Ebook energy saving#77

Page 1

1

5

0

4

0

1


C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



Issue 77 April 2015 8 Editor’s Note 10 News Report : ºŒÒ¹»ÙÏ à´Ô¹Ë¹ŒÒ¸ØáԨ¾Åѧ§Ò¹ ªÙ¶‹Ò¹ËÔ¹ ÂѹäÁ‹·Ô駾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò 18 Cover Story : GREEN LOGISTICS ¡ÅÂØ·¸ ºÃÔËÒøØáԨ¢¹Ê‹§ ÃѺ AEC 24 Interview : àΧà¤çÅ »Å×Áé ໇ÒËÁÒÂááÊíÒàÃç¨ ¡Ñº¡ÒèѴÃкº´ŒÒ¹ÊÔ§è áÇ´ÅŒÍÁ 26 Interview : ÍÕâ¹ÇÒ «Õà¹Íà ÂÕè ÃØ¡¸ØáԨ¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ ºØ¡µÅÒ´ Solar cell 28 Interview : äÍ.·Õ.«Õ. ਌Ңͧ¼Å§Ò¹´Õà´‹¹ ÃÒ§ÇÑŹÇѵ¡ÃÃÁŴ㪌¾Åѧ§Ò¹ »‚ 2558 30 Product Highlight - Construction : 2 ¼ÅÔµÀѳ± “ÂÔ»Ãͤ” ¹Çѵ¡ÃÃÁ¤Ù§‹ Ò¹½ÒáÅм¹Ñ§ 32 Product Showcase – Construction : ÍÕ«Õè ¤ÇÔ¡ ©Òºà¹Õ¹àµçÁËͧ §Ò¹àÊÃç¨äÇ äÁ‹à»Å×ͧáç 35 Product Highlight – Industrial : ÎÒÁ‹Í¹ ºÕ.¡ÃÔÁ ÃØ¡µÅÒ´ Ãкº·‹ÍÃкÒ¤ÇÒÁàÂç¹áººäÃŒ¤Çѹ 38 Product Showcase – Industrial : à¤Ã×èͧ·íÒ¤ÇÒÁàÂç¹Ãкº¡Òôٴ«ÖÁÅÔà¸ÕÂÁâºÃäÁ´ â´Â㪌ä͹íéÒ

51 4

30 40 Product Highlight – Commercial : Lenovo YOGA series ãËÁ‹ÅÒ‹ ÊØ´ Â×´ËÂع‹ ÁÒ¡¡Ç‹Ò ŧµÑÇ·Ø¡¡ÒÃ㪌§Ò¹ 43 Product Showcase – Commercial : ¾Ñ´ÅÁäÌ㺾Ѵ »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ 46 Product Highlight – Logistics : ¡Ù ´àÂÕÂà áͪªÑÇáù« ´ÙÃÒ¾ÅÑÊ ¢Ñºà¤Å×è͹䴌ÁÒ¡¡Ç‹Ò 100,000 ¡ÔâÅàÁµÃ 48 Product Showcase – Logistics : MIVEC ÇÕ¨àÕ ·Íà ⺠ÍÅÙÁ¹Ô ÁÑ ÍÑÅÅÍ ºÅçÍ¡ 51 Special Feature : ´Íª â¾Êµ ´ÕàͪáÍÅ ¾Ñ²¹ÒâŨÔÊµÔ¡Ê ¢Ò¹ÃѺ “àÈÃÉ°¡Ô¨áººËÁعàÇÂÕ ¹ 100” 52 Renergy : ¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ ÍÒËÒèҹâ»Ã´¢Í§ºÃÔÉÑ·ã¹µÅÒ´ËÅÑ¡·ÃÑ¾Â Ï 54 Energy Management : ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂÒ¡ÃÍÒ¤Òà (Facility Management in building) à¾×Íè ¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ã¹Í§¤ ¡Ã

46 April 2015



Issue 77 April 2015 56 Building Management : ขั้นตอนสมัครรับการรับรอง TREES PRE NC 58 Green Logistics : คุณภาพชีวิตพนักงานด้านโลจิสติกส์ 60 0 Waste Idea : การมีส่วนร่วมของประชาชน กุญแจสู่การพัฒนาเมืองสีเขียว 62 Environment Alert : Eco symbiosis เครือ่ งมือ ในการจัดการสิง่ แวดล้อมชุมชนกับอุตสาหกรรม 64 Energy Focus : ความต้องการใช้ไฟฟ้าของ ประเทศไทย กับ Demand Response 66 Greenhouse Gas Management : “ข้อตกลง โลกร้อนฉบับใหม่” จะมีรูปแบบทางกฎหมาย อย่างไร : สิ่งที่ประเทศไทยจะต้องค�านึงถึง 68 Green Building : บัววัฒนา รีสอร์ท บ้านต้นไม้ ดึงธรรมชาติลดใช้พลังงาน 72 Green Industrial : วีนิไทย อนุรักษ์พลังงาน ใส่ใจสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นอุตสาหกรรมสีเขียว

68 72 6

April 2015

78 75 Open House : เปิดบ้าน บีทีอี ผู้เชี่ยวชาญด้าน Panel Builder 78 Vertical Market : เสริมประสิทธิภาพ สถานี NGV เพิม่ ทางเลือก-จูงใจผูใ้ ช้บริการ 82 Viewpoint : ยกเลิก...สัมปทานรอบที่ 21 84 Energy Knowledge : สถาบัน AIT ใส่ใจสิง่ แวดล้อม วิจยั ถังบ�าบัดสิง่ ปฏิกลู พลังงานแสงอาทิตย์ 86 Energy Invention : เด็กไทยเจ๋งคว้าแชมป์สมัยที่ 5 Shell Eco-marathon Asia 2015 88 Energy Report : VIVA Board กับอีกหนึง่ ก้าว ของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์วสั ดุกอ่ สร้าง 90 Energy Loan : สนพ. ให้ทุนศึกษาต่อ ต่างประเทศ ป.โท-เอก ด้านพลังงาน 92 Special Report : เปิดศูนย์ทดสอบยางล้อ น�าร่องอุตสาหกรรมยางไทยสูม่ าตรฐานโลก 94 Special Scoop : กรอ. เผย 4 ยุทธศาสตร์ จัดการกากอุตสาหกรรม ยกระดับสู่ยุคอุตสาหกรรมสีเขียว 2015 98 Green 4U 101 แบบสมัครสมาชิก 102 แวดวงนักพลังงาน 103 Energy Gossip 104 Energy Movement 106 Event Calendar



และหลากหลาย เพือ่ ให ผอู า นได เพลิดเพลินและได สาระไปพร อมๆ กันด วยค ะ

แหง 4 หง 4 250 50 9

Anniversary

สํ า หรัAnniversary บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กั น ด ว ยเรื่ อ งของแผ น กระจก และอุนิปตกรณ ระกอบฉบับโดยการนํ าเสนอคอลั น แล Cover ยสารปBuilder เดือนตุลาคมนี ก้ เ็ ป นฉบับทีม่ 12 ว ครบรอบStory นิตหนึ ฉบับเดือนตุลตนาคมนี ก้ เ็ ป น่อฉบั บที่ 12างๆ แล ว ครบรอบ ผ านมุ มยสาร มองไปยั งงานสถาป ่งป ทBuilder ่นี ิตยสารของเราได ํยกรรมและงานตกแต าเสนอเรื งราวต ไว มงภายในที ากมาย ่ใช สวัสดีว่อนั สงกรานต์ ะ่ คุณผูไว อ้ า่ มนทุากมาย กท่าน ขอให้ทกุ ท่านพักผ่อนในช่วงวันหยุดยาว ่งป ท่นี ิตยสารของเราได เสนอเรื งราวต าค่องๆ เพือ่ ให ผนอกจากนี อู นา ํานได เ พลิ ด เพลิ น และได ส าระไปพร มๆ กและหลากหลาย ระจกได น าสนใจ ้ ย ั ง มี เ รื งของวั ส ดุ กรณ ่เทดือี่ นเมษายน อากาศร้อน วัสดุหนึ อย่างมีความสุขกันทั่วหน้านะคะ เมือ่ออุป และหลากหลาย อ่ ให ผอู า นได เพลิ ดเพลิ และได สาระไปพร อมๆก้าวเข้าสูและเป็ กันด วยค ะ อเพืสร อบอ้ าวเข้นามาเยื อนทุ กพื้นที่้ขงองประเทศไทย นเดือนที่อัตราความ คณะผู้จัดทำ� ใช ประกอบการก า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั บทสั ม ภาษณ กันด วยค ะ องการใช้พลังงานไฟฟ้าของประชาชนพุ่งสูงสุดของปี และเป็นประจ�าทุกปี บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนวคิ แนล จ�าดกัดการทํางานของนักพัฒต้นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ห ญิ ง เก ง แห ง ทีแ่ หล่ องเมียนมาร์น จะหยุ ดซ่อมบ�ารุงในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี า หรั บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กังก๊นาซธรรมชาติ ด ว ยเรื่ อขงของแผ กระจก 200/7-14 ซ.รามค�าแหง 4 แขวง/เขตสํสวนหลวง ใ่ ช้กาา๊ ซธรรมชาติ เป็งนเชื อ้ เพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ฐ บปพร็ ี้ โดยการนํ และแนวคิ ด การสร งสรรค านของ าและอุ หรั ฉบักรณ บอทีพเพอร ่ป12 นี้ ตเรามาว าประเทศไทยในฐานะที กั นาด เสนอคอลั ว ยเรื ่ อ งของแผ น กระจก ระกอบ ม น Cover Story กรุงเทพมหานคร 10250 พั ฒ สํนรั ส�าหรับใช้งานย่อมได้รบั ผลกระทบตามมาอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ และอุ ปฒ กรณ ปเจริ ระกอบ โดยการนํ าเสนอคอลัมน Cover Story ่ใช guru ญงชาศรี จากตร้ยกรรมและงานตกแต DUCTSTORE the design โทรศัพท์ (66) 2717-2477 คุณนนทวั ผ านมุ มน มองไปยั งานสถาป ง ภายในที อนถึงกระทรวงพลังงาน ผูงร้ ภายในที บั ผิดชอบหลั่ใกช เรือ่ งความมัน่ คงด้านพลังงานของประเทศ ผ าวันมุ งนงานสถาป ตยกรรมและงานตกแต โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 สดุมกด มองไปยั ระจกได าสนใจ นอกจากนี ้ยังแนวคิ มีเยรืมแผนรองรั ่องของวั ดุอุปกรณ ทนพลั ี่ แบบ Co.,Ltd. วย GRAPHITECTURE ดนอกกรอบสู ก็ได้ออกมาเตรี บสสภาวะฉุ กเฉิน รดู้ป งงานของประเทศ ประจ�าปี 58 ส ดุ ก ระจกได น า สนใจ นอกจากนี ้ ย ั ง มี เ รื ่ อ งของวั ส ดุ ออุปกักรณ ทพี่ ลังางานไฟฟ้ วั ใช ป ระกอบการก อ สร า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั ้ ง ไว้ ล ว ่ งหน้ า เพื อ ่ ให้ พ ร้ อ มรั บ มืบทสั บงวิมมี กภาษณ ฤติ ดขึน้ ในช่วงเดือน คอลัมนิสต์​์: ที่หลากหลาย แต ห ากใครสนใจเรื ่ อ งของวั ส ดุ เ รายั ร ี ว ิ ว สิ นค าทาจี่ ทีดั อ่ ส่าจเกิ ใช ป ระกอบการก อ สร า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั ้ ง บทสั ม ภาษณ เมษายน ระหว่ า งที แ ่ หล่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใ นเมี ย นมาร์ งมาไทยปิดซ่อมบ�ารุง ดการทํงประเทศไทย างานของนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย หญิงเก งแห ง คุณพิชัย ถ่ินสันติสุข สภาอุแนวคิ ตสาหกรรมแห่ เกี่ยวกั​ัทพับอิฒนกระจกให ู อ านของเราได าระเช ดโนเวชั การทํ าเทคโนโลยี งานของนั นาอสั หาริ ทรันพกัย นาหงสรรค ญิ ส�าหรัส บงแหล่ ก๊มาซธรรมชาติ ทห่ี งยุเก ดซ่องมบ� างรุงในช่วงเวลาดังกล่าว ได้แก่ แหล่งยาดานา อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์ บริษแนวคิ จ�ากตกัพัี้ ดฒ นรั ฐ ่นพร็ อผพเพอร และแนวคิ ดงการสร งแห านของ

EDITOR’S NOTE

รับมือวิกฤติพลังงานไฟฟ้า

และแหล่งเยตากุน ทีห่ ยุดซ่อมบ�ารุงในวันที่ 10 - 19 เมษายน เป็นเวลา 10 วัน และ

นรันนทวั ฐมหาวิ พร็ฒทอน ยาลั พเพอร ตี้ และแนวคิ ด การสร า งสรรค ง านของguru ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร จุฬพัาลงกรณ์ ย ญชาศรี คุฒณนนทวั เจริ จาก DUCTSTORE แหล่ งซอติกา้ ทีห่ ยุthe ดซ่อthe มบ� ารุdesign งในวันguru ที่ 20 - 27 เมษายน เป็นเวลา 8 วัน ส่งผลให้ คุาณยในวาระครบรอบหนึ ฒน ฏเจริ ญรชาศรี จาก DUCTSTORE design ดร.สิทธิชัย ฝร่ังทอง ท ยาลั ย ราชภั ธนบุ ี สุดมหาวิ ท Co.,Ltd. ง ่ ป ที ม งาน Builder ขอขอบพระคุ ปริ ม าณก๊ า ซธรรมชาติ ห ายไปจากระบบรวมกั นสูงสุดถึณ ง 1,530 ล้านลูกบาศก์ฟตุ /วัน Co.,Ltd.ด วด ยวยGRAPHITECTURE GRAPHITECTURE แนวคิ ด นอกกรอบสู รูปแบบ ดนอกกรอบสู ูปแบบ รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัแต ย หากใครสนใจเรื คิดต เป็ด นิ แนวคิ 25% ของปริ มาณการจั ด รหาก๊ าซฯทั ง้ค หมดของประเทศ ที ่ ห ลากหลาย ่ อ งของวั ส ดุ เ รายั ง มี ร ี ว ิ ว สิ น า ผู ม อ ี ป ุ การคุ ณ และผู อ า นทุ ก ท า นที ่ ตามกั น มาโดยตลอด และหวั ง ที่หงลากหลาย หากใครสนใจเรื ่องของวั สดุเรายังมีงรงานได้ ีวิวสินตรีค ยามความพร้อมรับมือไว้หลายด้าน ไม่วา่ อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ กรมส่ เสริมคุณภาพสิแต ่งแวดล้ อม อย่างไรก็ ตาม กระทรวงพลั ่ยงยิ วกั านของเราได สาระเช น นเราต อเไป นอย ่งบว กระจกให าทุ่ออุกตท สาหกรรม ดตามและสนั แล วโตรเลี เรายม โดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต เกีเกี่ยนาวกั บงงานเพื กระจกให ผาู อผนจะติ าู อนของเราได สาระเช นนบกัสนุ คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ เป สถาบั พลั จะเป็ นการสันง่ กัการให้ ภาคการผลิตไฟฟ้าและภาคปิ ดร.ณัฐริกา วายุภาพ นิติพนจะนํ องค์ากเรื ารบริ หารจัดการก๊ าทีซเรื่นอ านกระจก แห่งประเทศไทย (กฟผ.) และมานํ บริษทั าปตท. จ�ากัด (มหาชน) ่สุดอท งราวดี ๆ สนใจและไอเดี ย ใหม ๆ เสนอในเล ม งดหยุดซ่อมบ�ารุงโรงไฟฟ้า ายในวาระครบรอบหนึ มงาน ขอขอบพระคุ งBuilder ผลิตBuilder ก๊าซฯ ในช่ วงเวลาดั งกล่าวณพร้อณ มสัง่ การให้เตรียมเชือ้ เพลิงส�ารองเต็ม (องค์ รมหาชน) สุดกไปนะคะ ท ายในวาระครบรอบหนึ ่งป ่งป ทีและแหล่ มทีงาน ขอขอบพระคุ ต อ ๆ อย า ลื ม ติ ด ตามเราในฉบั บ ครบรอบเล ม ต อ ไปนะคะ ผูอีม ปุ อี การคุ ปุ ฒการคุ ณยาศาสตร์ และผู า แนทุ ดิ ตามกั มาโดยตลอด และหวั ง อมทัง้ ทางด้านบุคลากร อุปกรณ์ ในขณะที ก่ นระทรวงพลั งงานเองก็ ได้งเตรียมพร้ นาวิ ละ ณทและผู อ า อ นทุ กท กาท นทีานที ต่ พิดิกดตั่ ตามกั นมาโดยตลอด และหวั รี มรรคา มรรคา คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ส�านัผูกม งานพั ต่าง ๆ และให้กบารไฟฟ้ ยมความพร้ อมทัวงเรา ้ ระบบผลิตและระบบส่งไฟฟ้าให้มคี วาม เป นอย นอย างชาติ งยิ ่งาว ทุากทุท กาท นจะติ านจะติ ดตามและสนั สนุเราต นาเตรี เราต อไป แล เทคโนโลยี แาห่งยิ เป ง ่ ว ด ตามและสนั บ สนุ น อ ไป แล ว เรา มน มรรคา มรรคา พร้อมทีส่ ดุ เพือ่ รองรับสถานการณ์จะได้ไม่สง่ ผลกระทบต่อการผลิตไฟฟ้า และความ มน จะนําเรืาเรื ่องราวดี าสนใจและไอเดี ยใหม ๆ มานํ าเสนอในเล จะนํ ่องราวดี ๆ ๆที่นที า่นสนใจและไอเดี ยใหม มานํ เสนอในเล ม ม ต้องการใช้ พลังๆ งานไฟฟ้ าาของประชาชน าร มรรคา มรรคา ทีมง�นฝ่�ยบริห�ร: าร ต ๆอนัๆนไปนะคะ ไปนะคะอย อย ามลืติมดติตามเราในฉบั ดตามเราในฉบั บครบรอบเล มไปนะคะ ต อไปนะคะ ต อ า ลื บ ครบรอบเล ม ต อ ณั ช ชา ทกาญจน กรรมการผู จ ้ ด ั การ คุ ณ ชาตรี มรรคา นอกจากนี้ กระทรวงพลั ง งานยั ง ได้ ข อความร่ ว มมื อ ไปยั ง ภาคประชาชน นุนุsupaman@ttfintl.com ชช มีมีเเมืมือองง รองกรรมการผู้จัดการ ณศุภาแมน มรรคา การ ภาคอุตสาหกรรม และภาคเอกชน ร่วมมือกันประหยัดการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลา หัวคุหน กองบรรณธิ รองกรรมการผู้จัดการ คุณศุภวาร มรรคา ทีม่ กี ารปิดซ่อมบ�ารุงฯ โดยเฉพาะในช่วงทีม่ กี ารใช้ไฟฟ้าสูง (on peak) ในช่วงเวลา editor.buildernews@gmail.com ประมาณ 13.00-21.00 น. พร้อมกันนีย้ งั ได้จดั ท�าโครงการรณรงค์เชิญชวนคนไทย Publishing Director คุณณัปิณั ยชะนุ ชนัมีนนัเมืทกาญจน ง ชชา นอทกาญจน ชา มน มรรคา มรรคา supaman@ttfintl.com supaman@ttfintl.com มน สูว้ กิ ฤติไฟฟ้า ด้วยการล้างท�าความสะอาดเครือ่ งปรับอากาศ ปิดไฟดวงทีไ่ ม่จา� เป็น

ฝ่�ยข�ยโฆษณ� Sales Director

วหน ากองบรรณธิ หัวหัหน ากองบรรณธิ การการ

ปรับอุณหภูมเิ ครือ่ งปรับอากาศที่ 26 องศาเซลเซียส หรือสูงกว่า ฯลฯ

คุณeditor.buildernews@gmail.com ศุeditor.buildernews@gmail.com ภแมน มรรคา ไม่วา่ จะเกิดวิกฤติใดก็ตาม หากคนไทยทุกคนร่วมมือร่วมใจกันอย่างเต็มที่ สุดท้ายแล้ว supaman@ttfintl.com เราจะผ่านพ้นวิกฤตินนั้ ไปได้ดว้ ยดีเสมอ

2477 -2477 777 6-9976 16-9976 ติดต่อฝ่ายขายโฆษณา โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 135, 144 ปิยะนุช มีเมือง ติดต่อฝ่ายสมาชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 169, 171 หัวหน้ากองบรรณาธิการ ติดต่อฝ่ายบรรณาธิการ โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 108, 148, 226 piyanuch@ttfintl.com

ทีมง�นฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร:

ทีมงานฝ ยกองบรรณาธิ หัวหน้าาทีกองบรรณาธิ การ การ:การ: ปิยะนุช มีเมือง ทีมมงานฝ งานฝ าายกองบรรณาธิ ยกองบรรณาธิ หัวหน ากองบรรณาธิ การ การ คุณการ: ณัชชารุชตชานัเถืนนั่อทกาญจน กองบรรณาธิ ก าร า หั ว หน า กองบรรณาธิ ด หัวหน ากองบรรณาธิการ คุนัณคุษณั ณณัชชานนทองค� นัทกาญจน นทกาญจน natcha.tank@gmail.com าร natcha.tank@gmail.com อภั สรา วัลลิภผล าร natcha.tank@gmail.com

นคร 10250 านคร 10250

กองบรรณาธิ กองบรรณาธิ การ กการาร กองบรรณาธิ

จีรพร ทิพย์เคลือบ

คุณคุ่งหนึ ่งฤทั ยคาทุ คาทุ เซฟสกี ้​้ ้ คุณหนึ ย่งฤทั สสเซฟสกี ณฤทั หนึ ย งรุคาทุ สเซฟสกี คุมณี ณณัีรฐัตธยาน รุตะนะมงคล จิไพศาล เลขากองบรรณาธิการ น์ วั ฒ คุ ณ ณั ฐ ธยาน รุ ง รุ จ ไ ิ พศาล คุณณัคุณฐภัธยาน จิไพศาล ณฑิรา รุมี งลรุาภ ณฑินิภัชรณ มีลยาภ ศิลปกรรม คุณภัคุศุณ าา ฑิพวงเนตร มีรลาเสถี าภ ณคุภอรวรรณ รเขต ยรเขต อาร ตไดเรคเตอร คุณคุยิณ่งอรวรรณ ยศ จารุ บเสถี ุษปายน คุ ณ อรวรรณ เสถี ย รเขต อาร ตกไดเรคเตอร ยศ จารุ บกุษข ปายน กราฟ ดีไซเนอร April 2015 คุ่งณคุยศ ธีณรยิภั่งทจารุ ร สลั ดุษทุปายน อาร 8ตไดเรคเตอร คุ ณ ยิ บ กราฟ กดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข ชั่นแนลกราฟ จํากัดกดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข

WHERE TO FIND

WHERE TOTO FIND WHERE FIND



News Report กรีนภัทร์

เดินหน้าธุรกิจพลังงาน

ชู ถ่านหิน ยันไม่ทิ้ง ไฟฟ้า บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) (BANPU) ประกาศผลการด�าเนินงานประจ�าปี 2557 รายงานก�าไรสุทธิ 82 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรือประมาณ 2,680 ล้านบาท โดย 1 เหรียญสหรัฐ เทียบเท่า 32.5 บาท) เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปี 2556 โดย คุณชนินท์ ว่องกุศลกิจ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บ้านปู (จ�ากัด) มหาชน เปิดเผยว่า “ท่ามกลางภาวะที่เศรษฐกิจโลกมีความผันผวน บ้านปูฯ ยังคงมีผล การด�าเนินงานทีด ่ ี เรายังท�าก�าไรและสร้างผลตอบแทนแก่ผถู้ อื หุน ้ ได้อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็นผลจากมาตรการควบคุมต้นทุนการผลิต การเพิม่ ประสิทธิภาพ การผลิต ถ่านหินที่เหมืองต่าง ๆ ในประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลีย และก�าไรจากธุรกิจ ไฟฟ้าที่เติบโตอย่างต่อเนื่องในประเทศจีน เหล่านี้สะท้อนถึงศักยภาพของบ้านปูฯ ในการปรับตัวเพื่อรับมือความท้าทายทางธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ”

พร้อมกันนี้ คุณชนินท์ ยังได้วางยุทธศาสตร์ เพือ่ ผลักดันการเติบโตของบริษทั ฯ ในระยะถัดไป จนถึง ปี 2563 ซึง่ ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ การผนึ ก จุ ด แข็ ง ในธุ ร กิ จ ถ่ า นหิ น ที่ มี อ ยู ่ ใ นทุ ก ภูมิภาค ขับเคลื่อนการเติบโตของธุรกิจไฟฟ้า และพิ จ ารณาการน� า เข้ า จดทะเบี ย นในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและการเปลีย่ นผ่าน ต�าแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและแผนการ สืบทอดต�าแหน่งงานผูบ้ ริหารระดับสูง ในช่วง 3 ปี ทีผ่ า่ นมา บ้านปูฯ ด�าเนินธุรกิจถ่านหินโดยมุง่ เน้น มาตรการลดต้นทุน พร้อมกับเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต ซึ่งนับว่าประสบผลส�าเร็จเป็นอย่างดี เราได้เรียนรูว้ ธิ กี ารรับมือกับภาวะทีร่ าคาถ่านหิน ในตลาดโลกมีความผันผวนมาก เมื่อมาถึงจุดนี้ บ้านปูฯ จึงมีความพร้อมเต็มที่ที่จะคว้าโอกาส ใหม่ ๆ และก้าวสู่อีกขั้นของ การเติบโตไม่ว่า ราคาถ่านหินจะปรับตัวอยู่ในระดับใด ส�าหรับ ธุ ร กิ จ ถ่ า นหิ น ในประเทศออสเตรเลี ย ภายใต้ 1010

April April2015 2015

บริษัท Centennial Coal Co., Ltd. เหมืองหลายแห่งประสบความส�าเร็จอย่างสูงในด้าน การเพิ่มขีดความสามารถการผลิตสูงเป็นประวัติการณ์ โดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 13 ซึง่ เกินกว่าทีเ่ คยคาดการณ์ไว้เมือ่ ต้นปี 2557 ร้อยละ 3 ทัง้ นี้ ในปี 2557 เหมืองของบ้านปูฯ ที่ออสเตรเลียสามารถผลิตถ่านหินได้มากกว่าปีก่อนถึง 1.4 ล้านตัน ธุรกิจถ่านหินใน สาธารณรัฐประชาชนจีนมีพฒ ั นาการทีส่ า� คัญ โดยเหมืองเกาเหอก�าลังก้าวเข้าสูป่ ที สี่ าม ของการด�าเนินงานและสามารถเดินเครื่องจักรได้อย่างเต็มที่โดยมีปริมาณการผลิต จ�านวน 8.6 ล้านตัน คิดเป็นการเติบโตร้อยละ 43 จากปี 2556 และมีแผนที่จะขยาย ก�าลังผลิตขึ้นในอีก 2–3 ปีข้างหน้านี้ ด้านธุรกิจไฟฟ้า บ้านปูฯ ยังคงให้ความส�าคัญกับการผสมผสานจุดแข็งของธุรกิจไฟฟ้า และถ่านหิน เพื่อสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขันให้ทั้ง 2 ธุรกิจเติบโตคู่ขนานกันอย่าง ต่อเนื่อง พร้อมกันนี้ บริษัทฯ ยังมีแผนพัฒนาธุรกิจไฟฟ้าสู่พลังงานทดแทน และ พลังงานอื่น ๆ และมีแผนในการน�าธุรกิจไฟฟ้าเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เพื่อ ต่อยอดการเติบโตและสะท้อนถึงมูลค่าของธุรกิจ ด้าน คุณสมฤดี ชัยมงคล ได้เปิดใจถึงการเตรียมพร้อมรับหน้าทีใ่ หม่นวี้ า่ “รูส้ กึ เป็นเกียรติ อย่างสูง และขอขอบพระคุณคุณชนินท์ที่เป็นแรงบันดาลใจ เป็นผู้ให้ค�าแนะน�าด้าน การท�างานและบริหารงานมาตลอด นับตั้งแต่เข้าร่วมงานกับบ้านปูฯ สิ่งส�าคัญที่สุดที่ มุ่งหมายไว้ คือการน�าค่านิยมร่วมวัฒนธรรมองค์กร “บ้านปู สปิริต” และบุคลากรที่ เปี่ยมด้วยคุณภาพและศักยภาพของเรา มาเป็นหัวใจส�าคัญในการด�าเนินการพัฒนา ธุรกิจเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและการเติบโตให้แก่บริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และดูแลผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้บ้านปูฯ มีการเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป”


News Report กองบรรณาธิการ

มก. ก�ำแพงแสน เจ๋ง คว้ำชนะเลิศ กำรประกวดหุ่นยนต์ สร้ำงบ้ำน

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.) ได้อนุมัติให้จัดกิจกรรมโครงการ “กำรพัฒนำหุน่ ยนต์สร้ำงบ้ำน” ภายใต้โครงการ-ส่งเสริมและสร้างเวทีตอ่ ยอดงานวิจยั และสิง่ ประดิษฐ์ ซึง่ ได้มกี ารจัดกิจกรรมการประกวดผลงาน เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ณ บริษทั ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส์ จ�ากัด (มหาชน) อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา ในครั้งนี้ คณะท�างานพิจารณาข้อเสนอโครงการ และพิจารณาตัดสินรางวัลผลงาน ประดิษฐ์คดิ ค้น โครงการ “กำรพัฒนำหุน่ ยนต์สร้ำงบ้ำน” ได้พจิ ารณาประเมินผลงาน ตามแนวทางหลักเกณฑ์ทกี่ า� หนด ซึง่ ผูท้ คี่ ว้ารางวัลชนะเลิศ รางวัล ๆ ละ 80,000 บาท พร้อมถ้วยรางวัล ได้แก่ ทีม “INROC-Z-BO” จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน จังหวัดนครปฐม รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 มี 1 รางวัล ๆ ละ 40,000 บาท พร้อมถ้วยรางวัล ได้แก่ ทีม “INROC-Q-BO” จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน จังหวัดนครปฐม รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 มี 1 รางวัล ๆ ละ 20,000 บาท พร้อมถ้วยรางวัล ได้แก่ ทีม “ลูกพ่อขุนเม็งรำย” จาก มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย จังหวัดเชียงราย ซึ่งการประกวดโครงการ การพัฒนาหุ่นยนต์สร้างบ้านในครั้งนี้ มีผู้เข้าประกวดกว่า 20 ทีม ทีมที่ได้รางวัลชนะเลิศทางวช.และสมาคมรับสร้างบ้าน จะสนับสนุนและพัฒนาประสิทธิภาพของหุ่นยนต์ไปสู่เชิงพานิชต่อไป

คอนเนอร์ยี แต่งตั้งทีมผู้บริหำรใหม่

หลังพลิกฟื้นสถำนกำรณ์ทำงกำรเงิน

ภายหลังฟืน้ ฟูสถานภาพทางการเงินอย่างรวดเร็ว คอนเนอร์ยี (Conergy) ได้ประกาศ แต่งตัง้ ทีมผูบ้ ริหารหลักซึง่ จะมาเป็นผูน้ า� การด�าเนินธุรกิจของบริษทั ทีมผูบ้ ริหารชุดนี้ ประกอบด้วย มร. แอนดรูว์ เดอ พำส ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (Chief Executive Officer) มร. อเล็กซำนเดอร์ กอร์สกี้ ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร (Chief Operating Officer) มร.มำร์ค โลฮอฟ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย (Chief Sales Officer) และ มิส คริสติน่ำ เวลช์ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน (Chief Financial Officer) นับตั้งแต่ คอนเนอร์ยี เอจี (Conergy AG) ยื่นขอล้มละลายต่อศาลในประเทศ เยอรมนีเมื่อปีครึ่งที่ผ่านมา ทีมผู้บริหารชุดนี้ได้พลิกฟื้นคอนเนอร์ยี สู่ความส�าเร็จ อีกครั้ง ด้วยรายได้และผลก�าไรจากการด�าเนินงานเกือบ 500 ล้านเหรียญสหรัฐ

นับตั้งแต่การควบรวมกิจการในช่วงปลายปี 2556 คอนเนอร์ยี ได้กลายมาเป็นหนึ่งในบริษัทที่ท�ารายได้และนับเป็นหนึ่งในบริษัทด้านพลังงาน แสงอาทิตย์ทเี่ ติบโตเร็วทีส่ ดุ ในโลก ในปี 2557 ทีผ่ า่ นมาบริษทั ได้พฒ ั นาและติดตัง้ แผงโซลาร์ให้แก่โครงการขนาดใหญ่กว่า 300 เมกะวัตต์ รวมแล้ว บริษัทจึงมีก�าลังการผลิตติดตั้งทั้งหมดเกือบ 1 กิกะวัตต์ ซึ่งท�าให้คอนเนอร์ยีกลายเป็นหนึ่งในบริษัทพลังงานแสงอาทิตย์ที่ใหญ่ที่สุดในระดับโลก ในปีนี้บริษัทเดินหน้ากระชับความสัมพันธ์กับผู้ให้บริการไฟฟ้าในยุโรป, อาร์ดับบลิวอี (RWE) โดยให้การสนับสนุนด้านโซลาร์รูฟท็อปในประเทศ เยอรมนี และสามารถยุติบริการหนังสือค�้าประกันกับธนาคารดอยซ์แบงก์ (Deutsche Bank) ได้ ความส�าเร็จอันยิ่งใหญ่ของคอนเนอร์ยี เป็นผล มาจากความได้เปรียบทางการแข่งขันระดับโลกซึ่งช่วยให้บริษัทสามารถกระจายทรัพยากรไปสู่ตลาดในภูมิภาคต่าง ๆ ที่เติบโตอย่างรวดเร็วได้ อย่างทั่วถึง คอนเนอร์ยีมีประสบการณ์ในการน�าเสนอบริการปลายน�้า (downstream services) คุณภาพสูงเป็นเวลาหลายทศวรรษ มีการ สนับสนุนจากผู้ถือหุ้นที่แข็งแกร่ง และมีงบดุลที่มั่นคง คอนเนอร์ยีก้าวเข้าสู่ปี 2558 พร้อมกับโครงการที่อยู่ในระหว่างด�าเนินการกว่า 4 กิกะวัตต์ และมีเป้าหมายเชิงรุกที่จะขยายธุรกิจด้านการพัฒนาโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ การเงิน วิศวกรรม การจัดซื้อจัดจ้าง การก่อสร้าง (EPC) และการบริหานดูแลโครงการและการบ�ารุงรักษา (O&M) คอนเนอร์ยีจะยังคงความเป็นผู้น�าในด้านธุรกิจพลังงานแสงอาทิตย์ และขยายธุรกิจ ในส่วนโซลาร์รูฟท็อปที่ก�าลังเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งในตลาดเดิมและตลาดใหม่ทั่วโลก April April2015 2015 1111


News Report กองบรรณาธิการ

ก.พลังงาน เผยตัวเลขผู้ใช้สิทธิ์ซื้อ LPG ย�้าชัดการปรับราคาช่วยกองทุนฯ มีเสถียรภาพมากขึ้น

ดร ทวารัฐ สูตะบุตร มาตรการกระตุ้นครัวเรือนที่รายได้น้อย ร้านค้า หาบเร่ แผงลอย ของกระทรวงพลังงานในการเข้าโครงการบรรเทาผลกระทบราคา LPG ปัจจุบันมียอดผู้ใช้สิทธิซื้อก๊าซ LPG ราคาถูกรวม 80.5 ล้านกิโลกรัม คิดเป็นเงิน 362 ล้านบาท ย�้าการปรับโครงสร้างราคา LPG ส่งผลช่วยให้กองทุนน�้ามันมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น

นายทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผยว่า กระทรวงพลังงาน ได้เร่งให้ พลังงานจังหวัดทุกจังหวัดประชาสัมพันธ์และท�าความเข้าใจให้กลุ่มประชาชนผู้มีรายได้น้อย กลุ่มหาบเร่ รถเข็นอาหาร ร้านอาหารแบบคูหาชั้นเดียว ที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับสิทธิ ในการซื้อก๊าซหุงต้มได้ในราคาเดิม ให้มาร่วมโครงการบรรเทาผลกระทบจากการปรับราคา ขายปลีกก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ภาคครัวเรือน ซึ่งกระทรวงพลังงานได้ด�าเนินการมา ระยะหนึ่งแล้ว และพบว่ามีครัวเรือนรายได้น้อยและร้านค้าหาบเร่แผงลอย ใช้สิทธิ์ซื้อก๊าซ หุงต้มราคาถูกแล้วรวม 80.57 ล้านกิโลกรัม คิดเป็นเงิน 362 ล้านบาท จากยอดการใช้สิทธิ์ดังกล่าว หากแยกเป็นกลุ่มหาบเร่แผงลอย มียอดการใช้ก๊าซ LPG ราคาถูก จ�านวน 76.75 ล้านกิโลกรัม เป็นเงิน 345.40 ล้านบาท หรือคิดเป็นประมาณ 23% ของผู้มีสิทธิ์ทั่วประเทศทั้งหมด กลุ่มครัวเรือนผู้มีรายได้น้อย มียอดใช้ก๊าซ LPG ราคาถูก จ�านวน 3.82 ล้านกิโลกรัม เป็นเงิน 16.53 ล้านบาท หรือคิดเป็นเพียง 1% ของผู้มีสิทธิ ทั่วประเทศทั้งหมด กระทรวงพลังงานจึงอยากขอให้ผู้มีสิทธิ์ ที่ประสงค์จะใช้สิทธิของตนเอง ด้วยการลงทะเบียนเพิ่มเติมเพื่อขอใช้สิทธิ์ซื้อก๊าซราคาถูกดังกล่าว ภาคครัวเรือนยังมีการเข้าร่วมน้อยกว่าที่คาด โดยมั่นใจภายหลังเพิ่มการชี้แจงท�าความเข้าใจ เรื่องการรับสิทธิ์ดังกล่าวนั้น ซึ่งท�าได้ไม่ยาก ไม่มีขั้นตอนซับซ้อนมากนัก และท�าด้วยตนเอง ได้ทันที ทั้งในส่วนกลาง และในส่วนภูมิภาค จะท�าให้เกิดกระแสความสนใจและมีผู้เข้าร่วม 12

April 2015

โครงการฯเพิม่ ขึน้ กระทรวงพลังงานขอย�า้ ว่า โครงการฯ นี้ เป็นความตัง้ ใจจริงทีจ่ ะช่วยเหลือ กลุ่มผู้มีรายได้น้อยให้ได้ใช้ก๊าซหุงต้มราคา เดิมต่อไป จากการส�ารวจผู้ค้าก๊าซและผู้ใช้บริการ ยังมี ความสับสนในขัน้ ตอนการขอรับสิทธิอ์ ยูบ่ า้ ง และในกลุม่ หาบเร่แผงลอยร้านค้า ยังมีความ วิตกว่าจะถูกตรวจสอบภาษีย้อนหลังหรือไม่ ซึง่ กระทรวงพลังงานจะได้เร่งประชาสัมพันธ์ และท� า ความเข้ า ใจให้ ก ลุ ่ ม ประชาชนผู ้ มี รายได้ น ้ อ ย กลุ ่ ม หาบเร่ รถเข็ น อาหาร ร้านอาหารแบบคูหาชัน้ เดียวต่อไป

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


ES#77_Ad Vista Associate_FancyBoard_iMac5.pdf

ES#77_Ad Energy_iMac5.indd 100

1

3/17/2558 BE

10:11 PM

3/23/2558 BE 8:23 P

April 2015 PB


News Report กองบรรณาธิการ

ย�้ำ! ไม่ยกเลิกจ�ำหน่ำยน�้ำมันแก๊สโซฮอล์ 91

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผยว่า กระทรวงพลังงานยังไม่มีการพิจารณา ยกเลิกการจ�าหน่ายน�้ามันแก๊สโซฮอล 91 ในระยะอันใกล้นี้แต่อย่างใด เนื่องจากยังอยู่ระหว่าง การศึกษาถึงความเหมาะสมและผลกระทบ หากมีการยกเลิกการจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิงแต่ละชนิด ซึ่งในการยกเลิกน�้ามันประเภทใดประเภทหนึ่ง จะต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ รวมถึงจะ ต้องมีการหารือร่วมกับผู้ผลิตน�้ามันและผู้ผลิตรถยนต์ ตลอดจนผู้ใช้ เพื่อรับฟังความเห็นของ ทุกฝ่าย โดยค�านึงถึงผลประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับเป็นที่ตั้ง และไม่เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายของ ประชาชน

คุณอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

จากข้อมูลการใช้น�้ามันเชื้อเพลิงในประเทศเบื้องต้น ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2558 มียอดการใช้น�้ามัน เบนซิน อยู่ที่ 25.7 ล้านลิตร/วัน แบ่งเป็นน�้ามันเบนซิน 95 จ�านวน 1.4 ล้านลิตร/วัน น�้ามันแก๊ส โซฮอล์ 95 จ�านวน 8.5 ล้านลิตร/วัน น�้ามันแก๊สโซฮอล์ 91 จ�านวน 11 ล้านลิตร/วัน น�้ามันแก๊ส โซฮอล์ E20 จ�านวน 3.9 ล้านลิตร/วัน น�้ามันแก๊สโซฮอล์ E85 จ�านวน 0.9 ล้านลิตร/วัน ส่วนยอด การใช้น�้ามันดีเซล อยู่ที่ 60.5 ล้านลิตร/วัน

ขยำยกรอบเวลำยื่นค�ำขอยกเลิก สัญญำซื้อไฟฟ้ำพลังงำนหมุนเวียน นายวีระพล จิรประดิษฐกุล กรรมการก�ากับกิจการพลังงาน ในฐานะโฆษก กกพ. เปิดเผยว่า หลังจาก กกพ. ได้ออกประกาศ คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน เรื่อง การรับซื้อไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียน (ไม่รวมพลังงานแสงอาทิตย์) ในช่วง เปลีย่ นผ่านจากแบบ Adder เป็น Feed-in Tariff (FiT) พ.ศ. 2558 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 มกราคม 2558 ปรากฏว่ามีผู้มา ยื่นค�าขอยกเลิกและยื่นค�าขอใหม่ โดยมีค�าขอยกเลิสัญญา ซือ้ ขายไฟฟ้าเดิมหรือค�าขอขายไฟฟ้าเดิม จ�านวน 104 โครงการ ก�าลังผลิตติดตัง้ 632.31 เมกะวัตต์ และมีผยู้ น่ื ค�าขอขายไฟฟ้าใหม่ ณ วันที่ 20 ก.พ. 58 จ�านวน 88 โครงการ ก�าลังผลิตติดตั้ง จ�านวน 560.75 เมกะวัตต์

เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการที่ประสงค์จะขอเปลี่ยนจาก Adder เป็น FiT แต่ไม่สามารถยื่นค�าขอได้ทันในเวลาที่ก�าหนด ได้มี โอกาสเข้าร่วมโครงการและท�าความเข้าใจและเตรียมความพร้อมในการรับซือ้ ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนแบบ FiT ด้วยวิธกี ารประมูล แข่งขันด้านราคา กกพ. โดยความเห็นชอบจาก กพช. ได้ขยายระยะเวลาการยื่นค�าขอยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและค�าขอขาย ไฟฟ้าเดิม และการยื่นค�าขอขายไฟฟ้าใหม่ในช่วงเปลี่ยนผ่านจากแบบ Adder เป็น FiT จากภายในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เป็น ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2558 และจากนัน้ การไฟฟ้าฝ่ายจ�าหน่ายจะตรวจสอบค�าขอฯ พร้อมเตรียมการแก้ไขสัญญา หรือแจ้งตอบรับ ซื้อไฟฟ้าในแบบ FiT ให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ให้แล้วเสร็จภายในเมษายน 2558 เพื่อที่จะสามารถให้มีการลงนามในสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้าส�าหรับผู้ที่ได้รับการตอบรับแล้ว ภายในเดือนมิถุนายน 2558 ต่อไป 14

April 2015


News Report

จีรพร ทิพย์เคลือบ

เอสซีจี นิชิเร โลจิสติกส์

เปิดตัว คลังสินค้าห้องเย็นเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เอสซีจี นิชเิ ร โลจิสติกส์ เป็นบริษทั ร่วมทุนระหว่าง เอสซีจี โลจิสติกส์ และบริษทั นิชเิ ร โลจิสติกส์ (ญีป่ นุ่ ) จ�ากัด ด�าเนินธุรกิจบริการ โลจิ ส ติ ก ส์ แ บบควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ใ นประเทศไทย โดยมี ก ารน� า เทคโนโลยี ล ่ า สุ ด จากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาใช้ในคลังสินค้าควบคุม อุณหภูมิคุณภาพสูง เพื่อรองรับลูกค้ากลุ่มอาหารและเครื่องดื่มที่ให้ ความส�าคัญกับคุณภาพการบริการ (Quality Service) ซึ่งคาดว่า จะมีอัตราการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง ทั้งการบริโภคภายในประเทศ และการส่งออกไปยังต่างประเทศ

คุณขจรเดช แสงสุพรรณ ทีป่ รึกษากรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอสซีจี กล่าวว่า “ทาง นิชเิ ร โลจิสติกส์ ผู้ร่วมทุนของเราได้น�าระบบท�าความเย็นที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและ ดูแลสิ่งแวดล้อมมาใช้คลังสินค้าที่เปิดใหม่แห่งนี้ รวมทั้งควบคุมบริหารงานโดยทีมงาน มืออาชีพอย่างมีคุณภาพในทุกขั้นตอน เพื่อให้บริการโลจิสติกส์แบบควบคุมอุณหภูมิที่มี คุณภาพสูง สามารถตอบสนองลูกค้าได้อย่างครบวงจร ช่วยยกระดับมาตรฐานการขนส่ง สินค้าควบคุมอุณหภูมิในประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากล” ทางด้าน คุณซาไคดะ ฮิโรยูกิ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เอสซีจี นิชเิ ร โลจิสติกส์ จ�ากัด เปิดเผย ว่า “เอสซีจี นิชิเร โลจิสติกส์ จะเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้เกี่ยวกับอาหารและโลจิสติกส์และ น�าเสนอโซลูชั่นให้กับลูกค้าที่ให้ความส�าคัญกับคุณภาพสินค้า และจะขนส่งความอร่อยและ ความสดโดยให้บริการโลจิสติกส์ที่มีคุณค่าและจะเป็นส่วนหนึ่งที่สนับสนุนสังคมไทยและวิถี ชีวิตของคนไทย” คลังสินค้าควบคุมอุณหภูมิที่ ต.เทพารักษ์ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ซึ่งเป็นท�าเลที่เหมาะสม ในการกระจายสินค้าในประเทศและส่งออก มีพนื้ ทีใ่ ห้บริการ 10,800 ตารางเมตร ประกอบด้วย ห้องเย็นควบคุมอุณหภูมทิ งั้ หมด 6 ห้อง ความเย็นตัง้ แต่ 0-5 องศาเซลเซียส และห้องทีเ่ ย็นถึง -25 องศาเซลเซียส มีระบบจัดเก็บสินค้าแบบเคลือ่ นทีไ่ ด้ (Mobile Racking) และอุปกรณ์เสริม พาเลทเพื่อการจัดเรียงสินค้า (Pallet Supporter) ท�าให้เก็บสินค้าอาหารแช่แข็งและสินค้าที่ ต้องรักษาอุณหภูมิได้หลากหลาย รองรับความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ที่ส�าคัญ คือ ภายในคลังใช้เทคโนโลยีลา่ สุดจากประเทศญีป่ น่ ุ ในการแปลงแอมโมเนียเป็นคาร์บอนไดออกไซด์

ก่อนปล่อยเข้าสูค่ ลังสินค้า เพือ่ ความปลอดภัย ของพนักงานและสินค้า ในกรณีที่เกิดการ รั่วไหลของก๊าซดังกล่าว พร้อมติดตั้งระบบ ตรวจจั บ การรั่ ว ไหลแอมโมเนี ย ที่ ทั น สมั ย ภายในคลังสินค้า นอกจากนี้ ยังมีช่องรับจ่ายสินค้า ขนถ่าย สินค้าจากรถขนส่ง (Docks) 22 จุด สามารถ จัดเก็บสินค้าได้ถึง 22,800 ตัน หรือ 13,764 พาเลท โดยมีระบบประตูและระบบป้องกัน อากาศภายนอก (Air Shutter and Air Shelter) ช่วยป้องกันการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และป้องกันความร้อนจากภายนอกไม่ให้ เข้ า มาภายในคลั ง เย็ น ขณะขนถ่ า ยสิ น ค้ า จากรถขนส่ง อีกทั้งยังมีรถขนส่งควบคุม อุณหภูมทิ ใี่ ห้บริการลูกค้าไปแล้วรวม 12 คัน และตั้งเป้าเพิ่มจ�านวนรถให้รองรับปริมาณ ลูกค้าที่เพิ่มขึ้น ภายในปีนี้ รถของเอสซีจี นิชิเร มีการลงทุน ติดตั้งระบบ GPS ที่มีสามารถตรวจติดตาม ค่ า ของอุ ณ หภู มิ ภ ายในรถขนส่ ง ได้ ต ลอด เวลาที่รถปฏิบัติงาน ท�าให้มั่นใจได้ว่าเราให้ ความส�าคัญกับสินค้าของลูกค้าตลอดเวลา ขนส่ง รวมถึงการขับขี่อย่างปลอดภัย โดยมี ศู น ย์ ค วบคุ ม และบริ ห ารระบบโลจิ ส ติ ก ส์ (Logistics Command Center) ท�าหน้าที่ ตรวจจับความผิดปกติของรถและอุณหภูมิ ตลอดการขนส่ง April April2015 2015 15PB


News Report

พณ.

