้น ผานสมรรถนะที่เหนือกวา อีกทั้งยังปลอยมลพิษเปนศูนย นับวา นวั ต กรรมนี้ ถื อ เป น การเป ด โอกาสครั้ ง สํ า คั ญ สู  อ นาคตของวงการ ยานยนตไฟฟา

Dynamic Skip Fire นวัตกรรมควบคุมลูกสูบ ประหยัดนํา้ มัน General Motor คายรถยนตยักษใหญของสหรัฐฯ เผยนวัตกรรม ควบคุมการทํางานเครือ่ งยนตแบบใหม ใหกาํ ลังแรงเทาเดิม แตประหยัด ขึ้น 15% ภายใตการรวมมือกันระหวาง GM กับบริษัทเทคโนโลยีของ สหรัฐฯ Tula Tech ซึ่งระบบนี้มีชื่อวา Dynamic Skip Fire เปนระบบ ควบคุมการทํางานของลูกสูบและระบบจุดระเบิดใหมลา สุด โดยอาศัย การคํานวณที่รวดเร็วและแมนยําจากคอมพิวเตอร เพื่อใหเครื่องยนต สามารถสงสมรรถนะในการขับขี่ที่เหมาะสมกับผูขับขี่ โดยมีความ ยืดหยุนทั้งความเร็วตํ่าและความเร็วสูง อีกทั้ง สามารถใชงานไดกับ เครื่องยนตหลากหลายแบบทั้ง 4 สูบ 6 สูบ และ 8 สูบ จึงมีแนวโนม แพรหลายในอนาคต

ผลิตภัณฑลา งหัวฉีดเครือ่ งยนตดเี ซล 3M Diesel Fuel Tank Additive ผลิตภัณฑลางหัวฉีดเครื่องยนตดีเซล สูตรเขมขนพิเศษ ปองกันสนิมในถังนํา้ มันและอุปกรณในระบบจายเชือ้ เพลิง และปองกันไมใหนํ้ามันเชื้อเพลิงผสมกับนํ้า ลดการเกิดฟองในถังนํ้ามัน ลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด ไอเสียและควันดํา ชวยประหยัดนํ้ามัน เชื้อเพลิง ยืดอายุการใชงานของระบบหัวฉีดเครื่องยนต สามารถใชงานได กับเครื่องยนตดีเซลทุกชนิดและใชงานงาย ผลิตภัณฑนี้ใชผสมในถังนํ้ามัน เชื้อเพลิงสามารถใชไดทั้งนํ้ามันดีเซลธรรมดา และนํ้ามันไบโอดีเซลตั้งแต B0 - B20

PB50

March March2015 2015


Special Feature จีรพร ทิพย์เคลือบ

บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จํากัด ในฐานะผูนําธุรกิจ RFID ครบวงจรทีด่ าํ เนินธุรกิจมายาวนานกวา 18 ป เปดตัว นวัตกรรม RFID ใหมลาสุดที่ ไดมีการพัฒนาเพื่อใชกับอากาศยานไรคนขับหรือโดรน และโฟลคลิฟท เพือ่ ชวยลดตนทุน ลดการใชแรงงาน ปองกันการขโมย ลดความเสียหายตาง ๆ โดยมีการพัฒนาใหใชงานไดในระยะไกล แมนยํา สะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น คุณกําพล โชคสุนทสุทธิ์ ประธานกรรมการ บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) กลาววา เอเซนเทค ไดนําเทคโนโลยี RFID มาสราง นวัตกรรมตางๆ ใหแกผใู ช จนไดรบั คําชืน่ ชมอยางกวางขวาง การไดรบั แตงตั้งเปนผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี RFID จาก iTAP (Industrial Technology Assistance Program หรือ โครงการสนับสนุนการ พัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ซึ่งกิจกรรมหนึ่งของ สวทช. ในปจจุบันเปนยุคของการแขงขันทางดานเทคโนโลยีจึงตองมีการ ปรับกลยุทธตาง ๆ ใหเหมาะสมกับการใชงาน เชน การจัดการขาย สินคาของหางสรรพสินคา จะตองมีการนําสินคาไปเติมในชั้นวางให ทันกอนสินคาขาด แลวจะทําอยางไรใหคนมีอํานาจตัดสินใจรับรูทัน เวลา ฯลฯ ฉะนั้น แนวโนมการใชนวัตกรรม RFID จะเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง สําหรับในป 2558 เปนปที่ประเทศไทยเตรียมตัวเขาสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เพือ่ ใหเกิดความรวดเร็ว ประหยัด แมนยํา และปองกันความผิดพลาดในการขนสงสินคา จําเปนตอง ปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน

“เอเซนเทค”

ชูนวัตกรรม RFID พัฒนาอากาศยานไรคนขับ และโฟลคลิฟท

RFID äÁ‹ãª‹àÃ×่ͧãËÁ‹·่ÕࢌÒÁÒã¹»ÃÐà·È µŒÍ§ÂÍÁÃÑºÇ‹Ò RFID ࢌ Ò ÁÒÁÕ º ·ºÒ·µ‹ Í ¡Òôํ Ò à¹Ô ¹ ªÕ ÇÔ µ ¢Í§Á¹Ø É Â ã ¹ª‹ Ç §àÇÅÒ·Õ่ ÂÒǹҹ µÑ้§áµ‹Í´Õµ »˜¨¨ØºÑ¹ ËÃ×ÍáÁŒáµ‹ã¹Í¹Ò¤µ ¹Çѵ¡ÃÃÁ¹Õ้ ¨ÐࢌÒÁÒÁÕº·ºÒ·ã¹¡ÒôํÒà¹Ô¹¡Ô¨¡ÃÃÁÁÒ¡ÂÔ่§¢Ö้¹ äÁ‹àÇŒ¹áÁŒáµ‹ ´ŒÒ¹âŨÔÊµÔ¡Ê ÍصÊÒË¡ÃÃÁ áÅÐËÅÒÂÀҤʋǹ ÁÕ¤ÇÒÁ¨ํÒ໚¹ Í‹ҧÂÔ่§·Õ่µŒÍ§¹ํÒ RFID ࢌÒÁÒ㪌§Ò¹

การนํามาใชงานนั้นหลายองคกรไดนํามาใชในการคํานวณ รวบรวม ขอมูล ประเมินผลตาง ๆ โดยการใชงานผานระบบสัง่ งานของซอฟตแวร สามารถใชสั่งงานกับการเก็บสินคา ยกสินคา เลือกสินคาหรือสิ่งของ ทีต่ อ งการได หากมีการเลือกสินคามาผิดจะมีเสียงสัญญาณแจงเตือน เพื่อปองกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น ซึ่งนวัตกรรม RFID นี้ ไมมี การนําแบตเตอรี่มาใชงาน ดังนั้น จึงเปนอุปกรณที่สามารถลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซด และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมอยางมาก การขนสงสินคาแตละครั้งตองสูญเสียคาใชจายจากการใชเชื้อเพลิง จํานวนมาก โดยเฉพาะการขนสงในที่ที่มีความสูงมากเกินกวาที่ มนุษยจะยกสินคาหรือการใชสายตาสํารวจเสนทางเกินกวาที่มนุษย จะทําได ดังนัน้ ความจําเปนในการหาอุปกรณทอี่ าํ นวยความสะดวก ประหยัดเวลา คาใชจา ย จึงไดมกี ารหาวิธตี า ง ๆ มาใชงาน อากาศยาน ไรคนขับหรือโดรนจึงเปนตัวเลือกหนึ่งที่ถูกนํามาใชในการขนสง สินคา โดยมีการนําเทคโนโลยีตา ง ๆ เขามาเสริมสมรรถนะของโดรน เพื่ อให ทํ างานในระยะไกลไดมากยิ่งขึ้น สวนการนํา มาใชกับ รถ โฟลคลิฟทนั้น RFID จะถูกนําไปติดจุดใดจุดหนึ่งของรถโฟลคลิฟท แลวถูกสั่งงานในการเลือกสินคา มาวางตามจุดที่กําหนดไว หากมี การวางผิดที่จะมีสัญญาณแจงเตือน เพื่อใหมีการวางสินคาอีกครั้ง ซึ่ ง เป น ระบบในการแจ ง เตื อ นความผิดพลาดนั่นเอง ในอนาคต RFID จะถูกนํามาใชพัฒนาเพื่อการใชงานดานตาง ๆ มากขึ้นอยาง แนนอน March 2015

51


Renergy

คุณพิชัย ถินสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ขยะเมืองไทยไมมปี ญ  หา เอกชนพรอมลงทุน 100% เทคโนโลยีพรอม เงินทุนพรอม ขยะยังไมพรอม ËÒ¡·‹Ò¹ä´ŒÍ‹Ò¹Ë¹Ñ§Ê×Í Energy Saving àÅ‹Á·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ ¨ÐàË็ ¹ ä´Œ Ç ‹ Ò ÁÕ à ¹×้ Í ËÒà¡Õ่ Â Ç¡Ñ º ¢ÂÐËÅÒ¤ÍÅÑ Á ¹ ¨ Ò¡ ËÅÒ¤ÇÒÁ¤Ô´àË็¹ ÁÒ㹩ºÑº¹Õ้¡็àÅ¢Í͹ØÞÒµ¾Ò ·‹ Ò ¹¹Ñ ¡ Í‹ Ò ¹ä»ÂÑ § ¡Í§¢ÂÐã¹ÁØ Á Áͧ¢Í§¡ÒÃá¡Œ ä ¢ »˜ÞËҡѹºŒÒ§... ·‹Ò¹¤§äÁ‹·ÃÒºËÃÍ¡Ç‹Ò ¢ÂÐàÁ×ͧä·Â ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ÁÕà·‹ÒäËË ÍÂÙ‹µÃ§ä˹ ã¤ÃºŒÒ§·Õ่ÁÕÍํÒ¹Ò¨áÅР˹Œ Ò·Õ่ ÃÑ º ¼Ô ´ªÍººŒÒ § áÅФ§äÁ‹·ÃҺNjҢÂЪØÁ ª¹ÁÕ ¡ÒáํҨѴ·Õ่¶Ù¡µŒÍ§äÁ‹¶Ö§ 20% ʋǹ¢ÂÐÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¡ÅѺÁÕ¢ÂзÕ่¡ํҨѴäÁ‹¶Ù¡µŒÍ§ à¾Õ§ 20% ÊÒà˵Øà¹×่ͧ¨Ò¡ ÁÕÃкº¤Çº¤ØÁ·Õ่ࢌÁ§Ç´ ¢ÂЪØÁª¹·Õ่»˜ÞËÒÁÒ¡¡Ç‹Ò ¡็à¹×่ͧ¨Ò¡à¨ŒÒ¢Í§¢ÂеÒÁ¡®ËÁÒ ¤×Í ·ŒÍ§¶Ô่¹Í§¤ ¡Ã ¢Í§ÃѰ໚¹¼ÙŒÃѺ¼Ô´ªÍºâ´ÂµÃ§ à¹×่ͧ¨Ò¡¡Òúѧ¤ÑºãªŒ ¡®ËÁÒ¡Ѻͧ¤ ¡Ã¢Í§µÑÇàͧ¨Ö§ÍÒ¨äÁ‹§‹ÒÂÍ‹ҧ·Õ่¤Ô´ ÍÒ¨à¹×่ Í §ÁÒ¨Ò¡»˜ Þ ËÒ·Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ¡็ä´Œ

52

March 2015

ฉบับนี้จะขอแสดงความกลาหาญฟนธงวา วิธีการกําจัดขยะแบบ Premium นาจะไดผลดีทสี่ ดุ คุม คาทีส่ ดุ โดยไดรบั การสนับสนุนอัตรา ขายไฟฟา จาก กระทรวงพลังงาน ดวยการกําหนด FiT แบบเทกระเปา ตองยกนิ้วให สนพ. (สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน) เรามา วิเคราะหดูวาขยะกวาปละ 60 ลานตัน อันประกอบดวยขยะชุมชน และขยะอุตสาหกรรมอยางละครึ่งโดยประมาณควรจะจัดการอยางไร ใหคุมคาและสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด มาเริ่มที่ขยะ ชุม ชน ก็ค งไมพนการนําขยะมาคัดแยก นําของดีไปใชกอนและ ปรับปรุงคุณภาพของเสียเพื่อใชเปนเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม หรือใชเปนเชือ้ เพลิงแทนถานหินในการผลิตไฟฟา ซึง่ เราเรียกเชือ้ เพลิง คุณภาพดีเหลานี้วา RDF : Refuse Derived Fuel ซึ่งตามคาเคมีแลว RDF มีความปลอดภัยกวาถานหิน (ซับบิทูมินัส) ถึง 3 เทา แตราคา ก็สูงกวาถานหินเล็กนอย เมื่อคํานวณจากคาความรอนที่เทา ๆ กัน แตขยะชวยใหทานไดอยูกับสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น ลองดูจากภาพกราฟก แลวทานจะเขาใจมากขึ้น


จากภาพ กระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะชุมชนที่เห็นอยู่นี้ เป็นรูปแบบที่ใช้หลาย ๆ เทคโนโลยี และหลาย ๆ ประสบการณ์มา รวมกัน ซึ่งทางกระทรวงพลังงานใช้ค�าว่า เทคโนโลยีแบบผสมผสาน ซึ่งได้ผลดีที่สุด เพราะไม่โยนขยะเข้าเตาเผาโดยตรง น�าขยะมาคัดแยก ของดีออกก่อน แยกขยะอินทรีย์ไปหมักก๊าซชีวภาพผลิตไฟฟ้า หรือจะ ไปท�าปุ๋ยหมักช่วยเกษตรกรก็ยังได้ ส่วนที่ติดไฟได้สามารถน�าไปใช้ผลิต ไฟฟ้า โดยคัดแยกพลาสติกประเภท PVC ออกก่อน เพื่อหลีกเลี่ยง มหันตภัยจากสารประกอบไดออกซิน (Dioxins) ส่วนปริมาณขยะและ ค่าก�าจัดสามารถยืดหยุน่ ได้ตามความพร้อมของท้องถิน่ กระบวนการนี้ จะได้ค่าพลังงานไฟฟ้าสูงกว่าการเผาตรงถึง 2 เท่า และปลอดภัยจาก มลพิษมากกว่าเตาเผาขยะแบบเผาตรงหลายเท่า แต่ตอ้ งเหนือ่ ยหน่อย เพราะใช้หลายเทคโนโลยี เริ่มตั้งแต่การคัดแยกขยะจากบ่อฝังกลบขยะ ที่สะสมอยู่นับ 10 ปี ไปจนถึงขยะใหม่ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล และ โรงไฟฟ้า บอกได้ค�าเดียวว่าท่านจะคุ้มค่าเหนื่อย คราวนีม้ าดูทขี่ ยะอุตสาหกรรมอีกประมาณ 30 ล้านตันต่อปี โชคดีทกี่ ว่า 80% ได้น�าไปใช้ประโยชน์และก�าจัดได้ค่อนข้างดี โดยมีกรมโรงงาน อุตสาหกรรมเป็นผู้ดูแลอย่างเข้มงวดมาโดยตลอด วันนี้กรมโรงงาน อุตสาหกรรม จับมือกับ กระทรวงพลังงาน ขออัตราค่าจ�าหน่ายไฟฟ้า จากขยะอุตสาหกรรมแบบ Super Premium ใครเห็นแล้วให้รีบน�ามา ลงทุน หากแต่ถ้าไม่มีขยะในมือก็คงต้องเสียดาย สรุปง่าย ๆ ก็คือ ขยะอุตสาหกรรมทีไ่ ม่อนั ตรายมีคา่ ความร้อนสูงกว่าขยะชุมชน ผลิต RDF ง่ายกว่า ลงทุนน้อยกว่า แต่ถ้าไปผลิตไฟฟ้าในเขตนิคมอุตสาหกรรม จะได้อตั ราพิเศษเพิม่ อีก 1 บาท จากอัตราปกติทขี่ ยะชุมชนได้รบั ถ้ายัง มีการแอบทิง้ อีกก็ไม่รจู้ ะประณามว่าเป็นอะไรดี ลองศึกษาดูจากตารางนี้ ขยะในประเทศไทยทัง้ ขยะชุมชน และขยะอุ ต สาหกรรมรวมกั น ราว 60 ล้านตันต่อปี มีเหลือพอ ส� า หรั บ การผลิ ต ไฟฟ้ า 500 เมกะวัตต์ ด้วยอัตราส่งเสริมแบบ FiT Premium คือปรับขึ้นตาม อัตราเงินเฟ้อ (Core inflation) สัญญายาว 20 ปี และถ้ามีการ คัดแยกขยะเป็น RDF ก่อนจะ ได้ ไ ฟฟ้ า คุ ้ ม ค่ า การลงทุ น และ สิ่งแวดล้อมปลอดภัย อย่าไป ฟังใครว่าขยะมีปัญหา หากยัง สงสั ย สามารถอี เ มลสอบถาม ได้ที่ กลุม่ อุตสาหกรรมพลังงาน ทดแทน reenergy.fti@gmail.com “ลงทุนพลังงานขยะวันนีค้ มุ้ ค่า ถ้าไม่เผาสด ๆ”

March 2015 53


Energy Management อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์

โรงแรมริชมอนด

กับ การจัดการพลังงานสูค วามสําเร็จ

เพื่อเรา และสิ่งสําคัญอีกสวนหนึ่งที่ขาดไมได นั่นก็คือ การมีสวนรวมของทุกคนในองคกร จากความสําเร็จของโครงการอนุรกั ษพลังงานนัน้ ไมไดเกิดจากการทํางานของบุคคลใดบุคคลหนึง่ แตเกิดจากการมีสวนรวม เพื่อสวนรวม จึงเกิด เปนพลังริชมอนด พลังแหงความสําเร็จ และ เพื่อใหบรรลุผลตามพันธกิจหลักที่มุงเนนการ ทํางานรวมกันเปนทีม เพือ่ มีการพัฒนาคุณภาพ อยางตอเนื่อง

เมื่อพูดถึงการประหยัดพลังงานในโรงแรมนั้น เจาของกิจการหรือผูบริหารโดยสวนใหญคิดวา จะทําใหลูกคารูสึกไมสะดวกสบาย เชน ทําให หองรอน ปดแอร ปดไฟแสงสวาง ทําใหเกิดความ ไมปลอดภัย แตถาเราทําความเขาใจ การให บริการทีม่ คี วามพึงพอใจสูงสุดนัน้ หมายความวา การอนุรักษพลังงาน คือ การใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล คําถามเราจะเริ่มที่ใคร คําตอบ คือ เบอร 1 หรื อ ผู  นํ า องค ก ร ที่ มี วิ สั ย ทั ศ น พร อ มคํ า มั่ น สัญญา และการกําหนดเปาหมายที่ชัดเจนของ ผูนําเปนจุดเริ่มตนของความสําเร็จ ตัวอยาง ความสําเร็จของโรงแรมริชมอนดที่ไดรับรางวัล ดี เ ลิ ศ MEA Energy Saving Building คุณลักษณวรรณ วงศวรการ เปนตัวอยาง ผู  บ ริ ห ารท า นหนึ่ ง ที่ ใ ห คํ า มั่ น สั ญ ญา พร อ ม กําหนดนโยบายโครงการการอนุรกั ษพลังงานวา “เราจะรวมกันอนุรักษพลังงาน ควบคูไปกับ การดําเนินธุรกิจ” ทีม่ วี สิ ยั ทัศนเปนโรงแรมไทย ทีใ่ หบริการดีเลิศ อยางรูค ณ ุ คาพลังงาน เพือ่ โลก

5454

March March2015 2015

โรงแรมริ ช มอนด ได รั บ การฝ ก อบรมจาก ที่ปรึกษา ซึ่งดําเนินการโดย บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จํากัด ที่เปนที่ปรึกษาของโครงการ อนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน เพื่ อ สร า งทั ศ นคติ ใ หม ๆ การคิ ด บวกที่ ดี ในเรื่ อ งการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน แบบมีสว นรวม เพือ่ ใหเปนวัฒนธรรมภายในองคกร ดังนัน้ การมีสว นรวมของทางโรงแรมฯ ไมใชแคปด นํา้ ปดไฟ ปดแอร เมื่อไมใช แตโรงแรมฯ มุงเนนการทํางานเปนทีมหรือสรางสรรคผลงานเฉพาะทางให เปนรูปธรรมที่ชัดเจน โดยการนําความรูที่ไดจากการอบรมมาตอยอดพัฒนาประยุกตใชและคิดคน วิธีการตาง ๆ เพื่อใหเกิดผลประหยัด รวมถึงการพัฒนาอยา งมีประสิท ธิภาพผา นกิจ กรรมที่ หลากหลาย แตสิ่งสําคัญ คือ การลงมือปฏิบัติหลังจากที่ไดมีการกําหนดวิสัยทัศนและพันธกิจ พรอมดวยการประกาศนโยบาย โครงการอนุรักษพลังงานถือวาเปนสิ่งใหมและยากที่คนภายใน โรงแรมฯจะเขาใจและยอมรับ บุคลากรสวนใหญยังคงสงสัยวาการอนุรักษพลังงานภายในองคกร จะทําใหเราทุกคนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นไดอยางไร จากปญหาและคําถามตาง ๆ โรงแรมฯ จึงไดเริ่ม ปลูกจิตสํานึกดานการอนุรกั ษพลังงาน 100% พรอมจัดทีมอนุรกั ษพลังงานภายใตชอื่ “หนวยพิทกั ษ พลังงาน” รวมทั้งจัดกิจกรรมประกวด “ทูตพลังงาน” เพื่อคนหาบุคคลที่จะรวมสรางเครือขายทาง ความคิดที่มีหัวใจในการใหบริการอยางรูคุณคาของพลังงานมารวมเดินทางบนถนนสูความสําเร็จ ดวยความสมัครใจ นับไดวาเปนกาวแรกแหงความสําเร็จของโครงการฯ ผลจากการที่ทูตพลังงานได สงตอขอความ แนวความคิด “การอนุรักษพลังงานเพื่อความยั่งยืน” ทําใหเกิดผลประหยัดเปน รูปธรรมอยางชัดเจน และเปนที่ยอมรับตอสังคมในดานอนุรักษพลังงาน ซึ่งพิสูจนไดจากรางวัล สุดยอดอาคารประหยัดพลังงาน ระดับ “ดีเลิศ” โครงการ MEA Energy Saving Building ของ การไฟฟานครหลวงประจําป 2557 พรอมรับเงินรางวัล 2 ลานบาท


โรงแรมริชมอนด มุงเนนพัฒนาองคประกอบหลัก 3 ดาน ผานกิจกรรม ที่หลากหลาย เพื่อกระตุนใหทีมงานทุกคนเกิดการอนุรักษพลังงานอยาง ตอเนื่อง • พัฒนาคน (People ware) จัดใหมีการอบรมความรูและสราง จิตสํานึกดานการอนุรักษพลังงานใหกับบุคลากรทุก ๆ ป และพัฒนา องค ค วามรู  5 New ประกอบดวย 1. New Concepts (แนวความคิด) 2. New Knowledge (ความรูใหม) 3. New Skill (ทักษะใหม) 4. New Experience (ประสบการณใหม และ 5. New Attitude (ทัศนคติใหม) เพื่อนําไปปฏิบัติใหเกิดรูปธรรม • สรางระบบ (System ware) การรวมกันสรางระบบและ มาตรการตาง ๆ ในการอนุรักษพลังงาน เพื่อใหเกิดความตอเนื่องและ ยั่งยืน พรอมดําเนินการจัดทําระบบมาตรฐานการจัดการพลังงานแบบ สากล ISO 50001 • เนนประสิทธิภาพ (Hard ware) มีการประเมินศักยภาพใน การใชพลังงานของอุปกรณและเครื่องจักรเปนระยะ รวมทั้งกําหนดการ ใชงาน เพือ่ ใหเกิดการประหยัดพลังงาน รวมทัง้ การดูแลบํารุงรักษาอุปกรณ เครื่องจักรอยางถูกวิธี และหาแนวทางการปรับปรุงโดยการพิจารณา มาตรการที่มีระยะเวลาคืนทุนไมเกิน 3 ป สวนการจัดตั้งองคกรโรงแรม ริชมอนดไดดาํ เนินการแตงตัง้ คณะทํางานดานการจัดการพลังงานมาตัง้ แต พ.ศ. 2554 และไดมีการทบทวนในการปรับตั้งคณะทํางานทุก ๆ ป โดยมี คุณลักษณวรรณ วงศวรการ ผูบริหารเปนประธานคณะกรรมการ อนุรักษพลังงาน โดยคณะกรรมการอนุรักษพลังงานดําเนินการดูแลและ ควบคุมการประหยัดพลังงานใหสอดคลองกับนโยบายการอนุรกั ษพลังงาน ตามหลักการอนุรักษพลังงาน 8 ขั้นตอน ของ กฎกระทรวงพลังงาน พรอมกับตั้งทีมอนุกรรมการและรับสมัครหนวยพิทักษพลังงานจากทุก ๆ พื้นที่ภายในหนวยงานตาง ๆ ผลการอนุรักษพลังงาน ระยะเวลากวา 4 ป ทีโ่ รงแรมริชมอนดไดดาํ เนินการโครงการอนุรกั ษพลังงาน ผูบ ริหารไดจดั สรร งบประมาณจํานวน 18.60 ลานบาท ในการจัดฝกอบรมเพื่อพัฒนาคน (People ware) ใหมาขับเคลื่อน พรอมสรางระบบงาน (System ware) ภายในโรงแรมฯ และมุง เนนประสิทธิภาพของเครือ่ งจักรตาง ๆ (Hard ware)

รวมทั้งใหความสําคัญกับการปรับเปลี่ยนอุปกรณ เพื่อใหใชงานไดอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด สงผลใหโรงแรมฯ เกิดผลประหยัดในการอนุรักษ พลังงานไดถึง 4,620,724 kWh และไดรับเงินสนับสนุนจากกระทรวง พลังงาน ซึ่งเปนปจจัยหลักที่สงผลทําใหทีมผูบริหารพิจารณางายขึ้น ซึง่ ทีผ่ า นมาโรงแรมฯ ไดเงินสนับสนุนจากกระทรวงพลังงาน เชน โครงการ สาธิตเทคโนโลยีเชิงลึกเพือ่ การอนุรกั ษพลังงาน (60 : 40) โครงการสงเสริม วัสดุและอุปกรณการอนุรกั ษพลังงาน (80 : 20) ซึง่ ไดรบั เงินสนับสนุนจํานวน 3,078,044 บาท ผลจากการลงทุนตอเนือ่ งจาก ป 2555 - 2557 สงผลทําให เกิดผลประหยัด 21.38 ลานบาท โดยมีระยะเวลาการคืนทุนเฉลี่ย 0.87 ป นอกจากนัน้ ทางโรงแรมริชมอนดไดจดั กิจกรรมดี ๆ เพือ่ สังคม ในโครงการ ริชมอนด ลากเสน เลนสี และโชวบอรดนิทรรศการการอนุรักษพลังงาน โครงการฯ นี้ไดดําเนินการจัดขึ้น โดยมีวัตถุประสงคที่จะปลูกฝงใหกลุม เยาวชนรุนใหมมองเห็นความสําคัญของการอนุรักษพลังงาน โดยการ สื่อสารผานชองทางงานศิลปะภายใต หัวขอ “ลดใชพลังงาน เพื่อโลก ของเรา” ซึ่ ง มี โรงเรี ย นในเขตพื้ น ที่ ก รุ ง เทพฯและปริ ม ณฑลเข า ร ว ม โครงการฯมากกวา 100 โรงเรียน และโรงแรมริชมอนดมคี วามมุง มัน่ และตัง้ ใจทีจ่ ะสงเสริมใหบคุ ลากรมีความรู ในเรื่อง “คารบอนฟุตปริ้นท” และผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการใช พลังงาน ผลจากความรูที่ไดรับและดําเนินโครงการอนุรักษพลังงานอยาง จริงจัง ทําใหสามารถลดหนวยการใชพลังงานไฟฟารวม 3 ป (2555 - 2557) ไดถงึ 4,620,724.00 kWh และสามารถลดการปลอย CO2 ไดถงึ 3,368.06 TonCO2 นอกเหนือจากกิจกรรมภายในแลวโรงแรมฯ ยังมีสว นรวมในการชวย ลดโลกรอนผานกิจกรรมปลูกปาชายเลน ซึ่งทางโรงแรมฯ ไดมีการจัด กิจกรรมนีต้ อ เนือ่ งทุก ๆ ป รวมตนไมทโี่ รงแรมฯไดดาํ เนินการปลูกแลวทัง้ หมด จํานวน 4,000 ตน (ลดการปลอย CO2 ได 11.10 kgCO2) โครงการฯ นี้ ไดรบั ความรวมมือรวมใจอยางดีจากบุคลากรภายในโรงแรมฯ เพราะทุกคน อยากเปนสวนหนึ่งที่จะเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหกับประเทศไทยของเรา March March2015 2015 5555


Building Management

ผศ.ดร.อรรจน์ ผศ.ดร.อรรจน์เศรษฐบุ เศรษฐบุ ตรตรDGNB DGNBคณะสถาปั คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ ตยกรรมศาสตร์จุฬจุาลงกรณ์ ฬาลงกรณ์ มหาวิ มหาวิ ทยาลั ทยาลั ย ยรองประธานสถาบั รองประธานสถาบั นอาคารเขี นอาคารเขี ยวไทย ยวไทย

มาตรฐานอาคารเขียว TREES ของสถาบันอาคารเขียวไทย ได้รบ ั การยอมรับและถูกน�าไปใช้ในวงกว้างทัง้ ในภาครัฐ และเอกชน จนในที่สุดรัฐบาลได้เข้ามาสนับสนุนการ ออกแบบก่ อ สร้ า งอาคารเขี ย วด้ ว ยเกณฑ์ TREES ของสถาบั น ฯ โดยออกเป็ น กฎกระทรวงผั ง เมื อ ง กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2556 ที่ก�าหนดให้อาคาร ที่ออกแบบตามมาตรฐานของสถาบันอาคารเขียวไทย ได้รับสิทธิประโยชน์ในการเพิ่มพื้นที่ก่อสร้างอาคารได้ หรือที่รู้จักกันว่า F.A.R. Bonus ด้วยเหตุนี้ สถาบัน อาคารเขี ย วไทยจึ ง ได้ จั ด ท� า มาตรฐานที่ ใ ช้ ใ นการ ออกแบบอาคารตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว โดยก�าหนด วิ ธี ก ารและขั้ น ตอนการด� า เนิ น การเพื่ อ ให้ โ ครงการ ก่ อ สร้ า งสามารถออกแบบให้ เ ป็ น อาคารเขี ย วและ ผ่านข้อก�าหนด F.A.R. Bonus นี้ ได้

TREES PRE NC อย่างไรก็ดี เนื่องจากขั้นตอนการประเมินอาคารตามเกณฑ์ TREES-NC จะสามารถด�าเนินการได้อย่างสมบูรณ์ก็ต่อเมื่ออาคารสร้างแล้วเสร็จ และมีการรวบรวมข้อมูลระหว่างการก่อสร้างมาจัดท�าเอกสารประกอบ การประเมิน ดังนั้นเพื่อให้สามารถตรวจประเมินอาคารเขียวได้ในขั้น การออกแบบ หรื อ การยื่ น แบบขออนุ ญ าตปลู ก สร้ างหรื อในกรณี ที่ เจ้าของอาคารต้องการน�าแบบอาคารไปประกอบการรับการส่งเสริม ต่าง ๆ จากภาครัฐ สถาบันอาคารเขียวไทยจึงเห็นควรให้จัดท�าเกณฑ์ TREES ขึน้ อีกหนึง่ เกณฑ์โดยเฉพาะเจาะจงให้สามารถประเมินอาคารเขียว ได้ในขั้นออกแบบ โดยมีชื่อเรียกว่า TREES PRE-NC หรือ TREES for Pre New Construction& Major Renovation โดยได้อิงกับเกณฑ์ TREES-NC ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว แต่ได้ตดั หัวข้อทีใ่ ช้ประเมินช่วงการก่อสร้างออกไป เพราะไม่สามารถประเมินจากแบบพิมพ์เขียวได้ เช่น การจัดการตรวจ นับปริมาณขยะจากการก่อสร้าง การรวบรวมใบสั่งซื้อวัสดุรีไซเคิลหรือ วัสดุในประเทศ ส่งผลให้คะแนนเต็มของ TREES-PRE NC มีทั้งหมด เพียง 62 คะแนน และมีการแบ่งช่วงระดับคะแนนใหม่เป็น 4 ระดับ จาก ระดับ 1 ถึง 4 ซึง่ สอดคล้องกับการแบ่งระดับอาคารเขียวตามกฎกระทรวง ผังเมืองกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 56

