Ebook energy saving#80

Page 1



เครื่องมือทดสอบการติดตั้งและบำรุงรักษา ระบบผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย


Issue 80 JULY 2015 8 Editor’s Note 10 News Report : PEA ปักธงจัดงาน PEA presents EcoLightTech Asia 2015 รุกควบ 2 งานใหญ่ C-Tech 2015 และ Solar-Tech 2015 18 Cover Story : Washing Machine พลังซัก...รักษ์โลก 24 Interview : MADE IN YINGLI QUALITY คุณภาพและความเชื่อถือได้ ปัจจัยสร้างแบรนด์ ให้เข้าถึงใจลูกค้า 26 Interview : หม้อแปลง Dry-Type Cast Resin เปิดรับการเติบโตตลาดอาเซียน 28 Interview : อีเล็กโทรลักษ์ ชูคอนเซ็ปต์ “Hip’n Health” ตอกย�้าคุณภาพ ประหยัดน�้า ประหยัดไฟ 30 Product Highlight - Construction : ผนังกันความร้อน 3 มิติ นวัตกรรมตกแต่งผนังอาคารแนวใหม่ 32 Product Showcase – Construction : Tesla Powerwall แบตเตอรีส่ า� รองไฟบ้าน 35 Product Highlight – Industrial : Altivar Process ไดร์ฟรุน่ ใหม่ โดดเด่นด้านบริการอัจฉริยะ 38 Product Showcase – Industrial : ซีเกท ไวร์เลส ผลิตภัณฑ์ไร้สาย ขยายความจุให้อุปกรณ์เคลื่อนที่

18 40 Product Highlight – Commercial : brother “Smarter Design Bigger Savings” อิงค์เจ็ทมัลติฟังก์ชั่นระบบรีฟิล แท็งก์ ซิสเต็ม 43 Product Showcase – Commercial : เครื่องขจัดไรฝุ่นเพื่อสุขภาพ 46 Product Highlight – Logistics : บริษัท แรบบิท ออโต้ คราฟท์ น�าเข้าเครื่องชาร์จรถไฟฟ้าเจ้าแรกในไทย 48 Product Showcase – Logistics : จอติดรถยนต์เชื่อมต่อสมาร์ทโฟน 51 Special Feature : มาสด้า จับมือ โตโยต้า พัฒนายานยนต์แห่งอนาคต 52 Renergy : เยือน “รัชชประภา” ฟังปัญหาไฟฟ้าภาคใต้ 54 Energy Management : เทคนิคการบริหาร จัดการพลังงานสู่ความยั่งยืน กรณีศึกษา โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช

43 4

July 2015



Issue 80 JULY 2015 56 Building Management : Energy Management ส�าหรับอาคารเขียว 58 Green Logistics : RFID กับการจัดการซัพพลายเชน 60 0 Waste Idea : นโยบายมหานครสีเขียว แบบญี่ปุ่น เพื่อการลดปริมาณขยะที่ยั่งยืน 62 Environment Alert : วิเคราะห์การสือ่ สารข่าว กับปัญหาสิง่ แวดล้อมในสังคมไทย 64 Energy Focus : หลักสูตรพลังงานส�าหรับผูบ้ ริหาร (Executive Energy Program : EEP) 66 Greenhouse Gas Management : ผูน้ า� G7 ชี้ ‘Auf Wiedersehen’ to Fossil Fuels เปิดผนึกเจตจ�านงแก้ไขปัญหาโลกร้อนหลัง ป‚ ค.ศ. 2020 68 Green Building : แชงกรีลา เชียงใหม่ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและธรรมชาติชว่ ยลดพลังงาน 72 Green Industrial : เยีย่ มชม โรงงาน ดาว เคมิคอล ประหยัดพลังงานและรักษา สิง่ แวดล้อม

62

68 6

July 2015

72 75 Open House : เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส นวมินทร์ คว้ารางวัล “สโตร์คาร์บอนนูทรัล” 78 Vertical Market : โลจิสติกส์...เป้าหมายของผูน้ า� 82 Viewpoint : จับตา... พีค กับการใช้พลังงานของประเทศ 84 Energy Knowledge : สรุปผลงานนักวิจยั ทีร่ บั ทุนโครงการร่วมสนับสนุนทุนวิจยั และ พัฒนา กฟผ.-สกว. 86 Energy Invention : สามล้อกูโ้ ลก! ภารกิจสุดระห�า่ นักศึกษามหิดลอินเตอร์ ขับ “ตุ กตุ ก” จากไทย ไปฝรั่งเศส 88 Energy Report : คิดจะไปดวงจันทร์… อย่าหยุดแค่ปากซอย 90 Energy Loan : โปรแกรมสินเชื่อรับประกัน การประหยัดพลังงานกสิกรไทย วงเงินสินเชื่อสูงสุด 100% 92 Special Report : EGATIF โอกาสที่คนไทย จะได้ร่วมทุน พัฒนาโครงสร้างพื้น°านไฟฟ้า 94 Special Scoop : ส.อ.ท. ผนึกก�าลัง กระทรวงพลังงาน ส่งเสริมธุรกิจและ กระตุน้ ตลาดการอนุรกั ษ์พลังงาน 98 Green 4U 101 ẺÊÁѤÃÊÁÒªÔ¡ 102 áǴǧ¹Ñ¡¾Åѧ§Ò¹ 103 Energy Gossip 104 Energy Movement 106 Event Calendar


Solar Hot Water

โครงการสงเสริมการใชน้ำรอนพลังงานแสงอาทิตย ดวยระบบผสมผสาน ป 2558 สนับสนุนการผลิตน้ำรอนโดยใชตัวเก็บรังสีแสงอาทิตย (Solar Collector) รวมกับแหลงความรอนเหลือทิ้งอื่นๆ

สนับสนุนรวมสูงสุด 2,800 บาท/ตารางเมตร

สามารถสมัครเขารวมโครงการไดตั้งแต 15 พฤษภาคม 2558 ถึง 15 สิงหาคม 2558 รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.solarhotwaterdede.com


และหลากหลาย เพือ่ ให ผอู า นได เพลิดเพลินและได สาระไปพร อมๆ กันด วยค ะ

ง4 ง0 4 0

Anniversary

สํ า หรัAnniversary บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กั น ด ว ยเรื่ อ งของแผ น กระจก และอุนิปตกรณ ระกอบฉบับโดยการนํ าเสนอคอลั น แล Cover ยสารปBuilder เดือนตุลาคมนี ก้ เ็ ป นฉบับทีม่ 12 ว ครบรอบStory นิตหนึ ฉบับเดือนตุลตนาคมนี ้ คเ็ ่ะป คุนณ่อฉบั ที่ ก12 ผ านมุ มยสาร มองไปยั งงานสถาป ่ใช นประจ�าทุกเดือน เรียกได้ว่า ่งป ทBuilder ่นี ิตยสารของเราได ํยกรรมและงานตกแต าสวัเสนอเรื ไว มานัมง่งภายในที ากมาย สดีก ผูงราวต ้อ่าบนทุ ท่าางๆ นแล กลัวบครบรอบ ที่รายงานตัวเป็ ่งป ท่นี ิตยสารของเราได เสนอเรื ่อด้ยองราวต า่องๆงของวั มากมาย ในช่ วงเดื นที ่ผน่าเนมานั ้น กระแสของพลั งี่ คงได้รับความสนใจและมี เพือ่ ให ผนอกจากนี อู นา ํานได เพลิ เพลิ และได สไว าระไปพร วัสดุหนึ กและหลากหลาย ระจกได น าสนใจ ั ง มี รื สดุองอุงานทดแทนยั ปมๆกรณ บตัทวของธุ ข่ า วออกมาให้ เ ห็ น อยู เ ่ นื อ ง ๆ โดยเฉพาะการขยั รกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ และหลากหลาย เพื อ ่ ให ผ อ ู า นได เ พลิ ด เพลิ น และได ส าระไปพร อ มๆ กั น ด ว ยค ะ คณะผู้จัดทำา ใช ประกอบการก อสร าง-ติดตั้งเข้งานกระจก รวมทั้งบทสั ภาษณ ามาจับธุรกิจพลังงานทดแทนมากขึ ้น ตัม วอย่ างเช่น บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ กั น ด ว ยค ะ ากัด (มหาชน) หรือ SENA ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่ของเมืองไทย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนวคิ แนล จ�าดกัดการทํางานของนักพัฒจ�นาอสั ทรั ญิกระจก งอย่เก างงบริแห ษัทงเฟิร์สโซล่าร์ จ�ากัด ผู้ผลิต ประกาศจั อยเรื 2 พั่ ม ธมิตพ รยักย ษ์ห ใน หญ่ า หรั บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กั น ด บงมืวหาริ อนงของแผ 200/7-14 ซ.รามค�าแหง 4 แขวง/เขตสํสวนหลวง าวร์ยเรื เด ซลล์การสร บโลก าจาก สหรัฐอเมริ กา และ บริษัท Confidante Capital ฐ บปพร็ ี้ โดยการนํ และแนวคิ งสรรค ง านของ าและอุ หรั ฉบักรณ บอทีพเพอร ่ป12 นี้ ตเรามาว าแผงโซล่ กั นาด เสนอคอลั ่ อระดังของแผ น กระจก ระกอบ มน Cover Story กรุงเทพมหานคร 10250 พั ฒ สํนรั จ� า กั ด ที ป ่ รึ ก ษาด้ า นการลงทุ น ในธุ ร กิ จ พลั ง งานทางเลื อก ที่มีความเชี่ยวชาญด้าน และอุ ป กรณ ป ระกอบ โดยการนํ า เสนอคอลั ม น Cover Story เจริญงชาศรี จากตการลงทุ DUCTSTORE theงภายในที design guru ผ านมุฒมน มองไปยั งานสถาป ยกรรมและงานตกแต นในธุรกิจพลังงานแสงอาทิ ตย์ เตรี่ใยช มลุ ยธุรกิจโซล่าร์ รูฟ เพื่อต่อยอด โทรศัพท์ (66) 2717-2477 คุณนนทวั ผ า นมุ ม มองไปยั ง งานสถาป ต ยกรรมและงานตกแต ง ภายในที ่ ใ ช ธุรกิจที่เ้ย กี่ยังแนวคิ วเนื บด ธุรนอกกรอบสู กิจอสัสงหาริ พย์ รูป และเพิ ่มโอกาสในการขยายฐานราย น าสนใจ นอกจากนี มีเ่อรืงกั่องของวั ดุอมุปทรักรณ ที่ แบบ วัสดุกด ระจกได โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 Co.,Ltd. ว ย GRAPHITECTURE ได้ให้​้ยกังับมีบริเษรืัท่อในอนาคต ระจกได น าสนใจ นอกจากนี งของวั สดุ้งอบทสั ุปกรณ ที่ วัสใช ดุปกระกอบการก อ สร า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั ม ภาษณ คอลัมนิสต์​์: ที่หลากหลาย แต อหสร ากใครสนใจเรื ่องของวั ส้งดุบทสั เรายัมเวลลอปเม้ งมีรีวนิวท์สิจนะมีค การติ า ดตั้งโซล่าร์ รูฟ โดยการ โครงการที ่อยู่อรวมทั าศัยของเสนาดี ใช แนวคิ ประกอบการก า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก ภาษณ ดการทํงประเทศไทย างานของนักพัฒให้นาอสั งหาริ มทรัพย 360 หญิงองศา เก งแห ง ก ารเลื อ กซื้ อ ที่ ดิ น เลื อ กที่ ตั้ ง คุณพิชัย ถ่ินสันติสุข ตบ สาหกรรมแห่ บ ริส กหาริ ารหลั งทรั การขาย ตั้ ง แต่ เกีสภาอุ ่ยวกั กระจกให ผ อ ู า นของเราได าระเช น กั น แนวคิ ด การทํ า งานของนั ก พั ฒ นาอสั ง ม พ ย ห ญิ ง เก ง แห ง พั ฒ นรั ฐ พร็ อ พเพอร ตี้ และแนวคิ การสร า งสรรค ง านของพร้อมอ�านวยความสะดวกในการ โครงการ ดและสภาพแวดล้ อมของโครงการ

โซล่าร์ รูฟ

EDITOR’S NOTE

อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์ บริษพั​ัทฒอินรั นโนเวชั ่น อเทคโนโลยี จ�ี้ ากัและแนวคิ ด ฐ พร็ พเพอร ต ด การสร จัดDUCTSTORE หาแหล่ งเงินทุนาติงสรรค ดตัthe ้งโซล่าdesign ร์ง านของ รูฟ ให้กguru ับลูกค้าของโครงการ โดยในช่วงที่ผ่านมา คุณณนนทวั นนทวั ฒ น เจริ ญ ชาศรี จาก ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร จุฬคุาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ฒน เจริญชาศรี จาก DUCTSTORE ทาง SENA ได้เริ่มthe ติดตั้งdesign โซล่าร์ รูฟguru ในโครงการอสังหาฯ ของบริษัทไปแล้ว ซึ่งใน สุดมหาวิ ท Co.,Ltd. าCo.,Ltd. ยในวาระครบรอบหนึ ง ่ ป ที ม งาน Builder ขอขอบพระคุ ณ าร์ รูฟ 750 กิโลวัตต์ ด ว ย GRAPHITECTURE แนวคิ ด นอกกรอบสู รูปแบบ ดร.สิทธิชัย ฝร่ังทอง ทยาลัยราชภั ฏ ธนบุ ร ี ปีนี้จะได้ ทราบก� าไรพิเศษจากการขายไฟฟ้ าของโครงการโซล่ ด วย GRAPHITECTURE แนวคิ ดนอกกรอบสู รูปแบบ ่ 2/2558 โดยจะมี 6 ล้านบาทต่อปี และ รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูม มณ หาวิและผู ทยาลัแต ่หลากหลาย ากใครสนใจเรื งของวั สรายั ดุเรายั งีวมีิวรสิกีวา� นไรพิ ิวค สิาเนศษเข้ ค าามาประมาณ จุฬอี ทีาลงกรณ์ ปุ ่หทีการคุ า หนทุ กท านทีในช่ ่เร็ว ๆวงของวั ต ดงไตรมาสที ิ นี่อตามกั น มาโดยตลอด และหวั ง ลากหลาย แต ยหอ ากใครสนใจเรื ่ อ ส ดุ เ ง มี ร ้ ทีมงานนิ ตยสาร Energy Saving จะได้มโี อกาสเข้าไปเยีย่ มชมโครงการของ อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ กรมส่ งเสริ มคุ่งบณว กระจกให ภาพสิ ่งท แวดล้ อ ามนของเราได เกี ย ่ วกั ผ อ ู ส าระเช น กั น เป น อย า งยิ า ทุ ก า นจะติ ด ตามและสนั บ สนุ น ไปว ส่แล วเรา เกี่ยวกับกระจกให ผู อ านของเราได SENA สาระเช น าร์ รูฟ เราต ที่ติดนตักั้งโซล่ เรียบร้ออ ยแล้ วนจะเป็ นโครงการไหน และเมื่อใดนั้น คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม ต้องติดตามกั นใหม ให้ดี ๆๆรับรองว่ าน่าาเสนอในเล สนใจอย่างแน่นอน ่สุดอท งราวดี ๆ าทีซเรื่นอ านกระจก สนใจและไอเดี ย มานํ ม ดร.ณัฐริกา วายุภาพ นิติพนจะนํ องค์ากเรื ารบริ หายในวาระครบรอบหนึ ารจัดการก๊ ง ่ ป ที ม งาน Builder ขอขอบพระคุ ณ หรับนิตBuilder ยสาร Energy Saving ฉบับณ นี้ ไฮไลท์เด่นมีด้วยกันหลากหลายคอลัมน์ ท ายในวาระครบรอบหนึ ่งป ทีส�มางาน ขอขอบพระคุ ต อ(องค์ ๆสุดกผูไปนะคะ อย า ลื ม ติ ด ตามเราในฉบั บ ครบรอบเล ม ต อไปนะคะ ารมหาชน) อาทิ โปรแกรมสิ น เชื อ ่ รั บ ประกั น การประหยั ดงพลังงานของธนาคารกสิกรไทย ที่ให้ ม ปุ อี การคุ ปุ การคุ ณและผู อ นทุา นทุ กาท นทีานที ต่ ตามกั ดิ ตามกั นมาโดยตลอด และหวั ผู ม อ ี ณ และผู อ า ก ท ต ่ ด ิ น มาโดยตลอด และหวั ง มรรคา คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ สินเชื่อแก่ผู้ประกอบการในรู ปอแบบของสิ นวเชื ่อลีสซิ่งเช่าซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ มรรคา เป นอย นอย างยิ ่งาว ทุากทุท กาท นจะติ านจะติ ดตามและสนั บ สนุ น เราต ไป แล เรา เป า งยิ ง ่ ว ด ตามและสนั บ สนุ น เราต อ ไป แล ว เรา และ/หรือ เงินกู้ระยะยาว เพื่อสนับสนุนการลงทุนในโครงการจัดการด้านพลังงาน มรรคา เทคโนโลยี แเรื ห่ง่อชาติ นน มรรคา จะนํ า งราวดี ๆ ที น ่ า สนใจและไอเดี ๆผ่านการใช้ มานํ าบเสนอในเล ให้มีประสิ ทยธิใหม ภๆ าพ มานํ ริการจากม “บริมษัทจัดการด้านพลังงาน” (Energy จะนําเรื่องราวดีๆ ที่น าสนใจและไอเดี ยใหม าเสนอในเล มรรคา มรรคา ทีมงานฝ่ายบริหาร: Service บ Company : ESCO) นสินเชือ่ สูงสุด 100% ผูป้ ระกอบการท่านใด ไปนะคะอย อย ดตามเราในฉบั บครบรอบเล ต อวงเงิ ไปนะคะ ต อต ๆอนัๆนไปนะคะ าลืามลืติมดติตามเราในฉบั ครบรอบเล มต โดยให้ อมไปนะคะ ณั ช ชา ทกาญจน ชupaman@ttfintl.com มี เ มื อ ง ที ่ ส นใจสิ น เชื ่ อ นี ้ ไ ม่ ค วรพลาดติ ด ตามด้ วยประการทั้งปวง นอกจากนี้ยังมีภารกิจ มีเมือง กรรมการผู้จัดการ คุณชาตรี มรรคา เจ๋ง ๆ อย่าง “สามล้อกู้โลก” ไอเดียของสามนักศึกษามหิดลอินเตอร์ชาวฝรั่งเศส หัวคุหน กองบรรณธิ รองกรรมการผู้จัดการ ณศุภาแมน มรรคา การ อย่าง ลูดวิก แมร์ส, คาเรน กูลาเคียน และ เรมี เฟอร์นันเดส แดนเดร ที่เดินทาง editor.buildernews@gmail.com รองกรรมการผู้จัดการ คุณณัศุณั ภชวาร กลับบ้านเกิดทีป่ ระเทศฝรัง่ เศส ด้วยยานพาหนะทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย ชชานัมรรคา นทกาญจน ชา นนัทกาญจน อย่าง “ตุก๊ ตุก๊ ” พลังงานไฟฟ้า – พลังงานแสงอาทิตย์ ข้ามทวีปจากประเทศไทยไป มรรคา supaman@ttfintl.com supaman@ttfintl.com นน มรรคา

ฝ่ายขายโฆษณา

477 477

Sales Director

วหน ากองบรรณธิ หัวหัหน ากองบรรณธิ การการ ยังประเทศฝรั่งเศส เป็นระยะทางกว่า 20,000 กิโลเมตร ส่วนจะสนุกและลุ้นขนาด ไหนอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในเล่ม ฯลฯ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า...สวัสดีค่ะ คุณeditor.buildernews@gmail.com ศุeditor.buildernews@gmail.com ภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com

-9976 -9976 ติดต่อฝ่ายขายโฆษณา โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 135, 144 ติดต่อฝ่ายสมาชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 169, 171 ติดต่อฝ่ายบรรณาธิการ โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 108, 148, 226

ทีมงานฝ่ายกองบรรณาธิการ:

ทีมงานฝ ยกองบรรณาธิ หัวหน้าาทีกองบรรณาธิ การ การ:การ: ปิยะนุช มีเมือง ม งานฝ า ยกองบรรณาธิ ทีมงานฝ ายกองบรรณาธิ หัวหน ากองบรรณาธิ การ การ คุณการ: ณัชชา นันทกาญจน กองบรรณาธิ ก าร า หัหัววหน า กองบรรณาธิ หน ากองบรรณาธิการ คุนัณคุษณั ณรุชตณัชาชเถืชานั่อนนทองค� นัทกาญจน นทกาญจน natcha.tank@gmail.com natcha.tank@gmail.com อภั สรา วัลลิภผล ร natcha.tank@gmail.com คร 10250 จีรพร ทิพย์เคลือบ กองบรรณาธิ คุณคุ่งหนึ ่งฤทั ยคาทุ คาทุ สเซฟสกี เซฟสกี ้​้ ้ กองบรรณาธิ การ กการาร คุณหนึ ฤทั ย ส กองบรรณาธิ ณ หนึ ง ่ ฤทั ย คาทุ ส เซฟสกี คุณณัีรฐัตธยาน รุตะนะมงคล งรุจิไพศาล เลขากองบรรณาธิการ น์ฐธยาน วัฒ คุ ณั รุจ งิไรุพศาล จิไพศาล คุณณัคุมณี ฐณภัณธยาน รุ ง ณฑิรา มีลรุาภ ณฑินิภัชรณ มีลยาภ ศิลปกรรม คุณภัคุศุณ าา ฑิพวงเนตร มีรลาเสถี าภ ณคุภอรวรรณ รเขต คุ ณ อรวรรณ เสถี ยรเขต อาร ตไดเรคเตอร คุณยิ่งยศ จารุ บยุษปายน คุ ณ อรวรรณ เสถี รเขต อาร ตกไดเรคเตอร ยศ จารุ บกุษข ปายน กราฟ ดีไซเนอร July 2015คุณยิคุ่งณคุยศ ธีณรยิภั่งทจารุ ร สลั ดุษทุปายน อาร 8ตไดเรคเตอร บ กราฟ กดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข

คร 10250

แนลกราฟ จํากัดกดีไซเนอร

คุณธีรภัทร สลัดทุกข

ปิยะนุช มีเมือง หัวหน้ากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com

WHERE TO FIND

WHERE TOTO FIND WHERE FIND



News Report

PEA ปกธงจัดงาน

PEA presents EcoLightTech Asia 2015 รุกควบ 2 งานใหญ C-Tech 2015 และ Solar-Tech 2015

การไฟฟาสวนภูมภิ าค (พีอเี อ) รวมกับ บริษทั เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ นั่ ออกาไนเซอร จํากัด หรือ นีโอ เตรียมพรอมลุยงาน PEA presents EcoLightTech Asia 2015 หรือ งานแสดงนวัตกรรมประหยัดพลังงานดานแสงสวาง ครัง้ ที่ 3 ซึง่ มีกาํ หนด จัดขึน้ ระหวางวันที่ 19-21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ณ ศูนยการประชุมแหงชาติ สิริกิติ์ ภายใตแนวคิด “นวัตกรรมและเทคโนโลยีประหยัดพลังงานเพื่อ ผูป ระกอบการ” โดยจัดรวมกับ 2 งานใหญ คือ C-Tech 2015 งานแสดง นวัตกรรมและเทคโนโลยีดานระบบทําความเย็นและปรับอากาศ และ SolarTech 2015 งานแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยีดา นพลังงานแสงอาทิตย มัน่ ใจ ไทยครองแชมปผูจัดงานแสดงนวัตกรรมประหยัดพลังงานที่ใหญและครบ วงจรที่สุดในเอเชีย คุณธีรวุทธิ์ วัตรกิจไพศาล ผูช ว ยผูว า การวางแผนและพัฒนาระบบไฟฟา การไฟฟา สวนภูมิภาค เผยวา “แนวโนมสถานการณวิกฤตไฟฟาไทยในป 2558 ลดลงเมื่อ เทียบกับปที่ผานมา โดยคาดการณปริมาณการใชไฟฟาปนี้ขยายตัวรอยละ 3-4 จากปกอนที่ขยายตัวรอยละ 4-5 ซึ่งสวนหนึ่งมาจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ทําใหภาคอุตสาหกรรมและประชาชนใชไฟฟานอยลงสวนการขยายตัวของปริมาณ การใชไฟฟาในพื้นที่ 6 เมืองที่มีชายแดนติดกับประเทศในกลุมอาเซียน คาดวา เมื่อมีการเปด AEC จะทําใหเกิดขยายตัวของอุตสาหกรรมไปยังพื้นที่ดังกลาว ซึง่ จะทําใหปริมาณการใชไฟฟาในพืน้ ทีเ่ ติบโตขึน้ ถึงรอยละ 10 เมือ่ เทียบกับปกอ น สําหรับ PEA presents EcoLightTech Asia 2015 นี้ จะจัดรวมกับ 2 งานใหญ คือ งาน C-Tech 2015 งานแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยีดา นระบบทําความเย็น และปรับอากาศ และ Solar-Tech 2015 งานแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยีดาน พลังงานแสงอาทิตย ภายใตแนวคิด “นวัตกรรมและเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน เพือ่ ผูป ระกอบการ” ตอบโจทยความตองการของกลุม เปาหมายผูเ ขาชมงานทัง้ ใน ระดับนานาชาติ ระดับภูมภิ าค และระดับประเทศ อยางครบวงจรทีส่ ดุ ซึง่ จะจัดขึน้ ระหวางวันที่ 19-21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เวลา 10.00-18.00 น. ณ ศูนยการประชุม แหงชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ เรียกไดวา งาน PEA presents EcoLightTech Asia 2015 ในปนี้ ไดรบั การตอบรับ ทีด่ มี ากจากผูป ระกอบการอุตสาหกรรม เนือ่ งจากการขยายพืน้ ทีก่ ารจัดงาน รวมถึง 10

July 2015

การดึง 2 แนวคิดไอเดียการประหยัดพลังงานดาน C-Tech และ Solar-Tech เขามารวมในการจัดงาน ครัง้ นี้ กลาวคือ งาน C-Tech 2015 งานแสดงนวัตกรรม และเทคโนโลยีดา นระบบทําความเย็นและปรับอากาศ รวบรวมผลิตภัณฑและบริการดานระบบทําความเย็น เครือ่ งแชเย็น เครือ่ งปรับอากาศ เครือ่ งควบคุมอุณหภูมิ ที่เนนการประหยัดพลังงานเพื่อผูประกอบการภาค อุตสาหกรรม และ SolarTech 2015 งานแสดง นวัตกรรมและเทคโนโลยีดานพลังงานแสงอาทิตย จะเปนเวทีทนี่ าํ เสนอสินคา บริการ และการใหคาํ ปรึกษา ดานพลังงานแสงอาทิตยสําหรับภาคอุตสาหกรรม รวบรวมผูผลิตแผงพลังงานแสงอาทิตยและเครื่องมือ เพื่ อ การผลิ ต จากผู  ป ระกอบการชั้ น นํ า จากทั่ ว โลก มาจัดแสดง จึงนับไดวา ทัง้ สามงานนี้ จะเปนการรวบรวม สุดยอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน อยางครบถวน และเปนโอกาสสําคัญที่ผูประกอบการ ทัง้ ชาวไทยและตางประเทศจะไดมาพบปะเจรจาการคา ครัง้ สําคัญเพือ่ ตอยอดธุรกิจของอุตสาหกรรมประหยัด พลั ง งานของไทยให เ ติ บ โตต อ เนื่ อ งได อี ก ยาวไกล และสามารถบรรลุเปาหมายผูเขาชมงานประมาณ 5,000-8,000 ราย และสรางมูลคาการซื้อขายภายใน งานไดมากถึง 300 ลานบาท” PEA presents EcoLightTech Asia 2015 จัดพรอมกับ C-Tech 2015 และ SolarTech 2015 ระหวางวันที่ 19-21 พฤศจิกายน 2558 เวลา 10.00-18.00 น. ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ ติดตาม รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.ecolight-tech.com หรือโทรศัพท 0-2203-4261-62


พพ.

News Report

ยืนยันความสําเร็จองคกรอนุรักษพลังงาน

เจาะลึกมาตรการอนุรักษพลังงานดานขนสงมวลชนไทย

กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน (พพ.) กระทรวงพลั ง งาน ในฐานะหนวยงานหลักที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษ พลังงาน ไดตระหนักและเล็งเห็นถึงความสําคัญของปญหาดานพลังงานของประเทศ โดยการเรงรัด สงเสริม สนับสนุน ผลักดันใหมีการพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษ พลังงาน ดวยการจัดประกวด Thailand Energy Awards สุดยอดรางวัลดานพลังงานของประเทศ เวทีคัดเลือกผลงานที่มีความโดดเดนดานพลังงานที่มุงหวังกระตุนใหสถานประกอบการ โรงงาน อาคาร และ ผูที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชนเห็นความสําคัญของพลังงาน และ ดําเนินการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงานควบคูก นั ไปอยางตอเนือ่ ง ซึง่ บริษทั รถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) หรือ (BMCL) ถือเปนองคกรตัวอยางที่มีการจัดการดาน พลังงานและสิ่งแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยสามารถควารางวัลดีเดนดานอนุรักษพลังงาน ประเภทขนสง Thailand Energy Awards 2014 ที่เล็งเห็นถึงความสําคัญในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ผานนโยบายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดาน บริษัท รถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ไดดําเนินธุรกิจผูใหบริการขนสงมวลชนดวยรถไฟฟาใตดินสายแรกของประเทศไทย โดยยึดถือความปลอดภัยเปนหัวใจสําคัญของการใหบริการ จึงมุงมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพการใหบริการ ดวยการนํานวัตกรรมเขามาชวยในเรื่องของ การใหบริการและการอนุรักษพลังงาน เพื่อใหไดรับความไววางใจและเปนหนึ่งในผูใหบริการรถไฟฟาขนสงมวลชนชั้นนําของโลก บริษัทฯ ไดกําหนด นโยบายดานการอนุรักษพลังงาน เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินงานของพนักงานทุกภาคสวนใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยการจัดตั้ง คณะทํางานดานอนุรกั ษพลังงานเพือ่ เปนกลไกในการขับเคลือ่ น และจัดทําคูม อื การจัดการพลังงานเพือ่ ใหการดําเนินการเปนไปอยางมีระบบและเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด การสงเสริมและเสริมสรางความรูเรื่องการอนุรักษพลังงานใหกับพนักงานผานการประชาสัมพันธและกิจกรรมที่จัดขึ้น อาทิ BMCL Green Power ไอเดียใหม ๆ ลดการใชพลังงาน และการนําระบบบริหารสินทรัพย (Asset Management) เขามาชวยในการบริหารจัดการ ทรัพยสินภายในบริษัทใหเปนไปอยางมีระบบ รวมถึงการนําเทคโนโลยีเขามาชวยในการบริหารงานซอมบํารุง อาทิ ชวยในการจัดเก็บขอมูลและแจง การซอมบํารุง เปนตน

เอกชนพรอมลงทุนผลิตไฟฟา จากขยะชุมชนและขยะอุตสาหกรรม จากความสับสนในขอมูลตามสือ่ ตาง ๆ จนบางครัง้ เกิดความ เขาใจผิดวาภาคเอกชนไมสามารถลงทุนในพลังงานขยะ ยังตองใหภาครัฐ ใชงบประมาณในการลงทุนตอไปนั้น กลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ในการลงทุนผลิตไฟฟาจากขยะทั้งขยะชุมชนและขยะอุตสาหกรรมโดย เปนการลงทุนที่ 100 % ของโครงการ ซึง่ ปจจุบนั มีเทคโนโลยีทสี่ ามารถใช กับขยะทีไ่ มผา นการคัดแยกเชนขยะในประเทศไทยไดแลว โดยการนํามา คัดแยกดวยเครือ่ งจักร แยกสวนทีเ่ ปนอินทรียอ อกจากขยะทีเ่ ปนเชือ้ เพลิง ซึง่ เรียกวา RDF: Refuse Derived Fuel ทําใหเกิดความปลอดภัยจากมลพิษ กวาการเผาตรงโดยไมมกี ารคัดแยกอยางในอดีต กลุม อุตสาหกรรมพลังงานแทน คาดวาหากภาครัฐชวยปรับลด กฎระเบียบหรือเรงรัดการขออนุญาตในโครงการพลังงานขยะแลว ภายในป 2559 จะมีการลงทุนไมนอ ยกวา 15 โครงการ ตามทีก่ รม ควบคุมมลพิษตัง้ เปาหมายไว โดยภาครัฐไมตอ งของบประมาณในการสนับสนุนใด ๆ สําหรับ โครงการละ 10 เมกะวัตตประกอบดวยการ ปรับปรุงคุณภาพขยะใหเปนเชือ้ เพลิง RDF โรงไฟฟาแบบ Steam Turbine และระบบจัดการขยะอินทรีย ดวยวิธกี ารนี้ จะเปนระบบที่ ยอมรับของชุมชนและนักวิชาการ July 2015

11


News Report กองบรรณาธิการ

โตโยต้าเมืองสีเขียว มุ่งมั่นสร้างสังคม คาร์บอนต�่า ผ่านโครงการ “ลดเมืองร้อน ด้วยมือเรา” ปที่

1

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เปนผู้แทนพระองค์ฯ มอบถ้วยรางวัลพระราชทานแก่โรงเรียนและเทศบาล ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการประกวดโครงงานด้านสิ่งแวดล้อมและโล่ประกาศเกียรติคุณ ในโครงการ “ลดเมืองร้อน ด้วยมือเรา” ปที่ 10 โดยมี นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานกรรมการ บริษทั โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ากัด และ ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ์ ผู้อ�านวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูงจากทั้ง 2 องค์กร ร่วมเปน สักขีพยาน ณ ลานกิจกรรมชัน้ G ศูนย์การค้าซีคอน บางแค จำกกำรด�ำเนินธุรกิจของโตโยต้ำในประเทศมำกว่ำ 52 ปี โตโยต้ำมีควำมมุ่งมั่นในกำรขับเคลื่อน ควำมสุขสู่สังคมไทย ภำยใต้สโลแกน “โตโยต้า ขับเคลื่อนความสุข” ด้วยกำรเป็นองค์กรที่ดี มีจิตส�ำนึกรับผิดชอบและร่วมพัฒนำสังคมไทย โดยหนึ่งในควำมมุ่งมั่นและตั้งใจของโตโยต้ำ คือ ด้ำนกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่ด�ำเนินงำนภำยใต้โครงกำร “โตโยต้าเมืองสีเขียว หรือ Toyota Green Town” ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้ำงสังคมคำร์บอนต�่ำ (Low carbon society) ก่อให้เกิด กำรบูรณำกำรด้ำนสิ่งแวดล้อมอย่ำงยั่งยืนครอบคลุมทั่วประเทศ ส�ำหรับโครงกำร “ลดเมืองร้อน ด้วยมือเรา” เป็นโครงกำรทีเ่ กิดจำกควำมร่วมมือระหว่ำง บริษทั โตโยต้ำ มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด และสถำบันสิ่งแวดล้อมไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นกำรสร้ำงและขยำยเครือข่ำยด้ำนสิ่งแวดล้อม เริม่ จำกท�ำกำรคัดเลือกโรงเรียนและเทศบำลจำกทัว่ ประเทศเข้ำร่วมโครงกำร จำกนัน้ ส่งเสริมให้เกิด ควำมรู ้ สร้ำงควำมเข้ำใจในเรือ่ งของกำรเปลีย่ นแปลงสภำพภูมอิ ำกำศโลกและปัญหำภำวะโลกร้อน พร้อมส่งเสริมให้องค์กรและหน่วยงำนที่เข้ำร่วมโครงกำรสำมำรถริเริ่มโครงงำนและกิจกรรมที่จะ ช่วยลดกำรก่อให้เกิดภำวะโลกร้อนภำยในโรงเรียนและชุมชนของตน ภำยใต้กำรด�ำเนินงำนใน 4 ด้ำน คือ กำรประหยัดพลังงำนไฟฟ้ำ กำรเดินทำงอย่ำงยัง่ ยืน กำรลดขยะในเมืองกำรเดินทำงอย่ำงยัง่ ยืน และกำรเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวในเมือง เพือ่ เป็นกำรสร้ำงเครือข่ำยแกนน�ำกำรด�ำเนินงำนด้ำนสิง่ แวดล้อม ทัง้ ในส่วนของโรงเรียนและเทศบำลในทุกภูมภิ ำคทัว่ ประเทศไทย