กองบรรณาธิการ

ยกระดับโลจิสติกสไทยสูส ากล สรางความเขมแข็ง พรอมแขงขัน AEC

กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เรงยกระดับคุณภาพธุรกิจใหบริการ โลจิสติกสไทยเขาสูเกณฑมาตรฐานคุณภาพและมาตรฐาน ISO เสริมสราง ความเขมแข็งธุรกิจใหบริการโลจิสติกสไทยและพรอมแขงขันใน AEC คุณผองพรรณ เจียรวิริยะพันธ อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เปดเผยวา กรมฯ ใหความสําคัญธุรกิจใหบริการโลจิสติกสของไทย เนื่องจากเปน ธุรกิจภายใตกรอบความตกลงวาดวยบริการของอาเซียน หรือ AFAS (ASEAN Framework Agreement on Service) ผูประกอบธุรกิจใหบริการโลจิสติกสของ ไทยต อ งเร ง พั ฒ นาองค ก รและยกระดั บ มาตรฐานคุ ณ ภาพธุ ร กิ จ เข า สู  เ กณฑ มาตรฐานคุณภาพและมาตรฐาน ISOเพื่อพัฒนาธุรกิจใหเขมแข็ง พรอมแขงขัน ระดับสากลไดอยางมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ รัฐบาลใหความสําคัญเชิงนโยบายการพัฒนาโลจิสติกสของไทยใหเปนวาระสําคัญของชาติ โดยมีการกําหนดเปาหมายดาน โลจิสติกสเอาไว ไดแก ลดสัดสวนตนทุนโลจิสติกสตอจีดีพีใหตํ่ากวารอยละ 15 เพิ่มสัดสวนการขนสงทางรางเปนรอยละ 5 ลดตนทุนการ ประกอบธุรกิจภายในประเทศและระหวางประเทศภูมิภาคใหเขาสูมาตรฐานสากล เพิ่มมูลคาการคาชายแดนและการลงทุนของไทยในกลุม ประเทศเพื่อนบานใหเพิ่มขึ้น รอยละ 15 และ 30 โดยกรมฯ กําหนดแนวทางการพัฒนาธุรกิจใหเขาสูเกณฑมาตรฐานคุณภาพฯ ไว 4 ขั้นตอน คือ 1.เสริมสรางองคความรูเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาสูเกณฑมาตรฐานคุณภาพ 2.การประเมินและวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 3.การให คําปรึกษาและแนะนําเชิงปฏิบัติการสถานประกอบการ และ 4.การตรวจประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานเกณฑมาตรฐานคุณภาพการบริหาร จัดการธุรกิจ ซึ่งปจจุบันมีธุรกิจที่ผานเกณฑมาตรฐานคุณภาพและมาตรฐาน ISO จํานวน 394 ราย

C

M

Y

CM

MY

สํานักโลจิสติกส จับมือ เอเซนเทค หนุนอุตสาหกรรมใช สํ า นั ก โลจิ ส ติ กส กรมอุต สาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กระทรวง อุตสาหกรรม รวมกับ บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จํากัด จัดโครงการ “ส ง เสริ ม การปรั บ กระบวนการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส ด  ว ยการใช เ ทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcode” เพื่อสงเสริมใหผูประกอบการนํา เทคโนโลยี RFID และ Barcode มาใชในการจัดการโลจิสติกสภายในองคกร ไดอยางมีประสิทธิภาพ

คุณอนงค ไพจิตรประภาภรณ ผูอํานวยการสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรม พืน้ ฐานและการเหมืองแร กระทรวงอุตสาหกรรมเปดเผยวา “กระทรวงฯ เรงผลักดัน ใหไทยเปนศูนยกลางโลจิสติกสในกลุม ประเทศอาเซียน จึงตองเรงวางแผนเทคโนโลยี และสามารถนํามาใชงานไดจริง จึงไดมีการสนับสนุนการนําเทคโนโลยี RFID มาใชงาน เพื่อใหเปนไปตามเปาหมาย ดานการลดตนทุนโลจิสติกส ของภาคอุตสาหกรรมตอจีดีพีลง 15% และลดตนทุนดานพลังงานกวา 30% และลดขั้นตอนการทํางานซํ้าซอน” ทางดาน คุณกําพล โชคสุนทสุทธิ์ ประธานกรรมการ บริษัท เอแซนเทค (ประเทศไทย) กลาววา “การนําเทคโนโลยี RFID มาใชในกระบวนการ โลจิสติกสของภาคอุตสาหกรรมจะชวยใหมีความสะดวก รวดเร็ว แมนยํา ลดตนทุนผูประกอบการ และสามารถปองกันความผิดพลาดที่เกิด จากการทํางานไดอีกดวย”

16

April 2015

CY

CMY

K


11.05-11.30 . April 2015 PB


Cover Story กองบรรณาธิการ

GREENกลยุLOGISTICS ทธบริหารธุรกิจขนส ง รั บ AEC ·Ø¡Çѹ¹Õ้ÀÒÇÐâšÌ͹ÁÕ¤ÇÒÁÃعáç·ÇÕ¤Ù³ÁÒ¡ÂÔ่§¢Ö้¹ ËÅÒÂÀҤʋǹ䴌¾ÂÒÂÒÁËÒá¹Ç·Ò§á¡Œä¢áÅÐãËŒ¤ÇÒÁÊํÒ¤ÑޡѺ àÃ×่ͧ´Ñ§¡Å‹ÒÇ â´Âä´ŒÁØ‹§»ÃÐà´็¹ÁÒ·Õ่¡ÒÃÃÑ¡ÉÒÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁÁÒ¡¢Ö้¹ ©ºÑº¹Õ้¨Ð¾Ù´¶Ö§àÃ×่ͧ Green Logistics ËÃ×Í âŨÔÊµÔ¡Ê ÊÕà¢ÕÂÇ ¶×Í໚¹¤ÇÒÁ¾ÂÒÂÒÁ¢Ñºà¤Å×่͹ã¹àÃ×่ͧ¢Í§¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒôŒÒ¹âŨÔÊµÔ¡Ê µÑ้§áµ‹µŒ¹¹ํ้Ò¨¹¶Ö§»ÅÒ¹ํ้Ò â´ÂÁØ‹§à¹Œ¹ ¡ÒÃ໚¹ÁԵõ‹ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁãˌ䴌ÁÒ¡·Õ่ÊØ´ ઋ¹ ¡ÒäǺ¤ØÁÁžÔÉ ¤Çº¤ØÁ»ÃÔÁÒ³¡ÒûŋÍ¡ Ò«¤Òà ºÍ¹ä´ÍÍ¡ä«´ ¡ÒûÃѺà»ÅÕ่¹Ãкº¢¹Ê‹§ Å´¡ÒÃ㪌àª×้Íà¾ÅÔ§ ໚¹µŒ¹

จากผลงานการวิจัยของตางประเทศเรื่อง Car emission policies impact logistics supply chain networks ของ Hanafi, Zurina มหาวิทยาลัยลิเวอรพูล (University of Liverpool) ป 2013 มี ใจความสํ า คั ญ ว า ป ญ หาสิ่ ง แวดล อมได ก ลายเป น ความกั ง วลของทั่ ว โลก เนื่องจากการปลอยกาซเรือนกระจกจากการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย กิจกรรม ในอุตสาหกรรม รวมถึงการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมดานการใชพลังงาน การขนสง การทําลายทรัพยากรธรรมชาติ และการทําลายสิ่งแวดลอมในรูปแบบตาง ๆ ทั้งทางตรง และทางออม ซึ่งกอใหเกิดภาวะโลกรอนที่มีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการปลอย กาซคารบอนไดออกไซดหรือกาซเรือนกระจกทําลายชั้นบรรยากาศโลก หลายประเทศ จึ ง มี ค วามตื่ น ตั ว นํ า เรื่ อ งดั ง กล า วเข า สู  ที่ ป ระชุ มโดยให มีว าระสํ าคั ญที่ เ กี่ ยวกั บการลด ปลอยกาซคารบอน การควบคุมปริมาณของการปลอยกาซคารบอนที่สงผลกระทบ ตอโลก

18

April 2015

ขณะทีม่ มุ มองของนักวิชาการไทย ดร.สิทธิชยั ฝรั่ งทอง อาจารยคณะวิทยาการจัดการ มหาวิ ท ยาลัยราชภัฏธนบุรี ใหแนวคิดวา สถานการณ ข องโลจิ ส ติ ก ส ไ ทยในป จ จุ บั น อยูในชวงทรงตัว ไมไดมีการเปลี่ยนแปลง อะไรที่มากนัก เนื่องจากนโยบายภาครัฐบาล (รักษาการ) และหนวยงานภาครัฐทีร่ บั นโยบาย มาดํ า เนิ น การสามารถทํ า ได ใ นระดั บ หนึ่ ง เทานั้น ซึ่งสวนใหญก็สานตอจากรัฐบาลเดิม โดยพยายามลดตนทุนโลจิสติกสทั้งประเทศ และการพัฒนาระบบโลจิสติกส และโซอปุ ทาน ใหเปนยุทธศาสตรหนึ่งในการพัฒนาประเทศ โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพ การจั ด การโลจิ ส ติ ก ส ด  า นการเกษตรและ


อุตสาหกรรม ตัง้ แตตน นํา้ (Upstream) จนถึง ปลายนํ้า (Downstream) ในการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานของประเทศ นอกจากนี้ ยั ง ส ง เสริ ม การพั ฒ นาขี ด ความสามารถ ด า นโลจิ ส ติ ก ส แ ก บุ ค ลากรทั้ ง ภาครั ฐ และ เอกชน โดยการฝกอบรมและสัมมนาเชิง ปฏิบัติ การสรางบุคลากรและผูเชี่ยวชาญ ด า นโลจิ ส ติ ก ส ข องกลุ  ม อุ ต สาหกรรม ซึ่งหนวยงานภาครัฐยังไมไดมีการเชื่อมโยง ตอกันในลักษณะที่เปนจิ๊กซอว คือ ตางคน ตางทํา หากมีการบูรณาการจับมือรวมกัน อยางเปนรูปธรรม นาจะเปนประโยชนตอ ภาคธุรกิจ อีกทั้งยังขาดความชัดเจนในเรื่อง นโยบายของรัฐบาลชัว่ คราวทางดานโลจิสติกส ที่มุงไปสูระดับสากลและอาเซียน ในปลายปนี้ (2558) เปนเพียงปแหงการ เริ่มตนที่จะเขาสูประชาคมอาเซียน ดังนั้น ความเปนไปไดในการที่จะเริ่มบังคับใชหรือ เริ่มมีการดําเนินการอะไรตาง ๆ ในเรื่อง ดังกลาวทันทีทันใด ยังเปนไปไมได แตใน อนาคตธุ ร กิ จ ที่ ทํา ร ว มกั น ในกลุ  ม อาเซี ย น มีความเปนไปไดมากที่จะใหความสําคัญกับ เรื่องนี้ โดยคํานึงถึงเรื่อง Green Logistics ในทุก ๆ กิจกรรมจะตอง Green and Clean ตั้ ง แต กิ จ กรรมแรก คื อ การจั ด หาแหล ง วัตถุดบิ ทีเ่ ปนตนทางของกิจกรรม วัตถุดบิ นัน้

สามารถยอยสลายไดและไมทําลายสิ่งแวดลอมจนผลิตเปนสินคาสําเร็จรูป และสงมอบ ผลิตภัณฑนั้นถึงมือผูบริโภค ซึ่ง Green ที่กลาวมาคือ ทุกกระบวนการไมทําลายสิ่งแวดลอม และ Clean ทุกกระบวนการตองสะอาดไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ผูผลิต และผูบริโภค โดยเฉพาะประเทศทีม่ คี วามพรอมความสามารถทางดานโลจิสติกสและเงินทุน เชน ประเทศ สิงคโปร มาเลเซีย บรูไน อาจมีการกําหนดกฎกติกา แนวทางหรือวิธีการ Green Logistics ในการทําธุรกิจรวมกับประเทศอื่น ๆ ที่ยังมีความพรอมความสามารถทางดานโลจิสติกส และเงินทุนอยูในระดับที่ดอยกวาอาจตองกลายเปนผูทําตามกฎเกณฑดังกลาวที่วางไว การปรับตัวของผูประกอบการใหธุรกิจเปน Green Logistics มี 2 ปจจัย ดวยกัน ไดแก ปจจัยภายนอกที่เปนกฎกติกาของสังคมโลกและอาเซียน ผูประกอบการจะตองปรับตัว และผลักดันใหทุก ๆ กิจกรรมในการดําเนินธุรกิจตองเปน Green Logistics สวนปจจัย ภายในจะตองมีการเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. การกําหนดวิสัยทัศน (Vision) ตองมีการกําหนดวิสัยทัศนใหมในการสนับสนุนใหเกิด ระบบ Green Logistics 2. กําหนดเปนนโยบาย (Quality Awards) ในการจะมุงไปสูองคกร Green Logistics เพื่อใหไดรับรางวัล Energy Awards 3. การสื่อสาร (Communication) ตองสื่อสารใหบุคลากรทราบถึงการพัฒนาขององคกร ไปสูระบบ Green Logistics เชน ประชาสัมพันธ บรรยากาศ กิจกรรม เปนตน 4. ภาวะผูนํา (Leadership) ตองลางสมองพูดใหเชื่อวา “ทําแลวไดอะไร” “สําเร็จแลวได อะไร” 5. ตั้งคณะทํางานที่จะขับเคลื่อน (Steering Committee) โดยใหทุกคนทุกภาคสวนมี สวนรวมใน “ทีม” สนับสนุนและแกไขปญหาระบบ Green Logistics ในทุก ๆ กิจกรรม ขององคกร 6. การตรวจสอบ (Audit) เปรียบเทียบผลที่ไดกับแผนที่วางไว รวบรวม วิเคราะห และ หาทางปรับปรุง เพื่อใหเกิดความสามารถทางการแขงขัน April 2015 19


Cover Story กองบรรณาธิการ

คลังสินค้า DHL

นอกจากเรือ่ งของปัจจัยทีเ่ ป็นตัวผลักดันแล้ว สิ่ ง ที่ ต ้ อ งค� า นึ ง ถึ ง คื อ เรื่ อ งของบทบาท ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ไม่ ว ่ า จะเป็ น ภาครั ฐ บาล ผูป้ ระกอบการ ต่างให้ความสนใจและให้ความ ส�าคัญกับเรื่องนี้ โดยเฉพาะผู้ประกอบการ ที่ได้น�า Green Logistics มาบูรณาการ ปรับใช้ เนื่องจาก Green Logistics เมื่อ สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ในทุก ๆ กิจกรรม ก็เท่ากับเป็นการลดต้นทุนโดยทางตรงของ กิจการ ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ สูช่ นั้ บรรยากาศโลก และยังเป็นการให้ความ ส�าคัญในเรื่องของ CSR ทางอ้อม รวมถึง เพิ่มความสามารถทางการแข่งขันอีกด้วย

20

April 2015

ตัวอย่างเช่น ล่าสุด ดีเอชแอล ซัพพลายเชน ผู้น�าในอุตสาหกรรมการขนส่งด่วนและ โลจิสติกส์เปิดตัวคลังสินค้าแห่งใหม่ Bangna Logistic Campus (BLC) มีพื้นที่ 120,000 ตารางเมตร อยู่บนถนนบางนา-ตราด กม.23 ซึ่งใกล้กรุงเทพ ท่าเรือ สนามบิน และถนน วงแหวนอุตสาหกรรม นับเป็นท�าเลที่เหมาะต่อการให้บริการด้านซัพพลายเชนแก่ธุรกิจ ที่ด�าเนินงานทั้งในและต่างประเทศ โดยเน้นตลาดค้าปลีก สินค้าอุปโภค-บริโภค และกลุ่ม ยานยนต์ โดยยังคงด�าเนินการจัดการแบบ Go Green ที่ได้มีการปรับปรุงอัตราการปล่อย ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง 30% ภายในปี 2020 ทั้งนี้ใน โครงการคลังสินค้า Bangna Logistic Campus ได้มีการออกแบบก่อสร้างเพื่อ การประหยัดพลังงาน เช่น ยกหลังคาให้สูงขึ้น และใช้หลังคาแก้วแทนหลังคาปกติทั่วไป เพื่ อลดการใช้ พ ลั ง งานจากกระแสไฟฟ้ าในเวลากลางวัน พร้อ มทั้งมีศูนย์ควบคุมการ ปฏิบัติงานด้านการขนส่ง (Transport Control Tower) ของดีเอชแอลที่สร้างขึ้นเพื่อลด ความซับซ้อนและค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าในภูมิภาค โดยตั้งอยู่ในส่วนของอาคาร ส�านักงานภายในคลังสินค้า โดยศูนย์ฯดังกล่าวจะมีทีมงานมืออาชีพดูแลกระบวนการขนส่ง ตัง้ แต่การจัดส่ง การจัดเก็บ การพัก สินค้าเพื่อรอการจัดส่ง การบริหาร จัดการ การเก็บรวบรวมสินค้า ด้วย เทคโนโลยี ส ารสนเทศขั้ น สู ง ที่ ช ่ ว ย ให้ ส ามารถก� า หนดเส้ น ทางขนส่งได้ อย่างเหมาะสมและบรรทุกน�า้ หนักได้ อย่างเต็มขีดความสามารถ พร้อมกันนี้ ยั ง สามารถตรวจสอบสถานการณ์ ขนส่ ง ได้ ต ลอดกระบวนการขนส่ ง ด้วยการน�าระบบ GPS เข้ามาใช้


ส่วนภาครัฐได้มอบหมายให้หน่วยงานเกี่ยวข้องทางโลจิสติกส์เข้ามาดูแลให้การส่งเสริม ช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการในการลดต้นทุน ด�าเนินธุรกิจและส่งเสริมการท�า Green Logistics เช่น ส�ำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน กระทรวงพลังงำน ได้ให้งบประมาณ แก่ สถำบันพลังงำนเพื่ออุตสำหกรรม สภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย ด�าเนินการ จัดท�าพัฒนาโปรแกรมบริหารจัดการขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงาน (Logistics and Transport Management Application : LTMA) โดยมี คุณอธิบดี หำญประเสริฐ ประธาน โครงการพั ฒ นาระบบโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ บ ริ ห ารจั ด การขนส่ ง ทั้ ง ระบบเป็ น ผู ้ ดู แ ล ในเรื่องนี้อย่างเต็มที่ เพื่อจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารงานและลดการใช้พลังงาน ในการขนส่ง โดยโปรแกรมจะเก็บรวบรวมข้อมูลการขนส่ง เพื่อให้ผู้ประกอบการน�าข้อมูล ต่าง ๆ มาวิเคราะห์หาแนวทางการพัฒนาระบบงานและการใช้พลังงานในการขนส่งของ ตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับท�าให้การด�าเนินงานขนส่งเกิดความรวดเร็ว แม่นย�า และมีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันในการให้ บริการเมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อย่างไรก็ตาม เส้นทางส�าหรับการที่จะก้าวเข้าสู่ AEC ไม่ได้สวย หรูอย่างที่คิดเท่าใดนัก ประเทศไทยต้องเผชิญกับอุปสรรคและ ปัญหาที่จ�าเป็นจะต้องให้หน่วยงานของภาครัฐที่เกี่ยวข้องเข้า มาดูแล เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนอย่างเต็มตัว ได้แก่ 1. ปัญหาความพร้อมของบุคลากร ในด้านความรู้ความสามารถ ความเข้าใจในเรื่องของบริบทอาเซียนยังมีน้อย โดยเฉพาะ ภาษาอาเซียนและภาษาอังกฤษ 2. ปัญหาสินค้าคุณภาพต�่าที่ผลิตจากประเทศสมาชิกอาเซียน อื่นเข้ามาขายในประเทศมากขึ้น หากตลาดภายในของไทย ยังไม่มีกลไกในการป้องกันที่ดีพอ จะท�าให้ผู้บริโภคหันไปซื้อ สินค้าที่มีราคาถูกกว่า โดยไม่ค�านึงถึงคุณภาพ ซึ่งอาจส่งผล ทางจิ ต วิ ท ยาแก่ ผู ้ ป ระกอบการไทยในการพั ฒ นาขี ด ความ สามารถในการผลิตได้

ฉะนั้น สิ่งที่ต้องด�าเนินการให้เห็นอย่างเป็น รูปธรรม คือ ต้องปูพื้นฐานให้บุคลากรเกิด ความเข้าใจเกี่ยวกับ AEC โดยสิ่งแรกที่จะ ต้องเข้าใจ คือ บริบท AEC กฎระเบียบของ แต่ละประเทศทีจ่ ะเข้าไปติดต่อ พัฒนาภาษา ไม่วา่ จะเป็นภาษาอาเซียนและภาษาอังกฤษ ซึง่ เป็นภาษาทีก่ ลุม่ อาเซียนใช้ในการท�าธุรกิจ นอกจากนี้ การขนส่งสินค้าข้ามแดนระหว่าง ประเทศ ซึง่ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์จะต้องเข้าใจ ภูมศิ าสตร์การเปลีย่ นแปลงของอุตสาหกรรม ในภาคการผลิตและภาคบริการ โดยเฉพาะ ภาคบริการโลจิสติกส์ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการ ขนส่ง คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า เป็นต้น ซึ่ ง จะเป็ น ภาคเดี ย วที่ จ ะมี ก ารแข่งขันกัน

April 2015

21


Cover Story กองบรรณาธิการ

อย่างเข้มข้น และจะต้องพัฒนาการสร้าง ตราสินค้า (Branding) โดยปรับเปลี่ยนจาก Local ไปสู่ Global Asean Brand ให้กับ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทั้งจับต้องได้และจับต้องไม่ได้ รวมถึ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด ้ ว ย ซึ่งความสามารถในการบริหารจัดการธุรกิจ ในอาเซียนนั้นไม่ง่ายนัก เนื่องจากมีสินค้า ลอกเลียนแบบและละเมิดลิขสิทธิจ์ า� นวนมาก และมีตราสินค้าของประเทศที่พัฒนาแล้ว เข้ามาท�าตลาดด้วย การทีจ่ ะบริหารธุรกิจในอาเซียนให้มภี าพลักษณ์ ที่โดดเด่น เน้นคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ จะต้องน�าปัจจัยหลาย ๆ ด้านเข้ามาเป็น องค์ประกอบ แต่ก็ต้องค�านึงถึงสิ่งแวดล้อม เป็นหลักด้วย ทั่วโลกได้ให้ความส�าคัญกับ เรื่องสิ่งแวดล้อม ผู้ประกอบการที่ขึ้นชื่อว่า เป็นผู้น�าในการให้บริการโลจิสติกส์ที่มีความ ใส่ใจเรื่องดังกล่าว จะได้รับการยอมรับเป็น อย่างมาก นับว่าเป็นการสร้างภาพลักษณ์ทดี่ ี ในการเป็นผูน้ า� Green Logistics ซึง่ ภาครัฐ จะต้องเข้ามามีส่วนช่วยในการส่งเสริมเรื่อง ดังกล่าวด้วย

22

April 2015

ด้ า น คุ ณ อนงค์ ไพจิ ต รประภาภรณ์ ผู้อ�านวยการส�านักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวง อุตสาหกรรม ในฐานะตัวแทนภาครัฐได้ให้ แนวคิดเรื่องของ Green Logistics และ ความเป็นไปได้ทปี่ ระเทศไทยจะเป็นศูนย์กลาง ด้านโลจิสติกส์ว่า กระบวนการเคลื่อนไหว ของข้อมูลจากต้นน�้าถึงปลายน�้า จะต้องมี การปรั บ กระบวนการด� า เนิ น งานเปลี่ ย น เป็นการขนส่งเพื่อประหยัดต้นทุนและลด ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น การหันมาใช้ก๊าซ NGV แทนเชื้อเพลิง ประเภทน�า้ มัน เปลีย่ นรูปแบบขนส่งจากการใช้ รถบรรทุกหันมาขนส่งทางเรือ ทางรถไฟแทน โดยมีค่าบริการขนส่งทางรถไฟตันละ 0.95 บาท/กม. และทางเรือตันละ 0.65 บาท/กม. คุณอนงค์ ไพจิตรประภาภรณ์ ขณะทีต่ น้ ทุนการขนส่งทางรถบรรทุกจะอยู่ที่ ตันละ 2.12 บาท/กม. ส่วนเรื่องของกระบวนการนั้นจะต้องควบคุมและลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ลง ลดการใช้ทรัพยากร วัตถุดบิ น�าเทคโนโลยีมาใช้ เปลีย่ นเครือ่ งจักร ให้ทันสมัย แม้จะต้องลงทุนใหม่แต่ก็เป็นการลงทุนที่คุ้มค่าในระยะยาว ซึ่งการปรับเปลี่ยน ดังกล่าวจะสามารถสร้างภาพลักษณ์ในการเป็น Green Logistics อย่างยั่งยืน และ สามารถแข่งขันใน AEC ได้ ส�าหรับการเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ (Logistics Hub) ประเทศไทยค่อนข้างได้เปรียบ เพราะต�าแหน่งที่ตั้งล้อมรอบด้วยประเทศที่มีแนวโน้ม เจริญเติบโตของค่าจีดีพีเพิ่มขึ้นได้อีก 7-8 % แต่จะสามารถเป็นได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับ


ขีดความสามารถของภาครัฐ ภาคเอกชน ความพยายาม และการ ลงทุ น ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อย่ า งไรก็ ต าม รั ฐ บาลได้ เร่ ง ผลั ก ดั น โครงสร้างพื้นฐาน รถไฟทางคู่ ทางเรือ เพือ่ เตรียมความพร้อมในการ ก้าวเข้าสูศ่ นู ย์กลางโลจิสติกส์ (Logistics Hub) ของภูมิภาค อย่างไรก็ดี เมือ่ เข้าสู่ AEC และเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ สิง่ ส�าคัญ ที่ ต ้ อ งชั ด เจน คื อ การรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มของภาคอุ ต สาหกรรม ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ซึ่งส่วนใหญ่อุตสาหกรรมในประเทศไทยจะใช้ วิธีการขนส่งทางบกเป็นหลัก เนื่องจากขาดเทคโนโลยีที่ช่วยในการ บริหารงานและเก็บข้อมูลต่าง ๆ จึงไม่สามารถวิเคราะห์หาแนวทาง การปรับปรุงระบบการบริหารงานและการใช้พลังงานในการขนส่ง อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าให้ต้นทุนขนส่งของประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้น ผู้ประกอบการจึงได้พยายามหาวิธีในการลดต้นทุนด้านพลังงาน เชื้อเพลิงในการขนส่งด้วยการหันมาใช้ก๊าซธรรมชาติ NGV ซึ่งเป็น พลังงานทางเลือก หรือแม้แต่นวัตกรรมที่จะช่วยประหยัดพลังงาน ในภาคขนส่งที่มีคุณภาพและสามารถช่วยลดต้นทุนผู้ประกอบการ ขนส่งได้

ในอนาคต ในเรือ่ งของความประหยัดน�า้ มันเชือ้ เพลิงเชลล์สตู รฟิวเซฟ สามารถช่วยประหยัดสูงสุดได้ถึง 3% เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ น�้ามันดีเซลสูตรธรรมดา นอกจากการเลือกใช้เชื้อเพลิงแล้ว ยังมีระบบขนส่งที่น่าสนใจอย่าง ระบบการขนส่งเทีย่ วกลับ (Backhaul) เป็นอีกหนึง่ วิธใี นการลดต้นทุน ของผู้ประกอบการและเป็นการลดการใช้พลังงานของชาติได้อย่าง ชัดเจน จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2555 การใช้พลังงานในภาคขนส่งมี ปริมาณสูงถึง 35.8% ของการใช้พลังงานรวมทั้งประเทศ โดยใน จ�านวนนี้เป็นการใช้ไปกับการขนส่งทางบกถึง 79% และประเทศไทย ถือว่ามีตน้ ทุนด้าน Logistics ทีส่ งู มาก หากระบบการขนส่งเทีย่ วกลับ สามารถพัฒนาขึ้นมาได้ ก็จะเป็นอีกตัวช่วยหนึ่งในการลดต้นทุนให้ กับระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ที่ผ่านมาในประเทศไทยได้มีความ พยายามที่จะท�าให้ระบบนี้เกิดขึ้น โดยได้รับความช่วยเหลือของบาง หน่วยราชการแต่ยังไม่สามารถด�าเนินการให้เป็นรูปธรรมได้

ขณะทีผ่ ใู้ ห้บริการพลังงานชัน้ น�าอย่าง บริษทั เชลล์ แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ได้ให้ความส�าคัญกับเรือ่ งของพลังงานเป็นอย่างมาก พร้อมช่วย ให้ผู้ประกอบการขนส่งไทยด�าเนินธุรกิจได้อย่างมั่นคง ซึ่งทางเชลล์ ได้พยายามคิดค้นผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบโจทย์ความต้องการได้ ทุกระดับ การให้บริการที่ครอบคลุมเพื่อความสะดวกสบายและช่วย ลดต้นทุน รวมไปถึงนวัตกรรมต่าง ๆ ทีพ่ ยายามคิดค้นเพือ่ ประโยชน์ April 2015 23


Interview

อภัสรา วัลลิภผล

คุณเฉลิมพล สัตยาวุฒิพงศ กรรมการผูจัดการ บริษัท อีโนวา ซีเนอรยี่ จํากัด

ºÃÔÉÑ· ÍÕâ¹ÇÒ «Õà¹Íà ÂÕ่ ¨ํÒ¡Ñ´ ¡‹ÍµÑ้§¢Ö้¹àÁ×่Í»‚ 2552 â´Â໚¹Ë¹Ö่§ã¹à¤Ã×ͧ͢¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ· ÍÕâ¹ÇÒ¡ÃØ » «Ö่§ ´ํÒà¹Ô¹¸ØáԨà¡Õ่ÂǡѺÃкº¡ÒèѴ¡ÒÃáÅФǺ¤ØÁ ÊํÒËÃѺÃкºä¿¿‡ÒáçÊÙ§ã¹ËÅÒÂ æ ´ŒÒ¹ äÁ‹ÇÒ‹ ¨Ð໚¹ ¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃáÅШѴ¨ํÒ˹‹ÒÂÍØ»¡Ã³ ÃкºÊÑ่§¡Òà ÃÐÂÐä¡Å (Remote Terminal Unit) ¡ÒäǺ¤ØÁ ¡ํҡѺ´ÙáÅáÅÐà¡็º¢ŒÍÁÙÅ (Supervisory Control and Data Acquisition) ¾ÃŒÍÁ·Ñ้§à»š¹¼ÙŒÇÒ§Ãкº (System Integrator) ãˌᡋ¡ÅØ‹Áâç俿‡Ò ·Ñ้§ÀÒ¤ ÃÑ°áÅÐàÍ¡ª¹·Ñ้§ã¹áÅе‹Ò§»ÃÐà·È

2424

April April2015 2015


อีโนวา ซีเนอรยี่

รุกธุรกิจพลังงานทดแทน บุกตลาด Solar cell “คุณเฉลิมพล สัตยาวุฒิพงศ” กรรมการผูจัดการ บริษัท อีโนวา ซีเนอรยี่ จํากัด เผยวา เหตุผลที่ทําใหทางกลุมบริษัทอีโนวาหันมาสนใจธุรกิจดานพลังงาน เพราะเห็นวาธุรกิจดาน พลังงานกําลังเติบโตและมีแนวโนมที่จะดีขึ้นเรื่อย ๆ บริษัทฯจึงขยายธุรกิจจากงานทางดาน ระบบไฟฟาแรงสูงมาสูธ รุ กิจเกีย่ วกับดานพลังงานโดยเฉพาะอยางยิง่ พลังงานทดแทนตางๆ ซึ่งชวงแรกบริษัทฯ มุงเนนไปที่โซลาเซลลเพียงอยางเดียว เนื่องจากชวงนี้ โซลาเซลล มีความตองการในตลาดสูงมาก ไมวาจะเปนกลุม ที่อยูอาศัยของประชาชนทั่วไป เพราะ ปจจุบันนี้โซลาเซลลคือ พลังงานทางเลือกที่ไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐ โดยสํานักงาน คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน มีประกาศเชิญชวนใหประชาชนทั่วไปที่สนใจ เขารวม ยื่นขอเสนอขายไฟฟาจากการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ประเภทบานที่อยูอาศัย โดยใหสวนตางที่สูงกวาการขายไฟจากการไฟฟาสูภาค ประชาชนทั่วไป ในอัตราที่นาสนใจเปนอยางยิ่ง อีกทั้งกลุมโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ เอง ก็ตางตื่นตัวกับการใชพลังงานทางเลือกอยางโซลาเซลล ในการชวยประหยัดคาใชจายแทน การใชพลังงานไฟฟาหลักเชนเดียวกัน และนอกจากธุรกิจทางดานพลังงานทดแทนแลว ทาง บริษัท อีโนวา ซีเนอรยี่ ยังทําธุรกิจ เกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัย โดย ทางบริษัทฯ เปนทั้งผูออกแบบติดตั้ง ระบบรักษา ความปลอดภัย (System Integrator) และเปนผูนําเขาอุปกรณรักษาความปลอดภัยภายใต แบรนดสินคาของตัวเอง เชน ระบบกลองวงจรปดชนิดความคมชัดสูง, เครื่อง สแกนลายนิ้วมือ, ระบบกันขโมย เปนตน

ด ว ยศั ก ยภาพของกลุ  ม บริ ษั ท อี โ นวาและ พันธมิตรทางธุรกิจ ทั้งในและตางประเทศ จึงทําใหกลุมบริษัท อีโนวา มีความพรอม เปนอยางยิ่งสําหรับการเดินหนาสูตลาดใน กลุมประเทศ AEC ไมวาจะเปนธุรกิจทาง ดานไฟฟาแรงสูง ธุรกิจพลังงานทดแทนและ ธุรกิจทางดานระบบรักษาความปลอดภัย สุดทายถาทางผูอานสนใจในสวนของสินคา ของ บริษัท อีโนวา ซีเนอรยี่ จํากัด สามารถ เขามาชมไดทงี่ านสถาปนิกป 2558 ในระหวาง วันที่ 28 เมษายน – 3 พฤษภาคม 2558 ตัง้ แต เวลา 11.00 – 21.00 น. ณ ชาเลนเจอรฮอลล 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี บูธ L302 หรือ สามารถเยีย่ มชมการอัพเดทขอมูลตาง ๆ ไดที่ www.facebook.com/pages/Enova-Security และ www.enovasynergy.com ไดเลยคะ

คุณเฉลิมพล สัตยาวุฒิพงศ ยังไดกลาวถึงวิสัยทัศของบริษัทอีกวา บริษัท อีโนวา ซีเนอรยี่ ตองการกาวไปสูการเปนหนึ่งในความเปนผูนําระบบรักษา ความปลอดภัย และระบบประหยัดพลังงาน ภายใตแบรนด “ENOVA” ซึ่งใน ชวงแรกนี้จะเนนในการสรางแบรนดใหเขาถึงกลุมเปาหมาย โดยผลิตภัณฑ ของทางบริษัทหลาย ๆ อยางจะถูกคัดสรรแตสินคาที่มีคุณภาพจากโรงงานที่ นาเชื่อถือ และนําเขามาภายในประเทศภายใตแบรนด ENOVA หลังจากนั้น ทางบริษัทจึงจะพัฒนาไปสูการสรางผลิตภัณฑภายใตทีมงานและบุคคลากร ในกลุมบริษัท อีโนวาเองในอนาคต ในขณะเดียวกันทางกลุมบริษัท อีโนวา ก็กําลังขยายฐานลูกคาออกไปสูตลาดประเทศเพื่อนบานไมวาจะเปน พมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม เพื่อเปนการรองรับการขยายตัวของกลุมประเทศ AEC ซึ่งก็เปนทิศทางที่ถูกวางไวในอนาคตสําหรับบริษัท อีโนวา ซีเนอรยี่ เชนเดียวกัน

April April2015 2015 2525


Interview กองบรรณาธิการ

คุณแคทรีน แมงเกส

รองประธานบริหาร ฝายทรัพยากรบุคคล และ ประธานสภาความยั่งยืนของเฮงเค็ล

เฮงเค็ล ปลืม้ เปาหมายแรกสําเร็จ กับการจัดระบบดานสิง่ แวดลอม

26

April 2015


รายงานด้านความยั่งยืนของเฮงเค็ลปีที่ผ่านมา มีรายละเอียดเกี่ยวกับงานด้านความ ก้าวหน้าด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมของบริษทั โดยในรายงานได้กล่าวถึงการมีสว่ นร่วม อย่างแข็งขันของพนักงานเฮงเค็ลทั่วโลก และความก้าวหน้าของบริษัทในการมุ่งสู่ เป้าหมายการพัฒนาด้านความยั่งยืนที่ได้ตั้งเอาไว้ภายในปี พ.ศ. 2573 คุณแคทรีน แมงเกส กล่าว่า กลยุทธ์ความยั่งยืนที่ชัดเจนของเฮงเค็ล ได้รับการยอมรับว่า มีประสิทธิภาพสูง โดยสามารถบรรลุเป้าหมาย 4 ใน 5 ของเป้าหมายระดับกลางก่อนระยะ เวลาทีก่ า� หนดไว้ถงึ หนึง่ ปี พนักงานของบริษทั มีบทบาทส�าคัญอย่างยิง่ ในการบรรลุเป้าหมาย สู่ความส�าเร็จในครั้งนี้ และเราจะยังคงยืนหยัดบนค�ามั่นและความเชี่ยวชาญของพนักงาน ของเราเพื่อขับเคลื่อนไปสู่ความส�าเร็จในก้าวต่อไป กลยุทธ์ความยั่งยืนของเฮงเค็ล ที่ได้น�าเสนอตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 นั้นได้ก�าหนดเป้าหมาย ระยะยาวในการสร้างความส�าเร็จด้วยการใช้ทรัพยากรที่น้อยลง และเพิ่มประสิทธิภาพการ ใช้ทรัพยากรเป็นสามเท่าภายในปี พ.ศ. 2573 ทั้งนี้ เฮงเค็ล ได้ตั้งเป้าหมายที่จะพัฒนา สัมพันธภาพระหว่างคุณค่าที่บริษัทได้สร้างสรรค์ขึ้นกับการใช้ทรัพยากรด้านสิ่งแวดล้อม โดยตัง้ เป้าลดการใช้ทรัพยากรลงร้อยละ 30 เป็นระยะเวลา 5 ปี เริม่ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2554 - 2558 และในปี พ.ศ. 2557 ทีผ่ า่ นมา เฮงเค็ลได้บรรลุความก้าวหน้าทีโ่ ดดเด่นในการเพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้พลังงานขึ้นร้อยละ 20 ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรน�้า ดีขึ้นร้อยละ 19 ในขณะที่ ปริมาณของเสียจากการผลิตลดลงร้อยละ 18 (หากไม่รวมปริมาณของเสียจากกิจกรรม พิเศษและการก�าจัดของเสีย จะลดลงถึงร้อยละ 22) และด้านความปลอดภัยในการท�างานดี ขึ้นร้อยละ 25 ส�าหรับในปี พ.ศ. 2558 บริษัทได้ตั้งเป้าหมายในการพัฒนา และได้วางแผน เพื่อก�าหนดเป้าหมายระดับกลางส�าหรับ ปี พ.ศ. 2563 วิสัยทัศน์ของเฮงเค็ลด้านการเป็นผู้น�าความยั่งยืนไม่เฉพาะเพียงแต่เป็นความรับผิดชอบ ขององค์กรเท่านั้น แต่ยังเป็นโอกาสในการสร้างความเข้มแข็งในการแข่งขันได้อย่างต่อเนื่อง อีกด้วย โดยบริษัทมีกลยุทธ์หลัก 3 ด้าน เป็นหัวใจส�าคัญในการน�าไปสู่การปฎิบัติเพื่อความ ยั่งยืน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (Products) พันธมิตร (Partner) และพนักงาน (People) โดยบริษัท มุ่งที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและให้คุณค่ากับผู้บริโภคมากที่สุด โดยส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยการร่วมมือกันกับพันธมิตร เฮงเค็ลตั้งเป้าหมายที่จะพัฒนา อย่างต่อเนื่องในกระบวนการผลิตทั้งหมด นอกจากนี้ การมีส่วนร่วมของพนักงานเป็นพื้น ฐานส�าคัญที่ท�าให้เฮงเค็ลบรรลุเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ภายในปี พ.ศ. 2573 หนึ่งในเครื่องมือส�าคัญที่เฮงเค็ลน�ามาใช้อย่างแพร่หลายในปีที่ผ่านมาคือโครงการทูตความ ยัง่ ยืนเฮงเค็ล โดยโครงการดังกล่าวเปิดโอกาสให้พนักงานได้เข้าใจเรือ่ งความยัง่ ยืนมากยิง่ ขึน้ และสามารถที่จะถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับความส�าคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืนให้กับ เพื่อนร่วมงาน ซัพพลายเออร์ ลูกค้า ผู้บริโภค รวมถึงนักเรียนที่อยู่ในโรงเรียน โดยตั้งแต่ ได้ริเริ่มโครงการดังกล่าวในปี พ.ศ. 2555 มีพนักงานมากกว่า 3,800 คนใน 70 ประเทศ ผ่านการอบรมเพื่อเป็นทูตด้านความยั่งยืนของเฮงเค็ลและได้มีการให้ความรู้กับโรงเรียน จ�านวน 36,000 แห่งใน 37 ประเทศที่เฮงเค็ลด�าเนินธุรกิจอยู่

เฮงเค็ล บรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืน อย่างต่อเนือ่ ง โดยเมือ่ ปี พ.ศ. 2557 เฮงเค็ล ได้รับการจัดอันดับจากหน่วยงานด้านความ ยั่งยืนหลายหน่วยงาน ทั้งภายในประเทศ และในระดับนานาชาติ เฮงเค็ลได้รับการจัด อันดับดัชนีด้านความยั่งยืนของดาวน์โจนส์ ตั้ ง แต่ ที่ มี ก ารเปิ ด ตั ว โครงการจั ด อั น ดั บ ดังกล่าวในปี พ.ศ. 2542 โดยติดอันดับผู้น�า ด้ า นอุ ต สาหกรรมที่ ส นั บ สนุ น ด้ า นความ ยั่งยืนถึง 8 ครั้งติดต่อกัน และยังได้รับการ รวบรวมไว้ในดัชนีดา้ นการมีคณ ุ ธรรม (FTSE4 Good ethical index) เป็นระยะเวลา 14 ปี ติดต่อกันอีกด้วย เฮงเค็ลด�าเนินธุรกิจทั่วโลกด้วยการเป็นผู้น�า ด้ า นแบรนด์ แ ละเทคโนโลยี ใ นสามกลุ ่ ม ธุรกิจ คือ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ซักล้างและ ผลิตภัณฑ์ครัวเรือน (Laundry & Home Care) กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม (Beauty Care) และกลุม่ ธุรกิจเทคโนโลยีกาว (Adhesive Technologies) บริษัทเฮงเค็ลก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2419 และครองต�าแหน่งผู้น�าตลาดทั่ว โลกในกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ ผู ้ บ ริ โ ภค และธุรกิจอุตสาหกรรมพร้อมแบรนด์ที่มีชื่อ เสียงเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น เพอร์ ซิล ชวาร์สคอฟ และล็อคไทท์ มีการจ้างงาน พนักงาน กว่า 47,000 คน และสร้างยอด ขาย 16,400 ล้านยูโร พร้อมก�าไรจากการ ด�าเนินงานหลังการปรับปรุงรวม 2,500 ล้าน ยูโรในปีงบประมาณ 2556 และมีหนุ้ บุรมิ สิทธิ์ ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ DAX ประเทศเยอรมัน

AprilApril 2015201527 27


Interview

นัษรุต เถื่อนทองคํา

คุณอภิชัย ลํ้าเลิศพงศพนา กรรมการบริหาร กลุมบริษัทไอ.ที.ซี.