March 2015


สถาบันอาคารเขียวไทยจึงได้นา� เกณฑ์ TREES-PRE NC นี้ ไปด�าเนินการประชุมหารือ ร่วมกับ ส�านักผังเมือง กรุงเทพมหานคร และร่วมกันร่างข้อก�าหนดกฎเกณฑ์การออกแบบอาคาร การจัดท�าเอกสาร ขั้นตอนการยื่นเอกสารต่าง ๆ เพื่ออ�านวยความสะดวกแก่ทุกฝ่ายที่จะได้ รับข้อมูลชุดเดียวกัน เพือ่ ด�าเนินการไปในทิศทางเดียวกัน และสถาบันอาคารเขียวไทยได้จดั ท�า คูม่ อื ขึน้ เพือ่ เผยแพร่ให้เป็นประโยชน์แก่สาธารณะ เกณฑ์การประเมินความยัง่ ยืนทางพลังงาน และสิ่งแวดล้อมส�าหรับอาคารสร้างใหม่และอาคารปรับปรุงดัดแปลง : ช่วงการออกแบบ ประกอบไปด้วย หมวดการประเมินการออกแบบอาคารให้เป็นอาคารเขียวจ�านวน 8 หมวด นอกจากจะต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต�่าเบื้องต้นแล้ว ยังจะต้องได้คะแนนสะสมรวมในทุกหมวด ไม่ต�่ากว่า 22 คะแนน และต้องได้คะแนนขั้นต�่าจากหมวดต่าง ๆ ดังตารางข้างต้นต่อไปนี้ ระดับคะแนนของเกณฑ์ TREES-PRE NC แบ่งได้เป็น 4 ระดับ ดังนี้ 22-27 คะแนน ได้ระดับ 1 ได้โบนัส 5% 28-32 คะแนน ได้ระดับ 2 ได้โบนัส 10% 33-44 คะแนน ได้ระดับ 3 ได้โบนัส 15% 45-62 คะแนน ได้ระดับ 4 ได้โบนัส 20%

เกณฑ์ TREES-PRE NC ก็คือ เกณฑ์ TREES-NC ที่ตัดบางหัวข้อที่ไม่สามารถ ประเมินได้ในช่วงการออกแบบ จึงมีการ ก� า หนดเลขรหั ส หั ว ข้ อ เดี ย วกั น กั บ เกณฑ์ TREES-NC เช่น ข้อ EA1 หมายถึง หมวด พลังงานและบรรยากาศ ข้อ “ประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน” เป็นต้น ทัง้ นีส้ ถาบันอาคารเขียวไทยได้จดั ท�ารายละเอียด ของเกณฑ์ในหมวดต่าง ๆ ในเบือ้ งต้นเท่านัน้ เพื่ อให้เข้า ใจเกณฑ์ในภาพรวม หากผู้ใช้ ต้องการรายละเอียดเชิงลึก ตัวอย่างการ ด�าเนินการ รายการค�านวณต่าง ๆ รวมทั้ง แบบฟอร์มเอกสารกรอกข้อมูลต่าง ๆ ผู้ใช้ จะต้ อ งสื บ ค้ น เพิ่ ม เติ ม จากหนั ง สื อ คู ่ มื อ TREES-NC 1.1 ของสถาบันอาคารเขียวไทย และเว็บเพจของสถาบันฯ ที่ www.tgbi.or.th ซึง่ จะมีขา่ วสารและการอัพเดทเกณฑ์ TREES ประกาศออกมาเป็นระยะ ๆ

March 2015 57


Green Logistics

ดร.สิทธิชัย ฝรังทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

แรงจู ง ใจ

ของพนั ก งานขั บ รถส ง สิ น ค า ที่ มี ผ ลต อ การปฏิ บั ติ ง าน พนักงานขับรถจัดเปนตําแหนงงานหนึ่งในสายงานการจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน ที่มีสวนสําคัญที่จะทําใหการสงมอบสินคาหรือบริการไดทันเวลา และเกิดความประทับใจ กับลูกคาได บางแหงใชวธิ ี Outsource จากภายนอกบริษทั หรือจะรับเปนพนักงานของบริษทั ก็ตาม ถือวาเปนตัวแปรสําคัญที่จะทําใหงานลาชาหรือเกิดความบกพรองได ซึ่งสัญญาณใน การทําใหงานที่เกิดดอยประสิทธิภาพลงมีหลายประการ คือ มีพนักงานขับรถลาออกบอย รถเสียระหวางทางบอยครั้ง และมีการรองเรียนจากลูกคาเปนจํานวนมาก หรือเมื่อรับ พนักงานขับรถใหมเขามาก็ไมเขาใจกฎระเบียบการทํางานและขาดความชํานาญในเสนทาง การขนสง ดังนัน้ แนวทางการเพิม่ แรงจูงใจทีเ่ ปนรูปธรรมในการปฏิบตั งิ านใหเกิดประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ซึ่งผูเขียนมีขอเสนอแนะ ดังนี้

58

March 2015

1. ดานนโยบายและการบริหารงานของบริษทั ฯ 1.1 ควรมีการเปดโอกาสใหพนักงาน ทุกระดับมีสวนรวมในการเขารวมประชุม กําหนดนโยบาย ทิศทางการทํางาน แผนงาน ฯลฯ ดานการจัดสงสินคา เพื่อใหระบบการ ทํางานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1.2 ควรมีการเปดกวางใหพนักงาน ทุกระดับแสดงความคิดเห็นผานหลากหลาย ชองทาง เพือ่ เปนการลดปญหา หรือสามารถ แก ไขป ญ หาได ทั น เวลา เช น กล อ งรั บ ความคิดเห็น ทางโทรศัพท E-mail Line Facebook เปนตน 1.3 ควรมีการกําหนดตัวดัชนีชี้วัด ประสิทธิภาพ (KPI) และบทลงโทษในการ ทํางานของพนักงานขับรถขนสงสินคา โดยจะ ตองมีการตรวจสอบสภาพรถอยางสมํา่ เสมอ ไมวาจะเปนเรื่องลมยาง เบรก หมอนํ้า หรือ ความเรียบรอยของสิ่งของที่จะบรรทุก เพื่อ ปองกันความเสียหายจากการขนสงสินคา หรือการรองเรียนจากลูกคา


1.4 ในการจัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาในการสั่งซื้อรถใหม่ทดแทนรถเก่าที่ก�าลัง หมดสภาพ หรือการจ�าหน่ายรถดังกล่าวออกไป ควรจัดให้พนักงานขับรถมีส่วนเกี่ยวข้องใน การให้ความคิดเห็น ซึ่งจะสามารถท�าให้เกิดการประหยัดหรือความคุ้มค่า

4. ด้านความก้าวหน้าในการท�างาน 4.1 ควรมีการก�าหนดนโยบายและ แนวทางในการพัฒนาบุคลากร เพือ่ เสริมสร้าง ทักษะและความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน 2. ด้านเงินเดือน/อัตราค่าตอบแทน โดยหาวิ ท ยากรที่ มี ค วามรู ้ ค วามช� า นาญ 2.1 ควรมีการปรับฐานเงินเดือนและค่าตอบแทนของพนักงานขับรถที่ได้รับไม่ให้ เฉพาะทางมาให้ความรู้แก่พนักงานขับรถ ต�่ากว่าตลาดแรงงานหรือบริษัทอื่น ๆ หรือก�าหนดอัตราเงินเดือนเป็นแบบขั้นบันได เพื่อให้ อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการขับขี่ เกิดความยุตธิ รรมในการปรับขึน้ เงินเดือนในแต่ละครัง้ รวมทัง้ ก�าหนดวันจ่ายอัตราค่าตอบแทน อย่ า งปลอดภั ย และประหยั ด พลั ง งาน ที่แน่นอน การดูแลรักษาเครื่องยนต์ หลักการขนส่ง 2.2 ควรปรับจัดให้มีสวัสดิการประเภทอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น เช่น เงินฌาปนกิจ สินค้าอันตราย การน�าเทคโนโลยีมาใช้ใน สงเคราะห์ศพ เงินทุนสงเคราะห์บุตร เงินกู้ยืมระยะสั้นดอกเบี้ยต�่า เป็นต้น เพื่อเป็นการ การขนส่ง แต่ควรปลูกฝังความรู้ความเข้าใจ สร้างขวัญและก�าลังใจ ซึ่งจะท�าให้พนักงานขับรถไม่รู้สึกว่าก�าลังท�างานที่ด้อยกว่างาน ทางด้านการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ต�าแหน่งอื่น ๆ ทั้งระบบด้วย 4.2 ควรมีการก�าหนดการประเมินผล 3. ด้านสภาพของการท�างาน พนักงานทุกระดับให้มีความเสมอภาคและ 3.1 ควรมีการปรับสภาพแวดล้อมภายในที่ท�างานของการขนส่งสินค้าให้มีความ ยุติธ รรม โดยก�า หนดการประเมินผลการ สะอาดและสิ่งอ�านวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น ห้องพักผ่อน ห้องพักสูบบุหรี่และไม่สูบ ปฏิบัติงานทุก 6 เดือน เพื่อให้เกิดความ บุหรี่แยกเป็นสัดส่วน เป็นต้น กระตือรือร้นในการท�างาน เช่น ก�าหนด 3.2 ควรมีการปรับลดขั้นตอนการท�างานที่มีความซับซ้อน หรือลดความขัดแย้ง ภายใน 1 ปี พนักงานขับรถขนส่งสินค้า ระหว่างหน่วยงานที่ต้องเกี่ยวข้องกัน เพื่อไม่ให้สายโซ่แห่งการท�างานขาดลง ควรได้รับการอบรมอย่างน้อย 48 ชั่วโมง 3.3 ควรมีการจัดซื้อจัดหาเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่งสินค้าเพิ่มขึ้น เป็นต้น เพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดความคล่องตัวและรวดเร็วขึ้น รวมถึงความปลอดภัยทั้งพนักงาน 4.3 ตัง้ คณะกรรมการก�าหนดหลักเกณฑ์ ขับรถและสินค้า โดยจะไม่มีปัญหารถเสียระหว่างขนส่ง คุ ณ สมบั ติ ใ นการเลื่ อ นต� า แหน่ ง หรื อ สลั บ 3.4 ควรมีการน�าระบบไอทีเข้ามาช่วยในการวางแผนการขนส่ง โดยท�าการติดตั้ง ต�าแหน่งการท�างานทีม่ คี วามชัดเจน ยุตธิ รรม เครื่ อ งมื อ ติ ด ตาม (GPRS) กั บ รถขนส่ ง และวางระบบบริหารจัด การการขนส่งสิน ค้า และเป็นไปตามหลักคุณธรรม เช่น ก�าหนด (Transportation management system : TMS) เพื่ อ เพิ่ ม การจั ด วางเส้ น ทางให้ มี อายุการท�างาน การสอบข้อเขียนและทดสอบ ประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ข้อจ�ากัด ความสามารถในการท� า งานและควบคุ ม ลูกน้อง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แรงจูงใจมี 2 ประเภท คือ เสริมแรงบวกและเสริมแรงลบ ดังนั้น หากบุคคลนั้นมีแรงจูงใจนอกจากจะท�าให้ บุคคลมีความพยายามที่จะกระท�ากิจกรรม ต่าง ๆ ให้กบั องค์กรจนประสบความส�าเร็จแล้ว ยังจะท�าให้บุคคลทุ่มเทก�าลังความสามารถ ทั้ ง ร่ า งกายและจิ ต ใจ ตลอดจนการใช้ ทรัพยากรในการด�าเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย ที่องค์กรก�าหนดไว้อีกด้วย

March2015 2015 59PB March


O waste idea

รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เมืองคาร์บอนต�่า…แนวทางของเมืองในอนาคต

จากการที่ผู้เขียนได้เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “แนวทางการพัฒนาเมืองในอนาคต” ของ หน่วยงาน Asian Productivity Organization ที่ประเทศญี่ปุ่น ในช่วงปีที่ผ่านมาจึงอยากน�ามาเล่าสู่กันฟัง ในประเด็นปัญหาด้านสังคมของประเทศญีป่ นุ่ ในปัจจุบนั หลังจากประสบภัยครัง้ ใหญ่จากสึนามิ ในปี ค.ศ. 2011 และแนวทางการพัฒนาเมืองในอนาคตแบบ “เมืองคาร์บอนต�่า” (Low Carbon City) ดังนี้

ปัญหาด้านสังคมของประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีประเด็นดังต่อไปนี้

โดยภาพรวมประเทศญี่ปุ่นหลังจากประสบภัยครั้งใหญ่จากสึนามิใน ปี ค.ศ. 2011 ท�าให้สังคม อ่อนแอลง ประชาชนทุกภาคส่วนเริ่มตระหนักถึงความส�าคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมอย่างจริงจัง และเห็นว่าสังคมของญีป่ นุ่ ทีค่ ดิ ว่ามีความมัน่ คงและยัง่ ยืนตลอดมานัน้ ยังไม่เป็นจริงตามนั้น ทุกภาคส่วนจ�าเป็นต้องมีส่วนร่วมในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม สรุปโดยภาพรวมของปัญหาสังคมของประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีดังนี้ - มีการลดลงของจ�านวนประชากรในหลายเมือง ยกเว้นกรณีของเมืองใหญ่ เช่น โตเกียว นาโกยา โอซาก้า ที่มีจ�านวนประชากรหนาแน่นขึ้น - จ�านวนประชากรผู้สูงอายุมีสัดส่วนมากขึ้น ท�าให้รัฐบาลจ�าเป็นต้องจัดหางบประมาณ มาสร้างสาธารณูปโภคส�าหรับผู้สูงอายุ - ปัญหาด้านการผลิตอาหารและพลังงานในประเทศยังพึ่งตนเองไม่ได้ จ�าเป็นต้องอาศัย การน�าเข้าอาหารและพลังงานจากต่างประเทศ สัดส่วนการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานของประเทศ ยังอยู่ในเกณฑ์ต�่ามาก โดยมีศักยภาพประมาณ 6%

60

March 2015

ส� า หรั บ แนวทางการพั ฒ นาสั ง คมที่ ยั่ ง ยื น นั้ น ทางผูเ้ ชีย่ วชาญของประเทศญีป่ นุ่ ได้ให้ขอ้ คิดว่า จะต้องค�านึงถึงสิ่งแวดล้อมและสังคม ส่งเสริม การหมุนเวียนการใช้ทรัพยากรและการมีสว่ นร่วม ของประชาชน ช่วยลดการท�าลายทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งลดปัญหาการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกที่เป็นสาเหตุของปัญหาโลกร้อน อีกด้วย

การพัฒนาแนวทางเมืองคาร์บอนต�่า แบบญี่ปุ่น

ปัจจุบันนี้ประเทศญี่ปุ่นมีการส่งเสริมแนวทาง การพัฒนาเมืองในอนาคตแบบ Low carbon Emission การเป็นเมืองที่มีการอนุรักษ์พลังงาน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน และภาคส่วน ต่าง ๆ ภายในเมือง การพัฒนาต้นแบบและ ส่งเสริมให้แพร่กระจายภายในประเทศญี่ปุ่น เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปัจจุบันทางรัฐบาล ญี่ปุ่นได้มีการส�ารวจการใช้พลังงานในประเทศ พบว่า มีปริมาณมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก จ�าเป็นต้องมีการวางแผนและ นโยบายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อพัฒนาให้เป็นเมืองคาร์บอนต�่า หรือ Low Carbon City


แนวทางการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองคาร์บอนต�่า (Low Carbon City)

- การพัฒนาแนวทางเมืองสีเขียวและอาคารเขียว - การมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคประชาชนในการลดการใช้ พลังงาน

การสร้างแรงจูงใจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม มีดังนี้

- แสดงจุดยืนและเป้าหมายของประเทศให้มุ่งสู่การเป็นเมือง คาร์บอนต�่า - การพัฒนาต้นแบบเมืองคาร์บอนต�่าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในอนาคต - การส่งเสริมรูปแบบเมืองคาร์บอนต�า่ ให้แพร่กระจายไปทัว่ ญีป่ นุ่ - การสร้างความตระหนักถึงปัญหาโลกร้อน และความจ�าเป็น ในการประหยัดพลังงานให้ประชาชนเข้าใจ

ปัจจัยสู่ความส�าเร็จในการส่งเสริมพัฒนาเมืองคาร์บอนต�่า

- การสร้ า งแรงจู ง ใจให้ กั บ หน่ ว ยงานราชการท้ อ งถิ่ น โดย รัฐบาลกลางของญี่ปุ่น - เมืองคาร์บอนต�่าที่จะด�าเนินการต้องเป็นรูปแบบเมืองที่พ่ึง ตนเองได้ ไม่ได้อาศัยงบประมาณจากรัฐบาลกลางเพียงอย่างเดียว - จัดตัง้ หน่วยงานส่งเสริมการพัฒนาเมืองคาร์บอนต�า่ ทัว่ ประเทศ เพื่อผลักดันและแลกเปลี่ยนข้อมูล Best practice - ควรมีการประเมินผลการด�าเนินงานเมืองคาร์บอนต�่า โดย รัฐบาลกลาง

กรณีของกรุงเทพมหานครในการผลักดันการก้าวสู่รูปแบบ เมืองคาร์บอนต�่า

ทางกรุ ง เทพมหานครได้ มี ค วามพยายามผลั ก ดั น ให้ มี โ ครงการ “กรุงเทพฯ สู่เมืองคาร์บอนต�่า” เพื่อน�าร่องในการศึกษาและพัฒนา องค์ความรู้ภายใต้หลักการสังคมคาร์บอนต�่า โดย ส่งเสริมการจัดกิจกรรม สร้างเครือข่ายองค์กรทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ การพัฒนา ต้นแบบการด�าเนินงานขององค์กรที่ประสบความส�าเร็จในการส่งเสริม การใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิท ธิภาพ ทั้งด้า นการใช้เทคโนโลยี ประหยัดพลังงานไฟฟ้า และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรใน แต่ละองค์กร รวมถึงการเผยแพร่แนวทางในการลดปริมาณคาร์บอนผ่าน องค์ความรู้ด้านการส่งเสริมการใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ส�าหรับการด�าเนินโครงการของกรุงเทพมหานครได้ใช้ยทุ ธศาสตร์หลักทีส่ า� คัญ 4 ด้าน คือ ปลูก (เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว) ปล่อย (เพิม่ ประสิทธิภาพในการจัดการ ของเสีย) ปิด (ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างชาญฉลาด) และ ปรับ (เปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคอย่างยัง่ ยืน) เพือ่ ผลักดันให้กรุงเทพมหานครก้าวสูส่ งั คม คาร์บอนต�่าผ่านกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การรณรงค์ส่งเสริมความรู้ด้านการ จัดการและอนุรกั ษ์พลังงาน การลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในองค์กร จัดการอบรมหลักสูตรส�านักงานสีเขียวให้แก่บคุ ลากรและอาคาร ส�านักงานของภาคเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ ตลอดจนมีโครงการประกวด Bangkok Low Carbon Hero ส�าหรับองค์กรเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ ทัง้ นี ้ กรุงเทพมหานครตัง้ เป้าหมายการมุง่ สูค่ วามเป็นเมืองคาร์บอนต�า่ ภายใน ปี พ.ศ. 2563 โดยอาศัยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีควบคูก่ บั การสร้างความ ตระหนักรู ้ และสร้างการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือ ในการด�าเนินโครงการเพื่อเผยแพร่ตัวอย่างที่ดีต่อไปในอนาคต ดังนั้นทุกภาคส่วนของสังคมไทยสามารถมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการ พัฒนาเมืองแบบเมืองคาร์บอนต�่า ซึ่งเป็นวิถีทางของสังคมที่ยั่งยืนใน อนาคตต่อไป March 2015

61


Environment Alert

อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิง่ แวดล้อมชํานาญการพิเศษ ศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึ กอบรมด้านสิงิ่ แวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม

“¡Òû¯Ôû Ù ¼Ñ§àÁ×ͧ” ¢Í§ä·Âã¹Í¹Ò¤µ¨Ð ä»ã¹·ÔÈ·Ò§ä˹ ã¤Ã¡ํÒ˹´ Ëҧ¼Ñ§àÁ×ͧÃÇÁ ã¹¾×้ ¹ ·Õ่ ¨Ñ § ËÇÑ ´ µ‹ Ò § æ ÁÕ á ¹Ç¤Ô ´ áÅÐ ÇÑ µ ¶Ø » ÃÐʧ¤ ¢ ͧ¼Ñ § àÁ× Í §ÃÇÁ¨Ñ § ËÇÑ ´ ์¹¡ÒÃà¡ÉµÃ ¡Ò÷‹Í§à·ÕÂ่ Ç ªØÁª¹ áÅÐ ÍصÊÒË¡ÃÃÁ 㹡óբͧ¨Ñ§ËÇÑ´µÃѧ໚¹ µÑÇÍ‹ҧ˹Ö่§·Õ่¡ํÒ˹´ãËŒ¾×้¹·Õ่ª¹º·áÅÐ à¡ÉµÃ¡ÃÃÁ (ÊÕà¢ÕÂÇ) ÊÒÁÒö·ํÒâç俿‡Ò áÅÐâç§Ò¹¨Ò¡» âµÃàÅÕÂÁáÅж‹Ò¹ËԹ䴌 ¢Ñ´áÂŒ§¡Ñºá¹Ç¤Ô´áÅÐÁҵðҹËҧ¼Ñ§àÁ×ͧ ÃÇÁ¨Ñ§ËÇÑ´µÃѧ ·Õá่ ¹Ç¤Ô´áÅÐÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤ ์¹¡ÒÃ㪌·´Õ่ ¹Ô à¾×Í่ ÃÑ¡ÉÒ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ áÅФÇÒÁÊÁ´ØŢͧÃкº¹ÔàÇÈ ËŒÒÁÁÕ ¡Ô¨¡ÒÃâç§Ò¹¼ÅԵ俿‡Ò ËŒÒÁ¡ÒèѴÊÃà à¾×Í่ ÍصÊÒË¡ÃÃÁã¹¾×¹้ ·Õª่ ÁØ ª¹ ¾×¹้ ·Õª่ ¹º· à¡ÉµÃ¡ÃÃÁ áÅо׹ ้ ·ÕÍ่ ¹Øá Ñ É ª¹º·áÅÐ à¡ÉµÃ¡ÃÃÁ

ปญหาการจัดทําผังเมือง ถึงเวลาตองปฏิรป ู เพือ ่ ชุมชน การรื้อผังเมือง 74 จังหวัด รับรถไฟฟาความเร็วสูง ลดพื้นที่สีเขียว-เพิ่มการสรางโรงงาน จากกระแสขาวดังกลาว กระทรวงอุตสาหกรรมทําหนังสือถึงกระทรวงมหาดไทย ขอทบทวน ผังเมืองรวมจังหวัดที่อยูระหวางยกรางใหม พรอมขอเพิ่มพื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรม (ที่ดิน ประเภทสีมวง) และลดพื้นที่สีเขียว (ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม) เพื่อใหสอดรับ กับการขยายตัวของเศรษฐกิจในปจจุบันและอนาคต โยธาฯ รับลูกแกทุกจังหวัด ปรับปรุง ผังเมืองรวมจังหวัดที่ประกาศเปนกฎกระทรวงใชบังคับแลว 19 ผัง ผังเมืองรวมจังหวัด ที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหถอนรางกฎกระทรวงเพื่อนํามาปรับปรุงใหม 33 ผัง และตอง มีการปรับปรุงมาตรฐานการจัดทําขอกําหนดใหสอดคลองกับการจัดกิจกรรมพัฒนาที่มี ความซับซอนและมีผลกระทบมากขึ้น การมีสวนรวมตองมีกระบวนการตรวจสอบวาผังเมืองนั้นดําเนินการตามมาตรฐานทาง ผังเมืองหรือไม เพราะผังเมืองเปนนโยบายสาธารณะเปนการออกกฎทีก่ ระทบสิทธิประชาชน และสิทธิชุมชน ไดแก บัญชีทายขอกําหนดที่ตองใหประชาชนเขาใจงาย และพิจารณา กิจกรรมทีม่ ผี ลกระทบตอสิง่ แวดลอม นอกเหนือจากการใชบญ ั ชีประเภทโรงงาน กอนมีผงั ชวงผังหมดอายุ และรอประกาศ หยุดการแทรกแซงหลักการคุมครองลวงหนาโดยใช กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวของและใชสาระของผังเมือง การขยายเวลาการบังคับใช โดยใหมกี ารทบทวนปรับปรุงไดระหวางทําผังการเปดเผยขอมูลทีใ่ ชในการวางผังทีเ่ ขาใจได 62

March 2015

การมีสวนรวมในทุกขั้นตอนการวิเคราะห กําหนดทางเลือกอยางมีสว นรวม การรวม ตั ด สิ น ใจในการจั ด ระเบี ย บการใช ที่ ดิ น และการจัดทําขอกําหนด การปรับปรุง โครงสราง กรรมการผังเมือง การกระจาย อํานาจการตัดสินใจสูทองถิ่น มาตรการ ความโปรงใส ตรวจสอบได การนํ า ผั ง ไปปฏิ บั ติ แ ละใช ป ระโยชน ใ ห เกิ ด การคุมครองสิ่งแวดลอ ม หยุดการ แทรกแซงปรับปรุงแกไขกฎหมายกฎระเบียบ ทีเ่ กีย่ วของปรับปรุงกฎหมายการใหสมั ปทาน เหมืองแรและพลังงานทีต่ อ งมีการนําสาระ การนําผังเมืองไปใชประโยชน ประเมิน ผลกระทบยุทธศาสตรระดับพื้นทีก่ อ นการ ใหสัมปทาน การมีคูมือการปฏิบัติและนํา ผังไปใช การปรับปรุงโครงสรางอํานาจ


การกระจายอ�านาจ และกลไกการด�าเนินการ ตัดสินใจ การตรวจสอบด้วยการมีส่วนร่วม เช่น โครงสร้างกลไกคณะกรรมการผังเมือง ในระดั บ พื้ น ที่ เช่ น ส� า นั ก งานกฤษฎี ก า เป็นต้น ต้องมีการประเมินผลกระทบระดับ ยุทธศาสตร์อย่างมีส่วนร่วมจะเกิดขึ้นไหม ในการปฏิรูปประเทศไทย ข้อเสนอโดยสรุป จากการท� างานผังเมืองโดยประสบการณ์ การจัดท�าผังเมืองในระดับนโยบายและผังที่ ครอบคลุมพื้นที่ที่จะมีนโยบายการพัฒนา เชิงพื้นที่ของรัฐในหลายด้าน เช่น พื้นที่เขต เศรษฐกิจพิเศษ ต้องมีการประเมินผลกระทบ ระดับยุทธศาสตร์ดว้ ยกระบวนการมีสว่ นร่วม การปฏิรปู ในด้านกระบวนการท�าผัง เพิม่ การ มีสว่ นร่วมหยุดการแทรกแซงหลักการคุม้ ครองล่วงหน้า แก้ไขปัญหาความล่าช้า โดยการขยาย เวลาการบังคับ และให้มีการทบทวนการปรับปรุงในระหว่างช่วงเวลาได้ กระบวนการให้ ข้อมูลการสื่อสารที่สร้างความเข้าใจ กระบวนการมีส่วนร่วมทุกระดับและทั่วถึง การท�างาน ร่วมข้อเสนอโดยสรุปจากการท�างานผังเมืองโดยประสบการณ์ของประชาชน การปรับปรุง โครงสร้างและกลไกการตัดสินใจที่กระจายสู่ท้องถิ่น ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ความพร้อม รับผิดชอบต่อการตัดสินใจนโยบายสาธารณะต้องมีการปรับปรุงมาตรฐานการจัดท�าข้อก�าหนด ให้สอดคล้องกับกิจกรรมพัฒนาทีม่ คี วามซับซ้อนและมีผลกระทบมากขึน้ ต้องมีกระบวนการ ตรวจสอบว่าผังเมืองนั้นด�าเนินการตามมาตรฐานทางผังเมืองหรือไม่ เพราะผังเมืองเป็น นโยบายสาธารณะที่เป็นการออกกฎที่กระทบสิทธิประชาชนและสิทธิชุมชน การปรับปรุง โครงสร้างอ�านาจ การกระจายอ�านาจและกลไกการด�าเนินการตัดสินใจ และการตรวจสอบ ด้วยการมีส่วนร่วม ในประเด็นสุดท้าย คือ ประเด็นสถานการณ์การจัดการน�้าเป็นตัวอย่างของการวางผังเมือง ที่ไร้ระบบ ไม่มีประสิทธิภาพ จากสถานการณ์มหาอุทุกภัยในประเทศไทย เมื่อปี 2554 ที่ สร้างความเสียหายมูลค่า 1.356 ล้านล้านบาท และใช้งบฟื้นฟูเยียวยาถึง 756,374 ล้าน ล้านบาท นับเป็นภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายสูงสุดในประวัติศาสตร์ของประเทศไทย และ จัดเป็นอันดับที่ 4 ของโลก รัฐบาลไทยจึงมีแนวความคิดในการวางแผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรน�้าทั้งประเทศใหม่ หมายว่าจะเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่าง ยั่งยืน และได้วางยุทธศาสตร์เพื่อการวางระบบการบริหารจัดการน�้า พ.ศ. 2554 จัดท�า “แผนแม่บทและยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน�า้ อย่างเป็นระบบ” ก�าหนดกรอบการลงทุน ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าของประเทศ จึงเกิดเป็น “โครงการเพื่อออกแบบและ ก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าอย่างยั่งยืน และระบบแก้ปัญหาอุทกภัย ของประเทศไทย” โดยจัดท�าเป็นข้อก�าหนดและขอบเขตงาน (TOR) เพื่อเข้าสู่กระบวนการ ประมูลจากบริษัทเอกชน ในข้อก�าหนด (TOR) ดังกล่าวแบ่งขอบเขตงานเป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คือ 1. แผนงาน A1-A6 เป็นโครงการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยา และ 2. แผนงาน B1-B4 โครงการในลุ ่ ม น�้ าอื่ น ๆ 17 ลุ ่ มน�้ า รวมมู ลค่ าโครงการทั้ ง หมด 3.5 แสนล้านบาท ซึ่งที่กล่าวมานี้จะเห็นว่า การวางผังเมืองหากไม่มีการปฏิบัติรูปแล้วมี โครงการขนาดใหญ่ที่กระทบต่อชุมชน การวางแผนพัฒนาดังกล่าวย่อมเกิดปัญหาตามมา

ประเด็นสิง่ แวดล้อมชุมชนเมือง เวลามีปญ ั หา อะไรก็แล้วแต่ คนที่อยู่ในชุมชนเมืองมักจะ ตกเป็นผู้ต้องหาก่อน เรามีการพูดคุยกับ กรุงเทพฯ ว่า คนอยูร่ ว่ มกับคลองได้ แต่กย็ งั มี กระแสของการถูกการไล่รื้ออยู่ตลอดเวลา ตอนนี้สถานการณ์ไล่รื้อกลับมาดังอีกครั้ง แม้ ก ระทั่ ง คนที่ ใช้ ที่ ส าธารณะเป็ น ที่ อ ยู ่ อาศัยยังโดนขับไล่ เพราะฉะนั้นการสร้าง ผังเมืองควรจะมีผู้ที่ได้รับผลกระทบเข้าไปมี ส่ ว นร่วมในการวางแผนด้วย ไม่เช่นนั้น ปัญหาจะไม่จบสิ้น บทสรุป คือ การเรียนรู้จากความต้องการ ของชุมชน การจัดการวางผังเมืองที่ค�านึง ในหลายมิติ ไม่ใช่แค่ความสวยงามหรือ การเติบโตทางเศรษฐกิจเท่านั้น