12

July 2015

ตลอดระยะเวลำกำรด�ำเนินโครงกำรตลอด ทัง้ 10 ปีทผี่ ำ่ นมำ บริษทั โตโยต้ำ มอเตอร์ ประเทศไทย จ� ำ กั ด ให้ ก ำรสนั บ สนุ น งบประมำณในกำรด�ำเนินงำนแก่ 248 โรงเรียน 194 เทศบำล และ 100 ชุมชนทั่วประเทศ เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ กว่ำ 207 ล้ำนบำท มีกำรขยำยเครือข่ำยด้ำนสิ่งแวดล้อมไปยัง โรงเรียนและหน่วยงำนเทศบำล 77 จังหวัด ทัว่ ประเทศไทย เกิดโครงกำรทีช่ ว่ ยลดภำวะ โลกร้อนทีเ่ ป็นรูปธรรมแล้วกว่ำ 2,387 โครงกำร สำมำรถช่ ว ยลดก๊ ำ ซเรื อ นกระจกได้ ก ว่ ำ 14,000 ตัน นอกจำกนี ้ บริษทั โตโยต้ำฯ ยังให้ กำรสนับสนุนแก่โรงเรียนและเทศบำลใน เครือข่ำยของโครงกำรที่มีควำมพร้อมใน กำรจัดสร้ำงศูนย์เรียนรู้เรื่องภำวะโลกร้อน ในแต่ละชุมชน เพื่อให้เกิดกำรกระจำย องค์ควำมรูไ้ ปในวงกว้ำง โดยปัจจุบนั ได้จดั สร้ำงศูนย์เรียนรูโ้ ลกร้อนแล้วเสร็จเป็นจ�ำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ชุมทำงลดโลกร้อนทุง่ สง อ.ทุง่ สง จ.นครศรีธรรมรำช อุโมงค์ลดโลกร้อน ต.อุโมงค์ อ.เมือง จ.ล�ำพูน และ สุขศำลำยำเยียวยำ โลกร้อน อ.แกลง จ.ระยอง ส�ำหรับโรงเรียน และเทศบำลทีเ่ ข้ำร่วมโครงกำรลดเมืองร้อน ด้วยมือเรำ ทีม่ ผี ลกำรด�ำเนินงำนดีเด่นประจ�ำปี ที่ 10 ถ้ ว ยพระรำชทำนรำงวั ล ชนะเลิ ศ อันดับหนึง่ ได้แก่ โรงเรียนควนโดนวิทยำ อ.ควนโดน จ.สตูล จำกกำรด�ำเนินโครงกำร เรำควนโดนวิทยำ ร่วมพลังสูค่ วำมหวังสังคม คำร์บอนต�ำ่ ส่วนประเภทชุมชน ได้แก่ ชุมชน แพะปำห้ำและเทศบำลเมืองแม่โจ้ อ.สันทรำย จ.เชียงใหม่ จำกกำรด�ำเนินโครงกำรแพะปำ ห้ำร่วมใจลดพลังงำนลดเมืองร้อน ภำยในงำน “ลดเมืองร้อน ด้วยมือเรา” ในครัง้ นี ้ บริษทั โตโยต้ำฯ ได้เรียบเรียงเรือ่ งรำวควำมส�ำเร็จ จำกกำรด�ำเนินโครงกำรตลอดระยะเวลำ 10 ปี ทีผ่ ำ่ นมำ ภำยใต้แนวคิด “Growing Green Together” เริม่ ต้นจำกโซนนวัตกรรมยำนยนต์ แห่งอนำคต “โตโยต้า มิไร” ที่มำพร้อม ควำมทั น สมั ย ด้ ว ยดี ไ ซน์ ที่ โ ฉบเฉี่ ย วและ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมร่วมค้นหำ ควำมลับของปำนิเวศและเพลิดเพลินไปกับ ธรรมชำติทงี่ ดงำมใน Toyota Green Park เยีย่ มชมนิทรรศกำรจำกชุมชนและโรงเรียน เครือข่ำย พร้อมแวะซื้อสินค้ำภูมิปัญญำ ท้องถิน่ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมใน Green Market และรับชมกำรแสดงชุดพิเศษภำยใต้ ควำมคิด Green Heart Effect ร่วมสนุกไป กับหลำกหลำยกิจกรรม



News Report กองบรรณาธิการ

ไทย-เมียนมาร์

ลงนามบันทึกความร่วมมือด้านพลังงาน มุง่ พัฒนาและเสริมความมัน่ คงด้านพลังงาน-ไฟฟ้าระหว่างประเทศ กระทรวงพลังงานไทย ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ด้านพลังงานกับ กระทรวงไฟฟ้า และ กระทรวงพลังงานเมียนมาร์ 2 ฉบับ มุง่ พัฒนาพลังงานและระบบไฟฟ้า อาทิ การพัฒนาท่อส่งก๊าซ การน�าเข้า LNG การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไฟฟ้า และขยาย ความร่วมมือผลิตไฟฟ้า เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานระหว่าง 2 ประเทศ นายสราวุธ แก้วตาทิพย์ ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์ (สนย.) กระทรวงพลังงำน เปิดเผยว่ำ ดร.ณรงค์ชยั อัครเศรณี รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงพลังงำน ได้ลงนำม บันทึกควำมเข้ำใจ (MOU) ว่ำด้วยเรือ่ งพลังงำน กับรัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงไฟฟ้ำเมียนมำร์ และ รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงพลังงำนเมียนมำร์ โดยมี มรว.ปรีดยิ าธร เทวกุล รองนำยกรัฐมนตรี ร่วมเป็นสักขีพยำน เพือ่ มุง่ เน้นให้เกิดกำรแลกเปลีย่ นข้อคิดเห็นและข้อมูลด้ำนนโยบำยพลังงำนทีจ่ ะก่อให้เกิดประโยชน์ และเพือ่ เสริมสร้ำงควำม ร่วมมืออันดีระหว่ำงกันของทัง้ 2 ประเทศ โดยตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐำนของกำรเป็นหุน้ ส่วนทำงยุทธศำสตร์รว่ มกัน กำรลงนำม MOU ครัง้ นี ้ ได้มกี ำรจัดท�ำบันทึกควำมเข้ำใจ จ�ำนวน 2 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 ว่าด้วยเรือ่ งพลังงาน โดยขอบเขตควำมร่วมมือคือ ทัง้ 2 ประเทศจะร่วมมือกันด้ำนปิโตรเลียมต้นน�ำ้ และปลำยน�ำ้ เช่น กำรพัฒนำท่อส่งก๊ำซในประเทศและข้ำมชำยแดน กำรส�ำรวจและผลิต กำรพัฒนำ ขีดควำมสำมำรถในกำรน�ำเข้ำก๊ำซธรรมชำติเหลว (LNG) กำรปรับปรุงโรงกลัน่ น�ำ้ มัน และกำรพัฒนำห่วงโซ่คณ ุ ค่ำปิโตรเคมีทมี่ คี วำมเป็นไปได้รว่ มกัน ส�ำหรับ ฉบับที่ 2 ว่าด้วยเรือ่ งพลังงานไฟฟ้า โดยขอบเขตควำมร่วมมือ คือ ทัง้ 2 ประเทศจะร่วมมือกันด้ำนพลังงำนไฟฟ้ำ เช่น กำรพัฒนำโครงสร้ำง พืน้ ฐำนไฟฟ้ำ ซึง่ ประกอบด้วยระบบกำรผลิตไฟฟ้ำจำกเขือ่ นพลังน�ำ้ และอืน่ ๆ ระบบส่งและระบบจ่ำยไฟฟ้ำ และขยำยควำมร่วมมือด้ำนกำรผลิต ไฟฟ้ำทีม่ อี ยูแ่ ละควำมตกลงทวิภำคีทที่ ำ� ก่อนหน้ำนี ้ โดยมุง่ สนับสนุนควำมต้องกำรไฟฟ้ำภำยในเมียนมำร์เป็นล�ำดับแรก รวมถึงกำรส่งเสริมกำรค้ำ และกำรเชือ่ มโยงไฟฟ้ำระหว่ำง 2 ประเทศ กำรร่วมมือด้ำนพลังงำนและพลังงำนไฟฟ้ำในครัง้ นี ้ นอกจำกจะเป็นกำรส่งเสริมควำมร่วมมือ และควำม สัมพันธ์อันดีระหว่ำง 2 ประเทศ เกิดกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลในกำรลงทุนด้ำนพลังงำนระหว่ำงกันแล้ว ยังเป็นกำรส่งเสริมและเปิดโอกำสให้ ภำคเอกชนไทยแสวงหำโอกำสลงทุนด้ำนพลังงำนในเมียนมำร์เพิม่ ขึน้ ซึง่ จะเป็นโอกำสทีด่ ใี นกำรเสริมสร้ำงควำมมัน่ คงด้ำนพลังงำนและควำมมัน่ คง ด้ำนระบบไฟฟ้ำให้กบั ประชำชนทัง้ 2 ประเทศ

ว๊อกซ์ ยูวี 400 โปร เปิดตัวแคมเปญ “สาวสวยประชันผิวขาวใสไปกับฟิลม์ ” ดึงเน็ตไอดอล ตอกย�า้ สินค้านวัตกรรมเพือ่ สุขภาพ บริษัท ว๊อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้ผลิต และจัดจ�าหน่าย VOX UV400 PRO ฟิล์ม กรองแสงรถยนต์เพื่อสุขภาพโดยเฉพาะรายเดียวและรายแรกของโลก จัดแถลงข่าวเปิดตัว แคมเปญใหม่ “สาวสวยประชันผิวขาวใส ไปกับฟิลม์ VOX” เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจให้วยั รุน่ ไทย หันมาใสใจในสุขภาพผิว แบรนด์แอมบำสเดอร์ของว๊อกซ์ เชิญชวนสำวผิวสวยทั่งประเทศร่วมโครงกำร และเป็น กรรมกำรตัดสิน เพื่อตอกย�้ำควำมเป็นแบรนด์สินค้ำนวัตกรรมเพื่อสุขภำพ และสร้ำงควำมแปลกใหม่ให้กับตลำดฟิล์มกรองแสงรถยนต์เมืองไทย นายพีรศักดิ์ ทองนรินทร์ ประธำนกรรมกำรบริหำร บริษัท ว๊อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดเผยว่ำ จำกกำรจัดกิจกรรมทำงกำรตลำดด้วยกำรเปิดตัว แบรนด์แอมบำสเดอร์ ชาคริต และ วุ้นเส้น วิริฒิพา แย้มนาม และกำรร่วมออกบูธแสดงสินค้ำในงำนมอเตอร์โชว์ 2014 เมื่อปลำยปีที่ผ่ำนมำ ว็อกซ์ มุง่ เน้นในเรือ่ งของกำรเป็นสินค้ำนวัตกรรมเพือ่ กำรดูแลสุขภำพ ผ่ำนกิจกรรมสือ่ สำรกำรตลำด ครบวงจรทัง้ ออนไลน์และออฟไลน์อย่ำงต่อเนือ่ ง ท�ำให้เรำสำมำรถสร้ำงกำรรับรู้จำกผู้บริโภคได้ดี และยอดขำยที่เติบโตตำมเป้ำหมำยที่วำงไว้ ส�ำหรับช่วงปลำยของไตรมำสที่ 2 นี้ พร้อมบุกตลำดด้วย แคมเปญใหม่ “สาวสวยประชันผิวขาวใส ไปกับฟิล์ม VOX” เจำะกลุ่มเป้ำหมำยวัยรุ่น และสำวผิวสวยทั่วประเทศ ซึ่งเรำมองว่ำ “ผู้หญิงวันนี้ อยู่ใน ยุคที่เรียกว่า HALO EFFECT ที่เชื่อว่า ใครดูแลตัวเองได้ดีกว่า คนนั้นก็จะได้รับโอกาสที่ดีกว่า” จึงต้องมุ่งเน้นกำรสร้ำงกำรรับรู้ กำรเข้ำถึง และ สร้ำงภำพลักษณ์ที่น่ำดึงดูด เพื่อให้เกิดแนวทำงสื่อสำรที่กระตุ้นให้ผู้คนหันมำสนใจเพิ่มขึ้น โดยผ่ำนกระบวนกำรของกำรสร้ำงแรงจูงใจ และสร้ำง ควำมสัมพันธ์ไปยังคนกลุ่มที่มี “อิทธิพล” กับกลุ่มตัวแทนของสำวๆ ยุคใหม่ที่ใส่ใจดูแลตัวเองด้วยกำรดึงสำวผิวสวย และเน็ตไอดอลทั่วประเทศที่มี จ�ำนวน Follower ใน Instagram ของตัวเอง มำกกว่ำ 10,000 followers เข้ำมำร่วมโครงกำร “สาวสวยประชันผิวขาวใส ไปกับฟิล์ม VOX” ทำงด้ำน นายธนพล เลิศวงศกุล รองประธำนชมรมผูค้ ำ้ ฟิลม์ กรองแสงแห่งประเทศไทย กล่ำวว่ำ ธุรกิจและอุตสำหกรรมฟิลม์ กรองแสง เป็นธุรกิจและอุตสำหกรรมทีม่ คี วำมส�ำคัญอย่ำงมำกในประเทศ ทัง้ ในเรือ่ งของกำรประหยัดพลังงำนและเชือ้ เพลิง เรือ่ งของกำรลดควำมร้อนและสุขภำพ ของผู้ใช้ ไปจนถึงเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันภำพรวมตลำดฟิล์มกรองแสงมีมูลค่ำสูงถึง 4,000 ล้ำนบำท และยังสำมำรถเติบโตได้อย่ำงต่อเนื่อง

14

July 2015


News Report

จัดงาน RENEWABLE ENERGY ASIA และ THAI WATER EXPO

2015 2015

ตอกย�้าความเป็นผู้น�าด้านพลังงานทดแทนและสิ่งแวดล้อม

ศ.ดร.พรายพล คุม้ ทรัพย์ ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน ประธานเปิดงาน RENEWABLE ENERGY ASIA 2015 และ THAI WATER EXPO 2015 กล่าวว่า ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในกลุม่ อาเซียน จะมีทศิ ทางการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ ง ในขณะเดียวกันก็สง่ ผลให้ปจั จัย ในการใช้พลังงานสูงตามไปด้วย ส่งผลกระทบให้มลู ค่าของพลังงานปรับตัวสูงขึน้ ตามมา การแสวงหา แหล่งพลังงานทดแทนจึงมีเพิม่ มากขึน้ ในส่วนนโยบายของภาครัฐ ได้มคี วามพยายามทีจ่ ะผลักดันให้ เกิดการใช้งานพลังงานทดแทนเพิม่ มากขึน้ ในทุกกลุม่ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ธุรกิจโรงแรม ทีพ่ กั อาศัยหรืออาคารพาณิชย์ต่าง ๆ เพื่อช่วยรักษาความมั่งคงทางด้านราคาของพลังงาน และการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน “ส�าหรับประเทศไทยอยูร่ ะหว่างการประกาศแผนปฏิรปู พลังงานฉบับใหม่ ตัง้ แต่ปี 2558-2579 ซึง่ ประกอบไปด้วยแผนงาน 5 ส่วน ทีร่ วมไปถึงการพัฒนาพลังงาน การเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การใช้พลังงานทดแทน รวมถึงน�า้ มันและก๊าซธรรมชาติ ซึง่ แผนนีจ้ ะท�าให้ประเทศไทยเพิม่ ขีดความ สามารถทางการแข่งขันด้านพลังงาน เมือ่ เทียบกับระดับสากลได้เป็นอย่างดี” ทางด้าน นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานบริษทั ยูบเี อ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด เปิดเผยว่า ประเทศไทยเป็นประเทศทีม่ คี วามก้าวหน้าทางด้านพลังงานทดแทนสูงทีส่ ดุ ในภูมภิ าค ซึง่ ส่งผลดีอย่างมาก ในหลายประการ เช่น โอกาสในการสร้างงานและการลดต้นทุนการผลิต น�ามาซึ่งการลงทุนด้าน ต่าง ๆ และการเติบโตของผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม งาน RENEWABLE ENERGY ASIA 2015 เป็นงานแสดงด้านพลังงานทดแทนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ และครบครันทีส่ ดุ ในอาเซียน โดดเด่นด้วยการจัดแสดงเกีย่ วกับแหล่งพลังงานและระบบพลังงานต่าง ๆ ทีเ่ ป็นเทคโนโลยีรนุ่ ใหม่ลา่ สุดแห่งศตวรรษที่ 21 ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งจักร อุปกรณ์และพลังงานทดแทน รวมไปถึงการแสดงเกี่ยวกับโครงการพลังงานระบบต่าง ๆ เช่น ระบบพลังงานลมและแสงอาทิตย์

ระบบพลั ง งานจากความร้ อ น พลั ง งานน�้ า ชีวมวล และพลังงานสีเขียวด้านอืน่ ๆ มากมาย รวมถึงการผลิตหลังคาโซล่าร์มาตรฐานระดับ สากล ซึ่งปีนี้มีบริษัทชั้นน�าระดับ TOP10 ของ โลกน�านวัตกรรมใหม่ล่าสุดมาจัดแสดง อาทิ Suntech, JA Solar, Trina Solar, Yingli, Jinko Solar เป็นต้น นอกจากนี้ยังจัดควบรวมไปกับ งาน ENTECH POLLUTEC ASIA 2015 ซึง่ เป็น งานแสดงนานาชาติดา้ นการป้องกันสิง่ แวดล้อม และเทคโนโลยีควบคุมการผลิตและงาน THAI WATER EXPO 2015 ซึง่ เป็นงานแสดงเทคโนโลยี ระดั บ นานาชาติ ด ้ า นการบริ ห ารจั ด การน�้ า ดี น�้ า เสี ย ที่ ใ หญ่ ร ะดั บ นานาชาติ ที่ จั ด ควบคู ่ ไปกับงาน PUMPS & VALVES ASIA 2015 งานแสดงเฉพาะด้านทีร่ วบรวมอุปกรณ์เกีย่ วกับ ปั๊ม วาล์ว ท่อและอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เกี่ยวข้อง กับน�า้ อย่างครบวงจร ภายในงาน RENEWABLE ENERGY ASIA 2015 และ THAI WATER EXPO 2015 ยังมีการแสดง เทคโนโลยีและนวัตกรรมล่าสุดเกีย่ วกับพลังงาน และการบริหารจัดการน�้าจากประเทศต่าง ๆ อย่างยิ่งใหญ่ถึง 8 พาวิลเลียน ได้แก่ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อิสราเอล จีน เกาหลี ไต้หวัน และเป็น ครั้งแรกที่ผู้มาร่วมงานจะได้สัมผัสเทคโนโลยี ชั้นน�าจากพาวิลเลียนของรัฐบาวาเรียประเทศ เยอรมัน และพาวิลเลียนจากสาธารณรัฐเชคเป็น ครั้งแรกอีกด้วย นอกจากนี้ ยังจัดให้มีสัมมนา และการแสดงผลงานวิ จั ย ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม อีกกว่า 100 หัวข้อ อาทิ สัมมนาใหญ่เรื่อง “ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งอุ ต สาหกรรม สีเขียว อนาคตอุตสาหกรรมไทย” จัดโดย กรมโรงงานอุตสาหกรรม และ สมาคมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทยจัดอบรม หัวข้อ “การจัดการน�้าเสียในอุตสาหกรรม อาหาร” เป็นต้น

July 2015

15


News Report

มข.วิจัยระบบโซอุปทานฯ

หนุนสถานประกอบการภาคอีสาน ลดตนทุนกวาสิบลาน

กลุมวิจัยระบบโซอุปทานและโลจิสติกส มหาวิทยาลัยขอนแกน รวมกับ สถาบัน พัฒนาฝมอื แรงงานภาค 6 ขอนแกน กรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ดําเนินโครงการเพิม่ ผลิตภาพ แรงงานตามความตองการสถานประกอบกิจการในภาคอีสานจํานวน 10 แหง โดยใชระยะ เวลาเพียง 6 เดือน แตสามารถเพิ่มผลิตภาพและลดตนทุนในกระบวนการผลิตไดเปน จํานวนหลายสิบลานบาท ประเทศในอาเซียนจะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558 โดยมี เปาหมายใหอาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน มีการเคลือ่ นยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝมืออยางเสรี ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีความจําเปนตองดําเนินการหรือ เตรียมความพรอมในดานตาง ๆ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งกรมพัฒนาฝมือ แรงงานไดเล็งเห็นความสําคัญจึงไดจดั โครงการดังกลาวขึน้ โดยมีเปาหมายพัฒนาคนและสถานประกอบกิจการ ซึง่ ถือเปนกลไกสําคัญในการขับเคลือ่ น เศรษฐกิจของประเทศ ศ.ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล รองอธิการบดีฝายวิจัยและการถายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน นําทีมที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ หลากหลายสาขา เชน การเพิ่มผลิตภาพการผลิต การจัดการพลังงาน การบริหารจัดการระบบโซอุปทานและโลจิสติกส ฯลฯ อบรมใหความรู คํ า ปรึ ก ษาและแนะนํ า เชิ ง ลึ ก แก เจ า ของสถานประกอบกิ จ การตลอดจนลู ก จ า งเพื่ อ เพิ่ ม ผลิ ต ภาพแรงงานและลดการสู ญ เสี ย จากการผลิ ต ซึ่งสถานประกอบกิจการสามารถนําแนวทาง วิธีปฏิบัติในการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน และลดการสูญเสียในวงจรการผลิตไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ยังเปนตนแบบในสายการผลิตอื่นตอไปอีกดวย นายดําริห เวียงเพิ่ม ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค 6 ขอนแกน กลาววา โครงการไดใหความสําคัญกับการพัฒนาทักษะ ของแรงงานอยางตอเนื่อง โดยมีกิจกรรมและหลักสูตรการฝกอบรมที่หลากหลายสําหรับแรงงาน/ลูกจาง นอกจากนี้ยังมีโครงการสําหรับเจาของ กิจการโดยเฉพาะอีกดวย ผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค 6 ขอนแกน หมายเลข 043-468-234 www.dsd.go.th/khonkaen หรือศูนยพัฒนาฝมือแรงงานประจําจังหวัดทุกแหง

Bridgestone จัดกิจกรรม

“Green Hands Special” เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวใหผนื ปากลางกรุง บริษัท ไทยบริดจสโตน จํากัด รวมกับ ศูนยจัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศ นครเขือ่ นขันธ กรมปาไม จัดกิจกรรม “Green Hands Special” เนือ่ งในวันสิง่ แวดลอมโลก มร.โทมิโอะ ฟุกสุ มุ ิ กรรมการผูจ ดั การบริษทั ไทยบริดจสโตน จํากัด พรอมดวย ผูบริหาร พนักงาน นักศึกษาทุนไทยบริดจสโตน ชาวบานเครือขายอนุรักษพื้นที่สีเขียว บางกะเจา และสื่อมวลชนไดรวมกันปลูกตนไม ณ พื้นที่อนุรักษสีเขียวชุมชนบางกะเจา อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อสงเสริมและรักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ เพิ่มพื้นที่ปอดสีเขียวใหกับชุมชนในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการและกรุงเทพมหานคร ตลอดจนฟนฟูความอุดมสมบูรณของทรัพยากรปาไมใหกลับคืนสูความอุดมสมบูรณ กิจกรรม “Green Hands Special” เพิ่มพื้นที่สีเขียวใหผืนปากลางกรุง เปนอีกหนึ่งกิจกรรมดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมของไทย ซึง่ บริดจสโตนจัดขึน้ เพือ่ รวมแสดงพลังในการตอบแทนสังคมและสิง่ แวดลอม อีกทัง้ ยังสงเสริมจิตสํานึกรักษธรรมชาติใหกบั ผูเ ขารวมกิจกรรม และสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนในทองถิ่นใหตระหนักถึงความสําคัญของระบบนิเวศควบคูกับการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมใหคงความ สมบูรณอยางยั่งยืน ซึ่งในปนี้ไทยบริดจสโตนไดรับการสนับสนุนจากศูนยจัดการพื้นที่ฯ เขาปลูกปาในเนื้อที่ 5 ไร ภายหลังจากกิจกรรม เสร็จสิ้นจะมีตนกลาจํานวนรวมกวา 1,000 ตน เพื่อชวยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดตลอดจนเพิ่มพื้นที่สีเขียวคืนความสมดุลทาง ธรรมชาติใหกับผืนปา ดวยการปลูกตนไมและบํารุงดูแลรักษา ปลูกซอมแซมตอเนื่องเปนระยะเวลา 3 ป โดยเริ่มโครงการตั้งแตเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2558 และสิ้นสุดโครงการในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 เพื่อลดภาวะวิกฤตการณดานทรัพยากรปาไม ทรัพยากรนํ้า ภาวะ โลกรอนและภัยพิบัติทางธรรมชาติ

16

July 2015



Cover Story กองบรรณาธิการ

WASHING MACHINE

พลังซัก...รักษโลก

ã¹Í´Õ µ Á¹Ø É Â ·ํ Ò ¤ÇÒÁÊÐÍÒ´àÊ×้ Í ¼Œ Ò â´Â¡Òà ¿Ò´µÕ¡Ñº¡ŒÍ¹ËÔ¹µÒÁÃÔÁ½˜›§áÁ‹¹ํ้ҹѺNjÒ໚¹§Ò¹Ë¹Ñ¡ áÅÐÂѧäÁ‹à»š¹¼Å´Õµ‹ÍàÊ×้ͼŒÒ´ŒÇ àÁ×่ÍŋǧàÇÅÒÁÒ¶Ö§ ÃÒǤÃÔʵ ȵÇÃÃÉ·Õ่ 18 ä´ŒÁ¡ Õ ÒûÃдÔÉ° à¤Ã×Í่ §ª‹Ç «Ñ¡¼ŒÒ¢Ö้¹ã¹»ÃÐà·ÈÍѧ¡ÄÉ à¤Ã×่ͧ´Ñ§¡Å‹ÒǹÕ้ä´Œ¶Ù¡ »ÃдÔÉ° ¢¹ ้Ö Í‹ҧ§‹ÒÂ æ ¾×¹ ้ æ áÅÐÂѧ¤§µŒÍ§ãªŒÁ¹ØÉ 㹡Ò÷ํ Ò ãËŒ à ¤Ã×่ Í §·ํ Ò §Ò¹«Ö่ § ໚ ¹ à¾Õ  §ª‹ Ç ÂºÃÃà·Ò §Ò¹¢Í§¡Òëѡ¼ŒÒà·‹Ò¹Ñ้¹ ÁÔä´Œ»¯ÔºÑµÔ¡Òëѡ¼ŒÒàͧ ·Ñ§้ ËÁ´ 㹪‹Ç§àÇÅÒµ‹ÍÁÒä´ŒÁ¡ Õ ÒþѲ¹Ò¡ÒûÃдÔÉ° à¤Ã×่ͧ«Ñ¡¼ŒÒãËŒÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾´Õ¢Ö้¹ ¨¹à¤Ã×่ͧ«Ñ¡¼ŒÒ ä´ŒÇÔÇѲ¹Ò¡ÒÃÁÒ໚¹à¤Ã×่ͧ¨Ñ¡Ã·Õ่ÁÕ¤ÇÒÁ«Ñº«ŒÍ¹¶Ö§ ¢Ñ¹ ้ ·Õà่ ÃÔÁ่ ·ํÒ§Ò¹¨Ò¡¡Òûŋ͹ํÒ้ ࢌÒÊÙà‹ ¤Ã×Í่ § ¨¹¡Ãзѧ่ ¶‹Ò¹ํÒ้ ÍÍ¡ «Ö§่ ¨ÐÃÇÁ¶Ö§¡Òëѡ »˜¹ › ¼ŒÒãËŒáËŒ§ËÁÒ´ æ ¤Çº¤ØÁÍسËÀÙÁԢͧ¹ํ้Ò ãÊ‹¼§«Ñ¡¿Í§ ¨¹¡ÃзÑ่§ ·ํÒ§Ò¹â´ÂÍѵâ¹ÁÑµÔ áÅоѲ¹ÒãËŒ»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ࢌҡѺÂؤÊÁÑÂÁÒ¡¢Ö้¹

18

July 2015

เครื่องซักผา (Washing Machine) คือ เครื่องจักรที่ใชสําหรับทําความสะอาด หรือขจัดสิ่งสกปรกออกจากเนื้อผา โดยใชองคประกอบรวมในการทํางาน เชน นํ้า ความรอน เคมี เครื่องซักผาในปจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งเราแบง ออกเปนกลุม ๆ ไดหลายลักษณะ เชน แยกตามขนาดของเครื่อง แยกตาม ลักษณะของเครื่อง แยกตามลักษณะการใชงาน


ประเภทของเครื่องซักผ้าที่ใช้ในครัวเรือน ที่พบในปัจจุบัน มี 3 ประเภท คือ - เครือ่ งซักผ้าประเภทสองถังมีฝาด้านบน เป็นเครื่อง ซักผ้าประเภทกึง่ อัตโนมัติ ตัวตัง้ เวลาในการซักและปัน่ จะเป็นกลไกลูกบิดแบบ electromechanical (กึ่งกลไก กึ่งไฟฟ้า) ถังหนึ่งจะไว้ส�าหรับซัก และอีกถังไว้ส�าหรับ ปั่นผ้าให้หมาด ผู้ใช้งานต้องเป็นผู้แยกผ้าจากถังซัก มาใส่ถงั ปัน่ หมาดเอง และอาจจ�าเป็นต้องท�าหลายครัง้ เนื่ อ งจากถั ง ปั ่ น หมาดมี ข นาดเล็ ก กว่ า ทั้ ง ซั ก มาก ในถังซักจะมีแกนหมุนตรงกลาง หมุนให้ผ้าเสียดสีกัน เพือ่ ขจัดสิง่ สกปรกออก เครือ่ งซักผ้าประเภทนีม้ รี าคา ถูกกว่าประเภทอื่น - เครื่องซักผ้าประเภทถังเดียวมีฝาข้างบน เครื่อง ประเภทนี้ โ ดยมากจะเป็ น แบบท� า งานอั ต โนมั ติ โดยตัวตั้งค่าต่าง ๆ ในการซักจะเป็นแบบปุ่มกดหรือ แบบลูกบิดทีห่ มุนได้อย่างเบามือมากกว่าเครือ่ งซักผ้า แบบกึ่งอัตโนมัติ (แบบเดียวกับลูกบิดปรับระดับเสียง ในเครื่องเสียงและวิทยุบางรุ่น) ควบคุมการท�างานด้วย ไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ประกอบด้วย IC และ ไมโคร โพรเซสเซอร์ เข้ า มาแทนที่ ก ลไลการตั้ ง เวลาแบบ electromechanical โดยจะสามารถตั้งระบบการซัก ระดับน�า้ เวลาในการซักและปัน่ หมาดได้อย่างเสร็จสรรพ ตัวเครือ่ งจ�าเป็นต้องต่อกับท่อน�า้ เมือ่ ตัง้ ระบบการซัก เรี ย บร้ อ ย เครื่ อ งจะท� า การจ่ า ยน�้ า เข้ า เครื่ อ งและ

ตัดน�้าเองอัตโนมัติ จากนั้นจะท�าการซักและปั่นหมาดในถังเดียว ผู้ใช้งาน สามารถตัง้ ระบบการซัก แล้วรอน�าผ้าไปตากได้เลย โดยไม่ตอ้ งมาคอยแยกผ้า ในถังซัก ซึ่งจะมีแกนหมุนตรงกลางเช่นเดียวกับแบบสองถัง - เครื่องซักผ้าประเภทถังเดียวมีฝาด้านหน้า สามารถท�างานได้โดยอัตโนมัติ เช่นเดียวกับแบบถังเดียวมีฝาด้านบน แต่มีถังซักซ้อนกันสองถัง ถังซักชั้นใน จะท�าหน้าทีห่ มุน ให้ผา้ เสียดสีกนั และอุม้ น�า้ ไว้ในขณะทีห่ มุนผ้า ถังซักชัน้ นอก จะท�าหน้าที่อุ้มน�้าไว้ในขณะซัก และมีฟังก์ชั่นการใช้งานที่มากกว่า เช่น เครื่องจะค�านวณประมาณน�้าโดยอัติโนมัติให้เหมาะสมกับปริมาณผ้าโดยเรา เลือกเพียงชนิดของผ้า สามารถซักน�้าร้อนได้และอื่น ๆ อีกมากมายตามรุ่น และแบรนด์ที่แตกต่างกัน นอกจากประเภท รุ่น หรือแม้แต่แบรนด์ที่แตกต่างกันแล้ว เทคโนโลยีก็ถือเป็น อีกหนึง่ ปัจจัยในการตัดสินใจซือ้ เครือ่ งซักผ้าของผูบ้ ริโภค ซึง่ ในส่วนของเทคโนโลยี ที่ผู้บริโภคหันมาให้ความส�าคัญมาก คือ เทคโนโลยีที่ช่วยให้ประหยัดพลังงาน เทคโนโลยีที่ใส่ใจสุขภาพ รวมไปถึงเทคโนโลยีถนอมเนื้อผ้า ท�าให้ผู้ผลิตเครื่อง ซักผ้าต่างแข่งขันแย่งชิงกันตอบสนองความต้องการให้กับผู้บริโภค

July 2015

19


คุณอลงกรณ ชูจิตร

“แอลจี” ผูน าํ อันดับหนึง่ ในตลาดเครือ่ งซักผา ระดั บ โลก 7 ป ซ  อ น ซึ่ ง ความสํ า เร็ จ ของ เครือ่ งซักผาแอลจีเกิดจากการคิดคนนวัตกรรม ลํ้าสมัยที่สามารถตอบโจทยผูบริโภคทั่วโลก ไดอยางแทจริง อาทิ “เทคโนโลยี ไดเร็ค ไดรฟ” (Direct Drive) ทีต่ วั มอเตอรตอ ตรงเขากับถังซัก เพิ่มประสิทธิภาพในการซักลางและยังยืด อายุของมอเตอรใหยาวนานยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ “เทคโนโลยีแอลจี ซิกส โมชัน่ ” (LG 6 Motion) ชวยถนอมผาราวกับซักดวยมือ ทั้งยังชวย ลดรอยยับยนและความเสียหายที่อาจเกิด ขึ้นกับเนื้อผา และเทคโนโลยีลาสุดอยาง “เทอรโบ วอช” (Turbo Wash) ที่ใชนํ้า แรงดั น สู ง ฉี ด นํ้ า เข า สู  เ นื้ อ ผ า เพื่ อ กํ า จั ด สิ่ ง สกปรกทีต่ ดิ คางบนเนือ้ ผาทัง้ ยังชวยลดเวลา การซักลาง ทั้งนี้ ยังมีฟงกชั่น “แทคออน” (Tag On) ที่สามารถเชื่อมตอแอพพลิเคชั่น ในสมารทโฟนกับเครื่ อ งซั กผ า ผ า น NFC เพื่ อ ดาวน โ หลดโปรแกรมการซั ก รวมถึ ง แนะนํ า โปรแกรมซั ก ให เ หมาะสมกั บ ผ า แตละประเภท นอกจากนีย้ งั สามารถตรวจสอบ ปญหาเครื่องซักผาและตรวจสอบประวั ติ การซักผาไดงา ย ๆ เพียงแคแตะสมารทโฟน ลงบนเครื่องเทานั้น 20

July 2015

คุณอลงกรณ ชูจติ ร รองกรรมการผูจ ดั การ บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “แอลจี ไดรางวัลจากองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) หรือ อบก. ภายใตกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยเครื่องซักผาฝาบน ของแอลจีรุน Hygienic Heater ที่ไดรับรางวัลจากอบก.นั้น โดดเดนดวยเทคโนโลยี ซิกส โมชั่น อินเวอรเตอร ไดเร็ค ไดรฟ (6 Motion Inverter Direct Drive) ที่สามารถตั้ง โปรแกรมการซักผาไดตามลักษณะของเนื้อผา จึงซักสะอาดหมดจด ประหยัดเวลา และ ถนอมเสื้อผาไดเปนอยางดี ผนวกกับระบบอินเวอรเตอร ไดเร็ค ไดรฟ ที่ตอมอเตอรตรง เขาสูตัวถังซัก ซึ่งเปนเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตเฉพาะของแอลจี มีคุณสมบัติเพิ่ม ประสิทธิภาพในการถนอมเนื้อผาโดยลดการพันของผาไดถึง 54% ประหยัดพลังงานได มากถึง 45% และประหยัดนํ้าไดกวา 25% อีกทั้งยังชวยลดแรงสั่นสะเทือน ยืดอายุการ ใชงาน ทําใหแอลจีกลายเปนแบรนดเครื่องใชไฟฟาแบรนดแรกที่ไดรับรางวัลจาก อบก. รางวัลนี้จึงเปนอีกหนึ่งบทพิสูจนแสดงใหเห็นถึงความมุงมั่นของแอลจีในการรณรงคลด ภาวะโลกรอน ซึง่ สอดคลองกับนโยบายของแอลจีสาํ นักงานใหญ ในการรักษาสิง่ แวดลอม LG Green 2020 ซึ่งมุงเนนการลดกาซเรือนกระจกในทุก ๆ ชองทาง ไมว าจะเปน กระบวนการผลิต ทั้งอุปกรณเครื่องมือที่ใช วิธีดําเนินการ การบริหารจัดการพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสรางสรรคผลิตภัณฑที่ชวยประหยัดพลังงาน ทั้งนี้แอลจี ไดวางแผนทีจ่ ะพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ ประหยัดพลังงานอยางตอเนือ่ ง และนําเทคโนโลยีนนั้ มาปรับใชกับผลิตภัณฑเพื่อลดการใชพลังงาน โดยแอลจีตั้งเปาหมายที่จะลดปฏิกิริยา กาซเรือนกระจกซึ่งเกิดจากกระบวนการผลิตจํานวน 150 กิโลตันตอป และลดปฏิกิริยา กาซเรือนกระจกซึ่งเกิดจากการใชงานผลิตภัณฑจํานวน 30 เมกกะตัน ภายในป พ.ศ. 2563”