ËÒ¡¨Ð¡Å‹ Ò Ç¼Å§Ò¹¡ÒÃ¾Ñ ² ¹Ò¼ÅÔ µ ÀÑ ³ ± ÀÒÂ㵌½‚Á×ͤ¹ä·Â »˜¨¨ØºÑ¹à»š¹·Õ่ÂÍÁÃѺ㹠ǧ¡ÇŒÒ§ÁÒ¡¡Ç‹Ò·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ¤‹Í¹¢ŒÒ§ÁÒ¡ ʋǹ˹Ö่§ ໚ ¹ à¾ÃÒÐä´Œ ÃÑ º ¡ÒÃÊ¹Ñ º Ê¹Ø ¹ ¨Ò¡·Ø ¡ ÀҤʋ Ç ¹ ¨¹ÊÒÁÒö¾Ñ ² ¹Ò¼Å§Ò¹·Õ่ ÁÕ ÈÑ ¡ ÂÀҾ㹡Òà ᢋ§¢Ñ¹¡Ñºµ‹Ò§»ÃÐà·Èä´Œ ઋ¹à´ÕÂǡѺ “¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ· äÍ.·Õ.«Õ.” ¼ÙŒ¹ํÒà·¤â¹âÅÂÕÃкº·ํÒ¤ÇÒÁàÂ็¹¶¹ÍÁ ÍÒËÒà ÊÒÁÒö¤ÇŒÒÃÒ§ÇÑżŧҹ»ÃдÔÉ° ¤Ô´¤Œ¹ ´Œ Ò ¹ÇÔ È Ç¡ÃÃÁÈÒʵà á ÅÐÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁ¡Ñ º “ªØ´ÃкÒ¤ÇÒÁÌ͹ª¹Ô´äÍÃÐàËÂẺäÁ‹ãªŒ¾Ñ´ÅÁ” ¨Ò¡Êํҹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÇÔ¨ÑÂáË‹§ªÒµÔ (Ǫ.) »ÃШํÒ»‚ 2558 ´ŒÒ¹Å´ãªŒ¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ໚¹ÃÙ»¸ÃÃÁ

28

April 2015


ไอ.ที.ซี. เจาของผลงานดีเดน

รางวัลนวัตกรรมลดใชพลังงานป 2558

นายอภิ ชั ย ลํ้ า เลิ ศ พงศ พ นา กรรมการบริ ห าร กลุม บริษทั ไอ.ที.ซี. เปดเผยวา ตลอดระยะเวลา 32 ป ทีผ่ า นมา กลุม บริษทั ไอ.ที.ซี. ไดตระหนักและใหความ สําคัญในการคิดคนนวัตกรรมใหม ๆ ดานอุตสาหกรรม ความเย็ น ที่ มุ  ง เน น เพิ่ ม ศั ก ยภาพควบคู  ไ ปกั บ การ อนุรักษพลังงานมาอยางตอเนื่อง ตลอดจนผลักดัน ใหมีกิจกรรมอนุรักษพลังงานเพื่อใหพนักงานมีสวน รวมและเกิดจิตสํานึกในการอนุรักษพลังงาน จากประสบการณและความเชีย่ วชาญในอุตสาหกรรม ความเย็นถนอมอาหาร บริษทั ฯ จึงไดคดิ คนนวัตกรรม ความเย็นเพื่อนํามาประยุกตใชกับการติดตั้งระบบ ความเย็นในอาคารสํานักงาน จนทําใหสามารถควา รางวัลผลงานประดิษฐคิดคน ดานวิศวกรรมศาสตร และอุตสาหกรรม เรื่อง “ชุดระบายความรอนชนิดไอระเหยแบบไมใชพัดลม (Fanless Evaporative Condenser)” จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ประจําป 2558 ซึ่งเปนนวัตกรรมทางวิศวกรรมทําความเย็นที่ใชหลักการนําพาความรอนออกไปจากระบบ ทําความเย็น โดยภูมิปญญาของมนุษยและกฎเกณฑธรรมชาติ ลมบก ลมทะเล โดยจะชวย ลดการใชพลังงานไฟฟาลงไดคอนขางมาก ปจจุบัน กลุมบริษัท ไอ.ที.ซี คิดคนนวัตกรรมอาคารที่มีแบตเตอรี่กักเก็บความเย็นหรือ ถังกักเก็บความเย็น ภายใตชื่อ อาคาร Cooling Batt ซึ่งเปนอาคารแหงเดียวในโลกที่มี ความพิเศษ คือใชสารทําความเย็นจากธรรมชาติ อาศัยหลักการนํากาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ที่มีปริมาณมากเกินสมดุลของระบบนิเวศนทางธรรมชาติมาใชเปนสารทําความเย็น ชวยลดปจจัยอันเปนสาเหตุของการเกิดภาวะโลกรอน ผสมผสานกับนวัตกรรมใหม ชุดระบาย ความรอนชนิดไอระเหยแบบไมใชพัดลม กระบวนการทําความเย็นระบบปรับอากาศจึงมี สมรรถนะสูงและประหยัดพลังงาน ใชพลังงานไฟฟาในชวงเวลากลางคืนทีโ่ รงงานอุตสาหกรรม และบานเรือนมีปริมาณการใชไฟฟานอย และนําความเย็นทีส่ ะสมไวมาใชในชวงเวลากลางวัน โดยใชพลังงานไฟฟาในชวงระหวางวันไมเกิน 25% เมื่อเทียบกับเครื่องปรับอากาศแบบ Split Type หรือ Chiller จึงชวยลดภาระการผลิตกระแสไฟฟาของประเทศในชวง On Peak และชวยประหยัดคาพลังงานไฟฟาใหกับผูใชงานได ซึ่งรางวัลที่ไดรับในครั้งนี้ ก็นับเปนอีก ความภาคภู มิ ใจในผลงานและความสามารถของคนไทยและกระตุ  น ให เ กิ ด การคิ ด ค น นวัตกรรมใหม ๆ อยางตอเนื่อง อันจะนํามาสูการตอยอดเชิงพาณิชยในอนาคตตอไป ที่ผานมา บริษัทฯ ไดสรางชื่อเสียงใหแกประเทศ คือ การออกแบบและสรางระบบทํา ความเย็นใหแกโรงงานผลิตอาหาร ในเครือบริษัทเจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) อําเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งไดรับรางวัลชนะเลิศระดับโลก เทคโนโลยีอะวอรด หมวดอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิต (First Place 2008 ASHRAE Technology AwardThe Industrial Facilities and Processes Category) จากสมาคมแอชเรย (ASHRAE)

สหรัฐอเมริกา เมื่อป 2552 ซึ่งเปนสมาคม ทางวิชาการดานวิศวกรรมการปรับอากาศ และทําความเย็นระดับโลก กลุมบริษัท ไอ.ที.ซี. มีนโยบายหลักที่จะลด การพึ่งพาจากตางประเทศ จึงมีการคิดคน และพัฒนาผลิตภัณฑทดแทนการนําเขา เชน ชุดไลอากาศเพือ่ ประหยัดพลังงานซอฟตแวร ไอ.ที.ซี.ลิงค ในการควบคุมระบบทําความเย็น ชนิดออนไลน เปนตน ดวยคุณภาพเปนที่ ยอมรับทั้งภายในประเทศและตางประเทศ อาทิ สิงคโปร ฟลปิ ปนส มาเลเซีย จีน และ ประเทศแถบตะวันออกกลาง ป จ จุ บันบริษัทฯ ไดรับ คัดเลือ กจากคณะ กรรมการเอกลักษณของชาติ สํานักนายก รั ฐ มนตรี และเขา รับ พระราชทานรางวัล เกียรติคุณบุคคลผูแทนหนวยงานและผูแทน ดีเดนของชาติสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจําพุทธศักราช 2551 จากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ อีกดวย

April April2015 2015 2929


Product Highlight - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

2 ผลิตภัณฑ “ยิปรอค” นวัตกรรมคูงานฝาและผนัง ºÃÔÉÑ· ä·Â¼ÅÔµÀѳ± ÂÔº«Ñ่Á ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ¼ÙŒ¼ÅÔµáÅШѴ¨ํÒ˹‹Ò ¼ÅÔµÀѳ± Ãкº§Ò¹½‡ÒྴҹáÅЧҹ¼¹Ñ§ÂÔ»«ÑÁ ÀÒÂ㵌áºÃ¹´ ÂÔ»Ãͤ µÍ¡Âํ้Ò¤ÇÒÁ໚¹Ë¹Ö่§·Õ่¤Ãͧ㨼ٌºÃÔâÀ¤¨¹ÃѺ¡ÒÃÂÍÁÃѺ㹻ÃÐà·Èä·Â ÁÒ¡Ç‹Ò 45 »‚ à» ´µÑÇ 2 ¼ÅÔµÀѳ± ãËÁ‹Å‹ÒÊØ´ Ἃ¹ÂÔ»«ÑÁª¹Ô´·¹ª×้¹·¹ÃÒ ÂÔ»Ãͤ àÍ็Á·Ùà·¤(Gyproc M2Tech) áÅÐ »Ù¹ÂԻ⤌· â··ÍÅ (GypCote TOTAL) ÊํÒËÃѺ§Ò¹©ÒººÒ§Ê¡ÔÁ⤌· à¾×่ÍÃÍÃѺ§Ò¹½ÒáÅм¹Ñ§â´Â੾ÒÐ

แผนยิปซัมชนิดทนชื้นทนรา “ยิปรอค เอ็ม ทูเทค (Gyproc® M2Tech)” ที่มาพรอม นวัตกรรมในการผสานคุณสมบัติทั้งการทน ความชื้ น และราในแผ น ยิ ป ซั ม แผ น เดี ย ว และผลิตภัณฑปูนฉาบสกิมโคทสูตรพิเศษ “ปูนยิปโคท โททอล (GypCote TOTAL)” สําหรับงานฉาบบางสกิมโคท โดยสามารถ ทาสี ทั บ หน า ได โ ดยไม ต  อ งทาสี ร องพื้ น ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานไดงาย และเร็วขึ้น ชวยลดคาใชจายในการทํางาน ลดการใช ส ารเคมี แ ละยั ง เป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอม ตามปณิธาน “ยิปรอคโกกรีน” ผลิตภัณฑทั้ง 2 อยาง เปนสวนหนึ่งในแผน ธุรกิจของยิปรอค ในการเติบโตของบริษทั 5% ภายในป 2557 โดยยืดปณิธานในการพัฒนา สินคาที่มีคุณภาพ ปลอดภัยกับผูบริโภค เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และตอบโจทยความ ตองการของผูบริโภคในปจจุบัน เพื่อกาวสู

PB30

April April2015 2015


การเปนผูนําในธุรกิจระบบผนังและฝายิปซัมครบวงจร เพื่อเปด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 ยิปรอค เอ็มทูเทค (Gyproc® M2Tech) เปนแผนยิปซัมชนิดทนชื้น ทนรา ขนาดความหนา 9 มิลลิเมตร คือนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น สําหรับพื้นที่เฉพาะภายในอาคาร อาทิ หองที่มีการหมุนเวียนของ อากาศนอย สามารถใชใน โรงพยาบาล สถานศึกษา หรือ บานที่มี เด็กเล็ก เปนตน มีสูตรพิเศษเปนสารในการยับยั้งการเจริญเติบโต ของเชื้อราที่อยูในแกนกลางของแผนยิปซัม นอกจากนี้ ยังมีความ สวยงามและติดตั้งไดงาย สามารถทาสี ทําลวดลาย หรือติดวอลล เปเปอรไดทันที เหมาะสําหรับงานฝาและผนังทั้งบานใหม และบาน ที่มีการซอมแซม และยังยืดอายุการใชงาน ลดปญหาการรื้อหรือ ซอมฝาเพดาน สามารถใชรวมกับ ปูนฉาบรอยตอชนิดทนชื้นทนรา และผาเทปไฟเบอรชนิดทนรา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทน ความชื้นทนราอยางสมบูรณครบถวน สวน ปูนยิปโคท โททอล (GypCote TOTAL) ปูนฉาบสกิมโคท สูตรพิเศษ สีขาว ขนาดบรรจุภัณฑ 20 กิโลกรัมตอถุง ใชได 20 ตารางเมตร สรางความคุมคาในการใชงานที่มากกวาเดิม ใชเฉพาะ ภายในอาคารสําหรับงานฉาบบาง ใหความเรียบเนียนพิเศษ ไรรอยราว และไมตองทาสีรองพื้น ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานไดงาย และเร็วขึ้น ชวยลดคาใชจายในการทํางาน ลดการใชสารเคมีและ ยังเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยมีปริมาณฝุนจากการขัดแตงผิวนอย มี ค  า เป น กลาง ไม กั ด มื อ ปลอดภั ย สํ า หรั บสุ ข ภาพของผู  ใช ง าน ใชไดบนพื้นผิวหลายชนิด อาทิ ฉาบทองพื้นคอนกรีต ผนังคอนกรีต

ผนังปูนฉาบทั่วไป และฉาบแผนยิปซัมทั้งผืน โดยหวังการเขาถึง กลุมลูกคาหมูบานจัดสรร คอนโด อพารตเมนต โรงงาน เจาของ โครงการ ผูรับเหมาหลัก และผูรับเหมาสี เปนตน ผลิ ต ภั ณ ฑ ดั ง กล า วเป น ความตั้ ง ใจจริ ง ในการมอบผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี คุณภาพใหแกผบู ริโภคตามปณิธาน ยิปรอคโกกรีน อีกทัง้ ยังไดรบั การ รับรองมาตรฐาน ASTM D3272 ทดสอบการตอตานการเจริญ เติบโตของเชือ้ ราบนพืน้ ผิว โดยสามารถทนเชือ้ ราไดมากกวา 20 ชนิด

April April2015 2015 31PB


Showcase - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

อีซคี่ วิก ฉาบเนียนเต็มรอง งานเสร็จไว ไมเปลืองแรง บริษัท สยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จํากัด หรือ สยามยิปซัม ผูผลิต แผนยิปซัม ภายใตเครื่องหมายการคาตราชาง แนะนําผลิตภัณฑ ปูนฉาบรอยตอ อีซี่ควิก ผลิตภัณฑสูตรใหมพิเศษใชสําหรับฉาบรอยตอแผนยิปซัม ฉาบรอยตอ หัวตะปู หรือฉาบเก็บงานครั้งสุดทาย เนื้อปูนที่มีความละเอียดและผสมไดงาย สามารถฉาบไดไว เต็มรองและติดแนนทนทานอยางมืออาชีพ สําหรับปูนฉาบ รอยตอ แหงไว ทําใหไมเปลืองแรง โดยมีขนาดบรรจุ 25 กิโลกรัม คุมคา ใชงานได มากกวา 70 ตารางเมตรตอถุง

Nippon Timber Finish ปกปองไมในทุกสภาวะ บริษัท นิปปอนเพนต เดคโคเรทีฟ โคทติ้ง (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัวพอรทโฟลิโอในกลุมผลิตภัณฑสีทาไมดวย Nippon Timber Finish สียอมไมเกรดพรีเมี่ยม ชนิดโปรงแสง สําหรับไมจริง ใชทา ไดทั้งภายนอกและภายใน ออกแบบมาเพื่อการปกปองเนื้อไมใหดู สวยทนทาน เหมาะสําหรับงานไมที่ตองการโชวความสวยงามของ เนือ้ ไม นิปปอน ทิมเบอร ฟนชิ มาพรอมเทคโนโลยีจากประเทศญีป่ นุ ไฮบริด พลัส เทคโนโลยี (Hybrid Plus Technology) ประสิทธิภาพ การปกปองเนื้อไมที่เหนือชั้นกวาดวยฟลมหนา ทนทาน เงางาม และแห ง เร็ ว พร อมทั้ ง ช ว ยปกปอ งเนื้อ ไมจากแสงแดดและรังสี อัลตราไวโอเลตใหเนื้อไมสวยนานกวาที่เคย

Adenpark กระเบือ้ งปูพนื้ แซมตนหญา บริษัท โสสุโก แอนด กรุป (2008) จํากัด ผูจําหนายกระเบื้อง เซรามิก ปูพนื้ และบุผนังตราโสสุโก แนะนําผลิตภัณฑ เอเดนปารค (Adenpark) กระเบือ้ งปูพนื้ ลาย หินออนแซมดวยตนหญาสีเขียวสด ขนาด 16x16 นิว้ ผานการพิมพลายในระบบดิจิตอลเทคโนโลยี สรางลวดลาย 3 มิติใหดู สวยสมจริงดุจธรรมชาติ และกระเบื้องลายลอมบุษบา (LomBussaba) พิมพลายรูปกระเบื้องแผนเล็กลอมดวยใบไมเขียวขจี ขนาด 12x12 นิ้ว มีสีพื้นใหเลือก 2 สี คือ สีนํ้าตาล และสีเนื้อ เหมาะสําหรับปูพื้นที่ที่จัด เปนสวนหรือแนวทางเดิน รวมกับการตกแตงดวยไมดอกไมประดับชนิด ตาง ๆ สรางสวนสวยสําหรับชวงเวลาผอนคลายไดไมยาก ทั้งยังงายตอ การดูแลและทําความสะอาด 32

April 2015

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


April 2015 PB


Showcase - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

Blanco Flow by Häfele เรียบหรูพรอมนวัตกรรม บริษัท เฮเฟเล (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําอุปกรณฮารดแวรมาตรฐาน จากประเทศเยอรมนี เอาใจคนรักครัว เผยโฉมอางลางจาน Blanco Flow by Häfele ดีไซนเรียบหรูพรอมนวัตกรรม อางลางจานผลิตจาก สแตนเลส สตีล ทรงสี่เหลี่ยม ทันสมัย ออกแบบแบบสมมาตรบริเวณจุด กึง่ กลางของอางและตระแกรงกรองเศษอาหาร มาพรอมกับระบบเชื่อมตอ ระหวางชองระบายนํา้ และอางชวยประหยัดพืน้ ทีใ่ นการติดตัง้ ออกแบบ ใหระบายนํา้ บนพืน้ ทีท่ ง้ั สองดานของอางไดไมกอ ใหเกิดความเลอะเทอะ ของนํ้าที่กระเด็นจากการใชงานในอางลาง ดีไซนรูปทรงของซิงค ใหเปน ท็อปที่ดูเรียบเสมอไปกับเคานเตอร สําหรับนําไปติดตั้งบนเคานเตอร ท็อปครัวไดอยางลงตัวและมีระบบติดตั้งที่มั่นคง สรางความหรูหรา ใหกับครัวทันสมัยสไตลโมเดิรน

AVENAR 4000 Series อุปกรณตรวจจับอัคคีภยั Bosch แนะอุปกรณตรวจจับอัคคีภัยใหม AVENAR 4000 Series ที่มา พรอมกับเทคโนโลยี eSMOG จะชวยใหอุปกรณตรวจจับ มีประสิทธิภาพ ในการปองกันคลื่นแมเหล็กไฟฟา Electromagnetic ผูติดตั้งระบบ สามารถตรวจสอบ ปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว และสามารถแกไข ปญหาทีเ่ กิดจากการแจงเตือนทีผ่ ดิ พลาดไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดวยการปรับปรุงเพิม่ เติมดานการตรวจจับอัคคีภยั โดยการวัดความเสีย่ ง ในการไดรับอิทธิพลจากสนามแมเหล็กไฟฟาของแตละอุปกรณตรวจจับ อยูเ สมอและคํานวณหาคาเฉลีย่ ในระยะกลางและระยะยาว ผลลัพธทไี่ ด ถูกนํามาใชในการทํานายคาที่เกินเกณฑขั้นตํ่ากอนจะมีการเตือนภัย

Greenlam ลามิเนตเพือ่ สุขภาพ Greenlam ผูนําดานการผลิตแผนลามิเนตปดผิวเฟอรนิเจอร ดวย คุณสมบัติในการลดการติดตอของเชื้อโรคจากการสัมผัสพื้นผิวงาน ตกแตงภายในของผูปวยในที่สาธารณะ ดวยนวัตกรรม Safeguard Plus Anti-Bacterial grade โดยมีดีไซนใหเลือกหลากหลาย ตามพืน้ ที่ ของการตกแตงให interior designers เลือกไดกวา 76 collections 357 items ภายใต Laminates Illuminated concept เชน Cool Blue ดี ไซน Chic style โดยได รั บ รางวั ล การั น ตี ภายในงาน design “Diament Meblarstwa” award in Poland อีกดวย

34 PB

April April 2015 2015


Product Highlight - Industrial อภัสรา วัลลิภผล

ฮาม อ น บี . กริ ม รุกตลาด ระบบหอระบายความเย็นแบบไรควัน

ปลอดภัย เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

㹡ÒÃÊÃŒ Ò §âç俿‡ Ò ÊÔ่ § ·Õ่ à »š ¹ ˹Ö่ § ã¹ËÑ Ç ã¨ËÅÑ ¡ ¢Í§âç俿‡ Ò àË็ ¹ ¨ÐË¹Õ ä Á‹ ¾ Œ ¹ ÃкºËÍÃкÒ¤ÇÒÁàÂ็¹ (Cooling system) ·Ñ้§¹Õ้ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ ÁÕ¼ÙŒ»ÃСͺ ¡ÒÃâç俿‡Ò¢¹Ò´ãËÞ‹ãËŒ¤ÇÒÁʹã¨ã¹ÃкºËÍÃкÒ¤ÇÒÁàÂ็¹áººäÃŒ¤Çѹ (Plume Abated Cooling system)¡Ñ¹ÁÒ¡¢Ö้¹ à¾ÃÒй͡¨Ò¡¨Ðª‹ÇÂãËŒ ËÍÃкÒ¤ÇÒÁàÂ็¹ äÁ‹ÁÕ¤Çѹ ËÃ×Í ÅÐÍͧ¹ํ้Ò ¢Ö้¹ÁÒú¡Ç¹ÊÒµҪØÁª¹Ãͺ âç俿‡ÒáÅŒÇ Âѧª‹ÇÂÅ´¼Å¡ÃзºÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ â´Â㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧàËÁÒÐÊÁ ÍÕ¡´ŒÇ “ºÃÔÉÑ· ÎÒÁ‹Í¹ ºÕ.¡ÃÔÁ ¨ํÒ¡Ñ´” ¶×Í໚¹ÍÕ¡ºÃÔÉÑ··Õ่໚¹¼ÙŒàªÕ่ÂǪÒÞ ´ŒÒ¹ÇÔÈÇ¡ÃÃÁ¢Í§ÃкºËÍÃкÒ¤ÇÒÁàÂ็¹ ·Ñ้§Âѧ໚¹ºÃÔÉÑ··Õ่ÁÕÈÑ¡ÂÀÒ¾áÅÐ ÁÕͧ¤ ¤ÇÒÁÃٌ੾ÒдŒÒ¹ã¹Ãкº¡Òö‹ÒÂà·¤ÇÒÁÌ͹ ÃÇÁ·Ñ้§ÁÕÈٹ ÇԨѢ¹Ò´ ãËÞ‹·Õ่¡Ãا ºÃÑÊà«ÅÊ ´ŒÇ¼ŧҹ¢Í§ºÃÔÉÑ·ã¹»ÃÐà·Èä·Â·Õ่ÁÕÁÒ¡ÁÒ ·ํÒãËŒ ÅÙ¡¤ŒÒà¡Ô´¤ÇÒÁ¹‹Òàª×่Ͷ×ÍáÅÐãËŒ¤ÇÒÁäÇŒÇҧ㨠â´ÂÁÕ “¤Ø³ÇزԾ§É »ÃÐÇÔµÃǧ¤ ” ໚¹ËÑÇã¨ËÅÑ¡¢Í§ºÃÔÉÑ·Ï

บริษัท ฮามอน บี.กริม จํากัด เปนบริษัท รวมทุนระหวางกลุม บี.กริม และ ฮามอน ประเทศเบลเยี่ ย ม ซึ่ ง เป น กลุ  ม บริ ษั ท วิศวกรรมชัน้ นําทีเ่ ชีย่ วชาญในดานวิศวกรรม ชั้ น นํ า ที่ เ ชี่ ย วชาญในด า นวิ ศ กรรมการ บริหารโครงการ การผลิตชิ้นสวนอุปกรณ รวมทั้งการติดตั้งและการใหบริการหลังการ ขายของระบบหอระบายความเย็น (Cooling System) ระบบแลกเปลีย่ นความรอน (Heat Exchanger) ระบบควบคุมคุณภาพอากาศ (Air quality control: ESP & Bag filter) และ หม อกํ าเนิ ด ไอนํ้ า (HRSG) ในโรงไฟฟ า ขนาดใหญ โรงงานปโตรเคมีคอล และ โรงกลัน่ บริษัทมีศักยภาพมีองคความรูเฉพาะดาน ในระบบการถ า ยเทความร อ น ทั้ ง ยั ง มี ศูนยวจิ ยั ขนาดใหญท่ี กรุงบรัสเซลล เนนการ พัฒนาองคความรู ผลิตภัณฑและศักยภาพ April 35 April2015 2015 PB


Product Highlight - Industrial กรีนภัทร์

ต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง และด้วยผลงานของบริษัทในประเทศไทยที่มีมากมาย ท�าให้ลูกค้า เกิดความเชื่อถือ และให้ความไว้วางใจ เพราะระบบหอระบายความเย็นในโรงไฟฟ้า หรือ โรงปิโตรเคมิคอล เป็นหนึ่งในหัวใจหลักของแพลนท์ (Plant) ถ้าระบบนี้ไม่ดี จะท�าให้ Plant ล้มเหลว หรือมีประสิทธิภาพไม่เต็มที่ และนี่คือจุดเด่นของบริษัทฯ บริษัทฯ จะท�าด้านเกี่ยวกับด้านวิศวกรรม ระบบถ่ายเทความร้อน (Heat Transfer) ในส่วน ของระบบแลกเปลี่ยนความร้อน และ ระบบหอระบายความเย็น (Cooling System ) ตั้งแต่ การออกแบบทางด้านวิศวกรรม การจัดหาวัสดุการออกแบบและข้อสัญญาการก่อสร้าง และติดตั้งหอระบายความเย็น การให้บริการหลังการขาย รวมทั้งยังดูแลในส่วนของการ ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพของระบบหอระบายความเย็นเก่าในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ โรงงาน ปิโตรเคมิคอล และ โรงกลัน่ ในส�าหรับระบบควบคุมคุณภาพอากาศ บริษทั มีความสนใจเช่นกัน ที่จะน�าเทคโนโลยีส่วนนี้เข้ามาขยายงานในประเทศไทยโดยเฉพาะในโรงไฟฟ้าถ่านหิน สะอาด โครงการใหม่ ๆ ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีโรงงานของตัวเองที่ผลิตอุปกรณ์บางส่วนของ ระบบหล่อเย็น ระบบแลกเปลีย่ นความร้อนและระบบควบคุมคุณภาพอากาศในหลายประเทศ ไม่ว่าจะเป็น ประเทศฝรั่งเศส ประเทศซาอุดิอารเบีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศจีน และประเทศอินเดีย ในส่วนของกลุม่ ลุกค้าของบริษทั ฯ ในการเริม่ โครงการใหม่ ๆ จะเป็น บริษทั วิศวกรรมขนาดใหญ่ เช่น โตโยไทย โตชิบาแพลน มิตซูบซิ ิ มารุเบนนิ โตโยเอนจิเนียริง่ แบล็กแอนวิช ฟอสเตอร์ วิลเลอร์ ส่วนผลงานของโครงการต่าง ๆ ของบริษัทฯ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ กฟผ. บริษทั มีผลงานเช่น โรงไฟฟ้าบางปะกง โรงไฟฟ้ากระบี โรงไฟฟ้าพระนครใต้ เฟส 2 และ 3 โรงไฟฟ้าจะนะ 2 ที่สงขลา โรงไฟฟ้าวังน้อย 4 ที่ จังหวัดอยุธยา ซึ่งทั้งสองโรงเพิ่ง เปิดจ่ายไฟไปเมื่อปีที่ผ่านมา และอีกแห่งที่ก�าลังก่อสร้าง คือ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ 2 ที่บางกรวย ถนนจรัลสนิทวงศ์ นอกจากนั้นก็เป็นกลุ่มโรงไฟฟ้าเอกชน เช่น โรงไฟฟ้าของ กลุ่มราชบุรีโฮลดิ้ง โรงไฟฟ้าเอ็กโก ที่จังหวัดระยอง โรงไฟฟ้าของกลุ่มกัฟล์ เจพี ส่วนของ 36

April 2015

โรงไฟฟ้ า ขนาดเล็ ก และโรงไฟฟ้ า เอกชน ขนาดใหญ่ ได้แก่ โรงไฟฟ้ากัฟล์หนองแซง และโรงไฟฟ้ากัฟล์อทุ ยั และโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก ของ บี.กริม เพาเวอร์ ทีอ่ ยูท่ นี่ คิ มอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง และใน ปัจจุบนั นีม้ โี ครงการทีก่ า� ลังก่อสร้าง เช่น ระบบ หอระบายความเย็นใน โรงไฟฟ้าลาดกะบัง โรงไฟฟ้าบางปู โรงไฟฟ้าไออาพีซี ซีเอชพี 2 โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม บ่อวิน คลีน เอนเนอจี และโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ 2 ซึ่ ง เป็ น หอระบายความเย็ น แบบไร้ ค วั น เป็นต้น ถ้าผูอ้ า่ นสนใจในส่วนของสินค้าบริษทั ฮาม่อน บี . กริ ม สามารถติ ด ต่ อ ไปได้ ที่ อาคาร ดร.เกฮาร์ด ลิงค์ 88 ถนนกรุงเทพกรีฑา หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 10240 หรือ โทรสอบถามได้ที่ 0-2710-3372-6 รับรอง เลยว่ า คุ ณ จะได้ รั บ ค� า ถามที่ คุ ณ ต้ อ งการ ได้ค่ะ

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


April 2015 PB


Showcase - Industrial อภัสรา วัลลิภผล

เครือ่ งทําความเย็นระบบการดูดซึมลิเธียมโบรไมดโดยใชไอนํา้ เครื่องทําความเย็นระบบการดูดซึมนี้เปนหนึ่งในผลิตภัณฑที่มีความนิยมมาก ที่สุด ซึ่งเปนชุดพลังงานที่มีประสิทธิภาพจะใชความรอนเหลือทิ้งในการผลิต นํา้ เย็น เครื่องจะใหอุณหภูมินํ้าที่อยูในชวง 5 องศาเซลเซียส ถึง 7 องศาเซลเซียส เหมาะสํ า หรั บ ใช ใ นระบบเครื่ อ งปรั บ อากาศส ว นกลางหรื อ กระบวนการใน อุตสาหกรรม ตูเย็นระบบการดูดซึมที่ขับเคลื่อนดวยไอนํ้า (Steam-driven absorption refrigerators) สามารถกําจัดความรอนได 30~1000×104 กิโลแคลอรี ตอชั่วโมง และใหพลังงาน 350~11630 กิโลวัตต สามารถลดคาใชจายในการ ดําเนินงานเพราะใชพลังงานจากไอนํ้าเหลือทิ้งเกรดตํ่าที่มีแรงดันตํ่า สนใจดู รายละเอียดไดที่ http://sl-ecoenergy.sg/

เครือ่ งจักรผลิตชีวมวลอัดเม็ด

เครือ่ งผลิตโอโซน อีโคโนวัตต

38

38

April 2015 April 2015

สามารถเดินเครื่องได 18 ชั่วโมง และสามารถเดินเครื่องได มากสุด 23 ชั่วโมง สามารถบดวัตถุดิบไดทั้งหมด 26 ชนิด ถาลูกคามีวัตถุดิบอะไร แจงกับทางบริษัทไดเลย ทางบริษัท จะมีการจัดเซ็ทให แตถามีวัตถุดิบที่ตางจากที่เคยอัด ลูกคา สามารถสงตัวอยางวัตถุดิบมาใหลองอัดได เฉพาะในชวงเวลา ที่ออเดอรไมแนน เครื่องจักรของบริษัทนี้จะแตกตางจากที่อื่น คือ ดานการบริการ เพราะวามีทีมงานทั้งหมดเปนคนไทย จึงสามารถการันตีในเรื่องของคุณภาพไดอยางดีที่สุด สนใจ ติดตอไดที่ บริษัท ไบโอ เอ็นเนอรยี่ แมชชินเนอรี่ จํากัด สามารถติดตอหรือสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณจูน โทร. 08-5487-6634

เปนเครื่องที่ไมใชสารเคมี ไมมีกาซพิษตกคาง ไมสงผลตอ สิ่งแวดลอม การทํางานของเครื่อง จะใชกาซออกซิเจนบริสุทธิ์ ที่ 90 % เปนชุดลมขาเขา สามารถลดปริมาณกาซพิษในอากาศ ไม ใ ห ผ  า นสนามไฟฟ า แรงสูง ทําใหไดโอโซนออกมาเพีย ง อยางเดียวโดยไมมีอะไรปนเปอน และยังใชกระบอกผลิตกาซ ออกซิเจนมากถึง 12 กระบอก จึงทําใหชวยยืดอายุดูดซับ โมเลกุลไดอยางดี ทั้งยังมีอายุการใชงานยาวนานกวาเครื่อง กําเนิดกาซออกซิเจนชนิด 2 กระบอกทัว่ ไป อีกทัง้ ระบบภายใน มีเครื่องอัดอากาศที่ใชวาวลเปดลมประสิทธิภาพสูงทนทาน เปนพิเศษ ออกแบบมาใหทาํ ความสะอาดตัวเองไดจากอากาศ ที่ผาน จึงยืดรอบระยะเวลาซอมไดไปอีกนาน สนใจโทร. 0-2809-1601-4 หรือเขาไปชมขอมูลไดที่ www.econowatt.co.th


เครือ่ งฉีดนํา้ มัน Automatic Lubricator อุตสาหกรรม ใชรว มกับแรงดันลม ซึง่ เปนเครือ่ งทีเ่ หมาะกับเครือ่ งจักรหรือระบบ Conveyor ตาง ๆ ที่ตองการเสริมประสิทธิภาพการหลอลื่นใหกับระบบรวมถึงอุปกรณ ตาง ๆ เชน โซ ลูกลอ จุดหมุนที่มีการเสียดทาน และอื่นๆ เครื่องฉีดนํ้ามันนี้ ยังสามารถควบคุมเวลาฉีดนํ้ามันไดอัตโนมัติ ตั้งแต 2-10 วินาที ตอการ ทํางานหนึ่งครั้ง และยังสามารถตรวจสอบวาลวควบคุมการเปด-ปดหัวฉีดให เครื่องดูดนํ้ามันไปใชตามปริมาณที่เราตองการได และมีชุดตรวจสอบควบคุม ชวงเวลาเปด-ปดในการทํางาน ทําใหไมเกิดการสะดุดหรือทั้งยังประหยัดไฟ สามารถใชงานไดในระยะยาว

เครือ่ งพับตนฉบับของเทคโนโลยี Combi Beam แบบพลิกทูลพับไดถงึ สองหนามานานกวา 20 ป ประหยัด เวลาและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพให กับ งานพั บ ได เปนอยา งดี สามารถพับไดแมนยํา และสวยงาม มุมพับเรียบ ไรรอย ปองกลาง ลดงานแก พับไดแมกระทัง่ โลหะทีท่ าํ สีมาแลว ไมทง้ิ รอยใบพับใหเห็น กินไฟไมเกิน 5 kW ประหยัดไฟฟา และคาซอมบํารุง วัสดุสนิ้ เปลืองมีนอ ย โครงสรางแข็งแรง และเปนที่ยอมรับมานับทศวรรษในกลุมประเทศยุโรปและ อเมริกา สนใจโทร. 0-2899-6374

communication with Cut-To-Length ชุดปลอยขดลวดทํางานรวมกับ Cut-To-Length ดวย Frequency Controlled รับนํ้าหนักได 5 ตัน และ 10 ตัน ขับเคลื่อนดวยมอเตอร ไฟฟาประหยัดพลังงาน ออกแบบมาเพือ่ การใชงานทีง่ า ยและประหยัด พื้นที่ ขนยายคอยลเขาและออกสะดวก ใชงานบนหลักความปลอดภัย มั่นคง แข็งแรงดวยแขนถางรับคอยลถึง 4 ปก ชุดไฮโดรลิคอัตโนมัติ จะยืดตัวทําใหคอยลแนนอยูเสมอ ปลอยคอยลเปนระยะดวยความ นุม นวลจากการควบคุมของระบบ sensor สนใจโทร. 08-6308-0698

April 2015 39 39 April 2015


Product Highlight - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

Lenovo YOGA series ใหมลา สุด ความยืดหยุนที่มากกวา ลงตัวทุกการใชงาน

เลอโนโว โยกา แท็บเล็ต 2 โปร (Lenovo YOGA Tablet 2 Pro) เปนแท็บเล็ต àÅÍâ¹âÇ »ÃСÒÈà» ´µÑÇ àÅÍâ¹âÇ â¡ŒÒ «ÕÃÕÂÊ ãËÁ‹Í‹ҧ໚¹·Ò§¡Òà 3 ÃØ‹¹ 䴌ᡋ รุ  น แรกที่ มี ก ารติ ด ตั้ ง โปรเจคเตอร ใ นตั ว Lenovo YOGA Tablet 2 Pro Lenovo YOGA Tablet 2 áÅÐ Lenovo Yoga ตัวเครื่องเปนสีแพลตตินัมหรูหราและมีนํ้า 3 Pro à¾×่͵͡Âํ้Ò¤ÇÒÁ໚¹¼ÙŒ¹ํÒ´ŒÒ¹ÁÑŵÔâËÁ´º¹´ÕäÇ« ·Õ่ÃͧÃѺ¡ÒÃ㪌§Ò¹·Ñ้§ หนักเพียง 950 กรัม บางเพียง 3.7 มม. à¾×่͸ØáԨáÅÐäÅ¿ŠÊäµÅ ʋǹµÑÇ ÍÕ¡·Ñ้§ áÊ´§ãËŒàË็¹¶Ö§¤ÇÒÁÊํÒàÃ็¨¨Ò¡¼ÅÔµÀѳ± ซึ่งบางกวานิตยสารทั่วไป หนาจอมีขนาด ã¹µÃСÙÅ YOGA 13 นิ้ว ออกแบบมาเพื่อตอบสนองความ ต อ งการด า นการใช ง านแบบดิ จิ ต อล คอนเทนท ดวยหนาจอ QHD ความละเอียด 2560 x 1440 ทําใหภาพที่ปรากฏนั้นคมชัด เลอโนโว โยกา แท็บเล็ต 2 (Lenovo สมจริง สามารถตอบโจทยไดดวย Pico โปรเจคเตอรที่ทําใหการเสนองานในหองประชุม YOGA Tablet 2) ในรุนนี้เรียกไดวาเปน หรือการดูหนังที่บานสามารถทําไดอยางสบาย ๆ ซึ่งผูใชสามารถฉายภาพความละเอียด โหมดแหงความบันเทิง ซึ่งไดตอยอดความ 16:9 ไดบนพื้นผิวทุกประเภท และสัมผัสประสบการณความบันเทิงขนาด 50 นิ้วอยาง สําเร็จมาจาก โยกา แท็บเล็ต รุนแรก โดย เต็มรูปแบบไดทนั ที ผสานกับระบบเสียงกําลังขับ 8 วัตต โดยประกอบไปดวย subwoofer รุนที่ 2 นี้มุงเนนไปที่การปรับเปลี่ยนโหมด ที่ทรงพลังกวาแท็บเล็ตทั่วไปถึง 4 เทา ดวยประสิทธิภาพของระบบภาพและเสียงทําให ใหตรงกับความตองการของผูใชและทําให ผูใชไดสัมผัสประสบการณโฮมเธียเตอรขนาดยอยไดอยางงายดาย และยังสามารถเลน การใชงานสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ทุกรุน ไฟลวีดิโอผานโปรเจคเตอรไดยาวนานตอเนื่องถึง 3 ชั่วโมง จึงทําใหการชมสาระบันเทิง รองรับการใชงานในระบบ 4G มี 2 ขนาด คือ เปนไปอยางราบรื่น ไมติดขัด ขนาด 8 นิ้ว มาพรอมกับระบบปฎิบัติการ Android 4.4 Kit Kat สามารถใชเพือ่ รับสาย และโทรออกไดอีกดวย และขนาด 10 นิ้ว ผู  ใช ส ามารถเลื อ กระบบปฏิ บั ติ ก ารได 40

April 2015


April 2015 PB


Product Highlight - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

ทั้งนี้ เลอโนโว โยก้า 3 โปร โน้ตบุ๊กมา พร้อมหน้าจอ Gorilla Glass กันรอยขีดข่วน มาพร้ อ มกั บ ความคมชั ด ของภาพระดั บ QHD+ ความละเอียด 3200x1800 พิกเซล แสดงภาพได้ละเอียดคมชัดทุกรูปแบบการ ใช้งาน ระบบเสียงระดับพรีเมียมจาก JBL และล�าโพงเสียงจาก Waves® Audio ซึ่ง สามารถปรับระดับเสียงในแต่ละโหมดได้ อย่ า งอั ต โนมั ติ ใ ห้ คุ ณ ภาพเสี ย งคมใสใน ทุกโหมดการใช้งาน เพิ่มประสิทธิภาพการ ประมวลผลด้วย Intel Core M โปรเซสเซอร์ เพิ่มพื้นที่เก็บข้อมูลถึง 512 GB SSD การ์ดจอแบบกราฟฟิกอินทิเกรตโดย Intel ประกอบกับแบตเตอรี่สามารถใช้งานได้ นานถึง 7 ชั่วโมง และยังสามารถเชื่อมต่อ ผ่าน WiFi ด้วยความเร็วสูงสุดถึง 802.11 a/c มี 3 สีให้เลือก คือ สีส้มคลีเมนไทน์ สีเงินแพลทินัม และสีทองแชมเปญ

ระหว่าง Android 4.4 Kit Kat และ Windows โดยเลอโนโว โยก้า แท็บเล็ต 2 ทุกรุ่นใช้ ขุมพลัง Intel® Atom™ ตัวล่าสุด ซึ่งรองรับการใช้งานและประมวลผลได้ในเวลาเดียวกัน ท�าให้เป็นแท็บเล็ตที่เหมาะกับผู้ที่ต้องการใช้งานเครื่องแบบมัลติทาสก์ หรือคนที่ชอบใช้ งานหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน มีล�าโพงคู่หน้าพร้อมทั้งระบบเสียง Dolby® Audio and Wolfson® Master HiFi™ ตัวเครื่องรองรับการใช้งาน Micro SD card และไมโคร USB ส�าหรับระบบเชื่อมต่อ OTG ในการชาร์จไฟอีกด้วย นอกจากนี้ แบตเตอรี่มีความ คงทนสามารถใช้งานได้นานเป็นพิเศษที่คงทนและมีระยะเวลาการใช้งานที่นานเป็น การเชื่อมต่อระบบซอฟต์แวร์คอมพิวติ้ง พิเศษอย่างไม่ติดขัด ของผลิตภัณฑ์โยก้า เลอโนโวได้สร้างฮาร์โมนี เลอโนโว โยก้า 3 โปร (Lenovo Yoga 3 Pro) ถูกออกแบบมาเพือ่ การท�างานแบบมัลติโหมด ซอฟต์แวร์ (Harmony software) ซึ่งเป็น มีฟงั ก์ชนั การใช้งานอย่างครอบคลุมและมีดไี ซน์ทโี่ ดดเด่น ซึง่ มีความบางกว่ารุน่ ก่อนหน้า ซอฟต์ แ วร์ อั จ ฉริ ย ะที่ ช ่ ว ยให้ ผู ้ ใ ช้ ง าน ถึง 17% เรียกได้ว่ามีความหนาเพียง 12.8 มิลลิเมตร ซึ่งเมื่อเปิดฝาพับจะมีขนาดบาง สามารถปรับโปรแกรมการท�างานให้เหมาะ ยิง่ กว่าดินสอ อีกทัง้ มีนา�้ หนักเพียงแค่ 1.19กิโลกรัม ซึง่ เบากว่ารุน่ เดิมถึง 14 % นอกเหนือ กับพฤติกรรมการใช้ เช่น ขณะที่ผู้ใช้งาน จากความบางเบา เลอโนโว โยก้า 3 โปร โน้ตบุ๊กยังมีตัวข้อพับแบบสายนาฬิกาถึง 6 จุด ก�าลังอ่านหนังสือผ่านโปรแกรม e-book (Hinge) เป็นจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ ซึ่งท�าจากอะลูมินัมและสแตนเลสที่ถักด้วยมือกว่า ระบบการท�างานฮาร์โมนีซอฟต์แวร์จะปรับ ความสว่างของหน้าจอและอุณหภูมิสีให้ 815 ชิ้น ให้ความสวยงามและแข็งแกร่ง เหมาะกับความสว่างของสิ่งแวดล้อมโดย รอบห้อง นอกจากนี้ ฮาร์โมนีซอฟต์แวร์ยงั สามารถสร้างเครื่องมือที่เรียกว่า shortcut เพื่อให้ผู้ใช้งานเครื่องเรียกใช้โปรแกรมและ แอพพลิ เ คชั่ น ที่ ถู ก ใช้ ง านเป็ น ประจ� า ใน แต่ละโหมดได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

42

April 2015


Showcase - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

พัดลมไรใบพัด Dyson Cool™ พัดลมไรใบพัด ผลิตภัณฑของไดสัน นวัตกรรมลํ้าสมัยจากประเทศ อังกฤษ เสริมระบบการทํางานใหลมเย็นที่มีประสิทธิภาพ งายตอการทําความสะอาด และมีความปลอดภัย พรอมทั้งผสานฟงกชั่นการทํางานใหสามารถปรับระดับแรงลมได 10 ระดับ และตั้งเวลาการทํางานไดถึง 9 ชั่วโมง ไดสันพัฒนาเทคโนโลยี Air Multiplier ใหตัวกลองดักเสียงสามารถขจัดความดังของเสียงลดลงใหเหลือเพียง 1,000 Hz ทําใหการทํางานของเครื่องมีความเงียบกวารุนกอนๆ ถึง 75% แตคงประสิทธิภาพ การทํางานไดมาตรฐานอยางดีเยี่ยม ประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

Mio FUSE อุปกรณตรวจจับชีพจรตัวลาสุด ที่บรรจุระบบเซ็นเซอรในการตรวจจับการ สูบฉีดโลหิตจากขอมือ สวมใสเหมือนกับนาฬกาขอมือ จากความรวมมือ ในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีเครื่องใชไฟฟาอยาง “Philips” ทําใหระบบ เซ็นเซอรซึ่งสามารถตรวจจับไดทุกความเคลื่อนไหวจากแสง LED สีเขียว ขนาดเล็กสองดวงฉายลงบนผิวหนัง ยังสงผลใหเซ็นเซอรขนาดจิ๋วสามารถ ตรวจจับอัตราการสูบฉีดเลือดใตผิวหนังไดอยางละเอียด พรอมทั้งมีระบบ ปองกันสัญญาณรบกวนตาง ๆ จากการเคลื่อนไหวของรางกายอยางมี ประสิทธิภาพ

เครือ่ งดูดฝุน ไรถงุ ซัมซุง ผลิตเครื่องดูดฝุนแบบไรถุง ที่สามารถเก็บกวาดสิ่งสกปรกทั้งหมดไดอยาง รวดเร็วและงายดายบนทุกพื้นผิว ไมวาจะเปนชิ้นเล็กหรือชิ้นใหญ ดวยพลังลม หมุนที่แข็งแกรงของ CycloneForce แยกฝุนผงและฝุนละอองออกไปยังชองเก็บ ดานนอก จึงรักษาพลังดูด ชวยใหแผนกรองสะอาดและปองกันการอุดตัน ประกอบกับมีแปรง UV Sterilize Brush ที่มีสวนชวยปองกันและฆาเชื้อโรคดวย หลอดไฟอัลตราไวโอเลต (UV) พลังสูง ซึ่งผานการรับรองจาก British Allergy Foundation (BAF) มีกลองเก็บฝุน Easy Dustbin สามารถถอดออกและทิ้งฝุนได อยางงายดาย เพียงแคกดปุมก็ถอดออกไดอยางรวดเร็ว แปรงพลังสูง Extreme Force Brush ยึดติดอยางแนนหนา โดยมีการกระจายแรงดันอยางสมํ่าเสมอ บนแปรงจึงเก็บฝุนและอนุภาคขนาดเล็กไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังมี ดามจับแบบรีโมทคอนโทรลที่สามารถควบคุมการเปด-ปดไดอยางสะดวกและ รวดเร็ว April 2015 PB April 2015 43


Showcase - Commercial ณ ลาดพร้าว

เครือ่ งฟอกอากาศพรอมระบบทําไอนํา้ ชารป พัฒนาเครื่องฟอกอากาศพรอมระบบทําไอนํ้า รุน KC-930TA-W สําหรับ หองขนาด 21 ตร.ม. ซึ่งมีกระบวนการทํางานดวยเทคโนโลยีพลาสมาคลัสเตอร ที่สามารถฆาเชื้อไวรัส เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย สลายกลิ่นไมพึงประสงค กลิ่นอับชื้น สารกอภูมิแพจากไรฝุน และสามารถฆาเชื้อไวรัสไขหวัดนก H5N1 ในอากาศ ระบบ ทําไอนํ้า ชวยทําใหระดับความชื้นภายในหองเหมาะสม เพื่ออากาศสดชื่นและ เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพที่ดีของรางกาย นอกจากนี้ ยังไดมีการติดตั้งเซ็นเซอร ตรวจจับกลิ่นในตัวเครื่อง ซึ่งจะปรากฏเปนสีตาง ๆ บนหนาปดของเครื่อง เพื่อ แสดงสภาวะความสะอาดของอากาศภายในหอง และสามารถดักจับฝุนละอองที่มี ขนาดเล็กไดถึง 99.97%

True Smart 4G 5.5 Enterprise สมารทโฟน 4G ทรู รวมมือกับ ไชนาโมบายล พัฒนาสมารทโฟนโดยไดเปดตัว True Smart 4G 5.5 Enterprise สมารทโฟน 4G ใชระบบประมวลผล Snapdragon Quad Core 400 ซึ่งทําให เครื่องเร็ว แรง เลนเกม หรือดูหนังไฟล HD ไดไมมีสะดุด และยังชวยใหการใชงาน 4G เร็วขึ้นอีกดวย กลองหลังมีความละเอียด 8 ลานพิกเซล ซึ่งทําใหภาพที่ถายออกมาคมชัด สี สั น สดใส เก็ บ รายละเอี ย ดได ดี เ ยี่ ย ม ส วนกล องหน ามี ค วามละเอี ยด 5 ล านพิ ก เซล หนาจอแสดงผล IPS ขนาด 5.5 นิ้ว สีสันสมจริง พรอมดวยเทคโนโลยี OGS ชวยใหสัมผัส หนาจอไดดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ไดมีการพัฒนาแบตเตอรี่ใหใชงานไดยาวนานมากขึ้น สามารถ เปดเครือ่ งสแตนดบายไดกวา 620 ชัว่ โมง ดวยความจุ 3,100 mAh ทํางานดวยระบบปฏิบตั กิ าร Android 4.4 Kitkat และสามารถใชเปน Wifi Hotspot แชรไดถึง 8 ผูใชงาน

DAIKIN EKIRA เครือ่ งปรับอากาศเพือ่ สิง่ แวดลอม บริษัท สยามไดกิ้นเซลส จํากัด เปดตัวเครื่องปรับอากาศอาร 32 รักษโลกรุนลาสุด “ไดกิ้น เอกิระ” (DAIKIN EKIRA) ออกแบบที่ลํ้าสมัยสไตลยุโรป ภายใตแนวคิด “Style into you การออกแบบผสานเทคโนโลยีลํ้าสมัย” ตอบโจทยผูใชที่ตองการ เครื่องปรับอากาศที่มีดีไซนสอดรับกับที่พักอาศัยมีระดับ ไดกิ้น เอกิระ มีใหเลือก 2 สี ไดแก สีขาวควอทซไวทกับสีเอเลแกนทซิลเวอรเพื่อเปนทางเลือกที่ลงตัวสําหรับ ที่พักอาศัยสมัยใหม ดีไซนหนากากตัวเครื่องแบบโคงมน และบานสวิงเปด-ปดแบบ สไลดที่เคลื่อนไหวอยางนุมนวล มอบความหรูหรามีรสนิยม ดวงไฟสองสวางที่ฐาน ตัวเครื่องสามารถเปลี่ยนสีสันไดตามสถานะการทํางาน นอกจากการออกแบบที่ลํ้า สมัยแลว ไดกิ้น เอกิระ ยังใชสารทําความเย็นใหมลาสุดอาร 32 ซึ่งไมทําลายชั้น โอโซนและมีคาศักยภาพการกอใหเกิดโลกรอนนอยกวาสารทําความเย็นปจจุบัน (อาร 410เอ) ถึง 3 เทา 44

April 2015


April 2015 PB


Product Highlight - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

ºÃÔÉÑ· ¡Ù ´àÂÕÂà »ÃÐà·Èä·Â ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) à» ´µÑǹÇѵ¡ÃÃÁãËÁ‹Å‹ÒÊØ´ ¡Ù ´àÂÕÂà áͪªÑÇáù« ´ÙÃÒ¾ÅÑÊ (Assurance DuraPlus) ¼ÅÔµÀѳ± ÂÒ§ »ÃÐËÂÑ´¹ํ้ÒÁѹ·Õ่ÊÒÁÒö¢Ñºà¤Å×่͹䴌ÁÒ¡¡Ç‹Ò 100,000 ¡ÔâÅàÁµÃ àÊÃÔÁ¤ÇÒÁ á¢็§á¡Ã‹§´ŒÇÂàÊŒ¹ã´ٻͧ· िÅÒà (DuPont™ Kevlar®) à¾×่ÍÊÁÃö¹Ð ´Œ Ò¹»¡»‡ Í §áÅлÅÍ´ÀÑ·ÇÕ¤Ù³ ¹Ñºà»š¹¡ÒÃà¾Ô่Á »ÃÐÊÔ· ¸ÔÀÒ¾¡ÒÃ㪌§Ò¹·Õ่ ¤§·¹ÂÒǹҹ

กูดเยียร แอชชัวแรนซ ดูราพลัส ขับเคลือ่ นไดมากกวา 100,000 กิโลเมตร

แอชชัวแรนซ ดูราพลัส ถูกออกแบบมาใหเหมาะกับรถนั่งขนาดเล็กไปจนถึงขนาดกลาง พัฒนามาจากเทคโนโลยีเทรดไลฟ TredLife Technology™ อันเปนแบบฉบับเฉพาะของกูด เยียร ดวยการเสริมดอกยางผสานเขากันอยางลงตัวกับเสนใยดูปองท เคฟลาร (DuPont™ Kevlar®) ที่จะชวยใหผูขับขี่ไดเพลิดเพลินในการขับขี่และมีประสิทธิภาพที่คงทน โดยยึดหลักความ ตองการของผูบริโภคมาเปนหัวใจหลักสําคัญในการผลิตยาง เมื่อนําเทคโนโลยีเทรดไลฟ (TredLife Technology™) ของกูดเยียรมาพัฒนาเพื่อชวยเพิ่มสมรรถนะอายุการใชงานใหวิ่ง ไดมากกวา 100,000 กิโลเมตร ซึ่งประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญ 3 ประการนั่น คือ

1. การนําคารบอนสูตรใหมมาเปนสวนผสมของดอกยาง ซึ่งคารบอนสูตรพิเศษนี้ชวยลด การสึกหรอของเนื้อยาง ผลลัพธคือดอกยางที่มีสมรรถนะทนทานมากขึ้น และเทคโนโลยีนี้ ยังชวยเสริมดอกยางที่หนาขึ้น เพิ่มพื้นที่สัมผัส เพิ่มปริมาณเนื้อยางในสวนที่สัมผัสถนน มากขึ้น และสุดทายคือชวยเพิ่มพื้นที่สัมผัสดอกยางลึกขึ้น ทําใหไดดอกยางที่มีความ ทนทานมากขึ้น ชวยเพิ่มพื้นที่สัมผัสตอพื้นถนน

2. การใชเสนใยดูปองท เคฟลาร (DuPont™ Kevlar®) ที่มีนํ้าหนักเบา แตแข็งแกรงและ คงทน แมในสภาวะที่มีอุณหภูมิสูง นํามา เสริมทับบนยางแอชชัวแรนซ ดูราพลัส เปน การชวยเสริมความทนทานใหยาง จึงสราง ความมั่ น ใจในด า นความปลอดภั ย ให กั บ ผูขับขี่ทามกลางสภาพที่เสี่ยงอันตรายบน ทองถนน 3. มีขนาดความกวางระหวาง 14 - 17 นิ้ว ที่ออกแบบมาใหเหมาะกับรถยนตนั่งขนาด เล็ ก ไปถึ ง ขนาดกลางเป น ยางที่ มี อ ายุ ก าร ใชงานที่คงทนและยาวนาน ทั้งนี้ แอชชัวแรนซ ดูราพลัส หนายาง กวางสมํา่ เสมอ เพิม่ ปริมาณเนือ้ ยางใหพนื้ ที่ สัมผัสมากขึ้น เพิ่มความหนาของดอกยาง เพิ่มหนาสัมผัสกับพื้นถนน ดอกยางที่ลึกขึ้น ชวยใหยางทนการสึกไดมากขึ้น นอกจากนี้ ลายดอกยางถูกออกแบบอสมมาตร เพิม่ เนือ้ ไหลยางดานนอก ชวยเพิ่มแรงยึดเกาะถนน ขณะเขาโคง มีเข็มขัดรัดหนายางสวนกลาง ชวยสรางสมดุลขณะใชงานในทางตรงและ ทางโคง ดวยการออกแบบรองดอกยางให เปนแบบชิด ทําใหลดการแผกระจายของ เสียงรบกวนจากยางโครงสราง อีกทั้งยางมี นํ้าหนักเบาชวยลดแรงตานทานการหมุน ของลอ