เอกสารอ้างอิง : รัฐ เรืองโชติวทิ ย์ เอกสารประกอบการบรรยาย แนวคิดการปฏิรูประบบผังเมือง วิชาการ จั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2557 March March2015 2015 6363


Energy Focus

คุณรุ ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู ้อํานวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุ ตสาหกรรม

ใน พ.ศ. 2555 ฝรั่งเศสเปนประเทศผูสงออกไฟฟาเปน ลําดับ 3 ของโลก รองจากเยอรมนีและแคนาดา และเปน ประเทศผูสงออกเทคโนโลยีพลังงานนิวเคลียรอีกดวย

ศึกษาดูงานโรงไฟฟาในตางแดน (ตอนจบ) µ‹Í¨Ò¡©ºÑº·Õ่áÅŒÇ ¼ÙŒà¢Õ¹䴌¡Å‹ÒǶ֧¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ´Ù§Ò¹ ³ âç俿‡Ò ¶‹Ò¹ËÔ¹ÊÐÍÒ´ (Clean Coal Technology) ã¹»ÃÐà·ÈàÂÍÃÁ¹Õä»áÅŒÇ ã¹©ºÑ º ¹Õ้ ¨ Т͡ŋ Ò Ç¶Ö § ¡ÒÃÈÖ ¡ ÉÒ´Ù § Ò¹âç俿‡ Ò ¾ÅÑ § §Ò¹¹Ô Ç à¤ÅÕ Â Ã ã¹»ÃÐà·È½ÃÑ่ § àÈÊ «Ö่ § ໚ ¹ µÍ¹¨º¢Í§¡ÒÃÈÖ ¡ ÉÒ´Ù § ҹ㹵‹ Ò §á´¹ ¤ÃÑ้§¹Õ้¤ÃѺ

ประเทศฝรัง่ เศสเปนผูน าํ ทางเศรษฐกิจลําดับที่ 6 ของโลก อุตสาหกรรมหลักทีส่ าํ คัญ ไดแก อุตสาหกรรมทางดานการขนสง โทรคมนาคม อุตสาหกรรมอาหาร ผลิตภัณฑยา รวมไปถึงภาคธนาคาร การประกันภัย การทองเที่ยว และสินคาฟุมเฟอย (เครื่องหนัง เสื้อผาสําเร็จรูป นํ้าหอม และเหลา) ฝรั่งเศสยังเปนประเทศที่มีโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรมากเปนลําดับ 2 ของโลก รองจากประเทศสหรัฐอเมริกา (104 โรง) โดยสามารถผลิตไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียร คิดเปนประมาณ รอยละ 78 ของปริมาณไฟฟาทั้งหมดที่ผลิตได จากเตาปฏิกรณ นิวเคลียรกวา 59 เครื่องทั่วประเทศ จึงเปนประเทศที่มีคาไฟฟาราคาถูกและสงผลให PB64

March2015 2015 March

สาเหตุ ห ลั ก ที่ ทํ า ให ป ระเทศฝรั่ ง เศสพึ่ ง พาพลั ง งาน นิวเคลียรเปนหลักนัน้ เปนเพราะเมือ่ พ.ศ. 2517 ประเทศ ฝรั่งเศสตองเผชิญกับการขาดแคลนนํ้ามันอยางหนัก โดยการตั ด สิ น ใจของรั ฐ บาลในครั้ ง นั้ น พิ จ ารณาจาก ศั ก ยภาพของประเทศที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในด า น เทคโนโลยี แต ใ นขณะเดี ย วกั น กลั บ ขาดแคลนแหล ง พลังงานในประเทศ โดยฝรัง่ เศสตองนําเขากาซธรรมชาติ จากประเทศเพื่อนบานตาง ๆ อยาง เนเธอรแลนด นอรเวย และรัสเซีย นอกจากนั้นฝรั่งเศสยังนําเขากาซ LNG จากหลายประเทศทั่วโลก เชน แอลจีเรีย ไนจีเรีย กาตาร และอียิปต เปนตน และเพื่อลดการนําเขาแหลง พลั ง งาน แก ป  ญ หาการขาดแคลนทั้ ง นํ้ า มั น และก า ซ ธรรมชาติ ดวยเหตุนี้พลังงานนิวเคลียรจึงถูกพิจารณาวา เปนทางออก สงผลใหมีการสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ขึ้นเปนจํานวนมากทั่วประเทศ ตั้งแตชวงป พ.ศ. 2513 - 2523 จากการตัดสินใจของรัฐบาลฝรั่งเศสในครั้งนั้น ทําใหประเทศมีความมัน่ คงดานพลังงาน มีราคาคาไฟฟา ที่ตํ่ามาก เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในยุโรป และเปน ประเทศทีม่ กี ารปลอยคารบอนไดออกไซดอยูใ นระดับตํา่ อีกดวย แตอยางไรก็ตาม หลังจากเกิดเหตุการณโรงไฟฟาพลังงาน นิวเคลียรฟกุ ชุ มิ ะทีป่ ระเทศญีป่ นุ ใน พ.ศ. 2554 ประชาชน ชาวฝรัง่ เศสเริม่ ตัง้ คําถามกับการพึง่ พาพลังงานนิวเคลียร ของประเทศ โดยหลั ง จากประธานาธิ บ ดี Francois Hollande ไดรับการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2555 ก็เริ่มประกาศ ใชนโยบายพลังงานที่มุงเนนลดสัดสวนการใชพลังงาน นิวเคลียรลง โดยมีเปาหมายแรก คือ การปลดโรงไฟฟา Fessenheim ใหไดใน พ.ศ. 2559 แผนพลังงานไฟฟาฉบับใหมของฝรัง่ เศสตัง้ เปาลดสัดสวน การผลิตไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรลงใหเปน รอยละ 50 ใน พ.ศ. 2568 จากปจจุบนั ประมาณ รอยละ 75 ขณะเดียวกัน จะเพิม่ สัดสวนการใชพลังงานหมุนเวียนใหเปน รอยละ 40 จากปจจุบันประมาณ รอยละ 15 โดยบรรดาพลังงาน หมุนเวียนทัง้ หมดนัน้ พลังนํา้ มีศกั ยภาพสูงทีส่ ดุ เปนแหลง พลังงานที่ใชผลิตไฟฟามากที่สุดเปนลําดับที่ 2 รองจาก พลังงานนิวเคลียร มีการคาดการณวาใน พ.ศ. 2563 ฝรัง่ เศสจะเพิม่ กําลังผลิตจากพลังนํา้ ขึน้ อีก 3,000 เมกะวัตต ซึ่งหากทําไดตามแผน ฝรั่งเศสจะมีกําลังผลิตจากพลังนํ้า รวม 28,500 เมกะวัตต โดยฝรั่งเศสมีกําลังผลิตติดตั้ง ทัง้ หมดประมาณ 128,000 เมกะวัตต หรือประมาณ 4 เทา


ของกําลังผลิตติดตั้งของประเทศไทย และโรง ไฟฟานิวเคลียรทผี่ เู ขียนไดมโี อกาสไดเยีย่ มชม ในครัง้ นี้ ก็คอื โรงไฟฟานิวเคลียร Flamanville 3 ซึ่งตั้งอยูในจังหวัดม็องช (Manche) แควนบัส นอรมอ็ งดี ประเทศฝรัง่ เศส เปนโรงไฟฟานิวเคลียร ที่ใชเทคโนโลยี European Pressurized Water Reactor (EPR) ที่พัฒนารวมกันโดยประเทศ ฝรัง่ เศส (บริษทั EDF และ Areva) และเยอรมนี (บริษัท Siemens) ซึ่งเปนการตอยอดจาก เทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณแบบนํ้าความดันสูง (PWR) ที่ ใช กั น อย า งกว า งขวางในป จ จุ บั น โรงไฟฟาฟลามองวิลล 3 กอสรางบนพืน้ ฐาน การคํานึงถึงนโยบายและทิศทางดานพลังงาน ของประเทศ รวมถึงกลยุทธการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยรวมและไดเริ่มกระบวนการพิจารณารับฟง ความคิดเห็นจากประชาชนจนไดกอสรางใน พ.ศ. 2549 โดยมีกําหนดการเดินเครื่องเชิง พาณิชยใน พ.ศ. 2559 ดังนั้น ขณะที่ผูเขียน ศึกษาเยีย่ มชมอยูน นั้ อาคารตาง ๆ ของโรงไฟฟา กําลังอยูระหวางการกอสรางกันอยางเต็มที่ ดังภาพทีแ่ สดง เชน Reactor building, Nuclear Auxiliary Building, Turbine hall, Operational Service Centre เปนตน เทคโนโลยี EPR นั้น ถือเปนเทคโนโลยีลาสุด ที่พัฒนาตอยอดมาจากโรงไฟฟานิวเคลียรใน ปจจุบนั ใหครอบคลุมรอบดานทัง้ ความปลอดภัย ของโรงไฟฟา การดูแลสิ่งแวดลอม และความ คุม คาเชิงเศรษฐกิจ จึงทําใหโรงไฟฟาฟลามอง วิลล 3 มีความปลอดภัยสูงทีส่ ดุ ตนทุนตํา่ และ ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

นอกจากนี้ เครือ่ งปฏิกรณรนุ ใหม ยั งมี กํ า ลั งผลิ ต ติ ดตั้ งสู งถึ ง 1,650 MW สามารถรองรับความ ตองการใชไฟฟาของประชากร ได ถึ ง 1.5 ล า นคน ทั้ ง ยั ง มี ประสิทธิภาพที่ดีขึ้น สงผลให การใชเชือ้ เพลิงลดลง 17% รวมถึง ลดการปลดปลอยสารเคมีและ กั ม มั น ตรั ง สี สู  ภ ายนอกลงอี ก 30% และดวยการออกแบบที่ดี จึงทําใหโรงไฟฟาฟลามองวิลล 3 สามารถใชงานไดถึง 60 ป การพัฒนาดานความปลอดภัยที่ดียิ่งขึ้นของเทคโนโลยี EPR สามารถลดอัตราการเกิดการ หลอมเหลวทีต่ วั แกนเครือ่ งปฏิกรณ และถึงแมวา จะเกิดเหตุการณขนึ้ ระบบการปองกันการรัว่ ไหล ของสารกัมมันตรังสีที่ออกแบบมาโดยเฉพาะก็จะพรอมทํางานทันที ทั้งการปองกันการสูญเสีย การควบคุมเตาปฏิกรณ การระบายความรอนที่รองรับสถานการณทุกรูปแบบ และขั้นตอนการ ควบคุ ม แรงดั น และอุ ณ หภู มิ ภ ายในอาคารคอนกรี ต ซึ่ ง ป อ งกั น เครื่ อ งปฏิ ก รณ ไว ไ ด อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ การกอสรางโรงไฟฟาฟลามองวิลล 3 ไดสรางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในพืน้ ที่ ทัง้ ภาค ธุรกิจและการจางงานในทองถิน่ ซึง่ นอกจากจะชวยกระจายเม็ดเงินไปสูช มุ ชนผานโครงการดาน สังคมและเศรษฐกิจในปจจุบนั แลว ยังรวมไปถึงการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานทีจ่ าํ เปนสําหรับพืน้ ที่ ใกลเคียงเมื่อโรงไฟฟาดําเนินการกอสรางเสร็จในอนาคตอีกดวย

“สําหรับในบานเราแลว เรื่องโรงไฟฟานิวเคลียรยังคงเปนเรื่องที่จําเปนตองสรางความรู ความเขาใจกับผูที่มีสวนไดสวนเสียอีกมาก และตองใชเวลาอีกนานพอสมควร แตอยางไร ก็ตาม โรงไฟฟานิวเคลียรกถ็ อื วาเปนโรงไฟฟาประเภทหนึง่ ทีม่ กี ารใชงานกันอยางแพรหลาย ในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวทีม่ ศี กั ยภาพทัง้ ในเชิงประสิทธิภาพและความมัน่ คงของระบบ รวมถึง มีตนทุนราคาไฟฟาที่สามารถแขงขันไดกับเชื้อเพลิงชนิดอื่น นอกจากนั้นแลวยังถือเปน โรงไฟฟาประเภท No CO2 emission อีกดวย” March2015 2015 65PB March


Greenhouse Gas Management

ดร.ณัฐริกา วายุภาพ นิติพน รองผู้อำานวยการ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

โลกก�ำลังมุง่ หน้ำสูก่ ำรจัดท�ำ

“ข้อตกลงโลกร้อนฉบับใหม่” และ iNDC

ประเด็นทีก่ ำ� ลังเป็นทีก่ ล่ำวขวัญถึงในระดับ นำนำชำติเกีย่ วกับเรือ่ งโลกร้อนในปัจจุบนั แบบทีเ่ รียกว่ำเป็น Talk of the world นับว่ำ ใหญ่กว่ำทอล์คออฟเดอะทำวน์มำกนัก คงไม่มเี รือ่ งใดร้อนแรงเกินไปกว่ำ (1) การเจรจาระหว่างประเทศภายใต้ อนุสญ ั ญาโลกร้อน หรืออนุสญ ั ญา UNFCCC เพือ่ ให้ได้มาซึง่ “ข้อตกลงโลกร้อนฉบับใหม่” ที่จะใช้กับทุกรัฐภาคี ภายหลัง ค.ศ. 2020 ปัจจุบันเรียกว่า The 2015 Agreement กับ (2) การที่อนุสัญญาฯ ได้เชื้อเชิญ ให้ประเทศภาคีทั้งหลาย 194 ประเทศ ส่ง “ข้อมูลแสดงเจตจ�ำนง ควำมตั้งใจร่วม ด�ำเนินงำนต่อสู้โลกร้อน ในช่วงหลังปี ค.ศ. 2020” ปัจจุบัน เรียกว่า Intended Nationally Determined Contributions หรือ INDCs มายังส�านักเลขาธิการอนุสญ ั ญาฯ

วั น นี้ จึ ง ขอเล่ า เรื่ อ งที่ ส ามของไตรภาคที่ ขอสรุปให้ท่านเห็นภาพก่อนว่า ภำคแรก (ฉบับมกราคม 2558) กล่าวถึง “อะไรคือ เป้าหมายโลก 2 องศาเซลเซียส (2 Degrees Scenario) และจากปัจจุบนั ไปจนถึง ค.ศ. 2100 เมื่อสิ้นศตวรรษที่ 21 โลกต้องการลดก๊าซ เรือนกระจกลงเท่าใด ในการทีจ่ ะรักษาอุณหภูมิ โลกมิให้เพิ่มขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส?” ภำคสอง (ฉบับกุมภาพันธ์ 2558) คือ “เพื่อ ลดปัญหาโลกร้อน และบรรลุเป้าหมายโลก 2 องศานั้น ประชาคมโลกต้องท�าอะไรบ้าง นับจากปีนี้ ไปจนถึง ปี ค.ศ. 2020 (Pre2020)” และ ภำคสำม (ฉบับมีนาคม 2558) คือ “ประชาคมโลกต้องร่วมกันท�าอย่างไรบ้าง นับจาก ปี ค.ศ. 2020 เป็นต้นไป (Post-2020) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายโลก 2 องศา” พอเห็นภาพการด�าเนินงานของทุกประเทศในโลก “ในระยะเวลำที่แตกต่ำงกัน” แล้ว ใช่ไหมคะ ดังนั้นจะเห็นว่าการด�าเนินงานที่คู่ขนานกันไป คือ ผู้แทนประเทศต่าง ๆ จาก 194 ประเทศ จะต้องท�างานอย่างหนักในปี 2015 เพื่อเจรจาให้เกิดข้อตกลงใหม่ของโลก ที่จะมีผลผูกพันทางกฎหมาย (Legally binding) กับทุกประเทศให้ต้องด�าเนินการตามนั้น ภายหลัง ปี 2020 ซึ่งปัจจุบันยังต้องเจรจากันทั้งในบริบทเนื้อหาของกฎหมายนั้น และรูปแบบของกฎหมาย อีกด้วย ท่านลองนึกภาพตามดูนะคะว่า การเขียนกฎหมายขึน้ มาฉบับหนึง่ คงต้องมีคา� นิยาม บทต่าง ๆ และมาตราต่าง ๆ ข้อตกลงใหม่ที่บ้างก็เรียกว่า The 2015 Agreement หรือ The Paris Agreement ที่คาดว่าจะมีหน้าตาในท�านองเดียวกันค่ะ ซึ่งจากการประชุม สมัชชาภาคีอนุสัญญาฯ สมัยที่ 20 ณ กรุงลิม่า ประเทศเปรู ในเดือนธันวาคม 2557 นั้น ได้มีข้อตัดสินใจเป็น Lima Call for Climate Action ที่ได้ “องค์ประกอบ” ออกมาแล้วว่า ข้อตกลงใหม่จะมีองค์ประกอบส�าคัญ ๆ อาทิ ประเด็นที่ว่าด้วยการลดก๊าซเรือนกระจก การปรับตัวต่อผลกระทบโลกร้อน การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การเสริมสร้างศักยภาพ ให้กับประเทศก�าลังพัฒนา ตลอดจนการสนับสนุนทางการเงินและเทคโนโลยีให้กับประเทศ ก�าลังพัฒนา เป็นต้น ล่าสุด สดๆ ร้อนๆ จากการเจรจาโลกร้อนในรอบถัดมา คือ เมือ่ วันที ่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 ณ กรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ นับว่าการเจรจาคืบหน้าไปอีกขั้นหนึ่ง ที่ประเทศภาคีทั้ง 194 ประเทศ ได้ตกลงกันเกีย่ วกับเอกสารเจรจา หรือ Negotiating Text ขึน้ มาแล้วค่ะ (เป็นเอกสาร จ�านวน 86 หน้ากระดาษ) เพื่อที่จะใช้เอกสารนี้ส�าหรับด�าเนินการเจรจาต่อในปีนี้ อีก 3 รอบ คือ ในเดือนมิถุนายน กันยายน และตุลาคม 2558 ก่อนที่จะถึงรอบไฟนัล คือ พยายามให้

6666

March March2015 2015


Special report ทุกประเทศภาคีรับรองข้อตกลงฉบับนี้ให้ได้ อย่างเป็นเอกฉันท์ ในสมัยประชุมที่ 21 หรือ COP 21 ในเดือนธันวาคม 2558 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และนอกจาก “ข้อตกลง ฉบับใหม่” ทีอ่ ยูร่ ะหว่างก่อร่างสร้างตัวอย่าง เข้มข้นอยูน่ นั้ ยังมีสงิ่ ส�าคัญอีกประการหนึง่ ที่ จ ะต้ องกล่ า วถึ ง คื อ “ข้อมูล iNDC” ที่ ประเทศภาคีต่าง ๆ ร่วมแสดงเจตจ�านงว่า มีความตั้งใจจะร่วมด�าเนินงานต่อสู้โลกร้อน ในช่วงหลัง ปี 2020 (Post-2020) อย่างไร ก็ตาม พ่วงติดไว้กับข้อตกลงฉบับใหม่ด้วย ดังนั้นเมื่อผู้แทนประเทศทั้งหลายกลับไปถึงบ้าน ก็จะต้องรีบเร่ง เตรียมการจัดท�า “ข้อมูลเจตจ�ำนง Post-2020” ปัจจุบัน เรียกว่า “Intended Nationally Determined Contribution หรือ iNDC” ภายในประเทศของตนอีกด้วย เนื่องจากในระยะหนึ่งปีที่ผ่านมา อนุสัญญาฯได้เชิญชวนให้ประเทศภาคีทั้งหลายส่งแสดงเจตจ�านง iNDC นี้ มายังส�านักเลขาธิการอนุสัญญาฯ ภายในสิ้นสุดไตรมาส แรกของ ปี 2015 หรือภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2558 ค่ะ ฟังดูแล้วก็ นับเป็นงานที่หนักหนามิใช่น้อยเลยทีเดียว เพราะหากลองค�านวณคร่าว ๆ ว่าประเทศไทยจะส่งแสดงเจตจ�านงว่าจะลดก๊าซเรือนกระจกลง ปริมาณสักเท่าใดภายหลังปี 2020 โดยควรจะเป็นตัวเลขทีแ่ สดงความโปร่งใสและอธิบายได้วา่ ปริมาณก๊าซฯที่จะลดลงนั้น คิดนับจากค่าอ้างอิงปีไหน (Reference pointi.e.a base year) ประเทศไทยมีแผนจะลดก๊าซเรือนกระจกลงในอนาคตอย่างไร มีสมมติฐานและวิธีการ ค�านวณอย่างไร รวมทั้ง ใน iNDC ควรระบุด้วยว่า ข้อมูลเจตจ�านงที่ส่งเสนอนั้นมีความ ครอบคลุมอย่างไร (อาทิ ครอบคลุมถึงก๊าซเรือนกระจกชนิดไหนบ้าง สาขาการปล่อยใดบ้าง เป็นต้น) เพียงเท่านี้ ก็นับว่าเป็นเรื่องที่ยากมิใช่น้อยเลย เพราะเมื่อส่ง “ข้อมูล” ไปแล้ว ข้อมูลนั้นจะ ไปประกอบร่างกับ “ข้อตกลงใหม่ทมี่ ผี ลผูกพันทำงกฎหมำยกับทุกประเทศภำคี” อย่างไร เรียกว่า เป็นเรื่องที่หนักส�าหรับผู้แทนของทุกประเทศที่ต้องเข้าร่วมอยู่ในกระบวนการ วางแผนและด�าเนินงานมิใช่น้อย

ฉบับนี้ ดิฉันจึงอยากทิ้งท้ายว่า แม้ปัจจุบัน จะยังไม่ชัดเจนนักว่า ข้อตกลงใหม่ฉบับนี้ จะมีลกั ษณะทางกฎหมายเช่นใด ไม่วา่ จะเป็น “พิ ธี สำร (Protocol)” ฉบับ ใหม่ หรือ “ตรำสำรกฎหมำย (Legal instrument)” หรือ “ข้อตกลงที่มีผลผูกพันทำงกฎหมำย (Agreed outcomes with legal force)” ก็ตาม แต่สิ่งหนึ่งที่มีความชัดเจนแล้ว ก็คือ “ทิศทำงของกำรต่อสู้กับวิกฤติโลกร้อน” จะทวีความเข้มข้นขึน้ และทุกประเทศทัว่ โลก จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบและด�าเนินงาน กันมากขึ้นอย่างแน่นอนค่ะ

ซึ่งในส่วนของประเทศไทยมีหน่วยงานที่มีส่วนร่วมในกระบวนการด�าเนินงานและเจรจา หน่วยงานหลัก คือ ส�ำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) ในฐานะหน่วยงานกลางอนุสญ ั ญาฯ ของประเทศไทย (National Focal Point) และมีหน่วยงาน ที่สนับสนุนเรื่องต่าง ๆ นับตั้งแต่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม องค์การบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก) กระทรวงการต่างประเทศ (กรมองค์การระหว่างประเทศ กรมสนธิ สัญญาและกฎหมาย) กระทรวงพลังงาน (สนพ. พพ. กฟผ.) กระทรวงคมนาคม (สนข.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวทน.) รวมทั้ง ภาคเอกชน ซึ่งมีผู้แทนจาก กกร. สภาหอการค้าฯ และสภาอุตสาหกรรมฯ เข้าร่วมอีกด้วย March March2015 2015 6767


Green Building

Bangkok Tree House ³ ÃÔÁ½˜›§áÁ‹¹ํ้Ò਌ҾÃÐÂÒ ã¤Ã¨Ðàª×่ÍÇ‹ÒÁÕâçáÃÁàÅ็¡ÍÂÙ‹·‹ÒÁ¡ÅÒ§ÇÔ¶ÕªÕÇÔµ¢Í§ªÒǺŒÒ¹ «Ö่§ÍҨ໚¹Ê¶Ò¹·Õ่·Õ่·ํÒãËŒÇѹ¾Ñ¡¼‹Í¹ ¢Í§ã¤ÃËÅÒÂ æ ¤¹ ¡ÅÒÂ໚¹Çѹ·Õ่áʹÇÔàÈɨ¹·ํÒãËŒËŧãËšѺàʹ‹Ë ¢Í§¸ÃÃÁªÒµÔ ¹Ñº Ç‹Ò໚¹¡ÒÃà¾Ô่Á¡ํÒäÃãËŒªÕÇÔµ ãËŒ¡Ñºµ¹àͧ

“บางกอก ทรี เฮาส” โรงแรมขนาดเล็ก บนเนื้อที่ 1 ไรเศษ สถานทีแ่ หงนีไ้ ดชอื่ วาเปน “ปอดแหงหนึง่ ในเมืองหลวง” ทีไ่ ดชอื่ นีเ้ นือ่ งจาก ผูค นทีเ่ หน็ดเหนือ่ ย กับการทํางาน ตองมาพักผอนที่นี่เพื่อใหธรรมชาติ บําบัด เติมพลังและแรงบันดาลใจใหกบั ชีวติ เพราะ โรงแรมแหงนี้ ถูกรายลอมดวยตนไมนานาพรรณ พรอมกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ชวนหลงใหล จึงเปนอีกสถานที่หนึ่งนาสนใจยิ่งนัก นอกจากการ ออกแบบที่โดดเดน สวยงามแลว ยังไดออกแบบ ใหประหยัดพลังงาน สรางความสมดุลใหกับระบบ นิเวศนและเปนมิตรตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อีกดวย

68

March 2015


การก่อสร้างของ บางกอก ทรี เฮ้าส์ เน้นวิถีธรรมชาติอย่างแท้จริง ตามลักษณะภูมิประเทศไม่สามารถน�ารถใหญ่เข้ามาได้ ใช้แรงงานคนและ วัสดุประเภทไม้ในการก่อสร้าง โดยได้น�าไม้เก่าที่ใช้แล้วมาสร้างเป็นตัว ที่พักและพื้นโดยเสริมโครงสร้างภายในเป็นเหล็ก พร้อมกับใช้ผนังซีเมนต์ บอร์ด โดยไม่ต้องก่ออิฐและปูน ใช้เวลาในการก่อสร้าง 2 ปี สร้างตั้งแต่ ปี 2553 เปิดให้บริการปี 2555 กลุ่มลูกค้าหลักจะเป็นลูกค้าชาวต่างชาติ เข้ามาใช้บริการเป็นจ�านวนมาก เพราะเสน่หอ์ าหารรสเลิศและการก่อสร้าง ที่ไม่เหมือนใครนั่นเอง รูปแบบการก่อสร้าง ได้มีการจัดวางบ้านพักเป็นแนวทแยงชนกันในพื้นที่ ตามแนวยาวของแม่นา�้ อาศัยทิศทางแดดและทิศทางลมเป็นหลัก จะสังเกต เห็นว่าอาคารหันหน้าให้กับแม่น้าเจ้าพระยา ซึ่งเป็นทิศตะวันออก เพื่อให้ บ้านบังแสงแดดให้แก่กัน และบริเวณรอบ ๆ โรงแรมมีต้นไม้ที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ จึงท�าให้มบี รรยากาศทีร่ ม่ รืน่ ประกอบกับได้มกี ารออกแบบ สร้างบ้านพักในลักษณะโปร่ง เพียงแค่เปิดประตูหอ้ งเอาไว้ สายลมก็จะพัด เข้าไปในตัวบ้าน ท�าให้มีอากาศที่เย็นสบายและได้สัมผัสกับกลิ่นไอของ ธรรมชาติอย่างแท้จริง ภายในบ้านพักแต่ละหลังจะมีเครื่องปรับอากาศไว้ ในห้องนอนเท่านั้น นอกจากนี้ วัสดุทตี่ กแต่งเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ การทีต่ กแต่งด้วยไม้ไผ่ ท�าเพือ่ ให้เป็นฉนวนกันความร้อนไปในตัวและสามารถตกแต่งด้วยไม้แขวน ขนาดเล็กได้อีกชั้นหนึ่ง ช่วยลดการท�างานของเครื่องปรับอากาศและค่า ไฟฟ้าได้อีกช่องทาง ตามคอนเซ็ปการก่อสร้างที่วางไว้ คือ การสร้างความ โดดเด่น และกลมกลืนกับธรรมชาติ เช่น การสร้างร้านอาหารจะสร้างแบบเปิดโล่งทั้งหมด ท�าให้ไม่ร้อนและอากาศสามารถถ่ายเทได้สะดวก บ้านพักที่เป็นสไตล์ครอบครัวสร้างให้รับ กับแสงแดด แต่ใช้วัสดุธรรมชาติเข้ามาช่วยคลายความร้อน ด้วยการน�าไม้ไผ่มาบังแดด ซึ่งไม้ไผ่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อน สามารถป้องกันความร้อนและรังสี UV ได้ เป็นอย่างดี การประหยัดพลังงานเป็นการช่วยสิ่งแวดล้อม ประหยัดค่าใช้จ่าย และเป็นการรักษาความ สมดุลให้กับระบบนิเวศน์ โดยใช้ธรรมชาติเข้ามามีส่วนช่วย พร้อมกับเปลี่ยนระบบแสงสว่าง

ทั้งหมดเป็นหลอดไฟ LED และบริเวณทาง เดินใช้หลอดไฟพลังงานแสงอาทิตย์ อีกทัง้ ยัง เสริมด้วยระบบผลิตพลังงานจากกังหันลม เพื่อช่วยในเรื่องประหยัดพลังงาน ท�างาน ควบคู่กับแผงโซลาร์เซลล์ เพื่อน�าไฟมาช่วย ในเรื่ อ งของแสงสว่ า งภายในรี ส อร์ ท และ เครื่องท�าน�้าร้อนในบ้านพักทุกหลัง สามารถ ประหยัดค่าไฟฟ้าได้หลายเท่าตัว

March 2015 69


Green Building วิถีธรรมชาติ ซึ่งในอดีตมนุษย์จะเดินทาง ด้วยการเดินหรือจักรยาน รวมถึงล็อบบี้ไม่มี เครื่ อ งปรั บ อากาศท� า ให้ ป ระหยั ด ได้ ม าก รวมถึ ง แนวคิ ด ที่ อ อกแบบสร้ า งมาช่ ว ย ประหยัดพลังงานได้ดีทีเดียว ความแปลก โดดเด่น ไม่เหมือนใคร คือการ ออกแบบบันไดให้เป็นบันไดสลับ เพื่อเพิ่ม พื้นที่ใต้บันไดให้กับบ้านพัก เพิ่มความชัน เนื่องจากพื้นที่ในบ้านมีพื้นที่จ�ากัดจึงต้องใช้ พื้นที่อย่างคุ้มค่า โดยใช้พื้นที่ใต้บันไดเป็น ตูเ้ สือ้ ผ้า สะดวกในการเดินขึน้ เดินลง สามารถ ขึ้ น ไปอาบแดดตอนกลางวั น และดู ด าวที่ ดาดฟ้าได้ในเวลากลางคืน