ลาสุดภายในงาน CES 2015 (Consumer Electronics Show) แอลจีเปดตัว “Twin Wash” นวัตกรรมเครื่ อ งซั กผ า แบบใหม ที่มาพรอมกับระบบ 2 ฝาในเครื่องเดียว คือ เครือ่ งซักผาฝาหนาแบบปกติทอี่ ยูด า นบนและ ยังมีสวนลางที่เปนเครื่องซักผาขนาดเล็ก แบบฝาบนที่มีลักษณะคล า ยลิ้ น ชั ก ที่ จ ะ ชวยเพิ่มความสะดวกและประหยัดเวลาใน การซักผาไดเปนอยางดี เพราะเครื่องซักผา รุนนี้ใหคุณซักผาจํานวนมากไปพรอม ๆ กัน ซึ่งแบบฝาบนเหมาะสําหรับซักผาทั่วไปและ ผาหนา สวนแบบฝาลางเหมาะกับผาบาง ที่ตองการการถนอมเปนพิเศษ ทํางานดวย เทคโนโลยี TurboWash 2.0 ชวยเพิ่มความเร็ว ในการซักผาให เ สร็ จไวขึ้ น TurboSteam ที่ชวยใหการอบแหงเร็วขึ้น 50% และระบบ LG EcoHybrid ที่ชวยประหยัดพลังงานใน การปนผาถึง 53% ไมเพียงเทานี้ ผูใ ชยงั สามารถควบคุ ม และตรวจสอบสถานะ การทํางานของเครื่องซักผาดวยสมารทโฟน ผาน Wi-Fi หรือ NFC บิวทอินได

วิธกี ารชวยลดพลังงานจากการซักผา 4. ใสผาตามขีดวัดระดับปริมาณความจุของถังที่กําหนดไวและไมควรใสเกินขนาด เพราะอาจทําใหเครื่องซักผาทํางานหนักกวาปกติและอาจเกิดการชํารุดได อีกทั้งยังทําให แตยังคงใหประสิทธิภาพในการทํา ผายับมากขึ้น ซึ่งเปนผลเสียใหคุณตองเสียทั้งเวลาและสูญเสียพลังงานไฟฟาในการรีด ความสะอาดไดเหมือนเดิม 5. หลังการซักควรนําออกมาตากดวยวิธีธรรมชาติโดยการตากกับแสงแดด จะชวยลด สามารถทําไดงายๆ ดังนี้ 1. การเลือกซือ้ เครือ่ งซักผา จะตองคํานวณ ถึงขนาดและความเหมาะสมกับลักษณะ การใชงาน เพราะหากใชขนาดทีเ่ ล็กเกินไป หรือใหญเกินความจําเปนอาจทําใหสิ้น เปลืองพลังงานในการซัก 2. การแชผาทิ้งไวกอนนําไปซัก จะทําให คราบสกปรกหลุดออกอยางงายดาย และ ชวยใหเครือ่ งซักผาทําความสะอาดไดงา ย ยิ่งขึ้น 3. ตั้งอุณหภูมิการซักดวยนํ้าเย็น การซัก นํ้าเย็นสามารถซักผาใหสะอาดไดเทียบ เทากับการซักในนํ้าที่มีอุณหภูมิสูงกวาได ดังนั้นจึงควรใชนํ้ารอนในการซักผาเทาที่ จําเปนเทานั้น

การสูญเสียการใชไฟฟา อีกทัง้ แสงแดดมีคณ ุ สมบัตใิ นการชวยฆาเชือ้ โรคไดดกี วาการอบผา 6. ปดสวิตชไฟเครื่องซักผาทุกครั้งหลังเลิกใชงาน ที่สําคัญตองหมั่นดูแลรักษาเครื่อง ซักผาอยางสมํ่าเสมอ เคล็ดลับงาย ๆ ในการดูแลรักษาอยางแรกคือ ควรแชผา เพือ่ ชะลางสิง่ สกปรกกอนนําเขาเครือ่ ง นอกจากจะชวยใหเครื่องไมตองทํางานหนักแลว ยังทําใหผาสะอาดขึ้นดวย และปริมาณ ผาที่ใสควรเหมาะสมกับความจุของเครื่องซักผา ไมมากหรือนอยจนเกินไป ที่สําคัญกอน เริ่มใชงานควรศึกษาคูมือการใชอยางละเอียดและปฏิบัติตามอยางเครงครัด อยาลืมติดตั้ง สายดินดวย

ในชองใสผงซักฟอก ชองนํ้ายาปรับผานุม และตาขายกรองเศษผง ควรถอดออกมาลาง ทําความสะอาดบอย ๆ เพือ่ ลางคราบนํา้ ยา หรือคราบสกปรกตาง ๆ สวนตัวถังภายนอกนัน้ ใหใชฟองนํ้านุม ๆ หรือผาชุบนํ้าหมาด ๆ เช็ดทําความสะอาด และหลังการใชงานทุกครั้ง ควรเปดฝาไวเพื่อระบายความอับชื้น สวนไสกรองนํ้าทิ้งควรถอดออกมาทําความสะอาด อยางสมํ่าเสมอ ปองกันการอุดตัน July 2015

21


นอกเหนื อ จากเครื่ อ งซั ก ผ า ที่ ใช กั น ในบ า นที่ เรารู  จั ก กั น ดี แ ล ว “เครือ่ งซักผาอุตสาหกรรม” เปนอีกประเภทหนึง่ ทีถ่ กู ออกแบบมา สําหรับไวใชในงานบริการตาง ๆ ตั้งแตงานเล็กไปจนถึงงานใหญ เชน ใชในรานซัก-อบ-รีด โรงแรม โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม หรือโรงงานรับซักผาที่ใหบริการกับลูกคาที่ไมมีระบบซักรีดรองรับ หนวยงานของตนเอง สรุปงาย ๆ คือ เครือ่ งซักผาอุตสาหกรรม ถูกออกแบบมาใหใชซกั ผาปริมาณครัง้ ละมาก ๆ และตองมีความ ทนทาน ทั้งนี้ เครื่องซักผาอุตสาหกรรม เปนเครื่องซักที่มีให เลือกมากมาย หลายหลายรุน หลายยี่หอ มีทงั้ ผลิตในประเทศ และตางประเทศ มีขนาดตัง้ แต 10 กิโลกรัมไปจนถึงเครือ่ งขนาดใหญ หลายรอยกิโลกรัม ซึ่งแบงไดดังนี้ สําหรับตัวถังภายใน ควรลางทําความสะอาด เดือนละครั้ง โดยตั้งโปรแกรมซักผาหนา ตัง้ อุณหภูมนิ าํ้ ไวทสี่ งู สุด แลวเปดเครือ่ งปลอย ให เ ครื่ อ งเปล า ทํ า งานไปจนจบโปรแกรม โดยไมตองใสเสื้อผาหรือผงซักฟอกลงไป หรือถาเครือ่ งซักผาทีใ่ ชไมมโี ปรแกรมนํา้ รอน ใหใชนํ้าสมสายชูแทน โดยเทนํ้าสมสายชู ปริมาณ 1 ขวด ลงไปที่ตัวถังภายใน แลวตั้ง โปรแกรมใหเครื่องทํางานที่โหมดซักผาหนา และโปรแกรมสกปรกปานกลาง จนเสร็ จ เรียบรอย หรือลองใชแอมโมเนียประมาณ 2 แกว ผสมนํ้าเย็นธรรมดาครึ่งลิตรใสลงใน เครือ่ งซักผา แลวเปดเครือ่ งทํางาน แอมโมเนีย จะชวยไลคราบฝุนออกจากตัวเครื่องและ ปองกันการอุดตันไดดวย

22

July 2015

หากแบงตามประเภท มีทงั้ ประเภทฝาหนา หรือทีเ่ รียกกันวา Open Pocket เครือ่ งฝาขาง 2 ชอง 3 ชอง เครื่องถังนอนเปดหนา ที่เรียกวากันวา เครื่อง Barier ซึ่งเปนเครื่องที่มีราคา คาตัวสูง และเครื่องขนาดใหญที่ถูกออกแบบมาใชกับระบบอุตสาหกรรมที่ตองการปริมาณ การซักตอเนื่องและปริมาณมากๆ เชน เครื่องอุโมงค การแบงตามกลุมใชงาน ไดแก กลุมธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ใชเครื่องประเภทที่ ไมใหญมาก เชน รานซัก อบ รีด ทั่วไป รอบการสลัดไมเกิน 550 รอบ หรือที่เรียกวา Normal Spint สวนใหญขนาดไมเกิน 50 กิโลกรัม และกลุมธุรกิจอุตสาหกรรม ขนาดกลางจนถึง ขนาดใหญ กลุมนี้สวนใหญจะมีเครื่องจักรใช ตั้งแต ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ ใช เครื่องจักรหลากหลาย ตั้งแต 25 กิโลกรัมขึ้นไป จนถึง 200 กิโลกรัม เมื่อแบงตามลักษณะการทํางานของเครื่อง ไดแก “Normanl Sprint” สวนใหญเปนเครื่อง ขนาดไมเกิน 25 กิโลกรัม รอบสลัดนํ้าประมาณ 450 รอบ/นาที “Extra Sprint หรือ Medium Sprint” เปนเครือ่ งขนาดกลาง ตัง้ แต 25-60 กิโลกรัม รอบสลัดไมเกิน 600 รอบ/นาที “Hing Sprint” มีตงั้ แต 25 กิโลกรัมขึน้ ไป รอบสลัดสูงจนถึงสูงมาก ตัง้ แต 450-1,200 รอบ/นาที


บริษัท ฟลลิ่งแคร (ประเทศไทย) จํากัด นําเขา เครื่องซักผาอุตสาหกรรมมาประกอบในประเทศไทย โดยใชอะไหลและอุปกรณที่มีคุณภาพสูง มีใชอยาง แพร ห ลายในประเทศไทย เหมาะสําหรับ โรงแรม โรงพยาบาล ธุรกิจซัก-อบ-รีด โรงงานอุตสาหกรรม พยายามประดิ ษ ฐ เ ครื่ อ งซั ก ผ า อุ ต สาหกรรมที่ มี ประสิทธิภาพ ตอบโจทยผปู ระกอบการตาง ๆ จนเปน ที่นิยมในประเทศไทย เชน เครื่องซักผาอุตสาหกรรม (อัตโนมัติ) AUTOMATIC WASHER EXTRACTOR 15–100 กิโลกรัม ถูกออกแบบสําหรับงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ Heavy Duty มีความทนทานสูง คาบํารุง รักษาตํ่า ใชงานงาย ควบคุมการทํางานดวยระบบ คอมพิวเตอร และ Inverter ตัวเครือ่ งผลิตจากสเตนเลส SS 304 แมแตอปุ กรณไฟฟา Global brand สามารถหา อะไหลทดแทนไดงา ย ทํางานดวยระบบทําความรอน รองรั บทั้ ง ระบบไอนํ้ า stream และระบบไฟฟา จอควบคุม LCD แสดงสถานะการทํางาน มาพรอม 5 โปรแกรมพื้นฐาน สามารถตั้งโปรแกรมไดสูงสุดถึง 30 โปรแกรม ที่สามารถรองรับแรงสั่นสะเทือนดวย ระบบ Shock Absorber/Coiled Spring เครือ่ งเดินเงียบ ไรเสียงและแรงสั่นสะเทือนรบกวน

มิใชเพียงแตในประเทศไทยเทานัน้ ทีม่ นี วัตกรรมเครือ่ งซักผาประหยัด พลังงาน อนุรักษสิ่งแวดลอม นานาประเทศอยางอังกฤษก็ไดมี การคิดคนวิจยั เกิดขึน้ นักวิทยาศาสตรของมหาวิทยาลัยลีดสในอังกฤษ ไดพยายามประดิษฐเครือ่ งซักผาไมใชนาํ้ แตใชเม็ดพลาสติกขจัดคราบ สกปรกแทน ซึ่งสามารถขจัดคราบสกปรกและกลิ่นของเสื้อผาได โดยเมื่อซักถึงเวลากําหนด เม็ดพลาสติกดังกลาวจะสามารถนํากลับ มาใชใ หมไดอีก และเครื่องซักผานี้จ ะทําใหโลกผุดเครื่องซักผา ใชนํ้านอย หรือเครื่องซักผาแบบแหงแทน โดยเม็ดพลาสติกดังกลาว ทําจากโพลีเมอร สามารถใชแทนผงซักฟอก และใชไดหลายครั้ง เหมือนการรีไซเคิล กอนจะหมดอายุการใชงาน เครื่องประดิษฐดังกลาวเปนผลผลิตแหงความบังเอิญ จากความ ตองการจะใชการยอมสีใหใยเสนผาใชไดนานขึ้น แตระหวางการ คิดคนพวกเขาไดพบกระบวนการที่สามารถขจัดคราบของเสื้อผาได โดยไมตองใชนํ้า จากนั้นไดพัฒนาเครื่องตนแบบขึ้น และตั้งบริษัท Xeros ขึ้นมา โดยในการทํางานของเม็ดพลาสติก จะใชเปนจํานวน หลายลานเม็ดซึ่งเปนเม็ดขนาดจิ๋วแชกับนํ้า และใชกับผงซักฟอก ชนิดพิเศษ คราบความสกปรกจะถูกดูดซึมเขาไปยังศูนยกลางของ เม็ดพลาสติกโพลีเมอร โดยภายใตสภาพความชื้น เม็ดดังกลาว จะเกิดการเปลี่ยนสภาพและสามารถดูดซึมหรือถูกนํามารีไซเคิล ใชไดอีก โดยเครื่องดังกลาวจะใชนํ้าเพียง 20% ของเครื่องซักผา ปกติเทานั้น และใชไฟฟาเพียง 50% จากรอบปนผาของเครื่องซัก ผาปกติ เทคโนโลยีนี้ขณะนี้ไดถูกนําไปใชกับโรงแรมและรานซักผา ใหญ ๆ แลว และบริษัทวางแผนจะสรางเครื่องซักผาในรูปแบบ ประจําบานในอนาคตขางหนา หากมีการผลิตเครื่องซักผาดังกลาว สูครัวเรือน จะสามารถประหยัดนํ้าใหแกโลกไดอยางมหาศาล July 2015 23


Interview

คุณแองจี้ โก

กรรมการผูจัดการประจําภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต

MADE IN

YINGLI QUALITY

คุณภาพและความเชื่อถือได ปจจัยสรางแบรนดใหเขาถึงใจลูกคา

24

July 2015


“จีน” ขึน้ ชือ่ ว่าเป็นประเทศทีผ่ ลิตสินค้าออกมา

มากมาย โดยสินค้าส่วนใหญ่เป็นที่รับรู้ในคุณภาพ ทีอ่ าจต�า่ กว่ามาตรฐาน แต่ไม่ใช่กบั “ยิงลี่ โซล่าร์” หนึ่งในผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ใหญ่ที่สุด ในโลกที่ ป ระสบความส� า เร็ จ ในการสร้ า งสรรค์ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ทรงประสิทธิภาพ การันตี ได้ จ ากการผงาดขึ้ น เป็ น ผู ้ ติ ด ตั้ ง แผงเซลล์ แสงอาทิ ต ย์ บ นหลั ง คาสนามที่ ใช้ ใ นการแข่ ง ขั น ฟุตบอลโลกที่บราซิลมาแล้ว ถื อ เป็ น การสร้ า งปรากฎการณ์ ค รั้ ง ยิ่ ง ใหญ่ ใ น อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าของประเทศจีนเลย ก็ว่าได้ ส�าหรับ “ยิงลี่ โซล่าร์” ที่สามารถสร้าง แบรนด์ให้เป็นทีย่ อมรับระดับโลก อีกทัง้ กลายเป็น บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต เซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ตั้งแต่ 2012 เป็นต้นมา คุณแองจี้ โก กรรมการ ผู้จัดการประจ�าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดเผยว่า Mr.Miao Liansheng ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั นัน้ มีวิสัยทัศน์ในการเปลี่ยนตราประทับ “Made in China” หรือภาพลั กษณ์ สิ น ค้ าที่ มีต้ น ทุ นและ คุณภาพต�่าให้กลายเป็นตรงกันข้าม ทางบริษัท จึงมุ่งเน้นไปที่การวิจัยและพัฒนา จนกลายเป็น ที่ยอมรับของ “Frost and Sullivan” องค์กรให้ ค� าปรึกษาและวิ จัย ระดั บ โลก ซึ่ งได้ ค าดการณ์ ตัวเลขการเจริญเติบโตของบริษัทว่าจะพุ่งสูงขึ้น อย่างรวดเร็วจาก 67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2013 มาเป็น 137 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ภายในปี 2020 ทั้งนี้ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ของ “ยิงลี่ โซล่าร์” นั้น ได้รับการรับรองตามมาตรฐานอุตสาหกรรมของ คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สาขาอิเล็กทรอเทคนิกส์หรือไออีซี (International Electrotechnical Commission) ซึ่งต้องผ่านการ

ทดสอบอย่างหนักหน่วง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากกว่ามาตรฐาน ที่ทางไออีซีวางไว้ ยิ่งไปกว่านั้นตัวกรอบแผง ยังถูกออกแบบให้ทนต่อสภาวะแวดล้อมการกัดกร่อน จากความชื้น ในขณะที่ฟิล์มแบล็คชีทป้องกันนั้นท�ามาจากฟิล์มโพลีไวนิลฟลูออไรด์ แบบเดียวกันกับที่ใช้ในจรวดขององค์การนาซ่า ยังไม่นับส่วนประกอบอื่น ๆ ที่พิถีพิถัน ทุ ก ขั้ น ตอนเพื่ อ การส่ ง มอบสิ น ค้ า ที่ ใ ห้ ท้ั ง ความคงทนและคุ ้ ม ค่ า ในก� า ลั ง การผลิ ต พลังงานที่ได้ อย่างเช่นหนึ่งในนวัตกรรมของบริษัท มีชื่อที่บ่งบอกถึงสัญลักษณ์ส�าคัญของประเทศนั้น ก็คือแผลเซลล์แสงอาทิตย์ “แพนด้า” ซึ่งทาง “ยิงลี่ โซล่าร์” ได้น�าออกสู่ตลาดไปตั้งแต่ ปี 2011 สามารถผลิตพลังงานได้มากกว่าแผงเซลล์แสงอาทิตย์อื่น ๆ ถึงร้อยละ 10 อันเป็นผลมาจากกการใช้ฟอสฟอรัสแทนโบรอน ในการช่วยคงประสิทธิภาพซิลิกอนเพื่อ การผลิตไฟฟ้า ซึง่ เป็นนวัตกรรมทีไ่ ด้รบั การพัฒนาโดยความร่วมมือของศูนย์วจิ ยั พลังงาน ของประเทศเนเธอร์แลนด์ (ECN) และบริษทั เซมิคอนดักเตอร์ของอเมริกนั ทีช่ อื่ ว่า เอ็มเทค ซิสเท็ม ในขณะที่ทาง “ยิงลี่ โซล่าร์” สนับสนุนทางด้านบุคลากรผู้เชี่ยวชาญในการผลิต และถึงแม้แผงแพนด้าจะมีราคาต้นทุนทีส่ งู กว่า ขณะทีค่ นื ทุนในระยาเวลาเดียวกันกับแผง ทั่วไปอื่น ๆ “แต่เพราะความมีประสิทธิภาพสูง ลูกค้าจะเก็บเกี่ยวผลก�าไรได้มากขึ้น หลังจากระยะเวลาคืนทุน” คุณแองจี้ โก ยังได้กล่าวต่อว่า การควบคุมคุณภาพอย่าง พิ ถี พิ ถั น ทุ ก ขั้ น ตอนนี้ ก็ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ข้ อ ผิ ด พลาดที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น และลดการสู ญ เสี ย ไป โดยเปล่าประโยชน์ น�ามาซึ่งการลดต้นทุนที่ไม่จ�าเป็น ผลประโยชน์ก็ส่งไปถึงลูกค้าที่ได้ใช้ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่ม ด้วยความพิถีพิถันในคุณภาพดังกล่าว ท�าให้ “ยิงลี่ โซล่าร์” ก้าวขึ้นมาเป็นผลิตภัณฑ์สัญชาติจีนที่สามารถผงาดในสนามแข่งขัน ระดับนานาชาติ การันตีได้จากสนามทดสอบกลางแจ้งประจ�าปีของห้องปฏิบตั กิ ารโฟตอน ของประเทศเยอรมนีในปี 2012 “ยิงลี่ โซล่าร์” สามารถรั้งอันดับ 5 จากผู้ประกอบการ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่เข้าทดสอบจ�านวน 151 รายด้วยกัน

เพราะคุณภาพและความเชือ่ ถือได้คอื ปัจจัยในการเข้าถึงใจ ลูกค้า น�ามาซึง่ ความภักดีตามมา เพือ่ ให้คา� ว่า Made in Yingli, Made in quality ลบล้างการรับรูแ้ บบเดิม ๆ ให้หมดไป

July 2015 25


Interview

คุณพูลพิพัฒน ตันธนสิน

ประธานคณะกรรมการบริหารและกรรมการผูจัดการ บริษัท คิวทีซี เอนเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) 26

July 2015


บุกหมอแปลง Dry-Type Cast Resin เปดรับการเติบโตตลาดอาเซียน

คุณพูลพิพัฒน ตันธนสิน ประธานคณะ กรรมการบริ ห ารและกรรมการผู  จั ด การ บริษัท คิวทีซี เอนเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) หรือ QTC ผูผลิตและจําหนายหมอแปลง ไฟฟ า เป ด เผยว า จากผลประกอบการ ชวงที่ผานมา ทําให QTC มีแผนที่จะขยาย ฐานลูกคาภายในประเทศเพิม่ ขึน้ โดยขยาย กลุมลูกคาหมอแปลงไฟฟาชนิด Dry – Type Cast Resin ซึ่งเปนหมอแปลงไฟฟาที่ติดตั้ง ภายในอาคารทีม่ พี นื้ ทีจ่ าํ กัด เพือ่ ตอบสนอง กลุมลูกคารายยอยใหมมากยิ่งขึ้น หลังจาก ที่ผานมาไดทําตลาดเฉพาะโครงการใหญ ๆ มาโดยตลอด ปจจุบัน QTC ไดรับใบคําสั่งซื้อหมอแปลง ไฟฟาชนิด Dry – Type Cast Resin เขามา อยางตอเนือ่ ง จึงมีแผนทีจ่ ะขยายฐานลูกคา ต า งประเทศโดยเฉพาะในประเทศแถบ อาเซียนเพื่ อ เพิ่ ม ยอดขายและสร า งความ แข็งแกรงใหกบั บริษทั โดยไดรบั คําสัง่ ซือ้ จาก ทั้งในประเทศและตางประเทศ ในสวนของ งานหลักกับการไฟฟาภูมิภาค คาดวาจะได รับใบสั่งซื้อภายในไตรมาส 2/58 และจะ สามารถรับรูร ายไดบางสวนในไตรมาส 2/58 และไตรมาส 3/58 ปจจุบันบริษัทมียอด Backlog Orders อยูท ปี่ ระมาณ 130 ลานบาท ซึ่งยังไมรวมงานการไฟฟาภูมิภาค (กฟภ.) และงานไฟฟานครหลวง (กฟน.) รวมทั้ง งานเอกชนอื่นๆ ที่คาดวาจะเขามาในชวง ไตรมาส 2/2558 อีกประมาณ 300 กวา ลานบาท รวมถึงงานตางประเทศที่คาดวา จะเขามาในไตรมาสนี้อีกบางสวน

หนึ่งในบริษัทสัญชาติไทย อยาง “บมจ.คิวทีซี เอนเนอรยี่ (QTC)” เดินหนา รับการเปดตลาดอาเซียนอยางเต็มตัว เตรียมลุยแผนสงหมอแปลง Dry – Type Cast Resin หมอ แปลงไฟฟาที่ติดตั้งภายในอาคารที่มีพื้นที่จํากัด เจาะตลาดอาเซียน หวังดันยอดขายโตหลังผลงานไตรมาส 2/58 ฟน สําหรับการรุกตลาดอาเซียนเปนหนึ่งในกลยุทธดานการขยายตลาดหมอแปลงไฟฟาทั้งการ สงออกและลูกคาเอกชนที่นอกเหนือจากประเทศญี่ปุนที่บริษัทไดทําการตลาดลวงหนา ไปกอนหนานี้ เพื่อรองรับความตองการใชหมอแปลงไฟฟาที่เพิ่มมากขึ้น และยังมีแผนการ เขาประมูลงานในหนวยงานราชการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการเขาประมูลงานของการไฟฟา นครหลวง (กฟน.) โดยจะเปดยื่นซองประมูลในชวงไตรมาส 2/2558 มูลคาโครงการประมาณ 1,500 ลานบาท และคาดวาจะประมูลชนะประมาณ 10-15% ซึ่งจะมีการยื่นประมูล หากชนะการประมูล บริษทั จะสามารถรับรูร ายไดในชวงครึง่ ปหลังของป 2558 อยางไรก็ตาม ตัง้ แตตน ปทผี่ า นมา บริษทั ไดเขายืน่ ประมูลงานของการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ซึ่งมีมูลคา โครงการประมาณ 2,000 ลานบาท จากแผนการขยายตลาดแบบเชิงรุกมากขึ้นจะสงผลใหการเติบโตของผลการดําเนินงานใน ป 2558 เปนไปตามเปาหมายทีว่ างไวตง้ั แตตน ปวา ยอดขายจะไปแตะระดับ 1,000 ลานบาท ซึ่งถือเปนการเติบโตจากป 2557 ประมาณ 30% โดยแนวโนมธุรกิจพลังงานในปนี้ มองวา เปนสิ่งที่มีความจําเปนตอทุกภาคสวน ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยตัวเลขที่ นาสนใจคือ ประเทศกําลังพัฒนาในเอเชีย และประเทศอาเซียน ซึง่ มีการเติบโตทางเศรษฐกิจ อยางรวดเร็ว เปนกลุมประเทศที่ตองการพลังงานเพิ่มขึ้นอยางมาก โดย 32% ของความ ตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้นในโลกจะมาจากภูมิภาคเอเชีย และกลุมประเทศอาเซียน ทัง้ นี้ อัตราการใชพลังงานภายในประเทศเองมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งตาม และภาครัฐ ไดออกมาผลักดันเรื่องพลังงานทดแทน เพื่อขยายฐานการผลิตไฟฟาใหเพียงพอตอภาค ประชาชนที่มีแนวโนมการใชพลังงานเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการรองรับการเปดสมาคม อาเซียน ทําใหสวนของธุรกิจดานพลังงานสามารถเติบโตไดดีกวาปที่ผานมาอยางเห็นได ชัดเจน

July 2015 27


Interview

จีรพร ทิพย์เคลือบ

คุณสุทธิ มโนกิจจรูญมั่น ผูจัดการทั่วไป บริษัท อีเลคโทรลักซ ประเทศไทย จํากัด

28

July 2015


ชูคอนเซ็ปตใหม

“Hip ‘n Health”

ตอกยํ้าคุณภาพ ประหยัดนํ้า ประหยัดไฟ ใสใจสิ่งแวดลอม เมือ่ ป พ.ศ. 2557 ทีผ่ า นมา จากผลการวิจยั ตลาด GFK แสดงใหเห็นวาอีเลคโทรลักซประเทศไทย คือผูนําตลาด มี ส วนแบ งทางการตลาดเปน อันดับหนึง่ ในกลุม เครือ่ งซักผาฝาหนา ในอัตรา 36.2% และในกลุมเครื่องดูดฝุนคงความเปน อันดับหนึง่ ไดเชนกัน ในอัตรา 28.4% และลาสุด อีเลคโทรลักซผลักดันสินคาเพิม่ มูลคาดวยคอนเซ็ปต เสริมสุขภาพ แต ยั งคงเน น เรื่ องของคุ ณภาพ มาตรฐานยุโรป ประหยัดนํา้ ประหยัดไฟ และ คํานึงถึงเรื่องสิ่งแวดลอมเปนหลัก พรอมทั้ง ปรับโฉมโลโกใหม

เครือ่ งซักผาฝาหนาปนม้ี าครบครันเติมเต็มในทุกรุน ทุกระดับ ดวยฟงกชนั่ ขัน้ เทพอบไอนํา้ “Vapour Action” ทีช่ ว ยขยายใยผาใหนมุ ฟู พรอมขจัดสารกอภูมแิ พไดถงึ 99% รวมทัง้ ฟงกชนั่ พิเศษใหมลา สุด ในรุน ท็อป คือ “UltraMiX” เทคโนโลยีผสมผงซักฟอกเขากับนํา้ กอนเขาไปในถังซักชวยเพิม่ พลังซัก ของนํา้ ผงซักฟอกใหเขาถึงผาไดเร็วขึน้ กวาปกติ อีกทัง้ ยังออนโยนตอเนือ้ ผา ชวยใหเสือ้ ผามีอายุการ ใชงานทีน่ านขึน้ ใชเวลาการซักนอยลง ประหยัดทัง้ นํา้ และไฟฟา ตูเ ย็น NutriLight™ ระบบรักษาความสด ของผักผลไม ชวยรักษาสวนประกอบของวิตามินไดนานยิ่งขึ้น เตาอบไมโครเวฟแบบตั้งโตะ ขนาด ความจุ 34 ลิตร เดนดวยฟงกชนั่ อบไอนํา้ 1,300 วัตต Microwave Steam ทีค่ งคุณคาทางโภชนาการ ของอาหารสูงสุด และเตาอบไมโครเวฟแบบผสมรุน iMPRESSO ดีไซนหรูหรา พรอมฟงกชนั่ การปรุง อาหารที่หลากหลาย สรรสรางสารพัดเมนูนานาชาติและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพเครื่องฟอกอากาศ ชวยใหสูดอากาศไดอยางเต็มปอดดวยระบบการกรองเทคโนโลยีขั้นสูง 5 ขั้นตอนโดดเดนดวย PlasmaWave®

คุณสุทธิ มโนกิจจรูญมัน่ ผูจ ดั การทัว่ ไป บริษทั อีเลคโทรลักซ ประเทศไทย จํากัด เลาใหฟง วา แมวา ในชวงทีต่ อ งประสบกับสภาวะทางเศรษฐกิจ ทีซ่ บเซาในป 2557 นัน้ แตยอดขายอีเลคโทรลักซ ยังเติบโตอยูใ นระดับทีน่ า พอใจ ตองขอขอบคุณ ลูกคาทีย่ งั คงไวใจแบรนดเราอยางมัน่ คงและผูกพัน มาโดยตลอด เนื่องจากนวัตกรรมตาง ๆ และ คุณภาพของผลิตภัณฑ ดีไซนโดดเดนในระดับ พรีเมียม จึงไดรับการตอบรับดีเยี่ยมจากลูกคา ในสวนของการใหบริการหลังการขายก็เปนอีกหนึง่ จุดแข็งของอีเลคโทรลักซ เราไดขยายฐานกลุม เปาหมายไปยังกลุม คนทํางานคนรุน ใหม โดยผาน สื่อการตลาดออนไลนในรูปแบบตาง ๆ มากขึ้น โดยกลุมสินคาใหมท่ีประสบความสําเร็จมาก ในปที่ผานมา คือ ตูเย็น 2-3 ประตูรุนใหมและ เครือ่ งปรับอากาศ Viva Grande

นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑเพือ่ สุขภาพทีด่ ขี องสมาชิกในครอบครัวอีกมากมาย อาทิ เครือ่ งปรับอากาศ ชวยปกปองจากสารกอภูมิแพดวยระบบฟอกอากาศแบบผสมผสาน รวมเทคโนโลยีที่หลากหลาย ของแผนกรองเขาไวดวยกัน เครื่องดูดฝุนทรงพลังที่ใชเทคโนโลยีระบบกรองฝุน HEPA13 ชนิดเดียว กับทีใ่ ชในเครือ่ งฟอกอากาศ ฯลฯ อีกทัง้ ผลิตภัณฑของอีเลคโทรลักซทกุ ชิน้ นับเปนนวัตกรรมทีไ่ ดรบั การออกแบบ ทีผ่ า นการคิดคํานึงถึงความตองการของผูบ ริโภคอยางแทจริง ดวยคุณภาพมาตรฐาน ยุโรป คํานึงถึงสิง่ แวดลอม ชวยในการประหยัดนํา้ ประหยัดไฟ และประหยัดเวลา

ในปน้ี อีเลคโทรลักซ ตอบโจทยไลฟสไตลคนรุน ใหม ที่ใสใจสุขภาพ ตามแนวคิด “Hip ‘n Health” จึงจัดทัพปรับโฉมผลิตภัณฑทั้งที่มีอยูแลวและ ผลิตภัณฑใหมเติมจุดเดนที่โดนใจ เพื่อวิถีการ ดําเนินชีวติ ทันสมัย เนนความเรียบงายในการใช ชีวติ ประจําวันทีบ่ า น ควบคูไ ปกับความเอาใจใส ดูแลสุขภาพเปนสํ า คั ญ ด วยกลุ  ม ผลิ ตภั ณฑ ดีไซนโดดเดนและเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ ไดแก

อีเลคโทรลักซ บริษัทแมในประเทศสวีเดน ไดประกาศใหมีการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญโดยเปดตัว โลโกใหมพรอมกันทั่วโลกเมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผานมา ดวยเจตนารมณเพื่อกระตุนแบรนดให สามารถสัมผัสผูบ ริโภคไดใกลชดิ มากยิง่ ขึน้ สรางการรับรู การมีสว นรวม ความรูส กึ ในเชิงบวกและชวย สรางแรงบันดาลใจใหแกผบู ริโภค โดยเฉพาะในยุคดิจติ อลเชนนีท้ คี่ นรุน ใหมจะเขาถึงแบรนดไดงา ยขึน้ ผานชองทางของโซเชียลมีเดียและสื่อออนไลนตาง ๆ โลโกใหมนี้ออกแบบตัวอักษรใหมพิเศษ แบบเฉพาะของอีเลคโทรลักซ และเนนการจดจําสัญลักษณอมตะของอีเลคโทรลักซที่เริ่มใชเปน ครั้งแรกตัง้ แตป 2505 เพิม่ สีสนั สดใสมากขึน้ สือ่ ถึงความทันสมัยและนวัตกรรม ในขณะเดียวกันยังคง รักษาไวซงึ่ ความรูส กึ ถึงความไววางใจและคุณภาพอีกดวย เมื่อเร็ว ๆ นี้ อีเลคโทรลักซ ไดรับการจัดอันดับใหเปนผูนําในภาคอุตสาหกรรมสินคาคงทนสําหรับ ผูบริโภคใน RebecoSAM Yearbook เปนเวลาตอเนื่องมา 4 ป ซึ่งเปนหนังสือที่ไดจัดอันดับ ประสิทธิภาพของการพัฒนาอยางยั่งยืน มีบริษัททั่วโลกกวา 3,000 แหง ที่ไดรับการจัดอันดับของ องคกร โดย RebecoSAM ในฐานะที่เปนองคกรที่ไดรับการจัดอันดับคะแนนสูงสุด อุตสาหกรรม เครือ่ งใชครัวเรือนทีม่ คี วามคงทน อีเลคโทรลักซ ประเทศไทย สามารถรักษาตําแหนง “ผูน าํ ในภาคสวน อุตสาหกรรมสินคาคงทนสําหรับผูบ ริโภค” และ ไดรบั รางวัล 3 ประเภท ดวยคะแนนการจัดอันดับ สูงสุด คือ ผูน าํ ดานอุตสาหกรรม (Industry Leader) โกลดคลาส (Gold Class) และผูข บั เคลือ่ นทาง อุตสาหกรรม (Industry Mover) ซึ่งการเปนผูนําระดับ Industry Mover ไดนั้นจะตองเปนองคกรที่มี การพัฒนาและกาวหนาอยางโดดเดนในผลงานดานความยัง่ ยืน July 2015 29