46 46

April April 2015 2015


Product Highlight - Logistics BARBEER

ผลทดสอบโดยวิศวกรกูด เยียร ดวยยางขนาด 185/65R14 บนสภาพถนนของประเทศไทย ซึ่ ง ระยะทางวิ่ ง ได จ ริ ง อาจแต ง ต า งกั น ไป ขึน้ อยูก บั ป จจัยตาง ๆ เชน สภาพของถนน แรงดันลมยางและการดูแลรักษายาง สภาวะ อากาศ พฤติกรรมในการขับและรูปแบบใน การใชยาง เปนตน ระยะทางระหวางจากเมือง หนึ่งไปยังเมืองหนึ่งวัดเปนเสนตรงจากจุด หนึ่งไปยังจุดหนึ่งดวยมาตรวัดเปนกิโลเมตร

สําหรับบริษัท กูดเยียร ประเทศไทย จํากัด (มหาชน) กอตั้งขึ้นในป 2511 และเริ่มตน ผลิตยางในป 2512 กูดเยียรนําบริษัทเขาจดทะเบียนเปนบริษัทมหาชนในป 2537 ปจจุบันกูดเยียร ประเทศไทยเปนผูผลิตยาง OEM และยางทดแทน (replacement) สําหรับรถยนตประเภทตางๆ ไดแก รถยนตนั่งสวนบุคคล รถสปอรตอเนกประสงค (4x4 SUV) รถบรรทุกขนาดกลางและเล็กและรถบรรทุกเพื่อการพาณิชยที่วางจําหนาย ในประเทศและสงออกไปตางประเทศ โรงงานกูดเยียรในประเทศไทยเปนโรงงาน แหงเดียวในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกและเปนหนึ่งใน 3 ของโรงงานกูดเยียรทั่วโลกที่ ผลิตยางลอเครื่องบิน

April April2015 2015 4747


Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

MIVEC วีจเี ทอรโบ อลูมนิ มั อัลลอย บล็อก บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัว “มิตซูบิชิ ไทรทัน โฉมใหม” อยางเปนทางการ โดยเปนเจนเนอเรชั่นที่ 5 ของรถกระบะมิตซูบิชิ ที่ไดรับการพัฒนาขึ้นภายใตคอนเซ็ปตการเปนที่สุดของรถกระบะอเนกประสงค แบบสปอรต “Ultimate Sport Utility Truck” ทัง้ นี้ มิตซูบชิ ิ ไทรทัน รุน ใหมลา สุด เนนคุณสมบัติหลัก 3 ประการ คือ “สมรรถนะสูงแตประหยัด” “MIVEC วีจี เทอรโบ อลูมินัม อัลลอย บล็อก” สําหรับรถกระบะเปนครั้งแรกโดยใชรหัส 4N15 แบบ 4 สูบ DOHC 16 วาลว วีจีเทอรโบ อินเตอรคูลเลอร 2,442 ซีซี. ใหแรงดันนํา้ มันเชือ้ เพลิงสูงสุดถึง 200 Mpa ชวยใหเครือ่ งยนตเผาไหมสมบูรณแบบ ใหกําลังสูงสุด 181 แรงมา ประหยัดนํ้ามันมากขึ้นถึง 20% และเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมลดมลพิษลงไดถึง 17%

3K Active Hybrid Battery บริษัท ผลิตภัณฑ 3 เค จํากัด เปดตัวผลิตภัณฑ สุดยอดนวัตกรรม แบตเตอรีร่ ถยนตระดับพรีเมียมใหม 3K Active Hybrid Battery รุนใหมลาสุดนี้ ใชเทคโนโลยีที่กาวไปอีกขั้นกับการคิดคนแบตเตอรี่ ดวยแนวคิดการ ออกแบบใหแบตเตอรี่มีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถรองรับการใชงานรวมกับอุปกรณเสริมตาง ๆ ภายในรถยนต เหมาะกับทุกสภาพการใชงานไดเปนอยางดี จากสวนผสมที่ลงตัวชวยเพิ่มความแข็งแกรงของแผนธาตุดวย Silver Active ทําใหแบตเตอรีม่ กี าํ ลังสตารทสูง จายไฟไดสมํา่ เสมอ สํารองไฟไดดกี วาแบตเตอรีท่ วั่ ไป โดยรองรับการใชงาน ไดกับรถยนตทุกรุนทั้งเกาและใหม อีกทั้ง มีคุณสมบัติที่ชวยลดการสูญเสียนํ้าถึง 3 เทาเมื่อเทียบกับแบตเตอรี่แบบ Low Maintenance โดยใหกําลังไฟสูงกวา ใหกําลังสตารทสูง เพิ่มอายุการใชงานที่มากกวา ชารจไฟกลับรวดเร็วกวา ชวยใหแบตเตอรี่พรอมใชงาน ตลอดเวลา

ระบบบังคับเลีย้ วไฟฟาประหยัดเชือ้ เพลิง Ford Motor ได พัฒ นากลไกการทํ างานของ พวงมาลัยทํางานดวยมอเตอรไฟฟา ซึ่งเปนระบบ พวงมาลัยไฟฟาแบบใหม ใน New Fiesta ชวยลด อัตราสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงลงไดอีก 3% เนื่องจาก ไม มี ก ารเชื่ อ มต อ กั บ เครื่ องยนต โดยตรง ทํ าให ไมกินกําลังเครื่องยนต การตอบสนองของพวงมาลัย เกิดขึ้นโดยเซ็นเซอร ที่จะแปรผันนํ้าหนักไปตามความเร็ว พวงมาลัยไฟฟาของ Fiesta ไดรับการปรับแกใหมีความเฉียบคม และมี ความแมนยําสูง รองรับการเปลี่ยนทิศทาง หรือการควบคุมในทุกยานความเร็ว โดยพวงมาลัยจะ แปรผันนํ้าหนักไปตามความเร็วที่แทจริง ผานการควบคุมของ ECU แชสซีสเนนไปที่การรับแรง โดยเฉพาะ คาความคงทนตอแรงบิดตัวในขณะขับขี่ ระบบรองรับ หรือชุดกันสะเทือน สําหรับ New Fiesta จะมีการผลิตเปนตัวรถรุน หาประตูแฮตชแบคและรุนสี่ประตูซีดาน 48

April 2015

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


April 2015 PB


Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

ฟลม กรองแสงติดรถยนต 3M ฟลมกรองแสงติดรถยนต 3M รุน คริสตัลไลน (Crystalline Series) ตัวฟลมคุณภาพดีเยี่ยม ใส และกันความรอนไดสูงสุด ทําใหประหยัดเงินและพลังงาน ปราศจากสารโลหะที่จะกอให เกิดการเสือ่ มสภาพเปนคราบสนิม ไมรบกวนสัญญาณ เครือ่ งมือ นําทาง (GPS) และคลื่นวิทยุในรถยนต ชวยลดแสงสะทอนไดดี กวาฟลมกรองแสงแบบทั่วไป สามารถลดรังสีอัลตราไวโอเลตได สูงถึง 99.9% หรือเทียบเทา SPF 1700 ซึ่งชวยปองกันไมให สีของเฟอรนเิ จอรในรถซีดจาง อีกทัง้ ฟลม คริสตัลไลน ชวยปองกัน คลื่นรังสีอินฟาเรดจากดวงอาทิตยไดดี ซึ่งสามารถสะทอนกลับไดถึง 97% นอกจากนั้น ตัวฟลมยังชวยปองกัน ยึดกระจกไมใหแตก กระจายในกรณีเกิดอุบัติเหตุ ชวยเพิ่มความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน

ชุดแกส LOVATO บริษทั โลวาโต แกส เอสพีเอ จํากัด ผูจ าํ หนายระบบ แก ส มาตรฐานระดั บ โลกยี่ ห  อ โลวาโต จ ากประเทศ อิตาลี ซึง่ บริษทั ตงฟง มอเตอรส (ประเทศไทย) เปน ผูแทนจําหนายระบบและชุดอุปกรณติดตั้งแกสยี่หอ ดังกลาวอยางเปนทางการในประเทศไทย โดยไดนาํ เขา มาจําหนาย 2 ระบบ ประกอบดวยระบบ LPG ซึง่ เปน ระบบแกสสําหรับเครือ่ งยนตเบนซิน ซึง่ จะนํารุน E-GO หรือ Easy Going เขามาจําหนาย และอีกระบบคือ DDF หรือ Dual Diesel Fuel เปนระบบแกสสําหรับ เครื่องยนตดีเซล ภายใตชื่อรุน DUAL FAST ซึ่งเปน เทคโนโลยีใหมลาสุด นําแกส CNG ผสมรวมกับ นํ้ามันดีเซล เปนพลังงานทางเลือกใหมที่โลวาโตนําเขา มาเปนครั้งแรกในประเทศไทย

Performa Super Synthetic Hybrid ผลิตภัณฑหลอลืน่ Performa Super Synthetic Hybrid นํ้ามันหลอลื่นสังเคราะห 100% ผลิตภัณฑจาก PTT ถูกพัฒนามาใชกับเรื่องยนตไฮบริดยุคใหม โดยเฉพาะเครื่องยนตแบบเดิน-หยุด (Start-Stop) ของรถยนตไฮบริด ชวยยืดอายุการใชงาน ทนตอความรอนและออกซิเจน ปองกันการเกิดโคลนในอางนํา้ มันและการอุดตันทีไ่ สกรอง ชวยประหยัดนํา้ มันเชือ้ เพลิง นอกจากนี้ ยังชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการตานทานการเกิดฟอง ลดปญหาการบวม หรือหดตัวของซีลชนิดตาง ๆ และชวยยืดอายุการใชงานของอุปกรณบาํ บัดมลพิษไอเสีย (Catalytic Converter) ผลิตภัณฑนเี้ หมาะกับรถยนตไฮบริดรุน ใหม และใชไดดกี บั เครือ่ งยนต เบนซินสมรรถนะสูงชนิด Flexi-Fuel ที่ติดตั้งระบบบําบัดมลพิษไอเสีย PB50

April April2015 2015


Special Feature จีรพร ทิพย์เคลือบ

ดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล กลุม่ ผูน ้ ำ� ระดับโลกทำงด้ำน บริกำรไปรษณียภัณฑ์และโลจิสติกส์ เข้ำร่วมเป็น สมำชิกของ “เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน 100 (Circular 100 หรือ CE100)” ของมูลนิธเิ อเลน แมคอำเธอร์ ทัง้ นี้ เป็นผลพวงมำจำกกำรทีด ่ อยช์ โพสต์ ดีเอชแอล สำมำรถ สร้ำงควำมประทับใจให้กับมูลนิธิด้วยกลไกกำรท�ำงำน ในองค์กรและมำตรกำรต่ำง ๆ ที่ใช้ในโครงกำรกลุ่ม Go Green ที่แสดงให้เห็นถึงควำมตั้งใจในกำรสร้ำงห่วงโซ่ อุปทำนอย่ำงเหมำะสม กำรมุมำนะในกำรสร้ำงขั้นตอน กำรจัดกำรโลจิสติกส์ย้อนกลับ กำรลดอัตรำกำรเกิด ก๊ำซเรือนกระจก กำรน�ำพลังงำนต่ำง ๆ มำใช้อย่ำงคุม้ ค่ำ และกำรมีส่วนร่วมของพนักงำนในกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์ สิง่ แวดล้อม

ดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล พัฒนาโลจิสติกส์ ขานรับ “เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน 100” มร.คริสตอฟ เออฮาร์ท รองประธานฝ่ายการประชาสัมพันธ์และ สื่อสารองค์กร ดอยช์ โพสต์ ดีเอช แอล เปิดเผยว่า “การได้รับการ ยอมรั บ ให้ เ ป็ น สมาชิ ก หนึ่ ง ในกลุ ่ ม นี้ ถื อ เป็ น เครื่ อ งยื น ยั น ใน เจตจ� า นงและช่ ว ยให้ ส มาชิ ก ทั้ ง หลายร่ ว มกั น ฝ่ า ฟั น อุ ป สรรคใน อนาคตด้วยกัน ตระหนักถึงข้อจ�ากัดของทรัพยากรที่มีอยู่ การกระท�า บางอย่างอาจปล่อยก๊าซเรือนกระจกอันส่งผลไปยังชั้นบรรยากาศ ของโลก ดังนัน้ สิง่ ส�าคัญทีค่ วรท�าคือการร่วมกันระดมความคิดและหา มาตรการรับมือกับปัญหาต่าง ๆ เพื่อลูกหลานของเราในอนาคต” ขณะที่ ท างด้ า น มร.แอนดรู มอร์ เ ล็ ท ประธานบริ ห ารมู ลนิ ธิ เอเลน แมคอาเธอร์ กล่าวว่า “ดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล คือผู้น�า ระดับสากลในวงการให้บริการโลจิสติกส์ การร่วมมือในครั้งนี้จะน�า มาซึง่ การเป็นส่วนหนึง่ ของเศรษฐกิจแบบหมุนเวียน 100 ซึง่ โลจิสติกส์ แบบหมุนเวียนเป็นปัจจัยส�าคัญทีจ่ ะช่วยในการส่งผ่านระบบโลจิสติกส์ เชื่อว่า ดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล จะเป็นก�าลังส�าคัญในการช่วย สร้างสรรค์วิสัยทัศน์ใหม่ ๆ และโอกาสอันดีให้กับโครงการนี้”

เพื่อให้บรรลุการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยวิเคราะห์ทั้ง ห่วงโซ่โลจิสติกส์ เส้นทางการค้าและโหมดการขนส่ง ส�าหรับ มูลนิธิเอเลน แมคอาเธอร์ ได้ก่อตั้งในประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ.2553 ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อเร่งให้เกิดการส่งผ่านเศรษฐกิจ แบบหมุนเวียนเพือ่ การน�ากลับมาใช้ใหม่ โดยมีการน�าเสนอโครงการ “เศรษฐกิ จ แบบหมุ น เวี ย น 100” ที่ มี เ ป้ า หมายในการช่ ว ย สร้างสรรค์รูปแบบการท�างานผ่านทางกรณีศึกษา แลกเปลี่ยนข้อมูล และการคิดนอกกรอบ การน�าพลังงานกลับมาใช้ใหม่ น�าวัตถุดิบ และวัสดุกลับมาใช้ใหม่ และลดอัตราการเกิดก๊าซเรือนกระจกหรือ ใช้วัสดุอย่างฟุ่มเฟือย ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยส�าคัญที่จะก่อให้เกิด เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน

อย่างไรก็ตาม ดอยช์ โพสต์ ดีเอช แอล จะให้ความส�าคัญกับการ ปรั บ ปรุ ง สร้ า งความเข้ า ใจและสนั บ สนุ น การพั ฒ นารู ป แบบการ บริ ก ารด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ เ อื้ อ ต่ อ การไหลเวี ยนของสิ น ค้ าต่ าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อน�ามาใช้ประโยชน์ใหม่ ผลิตใหม่ และน�ากลับ มาใช้ใหม่ นับว่าเป็นการหลีกเลี่ยงการสิ้นเปลืองทรัพยากรต่าง ๆ แม้แต่การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การท�างานร่วมกับลูกค้าเพื่อระบุพื้นที่ส�าหรับการปรับปรุงวิธีการ April April2015 2015 51PB


Renergy

คุณพิชัย ถินสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

พลังงานทดแทน

อาหารจานโปรดของบริษัทในตลาดหลักทรัพยฯ

กระแสการนํ า อุ ต สาหกรรมพลั ง งานทดแทนโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง พลังงานเซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) มาสูก ารเพิม่ มูลคาของบริษทั ใน ตลาดหลักทรัพยฯ ไดสน้ิ สุดลงแลว เมือ่ กระทรวงพลังงานทันเกมและ กําหนดมาตรการเขม ใครไมทาํ จริงถึงจะไดรบั ใบอนุญาตก็ยดึ คืนหมด พืน้ ทีใ่ ดมีปญ  หาชุมชนก็ใหยา ยไปพืน้ ทีใ่ หม และทีส่ าํ คัญโอนเปลีย่ นมือ ได แ ค ไ ม เ กิ น 49 % ในสามป แรกที่ ข ายไฟฟ า คน “ทํ า จริ ง ” ไมเดือดรอน นายหนาตางกระเจิงเหมือนแมงเมาบินเขากองไฟ ปจจุบนั นี้ อาหารจานโปรดอยาง Solar Farm อัตราสงเสริม FiT เหลือหนวยละ 5.66 บาท ตลอด 20 ป ไมมีการปรับเพิ่ม นักปนหุนเริ่มมีปญหา ความเปนจริงของพลังงานเซลลแสงอาทิตยเริม่ ปรากฏกอนหนานีแ้ ลว เมือ่ นักลงทุนตัวจริงเริม่ เรียนรูว า Solar Cell ทีแ่ ทจริง ผลิตไฟฟาไดแค วันละ 4-5 ชัว่ โมง หรือประมาณ 15 % หมายถึง 1 เมกะวัตต โซลาเซลล จะไดไฟฟาเฉลีย่ ตลอดวันเพียง 150 กิโลวัตต และหมายถึงไดคา ไฟ เพียง 15 % ไปดวย สรุปงาย ๆ ก็คอื Solar Cell 1 เมกะวัตต จะขาย ไฟฟาได 7-8 ลานบาท ตอป ดวยเงินลงทุนไมรวมทีด่ นิ ราว เมกะวัตตละ 50 – 60 ลานบาท นักลงทุน (นักเลนหุน) จึงเริ่มลดความสนใจเซลล แสงอาทิตยแลวหันเหไปทีพ่ ลังงานขยะและชีวมวล โดยเฉพาะอยางยิง่ พลังงานขยะซึง่ เขาทางบริษทั ในตลาดหลักทรัพยฯ โดยอางวาพลังงาน ขยะเปนวาระแหงชาติกระทรวงพลังงานเองคงจะอดทนมานานกับ เรือ่ งแบบนี้ จึงไดมสี ไลดชดุ หนึง่ เสนอกองทุนตาง ๆ ในตลาดหลัก ทรัพยฯ ทันทีอยางทีท่ า นเห็นอยู 5252

April2015 2015 April

กระทรวงพลังงานไดแบงนักลงทุนออกเปน 4 กลุม ไดแก 1.ทําจริง 2.นายหนาขายโปรเจ็ค 3.มือใหม-ตายเอาดาบหนา 4.ขายฝน-ฟน ราคาหุน 1. ทําจริง (ตัวจริง) กลุม นีม้ ที งั้ ประสบการณและเทคโนโลยี มีภมู หิ ลัง ธุรกิจที่ดี และอาจเปนบริษัทที่อยูในตลาดหลักทรัพยฯ กลุมนี้จะ พูดจูงใจไมเกงและมักเปนเหยื่อของนักปนหุนมาเก็บเกี่ยวความรู รูปแบบธุรกิจและเทคโนโลยีเพื่อนําไปใชประโยชน 2. นายหนาขายโปรเจ็ค แคลงทุนเพียงสมารทโฟนแบรนดดัง ๆ พรอมโนตบุคก็สามารถทํางานได นายหนาเหลานี้มักมีความรูดาน พลังงานทดแทนคอนขางดี มักจะพบไดในเกือบทุกเวทีสัมมนา พลังงานทดแทน หากเปนนายหนามืออาชีพอาจเชาสํานักงานและ ตกแตงหรูหรา เพื่อเพิ่มความนาเชื่อถือ การแนะนําทุกอยางเสมือน เขามีทั้งเทคโนโลยีและเงินลงทุน กลุมนี้หากเปนชาวตางประเทศจะ ดูยากสักหนอย กลุมนักขายโปรเจ็คจะเรียกตัวเองวา Developer หรือ นักพัฒนาโครงการ แปลงาย ๆ วา “นายหนา” จริง ๆ แลว นายหนาเหลานี้บางครั้งก็มีประโยชนและจําเปนตออุตสาหกรรม พลังงานทดแทน หากเขาสามารถทําหนาที่เปนล็อบบี้ยิสตไดดวย เนื่องจากบางครั้งเจาของเทคโนโลยีหรือนักลงทุนก็ยากจะเขาถึง


3. มือใหม–ตายดาบหนา หนวยกลาตายเหลานี้มักจะไมมีพื้นฐาน ในอุตสาหกรรมนี้ แตอยากลองเสี่ยงดู โดยไมยอมรวมทุนกับผูมี ประสบการณ ใครวาดีกไ็ ปลงทุนวิง่ เซ็นสัญญาไปทัว่ ประเทศ แตไมมี สถาบันการเงินใดปลอยกู เนื่องจากโครงการไมคืนทุนได อีกทั้ง เทคโนโลยีก็ไมเปนที่ยอมรับ เปนภาระใหภาครัฐตองออกมาตรการ ยกเลิก PPA จํานวนมาก เพื่อเปดทางใหคนทําจริงเขามาทําตอไป ในอนาคตหากมีการแขงขันราคา หรือทีเ่ รียกวา Competitive Bidding แลวละก็ มือใหม–ตายดาบหนา อาจจะไดงานมากที่สุด เนื่องจาก กลุมนี้ไมสนใจเทคโนโลยีตองการเฉพาะ PPA แตลืมไปวา นาทีนี้ นักลงทุนและสถาบันการเงินฟงสัมมนาบอย ๆ ครั้ง รูทันแนนอน 4. ขายฝน–ฟนราคาหุน ขอแบงเปน 3 รูปแบบ คือ 1.พวกที่อยู ในตลาดหลักทรัพยฯ ไมคิดจะทําโครงการ ฟนราคาหุนอยางเดียว 2.อยูนอกตลาดหลักทรัพยฯ สรางฝนวาจะเขาตลาด 3.พวกที่คิดจะ ทําเหมือนกันถามีโครงการดี ๆ กลุมนี้จะตัดสินใจชา หากโชคราย และบังเอิญพบกับนายหนาขายโปรเจ็คที่แกประสบการณ อาจจะ เสียเงินโดยไมไดคืน

พฤติกรรมของผูขายฝนเพื่อฟนราคาหุน

1) จะสง BD (Business Development) ไปขอความรูจากกลุมที่ ทําจริง เพื่อนําแผนธุรกิจและแผนการลงทุนมาศึกษา โดยทําทีทาวา จะรวมลงทุนดวยจริง กลุมนี้มักเปนบริษัทใหญ ๆ มีชื่อเสียงใน ตลาดหลักทรัพยฯ โดยนําโครงการมาประชาสัมพันธเพือ่ ฟนราคาหุน เมื่อไดราคาตามเปาหมาย ก็ระงับโครงการแบบแนบเนียนโดยหา เหตุผลตาง ๆ นานาที่ทําใหไมสามารถลงทุนได เชน บอรดไมอนุมัติ 2) เปนบริษทั นอกตลาดหลักทรัพยฯ สรางโครงการขึน้ มาโดยอาศัย การเชาหรือเปนเจาของ Feedstock ชวงระยะสั้น ๆ แลวสรางมูลคา เพิ่มแบบเทียม ๆ เชิญชวนใหลงทุน โดยฉายภาพวามีกําไรจากการ ลงทุน (IRR) กวา 30 % นักฟนราคาหุนจึงอาศัยความโลภและไม คุนเคยธุรกิจ เปนชองทางลอลวงผูลงทุน ดังนั้นถาทานจะเขาสู วงการนีต้ อ งทองคาถา “ไมโลภ ไมรบี ไมจา ย” ขอสังเกตงาย ๆ ก็คอื เจาของโครงการมักจะสรรหาผูมีชื่อเสียงมารวมทีมงาน เพื่อใหดู นาเชือ่ ถือ และเรงรัดใหเกิดการลงทุนในโครงการทันที ประสบการณ ที่นํามาเลาไมใชเรื่องของตัวเอง เพียงแตจําไดแมนยําจากที่อื่น เอกสารที่นําเสนอสวนใหญก็ไมเปนจริง กอนที่ ธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมพลั ง งานทดแทนจะมี อั น เปนไปมากกวานี้

ทางกระทรวงพลังงานไดมีแนวทางการพิจารณาหาคนทําจริง เชน ในกรณีพลังงานขยะ ควรมีคุณสมบัติไมนอยกวา 5 ประการ ดังนี้ 1. ที่ดินพรอมประชาพิจารณ 2. เงินทุน “แบบไมงอแบงค” 3. เทคโนโลยี 4. บุคลากร 5. Connection กับ ทองถิ่น – ทองที่ ในฐานะที่ เ ป น ผู  ประกอบการพลังงานทดแทนคนหนึ่ง อยากจะ วิงวอนใหผูที่ไมคิดจะลงทุนจริงจังในพลังงานทดแทน อยาไดทําราย ธุรกิจนี้เลย และวิงวอนไปยังตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ได โ ปรดให มี การลงโทษบริษัทเหลานี้บาง เปนไปไดหรือ ไม ทีท่ างตลาดหลักทรัพยฯ จะมีการเก็บรวบรวมขอมูลผูข ายฝนทัง้ หลาย ใหประชาชนตาดํา ๆ ทีเ่ ปนนักลงทุนสามารถตรวจสอบขอมูลผานเว็บไซต ของตลาดหลักทรัพยฯ และมีขอมูลเชิงลึกบาง แมงเมาจะไดไมติด ดอย อันเนื่องมาจากนักขายฝน–ฟนราคาหุน

April2015 2015 5353 April


Energy Management อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์

การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรอาคาร (Facility Management in building) เพือ่ การประหยัดพลังงานในองคกร

การบริหารจัดการทรัพยากรในอาคาร ในที่นี้ หมายถึง การบริหาร FM (facility Management) ËÃ×Í ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Òà จัดการดานบุคลากร หรือ คนในอาคาร People เริม่ ตัง้ แต ผูบ ริหารสูงสุด ·ÃѾÂÒ¡Ã ÁÕͧ¤ »ÃСͺ·Õ่¨ํÒ§‹Ò ¤×Í 3Ps 䴌ᡋ People, (ตนนํา้ ) กลุม ทีมทํางานและกลุม ชาง (ปลายนํา้ ) ดานสถานที่ หรือ Place Place áÅÐ Process ËÅÑ¡¡Òà 3Ps ¹Õ้ ÊÒÁÒö¹ํÒÁÒ㪌㹠ซึ่ ง ให ค วามหมายทั้ ง เรื่ อ งของพื้ น ที่ อ าคารที่ มี โ ครงสร า งแต เ ดิ ม ที่ ¡ÒûÃÐÂØ¡µ ¡ÑºÍ§¤ »ÃСͺ·Õ่ÊํÒ¤ÑޢͧÍÒ¤ÒÃä´Œ·Ñ¹·Õ ไมเอื้ออํานวยตอการประหยัดพลังงาน หนวยงานยอย ๆ และอุปกรณ เครือ่ งใชไฟฟาทุกชนิด โดยเฉพาะอยางยิง่ อุปกรณทกี่ นิ พลังงานสูง เชน ઋ¹ People ¤×Í ¤¹ã¹Í§¤ ¡Ã Place ¡็¤×Í Ê¶Ò¹·Õ่ËÃ×Í เครื่องปรับอากาศ อุปกรณที่ใชมอเตอร (ลิฟต ปมนํ้า ไฟฟาแสงสวาง ÍØ»¡Ã³ ã´ æ ã¹ÍÒ¤Òà áÅÐ Process ¤×Í ¡Ãкǹ¡Òà เครือ่ งมือทีใ่ ชในกระบวนการซักรีด เปนตน) และ ดานกระบวนการ หรือ ·ํ Ò §Ò¹·Õ่ ·ํ Ò ãËŒ Å ´¡ÒÃ㪌 ¾ ÅÑ § §Ò¹Å§Í‹ Ò §ÁÕ » ÃÐÊÔ · ¸Ô À Ò¾ Process ระบบควบคุมหรือเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน เทคนิคทีท่ าํ ให ÍÒ¨¡Å‹ÒÇ䴌NjÒËÅÑ¡ FM ¹Õ้¨ÐÁÕʋǹª‹ÇÂÍ‹ҧÁÒ¡µ‹Í¡Òà การทํางานของคนในสถานที่ใด ๆ หรือกับเครื่องจักรใด ๆ ไมกอใหเกิด ¾Ñ ² ¹Ò´Œ Ò ¹¡ÒÃÍ¹Ø ÃÑ ¡ É ¾ ÅÑ § §Ò¹·Ñ้ § Í‹ Ò §à»š ¹ ÃÙ » ¸ÃÃÁ การสูญเสียดานพลังงาน หรือใหสูญเสียนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได µ‹Íà¹×่ͧáÅÐÂÑ่§Â×¹ ที่สําคัญที่สุดที่ทานผูบริหารตองระลึกไว คือ ทั้ง 3Ps จะตองอยูภายใต แนวทาง ที่เรียกวา Potential (Effective + Possible) คือ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงไปแลว กอใหเกิดประสิทธิภาพจริง ๆ คุณภาพดีขึ้น งานเร็วขึ้น บริการไดมากขึ้น ( Pr ofi t ) แ ละ ยั ง เพิ่ ม ผ ลงาน ผ ลผ ลิ ต (หรือกําไรมากขึ้น) ไมทําใหความพึงพอใจของผูมาใชบริการอาคารหรือแมกระทั่งไมทําให (Productivity) ให กั บ องค ก รของท า นด ว ย ประสิทธิภาพขวัญและกําลังใจหรือคุณภาพชีวิตของเจาหนาที่ลดลง (Effective) และที่สําคัญอีก เพื่ อ ให เ กิ ด การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานในอาคาร เปนไปตามเปาหมายขององคกร ประการ คือ วิธีนั้น ๆ ตองทําไดจริง ไมใชเปนแคจินตนาการ (Possible) ในสวนตอไปนี้มีความจําเปนที่จะตองอธิบายเพิ่มเติมถึงองคประกอบของ P บางตัว (People) ซึง่ จะชวยใหทา นผูบ ริหารไดเห็นรายละเอียดยอย ๆ ทัง้ หมดในมุมของ People โดยเนือ้ หาจะได กลาวในหัวขอที่ 1 ซึ่งจะเปนเนื้อหาที่เกี่ยวของจําเพาะเจาะจงกับ องคประกอบในดานของคน (People) ในการบริหารจัดการทรัพยากรในอาคาร (FM) รวมกับมีการสอดแทรกเทคนิคที่สําคัญ ในการทํา FM ใหกับผูบริหารสูงสุดโดยเฉพาะ และตัวอยางจริงที่ประสบความสําเร็จในการทํา FM ที่รวมองคประกอบของ 3Ps (Place – People - Process) เอาไวอยางครบถวน 1. การบริหารจัดการทรัพยากรอาคารในมุมของบุคลการ (People) หมายถึง การบริหาร จัดการและสงเสริมใหบุคลากรทุกระดับ (โดยเฉพาะผูบริหาร) มีสวนชวยในการลดการสูญเสีย พลังงาน ซึ่งสามารถทําไดโดยการพัฒนาความรู พัฒนาความคิดสรางสรรค พัฒนาทัศนะคติ การพัฒนาพฤติกรรม และพัฒนาความสามารถดานการจัดการและการแกปญ  หา ทัง้ นีเ้ พือ่ ความ เจริญเติบโตมั่นคงขององคกร การบริหารจัดการทรัพยากรอาคารดานบุคลากรทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุดนัน้ ทาน ตองเขาใจกอนวา การใชพลังงานที่สิ้นเปลืองนั้น สวนใหญเกิดจากพฤติกรรมทัศนะคติเชิงลบ ขาดความรูท ถี่ กู ตอง ประกอบกับการทํางานของบุคลากร ดังนัน้ หากเราสามารถลดการสูญเปลา ของพลังงานที่เกิดจากการใชงานของแตละบุคคลได จะสงผลใหตนทุนคาใชจาย (Cost) ดาน พลังงานตอการใหบริการ (Energy Efficient Index ; EEI) เชน ปริมาณพลังงานที่ใชตอปริมาณ เตียง-วันตอป (MJ/Bed-Day/Year) ซึ่งนั่นเทากับเปน การเพิ่มรายได (Income) และผลตอบแทน 5454

April April2015 2015

2. การบริหารดานกระบวนการ (Process) หมายถึง กิจกรรมธุรกิจ หรือธุรกรรม ทีเ่ กิดขึน้ ภายในอาคาร ดังนั้นกระบวนการดําเนินงาน ในการใหบริการถือเปนกลไกในการขับเคลือ่ น ธุรกิจของอาคาร เพราะเปนสิ่งที่ผูรับบริการ วั ด ผลความพึ ง พอใจซึ่ ง เป น ตั ว แปรในการ ตัดสินใจเพื่อเขารับบริการในครัง้ ตอไป ดังนัน้ การบริหารจัดการกระบวนการในอาคารเพื่อ การอนุรักษพลังงานจึงเปนสิ่งที่ตองใหความ สําคัญ และที่สําคัญการปรับกระบวนการตอง ไม ก ระทบต อ มาตรฐานการรั ก ษา ความ ปลอดภั ย และความสุ ข สบายของผู  ป  ว ย ผูปฏิบัติงาน ตลอดจนไมกระทบตอคุณภาพ การบริการขององคกร หลักการอยางงายที่ นิยมใชในการพัฒนากระบวนการ คือ หลักการ ของ Damming Chart หรือที่รูจักกันในชื่อ PDCA นั่นเอง


3. การบริหารจัดการอาคารสถานที่ (Place) หมายถึง อาคารพื้นที่ ท�างาน สถานที่บริเวณสิ่งแวดล้อม ระบบวิศวกรรมประกอบอาคาร เครื่องใช้ส�านักงาน และสิ่งอ�านวยความสะดวกต่าง ๆ ส�าหรับอาคาร สิง่ ทีส่ า� คัญต้องมีสขุ อนามัยและความปลอดภัย (Sanitation and Safety) ในการรักษาผู้ป่วย ดังนั้นทีมงานหรือคณะกรรมการด้านการอนุรักษ์ พลังงานจะต้องค�านึงถึงการบริหารให้สอดคล้องกับอาคารสถานที่ และ ต้นทุนการใช้พลังงานอย่างเหมาะสม ตัวอย่างกรณีศึกษา โครงการปรับปรุงพื้นที่ พร้อมท�าทางเชื่อมและ ลิฟต์โดยสารระหว่างอาคาร โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา (อาคาร A) กับ หอพักพยาบาล (อาคาร B) เพื่อปรับปรุงเป็นห้องพักผู้ป่วย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มพื้นที่ให้บริการ 2. เพื่อลดการความหนาแน่นในการสัญจรบริเวณโถง ชั้น G 3. เพื่อเพิ่มความรวดเร็วและสะดวกในการให้บริการ 4. เพื่อการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ รายละเอียดโครงการ ทีม่ าของโครงการ เริม่ จากการทีโ่ รงพยาบาลพญาไท ศรี ร าชา มี ค วามต้ อ งการเพิ่ ม หอพั ก ผู ้ ป ่ ว ย เพื่ อ รองรั บ การให้ บ ริ ก าร จากเดิ ม อาคารของ โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา ประกอบด้วย อาคาร 2 อาคาร ได้แก่ อาคาร A ขนาดพืน้ ที่ 26,420 ตาราง เมตร ตัวอาคารมีทั้งหมด 12 ชั้น ชั้น 1-4 เป็นพื้นที่ ให้บริการและส่วนส�านักงาน ชั้น 5-12 เป็นหอพัก ผู้ป่วย (Ward) และอาคาร B เป็นหอพักพนักงาน ขนาดพื้ น ที่ ใช้ ส อย 10,982 ตารางเมตร พื้ น ที่ จอดรถ 1,201 ตารางเมตร มี ทั้ ง หมด 14 ชั้ น ชั้น 1-6 เป็นลานจอดรถ และชั้น 7-14 เป็นหอพัก พนังงาน

ใกล้ เ คี ย งโรงพยาบาล โดยใช้ ห ลั ก การบริ ห าร ทรัพยากรอาคาร (Facility Management) ในการ แก้ ไขปั ญ หาเรื่ อ งพื้ น ที่ (Place) ไม่ เ พี ย งพอ นอกจากนั้นโรงพยาบาลยังปรับปรุงทางเชื่อม ระหว่างอาคารและติดตั้งลิฟต์เพิ่ม จ�านวน 4 ตัว (ลิ ฟ ต์ ตั ว ที่ 7-10) ซึ่ ง มี ส ่ ว นช่ ว ยให้ ก ารสั ญ จร ระหว่างอาคาร A กับ อาคาร B มีความสะดวก มากขึ้น เพราะบางครั้งผู้รับบริการที่เข้ารับการ รักษาพยาบาลที่อาคาร A และจ�าเป็นต้อง Admit ค้างคืน ผู้รับบริการ บางส่วนอาจต้องเข้าพักรักษาที่ห้องพักผู้ป่วยในบริเวณอาคาร B ท�าให้ ต้องมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยระหว่างอาคาร ซึ่งลักษณะดังกล่าวจะเห็น ได้ว่า การปรับพื้นที่ (Place) จะมีผลกระทบกับกระบวนการท�างาน (Process การเคลื่อนย้าย) และคน (People ผู้ป่วยเจ้าหน้าที่) สรุปผลการด�าเนินโครงการ 1. ได้ห้องพักผู้ป่วยในเพิ่ม 59 ห้อง หรือคิดเป็น 99 เตียง (ห้องที่มาก ขึ้นท�าให้รายได้เพิ่มขึ้น) 2. สามารถลดความหนาแน่นการสัญจรบริเวณโถง ชั้น G และช่วยลด ระยะเวลาในการเดินทางระหว่างอาคาร A และ B 3. ผู้รับบริการและผู้ให้บริการเกิดความสะดวกและรวดเร็วขึ้น (People และ Process ที่ดีขึ้นจะส่งผลต่อ KPI ที่ดีของโรงพยาบาลในการให้ บริการ) 4. ท�าให้เกิดการลดการใช้พลังงาน เมื่อมีการเดินทางในการใช้อาคาร ระหว่างอาคาร A กับ B ที่มีประสิทธิภาพ

รูปอาคารโรงพยาบาลก่อนและหลัง ทางเชื่อมระหว่างอาคาร A และอาคาร B

แนวทางการด�าเนินงาน โรงพยาบาลได้มนี โยบายปรับปรุงอาคาร B (อาคาร หอพักพนักงาน) ชั้น 7-13 (59 ห้อง 99 เตียง) เป็น หอพักผู้ป่วย และชั้น 14 เป็นห้องพักแพทย์ แล้ว ด�าเนินการสร้างหอพักพนักงานใหม่บริเวณพื้นที่ April April2015 2015 5555


Building Management

ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร DGNB คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองประธานสถาบันอาคารเขียวไทย

ขัน้ ตอนสมัครรับการรับรอง

TREES PRE NC

PB56

April April2015 2015


สืบเนื่องจากกฎกระทรวงผังเมืองกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2556 ที่ก�าหนดให้อาคารที่ ออกแบบตามมาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสถาบันอาคารเขียวไทยได้รับ สิทธิประโยชน์ในการเพิ่มพื้นที่ก่อสร้างอาคารได้ 5-20% หรือที่รู้จักกันว่า F.A.R. Bonus (Floor-Area-Ratio Bonus) ด้วยเหตุนี้ สถาบันอาคารเขียวไทยจึงได้จัดท�ามาตรฐาน TREES Pre NC ที่ใช้ในการออกแบบอาคารตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว โดยก�าหนดเกณฑ์ วิธีการและขั้นตอนการด�าเนินการเพื่อให้อาคารที่ก�าลังออกแบบได้น�าไปใช้ ซึ่งนอกเหนือ ไปจากเกณฑ์การออกแบบ ก็คือขั้นตอนกระบวนการน�าแบบอาคารไปรับการตรวจรับรอง จนกว่าจะได้รับอนุญาตให้สามารถก่อสร้างอาคารโดยมีสิทธิประโยชน์พื้นที่อาคารมากขึ้น รายละเอียดการยื่นรับรองมีดังต่อไปนี้ 1. ผู้สมัครยื่นใบสมัครขอรับการตรวจประเมิน TREES-PRE NC พร้อมส่งเล่มรายงาน 1 เล่ม และ CD ข้อมูลแบบอาคาร ส�าหรับการตรวจประเมินและตรวจสอบ จ�านวน 5 ชุ ด และช� า ระค่ า ใช้ จ ่ า ยในการตรวจประเมิ น และตรวจสอบอาคารให้ แก่ สถาบั น อาคารเขียวไทย โดยแบ่งเป็น ค่าสมัคร (Registration Fee) เป็นเงินจ�านวน 40,000 บาท ต่อโครงการ และค่าตรวจเอกสารและรับรอง (Certification Fee) เป็นเงินจ�านวน 20 บาท ต่อ 1 ตร.ม. ของพื้นที่อาคาร แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาทต่อโครงการ 2. สถาบันอาคารเขียวไทยตรวจสอบความครบถ้วนของเอกสารประกอบการพิจารณาขัน้ ต้น ในกรณีที่เอกสารไม่ครบถ้วน จะเรียกให้ผู้สมัครน�ากลับไปแก้ไขและยื่นเอกสารขอรับ การตรวจประเมินอีกครั้ง โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิ่มเติม 3. คณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินแบบอาคารของสถาบัน จะแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเข้าเป็น คณะท�างานตรวจประเมินฯ ภายใน 7 วันท�าการ ซึ่งสถาบันจะสงวนสิทธิ์ที่จะไม่เปิด เผยรายนามของผู้ทรงคุณวุฒิที่ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจประเมินดังกล่าว 4. คณะท�างานตรวจประเมินฯ ท�าการตรวจเอกสารและแจ้งผลให้ผู้สมัครทราบภายใน 30 วันท�าการ หลังจากได้รับเอกสารและเงินค่าสมัครและค่าประเมินโดยครบถ้วน สมบูรณ์จากผู้สมัคร ในระหว่างที่สถาบันอาคารเขียวไทยก�าลังท�าการตรวจประเมิน อาคาร หากพบว่าเอกสารบางอย่างไม่สมบูรณ์ สถาบันอาคารเขียวไทยสงวนสิทธิ์ที่ จะท� า การประเมิ น ผลตามคุ ณ ภาพเอกสารเท่ า ที่ ไ ด้ รั บ หรื อ อาจแจ้ ง ให้ ผู ้ ส มั ค รส่ ง เอกสารเพิ่มเติม 5. ผู้สมัครรับทราบผลการประเมินรอบแรกและกลับไปท�าการแก้ไขหรือส่งข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี) ภายใน 15 วันท�าการ หลังจากนั้นคณะท�างานตรวจประเมินฯ จะพิจารณา เอกสารที่แก้ไขแล้วอีกครั้งภายใน 30 วันท�าการ แล้วจึงส่งผลการประเมินรอบสอง (ซึ่ ง เป็ น รอบสุ ด ท้ า ย) ให้ ผู้ ส มั ค รรั บ ทราบ หากผู ้ สมั ค รยอมรั บผลหรื อไม่ มีข ้ อมู ล เพิ่ ม เติ ม ภายใน 15 วั น ท� า การ สถาบั น อาคารเขี ยวไทยจะประกาศผลการประเมิ น ขั้นสุดท้าย ทั้งนี้หากผู้สมัครต้องการเวลามากกว่า 15 วันท�าการ เพื่อแก้ไขเอกสาร ผู้สมัครจะต้องท�าหนังสือยื่นค�าร้องขอเลื่อนเวลาส่งเอกสารชุดแก้ไข 6. หลังจากประกาศผลการประเมินขั้นสุดท้ายแล้ว กรณีที่ผู้สมัครต้องการยื่นอุทธรณ์ สามารถยื่นเอกสารเพิ่มเติมเพื่อขอให้พิจารณาผลการประเมินได้อีกเพียง 1 ครั้ง ภายใน 7 วันท�าการ โดยต้องเสียค่าใช้จ่ายตามข้อก�าหนดของสถาบันอาคารเขียวไทย (อั ต รา 10,000 บาทต่ อ หั ว ข้ อ ) จากนั้ นจึ ง เข้ าสู ่ ก ระบวนการตรวจประเมิ น อี ก ครั้ ง โดยผลการอุทธรณ์ครั้งนี้จะถือเป็นสิ้นสุด หากในกรณีที่ผู้สมัครไม่ยื่นเรื่องขออุทธรณ์ ภายใน 7 วันท�าการ ให้ถือว่าผู้สมัครยอมรับผลการประเมินขั้นสุดท้าย

7. หากผ่า นการประเมิน สถาบันอาคาร เขียวไทยจะออกหนังสือรับรองการผ่าน เกณฑ์และระดับ ของเกณฑ์ TREESPRE NC และคืนเล่มรายงานที่มีตรา ประทั บ จากสถาบั น อาคารเขี ย วไทย จ�านวน 1 เล่ม ให้ผู้สมัครภายใน 7 วัน ท� า การ เพื่ อ ผู ้ ส มั ค รจะได้ น� า ไปใช้ ประกอบการยื่นขออนุญาตก่อสร้างกับ กรุงเทพมหานคร แต่หากแบบอาคาร ไม่ ผ ่ า นการประเมิ น สถาบั น อาคาร เขี ย วไทยจะยกเลิ ก การประเมิ น และ จ�าหน่ายโครงการออกจากสารบบในกรณี ทีผ่ สู้ มัครต้องการยืน่ ตรวจประเมินอีกครัง้ ให้เริ่มต้นใหม่ทั้งหมด 8. สถาบันอาคารเขียวไทยสงวนสิทธิ์ที่จะ ใช้เวลาในการตรวจประเมินและตรวจสอบ เอกสารในบางกรณี มากกว่า 30 วัน ท�าการ ขึน้ อยูก่ บั คุณภาพและความชัดเจน สมบูรณ์ของเอกสาร รวมทัง้ ขนาดอาคาร และความซับซ้อนของรูปแบบสถาปัตยกรรมและวิ ศ วกรรมของอาคาร โดย สถาบั น อาคารเขี ย วไทยจะท� า หนั ง สื อ แจ้งต่อผู้สมัครอย่างเป็นทางการ 9. สถาบันอาคารเขียวไทยสงวนสิทธิ์ที่จะ ไม่ เ ปิ ด เผยชื่ อ โครงการหรื อ ข้ อ มู ล ราย ละเอี ย ดโครงการที่ ยื่ น สมั ค รเข้ า มารั บ การรับรอง TREES PRE NC ใด ๆ ทัง้ สิน้ ทัง้ นีส้ ถาบันอาคารเขียวไทยได้จดั ท�ารายละเอียด ของเกณฑ์ TREES PRE NC ในหมวดต่าง ๆ ในเบื้องต้นเพื่อให้เข้าใจเกณฑ์ในภาพรวม หากผูใ้ ช้ตอ้ งการรายละเอียดเชิงลึก ตัวอย่าง การด�าเนินการ รายการค�านวณต่าง ๆ รวมทัง้ แบบฟอร์มเอกสารกรอกข้อมูลต่าง ๆ ผู้ใช้ จะต้ อ งสื บ ค้ น เพิ่ ม เติ ม จากหนั ง สื อ คู ่ มื อ TREES-NC 1.1 ของสถาบันอาคารเขียวไทย และทีเ่ ว็บเพจของสถาบันฯ ที่ www.tgbi.or.th ซึง่ จะมีขา่ วสารและการอัพเดทเกณฑ์ TREES ประกาศออกมาเป็นระยะ ๆ โดยทัง้ นี้ ผูเ้ ขียน จะได้ น� า ข้ อ บั ง คั บ ขั้ น ต�่ า และรายละเอี ย ด ส�าคัญอื่น ๆ ของเกณฑ์ TREES PRE NC มาน�าเสนอต่อไป April April2015 2015 57PB


Green Logistics

ดร.สิทธิชัย ฝรังทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

คุ ณ ภาพชี วิ ต พนั ก งานด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยมีความเปราะบางเพิ่มขึ้น เนื่องจากภาคธุรกิจ ของไทยต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ รอบด้าน เช่น การแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศที่ รุนแรง ปัญหาต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนแรงงาน และต้นทุนพลังงาน ที่เพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งก�าลัง พบกับความท้าทายใหม่ที่จะเกิดขึ้นจากการรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community หรือ (AEC) ในปลายปี 2558 โดยผู้ประกอบการจะต้องมีการเตรียม การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะการท�างานพนักงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สอดคล้อง กับอุปสรรคทางด้านกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับ และอุปสรรคในขนส่งสินค้ากระจายไป ยังกลุ่มลูกค้าในแถบอาเซียนที่มีพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ติดกับประเทศไทย เมื่อสภาวการณ์เป็นเช่นนี้ จะเห็นได้ว่าผลกระทบวงกว้างที่เกิดขึ้นกับธุรกิจ ยังส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตในการท�างาน (Quality of Work-life) ของพนักงานในภาคธุรกิจ โดยเฉพาะสาย งานด้านโลจิสติกส์ตั้งแต่ระดับผู้บริหารจนถึงผู้ปฏิบัติงาน ที่ประสบกับความเครียด การเร่ง รีบ ฯลฯ จนขาดความมีสุขภาวะและขาดการเอาใจใส่ด้านความเป็นอยู่ที่ดี รวมถึงก่อให้เกิด ปัญหาอุบัติเหตุตามมาอีกด้วย ดังนั้น เพื่อสร้างให้เกิดองค์กรแห่งความสุขในสถานการณ์ โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ให้องค์กรสามารถอยู่รอด และเติบโตได้อย่างยั่งยืน องค์กร ธุรกิจจึงมีความจ�าเป็นที่ต้องปรับตัว และพัฒนาองค์กรให้สอดคล้องกับสภาวะดังกล่าว ด้วยจุดประกายทางความคิดในเรื่อง Happy Workplace อันจะรักษาบุคลากรที่มีศักยภาพ ให้ท�างานอยู่กับองค์กรในระยะยาว เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในอนาคต 58

April 2015

ส่วนลักษณะขององค์กร Happy Workplace ประกอบด้วย การเป็นองค์กรที่มีการจัด สภาพแวดล้อม ระบบการท�างาน สวัสดิการ กิจกรรมภายในองค์กร การจัดอบรมอย่างสมดุล รวมถึงครอบครัวของพนักงาน เป็นองค์กร ที่มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพนักงานด้าน ต่าง ๆ ทั้งสุขภาพกายและจิตใจ เปิดโอกาส ให้พนักงานแสดงความสามารถและรับฟัง ความคิดเห็นเต็มที่ พนักงานทุกคนมีความสุข ในการท�างานทุก ๆ ด้าน โดยองค์กรเอือ้ อ�านวย ความจ�าเป็นพื้นฐานอย่างพอเพียงทุ ก คน ในองค์กรเป็นเพื่อ นที่ดีต่อ กัน ให้ความ ร่ ว มมื อ และมี ค วามสามั ค คี เป็ น กั น เอง พึ่งพาอาศัย และมีกิจกรรมเสริมสร้างความ สัมพันธ์ ท�างานด้วยกันอย่างเต็มที่ มีใจรัก องค์กรและรักงานที่ท�า รวมทั้งผู้บริหาร มี ทัศ นคติที่ดีต่อ ผู้ใต้บังคับ บัญ ชา โดยใช้ หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน


ส�ำหรับกำรสร้ำงควำมสุข 8 ประกำร (Happy 8) มีดังต่อไปนี้

1. Happy Body (สุขภำพดี) การให้ความส�าคัญกับเรื่องสุขภาพของพนักงานให้มีความ แข็งแรง ทั้งร่างกาย และจิตใจ โดยจัดกิจกรรมที่สนับสนุนเรื่องสุขภาพร่างกาย เช่น ห้อง Fitness Center จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจ�าปีหรือกีฬาพื้นบ้าน โดยให้พนักงานและ ครอบครัวมีส่วนร่วมในการแข่งขัน จัดให้มีการฉีดวัคซีนป้องกันโรค และจัดให้มีการตรวจ สุขภาพพนักงานประจ�าปี เป็นต้น 2. Happy Heart (น�้ำใจงำม) มีน�้าใจเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน รวมทั้งรู้จักแบ่งปันกัน เช่น การเยี่ยมพนักงานที่เจ็บป่วย การมอบของขวัญวันเกิด เป็นต้น 3. Happy Relax (ผ่อนคลำย) เพื่อเป็นการผ่อนคลายความเครียดจากการท�างาน รวมทั้ง ให้รู้จักผ่อนคลายต่อสิ่งต่าง ๆ ในการด�าเนินชีวิต สร้างบรรยากาศที่ดีในการท�างาน และ กระชับความสัมพันธ์ภายในองค์กร เช่น จัดมุมกาแฟให้พนักงานได้พักผ่อนจากการ ท�างาน จัดให้มีกิจกรรมท่องเที่ยวประจ�าปี จัดกิจกรรมสังสรรค์ประจ�าปี หรือพนักงานที่ มีวันเกิดในเดือนนั้น สามารถหยุดได้ 1 วัน เป็นต้น 4. Happy Brain (หำควำมรู้) เป็นการศึกษาหาความรู้พัฒนาตนเองตลอดเวลาจากแหล่ง ต่าง ๆ น�าไปสูก่ ารเป็นมืออาชีพ และความมัน่ คงก้าวหน้าในการท�างาน เช่น Knowledge Sharing หรือ Knowledge Management ผ่าน Intranet โครงการมุมหนังสือ มีการคัดสรร หนังสือทีด่ ใี ห้กบั พนักงานสามารถเลือกอ่านได้ โครงการพีส่ อนน้อง เพือ่ ให้มกี ารแบ่งปัน ความรู้ระหว่างเพื่อนพนักงาน อบรมการสนทนาภาษาอังกฤษประจ�าวัน (Daily Conversational English Class) เป็นต้น 5. Happy Soul (คุณธรรม) มีความศรัทธาในศาสนาและมีศีลธรรมในการด�าเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อการกระท�าผิดของตน เช่น กิจกรรมการท�าบุญตักบาตร ไหว้พระตามวัดต่าง ๆ การนั่งสมาธิ การจัดงานสงกรานต์ รดน�้าด�าหัวผู้ใหญ่ รวมไปถึง การจัดกิจกรรมตามเทศกาลต่าง ๆ ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทย 6. Happy Money (ใช้เงินเป็น) เป็นการสร้างวินยั ให้กบั พนักงานในการรูจ้ กั เก็บ รูจ้ กั ใช้ และ การใช้ชีวิตที่เหมาะสม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยอบรมการบริหารเงินทั้ง ในส่วนการออม และการลงทุน เพื่อสร้างรายได้ รวมทั้งการช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ เช่น เงินกู้ฉุกเฉิน เงินช่วยเหลือกรณีบิดา–มารดาของพนักงานเสียชีวิต เงินค่ารักษาพยาบาล งานแต่งงาน การมอบทุนการศึกษาให้กบั บุตรของพนักงานทีม่ ผี ลการเรียนดี หรือ โครงการ วันหยุดเสาร์เว้นเสาร์ เพื่อลดค่าใช้จ่ายใน การเดินทางของพนักงาน โครงการคืนวันหยุด และวันลาทีพ่ นักงานไม่ได้ใช้ตามสิทธิ์ (ลากิจ และลาพักร้อน) โดยบริษทั จะจ่ายคืนในอัตรา 1.5 เท่า เบี้ยขยันกับพนักงานที่ไม่ขาด ลา มาสาย เป็นต้น 7. Happy Family (ครอบครัวดี) มีครอบครัว ที่อบอุ่นและมั่นคง ซึ่งค�าว่า “ครอบครัว” หมายถึ ง ครอบครั ว ของพนั กงานและ ครอบครัวของบริษัท ดังนั้น บริษัทจึงควร จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ของ ครอบครั ว เช่ น กิ จ กรรมในวั น พ่ อ และ วันแม่ การมอบทองค�าส�าหรับพนักงานที่ ท�างานกับองค์กรมาเป็นระยะเวลานาน เป็นต้น

8. Happy Society (สังคมดี) โดยเป็นการ แบ่งปันความสุข ความรักสามัคคี เอือ้ เฟือ้ ต่อชุมชน ที่ตนท�างานและที่พักอาศัย ให้ เ กิ ด มี สั ง คมและสภาพแวดล้ อ มที่ ดี เช่น จัดกิจกรรมบริจาคของให้แก่เด็ก ก�าพร้าโดยอนุญาตให้พาครอบครัวหรือ เพื่อนไปด้วยได้ ปรับปรุงสถานที่ท�างาน ตามกิจกรรม 5 ส กิจกรรม Big Cleaning Day เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ในยุคหน้าทรัพยากรมนุษย์ จะมีความส�าคัญต่อองค์การเป็นอย่างมาก ในด้านการสร้างความสามารถทางการแข่งขัน ดังนั้น หากองค์การสามารถท�าให้ที่ท�างาน เกิดความสุขในขณะปฏิบัติงานได้อย่างเป็น รูปธรรมแล้วล่ะก็ จะช่วยท�าให้ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการท�างานดีขึ้น แล้วยัง เป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มขวัญและก�าลังใจใน การท�างานอีกด้วย

April2015 2015 59PB April


O waste idea

รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การมีสวนรวมของประชาชน… กุญแจสูการพัฒนาเมืองสีเขียว กระแสบริโภคนิยมในเมืองใหญทว่ั โลก ทําใหมกี ารใชทรัพยากรตาง ๆ ไมวา จะเปนอาหาร นํา้ พลังงาน สินคาและบริการในปริมาณที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว สงผลใหเกิดปญหามลพิษและภัยพิบัติตาง ๆ ที่ กําลังสงผลกระทบกลับมายังมนุษยอยางที่หลีกเลี่ยงไมได โดยเฉพาะภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นทั่วโลก ลวนแลวแตเปนผลมาจากการที่ปริมาณสารมลพิษที่เกิดขึ้นอยูในระดับที่เกินขีดความสามารถใน การบําบัดและฟนฟูตัวเองโดยธรรมชาติของโลกที่เราอาศัยอยู ในปจจุบัน ปญหาภาวะโลกรอน หรือ Global Warming ที่เรามักพูดถึง เปนสวนหนึ่งของการ เปลี่ยนแปลงดานสภาพแวดลอมดานภูมิอากาศ (climate Change) คือ การที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลก เพิม่ ขึน้ จากผลของภาวะเรือนกระจก หรือทีเ่ รารูจ กั กันดีในชือ่ วา Greenhouse Effect สาเหตุหลักของ ปญหาภาวะโลกรอนเกิดจากปริมาณกาซเรือนกระจก ไดแก กาซคารบอนไดออกไซด กาซมีเทน กาซไนตรัสออกไซด กาซไฮโดรฟลูออโรคารบอน มีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเผาไหมเชื้อเพลิง การขนสง การผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม การเผาตอซังและเศษซากพืชในไรนา ซึง่ กาซเรือนกระจก เหลานีส้ ง ผลใหชนั้ บรรยากาศกักเก็บรังสีความรอนมากขึน้ เรือ่ ย ๆ จนเกิดเปนภาวะโลกรอน สําหรับ ศักยภาพการทําใหเกิดภาวะโลกรอนของกาซเรือนกระจกแตละประเภทนั้น จะแสดงเปนคา GWP หรือ Global Warming Potential ซึง่ เปนคาทีส่ ะทอนใหเห็นถึงความสามารถของกาซในการดูดกลืน ความรอน รวมทั้งความสามารถของกาซที่ยังคงสภาพอยูในชั้นบรรยากาศไดนาน สําหรับกาซ เรือนกระจกที่มีคา GWP สูง ๆ มีศักยภาพทําใหเกิดปญหาภาวะโลกรอนมากกวากาซเรือนกระจก ที่มีคา GWP ตํ่า ๆ

การมีสวนรวมของทุกภาคสวน…กุญแจเพื่อกาวสูความเปนเมืองสีเขียว

การมีสวนรวมของทุกภาคสวนมีความสําคัญในการรวมแรงรวมใจ เพื่อเสริมสรางแนวทางของการ พัฒนาเมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ไดแก แนวทางดังตอไปนี้ – การใชพลังงานอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงานดวยการลดการใชไฟฟา ทุก ๆ 1 หนวย (กิโลวัตตตอ ชัว่ โมง) จะสามารถลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดประมาณ 0.561 กิโลกรัม – การจัดการขยะมูลฝอยโดยใชหลัก 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle) การลดปริมาณขยะ มูลฝอยทุก ๆ 1 กิโลกรัม จะชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดประมาณ 0.3 กิโลกรัม – การรวมกันปลูกตนไมเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเปนแนวทางที่สําคัญของ การวางผังเมืองสีเขียว โดยการปลูกตนไมหนึ่งตน สามารถชวยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด ไดประมาณ 9 กิโลกรัมตอป – การเลือกใชเชื้อเพลิงจากพลังงานทดแทน การเลือกใชไบโอดีเซล (B5) เปนเชื้อเพลิงจะชวย ลดการปล อ ยก า ซคาร บ อนไดออกไซด ไ ด ป ระมาณ 0.135 กิ โ ลกรั ม ต อ ลิ ต ร และการใช

60

April 2015

แกสโซฮอล 91 และ 95 จะชวยลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดประมาณ 0.219 กิโลกรัมตอลิตร – การใชระบบขนสงมวลชนทีม่ คี วามสะดวก ในการเดินทาง เชน รถไฟฟา รถประจําทาง เปนแนวทางลดการใชรถยนตสวนบุคคล เพื่ อ ช ว ยส ง เสริ ม การใช พ ลั ง งานอย า งมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ควรพิจารณา แนวทางการขนสงที่ยั่งยืนและเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม

ตัวอย างกิ จกรรมการมี ส  ว นร ว มของ ภาคประชาชนในตางประเทศ ประเทศญี่ปุน

ญี่ปุนเปนประเทศหนึ่งที่ภาครัฐใหความสนใจ และรณรงค โ ดยให ภ าคอุ ต สาหกรรมกํ า หนด เปาหมายลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดโดยสมัครใจ แมกระนั้นก็ยังพบวา ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก (Greenhouse Gas Emission) ในญี่ปุนยังคงเพิ่มขึ้น รัฐบาล โดยความรวมมือระหวางรัฐบาลกลาง รัฐบาล ทองถิ่น และบริษัท ผูประกอบการประมาณ 20 ราย เชน บริษัทคาปลีกเครื่องไฟฟา รถไฟ หางสรรพสินคา ธนาคาร บริษัทนําเที่ยว และ บริษัทอสังหาริมทรัพย จึงไดริเริ่มการรณรงค ระบบ “Eco Action Point System” ในกลุม ผูบริโภค


Eco Action Point System เป็นการเชิญชวนให้ประชาชนทั่วไปตระหนัก ถึ ง ความส� า คั ญ ของปัญหาโลกร้อนและกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่ส่งผลต่อการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มาจากครัวเรือน การสะสมแต้ม ท�าได้เมือ่ เลือกซือ้ สินค้าทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยร้านค้า ที่เข้าร่วมโครงการจะก�าหนดคะแนนที่ผู้ซื้อจะได้รับเมื่อเลือกซื้อสินค้า แต่ละชนิดที่ลดภาวะโลกร้อน ได้แก่ Recycle goods การใช้รถไฟที่ปล่อย ก๊าซคาร์บอนน้อยกว่า การเข้าร่วมกิจกรรมทีช่ ว่ ยลดโลกร้อน เช่น การลงทุน ปลูกต้นไม้ ผู้ซื้อหรือเข้าร่วมกิจกรรมจะได้รับคูปองสะสมคะแนน โดยการ ลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ เมือ่ สะสมคะแนนได้ตามทีก่ า� หนดก็จะได้รบั สินค้า หรือบริการตามที่ระบุ สินค้าที่ให้เป็นรางวัลก็ล้วนเป็นสินค้าที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม เช่น สะสมได้ 2,500 คะแนน แลกซื้อวิทยุที่ใช้พลังงาน แสงอาทิตย์ หรือสามารถบริจาคคะแนนเข้าโครงการลดภาวะโลกร้อนที่ องค์กรต่าง ๆ จัดขึ้น ภายใต้โครงการที่กระตุ้นเอกชนให้รับรู้และเข้าร่วม การลดภาวะโลกร้อนที่รัฐบาลญี่ปุ่นด�าเนินการอยู่นี้ได้ โดยให้เอกชน ที่ร่วมโครงการจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายค่าสินค้าและบริการที่ใช้เป็นรางวัล และได้ภาพลักษณ์ทดี่ ขี องการมีสว่ นร่วมรับผิดชอบสังคมเป็นสิง่ ตอบแทน โครงการที่ริเริ่มมาได้รับความสนใจจากผู้บริโภคจ�านวนมาก และทุกคน แสดงความต้องการจะเข้าไปมีสว่ นร่วมลดปัญหามลภาวะเป็นพิษของโลก กระทรวงสิ่งแวดล้อมญี่ปุ่นจึงวางแผนจะขยายกิจกรรม โดยเพิ่มจ�านวน บริษัทผู้ผลิตสินค้าและบริการ ตลอดจนเพิ่มจ�านวนผู้บริโภคที่ลงทะเบียน เข้าร่วมโครงการ ชาวญี่ปุ่นโดยพื้นฐานมีความสนใจในปัญหาของสังคมและต้องการเข้าไป มีส่วนร่วมในการลดปัญหาโลกร้อน กิจกรรมรณรงค์ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อ สินค้าและบริการทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมทีภ่ าครัฐและเอกชนญีป่ นุ่ ริเริม่ ขึน้ เช่น Carbon Footprint (การบอกจ�านวนก๊าซคาร์บอนที่เกิดจากขบวนการ ผลิตบนบรรจุภัณฑ์สินค้า) การก�าหนดให้บริษัทผู้ผลิตตั้งเป้าลดจ�านวน ปล่อยก๊าซคาร์บอนโดยสมัครใจ และ Eco Action Point System (การสะสม แต้ม) เชือ่ ว่าจะสร้างความตืน่ ตัวให้ประชาชนหันมาใส่ใจต่อข้อมูลปริมาณ การปล่อยก๊าซเสียที่เกิดในขบวนการผลิตสินค้ามากขึ้นเรื่อย ๆ ในระยะ ต่อ ๆ ไป สลาก Carbon Footprint และภาพลักษณ์ของบริษทั ด้านสิง่ แวดล้อม จะเป็นข้อมูลหนึ่งที่จ�าเป็นต้องมี เพื่อสร้างความได้เปรียบและจูงใจให้ ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อ กรณีของเมืองมินามาตะที่พยายามจะเปลี่ยนสภาพจากเมืองที่เกิดโรค รุ นแรงทางมลพิ ษ (Pollution Plagued City) มาสู่เมืองสิ่งแวดล้อม (Environmental Model City) สามารถเป็นตัวอย่างที่ดีของความเข้มแข็ง ของประชาชน (Community and Citizen-based) ในการระมัดระวังด้าน สิง่ แวดล้อม เนือ่ งจากไม่ตอ้ งการเจ็บปวดจากปัญหาสิง่ แวดล้อมอย่างอดีต ทีผ่ า่ นมาอีก เพือ่ ส่งเสริมให้เป็นเมืองสิง่ แวดล้อมจึงมีการฟืน้ ฟูเมืองให้เป็น เมืองที่เน้นการรีไซเคิล (Recycle-oriented Town) การมีส่วนร่วมของประชาชนและวิสาหกิจต่าง ๆ โดยการน�าของนายกเทศมนตรี ซึง่ มีคณะกรรมการมาร่วมประชุมเพือ่ พูดคุยด้านสิง่ แวดล้อมกัน ทุกวันพุธที่ 3 ของเดือน ในการฟืน้ ฟูเมืองเริม่ จากการขุดลอกโคลนตะกอน ทีม่ สี ารปรอทปนเปือ้ นในอ่าวมินามาตะ ใน ปี 1983 ซึง่ แล้วเสร็จในปี 1987

นอกจากนี้ยังมีการคัดแยกขยะ ซึ่งจ�าแนกเป็น 23 ชนิด และการน�าขยะ ที่คัดแยกกลับมาใช้ใหม่เป็นทรัพยากร ธุรกิจการรีไซเคิลของเสียต่าง ๆ ซึง่ ได้แก่ ขวดแก้ว พลาสติก เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบ้าน น�า้ มัน ขยะจากเศษอาหาร ยางมะตอยและของเสียจากมนุษย์ รวมทัง้ มีการตัง้ พิพธิ ภัณฑ์โรคมินามาตะ (Minamata Disease Municipal Museum) เพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูด้ า้ นปัญหา สิง่ แวดล้อม สิทธิมนุษยชน และเตือนให้มนุษย์รถู้ งึ พิษภัยจากปัญหามลพิษ โดยหวังว่าจะเป็นบทเรียนไม่ให้เกิดเหตุการณ์เลวร้ายอย่างกรณีของ เมืองมินามาตะขึ้นอีกในโลก

ประเทศฮ่องกง กิจกรรมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการลดปริมาณขยะ โดยการรีไซเคิล

การมีส่วนร่วมกิจกรรมรีไซเคิลของประชาชนในประเทศฮ่องกง (ที่มา http://www.gov.hk)

ในปัจจุบันประเทศฮ่องกงเผชิญปัญหาการจัดการขยะ อันเนื่องมาจาก สภาพภูมิศาสตร์ที่มีจ�ากัด ไม่เพียงพอต่อการท�าหลุมฝังกลบ ท�าให้ต้อง ก�าจัดขยะด้วยวิธอี นื่ ซึง่ เพิม่ ค่าใช้จา่ ยในการก�าจัดมากขึน้ ในแต่ละปี รัฐบาล จึงได้จดั โครงการต่าง ๆ เพือ่ ลดปัญหาทีเ่ กิดขึน้ โดยให้ประชาชนมีสว่ นร่วม ในการลดปัญหาขยะทั้งในภาคชุมชน หน่วยงาน อาทิเช่น โครงการ คั ด แยกขยะ โครงการรี ไซเคิ ล แบตเตอรี่ ช าร์ จ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และ คอมพิ ว เตอร์ นอกจากนี้ ยั ง มี โ ครงการรี ยู ส เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น หม้อหุงข้า ว คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ เป็นต้น โดยน�าของที่เสียหรือช�ารุดน�าไปซ่อมแซมแล้วน�าไปบริจาคต่อไป

การจัดตั้งเครือข่ายชุมชนรีไซเคิลขยะ

นอกเหนือจากการแยกขยะในอาคาร ยังสามารถน�าวัสดุรีไซเคิลไปยัง สถานที่ต่าง ๆ ในชุมชน โดยเครือข่ายชุมชนรีไซเคิลได้รับการจัดตั้งขึ้น เพือ่ กระตุน้ ให้ประชาชนได้ตระหนักเกีย่ วกับการรีไซเคิลและกระตุน้ ให้เกิด การมีส่วนร่วมของประชาชนในการรีไซเคิลขยะ ท�าให้ขยะมีมูลค่า รวมทั้ง ขยะพลาสติก ขวดแก้ว และขยะอุปกรณ์ขนาดเล็กไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ขยะเหล่านีจ้ ะถูกด�าเนินการต่อไปและน�ากลับมาใช้ใหม่ในประเทศ โดยน�า ไปบริจาคให้หน่วยงานหรือมูลนิธิต่าง ๆ ภายในประเทศต่อไป การก้าวสูค่ วามเป็นเมืองทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมนัน้ จ�าเป็นต้องอาศัยความ ร่วมมือของทุกภาคส่วนอย่างจริงจัง ในการลดปัญหามลพิษและภัยพิบัติ จากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มาจากกิจกรรมของมนุษย์สู่ชั้น บรรยากาศของโลก ดังนัน้ เมือ่ โลกป่วย…เป็นหน้าทีข่ องเราทุกคนทีจ่ ะช่วย เยียวยาโลกที่เราอาศัยอยู่นะครับ April April2015 2015 6161


Environment Alert

อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิง่ แวดล้อมชํานาญการพิเศษ ศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึ กอบรมด้านสิงิ่ แวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม

เครื่องมือในการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชนกับอุตสาหกรรม ¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ·Õ่ÁÕÁÒ¹Ò¹áÅŒÇ à»š¹¡ÒèѴ¡Ò÷Õ่㪌·ÃѾÂÒ¡ÃÍ‹ҧ ÁÕ » ÃÐÊÔ · ¸Ô À Ò¾ ¡ÒÃ¨Ñ ´ ÊÁ´Ø Å Â Á ÇÅ (mass balance) ·Õ่ à ÃÕ Â ¡Ç‹ Ò “à·¤â¹âÅÂÕÊÐÍÒ´” ·Õ่¤ํÒ¹Ö§¡ÒÃ㪌·ÃѾÂҡþÅѧ§Ò¹ áÅСÒÃà¡Ô´¢Í§àÊÕ ¨Ò¡¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ ¡ÒúÃÔ¡Òèҡ¡Ô¨¡ÃÃÁµ‹Ò§ æ ·Õ่µŒÍ§¡ÒÃ໚¹ÁԵà ¡ÑºÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ วันนี้มีเครื่องมือใหม ๆ ในการจัดการสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนมาตฐานการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14000 การจัดการพลังงาน การจัดทําฉลากสิ่งแวดลอม การประเมินวัฏจักรชีวิตการผลิต (Life cycle assessment) การประเมินคารบอนในการผลิต หรือที่เรียกวา carbon footprint การประเมินรอยเทาเชิงนิเวศ (Ecological footprint) จนถึงปจจุบัน ที่เนนการประเมินระบบ สิง่ แวดลอม เปนรอยเทาสิง่ แวดลอม (Environmental footprint) ซึง่ ในเรือ่ งของผูผ ลิตและผูบ ริโภค สินคาตองการคํานึงถึงสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง และมีความหวังวาการเปลี่ยนแปลงของโลกใบนี้ ที่เห็นถึงปญหาตาง ๆ ที่ทั่วโลกหยิบยกมาเปนประเด็นใหแตละประเทศตองจัดการอยางจริงจัง เชน การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การลดลงของพืชอาหาร ความแหงแลงและความ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชากรโลกอยางมากมาย ในขณะนี้ประเทศขนาดใหญ เชน จีน สหรัฐอเมริกา ตางไดรับผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงโลก ที่เกิดขึ้น ทั้งที่มีเทคโนโลยี มีงบประมาณ และการพัฒนาการจัดการสิ่งแวดลอมอยางมากมาย หลักคิดสําคัญของการจัดการสิ่งแวดลอม ไมใชแคเทคโนโลยีที่สวยหรู ไมใชแคการเจรจาระหวาง ประเทศที่มีการประชุมหลายรอบ หลายครั้งที่สูญเสียทรัพยากรในการประชุมอยางมากมาย เพื่อใหผูนําโลกมาพบกัน หรือมีคณะทํางานตาง ๆ ที่ใชพลังงานมากมายในการประชุมอยาง สิ้นเปลือง หรือเปนเพียงมายาภาพของความรวมมือที่ยังไมตอบโจทยการแกไขปญหาโลกอยาง จริงจัง และผลกระทบที่เกิดขึ้นในปจจุบันจะเปนผลกระทบที่มาจากการกระทําในอดีต ซึ่งใน อนาคตความรุนแรงของสภาพปญหาสภาพแวดลอมที่เกิดจากกิจกรรมในปจจุบัน จะมีผลใน วงกวางและมีความซับซอนตอการทําลายลางยิง่ กวาสงครามโลก จากการตอสูก บั ธรรมชาติเพียงแค อุณหภูมโิ ลกทีส่ งู ขึน้ เพียงเล็กนอยก็มผี ลตอระบบนิเวศอยางมาก หรือแผนดินไหวทีเ่ กิดขึน้ บอยครัง้ มีความรุนแรงมากขึ้น มีผลตอความเปนอยูของมนุษย ความหวังที่จะแกไขปญหาสภาพแวดลอม ที่เกิดขึ้นในปจจุบันและอนาคตอาจจะไมทันการณ จากสภาพสังคมเมืองที่เจริญเติบโตอยาง รวดเร็ว สภาพเศรษฐกิจที่มีการแขงขันสูง การเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมที่ไมไดมีการ วางแผนทีด่ ี ประกอบกับผูป ระกอบการบางรายยังขาดความตระหนักตอการดูแลรักษาสิง่ แวดลอม มีการประกอบกิจการที่มีการระบายมลพิษที่สงผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและประชาชน

62

April 2015

ได รั บ ความเดื อ ดร อ นจากป ญ หามลพิ ษ ดังกลาวอยางหลีกเลี่ยงไมได ดั ง นั้ น การร อ งเรี ย นป ญ หามลพิ ษ มายั ง หนวยงานภาครัฐทีร่ บั ผิดชอบจึงเปนทางออก หนึ่งที่ประชาชนนึกถึงเปนลําดับแรก และ ภาครัฐตองตอบสนองดําเนินการแกไขปญหา เพื่อบรรเทาทุกขใหกับประชาชน อยากให ทบทวนปญหาที่ผานมา เชน กากของเสีย อุตสาหกรรม สารอันตราย สารพิษจาก กระบวนการผลิต มีการลักลอบทิง้ สารอันตราย ในพื้นที่ชุมชน จนเกิดผลกระทบทางสุขภาพ อนามัยและระบบนิเวศอยางรุนแรง คําตอบ จึงอยูที่ประชาชน ชุมชน ซึ่งจะเปนคําตอบ สําหรับแนวคิดวิเคราะหความสัมพันธระหวาง ชุมชน อุตสาหกรรม แบบพึ่งพาอาศัยกัน โดยคํ า นึ ง ถึ ง ชุ ม ชนที่ อ ยู  ร ายรอบโรงงาน อุตสาหกรรมกับความสัมพันธที่หลากหลาย กับอุตสาหกรรม ชุมชน และหนวยงาน ภาครัฐ โรงงานมีกากของเสียที่ตองจัดการ คํานึงถึงการสือ่ สารระหวางกันจะมีผลกระทบ ตอชุมชน เปนภาวะทีม่ ผี ลกระทบซึง่ กันและกัน เปนความสัมพันธทข่ี ดั แยงกัน ขาดการสือ่ สาร ระหวางกัน การเอาเปรียบกันเปนระยะเวลานาน หรือผลที่บานปลายจากความสัมพันธแบบ


ภาวะปรสิต สงผลกระทบทั้งในระยะเวลาอันสั้นและระยะยาว จึงเกิดแนวคิด Eco symbiosis ขึน้ เปลี่ยนความสัมพันธใหมที่เปนการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แนวคิดดังกลาวเกิดขึ้นบนฐานคิด ความสุขในการอยูร ว มกัน ตัง้ แตการทํางาน (Happy work place) สูก ารสรางความสุขในการอยูร ว มกัน ระหวางอุตสาหกรรมกับชุมชน (Happy community) การศึกษาภาวะที่จะอยูรวมกัน ความตองการของชุมชน ความตองการชวยเหลือของอุตสาหกรรม กับชุมชน โดยมีการสื่อสารรวมกันและหาแนวทางมาตรการตาง ๆ ที่เปนมิตรตอกัน เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม โดยการวิเคราะหของเสียจากอุตสาหกรรมที่สามารถนํากลับมาใชใหมได เชน เศษผา จากกระบวนการผลิตนําไปสูผลิตภัณฑในชุมชน เกิดรายไดของชุมชนจากของเสียอุตสาหกรรม การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมรวมกัน การคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) ที่โรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบตอชุมชนโดยรอบ เนนการปองกันผลกระทบมากกวาการแกไข ปญหาที่จะเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต แนวคิดดังกลาวถูกนํามาใชกับนิคมอุตสาหกรรมลําพูนกับ ชุมชนโดยรอบ เปนตัวอยางหนึ่งของการอยูรวมกัน แบบพึ่งพากัน แนวคิดดังกลาวหากจะนําไป ขยายผลมีขอเสนอตออนาคตของการพัฒนาประเทศดังนี้ 1. การกําหนดเปนนโยบายของอุตสาหกรรมกับชุมชนที่มีการสื่อสารรวมกัน และเห็นความสําคัญ ตอการพัฒนาที่ยั่งยืนรวมกัน เปนวาระที่ประเทศกําลังพัฒนาขยายตัวของอุตสาหกรรม ที่อยูรวมกันกับชุมชนอยางเปนมิตรระหวางกันและตอสิ่งแวดลอม 2. การสื่อสารรวมกันที่จะบอกถึงความรวมมือระหวางกันของชุมชน อุตสาหกรรม กับสิ่งแวดลอม ตั้งแตการเริ่มโครงการ การดําเนินการของโครงการพัฒนาในภาคอุตสาหกรรมที่ตองอยูรวมกับ ชุมชนตองมีการสื่อสารกันอยางตอเนื่อง 3. ภาคอุตสาหกรรมตองพิจารณาการเติบโตของผูประกอบการ โดยตระหนักถึงการเติบโตที่ ยั่งยืน โดยมีความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม มองการเกิดมลพิษของโรงงานที่เกิดขึ้น ของเสียอันตรายที่เกิดขึ้น มีพิษที่เกิดขึ้นโดยเฉียบพลัน (Acute) และพิษที่สะสมทีละนอย จนเกิดผลกระทบเรือ้ รัง อุตสาหกรรมทีก่ อ ใหเกิดผลรายในระยะยาว ผูป ระกอบการอุตสาหกรรม จึงตองหาทางปองกันกอนเกิดปญหาและดวยความรับผิดชอบตอสังคม ดานการใชทรัพยากร ธรรมชาติตองใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ลดการบริโภคอยางฟุมเฟอย เพื่อการเกิด ของเสียนอยที่สุด 4. ภาครัฐตองใหการสนับสนุนการเชื่อมโยงความรวมมือระหวางอุตสาหกรรม ชุมชน และสราง ความเขาใจในการพัฒนารวมกัน แบบพึ่งพาอาศัยกัน และมีความยั่งยืนในการพัฒนา การออก กฎระเบียบ หรือสรางกติกาที่เหมาะสมในการอยูรวมกัน ลดความขัดแยงของชุมชนกับ อุตสาหกรรม 5. การติดตามผลลัพธ ผลสําเร็จของการดําเนินการ การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม เปนตัวชี้วัดที่สําคัญที่จะแสดงใหเห็นถึงความรวมมือที่แทจริงและประสิทธิภาพของมาตรการ ตาง ๆ ที่นํามาใชจากความรวมมือชุมชนกับ อุตสาหกรรม 6. สรางการมองอนาคตรวมกันระหวางการพัฒนา ของอุตสาหกรรม ชุมชน และภาครัฐ ที่มองถึง การวางแผนในการจั ด การเพื่ อ อยู  ร  ว มกั น ทิ ศ ทางการพั ฒ นาที่ มี ฐ านจากความร ว มมื อ อยางตอเนื่อง มองถึงการกําหนดกติกาการอยู รวมกันอยางมีความสุข ความจริงใจในการแกไข ป ญ หาจะที่ เ กิ ดขึ้น ในอนาคต แมแตก ารวาง ผังเมืองที่มีประสิทธิภาพ มาจากความรวมมือ ในการรับฟงความคิดเห็นจากทุกภาคสวน

จากขอเสนอแนะตอการนํา Eco symbiosis มาใชในการอยูรวมกัน แบบพึ่งพาของชุมชน อุ ต สาหกรรม ไม ใช ก ารมองแบบโลกสวย การปฏิรปู ในปจจุบนั ทีก่ ลาวถึงนัน้ หากไมปฏิบตั ิ หรือไมไดรับการยอมรับจากภาคสวนตาง ๆ ในสังคม ก็คงไมใชการปฏิรูปที่แทจริง การอยู รวมกันแบบพึ่งพาเปนแนวทางหนึ่งที่จะปฏิรูป การอยูร ว มกันในกระแสของการพัฒนาอุตสาหกรรม ที่เดินอยูบนพื้นฐานเดิม เปนความพยายามที่ จะแกไขปญหารวมกัน การใหความเทาเทียม กันของทุกภาคสวน ที่จะพึ่งพาอาศัย และอยู รวมกันอยางอยูเย็นเปนสุขอยางแทจริงและ ยั่งยืน

เอกสารอางอิง รั ฐ เรื อ งโชติ วิ ท ย เอกสารสารประกอบ การบรรยาย วิชาการจัดการสิ่งแวดลอม สําหรับนักศึกษาปริญญาโท หลักสูตร วทม. (การจัดการสิง่ แวดลอม) ม.พัฒนบริหารศาสตร กรุงเทพฯ 2558 ดร.วศิน มหัตนิรนั ดรกลุ mission impossible รหั ส ความสุ ข ที่ ถู ก ลื ม สมาคมเครื อ ข า ย บริการวิศวกร กรุงเทพฯ 2556 ดร.วศิน มหัตนิรันดรกุล Happy Ecosymbiosis: สุขภาวะอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โครงการสรางเสริมสุขภาพอุตสาหกรรม แบบมากมีศรีสุข สมาคมเครือขายบริการ วิศวกร กรุงเทพฯ กรกฏาคม 2557

April April2015 2015 6363


Energy Focus

คุณรุ ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู ้อํานวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุ ตสาหกรรม

Energy Focus :

ความตองการใชไฟฟาของประเทศไทย กับ Demand Response ¹Ñºµ‹Í¨Ò¡¹Õ้仼ٌ»ÃСͺ¡Ò÷Ñ้§ÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁáÅÐÀÒ¤ºÃÔ¡Ò÷Õ่ 㪌¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò໚¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö่§ã¹¡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒËÃ×ͺÃÔ¡ÒùÑ้¹ ¤§¨Ð àÃÔ่ÁÃÙŒ¨Ñ¡ËÃ×Íä´ŒÂÔ¹à¡Õ่ÂǡѺÁҵáÒà Demand Response (DR) ÁÒ¡¢Ö้¹ «Ö่§ Demand Response ໚¹ÁҵáÒÃ㹡ÒÃà©ÅÕ่¤ÇÒÁ µŒ Í §¡ÒÃ㪌 ä ¿¿‡ Ò ¨Ò¡ª‹ Ç §àÇÅÒ·Õ่ à кºÁÕ ¤ ÇÒÁµŒ Í §¡ÒÃä¿¿‡ Ò ÊÙ § ä»ÊÙ ‹ ª‹Ç§àÇÅÒÍ×่¹ à¾×่ÍÅ´ÀÒÃÐ㹡ÒÃÊํÒÃͧ¡ํÒÅѧ¼ÅԵ俿‡ÒÊํÒËÃѺª‹Ç§ àÇÅÒ´Ñ §¡Å‹ ÒÇ «Ö่§à¡Ô´¢Ö้¹à¾Õ§ÃÐÂÐàÇÅÒÊÑ้¹ æ ã¹áµ‹Å ÐÇѹ ËÃ×ÍᵋŠРª‹Ç§àÇÅÒ â´Â㪌¡ÒÃÊÌҧáç¨Ù§ã¨·Ò§àÈÃÉ°ÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ·Õ่àËÁÒÐÊÁ㹡Òè٧ã¨ãËŒ¼ÙŒãªŒä¿¿‡ÒµÍºÊ¹Í§µ‹Í¤ÇÒÁ¨ํÒ໚¹ã¹¡Òà Ŵ¡ÒÃ㪌¡ํÒÅѧ俿‡Ò

PB64

April2015 2015 April

โดยมาตรการ Demand Response จะมีความแตกตาง จากมาตรการประหยัดพลังงาน เนื่องจาก DR เปน มาตรการทีจ่ ะใชเฉพาะชวงเวลาทีร่ ะบบมีความตองการ ใชไฟฟาสูงเทานัน้ ในขณะทีม่ าตรการประหยัดไฟฟาเปน มาตรการที่มุงเนนใหเกิดการลดใชไฟฟาทุกชวงเวลา สําหรับประเทศไทยเรือ่ ง DR นีถ้ อื วาเปนเรือ่ งทีค่ อ นขาง ใหม ซึ่ ง มาตรการนี้ เ คยเริ่ ม ทดลองดํ า เนิ น การแล ว ในป 2557 และในเดื อ นเมษายน 2558 ที่ จ ะถึ ง นี้ คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ไดรว มกับ การไฟฟา ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย การไฟฟ า ส ว นภู มิ ภ าค การไฟฟานครหลวง สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และสภาหอการคาไทย ไดจดั ทํา “โครงการความรวมมือ ลดการใชไฟฟา (Demand Response) ครัง้ ที่ 1/2558” เพือ่ ใหเกิดการบริหารจัดการใชไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ และเสริมสรางความมัน่ คงใหกบั ระบบไฟฟาของประเทศ รวมทัง้ ทดสอบความพรอมของหนวยงานตางๆ ในชวง ที่มีเหตุการณการหยุดสงจายกาซธรรมชาติจากแหลง ยาดานาและแหลงซอติกา ในชวงเดือนเมษายน 2558 นี้


การรวมแถลงขาวโครงการความรวมมือการใชไฟฟา Demand Response โดยคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน จะมี การดํ า เนิ น โครงการ Demand Response ในชวงเวลา 4 วัน คือในวันที่ 10, 17, 18 และ 20 เมษายน 2558 โดยแบงเปน 3 ชวงเวลา คือ (1) 10.00 -12.00 น. [2 ชั่วโมง] (2) 14.00 -17.00 น. [3 ชั่วโมง] (3) 19.00 -22.00 น. [3 ชั่วโมง] โดยมีเปาหมายลดกําลังไฟฟารวม 500 MW โดยกลุม เปาหมาย คือ ผูใ ชไฟฟาประเภท 3, 4 และ 5 ทัว่ ประเทศ ทีม่ มี เิ ตอรทสี่ ามารถบันทึก การใชไฟฟาไดทกุ ๆ 15 นาที เชน มิเตอร AMR (Automatic Meter Reading) เปนตน และจะตอง เสนอลดการใชไฟฟาไมนอ ยกวา 100 kW ใน แตละชวงเวลา ซึง่ ในเบือ้ งตนจะมีการชดเชยให กับผูป ระกอบการทีเ่ ขารวมโครงการฯ ในอัตรา 3 บาทตอหนวย โดยมีเงื่อนไขการจายเงิน ชดเชย ดังนี้ (1) สวนตางพลังงานไฟฟาที่เกินกวา รอยละ 150 ของพลังไฟฟาที่เสนอลดจะไมถูกนํา มาคํานวณเงินชดเชย (2) สวนตางพลังงานไฟฟาทีต่ าํ่ กวา รอยละ 50 ของพลังไฟฟาที่เสนอลดจะไมถูกนํามา คํานวณเงินชดเชย

โครงการดังกลาวเปดรับสมัครผูประกอบการเขารวมโครงการฯ ไปเมื่อชวงเดือนมีนาคม ซึ่งหนวยงานที่รับหนาที่เปนผูเชิญชวนและรับสมัครผูเขารวมโครงการ คือ การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมภิ าค และการไฟฟานครหลวง โดยผูป ระกอบการรายใดสนใจ สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.erc.or.th หรือ สอบถามเพิ่มเติมไดที่ สํานักงาน คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน โทร. 0-2207-3599

“ตองพูดกันตรง ๆ วาโครงการความรวมมือลดการใชไฟฟา (Demand Response) ลักษณะนี้ คงตองมีอีกเปนระยะๆ หากประเทศไทยยังคงพึ่งพากาซธรรมชาติเปนหลักในการผลิตไฟฟา ในขณะที่ ป ริ ม าณก า ซธรรมชาติ ไ ม เ พี ย งพอต อ การใช แ ละลดน อ ยลงทุ ก ที ถึ ง เวลาแล ว ที่ ประเทศไทยจําเปนตองเพิม่ สัดสวนของเชือ้ เพลิงอืน่ ทีม่ ศี กั ยภาพในการผลิตไฟฟา เชน เทคโนโลยี ถานหินสะอาด (Clean Coal Technology) เปนตน”

ผูแ ทนจากสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยหารือกับผูแ ทนจากสํานักงาน กกพ. April2015 2015 65PB April


Greenhouse Gas Management

คุณศุภณัฐ โชติวิทยธารากร นักวิชาการ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

“ข้อตกลงโลกร้อนฉบับใหม่”

จะมีรปู แบบทางกฎหมายอย่างไร : สิง่ ทีป่ ระเทศไทยจะต้องค�านึงถึง แม้จะผ่านไปกว่า 3 ปีแล้วก็ตาม ตั้งแต่มีข้อ ตัดสินใจ (Decision) ของที่ประชุมสมัชชารัฐ ภาคีอนุสญ ั ญาโลกร้อน (UNFCCC) สมัยที่ 17 (COP 17) ณ เมืองเดอร์บนั ประเทศแอฟริกาใต้ ใน ปี ค.ศ. 2011 ทีน่ านาประเทศตกลงเดินหน้า เจรจาภายใต้คณะท�างานเฉพาะกิจ Durban Platform ว่าด้วยการเพิ่มระดับการลดก๊าซ เรือนกระจกและการปรับตัว (หรือที่เรียกว่า คณะท�างาน ADP) เพือ่ รับรองข้อตกลงโลกร้อน ฉบับใหม่ ใน ปี ค.ศ. 2015 อย่างไรก็ตาม จนกระทั่ ง ถึ ง ปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ มี ข ้ อ สรุ ป ว่ า “ข้อตกลงฉบับใหม่” นี้จะมีรูปแบบทาง กฎหมาย (legal form) อย่างไร โดยสมัชชารัฐภาคีมีข้อตัดสินใจเปิดทางเลือกส�าหรับรูปแบบทางกฎหมายให้กับรัฐภาคี ในการเจรจาทั้งหมด 3 ทางเลือก คือ (1) พิธีสาร (a protocol) (2) ตราสารกฎหมาย ย่างเข้าสู่เดือนที่ร้อนที่สุดแห่งปี พร้อมด้วย (another legal instrument) และ (3) ข้อตกลงที่มีผลทางกฎหมาย (an agreed outcome สภาพอากาศเช่นนี้ ผมเชื่อว่า เรื่องโลกร้อน with legal force) จากการวิเคราะห์ทางเลือกทั้ง 3 นี้ จะพบว่า

ได้กลายเป็นประเด็นพูดคุยของหลายท่านอยู่ ไม่นอ้ ย หลายท่านอาจ “อุน่ ใจ” ขึน้ เมือ่ ทราบว่า วาระการรับรอง “ข้อตกลงโลกร้อนฉบับใหม่” (ส�าหรับใช้หลัง ปี ค.ศ. 2020) ซึง่ นานาประเทศ จะต้องตกลงยกระดับความร่วมมือเพื่อต่อสู้ กับวิกฤติโลกร้อนอย่างจริงจังมากยิ่งขึ้นนั้น ใกล้ เ ข้ า มาทุ ก ที แ ล้ ว ประเด็ น ส� า คั ญ หนึ่ ง ที่ จะน�าไปสู่ความมีประสิทธิภาพของข้อตกลง ฉบับใหม่นี้ คงหนีไม่พน้ “รูปแบบทางกฎหมาย” ของข้อตกลง ซึ่งจะมีผลผูกพันประเทศต่าง ๆ รวมถึงประเทศไทย ในการด�าเนินการแก้ไข ปัญหาโลกร้อน

ทางเลือกที่ 1 เปิดโอกาสให้ขอ้ ตกลงฉบับใหม่ อาจมีรปู แบบเป็น พิธสี าร (Protocol) ซึง่ คือ สนธิสญ ั ญาทีเ่ สริมหรือขยายความอนุสญ ั ญาฯ โดยการก�าหนดรายละเอียดทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ ว่าประเทศที่ผูกพันกับพิธีสารจะต้องมีพันธกรณีด�าเนินการอย่างไร ตัวอย่างคือ พิธีสาร เกียวโต (Kyoto Protocol) ที่เราคุ้นหูกันดี ซึ่งออกมาเพื่อเสริมอนุสัญญา UNFCCC ด้วย การก�าหนด “เป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจก” อย่างชัดเจนส�าหรับประเทศพัฒนาแล้ว ทางเลือกที่ 2 เปิดโอกาสส�าหรับรูปแบบทางกฎหมายที่หลากหลายยิ่งขึ้น โดยแทนที่จะ เป็นพิธีสาร “ข้อตกลงฉบับใหม่” อาจมีลักษณะเป็น “ตราสารกฎหมาย” รูปแบบอื่น (another legal instrument) คือ ข้อแก้ไขอนุสัญญาเดิม (Amendment) หรือ ข้อตกลง รับรองภาคผนวก (Annex) ใหม่ หรือแม้กระทั่งข้อแก้ไขภาคผนวกเดิม

ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเลือก 1 หรือ 2 ก็ตาม สิ่งที่ส�าคัญก็คือ “ข้อตกลงฉบับใหม่” นี้ จะมีผลผูกพันทางกฎหมาย (legally binding) กับประเทศภาคีที่แสดงเจตนาเข้าผูกพัน ส�าหรับฉบับนี้ในฐานะนักกฎหมาย ผมจึงขอ หรือตามกระบวนการที่วางไว้ในอนุสัญญาฯ อย่างไรก็ตาม ความไม่ชัดเจนในรูปแบบเริ่ม เล่าสู่กันฟังถึงรูปแบบทางกฎหมายที่เป็นไปได้ เกิดขึน้ เมือ่ มาสู่ ทางเลือกที่ 3 ซึง่ ดูจะเป็นรูปแบบทางกฎหมายทีม่ คี วามยืดหยุน่ มากทีส่ ดุ ของข้ อ ตกลงโลกร้ อ นฉบั บ ใหม่ แ ละสิ่ ง ที่ คือ “agreed outcome with legal force” ทางเลือกนี้สร้างข้อถกเถียงทางกฎหมายอยู่ ประเทศไทยเราจะต้องค�านึงถึง ไม่น้อย โดยเฉพาะประเด็นที่ว่า ข้อตัดสินใจของที่ประชุมสมัชชารัฐภาคี (COP Decision) จะถือว่ามีผลทางกฎหมายเพียงพอที่จะเข้าข่ายทางเลือกนี้หรือไม่ ซึ่งโดยหลักการแล้ว ข้ อ ตั ด สิ น ใจของที่ ป ระชุ ม เป็ น เพี ย งความตกลงทางการเมื อ งที่ ไ ม่ ไ ด้ มี ผ ลผู ก พั น ทาง

PB66

April April2015 2015


Special report

ภาพประกอบ : ภาพการประชุมบน โดย Jan Golinski/UNFCCC จาก theguardian.com ; ภาพการประชุมลาง จาก unfccc.int ; ภาพไรนา โดย Takwaway จาก en.wikipedia.org ; ภาพกรุงเทพ โดย Roshina Jowaheer จาก travel.aol.co.uk

กฎหมาย หรื อ ที่ นั ก กฎหมายมั ก เรี ย กว า “soft law” ดวยเหตุนี้ ทางเลือกที่ 3 จึงเปด โอกาสสําหรับ “ขอตกลง” ทีอ่ าจมี “ผลทาง กฎหมาย” ในระดับที่ตํ่ากวาทางเลือกที่ 1 และ 2 อยางไรก็ตาม ผมขอใหขอ สังเกตวา การพิจารณา “ผลทางกฎหมาย” จะพิจารณาจากรูปแบบ ของขอตกลงเพียงอยางเดียวคงไมได แตจะ ตองพิจารณาไปพรอมกันกับลักษณะของ ขอความในขอตกลง ทีก่ ลาวถึงความรับผิดชอบ ของแตละประเทศ รวมถึงลักษณะของกลไก การบังคับใชกฎหมาย ทั้งนี้เพราะ “ขอตกลง” ที่แมจะมีรูปแบบที่ มีผลผูกพันทางกฎหมาย แตหากขาดความ ชัดเจนในเนื้อหาความรับผิดชอบ หรือขาด กลไกการบังคับใชกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ ในความเปนจริงแลว ก็อาจไมแตกตางไปจาก ความตกลงทางการเมื อ งที่ ไ ม มี ผ ลผู ก พั น ทางกฎหมายฉบับหนึ่ง