การสร้างห้องมีเว้นช่วงไว้ 1 - 2 ช่อง เพื่อให้ลมสามารถเข้าได้และอากาศถ่ายเทได้สะดวก โดยห้องพักทุกหลังจะมี 3 ชั้น ชั้นล่างเป็นล็อบบี้เล็กๆ ห้องน�้า และพื้นที่ส�าหรับแต่งตัว ชั้นสองเป็นห้องนอน ด้านนอกมีระเบียงเล็กๆ และมีบันไดทางขึ้นชั้นดาดฟ้า ประดับด้วย ต้นไม้ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ทางรีสอร์ทปลูกแค่ตามทางเดินและผนังอาคารเท่านั้น ปัญหาทีพ่ บมาตลอดคือ ขยะทีล่ อยมาตามแม่นา�้ เข้ามาในบริเวณรีสอร์ทเป็นจ�านวนมาก จึงได้ มีวิธีการแก้ไขปัญหาโดยการเก็บขยะและใช้ตาข่ายล้อมพื้นที่บริเวณรอบ ๆ รีสอร์ท เพื่อให้ ต้นไม้มีพื้นที่ในการเจริญเติบโต และแพร่ขยายมากขึ้น บนเนื้อที่ประมาณ 1 ไร่เศษ สามารถสร้างเติมเต็มพื้นที่ด้วยบ้านพัก 10 หลัง ห้องแฟมิลี่ มี 1 หลัง พักได้ 4 คน มี 2 ห้อง การสร้างไม่มีเตียงใช้เป็นพื้นยกระดับสูงขึ้นมาและน�าที่นอน มาวาง สร้างโดยใช้ธีมแมลงตกแต่งอยู่หลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ผึ้ง ผีเสื้อ มด และหิ่งห้อย โดยสือ่ เพือ่ ให้มองเห็นประโยชน์ของแมลง สร้างจิตส�านึกและย�า้ เตือนมนุษย์ให้ชว่ ยกันรักษา ความสมดุลให้ระบบนิเวศน์ อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยห้องแฟมิลี่ใช้กระจก สะท้อนความร้อนและมีการเพิ่มมิติด้วยกระจกที่สะท้อนความเขียวชอุ่มเข้าไปในตัวบ้าน เพื่อลดอุณหภูมิ ภายในห้องได้เลือกใช้ไม้ไผ่น�ามาบังแสงแดด ในส่วนของฝ้าเพดานมีการใช้ ฉนวนกันรั่วซึม และกันความร้อน ยกระดับเพดานสูงขึ้นให้มีช่องว่าง เพื่อช่วยระบาย ความร้อน ความพิเศษของที่นี่อีกอย่างหนึ่งคือ ไม่มีตู้เย็นภายในบ้านพัก แต่จะมีตู้เย็นส่วนกลางไว้ หนึง่ เครือ่ ง เป็นแนวคิดช่วยประหยัดพลังงานจาก 10 เครือ่ ง เหลือ 1 เครือ่ ง โดยผูท้ มี่ าพักผ่อน สามารถมาหยิบน�้าไปดื่มได้อย่างไม่จ�ากัด และยังเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้กับผู้ที่มา พักผ่อน มีจักรยานส่งเสริมการประหยัดพลังงานและส่งเสริมการออกก�าลังกาย เพื่อเข้าถึง 70

March 2015

ห้อง View with a room เป็นห้องพิเศษที่ ไม่มีเพดาน ไม่มีผนัง มีแต่พื้นและที่นอน มุ้ง จุดเทียนและดอกไม้ เป็นห้องโรเมนติก เหมาะกับคูร่ กั และการถ่ายพรีเวดดิง้ ใช้ตน้ ไม้ เป็นส่วนประกอบในการประดับผนัง ได้แก่ ตันเดฟ สับปะรดสี และสายทับทิม ซึ่งเป็น พืชที่ทนต่อความร้อน ต้องคอยดูแลเป็น อย่างดี ห้องน�า้ สามารถเปิดรับลมได้ สามารถ มองเห็นทิวทัศน์รอบ ๆ ที่มีความสวยงาม บวกกับห้องน�้า-ห้องสุขาเป็นแบบเปิดโล่ง เครื่ อ งใช้ ภ ายในห้ อ งน�้ า ทั้ ง ครี ม อาบน�้ า ยาสระผม สกั ด จากวั ต ถุ ดิ บ ธรรมชาติ โดยได้รับมาจากชุมชนในละแวกใกล้เคียง เช่น ยาสระผมมะกรูด ครีมอาบน�้ามะเฟือง เป็นต้น ถื อ เป็ น อี ก หนึ่ ง สถานที่ พั ก ผ่ อ นที่ เ น้ น วิ ถี ธรรมชาติอย่างแท้จริง ที่ส�าคัญไม่ไกลจาก กรุงเทพมหานครมากนัก ผู้ที่สนใจอยากหนี ความวุ่นวายภายในเมือ ง ลองไปสัมผัส กันได้ที่ “บางกอก ทรี เฮ้าส์” 60 หมู่ที่ 1 ถนนเพชรหึงษ์ ต�าบลบางน�้าผึ้ง อ�าเภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 10130 โทรศัพท์ 0-2995-1150

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



Green Industrial

อภัอภั สรา สราวัลวัลิลภลิผล ภผล

ติดตั้งดาตาเซ็นเตอร

ขานรับ เออีซี ใชบริการ จาก ชไนเดอร อิเล็คทริค

ºÃÔÉÑ· äÍÍÒà ¾Õ«Õ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ໚¹¼ÙŒ»ÃСͺ ¡ÒÃÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁ» â µÃà¤ÁÕ ¤ úǧ¨ÃáË‹ § áá ¢Í§ÀÙ ÁÔ À Ò¤àÍàªÕ  µÐÇÑ ¹ ÍÍ¡à©Õ  §ãµŒ à ´Ô ¹ ˹Œ Ò à¾Ô่Á»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾´ÒµŒÒà«็¹àµÍà à¾×่Í¡Ò÷ํÒ§Ò¹ ·Õ่ÊÁºÙó Ẻ ÃͧÃѺ¡ÒâÂÒµÑǢͧ¸ØáԨ ºÃÔ ÉÑ · äÍÍÒà ¾Õ «Õ ¨ํ Ò ¡Ñ ´ (ÁËÒª¹) à¾×่ Í ãËŒ ¡ÒûÃÐÁÇżÅáÅЧҹºÃÔ¡ÒôŒÒ¹¢ŒÍÁÙŵ‹Ò§ æ ã¹Ãкº´ํÒà¹Ô¹ä»Í‹ҧÃ×่¹äËÅ äÁ‹Êдش ·Õ่ÊํÒ¤ÑÞ ÂÑ § ª‹ Ç ÂµÍºâ¨·Â ´ Œ Ò ¹¡ÒúÃÔ Ë ÒÃ¨Ñ ´ ¡Òà áÅÐ㪌 ¾ ÅÑ § §Ò¹Í‹ Ò §ÁÕ » ÃÐÊÔ · ¸Ô À Ò¾ ÍÕ ¡ ·Ñ้ § ÂÑ § ª‹Ç»ÃÐËÂÑ´¤‹Ò㪌¨‹ÒÂ䴌໚¹Í‹ҧ´ÕàÂÕ่ÂÁ â´Â “¤Ø³ÊØÇÃó ÈÃÕ¹ÇÅ” ¼ÙŒ¨Ñ´¡Òý†ÒÂà·¤â¹âÅÂÕ ÊÒÃʹà·È ºÃÔÉÑ· äÍÍÒà ¾Õ«Õ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ä´ŒãËŒ¢ŒÍÁÙÅà¡Õ่ÂǡѺ¡ÒõԴµÑ้§´ÒµŒÒà«็¹àµÍà NjÒ

ทางบริ ษัท ฯ ได จัด วางแนวทางการดํ า เนิ นธุ ร กิ จ ไปในทิ ศ ทางเดี ยวกั น ภายใต แนวคิ ด Big, Long, Strong โดยมุงเนนสรางการเติบโตใหกับธุรกิจ (Big) พัฒนาโรงกลั่นปโตรเคมี แบบครบวงจรไปพรอมกับการดําเนินธุรกิจแบบยั่งยืน (Long) และตองมีผลการดําเนินงาน ที่แข็งแกรง (Strong) โดยมีเปาหมายคือ การสรางผลตอบแทนของเงินลงทุน (Return on Investment Capital) เพื่อให ไออารพีซี เปนบริษัทที่มีผลกําไรอยูในอันดับตน ๆ ของ บริษัทแม ปตท.

ทํ าใหบ ริษัทฯ ตอ งเพิ่มประสิทธิภาพของ ดาตาเซ็นเตอรใหสามารถรองรับการเติบโต ที่ จ ะตามมา ซึ่ ง วิ ธี ก ารที่ ดี ที่ สุ ด เร็ ว ที่ สุ ด และประหยัดคาใชจายมากที่สุด คือ การ ปรั บ ปรุ ง ดาต า เซ็ น เตอร ที่ ใช ง านอยู  ใ ห สามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งในขณะเดียวกัน เพื่อเปนการตอบโจทย ดังนั้น ไออารพีซี จึงตองดําเนินการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทุกภาคสวน หนึ่งในภารกิจสําคัญ นโยบายในเชิงธุรกิจไปพรอมกัน สิง่ ทีจ่ าํ เปน ของฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพดาตาเซ็นเตอรใหสามารถรองรับ ที่ตองทําควบคูไปกับการเพิ่มประสิทธิภาพ การเติบโตของของขอมูลที่จะหลั่งไหลเขามายังระบบในปริมาณมากจากการขยายตัวของ ของดาตาเซ็นเตอร คือการควบคุมคาใชจาย ธุรกิจ ทั้งนี้ ประมาณการวา จํานวนขอมูลที่จะมีการขยายตัวนาจะสูงถึง 10 เปอรเซ็นตตอป ไดดียิ่งขึ้น ทางไออารพีซีจึงไดมีการปรึกษา กับทีมประเมินประสิทธิภาพดาตา เซ็นเตอรของ ชไนเดอร อิเล็คทริค (Data Center Assessment Service) ในฐานะบริษทั ชัน้ นําดานการจัดการ ดาตาเซ็นเตอร ซึง่ มีทมี งานทีม่ คี วาม เชี่ยวชาญทั้งดานไอทีและดานการ จัดการพลังงาน และมีเทคโนโลยี ลํ้าหนาในการทําการประเมินและ ตรวจสอบ เพื่ อ ช ว ยให บ ริ ษั ท ฯ สามารถบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพดาต า เซ็ น เตอร และลดคาใชจายในการดําเนินการ ลงได คุณสุวรรณ ศรีนวล

72

February 2015


ดาน “คุณรังสิมันตุ มีสวัสดิ์” ผูอํานวยการ แผนกบริ ก าร ฝายธุร กิจไอที ชไนเดอร อิเล็คทริค ประเทศไทย เลาถึงประสิทธิภาพ ของดาตาเซ็นเตอรตัวนี้วา บริการประเมิน ประสิ ท ธิ ภ าพดาตาเซ็น เตอร หรือ Data Center Assessment Service เปนบริการ ที่ชวยใหผูดูแลดาตาเซ็นเตอรสามารถรับรู และทําความเขาใจถึงประสิทธิภาพการทํางาน ของดาตาเซ็นเตอรที่เปนอยู ณ ปจจุบัน พรอมกับนําเสนอขอมูลเพื่อสนับสนุนการ ตั ด สิ น ใจในการปรั บ ปรุ ง ดาต า เซ็ น เตอร ให ทํ า งานได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น โดยชวยตรวจสอบและประเมินโครงสราง และการทํางานของอุปกรณพื้นฐาน รวมถึง ปจจัยหลักที่เกี่ยวของ ไดแก อุปกรณแหลง จายไฟสํารองฉุกเฉิน ระบบจัดการและทํา ความเย็น ระบบตรวจวัดตาง ๆ โครงสราง การจัดวางอุปกรณในหอง และประสิทธิภาพ การใชพลังงานของดาตาเซ็นเตอร ที่ชวยให ผูจ ดั การดาตาเซ็นเตอร ไดทราบถึงประสิทธิภาพ การทํางานของอุปกรณตาง ๆ โดยอางอิง และเปรียบเทียบตามมาตรฐานอุตสาหกรรม การบริการดังกลาวมุงเนนเรื่องการปรับปรุง ประสิทธิภาพการทํางานใหดีขึ้น ชวยใหผู จัดการดาตาเซ็นเตอรมนั่ ใจไดถงึ ความพรอม ทํ า งานของดาต า เซ็ น เตอร ใ นระดั บ สู ง สุ ด ซึ่งบริการนี้ชวยใหผูที่ดูแลดาตาเซ็นเตอร เขาใจถึงประสิทธิภาพของดาตาเซ็นเตอร ในปจจุบนั และมีขอ มูลสนับสนุนการตัดสินใจ เพื่อปรับปรุงดาตาเซ็นเตอร ขอเสนอแนะ ที่ไดจากบริการ Data Center Assessment ของชไนเดอร อิเล็คทริค จะชวยใหผูดูแล ดาตาเซ็นเตอรจัดลําดับความสําคัญในการ ปรับปรุงดาตาเซ็นเตอรใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น สามารถวางแผนจัดการงบประมาณ ไดดียิ่งขึ้น และทายสุดจะชวยใหใชพลังงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ลดคาใชจาย ในการดํ า เนิ นงานสว นตาง ๆ ไดอีก ดว ย ทั้งยังชวยใหมืออาชีพที่ดูแลดาตาเซ็นเตอร สามารถเลือกใชบริการบางรายการไดตาม ความตองการเฉพาะสวน เพือ่ ใหบรรลุเปาหมาย ในการปรับปรุง อีกทั้งยังตอบสนองความ

คุณรังสิมันตุ มีสวัสดิ์

ตองการทางธุรกิจ และเปาหมายทางการเงิน ทั้งนี้การเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล จํานวนมากมายดังกลาวจะดําเนินการโดยผูเชี่ยวชาญจาก ชไนเดอร อิเล็คทริค ที่ผานการ อบรมและรับรอง และทีมงานที่ปรึกษาดาตาเซ็นเตอรมืออาชีพจากชไนเดอร อิเล็คทริค ที่มีความเชี่ยวชาญทั้งดานการออกแบบการปฏิบัติการและการจัดการพลังงาน จะเปนผู รวบรวมและวิเคราะหขอมูลดังกลาว ทั้งนี้ รายงานสมบูรณแบบที่ไดจากการประเมินจะให ขอเสนอแนะที่เปนกลาง พรอมรายละเอียดประกอบในรูปแบบกราฟฟกตาง ๆ อีกทั้งยัง วิเคราะหเปรียบเทียบอางอิงตามมาตรฐานสากล โดยขอเสนอหรือแนวทางในการปรับปรุง ดังกลาวจะชวยใหดาตาเซ็นเตอรมีความพรอมทํางานในระดับสูงสุด รวมถึงชวยประหยัด คาใชจายไดตามที่ประเมิน และชวยวิเคราะหผลตอบแทนจากการลงทุนได นอกจากนี้ ผลลั พ ธ ร วมถึ ง ข อ เสนอแนะสามารถอ า งอิ ง ตามมาตรฐานสากลและเปรี ย บเที ย บ ประสิทธิภาพในระดับอุตสาหกรรมได โดยขอมูลนี้จะใชเปนตัวกําหนดจุดอางอิงในการ กําหนดเปาหมายการปรับปรุงในแตละขั้น เพื่อใหเกิดความชัดเจนของผลที่จะไดรับใน แตละขั้น ทั้งในดานความพรอมใชงาน ความนาเชื่อถือ ประสิทธิภาพสูงสุดอยางยั่งยืน

February 2015 73


Green Industrial อภัสรา วัลลิภผล

และในการประเมินประสิทธิภาพด้าต้าเซ็นเตอร์ของไออาร์พซี ี ทางทีมประเมินของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ใช้เวลาเพียง 2 สัปดาห์เท่านัน้ ในการประเมินสภาพแวดล้อมภายในดาต้าเซ็นเตอร์ พร้อมทัง้ หาโซลูชนั่ เพือ่ มาตอบโจทย์ความต้องการของเราได้ ซึง่ ถือว่ารวดเร็วมากกับการเพิม่ ศักยภาพของดาต้าเซ็นเตอร์ภายในระยะเวลาอันสั้น อีกทั้งยังช่วยให้ไออาร์พีซี สามารถ วางแผนจัดการงบประมาณในส่วนของดาต้าเซ็นเตอร์ได้ดียิ่งขึ้น ช่วยให้ใช้พลังงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพสูงสุด จากเดิมเรามีการใช้แอร์ในการท�าความเย็นในห้องดาต้าเซ็นเตอร์ถึง 3 ตัว เพื่อส่งผ่านความเย็นไปยังตู้ เซิร์ฟเวอร์ต่าง ๆ เพื่อให้อุปกรณ์ไอทีไม่เกิดความร้อน เกินไปจนระบบล่ม ซึ่งโดยปกติระบบท�าความเย็นนี้นับเป็นส่วนที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามากที่สุด ในดาต้าเซ็นเตอร์ ปัจจุบัน หลังจากที่ได้มีการประเมินและวางระบบใหม่โดย ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ท�าให้เราสามารถลดการใช้แอร์ลงเหลือแค่เพียง 1 ตัวในการท�าความเย็น เท่านั้น ท�าให้ช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าในระบบท�าความเย็นได้ถึง 66% เลยทีเดียว นับเป็น การช่วยลดต้นทุนการใช้พลังงานที่สามารถวัดผลได้ในระยะเวลาอันสั้นเพียง 1 เดือนเท่านั้น สามารถตอบสนองความต้องการทางธุรกิจและเป้าหมายในแง่นโยบายทางการเงินได้ อย่างดี ทั้งนี้ ไออาร์พีซี เป็นองค์กรอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขนาดใหญ่ที่เล็งเห็นความส�าคัญด้าน การเพิม่ ประสิทธิภาพด้านไอทีภายในองค์กร โดยใช้ทรัพยากรด้านไอทีทมี่ อี ยูใ่ ห้เกิดประโยชน์ สูงสุด และทีส่ า� คัญลดการใช้พลังงานทีส่ นิ้ เปลืองโดยเปล่าประโยชน์ แม้จะเป็นผูผ้ ลิตพลังงาน เองก็ตาม

74

February 2015


Open House อภัสรา วัลลิภผล

ºÃÔÉÑ· à¾ÒàÇÍà â«ÅÙªÑ่¹ à·¤â¹âÅÂÕ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ËÃ×Í PSTC ¡‹ÍµÑ้§àÁ×่ÍÇѹ·Õ่ 25 ÁԶعÒ¹ 2544 â´ÂºÃÔÉÑ· àÍ็Á.ÇÕ.·Õ. ¤ÍÁÁÔǹÔपÑ่¹ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ËÇÁ¡Ñº ¡ÅØ‹Á¼ÙŒºÃÔËÒÃá¼¹¡ÃкºÊํÒÃͧ俿‡Ò¢Í§ ºÃÔÉÑ· àÍ็Á.ÇÕ.·Õ. ¤ÍÁÁÔǹÔपÑ่¹ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) à¹×Í่ §¨Ò¡ä´ŒàÅ็§àË็¹¶Ö§âÍ¡ÒÊáÅСÒâÂÒµÑǢͧ¡ÅØÁ‹ ¼ÅÔµÀѳ± ´ÒŒ ¹Ãкº ÊํÒÃͧ俿‡Ò â´Â㹪‹Ç§ááÁÕÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤ à¾×่Í»ÃСͺ¸ØáԨ¨Ñ´¨ํÒ˹‹Ò áÅÐãËŒºÃÔ¡ÒÃÃкºÊํÒÃͧ俿‡ÒÊํÒËÃѺÃкºÊ×Í่ ÊÒÃâ·Ã¤Á¹Ò¤Á·ÕÁ่ ¤ Õ ³ Ø ÀÒ¾ áÅÐÁҵðҹÊÙ§ ãËŒ¡ÑºË¹‹Ç§ҹ·Ñ้§ÀÒ¤ÃÑ°áÅÐàÍ¡ª¹ ¨Ò¡¹Ñ้¹ºÃÔÉÑ· ä´Œ¢ÂÒ¸ØáԨä»ã¹´ŒÒ¹¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃÃкºµÃǨÇÑ´áÅШѴ¡ÒÃÊÀÒ¾ áÇ´ÅŒÍÁ ¸ØáԨ´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ ·Ñ้§ã¹´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹áʧÍҷԵ ¾Åѧ§Ò¹ÅÁáÅоÅѧ§Ò¹ªÕÇÁÇÅ ÃÇÁ·Ñ้§¸ØáԨ´ŒÒ¹¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ áÅÐÃкºÍ×่¹ æ ÍÕ¡´ŒÇ â´ÂÁÕ “¤Ø³¾ÃйÒ ¡Ñ§ÇÒÅÃѵ¹ ” ´ํÒç µํÒá˹‹§»Ãиҹ਌Ò˹ŒÒºÃÔËÒúÃÔÉÑ· à¾ÒàÇÍà â«ÅÙªÑ่¹ à·¤â¹âÅÂÕ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

เปดบาน บริษัท

เพาเวอร โซลูชั่นฯ

ผูนําดานการบริหารจัดการระบบไฟฟาและพลังงาน PSTC เปนผูผ ลิตและจําหนายไฟฟาจากพลังงานทดแทนทีค่ รอบคลุมทัง้ พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานชีวมวลและพลังงานขยะ เพื่อผลิตไฟฟาและจําหนายเชิงพาณิชย ใหการไฟฟาสวนภูมภิ าคและการไฟฟานครหลวงตามสัญญาซือ้ ขาย ผานการลงทุนในบริษทั ฯ ยอยทั้ง 7 แหง ไดแก บริษัท กันหา โซลาพาวเวอร จํากัด บริษัท กรีน ไบ-โอ มหาสารคาม จํากัด บริษัท วินดโกกรีน จํากัด บริษัท โซลารโกกรีน จํากัด บริษัท ไบโอโกกรีน จํากัด บริษัท เพาเวอร วี กรีน จํากัด และบริษัท พีเอสที (อุบลราชธานี) จํากัดนอกจากนี้ PSTC ยังได เขาไปลงทุนถือหุนในบริษัทพีวี กรีน จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ที่ติดตั้งบนหลังคาขนาด 987.84 กิโลวัตต ในสัดสวนรอยละ 19.99 ของทุนจดทะเบียน ทั้งหมด 18 ลานบาทอีกดวย ซึ่งทาง บริษัท เพาเวอร วี กรีน จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของ PSTC ไดพัฒนาโครงการ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคาของบริษัท พรีคาสท เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ขนาด 980 กิโลวัตต ที่จังหวัดนนทบุรี โดยไดรับการสนับสนุนตามมติคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ ในรูปแบบ Feed-in Tariff ในราคา 6.16 บาทตอกิโลวัตต-ชั่วโมง เปนเวลา 25 ป ซึ่งปจจุบันสามารถเริ่มจําหนายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชย (COD) เปนที่เรียบรอยแลว คุณพระนาย กังวาลรัตน March 2015 75


Open House อภัสรา วัลลิภผล

และเมือ่ ไม่นานมานี้ ทาง PSTC ยังเดินหน้า ตอกย�้าความแข็งแกร่งในกลุ่มธุรกิจพลังงาน ทดแทน ซึ่งล่าสุด PSTC ได้เดินหน้าพัฒนา โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในรูปแบบ โซล่าร์ฟาร์ม ขนาด 1 เมกะวัตต์ ที่จังหวัด ปราจีนบุรี ซึ่งเป็นโครงการที่บริษัทได้ยื่น ขออนุญาตไปตัง้ แต่ปี 2553 และได้รบั การแจ้งผล การพิจารณาอนุมตั กิ ารรับซือ้ ไฟฟ้าจากการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคเมื่อต้นเดือนธันวาคมที่ผ่านมา โดยได้รับการสนับสนุนในรูปแบบ Feed-in Tariff ในราคา 5.66 บาท เป็นระยะเวลา 25 ปี คาดว่าโครงการดังกล่าวจะก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี 2558 นี้ และล่าสุด บริษทั เพาเวอร์ วี กรีน จ�ากัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยอง PSTC ได้พฒ ั นา โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคาของบริษัท พรีคาสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด ขนาด 980 กิโลวัตต์ ที่จังหวัดนนทบุรี โดยได้รบั การสนับสนุนตามมติคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติ ในรูปแบบ Feed-in Tariff ในราคา 6.16 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง เป็นเวลา 25 ปี ซึง่ ปัจจุบนั สามารถเริม่ จ�าหน่าย ไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ (COD) เป็นที่ เรียบร้อยแล้ว 76

March 2015

ส่วนโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลที่ PSTC ได้ยื่นแบบค�าขอจ�าหน่ายไฟฟ้าและการ เชื่อมโยงไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) จ�านวน 7 โครงการ ๆ ละ 990 กิโลวัตต์รวม 6.93 เมกะวัตต์นนั้ ปัจจุบนั ได้รบั การแจ้งผลการพิจารณาอนุมตั กิ ารท�าสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าแล้ว 1 โครงการ คือโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลทีจ่ งั หวัดตรัง และล่าสุดได้รบั การแจ้งผลการพิจารณา อนุมตั กิ ารรับซือ้ ไฟฟ้าอีก 1 โครงการ ได้แก่ โครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลทีจ่ งั หวัดชลบุรี ซึง่ ได้ รับการสนับสนุนในรูปแบบส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) ในราคา 0.50 บาทต่อหน่วย เป็นเวลา 7 ปี โดยคาดว่าจะสามารถเริม่ ก่อสร้างได้ในปี 2558 นีเ้ ช่นกัน นอกจากนี้ ทาง PSTC ยังได้รบั ความไว้วางใจจากลูกค้าให้เข้ารับเหมาก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้า ชีวมวลอีก 2 โครงการ ๆ ละ 0.99 เมกะวัตต์ รวมมูลค่าโครงการทั้งสิ้น 235 ล้านบาท คาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จได้ ภายในเดือนกันยายน 2558 นี้ จะเห็นได้ว่า PSTC มีนโยบายรุกพลังงานทดแทนอย่างจริงจัง โดยได้ยื่นแบบค�าขอจ�าหน่าย ไฟฟ้าและการเชื่อมโยงไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณา แบบค�าขอโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนจ�านวน 7 โครงการ ได้แก่โรงงานไฟฟ้าพลังงาน


Open House อภัสรา วัลลิภผล

ชีวมวลก�ำลังกำรผลิต 990 กิโลวัตต์ จ�ำนวน 7 โครงกำร รวมก�ำลังผลิต 6.93 เมกะวัตต์ ด�ำเนินงำนโดยบริษัท ไบโอ โกกรีน จ�ำกัด ที่ PSTC ถือหุ้นใหญ่ในสัดส่วนร้อยละ 99.97 ซึง่ ปัจจุบนั ได้รบั กำรแจ้งผลกำรพิจำรณำอนุมตั กิ ำรรับซือ้ ไฟฟ้ำจำกกำรไฟฟ้ำส่วนภูมภิ ำคแล้ว 1 โครงกำร ซึ่งปัจจุบัน บริษัทฯ มีโรงไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์จ�ำนวน 4 แห่ง 5 โครงกำร ได้แก่ โรงงำนพลังงำนแสงอำทิตย์ทจี่ งั หวัดอุดรธำนี 2 โครงกำรๆ ละ 998 กิโลวัตต์ รวมผลิต กระแสไฟฟ้ำได้ 1.996 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ที่จังหวัดมหำสำรคำม ขนำด 952 กิโลวัตต์ และโรงไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคำของสหกรณ์ประมงแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงครำม ขนำด 987.84 กิโลวัตต์ ที่เริ่มจ�ำหน่ำยไฟฟ้ำเข้ำระบบเชิงพำณิชย์ ให้แก่ กฟภ. เรียบร้อยแล้ว กำรเดินหน้ำขยำยงำนโครงกำรพลังงำนทดแทน ทัง้ ในส่วนกำรลงทุนพัฒนำโครงกำรโรงไฟฟ้ำ พลังงำนแสงอำทิตย์และโรงไฟฟ้ำพลังงำนชีวมวล รวมถึงกำรเข้ำรับเหมำก่อสร้ำงโรงไฟฟ้ำ ชีวมวลอีก 2 โรงให้แก่ลูกค้ำในครั้งนี้ จะท�ำให้ PSTC สำมำรถรับรู้รำยได้จำกธุรกิจโรงไฟฟ้ำ พลังงำนทดแทนเพิ่มมำกขึ้น สะท้อนให้เห็นถึงศักยภำพกำรด�ำเนินธุรกิจของ PSTC ที่ แข็งแกร่งเพื่อมุ่งสู่กำรเป็นผู้น�ำด้ำนกำรบริหำรจัดกำรระบบไฟฟ้ำและพลังงำนของประเทศ แบบครบวงจรของไทยได้เป็นอย่ำงดี และช่วยท�ำให้ผลกำรด�ำเนินงำนของ PSTC ในปีถัดไป เติบโตได้อย่ำงแข็งแกร่ง

ทำงนิตยสำร Energy saving ต้องขอขอบคุณ ทำง บริษัท เพำเวอร์ โซลูชั่น เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหำชน) หรือ PSTC เป็นอย่ำงมำก ที่ อ นุ ญ ำตเปิ ด บ้ ำ นให้ เรำได้ ท� ำ ควำมรู ้ จั ก เกี่ยวกับธุรกิจด้ำนพลังงำนของบริษัท ทั้งนี้ หำกผู ้ อ ่ ำ นท่ ำ นใดสนใจในส่ ว นของธุ ร กิ จ ของ PSTC สำมำรถติดต่อสอบถำมข้อมูล ได้ที่ บริษทั เพำเวอร์ โซลูชนั่ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหำชน) ส�ำนักงำนใหญ่ อำคำรพีเอสที เลขที่ 325/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสำยไหม เขตสำยไหม กรุงเทพมหำนคร 10220 หรือ โทร. 0-2993-8982 (อัตโนมัติ) ได้ค่ะ

“เรามีวิสัยทัศน์ในการเป็นผู้น�าด้านการบริหารจัดการระบบไฟฟ้าและพลังงานของ ประเทศแบบครบวงจร ตัง้ แต่การให้คา� ปรึกษาแก่ลกู ค้า การออกแบบ จัดหาผลิตภัณฑ์ และพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน โดย PSTC มุง่ พัฒนาสินค้าและแนวทาง บริหารจัดการพลังงานใหม่ ๆ และวางแผนลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน อย่างต่อเนือ่ งในอนาคต เพือ่ ตอบสนองความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในประเทศ ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง” March 2015 77


Vertical Market นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

ราคาพลังงาน... มีลง ยอมมีขึ้น ความจริงที่ตองยอมรับ ª‹Ç§ 1–2 à´×͹·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ µŒÍ§ÂÍÁÃѺNjÒÃÒ¤Òàª×้Íà¾Åԧ㹻ÃÐà·ÈáÅÐâÅ¡ ¼Ñ¹¼Ç¹ä»ã¹·ÔÈ·Ò§·Õ่´ÙàËÁ×͹¨Ð¨Ù§ã¨äÁ‹¹ŒÍÂáÅÐṋ¹Í¹Ç‹Ò໚¹àÃ×่ͧ·Õ่´Õ ÊํÒËÃѺ¼ÙŒãªŒÂÒ¹¾Ò˹зÕ่¨ํÒ໚¹µŒÍ§¾Ö่§¾Òàª×้Íà¾ÅÔ§´Ñ§¡Å‹ÒÇ㹡ÒôํÒà¹Ô¹ ªÕÇÔµ»ÃШํÒÇѹ à¾ÃÒÐ໚¹¤‹Ò㪌¨‹Ò·Õ่äÁ‹ÍÒ¨ËÅÕ¡àÅÕ่§䴌 äÁ‹Ç‹Ò¨Ð¶Ù¡ËÃ×Íᾧ àÃÒ¡็µŒÍ§ãªŒÍÂÙ‹´Õ ᵋÊÔ่§·Õ่µŒÍ§ÁͧãËŒÅÖ¡¡Ç‹Ò¹Ñ้¹ ¤ํÒNjҼѹ¼Ç¹à»š¹ÊÔ่§·Õ่ äÁ‹ Í Ò¨¤Ò´à´Ò ¡็àËÁ×Í ¹¡ÃÒ¿·Õ่ÁÕ¢Ö้¹ ‹ÍÁÁÕÅ § ËÃ×ÍÁÕÅ §¡็ ‹ÍÁÁÕ¢Ö้¹ ઋ¹¡Ñ¹

อยางที่ทราบกันดีวา... ความผันผวนของราคาพลังงานที่ลดลงมา ณ ปจจุบันตํ่าลงมามาก กวาที่เคยเปน หลายฝายไดคาดการณไววา แนวโนมราคาเชื้อเพลิงที่ลดลงมานั้นเปนเพียง ชวงสั้น ๆ เทานั้น และไมนานเมื่อราคาในตลาดโลกเคลื่อนไหว ราคาก็อาจกลับไปอยูใน ระดับเดิมกอนหนานี้ ซึง่ ผลดีของราคาพลังงานทีล่ ดลงก็จะสงผลตอตนทุนการประกอบการ ที่จะทําใหการบริหารตนทุนดีขึ้น

สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ถื อ ว า เป น เรื่ อ งที่ ดี ต  อ การ จัดการดานพลังงานของประเทศไทย ในการ สรางความสมดุลดานพลังงานเพื่อรองรับ การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ในระยะยาวที่ กอนหนานี้มีการบิดเบือนมาเปนเวลานาน ถือแมวาจะเปนการปรับโครงสรางเชื้อเพลิง แตเมื่อราคาพลังงานลดลง ก็อยาพึ่งดีใจจนลืมที่จะมองใหไกลไปอีกสัก 2–3 เดือน วา ในช ว งที่ ร าคานํ้ า มั น ดิ บ ตลาดโลกลดลง สถานการณตา ง ๆ จะยืนพืน้ อยูแ บบนีต้ ลอดไป โดยเฉพาะภาคประชาชนและผูป ระกอบการ ทํ า ให ร าคาขายปลี ก ลดลงอย า งต อ เนื่ อ ง ไมควรมองขามจนลืมการวางแผนระยะยาวในการบริหารจัดการตนทุนคาครองชีพและ แตคาดวาจะคงอยูในชวงสั้น ๆ อยาลืมวา การบริหารธุรกิจ โดยภาคประชาชนตองไมใชจายอยางฟุมเฟอย เนื่องจากนโยบายดาน พื้ น ฐานของประเทศไทยยั ง คงต อ งพึ่ ง พา การบริหารจัดการพลังงานของรัฐบาลไมไดเกิดขึ้นเพื่อเอาใจประชาชน แตเปนการปรับ การนําเขาของพลังงานปละนับลานลานบาท โครงสรางราคาเชื้อเพลิงใหสอดคลองกับตนทุนที่แทจริงและเปนไปตามกลไกของตลาดโลก เพื่อมารองรับภาคการขนสงและการผลิต สงผลทําใหภาคการผลิตบางกลุมไดรับประโยชนและบางกลุมเสียประโยชน และจําเปน ไฟฟา ที่จะตองคงนโยบายพลังงานทดแทน เพื่อไมใหกระทบตอตนทุนของประชาชนมากนัก 78

March 2015


อี ก ภาคส่ ว นที่ ไ ม่ อ าจมองข้ า มสถานการณ์ พ ลั ง งานได้ เ ลย คื อ ภาคส่วนของผู้ประกอบการเพราะพลังงานเป็นปัจจัยหลักที่บ่งชี้ สภาพเศรษฐกิจของประเทศนัน้ ๆ ว่าจะเกิดการลงทุนมากน้อยเพียงใด ทั้งในและจากต่างประเทศ เพราะเมื่อมีการลงทุนแล้ว จะเป็นการ ลงทุนในระยะยาว ความมั่นคงด้านพลังงานจึงเป็นปัจจัยในการ ตัดสินใจในการลงทุน เพราะภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเป็นภาคส่วนที่มี ความต้องการพลังงานมหาศาล และไม่สามารถขาดได้ ทัง้ พลังงาน เชื้อเพลิง ไฟฟ้า และอื่น ๆ ถ้าหากพื้นฐานพลังงานในประเทศยังไม่ เพียงพอ ประเทศจะมีอัตราการลงทุนของต่างชาติน้อยลงและ ผู ้ ป ระกอบการภายในประเทศก็ ไ ม่ ส ามารถบริ ห ารต้ น ทุ น ในการ ประกอบการได้ เพราะภาคธุรกิจจะมองเรื่องความเสี่ยงและความ สามารถในการหาก�าไรเป็นหลักในการตัดสินใจลงทุน ยกตั ว อย่ า งจากกรณี ก ารยื่ น หนั ง สื อ เรี ย กร้ อ งให้ รั ฐ บาลทบทวน การเปิดสัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ 21 สิ่งที่น่าเป็นห่วง คือ ข้อมูล การส�ารวจและผลิตปิโตรเลียมทีป่ ระชาชนได้รบั มีอยู่ 2 ด้าน แน่นอน ว่ามีทั้งด้านดีและไม่ดี ตรงกันในบางเรื่อง และไม่ตรงกันในบางเรื่อง ขณะที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างภาครัฐบาลก็มีความตั้งใจจริงที่จะ สร้างเสถียรภาพและความมัน่ คงทางพลังงานบนพืน้ ฐานความเป็นจริง ซึ่งประโยชน์จากการด�าเนินงานทั้งหมดก็เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อประเทศชาติและประชาชน ในสถานการณ์ที่ผันผวนของราคา น�้ามันตลาดโลก

การจัดหาพลังงานในทุกรูปแบบ จึงถือว่ามีความส�าคัญอย่างยิ่งใน สถานการณ์ปัจจุบันที่จะต้องเตรียมรองรับกับปริมาณส�ารองที่ลดลง ซึ่งปัญหาและผลกระทบจากความผันผวนของราคาพลังงานอย่าง เชือ้ เพลิง เมือ่ ราคาผันผวนท�าให้ราคาถูกลงก็ถอื ว่าดีในแง่ของผูบ้ ริโภค แต่เมื่อมีการไต่ระดับขึ้นอีกครั้งแบบที่เคยเป็นมา เมืองไทยที่เป็น เมืองเกษตรกรรมอาจได้รบั ประโยชน์อกี ครัง้ กับพืชเศรษฐกิจทีส่ า� คัญ ทีส่ ามารถน�ามาผลิตเป็นพลังงานทางเลือกอย่าง อ้อย มันส�าปะหลัง ปาล์มน�า้ มัน สามารถเพิม่ มูลค่าและรายได้ให้แก่เกษตรกรในประเทศได้ ช่วยขับเคลื่อนแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ของกระทรวงพลังงานให้บรรลุเป้าหมายตามแผนในระยะ 10 ปี ได้อีกด้วย

March2015 2015 79PB March


Vertical Market นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

จะว่าไปแล้ว ราคาน�า้ มันดิบทีป่ รับต�า่ ลงไปนัน้ ปัจจุบนั น่าจะผ่านพ้นจุดต�า่ สุดไปแล้ว ต่อจากนี้ ในระยะเวลาอันใกล้ราคาน�า้ มันดิบอาจค่อย ๆ ปรับขึน้ บ้างเล็กน้อย แม้วา่ ระดับราคาน�า้ มันดิบ จะปรับตัวขึน้ แต่หากมองในเรือ่ งของอุปทานน�า้ มันทีเ่ ริม่ ลดลง ประกอบกับระดับราคาน�า้ มัน ที่เริ่มแตะระดับต้นทุนน�้ามันดิบ จะท�าให้ราคาน�้ามันดิบปรับตัวลดลงและเริ่มจ�ากัดมากขึ้น แต่ความเสีย่ งจากปริมาณความต้องการบริโภคน�า้ มันทีไ่ ม่ได้เติบโตเร็วมากนัก และความเสีย่ ง ต่อปริมาณการผลิตน�้ามันที่ยังไม่ลงตัว ควรเน้นการลงทุนเชิงรุกเพื่อสร้างผลตอบแทน เป้าหมายจากการลงทุนในช่วงที่ตลาดผันผวนตามจังหวะราคาน�้ามันดิบ ฉะนั้น ในช่วงที่ราคาน�้ามันตลาดโลกมีการผันผวน ไม่เพียงแค่ราคาพลังงานที่น่าเป็นห่วง แต่จะส่งต่อมายังราคาสินค้าให้แพงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นการบ้านที่ภาครัฐบาลไม่อาจ นิ่งนอนใจ เพราะยังมีข้อมูลเกี่ยวกับราคาสินค้าว่า ราคาสินค้ายังไม่มีการปรับขึ้นมากนัก โดยเฉพาะวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบของอาการ แต่เมื่อน�ามาแปรรูปเป็นอาหารแล้วจะ มีการปรับขึ้นทันที แน่นอนว่าเป็นสิ่งที่เกี่ยวเนื่องมาจากราคาพลังงานที่ผันผวน

ต้องยอมรับว่า ประเทศไทยมีการบิดเบือน โครงสร้างราคาพลังงานมาช้านาน ไม่ยดึ ตาม พื้นฐานที่แท้จริง สร้างความเคยชินด้วยการ ลดราคาของแพงมาเฉลี่ยของราคาถูก หาก มองในมุมของการช่วยเหลือถือเป็นเรื่องที่ดี แต่อย่าลืมว่าประเทศต้องเดินไปได้เช่นกัน ณ ปัจจุบนั ถึงราคาพลังงานจะถูกหรือจะแพง ก็ควรที่จะค�านึงถึงความเพียงพอเป็นหลัก ตลาดขับเคลือ่ นไปทางไหน ก็ตอ้ งเคลือ่ นตาม อย่างที่ควรจะเป็น เพราะทุกประเทศในโลก ก็ เ คลื่อ นตามเช่นกัน มาตรการช่วยเหลือ ผู้ได้รับผลกระทบเรื่องที่ดี แต่ก็ต้องอยู่ใน ขอบเขตที่สามารถรองรับได้ เมือ่ ประชาชนยอมรับการเปลีย่ นแปลง ความ ผันผวน และการปรับโครงสร้างราคาพลังงาน ของประเทศได้ พื้นฐานราคาพลังงานใน ประเทศก็จะเข้าสู่ความสมดุลตามตลาดโลก ที่ควรจะเป็น รับรองว่าผลสะท้อนกลับไม่ได้ ท�าเพื่อใคร แต่ก็เพื่อประชาชนในประเทศ นั้นเอง

80

March 2015


March 2015 PB


Viewpoint

นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

เพิม ่ สถานีบริการ NGV รองรับความตองการเพิม่

·Ò§àÅ×Í¡´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ ໚¹ÊÔ§่ ·ÕÀ ่ Ò¤ÃÑ°ºÒžÂÒÂÒÁËÒ·Ò§ÍÍ¡ãËŒ¡ºÑ ¼Ù㌠ªŒà¾×Í่ ãËŒä´ŒÃºÑ ¤ÇÒÁÊдǡʺÒÂÁÒ¡·ÕÊ่ ´ Ø ã¹¡ÒâѺà¤Å×Í่ ¹ »ÃÐà·È â´Â੾ÒÐàÃ×Í่ §¾Åѧ§Ò¹·Ò§àÅ×Í¡Í‹ҧ NGV ¶Ö§áÁŒÇÒ‹ ¨ÐÁÕ¡ÒÃʹѺʹعãˌ㪌ÁÒ¾ÍÊÁ¤Çà ᵋ»Þ ˜ ËÒ·ÕÂ่ §Ñ á¡ŒäÁ‹µ¡áÅеŒÍ§ ä´ŒÁ¡Õ ÒÃËÒ·Ò§ÍÍ¡Í‹ҧµ‹Íà¹×Í่ § ¤×Í ¨ํҹǹʶҹպÃÔ¡Òà ¤ÔÇÃÍàµÔÁ à¾ÃÒÐäÁ‹à¾Õ§ᤋÀÒ¤»ÃЪҪ¹·Õã่ ªŒºÃÔ¡ÒÃ áµ‹Â§Ñ ÁÕÀҤʋǹ ¢Í§Ã¶Â¹µ ÊÒ¸ÒóÐÍÕ¡´ŒÇÂ

นายทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน ชี้แจงถึงแนวทางการแกไขปญหา คิวรอเติมกาซ NGV ที่สถานีบริการแตละพื้นที่ กระทรวงพลังงานไมไดนิ่งนอนใจ และไดสั่ง การให ปตท. เรงแกไขปญหามาอยางตอเนื่อง โดยจํานวนสถานีบริการ NGV ณ ปจจุบัน (มกราคม 2558) มีอยู 497 แหง ครอบคลุม 54 จังหวัด ครอบคุลมพื้นที่สําคัญและ หั ว เมื อ งใหญ และมี ก ารจั ด หารถขนส ง ก าซเพื่ อเพิ่ มความสามารถการขนส ง ในช ว ง ชั่วโมงเรงดวน รวมถึงการเพิ่มหนาจาย NGV การเปดสถานีใหม การปรับเปลี่ยนสถานี บริการนํ้ามันใหเปนสถานีบริการ NGV และการขยายกําลังการจําหนายของสถานี NGV อยางตอเนื่อง ผลการดําเนินการดังกลาว ไมวาจะเปนการประกอบการจัดสรรกาซ NGV เพิ่มใหแกสถานี บริการในเขตกรุงเทพฯ ชั้นใน การประชาสัมพันธและบริการคิวการเติมของรถที่จะมาใช บริการ ผลที่ได คือ ชวงเรงดวนของวันระหวางเวลา 12.00-16.00 น. สามารถรองรับรถ ที่ใช NGV ไดทั้งสิ้น 56,600 คัน หรือมีศักยภาพรองรับรถไดเพิ่มขึ้นประมาณ 9,600 คัน เมื่อเทียบจากชวงป 2555 ซึ่งถือวาดีขึ้นกวาที่ผานมาอยางเห็นไดชัด นอกจากการแกปญหาดานเวลาและสถานที่แลว การพิจารณาราคาขายปลีกกาซธรรมชาติ ที่ใชรถยนต หรือ NGV ตามนโยบายของกระทรวงพลังงานยังคงสงเสริมใหราคาสะทอน ตนทุนที่แทจริง เปนนโยบายหลักของรัฐบาลในการปรับโครงสรางราคาพลังงานใหเปน ธรรมยิ่งขึ้น เบื้องตนกระทรวงพลังงานยังมีมาตรการลดผลกระทบใหกลุมรถสาธารณะ เชน รถแท็กซี่ และรถรวมบริการฯ ซึ่งถือเปนกลุมสําคัญที่กระทรวงพลังงานใหการสงเสริม 82

March 2015

นายทวารัฐ สูตะบุตร


ให้ ใช้ NGV เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ในราคาพิ เ ศษ ซึ่งที่ผ่านมาราคาก๊าซ NGV ถูกตรึงราคา ไว้ ต�่ า และนานเกิ น ไปท� า ให้ เ กิ ด โครงสร้ า ง การใช้ที่บิดเบือน จึงใช้โอกาสช่วงที่น�้ามัน มีราคาต�่า ปรับโครงสร้างราคา NGV ใหม่ ควบคู่ไปด้วย ด้าน นายสมเกียรติ เมสันธสุวรรณ ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ก๊าซธรรมชาติส�าหรับ ยานยนต์ บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ปตท. ได้ด�าเนินการก่อสร้าง สถานีบริการ NGV เพิ่มเติมอีก 7 แห่ง ส� า หรั บ บริ ก ารภาคประชาชน ภาคขนส่ ง รวมถึงรถบริการสาธารณะ พร้อมทั้งทยอย ปรับการให้บริการสถานีบริการ NGV ให้เป็น มาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ เพื่อรองรับ ความต้องการของผู้ใช้ให้ได้รับความสะดวก มากยิ่งขึ้น ปี 2558 ปตท. ได้เตรียมแผนเพิม่ ประสิทธิภาพ การให้บริการแก่ผู้ใช้รถ NGV ให้ทั่วถึงอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งการขยายสถานีบริการ NGV อีก 7 แห่ง เป็นการเพิ่มความสะดวกในการ ให้บริการ ตลอดจนเตรียมความพร้อมใน การก่อสร้างสถานีฯ ตามแนวท่อส่งก๊าซฯ รองรับรถโดยสาร NGV ขององค์การขนส่ง

มวลขนกรุงเทพ (ขสมก.) ในอนาคต โดยขณะนี้อยู่ระหว่างด�าเนินการก่อสร้างท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติ ส�าหรับการจัดตั้งสถานีบริการ NGV อีก 4 แห่ง ตามข้อตกลงระหว่าง ปตท. กับ สมาคมขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย รวมทั้งยังมีแผนในการปรับรูปแบบสถานีบริการ นอกแนวท่อฯ มาเป็นสถานีบริการตามแนวท่อฯ ตามโครงการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ในส่วนภูมิภาค คาดว่าจะสามารถให้บริการแก่ลูกค้าเพิ่มขึ้นประมาณ 140 ตันต่อวัน รวมถึงการพัฒนาบริการในสถานี ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของพนักงาน การเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว การจัดระเบียบของรถทีเ่ ข้าใช้บริการ การดูแลความสะอาดภายในสถานี และปรับรูปแบบของสถานีบริการให้เป็นแบบครบวงจรเช่นเดียวกับสถานีบริการน�้ามันที่มี ทั้งร้านสะดวกซื้อ ห้องน�้าสะอาด ร้านอาหาร จุดพักรถ และการควบคุมมาตรฐานความ ปลอดภัยในทุกขั้นตอน โดยเฉพาะการขนส่งก๊าซไปยังสถานีบริการนอกแนวท่อส่งก๊าซฯ เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนอีกด้วย

March 2015 83


Energy Knowledge กองบรรณาธิการ

มข.

“อาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์” ประสบความส�าเร็จเกินความคาดหมาย ปลื้มงานวิจัย

มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น (มข.) ประสบผลส� ำ เร็ จ ในโครงกำรวิ จั ย พั ฒ นำ เทคโนโลยีที่เหมำะสมส�ำหรับอำคำรในประเทศไทย ซึ่งสำมำรถใช้พลังงำนไฟฟ้ำ สุทธิภำยในอำคำรเป็นศูนย์ (Net Zero Energy Building ) โดยมีผู้น�ำทีม นักวิจัย อย่ำง ผศ.ดร.เด่ น พงษ์ สุ ด ภั ก ดี รองอธิกำรบดีฝ่ำยวิชำกำรและ เทคโนโลยีสำรสนเทศ ได้เผยถึงกำรเดินหน้ำวิจัยต่อในขั้นตอนของกำรควบคุม และประเมินผล พร้อมระบุแนวคิดนี้ถูกน�ำมำประยุกต์ใช้ในอำคำรและที่อยู่อำศัย กันบ้ำงแล้ว

โครงการวิจัยฯ นี้มีเป้าหมายในการใช้พลังงานไฟฟ้าสุทธิภายในอาคารเป็นศูนย์ (Net Zero Energy Building) ได้รับความไว้วางใจและการสนับสนุนทุนวิจัย จาก กองทุนเพื่อส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ภายใต้ งบประมาณ 18 ล้านบาท น�าทีมวิจัยโดย ผศ.ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้รวบรวมนักวิจัยที่เกี่ยวข้องหลายสาขาภายใน มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ประกอบด้ ว ย อาจารย์ ประจ� าภาควิ ชาวิ ศ วกรรมเครื่ องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ นักวิจัยจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาขอนแก่น พร้อมกับ การสนั บ สนุ น ผู ้ เชี่ ย วชาญจากภายนอกทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนต่ าง ๆ เช่ น ส� านั ก งาน คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน และบริษัท เอ็นโซล จ�ากัด โดยได้พัฒนาปรับปรุง “อาคารส� านั ก งานของกองสื่ อ สารองค์ ก ร มหาวิ ท ยาลั ยขอนแก่ น ” ให้ เ ป็ น อาคาร ส�านักงานต้นแบบที่สามารถใช้พลังงานไฟฟ้าสุทธิภายในอาคารเป็นศูนย์

84

March 2015

ปัจจุบันแนวคิดด้านการประหยัดพลังงาน โดยการท�าให้การใช้พลังงานสุทธิเท่ากับศูนย์ (Net Zero Energy Building: NZEB) เริ่มถูก น�ามาประยุกต์ใช้ในอาคารและที่อยู่อาศัย กันบ้างแล้ว โดยมีหลักการว่าการน�าพลังงาน จากภายนอกเข้ า อาคารลบกั บ พลั ง งานที่ ผลิตได้เองในอาคารมีคา่ เท่ากับศูนย์ จะเห็น ได้ว่าสิ่งที่จะช่วยให้แนวคิดดังกล่าวส�าเร็จได้ นั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่ส�าคัญ 2 ส่วน ด้วยกัน ส่วนแรก คือ เทคโนโลยีการประหยัด พลังงานที่น�ามาใช้ในอาคาร เช่น เครื่องใช้ ไฟฟ้าต่าง ๆ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง การออกแบบ อาคาร และการจัดการพลังงาน เป็นต้น ส่วนที่สอง คือ เทคโนโลยีการผลิตพลังงาน ที่ ใช้ ใ นอาคาร เช่ น การผลิ ต ไฟฟ้ า หรื อ ความร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น จากงานวิจัยนี้มีการพัฒนาปรับปรุงอาคาร กองสือ่ สารองค์กร ดังนี้ ปรับปรุงผนังอาคาร ให้ถ่ายโอนความร้อนด้วยการเปลี่ยนแปลง วั ส ดุ ก รอบอาคารให้ มี ค วามเหมาะสม ปรับปรุงหลังคาอาคารเพือ่ ป้องกันความร้อน และให้เหมาะส�าหรับการติดตัง้ แผ่น Solar Cell ติดตั้งฟิล์มลดความร้อน ปรับปรุงระบบ ปรับอากาศ ด้วยเครื่องปรับอากาศชนิด ไฮบริ ด จ์ ที่ มี ห ลั ก การท� า ความเย็ น ด้ ว ย ความร้อนจากรังสีของแสงอาทิตย์ (Solar Cooling) ร่วมกับการใช้พลังงานไฟฟ้า ติดตัง้ Cooling Pad ติดตัง้ อุปกรณ์นา� แสงธรรมชาติ ซึง่ เป็นอุปกรณ์ให้แสงสว่างหลักใช้ Solar Light (Skylight) ทีม่ หี ลักการน�าแสงอาทิตย์ มาผ่าน ตัวกรองรังสี UV และตัวกรองความร้อน ไม่ให้เข้าสู่อาคาร เหลือแต่แสงสีขาวเข้าสู่ ภายในอาคาร และปรับปรุงระบบแสงสว่าง โดยใช้อุปกรณ์ให้แสงสว่างชนิดหลอด LED แบบประหยั ด พลั ง งาน เปลี่ ย นอุ ป กรณ์ ส� า นั ก งานจ� า พวกคอมพิ ว เตอร์ รวมถึ ง


อุปกรณ์ไฟฟ้าในส�านักงานทัง้ หมด เปลีย่ นมา ใช้เป็นแบบประหยัดพลังงาน เช่น เปลี่ยน จาก PC เป็น Notebook เปลี่ยนจากจอ LCD เป็นจอ LED เป็นต้น ทั้งหมดจะท�าให้สามารถลดการใช้พลังงาน ไฟฟ้าลงได้ และมีการติดตั้งแผ่น Solar Cell เพือ่ ท�าหน้าทีผ่ ลิตกระแสไฟฟ้า ทีไ่ ด้ออกแบบ และติ ด ตั้ ง ให้ เ หมาะสมกั บ การใช้ ง านและ ลักษณะตัวอาคาร ซึ่งนอกจากมาตรการ ต่าง ๆ เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าแล้ว สิ่งส�าคัญที่สุด ก็คือการรณรงค์ให้บุคลากร มี จิ ต ส� า นึ ก อนุ รั กษ์ พ ลั ง งาน ซึ่ ง จะมี ก าร ด� า เนิ น การไปพร้ อ มกั น อย่ า งบู ร ณาการ ในการปรับปรุงและพัฒนาอาคารกองสือ่ สาร องค์ ก รเสร็ จ สิ้ น บุ ค ลากรสามารถเข้ า ไป ปฏิบัติงานได้ตามปกติเป็นระยะเวลาหนึ่ง พร้อมกับการด�าเนินงานวิจัยต่อในขั้นตอน ของการควบคุมและประเมินผล โดยการวัดค่า ต่าง ๆ เพือ่ น�ามาค�านวณวิเคราะห์ความส�าเร็จ ตามเป้าหมายทีว่ างไว้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้วา่ การพัฒนาและปรับปรุงอาคารกองสื่อสาร องค์กรจะสามารถใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ ตามเป้ า หมาย แต่ ยั ง ต้ อ งเก็ บ ข้ อ มู ล ต่ อ เพื่อให้ได้ข้อมูลการวิเคราะห์ในแต่ละรอบปี และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นก็ถือว่าอยู่ในระดับสูง เพราะยังเป็นอาคารต้นแบบในการศึกษาวิจยั

จึงต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในส่วนของการซื้ออุปกรณ์ทดลองต่าง ๆ เพื่อน�ามาวิเคราะห์ การท�างานของระบบ ตัวอย่างเช่น Solar Cell ที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า จ�าเป็นจะต้องมีหลายชนิด เพื่อน�ามาวิเคราะห์ เปรียบเทียบหาตัวที่ดีที่สุดและเหมาะสมที่สุด และยังรวมไปถึงระบบแสดงผล เซนเซอร์ เครือ่ งมือวัดค่าต่างๆ เช่น ความร้อน ก�าลังไฟฟ้า แสงสว่าง และอุปกรณ์เครือ่ งมืออีกมากมาย ที่จ�าเป็นในการศึกษาวิจัย ดังนั้นความส�าเร็จของงานวิจัยชิ้นนี้ จะต่อยอดน�าไปสู่รูปแบบ ของการพัฒนาและปรับปรุงอาคารหลังต่อไปซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายลดลงมาก และจะก่อให้เกิด ประโยชน์มหาศาลในการลดการใช้พลังงานในอาคารอย่างคุ้มค่าแก่การลงทุน รวมทั้งความ เหมาะสมในการน�าเทคโนโลยีมาใช้กับอาคาร พร้อมรับทราบปัญหาและวิธีการแก้ไขใน การน�าเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้อีกด้วย ทั้งนี้ อาคารต้นแบบ “อาคารส�านักงาน กองสื่อสารองค์กร มข.” เป็นอาคาร 2 ชั้น ที่เชื่อมต่อจากด้านหลังของ อาคารส�านักงานอธิการบดี 1 (อาคารส�านักงานอธิการบดี หลังเดิม) ตัง้ อยูบ่ ริเวณด้านหน้าอาคารสิรคิ ณ ุ ากร ส�านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชั้นบนเป็นส�านักงานของกองสื่อสารองค์กร และชั้นล่างมี 2 ส่วน คือ ห้องรับรอง และ โรงอาหารแบบเปิดที่ไม่มีก�าแพงกั้น โดย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้อนุมัติให้ทีมวิจัย ได้พัฒนาปรับปรุงเป็นอาคารต้นแบบที่สามารถใช้พลังงานสุทธิภายในอาคารเป็นศูนย์ได้ และกองสื่อสารองค์กรยังถือเป็นหน่วยงานส�าคัญของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งมีภารกิจ ด้านการประชาสัมพันธ์ จึงเหมาะที่จะเผยแพร่ผลงานวิจัยนี้ออกสู่สาธารณะชน เพื่อเป็น การบริการความรู้ เป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีด้านการอนุรักษ์พลังงาน ที่เหมาะสมส�าหรับ อาคารในประเทศไทยต่อไป

March 2015 85


Energy Invention จีรพร ทิพย์เคลือบ

Ãкºá¡ Ê «Ô ä ¿àÍÍà ·Õ่ ¼ ÅÔ µ á¡ Ê â ´  㠪 Œ ÇÑ µ ¶Ø ´Ô º ªÕ Ç Á Ç Å ¹Ñ้ ¹ ÁÕ ÁÒ¹Ò¹áÅŒÇ áµ‹ÂѧäÁ‹ÁÕ¡ÒùํÒÁÒ ãªŒ ¡Ñ º à¤Ã×่ Í §Â¹µ Í Â‹ Ò §¨ÃÔ § ¨Ñ § ᵋàÁ×Í่ ÁÕ¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹¡Ñ¹ÁÒ¡¢Ö¹ ้ áÅоÅѧ§Ò¹ÁÕá¹Ç⹌Á¨ÐäÁ‹à¾Õ§¾Í µ‹ Í ¼Ù Œ ã ªŒ ¨Ö § àÃÔ่ Á ÁͧËÒ¾ÅÑ § §Ò¹ ·Ò§àÅ×͡ࢌÒÁÒ㪌§Ò¹ ᵋ¤ÇÒÁ µŒ Í §¡Òâͧ¡ÒÃ㪌 ¾ ÅÑ § §Ò¹ ÁÕÁÒ¡¢Ö้¹ ¡ÒÃà»ÅÕ่¹¾Åѧ§Ò¹ ໚ ¹ àª×้ Í à¾ÅÔ § ä´Œ ¡ ÅÒÂ໚ ¹ ÊÔ่ § ·Õ่ ËÅÕ¡àÅÕ่§äÁ‹ä´Œ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð㪌¼ÅÔµ ¡ÃÐáÊä¿¿‡Ò ö¹µ ËÃ×ÍáÁŒáµ‹ Ãкº¢¹Ê‹§µ‹Ò§ æ ¡็Á¤Õ ÇÒÁ¨ํÒ໚¹ ઋ¹¡Ñ¹

รถสามลอพลังงานถานฟน

ประหยัดเชื้อเพลิงมากกวา 10 เทา

รถสามล อ พลั ง งานถ า นฟ น ผลงานของ นายสาธิ ต พิ ลาคง นายณัฏฐ คุณาบัณฑิตย นายดัสกร ผาลือคํา นายพิชติ ชัย โคตรฤชัย นายรัฐศาสตร แข็งเขา และ นายวรวิทย จันทรสนิท นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย โดยมี นายสิทธิไชย สิงหมหาไชย อาจารยประจําสาขาวิชาอิเลคทรอนิกส เปนอาจารยทปี่ รึกษาในการ สรางผลงาน ซึ่งวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย ไดรับความรวมมือจาก วิ ศ วกรอิ ส ระชาวเบลเยี ย มผู  เชี่ ย วชาญด า นระบบแก ส ซิ ไ ฟเออร เขามาถายทอดเทคโนโลยีและใหความรูกับนักศึกษาจนสามารถ สรางรถสามลอพลังงานถานฟนนวัตกรรมตนแบบเครื่องยนตที่ใช ถานหุงตมเปนเชื้อเพลิง รถสามลอพลังงานถานฟนเปนนวัตกรรมแหงอนาคตโดยการนํา เศษไมมาเผาเปนถาน แลวนํามาเปนเชื้อเพลิงในเตาปฏิกรณแกส ซิไฟเออร ระบบการทํางานเหมาะกับชุมชนทองถิ่นในเมืองไทย เนื่องจากประเทศไทยเปนเมืองเกษตรกรรมจึงมีเศษกิ่งไมเล็ก ๆ เศษสิง่ เหลือทางการเกษตร หากปลอยใหเศษไมเหลานัน้ ยอยสลายไป ตามธรรมชาติจะทําใหเกิดกาซลอยขึ้นสูชั้นบรรยากาศสงผลกระทบ กับปญหาสภาวะโลกรอน หากมีการกระบวนการที่ดี โดยนํามา 86 86

March 2015 March 2015

เปลี่ยนใหเปนเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องยนต ไมวาจะเปนเครื่องยนต การเกษตรตาง ๆ จะทําใหประหยัดคาใชจายดานพลังงานเชื้อเพลิง ซึ่งถาน 3 กิโลกรัม แทนนํ้ามันเบนซินได 2 ลิตร รถสามลอพลังงาน ถ านฟ น ใช เชื้ อเพลิ ง ถ านไม 1 กิโลกรัม สามารถใชงานได 30 กิโลเมตร หลักการทํางานจะเริม่ ทีเ่ ตาปฏิกรณชอ งเผาดานลางของตัวรถ จากนัน้ เป ดป  มดู ด อากาศส ง ก าซไปยังชุดเครื่อ งยนต โดยปมจะตอ งมี ความแรงจนทําใหภายในเตาเปนสุญญากาศ การเผาไหมที่อุณหภูมิ สูงจนทําใหไดกาซที่มีคุณภาพสามารถใชกับเครื่องยนตได และรถก็ จะสามารถขั บ เคลื่ อ นได ด  ว ยก า ซชุ ด ผลิ ต พลั ง งานจากถ า นฟ น เหมือนกับใชนํ้ามันเชื้อเพลิงทั่วไป แตราคาการใชพลังงานจะถูกกวา ถึง 10 เทา นอกจากนี้ วิทยาลัยเทคนิคหนองคายไดพัฒนานําระบบ ที่ติดตั้งกับรถสามลอไปติดตั้งกับระบบเครื่องยนตการเกษตรอื่น ๆ เชนเครื่องสูบนํ้า เครื่องผลิตไฟฟาพลังงานถานฟน เตาเผาขยะผลิต ไฟฟา ซึง่ หากเรานําสิง่ ทีจ่ ะเปนปญหามาแกปญ  หาก็จะชวยลดปญหา ลงได