Product Highlight - Construction

ผนังกันความรอน 3 มิติ

นวัตกรรมตกแตงผนังอาคารแนวใหม ฉนวนกั น ความร อ นสามมิ ติ เพื่ อ บ า น ประหยัดพลังงาน นวัตกรรมการตกแตง ผนังอาคารแบบใหม เพือ่ การเปลีย่ นผนังเกา ใหมีลวดลายเสมือนธรรมชาติ พรอมดวย คุณสมบัติหลักในการปองกันความรอนจาก แสงแดด จากภายนอกอาคาร เขาสูภายใน ควบคุมอุณหภูมิภายในหองทําใหอากาศภายในถายเทสะดวก ซึ่งตอบรับกับลักษณะสภาพ ภูมิอากาศในปจจุบัน บริษัท เอ็มเอ็มพลัส คอนสตรัคชั่น เฮาส บริษัทที่สรางสรรคผลิตผลแหงนวัตกรรมตกแตง ผนังที่เราเรียกวา “MMWALL“ ฉนวนกัน ความรอนสามมิติแ หงแรกในประเทศไทย ดวยการนําความเปนธรรมชาติกลับคืนสูว ถิ ชี วี ติ ของคนเมือง มีลวดลายสวยงาม เสมือนจริง เชน ลายไม ลายไมไผ ลายหิน เปนตน พรอมดวยคุณสมบัติเปนเลิศในการควบคุมอุณหภูมิ ภายในบาน ปองกันอุณหภูมิสูง ความรอนจากภายนอก ตามสภาพภูมิอากาศรอนอบอาว ของประเทศไทย MMWALL ถู ก ออกแบบให ต รงกั บ รสนิ ย มในการใช ชี วิ ต รู ป แบบใหม ที่ ส อดคล อ งกั บ สภาพการณในโลกยุคนี้ ดวยผนังฉนวนกันความรอนมีดีไซนที่ติดตั้งงาย มีนํ้าหนักเบา สามารถติดตั้งเองไดในที่พักอาศัย ไมวาจะเปนหองทํางาน โซนหองนั่งเลน หองอาหาร สามารถติดตั้งไดทั้งภายในและภายนอกอาคาร ชวยควบคุมอุณหภูมิภายในบานทําใหบาน ประหยัดพลังงานและประหยัดคาใชจายลงไป นอกเหนือไปจากจุดเดนในการประหยัด พลังงานแลวนั้น การติดตั้งภายในยังมีคุณสมบัติเปนตัวชวยควบคุมเสียงภายในหอง เหมาะพิเศษกับรูปแบบชีวิตคอนโดมิเนียมหรืออพารทเมนทท่ีตองการความเปนสวนตัว ซึง่ คุณสมบัตทิ กุ ประการถูกบรรจุอยูใ นผนัง MMWALL ทีใ่ หลวดลาย เสมือนหิน ไม หรือไมไผ 30

July 2015

ของแท ดูแลรักษางาย สวยงาม เรียบหรู สวยอยางคุม คา และสวยอยางเปนธรรมชาติ ลักษณะเดนของ MMWALL คือ การชวย อนุรักษและประหยัดทรัพยากร ทั้งนี้ คาการ นําความรอน (THERMAL CONDUCTIVITY) วัดไดอยูที่ 0.0647 W/MK เมื่อเปรียบเทียบ กับวัสดุอื่น ๆ เชน คอนกรีต จะมีคาการนํา ความรอนอยูประมาณ 1.8-2.5 W/MK ซึ่ง หมายความวา ฉนวนกันความรอน MMWALL


สามารถปกป้ อ งแสงแดดแทนการสั ม ผั ส กั บ ผนั ง อาคารเดิ ม ได้ โดยตรง ช่วยให้บ้านเย็นลงอย่างเป็นธรรมชาติ ทั้งยังช่วยลดค่า ใช้จ่ายและช่วยป้องกันการรุกล�้าทรัพยากรธรรมชาติ คุณสมบัติที่มากกว่าแค่การตกแต่ง คือ ช่วยป้องกันความร้อนจาก แสงแดด และควบคุมเสียงภายในห้อง ปลอดภัยมั่นใจได้ ซึ่งมี มาตรฐานอัตราการเผาไหม้ จากการทดสอบค่าอยูท่ ี่ 31.24 (ASTMD 635 : 2003) เนือ่ งจาก BURNING RATE อยูใ่ นช่วงไม่เกิน 40 MM/MIN ถื อ ว่ า อยู ่ ใ นเกณฑ์ ที่ ดี ส� า หรั บ วั ส ดุ ป ้ อ งกั น การลามติ ด ไฟที่ ความหนาชิ้นงาน 3-13 มม. อีกทั้งมีการเติมสารพิเศษป้องกันไฟ

เข้าไป โดยการทดสอบดัชนีการลุกไหม้ (FLAMMABILITY INDEX) ของชิ้นงาน MMWALL มีอุณหภูมิสูง สุดในระหว่างการทดสอบ คือ 750 องศาเซลเซียส ส่วนอุณหภูมิในการจุดติดไฟ (IGNITION TEMPERATURE) ของชิ้นงาน มีอุณหภูมิทดสอบสูงสุดที่ไม่เกิดการ จุดติดไฟคือที่ 775 องศาเซลเซียส ผนังกันความร้อน 3 มิติ มีน�้าหนักที่เบามาก เพียง 2-3 กก. / แผ่น ความหนาเฉลี่ยของชิ้นงาน ประมาณ 15 มม. – 20 มม. จึงท�าให้ ติดตั้งได้ง่ายและรวดเร็ว เพียงใช้กาวช่วยประสาน เหมาะส�าหรับ ทุกพืน้ ผิวผนังเก่าเพื่องาน RENOVATE สามารถรื้อถอนได้ เพื่อการ น� า มาใช้ อี ก ครั้ ง ในพื้ น ที่ อื่ น ๆ อี ก ทั้ ง ยั ง มี ค วามแข็ ง แรงทนทาน เพือ่ การใช้งานยาวนาน ค่าเปอร์เซ็นต์การดูดซึมน�า้ ของ MMWALL ประมาณ 4.139 เปอร์เซ็นต์ และมีรูพรุนแบบปิด ซึ่งค่าเปอร์เซ็นต์ การดูดซึมน�้าทีน่ อ้ ยของวัสดุตกแต่งผนังอาคารจะช่วยให้วสั ดุมคี วาม คงทนต่อการใช้งานในสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศต่าง ๆ ได้ดี ทั้งความชื้น แสงแดด และการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ จึงสามารถใช้งานภายนอกอาคารได้ อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบทุกส่วนมีความส�าคัญ ไม่เว้นแม้แต่ใน เรื่องของคุณภาพสีที่จะช่วยยืดอายุการใช้งาน ดังนั้น สีที่ถูกน�ามาใช้ กับวัสดุ MMWALL จึงเป็นสีน�าเข้า คุณภาพพิเศษ เกรดพรีเมี่ยม ทนทานต่อการใช้งานภายนอกอาคาร ที่ต้องเผชิญกับแดด ฝน และทนต่อทินเนอร์ได้ ไม่หลุดร่อน เรียกได้ว่าเป็นทางเลือกใหม่ที่ ตอบสนองทุกการออกแบบและการก่อสร้าง ประหยัดต้นทุนค่าใช้ จ่ายทั้งการก่อสร้างและค่าสาธารณูปโภคพลังงาน

July 2015

31


Showcase - Construction จีรพร ทิพย์เคลือบ

Tesla Powerwall

แบตเตอรี่สํารองไฟสําหรับใชในบาน “เทสลา” เปดตัวแบตเตอรี่สํารองไฟสําหรับใชในบาน ชื่อ “เพาเวอรว อลล” ในงานเปด ตัวที่ รัฐแคลิฟอรเนียของสหรัฐฯ โดยเพาเวอรวอลลเปนแบตเตอรีลเิ ธียมไอออนทีส่ ามารถชารจไฟไดหลายครัง้ เปนตัวเก็บพลังงานของบาน ซึ่งสามารถเก็บประจุไฟที่ไดจากแผงผลิตพลังงานจากแสงอาทิตยหรือจาก ไฟฟาปกติตามบานในชวงเวลากลางคืน และจะเปนตัวสํารองไฟกรณีเมื่อเกิดไฟฟาดับได นวัตกรรม ดังกลาวจะเปนการเปลีย่ นแปลงโครงสรางพืน้ ฐานดานพลังงานของโลก สําหรับราคาขายของเพาเวอรวอลล อยูที่ 3,500 ดอลลาร หรือราว 110,000 บาท สําหรับขนาด 10 กิโลวัตต/ชั่วโมง และ 3,000 ดอลลาร หรือประมาณ 95,000 บาท สําหรับ รุน 7 กิโลวัตต/ชั่วโมง และจะเริ่มวางจําหนายในสหรัฐภายในปนี้ และทั่วโลกในปหนา

2

ผลิตภัณฑเพิ่มความเขมของสี+เคลือบปกปอง

INTENSIFIAJANITORIAL

ผลิตภัณฑ INTENSIFIA เปนผลิตภัณฑเคลือบปกปองรักษาพรอมระบาย อากาศใหกับพื้นผิวเพื่อคงสีสวยงามตามธรรมชาติ และปกปองพื้นผิวจาก คราบเปยกชืน้ และคราบเกลือตกผลึก ชวยใหพนื้ ผิวดูสวยงามตามธรรมชาติ และปกปดรอยขีดขวนและริ้วรอยตาง ๆ ปกปองพื้นผิวจากคราบตกผลึก ความเสียหายซึ่งเกิดจากนํ้าแข็งเกาะละลาย และคราบเกลือยับยั้งคราบ สกปรกและรอยเปอนตาง ๆ เพื่องายตอการทําความสะอาดชวยใหพื้นผิว มีความทนทานตอการกัดกรอนจากกรดเหมาะสําหรับพื้นผิวทั้งภายในและ ภายนอก

เครื่องกรองนํ้าฝนพรอมระบบนํ้าวน กับอุปกรณกรองใบไมและฝุนละออง

COTTO Crystal Rain เครื่องกรองนํ้าฝนพรอมระบบนํ้าวนกับอุปกรณกรองใบไม และฝุนละออง นวัตกรรมใหมจาก COTTO ตราชาง และ WINDSOR สําหรับ อาคารบานพักอาศัยที่ชวยใหทุกคนทุกครัวเรือนมีสวนรวมในการรักษโลกไดอยาง งายดายเหมาะกับผูท ชี่ นื่ ชอบบานประหยัดพลังงานหรือตองการลดการใชทรัพยากร และคาใชจายระยะยาวตามสไตล Eco Living เปนอีกวิธีหนึ่งสําหรับบานประหยัด พลังงานกับการนํานํ้าฝนมาใชแทนนํ้าประปา ดวย COTTO Crystal Rain เครื่องกรองนํ้าฝนพรอมระบบนํ้าวนกับอุปกรณกรองใบไมและฝุนละออง เพื่อให ไดนํ้าที่ใสสะอาดเพียงพอสําหรับใชงานทั่วไป เชน ทําความสะอาดบานลางรถ หรือ รถนํ้าตนไม เปนตน COTTO Crystal Rain นอกจากจะชวยประหยัดคานํ้า ประปาแลว ยังลดภาระการใชทรัพยากรนํ้าและพลังงานของโลกไดอีกดวย

32

July 2015



Showcase - Construction จีรพร ทิพย์เคลือบ

“ROCKWOOL”

นวัตกรรมฉนวนสโตนวูล

4

บริษัท ร็อควูล (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําเขาผลิตภันฑฉนวนกันความรอนจาก เดนมารก ซึ่งเปนนวัตกรรมฉนวนสโตนวูลหรือฉนวนหินภูเขาไฟจากธรรมชาติ ปลอดภัย เพราะไมมสี ารกอมะเร็ง อีกทัง้ ผลิตภัณฑยงั ไดรบั รองมาตรฐาน ISO 9001 และ ISO 14001 รวมถึง “Singapore Green Building Product” การันตีถึงการเปน ผูผลิตฉนวนสโตนวูลคุณภาพและปลอดภัย อันดับ 1 ของโลก ซึ่ง “Rockwool” นวัตกรรม ฉนวนสโตนวูลนี้ไมเพียงมีคุณสมบัติกันความรอน แตยังรวมถึงสามารถกันเสียงและกันไฟ ดวยวัตถุดิบจากหินบะซอลโดโลไมท ที่ผานการหลอมเหลวถึงระดับ 1,000 องศาเซลเซียส จึงปลอดภัยหายหวงเรือ่ งการติดเชือ้ ไฟไปได ทัง้ ยังชวยประหยัดพลังงานงานลดความรอน ภายในบานและดูดซับเสียงรบกวนตาง ๆ ทําใหสามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตความเปนอยู

ระบบฝาชายคาไวนิลสําเร็จรูป ระบบฝาชายคาไวนิลนวัตกรรมใหม WINDSORSOFFIT SYSTEM ดวยคุณสมบัติเฉพาะตัวของไวนิลสูตรพิเศษที่ทนทานตอแสงแดดรังสี UV ความชืน้ จากฝน และสภาวะอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไมแตกกรอบ บิดงอ หมดปญหาเรือ่ งปลวกและแมลงกัดเจาะ จึงทําใหระบบฝาชายคาไวนิล WINDSOR มีอายุการใชงานนานกวาวัสดุทวั่ ไป ซึง่ ฝาชายคาไวนิลทีถ่ กู ออกแบบมาเปนระบบ ใหมลี กั ษณะผสมผสานระหวางระแนงไมกบั ฝาแผนเรียบ โดยนําจุดเดนของแตละสินคา มาผสานกัน และออกแบบใหมีรอง เมื่อติดตั้งแลวจะดูคลายกับระแนง พรอมรูระบาย อากาศในตัว ชวยลดความรอนจากชายคา ทําใหบา นเย็น ประหยัดพลังงาน อีกทัง้ ติดตัง้ งาย ประหยัดเวลาและเปนฝาชายคาชนิดเดียวที่ไมตองติดมุงกันแมลง

“IQUE” ฟลม กันความรอน ประหยัดพลังงาน 34

July 2015

บริษัท Visteon Corporation และผูผลิตฟลม “IQue” คือ Southwall Technology,Inc. รวมกับ พลังงานทดแทนแหงชาติของสหรัฐอเมริกา การันตี คุณภาพผลิตภัณฑ “IQue” ฟลมกันความรอน คุณภาพจาก “V-Kool” สามารถแยกแยะคลื่นรังสี อินฟราเรดไดถงึ 98% และ UV 99% ในขณะที่ สามารถให แ สงส อ งผ า นเข า มาสู ง สุ ด ถึ ง 70% ชวยคลายความรอนในอาคาร ทีอ่ ยูอ าศัย และชวย ประหยัดคาพลังงานไฟฟาไดอีกดวย นอกจากนั้น ฟลม “IQue” ยังมีหลายลวดลายใหเลือกสรร ตอบสนองความตองการดานการตกแตงและการ ออกแบบไดเปนอยางดี


Product Highlight - Industrial

Altivar Process ไดรฟรุนใหม โดดเดนดานบริการอัจฉริยะ Embedded Intelligent Services ชไนเดอร อิเล็คทริค เปดตัว Altivar® Process อุปกรณควบคุมความเร็ว มอเตอรหรือไดรฟรุน แรกของตลาดในภาคอุตสาหกรรมทีม่ าพรอมการติดตัง้ บริการอัจฉริยะ (Embedded Intelligent Services) ที่จะชวยใหคุณใชงาน และดูแลอุปกรณไดงายและรวดเร็วดวยตัวคุณเอง Altivar Process ถือเปน ไดรฟที่มีฟงกชั่นอัจฉริยะดวยเทคโนโลยีชั้นสูงเฉพาะทางกับระบบงานดาน การจัดการของไหลหรือกาซ โดยสามารถใชงานกับระบบมอเตอรหรือปม ขนาดกําลังไฟฟาตั้งแต 0.75 กิโลวัตต ถึง 1.5 เมกะวัตต นอกจากนี้ Altivar Process ยังไดรบั ออกแบบมาใชงานในสภาพแวดลอมทีส่ มบุกสมบัน สามารถ ทํางานไดดแี มอยูใ นทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ งู ถึง 50 องศาเซลเซียส มีการเคลือบบอรด ปองกันฝุน และความชืน้ รวมทัง้ สามารถลากสายไฟระหวางไดรฟและมอเตอร ไดยาวถึง 150 เมตร ชวยลดระยะเวลาการติดตั้งและคาใชจาย

July 2015 35


Product Highlight - Industrial

คุณสมบัติสําคัญของ Altivar Process ที่ชวยใหคุณไดรับประโยชนสูงสุดทางธุรกิจ สามารถมอนิเตอรคาพลังงานไฟฟาเบื้องตนไดภายในตัวเองซึ่งมีความแมนยําสูง (<5%) ทําใหสามารถตรวจสอบ ปรับปรุงแกไขปญหา หรือบริหารจัดการพลังงานใหมี ประสิทธิภาพมากขึน้ แบบทันทวงที ชวยลดคาใชจา ยไดถงึ 8% ถาเปรียบเทียบกับไดรฟ แบบเดิม ๆ นั้น Altivar Process ชวยลดชวงเวลาที่ตองหยุดระบบเพราะเครื่องเสีย (Downtime) ไดถึง 20% ดวยฟงกชั่นที่ชวยในเรื่องการบํารุงรักษาระบบตามระยะเวลา (Predictive Maintenance) และการใชเทคโนโลยี QR Code จะทําใหคุณสามารถแก ปญหาไดรวดเร็วมากขึ้น โดยแคแสกน QR code บนหนาจอของไดรฟ ซึ่งจะลิงกไปยัง หนาเว็บที่มีขอมูล ชวยใหคุณเขาใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับระบบของคุณไดรวมทั้งแนวทาง การแกไขกับปญหาที่เกิดขึ้น Altivar Process มาพรอมกับพอรทสื่อสารแบบอีเธอรเน็ท (Ethernet) และเว็บ เซิรฟเวอร ที่จะทําใหคุณเขาถึงขอมูลสําคัญ ๆ แบบเรียลไทมไดงายตลอดเวลาตาม ความตองการ ไมวาจะอยูที่ใดก็ตาม อีกทั้งยังสามารถบันทึกขอมูลที่จําเปนเลือก เก็บไวในตัวมันเอง (data logging) Altivar Process ถือเปนไดรฟสีเขียวอยางแทจริง โดยชิ้นสวนของอุปกรณที่นํามาใช 70% สามารถนําไปรีไซเคิลได และถือวาเปนสินคาฉลาก “Green Premium” จากทาง ชไนเดอร อิเล็คทริค ที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอมในการผลิตทุกขั้นตอนเปนไปตามมาตรฐาน ของยุโรป RoHs และ REACH จึงเหมาะกับองคกรสีเขียวทุกองคกรที่ไมใชแคตองการ ระบบที่มีประสิทธิภาพแตยังใสใจตอสิ่งแวดลอมในอนาคตขางหนาอีกดวย สามารถดู รายละเอียดเพิ่มเติมของ Altivar Process ไดที่ www.schneider-electric.com/drives 36

July 2015


11.05-11.30 .


Showcase - Industrial กรีนภัทร์

ซีเกท ไวรเลส ผลิตภัณฑไรสาย

ขยายความจุใหอปุ กรณเคลือ่ นที่

บริษทั ซีเกท เทคโนโลยี จํากัด มหาชน (NASDAQ : STX) ผูบ กุ เบิกการจัดเก็บ ขอมูลไรสาย ขยายพอรตโซลูชั่นจัดเก็บขอมูลแบบไรสายอยางตอเนื่องดวย การเปดตัวนองใหม Seagate Wireless ไดรฟไรสายแบบพกพาขนาดความจุ 500 GB ที่ไดรับการออกแบบมาใหผูใชสามารถสตรีมมิ่ง (streaming) และ โอนยายขอมูลจากอุปกรณเคลื่อนที่ตาง ๆ เพื่อประหยัดพื้นที่จัดเก็บภายใน ใหอุปกรณเหลานั้น ซีเกท ไวรเลส ใหมนี้ชวยใหผูใชสามารถเก็บขอมูลเทาที่จําเปนบนอุปกรณเคลื่อนที่ ไมวาจะเปนสมารทโฟนหรือ แท็บเล็ตจึงชวยลดปญหาเรื่องความจุเต็มไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหสตรีมมิ่งวีดีโอระดับ HD บนแท็บเล็ตหรือสมารทโฟน Android iPad iPhone Kindle Fire คอมพิวเตอรระบบปฏิบัติการ Windows 8 และแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการ Windows RT ไดอยางงายดาย ไรกงั วล ดวยความจุทมี่ ากพอใหเก็บภาพยนตรความคมชัดระดับ HD สูงถึง 200 เรือ่ ง ผูใ ชจงึ ไมมวี นั ไรสงิ่ บันเทิง แมในยามตองเดินทางไกล ไรอินเทอรเน็ตก็ตาม ไดรฟซีเกท ไวรเลส ชวยประหยัดพื้นที่อันลํ้าคาบนแท็บเล็ตและสมารทโฟน จึงเปนเสมือนเพื่อนคูใจที่ผูเปนเจาของ อุปกรณเคลื่อนที่ตาง ๆ สามารถวางใจไดดีที่สุด วันนี้ผูใชซีเกท ไวรเลสสามารถอิ่มเอมไปกับกิจกรรมโซเชี่ยลใหมในยามพบปะเพื่อนได ดวยการรวมชมขอมูลที่บันทึกไวในไดรฟซึ่งรองรับการทําสตรีมมิ่งเชื่อมตอกับอุปกรณตาง ๆ ไดพรอมกันถึงสามอุปกรณ

ทอเกลียวสง ผานความรอ น

Extuba Turbo Tube ทอเกลียวสงผานความรอนประสิทธิภาพสูง ออกแบบให สามารถทําการแลกเปลี่ยนความรอนสูงกวาทอปกติถึง 50% ชวยประหยัดพลังงาน ลดตนทุนการผลิต ภายใตเครื่องหมายการคา “EXTUBA TURBO TUBE” นอกเหนือจากความมุงมั่นที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ สเตนเลสตาง ๆ เพือ่ ใหเกิดประโยชนสงู สุดกับผูบ ริโภคแลว Tgpro ยังใสใจกับปญหาสิง่ แวดลอม ที่กําลังรุมเราโลกใบนี้ จึงคิดคนพัฒนาทอสเตนเลสตัวใหมเพื่อชวยลดการใชพลังงานของโลกในอุตสาหกรรม แลกเปลีย่ นความรอน ขณะเดียวกันยังไดเพิม่ ประสิทธิภาพในการถายเทความรอนใหสูงขึ้นกวาทอปกติถึง 50% ดวยรูปลักษณพเิ ศษของทอทีเ่ ปนรองเกลียวชวยเพิม่ พืน้ ทีใ่ นทอ สงผลใหขนาดของอุปกรณเล็กลง แตประสิทธิภาพ การสงผานความรอนสูงขึ้น ชวยในการประหยัดพลังงานและลดตนทุนการผลิต โดยใชชื่อทางการคาวา “EXTUBA TURBO TUBE” รับรองผลการทดสอบจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เปนผล การทดสอบสมรรถนะการถายเทความรอนของทอสเตนเลส “Extuba Turbo Tube” เปนความรวมมือ ระหวางบริษัท ไทย-เยอรมัน โปรดักส จํากัด (มหาชน) กับภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

เครือ่ งตรวจจับแกส

MULTI-GAS DETECTOR

38

July 2015

เครื่องตรวจจับแกส MULTI-GAS DETECTOR สามารถวัดแกส O2, CO, H2S, LEL มีใหเลือกทั้งแบบธรรมดาและมีปม คุณสมบัติ สามารถตรวจแกสไดสูงสุดถึง 4 ชนิดพรอมกัน ไดแก O2, CO, H2S และ แกสไวไฟ ขนาดเล็กกะทัดรัด นํ้าหนักเบาเพียง 250 กรัม ใชงานงาย เพียงแค 2 ปุม ประหยัดพลังงาน เมื่อชารจเต็มใชงานไดสูง สุด 14 ชั่วโมงตอเนื่อง สามารถปรับการทํางาน เชน การตั้งการเตือน ตาง ๆ และเก็บขอมูลลงสูคอมพิวเตอรผาน Port USB ในรูปแบบ Microsoft ตัวเครื่องทนทานทําจากวัสดุคุณภาพสูงปองกันฝุน และนํ้า มาตรฐาน IP65 หนาจอทนทาน ทําจาก Polycarbonate กันกระแทก และไฟฟาสถิตย แจงเตือนดวยเสียง ไฟกระพริบและการสั่นสะเทือน


เครื่องปรับอากาศมีเดีย วีอารเอฟ บริษทั ไซท เพรพพาเรชัน่ แมเนจเมนท จํากัดออกแบบติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ มีเดียเปนเครือ่ งปรับอากาศแบบปรับปริมาณนํา้ ยาอัตโนมัติ Variable Refrigerant Flow เรียกยอ ๆ วา วีอารเอฟ VRF โดยเครื่องปรับอากาศ วีอารเอฟ VRF มีใหเลือก 2 ระบบ คือ ระบบอินเวอรตเตอร Inverter และ ระบบดิจิตอล สครอล Digital Scroll การเลือกใชนนั้ จะขึน้ อยูก บั ลักษณะการใชงาน ซึง่ ในสวนของ วีอารเอฟ VRF ระบบ Digital Scroll จะมีขอไดเปรียบในเรื่องการดูแลรักษาและการซอม บํารุง งายตอการแกไข และวิเคราะหปญหา เพราะมีความซับซอนในระบบไฟฟา นอยกวา อายุการใชงานนาน ประหยัดพลังงาน เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เหมาะสําหรับอาคารสูงและโรงงานอุตสาหกรรม

ระบบปรับอากาศประเภทปมความรอน บริษัท สยามเทมป จํากัด ผูนํานวัตกรรมระบบปรับอากาศที่มีผลงานมายาวนานกวา 48 ป ขอแนะนํา EUROKLIMAT รุน EKAH ขนาด 39 kW ระบบปรับอากาศประเภท ปมความรอน (Heat Pump) ผลิตภัณฑชั้นนําจากประเทศอิตาลีที่ไดรับการยอมรับ จากลูกคาทั่วโลกมานานกวา 50 ป EUROKLIMAT รุน EKAH ขนาด 39 kW เปนเครื่อง ทํานํ้ารอนที่สามารถทํานํ้ารอนไดอุณหภูมิสูงถึง 60 องศาเซลเซียส โดยจุดเดนของ ระบบคือการประหยัดพลังงานมากกวา 60% แตมีประสิทธิภาพในการทํางานสูงกวา เครื่องทํานํ้ารอนแบบขดลวดไฟฟาที่ใชทั่วไปถึง 3 เทา จึงเหมาะอยางยิ่งสําหรับธุรกิจ ทีต่ อ งการระบบทํานํา้ รอน EUROKLIMAT รุน EKAH ขนาด 39 kW มีฟง กชนั่ การทํางาน มากมาย จึงเหมาะอยางยิง่ สําหรับธุรกิจโรงแรม สโมสร โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม ธุรกิจสปา และเอ็นเตอรเทนเมนต คอมเพล็กซ ฯลฯ โดยทีมงานผูเชี่ยวชาญของ สยามเทมปสามารถออกแบบระบบใหสอดคลองกับการใชงานในแตละประเภทธุรกิจ พรอมความเหมาะสมเชิงสถาปตยกรรมตามความตองการของสถาปนิกผูออกแบบ

เตารดี ไอนาํ้ ประหยดั พลงั งาน เตารีดอุตสาหกรรมรุนเล็ก สําหรับทานที่เพิ่งเริ่มตน อยากจะใชเตารีดไอนํ้า แท ๆ มีความคงทนเชื่อถือได ความจุหมอตม 1.8 ลิตร รีดผาตอเนื่องได 3 ชั่วโมง แรงดันไอนํ้า 3 บาร ใชไฟ 220v ประหยัดไฟดีเยี่ยม มีระบบเซฟตี้วาลวเมื่อหมอตม มีแรงดันเกินระบบ เซฟตีว้ าลวจะทํางานโดยอัตโนมัตมิ คี วามปลอดภัย 100% ใชไฟ 220 v หมอตมใชไฟ 1000 w เตารีดใชไฟ 900 w แรงดันไอนํ้า 3 bar ความจุ หมอตมนํ้า 1.8 L ใชตอเนื่องไดนาน 3 ชม. หนาเตารีดทํามาจากสเตนเลส ทําความรอนไดมาก แถมยังชวยประหยัดพลังงานไดอีกดวย

July 2015 39


Product Highlight - Commercial

ไมวาจะเปนคุณภาพที่ไมไดมาตรฐานหรือ เวลาเติมหมึกก็หกเลอะเทอะ บราเดอรจงึ ได เปดตัวเครือ่ งพิมพองิ คเจ็ทมัลติฟง กชนั่ ระบบ รีฟล แท็งกขึ้นมา เพื่อเขามาเปนอีกหนึ่ง ทางเลือกใหม ภายใตแบรนดมาตรฐาน ระดับโลกอยางบราเดอร ผูบริโภคจึงมั่นใจ ไดถึงประสิทธิภาพที่คุมคาและคงทนยิ่งกวา ในครั้งนี้”

บราเดอร เผยโฉมเครื่องพิมพอิงคเจ็ทมัลติฟงกชั่นรุนใหม ระบบรีฟล แท็งก

ซิสเต็ม 4 รุน อีกหนึ่งแฟลกชิปโมเดล มั่นใจดวยคุณภาพและเนนการพิมพปริมาณมาก ในราคาหมึกที่ประหยัดยิ่งขึ้น โดยหมึกพิมพสีดํา 1 ขวดพิมพไดสูงสุดถึง 6,000 แผน รองรับการเชื่อมตอแบบไรสาย คาดวาจะสามารถครองใจและไดรับการตอบรับจาก ผูบริโภคชาวไทยไดเปนอยางดี

ดาน นายธีรวุธ ศุภพันธุภ ญ ิ โญ ผูอ าํ นวยการ ฝายขายและการตลาด บริษัท บราเดอร คอมเมอรเชี่ยล (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “เครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ท มัลติฟง กชนั่ นัน้ ในตลาดของเครือ่ งพิมพ มีอยู 2 ประเภท คือ แบบตลับหมึกและ แบบเติมหมึก ซึ่งที่ผานมาบราเดอร จะผลิตและจัดจําหนายเครื่องพิมพอิงคเจ็ท แบบตลับหมึกมาโดยตลอด นับวาเปนครัง้ แรก ที่บราเดอรเปดตัวเครื่องพิมพอิงคเจ็ทมัลติ ฟงกชั่น แบบเติมหมึก ดวยระบบรีฟล แท็งก ซิสเต็ม

มร. โทโมยูกิ ฟูจิโมโตะ กรรมการผูจัดการ บริษัท บราเดอร คอมเมอรเชี่ยล (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา “บราเดอร ยึดถือในความตองการของผูบริโภค เปนสําคัญ ภายใตปณิธานที่วา “Brother at your side” บราเดอรยังใหความ สําคัญกับการพัฒนาสินคาที่ตรงตามความตองการของผูบริโภคในแตละภูมิภาค และจากการสํารวจพบวาในอาเซียนมีผบู ริโภคกลุม หนึง่ ทีน่ ยิ มนําเครือ่ งพิมพองิ คเจ็ท มาติดตัง้ หมึกพิมพในรูปแบบของรีฟล แท็งก แตกต็ อ งประสบกับปญหาในการใชงาน

““Smarter Design Bigger Savings”

อิงคเจ็ทมัลติฟงกชั่นระบบรีฟล แท็งก ซิสเต็ม 40

July 2015



Product Highlight - Commercial

เติมหมึกได้ด้วยการเอียงขวดที่ท�ามุมเพียง 45 องศา ป้องกันการหกเลอะเทอะขณะเติมหมึก อีกทั้งที่ใส่น�้าหมึกยังถูกออกแบบให้อยู่ภายใน ตัวเครือ่ งท�าให้ดไี ซน์มคี วามลงตัวและเหมาะสม ตลอดจนไม่เปลืองพื้นที่ ท�าให้ง่ายต่อการหา พื้นที่จัดวาง และฝาปิดด้านหน้าเป็นแบบใส สังเกตเห็นระดับน�า้ หมึกได้อย่างชัดเจน รวมถึง ยังสามารถรองรับการท�างานทีห่ ลากหลาย คุม้ ค่า ไม่วา่ จะเป็นการพิมพ์สแี ละขาวด�า การเชือ่ มต่อ แบบไร้สาย ถาดป้อนกระดาษอัตโนมัติ รวมถึง รองรับเครื่องโทรสารได้อีกด้วย ในปัจจุบันเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทมัลติฟังก์ชั่น แบบเติมหมึก ทีผ่ ลิตจากเจ้าของแบรนด์ผผู้ ลิต เครื่องพิมพ์โดยตรงนั้น มีให้เลือกไม่มากนัก ด้วยเหตุดังกล่าวทีมงานวิจัยและพัฒนาของ บราเดอร์จงึ ได้นา� ผลการส�ารวจความต้องการ ของผูบ้ ริโภคมาเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนา สินค้าใหม่ เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่มี ศักยภาพมากกว่าให้ผบู้ ริโภคได้เลือกใช้ภายใต้ แนวคิด “Smarter Design Bigger Savings” ซึ่งผู้บริโภคมั่นใจว่าจะได้เครื่องที่มีคุณภาพ จากโรงงานพร้อมด้ วยการรั บประกั นจาก บราเดอร์โดยตรง ส�าหรับกลุ่มเป้าหมายจะ เน้นไปยังผู้บริโภคทั้งในส่วนของกลุ่มธุรกิจ ขนาดเล็ก เอสเอ็มอี รวมไปจนถึงกลุม่ ผูใ้ ช้งาน ทั่วไปที่เน้นปริมาณการพิมพ์ค่อนข้างมาก และกลุ่มนักเรียนนักศึกษา” ส�าหรับเครือ่ งพิมพ์องิ ค์เจ็ทมัลติฟงั ก์ชนั่ รุน่ รีฟลิ แท็งก์ ซิสเต็ม ทั้ง 4 รุ่นใหม่ คือ DCP-T300, DCP-T500W, DCP-T700W และ MFCT800W ถูกออกแบบภายใต้แนวคิด “Smarter Design Bigger Savings” โดยบราเดอร์ได้ พัฒนาการออกแบบให้ง่ายและสะดวกใน การใช้งานยิ่งขึ้น เพียงแค่ 3 ขั้นตอนในการ เติมหมึก คือ เปิดฝา เติมน�้าหมึก และปิดฝา นอกจากนี้ บราเดอร์ยังออกแบบให้สามารถ 42

July 2015

บราเดอร์ได้พัฒนาให้มีต้นทุนการพิมพ์ต่อแผ่นที่ลดลง โดยหมึกสีด�า สามารถพิมพ์ได้ 6,000 แผ่นต่อ 1 ขวด และหมึกสี สามารถพิมพ์ได้ 5,000 แผ่น ซึ่งผู้ใช้งานสามารถมั่นใจได้ ในคุณภาพหมึกพิมพ์เพราะเป็นน�้าหมึกแท้จากบราเดอร์ และมั่นใจเรื่องของการรับประกัน เครื่องพิมพ์ คือ ระยะเวลา 1 ปี หรือ 30,000 แผ่น ทั้งนี้ ปัจจุบันศูนย์บริการบราเดอร์และศูนย์บริการแต่งตั้งของบราเดอร์ (Authorized Service Center) มีครอบคลุมครบทั้ง 77 จังหวัด รวม 139 แห่ง อีกทั้งยังมีศูนย์บริการบราเดอร์ ประจ�าภูมิภาครวม 5 แห่ง ทั่วประเทศ ในปีที่ผ่านมา บราเดอร์ ยังสามารถน�าเสนอบริการที่ มากคุณภาพให้แก่ผู้บริโภคภายใต้ระดับ ความพึงพอใจสูงสุดที่มากกว่า 95% และสามารถ พัฒนางานซ่อมของศูนย์บริการบราเดอร์ให้ลูกค้าสามารถรอรับเครื่องกลับได้เลย ผู้สนใจ ข้อมูลของสินค้าทั้ง 4 รุ่นใหม่ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Brother Contact Center โทร. 02-665-7777 หรือ www.brother.co.th


Showcase - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

เครือ่ งขจัดไรฝุน เพือ่ สุขภาพ

บริษทั ฟลปิ สอเิ ล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด แนะนําเครือ่ งขจัดไรฝุน ใหม Philips Mite Cleaner FC6230 ช ว ยทํ า ความสะอาด ขจัด ไรฝุนที่ฝง ลึก อยูในฟูกที่นอน โซฟาผา ตุกตาผา เบาะ และวัสดุที่มีพื้นผิวออนนุม ทุกชนิด เพื่อใหบานของคุณปราศจากไรฝุน ซึ่งเปนสาเหตุกอใหเกิดโรคภูมิแพระบบ ทางเดินหายใจ นับเปนอีกหนึ่งทางเลือกเพื่อสุขภาพที่ดีของคุณและครอบครัว ที่คุณรัก ซึ่งเครื่องขจัดไรฝุนใหม Philips Mite Cleaner FC6230 ขจัดไรฝุนได อยางมีประสิทธิภาพดวย 3 ฟงกชั่นการทํางาน คือ แผนสั่นสะเทือนพลังสูง ตบฝุนดวยความเร็ว 10,800 ครั้งตอนาที ทําใหไรฝุนที่ฝงลึกหลุดออกอยาง งายดาย ระบบดูดทําความสะอาดพลังสูงโดยทอดูดทีห่ นาเครือ่ งจะดูดเก็บไรฝุน และเศษฝุนที่ฟุงออกมาเขาไปอยางรวดเร็วไมตกคางบนพื้นผิว ไมฟุงกระจาย ในอากาศ และหลอดยูวจี ากฟลปิ ส ชวยกําจัดเชือ้ โรคทีพ่ นื้ ผิว นอกจากนีแ้ ผนกรอง HEPA12 ยังสามารถดักจับไรฝุนและอนุภาคขนาดเล็กไดอยางมีประสิทธิภาพ