ถึงจุดนี้หลายทานคงพอเขาใจมากขึ้นแลวถึงรูปแบบทางกฎหมายที่มีความเปนไปไดของ ขอตกลงโลกรอนฉบับใหม และหลายทานอาจมีคาํ ถามวา แลวรูปแบบไหน จึงเปนรูปแบบ ที่มีความเหมาะสม โดยเฉพาะสําหรับประเทศไทย ซึ่งในการตอบคําถามนี้ คงหลีกเลี่ยง ไมไดที่จะตองพิจารณารูปแบบทางกฎหมายควบคูไปกับเนื้อหาของขอตกลง เนื่องจาก ประเทศไทยเปนประเทศกําลังพัฒนาประเทศหนึ่ง ที่ยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนา เพื่อความมั่งคงทางเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการขจัดความยากจน ดังนั้น ไมวา “ขอตกลงโลกรอนฉบับใหม” จะมีผลผูกพันทางกฎหมายในระดับใด ขอตกลงดังกลาวจะตองไมเปนการจํากัดสิทธิของประเทศไทยในการพัฒนาประเทศ บนพืน้ ฐานของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน โดยรูปแบบและองคประกอบทางกฎหมายของขอตกลง ควรมีความยืดหยุนเพียงพอ ที่เปดโอกาสใหประเทศกําลังพัฒนาตัดสินใจดําเนินการตาม ความเหมาะสมของพฤติการณในแตละประเทศและมีสมดุลระหวางองคประกอบของ ขอตกลง กลาวคือ มิใชเพียงความรับผิดชอบในการลดกาซเรือนกระจก (mitigation) แตรวมถึงการใหการชวยเหลือและสนับสนุนในการดําเนินการดังกลาวโดยประเทศพัฒนาแลว จะตองมีระดับความผูกพันทางกฎหมายในลักษณะเดียวกัน เพื่อความเปนธรรมและบน พื้นฐานของความรับผิดชอบรวมที่แตกตางกัน สุดทายนี้ ไมวา “ขอตกลงโลกรอนฉบับใหม” จะออกมาในรูปแบบใด คงตองรอติดตาม ดูกันตอไป อยางไรก็ตาม สิ่งที่ผมเห็นวามีความชัดเจนแลว ก็คือ ประเทศไทยเราจะตอง เตรียมความพรอมสําหรับความรับผิดชอบดําเนินงานตอสูก บั ปญหาโลกรอนทีจ่ ะมีมากขึน้ ในอนาคตอยางแนนอน ไมวา จะเปนเรือ่ งนโยบาย กฎหมาย หรือระบบตาง ๆ เพือ่ รองรับ กฎกติการะหวางประเทศที่จะเกิดขึ้นใหมนี้ April April2015 2015 67PB


Green Building นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

บัววัฒนา รีสอรท

บานตนไม ดึงธรรมชาติลดพลังงาน

º¹¤ÇÒÁËÃÙ Ë ÃҢͧâçáÃÁáÅÐÃÕ Ê Íà · ᵋÅÐáË‹§¹Ñ้¹µŒÍ§ãªŒ¾Åѧ§Ò¹à»š¹¨ํҹǹÁÒ¡ à¾×Í่ ª‹ÇÂàÊÃÔÁÊÌҧºÃÃÂÒ¡ÒÈãËŒÊÁºÙó Ẻ ´ŒÇ¡ÒûÃдѺËÅÍ´ â¤Áä¿ÍѹÊÇÂËÃÙ ¾ÃŒÍÁ·Ñ้§µÔ´µÑ้§à¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈ ÊÔ่§ÍํҹǠ¤ÇÒÁÊдǡʺÒµ‹Ò§ æ ãËŒ¡ºÑ ¼ÙÁŒ Ҿѡ¼‹Í¹ àÃÕ Â ¡ä´Œ Ç ‹ Ò àº×้ Í §ËÅÑ § ¢Í§¤ÇÒÁÊØ ¢ ʺÒ·Õ่ ¸Ø à ¡Ô ¨ âçáÃÁÁÕ ã ËŒ ¡Ñ º ᢡ¼Ù Œ Á Ò¾Ñ ¡ ¼‹ Í ¹¹Ñ้ ¹ µŒ Í §ãªŒ µ Œ ¹ ·Ø ¹ ´Œ Ò ¹¾ÅÑ § §Ò¹Í‹ Ò §ÁÒ¡ ¨Ò¡»˜¨¨Ñ´ѧ¡Å‹ÒÇâçáÃÁ ÃÕÊÍà ·ËÅÒÂáË‹§ ä´Œ µ ÃÐË¹Ñ ¡ ¶Ö § ¤ÇÒÁÊํ Ò ¤Ñ Þ ¢Í§¾ÅÑ § §Ò¹ ¨Ö § ä´Œ » ÃÑ º à»ÅÕ่  ¹ÁÒ㪌 à ·¤â¹âÅÂÕ » ÃÐËÂÑ ´ ¾ÅÑ § §Ò¹áÅйํ Ò àÍÒ¸ÃÃÁªÒµÔ ÊÔ่ § áÇ´ÅŒ Í Á ÁÒ໚ ¹ Ê‹ Ç ¹Ë¹Ö่ § ¢Í§¡ÒÃà¾Ô่ Á »ÃÐÊÔ · ¸Ô À Ò¾ Å´µŒ¹·Ø¹´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ à¾×่͵ͺÃѺ¡ÃÐáÊ Í¹Ø ÃÑ ¡ É ¾ ÅÑ § §Ò¹ÊÙ ‹ ¡ ÒÃÊÃŒ Ò §¤ÇÒÁÂÑ่ § Â× ¹ ãËŒ ¡Ñº¸ØáԨÃÕÊÍà ·

PB 68

2015 AprilApril 2015

สําหรับเรื่องราวของที่พักที่อยูอาศัยประหยัดพลังงานในเลมนี้เราเดินทางไป เยี่ยมชม บัววัฒนา รีสรอท ณ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เรียกไดวา เปนรีสอรทอันดับแรกๆ ที่กอตั้งขึ้นในอําเภอสวนผึ้ง เดิมทีเคยเปนเหมืองแร ภายหลังจากเลิกทําธุรกิจเหมืองก็ไดพัฒนาเริ่มตนที่เคยเปนรีสอรทกระตอบ ไม ไ ผ 3 หลั ง เล็ ก ๆ แล ว เปลี่ ยนมาเปนบา นปกไม ที่นํา วัสดุเหลือ ใชจาก ธรรมชาติมาทําบานพัก ขอนไม เศษไมเหลือทิ้ง หินธรรมชาติ มาสรางเปน บานพัก อยางไรก็ตามจากระยะเวลาผานไป 10 ปสวนผึ้งเกิดความเปลี่ยนแปลง เริ่มมีรีสอรทเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะรีสอรท ทะเลเมดิเตอรเรเนียนแนวบูติค จึงทําให บัววัฒนา รีสอรท กลายเปนรีสอรทเกาไมทันสมัย และกําลังจะ ขาดทุนในชวงสวนผึ้งเริ่มไดรับความนิยม จากที่เคยเปนรีสอรทแนวคันทรีธรรมดาไดปรับปรุงใหเปนรีสอรทแนวคันทรี ที่มีความแปลกใหม รวมสมัย โดยการสรางบานพักขึ้นมาใหม เริ่มจากบาน ตนไม บานรังนก บานตนตอกอรัก บานตนนํ้า ตนนํ้าเอย บานโรงนา ที่ยังเนน วั สดุ ธรรมชาติ เ หลื อใช มาสร างเป น บ านพัก เชน บา นโรงนา นํา ไมเกา จาก ฟาร ม เลี้ ย งแกะมาสร า งเป น บ า นพั ก ให ไ ด ก ลิ่ น อายแบบฟาร ม แกะในสไตล คันทรีใหเกิดความรวมสมัย แตยังคงเอกลักษณความรมรื่นของตนไมนอยใหญ ที่ลอมรอบรีสอรท ซึ่งจากการนําวัสดุที่สวนใหญเปนของเหลือใชมาสรางบาน ประกอบกับพื้นที่มีตนไมลอมรอบจึงเปนสวนหนึ่งที่ชวยในการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอมในเบื้องตน


ส่วนบ้านพักหลังเก่าก็ได้ปรับปรุงตกแต่งให้เกิดความร่วมสมัยเช่นเดียวกัน ด้ ว ยการเติ ม แต่ ง สี สั น ภายในห้ อ งให้ ดู ส ดใส มี ก ลิ่ น อายของศิ ล ปะ สร้างความโดดเด่นของห้องพัก แล้วตกแต่งด้วยเฟอร์นิเจอร์สไตล์กิ๊บเก๋ ด้วยความแปลกใหม่นั้นช่วยให้ได้ลูกค้าเข้ามาพักเพิ่มขึ้นจากที่ก�าลังจะ ปิดบริการกลับกลายเป็นก่อให้เกิดก�าไรมากยิ่งขึ้น ส�าหรับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมนั้นรีสอร์ทแห่งนี้ นอกจาก การน�าวัสดุเหลือใช้มาสร้างเป็นบ้านพักแล้วยังได้น�าวิธีอนุรักษ์พลังงาน แบบอื่นมาประยุกต์ใช้ภายในรีสอร์ทด้วย เช่น การปรับเปลี่ยนมาใช้ หลอดแอลอีดี ทดแทนการใช้หลอดตะเกียบ การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ประหยัด ไฟเบอร์ 5 ไม่ ว ่ า จะเป็ น เครื่ อ งปรั บ อากาศเบอร์ 5 ระบบ เซ็นเซอร์แสงสว่าง พร้อมกันนี้ยังได้น�าหญ้าคามาปูทับบนหลังคาบ้านพักอีกชั้นซึ่งลดการน�า ความร้อนเข้าสู่ตัวอาคารได้เป็นอย่างดี ช่วยลดการท�างานของเครื่องปรับอากาศ และยัง ช่วยให้เกิดความกลมกลืนกับธรรมชาติได้อกี ด้วย นอกจากนีอ้ กี สิง่ หนึง่ ทีช่ ว่ ยให้รสี อร์ทแห่งนี้ ประหยัดพลังงาน คือ การน�าน�้าที่ต่อตรงจากต้นน�้าล�าธารหรือประปาภูเขาน�ามาเก็บไว้ แทงค์น�้าเพื่อใช้ ซึ่งไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายในการซื้อน�้าจากการประปาอีกด้วย

พร้อมกันนี้ บัววัฒนา รีสอร์ท ยังได้มีการ คัดแยกขยะเพื่อน�าไปรีไซเคิลและจ�าหน่าย ไม่ว่าจะเป็น กระดาษ พลาสติก ขวด โดยให้ พนักงานน�าจ�าหน่ายยังร้านรับซื้อของเก่า ส่วนรายได้กจ็ ะให้มเี งินสวัสดิการของพนักงาน ส่วนขยะทีเ่ ป็นเศษอาหารเปลือกผลไม้ตา่ ง ๆ ทีน่ เี่ ขาได้นา� ไปท�าเป็นปุย๋ ชีวภาพใบไม้กิ่งไม้ น� า ไปหมักเพื่อเป็นปุ๋ย หมักใช้เป็นอาหาร ส�าหรับต้นไม้ในรีสอร์ท พร้อมกันนีใ้ นอนาคต ยังมีแนวคิดปลูกพืชผักสวนครัวออแกนิกส์ และไม้ดอกไม้ประดับไว้จ�าหน่ายและเป็น ส่วนหนึ่งของกิจกรรมที่ให้ผู้เข้ามาพักผ่อน สามารถเก็บผักน�ามาประกอบอาหารด้วย ตนเอง และการบ�าบัดน�า้ เป็นอีกแนวทางหนึง่ ของรี ส รอ์ ท แห่ ง นี้ ใ นการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน และสิ่งแวดล้อม โดยได้ท�าการบ�าบัดน�้าที่ ผ่ า นการใช้ ง านแล้ ว น� า กลั บ มาใช้ ส� า หรั บ รดน�้าต้นไม้ ซึ่งช่วยประหยัดพลังงานน�้า และค่าใช้จ่ายได้อีกทางหนึ่ง April2015 2015 69PB April


Green Building นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

อย่างไรก็ตามสิ่งส�าคัญของการประหยัดพลังงานนอกจากปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีประหยัด พลังงาน การดึงเอาธรรมชาติมาช่วยในการลดใช้พลังงานแล้วการปรับเปลี่ยนจิตส�านึกของ คนก็เป็นส่วนส�าคัญ ซึ่งบัววัฒนา รีสอร์ท ยังได้สร้างจิตส�านึกให้พนักงานในการเปิด – ปิด ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง รวมถึงตรวจเช็คระบบ น�้า แอร์ เป็นประจ�า หากเกิดการช�ารุดของ ระบบก็จะด�าเนินการซ่อมป้องกันการรั่วซึมของน�้า และแอร์

C

M

Y

CM

MY

CY

ทั้งนี้ ผู้ที่ต้องการสถานที่พักผ่อนที่รอบล้อมด้วยธรรมชาตินั้น บัววัฒนา รีสอร์ท มีบ้านพัก ไว้รองรับทั้งหมด 27 ห้องรองรับผู้ที่ต้องการความเงียบสงบ และเพื่อให้ผู้มาเยือนเต็มอิ่ม กับการพักผ่อน ที่นี่ยังได้จัดให้มีโซนแคมป์ปิ้ง ลานกางเต็นท์ เฉพาะช่วงฤดูหนาว และทุก วันเสาร์จะมีการฉายหนังกลางแปลงให้ผู้มาพักผ่อนได้ดู และจุดเด่นที่ส�าคัญของรีสอร์ท แห่งนีท้ ลี่ กู ค้าเข้ามาพักผ่อนรวมถึงลูกค้าสรรจรไม่พลาดคือ ร้านกาแฟของ บัววัฒนา ทีต่ กแต่ง ในสไตล์ วิ น เทจ เป็ น มุ มจิ บกาแฟที่ สร้ างความอบอุ่น หลังจากจิบ กาแฟแล้วผู้มาเยือ น ยั ง เลื อกถ่ ายภาพตามมุ มต่ าง ๆ ที่ ทางร้ านจั ด ไว้ ให้ เพื่อ สร้า งเรื่อ งเล่า ให้กับ ผู้มาพัก พร้อมกันนี้ยังมีมุมนั่งเล่นใต้สะพาน มุมเล่นน�้าในล�าธารอีกด้วย

70

April 2015

CMY

K


April 2015 PB


Green Industrial

อภัอภั สรา สราวัลวัลิลภลิผล ภผล

อนุรักษ์พลังงาน ใส่ใจสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นอุตสาหกรรมสีเขียว

การจัดการระบบโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียวนั้น ในปัจจุบนั จะเห็นได้วา่ มีบรรดาโรงงานอุตสาหกรรม ทุกสาขาหันมาให้ความสนใจกันมากขึ้น ไม่เว้น แม้แต่ “บริษัท วีนิไทย จ�ากัด (มหาชน)” ซึ่งเป็น อีกหนึ่งโรงงานอุตสาหกรรมที่ให้ความส�าคัญและ ใสใจในเรื่องของสิ่งแวดล้อมและพลังงาน และเมื่อ เร็ว ๆ นี้ทางบริษัท วีนิไทย จ�ากัด (มหาชน) ยังได้ เข้ า ร่ ว มโครงการน� า ร่ อ งระบบการซื้ อ ขายใบ อนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจของ ประเทศไทย เพื่อร่วมทดสอบระบบการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Measurement, Reporting and Verification System หรือ ระบบ MRV) และพัฒนากฎการ ด� า เนิ น งานส� า หรั บ ระบบการซื้ อ ขายใบอนุ ญ าต ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกภาคสมั ค รใจของ ประเทศไทย เพื่ อ ให้ มี ค วามเหมาะสมกั บ บริ บ ท ของอุตสาหกรรมในประเทศอีกด้วย

“บริษทั วีนไิ ทย จ�ำกัด (มหำชน)” จัดตัง้ ขึน้ โดย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ประกอบธุรกิจเป็นผูผ้ ลิต และจ�ำหน่ำย ผลิตภัณฑ์ผงพลำสติกพีวีซีและโซดำไฟ ทั้งยังเป็นผู้ผลิตในกลุ่มอุตสำหกรรม ปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่อง โดยจัดจ�ำหน่ำยให้แก่ผู้ประกอบกำรที่ต้องกำรน�ำผงพลำสติกพีวีซี ไปใช้ ใ นกำรแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส� ำ เร็ จ รู ป ในกลุ ่ ม อุ ต สำหกรรมปิ โ ตรเคมี ขั้ น ปลำย บริษัทฯ มีรำยได้หลักจำกกำรผลิตและจ�ำหน่ำยผงพลำสติกพีวีซี ภำยใต้เครื่องหมำยกำรค้ำ “SIAMVIC®” วีซีเอ็ม และมีรำยได้จำกผลิตภัณฑ์ร่วมคือ โซดำไฟ วีนิไทยมีบริษัทย่อย อยูด่ ว้ ยกันสำมบริษทั ดังนี้ บริษทั แอดวำนซ์ ไบโอเคมิคอล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ประกอบ กิ จ กำรเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ ำ ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ อี พิ ค ลอโรไฮดริ น (Epichlorohydrin) ภำยใต้

7272

April April2015 2015

เครื่องหมำยกำรค้ำ “Epicerol®” ซึ่งเป็น สำรเคมีหลักในกำรน�ำไปใช้ผลิต “อีพ็อกซี เรซิน (Epoxy Resin)” โดยใช้เทคโนโลยีที่ เรียกว่ำ อีพิเซอรอล โดยมีวัตถุดิบหลักที่ ใช้ในกำรผลิต คือ กลีเซอรีน คลอรีนและ โซดำไฟ โดยกลีเซอรีนนั้นเป็นวัตถุดิบที่ได้ จำกธรรมชำติที่จัดหำมำจำกในประเทศและ ต่ ำงประเทศ แต่ในส่วนของคลอรีนและ โซดำไฟนัน้ มำจำกบริษทั วีนไิ ทย จ�ำกัด (มหำชน) นอกจำกนี้บริษัท โซลเวย์ ไบโอเคมิคอลส์ (ไทชิง) จ�ำกัด ยังเป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ที่ประเทศสำธำรณรัฐประชำชนจีน ในฐำนะ บริษัทย่อยของบริษัทฯ โดยมีธุรกิจหลักคือ ผลิตและจ�ำหน่ำยเคมีภณ ั ฑ์ อันได้แก่ ผลิตภัณฑ์ อีพิคลอโรไฮดริน ซึ่งบริษทั ฯ ถือหุน้ สำมัญ ในบริษัท โซลเวย์ ไบโอเคมิคอลส์ (ไทซิง) จ�ำกัด โดยผ่ำนบริษัท วีนิไทย โฮลดิ้ง จ�ำกัด คิดเป็นสัดส่วนกำรถือหุน้ ร้อยละ 100 บริษทั โซลเวย์ ไบโอเคมิคอลส์ (ไทซิง) จ�ำ กัด มีส�ำนักงำนใหญ่ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 ถนนฟู่ไท เขตพัฒนำเศรษฐกิจไทซิง มณฑลเจียงซู สำธำรณรัฐประชำชนจีน


ดร.ศุภชาติ ชัยรัตนถาวร ผู้จัดการฝ่าย ตรวจสอบภายใน ฝ่ายตรวจสอบภายใน และพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพธุ กิ จ บริษัท วีนิไทย จ�ากัด (มหาชน) กล่าวถึง วิสัยทัศน์ของบริษัทฯ ด้านสิ่งแวดล้อมว่า การพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในด้ า นระบบ คุณภาพความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิ่งแวดล้อมนั้น เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีการก�าหนด เป้าหมายผลการด�าเนินงานที่ต้องการและ ท้าทายความสามารถส�าหรับด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อม และเพื่ อ ให้ ก ารด� า เนิ น งานด้ า นดั ง กล่ า ว ครบถ้ ว นและสอดคล้ อ งกั บ โครงการ “ดูแลด้วยความรับผิดชอบ” ซึง่ เป็นแนวทาง การจั ด การที่ น านาชาติ ใ ห้ ก ารยอมรั บ ในขณะเดี ย วกั น การเอาใจใส่ อ ย่ า งจริ ง จั ง ของระดั บ บริ ห ารและการมี ส ่ ว นร่ ว มของ พนั ก งานในทุ ก ระดับถือเป็น กุญแจส�าคัญ ส� า หรั บ ความส� าเร็จของเรา ทางบริษัท ฯ มี ที ม งานที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น จึงท�าให้มีความปลอดภัยเราให้ความส�าคัญ กั บ คนในองค์ กร รวมไปถึง ชุมชนที่อาศัย อยู่รอบ ๆ โรงงานด้วย เรามีมาตรฐานการ จัดการด้านสิ่งแวดล้อมในระดับสูงสุดท�าให้ เรามีความมั่นใจว่าโรงงานของเราไม่มีการ ท�าลายสิ่งแวดล้อมแน่นอน ด้าน คุณชัยวัฒน์ พุทธานันทเดช ผู้จัดการ แผนกพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพธุ ร กิ จ ฝ่ายตรวจสอบภายในและพัฒนาปรับปรุง ประสิทธิภาพธุกิจ บริษัท วีนิไทย จ�ากัด (มหาชน) ร่วมกันกล่าวถึงการจัดการด้าน พลังงานและสิ่งแวดล้อมของโรงงานบริษัท วีนไิ ทย จ�ากัด (มหาชน) เผยถึงนวัตกรรมและ การบริหารจัดการพลังงานของบริษัทฯ ว่า เป็นเวลาหลายปีที่วีนิไทยมีความมุ่งมั่นที่จะ สร้ า งสรรค์ น วั ต กรรมโดยให้ ค วามส� า คั ญ อย่างยิง่ ในด้าน อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งในด้านสิ่งแวดล้อมนั้น บริษัทฯ ได้ก�าหนดหลักการที่จะปรับปรุง และปกป้ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

(ซ้าย) คุณศุภชาติ ชัยรัตนถาวร, (ขวา) คุณชัยวัฒน์ พุทธานันทเดช

โดยการลดของเสียและลดการปล่อยของเสียสูบ่ รรยากาศ น�า้ และดิน ในขณะเดียวกัน บริษทั ฯ ยังได้สนับสนุนหลักการใช้ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรพลังงานอย่างประหยัด โดยใช้หลัก ลีน ซิกซ์ ซิกม่า (Lean Six Sigma) มาตรการอนุรักษ์พลังงาน (Solwatt) และการ พัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ในส่วน ลีน ซิกซ์ ซิกม่า (Lean Six Sigma) นั้นเป็นการลดขั้นตอนการท�างาน ขจัดความ สูญเปล่า การแก้ปัญหาในกระบวนการต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน เริ่มตั้งแต่การก�าหนด ปัญหา ล�าดับความส�าคัญของปัญหา การเก็บข้อมูล วิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้หลักสถิติ บริษทั ฯ ได้มกี ารค้นหามาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน เรียกว่า โซลวัตต์ (Solwatt) โดยมีผู้จัดการ ฝ่ายวิศวกร และพนักงานระดับปฏิบัติการ ของโรงงาน ได้ระดมสมองกันคิดค้นแนวทางการ ประหยัดพลังงาน

April April2015 2015 7373


Green Industrial อภัสรา วัลลิภผล

นอกจากนีท้ างบริษทั ฯ ยังมีการจัดการเพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ดว้ ยเทคโนโลยี RFID ซึ่งทางโรงงานมีรถขนส่งวิ่งเข้าออกโรงงานเป็นร้อยๆ คันต่อวัน เพื่อป้อนวัตถุดิบให้ กับโรงงาน และขนผลิตภัณฑ์ผงพลาสติกพีวีซี โซดาไฟ และอีพิคลอโรไฮดริน โดยยังคง คุณภาพตลอดหลังออกจากโรงงานเพื่อส่งให้ลูกค้าทั่วประเทศ หากไม่มีการบริหารจัดการ ระบบโลจิสติกส์ที่ดี อาจท�าให้เกิดความล่าช้าและเสียหายได้ จึงต้องมองหาเทคโนโลยีที่จะ มาช่วยท�าให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว และลดความผิดพลาดในกระบวนการขนส่งสารเคมี ทางรถ ดังนั้น เทคโนโลยีการระบุวัตถุผ่านคลื่นวิทยุ (Radio Frequency Identification: RFID) จึงถูกน�ามาใช้ในการจัดการ และยังได้พัฒนาซอฟต์แวร์ระบบจัดการคิวรถขนส่งหรือ QMS ซึ่งประสานข้อมูลเข้ากับซอฟต์แวร์บริหารจัดการข้อมูล SAP ของวีนิไทย เพื่อจัดการคลัง วัตถุดิบ คลังสินค้า รวมถึงการรายงานยอดขาย โดยกระบวนการโลจิสติกส์ทางรถขนส่งเริ่ม ขึ้นโดยการที่ฝ่ายงานโลจิสติกส์ของวีนิไทยท�าการประกาศรับจองคิวการวิ่งรถไปยังบริษัท ขนส่งแต่ละรายผ่านทางหน้าเว็บของระบบ QMS ล่วงหน้า 1 วัน เมื่อถึงก�าหนดเวลาคิวที่ จองไว้ พนักงานขับรถขนส่งจะน�ารถมาจอดที่ด่านชั่งน�้าหนัก และแตะ “บัตรประจ�ารถ” ที่เครื่องอ่าน RFID ซึ่งท�าให้ระบบ QMS รับรู้ว่ารถคันนั้นมาจากบริษัทขนส่งรายใด มาส่ง หรือมารับสารเคมีประเภทใด และน�้าหนักถูกต้องหรือไม่ จากนั้นเครื่องอ่าน RFID จะพิมพ์ เอกสารที่ใช้ในขั้นตอนขนถ่ายสินค้า (loading slip) เมื่อรถขนส่งท�าการถ่ายสินค้าเรียบร้อย แล้วจะวิ่งกลับมาผ่านด่านชั่งน�้าหนักอีกครั้งเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของประเภทและ ปริมาณสินค้า จากนั้นระบบ QMS จะท�าการประสานข้อมูลกับระบบ SAP เพื่อตัดยอด สินค้าออกจากคลังสินค้า พร้อมออกใบส่งสินค้าให้พนักงานขับรถ

PB74

April April2015 2015

เทคโนโลยี RFID ช่วยลดเวลาการด�าเนิน งานที่ด่านชั่งน�้าหนักเหลือเพียง 30 วินาที จากเดิม 3-5 นาทีต่อคัน เทคโนโลยีนี้จึง ช่ ว ยรองรั บ การขยายตั ว ของธุ ร กิ จ วี นิ ไ ทย ในอนาคต และยังท�าให้ระบบการบริหาร จัดการคลังสินค้าถูกต้องแม่นย�า บริษัทฯ ไม่ ต้องเสียค่าใช้จ่ายลงทุนเพื่อสร้างด่านชั่งน�้า หนักเพิ่มเติม รวมถึงช่วยผู้ขนส่งประหยัด เวลาและพลังงานที่ไม่ต้องเข้าคิวรอในการ ด�าเนินการด้านโลจิสติกส์ด้วย


Open House อภัสรา วัลลิภผล

เปดบาน

ผูเชี่ยวชาญดาน Panel Builder

Open house ©ºÑ º ¹Õ้ · Ò§¹Ô µ ÂÊÒà Energy saving ¨Ð¾Ò仾٠´ ¤Ø  ¡Ñ º ºÃÔ ÉÑ · ºÕ ·Õ ÍÕ ¨ํ Ò ¡Ñ ´ ¸Ø à ¡Ô ¨ ¢Í§¤¹ä·Â ¡‹ Í µÑ้ § ¢Ö้ ¹ ã¹»‚ ¾.È. 2539 µÑ้§ÍÂÙ‹·Õ่ÍÒ¤ÒúշÕÍÕ àÅ¢·Õ่ 21/2 ËÁÙ‹ 12 µ.ÅํÒÅÙ¡¡Ò Í.ÅํÒÅÙ¡¡Ò ¨.»·ØÁ¸Ò¹Õ ÂÍ´¢Ò»‚ 2557 ÁÕÁÙŤ‹Ò 360 ŌҹºÒ· ºÕ ·Õ ÍÕ à»š ¹ ºÃÔ ÉÑ · ªÑ้ ¹ ¹ํ Ò ·Õ่ ã ËŒ º ÃÔ ¡ Ò÷ҧ´Œ Ò ¹ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁâ´ÂÃÇÁÃкº·Ò§´Œ Ò ¹ÇÔ È Ç¡ÃÃÁ à¾×่ Í ãËŒ à ¡Ô ´ ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁ㹡ÒÃàÅ× Í ¡ ÇÑÊ´Ø ÍØ » ¡Ã³ (System Integrator) «Ö่§ÃÇÁ¶Ö §¡ÒÃÍ͡ẺáÅлÃСͺµÙ Œ ¤Çº¤Ø Á ·Õ่ ã ªŒ ã ¹¡Ãкǹ¡ÒüÅÔ µ ÊÔ ¹ ¤Œ Ò ¾ÃŒ Í Á·Ñ้ §µÔ ´ µÑ้ § ã¹ÅѡɳЧҹ Turnkey system ÊÔ¹¤ŒÒÊํÒ¤ÑÞ ä´Œá¡‹ LV switchboard, Motor Control áÅÐ Industrial Automation ˹ŒÒ·Õ่ËÅÑ¡ ¢Í§ºÃÔÉÑ·Ï ¤×Í ¡ÒÃÊÌҧÃкº¤Çº¤ØÁãËÁ‹áÅлÃѺ»Ãا Ãкº¤Çº¤ØÁà´ÔÁ à¾×่͵ͺʹͧ¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒâͧÅÙ¡¤ŒÒ¡ÅØ‹ÁÍصÊÒË¡ÃÃÁ â´ÂÁÕ “¤Ø³¸§ªÑ ÈÔÅÒ” ´ํÒçµํÒá˹‹§¼ÙŒÍํҹǡÒà ºÃÔÉÑ· ºÕ·ÕÍÕ ¨ํÒ¡Ñ´

ในส ว นด า นธุ ร กิ จ ทางบี ที อี ใ ห ค วามสํ า คั ญ สู ง สุ ด ต อ การสร า งความพอใจของลู ก ค า ดวยการนําเสนอสินคาที่มีคุณภาพและใหบริการที่เปนเลิศกับลูกคา ยึดมั่นจรรยาบรรณ ในการดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตยสุจริตอยางแนวแนในทุก ๆ ดาน สรางความเชื่อมั่นให แกลูกคาในการปกปองรักษาขอมูลที่เกี่ยวของกับธุรกิจลูกคา ภายใตมาตรฐาน จรรยาบรรณ แหงวิชาชีพ ดําเนินงานดวยความรับผิดชอบเยี่ยงผูเชี่ยวชาญในวิชาชีพและมุงมั่นที่จะบรรลุ ผลการดําเนินงานที่เปนเลิศ โดยการผสมผสานวิธีการและเทคโนโลยีใหม ๆ นอกจากนี้ ทางบีทีอียังนโยบายสุขภาพและความปลอดภัยไมวาเปนการปกปองสุขภาพและความ ปลอดภัยของพนักงานลูกคาและประชาชนและเพื่อดําเนินการกิจกรรมทั้งหมดในลักษณะที่ รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมอีกดวย

คุณธงชัย ศิลา

บีทีอี คือ ผูใหบริการประกอบตูไฟฟา หรือ Panel Builder ที่ทําหนาที่ออกแบบและ ประกอบตูควบคุมไฟฟาที่ใชในกระบวนการผลิตสินคา รวมทั้งติดตั้งในลักษณะงานแบบ turnkey โดยมีสินคาสําคัญ ไดแก แผงไฟฟาความดันกระแสไฟตํ่า (LV switchboard) ระบบ การควบคุมมอรเตอร (Motor Control) ตลอดจนระบบอัตโนมัติเพื่อการใชงานในภาค อุตสาหกรรม (Industrial Automation) โดยการผลิต บีทอี เี ลือกใชโซลูชนั่ Prisma จากชไนเดอร อิ เ ล็ ค ทริ ค ในการประกอบตู  จ  า ยไฟและตู  ค วมคุ ม ไฟฟ า เพื่ อ ตอบสนองลู ก ค า ทั้ ง ในกลุ  ม April April2015 2015 75PB


Open House อภัสรา วัลลิภผล

อุตสาหกรรม รวมถึงภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ เป็นหลัก เพือ่ ให้คณ ุ ภาพของสินค้าและบริการ เรามี ค วามใส่ ใจในการให้ บ ริ ก าร ดั ง นั้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี เ ราเลื อ กให้ ลู ก ค้ า ต้ อ งมี ทั้ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและไม่ ยุ ่ ง ยากในการผลิ ต ตู้จ่ายไฟฟ้า Prisma ของชไนเดอร์ นับเป็น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ต อบโจทย์ ค วามต้ อ งการ ระหว่างเรากับลูกค้าได้อย่างลงตัว

เหตุผลที่ทางบีทีอีเลือก Prisma ตู้จ่ายไฟของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เพราะเป็นตู้ไฟที่มี การออกแบบมาเพื่อให้ง่ายในการประกอบติดตั้ง และมีประสิทธิภาพในการใช้งานที่ดีเยี่ยม ใช้เวลาในการประกอบตู้เพียงไม่นาน มีความทนทานต่อแรงดันไฟฟ้าได้ดี ปลอดภัยและมี เสถียรภาพ ที่ส�าคัญได้รับมาตรฐานการผลิตจากชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศฝรั่งเศส และ มาตรฐาน IEC 61439 – 1 และ 2 ซึ่งเป็นข้อก�าหนดใหม่ส�าหรับการประกอบตู้คอนโทรล เกียร์ (controlgear) และตู้สวิตช์เกียร์แรงดันไฟฟ้าต�่า (Low-voltage switchgear) โดยระบุ ข้อก�าหนดด้านความปลอดภัยส�าหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับผู้วางแผนการผลิต (planners) วิศวกรระบบ ช่างไฟฟ้า ตลอดไปจนถึงผู้ใช้ปลายทาง เพื่อนิยามจุดประสงค์ด้านความ ปลอดภัยส�าหรับคนทั่วไป และโรงงานอุตสาหกรรม โดยพิจารณาถึงการติดตั้งด้านไฟฟ้า (electrical installations) เป็นหลัก ทั้งนี้ Prisma สามารถทนกระแสไฟฟ้าได้สูงถึง 4000 แอมป์, 85kA/1s ซึ่งจากเดิมที่ต้องใช้เวลาเกือบหนึ่งเดือนในการพัฒนาและประกอบตู้ไฟ เราสามารถลดเวลา การท�างานในการขึ้นตู้ลงมาที่ระยะเวลา 3-4 วัน และเสร็จสมบูรณ์ในเวลาเพียง 7-10 วัน ด้วยการเลือกใช้โซลูชั่น Prisma จากชไนเดอร์ อิเล็คทริค ซึ่งไม่เพียงช่วยให้สามารถส่งงาน ให้ลูกค้าได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น แต่ยังช่วยเพิ่มโอกาสทางธุรกิจในแง่การส่งผลิตภัณฑ์เข้าสู่ ตลาดได้เร็วยิ่งขึ้น บีทีอี ถือเป็นพันธมิตรธุรกิจที่แข็งแกร่งของชไนเดอร์ ที่มีความพร้อมในการให้บริการแก่ ลูกค้า ทั้งการออกแบบ การตรวจสอบคุณภาพ การจัดเก็บวัตถุดิบ และเครื่องมือการผลิต บีทีอี ได้รับการรับรองให้เป็นผู้ประกอบตู้ Type Test รุ่น Prisma iPM ของชไนเดอร์อย่าง เป็นทางการในปี พ.ศ.2555 และพร้อมให้บริการออกแบบตู้ไฟฟ้าส�าหรับงานอุตสาหกรรม และงานอาคารตามมาตรฐาน IEC61439-1 และ 2 ซึ่งผลิตผลิตภัณฑ์ Prisma ได้รับการ ยอมรับจากลูกค้าภาคอุตสาหกรรมเป็นอย่างดี อาทิ โครงการของกลุ่ม Royal Gems

76

April 2015


Open House อภัสรา วัลลิภผล

ที่ขยายโชว์รูมสินค้า โครงการขยายโรงงานกลุ่ม Accurate จังหวัด สมุทรปราการ หรืองานอาคาร อาทิ โรงแรมหัวหินโคโลเนด จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ก็ม่ันใจเลือกใช้บริการของ บีทีอี และโซลูช่ันของ ชไนเดอร์เช่นเดียวกัน ส�าหรับในปีนี้คาดว่าภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มเติบโตขึ้นด้วยจาก การเปิ ด ประชาคมอาเซี ย นและการเร่ ง ขยายสถานี ร ถไฟฟ้ า เกื อ บ 100 สถานีเป็นแรงหนุน ท�าให้นกั ลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศไทย พร้อมทิศทางทางด้านอสังหาริมทรัพย์เติบโตขึ้น ทั้งอาคารพาณิชย์ และคอนโดมีเนียม ดังนั้นการรุกภาคอาคารเป็นโอกาสที่เราจะขยาย ธุรกิจเข้าไปต่อยอด และมอบผลิตภัณฑ์ ความส�าเร็จของบีทีอี สะท้อนถึงทีมงานและบุคคลากรที่มีคุณภาพ ดังนัน้ การเอาใจใส่ ดูแล พนักงาน เป็นสิง่ ทีเ่ ราพิจารณาเป็นอันดับแรก นอกจากนี้ บีทีอี ยังมีความมุ่งมั่น ในการสร้างวัฒนธรรมขององค์กร เพื่อโอกาสใน การเติบโตและความก้าวหน้าในสายอาชีพ การสร้างแรงบันดาลใจและแรงจูงใจในการ ท�างาน พร้อมทั้งความสามารถในการบริหารงานให้ประสบความส�าเร็จ นอกจากนี้อีกหนึ่ง วัตถุประสงค์หลักในการบริหารบุคลากรเพื่อให้บุคลากรทุกคนมีสถานที่ท�างานที่สะดวก สบาย มีความเป็นกันเอง มีความสุขในการได้ให้บริการและได้รับสวัสดิการพนักงานที่ดีที่สุด หัวใจส�าคัญ คือ การฝึกอบรมและพัฒนา พนักงานให้เติบโต เป็นบุคคลากรที่มีคุณภาพ เพราะเราตระหนักเสมอว่า บุคคลากรคือสิ่งที่ส�าคัญและมีค่าที่สุดต่อองค์กรและนี่คือหัวใจ หลักในการด�าเนินงานของบีทีอี

ขอขอบคุณ บริษัท บีทีอี จ�ำกัด มากนะคะ ทีเ่ ปิดบ้านให้เราได้ทา� ความรูจ้ กั และถ้าผูอ้ า่ น ที่สนใจในตัวสินค้าของ บริษัท บีทีอี จ�ากัด สามารถติดต่อไปที่ 21/2 หมู่ 12 ต.ล�าลูกกา อ.ล�าลูกกา จ.ปทุมธานี 12150 หรือโทร ติดต่อไปที่ 0-2191-0244-47 ได้ค่ะ

April2015 2015 7777 April


Vertical Market นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

เสริมประสิทธิภาพสถานี NGV เพิ่มทางเลือก-จูงใจผูใชบริการ ÂÑ §¤§à¡ÒеԴʶҹ¡Òó ¢ ͧ¼ÙŒãªŒ¾Åѧ§Ò¹¨Ò¡¡ Ò«¸ÃÃÁªÒµÔ NGVCNG ÍÂ‹Ò §µ‹Í à¹×่Í § ·‹Ò Á¡ÅÒ§ÃÒ¤Òàª×้Íà¾Åԧ͋ҧ¹ํ้ÒÁѹ ·Õ่´ÙàËÁ×͹¨Ð ¤‹ÍÂ æ »ÃѺµÑÇÊÙ§¢Ö้¹ ·ํÒãËŒ¡ Ò«¸ÃÃÁªÒµÔ¶Ù¡¨ÑºµÒÍÕ¡¤ÃÑ้§ «Ö่§·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ àÃÒ·ÃÒº»˜ÞËÒ¾×้¹°Ò¹¢Í§¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹´Ñ§¡Å‹ÒÇ´ÕÇ‹ÒÁÕ¢ŒÍ´ÕáÅТŒÍàÊÕ Í‹ Ò§äà ·ํÒ ãËŒ¼ÙŒãªŒºÃÔ¡ÒõŒÍ §¤Ô´Ë¹ŒÒ¤Ô´ËÅѧ¡Ñ¹ ¾ÍÊÁ¤Çà NjҨÐ㪌 ¾Åѧ§Ò¹´Ñ§¡Å‹ÒÇ´ÕËÃ×ÍäÁ‹ ?

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในฐานะหัวเรือใหญในการจัดการกาซ NGV ในประเทศ ไดชี้แจงถึงสถานการณความตองการใช NGV ในประเทศ ปจจุบันมีการขยายตัวตอเนื่อง จึงตองใหความสําคัญตอการขยายจํานวนสถานีบริการและพัฒนาประสิทธิภาพการให บริการอยางจริงจังกวาที่ผานมา มั่นใจวาจะชวยบรรเทาปญหาการใหบริการไดดีข้ึนตาม ลําดับ โดยมีแผนพัฒนาประสิทธิภาพในการใหบริการจากการศึกษาแนวทางการปรับเปลีย่ น สถานีบริการ NGV นอกแนวทอสงกาซฯ ใหเปนสถานีแนวทอสงกาซฯ ซึ่งจะทําใหสามารถ บริการกาซฯ ไดอยางตอเนื่อง

78

April 2015

เพื่อแกไขปญหากาซฯ ขาดจากการขนสง ทางรถ และการรอใชบริการ จึงมีแผนใน การพั ฒ นาภาพลั ก ษณ ก ารบริ ก ารภายใน สถานีฯ ไมวาจะเปนการจัดอบรมพนักงาน ในด านการบริการลูกคา การดูแลความ สะอาดภายในสถานีฯ การซอมบํารุงอุปกรณ และโครงสรางสถานีที่ชํารุดอยางเรงดวน การเพิ่มธุรกิจเสริม อาทิ รานสะดวกซื้อ และรานอาหาร รวมถึงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพือ่ สรางความรมรืน่ และสวยงาม เพือ่ อํานวย ความสะดวกให ผู  ใช บ ริ ก ารภายในสถานี และจั ด ประกวดสถานี บ ริ ก ารมาตรฐาน ดีเยี่ยมและหองนํ้าสะอาดเปนประจําทุกป เพื่อผลักดันใหทุกสถานีบริการฯ ใสใจดูแล ภาพลั ก ษณ แ ละมาตรฐานสถานี บ ริ ก าร ของตนเองเพื่ อ สร า งความพึ ง พอใจใน การเขาใชบริการของลูกคา


นอกจากนี้ สิ่งที่ไม่อาจมองข้ามและควรตระหนักเป็นพิเศษ คือ ความปลอดภัยในทุกขั้นตอนของการด�าเนินธุรกิจ ทั้งในส่วนของ การขนส่ง การให้บริการ และการใช้งานโดยมีแผนในการติดตั้ง ระบบกล้องวงจรปิด IVMS (In Vehicle Monitoring System) ในรถหัวลาก ช่วยควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานและติดตาม พฤติกรรมการขับขี่ของพนักงานขับรถ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการ เกิดอุบัติเหตุ และในส่วนของสถานีบริการฯ ได้เพิ่มความปลอดภัย ด้ ว ยการเปลี่ ย นโคมไฟเป็ น หลอดไฟแบบ LED เพื่ อช่ ว ยเพิ่ ม แสงสว่างภายในสถานีฯ พร้อมกับรณรงค์ให้ผู้ใช้รถ NGV ตระหนัก ถึงความส�าคัญในการดูแลรถอย่างถูกต้อง หมั่นตรวจสอบอุปกรณ์ ต่าง ๆ ด้วยตนเองอย่างสม�่าเสมอเพื่อความปลอดภัยในการใช้ พาหนะ ประกอบด้วย การเช็ค 3 ขั้นตอน ได้แก่

1. เช็ ค ถั ง ก๊ า ซ หมั่ น ตรวจสอบสภาพถั ง ก๊ า ซ NGV ไม่ มี ร อย ขีดข่วนลึก มีสนิม สายรัดถังต้องยึดถังแน่นขยับไม่ได้ ยางรองถัง ต้องไม่เสื่อมสภาพ ไม่หลุดจากถังและสายรัดถัง 2. เช็คอุปกรณ์ก๊าซ NGV ส�าคัญอื่นๆ ได้แก่ หม้อต้มก๊าซ หัวฉีด ต้องไม่พบก๊าซรั่วไม่ช�ารุด 3. เช็คท่อก๊าซ ไม่มีรอยแตกร้าว แข็งหรือกรอบ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายที่รถใช้ NGV ต้องได้รับการตรวจและ ทดสอบอุ ป กรณ์ จ ากผู ้ ต รวจที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจากกรมการ ขนส่งทางบก ซึ่งรถที่ผ่านการตรวจแล้วจะได้รับสติ๊กเกอร์ซึ่งมีอายุ 1 ปีเป็นหลักฐาน เพื่อใช้ในการเข้ารับบริการ อันเป็นมาตรการ ความปลอดภัยส�าหรับให้ผู้ใช้เอง

April2015 2015 79PB April


Vertical Market นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

ความเคลื่อนไหวของ NGV ในปี 2557 ที่ผ่านมา ปตท. ได้เพิ่มสถานีบริการ NGV 7 แห่ง ท�าให้ปัจจุบันมีสถานีบริการฯ รวม 497 แห่ง ครอบคลุม 54 จังหวัดทั่วประเทศ และในปี 2558 มีแผนที่จะก่อสร้างสถานีบริการฯ เพิ่มอีก 7 แห่ง รวมถึงหากการด�าเนิน โครงการก่อสร้างท่อส่งก๊าซฯ เส้นที่ 4 (ระยอง–แก่งคอย) และการขยายแนวท่อส่งก๊าซฯไปยัง จั ง หวั ด นครสวรรค์ แ ละจั ง หวั ด นครราชสี ม าเมื่อแล้วเสร็จจะสามารถเพิ่มก� าลังการผลิต และจ�าหน่าย NGV ระยะเวลา 3 ปี (ปี 2558-ปี 2560) ได้อีก 1,100 ตันต่อวัน จะท�าให้มี ก๊าซ NGV พร้อมให้บริการในภาคตะวันออก ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้น ความจริงที่ต้องยอมรับตามนโยบายของภาครัฐ คือ การทยอยปรับราคา NGV ให้สะท้อน ต้นทุน ท�าให้ลดภาระขาดทุนลงได้บางส่วน ท�าให้มีก�าลังในการขยายธุรกิจ เนื่องจาก

80

April 2015

ปัจจุบันราคาขายปลีก NGV ที่ 13.00 บาท ต่อกิโลกรัม เป็นราคาที่ยังไม่สะท้อนต้นทุน โดยนับตั้งแต่ปี 2546 ปตท. มีภาวะขาดทุน สะสม NGV กว่า 110,000 ล้านบาท เพื่อ สนับสนุนนโยบายของรัฐในการช่วยเหลือ รถสาธารณะเพื่อลดผลกระทบต่อประชาชน ที่ใช้บริการรถสาธารณะทั่ ว ไปด้ ว ยการให้ ส่วนลดเติมก๊าซฯ ผ่านบัตรส่วนลดราคา NGV 3 บาทต่อกิโลกรัม และเร่งพัฒนา ประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารเพื่ อ เป็ น การ ขอบคุณผู้ใช้บริการทุกท่าน ซึ่งเชื่อว่าปัญหา ต่าง ๆ จะค่อยๆ ลดลง


April 2015 PB


Viewpoint

นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

ยกเลิก... สัมปทานรอบที่ 21

໚¹·Õ่·ÃÒº¡Ñ¹´ÕáÅŒÇ ÊํÒËÃѺÁËҡҾ ÊÑÁ»·Ò¹Ãͺ·Õ่ 21 Ç‹Òä´ŒÁÕ¡ÒáàÅÔ¡ ໚¹·Õ่àÃÕºÌÍ ¨Ò¡»ÅÒ»ҡ¡Ò¢Í§ ¹Ò³ç¤ ªÑ ÍѤÃàÈÃ³Õ ÃÑ°Á¹µÃÕ Ç‹Ò¡ÒáÃзÃǧ¾Åѧ§Ò¹ à¾×่ÍÂصԻÃСÒÈ ¡ÒÃà» ´ãËŒàÍ¡ª¹Â×่¹ÊÔ·¸ÔÊํÒÃǨáÅмÅÔµ » âµÃàÅÕÂÁÃͺ·Õ่ 21 µÒÁ¡ÃͺÃÐÂÐ àÇÅÒà´ÔÁ·Õ่¨ÐÊÔ้¹ÊØ´ã¹Çѹ·Õ่ 16 ÁÕ¹Ò¤Á ÍÍ¡ä»ÍÕ¡ 3 à´×͹ µÒÁ¤ํÒÊÑ่§¢Í§¹Ò¡ ÃÑ°Á¹µÃÕ ¨¹¡Ç‹Ò¨ÐÁÕ¡ÒÃá¡Œä¢ ¾.Ã.º. » âµÃàÅÕÂÁ ¾.È.2514 áÅÐ ¾.Ã.º.ÀÒÉÕ à§Ô¹ä´Œ» âµÃàÅÕÂÁ ¾.È.2514 ¨ÐàÊÃ็¨ ÊÁºÙó

8282

April April2015 2015

เมื่อการยกเลิกดังกลาวมีผล คณะทํางานตาง ๆ ตองเรงแกไขกฎหมายการบริหาร ทรัพยากรปโตรเลียมในประเทศใหแลวเสร็จภายใน 3 เดือน กอนที่จะมีการประกาศให เอกชนยื่ น สิ ทธิ สํารวจและผลิ ต ตามกรอบเวลาเดิมที่ 120 วัน โดยรูป แบบการแก กฎหมายครัง้ นี้ สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ หงชาติ (สนช.) จะเปนผูด าํ เนินการ เพราะทีผ่ า นมากระแส คัดคานและตอตานการเปดสัมปทานปโตรเลียมรอบที่ 21 ไดแบงแยกผูคนออกเปนฝาย อยางชัดเจน ฝายหนึ่งมีหนาที่จัดหาแหลงพลังงานสํารองไวใชในอนาคต กับอีกฝายตอง ใหมีการแกไขกฎหมายปโตรเลียมกอนเปดสัมปทาน วาดวยเรื่องปฏิรูปพลังงานและสัมปทานปโตรเลียมรอบที่ 21 ไมใชเรื่องที่เกิดขึ้นใหม แตไดมีการดําเนินการมากวา 3 ปแลว แนนอนวา เมื่อระยะเวลาเพิ่มมากขึ้น ก็กระทบ ตอผลประโยชนโดยรวมและความมั่นคงทางพลังงานของคนไทย ซึ่งการเปดสํารวจ