นายสิทธิไชย สิงห์มหาไชย อาจารย์ ประจ�า สาขาวิชาอิเลคทรอนิกส์ กล่า วว่า “จากสภาพปัญหาในปัจจุบนั น�า้ มันเชือ้ เพลิง ก๊าซมีทรี่ าคาสูงหรืออาจจะหมดไปในอนาคต จึ ง มี แ นวคิ ด ที่ จ ะหาพลั ง งานทดแทนที่ ห า ง่ายในท้องถิ่น แม้ว่าจะมีผู้คิดค้นน�าก๊าซ ชีวภาพจากมูลสัตว์หรือก๊าซจากการเผาไหม้ วัสดุต่าง ๆ มาเป็นพลังงานทดแทน ตนและ นักศึกษาสาขาวิชาอิเลคทรอนิกส์ พร้อมด้วย วิศวกรอิสระชาวต่างชาติ จึงได้รว่ มกันคิดค้น ทดลองน� า เอาถ่ า นฟื น ที่ ใช้ หุงต้มในชีวิต ประจ�าวันมาสร้างนวัตกรรมใหม่ด ้ ว ยการ เปลี่ยนคาร์บอนเป็นพลังงาน โดยการน�า ถ่านไม้ไปย่อยให้ได้ขนาดประมาณ 1 ซม. แล้วน�าไปบรรจุลงถังก๊าซหุงต้มขนาด 15 กก. ซึ่งได้ดัดแปลงเป็นเตาปฏิกรณ์ ที่น�าไปติดตั้ง แทนถังน�้ามันเชื้อเพลิงของรถสามล้อเครื่อง จ�านวน 5 กก. เป็นระบบแก๊สซิไฟเออร์ โดยใช้ถ่านฟืนเป็นเชื้อเพลิงและได้ทดสอบ กับเครื่ อ งยนต์ ส ามารถขั บ เคลื่ อ นได้ ป กติ ซึง่ เชือ้ เพลิงถ่านไม้ จ�านวน 1 กก. จะสามารถ วิง่ ได้ ประมาณ 25-30 กิโลเมตร ถ่านไม้ 2 กก. ราคาประมาณ 10 บาท เทียบเท่ากับการใช้ น�า้ มันเบนซิน 1 ลิตร จะสังเกตเห็นว่าประโยชน์ ของถ่ า นฟื น ไม่ ใช่ แ ค่ ก ารน� า ไปใช้ ใ นการ ประกอบอาหารเท่านั้น แต่สามารถน�าไปใช้ ประโยชน์ในรูปแบบอื่นได้มากกว่าที่เป็นอยู่ ซึ่งผลการทดลองใช้กับรถสามล้อสามารถ ใช้ ง านได้ ต ามปกติ นอกจากนี้ จะพัฒนา

ระบบแก๊สซิไฟเออร์ ซึ่งใช้ถ่านฟืนเป็นเชื้อเพลิงต่อไป โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรหรือประชาชน ทัว่ ไปสามารถน�าไปใช้ได้ ซึง่ จะลดต้นทุนจากการใช้นา�้ มันเชือ้ เพลิงและเป็นพลังงานทางเลือกใหม่ ของเกษตรกรในอนาคตได้อีกด้วย” อย่างไรก็ตาม ผลงานของนักศึกษากลุ่มนี้เป็นผลงานที่สามารถช่วยภาคเกษตรกรรมลด ต้นทุนด้านต่าง ๆ ได้อย่างมาก นับว่าเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สังคม และประเทศชาติ ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศ ประหยัด พลังงานเชือ้ เพลิง ตลอดจนเป็นตัวอย่างทีด่ ขี องเยาวชนในการกระตุน้ จิตส�านึกให้เห็นคุณค่า สิ่งของเหลือใช้ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

March 2015201587 87 March


Energy Report

ณชนากานต์ สันตยานนท์ รึกษาอาวุ ริหารจั ดการเทคโนโลยี กงานพั ฒนาวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ห่งชาติ คุณคุชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึทีก่ปษาอาวุ โส โส ศูนศูย์นบย์ริหบารจั ดการเทคโนโลยี ส�านัสํกานังานพั ฒนาวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แห่งแชาติ

ผลิตภัณฑตนแบบในชื่อ CREATIVE SPACE (ระบบที่วางสรางสรรคกึ่งสําเร็จรูป)

ประสบการณ ความคิดสรางสรรค พัฒนาการที่ไมหยุดนิ่ง ตนทุนสําคัญการอยูรอด ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁà¿Íà ¹Ôà¨Íà ä·Â ¨Ñ´à»š¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Õ่ä ´ŒÃѺ¡ÒÃÂÍÁÃѺ¨Ò¡µÅÒ´âÅ¡ã¹Íѹ´Ñº µŒ¹ æ áÅÐ໚¹ÍÕ¡ ¡ÅØ‹Á ÍصÊÒË¡ÃÃÁ˹Ö่§·Õ่ÊÌҧÃÒÂ䴌ࢌһÃÐà·È»‚ÅÐËÅÒÂËÁ×่¹ÅŒÒ¹ºÒ· ᵋà¹×่ͧ¨Ò¡¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒÃʋǹãËÞ‹¢Í§ä·ÂÂѧ»ÃÐʺ»˜ÞËÒ ´ŒÒ¹µŒ¹·Ø¹¡ÒüÅÔµÊÙ§ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÔ¹¤ŒÒäÁ‹µÃ§¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒâͧÅÙ¡¤ŒÒ áÅТҴ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¢Í§¼ÅÔµÀѳ± àÁ×่Íà·Õº¡Ñº¤Ù‹á¢‹§¢Ñ¹ «Ö่§à»š¹¼Å¨Ò¡¡ÒâҴ¤ÇÒÁÃÙŒ·Ò§´ŒÒ¹à·¤â¹âÅÂÕáÅФÇÒÁªํÒ¹ÒÞ੾Òзҧ ´Ñ§¹Ñ้¹ ¨Ö§ÁÕ¤ÇÒÁ¨ํÒ໚¹Í‹ҧÂÔ่§·Õ่¨ÐµŒÍ§¹ํÒµŒ¹·Ø¹ ·Õ่ à ÃÕ Â ¡Ç‹ Ò “»ÃÐʺ¡Òó ” ·Õ่ᵋÅкÃÔÉÑ· ÊÑ่§ÊÁ¡Ñ¹ ÁÒ¨Ò¡ “ÃØ‹¹ÊÙ‹ÃØ‹¹” à¾×่Íà¾Ô่Á ¢Õ´¤ÇÒÁÊÒÁÒöáÅÐÊÌҧÈÑ¡ ÂÀÒ¾¢Í§µ¹ ·‹ÒÁ¡ÅÒ§¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹·Ò§¸ØáԨ·Õ่·ÇÕ¤ÇÒÁࢌÁ¢Œ¹¢Ö้¹ã¹»˜¨¨ØºÑ¹

88 88

March 2015 March 2015


นายจิรวัฒน์ ตัง้ กิจงามวงศ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั อุตสาหกรรม ดีสวัสดิ์ จ�ากัด ผู้ผลิตและจ�าหน่ายเฟอร์นิเจอร์ไม้สนามส่งออก เปิดเผยว่า ทางบริษทั ฯ เป็นอีกหนึง่ ตัวอย่างของผูป้ ระกอบการทีต่ อ้ ง ปรับตัวจากการแข่งขันของตลาดโลกในธุรกิจเฟอร์นเิ จอร์ไม้ โดยบริษทั ฯ ได้ก่อตั้งมาตั้งแต่ ปี 2517 เป็นธุรกิจภายในครอบครัว ด�าเนินกิจการ มาจนถึงปัจจุบนั นีร้ วมแล้วประมาณ 41 ปี โดยเริม่ แรกเป็นผลิตภัณฑ์ ประเภทไม้ปาร์เก้ ประตู วงกบ และเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งภายใน ซึ่งกว่า 70 % เป็นการผลิตตามออเดอร์ หรือ OEM ให้กับผู้น�าเข้า เฟอร์นเิ จอร์ไม้จากต่างประเทศ แต่หลังจากทีต่ ลาดเฟอร์นเิ จอร์ภายใน เริม่ อิม่ ตัว จึงเปลีย่ นมาผลิตเฟอร์นเิ จอร์สนามเป็นหลักโดยสร้าง theme เป็น outdoor living style ทั้งนี้ บริษัทฯ ผลิตเฟอร์นิเจอร์สนาม โดยลูกค้าส่วนใหญ่จะรู้จัก ในชื่อของบริษัท DEESAWAT และด้วยนโยบายของบริษัทที่มีความ มุ่งมั่นที่จะพัฒนากระบวนการผลิตและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ อย่างไม่หยุดยั้ง โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เดิมให้คุ้มค่าที่สุด อาทิ วัตถุดบิ ไม้สกั และไม้เบญจพรรณ ช่างฝีมอื ทีม่ ปี ระสบการณ์สงู รวมถึง เครื่องจักรและอุปกรณ์ในแผนกผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างความ แตกต่างของผลิตภัณฑ์สู่ตลาด โดยใน ปี 2556 - 2557 บริษัทฯ จึง ขอรับการสนับสนุนจากโครงการ iTAP ภายใต้ ศูนย์บริหารจัดการ เทคโนโลยี ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งมีงบประมาณในการด�าเนินโครงการ Prefab Innovation โดยมี อ.กัลยา โกวิทวิสิทธิ์ เป็นหัวหน้าคณะผู้เชี่ยวชาญ จาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกันท�างานในโครงการดังกล่าว และจากการเข้าร่วมโครงการฯ บริษัทได้รับค�าแนะน�าจากคณะ ผู ้ เชี่ ย วชาญ ซึ่ ง ได้ รั บ ผลส� า เร็ จ คื อ ต้ น แบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นชื่ อ CREATIVE SPACE เป็นการพัฒนาต้นแบบ Creative Space ด้วย ระบบก่อสร้างส�าเร็จรูป ซึง่ ก็คอื “ระบบทีว่ า่ งสร้างสรรค์กงึ่ ส�าเร็จรูป” ที่สามารถต่อประกอบเป็นผังกลุ่มอาคารได้หลากหลายรูปแบบ สามารถกั้นแบ่งพื้นที่เพื่อน�าผลิตภัณฑ์ผนังและเฟอร์นิเจอร์ภายใน ที่บริษัทฯ ผลิตขายอยู่แล้วในปัจจุบันมาใช้ร่วมกัน เพื่อสร้างพื้นที่ ส่งเสริมจินตนาการสนุกสนานอย่างไร้ขีดจ�ากัด นับเป็นการน�าเสนอ ผลิตภัณฑ์สา� หรับใช้เพือ่ การพบปะสังสรรค์ และช่วยสร้างบรรยากาศ ในการแสดงความคิดเห็น หรือมีปฏิสัมพันธ์เพื่อเปิดกว้างและเรียนรู้ ร่วมกัน ซึ่งถือเป็นรูปแบบที่ก่อให้เกิดความผ่อนคลาย และส่งเสริม ให้เกิดการแสดงความคิดเห็นและปลดปล่อยความคิดสร้างสรรค์ ออกมาให้ได้มากที่สุด

ผลิตภัณฑ์เฟอร์นเิ จอร์สนาม ภายใต้แบรนด์ DEESAWAT

“ระบบพรีแฟบ” ถือเป็นการตอบโจทย์คา� ว่า “การอยูร่ อด ความคิด สร้างสรรค์ และการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่ง” ของผู้บริหาร ที่มีแนวคิดในการพัฒนาองค์กรอย่างไม่หยุดยั้ง ภายใต้เงื่อนไข ที่ต้องการน�าเศษไม้เหลือใช้จากการผลิตจ�านวนมาก ประกอบกับ การใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ นบริษทั เช่น เครือ่ งจักร แรงงาน และอุปกรณ์ ที่มีอยู่ในบริษัทเข้ามาช่วยท�าให้เกิดนวัตกรรมใหม่ของผลิตภัณฑ์ ซึ่งถือเป็นการน�าวัสดุเหลือใช้มาเพิ่มมูลค่า และท�าก�าไรโดยไม่ต้อง ลงทุนเพิม่ มากนัก รวมถึงเป็นการรองรับการถอดประกอบส�าหรับการ ขนย้ายและขนส่ง เพือ่ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันและสอดคล้อง กับเทรนด์ความต้องการบ้านน็อคดาวน์ เนื่องจากไลฟ์สไตล์ชีวิต คนรุน่ ใหม่ชอบความรวดเร็ว มีความยืดหยุน่ ด้านการใช้งาน มีคณ ุ ภาพ และราคาที่เหมาะสม หากผู้อ่านสนใจจะขอรับการสนับสนุนจาก สวทช. ส�าหรับธุรกิจ อุตสาหกรรมก่อสร้างและรับสร้างบ้าน เพื่อเข้าร่วมโครงการใหม่ เริ่มเปิดรับสมัครแล้วเพื่อจะเริ่มต้นโครงการใหม่ใน ปี 2558 สามารถ สอบถามข้อมูลเพื่อยื่นใบสมัครเข้าร่วมโครงการ Prefabrication Innovation และนวัตกรรมระบบอาคารทางสถาปัตยกรรมและระบบ ประกอบที่อยู่อาศัย ได้ที่ คุณชนากานต์ สันตยานนท์ โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@tmc.nstda.or.th ฉบับหน้าจะน�าเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของบริษัท อื่น ๆ ภายใต้โครงการ Prefab Innovation ให้ผู้อ่านรับทราบต่อไป โปรดติดตามอ่านในฉบับหน้าค่ะ

ขอบคุณ อ.กัลยา โกวิทวิสทิ ธิ์ ส�าหรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีของโครงการฯ March2015 2015 8989 March


Energy Loan กรีนภัทร์

สถาบันไฟฟาฯ ใสใจพลังงาน

จัดตั้งกองทุนสงเสริมการออกแบบฯ วงเงิน 5 แสนบาท

¡Í§·Ø¹à¾×่Í¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒÃã¹´ŒÒ¹µ‹Ò§ æ ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ «Ö่§ã¹»˜¨¨ØºÑ¹¹Õ้¨ÐàË็¹ä´ŒÇ‹ÒÁÕËÅÒ ˹‹ ǧҹËѹÁÒãËŒ¤ÇÒÁÊํÒ ¤ÑޡѹÍÂÙ‹ä Á‹¹ ŒÍ “ʶҺѹ俿‡ÒáÅÐÍÔàÅ็¡·ÃÍ¹Ô¡Ê (EEI)” ¡็໚¹ÍÕ¡ ˹‹Ç§ҹ˹Ö่§ ·Õ่ࢌÒÁÒʹѺʹعã¹àÃ×่ͧ¢Í§¡Í§·Ø¹àª‹¹¡Ñ¹ สถาบันไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส (EEI) เปนสถาบันอิสระที่กระทรวงอุตสาหกรรม จัดตั้งขึ้น ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2541 โดยมีสํานักงานใหญอยูชั้น 6 อาคาร กรมโรงงานอุตสาหกรรม ถนนพระสุเมรุ (บางลําภู) เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร และ ศูนยปฏิบัติการและมาตรฐาน ตั้งอยูที่นิคม อุตสาหกรรมบางปู ซอย 8 จังหวัดสมุทรปราการ และดวยความสามารถดานการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ ของภาคอุตสาหกรรมไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสไทยยังอยูในระดับเริ่มตนอันเปนจุดออนในการแขงขันของอุตสาหกรรมไทย ในตลาดโลกทีเ่ นนเรือ่ งการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑเชิงสรางสรรค ตองมีการพัฒนาสินคา โดยใชมุมมองจากความตองการของผูบริโภคสุดทาย และมีความเกี่ยวของใกลชิดกับการตลาด และการออกแบบผลิตภัณฑเปนหลัก ภาคอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไทยมีความ สามารถในการออกแบบและพัฒนาเชิงเทคนิคสูงในระดับหนึ่งแลว ซึ่งหากไดมีการเพิ่มเติมการ พัฒนาเชิงสรางสรรคเขาไปในองคกรจะทําใหสามารถสรางผลิตสินคารูปแบบใหมเขาสูตลาด เปนการขยายโอกาสทางธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทั้งตลาดในและนอก ประเทศ สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจึงเห็นควร “จัดตั้งกองทุนการสงเสริมการออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส”

ขอบข า ยและระยะเวลาการสนั บ สนุ น กองทุนการสงเสริมการออกแบบและพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ ไ ฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ ห ก าร สนั บ สนุ น ผู  ป ระกอบการขนาดกลางและ ขนาดยอม (SME) 3 ดาน ไดแก การออกแบบ ผลิตภัณฑ (Product Design) การออกแบบ เชิงวิศวกรรม (Engineering Design) และการ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ห เ ป น ไปตามมาตรฐาน (Product Standard development) ขอบขาย ขางตนครอบคลุมการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑสาํ เร็จรูปและชิน้ สวนของผลิตภัณฑ และรวมถึงการพัฒนาซอฟตแวร Embedded system และการพัฒนาแมพมิ พ (Mold and Die) รวมไปถึงการออกแบบที่เนนในเรื่องของการ ประหยัดพลังงานดวยเชนกัน โดยระยะเวลาของโครงการขอรับการสนับสนุน แบงเปน 2 ประเภท ขึ้นอยูกับรูปแบบการให การสนับสนุน คือ รูปแบบที่ 1 การสนับสนุน เงินใหเปลา มีระยะเวลาไมเกิน 1 ป และ รูปแบบที่ 2 โครงการสนับสนุนเงินใหยืม มีระยะเวลาไมเกิน 2 ป สวนวงเงินการสนับสนุนแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ การสนับสนุนเงินใหเปลาสําหรับโครงการ ที่มีระยะเวลาไมเกิน 1 ป โดยสนับสนุน รอยละ 50 ของวงเงินโครงการ แตไมเกิน โครงการละ 500,000 บาท และกรณีโครงการ ทีม่ ผี ขู อรับการสนับสนุนรวมกันมากกวา 1 ราย อาจใหวงเงินสนับสนุน เกินกวา 500,000 บาท แตไมเกินโครงการละ 1,000,000 บาท

90

March 2015


March 2015 PB


Special report เจด้า

¼‹Ò¹¾Œ¹»‚·Õ่¼‹Ò¹ÁҡѺ¡Ò÷ํÒ§Ò¹¢Í§ÀҤʋǹ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ÀÒÂ㵌 ⨷ ·Õ่µŒÍ§äÁ‹¡Ãзº¡ÒôํÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§»ÃЪҪ¹à¾×่ÍãËŒ»ÃÐà·Èà·Èà´Ô¹ä»ä´Œ ©ºÑº·Õ่¼‹Ò¹ÁÒä´ŒàÅ‹Ò¶Ö§¡Ò÷ํÒ§Ò¹¢Í§¡ÃзÃǧ¾Åѧ§Ò¹à»š¹·Õ่àÃÕºÌÍ µŒÍ§¢Í ¡Å‹Òǵ‹Íà¹×่ͧÁÒ·Õ่ÍÕ¡ÀҤʋǹÍ‹ҧ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáํҡѺ¡Ô¨¡ÒþÅѧ§Ò¹ ·Õ่à¼Â ·ÔÈ·Ò§¡ÒáํҡѺ¡Ô¨¡ÒþÅѧ§Ò¹»‚ 58 â´ÂÁØ‹§à¹Œ¹¡Ò÷ํÒ§Ò¹·Õ่â»Ã‹§ãÊ ºÃÔËÒà ¨Ñ ´ ¡ÒÃ¡Ô ¨¡ÒþÅѧ§Ò¹à¾×่Í ¤ÇÒÁÁÑ่¹ ¤§ à¾Ô่Á ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹¢Í§¡Ô¨¡ÒþÅѧ§Ò¹ ÊÌҧ¡ÒÃÂÍÁÃѺáÅСÒÃÁÕʋǹËÇÁ¨Ò¡·Ø¡ÀҤʋǹ

กํากับกิจการพลังงาน... เขาเปา

ตอยอดสูผูใชพลังงาน เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน นายพรเทพ ธัญญพงศชยั ประธานกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เปดเผย ถึงทิศทางการดําเนินงานการกํากับดูแลกิจการพลังงานในป 2558 วา จะยังคงให ความสําคัญในทิศทางการกํากับ 3 ดานหลัก คือ ดานการกํากับกิจการพลังงาน อยางโปรงใส เปนธรรม และตรวจสอบได ดานการบริหารจัดการเพื่อความมั่นคง และเพิ่มการแขงขันของกิจการพลังงาน และดานสุดทายการสรางการยอมรับและ การมีสวนรวมในการพัฒนากิจการพลังงานจากกลุมผูมีสวนไดเสียทุกภาคสวน โดยมีภารกิจสําคัญที่ตองทํางานอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนการจัดทําโครงสราง คาไฟฟาใหม ป 2558 – 2560 โครงสรางอัตราคาบริการกาซธรรมชาติ ซึ่งจะ พัฒนาใหมีกลไกควบคุมคาใชจายในการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ จะชวยใหคา ไฟฟาสะทอนตนทุนที่แทจริง มีความโปรงใสและชัดเจน

นายพรเทพ ธัญญพงศชัย

92

March 2015


Special report ส�ำหรับกำรสนับสนุนนโยบำยของรัฐบำลที่ มีควำมเร่งด่วนและเพื่อให้ระบบพลังงำนมี ควำมมั่นคง ได้แก่ กำรปรับปรุงกระบวนกำร ออกใบอนุญำต ให้มคี วำมรวดเร็ว ลดขัน้ ตอน ทีเ่ ป็นปัญหำอุปสรรค โดยได้รว่ มกับกระทรวง อุตสำหกรรมปรับแนวทำงกำรอนุญำต รง.4 โรงไฟฟ้ำฯ ให้เป็นเอกภำพมำกขึ้น กำรให้ บริกำรออกใบอนุญำตแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ หรือ One Stop Service ซึ่งอ�ำนวยควำม สะดวกต่อผู้ประกอบกำร รวมถึงกำรลดข้อ จ�ำกัดทีเ่ ป็นปัญหำของกำรเสริมก�ำลังกำรผลิต ไฟฟ้ำในภำคประชำชน เช่น กำรติดตั้ง แผงผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนแสงอำทิตย์บน หลังคำบ้ำน อำคำร โรงงำน กำรส่ ง เสริ ม กำรแข่ ง ขั น ถื อ เป็ น อี ก ภำรกิ จ ส�ำคัญ โดยได้ออกข้อบังคับ ว่ำด้วยหลักเกณฑ์ กำรจัดท�ำข้อก�ำหนดเกี่ยวกับกำรเปิดให้ใช้ หรือเชื่อมต่อระบบส่งก๊ำซฯ และสถำนี LNG แก่บคุ คลทีส่ ำม (Third Party Access Regime: TPA Regime) ขึ้น เพื่อส่งเสริมกำรลงทุน และเปิ ด โอกำสให้ มี ก ำรแข่ ง ขั น ในกิ จ กำร ก๊ ำ ซธรรมชำติ ทั้ ง นี้ คำดว่ ำ จะสำมำรถ ประกำศใช้ ข ้ อ ก� ำ หนดในเรื่ อ งนี้ ไ ด้ ภ ำยใน เดือนมีนำคม 2558 ซึ่งหลังจำกกำรประกำศ ใช้ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ ท ่ อ ส่ ง ก๊ ำ ซและสถำนีเก็บ รักษำและแปรสภำพจำกของเหลวเป็ น ก๊ำ ซ ใช้ ง ำนได้ เ ต็ ม สมรรถนะ ลดกำรผู ก ขำด ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ กั บ ผู ้ ใช้ ก ๊ ำ ซโดยตรง

นอกจำกนี้ ยังมีภำรกิจด้ำนกำรสร้ำงกำรยอมรับและกำรมีส่วนร่วม กกพ. ชุดปัจจุบันได้ เข้ำมำรับหน้ำที่พร้อมๆ กับกำรแต่งตั้ง คพข.ชุดใหม่ 143 คน ใน 13 เขตพื้นที่ผู้ใช้พลังงำน ที่จะมีวำระใน 4 ปีข้ำงหน้ำ (พ.ศ.2557–2561) ซึ่งจะมีกำรด�ำเนินงำนหลำยเรื่องที่เป็น ประโยชน์ ไม่เฉพำะกำรจัดกำรเรื่องร้องเรียนในพื้นที่ แต่ยังน�ำไปสู่กำรจัดท�ำแผนคุ้มครอง ผูใ้ ช้พลังงำน จะเป็นประโยชน์ในกำรก�ำกับดูแลให้ควำมเป็นธรรมกับผูใ้ ช้บริกำรพลังงำนและ แก้ไขปัญหำข้อเรียนที่เกิดขึ้น พร้อมกับจัดโครงกำรเวทีสร้ำงควำมรู้ควำมตระหนักด้ำน พลังงำนและกำรมีส่วนร่วมเพื่อสนับสนุนงำนก�ำกับกิจกำรพลังงำนอย่ำงต่อเนื่องตั้งแต่ ปี 2553 โดยได้ด�ำเนินกำรไปแล้วใน 10 เขตพื้นที่ผู้ใช้พลังงำน รวม 61 จังหวัด และมีสมำชิก เครือข่ำยในฐำนข้อมูลกว่ำ 20,000 คน อีกหนึ่งเรื่องส�ำคัญ คือ กำรบริหำรกองทุนพัฒนำไฟฟ้ำเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยใน ปี 2557 ที่ผ่ำนมำได้ดูแลผู้ใช้ไฟฟ้ำที่อยู่ในชนบทห่ำงไกลตำมนโยบำยโครงสร้ำงค่ำไฟฟ้ำ รำคำเดียว จ�ำนวนกว่ำ 14,400 ล้ำนบำท และผู้ใช้ไฟฟ้ำที่ด้อยโอกำสตำมนโยบำยของรัฐ หรือ โครงกำรใช้ไฟฟ้ำฟรีส�ำหรับผู้ที่ใช้ไม่เกิน 50 หน่วย จ�ำนวน 5.25 ล้ำนรำย จ�ำนวน 3,600 ล้ำนบำท ได้จัดสรรเงินกองทุนเพื่อกำรพัฒนำและฟื้นฟูท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจำก กำรด�ำเนินงำนของโรงไฟฟ้ำ จ�ำนวน 1,807 ล้ำนบำท โดยปี 2555 – 2558 ได้อนุมัติ กำรจัดสรรงบประมำณเพื่อพัฒนำชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้ำแล้วเป็นเงินจ�ำนวนกว่ำ 6,200 ล้ำนบำท มีโครงกำรชุมชนที่ได้รับอนุมัติเป็นจ�ำนวนกว่ำ 21,500 โครงกำร ส�ำหรับกำรด�ำเนินกำรของ กกพ. ในปี 2558 จะเน้นกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้เงินกองทุน ส่งเสริมพลังงำนหมุนเวียน ตลอดจนสร้ำงควำมตระหนักรู้ในกำรพัฒนำพลังงำน เพื่อเพิ่ม ควำมมีส่วนร่วมทำงพลังงำนมำกยิ่งขึ้น

March 2015 93


Special Scoop Rainbow Ice

âç§Ò¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁã¹»˜¨¨ØºÑ¹ËѹÁÒãÊ‹ã¨ã¹àÃ×่ͧ¢Í§ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ¡Ñ¹ÁÒ¡¢Ö้¹ Êѧࡵ ä´Œ¨Ò¡¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁã¹ÀҤʋǹµ‹Ò§ æ ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§µ‹Ò§ãËŒ¤ÇÒÁËÇÁÁ×ͨ¹¡ÅÒ ÁÒ໚¹ “â¤Ã§¡ÒÃÍصÊÒË¡ÃÃÁÊÕà¢ÕÂÇ” «Ö่§Ë¹ŒÒ·Õ่ÃѺ¼Ô´ªÍºã¹¡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐ ¹âºÒµ‹Ò§ æ ·Õ่à¡Õ่ÂǡѺÍصÊÒË¡ÃÃÁÊÕà¢ÕÂÇâ´ÂµÃ§ ¤§Ë¹ÕäÁ‹¾Œ¹ ¡ÃÁâç§Ò¹áÅÐ ÍصÊÒË¡ÃÃÁ (¡ÃÍ.) ¡ÃзÃǧÍصÊÒË¡ÃÃÁ â´ÂÁÕ “´Ã. ¾ÊØ âÅËÒêع” ͸Ժ´Õ ¡ÃÁâç§Ò¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ໚¹¼ÙŒ´ÙáÅã¹Ê‹Ç¹¹Õ้

กรมโรงงานฯ รุก โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว หวังชวยผูประกอบไทย ลดการใชพลังงาน ทัง้ นี้ ประเทศไทยไดมงุ สูก ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (Sustainable Development) ตามที่ไดใหสัตยารับรองปฏิญญาโจฮันเนสเบิรกวาดวยการพัฒนา อันยัง่ ยืน (Johannesburg Declaration on Sustainable DevelopmentJDSD) เมื่อป พ.ศ.2545 และปฏิญญามะนิลาวาดวยอุตสาหกรรม สีเขียว (Manlia Declaration) เมื่อป พ.ศ.2552 กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) ซึ่งเปนหนวยงานหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงไดกําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาอุสาหกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม และสังคมโดยดําเนินการในเชิงรุกมุงเนนในการสงเสริมและพัฒนา ภาคอุตสาหกรรมใหเติบโตและพัฒนาอยางยั่งยืนบนพื้นฐานของ ความสมดุลทางดานสังคม เศรษฐกิจและสิง่ แวดลอม โดยมีจดุ เริม่ ตน ในป พ.ศ.2553 หลังการประชุม Green industry ขององคการพัฒนา อุตสาหกรรมแหงสหประชาชาติ (Uniter Natios Industrial Developmemt Organization - UNIDO) โดยในขณะนี้ Green Industry ยังเปนนามธรรม อยูม ากเพือ่ ใหมกี ารนํามาปฏิบตั ใิ นภาคอุตสาหกรรมอยางเปนรูปธรรม จึงไดเริ่มโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวขึ้น โดยมีการพัฒนาอยางเปน ระบบและขั้นตอนการพัฒนาที่ชัดเจน

หลั ก การ อุ ต สาหกรรมสี เขี ย ว (Green Industry) หมายถึ ง อุตสาหกรรมที่ยึดมั่นในการปรับปรุงกระบวนการผลิตและการผลิต และการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง เพื่อการประกอบ กิจการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมพรอมกับการยึดมั่นในการประกอบ กิจการดวยความรับผิดชอบตอสังคมทั้งภายในและภายนอกองคกร ตลอดหวงโซอปุ ทานเพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืน มีทงั้ หมด 5 อันดับ ประกอบดวย อุตสาหกรรมสีเขียวอันดับที่ 1 ความมุงมั่นสีเขียว (Green Commitment) อุตสาหกรรมสีเขียวอันดับที่ 2 ปฏิบตั กิ ารสีเขียว