Sony ทยอยเปดตัวสมารทโฟนรุนใหมในป 2015 อยาง ตอเนื่อง ลาสุดกับการเปดตัว Xperia Z3+ อยางเปน ทางการ ตัวเครื่องมาพรอมหนาจอ 5.2 นิ้ว ความละเอียด Full HD สีสันสดใสดวย TRILUMINOS for mobile รองรับ ระบบ 4G/LTE Cat 6 ซีพียู Snapdragon 810 แบบ 64 บิท จีพียู Adreno 430 แรม 3 GB หนวยความจําภายใน 32GB เพิ่มไดสูงสุด 128 GB แบตเตอรี่ความจุ 2,930 mAh พรอมโหมดประหยัดพลังงาน STAMINA Mode ใชงานได ยาวนานถึง 2 วัน ตัวเครือ่ งบางเพียง 6.9 มม. กลองดิจติ อล ความละเอียด 20.7 ลานพิกเซล เลนส G มุมกวาง 25 มม. รองรับ ISO สูงถึง 12800 มีโหมด Superior Auto ถายภาพ คมชัด ถาย VDO ความละเอียด 4K กลองหนาเลนส มุมกวางความละเอียด 5 ลานพิกเซล รองรับระบบเสียง Hi-Res Audio พรอมระบบตัดเสียงรบกวนรอบขาง ตัวเครือ่ งกันนํา้ กันฝุน ดวยมาตรฐาน IP65/IP68 และรองรับการเลนเกม Remote Play กับเครื่อง PS4 ที่บาน Xperia Z3+ ตัวเครื่อง มีใหเลือก 4 คือ ทองแดง ดํา ขาวและสีฟา โดย Sony จะเริ่มวางจําหนายในประเทศแถบยุโรปในเร็ว ๆ นี้

Xperia Z3+ สมารทโฟน บางเบา กันนํา้ กันฝุน

เอซุส ไดตอกยํ้าความเปนเจาตลาดดวยการสงโนตบุก ZenBook UX305 ซึ่งมี ความบางที่สุดในโลก มีความหนาเพียง 12.3 มิลลิเมตร และนํ้าหนักเพียง 1.2 กิโลกรัม หนาจอขนาด 13.3 นิ้ว พกพาสะดวก UX305 มีความโดดเดน ที่หนาจอแบบ IPS ทําใหภาพมีชีวิตชีวาลดแสงสะทอนและมีความละเอียดสูง ใชหนวยประมวลผล Intel® Core™ M processor แบบใหม เพื่อการใชงานที่ ลื่นไหล ไมสะดุด สวนแบตเตอรี่ก็มีอายุยาวนานถึง 10 ชั่วโมง ยิ่งไปกวานั้น ZenBook UX305 ไดรบั รางวัล iF Design Award 2015 มาหมาด ๆ ซึง่ รางวัลนี้ เป น ที่ ย อมรั บ ทั่ ว โลกว า เป น เสมื อ นตราประทั บ รั บ รองในเรื่ อ งคุ ณ ภาพของ ผลิตภัณฑที่เหนือกวาผลิตภัณฑอ่ืน เชน คุณภาพการออกแบบ ระดับของ นวัตกรรม ฟงกชั่น หลักสรีรศาสตร และอื่น ๆ ประเมินผลและตัดสินโดย คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ 50 ทานจากทั่วโลกอีกดวย

ASUS ZenBook UX305 โนตบุก บางทีส่ ดุ ในโลก

July 2015 43


Showcase - Commercial ณ ลาดพร้าว

Adapter โนตบุก อเนกประสงค พรอมฮับ USB 3.0 FSP บริษัทผูเชี่ยวชาญดานพลังงานไฟฟาประสิทธิภาพสูง เปดตัว Adapter จายไฟสําหรับ โนตบุกในรูปแบบอเนกประสงคเปนครั้งแรก โดยมีชื่อรุนวา NB H ซีรีส เปนการเปลี่ยน ภาพลักษณของ Adapter จายไฟสําหรับโนตบุก โดยเพิ่มความ สะดวกและประโยชนใชสอยใหมากขึ้น โดย Adapter รุนนี้ นอกจากจะรองรับไฟฟาไดครบทุกแรงดันแลว (100~240V) ก็ยังมาพรอมกับฮับ USB 3.0 ในตัว อํานวยความ สะดวกในการชารจไฟใหกับอุปกรณพกพาตาง ๆ อีกทั้งยังชวยเพิ่มพอรตเชื่อมตอ ใหกับโนตบุกไดอีกดวย Adapter ในซีรีสนี้จึงเหมาะกับการใชงานรวมกับอัลตราบุกและ โนตบุกแบบบางเบาที่มีพอรต USB นอย ไมเพียงพอตอการใชงาน สะดวกสบายใชงานไดกับ โนตบุกทุกรุน พกพางาย ดี ไซนหรู มี 2 รุนใหเลือกใช ไดแก NB H 110 ที่มาพรอม USB 3.0 จํานวน 3 พอรต จายกําลังไฟรวมได 110 วัตต และรุน NB H 65 ที่มาพรอมพอรต USB 3.0 จํานวน 2 พอรตและ จายกําลังไฟรวมได 65 วัตต

โคมดาวนไลทเมทัลฮาไลด

บริษัทเรเซอรการไฟฟา หนึ่งในบริษัทชั้นนําของประเทศไทย ผูผลิต อุปกรณบาลาสต ที่มีกําลังการผลิตมากกวา 1 ลานหนวยตอเดือน แนะนํา โคมดาวนไลทเมทัลฮาไลด ชนิดฝงฝาทีบารหรือยิบซั่ม ตัวโคมทําจาก อลูมิเนียมขึ้นรูปพนดวยสีฝุนและอบภายใตความรอนสูง เพื่อความสวยงาม ปองกันสนิมทนทาน พรอมกระจกหนากันแมลง และไดพัฒนาในสวนของ แผนสะทอนแสงดวยการนําแผนอลูมิเนียมคุณภาพสูงมาเปนสวนประกอบ ในการผลิต ทําใหชวยเพิ่มแสงสวางและประหยัดพลังงานมากขึ้น อีกทั้งมี การกระจายแสงสมํ่ า เสมอ ครอบคลุ ม ทั่ ว ทั้ ง บริ เวณ แสงไม บ าดตา เหมาะสําหรับการติดตั้งภายในอาคาร สํานักงาน ที่อยูอาศัย โรงพยาบาล โรงแรม ซึ่งโคมไฟถูกออกแบบใหกะทัดรัด นํ้าหนักเบา แข็งแรง สะดวก สบายงายตอการติดตั้ง และเนนความปลอดภัย

สตีเบล โครม ผลิตภัณฑ เครือ่ งทํานํา้ อุน รุน ใหมลา สุด สตีเบล เอลทรอน เปดตัว สตีเบล โครม (Stiebel Chrome) ผลิตภัณฑ เครื่องทํานํ้าอุนรุนใหมลาสุด ที่มาพรอมดีไซนสวยหรูและเรียบงาย เหมาะ สําหรับทุกรูปแบบของหองนํ้า และดวยความคลาสสิคของสีโครเมียม ชวย ปรับโฉมหองนํ้าของคุณใหมีสไตลโดดเดนยิ่งขึ้น สตีเบล โครม (Stiebel Chrome) รุนใหมนี้มาพรอมชุดฝกบัวแบบกานแข็งที่สามารถปรับเปลี่ยน สายนํ้าไดถึง 5 ระดับ และสามารถปรับระดับอุณหภูมิไดอยางงายดายและ แมนยําเพียงปุมเดียว นอกจากนี้ สตีเบล โครม (Stiebel Chrome) ยังมา พร อ มระบบรั ก ษาความปลอดภั ย ตามมาตรฐานภายใต ค อนเซ็ ป ต ข อง ประเทศเยอรมนี เชน ปองกันอุณหภูมิของนํ้าสูงเกินกําหนด และปองกัน นํ้ารอนลวกในระหวางการอาบนํ้า ดวยระบบเครื่องตัดกระแสไฟ 2 ขั้นตอน ผูใชงานจึงสามารถมั่นใจในเรื่องความปลอดภัยไดตลอดการใชงาน อีกทั้ง แข็งแรงทนทาน มีอายุใชงานที่ยาวนาน และหมดปญหาแมในบานที่มี แรงดันนํ้าตํ่า

44

July 2015



Product Highlight - Logistics การพัฒนาของเทคโนโลยีด้านการใช้รถยนต์ไฟฟ้าสามารถใช้งานได้อย่างแพร่หลายและขณะนี้ เป็นไปได้จริงแล้วที่จะสามารถชาร์จไฟที่บ้านได้ เพราะที่ผ่านมา ผู้ใช้รถยนต์ไฟฟ้าจะต้องไป ชาร์จไฟที่ปั๊มเติมพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเมืองไทยมีไม่มากนัก ล่าสุด บริษัท แรบบิท ออโต้ คราฟท์ ได้น�าเข้าเครื่องชาร์จรถไฟฟ้าและรถยนต์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูงและมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ อย่างแพร่หลายทั่วโลก เข้ามาจ�าหน่ายในประเทศไทย ซึ่งเป็นระบบของ เคบ้า (Keba) ท�าให้รถ สามารถชาร์จแบตเตอรี่ได้เองที่บ้านหรือที่ท�างาน แรบบิท ออโต้ คราฟท์ ท�าฝันคนรุน่ ใหม่รกั สิง่ แวดล้อมให้เป็นจริง ด้วยการน�าเข้ารถยนต์ไฮบริด คลาสหรูและเครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าจากยุโรป ช่วยลดมลพิษทางถนนและประหยัดพลังงาน เชื้อเพลิง สะท้อนถึงการพัฒนาอย่างล�้าหน้าของโชว์รูมรถน�าเข้า และสุดยอดรถสปอร์ต ตั้งเป้า ติดเครื่องชาร์จตามสถานที่ส�าคัญให้คนไทยได้เป็นผู้น�าการใช้รถยนต์ไฟฟ้า-ไฮบริดระดับ AEC

น�ำเข้ำเครื่องชำร์จรถไฟฟ้ำ เจ้ำแรกในไทย นายกล้ายุทธ จินตนะกุล หนึ่งในคณะกรรมการผู้จัดการ บริษัท “แรบบิท ออโต้ คราฟท์” เปิดเผยว่า ปัจจุบัน อัตราการใช้พลังงานของคนไทยนั้นสูงขึ้นเรื่อย ๆ แต่ ทรั พ ยากรธรรมชาติ มี ป ริ ม าณลดลงและผลจากการใช้ พลังงานบางส่วนยังก่อให้เกิดการท�าลายสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติ ขณะนี้การพัฒนาของเทคโนโลยีด้านการใช้ รถยนต์ไฟฟ้าสามารถใช้งานได้อย่างแพร่หลายและขณะนี้ เป็นไปได้จริงแล้ว ไม่ใช่ภาพที่ฝันไว้อีกต่อไป ที่ผ่านมาผู้ใช้ รถยนต์ไฟฟ้าจะต้องไปชาร์จไฟที่ปั๊มเติมพลังงานไฟฟ้าที่ มีไม่มากในประเทศเท่านั้น แรบบิท ออโต้ คราฟท์ จึงน�า เข้ารถยนต์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูงและมีคุณภาพที่เป็น ที่ยอมรับอย่างแพร่หลายทั่วโลก และได้ร่วมเป็นพันธมิตร กับ บริษัท เคบ้า (Keba) ในการน�าเข้าเครื่องชาร์จรถยนต์ ไฟฟ้าจากประเทศออสเตรีย ตรงตามมาตรฐาน IEC62196 มีคุณภาพสูงและอายุการใช้ยาวถึง 25 ปี ท�าให้คนไทย ได้มีทางเลือกในใช้รถยนต์ไฟฟ้าทัดเทียมมาตรฐานโลก สามารถชาร์จแบตเตอรีไ่ ด้เองทีบ่ า้ นหรือทีท่ า� งาน ช่วยรักษา สิ่งแวดล้อมและลดมลพิษทางอากาศอย่างยาวนาน

46

July 2015


Product Highlight - Logistics ทัง้ นี้ เคบานัน้ เปนเครือ่ งชารจรถยนตไฟฟา จากประเทศ ออสเตรีย ตรงตามมาตรฐาน IEC 62196 มีคุณภาพสูง และอายุการใชยาวถึง 25 ป โดยเครื่องชารจรถยนต ไฟฟามีระบบ m10 ในการอัพเดทขอมูลการชารจรถ และเพื่อการพัฒนาเมืองขนาดใหญ เชน การสราง เครือขายรถไฟฟา และยังมีระบบขอมูลในหัวชารจรถ เพือ่ ทีจ่ ะปลอยกระแสไฟฟาใหเหมาะสมกับรถแตละรุน มีหลายแบบใหเลือก เชน ชนิดเล็ก 10 amp ใชสําหรับ ชารจขามคืน ใชเวลาชารจประมาณ 8 ชม. ขนาดกลาง 32 amp ใชเวลาในการชารจ 1-2 ชม. สามารถติดตั้งใน ที่ทํางาน รานกาแฟ และที่จอดรถตามหางสรรพสินคา ตางๆ มีความสะดวกในการชารจมาก และขนาดใหญ 400 amp ใชเวลาชารจ 15-20 นาที เหมาะกับการตั้ง เปนสเตชั่นหรือปมรถยนตไฟฟา ตอไปนี้ ใ ครอยากใช รถไฟฟา ไมตองกลัววาจะหาที่ชารจไมได แตที่สําคัญ ตองหารถไฟฟามาครอบครองใหไดกอน ปจจุบันการใชรถยนตไฟฟาเปนที่ยอมรับ และใชอยางแพรหลายในระดับสากล ไมวา จะเปนประเทศในทวีปยุโรป ประเทศญี่ปุน และสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ แรบบิทได วางเปาหมายจะติดตั้งเครื่องชารจรถยนต ไฟฟาไวตามหางสรรพสินคา โรงแรม สถาน ที่ราชการตาง ๆ เพื่ออํานวยความสะดวก ใหแกผูใชรถยนต ไฟฟ า และตอกยํ้ า ความ เปนผูนําดานเทคโนโลยีรถยนตไฟฟา ซึ่งใน อนาคตเปนที่แนชัดแลววาระบบไฟฟาจะ เขามาแทนระบบนํ้ามัน สําหรับรุนรถยนตที่สามารถใชเครื่องชารจ ไฟฟาไดขณะนี้ เชน เชฟโรเลต โวลต, ฟอรด โฟกัส อิเล็กทริก, Mia electric, มิตซูบิชิ ไอมีฟ, นิสสัน ลีฟ, โตโยตา พรีอุส ไฮบริด ปลั๊กอิน, วอลโว C30 electric drive, BMW i3, เบนซ SLS AMG ED, ปอรเช พานาเมรา เอส E-Hybrid, ปอรเช คเยน เอส E-Hybrid, เทสลา Model S, โฟลค e-Up และ วอลโว V60 Plug-in Hybrid

July 2015 47


Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

จอติดรถยนตเชือ่ มตอสมารทโฟน บริษัท ไพโอเนียร อีเล็คโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด แนะนํา หนาจอทีวี ติดรถยนต รุน Champion Model AVH-X8750BT ที่มาพรอมเทคโนโลยี การเชื่อมตอแอพพลิเคชั่นบนสมารทโฟนทั้งแบบใชสายและไรสายซึ่งหนาจอทีวีติด รถยนตของไพโอเนียรรุนนี้ถือเปนเจาแรกของโลกที่สามารถใชงานรวมกับระบบ ปฏิบตั กิ าร iOS และ Android ไดอยางสมบูรณแบบ รวมถึงสามารถเชือ่ มตอแอพพลิเคชัน่ ตาง ๆ ไดงา ยเพียงปลายนิว้ สัมผัส สําหรับเครือ่ งเลนดีวดี พี รอมจอติดรถยนตรนุ AVHX8750BT มีขนาดหนาจอกวางถึง 7 นิว้ รองรับการเชือ่ มตอแอพพลิเคชัน่ จากสมารทโฟน รุน ใหม เชน iPhone6 และสมารทโฟนในระบบ Android รวมกวา 40 รุน จากแบรนดดงั สามารถรองรับไฟลมเี ดียไดหลากหลาย พรอมความสามารถในการรองรับไฟล Flac และ FLV รวมถึงไฟลที่มีความคมชัดสูงอยาง Full HD 1080i ที่เครื่องเลนทั่วไปไมสามารถรองรับได เปนตน และมีแอพพลิเคชั่น ในตัวเครือ่ งมากกวา 30 แอพพลิเคชัน่ เชน แอพเนวิเกชัน่ AIS Guide&Go ทีจ่ ะชวยอํานวยความสะดวกในเรือ่ งของเสนทางตลอดการเดินทาง

คึมโฮ CRUGEN PREMIUM ยาง SUV สไตลส ปอรต

ยางคึมโฮ ยางนําเขาจากตางประเทศ 100% แนะนําอีกหนึ่งผลิตภัณฑใหมจากคึมโฮ “CRUGEN PREMIUM” ยาง SUV สไตลสปอรต สําหรับรถ SUV โดยเฉพาะ ทีส่ ดุ ของความแรง ทาทายทุกผิวสัมผัส ดวย ESCOT เทคโนโลยีที่ทําใหหนายาง เต็มหนาสัมผัสบนทุกพื้นผิว พรอมนวัตกรรม สุดลํ้ากับเทคโนโลยีดอกยางอัจฉริยะที่พัฒนาตอยอดจากความสําเร็จของยางคึมโฮที่แปรผันปรับตําแหนง ของดอกยางใหมีหนาสัมผัสมากขึ้นผันแปรกับความเร็วในทุกการขับขี่ เพื่อการยึดเกาะถนนที่ดีที่สุด และลด เสียงรบกวนจากยางขณะขับขี่ เสริมความแข็งแกรงพรอมเพิม่ สัมผัสบริเวณหนายาง ดวยบล็อกดอกยางรูปตัว C ที่ชวยเพิ่มสมรรถนะในการควบคุมรถไดอยางฉับไว แมนยํา ทุกการควบคุม พรอมเทคโนโลยีปุมกระจาย ความรอนแบบ 3 มิติ บริเวณสวนกลางของหนายาง ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพในการกระจายความรอนของหนายาง ใหเทากัน เพื่อประสิทธิภาพการยึดเกาะถนน และการเบรกในทุกพื้นผิวทั้งแบบถนนเปยกและถนนแหง ปลอดภัยทุกพื้นผิวดวยรองรีดนํ้าตรงประสิทธิภาพสูง 4 ชอง ที่ชวยระบายนํ้าออกจากหนายางตามทิศทาง การขับขี่ไดอยางรวดเร็ว

คูต คู อนเทนเนอรหอ งเยน็ สําหรบั สารเคมี Klinge Corporation ผูนําระดับโลกในการออกแบบและการผลิตของ เครื่องทําความเย็นขนสง นําเสนอตูคอนเทนเนอรหองเย็นแบบ Dual ที่สอดคลองกับกฎระเบี ย บ IMDG สํ า หรั บการขนสงสินคาอันตราย บางอยาง ซึง่ คูต คู อนเทนเนอรหอ งเย็นสามารถใชไดกบั เครือ่ งกําเนิดไฟฟา ที่สําคัญ สําหรับแหลงจายไฟสํารอง ทั้งนี้ Klinge ของคูต คู อนเทนเนอร หองเย็นมีสองความจุเต็มคันรถบรรทุกหองเย็น ใชระบบทําความเย็น รุน PFR-582ex โดยอัตโนมัติสลับกับไฟสํารองเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน และคูตูคอนเทนเนอรหองเย็นยังสอดคลองกับ International Maritime กฎระเบียบขององคการสําหรับการขนสงสินคาอันตราย

48

July 2015



Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

MyEnergi Lifestyle

แหลงพลังงานหมุนเวียน

ฟอรด ไดผนึกกําลังกับผูนําจากวงการเครื่องใชไฟฟา พลังงานหมุนเวียน และ โซลูชนั่ การบริหารจัดการพลังงาน เปดตัวโครงการนํารอง MyEnergi Lifestyle ในเซี่ยงไฮและปกกิ่ง ซึ่งแนวคิด MyEnergi Lifestyle เปนการนําแหลงพลังงาน หมุนเวียน อุปกรณไฟฟาที่ใชพลังงานอยางคุมคาและรถยนตแบบปลั๊ก-อิน ไฮบริด จะชวยให คาใชจา ยดานพลังงานในครอบครัวลดลงเปนอยางมาก ทัง้ ยังลดการปลอยกาซเรือนกระจกออกสู ชั้นบรรยากาศไดอีกดวย คาดวารูปแบบไลฟสไตลตามคําแนะนําของโครงการนี้จะชวยลดคาใชจาย เกี่ยวกับพลังงานลงไดถึง 63% หรือแบงออกเปนคาไฟฟาที่ลดลง 40% และคานํ้ามันเชื้อเพลิงที่ ลดลงอีก 69% คิดเปนมูลคารวมราว 9,400 หยวนตอป สวนระดับการปลอยคารบอนไดออกไซดก็จะลดลง ถึง 45% หรือคิดเปนปริมาณกวา 6,828 กิโลกรัม นอกจากนี้ ปริมาณการปลอยกาซและอนุภาคที่กอใหเกิดมลภาวะ ก็จะลดลงเปนอยางมากเชนกัน ไมวาจะเปนการปลอยอนุภาค PM2.5 และ PM10 ที่ลดลง 32% และ 35% ตามลําดับ หรือระดับการปลอยไนโตรเจนออกไซดและซัลเฟอรออกไซดที่ปรับตัวลงกวา 38%

นํา้ มันเกียรยานยนตชนิดพิเศษ

บริษัท ซันสยาม จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนาย ผลิตภัณฑหลอลื่นคุณภาพสูง มุงมั่นในการพัฒนาคุณภาพนํ้ามันหลอลื่นอยางตอเนื่อง โดยจัดจําหนายภายใต ตราสินคา “ซันซอยล” (SUN’SOIL) แนะนํา ผลิตภัณฑเกียรยานยนตชนิดพิเศษ พัฒนาขึน้ สําหรับเฟองทายแบบปองกันการหมุนฟรีของลอ Limited-Slip Differential (LSD) ผสมสารเพิ่มคุณภาพประสิทธิภาพสูง สามารถรับแรงกด และแรงกระแทกได สูงมาก มีดรรชนีความหนืดสูง คงทนตออุณหภูมิสูงและการใชงานหนัก ปกปอง ระบบเกียร ปองกันการสึกหรอ สนิม และการกัดกรอน อีกทั้งสามารถตานทาน การเกิดฟอง และตานทานการทําปฏิกิริยากับออกซิเจนไดดี เหมาะสําหรับระบบ เฟองทาย “ลิมิเต็ด สลิป” Limited-Slip Differential (LSD) เชน ในรถยนตประเภท ขับเคลื่อน 4 ลอ และยังสามารถใชไดดีเยี่ยมกับระบบเกียรธรรมดาที่ตองการ นํา้ มันเกียรมาตรฐาน GL-5

 ง ร ก ุ  แ ธ ั น พ  ส ก แ ี ด ฉ ั ว ห IN IH E K LEAF LEAF KEIHIN หั ว ฉี ด แก ส พั น ธุ  แ กร ง ผลิตภัณฑ จาก SCG Autogas ผูเชี่ยวชาญดานหัวฉีด KEIHIN หัวฉีดระดับงาน OEM มีคุณภาพสูง ไดรับมาตรฐาน ECE R67-01 สําหรับระบบแกส LPG และ ECE R110 รวมถึงระบบกาซ CNG มีความทนทานดีเยีย่ มในสวนของคอยลหัวฉีด KEIHIN สามารถยกไดตลอด ชวยลดปญหาหัวฉีด คอยลขัดของ พิสูจนดวยจากการใชงานจริงกับรถตู Commuter CNG ของ ขสมก. ที่ใชงานมาแลวกวา 500,000 กิโลเมตร นอกจากนี้ หัวฉีดแกส KEIHIN ยังถูกเคลือบดวยสารเทฟลอน (Teflon) ทําใหทนความรอน ทนตอการเสียดสี ทนตอการกัดกรอนทางเคมี พื้นผิวไมเกาะติด และฉีดแกสไดอยางแมนยํา เทียบเทากับ หัวฉีดนํ้ามัน

50

July 2015


Special Feature

Êͧ¤‹ÒÂÂÑ¡É ãËÞ‹Í‹ҧ âµâµŒÒ ÁÍàµÍà ¤Í»Íà à êÑ่ ¹ ¡Ñ º ÁÒÊ´Œ Ò ÁÍàµÍà ¤Í»Íà àêÑ่¹ »ÃÐà·ÈÞÕ่»Ø†¹ 䴌ŧ¹ÒÁ·ํÒ ¢ŒÍµ¡Å§à»š¹¾Ñ¹¸ÁÔµÃËÇÁ¡Ñ¹ ´ŒÇ¡Òà ¹ํÒàÍÒ·ÃѾÂҡèҡ·Ñ้§ÊͧºÃÔÉÑ·ÁÒ㪌 㹡ÒÃÊ‹ § àÊÃÔ Á ¾Ñ ² ¹Ò¼ÅÔ µ ÀÑ ³ ± á ÅÐ à·¤â¹âÅÂÕÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ «Ö่§¡ÒÃËÇÁÁ×͡ѹ ¤ÃÑ้§¹Õ้¨Ð¡‹ÍãËŒà¡Ô´Ã¶Â¹µ ·Õ่ÊÇ´֧´Ù´ã¨ áÅеͺ⨷ ¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒÃáÅÐÃʹÔÂÁ ¢Í§ÅÙ¡¤ŒÒ·Ñ่ÇâÅ¡ãËŒ´ÕÂÔ่§¢Ö้¹

MAZDA

TOYOTA

มาสดา จับมือ โตโยตา พัฒนายานยนตแหงอนาคต

ยิ่งขึ้นกวาเดิม ที่สําคัญนอกเหนือไปกวานั้น มาสดาเองก็มีความ คลายคลึงกันกับโตโยตาในการใหความเคารพในถิ่นกําเนิดและ ในสังคมที่เราเกี่ยวของหรือดําเนินกิจการ จึงไมนาแปลกใจเลยที่ โตโยตานั้นเปนองคกรที่ไดรับความเคารพอยางสูงจากทุกภาคสวน ผมหวังเปนอยางยิ่งวาการทํางานรวมกันในครั้งนี้ จะสามารถยก ระดับคุณคาของรถยนตในสายตาของลูกคา และพัฒนาขีดความ มร.อากิโอะ โทโยดะ ประธาน บริษทั โตโยตา มอเตอร คอปอรเรชัน่ สามารถในการผลิตรถยนตของเราทีเ่ มืองฮิโรชิมา บานเกิดของมาสดา เปดเผยวา “จากเทคโนโลยี สกายแอคทีฟ และแนวคิดการออกแบบ และในชุมชนอื่น ๆ ที่เรามีสวนเขาไปเกี่ยวของดวยเชนกัน” ภายใตโคโดะ ดีไซน หรือ จิตวิญญาณแหงการเคลื่อนไหวอันงดงาม ที่เปนที่รูจักกันดี มาสดาไดพิสูจนใหเห็นแลววามาสดานั้นมองไป โดยในอดีตทั้ง 2 คายนี้ ไดมีการรวมมือกันเกี่ยวกับการอนุญาตให ขางหนาเสมอในเรื่องของรถยนตและเทคโนโลยี แตก็ยังยืนหยัดอยู มาสดาใชเทคโนโลยีไฮบริดของโตโยตา และการทีม่ าสดาทําการผลิต บนแนวคิดพื้นฐานของการผลิตรถยนตเสมอ ดังนั้น มาสดาจึงมี รถยนตนั่งขนาดเล็กใหกับโตโยตาในโรงงานของมาสดาที่ประเทศ แนวคิดที่สอดคลองกับโตโยตาในการสรางสรรครถยนตใหดียิ่งขึ้น เม็กซิโกมาแลว มากกวาเดิม เปนเรื่องนายินดีที่ทั้ง 2 บริษัท จะสามารถแบงปน วิสัยทัศนและทํางานรวมกันไดเปนอยางดีเพื่อมุงมั่นในการพัฒนา โตโยตาและมาสดาตระหนักดีวา ทัง้ สององคกรนัน้ มีจดุ มุง หมายรวมกัน รถยนตใหดียิ่งขึ้น คงไมมีอะไรดีไปกวาการที่ทั้งโตโยตาและมาสดา อยูหลายประการ เชน ปรัชญาของมาสดา คือ การนําเอาความสุข จะรวมกันพิสูจนใหโลกไดเห็นวา ในอีก 100 ปขางหนา รถยนตจะ สนุกสนานสูช วี ติ ของลูกคาดวยการสรางรถยนตทใี่ หความสนุกสนาน ยังคงสงมอบความสนุกสนานใหกับผูขับขี่อยางที่เปนมาโดยตลอด” ในการขับขี่และการอุทิศตนของโตโยตาในการพัฒนารถยนตใหดี ยิง่ ขึน้ สืบไป รวมถึงการอุทศิ ตนในการปรับโครงสรางองคกรครัง้ ใหญ ขณะที่ทางดาน มร.มาซามิชิ โคไก ประธานและผูบริหารสูงสุดของ เพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการแข ง ขั น และการเติ บ โตอย า งยั่ ง ยื น มาสดา มอเตอร คอปอรเรชั่น กลาววา “โตโยตาเปนบริษัทที่ให ซึ่งขอตกลงลาสุดนี้จะมีความแตกตางจากการรวมมือกันในแบบ ความสําคัญอยางยิ่งตอการแสดงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม เดิมๆ ที่ผานมา เพราะการรวมมือในครั้งนี้จะมุงเนนที่ตองการสราง ของโลก และอนาคตของการผลิตรถยนตมาโดยตลอด ผมมีความ คุณคาใหม ๆ ใหแกรถยนตดวยความรวมมือกันในระยะกลางและ เคารพอยางสูงตอการอุทิศตนอยางไมหยุดยั้งของโตโยตาในการ ระยะยาว รังสรรคนวัตกรรมตาง ๆ เพื่อใหไดผลผลิตรถยนตที่ใหยอดเยี่ยม หลังจากนี้จะมีการแตงตั้งคณะกรรมการรวมจากทั้ง 2 องคกร เพื่อ ประเมินวิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ เพือ่ นําเอาจุดแข็งของแตละบริษทั มาประยุกต ใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งคณะกรรมการที่กําลังจะตั้งขึ้นมาใหมนี้ จะสงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางกันในสาขาตางๆ รวมทั้งดาน สิ่งแวดลอมและเทคโนโลยีดานความปลอดภัย

July 2015

51


Renergy

เยือน “รัชชประภา”

ฟงปญหาไฟฟาภาคใต

ปญหาการผลิตไฟฟาในภาคใตเปนอีกเรือ่ งหนึง่ ที่ใคร ๆ ก็ไมอยากพู ดถึ ง ดู เ หมื อ นจะจบ ไมคอยลง ภาพนากลัวในอดีตที่แมเมาะยัง ตามหลอกหลอนคนไทยทั้ ง ประเทศจาก ภาคเหนือสงผลกระทบมาถึงภาคใต จึงเกิด ความไมมั่นใจ ไมไววางใจ ใน การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) อีกทั้ง ภาคใตยังเปนแหลงทองเที่ยวที่สรางรายได ใหประเทศอีกมากมาย โดยเฉพาะในยามนี้ ทีเ่ ศรษฐกิจโลกชะลอตัว คนไทยพอไดอาศัย การทองเทีย่ วจุนเจือไปพลาง ๆ อาจจะดวย เหตุผลทางดานการทองเที่ยวทําใหผูหลัก ผูใ หญหลายทาน แทงกัก๊ ปญหาสรางโรงไฟฟา ภาคใตไมยอมฟนธง กฟผ. ก็เลยเหนื่อย กั น หน อ ย...แล ว ไฟฟ า ภาคใต ข าดแคลน หรือไม ขออางความมั่นคงเรื่องพลังงานนั้น เท็จหรือจริง...? 52

July 2015

เมื่ออยากรูก็ตองไปดูใหเห็นกับตา โดยทานประธานคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา และติดตามดานพลังงานทดแทน สภานิติบัญญัติแหงชาติ และคณะรวมเดินทางไปชมการ ผลิตไฟฟาที่เขื่อนรัชชประภา (เขื่อนเชี่ยวหลาน) จังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีทานรองผูวาการ ระบบสง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย บินตรงจากกรุงเทพฯ ไปบรรยายดวยตนเอง และที่แปลกตาเมื่อไปถึง ก็คือ เขื่อนรัชชประภาในบายวันนั้นไมไดเดินเครื่อง ซึ่งเขื่อน สามารถผลิตไฟฟาไดถึง 240,000 กิโลวัตต และที่ลือกันวาภาคใตไฟฟาไมคอยเพียงพอนั้น จะเปนอยางไร โดยสภาพเศรษฐกิจแลว ภาคใตของเราเปนเมืองทองเที่ยว ไมใชเมืองอุตสาหกรรมเหมือน ภาคกลางและภาคตะวันออก ดังนั้นชวงเวลากลางคืนจึงมีความตองการใชไฟฟามากกวา เวลากลางวัน แตก็ตางกันไมมากนัก ประมาณสิบกวาเปอรเซ็นตเทานั้น ความตองการใช ไฟฟาทั้งภาคใตก็ไมสูง คือ ประมาณ 2,500 เมกะวัตต ชวงการใชไฟฟาสูงสุดเฉลี่ยจะอยูใน ชวง 19.00 – 19.30 น. ปจจุบนั เพือ่ นชาวใตอาศัยโรงไฟฟาหลักจากจะนะและขนอม ซึง่ ใช กาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง จึงเกิดความเสี่ยงอยางมาก หากในอนาคตกาซธรรมชาติ เกิดปญหาขึ้น ทางภาครัฐจึงจําเปนตองเสริมดวยโรงไฟฟาถานหินสะอาดที่เทพาและกระบี่ และนี่คือที่มาของการมาเยี่ยมเยือนขอความรูจาก กฟผ. และสิ่งหนึ่งที่เรารูสึกประทับใจ และดีใจ ก็คือ วิธีการดูแลชาวบานที่อาจตองเสียสิทธิจากการกอสรางโรงไฟฟาของ กฟผ.