สั ม ปทานปิ โ ตรเลี ย มรอบที่ 21 เกิ ด ขึ้ น หลังพบว่าปริมาณส�ารองก๊าซธรรมชาติลดลง อย่างต่อเนื่อง และปัจจุบันประเทศไทยต้อง น�าเข้าพลังงานเกินกว่าของความต้องการใช้ ในภาพรวม โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติที่เป็น เชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้าในสัดส่วน 70% ของเชือ้ เพลิงรวม และนับวันจะมีความ ต้องการใช้เพิ่มขึ้น กว่าครึง่ ศตวรรษประเทศไทยมีการใช้พลังงาน ไม่ว่าจะเป็นน�้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง จากผลของการเปิ ด สั ม ปทาน ปิโตรเลียมมาแล้วรวม 20 รอบ สร้างรายได้ ให้กับภาครัฐบาลจ�านวนมหาศาล แต่ไม่ได้ หมายความว่าประเทศไทยมีแหล่งพลังงาน มากแต่อย่างใด เพราะแต่ละรอบการเปิด ส�ารวจเมือ่ ส�ารวจไม่พบแหล่งพลังงาน บริษทั ที่ประมูลต้องคืนพื้นที่กลับมาเพื่อที่รัฐบาล จะน�ากลับมาเปิดให้เอกชนผูส้ นใจยืน่ ขอสิทธิ์ ส�ารวจและรับสัมปทานอีกครั้ง แน่นอนว่าหากมีการยกเลิกการส�ารวจหา ปิ โ ตรเลี ย มเพิ่ ม เติ ม ที่ น ่ า เป็ น ห่ ว ง คื อ ก๊าซธรรมชาติที่ประเทศไทยจะต้องน�าเข้า ก๊ า ซธรรมชาติ เ หลวที่ มี ร าคาแพงกว่ า ก๊ า ซ ธรรมชาติ 2-3 เท่าเพิ่มขึ้น จากที่มีการน�า เข้าในขณะนี้ ปีละ 34,000 ล้านบาท เพื่อมา เป็ น เชื้ อ เพลิ ง เสริ ม ให้ กั บ ก๊ า ซธรรมชาติ ซึง่ จะส่งผลกระทบไปถึงค่าไฟฟ้าทีป่ ระชาชน ต้องแบกรับเพิ่มขึ้น และกระทบต่อต้นทุน การผลิตของภาคอุตสาหกรรม ซึง่ ประเทศไทย มีคา่ ไฟฟ้าทีแ่ พงติดอันดับต้น ๆ ของอาเซียน เลยทีเดียว การยกเลิกการเปิดให้ยนื่ สิทธิสา� รวจปิโตรเลียม รอบที่ 21 รวม 29 แปลงประกอบด้วยแปลง บนบก 23 แปลง แบ่งเป็นภาคเหนือภาคกลาง 6 แปลง พืน้ ทีร่ วม 5,458 ตร.กม. ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 17 แปลง พืน้ ทีร่ วม 49,196 ตร.กม. และในอ่าวไทย 6 แปลง พื้นที่รวม 11,808 ตร.กม. โดยกระทรวงพลังงานได้เตรียมการ เรื่องนี้มาตั้งแต่ปี 2555

ทั้งนี้ ก็ต้องรอลุ้นนโยบายเปิดส�ารวจสัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ 21 ที่เป็นความหวังต่อไป อีก 3 เดือน เมื่อการแก้ไขกฎหมายปิโตรเลียมทั้ง 2 ฉบับแล้วเสร็จ ผลที่ออกมาจะเป็น อย่างไร จะเป็นฝันที่เป็นจริงหรือไม่ ? ยังไม่อาจตอบได้เช่นกัน โดยการเปิดสัมปทานดังกล่าว กระทรวงพลังงานประเมินผลประโยชน์เบื้องต้นที่จะเกิดขึ้น คือ การลงทุนในประเทศไม่ต�่ากว่า 5,000 ล้านบาท และรัฐบาลจะมีรายได้จากการเก็บค่า ภาคหลวง ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ผลตอบแทน โบนัสพิเศษต่างๆ เพิ่มอีก รวมทั้งจะเกิดการ จ้างงานไม่ต�่ากว่า 20,000 คน โดยจากการประเมินศักยภาพเบื้องต้น เชื่อว่ามีโอกาสพบ ก๊าซธรรมชาติรวม 5 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต และน�้ามันดิบในระดับ 20-50 ล้านบาร์เรล แต่อย่างไรก็ตามก็ยังไม่มากพอจะสร้างความไว้วางใจให้กับกลุ่มผู้ที่มีความเห็นคัดค้านใน เรื่องดังกล่าว โดยเฉพาะข้อกล่าวอ้างที่ว่าก๊าซธรรมชาติจะหมดไปจากประเทศในอีก 7 ปี ข้างหน้า ทัง้ นี้ การคัดค้านทีเ่ กิดขึน้ ไม่ได้ตอ่ ต้านการส�ารวจแหล่งปิโตรเลียม เพียงแต่ตอ้ งการให้ภาครัฐ รอบคอบ โปร่งใสกว่านี้ และมีการขอให้แก้ไข พ.ร.บ.ปิโตรเลียมเพิ่มทางเลือกและสร้าง อ�านาจต่อรองของภาครัฐกับบริษัทเอกชนที่จะเข้ามาขุดเจาะในแปลงสัมปทาน สิ่งที่ต้อง ยอมรับจากสายตาภายนอกและภายใน คือ ด�าเนินนโยบายที่ดูเหมือนไม่มั่นคงท่าไหร่ จะท�าลายความเชื่อมั่นของนักลงทุนทั่วโลก เพราะกว่าที่รัฐบาลจะเดินหน้านโยบายเปิด สัมปทานปิโตรเลียมมาถึงจุดนี้ได้ รัฐบาลเองได้มีการรวบรวมข้อมูลของแต่ละฝ่ายมาพอ สมควร หลังจากนี้อีก 3 เดือน การเดินหน้าแก้กฎหมายจะท�าได้จริงหรือไม่ หรือจะเป็นการ ซื้อเวลาออกไปเท่านั้น หากนานกว่านี้ประเทศจะขาดความน่าเชื่อถือจากต่างชาติได้ เพราะอย่าลืมว่า เมื่อมีการแก้ไขกฎหมายเรียบร้อยแล้ว จะจูงใจพอส�าหรับนักลงทุนให้เข้า มายื่นส�ารวจหรือไม่ ? และเสียงคัดค้านจะรับได้หรือไม่ ? อีกทั้งยังต้องใช้เวลาในการเปิด ประมูล คัดเลือกนักลงทุน รวมทั้งการใช้เวลาเริ่มต้นส�ารวจไปอีก 2-3 ปี หลังได้รับสัมปทาน ตรงนี้จะนานไปหรือไม่ส�าหรับความมั่นคงของประเทศชาติที่แน่นอนว่าไม่อาจรอช้าได้ จนหลายฝ่ายมองว่า ประเทศไทยอาจไม่สามารถเปิดสัมปทานดังกล่าวต่อไปได้ นั้นก็เป็น เรื่องของอนาคตที่ต้องติดตามต่อไป April April2015 2015 8383


Energy Knowledge อภัสรา วัลลิภผล

สถาบั น AIT ใส่ใจสิ่งแวดล้อม วิจัย ถังบ�าบัดสิ่งปฏิกูลพลังงานแสงอาทิตย์ ในปัจจุบัน “การก�าจัดสิ่งปฏิกูล” ส่วนใหญ่มักจะน�าไปทิ้งตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลเสีย ตามมา เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสุขอนามัย เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ “รศ.ดร.ธรรมรัตน์ คุตตะเทพ” อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรม สิ่ ง แวดล้ อ มและการจั ด การ สถาบั น เทคโนโลยี แ ห่ ง เอเชี ย (เอไอที ) จึ ง ได้ ให้ ความส�าคัญในการท�าโครงการการวิจัย “ถังบ�าบัดสิ่งปฏิกูลพลังงานแสงอาทิตย์” ขึ้นเพื่อลดปัญหาดังกล่าว

รศ.ดร.ธรรมรัตน์ คุตตะเทพ

84

April 2015

ในการวิจัยถังบ�าบัดสิ่งปฏิกูลพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อป้องกันปัญหาทางด้านสุขภาพหรือ สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากระบบสุขาภิบาล เป็นการปรับปรุงถังบ�าบัดที่มีอยู่ทั่วไปตามบ้านด้วย ระบบน�้าร้อนพลังแสงอาทิตย์ หรือเรียกว่า “ถังบ�ำบัดสิ่งปฏิกูลพลังงำนแสงอำทิตย์” ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในระบบสุ ข าภิ บ าลรู ป แบบใหม่ ที่ ส ามารถก� า จั ด เชื้ อ โรคและลดการสะสม ของกากปฏิกูลภายในระบบอย่างมีประสิทธิภาพ โดยทางสถาบันฯ ได้รับทุนสนับสนุน 150 ล้านบาท จาก มูลนิธิ Bill & Melinda Gates Foundation (BMGF) ด�าเนินโครงการ วิ จั ยพั ฒ นาระบบจั ด การน�้ าเสี ยขนาดเล็ ก อย่ างยั่ ง ยืน ระยะเวลา 5 ปี (2555-2560) จึงศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างระบบบ�าบัดที่ผู้ใช้ยอมรับและมีประสิทธิภาพในการ แก้ปัญหาอุดตันฆ่าเชื้อโรค


ทั้งนี้ ส้วมในประเทศไทยส่วนใหญ่ไม่มีการ บ�าบัด มีเพียงถังเก็บหากเต็มจะเรียกใช้บริการ จากรถดู ด ส้ ว ม ดั ง นั้ น จึ ง เกิ ด แนวคิ ด ใน การปรับปรุงถังวงซีเมนต์ที่ใช้อยู่ให้สามารถ บ�าบัดได้ด้วย จึงเป็นที่มาของ Cess-to-Fit เทคโนโลยีระบบปิดที่สามารถน�าไปติดตั้งใน บ่ อ เกรอะเพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ บ�าบัด จากนั้นได้พัฒนาส้วมไฮโดรไซโคลน ระบบ บ�า บั ด สิ่ ง ปฏิ กู ล จากส้ ว มแบบสมบู ร ณ์ โ ดย อาศัยกลไกการแยกส่วนของแข็งและของเหลว ไปสู่การบ�าบัดที่เหมาะสม เป็นหนึ่งในระบบ สุขาภิบาลรูปแบบใหม่ ทีส่ ามารถก�าจัดเชือ้ โรค และลดการสะสมของกากปฏิ กู ล ภายใน ระบบอย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีแบบเดิมที่สร้างท่อระบบรวบรวมและบ�าบัดน�้าเสียขนาดใหญ่ขึ้นมา ไม่คุ้มค่ากับประเทศ ก�าลังพัฒนา ต่างจากประเทศพัฒนาแล้วอย่างยุโรป อเมริกา ที่มีงบสร้างสาธารณูปโภค พื้นฐานขนาดใหญ่ได้ ขณะที่เมืองไทยแทบจะท�าไม่ได้เลย จุดเด่นของงานวิจัยนี้อยู่ที่ ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ท�าให้น�้าร้อนโดยการใช้โซลาเซลล์ไม่ได้ ใช้พลังงานไฟฟ้า เรามีการวิจัยว่าถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นก็จะท�าให้การลดความสกปรกท�าได้ ดีและที่อุณหภูมิประมาณ 70 องศา ถังบ�าบัดสิ่งปฏิกูลพลังงานแสงอาทิตย์สามารถลด จ�านวนเชื้อโรคพอสมควรและหลังจากนั้นก็มีการกรองโดยใช้ระบบซิลเวอร์นาโน โครงการวิจัยถังบ�าบัดสิ่งปฏิกูลพลังงานแสงอาทิตย์มีการเริ่มต้นโครงการทั้งหมด 5 ปี ซึ่งเริ่มต้นโครงการมาแล้วประมาณ 2-3 ปี ปัจจุบันผู้บริโภคซื้อถังบ�าบัดสิ่งปฏิกูลตาม ท้องตลาดราคาอยู่ประมาณ 10,000-15,000 บาท แต่ราคาไม่ควรจะเกินไปกว่านั้น ซึ่งตอนนี้ทางสถาบันก็ได้มีการติดตั้งให้สามารถใช้งานได้จริงแล้ว และถ้าประสบความส�าเร็จ อาจจะมีการพัฒนาเพื่อน�าออกจ�าหน่ายสู่ท้องตลาดต่อไป

หลั ง จากที่ ไ ด้ พั ฒ นาส้ ว มที่ ใ ช้ พ ลั ง งาน ความร้อนจากแสงอาทิ ต ย์ ม าช่ ว ยบ� า บั ด แต่ยังพบว่า มีตะกอนอยู่ท�าให้ต้องสูบออก จึ ง คิ ด ที่ พั ฒ นารถดู ด ส้ ว มที่ มี ก ารบ� า บั ด ในตัวจากปกติสบู ไปทิง้ กลายเป็นทีม่ าของ รถดูดส้วมอัจฉริยะ ซึ่งเป็นระบบดูดส้วม แบบครบวงจรที่มาพร้อมกระบวนการคัด แยกสิ่งปฏิกูลที่เป็น ของแข็งและของเหลว ออกจากกัน ร่วมด้วยกระบวนการบ�าบัด April April2015 2015 85PB


Energy Invention จีรพร ทิพย์เคลือบ

เด็กไทยไทยเจ๋งคว้าแชมป์สมัยที่ 5

สร้างสถิติใหม่ Shell Eco-marathon Asia 2015 ทีมเยาวชนจากประเทศไทย พิชิต 3 รางวัลชนะเลิศ ซึ่งสามารถ คว้าชัยติดต่อกันเป็นปีที่ 5 พร้อมสร้างสถิติใหม่ในการแข่งขัน เชลล์ อี โ ค-มาราธอน เอเชี ย 2015 เป็ น การแข่ ง ขั น ด้ า นการ ประหยั ด พลั ง งานที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด เพื่ อ ท้ า ทายความสามารถของ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาในการออกแบบและสร้ า งรถต้ น แบบแห่ ง อนาคตที่ ป ระหยั ด น�้ า มั น สู ง สุ ด และในปี นี้ มี ที ม ตั ว แทนจาก ประเทศไทย 10 ทีมจาก 9 สถาบัน เข้าชิงชัยกับนักเรียนนักศึกษา กว่ า 120 ที ม จาก 17 ประเทศทั่ ว ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก รวมทั้ ง ตะวั น ออกกลางและออสเตรเลี ย เข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น ณ สนามลูเนต้า พาร์ค ใจกลางกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์

ทีมเยาวชนของไทยทีส่ ามารถสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศได้ 3 รางวัล ได้ แ ก่ ที ม NSTRU Eco-Racing จากมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรีธรรมราช สามารถสร้างสถิติใหม่ประเภทรถยนต์ต้นแบบ แห่งอนาคต ซึ่งใช้เชื้อเพลิงแบตเตอรี่ ด้วยระยะทาง 451 กิโลเมตร/ กิโลวัตต์-ชั่วโมง ทีม ATE 1 จากโรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ช่าง กลขส.ทบ. รางวัลชนะเลิศประเภทรถต้นแบบแห่งอนาคต ซึ่งใช้ เชื้ อเพลิ ง เบนซิ น ด้ ว ยระยะทาง 1490 กิโลเมตร/ลิตร ขณะที่ ทีม VIRGIN จากวิทยาลัยเทคนิคสกลนคร รางวัลชนะเลิศ ประเภท รถต้นแบบแห่งอนาคต ใช้เชื้อเพลิงเอทานอล สามารถท�าสถิติวิ่งได้ ในระยะทางไกลที่สุดในการแข่งขัน 1,572 กิโลเมตร/ลิตร ถือเป็น สถิ ติ สูง สุ ด ในการแข่ ง ขั น ของปีนี้ ซึ่งเทียบเท่า กับ ระยะทางจาก กรุงมะนิลาไปยังกรุงโฮจิมินท์ ซิตี้ ประเทศเวียดนาม ในปี นี้ มี ก ารสร้ า งสถิ ติ ใ หม่ เ กิ ด ขึ้ น และมี ก ารเลื อ กใช้ เชื้ อ เพลิ ง ที่ แตกต่างกัน 7 ประเภท โดยแต่ละทีมสามารถส่งรถประหยัดพลังงาน เข้าร่วมการแข่งขันได้ 2 ประเภท ได้แก่ ประเภท Prototype รถต้นแบบในอนาคตสร้างสรรค์โดยอาศัยหลักการพลศาสตร์ รวมทัง้ การใช้น�้ามันเชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ และประเภท Urban

86 86

April 2015 April 2015


Concept การออกแบบยานยนต์ที่ประหยัด น�้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ซึ่ ง มี รู ป ลั ก ษณ์ ค ล้ า ยกั บ รถยนต์ในปัจจุบนั รถทัง้ สองประเภทสามารถ เลือกเชื้อเพลิงได้ตามต้องการ โดยจะวัดผล จากการออกแบบรถที่ ป ระหยั ด น�้ า มั น สูงสุดในสภาพแวดล้อมจริง โดยตัดสินกัน ที่ ร ถของทีมที่วิ่งได้ระยะทางไกลที่สุดด้วย น�้ามันเพียงหนึ่งลิตร หรือเทียบเท่าการใช้ พลังงานไฟฟ้าหนึ่งกิโลวัตต์ หรือ ไฮโดรเจน หนึ่งลูกบาศก์เมตร ทางด้าน นายประมวล รอนยุทธ์ อาจารย์ ที่ปรึกษาของทีมสกลนคร กล่าวว่า “ได้สร้าง รถใหม่ด้วยวัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ท�าให้รถ มีน�้าหนักเบา รู้สึกภูมิใจเป็นอย่างมากที่ สามารถคว้าชัยชนะในการผลการแข่งขัน เชลล์ อีโค-มาราธอน เอเชีย ซึ่งเป็นเวทีการ แข่งขันนานาชาติ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาที่ สนใจสร้างรถประหยัดพลังงาน ได้เข้ามา แข่งขันพร้อมทัง้ ได้เรียนรูจ้ ากทีมของประเทศ อื่นๆ อีกด้วย”

ส�าหรับการแข่งขันเชลล์ อีโค-มาราธอน ได้เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482 ที่ห้องทดลอง ของเชลล์ในสหรัฐอเมริกา ในการแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กับ นักวิทยาศาสตร์ และเป็นการท้ายทายว่าใครเป็นผูท้ ขี่ บั เคลือ่ นยานยนต์ของตนเองได้ไกลสุด ด้วยการใช้น�้ามันเพียงหนึ่งแกลลอน ผลการแข่งขันในครั้งนั้น ผู้ชนะสามารถขับเคลื่อนไปได้ เพียง 50 ไมล์ต่อแกลลอน หรือประมาณ 21 กิโลเมตร/ลิตร และนับจากวันนั้นการแข่งขัน ก็มีวิวัฒนาการขึ้นเรื่อย ๆ นับจากวันนั้นกลายเป็นจุดเริ่มต้นการแข่งขันที่เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2528 ที่ประเทศฝรั่งเศส ส่วนการแข่งขันเชลล์ อีโค-มาราธอน เอเชียได้เริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกที่ ประเทศมาเลเซียในปี พ.ศ. 2553-2556 และย้ายสถานที่จากสนามแข่งรถสู่การแข่งขันบน ท้องถนนจริง ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เริ่มในปี พ.ศ. 2557 และจะจัดการแข่งขันที่ กรุงมะนิลาติดต่อกันจนถึงปี พ.ศ. 2559

AprilApril 2015201587 87


Energy Report

ณชนากานต์ สันตยานนท์ รึกษาอาวุ ริหารจั ดการเทคโนโลยี กงานพั ฒนาวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ห่งชาติ คุณคุชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึทีก่ปษาอาวุ โส โส ศูนศูย์นบย์ริหบารจั ดการเทคโนโลยี สํานัสํกานังานพั ฒนาวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แห่งแชาติ

ºÃÔÉÑ· ÇÔºÙÅ ÇѲ¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¨ํÒ¡Ñ´ ¡‹ÍµÑ้§àÁ×่Í »‚ 2526 à¾×่͹ํÒÇÑÊ´Ø ¡‹ÍÊÌҧà͹¡»ÃÐʧ¤ Êًǧ¡Òá‹ÍÊÌҧä·Â â´ÂÁÕâç§Ò¹ÍÂÙ‹·Õ่ Í.àÁ×ͧ ¨.©ÐàªÔ§à·ÃÒ à¾×่ͼÅÔµÇÙŒ´«ÕàÁ¹µ ºÍà ´ (Wood Cement Board ËÃ×Í Cement Bonded Particle Board) â´ÂÁÕ ¡ ÒûÃÑ º ÊÙ µ üÊÁáÅÐ´Ñ ´ á»Å§à¤Ã×่ Í §¨Ñ ¡ ÃáÅÐ ¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ ãˌࢌҡѺÇѵ¶Ø´Ôº ÀÙÁÔÍÒ¡ÒÈ áÅФÇÒÁµŒÍ§¡ÒâͧµÅÒ´ ã¹»ÃÐà·Èä·Â ¨¹¡ÃзÑ่§ »‚ 2546 ä´Œ¡ ‹ÍµÑ้§âç§Ò¹áË‹§ãËÁ‹¢ ¹Ò´ãËÞ‹·Õ่ÁÕ à¤Ã×่ͧ¨Ñ¡Ã·Ñ¹ÊÁÑ ·Õ่ Í.¾¹ÁÊÒäÒÁ ¨.©ÐàªÔ§à·ÃÒ ÁÕ¡Òํ Åѧ¡ÒüÅÔµÃÇÁ¡Ç‹Ò 3 Ōҹ µÒÃÒ§àÁµÃµ‹Í»‚ ä´ŒÃѺÁҵðҹÍصÊÒË¡ÃÃÁ ÁÍ¡. 878-2537 ¨Ò¡ ¡ÃзÃǧ ÍصÊÒË¡ÃÃÁáÅСÒÃÃÑ º Ãͧ໚ ¹ ¼ÅÔ µ ÀÑ ³ ± © ÅÒ¡à¢Õ Â Ç (Green Label) ¨Ò¡Ê¶ÒºÑ ¹ ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁä·Â

VIVA Board กับอีกหนึ่งกาว…

ของนวัตกรรมผลิตภัณฑวัสดุกอสราง

และดวยความไมหยุดยัง้ ในการพัฒนา ทําให บริษัทฯทําการคนควาวิจัยและพัฒนาเพื่อ ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑและพัฒนา การใชงานอยางตอเนือ่ ง จนทําให วีวา บอรด เป น วู  ด ซี เ มนต บ อร ด ที่ มี คุ ณ ภาพดี ที่ สุ ด ในโลกแบรนดหนึ่งที่เปนที่รูจักในดานความ เชี่ยวชาญในระบบการผลิตและกอสรางเพื่อ ธรรมชาติที่สมดุล และเพราะตระหนักถึง

ความสําคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผลิตภัณฑ วีวา บอรด จึงถูกผลิตในกระบวนการ ผลิตที่ปราศจากสารใยหิน วางจําหนายตั้งแต ป 2529 นับเปนผูผลิตบอรดสําหรับใชงาน ภายนอกไดโดยปราศจากใยหินเปนรายแรกของประเทศไทย ซึ่งมาจากแนวคิดที่ตองการหา วัสดุทนแทนไมธรรมชาติ ลดการพึ่งพิงทรัพยากรปาไม เพื่อรักษาความสมดุลแหงธรรมชาติ และรังสรรคผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติพิเศษที่เหนือกวา ภายใตระบบการผลิตที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมและเพื่อขยายตลาดและสรางภาพลักษณใหมใหกับผลิตภัณฑ บริษัท วิบูลย วัฒนอุตสาหกรรม จํากัด จึงขอรับการสนับสนุนจาก iTAP ภายใต ศูนยบริหารจัดการ เทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เพื่อเขารวม

ภาพคณะผูเชี่ยวชาญ, คณะทํางาน และผูประกอบการที่เขารวมโครงการ Prefab Innovation

88

April 2015


ผลิตภัณฑเฟอรนเิ จอรสนาม ภายใตแบรนด DEESAWAT

คุณสารเดช บูรณพันธ ผูจัดการลูกคาสัมพันธ

ภาพตนแบบบานพักอาศัยกึ่งสําเร็จรูประบบ Formworks

ภาพเครื่องจักร และกิจกรรมระหวางดําเนินโครงการ Prefab Innovation

โครงการ Prefab Innovation โดยมี อ.กัลยา โกวิทวิสิทธิ์ เปน หัวหนาคณะผูเชี่ยวชาญ จากคณะสถาปตยกรรมศาสตรและการ ผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รวมกันทํางานในโครงการดังกลาว และในทีส่ ดุ บริษทั ฯ ไดพฒ ั นาตนแบบบานพักอาศัยกึง่ สําเร็จรูประบบ Formwork โดยการนํา VIVA BOARD มาประยุกตใชแทนไมแบบใน ระบบกอสรางแบบหลองานคอนกรีต หรือ Formwork โดยเมื่อทํา การเทปูนผนังแลว ผนัง VIVA สามารถใชเปนผนังภายใน หลังเสร็จ ขั้นตอนการหลอ ซึ่งชวยลดการเกิดขยะกอสราง เพิ่มความรวดเร็ว ในการทํางาน และลดตนทุนการกอสราง ระบบการกอสรางและ ตกแตงบาน ซึง่ นับเปนการลดของเสียทีเ่ กิดขึน้ จากการกอสรางและ ใชวัสดุไมกอใหเกิดมลภาวะอันรบกวนความสมบูรณของธรรมชาติ ดวยความมุงหวังขอเปนสวนหนึ่งที่ชวยสรางสรรคสังคมใหงดงาม และโลกที่งดงามตลอดไป

หากผูอานสนใจจะขอรับการสนับสนุนจาก สวทช. สําหรับธุรกิจ อุตสาหกรรมกอสรางและรับสรางบาน เพื่อเขารวมโครงการใหม เริ่มเปดรับสมัครแลว โดยจะเริ่มตนโครงการตน ป 2558 สามารถ สอบถามขอมูลเพื่อยื่นใบสมัครเขารวมโครงการ Prefabrication Innovation และนวัตกรรมระบบอาคารทางสถาปตยกรรมและ ระบบประกอบที่อยูอาศัย ไดที่ คุณชนากานต สันตยานนท โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@ tmc.nstda.or.th ฉบับหนาจะนําเสนอขอมูลดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของบริษัท อื่น ๆ ภายใตโครงการ Prefab Innovation ใหผูอานรับทราบตอไป ติดตามอานไดในฉบับหนาคะ

April 2015 89


Energy Loan กรีนภัทร์

สนพ. ใหทุนศึกษาตางประเทศป.โท-เอก ภายใตแผนเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและแผนพลังงานทดแทน

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òáͧ·Ø¹à¾×่Í¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ 䴌͹ØÁѵÔà§Ô¹¡Í§·Ø¹à¾×่Í¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ ãˌᡋÊํҹѡ§Ò¹¹âºÒÂáÅÐá¼¹¾Åѧ§Ò¹ (ʹ¾.) 㹡ÒôํÒà¹Ô¹â¤Ã§¡ÒÃʹѺʹع·Ø¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ »ÃШํÒ»‚ 2558 ·Ø¹¹Õ้໚¹ ·Ø¹à¾×่Í¡ÒÃÈÖ¡ÉÒã¹µ‹Ò§»ÃÐà·È à¾×่͵ŒÍ§¡ÒÃÊÌҧáÅоѲ¹ÒºØ¤ÅÒ¡ÃãËŒÁÕ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁàªÕ่ÂǪÒÞ´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹áÅСÒà ͹ØÃ¡Ñ É ¾Åѧ§Ò¹ ã¹ÃдѺ»ÃÔÞÞÒâ·áÅлÃÔÞÞÒàÍ¡ ÀÒÂ㵌Ἱà¾ÔÁ่ »ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹áÅÐá¼¹¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ สาขาวิชาที่ใหการสนับสนุนทุนการศึกษาตางประเทศมีท้ังหมด 2 สาขา คือ สาขาวิชา Policy, planning and management แบงยอยเปน 6 สาขาไดแก Energy policy and planning เพือ่ ความมัน่ คงในการจัดหาพลังงาน การวางแผนดานพลังงาน ในอนาคตจะตองคํานึงถึงเรื่องการแสวงหาพลังงานทดแทน มากขึ้นเรื่อย ๆ จึงตองมีการวางแผนอยางบูรณาการในระดับ ประเทศ โดยอาศัยองคความรูแ ละเครือ่ งมือวิเคราะห (Analysis tools) ใหม ๆ Regional energy planning เพื่อเพิ่มสัดสวน การใช พ ลั ง งานหมุ น เวี ย นตามแผนพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน จําเปนตองมีการกระจายการผลิตพลังงาน โดยเฉพาะพลังงานไฟฟาไปถึงระดับเมืองและชุมชน ในภูมิภาค ซึ่งอยูใกลแหลงทรัพยากรพลังงาน Climate and renewable energy finance พลังงาน หมุนเวียนมีตนทุนสูง จึงจําเปนตองไดรับการสนับสนุนจากรัฐหรืออาศัยกลไกพิเศษ โดยเฉพาะ กลไกตลาด Power system planning and management ในอนาคตการผลิตไฟฟาจะมีการ กระจายมากขึ้น โดยเฉพาะที่ใชพลังงานหมุนเวียนเปนหลัก ทําใหจําเปนตองมีการวางแผนและ กติการองรับ และกํากับดูแลใหเปนไปตามกติกา เพื่อใหระบบในภาพรวมมีเสถียรภาพและ ประสิทธิภาพ จึงจําเปนตองมีบุคลากรที่มีความรูดานวางแผนและจัดการระบบโครงขายไฟฟา Bio-energy system analysis เนื่องจากทรัพยากรชีวมวลและเทคโนโลยีเพื่อการผลิตความรอน ไฟฟาและเชื้อเพลิงเพื่อการขนสงมีความหลากหลาย และมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่กาวหนาขึ้น เรื่อย ๆ จึงตองมีการประเมินอยางเปนระบบเกี่ยวกับเทคโนโลยีตนทุน และผลกระทบเชิง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยบุคลากรที่มีทักษะการใชเครื่องมือ (Tools) วิเคราะหที่ ทันสมัย เพื่อใหไดทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดและมีความยั่งยืน และ Sustainable transport ภาคขนสงเปนภาคที่ใชพลังงานกวา 1 ใน 3 ของประเทศ จําเปนตองมีการศึกษาในเชิงนโยบาย เพือ่ สนับสนุนการวางแผนระบบ และ/หรือมาตรการทีท่ าํ ใหการขนสงสินคาและคนมีประสิทธิภาพ และลดการปลอยกาซเรือนกระจกและ สาขาวิชา Science and Technology แบงเปน 5 สาขายอย ไดแก Renewable energy technology : Bio energy, biogas, biofuels, wind energy, solar energy, eco-hydropower ประเทศไทยมีแผนพัฒนาพลังงานทดแทนที่มีเปาหมายเพิ่มการใชพลังงาน หมุนเวียนอยางชัดเจน จึงจําเปนตองมีการพัฒนาขีดความสามารถดานเทคโนโลยีพลังงาน หมุนเวียน โดยเฉพาะที่เหมาะกับการใชงานในบริบทของไทย Clean coal technology, carbon capture and storage กวา 80% ของพลังงานที่ใชในประเทศไทยยังอยูในรูปของเชื้อเพลิง ฟอสซิลโดยเฉพาะการ ผลิตไฟฟาจากถานหิน ยังคงมีบทบาทสูงในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา ของประเทศ จึงจําเปนตองมีการพัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีถานหินสะอาด รวมทั้งการใช เทคโนโลยีการดักและกักเก็บคารบอนไดออกไซดซงึ่ จะเปนเงือ่ นไข สําคัญทีจ่ ะทําใหการใชถา นหิน เปนทีย่ อมรับของสังคมมากขึน้ และเปนทางเลือกหนึง่ ของมาตรการลดการปลอยกาซเรือนกระจก

90

April 2015

Energy efficiency in buildings, sustainable building design ในภาคอาคารพาณิชยและ ที่อยูอาศัย เนื่องจากเปนสิ่งกอสรางที่มีอายุ ยืนยาว จึงจําเปนตองไดรับการออกแบบ ใหมีประสิทธิภาพเชิงพลังงานสูง ทั้งในเชิง สถาปตยกรรมและวิศวกรรม สามารถลดการ ใชวัสดุที่มีการปลอยกาซเรือนกระจกสูงใน การผลิต รวมทั้งมีการใชเทคโนโลยีระบบ อาคารที่มีประสิทธิภาพสูง Power system design and management เปนการรักษา ระบบสงและจายไฟฟาใหมีคุณภาพ มีความ เชื่อถือไดสูงและมีประสิทธิภาพหรือสูญเสีย นอย การมีบุคลากรที่มีความรูความสามารถ ดาน Grid design and management, smart grid ฯลฯ จะเปนเงื่อนไขสําคัญสําหรับรองรับ การผลิตไฟฟาแบบกระจาย (Decentralized) อยางกวางขวางในอนาคต และ Energy storage technology เทคโนโลยี Energy storage เปน เงื่อนไขสําคัญสําหรับการใชรถยนตไฟฟาและ การใช ไ ฟฟ า ที่ ผ ลิ ต จากพลั ง งานหมุ น เวี ย น อยางมีเสถียรภาพ จึงจําเปนตองมีบุคลากร ทีม่ คี วามรูเ ฉพาะดานทีเ่ กีย่ วของกับเทคโนโลยี การกักเก็บพลังงาน เชน เทคโนโลยีแบตเตอรี่ และเทคโนโลยีกักเก็บพลังงานรูปแบบอื่น ๆ ผู  ที่ ส นใจขอทุ น การศึ ก ษาดั ง กล า วสามารถ สมัครไดตั้งแตวันนี้ – 31 เมษายน 2558 นี้ และสามารถเขาไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.eppo.go.th/encon/research-2558/ index.html ไดเลยคะ


April 2015 PB


Special report เจด้า

เปิดศูนย์ทดสอบยางล้อ

น�าร่องอุตสาหกรรมยางไทยสู่มาตรฐานโลก

สถาบันยานยนต์ องค์กรตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เปิดศูนย์ ทดสอบยางล้อภายใต้งบประมาณ 85 ล้านบาท จาก กระทรวงอุ ต สาหกรรม และส� า นั ก งาน มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม ส� า หรั บ ตรวจมาตรฐานตาม UN/ECE และตามข้ อ ตกลงอาเซียน เพื่อขยายการแข่งขันให้มาตรฐาน อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยได้รบ ั ความเชือ่ ถือ จากในอาเซียน และระดับโลก

PB92

April April2015 2015

นางอรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ยางยานพาหนะ หรือยางล้อเป็นผลิตภัณฑ์ในกลุ่มอุตสาหกรรมยางที่ใช้ยางธรรมชาติมากเป็น อันดับหนึง่ ของกลุม่ ผลิตภัณฑ์ยางทัง้ หมด มีมลู ค่าการส่งออกในปีทผี่ า่ นมาประมาณ 1.2 แสนล้ านบาท ซึ่ ง ทิ ศ ทางของอุ ต สาหกรรมยางล้อ ที่ศึกษาโดยกลุ่มศึกษา เรื่องยางระหว่างประเทศ หรือ IRSG ได้คาดการณ์ปริมาณความต้องการใช้ ยางธรรมชาติของโลกมีทิศทางเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปี พ.ศ. 2563 ความต้องการยางของโลกจะอยูท่ ถี่ งึ 31.7 ล้านตัน เป็นมูลค่าประมาณ 13 ล้านล้าน เหรียญสหรัฐ จากทิศทางการเติบโตของอุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศจีนที่ก้าวกระโดดกลาย เป็นตลาดรถยนต์อันดับ 1 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา ท�าให้ความต้องการยาง รถยนต์เพิ่มมากขึ้น ปริมาณความต้องการใช้ยางธรรมชาติทั้งในประเทศจีนและ ของโลกจึงเพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย ส่งผลให้ศกั ยภาพการผลิตยางล้อของไทย ต้องพร้อมรับ กับมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับยางล้อทีเ่ ป็นมาตรฐาน UN/ECE และมาตรฐานสากลอืน่ ๆ ที่จะผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตล้อยางของเอเชีย


Special report ศู น ย์ ท ดสอบยางล้ อ สถาบั น ยานยนต์ ถื อ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น เพื่ อ ผลั ก ดั น พั ฒ นา อุ ต สาหกรรมยางยานพาหนะไปสู ่ ร ะดั บ สากล และช่วยลดระยะเวลาและค่าใช้จ่าย การทดสอบ เพื่อรองรับมาตรฐานต่างๆ ที่จะมีขึ้นในอนาคตโดยจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ ส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและพัฒนาการผลิต ยางใหม่ของผูป้ ระกอบการไทยให้ได้มาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับในตลาดโลก เพิ่มขีดความ สามารถให้แก่ผู้ประกอบการไทย นายหทั ย อู ่ ไ ทย เลขาธิ ก ารส� า นั ก งาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กล่าวว่า มาตรฐานยางล้อในปัจจุบนั จะค�านึงถึงความ ปลอดภั ย สิ่ ง แวดล้ อ ม และการประหยั ด พลังงานเป็นหลัก ให้ได้มาตรฐานตามค่าที่ ก�าหนด โดยการทดสอบเพื่อขอ มอก.สินค้า ตามประเภทของยาง ประกอบด้วย 1. มอก.367-2532 ECE Regulation no.R54 การทดสอบยางรถบรรทุก 2. มอก.367-2532 ECE Regulation no.R30 การทดสอบยางรถยนต์ 3. มอก.682-2540 ECE Regulation no.R75 การทดสอบยางรถจักรยานยนต์ 4. มอก.367-2552 ECE Regulation no.R117 Rolling Resistance ปั จ จุ บั น ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น อุตสาหกรรมยางล้อของไทยยังมีข้อจ�ากัด ส่ ง ผลให้ ก ารส่ ง ออกมี แ นวโน้ ม ชะลอตั ว เนือ่ งจากสินค้าไทยไม่ได้การรับรองมาตรฐาน ที่จะเข้าสู่ตลาดสากล ปัญหาจากมาตรฐาน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องไทยที่ ใช้ อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น ไม่ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล และไม่เป็นที่ ยอมรับของประเทศคูค่ า้ ทีบ่ งั คับใช้มาตรฐาน UNECE Regulation ซึ่ ง ไทยยั ง ไม่ มี ก าร บังคับใช้มาตรฐานดังกล่าว รวมทั้งศูนย์ ทดสอบและการให้การรับรอง ต้องส่งไป ทดสอบและรับรองที่ต่างประเทศ ท�าให้เสีย เวลาและเสี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการด� า เนิ น การ ถึงปีละไม่ต�่ากว่า 50 ล้านบาท

การจัดตั้งศูนย์ทดสอบครั้งนี้ จึงเป็นส่วน หนึ่งในการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ยางล้อของไทย ท�าให้ขีดความสามารถใน การแข่งขันของอุตสาหกรรมไทยทั้งตลาด ในประเทศและต่างประเทศเพิม่ ขึน้ มีรายได้ จากการส่งออกยางล้อเพิ่มขึ้น โดยการ ปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางล้อ รวมถึง กระบวนการทดสอบและรับรองมาตรฐาน ดังกล่าว เป็นการสร้างการยอมรับจากลูกค้า เพือ่ ลดอุปสรรคและขยายโอกาสทางการค้า ไปยังตลาดโลก นายวิชัย จิราธิยุต ผู้อ�านวยการสถาบันยานยนต์ กล่าวว่า สถาบันฯได้รับการสนับสนุน จาก ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งได้สนับสนุน เครื่องมือทดสอบยางล้อตามมาตรฐาน UN-ECE ที่มีศักยภาพในการให้บริการ ตรวจสอบความทนทานของยางล้อส�าหรับรถยนต์ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ รถยนต์นงั่ ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ รวมไปถึง รถบรรทุก รถโดยสารขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังสามารถตรวจ สอบความต้านทานการหมุนของยางล้อ หรือ Rolling Resistance หนึ่งในรายการตรวจสอบ เพื่อบ่งบอกระดับการประหยัดพลังงานตามมาตรฐานของยางล้อตามมาตรฐาน UN-R117 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ทั่วโลกก�าลังให้ความส�าคัญอย่างมากในปัจจุบัน ศูนย์ทดสอบยางล้อสถาบันยานยนต์ จึงมีศกั ยภาพและความพร้อมในการให้บริการในการ เป็นโครงสร้างพื้นฐานทางวิศวกรรมด้านการตรวจสอบและรับรองยางล้อที่ทันสมัยให้กับ ภาครัฐและเอกชน เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการผลิตยางล้อทีม่ คี ณ ุ ภาพภายในประเทศให้เป็นทีย่ อมรับ และในตลาดสากล นอกจากนี้ยังสามารถสนับสนุนการวิจัยออกแบบ พัฒนา และนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ยางล้อและผลิตภัณฑ์ เพื่อสนับสนุนให้ประเทศไทยมีศักยภาพด้านการตรวจสอบ และรับรองผลิตภัณฑ์ยางล้อตามมาตรฐาน UN-ECE ด้วยตนเอง ซึง่ จะช่วยลดต้นทุนดังกล่าว ในขั้นตอนของการผลิตจากการต้องส่งยางล้อไปทดสอบที่ต่างประเทศอีกด้วย April April2015 2015 93PB


Special Scoop Rainbow Ice

¡Ò¡¢Í§àÊÕÂÍصÊÒË¡ÃÃÁ ·Õ่¡®ËÁÒÂâç§Ò¹àÃÕÂ¡Ç‹Ò ÊÔ่§»¯Ô¡ÙÅËÃ×ÍÇÑÊ´Ø·Õ่äÁ‹ãªŒ áŌǹѹ ้ ËÁÒ¶֧¢Í§àÊÕÂËÃ×ÍÊÔ§่ ·Õä่ Á‹ãªŒáŌǷÕà่ ¡Ô´¨Ò¡¡ÒûÃСͺ¡Ô¨¡ÒÃâç§Ò¹ µÑ้§áµ‹¡Ãкǹ¡ÒÃÃѺÇѵ¶Ø´Ôº ¡ÒüÅÔµ ¡ÒõÃǨÊͺ¤Ø³ÀÒ¾ ¡ÒúํҺѴÁžÔÉ ¡Òë‹ÍÁºํÒÃاà¤Ã×่ͧ¨Ñ¡Ã/ÍØ»¡Ã³ ¡ÒÃÃ×้Ͷ͹/¡‹ÍÊÌҧÍÒ¤ÒÃÀÒÂ㹺ÃÔàdz âç§Ò¹ ÃÇÁ·Ñ้§¡Ò¡µÐ¡Í¹ ËÃ×ÍÊÔ่§µ¡¤ŒÒ§¨Ò¡ÊÔ่§àËÅ‹Ò¹Ñ้¹ ·Ñ้§·Õ่ÍÂÙ‹ã¹ÊÀÒÇТͧá¢็§ ¢Í§àËÅÇËÃ×Í¡ Ò« ·Ñ้§¹Õ้ÃÇÁ¶Ö§¢Í§àÊÕÂÍѹµÃÒ·Õ่à¡Ô´¨Ò¡ÍÒ¤ÒÃÊํҹѡ§Ò¹áÅзÕ่¾Ñ¡ ¤¹§Ò¹·ÕÍ่ ÂÙÀ ‹ ÒÂ㹺ÃÔàdzâç§Ò¹ ¡àÇŒ¹¢Í§àÊÕÂäÁ‹Í¹Ñ µÃÒ·Õà่ ¡Ô´¨Ò¡ÍÒ¤ÒÃÊํҹѡ§Ò¹ áÅкŒÒ¹¾Ñ¡¤¹§Ò¹ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ ˹ѧÊ×;ÔÁ¾ àÈÉÍÒËÒà ¢ÂÐÁÙŽÍ·Ñ่Çä»

กรอ. เผย 4 ยุทธศาสตรจัดการกากอุตสาหกรรม ยกระดับอุตสาหกรรมไทยสูยุคสีเขียว 2015 ซึง่ นับวันกากของเสียอุตสาหกรรมเหลานีก้ ย็ งิ่ เพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ จึงทําให ทาง กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) หาแนวทางแกปญหาจัดการ กากของเสียอุตสาหกรรมขึ้น จึงไดทําการรวมมือกับภาคเอกชน เปดโรงงานอุตสาหกรรมสําหรับกําจัดกากอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ และหวังใหเกิดธุรกิจกําจัดกากกวา 5,000 ลานบาทตอป พรอม ปองกันการกีดกันการคาที่ไมใชภาษีเพิ่มโอกาสตอรองทางการคาใน ตลาดโลก

ดร. พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม

9494

April April2015 2015

ทั้ ง นี้ จํ า นวนโรงงงานผู  ก  อ กํ า เนิ ด กากที่ แจ ง ประกอบกิ จ การแล ว มีทงั้ หมด 68,000 โรง (ไมนบั โรงงานลําดับที่ 101 105 และ 106) โรงงานลําดับที่ 101 คือ โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (Central Waste Treatment Plant) โรงงานลําดับที่ 105 คือ โรงงานประกอบ กิจการเกี่ยวกับการคัดแยกหรือฝงกลบสิ่งปฎิกูลหรือวัสดุท่ีไมใชแลว ที่มีลักษณะและคุณสมบัติตามที่กําหนดไวใน กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 และโรงงานลําดับที่ 106 คือ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนํา ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่ไมใชแลวหรือของเสียจากโรงงานมาผลิต เป น วั ต ถุ ดิ บ หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม โ ดยผ า นกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต ทาง อุตสาหกรรม ทาง กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) เองไดกําหนด 4 ยุทธศาสตร จัดการกากอุตสาหกรรมขึ้น ทั้งยังคาดหวังวาจะสําเร็จภายใน 5 ป พรอมตั้งเปา โรงงานที่มีใบอนุญาต ร.ง. 4 เขาสูระบบการจัดการ กากอุตสาหกรรม ไมนอ ยกวา 90% ในป 2563 ดวยมาตรการควบคุม ดูแลอันเขมขน เชน เปรียบเทียบปรับดําเนินคดีผไู มปฏิบตั ติ ามกฎหมาย เพิ่ ม โทษจํ า คุ ก และอายุ ค วามเพื่ อ ให ติ ด ตามดํ า เนิ น คดี ผู  ลั ก ลอบ ทิง้ กากไดจริง การไมตอ ใบอนุญาตประกอบกิจการ ร.ง. 4 ตลอดจน ยังมีแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ เชน ติดตามการขนสงกาก


ด้ ว ยระบบ GPS และการพั ฒ นาระบบสารสนเทศ E-license โดยใช้ Smart form เข้ามาช่วยผูป้ ระกอบการในการรายงานผลง่ายขึน้ ทั้งนี้จากข้อมูลปี 2557 พบว่าประเทศไทยมีสัดส่วนจ�านวนโรงงาน ผู้ก่อก�าเนิดกากอุตสาหกรรม กับจ�านวนโรงงานผู้รับบ�าบัด/ก�าจัด/ รี ไซเคิ ล ทั่ ว ประเทศ ประมาณ 40:1 อย่ า งไรก็ ต าม กรมโรงงาน อุตสาหกรรม (กรอ.) ก�าลังท�าการศึกษาจัดหาพืน้ ทีร่ องรับกากอุตสาหกรรม ทัว่ ประเทศ 6 แห่ง เพื่อให้เพียงพอที่จะจัดการกากอุตสาหกรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพภายในอนาคต โดยปัจจุบันได้ร่วมมือกับ กระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรมแห่งประเทศญี่ปุ่น (METI) โดย องค์กร NEDO (New Energy and Industrial Technology Development Organization) พัฒนาโครงการเตาเผาขยะร่วมทีท่ นั สมัย ขนาด 500 ตันต่อวัน ระยะเวลา 5 ปี มูลค่ากว่า 2,000 ล้านบาท โดยคาดว่าถ้าการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรมประสบผลส�าเร็จ จะก่อให้เกิดธุรกิจก�าจัดกากในประเทศมูลค่ากว่า 5,000-10,000 ล้านบาทต่อปี แนวโน้มด้านเศรษฐกิจโลกได้เริ่มใช้มาตรฐานความปลอดภัยและ สิง่ แวดล้อมมาเป็นมาตรการกีดกันทางการค้าทีไ่ ม่ใช่ภาษี (NTB : Non tariff barrier) มาเป็นเครือ่ งมือให้ทกุ ชาติทเี่ ป็นผูผ้ ลิตอยูใ่ นบรรทัดฐาน ที่มีการดูแลภาคอุตสาหกรรมที่ทัดเทียมกัน ดังนั้น ประเทศไทย จึ ง มี ค วามจ� าเป็ น ต้ อ งยกระดั บ อุ ต สาหกรรมไทยก้ าวสู ่ ยุ ค สี เขี ยว อย่างแท้จริงซึ่งการจัดการกากอุตสาหกรรมถือเป็นส่วนส�าคัญใน การส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมไทยให้ ไ ด้ ม าตรฐานทั้ ง สิ น ค้ า และการ บริหารจัดการในการผลิต โดยปัจจุบนั ภาคอุตสาหกรรมสร้างรายได้ให้ กับประเทศไทย โดยในปี 2557 สร้างมูลค่ามากถึงร้อยละ 40 ของ GDP หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศหรือประมาณ 5 ล้านล้านบาท จาก GDP รวม 12.14 ล้านล้านบาท ทัง้ นีก้ ารผลิตในภาคอุตสาหกรรม ย่อมเกิดของเสียหรือกากจากวัตถุดิบต่าง ๆ ที่ไม่สามารถท�าให้เป็น สินค้าได้ทั้งหมด หรือที่เรียกว่ากากอุตสาหกรรมแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ กากอันตราย และ กากไม่อันตราย ซึ่งทั้งหมดจ�าเป็นต้อง ได้ รั บ การจั ด การที่ ถู ก ต้ อ ง ทั้ ง นี้ ก รมโรงงานอุ ต สาหกรรม (กรอ.) มีบทบาทในการจัดการปัญหากากอุตสาหกรรมให้ถกู ต้อง จึงก�าหนด แผนยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ครอบคลุมใน 3 กลุ่มผู้เกี่ยวข้องได้แก่ กลุม่ โรงงานผูก้ อ่ ก�าเนิดกาก กลุม่ ผูข้ นส่งและกลุม่ โรงงานผูร้ บั บ�าบัด/ ก�าจัด/รีไซเคิลกาก โดยมีรายละเอียดดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ควบคุมและก�ากับดูแลให้ทุกโรงงานปฏิบัติตาม กฎหมาย เนื่องจากปัญหาใหญ่ของการจัดการกากอุตสาหกรรม คือ ผู้ประกอบการ เจ้าของโรงงานผู้ก่อก�าเนิดกากส่วนใหญ่มากกว่า ร้อยละ 90 ยังไม่ได้มีการจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างถูกต้องตาม กฎหมาย โดยโรงงานที่มีใบประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 4) ที่ได้ มีการแจ้งประกอบกิจการแล้วจ�านวนทั้งหมด 68,000 โรง (ไม่นับ โรงงานล�าดับที่ 101 105 และ 106) มีโรงงานที่แจ้งขนส่งกาก