ดร. พสุ โลหารชุน

9494

March March2015 2015


(Green Activity) อุตสาหกรรมสีเขียวอันดับที่ 3 ระบบสีเขียว (Green System) อุตสาหกรรมสีเขียวอันดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) และอุตสาหกรรมสีเขียวอันดับที่ 5 เครือขายสีเขียว (Green Network) สําหรับโครงการการอุตสาหกรรมสีเขียวของกรมโรงงานฯนั้นจะ แตกตางจากหนวยงานอื่นตรงที่ ทางกรมโรงงานฯ ไดใหการสงเสริม และผลักดันใหภาคอุตสาหกรรมมุงสูอุตสาหกรรมสีเขียวเพื่อการ พัฒนาอยางสมดุลและยั่งยืนถือเปนหัวใจสําคัญของโครงการตาง ๆ ของกรมโรงงานฯที่ตองการใหเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของภาค อุตสาหกรรมมีความสอดคลองกับศักยภาพและความเปนไปไดของ ระบบนิเวศรวมทั้งความผาสุกของสังคม กรอ. มีหนาที่ดูแลโรงงาน ตาง ๆ ควบคุมดูแลการดําเนินงานของโรงงานอุตสาหกรรมใหมี ประสิทธิภาพและปรับปรุงมาตรฐานการผลิตใหเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ตัวอยางโครงการตาง ๆ ของ กรอ. ที่โรงงานอุตสาหกรรมสามารถ พัฒนาเปนอุตสาหกรรมสีเขียวได เชน การอนุรักษพลังงานใน กระบวนการผลิตการใชทรัพยากรใหคุมคาโดยหลัก 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) และเทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) การปรับปรุงผลิตภาพสีเขียว (Green Productivity) การศึกษาและ วิเคราะหวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ (Life Cycle Analysis LCA) ของ อุตสาหกรรมสาขาตาง ๆ การลดมลพิษการจัดการกากอุตสาหกรรม เขาสูระบบการจัดการและโครงการสงเสริมความมรับผิดชอบตอ สังคมหรือ CSRDIW เปนตน ซึ่งโครงการตาง ๆ เหลานี้เปนเพียง สวนหนึง่ ของ กรอ. ทีม่ กี าดําเนินงานเชิงรุกดานการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม ที่มีผูประกอบการสนใจเขารวมเปนจํานวนมาก ขณะเดียวกันหนวยงานตาง ๆ ในสังกัด กระทรวงอุตสาหกรรม ได รวมสงเสริมภาคอุตสาหกรรมใหมีการประกอบการใหเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมและสังคมโดยมีการดําเนินการตามภาระกิจของแตละ หนวยงานที่สามารถเทียบระดับเปนอุตสาหกรรมสีเขียวได เชน การสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมของผูประกอบการกิจการ

เหมืองแร โครงการ Lean ManuFacturing โครงการเทคโนโลยีอาสา สําหรับบําบัดนํ้าเสียของกรมอุตสาหกรรม เปนตน ทัง้ นี้ จะเห็นไดวา เมือ่ บรรดาผูป ระกอบไดเขารวมโครงการอุตสาหกรรม สีเขียว กับทางกรอ.แลว ผลดีที่ตามคือ ลดปญหาประชาชนตอตาน โรงงานอุตสาหกรรม การประหยัดทรัพยากรและใชทรัพยากรอยาง คุม คา (Resource Efficiency) นําไปสูส งั คมคารบอนตํา่ ลดผลกระทบ สิ่ ง แวดล อมและชุ มชน ลดขอรอ งเรียนจากผลกระทบจากการ ประกอบกิจการโรงงาน ลดความเสี่ยงในการรับผิดชอบในอนาคต สวนผลดีตอ ภาครวมของอุตสาหกรรมไทย เชน สรางระบบธรรมภิบาล ให อุ ต สาหกรรมที่ เ ป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ มของอุ ต สาหกรรมไทย ลดการใชทรัพยากรและประหยัดพลังงาน ประหยัดตนทุน การดําเนิน ธุรกิจเพื่อสรางโอกาสในการแขงขันในระดับนานาชาติสรางโอกาส ทางการตลาดโดยเนนประเด็น “สีเขียว” ผานเครื่องหมาย Green Industry Mark ที่รับรองกระบวนการผลิตซึ่งกําลังจะเปนที่ยอมรับ และตองการของผูบริโภคทั่วโลก ในสวนอายุการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวมีระยะเวลาดังนี้ ใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 1 มีอายุ 1 ป ไมสามารถ ตออายุการรับรองในระดับเดิมได ใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 2 มีอายุ 2 ป สามารถตอ อายุการรับรองในระดับเดิมได แคตองเปนปฏิบัติการสีเขียวที่ไม ซํ้ากับปฏิบัติการสีเขียวที่ไดรับการรับรองเดิม ใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3,4 และ 5 มีอายุ 3 ป สามารถต อ อายุ ก ารรั บ รองในระดั บ เดิ ม ได โ ดบผู  ป ระกอบการ ไมสามารถโอนใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวใหกับผูอื่นได

March March2015 2015 9595


Special Scoop Rainbow Ice

ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบกำรที่ ส นใจสำมำรถยื่ น ใบสมั ค รต่ อ กระทรวงอุ ต สำหกรรมผ่ ำ น หน่วยงำนต่ำง ๆ ได้ ตำมแบบในสมัครรับรอง อุตสำหกรรมสีเขียว พร้อมหลักฐำน และ เอกสำรต่ำง ๆ ตำมที่ระบุไว้ หรือสำมำรถ ดำวน์โหลดใบสมัครและเอกสำรประกอบได้ จำก www.greenindustry.go.th หรือสมัคร ผ่ำนศูนย์บริกำร One stop service ผ่ำน Single windows หรือ อุตหสำกรรมจังหวัด ทั่วประเทศ และเมื่อกระทรวงอุตสำหกรรม ได้รบั ใบสมัครแล้ว จะด�ำเนินกำรตำมขัน้ ตอน ในกำรตรวจสอบ/ตรวจประเมินเพื่อรับรอง อุตสำหกรรมสีเขียวดังนี้ กรณียนื่ ขอรับกำรรับรองอุตสำหกรรมสีเขียว ระดับที่ 1 ถึง ระดับที่ 3 เจ้ำหน้ำทีจ่ ะด�ำเนินกำร ประเมินเอกสำรตำมเกณฑ์กำ� หนดอุตสำหกรรม สีเขียวระดับที่ 1 หรือระดับที่ 2 หรือระดับที่ 3 ตำมที่ประสงค์ขอรับกำรรับรอง และสรุปผล กำรประเมินเสนอหัวหน้ำหน่วยงำนส่วนกลำง หรือหัวหน้ำหน่วยงำนส่วนภูมิภำคที่ได้รับ มอบอ�ำนำจเมือ่ พิจำรณำอนุมตั ใิ ห้กำรรับรอง กรณียนื ขอรับกำรรับรองอุตสำหกรรมสีเขียว ในระดับที่ 4 หรือระดับที่ 5 จะมีกำรแต่งตั้ง คณะผูป้ ระเมินและด�ำเนินกำรตรวจประเมิน ตำมเกณฑ์ก�ำหนด และสรุปผลกำรประเมิน น� ำ เสนอคณะอนุ ก รรมกำรเพื่ อ พิ จ ำรณำ อนุมัติให้รับรองต่อไป เมื่อผู้ประกอบกำรสมัครและมีกำรพิจำรณำ ผ่ำนเกณฑ์เรียบร้อยแล้ว ผู้ประกอบกำรจะ ได้รับรองอุตสำหกรรมสีเขียวมีสิทธิแสดง ตรำสัญลักษณ์กำรรับรองได้กำรแสดงตรำ สัญลักษณ์กำรรับรองอุตสำหกรรมสีเขียวให้ แสดงพร้อมระดับอุตสำหกรรมสีเขียวที่ได้ รับรองและเลขที่กำรรับรองที่สำมำรถอ่ำน ได้ชัดเจน โดยต้องใช้สีของตรำสัญลักษณ์ และข้ อ ควำมเป็ น สี เขี ย วให้ แ สดงเพื่ อ กำร ติดต่อโฆษณำและส่งเสริมกำรขำยเท่ำนั้น

96

March 2015

และส�ำหรับในปี 2558 นี้ ทำง กรอ. มีนโยบำยและกำรด�ำเนินกำรภำยใต้แนวคิด “DIW Work for best โปร่งใส มีประสิทธิภาพ สูอ่ ตุ สาหกรรมสีเขียว คืนความสุขประชาชน” ภำยใต้ ภำรกิจปกติที่มุ่งเน้นกำรก�ำกับโรงงำนอุตสำหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน ส่งเสริมสนับสนุนภำคอุตสำหกรรม พัฒนำสู่อุตสำหกรรมสีเขียว กำรบริหำรจัดกำรด้ำน ควำมปลอดภัย กำรแก้ไขปัญหำมลพิษ กำรพัฒนำระบบบริหำรจัดกำรและกำรให้บริกำร น�ำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำใช้ในกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่ โดยมีกำรด�ำเนินกำรภำยใต้ นโยบำยส�ำคัญในเรื่องกำรบริหำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรมและกำรใช้ประโยชน์จำกกำก อุตสำหกรรม ผ่ำนโครงกำรต่ำง ๆ เช่น โครงกำรฝึกอบรมกำรใช้ประโยชน์กำกของเสีย ตำมหลัก 3Rs ที่มีประสิทธิภำพโดยด�ำเนินกำรตั้งแต่ต้นทำงได้แก่ ลดกำรเกิดของเสีย (Reduction) น�ำกลับมำใช้ซำ�้ (Reuse) หมุนเวียนใช้ประโยชน์ตำมศักยภำพ/น�ำกลับมำใช้ใหม่ (Recycle) กำรบ�ำบัดของเสียที่ไม่สำมำรถใช้ประโยชน์ได้อีก (Treatment) และก�ำจัดอย่ำง ปลอดภัย (Disposal) เพื่อส่งเสริมกำรหมุนเวียนใช้ประโยชน์ของเสียและลดปริมำณของเสีย ทีต่ อ้ งก�ำจัด รวมทัง้ กำรมอบโล่และเกียรติบตั รแก่โรงงำนทีผ่ ำ่ นกำรตรวจประเมิน โดยโครงกำร ได้เริม่ มำตัง้ แต่ปี 2553 – 2557 ซึง่ มี โรงงำนสนใจเข้ำร่วมโครงกำรจ�ำนวนทัง้ หมด 162 โรงงำน ผ่ำนเกณฑ์กำรตรวจประเมิน จ�ำนวน 19 โรงงำน เช่น ในปีที่ผ่ำนมำ (2557) มีโรงงำนเข้ำร่วม โครงกำรฯ จ�ำนวน 35 โรงงำน ผ่ำนกำรตรวจตำมเกณฑ์ประเมิน 3Rs จ�ำนวน 26 รำย และ ได้รับรำงวัล Zero Waste to Landfill จ�ำนวน 8 รำย รวมถึงกิจกรรมพิเศษที่ให้ผลตอบแทน ที่ดีทำงเศรษฐศำสตร์ซึ่งในปี 2558 ตั้งเป้ำโรงงำนเข้ำร่วมโครงกำร 50 รำย แต่มีโรงงำน เข้ำร่วมโครงกำรจ�ำนวน 51 รำย โครงกำรยกระดับผูป้ ระกอบกำรจัดกำรของเสีย เพือ่ ยกระดับ กำรให้บริกำรและกำรประกอบกิจกำรจัดกำรของเสียให้เป็นมำตรฐำน เกิดกำรจัดกำรของเสีย อย่ำงยั่งยืน ลดก๊ำซเรือนกระจกในภำคอุตสำหกรรม โดยโครงกำรยกระดับผู้ประกอบกำร เริ่มมำตั้งแต่ปี 2553 – 2557 มีโรงงำนสนใจเข้ำร่วมทั้งหมด 239 รำย ผ่ำนเกณฑ์กำรตรวจ และได้รับรำงวัล 159 รำย ในปี 2558 ตั้งเป้ำหมำยไว้ 50 รำย แต่มีโรงงำนเข้ำร่วมโครงกำร จ�ำนวน 54 รำย นอกจำกนี้ เพือ่ ประชำสัมพันธ์ คูม่ อื กำรป้องกันและระงับอัคคีภยั ในโรงงำน โดยคูม่ อื ดังกล่ำว ได้จัดส่งให้กับส�ำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวัดทั่วประเทศ และส�ำหรับผู้ประกอบกำรที่สนใจ สำมำรถ Download ข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ของกรมโรงงำนอุตสำหกรรม รวมทั้งได้ประสำนให้ สำมำรถ Download ได้ที่เว็บไซต์ ของกระทรวงอุตสำหกรรม นอกจำกนี้ยังได้รับมอบหมำย จำกปลัดกระทรวงอุตสำหกรรม ให้จัดกำรฝึกอบรมให้ควำมรู้แก่เจ้ำหน้ำที่ของส�ำนักงำน อุตสำหกรรม ทั่วประเทศเป็นกำรเร่งด่วน เพิ่มเติมจำกแผนปฏิบัติกำรตำมปกติ


March 2015 PB


Green 4U จีรพร ทิพย์เคลือบ

á¿Åªä´Ã¿Šà»š¹ÁԵáѺÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ

ªØ´ÃѺ»ÃзҹÍÒËÒÃÊํÒËÃѺà´็¡ Mother’s Corn

Êํ Ò ¹Ñ ¡ §Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÇÔ ¨Ñ  áË‹ § ªÒµÔ (Ǫ.) ãËŒ ·Õ Á ¹Ñ ¡ ÇÔ ¨Ñ  ¨Ò¡ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉµÃÈÒʵà áÅШØÌÒŧ¡Ã³ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂáÅÐʶҺѹ ¾ÅÒʵԡ ¾Ñ²¹Ò¼ÅÔµÀѳ± ´ÇŒ ¡ÒùํÒÂÒ§¾ÒÃÒ¼ÊÁ¼ÊÒ¹¡Ñº¾ÅÒʵԡ ªÕÇÀÒ¾ ¨¹ÊÒÁÒö¼ÅÔµ “Thai Thumb” ËÃ×Íá¿Åªä´Ã ¿Š µŒ¹áºº ¼ÅÔµÀѳ± ¨Ò¡¾ÅÒʵԡªÕÇÀÒ¾áÅÐÂÒ§¾ÒÃÒ¤Ãѧ้ áá¢Í§ä·ÂáÅФÃѧ้ áá ¢Í§âÅ¡ «Ö่§·Ò§ “¤Í¹à«»µ ·ÃÕ” ä´Œ¹ํÒÁÒµ‹ÍÂÍ´ã¹àªÔ§¾Ò³ÔªÂ à¾×่Íà¾Ô่Á ·Ò§àÅ×Í¡ãˌᡋ¡ÅØ‹ÁÅÙ¡¤ŒÒÃÑ¡É ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ áÅФҴËÇѧÊÌҧ¨Ø´à´‹¹ àÊÃÔÁÈÑ¡ÂÀÒ¾¼Ù» Œ ÃСͺ¡ÒÃä·Âã¹àÇ·Õ¼ÅÔµÀѳ± à¾×Í่ ÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁÊÒ¡Å ÊํÒËÃѺ¼ÅÔµÀѳ± “Thai Thumb” ¹Õ้ ໚¹ÍØ»¡Ã³ ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ÊÒํ ËÃѺ à¡็º¢ŒÍÁÙÅ ¢¹Ò´ºÃÃ¨Ø 4 GB ‹ÍÂÊÅÒÂä´Œ 100% (¢ŒÍÁÙŨҡ www.concept-tree.net)

Mother’s Corn ¼ÅÔµ¨Ò¡ÇÑÊ´Ø PLA (Poly Lactic Acid) «Ö่§à»š¹ÇÑÊ´Ø ¸ÃÃÁªÒµÔÊ¡Ñ´¨Ò¡¢ŒÒÇâ¾´ 100% ÁÕ¤ÇÒÁá¢็§áç·¹·Ò¹ 㹡ÒÃ㪌§Ò¹äÁ‹µÒ‹ § ¨Ò¡¾ÅÒʵԡ·Õ¼ ่ ÅÔµ¨Ò¡» âµÃà¤ÁÕ ãªŒËÁÖ¡»ÅÍ´ÊÒþÔÉ㹡ÒþÔÁ¾ ÅÇ´ÅÒ º¹¼ÅÔµÀѳ± »ÅÍ´ÊÒþÔÉ ÊÒÃà¤ÁÕ »ÅÍ´ÊÒá‹ÍÁÐàÃ็§ ໚¹ÁԵõ‹Í ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ áÅÐÊÒÁÒö‹ÍÂÊÅÒÂä´ŒµÒÁ¸ÃÃÁªÒµÔ´ŒÇÂàª×้ͨØÅÔ¹·ÃÕ 㹴Թ »ÅÒªŒÍ¹ÊŒÍÁ⤌§à¢ŒÒËÒµÑÇ à¾×Í่ §‹Òµ‹Í¡ÒùํÒÍÒËÒÃࢌһҡ ´ŒÒÁ¨ÑºË¹Ò໚¹ ¾ÔàÈÉà¾×่ÍãËŒà´็¡àÅ็¡¨Ñºä´ŒÊдǡ àËÁÒÐÊํÒËÃѺà´็¡·Õ่ÁÕÍÒÂØ 8 à´×͹¢Ö้¹ä» (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.babybestbuy.in.th/)

â«¿ÒÃÕä«à¤ÔÅ

à¿Íà ¹àÔ ¨Íà ª´ Ø ¹ÕÁ้ ªÕ Í×่ Ç‹Ò Moon Sofa «Ö§่ Gatis Jansons ໚¹¼ÙÍŒ ͡Ẻ ãËŒ¡Ñº Latvian Design Studio ÁÕÅѡɳÐ໚¹§Ò¹ patchwork â´ÂÁÕ ¡ÒùํÒàÍÒÊÔ§่ ¢Í§äÁ‹ãªŒáÅŒÇ ÃÇÁ¶Ö§àÈɼŒÒµ‹Ò§ æ ÁÒµ‹Í æ ¡Ñ¹ à¾×Í่ à¾ÔÁ่ ¤ÇÒÁ ËÅÒ¡ËÅÒ ÅÇ´ÅÒ ÊÕÊѹÊǧÒÁÊдشµÒÁÒ¡ÂÔ่§¢Ö้¹ â´Âʋǹâ¤Ã§ ä´ŒÁÕ¡ÒùํÒäÁŒ¨Ò¡ÅѧÁÒ㪌»ÃÐ⪹ ʋǹàºÒйÑ่§ÊÒÁÒö¡àºÒоԧËÅѧ ÍÍ¡ä´Œ à¾×Í่ ãˌ´ × ËÂع ‹ µ‹Í¡ÒÃ㪌§Ò¹ ¹Ñºà»š¹¡ÒÃà¾ÔÁ่ ¤Ø³¤‹Ò ÍÕ¡·Ñ§้ ໚¹¡Òà Ŵ¡ÒÃ㪌·ÃѾÂÒ¡ÃáÅÐÂ×´ÍÒÂØãËŒ¡ÑºÊÔ่§¢Í§àËÅ×Í㪌ÍÕ¡·Ò§Ë¹Ö่§ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th)

ºÃèØÀ³ Ñ ± à¤Å×ͺ¾ÅÒʵԡ‹ÍÂÊÅÒÂä´Œ

ºÃÔÉ·Ñ àÍÊ«Õ¨Õ à¾Íà ¿Íà ÁÒ¹« à¤ÁÔ¤ÍÅÊ ¨ํÒ¡Ñ´ ¾Ñ²¹Òäºâ;ÅÒʵԡ¨Ò¡ Çѵ¶Ø´Ôº¨Ò¡¸ÃÃÁªÒµÔ ઋ¹ ͌͠ÁѹÊํÒ»ÐËÅѧ â»ÃµÕ¹¨Ò¡¶Ñ่ÇáÅТŒÒÇâ¾´ ¹ํÒÁÒ¼‹Ò¹¡Ãкǹ¡Òõ‹Ò§ æ à¾×Í่ ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÊÁºÑµàÔ ËÁÒÐÊํÒËÃѺà¤Å×ͺ¡ÃдÒÉ Â‹ÍÂÊÅÒ·ҧªÕÇÀҾ䴌 100% (Compostable Plastics Coated Paper) ÊÒÁÒö·¹¤ÇÒÁÌ͹䴌 100 ͧÈÒà«Åà«ÕÂÊ »‡Í§¡Ñ¹¡ÒÃÃÑÇ่ «ÖÁ¢Í§à¤Ã×Í่ §´×Á่ áÅлÅÍ´ÀÑÂÊํÒËÃѺ¡ÒúÃèØÍÒËÒôŒÇÂÁҵðҹ¨Ò¡ÂØâû (EU10/2011) «Ö่§ª‹ÇÂÊÌҧÁÙŤ‹Ò¼ÅÔµÀѳ± ãËŒ¸ØáԨºÃèØÀѳ± à¤Å×ͺ¾ÅÒʵԡ·Õ่äÁ‹à»š¹ ÍѹµÃÒµ‹ÍÊØ¢ÀÒ¾ áÅÐäÁ‹¡‹ÍãËŒà¡Ô´ÁžÔÉá¡‹ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ઋ¹ á¡ŒÇà¤Å×ͺ äºâ;ÅÒʵԡ¤ÍÁ¾Òǹ´ ÂÍ‹ ÂÊÅÒÂä´ŒÊÒํ ËÃѺà¤Ã×Í่ §´×Á่ Ì͹áÅÐàÂ็¹ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.scgchemicals.co.th)

98

March 2015


âµ ÐࢌÒÁØÁ¨Ò¡¶Ø§¾ÅÒʵԡ¶Ñ¡â¤Ãવ

·Õ่ÇÒ§ iPad ¨Ò¡¡ÃдÒɡŋͧ

Safari TV ·ํÒ¨Ò¡¡ÃдÒɡŋͧ ËÃ×Í Cardboard ·Õ่ÁÕ¤ÇÒÁá¢็§áç·¹·Ò¹ ÀÒÂ㵌á¹Ç¤Ô´¡ÒÃÍ͡ẺẺ Retro ËÃ×Í·ÕÇÕã¹Âؤ»‚ ’60 㹡Òùํҡŋͧ ¡ÃдÒÉÁÒ㪌ÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ํÒãËŒÊÒÁÒöàª×่ÍÁâ§à´็¡ æ ࢌҡѹ¡Ñº à·¤â¹âÅÂÕä´ŒÊдǡ¢Ö้¹ ·Ñ้§áººÍ¹ÒÅ็Í¡ áÅдԨԵÍÅ ¢Õ´à¢Õ¹䴌 㪌§Ò¹ iPad ´ÙÃÙ» ÇÕ´ÕâÍ ´Ù˹ѧ ¿˜§à¾Å§ ËÃ×ÍáÁŒáµ‹ FaceTime ¤Ø¡ѹ¡็㪌§Ò¹ä´Œ§‹Ò æ ᵋËÒ¡äÁ‹ãªŒáÅŒÇ ËÃ×Íà¡Ô´¡ÒêํÒÃØ´ ¡็·Ô้§áÅйํÒä»à»š¹¢ÂÐÃÕä«à¤ÔÅ ¡ÅѺä»à¢ŒÒ ¢ºÇ¹¡ÒüÅԵ䴌ãËÁ‹ äÁ‹¡ÅÒÂ໚¹¢ÂоÔÉ·Õ่ÂÒ¡µ‹Í¡ÒáํҨѴÍÕ¡´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th)

CROKE’ Í͡Ẻâ´Â Hugo Ribeiro ä´ŒÁ¡ Õ ÒùํÒÃٻẺʵÙÇá ºº´Ñ§้ à´ÔÁ¢Í§ â»ÃµØà¡Ê áÅÐÈÔÅ»Ð㹡Òöѡâ¤Ãવ ࢌÒÁÒ໚¹áçºÑ¹´ÒÅã¨ã¹¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹ ´ŒÇ¡ÒùํÒàª×Í¡·Õ่ä´Œ¨Ò¡¡ÒùํҶا¾ÅÒʵԡÁҶѡâ¤Ãવ ÁÒË‹ÍËØŒÁ à¡ŒÒÍÕä้ ÁŒàÍÒäÇŒ ¨¹ÊÒÁÒöà¹ÃÁԵࡌÒÍÕä้ ÁŒ¸ÃÃÁ´Ò æ ãËŒÁ¤ Õ ÇÒÁâ´´à´‹¹¹‹Òʹ㨠ÁÒ¡ÂÔ่§¢Ö้¹ ÃÇÁ·Ñ้§ª‹ÇÂÅ´»ÃÔÁÒ³¢Âжا¾ÅÒʵԡ à¾Ô่ÁÁÙŤ‹ÒãËŒ¡Ñºà¡ŒÒÍÕ้äÁŒ ¹Ñºà»š¹á¹Ç¤Ô´·Õ่ª‹ÇÂ㹡ÒÃÃÑ¡ÉÒÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁãËŒ¹‹ÒÍÂÙ‹ÁÒ¡ÂÔ่§¢Ö้¹ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th)

µØ ¡µÒªÇ¹¢¹ÅØ¡ ¼ÅÔµ¨Ò¡¢ÂоÅÒʵԡ

à¿Íà ¹Ôà¨Íà ¨Ò¡¼ŒÒäËÁ㪌áÅŒÇ

¼ŒÒäËÁ¶Ö§áÁŒ¨Ðà¡‹ÒËÃ×Í¡ÒÅàÇÅÒ¼‹Ò¹ä»¹Ò¹à¾Õ§㴠ᵋ¡็Âѧ¤§¤ÇÒÁ§´§ÒÁáÅÐ ·Ã§¤Ø³¤‹ÒäÇŒàÊÁÍ à˵ؼŹÕ้àͧ·Õ่·ํÒãËŒ Meb Rure ´Õ䫹 à¹Íà ªÒÇàÁ×ͧ ÍÔʵѹºÙÅ µØÃ¡Õ ä´ŒÊÌҧà¿Íà ¹Ôà¨Íà ´ŒÇ¡ÒùํÒàÍÒ¼ŒÒäËÁà¡‹ÒÁÒ㪌»ÃÐ⪹ ÍÕ¡¤ÃÑ้§Ë¹Ö่§ ·ํÒãËŒ¼ŒÒãËÁ‹à¡‹Ò æ ¡ÅÒÂÊÀÒ¾ÁÒ໚¹à¡ŒÒÍÕ้ Ottoman áÅÐ Stool ¢Í§µ¡áµ‹§ÊǧÒÁÊํÒËÃѺºŒÒ¹ «Ö่§à¡ŒÒÍÕ้¶Ù¡µ¡áµ‹§´ŒÇ¼ŒÒäËÁÅÙ¡¡ÅÁ æ àËÁ×͹ÅÙ¡ºÍÅ·Õ่ãÊ‹¿Í§¹ํ้ÒäÇŒÀÒÂã¹ »ÃСͺ¡Ñºâ¤Ã§äÁŒâÍ ¤ÍѹàÃÕº§‹Ò ᵋËÃÙËÃÒáÅÐÊǧÒÁ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th)

»ÃеÔÁÒ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä á¹Çá»Å¡¢Í§ÈÔÅ» ¹ Freya Jobbins ·Õ่¡ํÒÅѧ ÅŒÍàÅ‹¹¡ÑºÍÒÃÁ³ ¤¹ä´ŒÍ‹ҧªÇ¹¢¹ÅØ¡¢¹¾Í§ ´ŒÇµŒÍ§¡ÒÃÊÌҧ§Ò¹ÈÔŻР·Õ¾ ่ ´ Ù ¶Ö§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÃÐËÇ‹Ò§âÅ¡ºÃÔâÀ¤¹ÔÂÁ¡Ñº ÇѲ¹¸ÃÃÁÃÕä«à¤ÔŠṋ¹Í¹ Ç‹ÒÍÒ¨¨Ð´ÙäÁ‹ÊǧÒÁ¹Ñ¡ ᵋ·Ç‹ÒäÁ‹¨Òํ ໚¹µŒÍ§ÊǧÒÁàÊÁÍä» à¾Õ§ᤋ¡Ãеء ÍÒÃÁ³ á Åе‹ Í Á¤Ô ´ ¤¹´Ù ã ËŒ µ×่ ¹ ¢Ö้ ¹ ä´Œ ÁÑ ¹ ¡็ ÁÕ ¤ ‹ Ò à¾Õ  §¾ÍáÅŒ Ç «Ö่ § ¼Å§Ò¹ ˹ŒÒÁ¹ØÉ ËÅÒ¡ËÅÒÂàËÅ‹Ò¹Õ้àµ็Áä»´ŒÇ¤ÇÒÁËÅ͹»¹¢ํÒ·Õ่ÊзŒÍ¹âÅ¡ ã¹ÁØÁ¡ÅѺ àÈÉ«Ò¡¢Í§µØ¡ µÒáÅТͧàÅ‹¹¾ÅÒʵԡ¶Ù¡¹ํÒÁÒ໚¹Ê‹Ç¹»ÃСͺ ¡Ñ¹¢Ö้¹à»š¹ãºË¹ŒÒ Á¹ØÉ ÃÇÁ¶Ö§ºØ¤¤Å¼ÙŒÁÕª×่ÍàÊէ͋ҧ ÇÙŒºÕ้ â¡Å´ àºÔà ¡ ÍÒà â¹Å ´ ªÇÒà à«à¹¡à¡Íà ặáÁ¹ ËÃ×ÍáÁŒáµ‹µÑÇÃŒÒÂã¹Ë¹Ñ§ä«ä¿¤ÅÒÊÔ¤ Í‹ҧ ´Òà ¸ àÇà´Íà äÁ‹à¾Õ§໚¹¡Òõ͡Âํ้ÒNjҢͧàÅ‹¹·Õ่¼ÅÔµ¢Ö้¹«ํ้Ò«Ò¡¶Ù¡ ·Ô้§¢ÇŒÒ§ä» ¡Ñº¡ÒÃàÅ‹¹Í‹ҧäÃŒ¤‹Ò ᵋÍҨ໚¹¤ÇÒÁËÅ͹«‹Í¹¤ÇÒÁˋǧã µ‹Íà´็¡·Õ่¡ํÒÅѧàµÔºâµÁÒÀÒÂ㵌ÇѲ¹¸ÃÃÁºÃÔâÀ¤´ŒÇÂઋ¹¡Ñ¹ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.creativemove.com/art)

March 2015 99


Green 4U จีRainbow รพร ทิพIce ย์เคลือบ

ÈÔŻТŒÒ§¶¹¹ ¡Ñº

ʋǹ·Õ่¢Ò´ËÒ Can Man Series เปนโปรเจ็กตเก ๆ ของศิลปนแนว Street Art ผูใชนามแฝงวา “My Dog Sighs” ซึ่งทํางานอยูตามชายขอบและ ซอกหลืบของเมือง Portsmouth ในประเทศอังกฤษมารวม 10 ป และยืนยันเจตนารมณที่ตองการเปนอิสระจากบรรดาแกลเลอรี่ เหลานายหนาขายงานศิลปะ กระทัง่ คนดูหมูม ากวาจะไมสนใจผลงาน ของเขาหรื อ ไม แล วอะไรทํ าให My Dog Sighs เปนที่สนใจ และเฝาติดตามผลงานอยางตอเนื่องไดละ เสนหอยางหนึ่งของ Can Man Series คือ พลังของความเงียบและเล็กที่สามารถ สัน่ สะเทือนความรูส กึ บางอยางของผูพ  บเห็นได นอกจากนีย้ งั ไดให นิยามใหมกับความเปน Street Art ในแงของการยึดติดอยูกับ พืน้ ทีห่ รือตามกําแพง ทัง้ ทีส่ าธารณะและสวนบุคคล My Dog Sighs ไมอยูภายใตเงื่อนไขนั้น หรือจะเรียกวาเปนงาน installation ขนาดจิ๋วที่ใกลชิดกับผูคนมากขึ้นอีกหลายเทาตัวก็วาได จากกระปองอาหารที่กองพะเนินตามกองขยะ เขาไดฟนคืนชีวิตใหกับ พวกนีอ้ กี ครัง้ โดยสรางคาแร็กเตอรอนั เปย มเอกลักษณและหลากหลาย ทัง้ นีม้ กั มีสว นผสมของความมืดหมนเปนหลัก บวกกับความตลกรายและสนุกสนาน โดยไมมี กฎเกณฑตายตัว และเมื่อใสรายละเอียดจนสมบูรณแลว เขาจะนําไปวางไวตามจุดตาง ๆ แลวแตใครที่บังเอิญมาพบเห็นในฐานะผูคนพบ My Dog Sighs จึงเลนกับอารมณในระดับ ปจเจกบุคคลกับงานศิลปะของเขา ทัง้ ความรูส กึ ขัดแยงในใจ ความรูส กึ ผิดเมือ่ อยากหยิบงาน ชื้นนี้กลับไป กับประเด็นการสูญและการถูกทิ้งของกระปองที่ใชงานแลว กับชนชั้นของผูที่ เดินตามทองถนน ความเปลี่ยวเหงาและจิตวิญญาณที่หายไปของคนเมือง อันเปนปฎิกิริยา ที่เกิดขึ้นเพียงไมกี่นาที My Dog Sighs เปนสวนหนึ่งของโปรเจคอันโดงดังอยาง Free Art Friday และตัว Can Man Series เองก็ประสบความสําเร็จอยางรวดเร็ว โดยมีแฟนพันธุแททั้งในประเทศ และตางประเทศคอยติดตามทั้งในอิสราเอลและ ญี่ปุน และสมาชิกจํานวนมากบนเฟสบุค และยูทูบ ขณะเดียวกัน My Dog Sighs ยังขายงานไดในจํานวนมหาศาลอยางไมนาเชื่อ (ขอมูลจาก : http://www.creativemove.com/art)