กลับมาที่เขื่อนรัชชประภา เขื่อนที่ไมไดมีไวเพื่อผลิตไฟฟาเพียง อยางเดียว ตัวเขื่อนตั้งอยูฝงขวาของลํานํ้าคลองแสง ติดตั้งเครื่อง กําเนิดไฟฟา 80 เมกะวัตต จํานวน 3 เครื่อง รวมแลวมีกําลังการ ผลิตติดตั้งถึง 240 เมกะวัตต คุณสมบัติพิเศษของเขื่อนพลังงานนํ้านี้ ก็คอื “เปดปุบ ติดปบ ” จึงสามารถใชเปนโรงไฟฟาสํารองชวยโรงไฟฟา หลักในชวงที่มีความตองการใชไฟฟาสูง ๆ เชน ประมาณ 19.00 น. หากปริมาณไฟฟาที่ตองการสูงขึ้นก็จะเรงผลิตไฟฟาเสริมใหทันที และหยุดการผลิตในชวงที่ใชไฟฟานอย เพื่อลดคาใชจายดานตนทุน การผลิตไฟฟาลง และนี่คือวิธีการประหยัดไฟฟาที่ กฟผ. ใชกับ โรงไฟฟาทั่วประเทศ เพื่อใหทานอยูดีมีสุข ไมเดือดรอน นอกจากนี้ “รัชชประภา” ยังชวยในดานชลประทานเปนแหลงประมงนํ้าจืด ขนาดใหญของชุมชน สวนที่สําคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง ก็คือ เปน แหลงทองเที่ยวที่ชวยใหจังหวัดสุราษฎรธานีมีเศรษฐกิจที่ดีอยาง เชนปจจุบัน ทานที่เคยไปเที่ยวกุยหลิน ประเทศจีน มาแลว ลองแวะ เยี่ยมเยือน “เขื่อนรัชชประภา” แลวอาจจะลืมกุยหลินไปเลย

คือเมือ่ มีการปกเสาทีต่ อ งผานพืน้ ทีช่ าวบาน จะมีการชดเชยมากกวาการเวนคืนทัว่ ไป ก็คอื การตีราคาที่ดินตามราคาตลาด แลวชดเชย ให 90% โดยบริเวณดังกลาวยังเปนสิทธิการ ทํากินของเจาของเดิม ทีด่ นิ ก็สามารถซือ้ ขาย และโอนตอไปยังลูกหลานไดตามปกติ อาจจะ เสียสิทธิบาง ก็คือ สิ่งปลูกสรางที่เปนอาคาร ถาวรสรางไมได และปลูกพืชยืนตนสูงเกิน 3 เมตรไมไดเทานัน้ เอง งานนี้ กฟผ. เทหมด กระเปา ตองขอชื่นชมผูบริหาร นอกจากนี้ การไฟฟาฝายผลิตฯ ยังมีความเห็นวานาจะมี การปรับปรุงระเบียบและวิธกี ารใชงบประมาณ จากกองทุนพัฒนาไฟฟ า ขึ้ นใหม เพื่ อ ให เกิดประโยชนกับชุมชนมากกวาที่เปนอยู ในปจจุบัน

สําหรับพลังงานทดแทนแลวชีช้ ดั ไดเลยวา จังหวัดสุราษฎรธานี คือ เมืองแหงเกษตรพลังงานอีกเมืองหนึ่ง มีการปลูกปาลมนํ้ามันกัน อยางเปน ลํ่าเปนสัน นอกจากนี้ยัง มีโครงการพลัง งานจากขยะ ทยอยเกิดขึน้ อีก แลวทานอยาลืมแวะมาเยือนเมืองคนดีสรุ าษฎรธานี ก็แลวกัน การผลิตไฟฟาจากฟอสซิลในภาคใตกําลังจะสดใส จึงขอ ใหชาว กฟผ. มองไกล ๆ และใหทั่วถึงวา ยังมีกลุมผูผลิตไฟฟาจาก เศษเหลือทิ้งภาคการเกษตร อันไดแก โรงไฟฟาชีวมวลรวม ๆ กัน แลวกวา 100 เมกะวัตต และโครงการผลิตกาซชีวภาพจากนํ้าเสีย โรงสกัดนํา้ มันปาลม ทีร่ อสายสงเหมือนขาวรอฝน และการอธิบายถึง ขอจํากัดทางเทคนิคเพียงอยางเดียว ไมเพียงพอกับความเดือดรอน ของผูท เี่ ดินตามนโยบายรัฐใหผลิตพลังงานทดแทน เนือ่ งจากพลังงาน ทดแทนทีจ่ ะผลิตไดไมถงึ รอยละ 5 ของไฟฟาทีผ่ ลิตจากซากดึกดําบรรพ (Fossil) ในปจจุบันของภาคใต

July 2015 53


Energy Management อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์

เทคนิคการบริหารจัดการพลังงานสูค วามยัง่ ยืน กรณีศกึ ษา โรงพยาบาลเจาพระยายมราช ¨Ø ´ à ÃÔ่ Á µ Œ ¹ ÍÑ ¹ ´Ñ º á à ¡ ¢ Í § ¤ Ç Ò Á Êํ Ò à Ã็ ¨ ·Õ่ ÂÑ่ § Â× ¹ àÃÔ่ Á ¨Ò¡¼Ù Œ ¹ํ Ò Í§¤ ¡ Ã¡Ñ º ¡ÒÃãËŒ ¤ํ Ò ÁÑ่ ¹ ÊÑ Þ ÞÒ «Ö่ § ¹ÒÂá¾·Â ªÑ ª ÃÔ ¹ ·Ã » › ¹ ÊØ Ç Ãó ¼Ù Œ Íํ Ò ¹Ç¡Òà âç¾ÂÒºÒÅ਌ Ò ¾ÃÐÂÒÂÁÃÒª ä´Œ ¡ํ Ò Ë¹´ãËŒ ¡ ÒÃ Í¹Ø ÃÑ ¡ É ¾ ÅÑ § §Ò¹à»š ¹ àÃ×่ Í §Ë¹Ö่ § ¢Í§ÂØ · ¸ÈÒʵà ¢ ͧ âç¾ÂÒºÒÅ «Ö่ §¡ํ Ò˹´ã¹¾Ñ ¹ ¸¡Ô ¨ ¢Í§âç¾ÂÒºÒÅÏ ËÑ Ç ¢Œ Í “àÊÃÔ Á ÊÃŒ Ò §ÃкººÃÔ Ë ÒÃ¨Ñ ´ ¡ÒÃãËŒ ÁÕ ¤ ÇÒÁ â»Ã‹ § ãʵÒÁËÅÑ ¡ ¸ÃÃÁÒÀÔ º ÒÅ â´ÂÁØ ‹ § ์ ¹ ¡ÒÃ㪌 ·ÃÑ ¾ ÂÒ¡ÃÍ‹ Ò §àËÁÒÐÊÁáÅоÍà¾Õ  § ÃÇÁ·Ñ้ § ÁÕ Ãкº¡ÒäǺ¤Ø Á µÔ ´ µÒÁ »ÃÐàÁÔ ¹ ¼Å·Õ่ à ËÁÒÐÊÁ” â´ÂÁÕ ¤ ÇÒÁÁØ ‹ § ÁÑ่ ¹ ·Õ่ ¨ дํ Ò à¹Ô ¹ ¡ÒÃà¾×่ Í ¡ÒûÃÐËÂÑ ´ áÅÐ͹ØÃÑ¡É ¾ ÅÑ §§Ò¹ãËŒ »ÃÐʺ¤ÇÒÁÊํÒ àÃ็¨ ¡ํÒ Ë¹´ ໇ÒËÁÒ¡ÒÃ㪌 ¾ ÅÑ §§Ò¹ã¹áµ‹ Šл‚ ãˌŴŧµํ่Ò ¡Ç‹Ò »‚·Õ่¼‹Ò¹ÁÒÍ‹ҧ¹ŒÍ 10% áÅСํÒ˹´ãˌ໚¹ÀÒáԨ ÊํÒ¤ÑÞ·Õ่·Ø¡Ë¹‹Ç§ҹ¨ÐµŒÍ§¶×Í»¯ÔºÑµÔãËŒªÑ´à¨¹à»š¹ ÃÙ » ¸ÃÃÁ ÁÕ ¡ ÒÃµÔ ´ µÒÁáÅлÃÐàÁÔ ¹ ¼Å¡ÒÃÍ¹Ø ÃÑ ¡ É ¾Åѧ§Ò¹ â´ÂàʹÍãËŒ¤³Ð¼ÙŒºÃÔËÒ÷ÃҺ͋ҧµ‹Íà¹×่ͧ ÁÕ໇ÒËÁÒ·Õ่¨Ð໚¹ÍÒ¤Ò÷Õ่໚¹àÅÔÈ´ŒÒ¹¡ÒûÃÐËÂÑ´ ¾Åѧ§Ò¹ áÅÐ໚¹Èٹ ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ´Œ ÒŒ ¹¡ÒÃ͹ØÃ¡Ñ É ¾Åѧ§Ò¹ ¢Í§ÀÒ¤¡ÅÒ§

54

July 2015

นอกจากนี้ไดทําปายประชาสัมพันธนโยบายฯ ติดตามจุดตาง ๆ ภายในโรงพยาบาลใหเจาหนาทีท่ กุ หนวยงานไดรบั ทราบและถือปฏิบตั ิ อยางเครงครัด เพือ่ เปนการติดตามผลการดําเนินโครงการอยางใกลชดิ ได กํ า หนดให มี ก ารประชุ ม เพื่ อ ติ ด ตามความก า วหน า โดยท า น ผูอํานวยการฯจะรวมเปนประธานการประชุม โดยคณะกรรมการดาน การอนุรักษพลังงานจะรายงานผลการอนุรักษพลังงานและผลการ ดําเนินการทุกเดือน ใหความสําคัญเทียบเทากับการประชุมกรรมการ บริหารโรงพยาบาลฯ อีกทั้งไดลงพื้นที่ติดตามการปฏิบัติงานตาม มาตรการอนุรักษพลังงานตามหนวยงานตาง ๆ อยางตอเนื่อง

ทานผูอํานวยการฯ ประกาศนโยบายดานอนุรักษพลังงานฯ ในการอบรมการอนุรักษพลังงาน สําหรับบุคลากร โรงพยาบาลเจาพระยายมราช


1

3

การมีสว นรวม

การอนุรักษพลังงานของโรงพยาบาลฯมุงเนนการมีสวนรวมของ เจาหนาทีท่ กุ ระดับตัง้ แตผบู ริหารสูงสุดถึงระดับปฏิบตั กิ าร เพือ่ ใหเกิด การปฏิบตั อิ ยางเปนรูปธรรมและยัง่ ยืน จึงไดมกี ารจัดกิจกรรมสงเสริม การอนุรกั ษพลังงานตาง ๆ เกิดขึน้ มามากมายเพือ่ ใหทกุ คนไดมสี ว นรวม โดยเฉพาะอยางยิง่ กิจกรรมอบรมสรางจิตสํานึกการอนุรกั ษพลังงาน จนเกิดแนวรวมที่จะชวยกันอนุรักษพลังงานในหลาย ๆ ภาคสวน ทัง้ แพทย ทันตแพทย เภสัชกร พยาบาล เจาหนาที่ ชาง รปภ. แมบา น จึงไดมกี ารเปดรับสมัครแนวรวมและแตงตัง้ เปน สส.พลังงาน ซึง่ เปน แกนนํารับผิดชอบการอนุรกั ษพลังงานในแตละพืน้ ที่ มีหนาทีส่ อดสอง ดูแลการใชพลังงานตามมาตรการทีไ่ ดกาํ หนด และประสานงานความ รวมมือกับเจาหนาที่ในหนวยงานใหเกิดการกระตุนเตือน และการ ปฏิบตั ใิ หเปนวัฒนธรรมการอนุรกั ษพลังงานในหนวยงาน ไดจาํ นวน 360 คน อีกทัง้ เปนแนวรวมสนับสนุนในการทํากิจกรรมสงเสริมการ อนุรกั ษพลังงานตาง ๆ ซึง่ ไดรบั การตอบรับเขารวมกิจกรรมเปนอยางดี อี ก ทั้ ง มี ก ารให เจ า หน า ที่ ร  ว มประเมิ น การจั ด การพลั ง งานของ โรงพยาบาลฯ (Energy Management Matrix : EMM) และรวมเสนอแนะ สิ่งที่เปนประโยชนตอการพัฒนาการอนุรักษพลังงานใหดียิ่งขึ้น

2

4

รูปที่ 1 ประชาสัมพันธความมุงมั่น ของผูบริหารฯ รูปที่ 2 ทานผูอํานวยการฯ ลงพื้นที่ ติดตามการอนุรักษพลังงาน รูปที่ 3 อบรมสรางจิตสํานึกการ อนุรักษพลังงาน รูปที่ 4 นําเสนอผลงานอนุรักษ พลังงานจากทุกหนวยงาน

ความยั่งยืนที่สําคัญคือการสรางระบบที่ทุกคนใน องคกรมีสวนรวม และระบบที่เรานํามาใชในการ บริหารการจัดการพลังงานมีดว ยกัน 8 ขัน้ ตอน มีดงั นี้

1. การกําหนดโครงสรางการจัดการพลังงาน 2. การประเมินสถานะเบื้องตน 3. การกําหนดนโยบายและการประชาสัมพันธ 4. การประเมินศักยภาพการอนุรักษพลังงาน 5. กําหนดเปาหมายและแผนอนุรกั ษพลังงาน รวมทัง้ แผนฝกอบรม 6. ดําเนินการตามแผนฯและตรวจสอบวิเคราะหการปฏิบตั ิตาม เปาหมายและแผน 7. ตรวจติดตามประเมินระบบการจัดการพลังงาน 8. การทบทวนผลการดําเนินการ โดยแตละขัน้ ตอนมีรายละเอียด ที่แตกตางกันและมีความสําคัญทุกขั้นตอนซึ่งจะตองดําเนิน การใหสอดคลองกันในการปฏิบัติงาน

การปฏิบตั โิ ดยสมัครใจ

นอกเหนือจากการปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารสงเสริมการอนุรกั ษ พลังงาน พ.ศ. 2535 (แกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2550) แลวนัน้ ดวยความ มุง มัน่ ทีจ่ ะทําใหเกิดการอนุรกั ษพลังงานอยางยัง่ ยืนเกิดเปนรูปธรรมกับ สังคมและประเทศชาติ จึงไดมีการจัดประชาสัมพันธเผยแพรการ อนุรักษพลังงานสูภายนอกผานกิจกรรมตาง ๆ ของโรงพยาบาล การเสวนาแลกเปลีย่ นเรียนรูป ระสบการณอนุรกั ษพลังงาน โดยรวมกับ กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน พลังงานจังหวัด สุพรรณบุรี และการสรางเครือขายดานการอนุรักษพลังงานภายใน จังหวัดสุพรรณบุรี โดยการเปนพีเ่ ลีย้ งใหกบั องคกรตาง ๆ เปนตน July 2015 55


Building Management

Energy Management สําหรับอาคารเขียว อาคารเขียวกับการอนุรกั ษพลังงานเปนสิง่ ทีย่ ดึ ติดกันอยางเหนียวแนน เพราะจุดเริ่มตนของอาคารเขียวสวนหนึ่งคือ การบรรเทาปญหา จากการปลอยกาซเรือนกระจกของกิจกรรมที่ใชพลังงานของมนุษย เชน การใชพลังงานไฟฟาจากอาคาร ซึ่งอาคารที่ตั้งอยูในที่ตาง ๆ จะมี รู ป แบบการใช พ ลั ง งานแตกต า งกั น ตามสภาพอากาศและ มาตรการการประหยัดพลังงาน อาคารในเขตเมืองหนาวตองใช พลังงานเพื่อทําความอบอุน (Heating) ใหแกพื้นที่ภายในมากก็จะ พยายามออกแบบใหรับแดดมาก ๆ เพื่อประหยัดพลังงาน ในขณะ ที่ อ าคารเมื อ งร อ นต อ งใช พ ลั ง งานไฟฟ า เพื่ อ ทํ า ความเย็ น มาก จึงออกแบบใหมีการบังแดด มีการวางทิศทางหลบแดด เพื่อไมให อาคารรอนจนเปลืองพลังงาน นอกจากนี้การใชไฟฟาแสงสวาง และเครื่องใชไฟฟาตาง ๆ เปนปจจัยสําคัญของการใชพลังงานของ อาคารธุรกิจปจจุบันมีการคาดการณวาจะมีอาคารพาณิชยกรรม เกิดขึ้นในกรุงเทพมากกวา 10 ลานตารางเมตร ภายในสิบปขางหนา และอาคารทีจ่ ะเกิดขึน้ ก็คงจะหลีกหนีไมพน ทีจ่ ะตองเปนอาคารเขียว ดังนั้นจึงเกิดการพัฒนาวัสดุและเทคโนโลยีที่ชวยประหยัดพลังงาน มากมายเพื่อเจาะกลุมเปาหมายของอาคารเขียว

56

July 2015


อย่างไรก็ดี ช่วงการออกแบบอาคารให้เป็นอาคารประหยัดพลังงาน ยังถือว่า เป็นเพียงส่วนหนึ่งของช่วงชีวิตอาคาร (Building Life Cycle) การจะเป็น อาคารประหยัดพลังงานตามแนวทางอาคารเขียวได้นั้น จะครอบคลุมไปถึง กระบวนการก่อสร้างให้ได้ประสิทธิภาพตามที่ออกแบบไว้ ซึ่งจะต้องมีการ ตรวจสอบการติดตั้ง และทดสอบเพื่อประกันประสิทธิภาพการประหยัด พลังงาน หรือเรียกว่า Commissioning ซึง่ หมายถึง “The process of verifying and documenting that the facility and all of its systems and assemblies are planned, designed, installed, tested, operated, and maintained to meet Owner’s Project Requirements” หรือ “กระบวนการทวนสอบและบันทึกว่า อาคารและระบบที่เกี่ยวข้องรวมทั้งชิ้นส่วนต่าง ๆ ได้ถูกวางแผน ออกแบบ ติดตั้ง ทดสอบ ใช้งาน และบ�ารุงรักษาตามที่เจ้าของอาคารต้องการให้เป็น ตั้งแต่ต้น” ซึ่งเจ้าของอาคารก็ต้องการให้อาคารเป็นอาคารประหยัดพลังงาน ดังนั้นกระบวนการทั้งหมดก็ต้องถูกท�าขึ้นเพื่อให้ได้อาคารประหยัดพลังงาน หลังจากทีอ่ าคารได้รบั การออกแบบ ก่อสร้าง และทดสอบจนเป็นทีแ่ น่ชดั แล้ว ว่าสามารถเป็นอาคารประหยัดพลังงานได้ตามมาตรฐาน สิง่ ทีต่ อ้ งด�าเนินการ ต่อไปคือ “การตรวจวัดและพิสูจน์ผล” หรือ Measurement & Verification (M&V) ซึง่ อาคารเขียวจะต้องวางแผนตัง้ แต่ตน้ ในขณะออกแบบเลยว่า จะตรวจวัด การใช้พลังงานโดยแยกประเภทการใช้ได้อย่างไร ซึ่งหากมาตรฐานวิธีการ ตรวจวั ด (M&V Protocol) ที่ เ ลื อ กใช้ จ� า เป็ น ต้ อ งให้ ติ ด ตั้ ง มิ เ ตอร์ ย ่ อ ย การออกแบบก็ต้องมีมิเตอร์ไฟให้พร้อม สถาปนิกก็ต้องออกแบบพื้นที่ห้อง ไฟฟ้าให้มีขนาดใหญ่เพียงพอ โดยเฉพาะในอาคารที่มีพื้นที่ให้เช่าที่ต้องท�า การแยกมิเตอร์เก็บค่าไฟของแต่ละผู้เช่า ยิ่งต้องมีมิเตอร์หลายชุด ทั้งนี้ จุดประสงค์ของงาน M&V จะมี 2 ข้อ ข้อแรก เพื่อประเมินผลว่าการออกแบบ อาคารประหยัดพลังงานที่ต้องการ เมื่อสร้างแล้วเสร็จเปิดใช้งานจริงสามารถ ประหยัดพลังงานได้จริง ๆ และข้อสอง เพือ่ ช่วยให้การบริหารจัดการพลังงาน สามารถท�าได้สะดวกขึน้ ผูจ้ ดั การพลังงานสามารถเข้าใจรูปแบบการใช้พลังงาน ของอาคารทีต่ นดูแล และสามารถประมาณการณ์ได้ลว่ งหน้าว่าจะเกิดอะไรขึน้ หากอาคารมีการปรับเปลี่ยนตารางการใช้งาน หรือมีการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ ประกอบอาคาร นอกเหนือไปจากขัน้ ตอนทีต่ อ้ งด�าเนินการดังกล่าวแล้ว อาคารเขียวจะก�าหนด ให้ท�า On-going Commissioning หรือ Continuous Commissioning ด้วย ซึ่งคล้ายกับการบ�ารุงรักษาเชิงป้องกัน หรือ Preventive Maintenance (PM) ที่อาคารที่มีการดู แลรั กษาที่ ดีจะต้ อ งท� า แต่ขอบเขตของงาน On-going Commissioning จะมากกว่าการตรวจดูแลระบบอาคารต่าง ๆ ให้ใช้งานได้ดี สม�่าเสมอ แต่จะตรวจวัดวิเคราะห์ผลไปถึงว่าระบบต่าง ๆ ท�างานได้ประหยัด พลังงานตามที่ได้ออกแบบติดตั้งไว้ตั้งแต่ต้นอยู่ตลอดเวลาหรือไม่ ซึ่งหากท�า ได้ตามขั้นตอนของ On-going Commissioning ตลอดเวลา ประสิทธิภาพการ ใช้พลังงานของอาคารและระบบอาคารก็จะคงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน และความจ�าเป็น ที่จะต้องปรับเปลี่ยนระบบหรืออัพเกรดอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นให้ อาคารทันสมัยก็จะน้อยลง เป็นการขยายอายุการท�างานของอาคารให้ยนื ยาว ขึ้นอีกด้วย July 2015 57


Green Logistics

กับการจัดการซัพพลายเชน ในกระบวนกำรจัดกำรซัพพลำยเช่นนั้น สำรสนเทศนับว่ำเป็นสำเหตุหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เกิด กำรสะดุด เพรำะว่ำหลำยองค์กรอยำกน�ำ ไปใช้ แต่ไม่สำมำรถด�ำเนินกำรได้ เนือ่ งจำก ข้อมูลทีส่ ง่ มำไม่เชือ่ มต่อกัน เช่น รับข้อมูล ใบสั่งซื้อมำเป็น EDI แต่ข้อมูล EDI ไม่ สำมำรถน� ำ ไปใช้ ป ระโยชน์ อ ะไรได้ เ ลย กลั บ กลำยเป็ น ว่ ำ จะต้ อ งพิ ม พ์ เ อกสำร ออกมำ แล้วมำนัง่ คียก์ นั ใหม่อกี รอบ หรือ ปรำกฏกำรณ์ต่ำงคนต่ำงท�ำ หวงข้อมูล เอกสำรของตน โดยไม่ยอมให้อกี ฝำยหนึง่ น�ำข้อมูลไปใช้ จึงท�ำให้ข้อมูลเหล่ำนั้นไม่ สำมำรถแปลงเป็ น สำรสนเทศน� ำ ไปใช้ ประโยชน์ในองค์กรธุรกิจเป็นลักษณะกำร สื่อสำรแบบวงกลมได้

58

July 2015

อีกประกำรหนึ่งข้อบ่งชี้บอกอำกำรของโรคซัพพลำยเชนที่มีก�ำลังมีปัญหำ ไม่ว่ำจะเป็น กำรเก็บสินค้ำคงคลังที่สูง สินค้ำขำดสต็อก ต้นทุนกำรด�ำเนินกำรเพิ่มสูงขึ้น ระบบกำร จัดเก็บไม่มีประสิทธิภำพ กำรคีย์ข้อมูลมีกำรใช้เวลำเพิ่มมำกขึ้น พนักงำนขำดควำมรู้ด้ำน มำตรฐำน สินค้ำหมดหรือล้ำสมัยไปแล้ว มีกำรเสียหำยระหว่ำงกำรขนส่ง ประสิทธิภำพ ในกำรคำดคะเนกำรขำยอยู่ในระดับต�่ำ และระดับกำรให้บริกำรที่ไม่มีควำมสม�่ำเสมอ ส�ำหรับหลักกำรเบื้องต้นของกำรจัดกำรซัพพลำยเชน เป็นกำรใช้ระบบสื่อสำรสมัยใหม่ เป็นตัวขับเคลื่อนกำรไหลเวียนของสินค้ำ/บริกำร เพื่อลดระยะเวลำให้สั้นที่สุด รวมทั้ง พยำยำมลดสินค้ำคงคลังร่วมกันทุกคู่ค้ำให้น้อยที่สุด และบริกำรได้รวดเร็ว ส่งผลให้เกิด คุณภำพและคุณค่ำกับลูกค้ำคนสุดท้ำย (End User) ท�ำไมต้องมีกำรเชื่อมโยงข้อมูล ในซัพพลำยเชน เหตุผลก็คือ ช่วยลดต้นทุนปฏิบัติกำร เพิ่มระดับกำรบริกำรแก่ลูกค้ำ ลดเวลำน�ำส่งสินค้ำ (Lead Time) เพิ่มโอกำสในกำรท�ำก�ำไร ยกระดับคุณภำพสินค้ำและ บริกำร รวมทัง้ เป็นกำรบูรณำกำรเทคโนโลยีในซัพพลำยเชนให้เกิดประโยชน์ ประสิทธิภำพ และประสิทธิผลสูงสุด อย่ำงไรก็ดี เทคโนโลยีที่หลำยองค์กรธุรกิจเริ่มน�ำมำใช้ในกำรจัดกำรซัพพลำยเชนที่ถือว่ำ เป็นดำวรุ่งขณะนี้ ก็คือ RFID แล้ว RFID คืออะไร ค�ำตอบก็คือ RFID (Radio Frequency Identification) หรือทีเ่ รียกว่ำ เทคโนโลยีกำรระบุสนิ ค้ำด้วยคลืน่ ควำมถีว่ ทิ ยุ เป็นเครือ่ งมือ ที่สำมำรถเพิ่มควำมถูกต้อง ควำมรวดเร็วในกำรจัดกำรข้อมูล และสำมำรถติดตำมกำร เคลื่อนที่ของสินค้ำได้อย่ำงเป็นปัจจุบัน ( Real-time)


RFID ประกอบด้วย ส่วนส�ำคัญ 3 ส่วน คือ IC Chip เก็บข้อมูลเพื่อระบุหน่วยสินค้ำที่ tag ติดอยู่ Antenna ท�ำหน้ำที่รับและสะท้อนคลื่นวิทยุกลับไปยังเครื่องอ่ำนพร้อมกับข้อมูล ที่บันทึกอยู่ในไมโครชิพกลับไปยังเครื่องอ่ำน และ Substrate ห่อหุ้มและปกป้อง chip และ antenna ซึ่งใช้ติดกับหน่วยสินค้ำ จุดเด่นของ RFID มีอยู่หลำยประกำร อำทิ อ่ำน/เขียนโดย ไม่ต้องสัมผัส อ่ำนได้อย่ำงสะดวกรวดเร็ว อ่ำนได้ระยะไกลพร้อม ๆ กัน อ่ำนโดยไม่ต้องเห็น ตัว RFID ซึ่งสำมำรถทะลุทะลวงสิ่งกีดขวำงได้ อ่ำนในสภำพแวดล้อมที่คนอยู่ไม่ได้ มีควำม ปลอดภัยสูง มีหน่วยควำมจ�ำขนำดใหญ่ อ่ำนได้ขณะที่วัตถุก�ำลังเคลื่อนไหว และสำมำรถน�ำ Tag กลับมำใช้งำนใหม่ได้ กรณีศึกษำ RFID ของ เบทำโก ที่น�ำเทคโนโลยี RFID มำใช้ในอุตสำหกรรมด้ำน Food ซึ่งเรียกว่ำ e-Traceability เป็นระบบกำรตรวจสอบย้อนกลับทำงอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้ บริโภคสำมำรถทรำบแหล่งทีม่ ำของผลิตภัณฑ์ได้ เริม่ ตัง้ แต่กำรน�ำสุกรจำกฟำร์มเข้ำสูโ่ รงงำน ช�ำแหละ ซึ่งจะมี RFID Tag จำกนั้นเข้ำสู่กระบวนกำรผลิตแปรรูปโดยมีกำรติด Tag ในตระกร้ำ ผ่ำนไปจนถึงแพ็ค ขั้นตอนสุดท้ำยจะถูกเปลี่ยนเป็นบำร์โค้ด และคิวอำร์โค้ด และกระจำยต่อไปยังซูเปอร์มำร์เก็ต โดยผู้บริโภคสำมำรถติดตำมตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับ

Reader or Interrogator

Antenna Tag or Transponder

จำกผลิตภัณฑ์ดังกล่ำวว่ำมำจำกฟำร์มไหน ถูกช�ำแหละเมื่อใด เป็นต้น โดยใช้ควำม พยำยำมตัง้ แต่ ปี ค.ศ. 2003 ซึง่ กว่ำจะส�ำเร็จ เป็นรูปเป็นร่ำงที่ชัดเจนก็ในปี ค.ศ. 2015 นับว่ำเป็นควำมก้ำวหน้ำในอุตสำหกรรม อำหำรอีกก้ำวหนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดควำมสำมำรถ ทำงกำรแข่งขันในตลำดโลก อย่ำงไรก็ดี หำกถำมถึงควำมคุ้มค่ำในกำร น�ำ RFID มำใช้งำน ว่ำควรน�ำมำใช้เมื่อใด ค�ำตอบก็คอื ถ้ำบริษทั มีปญ ั หำมำก ก็ควรวำง ระบบและน�ำเทคโนโลยี RFID มำใช้ แต่ถ้ำ บริ ษั ท มี ร ะบบเทคโนโลยี เ ดิ ม ที่ ดี อ ยู ่ แ ล้ ว ก็ลองพิจำรณำดูว่ำปรำกฏ Human Error เกิดขึ้นบ่อยครั้ง เพียงใด ดัง นั้น กำรน�ำ เทคโนโลยี RFID มำใช้ในกำรแก้ไขปัญหำ น่ำจะเป็นเรื่องที่ดีกว่ำ ซึ่ง ผู้ประกอบกำร ยุคเศรษฐกิจดิจิตอลจะต้องสร้ำงภูมิคุ้มกัน ในกำรพัฒนำระบบกำรเพิ่มประสิทธิภำพ กำรท�ำงำนให้เพิม่ ขึน้ ควำมเป็นมืออำชีพ และ ควำมเข้มแข็งในด้ำนกำรจัดกำร เทคโนโลยี และบุคลำกร เป็นต้น

Computer

July 2015 59


O waste idea

รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นโยบายมหานครสีเขียวแบบญีป่ นุ เพื่อการลดปริมาณขยะที่ยั่งยืน

ในป จ จุ บั น ป ญ หาจากขยะมู ล ฝอยในเมื อ งใหญ ห รื อ มหานครที่ มี ป ริ ม าณเพิ่ ม มากขึ้ น เนื่องจากการเติบโตอยางรวดเร็วของเมืองและกิจกรรมตาง ๆ ภายในเมือง โดยที่ยังขาด ความพรอมดานการจัดการของเสียอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ เปนสาเหตุสําคัญ ที่กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในดานตาง ๆ ตามมาอีกมากมาย เชน ปญหากลิ่นเหม็น การปนเปอนตอคุณภาพนํ้า เปนแหลงแพรกระจายของเชื้อโรค การกอใหเกิดเหตุรําคาญ และความไมนาดู การปลดปลอยกาซมีเทน ซึ่งเปนกาซเรือนกระจกจากการฝงกลบขยะ มูลฝอยที่สงผลกระทบตอภาวะโลกรอนไดมากกวากาซคารบอนไดออกไซดถึง 21 เทา นอกจากนั้นการเผาทําลายขยะในที่โลง ซึ่งไมมีระบบควบคุมกาซหรือไอเสียจะปลอย กาซพิษที่ทําลายสุขภาพของเรา สําหรับกรณีปญหาดานขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานครในปจจุบันมีมากถึง 9,900 ตัน ตอวัน แตยังมีการเก็บขนขยะมูลฝอยไดประมาณ รอยละ 63 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ย ของเมืองใหญอื่น ๆ ในทวีปเอเชีย (จํานวน 22 เมือง) ซึ่งมีการเก็บขนขยะมูลฝอยไดถึง รอยละ 83 และจากขอมูลของ สํานักรักษาความสะอาดกรุงเทพมหานคร พบวา ขยะ มูลฝอยที่กรุงเทพมหานครเก็บรวบรวมได ประกอบดวย เศษอาหาร ใบไม กิ่งไม มากกวา รอยละ 30 วัสดุรีไซเคิลประมาณ 20% ที่เหลือเปนขยะทั่วไป รวมทั้งขยะอันตรายจากชุมชน ซึ่งจากองคประกอบดังกลาวชี้ใ ห เ ห็ นวา ถามีการคัดแยกอยางมีประสิทธิภาพก็จะสามารถ นํามาใชประโยชนไดมากถึง 30-40% ทั้งยังเปนการชวยลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะไป ฝงกลบและลดปญหาโลกรอนจากการฝงกลบขยะมูลฝอยอีกดวย ปจจุบันกรุงเทพมหานคร จัดเก็บคาขยะบานกวาลานครัวเรือนหลังละ 20 บาท แตเก็บไดแตละปแค 100 กวาลานบาท เทานั้น คางจาย 40-50% เนื่องจากมาตรการจัดการกับผูฝาฝนไมเฉียบขาดพอ และยังใชวิธี กําจัดขยะแบบโบราณคือฝงกลบ โดยการจางผูรับเหมาไปฝงกลบในตางจังหวัด อาทิ ฉะเชิงเทรา นครปฐม สวนเตาเผาขยะไฟฟาแหงแรกที่หนองแขมจะแลวเสร็จปลายปนี้ แตสามารถกําจัดขยะไดเพียง 300 ตันตอวันเทานั้น ซึ่งยังมีศักยภาพไมเพียงพออยาง แนนอน ดังนั้นจําเปนตองมีการสงเสริมการรณรงคลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นอยางจริงจัง 60

July 2015

เมืองสีเขียวกับแนวทางการ ลดของเสียอยางยั่งยืน เมืองสีเขียว (Green City) มีเปาหมาย ให ทุ ก ภาคส ว นในสั ง คมได มี ค วามรู  ความเขาใจในการปรับตัวในการผลิต บริโภคและการใชทรัพยากรอยางคุม คา ลดการปล อ ยของเสี ย สู  สิ่ ง แวดล อ ม โดยใชหลักการ 3Rs ในการลดการ ใช สิ่ ง ของที่ เ ป น พิ ษ ต อ สิ่ ง แวดล อ ม ลดการใชพลังงาน ลดการใชนํ้าและ ทรั พ ยากรอื่ น ๆ การใช สิ่ ง ของวั ส ดุ อุปกรณตาง ๆ อยางคุมคา กอนที่จะ ทิ้งเปนขยะและการนําของเสียกลับมา ใชใหม โดยการคัดแยกสิง่ ของทีส่ ามารถ นํากลับไปใชเขากระบวนการผลิตเปน สินคามาใชใหม โดยไมทิ้ง เปนขยะ รวมไปถึง การสรางวัฒนธรรมในการ เลือกใชสนิ คาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม

ปจจัยที่ตองพิจารณา ในการขับเคลื่อนสูแนวทาง ของเมืองสีเขียว ในการขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมของเมื อ ง เพื่อเขาสูแนวทางของเมืองสีเขียวนั้น จําเปนตองพิจารณาปจจัยตาง ๆ เพื่อ ชวยลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะสงไป กําจัดใหเหลือนอยที่สุด ดังตอไปนี้ -การสงเสริมแนวทางลดอัตราการ เกิ ด ขยะมู ล ฝอยต อ ประชากรให นอยที่สุด - การเพิ่มสัดสวนของขยะมูลฝอยที่ สามารถเก็ บ ขนได แ ละได รั บ การ กําจัดอยางถูกหลักสุขาภิบาล - นโยบายการลดของเสี ย ใช ซํ้ า และการนํ า กลั บ มาใช ใ หม ที่ มี ประสิทธิภาพ - นโยบายการเก็บขนและการกําจัด ของเสียของเมืองที่มีประสิทธิภาพ


กรณีศึกษาเมืองสีเขียวของประเทศญี่ปุน

ทิศทางใหมของการจัดการของเสียสําหรับเมืองสีเขียว สามารถสรุปเปนหลักการพื้นฐาน ดังนี้

ปจจุบันทางประเทศญี่ปุนไดมีการสงเสริมการสรางเมืองสีเขียว อยางจริงจัง เนือ่ งจากรัฐบาลญีป่ นุ ตัง้ แตสมัยของอดีตนายกรัฐมนตรี 1) หลักการปองกัน มลพิษ หลักการนี้เปนหัว ใจสําคัญ สําหรับ Junichiro Koizumi ไดมีการผลักดันใหนโยบาย 3 Rs (Reduce, กลยุทธการจัดการของเสีย การลดปริมาณและความเปนพิษของ Reuse, Recycle) ในการจัดการของเสียใหกลายเปนนโยบายของ ของเสียทีแ่ หลงกําเนิด มีการปรับปรุงกระบวนการผลิตใหสะอาดขึน้ ประเทศอยางจริงจัง และพรอมกาวสูสังคมแบบ Zero waste ทั้งนี้ (Cleaner Technology) และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม (Environmental ทางรั ฐ บาลญี่ ปุ  น ตระหนั ก ดี ถึ ง การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที่ ก  า ว friendly) รวมไปถึงการสรางแรงจูงใจใหผูบริโภคหันมาใชสินคาที่ กระโดดมากเกินไป และหากขาดการวางแผนที่ดี อาจทําใหเกิด เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การสรางตลาดสําหรับสินคาที่เปนมิตร ปญหาสิ่งแวดล อ มตามมา นอกจากนี้ท างรัฐ บาลญี่ปุนยังไดมี กับสิ่งแวดลอม การลดปริมาณบรรจุภัณฑ (Packaging) สําหรับ การประกาศใชกฎหมาย The Law for the Production of Effective สินคา Utilization of Recycled Resources ของญี่ปุน เมื่อป ค.ศ. 1991 2) หลักการ 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle) สําหรับของเสียที่ ซึ่งมีวัตถุประสงคในการปรับปรุงนโยบาย 3Rs ใหสามารถเพิ่มอัตรา เหลือจากหลักปฏิบัติการปองกันมลพิษควรสงเสริมแนวทางใน การรีไซเคิลของเสียเพื่อนํากลับวัสดุมาใชใหมใหไดมากถึง 40% การนํากลับวัสดุมาใชประโยชนใหมใหไดมากที่สุด ไดแก ของเสีย ภายในระยะเวลา ป ค.ศ. 2010 รวมไปถึงการสงเสริมบทบาทการ บรรจุภัณฑ (packaging waste) ของเสียที่เกิดจากยานพาหนะ บริโภคและการผลิตแบบยั่งยืนเพื่อลดการเกิดของเสียและมลพิษ ใชแลว (end-of-life vehicles) ของเสียประเภทแบตเตอรี่ ของเสีย สิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด การลดการปลอยกาซเรือนกระจกเพื่อลด ประเภทเครื่องใชไฟฟา (electrical and electronic waste) ปญหาโลกรอน สําหรับนโยบายการพัฒนาเมืองสีเขียวนั้น ญี่ปุนได 3) การปรั บ ปรุ ง แนวทางการกํ า จั ด ขั้ น สุ ด ท า ยและมาตรการ มีวัตถุประสงคของการพัฒนาเมืองสีเขียวในประเด็นตอไปนี้ ติดตามดานสิง่ แวดลอม สําหรับของเสียสวนทีย่ งั คงเหลือ หลังจาก 1. การสงเสริมแนวทางหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหม ผานแนวทางของหลักการปองกันมลพิษและหลักการ 3Rs แลว 2. การจัดการของเสียแบบผสมผสาน ซึ่งตองมีการกําจัดขั้นสุดทายตอไปดวยวิธีการฝงกลบหรือวิธีการ 3. การรักษานิเวศสิ่งแวดลอมแบบยั่งยืน โดยมุงเปาสูงสุดที่ Zero เผาทําลายในเตาเผาตอไปนั้น สําหรับทั้งสองวิธีนี้จําเปนตองมี waste และ Zero emission การกํากับดูแลและมีมาตรการติดตามดานสิง่ แวดลอมอยางใกลชดิ เนื่องจากอาจกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางมากและมี นัยสําคัญ ถาหากไมมีการควบคุมดูแลระบบที่ดีเพียงพอ 4) สงเสริมแนวทางการมีสว นรวมของชุมชนในการลดปริมาณขยะ การมีสวนรวมของชุมชนในการลดปริมาณขยะเปนการจัดการ ขยะที่ยั่งยืน เนื่องจากผูกอเกิดขยะมูลฝอยไดมีความตระหนักถึง ปญหาสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ มีการรวมมือกันลดการเกิดขยะมูลฝอย รูปแสดง รวมไปถึงการคัดแยกและใชประโยชนขยะมูลฝอยอยางรูคุณคา กลองรีไซเคิล แบตเตอรี่ ใชแลว