อุ ต สาหกรรมออกไปบ� า บั ด /ก� า จั ด /รี ไซเคิ ล กากอุ ต สาหกรรม เพียงประมาณ 5,300 โรงหรือคิดเป็น 7% เท่านัน้ กรอ.เตรียมจัดตัง้ ศูนย์ช่วยเหลือและติดตามการต่ออายุโรงงานที่ขาดการจัดการกาก อุตสาหกรรมทัว่ ทัง้ 6 ภูมภิ าค มีภารกิจหลักคือ ช่วยเหลือผู้ประกอบ การในการเข้าสู่ระบบอนุญาตก�าจัดกากอุตสาหกรรมและติดตาม การต่ออายุของโรงงานที่ขาดการจัดการกากอุตสาหกรรม โดยมีการ สั่งการและเปรียบเทียบปรับ จนถึงการไม่ตอ่ อายุใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงาน ร.ง. 4 ส�าหรับผู้ประกอบกิจการที่ไม่จัดการกาก ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการอ�านวยความสะดวกให้ผู้ประกอบการ สามารถลงทะเบียนขออนุญาต สก. 1 สก. 2 ได้ ผ่านระบบอนุญาต แบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-license) พร้อมพัฒนาระบบ Smart form เข้า มาช่วยผู้ประกอบการ และจัดสร้างระบบฐานข้อมูลและติดตามการ ขนส่งกาก (GPS) ทั้งนี้มีรถบรรทุกกากอันตรายที่ได้ขึ้นทะเบียนกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรมและจะต้องติดตั้ง GPS จ�านวน 3,426 คัน ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความร่วมมือและแรงจูงใจ ส่งเสริมการ จัดการกากอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ โดยศึกษาพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพ ในการน�ากากมาใช้ประโยชน์ในรูปพลังงาน 10 พื้นที่ทั่วประเทศ โดยสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการให้องค์ความรู้และ พัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถเพื่อท�าหน้าที่เป็น Third party ใน การศึ ก ษาหาพื้ น ที่ แทนเจ้ าหน้า ที่ของรัฐที่มีจ�านวนจ�ากัดเพื่อ ให้ บรรลุเป้าหมาย 10 แห่งภายใน ปี 2558 และปรับปรุงต�ารากาก อุตสาหกรรม ส�าหรับผู้ควบคุมมลพิษกากอุตสาหกรรมและ Third party ขณะเดียวกันได้สร้างแรงจูงใจโดยการเพิม่ สัดส่วนเงินรางวัลจาก ค่าปรับผู้ลักลอบทิ้งกากให้แก่ประชาชนผู้แจ้งเบาะแสร้อยละ 25% ของค่าปรับส่วนทีเ่ ป็นเงินรางวัล ยกตัวอย่างหากค่าปรับ 200,000 บาท จะถูกแบ่งเป็นเงินรางวัล 60 % ทีเ่ หลือส่งเข้ากระทรวงการคลัง 40% กรณีดังกล่าวเงินรางวัลเท่ากับ 120,000 บาท โดยผู้แจ้งเบาะแสจะ ได้รับเงิน 25 % ของเงินรางวัลซึ่งเท่ากับ 30,000 บาท โดยจะมีการ ขอเพิ่ ม สั ด ส่ ว นนี้ ขึ้ น หลั ง จากที่ เ สนอคณะรั ฐ มนตรี ภ ายในเดื อ น มีนาคมที่ผ่านมา April April2015 2015 9595


Special Scoop Rainbow Ice

ยุทธศาสตร์ ที่ 3 เครือข่ายภายในประเทศ ที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น กระทรวงอุ ต สาหกรรม โดยเพิ่ ม ความเข้ ม งวดกั บ ผู ้ ข นส่ ง กาก อุตสาหกรรมป้องกันไม่ให้เกิดการลักลอบทิง้ โดยขอความร่วมมือเชิงบูรณาการกับหน่วยงาน ทีม่ อี า� นาจดูแลยานพาหนะ (รถบรรทุก) และ ถนน ได้แก่ กรมการขนส่งทางบก ส�านักงาน ต�ารวจแห่งชาติ ช่วยตรวจ/ควบคุมรถขนส่ง กากอันตรายที่วิ่งตามท้องถนน โดยเฉพาะ รถที่ยังไม่มีการขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงาน และไม่มีติดตั้ง GPS อย่างถูกต้อง ส่วน เครื อ ข่ า ยต่ า งประเทศที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น กระทรวงอุตสาหกรรม คือกระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรมแห่งประเทศญี่ปุ่น (METI) โดยองค์กร NEDO (New Energy and Industrial Technology Development Organization) ให้การสนับสนุนโครงการพัฒนา เตาเผาขยะร่วมที่ทันสมัย ขนาด 500 ตัน ต่อวัน ระยะเวลา 5 ปี มูลค่ากว่า 2,000 ล้านบาท พร้อมทัง้ ส่งผูเ้ ชีย่ วชาญมาช่วยเหลือ กรมโรงงานอุตสาหกรรมศึกษาพื้นที่รองรับ กาก โดยที่ผ่านมากรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้ก่อตั้งเตาเผากากอันตรายด้วยความร้อน สูงแห่งเดียวในประเทศไทย ใช้งบประมาณ การลงทุนถึง 1,408 ล้านบาท ที่ให้บริการ เผาท�าลายขยะ สิง่ ปฏิกลู และวัสดุทไี่ ม่ใช้แล้ว ทุกชนิด โดยได้มอบสัมปทานสิทธิบริหาร ให้ บริษทั อัคคีปราการบริหารในรูปแบบเอกชน เมื่อปี 2551 และ ยุทธศาสตร์ ที่ 4 ปรับปรุงกฎหมาย เพื่อติดตามผู้กระท�าผิดและอ�านวยความ สะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย โดยการ เข้มงวดกับโรงงานทีไ่ ม่เข้าระบบอย่างถูกต้อง โดยแก้ขอ้ กฎหมายทีเ่ คยเป็นอุปสรรคทัง้ หมด เช่น เพิ่มบทลงโทษจ�าคุกกับผู้ลักลอบขนส่ง กากที่มีโทษเพียงปรับ 200,000 บาท โดย ขยายอายุความเป็น 10 ปี ซึ่งในปัจจุบัน มีอายุความเพียง 1 ปี ท�าให้กรมโรงงาน อุตสาหกรรม ไม่สามารถติดตามผู้กระท�า ผิดมาลงโทษได้ทันการณ์ นอกจากนี้ยังออก ประกาศ อก. ไม่ต่ออายุใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงาน ร.ง. 4 อีกด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อให้ 96

April 2015

ผู้ประกอบการที่ก�าลังจะเข้ามาในงานอุตสาหกรรมรวมถึงผู้ที่อยู่ในอุตสาหกรรมนี้อยู่แล้ว ได้เตรียมความพร้อมในเรื่องการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคม ที่จะต้องดูแลจัดการปัญหา กากอุตสาหกรรมอย่างถูกต้อง เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยไปอย่างยั่งยืน ส่งเสริมให้ชุมชนและโรงงานอยู่ร่วมกันได้โดยไม่มีความขัดแย้ง ด้าน ดร. พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้ให้ความเห็นเห็นในเรื่องนี้ว่า ทัง้ นีจ้ ากข้อมูลปี 2557 พบว่าประเทศไทยมีสดั ส่วนจ�านวนโรงงานผูก้ อ่ ก�าเนิดกากอุตสาหกรรม กับจ�านวนโรงงานผู้รับบ�าบัด/ก�าจัด/รีไซเคิล ทั่วประเทศ ประมาณ 40:1 โดย ภาคตะวันออก มีสดั ส่วน 12:1 รองลงมาคือภาคกลาง 44:1 ภาคตะวันตก 65:1 ภาคอีสาน 101:1 ภาคเหนือ 102:1 และภาคใต้ 121:1 อย่างไรก็ตาม กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ได้รับมอบหมาย จากกระทรวงอุตสาหกรรมท�าการศึกษาจัดหาพืน้ ทีร่ องรับกากอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศ 6 แห่ง เพื่อให้เพียงพอที่จะจัดการกากอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพภายในอนาคต โดยจะ ร่วมมือกับกระทรวงอืน่ ๆ รวมทัง้ ภาคเอกชน หาพืน้ ทีร่ องรับกาก (Site selection) ทีเ่ หมาะสม ภายในกันยายนนี้ ทั้งนี้กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ได้ทมุ่ งบประมาณกว่า 200 ล้านบาทรองรับแผนการด�าเนินงาน 4 ยุทธศาสตร์ในระยะ 2 ปีแรก ส่วนงบประมาณรวมส�าหรับการจัดการกากอุตสาหกรรม 5 ปี คือ 430 ล้านบาท คาดว่าถ้า การบริหารจัดการกากอุตสาหกรรมประสบความส�าเร็จ จะก่อให้เกิดธุรกิจก�าจัดกากในประเทศ มูลค่ากว่า 5,000-10,000 ล้านบาทต่อปี ทั้งนี้ ผู้ประกอบการสามารถลงทะเบียนเข้าระบบจัดการวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-License) ได้ที่เว็บไซต์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ส�านักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม http://www2.diw.go.th/e-license/login.asp หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วน กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1564


April 2015 PB


Green 4U จีรพร ทิพย์เคลือบ

¡ÃÐ້ҼŒÒ “äÁŒ¡ Í¡”

¤Ø³ÊØÀÒÇ´Õ á¡ŒÇ¤ํÒ ÊÌҧÊÃä §Ò¹áι´ àÁ´·Õ¹ ่ Òํ ÇÑÊ´ØàËÅ×Í㪌ÁÒ·ํÒ¡ÃÐà»‰Ò áºÃ¹´ “Mazmoizell” «Ö่§·ํÒ¨Ò¡äÁŒ¡ Í¡·Õ่ÁÕ¤ÇÒÁÊǧÒÁµÃ§µÒÁ ¤Í¹à«»µ ÇÊÑ ´Ø¨Ò¡¸ÃÃÁªÒµÔ ´ŒÇ´Õ䫹 ·¹ Ñ ÊÁÑ ¶Ù¡ã¨ÇÑÂÃع ‹ ¨ํҹǹÁÒ¡ ¨Ø´à´‹¹¢Í§¼ÅÔµÀѳ± ¤×Í ÊÒÁÒö¡Ñ¹¹ํ้Òä´Œ áËŒ§àÃ็Ç ¼ŒÒÁÕ¤ÇÒÁà˹ÕÂÇ äÁ‹ËÅشŋ͹§‹Ò ¹ํÒ้ ˹ѡàºÒ ÊÒÁÒöÃѺ¹ํÒ้ ˹ѡ¢Í§ÊÔ§่ ¢Í§ä´Œ 10 ¡ÔâÅ¡ÃÑÁ ÍÕ¡·Ñ้§¹ํÒÇÑÊ´ØÍ×่¹ÁÒ໚¹Ê‹Ç¹»ÃСͺ¢Í§¡ÃÐ້Òä´Œ ઋ¹ ˹ѧ âÅËÐ ¼ŒÒ áÅÐÂѧãÊ‹ÊÕÊѹãËŒ¼ŒÒäÁŒ¡ Í¡ä´ŒÍÕ¡´ŒÇ ¡ÃÐ້ҼŒÒäÁŒ¡ Í¡ÁÕ¤ÇÒÁ¾ÔàÈÉ ·Õ่äÁ‹àËÁ×͹ã¤Ã ÅÇ´ÅÒ ÊǧÒÁ ¹ํ้Ò˹ѡàºÒ ¡Ñ¹¹ํ้Òä´Œ´Õ ໚¹ÁԵõ‹Í ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ «Ö่§áºÃ¹´ “Mazmoizell” ໚¹áºÃ¹´ ä·Â·Õ่µ‹Ò§ªÒµÔãËŒ¡Òà ÂÍÁÃѺ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.mazmoizelle.com)

µØ ¡µÒ¨Ò¡ÇÑÊ´ØàËÅ×Í㪌

Eric Barclay ¹Ñ¡Í͡Ẻ ¹Ñ¡ÇÒ´ÀÒ¾»ÃСͺ á¹ÇÊÌҧÊÃä ÍÒÃÁ³ ´Õ ä´ŒÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹¨Ò¡ÇÑÊ´ØàËÅ×Í㪌 ´ŒÇ¡ÒÃà¹ÃÁÔµ¨Ô¹µ¹Ò¡ÒÃŧº¹ÇÑÊ´Ø µÒÁÃÙ » Ë Ò § ÃÙ » ·Ã§ÊÔ่ § ¢Í§àËÅ× Í ãªŒ ã ¹ºŒ Ò ¹ ઋ ¹ ¢Ç´«ÍÊ ¡Ãл‰ Í §à»Å‹ Ò ¨¹¼ÙŒ¾ºàË็¹ä´ŒÍÁÂÔ้Á仵ÒÁæ ¡Ñ¹ ઋ¹ ¢Ç´â¤Œ¡ 2 ÅԵ÷Õ่àÃÒàË็¹¨¹ªÔ¹µÒ á»Å§Ã‹Ò§¨¹¨ํÒäÁ‹ä´Œ ¡ÅÒÂ໚¹¢Ç´¹Ô·Ò¹ÍÔ¹à´Õ àÃ×Í่ §ÃÒǢͧ Ãѹ¨Ô ÍÔ¹·ÔÃÒ áÅР਌ҪŒÒ§¢Í§à¢Ò ¡ํÒÅѧà´Ô¹·Ò§¾ÒàËÅ‹Òà´็¡¡ํҾÌÒä»àÁ×ͧàÊ×Í à»š¹¡Òü¨ÞÀÑ ·Õ่ʹءʹҹ áÅÐàµ็Áä»´ŒÇ¤ÇÒÁÊØ¢·Õ่äÁ‹ÊÔ้¹ÊØ´ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.creativemove.com/creative)

ªÑ้¹ÇÒ§¢Í§»ÃÐËÂÑ´·ÃѾÂÒ¡Ã

FRAMES 2.0 Í͡Ẻâ´Â Gerard de Hoop ªÑ¹ ้ ÇÒ§¢Í§·Õã่ ªŒ·ÃѾÂÒ¡Ã ¹ŒÍÂᵋÁÕ»ÃÐ⪹ ÁÒ¡ÁÒ ʋǹ»ÃСͺ¢Í§§Ò¹ ¤×Í ¡ÃͺäÁŒ ¨ํҹǹ 12 ªÔ¹ ้ «Ö§่ ÊÒÁÒöãʋࢌÒä»à»š¹äÁŒ¢¹Ò´á¼‹¹à´ÕÂÇ à¾×่ÍÊдǡ㹡Òâ¹Ê‹§ áÅШѴà¡็º ÊÒÁÒöá¡ÐÍÍ¡ÁÒ໚¹ 12 ªÔ้¹ «Ö่§ÁÕ¢¹Ò´¤ÇÒÁ¡ÇŒÒ§ÂÒÇ µ‹Ò§ æ ¡Ñ¹ ᵋÅЪÔ้¹ÁÕª‹Í§Ç‹Ò§µÃ§¡ÅÒ§ ᵋàÁ×่͹ํÒÁÒÇÒ§µ‹Í¡Ñ¹à»š¹ªÑ้¹ ¢¹Ò´ãËÞ‹¡็¨ÐÊÒÁÒö¡Ñ้¹ËŒÍ§ Çҧ˹ѧÊ×Í ¡ÃжҧµŒ¹äÁŒ ÊÔ่§¢Í§µ‹Ò§ æ áÅÐÁÕ¤ÇÒÁâ»Ã‹§âÅ‹§ äÁ‹¡Ñ้¹áʧËÃ×ÍÅÁ ª‹Ç»ÃÐËÂÑ´µŒ¹·Ø¹ ࢌҡѺ¤ÇÒÁ µŒÍ§¡ÒâͧÂؤÊÁÑ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th)

¡Ãжҧ‹ÍÂÊÅÒÂä´Œ

TAPIO ¼ÅÔµ¨Ò¡á»‡§ÁѹÊํÒ»ÐËÅѧ ¶Ù¡Í͡ẺÁÒãˌ㪌¡º Ñ ¡ÒÃà¾ÒÐàÁÅ็´ËÃ×Í »ÅÙ¡µŒ¹¡ÅŒÒ àÁ×่͵Œ¹¡ÅŒÒà¨ÃÔÞàµÔºâµ¾Í·Õ่¨ÐÂŒÒÂä»»Å١ŧ´Ô¹¡็ÊÒÁÒö¹ํÒ ¡Ãжҧŧá»Å§»ÅÙ¡ä´Œ·¹ Ñ ·Õâ´ÂäÁ‹µÍŒ §¶Í´¡ÃжҧÍÍ¡ à¹×Í่ §¨Ò¡¼ÅÔµ´ŒÇ ÇÑÊ´Ø·ËÕ่ Òä´Œ§Ò‹ ÂáÅÐ໚¹¸ÃÃÁªÒµÔ¨§Ö ‹ÍÂÊÅÒÂä´Œàͧ ໚¹ÁԵáѺÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁ ÊํÒËÃѺ¡Ãжҧà¾ÒÐàÁÅ็´ªØ´¹Õ้ ໚¹¼Å¾Ç§¢Í§¤ÇÒÁËÇÁÁ×͡ѹÃÐËÇ‹Ò§ DOGO áÅÐ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉµÃÈÒʵà 㹡ÒäԴ¤Œ¹â»Ãਡµ ¨Ò¡¡ÒùํÒÇÑÊ´ØàËÅ×Í㪌 ·Õ่ËÒä´Œ§‹ÒÂã¹»ÃÐà·Èä·ÂÁÒà¾Ô่ÁÁÙŤ‹ÒáÅйํÒ¡ÅѺÊÙ‹¸ÃÃÁªÒµÔ à¾×่ÍÃÑ¡ÉÒ ÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.dogoonline.com)

98

April 2015


Bios Urn ඌҡÃд١‹ÍÂÊÅÒÂä´Œ

Mini Power ¨Ò¡ Paper battery

Mini Power ໚¹§Ò¹Í͡Ẻ·Õä่ ´ŒÃºÑ ÃÒ§ÇÑÅ 2014 Red Dot Awards: Design Concept winner ໚¹¡ÒÃÍ͡Ẻ·Õ่µÍºâ¨·Â ·Õ่¤¹ãªŒ smartphone ·Õ่ÁÑ¡»ÃÐʺ»˜ÞËҡѺẵàµÍÃÕ่ËÁ´ã¹ª‹Ç§àÇÅÒÊํÒ¤ÑÞ «Ö่§ Mini Power ໚¹à·¤â¹âÅÂÕ·Á Õ่ ¾ Õ ¹ ×้ °Ò¹¨Ò¡ Paper battery áÅж١Í͡ẺãËŒÁ¢Õ ¹Ò´àÅ็¡ ÁÒ¡¡Ç‹ÒÍØ»¡Ã³ ¡ÒêÒà ¨·Ñ้§ËÅÒ ÃÇÁ·Ñ้§áºµàµÍÃÕ่ÊํÒÃͧ´ŒÇ ÁÕ¤ÇÒÁ¨Ø ¾Åѧ§Ò¹ à¾Õ§¾Íà·‹Ò·Õ่¨ํÒ໚¹ ¤×Í áºº 2 ªÁ. 4 ªÁ. áÅÐ 6 ªÁ. ¹Ñºà»š¹ á¹Ç¤Ô´¼ÅÔµÀѳ± ·Õ่µÍºÊ¹Í§¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òà áÅÐࢌҡѺäÅ¿ŠÊäµÅ ¤¹Âؤ ´Ô¨ÔµÍÅ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th/design)

Gerard Moline Í͡Ẻ Bios Urn â¡È ËÃ×Íⶠ·ํÒ¨Ò¡¨Ò¡ÇÑÊ´Ø‹ÍÂÊÅÒ 䴌 (biodegradable) ÊํÒËÃѺãʋඌҡÃд١ ʋǹŋҧ¢Í§â¶¨Ð໚¹¢Õ้à¶ŒÒ Ê‹Ç¹º¹¨Ð໚¹´Ô¹ à¾×Í่ ËÅ‹ÍàÅÕÂ้ §µŒ¹äÁŒãËŒà¨ÃÔÞàµÔºâµà»š¹µŒ¹äÁŒãËÞ‹ã¹Í¹Ò¤µ à¾×Í่ ãËŒ¤¹·ÕÁ่ ªÕ ÇÕ µ Ô ÍÂÙä‹ ´Œ¹¡ Ö ¶Ö§¡Ñ¹ ¹ÑºÇ‹Ò໚¹µÑÇá·¹ã¹ÍÕ¡ÃٻẺ˹่֧ á·¹¡Òà 㪌¡ÍŒ ¹ËÔ¹ ËÃ×ͼ¹Ñ§º¹¡ํÒᾧã¹ÊØÊÒ¹ ·Õä่ Á‹ÁªÕ ÇÕ µ Ô «Ö§่ ¨Ðà»ÅÕÂ่ ¹ÊØÊÒ¹ãËŒ¡ÅÒ ໚¹»†Ò ËÒ¡µŒ¹äÁŒàµÔºâµ¢Ö¹ ้ ¨ÐãËŒ»ÃÐ⪹ ·§Ñ้ ËÁà§Ò à¾ÔÁ่ »ÃÔÁÒ³¡ Ò«ÍÍ¡«Ôਹ áÅЪ‹Ç¤׹¸ÃÃÁªÒµÔãËŒ¡ÑºâÅ¡ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th/greenery)

ªŒÍ¹¡Ô¹ä´ŒäÃŒÊÒþÔÉ

CUP.FEE ¶ŒÇ¡ÃдÒÉ㪌áŌǷÔ้§

CUP.FEE ·ํÒ¨Ò¡¡ÃдÒÉ Kraft ໚¹ÁԵáѺÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁÁÒ¡¡Ç‹Ò¶ŒÇ¡ÃдÒÉ áººà´ÔÁ ÊÒÁÒö¹ํÒä»ÃÕä«à¤ÔÅä´Œ100% ª‹ÇÂÅ´»ÃÔÁÒ³¢ÂзÕ่àÃÕÂ¡ä´ŒÇ‹Ò à»š¹»˜ÞËÒãËÞ‹ã¹¢³Ð¹Õ้ ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้ÂѧÁÕ´Õ䫹 ÍѹËÅÑ¡áËÅÁ ·Õ่·ํÒãËŒ¡Òà 㪌¶ŒÇÂẺ㪌áŌǷÔ้§ ÁÕ¢¹Ò´¢Í§¢ÂзÕ่Ŵŧ àÁ×่Íà·Õº¡Ñº¶ŒÇ¡ÃдÒÉẺ à´ÔÁ æ ¹ÑºÇ‹Ò໚¹Íա˹่֧ ¤ÇÒÁ¾ÂÒÂÒÁ·Õ¨่ Ъ‹ÇÂâÅ¡¢Í§àÃÒä´ŒËÅØ´¾Œ¹¨Ò¡ÀÒÇÐ âšÌ͹ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th/design)

Edible Spoons ªŒÍ¹¡Ô¹ä´Œ ¼ÅÔµâ´Â Triangle Tree ºÃÔÉÑ·¼ÙŒ¼ÅÔµ¢Í§ãªŒã¹ºŒÒ¹¨Ò¡¹ÔÇÂÍà ¤ «Ö่§ä´Œ¤Ñ´ÊÃà ʋǹ¼ÊÁÍÍà ᡹Ԥ 䴌ᡋ ¢ŒÒÇâ¾´ ệ§âÎÅÇÕµ ¼§¿Ù à¡Å×Í ¹ํ้ÒµÒŠ䢋䡋 ¹Á ÊÁعä¾Ã áÅÐà¤Ã×่ͧà·È ÁÒ໚¹ Çѵ¶Ø´ºÔ ËÅÑ¡ ÁÕ¢¹Ò´áÅÐÀÒ¾Åѡɳ ·àÕ่ ÃÕº æ ¡Ð·Ñ´ÃÑ´ ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้Âѧ¾Ñ²¹ÒãËŒ Edible Spoons ãËŒÁÕÃÊªÒµÔ «Ö่§ÁÕ 3 ÃÊ àª‹¹ Ãʨ״ ÃÊËÇÒ¹ áÅÐÃÊà¼็´ ªŒÍ¹¡Ô¹ä´Œ ¶Ù¡¹ํÒä»ãªŒá·¹·Õ่ªŒÍ¹¾ÅÒʵԡ·Õ่‹ÍÂÊÅÒÂÂÒ¡áÅÐ໚¹ÊÒà˵آͧÁžÔÉ ·Õ่à¡Ô´¢Ö้¹ ÊÒÁÒö໚¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö่§¢Í§¡ÒÃÅ´¨ํҹǹ¢ÂÐä´ŒäÁ‹ÂҡẺ·Õ่µŒÍ§ à»ÅÕ่¹ÇÔ¶ÕªÕÇԵẺ˹ŒÒÁ×Í໚¹ËÅѧÁ×Í (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.creativemove.com/creative)

April April2015 2015 9999


Green 4U จีRainbow รพร ทิพIce ย์เคลือบ

¨Ò¡ ÅÔ¿· Ìҧ ¡ÅÒÂ໚¹ ÍÒà µá¡ÅàÅÍÃÕ่

- ÊØ´ªÔ¤áË‹§àÁ×ͧ¹ÔÇÂÍà ¤ -

Cortlandt คือชือ่ ตรอกเล็ก ๆ อยูร ะหวางถนน Franklin และ White และยังเปนทีต่ งั้ ของอีกหนึง่ อารตแกลเลอรีอ่ ยาง “Museum” แหงนีด้ ว ย ความนาสนใจของ Museum ที่ กอตัง้ ขึน้ จากความตัง้ ใจของ Alex Kalman และคูพ  นี่ อ งตระกูล Safdie อยาง Benny และ Josh เจาของคายหนังอินดี้ Red Bucket Films คือ การรีโนเวทเอากลองลิฟททถี่ กู ทิง้ ราง ใหกลับมามีชวี ติ ใหมอกี ครัง้ ดวยการปรับปรุงพืน้ ทีด่ งั กลาวใหกลายเปนอารตแกลเลอรี่ ขนาด 60 ตารางฟุต ภายใตประตูเหล็กสีดําที่ดูโดดเดนออกมาจากบริบทแวดลอมอยางสิ้นเชิง ถูกตกแตงอยาง เรียบงายดวยผนังสีขาวและการออกแบบพืน้ ทีจ่ ดั แสดงใหคลายกับชัน้ วางของในรานสะดวกซือ้ เพือ่ ใหสามารถจัดแสดงผลงานไดมากพอในพืน้ ทีจ่ าํ กัดเชนนี้ ขณะทีผ่ ลงานภายในแกลเลอรี่ ถูกจัดแบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ผลงานทีเ่ ปนนิทรรศการถาวร และผลงานทีจ่ ะถูกคัดสรร มาจัดแสดงเปนซีซนั่ ๆ ไป จํานวนกวา 175 ชิน้ มีตงั้ แตหลอดยาสีฟน หลากยีห่ อ ผลิตภัณฑ จากฝมอื นักโทษในเรือนจํา กองอวกจําลองจากทัว่ โลก กลองใสทปิ ทีม่ เี อกลักษณเฉพาะตัว เพือ่ ใหลกู คาจดจํา ถุงมันฝรัง่ ยีห่ อ ตาง ๆ ไปจนถึงรองเทาที่ Muntader al-Zaidi นักขาวชาวอิรกั ขวางใส George W Bush ระหวางงานแถลงขาวทีอ่ ริ กั ในป 2008 ดวย โดย Museum จะเปดให เขาเยี่ยมชมทุกวันหยุดสุดสัปดาห ซึ่งถาใครที่ไมวางตามเวลาดังกลาวก็สามารถไปดูผลงาน จากชองกระจกทีท่ มี งานออกแบบเอาไวหนาประตูไดทกุ วัน ตลอด 24 ชัว่ โมงเชนกัน

แมวา ภาพรวมทีเ่ ห็นนัน้ ไลไปตัง้ แตสถานทีต่ งั้ ซึง่ ถาไมบอกก็คงไมรเู ลยวาซอยทีด่ เู สือ่ มโทรม ที่ ว  า จะมี แ กลเลอรี่ แ หวกแนวหลั ง นี้ ตั้ ง อยู  รวมไปถึงผลงานทีน่ าํ มาจัดแสดงทัง้ หมดก็จะ แปลกและผิ ด แผกไปจากผลงานในอาร ต แกลเลอรี่หรือพิพิธภัณฑขนาดใหญทั่วไป ทวาเรากลับเห็นแงมมุ บางอยางซอนอยูเ พราะ ในขณะทีส่ งั คมตีคา วาผลงานเหลานีด้ แู สนจะ ธรรมดา เผลอ ๆ อาจจะไปแตะคําวาไรคา ดวยซํ้า แตแงมุมที่ Alex, Benny และ Josh นําเสนอกลับไมธรรมดาอยางที่คิด เพราะ พวกเขาเชือ่ วาสิง่ ของตาง ๆ ใน Museum คือ ภาพสะทอนของสังคม วัฒนธรรม ความคิด และคานิยมของยุคสมัยในปจจุบนั ทีเ่ ชือ่ มโยง กับอดีต ซึ่งสามารถบงบอกถึงตัวตนของ พวกเราเอง ณ ตอนนี้ ขณะเดียวกันมันก็ เปนการแสดงใหเห็นวาทุกสิง่ ในโลกนัน้ ลวนมี ความงาม เรือ่ งราว และคุณคาในตัวเองเสมอ ขึ้นอยูกับวาคุณจะเลือกมองมันจากมุมไหน ที่สําคัญไปกวานั้นพวกเขาหวังเปนอยางยิ่ง วาหลังจากทีท่ กุ คนกาวออกมาจาก Museum เราอาจจะมองสิง่ ของสามัญเหลานัน้ ดวยมุม มองทีต่ า งไปจากเดิม (ขอมูลจาก : www.creativemove.com/art)

100

April 2015


April 2015 PB


แวดวงคนพลังงาน กองบรรณาธิการ

ดร.พสุ โลหารชุน

ดร.อรรชกา สีบุญเรือง

โทร. : 0-2202-4100 โทรสาร : 0-2345-3411 Email : pasu.l@diw.mail.go.th ทีอ่ ยู่ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม 75/6 ถนนพระราม 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

วันเกิด : 14 กรกฎาคม 2498 โทร. : 0-2202-4414 โทรสาร : 0-2354-3299 Email : chavalit@eppo.go.th ที่อยู่ : 75/6 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ดษุ ฏีบณ ั ฑิต (วิศวกรรมศาสตร์อตุ สาหการและการวิจยั การด�าเนินงาน) Virginia Polytechnic Institute and State University, USA ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (วิศวกรรมศาสตร์อตุ สาหการ) Polytechnic Institute of New York, USA ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (วิศวกรรมศาสตร์ไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัตกิ ารท�างาน รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (ด้านอ�านวยการ) และรักษาการราชการแทนหัวหน้ากลุม่ ภารกิจด้านอุตสาหกรรม และผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (ด้านอ�านวยการ) กระทรวงอุตสาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมอตสาหกรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม หัวหน้ากลุม่ ภารกิจด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม รองเลขาธิการส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ต�าแหน่งปัจจุบนั รองประธานกรรมการ บมจ.บริหารและพัฒนาเพือ่ การอนุรกั ษ์ สิง่ แวดล้อม อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะตัวแทนของประเทศไทย 102

April 2015

ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาเอก D.Phil (Economics) มหาวิทยาลัย Sussex ประเทศอังกฤษ ปริญญาโท M.A. (Economics) มหาวิทยาลัย Sussex ประเทศอังกฤษ ปริญญาตรี ศ.บ. (เกียรตินยิ มอันดับหนึง่ เหรียญทอง) คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัตกิ ารท�างาน ผูอ้ า� นวยการส�านักวานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม รักษาการอธิบดีกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสหากรรม ต�าแหน่งปัจจุบนั ประธานกรรมการ บมจ.บริหารและพัฒนาเพือ่ การอนุรกั ษ์ สิง่ แวดล้อม ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


Energy Gossip พฤษาปุริ

มาตรฐาน... ที่ตองวิ่งตาม แตใชวาบานเราจะไมใสใจกับมาตรฐานดังกลาว เพราะตลอดระยะ เวลากวาครึ่งศตวรรษของอุตสาหกรรมยานยนตไทย หนวยงานที่ เกี่ยวของไดวางนโยบายและมาตรการในอุตสาหกรรมยานยนต เพื่อกระตุนใหเกิดพัฒนาอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนโครงสรางภาษี สรรพสามิ ต รถยนต และ ECO Sticker ล ว นเป น สิ่ ง จํ า เป น เพราะโลกหมุนตลอดระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่มีพลวัตดังเชน ในโลกปจจุบัน หากบานเราไมกาวตามก็เหมือนเรากําลังถอยหลัง ทั้งที่หลายประเทศเดินหนา

สวัสดีครับ กลับมาพบกันอีกครั้งสําหรับความคืบหนาดานกิจกรรม ของประเทศวาชวงที่ผานมามีอะไรที่นาสนใจกันบาง เก็บมาฝากกัน พอเปนนํ้าจิ้มกับกระผมคนเดิม ซึ่งชวงที่ผานมามีเรื่องราวนาสนใจ ที่เกิดกับประเทศมากมาย อันที่จริงหากมองกันลึก ๆ แลวละก็ เรื่องที่เกิดขึ้นก็เปนเรื่องเกา ๆ ที่นํามาเลา มาแกไขใหม หรือ เอามา เช็คบิล เพื่อใหทันยุคทันสมัยกวาเทานั้น ไมวาจะเปนเรื่องการบาน การเมือง วัดวาอาราม เศรษฐกิจ รวมไปถึงเรื่องสัมปทาน !!! แตที่ดูเหมือนจะเปนเรื่องใหมสําหรับประเทศไทย แตเกาสําหรับใน ตางประเทศ โดยเฉพาะกับประเทศคูคาเกาและคูคาใหมที่กําลังจะ เปดตลาด ซึ่งเรื่องที่จะกลาวถึงคือเรื่องของ “มาตรฐาน” เมื่อพูด เชนนีก้ เ็ หมือนวาบานเราเปนประเทศทีไ่ มมมี าตรฐานหรือไม ? งานนี้ ตองขอตอบเลยครับวา “ไมใช” ประเทศไทยถือเปนประเทศทีม่ ี มาตรฐานแตสวนใหญจะเปนมาตรฐานที่ใชเองในประเทศ ไมถึงกับ ติดระดับมาตรฐานสากล แลวทําไมตองติดถึงระดับสากล ก็เพราะ การค า ในป จ จุ บั น สิ น ค า ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ หรื อ ผ า นมาตรฐาน สากลก็จะสามารถซื้องายขายคลองมากกวานั้นเอง สิ่งนี้ผูที่ทํา ธุรกิจกับตางประเทศจะทราบดี วาไมใชเรื่องงายเลยที่สินคาธรรมดา จะสามารถเขาถึงได ลาสุด “กระทรวงอุตสาหกรรม” และ “กระทรวงการคลัง” ไดสราง มาตรฐานใหมใหกบั วงการยานยนตไทยดวยการเปดตัว “ECO Sticker” สติกเกอรบอกขอมูลสําคัญของตัวรถ ทัง้ สเปค ออฟชัน่ อัตราบริโภค นํ้ามัน มาตรฐานไอเสีย ที่จะเริ่มติดในรถใหมทุกคันตั้งแต 1 ตุลาคม ป นี้ เพื่อสงเสริมใหเกิดการใชรถยนตอ ย า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง เรื่ องของ มาตรฐานสติกเกอรดังกลาว ในหลาย ๆ ประเทศไดมีการใชมานาน พอสมควร

ทีนี้ เรามาดูกันดีกวาวา ECO Sticker มีอะไรใหเรา ๆ ทาน ๆ ได ตืน่ เตนกับสิง่ ใหมนี้ ซึง่ หลัก ๆ ก็จะประกอบดวยขอมูลสําคัญ 4 สวน ไดแก ขอมูลผูผลิต/ผูนําเขา ไดแก ชื่อ ที่อยู และเว็บไซต ขอมูลของ รถยนต ไดแก ชื่อรุน แบบ โครงรถ เครื่องยนต เกียร ขนาดยางลอ จํานวนที่นั่ง นํ้าหนักรถ เชื้อเพลิงที่สามารถใชได โรงงานที่ผลิต รายการอุปกรณที่ติดตั้งจากโรงงาน ซึ่งประกอบดวย อุปกรณที่มี สาระสําคัญในดานการประหยัดพลังงาน อุปกรณที่มีสาระสําคัญ ในดานความปลอดภัย และรายการอุปกรณอื่น ๆ ปดทายดวยการ ทดสอบตามมาตรฐานอางอิง ไดแก อัตราการใชนํ้ามันใชหนวย เปนลิตรตอ 100 กม. ใน 3 รูปแบบการใชงาน คือ สภาวะรวม สภาวะในเมือง และ สภาวะนอกเมือง และแถบแสดงอัตราการใช นํ้ามันอางอิงในสภาวะรวม (Combined) ซึ่งทดสอบโดยใชนํ้ามัน เบนซินหรือดีเซล หรือนํ้ามัน E85 พรอม QR Code สําหรับ ดาวนโหลด Eco Sticker เพื่อรับขอมูลรายละเอียดของรถยนต คันนั้น ๆ เปนอยางไรครับ ขอมูลเหลานี้บางครั้งเราอาจอยากทราบหรือ ไมอยากทราบก็ไดเวลาทีซ่ อื้ รถ แตเชือ่ เถอะวาคนไมนอ ยอยากทราบ ขอมูลดังกลาว โดยเฉพาะกับประเทศทีเ่ ราสงออก เพราะอยาลืมวา บานเราเปนฐานการผลิตรถยนตทสี่ าํ คัญของโลก หรือหากมองในแง ของผูผลิตรถยนตเอง ก็พรอมที่จะนําเสนอคุณสมบัติระดับสากล ในดานความ “สะอาด-ประหยัด-ปลอดภัย” จะเปนสิง่ ทีแ่ สดงถึง ความเชื่อมั่นของบริษัทในคุณสมบัติและมาตรฐานของตัวผลิตภัณฑ ทีน่ าํ มาจําหนายและยังแสดงถึงความรับผิดชอบในการแสดงคุณสมบัติ จริงของผลิตภัณฑตอลูกคาอยางโปรงใสมากกวาแคคําโฆษณา ถึงแมวา มาตรการหลายอยางในประเทศไทยจะเปนเหมือนกัน วิง่ ตาม โลกที่กําลังหมุนไป แตก็ยังดีที่บานเราพรอมที่จะหมุนตาม เพื่อให เปนไปตามกลไกของโลก มากกวาที่จะหมุนทวนโลก เพราะเรา ไมอาจที่อยูคนเดียวได “ประเทศชาติ” ก็เชนกัน PB April April 2015 2015 103


Energy Movement กองบรรณาธิการ

ชาร์ปไทย ร่วมกับสถานฑูตญี่ปุ่นมอบแผงโซล่าร์

เมือ่ เร็ว ๆ นี้ มร. มาซามิ โออุเอะ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ชาร์ปไทย จ�ากัด ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ส�านักงาน และ แผงโซลาร์ชนั้ น�าของโลก ร่วมกับ สถานฑูตญีป่ นุ่ ในประเทศไทยน�าโดย ฯพณฯนาย ชิเกะคะสุ ซะโต เอกอัครราชทูตญีป่ นุ่ ประจ�าประเทศไทย ได้ลงนามร่วมกัน ณ สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่น ประจ�าประเทศไทย เพือ่ ให้ความช่วยเหลือผ่านความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจแบบให้เปล่า เพือ่ พืน้ ฐานและความมัน่ คงของมนุษย์ (จีจพี )ี พร้อมทัง้ ร.ต.อ.ณรงค์ หุม้ ขาว ครูใหญ่ประจ�าโรงเรียนต�ารวจตระเวนชายแดนบ้านคลิตลี้ า่ ง โดยในครัง้ นี้ บริษทั ชาร์ปไทย จ�ากัด ได้รบั ผิดชอบช่วยเหลือในส่วนของ การวางแผนติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ การตรวจเช็ครักษาสภาพ ทัง้ บริษทั ยังได้เชิญเด็กนักเรียนจากโรงเรียนไปทัศนศึกษายังเมกาโซล่าร์ ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์อีกด้วย

ปตท. มอบรางวัล โครงการประกวดโครงงานวิจัยด้านพลังงาน

คุณเดชา บุญวรรณ์ ผู้จัดการส่วนสื่อสารและกิจการเพื่อสังคม พื้นที่ระยอง บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) เป็นประธานในพิธีมอบ รางวั ล ชนะเลิ ศ โครงการประกวดโครงงานวิ จั ย ด้ า นพลั ง งาน ในโครงการนิทรรศการสัญจร PTT Group Energy Plus ปี 4 ให้แก่ โรงเรียนวัดป่าประดู่ เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 ณ โรงเรียน วัดป่าประดู่ จังหวัดระยอง

เอสซีจี เคมิคอลส์ ผลักดันนวัตกรรม สินค้า HVA อย่างต่อเนื่อง

BRR เปิดบ้านโชว์การบริหารจัดการไร่อ้อย

คุณจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท บุรีรัมย์วิจัย และพัฒนาอ้อย จ�ากัด บริษัทในเครือ น�้าตาลบุรีรัมย์ จ�ากัด (มหาชน) ต้อนรับคณะผู้แทนจากโรงงานน�้าตาลทราย พีที. เคบุน เตบู มาส ประเทศอินโดนีเซีย ในโอกาสมาเดินทางมาศึกษาดูงาน เรื่องความเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการไร่อ้อยและการส่งเสริม เกษตรกรชาวไร่อ้อยของกลุ่มน�้าตาลบุรีรัมย์ 104104

April April2015 2015

คุ ณ ชลณั ฐ ญาณารณพ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอสซีจี เคมิคอลส์ ร่วมกับ คณะผูบ้ ริหารเอสซีจี เคมิคอลส์ และทีมนักวิจยั ต้อนรับสือ่ มวลชนในการเยีย่ มชมศูนย์วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม หรือ ASTEC ที่ทันสมัยเทียบเท่าระดับสากล ตั้งอยู่ที่จังหวัด ระยอง พร้อมเผยกลยุทธ์การบริหารจัดการด้านวิจัยและพัฒนา อย่างยัง่ ยืน ด้วยการเสริมศักยภาพทัง้ ด้านบุคคลากรและเครือ่ งมือ เพือ่ งานวิจยั และพัฒนาภายในเอสซีจี เคมิคอลส์ รวมถึงการวิจยั ร่วมกับทีมนักวิจัยชั้นน�าระดับโลก ในปี 2558 เอสซีจี เคมิคอลส์ ผลักดันสินค้าและบริการทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ (High Value Added Products and Services: HVA) อย่างต่อเนื่อง มีงบประมาณด้านการวิจัย และพัฒนากว่า 2,100 ล้านบาท ตั้งเป้าสัดส่วนสินค้า HVA ร้อย ละ 29 คาดว่าจะมีสินค้าใหม่ออกสู่ตลาดอีกกว่า 14 รายการ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้ากว่า 120 ประเทศทั่วโลก


เปิดตัว AECplastic.com ศูนย์กลางข้อมูล เพือ่ อุตสาหกรรมพลาสติกไทย ก้าวสูผ่ นู้ า� อาเซียน

เมก้า ไลฟ์ไซแอ๊นซ์

คุณสุชา ลือชัยขจรพันธ์ ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพลาสติก ดอทคอม จ�ากัด พร้อมด้วย ดร.ณรงค์ชยั โอเจริญ หัวหน้าภาควิชา วัสดุและโลหะการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ คุณศิรวิ รรณ ติรเลิศ ผูอ้ า� นวยการฝ่ายบริหาร บริษทั บริด ซิสเต็มส์ จ�ากัด ที่ปรึกษา โครงการ ECIT กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จัดงาน แถลงข่าว เปิดตัวเว็บพอร์ทัล AECplastic.com ผู้ให้บริการตลาด ออนไลน์ที่ทันสมัยและครบวงจรแห่งใหม่ส�าหรับผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมพลาสติกไทย พร้อมระบบการด�าเนินธุรกิจผ่านการตลาด ออนไลน์ที่ทันสมัย พร้อมก้าวสู่ตลาดการค้ายุคประชาคมอาเซียน เมื่อเร็ว ๆ นี้

คุณวิเวก ดาวัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและชีฟโค้ช บริษัท เมก้า ไลฟ์ไซแอ๊นซ์ จ�ากัด (มหาชน) เป็นประธานในการเปิดคลังสินค้าใหม่ ในกรุงพนมเปญ ตอกย�้าความเป็นผู้น�าทางธุรกิจในระดับอาเซียน ด้วยการเปิดคลังสินค้าที่มีการควบคุมอุณหภูมิได้มาตรฐานระดับ โลกแห่งใหม่ คลังสินค้าแห่งใหม่นี้ใช้จัดเก็บผลิตภัณฑ์ทั้งของแบรนด์ เมก้า และสินค้าอุปโภคและบริโภคของบริษัทอื่น ๆ ที่อยู่ภายใต้ การด�าเนินธุรกิจของ Maxxcare ซึ่งเป็นบริษัทจัดจ�าหน่ายสินค้าใน เครือเมก้า ซึง่ ในขณะนีม้ กี ารด�าเนินงานอยูแ่ ล้วทัง้ ในประเทศกัมพูชา เวียดนาม และเมียนมาร์ ท�าให้เมก้าเป็นบริษัทรายแรกที่มีธุรกิจการ จัดจ�าหน่ายครอบคลุมทั่วประเทศกัมพูชา

พีทีจี พบนักลงทุน ตั้งเป้าปี 58 โต 20%

คุณพิทกั ษ์ รัชกิจประการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริหาร บริษทั พีทจี ี เอ็นเนอยี จ�ากัด (มหาชน) หรือ PTG ผูใ้ ห้บริการสถานีบริการน�า้ มันพีที พร้อมด้วยทีป่ รึกษา ทางการเงิน และ คุณชนิตร ชาญชัยณรงค์ รองผูจ้ ดั การ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ได้เข้าร่วมงาน Opportunity Day เพือ่ พบนักลงทุน ประจ�าไตรมาส 1/2558 โดยบริษทั คาดรายได้ปี 58 โต 20% พร้อมแจก ปันผล 0.15 บาทต่อหุน้ ณ ตลาดหลักทรัพย์ เมือ่ เร็ว ๆ นี้

เปิดคลังสินค้าใหม่มาตรฐานระดับโลก

มิชลิน รับรางวัล แบรนด์ที่เป็นผู้น�าตลาดด้านยางรถยนต์

คุณเสกสรรค์ ไตรอุโฆษ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั สยาม มิชลิน จ�ากัด รับมอบรางวัลแบรนด์ทเี่ ป็นผูน้ า� ตลาดด้านยางรถยนต์ และครองความน่าเชื่อถือจากผู้บริโภคมายาวนานถึง 15 ปีซ้อน จากการส�ารวจหัวข้อ Thailand’s Most Admired Brand โดยเป็น แบรนด์ที่กลุ่มเป้าหมายในการท�าวิจัยทั่วประเทศให้ความสนใจ และอ้างถึงมากเป็นอันดับหนึ่งตลอดระยะเวลา 15 ปีที่ท�าการ ส�ารวจโดยนิตยสารแบรนด์เอจ ณ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ กรุงเทพฯ เมื่อเร็ว ๆ นี้ April April2015 2015 105105


Event Calendar อภิสิทธิ์ วัฒณลาภมงคล

นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�าเดือนเมษายน 2558

1-3 เมษายน 2558 ชื่องาน : สัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Workshop) หลักสูตรการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ของผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint of Products:CFP) รายละเอียด : เพือ่ สร้างความรูแ้ ละความเข้าใจในหลักการและสามารถประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมของผลิตภัณฑ์ ตามแนวทางและหลักเกณฑ์ การประเมินคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ของผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย และเพือ่ น�าไปสูก่ ารแสดงเจตนารมณ์ในการรับผิดชอบต่อสังคมและสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่บริษัทในการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์และบริการ สถานที่ : โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ เลขที่ 9 ถนนราชปรารภ แขวงประตูน�้า เขตดินแดง กรุงเทพฯ ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติม : Call Center: 0-2644-8150 ต่อ 81893–81895 Email : green.practices@nstda.or.th 2 เมษายน 2558 ชื่องาน : การจัดการขยะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีการจัดการ รายละเอียด : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม และบริษัทยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด เล็งเห็น ความส�าคัญในการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเพื่อไปสู่ความยั่งยืน รวมทั้งเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้โรงงานอุตสาหกรรมสามารถบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อมได้ด้วยตนเอง และเป็นที่ยอมรับของสังคมและชุมชนต่อไป สถานที่ : ศูนย์ประชุมบางแสน เฮอริเทจ โรงแรมบางแสน เฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี ตั้งแต่เวลา 08.00-15.30 น. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : คุณมยุลา โทร. 0-2642-6911 ต่อ 816, 723 หรือ Email : mayula.k@ubm.com 3-4 เมษายน 2558 ชื่องาน : โครงการประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม 2015 รายละเอียด : เป็นโครงการเพื่อเสริมความรู้เทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม สถานที่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติม : โทร. 08-5025-7499 22-24 เมษายน 2558 ชื่องาน : อบรมการปรับปรุงประสิทธิภาพส�าหรับอาคารรุ่นที่ 4 (Energy Efficiency Improvement for Buildings Mastercalss:EIB4) รายละเอียด : เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจในหลักการและแนวคิดเกีย่ วกับการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารลดการสูญเสียทีก่ ระทบ กับสิง่ แวดล้อม และเพือ่ สร้างความตืน่ ตัวให้กบั ประชาชนชาวไทย ให้สามารถตอบสนองกับความต้องการทางด้านพลังงาน และค่าใช้จา่ ยในด้าน พลังงานได้ สถานที่ : บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จ.ปทุมธานี http://www.nstda.or.th/ssh/contacts/map.php ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : Call Center: 0-2644-8150 ต่อ 81893–81895 E-mail: green.practices@nstda.or.th 27–28 เมษายน 2558 ชื่องาน : การประหยัดพลังงานในระบบ Pump, Cooling Water และ Chilled Water รายละเอียด : เป็นงานวิเคราะห์การใช้พลังงานเป็นระบบ ตั้งแต่การผลิต (Generation) การจ่ายไปยังจุดใช้งาน (distribution) การใช้ใน กระบวนการผลิต (End Use) และการน�ากลับมาใช้ (Recovery) สถานที่ : ศูนย์บริการ IRPC จังหวัดระยอง ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติม : คุณเรนันท์ โทร. 0-2730-6300 106

April 2015


April 2015 PB


C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.