100

March 2015



แวดวงคนพลังงาน นายวรวิทย์ เลิศบุษศราคาม (Mr.WORAWIT LERDBUSSARAKAM) วันเกิด : 8 กรกฎำคม 2508 โทร. : 0-3633-9111 ต่อ 1010 โทรสาร : 0-3633-9062 Email : worawit@tpipolene.co.th ทีอ่ ยู่ : บริษทั ทีพไี อ โพลีน จ�ำกัด (มหำชน) 299 ถนนมิตรภำพ ต�ำบลทับกวำง อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี 18260

ประวัตกิ ารศึกษา - ปริญญำตรี วิศวกรรมไฟฟ้ำ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ - ปริญญำโท บริหำรธุรกิจ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ประวัตกิ ารท�างาน - ผูบ้ ริหำรโครงกำรประหยัดพลังงำนไฟฟ้ำ - ผูบ้ ริหำรโครงกำรพลังงำนทดแทน - ผูบ้ ริหำรโรงงำนปูนซิเมนต์ โรงไฟฟ้ำ โรงผลิต RDF ต�าแหน่งปัจจุบนั - รองผู้จัดกำรใหญ่/ รองผู้จัดกำรโรงงำน บริษัท ทีพีไอ โพลีน จ�ำกัด (มหำชน) ผลงานส�าคัญ - โครงกำรผลิตเชื้อเพลิงทดแทนจำกขยะชุมชน (Refuse Derived Fuel : RDF) เพื่อใช้ทดแทนถ่ำนหิน ได้รับรำงวัลดีเด่น ด้ำนพลังงำนทดแทน ประเภทโครงกำรพลังงำนหมุนเวียน ที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสำยส่งไฟฟ้ำ (Off-Grid) จำกกำรประกวด Thailand Energy Awards 2014 และได้รับรำงวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 จำกกำรประกวด ASEAN Energy Awards 2014 ในฐำนะตัวแทนของประเทศไทย

102

March 2015

นายชวลิต พิชาลัย (Mr.Chavalit Pichalai) อายุ : 59 ปี โทร. : 0-2612-1555 โทรสาร : 0-2612-1364 Email : chavalit@eppo.go.th ที่อยู่ : ส�ำนักงำนนโยบำยและแผน พลังงำน (สนพ.) กระทรวงพลังงำน 121/1-2 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญำไท เขตรำชเทวี กรุงเทพฯ 10400 ประวัตกิ ารศึกษา - ปริญญำตรี เศรษฐศำสตร์บณ ั ฑิต มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ - ปริญญำโท พัฒนำกำรเศรษฐกิจมหำบัณฑิต นิดำ้ - Master of Public Administration, Carleton University, Canada ประวัตกิ ารท�างาน - 2550 - 2555 รองผูอ้ ำ� นวยกำรส�ำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน - 2555 รองอธิบดี กรมเชือ้ เพลิงธรรมชำติ - 2555 - 2557 ผูต้ รวจรำชกำร กระทรวงพลังงำน ต�าแหน่งปัจจุบนั - ผูอ้ ำ� นวยกำรส�ำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน (สนพ.) เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ - มหำวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - ประถมำภรณ์ชำ้ งเผือก (ป.ช.) หลักสูตรการฝึกอบรม - หลักสูตรนักบริหำรระดับสูง (นบส.) รุน่ ที่ 39 ส�ำนักงำนข้ำรำชกำร พลเรือน (ก.พ.) - หลักสูตรกำรป้องกันรำชอำณำจักรภำครัฐร่วมเอกชน (ปรอ. 2551) วิทยำลัยป้องกันรำชอำณำจักร - The Columbia Senior Executive Program (CSEP 131) Columbia University, USA - หลักสูตรผูบ้ ริหำรเทคโนโลยีสำรสนเทศระดับสูง ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชำติ - ประกำศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 192/2014) สมำคมส่งเสริมสถำบันกรรมกำรบริษทั ไทย


Energy Gossip กราบสวัสดี... แฟน ๆ นิตยสาร “ENEGY SAVING” ทีย่ งั ไม่ทงิ้ กันไปไหน ติดตามผลงานกันจนมาถึงช่วงท้ายของฉบับ จนมาพบปะกับกระผม “คนเดินดิน กินข้าวแกง ไปวัน ๆ” อีกครัง้ บนพืน้ ทีเ่ ล็ก ๆ หน้านี้ ถามหาความรู.้ ..มีครับ ถามหาสาระ...มีครับ แต่กข็ อสอดแทรกแนวคิดบวกความคิดเห็นทัง้ ส่วนตัว และส่วนรวมเข้าไปกระตุกก้นบึง้ ของหัวใจกันเดือนละครัง้ ก็แล้วกันนะครับ

เรื่องของ

คงยังทันนะครับ หากจากกล่าวถ้อยค�าอวยพรปีใหม่ตามรูปแบบผูท้ มี่ เี ชือ้ สาย จีนว่า “ซินเจิง้ หรูอี้ ซินเหนียนฟาไฉ” ก็ขอให้รวย ๆ เฮง ๆ กันตลอดปีกนั ถ้วนหน้า อันทีจ่ ริงกระผมเองก็ไม่ได้มเี ชือ้ จีนมากนัก แค่ตดิ ๆ ปลายนวมมา นิดหน่อย แต่กแ็ อบ ๆ ใส่เสือ้ แดงนัง่ พิมพ์ตน้ ฉบับนีอ้ ยูเ่ หมือนกัน เพือ่ ไม่ให้ เป็นการตกยุคตกสมัย เช่นเดียวกับการขับเคลือ่ นของบ้านเราหลังก้าวผ่านพ้นปี 2558 มาแล้ว 3 เดือน ที่ปัจจุบันดูเหมือนจะเป็นแดนสวรรค์ด้านความสงบสุข แต่หลายฝ่ายก็ยังถกเถียงกันตามร้านกาแฟ ริมทางว่า หากมองให้ลึก ๆ บ้านเรายังมีประเด็นที่อาจท�าให้เกิดการถกเถียงในสังคมที่รอวันปะทุ จากประเด็นร่างรัฐธรรมนูญทีม่ าของนายกรัฐมนตรี การตรวจสอบ องค์กรอิสระ บทบัญญัตใิ หม่ ๆ ที่จะบรรจุเข้าไป รวมถึงประเด็นนิรโทษกรรมที่ยืดเยื้อมานาน ก็ต้องขึ้นอยู่กับผู้น�าประเทศว่าจะ สามารถรับแรงกดดันภายในที่ก่อตัวมาช้านานได้หรือไม่ ? ช่วงทีผ่ า่ นมา กระแสรถโดยสารสาธารณะอย่าง “แท็กซี”่ เป็นประเด็นพอสมควร ทัง้ เรือ่ งการปรับราคา ค่าโดยสารขัน้ ต้นตัง้ แต่กา้ วขึน้ รถ การไม่รบั ผู้โดยสาร การมอมยา ค่าโดยสารเกินจริง หรือแม้กระทัง้ การ เรียกเก็บค่าโดยสารเกินราคาจากทีป่ รากฏบนมิเตอร์จนโดนถ่ายคลิปประจานให้งามหน้าไปตาม ๆ กัน ก็เลยอยากลองของโดยขอใช้บริการดูสกั อาทิตย์ จากประสบการณ์ตรงเห็นจะเป็นการปฏิเสธไม่ไปในเส้นทาง ทีเ่ ราต้องการเสียมากกว่า ส่วนประเด็นอืน่ ๆ โชคเข้าข้างท�าให้ยงั ไม่เจอปัญหารูปแบบอืน่ ๆ แต่อย่างไร แต่ประเด็นทีน่ า่ เก็บเอามาคิดกลับเป็นปัญหาการรอคิวเติมแก๊สของแท็กซีบ่ า้ นเรา จริงอย่างทีโ่ ดนปฏิเสธว่า แก๊สไม่พอ เข้าใจตรงทีป่ จั จุบนั ภาครัฐบังคับให้รถสาธารณะอย่างแท็กซีเ่ ป็นมาใช้ “NGV” เป็นหลัก เพราะ ราคาถูก (แล้วปรับราคาท�าไม) บ้านเรามีเยอะไม่ตอ้ งน�าเข้ามากนัก แต่ขอ้ เสียของเชือ้ เพลงประเภทนี้ เห็นจะ เป็นจ�านวนสถานีบริการ ทีด่ เู หมือนจะไม่พอเสียที กับจ�านวนแท็กซีท่ เี่ กิดใหม่หลักร้อยต่อวัน และการเติมที่ ใช้เวลานาน การเติมต่อครัง้ ก็วงิ่ ได้นอ้ ย และทีส่ า� คัญจะเป็นการจอดรถติดเพือ่ เผาแก๊สทิง้ ไปเฉย ๆ เสียอีก เมือ่ สถานีไม่เพิม่ (มากนัก) แต่จา� นวนรถเพิม่ คิวนาน แล้วจะท�าอย่างไรให้การเติมแต่ละครัง้ รถสามารถวิง่ ได้ ไกลกว่าเดิม ก็ทา� ให้มานัง่ นึกถึงเรือ่ งเครือ่ งยนต์ โดยพืน้ ฐานเครือ่ งยนต์แท็กซีบ่ า้ นเราต้องมีขนาด 1,500 ซีซ.ี ขึน้ ไป ซึง่ เป็นสิง่ ทีก่ า� หนดมาช้านานในยุคทีร่ าคาเชือ้ เพลิงไม่แพงและถนนมีให้วงิ่ มากกว่าปัจจุบนั เคยมีคน เล่าให้ฟงั ว่าเพือ่ ไม่ให้เป็นการผูกขาดของรถยีห่ อ้ ใดยีห่ อ้ หนึง่ และก็มคี นบอกมาอีกว่า รถเครือ่ งใหญ่ ขนาดรถก็ให้ตาม ผู้ใช้บริการก็นงั่ สบาย แต่นนั้ ก็เป็นแนวคิดของเมือ่ ก่อน เพราะเท่าทีด่ ใู นปัจจุบนั แท็กซี่ กว่า 90% ก็มอี ยูย่ หี่ อ้ เดียว หรือแม้กระทัง่ รถทีเ่ ครือ่ งยนต์ตา�่ กว่า 1,500 ซีซ.ี ปัจจุบนั ขนาดจะใหญ่กว่า ด้วยซ�า้ โดยทีส่ มรรถนะไม่ตา่ งกันมากนัก นัน้ ก็เพราะเทคโนโลยีทที่ นั สมัย แต่อะไรทีล่ า้ สมัย... ถ้าไม่ใช่กฎ ข้อบังคับทีเ่ ป็นมาช้านาน ไม่ใช่เอะอะก็ขนึ้ ราคา ๆ แทนทีจ่ ะหาทางออกโดยการลดขนาดเครือ่ งยนต์ของรถแท็กซี่ เพือ่ เพิม่ ทางเลือก ในการลดปัญหาต่าง ๆ ทีส่ า� คัญเครือ่ งเล็ก ๆ ก็ใช้พลังงานน้อยกว่า ประหยัดกว่า วิง่ ไกลกว่า ก็มองในแง่ ของชาวบ้านตาด�า ๆ ทีต่ อ้ งจ่ายค่าบริการของรถสาธารณะทีถ่ ามว่าคุม้ ไหมกับเงินทีเ่ สียไป ผมว่าคน ทีใ่ ช้บริการประเภทนีบ้ อ่ ย ๆ คงเจอปัญหาอืน่ ๆ ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบการขับขีท่ มี่ องตัวเองเป็นหลัก ไม่แคร์เพือ่ นร่วมทาง มาเฟียหลังพวงมาลัย บทสนทนาทีไ่ ม่สภุ าพโดยเฉพาะกับสุภาพสตรี สภาพรถที่ ไม่พร้อมให้บริการทัง้ ภายนอกและภายใน สิง่ เหล่านีต้ า่ งหากทีเ่ ป็นปัญหา ผมว่าผูท้ เี่ กีย่ วข้องก็ร.ู้ .. แต่กค็ ง น�า้ ท่วมปาก กลืนไม่ได้ คายไม่ออก ทีน่ า่ เสียดาย เห็นจะเป็นรถแท็กซีส่ าธารณะทีใ่ ห้บริการผ่าน Application ด้วยรถยนต์บริการป้ายเขียว หรือรถยนต์สว่ นบุคคลป้ายด�าภายใต้ชอื่ Uber Taxi ที่ กรมการขนส่งทางบก ให้เหตุผลว่า การบริการดังกล่าว กระท�าความผิดตามพระราชบัญญัตริ ถยนต์ พ.ศ. 2522 ฐานใช้รถยนต์ผดิ ประเภทจากทีจ่ ดทะเบียนไว้

และมีความผิดฐานไม่ใช้มาตรค่าโดยสารตามทีท่ าง ราชการก�าหนด ผูข้ บั รถไม่มใี บขับขีส่ าธารณะ และ ไม่เข้าสู่ระบบทะเบียนของศูนย์ประวัติผู้ขับรถ สาธารณะ การช�าระค่าโดยสารผ่านบัตรเครดิต อาจส่งผลต่อความปลอดภัยด้านธุรกรรมของ ผู้ใช้บริการในอนาคต ว่าไปนั้น แปลกแต่จริงตรงทีก่ ารบริการรูปแบบนีเ้ ติบโตเร็ว กว่าการบริการแท็กซี่แบบเดิม ๆ เพราะอะไร ก็ไม่อาจอธิบายได้ แต่อย่าลืมว่าบ้านเรา เรือ่ งทีด่ ี ก็มกั มีการบอกต่อ เช่นเดียวกับเรือ่ งไม่ดี ทีม่ กี าร บอกต่อเช่นกัน ฉะนั้นลองถามตัวเองจากลึก ๆ ในใจว่า ถ้าเป็นคุณ...จะเลือกสิง่ ดี ๆ ให้ตวั เองหรือไม่ เช่นเดียวกันหาก Uber Taxi ดูเหมือนจะเป็นภัย ต่อประชาชนขนาดนั้น ท�าไมคนถึงใช้บริการ ทั้งที่ต้องจ่ายแพงกว่า แต่เขายอมจ่าย จบเรือ่ ง Uber Taxi ไม่นาน ทางออกของผู้ใช้บริการ รถสาธารณะก็สว่างขึ้นอีกครั้ง เมื่อค่ายรถทัวร์ ยักษ์ใหญ่เตรียมเดินหน้าโครงการแท็กซีร่ ปู แบบ ใหม่ All Thai Taxi สมาร์ทแท็กซี่ในฝันที่ทุกคน รอคอย แค่รวู้ า่ เอารถ Hybrid มาให้บริการก็เล่น เอาอยากใช้บริการแล้ว เพราะเติมน�้ามันและใช้ ไฟฟ้าขับเคลื่อน ที่ส�าคัญติดตั้งอุปกรณ์ภายใน ครบครันเพือ่ เอาใจคนรุน่ ใหม่โดยเฉพาะ สามารถ จ่ายค่ามิเตอร์ผา่ นบัตรเครดิต/เดบิต เงินสด และ เอทีเอ็ม เริม่ ต้นที่ 35 บาท เมือ่ ถึงปลายทางจะ ออกใบเสร็จระบุระยะทาง เวลา ราคาทีใ่ ช้บริการ รวมถึงสถานทีจ่ ากต้นทางถึงปลายทาง แถมย�า้ ชัดว่า ไม่ปฏิเสธลูกค้า หรือ ไม่กดมิเตอร์ เนือ่ งจากมีระบบ GPS และ CCTV จับตาดูตลอดทุกคัน งานนี้ แท็กซีแ่ บบเดิม ๆ มีเสียวสันหลัง ล๊อตแรกเตรียม บุกตลาด 500 คัน ทีส่ า� คัญเป็นโครงการทีก่ รมการ ขนส่งทางบก “ไฟเขียว” งานนีก้ ต็ อ้ งดูกนั ยาว ๆ ว่า ปั ญ หาเก่ า จะหมดไปหรื อ ปั ญ หาใหม่ จ ะเกิ ด เพราะยังไงเสียประชาชนแบบเราก็ตอ้ งใช้บริการ อยูด่ ใี ช่ไหมครับ ฉบับนีค้ งหมดหน้าทีข่ องกระผม อ้าว.. “แท็กซี”่ มาพอดี แล้วพบกันฉบับหน้า สวัสดี...มีชยั ครับ March 2015 103


Energy Movement กองบรรณาธิการ

กรมโรงงานฯ เปิดตัวเครื่องจักรยุคใหม่ ตัวอย่างโรงงานแห่งอนาคต

ดร.อรรชกำ สีบญ ุ เรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม คุณพสุ โลหำรชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ร่วมเปิดตัว เครื่องจักรผลิตกระดาษ บรรจุภัณฑ์ PM16 นวัตกรรมระดับโลก สามารถควบคุมสัดส่วน ในกระบวนการผลิตได้อย่างแม่นย�า พร้อมเทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน ตอกย�้า นโยบาย “อุตสำหกรรมสีเขียว” เมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ โรงงานบ้านโป่ง บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จ�ากัด

ซีเกท อัดฉีดเม็ดเงินลงทุนในไทย

บริษทั ซีเกท เทคโนโลยี จ�ำกัด มหำชน (NASDAQ : STX) ประกาศ สร้างอาคารใหม่เพิ่มเติมในโรงงานผลิตและวิจัยพัฒนาที่มีอยู่เดิม ในจังหวัดนครราชสีมา (โคราช) ด้วยเงินลงทุน 1.53 หมื่นล้านบาท (470.7 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ) ภายในระยะเวลา 5 ปี ซึ่งการ ลงทุนในครั้งนี้เป็นการตอกย�้าถึงความส�าคัญของโรงงานผลิตใน จ.นครราชสีมา โดยในปัจจุบนั ถือเป็นศูนย์ผลิตฮาร์ดไดรฟ์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกของซีเกท ทั้งนี้ อาคารใหม่ดังกล่าว จะช่วยเพิ่มพื้นที่การผลิต ขึ้นอีกร้อยละ 49 จากขนาดเดิม 160,060 ตารางเมตร เป็น 237,856 ตารางเมตร ซึง่ จะท�าให้ซเี กทสามารถตอบสนองความต้องการของตลาด ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อันเนือ่ งมาจากการเติบโตของเทคโนโลยีคลาวด์สตอเรจ ในปัจจุบัน

ยิบอินซอย จัดกิจกรรม Let’s Work Together

มปอ. จับมือ สปช. ลงพื้นที่ จัดเวิร์คช็อปปลุกกระแสชุมชน

เมื่อเร็ว ๆ นี้ บริษัท ยิบอินซอยและแย๊คส์ จ�ำกัด บริษัทชั้นน�า ที่ ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมานานกว่ า 48 ปี โดย คุณมรกต ยิบอินซอย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ คุณยุพธัช ยิบอินซอย รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ พร้อมทีมผูบ้ ริหาร ร่วมกันให้การต้อนรับ อ.ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย กูรูด้านการตลาด ในโอกาสให้เกียรติ ร่วมกิจกรรม Let’s Work Together ในงานสัมมนาความท้าทาย ของร้านค้าวัสดุกับโมเดิร์นเทรดแก่ตัวแทนจ�าหน่าย การจัดกิจกรรม ครัง้ นีเ้ ป็นการจัดกิจกรรมสัมมนาเต็มรูปแบบ ซึง่ บริษทั ยิบอินซอยและ แย๊คส์ จ�ากัด สร้างสรรค์ขนึ้ เพือ่ ตัวแทนจ�าหน่ายของบริษทั โดยเฉพาะ และได้รับความสนใจจากตัวแทนจ�าหน่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มาร่วมงานเป็นจ�านวนมาก กิจกรรมครั้งนี้จัดขึ้น ณ โรงแรมพูลแมน ขอนแก่น ราชา ออร์คิด จ.ขอนแก่น

คุณวลี เกียรติพงษ์พนั ผูจ้ ดั การโครงการ “จ้วยกัน๋ หมูเ่ ฮำ เมำบ่ขบั ” มูลนิธิแก้ไขปัญหาการดื่มแอลกอฮอล์ หรือ มปอ. ประสานความ ร่ ว มมื อกั บสมาคมพั ฒ นาประชากรและชุมชน (สปช.) น�า โดย คุณวิลำส เตโช รองผู้อ�านวยการ จัดทีมงานลงพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อจัดท�าเวิร์คช็อปรณรงค์และสร้างความเข้าใจ ตลอดจนระดม ความคิดร่วมกับคนในชุมชนเพื่อสร้างให้เกิดจิตส�านึกการดื่มอย่าง รับผิดชอบ หลังจากได้รับความร่วมมืออย่างดีเยี่ยมจากทั้งภาครัฐ และเอกชนในการร่วมรณรงค์โครงการในครัง้ นี้ โดยการจัดเวิรค์ ช็อป ดั ง กล่ า วจะด� า เนิ น การตั้ ง แต่ เ ดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ถึ ง เดื อ นมี น าคมนี้ เพื่อเตรียมพร้อมรับมือช่วง 7 วันอันตรายในเทศกาลสงกรานต์ ที่ก�าลังจะมาถึงนี้

104

March 2015


เฮงเค็ล เปิดศูนย์บริการล็อคไทท์แห่งแรกในเอเชียทีจ่ นี ไดกิน้ เดินหน้ารณรงค์ R32 รักษ์โลก ฟื้นฟูผืนป่าระยอง 320 ต้น

เฮงเค็ล เปิดศูนย์บริการล็อคไทท์ (Loctite Impregnation Service Center) แห่งแรกในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ขึน้ ทีเ่ มืองซูโจว ประเทศจีน เพื่อน�าเสนอเทคโนโลยีด้านการยึดติดใหม่ ๆ จากยุโรปสู่เอเชียและ ตลาดเกิดใหม่อื่น ๆ ศูนย์บริการล็อคไทท์อันทันสมัยที่เมืองซูโจวนี้ มีพื้นที่กว่า 1,000 ตารางฟุต ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมซูโจว ห่างจากเมืองเซี่ยงไฮ้ราว 50 กิโลเมตร โซลูชั่นของล็อคไทท์สามารถ ผนึกรูพรุนทุกรูปแบบในชิน้ ส่วนยานยนต์ตา่ ง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นฝาสูบ ปั๊มน�้า และคอมเพรสเซอร์ ทั้งนี้ เฮงเค็ลมีแผน ขยายศูนย์บริการล็อคไทท์เพิ่มเติมในไม่กี่ปีน้ี เพื่อรองรับความ ต้องการผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีที่ก้าวล�้าจาก อุตสาหกรรมยานยนต์ในเอเชีย

Metrel dd. เข้าเยี่ยมชม บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

Mr. Blaz Godina ซึง่ เป็น Product Manager ของ Metrel dd. ประเทศ สโลวาเนีย ได้เยีย่ มชม บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด เพือ่ อบรม การขายและการใช้งานผลิตภัณฑ์เครื่องทดสอบความปลอดภัยทาง ไฟฟ้าของ Metrel แก่ทมี วิศวกรของบริษทั ฯ เพือ่ การน�าเสนอเครือ่ งวัด และทดสอบแก่ลูกค้าของบริษัทฯ อย่างเต็มขีดความสามารถของ เครื่องต่อไป METREL ถือเป็นผู้ผลิตเครื่องวัดและทดสอบความ ปลอดภัยทางไฟฟ้าชั้นน�าจากทวีปยุโรป แพร่หลายทั้งในอังกฤษ เยอรมันและทัว่ โลก บัดนี้ เมเชอร์โทรนิกซ์ภมู ใิ จเสนอมาตรฐานใหม่แห่ง เครือ่ งวัดไฟฟ้าทีม่ มี าตรฐานคุณภาพสูง แม่นย�า ทนทาน ใช้งานง่าย จากโรงงาน METREL ที่มีมาตรฐาน ISO9001 สู่ลูกค้าชาวไทย ทีต่ อ้ งการเครือ่ งระดับมืออาชีพคูก่ าย ในความคุม้ ค่าคุม้ ราคากว่าเดิม

เมื่ อเร็ ว ๆ นี้ คุ ณ บั ณ ฑิ ต ศรีวัลลภำนนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษทั สยามไดกิน้ เซลส์ จ�ากัด และ มร.เคนทาโร่ ยาดะ ผูอ้ า� นวยการ ฝ่ายขาย น�าทีมผู้บริหารและผู้จ�าหน่ายเครื่องปรับอากาศไดกิ้น พร้อมพนักงาน ร่วมกันปลูกป่าพันธุ์ไม้พื้นถิ่นจ�านวน 320 ต้น ณ สวนพฤกษศาสตร์ระยอง จ.ระยอง เพื่อเป็นการฟื้นฟูผืนป่า เพิ่มโอโซน ลดโลกร้อน ภายใต้แคมเปญ “ไดกิ้น R32 รักษ์โลก” ซึ่งสอดคล้องกับการแนะน�าสารท�าความเย็นเจเนอเรชั่นใหม่ล่าสุด อาร์ 32 (R32) ส่งผลให้ท�าความเย็นได้เร็วกว่า ประหยัดพลังงาน มากกว่าอีกด้วย

สผ. มอบรางวัล 83 โครงการ ในกิจกรรม “EIA Monitoring Awards 2014”

เมื่อเร็ว ๆ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) โดยส�านักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) จัดงานมอบรางวัล “สถำนประกอบกำรปฏิบตั ติ ำมมำตรกำร ในกำรรำยงำนกำรวิเครำะห์ ผลกระทบสิง่ แวดล้อมและมีกำรจัด สภำพแวดล้อมดีเด่นประจ�ำปี 2557 (EIA Monitoring Awards 2014)” ขึน้ ทีโ่ รงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการและคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ โดยมี พลเอก ดำว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานในพิธี March 2015 105


Event Calendar จีรพร ทิพย์เคลือบ

นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�าเดือนมีนาคม 2558

6 มีนาคม 2558 ชื่องาน : “เทคนิคการประหยัดพลังงานในระบบลมอัด และการใช้เครื่องวัดอุณหภูมิแบบ Thermography” รายละเอียด : ระบบลมอัด เป็นระบบที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในภาคอุตสาหกรรมปัจจุบัน เนื่องจากความต้องการใช้เครื่องจักรอัตโนมัติ แบบนิวแมติกส์ และใช้ในการขับเคลือ่ นกลไกในเครือ่ งจักรต่าง ๆ ดังนัน้ ความสูญเสียจากระบบลมอัดนีเ้ ป็นภาระทีส่ า� คัญต่อการใช้พลังงานไฟฟ้า ในโรงงาน หลักสูตรนีเ้ ป็นการแนะน�าเทคนิคการใช้งานระบบลมอัดอย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพ รวมการลดการสูญสียพลังงานไฟฟ้าอีกด้วย สถานที่ : สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ บางล�าภู กรุงเทพฯ ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติม : สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โทร. 0 2280 7272 ต่อ 507 คุณพิไลพร คงศิรโิ สธร อีเมล: pilaiporn@thaieei.com 7-18 มีนาคม 2558 ชื่องาน : อบรมสัมมนา “การออกแบบติดตั้งและประยุกต์ใช้งานโซลาร์เซลล์ (Solar Panel Design & Application)” รายละเอียด : เพือ่ ตอบสนองความต้องการของผูส้ นใจทัว่ ไป ทีต่ อ้ งการเรียนรูแ้ นวทาง วิธกี ารออกแบบ และการน�าโซลาร์เซลล์ไปประยุกต์ใช้งาน ทั้งในทางธุรกิจและชีวิตประจ�าวันได้ด้วยตนเอง สนับสนุนโครงการของรัฐ ช่วยชาติประหยัดพลังงาน เพื่อเป็นการส่งเสริมพลังงานทางเลือก ช่วยลดค่าใช้จ่ายของตนเองและองค์กร สถานที่ : ศูนย์อบรมซีเอ็ดเทรนนิ่งเซ็นเตอร์ ชั้น 18 อาคารทีซีไอเอฟเทาเวอร์ (อาคารเนชั่นเทาเวอร์) ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) โทร. 0 2739 8200 หรือ 0 2739 8204 แฟกซ์ 0 2739 8228 เว็บไซต์ https://www.se-ed.com 11 มีนาคม 2558 ชื่องาน : สัมมนา “การออกแบบและบ�ารุงรักษาระบบท�าความเย็นส�าหรับอุตสาหกรรม” รายละเอียด : หลักสูตรวิธีการออกแบบและประยุกต์ใช้งานรวมถึงการบ�ารุงรักษาระบบท�าความเย็นส�าหรับอุตสาหกรรมที่ผู้เข้าร่วมสัมมนา สามารถน�าไปปฏิบัติได้จริงและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด อีกทั้งวิธีการที่จะอนุรักษ์พลังงานในระบบท�าความเย็นเพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน ให้มากที่สุดในยุควิกฤตพลังงานในปัจจุบัน สถานที่ : ห้องอนุวงศ์ ชั้น 6 โรงแรมแกรนด์ ไชน่า ปริ้นเซส เยาวราช กรุงเทพฯ ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติม : บริษทั เอ็มแอนด์อี จ�ากัด 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร์ ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุร)ี โทร. 0 2862 1396-9 แฟกซ์ 0 2862 1395 เว็บไซต์: www.technic.in.th อีเมล: member@me.co.th 23 มีนาคม 2558 ชื่องาน : การสัมมนา “เปิดนโยบายและเทคนิคการลงทุนพลังงานทดแทนไทยปี 2558” รายละเอียด : การจัดงานสัมมนาดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เสริมสร้างองค์ความรูด้ า้ นการพัฒนาพลังงานทดแทน เพือ่ เปิดมุมมอง แลกเปลีย่ น แนวคิด และประสบการณ์ดา้ นการลงทุนพลังงานทดแทนในประเทศไทย อีกทัง้ เพือ่ ประโยชน์ในการพัฒนาพลังงานทดแทนให้มศี กั ยภาพอย่าง ยัง่ ยืน สถานที่ : ห้องประชุม Ballroom A และนิทรรศการ Hall A ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2354 5333 ต่อ 510 (คุณภัทรกันต์), 400 (คุณสุพัฒชัย) แฟกซ์ 0 2640 4260 อีเมล: seminar@technologymedia.co.th เว็บไซต์ http://greennetworkthailand.com 27-30 มีนาคม 2558 ชื่องาน : งานแสดงสินค้า Material Handing & Equipment 2015 รายละเอียด : เป็นงานที่จัดขึ้นครั้งแรกที่เป็นการรวมตัวครั้งยิ่งใหญ่ในแสดงนวัตกรรมล�้าสมัยเพื่อช่วยให้งานขนส่ง ล�าเลียง และจัดเก็บสินค้า ให้งา่ ยขึน้ อีกทัง้ ยังเป็นการช่วยประหยัดพลังงาน และเพือ่ เป็นรักษาสิง่ แวดล้อมได้พร้อม ๆ กัน และนอกจากจะมีการรวมตัวของงานทีเ่ กีย่ วข้อง กับระบบขนส่งแล้ว ยังมีในส่วนของงานซ่อมบ�ารุงและอุปกรณ์เครื่องมือต่าง ๆ ทางด้านอุตสาหกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย สถานที่ : ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี Hall 6 ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติม : บริษทั พีเอ็มพี แมนเนจเม้นท์ จ�ากัด โทร. 0 2197 8364 มือถือ 08 6399 8080 แฟกซ์ 0 2197 8364 อีเมล: mheexhibition@gmail.com 106

March 2015


March 2015 PB


C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.