รูปแสดง ผลิตภัณฑ ปุยเม็ดที่ ผลิตจาก ขยะอินทรีย

สําหรับการลดปริมาณขยะมูลฝอยไดทุก ๆ 1 กิโลกรัม จะชวยลด การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดถึง 0.3 กิโลกรัม ดังนั้นเราควร มาชวยกันคัดแยกขยะและนําไปใชประโยชนอยางคุมคา เพื่อลด ปญหาสิ่งแวดลอมและภาวะโลกรอน ชวยบรรเทาภัยพิบัติที่อาจ เกิดขึ้น รวมทั้งเปนการพัฒนาเมืองเขาสูแนวทางของเมืองสีเขียว (Green city) ตอไป

July 2015

61


Environment Alert

วิเคราะห์การสื่อสารข่าว กับปัญหาสิ่งแวดล้อมในสังคมไทย ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มมี ม ากมายและเป็ น ประเด็นถกเถียงในสังคม จนเกิดเป็นข่าวใน สังคมวงกว้าง ในขณะที่ข่าวสารในปัจจุบันมี มากมายหลายด้าน และมีความรวดเร็วใน การสื่อสาร มีหลายช่องทางที่จะรับรู้ปัญหา หลายด้ า นถู ก หยิ บ ยกขึ้ น มาเป็ น ประเด็ น การที่ ผู ้ รั บ สารคื อ ประชาชนมี ท างเลื อ ก และจากความรวดเร็วดังกล่าว ท�าให้ต้อง วิเคราะห์และใช้วิจารณญาณในการรับสาร มากขึน้ ในทีน่ จี้ ากข้อมูลข่าวด้านสิง่ แวดล้อม การตระหนักหรือตื่นตัวกับปัญหาที่เกิดขึ้น ในสังคม เป็นประเด็นทีต่ อ้ งวิเคราะห์อย่างมาก ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ปั ญ หาที่ มี ผ ลต่ อ สั ง คม ในวงกว้างและเป็นข่าวในเชิงลบ ไม่วา่ ข่าวการ ลักลอบบุกรุกตัดไม้ ท�าลายป่า ไฟป่า การจัดการ ปั ญ หาขยะ กากของเสี ย อุ ต สาหกรรม ปัญหาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ได้รับ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากโครงการต่าง ๆ ข้ อ กั ง วลจากสื่ อ ที่ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ในเชิ ง ลบและ ข้อมูลทางวิชาการที่ต้องการความถูกต้อง ยกตัวอย่างปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ได้รับการ หยิบยกมากล่าวถึงกันมาก ได้แก่ ปัญหา ความเดือดร้อนจากผลกระทบสิ่งแวดล้อม จากการรัว่ ไหลสารเคมี ปัญหาดังกล่าวเป็นผล จากการด�าเนินการของโรงงานอุตสาหกรรม หรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การขนส่ง ขนถ่ายแล้วเกิดการรัว่ ไหล การจัดการปัญหา ทีม่ ผี ลต่อคุณภาพชีวติ และสุขภาพประชาชน ในวงกว้างและแวดวงทางวิชาการหลายแห่ง ได้พยายามชี้ให้เห็นพิษภัยของการรั่วไหล หรือผลกระทบทั้งในระยะสั้นและระยะยาว แต่สื่อเองสนใจที่จะเลือกน�าเสนอในกรอบ การจัดการปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เฉพาะหน้า แต่ไม่ ตามถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในระยะยาวหรือการ เยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบในช่วง 62

July 2015


เวลาต่อมา ทั้งนี้เป็นการเลือกน�าเสนอเพื่อกระตุ้นต่อหน่วยงานหรือการหาค�าตอบของข่าว เฉพาะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เป็นการเลือกเพื่อน�าเสนอให้สังคมรับรู้เฉพาะส่วน การอธิบาย ความเพื่อความเข้าใจต่อสถานการณ์บางส่วน จึงมีข้อเสนอต่อการพัฒนาการสื่อสารปัญหา สิ่งแวดล้อมให้กับสาธารณะ ให้กับพลเมืองของประเทศที่จะช่วยกันดูแลและร่วมมือในการ จัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1. การเฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อม การวิพากษ์ต่อนโยบายภาครัฐ ในแวดวงวิชาการ ควรน�าเสนออย่างเป็นระบบ รอบด้าน และหาค�าตอบที่ถูกต้องเหมาะสมให้กับ สังคม ที่มีผลต่อนโยบายสาธารณะของรัฐ 2. ปัญหาการวางแผนการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ ควรท�าในรูปสารคดี หรือการ น�าเสนอวิธีคิด ที่มา ตลอดจนวงจรของการวางแผนพัฒนาที่ค�านึงถึงผลกระทบ รอบด้าน อาจเป็นสารคดีเชิงข่าวที่วิเคราะห์เจาะลึกถึงวงจรการพัฒนา ทิศทาง ผลกระทบ ให้ประชาชนได้รับรู้ 3. ปัญหาการวิพากษ์การรายงานหรือการน�าเสนอข่าว ต้องมองให้รอบด้าน หรือมอง ทั้งเชิงบวกและลบ 4. ปัญหาการลักลอบทิ้งกากของเสียเป็นข่าวที่เป็นกรณีที่น่าศึกษา เพราะเป็นปัญหาที่ เกิดขึ้นซ�้าแล้วซ�้าเล่า ควรวิเคราะห์เจาะลึกวงจรปัญหาที่เกิดขึ้นและน�าเสนออย่าง เป็นระบบ ข้อก�าหนดต่าง ๆ กฎหมายที่เกี่ยวข้องที่ประชาชนควรรู้ เป็นต้น 5. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ซึ่งต้องยอมรับ ในปัจจุบันว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง อย่างสุดขั้ว เช่น อากาศที่ร้อนจัด ภัยพิบัติทางธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงที่ต้องหยิบยกมาน�าเสนออย่างเป็นรูปธรรม เข้าใจได้ โดยเฉพาะการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง สื่อควรให้ ความส�าคัญต่อการเปลีย่ นแปลง มีสารคดีหลายเรือ่ งทีแ่ สดงถึงความรูก้ ารเปลีย่ นแปลง ที่เกิดขึ้น

การที่สื่อเลือกน�าเสนอปัญหาสิ่งแวดล้อม มีการถอดบทเรียนจากกรณีผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมจากโครงการต่าง ๆ ไม่สามารถ สร้างการเปลี่ยนแปลงต่อสังคม ข้อเสนอต่อ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มในการสื่ อ สารเป็ น การ แก้ไขปัญหาระยะสั้น ทั้งที่มีมุมมองวิชาการ ต่าง ๆ ที่ถ่ายทอดออกมาจากการวิเคราะห์ วิ ธี ก ารน� า เสนอข่ า วเป็ น การสร้ า งความ ตระหนกมากกว่ า การตระหนั ก ในปั ญ หา ผลจึงเป็นแค่กระตุน้ ให้หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ออกมาแก้ตัวหรือแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การวิเคราะห์สอื่ ในปัจจุบนั คือ การน�าเสนอ ข้อมูลข่าวสารทีร่ อบด้าน การสะท้อนปัญหา ที่เกิดขึ้นอย่างแท้จริง การน�าข้อเสนอแนะ ทางวิชาการไปจัดการแก้ไขอย่างยั่งยืนและ เป็ น รู ป ธรรมทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว ยกระดับคุณภาพข่าวด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้อง ได้รับการแก้ไขและป้องกันอย่างจริงจัง มอง ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและให้ค�า ตอบกับสังคมในทุกปัญหาและรอบด้าน

6. ปัญหาเหตุเดือดร้อนร�าคาญจากกิจกรรมต่าง ๆ การร้องเรียนที่เกิดขึ้น ควรให้ความ ส�าคัญต่อการเกิดปัญหา ประชาชนควรต้องได้รับค�าตอบถึงแนวทาง ขั้นตอนการ จัดการปัญหานั้น

July 2015 63


Energy Focus

คุณรุ ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู ้อํานวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุ ตสาหกรรม

หลักสูตรพลังงานสําหรับผูบริหาร

“พลังงาน” เปนสิง่ สําคัญในการขับเคลือ่ นภาคธุรกิจและภาคการผลิต ของประเทศ ดังนั้นการใหความสําคัญในดานการบริหารจัดการ พลังงาน สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน และการนําพลังงานมาใชอยาง มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนที่มี ศักยภาพ จึงมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับผูบริหารทั้งหนวยงาน ภาครัฐและภาคเอกชน สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ จึงมีแนวคิดที่ จะพัฒนาหลักสูตรการอบรมดานพลังงานใหกับผูประกอบการภาค อุตสาหกรรมซึ่งเปนภาคที่มีการใชพลังงานสูงสุด และหนวยงานที่ เกีย่ วของดานพลังงาน เพือ่ เปนการสงเสริมความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง ถึงความสําคัญของพลังงาน ตลอดจนสถานการณดานพลังงาน ทั้งในประเทศและในระดับสากล รวมถึงแนวโนมทางธุรกิจพลังงาน ของประเทศ อุปสรรค และโอกาสของการดําเนินธุรกิจดานพลังงาน เพื่อเปนการสรางเครือขายดานพลังงาน การสงเสริมและสนับสนุน พัฒนาเครือขายในระดับผูบ ริหารดานพลังงาน ใหสามารถแลกเปลีย่ น ความรู และสนับสนุนเชื่อมโยงทางธุรกิจพลังงานในอนาคต

วัตถุประสงค

• รวมเสริมสรางความรูความเขาใจที่ถูกตองถึงความสําคัญของ พลังงาน พรอมทั้งถายทอดประสบการณดานพลังงานจากผูมี ประสบการณใหกับผูบริหารในภาคอุตสาหกรรม • เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจถึงสถานการณพลังงานโลก และแนวโนมดานพลังงานของประเทศ ตลอดจนอุปสรรคและ โอกาส • เพือ่ เสริมสรางความรูค วามเขาใจถึงแนวโนมของธุรกิจพลังงาน เพื่อนํามาพัฒนาแผนการดําเนินงานทางธุรกิจ • เพื่อสรางเครือขายดานพลังงาน แลกเปลี่ยน สงเสริมและ สนับสนุนชวยเหลือกัน

64

July 2015

โดยมีเนื้อหารายละเอียดหลักสูตร ประกอบดวย 3 หมวด ซึ่งแตละ หมวดมีขอบเขตเนื้อหาที่เหมาะสําหรับผูบริหาร ดังตอไปนี้

หมวดที่ 1 : ภาพรวมดานพลังงาน

• สถานการณพลังงานโลก ทิศทางของพลังงานไทยและการจัดหา เชื้อเพลิง (นํ้ามัน ถานหิน กาซ) • แผนพลังงานหลักของประเทศไทย (PDP/EEDP/AEDP) • กฎระเบียบ ขอบังคับ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจดานพลังงาน • การสงเสริมและสนับสนุนนโยบายดานพลังงานจากภาครัฐ

หมวดที่ 2 : นวัตกรรม เทคโนโลยีดา นพลังงาน และ การจัดการพลังงาน

• นวัตกรรมพลังงาน และเทคโนโลยีดานพลังงาน • การจัดการพลังงานเพือ่ การใชทคี่ มุ คาและการพัฒนาอยางยัง่ ยืน • โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid)

หมวดที่ 3 : ธุรกิจและความรวมมือดานพลังงาน

• การดําเนินธุรกิจดานพลังงานทดแทน • การพั ฒ นาและความร ว มมื อ ระหว า งภาครั ฐ และเอกชน ดานพลังงาน

รูปแบบการอบรม

กระบวนการอบรมของหลักสูตรจะมุงเนนใหความรูดานการบริหาร จัดการและพัฒนาดานพลังงาน มีการเรียนรูท หี่ ลากหลาย ทัง้ จากการ บรรยายโดยวิทยากร ผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวุฒิจากภาครัฐและ เอกชน การระดมสมอง การใหขอมูล การแลกเปลี่ยนประสบการณ และกิจกรรมกลุมรวมกัน รวมทั้งการศึกษาดูงานดานพลังงานจาก สถานที่จริง


ระยะเวลาและกําหนดการอบรม : ระหวางวันที่ 4 กันยายน – 27 พฤศจิกายน 2558 • ระดมสมองและแลกเปลี่ยนประสบการณ ในทุกวันศุกร เวลา 13.00-17.00 น. จํานวน 10 ครั้ง (สัปดาหละ 1 ครั้ง) • การดูงาน แบงเปน (1) การดูงานในประเทศ จํานวน 1 ครั้ง (2 วัน 1 คืน) (2) การดูงานตางประเทศ จํานวน 1 ครั้ง (5-7 วัน) (ไมบังคับ)

คุณสมบัติผูเขาอบรม

• เปนผูบริหารและผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมหรือธุรกิจดานพลังงาน • เปนผูบริหารของภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของในดานพลังงาน • เปนผูใ หความสําคัญดานพลังงานและสามารถเขารวมอบรมและรวมกิจกรรมในเวลาที่ กําหนดได

สถานที่อบรม

• หอง Boardroom 1 ชั้น 3 โซน C ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์* เลขที่ 60 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 *หมายเหตุ : สถานที่การอบรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

สถานที่ดูงาน

• ในประเทศ : โรงงานที่ไดรับรางวัล Thailand Energy Award, LNG Terminal และ โรงกลั่นนํ้ามัน • ตางประเทศ : เยี่ยมชมงานนิทรรศการ Smart Energy Japan และศึกษาดูงานดานการ อนุรักษพลังงาน /พลังงานทดแทนในโรงงาน ณ ประเทศญี่ปุน

ผมมัน่ ใจวาหลักสูตรพลังงานสําหรับ ผูบ ริหารนี้ จะเปนประโยชนอยางมากแก ผูป ระกอบการภาคอุตสาหกรรม รวมถึง หนวยงานทีเ่ กีย่ วของดานพลังงานของ ประเทศ เนือ่ งจากการพัฒนาหลักสูตร ดั ง กล า วได รั บ ความร ว มมื อ และการ สนับสนุนอยางดียงิ่ จากหนวยงานหลัก ทีเ่ กีย่ วของดานพลังงาน อาทิ กระทรวง พลังงาน คณะกรรมการกํากับกิจการ พลั ง งาน การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมภิ าค และ ปตท. เปนตน เพราะนอกจากขอมูล ความรู  ที่ ไ ด รั บ แล ว การแลกเปลี่ ย น ประสบการณระหวางกัน รวมถึงการสราง เครือขายดานพลังงานจะเปนประโยชน โดยตรงตอผูเ ขารวมหลักสูตรแลว ยังเปน ประโยชนโดยรวมตอประเทศชาติใน ดานพลังงานอีกดวย

การสําเร็จหลักสูตร

• เขารวมกิจกรรมตลอดหลักสูตรไมนอ ยกวา รอยละ 80 ของเวลาทัง้ หมด • มีสวนรวมในการนําเสนอโครงการฯ กิจกรรม workshop • มีสวนรวมในกิจกรรมดูงานตามที่กําหนดไว

คาธรรมเนียมการอบรม

• สมาชิกสภาอุตสาหกรรม /ภาครัฐ /รัฐวิสาหกิจ 59,000 บาทตอทาน* • บุคคลทั่วไป 74,000 บาทตอทาน*

*ราคารวมภาษีมลู คาเพิม่ /การศึกษาดูงานในประเทศ จํานวน 1 ครั้ง /เสื้อ Jacket /เสื้อ POLO/ กระเปา เอกสารหลักสูตร แตไมรวมคาศึกษาดูงานตางประเทศ (ไมบังคับ) ซึ่งอาจมีคาใชจายเพิ่มเติม โดยหลักสูตรนี้จะประกาศรับสมัครตั้งแต 15 มิถุนายน ถึง 31 กรกฎาคม 2558 และจะประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์ เข า ร ว มหลั ก สู ต รฯ ภายในวั น ที่ 17 สิ ง หาคม 2558 (รั บ จํ า นวนจํ า กั ด ) สนใจสอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ไดที่ โทรศัพท : 0-2345-1247-48 โทรสาร : 0-2345-1258, 0-2229-4283 E-mail : Ratchanee.iie@gmail.com, Nattawanp@ off.fti.or.th หรือ ดาวนโหลดใบสมัครและรายละเอียดหลักสูตรฯ ไดที่ www.iie.or.th July 2015 65


Greenhouse Gas Management

ผูน้ ำ� G7 ชี้ ‘Auf Wiedersehen’ to Fossil Fuels

เปิดผนึกเจตจ�ำนงแก้ไขปัญหำโลกร้อนหลังปี ค.ศ. 2020 วันนีด้ ฉิ นั มีขา่ วทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับผลประชุมสุดยอดของผูน้ า� กลุม่ ประเทศอุตสาหกรรมชัน้ น�า ของโลก 7 ประเทศ หรือ กลุม่ G7 ซึง่ ได้บรรจุเรือ่ งการแก้ปญ ั หาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เป็นหนึ่งในประเด็นส�าคัญของแถลงการณ์ร่วม Leaders’ Declaration ที่ได้ตกลงกันมาเล่า ให้ท่านผู้อ่านฟังค่ะ กลุม่ ประเทศอุตสาหกรรมชัน้ น�าของโลก มีสมาชิก 7 ประเทศ ประกอบด้วย แคนาดา ฝรัง่ เศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ได้จัดประชุม สุดยอด G7 Summit สมัยที่ 41 ขึ้น เมื่อวันที่ 7–8 มิถุนายน 2558 ณ ปราสาทเอลโม (Schloss Elmau) ตั้งอยู่บนเชิงเขาอันสวยงานแห่งแคว้นบาวาเรีย เยอรมนี

กลุม่ ผูน้ า� โลกทีเ่ ข้าร่วมประชุมดังกล่าว ได้แก่ ประธานาธิบดี บารัค โอบามา แห่งสหรัฐ อเมริกา ประธานาธิบดี ฟรังซัวส์ ออลลองด์ แห่งฝรัง่ เศส นายชินโสะ อาเบะ นายกรัฐมนตรี ญี่ปุ่น นายเดวิด แคเมรอน นายกรัฐมนตรี สหราชอาณาจักร นายสตีเฟ่น ฮาร์เปอร์ นายกรัฐมนตรีแคนาดา นายมัตเทโอ เรนซี นายกรัฐมนตรีอติ าลี นายโดนัลด์ ทัสค์ ประธาน สหภาพยุโรป และ นางแองเกอล่า แมร์เคล นายกรัฐมนตรีเยอรมนี เข้าร่วมในฐานะ เจ้าภาพสมาชิก รวมทั้งผู้น�าที่ได้รับเชิญเป็น ผู้สังเกตการณ์อีกจ�านวนหนึ่ง ผลการประชุมสุดยอดครั้งนี้ กลุ่มผู้น�าได้ รับรองแถลงการณ์ร่วม โดยมีประเด็นหลัก หลายเรือ่ ง อาทิ เศรษฐกิจโลก การค้า วิกฤต ยูเครน ปัญหาก่อการร้าย ป้องกันการแพร่ ระบาดของเชือ้ อีโบลา ความมัน่ คงทางอาหาร วาระการพัฒนาหลังปี 2558 และที่ส�าคัญ คื อ ได้ มี ก ารรั บ รองเรื่ อ งการเปลี่ ย นแปลง

66

July 2015


Special report สภาพภูมิอากาศ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม อยู่ในหน้า 12 – 13 จากเอกสารทั้งหมด 17 หน้า ประเด็นทีน่ า่ สนใจกล่าวถึงคือ ได้มี การระบุถงึ ความตัง้ ใจทีจ่ ะรับรองข้อตกลงใหม่ ของโลก ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่า ด้ ว ยการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศใน การประชุมรัฐภาคี สมัยที่ 21 (COP21) ใน เดือนธันวาคม 2558 ณ กรุงปารีส ฝรั่งเศส ที่จะมีผลผูกพันทางกฎหมายกับทุกรัฐภาคี กลุ่มผู้น�า G7 มองว่า ข้อตกลงฉบับใหม่ของ โลกจะน�าไปสู่การก�าหนดเป้าหมายที่ชัดเจน ของการด�าเนินงานหลังปี 2020 และเสริมสร้าง ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ในการติดตาม ประเมินผลความส�าเร็จ การบรรลุเป้าหมาย ดังกล่าว รวมทั้งมุ่งหน้าให้เกิด “การพัฒนา แบบคาร์บอนต�่า-ปรับตัวต่อผลกระทบ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” ในทุก ประเทศ ซึง่ เป็นทิศทางทีส่ นับสนุนการบรรลุ เป้ า หมายโลกในการควบคุ ม อุ ณ หภู มิ เฉลี่ ย โลก มิ ใ ห้ เ พิ่ ม ขึ้ น เกิ น 2 องศา แถลงการณ์ร่วม G7 ระบุว่า “โลกต้องการ การลดก๊ า ซเรื อ นกระจกลงอย่ า งมาก (Deep cuts) ด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจโลก โดยไม่พึ่งพาคาร์บอน ภายในสิ้นศตวรรษ” รวมถึงระบุว่า ความท้าทายนี้จะสามารถ บรรลุผลได้ โดยความพยายามของประเทศ ต่าง ๆ ในโลก

กลุม่ ผูน้ า� G7 จะสนับสนุน การลดก๊าซเรือนกระจกลง 40-70 % ภายในปี 2050 เมือ่ เทียบกับปีฐาน 2010 รวมทัง้ ตกลงทีจ่ ะด�าเนินงาน เพือ่ ให้บรรลุการพัฒนา เศรษฐกิจคาร์บอนต�า่ ระดับโลก ในระยะยาว โดยรวมถึงการ พัฒนาและใช้เทคโนโลยีทนี่ า� ไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงโครงสร้าง ทางพลังงาน ภายในปี 2050

แถลงการณ์ร่วมที่แคว้นบาวาเรีย ยังระบุด้วยว่า “กลุ่ม G7 ตกลงที่จะยกเลิก ‘การอุดหนุน เชือ้ เพลิงฟอสซิลทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ’ รวมทัง้ ตกลงว่าจะน�า ‘นโยบายและการด�าเนินงาน ตลาดคาร์บอนและมาตรการบังคับ’ มาใช้อีกด้วย” ในวันสุดท้ายของการประชุมสุดยอด ภายใต้สโลแกน “คิดไปข้างหน้า ด�าเนินงานร่วมกัน” นางแองเกอล่า แมร์เคล นายกรัฐมนตรี เยอรมนี ได้กล่าวประโยค ‘Auf Wiedersehen’ to fossil fuels หรือ ‘ลาก่อน’ เชื้อเพลิง ฟอสซิล ซึ่งประกาศจะยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลภายในสิ้นศตวรรษ นอกจากนี้ยังมีเกร็ดเล็กน้อยมาเล่าให้ฟังอีกด้วยว่า ความส�าเร็จครั้งนี้มิได้เกิดขึ้นเพราะ โชคช่วย แต่เป็นเพราะนายกรัฐมนตรีหญิงแห่งเยอรมนีนั่นเอง ซึ่งนางแมร์เคลได้ใช้ความ พยายามอย่างหนัก ในการโน้มน้าวให้ผู้น�า G7 เห็นพ้องกับเธอ ที่จะยอมรับการยุติการใช้ เชื้อเพลิงฟอสซิลในระยะยาวดังกล่าว ถึงกับมีผู้ขนานนามให้นางแมร์เคลในครั้งนี้ว่าเธอเป็น “Climate Hero” หรือ “นายกรัฐมนตรีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” ทีเดียว ดังนั้นแถลงการณ์ร่วมของกลุ่มผู้น�าโลก G7 ในครั้งนี้ จึงนับเป็นการส่งสัญญาณทางการ เมืองที่ทรงพลังและน่าสนใจ ที่จะส่งสัญญาณต่อไปยังการเจรจาสมัชชารัฐภาคีอนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 21 ณ กรุงปารีส ฝรั่งเศส ซึ่งต้องการบรรลุการรับรองข้อตกลงใหม่ฉบับของโลกที่มีผลผูกพันทางกฎหมายต่อทุกรัฐ ภาคี เกือบสองร้อยประเทศ ภายหลังปี 2020 หรือหากพูดเป็นภาษาชาวบ้าน คือ “การเปิด เกมร่วมกัน” ของกลุม่ ประเทศร�า่ รวยทีส่ ดุ ของโลก ถึงทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจคาร์บอนต�า่ ในระยะยาว ที่จะส่งผลสะท้อนถึงทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศก�าลังพัฒนาใน อนาคตต่อไปว่า “แล้วคุณล่ะ.. พร้อมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงเส้นทางการพัฒนาเข้าสูเ่ ศรษฐกิจ คาร์บอนต�่าได้หรือยัง ?”

July 2015 67


Green Building นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

แชงกรีลา เชียงใหม่

ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและธรรมชาติช่วยลดพลังงาน หลายครั้ ง ผมเคยตั้ ง ค� า ถามในใจว่ า บนความ หรู ห ราของโรงแรม และรี ส อร์ ท หรื อ ตึ ก สู ง ขนาดใหญ่แต่ละแห่งนั้นจะต้องใช้พลังงานจ�านวน มากเพี ย งใดเพื่ อ ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งบรรยากาศให้ สมบูรณ์แบบ ด้ ว ยการประดั บ หลอดไฟ โคมไฟ อั น สวยหรู พ ร้ อ มทั้ ง ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งปรั บ อากาศ สิ่งอ�านวยความสะดวกสบายต่ าง ๆ ให้กับผู้มา พักผ่อน เรียกได้ว่าเบื้องหลังของความสุขสบาย ที่ธุรกิจโรงแรมมีให้กับแขกผู้มาพักผ่อนนั้นต้อง ใช้ต้นทุนด้านพลังงานอย่างมาก

จากปัจจัยดังกล่าวโรงแรม รีสอร์ท หลายแห่ง ได้ตระหนักถึงความส�าคัญของการอนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมจึงได้ปรับเปลี่ยนมา ใช้เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน และน�าเอา ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมมาเป็นส่วนหนึ่งของ การเพิ่มประสิทธิภาพลดต้นทุนด้านพลังงาน เฉกเช่น โรงแรมแชงกรีลา เชียงใหม่ ที่น�า สิ่งของเหลือใช้มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ควบคูก่ บั การใช้เทคโนโลยี สูค่ วามยัง่ ยืนด้าน พลังงาน

คุณสุมิตร ทั่งทอง

โรงแรมแชงกรีลาแห่งนี้ ถูกเนรมิตขึ้นในสไตล์การตกแต่งอันเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ลักษณะทางสถาปัตยกรรมทัง้ ภายในและภายนอกเป็นการผสมผสาน ระหว่างศิลปะของไทยทางภาคเหนือ ซึ่งผู้บริหารโรงแรมได้ตระหนักถึงความ ส�าคัญในการใช้พลังงาน จึงได้เริ่มการจัดตั้งคณะกรรมการด้านพลังงานขึน้ มา ภายใต้การน�าของ “คุณสุมิตร ทั่งทอง” ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม เพื่อสร้าง แนวทางการจัดการพลังงานอย่างจริงจังและยั่งยืน โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ ข้อมูลด้านพลังงานแล้วสรุปให้แต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้องรับทราบและน�าไปปฏิบัติ 68

July 2015


ผ่ า นการรณรงค์ ประชาสั ม พั น ธ์ รวมถึ ง การจั ด ประชุมสัมมนา ให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน แก่พนักงาน โดยจะมีทีมประหยัดพลังงาน 20 คน เป็นผู้อบรม ให้ ค วามรู ้ กั บ พนั ก งานทุ ก ระดั บ ให้ เข้ า ใจเรื่ อ งการ อนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ ม มี ก ารพาทั ว ร์ พลังงาน บอกถึงการใช้พลังงานแต่ละเดือน รวมถึง ผลประหยัดแต่ละเดือน เพื่อให้เห็นถึงความจ�าเป็น ในการประหยัดพลังงาน ให้เกิดการรู้คุณค่าการใช้ พลังงาน วิธีการประหยัดพลังงาน เปิดโอกาสให้ พนั ก งานได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการประหยั ด พลั ง งาน มีการรณรงค์เรือ่ งการเปิด-ปิดไฟ ตามความเหมาะสม ของแต่ละพื้นที่และการใช้งาน นอกจากการออกแบบให้เกิดการประหยัดพลังงานแล้ว โรงแรมแห่ ง นี้ ยั ง ก� า หนดให้ มี ต ารางการดู แ ลซ่ อ ม บ�ารุงอุปกรณ์เครื่องจักรให้สามารถใช้งานได้ดีอย่าง สม�่าเสมอ รวมถึงการจัดให้มีการแสดงตัวเลขการใช้ พลังงานในแต่ละวันให้พนักงานทุกคนทราบ เพื่อก่อ ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าอีกด้วย

July 2015 69


Green Building นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

ทั้งนี้ในการปรับลดใช้พลังงานของโรงแรมนั้นได้มีการติดตั้งระบบ VSD ควบคุมมอเตอร์ของ พัดลมระบายอากาศ สามารถลดพลังงานในส่วนนี้ได้ประมาณ 60% พร้อมกันนี้ยังได้เริ่ม ท�าการปรับเปลี่ยนมาใช้หลอด LED แทนการใช้หลอดตะเกียบในบริเวณล็อบบี้ เพื่อช่วยลด การใช้พลังงาน และได้มกี ารปรับเปลีย่ นมาใช้เครือ่ งปรับอากาศประหยัดไฟเบอร์5 พร้อมกับ ติดตั้งระบบเซ็นเซอร์แสงสว่างในห้องน�้า ซึ่งช่วยลดการใช้พลังงานได้เป็นอย่างดี พร้อมกันนี้ยังมีแผนในการติดตั้งระบบโซล่าร์คอลเลคเตอร์ โดยมีแผนจะติดตั้ง 24 แผง และ จะสามารถช่วยผลิตน�้าร้อนได้ประมาณ 6 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ส�าหรับใช้ในสปา เพื่อลด การใช้น�้ามันดีเซลในการผลิตน�้าร้อนจากบอยเลอร์ โดยปัจจุบันสามารถลดใช้บอยเลอร์ผลิต น�้าร้อนลง 1 ตัว จากที่มีอยู่ 3 ตัว อย่างไรก็ตามในการลดใช้พลังงานภายในปีนี้ยังมีแผนที่ จะติดตั้งระบบ VSD ควบคุมมอเตอร์ชิวเลอร์เพื่อลดใช้พลังงานในระบบนี้ซึ่งเป็นระบบที่ ใช้พลังงานสูง อย่างไรก็ตามเพื่อให้มีการควบคุมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โรงแรมแชงการีลา ยังได้ติดตั้งระบบบริหารจัดการอาคาร ที่เรียกว่า Building Automation System (BAS) ซึ่งเป็นการน�าเอาการสั่งการท�างานของอุปกรณ์ระบบสาธาณูปโภคทั้งหมดของอาคาร ไม่วา่ จะเป็นระบบแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ ระบบลิฟท์ พัดลมระบายอากาศ ให้มาอยู่ ในความควบคุมของคอมพิวเตอร์เพื่อให้เกิดความสะดวกในการควบคุมการใช้พลังงาน นอกจากนี้ยังได้ติดระบบ Fresh Air ในห้องพักและทางเดินเป็นระบบที่ดึงอากาศบริสุทธิ์ จากภายนอกเข้ามาถ่ายเทภายในห้องพัก ผู้มาพักผ่อนจะได้รับอากาศบริสุทธิ์ตลอดเวลา เมือ่ อยูใ่ นห้อง และยังไม่ทา� ให้เกิดความชืน่้ ภายในห้องเมือ่ เปิดเครือ่ งปรับอากาศ เพือ่ ให้การ อนุรักษ์พลังงานเป็นไปตามนโยบายและเกิดความยั่งยืนนั้น แชงกรีลายังได้ให้พนักงาน ท�าการคัดแยกขยะโดยขยะแห้ง พวกกระดาษ พลาสติก ขวด คัดแยกเก็บไว้จ�าหน่าย ส่วนขยะเปียก เศษอาหาร เปลือกผลไม้ ผัก ส่งเทศบาลน�าไปใช้ประโยชน์ และได้เริ่มน�า 70

July 2015

เศษอาหารเปลือกผลไม้ต่าง ๆ มาหมักผลิต น�้า EM และปุ๋ยชีวภาพ น�้ามันพืชที่ผ่านการ ใช้งานแล้วน�าไปบรรจุปี๊บไว้จ�าหน่ายให้กับ ผู้ที่มารับซื้อไปผลิตเป็นไบโอดีเซล พร้อมยังมีการก�าหนดให้มพี น้ื ทีส่ เี ขียวเพิม่ ขึน้ ในบริเวณโรงแรม การเชิญชวนให้ลูกค้ามี ส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม โดยการไม่เปลี่ยนผ้าเช็ดตัว หรือ ผ้าปูที่นอน ทุกวัน รวมถึงการรณรงค์ให้ใช้ถงุ ผ้าทีส่ ามารถ รีไซเคิลได้แทนการใช้ถุงพลาสติก อย่างไรก็ตามในการด�าเนินการลดใช้พลังงาน นั้นผู้บริหารพลังงานอย่างคุณสุมิตรได้ตั้ง เป้าหมายพัฒนาให้ โรงแรมแชงกรีลา เชียงใหม่ ลดใช้พลังงาน 3% ต่อปี และตั้งเป้าในการ ก้าวไปสู่การใช้พลังงานอย่างยั่งยืนด้วยการ อาศัยธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม และสิง่ ทีเ่ หลือใช้ ภายในโรงแรมมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ร่วมกับการคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ใน การประหยัดพลังงาน



Green Industrial

เยี่ยมชม โรงงาน

ดาว เคมิ ค อล ประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดลอม

ºÃÔÉÑ· ´ÒÇ à¤ÁÔ¤ÍÅ (NYSE : DOW) ¼ÊÒ¹¾Åѧ¢Í§ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ㹡ÒÃÊÌҧÊÃä ¹Çѵ¡ÃÃÁµ‹Ò§ æ à¾×่ͤÇÒÁ¡ŒÒÇ˹ŒÒáÅФÇÒÁ໚¹ÍÂÙ‹·Õ่´Õ¢Í§¼ÙŒ¤¹ã¹âÅ¡ ºÃÔÉÑ·Ï ¢Ñ º à¤Å×่ Í ¹¹ÇÑ µ ¡ÃÃÁ·Õ่ ÃÑ § ÊÃä ¤Ø ³ ¤‹ Ò ¨Ò¡ÇÔ · ÂÒÈÒʵà 3 ᢹ§ 䴌ᡋ à¤ÁÕ ¿ ÊÔ¡Ê áÅЪÕÇÇÔ·ÂÒ à¾×่ÍÁØ‹§á¡Œ»˜ÞËÒ·Õ่ ·ŒÒ·ÒÂÂÔ่§¢Í§âÅ¡ ÍÒ·Ô »˜ÞËÒ¢Ò´á¤Å¹¹ํ้ÒÊÐÍÒ´ ¡ÒüÅÔµ áÅСÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ áÅСÒÃà¾Ô่Á¼Å¼ÅÔµ·Ò§¡ÒÃà¡ÉµÃ ·Ñ้§¹Õ้ ´ÒÇ à¤ÁԤ͊㹰ҹмٌ¹ํÒÍصÊÒË¡ÃÃÁáÅТѺà¤Å×่͹ µÅÒ´ã¹ËÅÒÂᢹ§ÃÇÁ¡Ñ¹ ·Ñ้§ã¹´ŒÒ¹à¤ÁÕÀѳ± ª¹Ô´¾ÔàÈÉ ÇÑÊ´Ø·Õ่㪌෤â¹âÅÂÕªÑ้¹ÊÙ§µ‹Ò§ æ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ¡ÒÃà¡ÉµÃ áÅÐ ¸ØáԨ¾ÅÒʵԡ ä´Œ¹ํÒàʹͷÑ้§¼ÅÔµÀѳ± áÅÐâ«ÅÙª่ѹµ‹Ò§ æ ·Õ่ËÅÒ¡ËÅÒÂãËŒ á¡‹ ÅÙ¡¤Œ Ò ÁÒ¡¡Ç‹ Ò 180 »ÃÐà·È â´Â੾ÒÐ Í‹ҧÂÔ่§ã¹¸Øà ¡Ô ¨ ·Õ่ ÁÕ ¡ÒÃàµÔ ºâµÊÙ § ઋ¹ ¸Øà ¡Ô¨ºÃèØÀѳ ± ÍÔàÅ็¡·ÃÍ¹Ô¡Ê ¹ํ้Ò ÊÒÃà¤Å×ͺ¼ÔÇ áÅиØáԨ·Ò§¡ÒÃà¡ÉµÃ â´Âã¹»‚ ¾.È. 2557 ºÃÔ ÉÑ · Ï ÁÕ Â Í´¢Ò·Ñ่ Ç âÅ¡ÁÒ¡¡Ç‹ Ò 58,000 ŌҹàËÃÕÂÞÊËÃÑ° (»ÃÐÁÒ³ 1,856,000,000 ŌҹºÒ·) ÁÕ¾¹Ñ¡§Ò¹¨ํÒ ¹Ç¹ 53,000 ¤¹·Ñ่ Ç âÅ¡ áÅÐÁÕ¼ÅÔµ Àѳ ± ÁÒ¡¡Ç‹Ò 6,000 ¡ÅØ‹ÁÃÒ¡Òà «Ö่§¼ÅÔµ¨Ò¡âç§Ò¹ 201 áË‹§ ã¹ 35 »ÃÐà·È

72

July 2015

กลุมบริษัท ดาว ประเทศไทย จึงถือเปนฐานการผลิต ที่ใหญที่สุดของ ดาว เคมิคอล ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ตอกยํ้ า ความเป น บริ ษั ท วิ ท ยาศาสตร ช้ั น นํ า ที่ พั ฒ นา ผลิ ต ภั ณ ฑ น วั ต กรรมที่ ห ลากหลายช ว ยเพิ่ ม มู ล ค า ให กับสินคา พรอมเผยผลงานดานความเปนเลิศในการ ปฏิบัติงานดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดระดับโลกใน ระบบการผลิต เพื่อใหมั่นใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ และระบบการจัดการสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยที่ ดีที่สุด นับตั้งแตที่กลุมบริษัท ดาว ประเทศไทย กอตั้ง ขึ้นใน ป พ.ศ. 2510 บริษัทฯ ไดมีการพัฒนาอยาง ไมหยุดยั้ง เพื่อสรางสรรคผลิตภัณฑและการบริการที่ จะเพิ่มมูลคาใหแกสินคาของลูกคาและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของผูคนในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ใหดขี นึ้ จนปจจุบนั ดาว ประเทศไทย มีโรงงานตาง ๆ รวมทัง้ หมด 15 โรงงาน ภายในบริเวณนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมเอเชีย และนิคมอุตสาหกรรม เหมราชตะวันออก


คุณทอดด์ ซัททอน ผู้อ�านวยการโรงงาน เผยว่า “ดาว มีเทคโนโลยีขนั้ สูงมากมายทีเ่ ราได้ พัฒนาร่วมกับพันธมิตรและลูกค้า เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของผูบ้ ริโภค และช่วยแก้ปญ ั หา ความท้าทายของโลก และที่ ดาว ประเทศไทย เราก็ทา� งานกันอย่างหนัก เพือ่ คัดเลือกเทคโนโลยี ที่ดีที่สุดมาใช้ในการผลิต โดยค�านึงถึงความ สามารถในการปฏิบัติงานที่สามารถลดการใช้ พลังงานและทรัพยากร ลดของเสียจากการผลิต สุดท้ายส่งผลต่อการลดต้นทุนการผลิตและ เพิ่มประสิทธิภาพด้านความปลอดภัย และยัง สามารถตอบโจทย์ทางธุรกิจได้อย่างดี” และที่ผ่านมา ดาว ประเทศไทย ได้มีการน�า เทคโนโลยีขั้นสูงที่ดีที่สุดในขณะนั้นมาใช้ใน กระบวนการผลิต โดยให้ความส�าคัญตั้งแต่ การออกแบบโรงงาน และการวางแผนการผลิต ในทุกขัน้ ตอน ดังจะเห็นตัวอย่างได้จาก โรงงาน โพลีออล (DMC Polyol) ที่เริ่มมีการเดินเครื่อง ผลิตอย่างเป็นทางการไปเมื่อเดือนเมษายนที่ ผ่านมา โดยเป็นโรงงานโพลีออลทีใ่ ช้เทคโนโลยี ดีเอ็มซีที่ใหญ่ที่สุดในโลก สามารถท�าการผลิต ได้อย่างต่อเนื่อง ประหยัดพลังงานและรักษา สิ่งแวดล้อม โดยสามารถลดการใช้พลังงาน และน�า้ ทิง้ จากกระบวนการผลิตได้ถงึ 50-75% และไม่ก่อให้เกิดกากของเสียจากการผลิตเลย 100% นอกจากนี้ ดาว ประเทศไทย ยังมีห้อง แล็บที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงระดับโลก ที่สามารถ วิเคราะห์ข้อมูลที่ซับซ้อน หรือแก้ไขปัญหาที่ เกิดจากกระบวนการผลิตได้อย่างเที่ยงตรง รวมทัง้ ยังสามารถเพิม่ ศักยภาพในกระบวนการ ผลิตได้อีกด้วย

ในการด�าเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายแห่งความยั่งยืนนั้น ดาว มุ่งสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และการ บริการทีช่ ว่ ยให้ผคู้ นทัว่ โลกมีคณ ุ ภาพชีวติ และความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ อย่างยัง่ ยืน ภายใต้คา่ นิยมเรือ่ ง ความซื่อสัตย์สุจริต การเคารพผู้อื่น และการพิทักษ์โลกที่เราอาศัยอยู่ ควบคู่ไปกับการรักษา พันธสัญญา เรื่อง “การปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ” (Responsible Care®) ในการผลิต และการบริหารจัดการเคมีภัณฑ์ทั่วโลก ซึ่งถือเป็นหลักส�าคัญของดาวในการด�าเนินงานเพื่อ ความยั่งยืน นอกจากนี้ ดาว ยังท�างานโดยยึดถือวิสัยทัศน์อุบัติเหตุเป็นศูนย์ (Vision to Zero) เพื่อความปลอดภัยในทุกกระบวนการผลิต และยึดหลักการด้านความยั่งยืน (Sustainability) อย่างเคร่งครัด โดยให้ความส�าคัญด้านความปลอดภัยทั้งในส่วนของพนักงาน โรงงานและ ชุมชนโดยรอบ ด้าน คุณนารินทร์ วงศ์ธนาศิริกุล ผู้อ�านวยการฝ่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และรัฐกิจสัมพันธ์ เผยว่า “ดาว ยึดถือหลักการความยั่งยืนในการด�าเนินงานทุกๆ กิจกรรม ซึ่งเรามีการตั้งเป้าหมายเพื่อความยั่งยืนในทุกๆ 10 ปี โดยเป้าหมายความยั่งยืนถือก�าเนิดขึ้น เป็นครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. 2538 เพือ่ มุง่ เน้นการวางรากฐานวัฒนธรรมความปลอดภัยและการดูแล สิ่งแวดล้อมในการท�างาน ขณะที่เป้าหมายแห่งปี พ.ศ. 2558 บริษัทฯ มุ่งเน้นในการขยาย เป้าหมายความยัง่ ยืนนีไ้ ปสูล่ กู ค้าและผูบ้ ริโภคโดยผ่านผลิตภัณฑ์ทบี่ ริษทั พัฒนาขึน้ เพือ่ ตอบโจทย์ การขาดแคลนทรัพยากรของโลกในด้านต่าง ๆ อาทิ น�้าดื่มสะอาด ผลผลิตทาง การเกษตร และ พลังงาน เป็นต้น” ทั้งนี้ กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ได้ให้ความส�าคัญตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบโรงงาน และ การวางแผนการผลิตในทุกขั้นตอน ด้วยเทคโนโลยีที่ดีที่สุดในขณะนั้น เพื่อให้เรามีระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด ซึ่งเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีขั้นสูงของ โรงงานโพรพิลนี ออกไซด์ (PO) ช่วยลดปริมาณน�า้ เสียลงถึง ร้อยละ 70-80 ช่วยลดการใช้พลังงาน ลงประมาณ ร้อยละ 35 และยังลดความต้องการใช้สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน และใช้วตั ถุดบิ การผลิต ที่ซับซ้อนน้อยลง เพื่อการใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งนวัตกรรมการ ผลิตนี้ได้รับรางวัลนวัตกรรมและความเป็นเลิศในสาขาวิศวกรรมเคมี จากสถาบันวิศวกรรมเคมี แห่งสหราชอาณาจักร ในปี พ.ศ. 2552 และรางวัล Presidential Green Chemistry Challenge Award จากองค์กรพิทักษ์สิ่งแวดล้อม สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2553 โรงงานโพลีเอทิลีนชนิด ยืดหยุน่ พิเศษถูกออกแบบให้เป็นระบบปิด มีการรวบรวมไอระเหยจากกระบวนการผลิตไปก�าจัด ที่หอเผา ไม่ใช้สารเคมีที่เป็นสารก่อมะเร็งและสารที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายใน กระบวนการผลิต ไม่มีการปล่อยออกไซด์ของซัลเฟอร์ ใช้เทคโนโลยีที่ออกแบบให้ลดการก่อตัว

ขณะที่ คุณจิรศักดิ์ สิงห์มณีชัย กรรมการ ผูจ้ ดั การ กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย กล่าวว่า “ในปี พ.ศ. 2557 ปริมาณยอดขายสุทธิของ กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย อยู่ที่ 124,219 ล้ า นบาท หรื อ ประมาณ 3.9 พั น ล้ า น เหรียญสหรัฐ โดยการเติบโตทางธุรกิจอย่าง ต่ อ เนื่ อ งนี้ ก็ เ ป็ น ผลมาจากการที่ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารพั ฒ นาโรงงานเพิ่มเติมที่มีเทคโนโลยี ระดับโลกที่ทันสมั ย จนปั จจุ บั น มี ย อดการ ผลิตรวมทั้งสิ้นปีละประมาณ 2.13 ล้านตัน”

July 2015 73


Green Industrial

ของออกไซด์ของก๊าซไนโตรเจนในกระบวนการผลิตในหัวเผาและหม้อต้มน�้า กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ที่นิคมอุตสาหกรรมเอเซียใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในโรงบ�าบัดน�้าเสีย ด้วยกลไก บ�าบัดทางชีวภาพทีท่ นั สมัย ซึง่ สามารถสร้างความเชือ่ มัน่ ว่าคุณภาพของน�า้ ทีป่ ล่อยออกสูภ่ ายนอก จะเป็นไปตามเกณฑ์ ที่ ก�าหนด ในส่ วนของมาตรฐานด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ดาว เคมิคอล ยึดมัน่ ในพันธสัญญาเรือ่ ง “การปฏิบตั งิ านด้วยความรับผิดชอบ” (Responsible Care®) พนักงานต้องได้รบั การฝึกอบรมด้านการท�างานตามกระบวนการเพือ่ ความปลอดภัยต่าง ๆ ตั้งแต่ขั้นตอนการท�างานด้วยความปลอดภัยในกระบวนการผลิตและการรับมือต่อเหตุฉุกเฉิน ในกระบวนการผลิต ไปจนถึงโครงการต่าง ๆ ที่ส่งเสริมการปฏิบัติงานควบคู่ไปกับการดูแล สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย อาทิ โครงการลดของเสีย “Waste Reduction Always Pays (WRAP)” และโครงการรณรงค์การปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย “อุบัติเหตุเป็นศูนย์” ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ ดาว ก็ได้มีการประกาศเป้าหมายเพื่อความยั่งยืนอีก 10 ปีต่อไป คือ ปี พ.ศ. 2568 โดยมุ่งเน้นการสร้างความเป็นอยู่ที่ดีให้กับมนุษย์ ด้วยการเป็นผู้น�าสังคมและ โลกไปสู่ความยั่งยืน และเพิ่มมูลค่าให้กับเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคมอย่างสูงสุด จากการ เป็นผู้น�าด้านแผนแม่บทพัฒนาสังคม คิดค้นนวัตกรรมแห่งอนาคต เดินหน้าเศรษฐกิจแบบ หมุนเวียน ให้ความส�าคัญกับธรรมชาติ เพิ่มความเชื่อมั่นในเทคโนโลยีเคมี เปิดโอกาสให้ พนักงานมีส่วนร่วมอย่างมีผลสัมฤทธิ์ และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานชั้นน�าระดับโลก และใน ขณะเดียวกัน ดาว ประเทศไทย ยังมุง่ มัน่ ในการเติบโตทางธุรกิจไปพร้อม ๆ กับการเติบโตของ สังคมและชุมชน โดยได้ดา� เนินกิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างความส�าเร็จให้สงั คมและชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง

74

July 2015

โดยเฉพาะด้านการศึกษา สิ่งแวดล้อม และ ความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน รวมทั้งให้การ สนั บ สนุ น พนั ก งานในการร่ ว มกิ จ กรรมกั บ ชุมชน เพื่อปลูกฝัง การตระหนักรู้ถึง ความ รับผิดชอบต่อสังคมอีกด้วย รางวัลและการเชิดชูเกียรติที่ได้รับใน ปี พ.ศ. 2557 ได้แก่ รางวัลธรรมาภิบาลส�าหรับความ เป็นเลิศในการจัดการสิ่งแวดล้อมและความ รับผิดชอบต่อสังคม หรือ รางวัล “ธงขาว ดาวเขียว” จ�านวน 12 โรงงาน และ รางวัล “ธงขาว ดาวทอง” จ�านวน 6 โรงงาน จาก การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โรงงาน โพลีเอทิลนี ชนิดยืดหยุน่ พิเศษ โรงงานโพรพิลนี ออกไซด์ และโรงงานผลิตฟิลม์ พลาสติกส�าหรับ เซลล์แสงอาทิตย์ ได้รับเกียรติบัตรรับรอง “อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 3” จากกระทรวง อุตสาหกรรม โครงการ ดาว เคมิคอล เพื่อ อุตสาหกรรมยัง่ ยืน ได้รบั รางวัลชนะเลิศด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคมแห่งภูมิภาคเอเชีย ประจ�าปี พ.ศ. 2557 จากสถาบัน Asian Institute of Management-Ramon V. del Rosario, Sr. Center for Corporate Social Responsibility ส�า หรับโครงการที่มีความ เป็นเลิศด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ ถือเป็นรางวัลแรก ของประเทศไทยทีไ่ ด้รบั ในสาขาดังกล่าว รางวัล “องค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อต่อสังคม ดีเด่นประจ�าปี 2557” ระดับเงิน ติดต่อกันเป็น ปีที่ 4 จากหอการค้าอเมริกนั ในประเทศไทย (AMCHAM) นอกจากนี้ยังได้รับเกียรติบัตร จากโครงการหุน้ ส่วนเชิงสร้างสรรค์ไทย-สหรัฐ ส�าหรับความร่วมมือด้านการด�าเนินกิจกรรม เพือ่ สังคมทีม่ คี วามคิดริเริม่ สร้างสรรค์อกี ด้วย


Open House

คุณชาคริต ดิเรกวัฒนชัย

เปิด เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส นวมินทร์ คว้ารางวัล “สโตร์คาร์บอนนูทรัล” Open House ฉบับนี้ จะพาท่านผู้อ่านไปเยี่ยมชม เทสโก้ โลตัส สาขาถนนนวมินทร์ ที่คว้า รางวัลสโตร์ค าร์ บ อนนู ทรั ล ชดเชยคาร์ บอนเท่ากับศูนย์ หลังทุ่ม ปรับเปลี่ย นระบบสู่การ ประหยัดพลังงาน พร้อมปลูกจิตส�านึกรักษ์ธรรมชาติลดโลกร้อนให้ลูกค้าในเวลาเดียวกัน ตั้งเป้าเป็นร้านต้นแบบก่อนปูพรมปรับปรุงร้านเอ็กซ์เพรส กว่า 1,500 สาขาทั่วประเทศ

คุณชาคริต ดิเรกวัฒนชัย รองประธาน กรรมการ แผนกสื่อสารองค์กรและความ ยั่งยืนเทสโก้โลตัส เผยว่า เทสโก้ โลตัส ด�าเนินธุรกิจค้าปลีกโดยมีหนึ่งในนโยบาย ส� า คั ญ คื อ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อม และได้ตั้งเป้าหมายในการลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงให้ได้ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ทีผ่ า่ นมา เทสโก้ โลตัส เป็น บริษัทแรกในอุตสาหกรรมค้าปลีกที่เปิดตัว “กรีนสโตร์” มาแล้ว 3 แห่ง และความภูมใิ จ ล่าสุดคือ เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส สาขา ถนนนวมินทร์ กรุงเทพ ที่ได้การรับรองจาก องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์การมหาชน) ว่าเป็นสโตร์ “คาร์บอน นูทรัล” หรือเครื่องหมายรับรองการชดเชย คาร์บอนเป็นศูนย์

July 2015 75


Open House

โลตัส เอ็กซ์เพรส สาขาถนนนวมินทร์ ได้ลงทุนปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบต่างๆ เพื่อลดปริมาณคาร์บอน “ไม่ว่าเทสโก้ จะเป็น คือ การติดหลอดไฟ LED เปลี่ยนผนังบางส่วนเป็นกระจกใสเพื่อน�าแสงธรรมชาติเข้ามาใช้, ติดตั้งชุด ควบคุมการท�างานเพื่อประหยัดพลังงานของตู้แช่เย็น ติดตั้งประตูส�าหรับป้องกันความเย็นจากเครื่องปรับอากาศรั่วไหล ติดตั้งพัดลมบนฝ้า เพื่อให้ลมกระจาย ควบคุมการใช้เครื่องปรับอากาศในเวลาที่เหมาะสมรวมถึงได้ด�าเนินการซื้อคาร์บอน เครดิตมาชดเชยกับปริมาณคาร์บอนไดออกไซต์ที่ปล่อยออกไป เท่ากับศูนย์ จนได้รับรอง คาร์บอนนูทรัล

เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส สาขาถนนนวิมนทร์ ใช้เวลากว่า 2 ปี และทุ่มงบประมาณ เพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบ จากเดิมที่เคยปล่อยคาร์บอน 162 ตันต่อปี ก็สามารถลดปริมาณลงได้กว่า 63 ตันต่อปี และยังซื้อคาร์บอนเครดิต อีกส่วนหนึ่งเพื่อชดเชยการปล่อยคาร์บอนให้เป็นศูนย์ ขณะเดียวกันยังเพิ่มประสิทธิผลของการลดคาร์บอนด้วยการ ท�าให้สโตร์สาขาถนนนวมินทร์เป็นสโตร์ปลอดถุงพลาสติก ซึง่ ลูกค้าได้จบั จ่ายด้วยถุงผ้าแทนการใช้ถงุ พลาสติกจึงสามารถ ลดการใช้ถงุ พลาสติกไปได้กว่า 260,000 ใบต่อปี และรวมถึงการเตรียมพืน้ ทีจ่ อดรถจักรยานเพือ่ ให้ลกู ค้าเลือกเดินทาง มาสาขาโดยไม่ใช้พาหนะที่ปลดปล่อยคาร์บอน ทั้งนี้ เทสโก้ โลตัส มีความภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย โดยได้ด�าเนินธุรกิจด้วยนโยบายทางสังคมที่ใส่ใจ เรื่องสิ่งแวดล้อม และมุ่งจะเป็นเป็นองค์กรที่มีส่วนในการลดปัญหาโลกร้อน โดยการสร้างคุณค่าร่วมระหว่างองค์กร และสังคมไปในเวลาเดียวกัน (Creating Shared Value) ที่ท�าให้เกิดการลดค่าใช้จ่ายพลังงานขององค์กรลงซึ่งก็เป็นการ ลดการปล่อยคาร์บอนสู่สิ่งแวดล้อมในเวลาเดียวกันได้อย่างมีนัยะส�าคัญ ท�าให้ธุรกิจสามารถด�าเนินการลงทุนได้ อย่างต่อเนื่องเพื่อท�าให้เกิดคุณค่าร่วมระหว่างองค์กรกับสังคมไทยได้มากขึ้นต่อไป 76

July 2015


Open House

ทั้งนี้ ทางเทสโก โลตัส ไมเคยหยุดใหความสําคัญตอการลด ปริมาณคารบอน ซึง่ เปนตนเหตุสาํ คัญในการทําอันตรายโลก จึงเรียนรูทั้งการสรางอาคารประหยัดพลังงงานและเรียนรู การปลูกจิตสํานึกรักษธรรมชาติใหกับลูกคา ซึ่งเทสโก โลตัส เอ็กซเพรส สาขาถนนนวมินทรนี้ ไดเปน สโตรตนแบบ เพื่ อ นํ า ร อ งไปสู  ก ารทํ า สโตร ล ดคาร บ อนในรู ป แบบร า น เอ็กซเพรสของเทสโก โลตัส กวา 1,500 สาขาทั่วประเทศ ภายใน 2 ป และดวยความตั้งใจ เทสโก โลตัส จึงเปนบริษัทฯ แรกใน อุตสาหกรรมคาปลีกทีเ่ ปดตัว “กรีนสโตร” แหงแรกที่ สาขา พระราม 1 ในปพ.ศ. 2547 โดยนําพลังงานทดแทนมาใช เชน พลังงานแสงอาทิตย ที่ไดจากแผงโซลารเซลลที่ติดตั้ง บนหลังคา จากนั้น ในป พ.ศ. 2551 เทสโก โลตัส เดินหนา เปดกรีนสโตรแหงที่ 2 ที่สาขาศาลายา จังหวัดนครปฐม โดยนํ า พลั ง งานลมมาใช รวมถึ ง การรี ไซเคิ ล ในรู ป ของ ไบโอแกซและไบโอดี เซล มาใช อ ย า งคุมคา ตอมาในป พ.ศ. 2554 เทสโก โลตัส ไดเปดตัวนวัตกรรม “สโตรปลอด คารบอนฯ” สาขาบางพระ จ.ชลบุรี ถือเปนแหงแรกของ ประเทศไทยและภู มิ ภ าคเอเชี ย โดยใชเทคโนโลยีลาสุด ในการลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนฯ ที่เกิดจากการ ใชไฟฟา และชดเชยปริมาณกาซคารบอนฯ ที่เหลือดวย พลังงานทดแทนที่ไดจากแหลงผลิตภายในสาขา จนมีคา การปลอยกาซคารบอนฯเทียบเทากับศูนย

July 2015 77


Vertical Market

โลจิสติกส...เปาหมายของผูนํา ¡ÒÃᢋ § ¢Ñ ¹ ´Œ Ò ¹¸Ø à ¡Ô ¨ ¢Í§·Ñ่ Ç âÅ¡ÇÑ ¹ ¹Õ้ ໚ ¹ àÃ×่ Í §¢Í§¡ÒÃà» ´ ª‹ Í §·Ò§ãËŒ µÑ Ç àͧ ã¹´ŒÒ¹¢Í§¡ÒÃËÒ¢ŒÍä´Œà»ÃÕº¢Í§µ¹ÁÒ໚¹ ¨Ø´á¢็§à¾×่Íź¢Œ Í´Œ Í¢ͧµ¹ ઋ ¹ à´Õ ÂǡѺ “ä»ÃɳÕÂ ä ·Â” ·Õ่ àµÃÕ Â ÁàÊÃÔ Á ¨Ø ´ á¢็§´ŒÒ ¹ âÅ¨Ô Ê µÔ ¡ Ê ã ¹¡ÒúÃÔ ¡ Òâ¹Ê‹ § áÅСÃШÒ ÊÔ¹¤ŒÒẺ¤ÃºÇ§¨Ã µÑ้ §à»‡ Ò໚ ¹ ¼Ù Œ ¹ํ Ò¢¹Ê‹§ ã¹ÀÙÁÔÀÒ¤ÍԹ⴨չ ÀÒÂã¹»‚ 2562

กาวสําคัญในการเปนผูนําการบริการโลจิสติกสแบบครบวงจรของ ไปรษณียไทย คือ การเปดบริษทั ในเครือ “ไปรษณียไ ทยดิสทริบวิ ชัน่ ” (ปณท.ดบ.) เพิม่ ศักยภาพ ใหบริการขนสงและกระจายสินคา รวมทั้งบริหารจัดการคลังสินคาครบวงจรตาม มาตรฐานสากล และเปนกลไกในการพัฒนาดานการขนสงของภาครัฐไดอยางมี ประสิทธิภาพ เจาะกลุมลูกคาภาครัฐบาล ธุรกิจเอกชน e-Commerce กลุมยา และเวชภัณฑ ดวยจุดแข็งบริการขนสงและกระจายสินคาแบบครบวงจร หรือ Total Logistics Solution พรอมเปนทางเลือกที่สําคัญของธุรกิจโลจิสติกสใน ประเทศกลุมอินโดนจีนภายใน ป 2562 คาดจะมีรายไดจากตลาดเปาหมายหลัก 400 ลานบาท และตั้งเปาเติบโตไมนอยกวา 10% ตอป นอกจากนี้ยังเปนการขานรับนโยบาย Digital Economy เพื่อเชื่อมตอโครงการ ดานโลจิสติกส เปนบริษัทขนสงและกระจายสินคาของชาติไทย เพื่อใหบริการ คนไทยในทุกระดับทุกพื้นที่ พรอมเปนแกนนําหลักในการวางรากฐานเพื่อพัฒนา โลจิสติกสไทย โดยไมไดมุงเนนที่จะดําเนินธุรกิจในลักษณะที่แขงขันกับบริษัท เอกชน แตจะเขามาเติมเต็มใหการขนสงของภาครัฐใหเขมแข็งขึน้ เพือ่ คนไทยจะได รับประโยชนสูงสุดจากการใชบริการ ซึ่งบทบาทของไปรษณียไทยดิสทริบิวชั่น จึงเปนเหมือนอีกหนึง่ แรงผลักดันทีท่ าํ ใหนโยบาย Digital Economy บรรลุเปาหมาย ที่ตั้งไวดวยศักยภาพเครือขายไปรษณียที่เขาถึงชีวิตคนไทย พรอมเปนฟนเฟอง พัฒนาเศรษฐกิจไทยใหเติบโตอยางยั่งยืน

78

July 2015


(ซ้าย) คุณปิยะวัตร์ มหาเปารยะ (ขวา) คุณอานุสรา จิตต์มิตรภาพ

คุณปิยะวัตร์ มหาเปารยะ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ อาวุโส รักษาการในต�าแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ไปรษณียไ์ ทย จ�ากัด (ปณท) เปิดเผยว่า จากประสบการณ์ ในการให้บริการไปรษณียแ์ ก่คนไทยมายาว นานกว่า 130 ปี ซึ่งจากการขยายตัวทาง เศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ งในช่วงทีผ่ า่ นมา และ พฤติกรรมการซื้อขายผ่าน e-Commerce ส่งผลให้มปี ริมาณความต้องการใช้บริการใน กลุ่มธุรกิจขนส่งเพิ่มมากขึ้น ไปรษณีย์ไทย จึงมีนโยบายในการจัดตัง้ บริษทั ไปรษณียไ์ ทย ดิสทริบิวชั่น ขึ้น เพื่อก้าวไปสู่การให้บริการ ด้านโลจิสติกส์แบบครบวงจรเพื่อคนไทย

ไปรษณีย์ไทยดิสทริบิวชั่น จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการของไปรษณีย์ไทย แบบครบวงจรและสามารถรองรับความต้องการของผู้ใช้บริการและนโยบายรัฐได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยต้องพัฒนาคุณภาพบริการให้มีมาตรฐาน พัฒนาระบบการบริหาร จัดการต่าง ๆ ยกระดับความสามารถของระบบให้บริการขนส่งทางถนนเพื่อขยายสู่การ ขนส่งข้ามประเทศ และจะต้องเพิม่ ความสามารถในการท�าก�าไร สร้างรายได้เพือ่ เลีย้ งตัวเอง อย่างยั่งยืนในระยะยาว คุณอานุสรา จิตต์มิตรภาพ ประธานกรรมการ บริษัท ไปรษณีย์ไทยดิสทริบิวชั่น จ�ากัด เปิดเผยว่า ไปรษณีย์ไทยดิสทริบิวชั่น จะมีโอกาสเติบโตได้เป็นอย่างดี และยังท�าให้การ ให้บริการของบริษัทแม่คือ ไปรษณีย์ไทยเองครบวงจรมากยิ่งขึ้น ด้วยการให้บริการแบบ หน่วยงานรัฐต่อหน่วยงานรัฐ (G2G) ธุรกิจต่อธุรกิจ (B2B) และธุรกิจต่อลูกค้า (B2C) โดยมี กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย คือ กลุ่มยาและเวชภัณฑ์ อุปกรณ์สื่อสาร อิเล็กทรอนิกส์และไอที และกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน กลุ่ม e-Commerce และ Mail order และยังมีการให้ บริการลูกค้าผ่านหน่วยไปรษณียไ์ ทยดิสทริบวิ ชัน่ ในลักษณะการขนส่งสินค้าแบบเหมาคัน การขนส่งสินค้าในรูปแบบ Milk Run, Consolidate สินค้า วัตถุดิบจากแหล่งผลิต เช่น

July 2015 79


Vertical Market

การรับเส้นหมีจ่ ากจันทบุรี น�า้ ผัดจากโคราช ไปส่งโรงงานผูผ้ ลิตสินค้าส�าเร็จรูปและกระจาย ไปยังร้านค้า หรือตัวแทนจ�าหน่ายทัว่ ประเทศ และยังจะเน้นการบริหารจัดการขนส่ ง ที่ สัมพันธ์กันระหว่างเที่ยวไปและเทีย่ วกลับ เพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม รายได้ ข องไปรษณี ย ์ ไ ทย ดิ ส ทริ บิ ว ชั่ น และสามารถลดต้ น ทุ น ค่ า ใช้จ่ายให้ไปรษณีย์ไทยได้อีกทางหนึ่งด้วย นายวรการ ศรีนวลนัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไปรษณีย์ไทยดิสทริบิวชั่น จ�ากัด (ปณท.ดบ.) เปิ ด เผยว่ า ไปรษณี ย ์ ไ ทย ดิสทริบิวชั่น ตั้งเป้าหมายสู่การเป็นผู้ให้ บริการขนส่งและกระจายสินค้าแบบครบวงจร ที่จะเป็นผู้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส�าคัญใน ภูมภิ าคอินโดจีน เพือ่ ประโยชน์และสนับสนุน นโยบายของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลาง โลจิสติกส์ต่อไป พร้อมให้บริการทางด้าน คลังสินค้า การจัดเก็บรักษาสินค้า ภายใต้ มาตรฐานการควบคุ ม ที่ ต รงตามความ ต้องการของผูร้ บั บริการ การรับค�าสัง่ ซือ้ การ บรรจุหีบห่อ/การจ่าหน้าถึงผู้รับ ตลอดจน กระบวนการจัดส่งและการกระจายให้ถงึ มือ ผู้รับที่ได้มาตรฐานอย่างมีคุณภาพตลอด ทุกขัน้ ตอน 80

July 2015

ด้วยระบบการท�างานที่น่าเชื่อถือ ไม่ว่าจะเป็น ระบบการควบคุม/การบริหารจัดการคลัง สินค้า WMS-Warehouse Management System, ระบบการควบคุม ออกแบบ บริหารจัดการ เส้นทางการขนส่งด้วย TMS-Transportation Management System การจัดการค�าสั่งซื้อ แบบ Real time และการควบคุมคุณภาพตามมาตรฐาน GDP/GSP และ มาตรฐาน ISO เพื่อการสร้างระบบงานแบบ Total Logistics Solution และ One stop Service ที่ สามารถให้บริการในระดับ World Class ต่อไปในอนาคต คาดว่าจะมีรายได้จากการ ด�าเนินงานไม่ต�่ากว่า 400 ล้านบาท และตั้งเป้าเติบโตที่ 10% ของรายได้ทั้งหมด ทั้งนี้ ศักยภาพเครือข่ายขนส่งที่ครอบคลุมของไปรษณีย์ไทย ผนวกกับความพร้อมในการ เป็นผู้ให้บริการขนส่งและกระจายสินค้า และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะน�าเข้ามาใช้ ในการด�าเนินงาน จะช่วยสร้างความมั่นคงให้แก่ชีวิตคนไทย สร้างความเติบโตให้ เศรษฐกิจไทย เป็นกลไกด้านขนส่งและกระจายสินค้าของคนไทยที่พร้อมจะก้าวไป ด้วยกัน พร้อมก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้อย่างเต็มภาคภูมิ



Viewpoint

จับตา... พีค กับการใชพลังงานของประเทศ àÃ×่ͧ¢Í§¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò ¶×Í໚¹Ë¹Ö่§ã¹»˜¨¨Ñ·Õ่ÊํÒ¤ÑÞáÅÐ ¡ÅÒÂ໚¹á¢¹¢Ò¢Í§Á¹ØÉ 㹻˜¨¨Øº¹ Ñ ä»àÊÕÂáÅŒÇ àÃ×Í่ §¹Õä้ Á‹ãª‹àÃ×Í่ §µÅ¡ÃŒÒ ᵋÍ‹ҧäà ᵋ໚¹¤ÇÒÁ¨ÃÔ§·Õ่µŒÍ§ÂÍÁÃѺ ¡µÑÇÍ‹ҧઋ¹ ËÒ¡à¡Ô´ ä¿¿‡Ò´ÑºÊÑ¡¤ÃÖ่§Çѹ àÃÒ¨ÐäÁ‹ÊÒÁÒö·ํÒÍÐäÃä´ŒàÅ ¶Ö§áÁŒÇ‹Òà˵ءÒó ´Ñ§¡Å‹ÒǨÐäÁ‹ ¤ ‹ Í Âà¡Ô ´ ¢Ö้ ¹ ¡็ µ ÒÁ ᵋª‹Ç§·Õ่¼‹Ò ¹ÁÒ àÃÒ¨Ðä´ŒÂÔ¹¤ํÒ Ç‹Ò “¾Õ¤” º‹Í¤ÃÑ้§ â´Â੾ÒЪ‹Ç§Ä´ÙÌ͹ ¤ํÒ¹Õ้¤×ÍÍÐäà áÅзํÒäÁ¶Ö§µŒÍ§ ¡Å‹ÒǶ֧Í‹ҧÁҡ㹪‹Ç§·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ

วาดวยเรื่อง “พีค” ก็คือเรื่องของการใชพลังงานถึงจุดสูงสุดในแตละชวงเวลาของป ในที่นี้จะเปนการใชพลังงานไฟฟาเปนหลัก ทราบกันหรือไมวาประเทศไทยมีการใช พลังงานถึงจุดสูงสุดกันปละกี่ครั้งอันที่จริงเรื่องดังกลาวถือเปนเรื่องปกติ แตจะไม ปกติทันทีถาหากกําลังงานการผลิตไฟฟาในประเทศไมเพียงพอตอความตองการ ในประเทศในชวงที่เขาสูสภาวะการใชไฟฟาสูงสุด แนนอนวาหนวยงานที่เกี่ยวของ หลาย ๆ ฝายไมอยากใหเกิดเรื่องดังกลาวขึ้นอยางแนนอน หลายฝายจึงตองเตรียมการรับมือในชวงดังกลาวเอาไวอยางตอเนื่อง การจัดหา พลังงานเพิ่มเติมเพื่อเตรียมความพรอมเปนเรื่องสําคัญ ซึ่งประเทศไทยถือเปน ประเทศที่มีความไดเปรียบดานการผลิตพลังงานไฟฟา เพราะไดมีการสงเสริม อยางตอเนื่องในการจัดหาแหลงพลังงานทดแทน เพื่อรองรับชวงเวลาที่คาดวาจะมี การใชพลังงานไฟฟาในชวงพีค นอกเหนือจากการจัดหาพลังงานแลว ภาคประชาชนเองก็ตองตระหนักใหมากวา ความที่จะมีสวนรวมในการลดใชพลังงานใหมากที่สุด เพื่อไมใหเกิดเรื่องไมคาดฝน กับการที่ประเทศตองขาดพลังงานไฟฟา ซึ่งในป 2558 มีปริมาณการใชไฟฟา แตะระดับพีคไปแลวหลายครั้ง และที่นาจับตาอยางมากคือ ครั้งลาสุด การใชไฟฟา ระดับพีคเกิดขึน้ ในชวงเวลาทีไ่ มนา จะเกิดขึน้ เพราะปกติจะเกิดในชวงทีป่ ระเทศไทย มีอากาศรอนสุด ๆ เทานั้น

82

July 2015

คุณ ชวลิต พิชาลัย ผูอํานวยการสํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน กลาววา ในชวงเดือนมิถุนายน แมจะเขาสูฤดูฝน อยางเต็มตัวแลวก็ตาม แตสภาพอากาศบางวัน มีอุณหภูมิรอนจัด ประชาชนจํานวนมากจึงตอง พึ่งพาเครื่องปรับอากาศเพื่อชวยคลายรอนและ ทําใหมปี ริมาณการใชไฟฟาสูงสุด หรือ พีค (Peak) ตามมา จากรายงานของการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.) ทีเ่ ผยถึงยอดการใชไฟฟาสูงสุด เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558 เวลา 14.02 น. นั้น มีปริมาณการใชไฟฟาอยูที่ 27,345.8 เมกะวัตต ถือเปนตัวเลขที่ทําลายสถิติที่เกิดขึ้นเปนครั้งที่ 4 ของป 2558 สาเหตุสําคัญมาจากสภาพอากาศ ทีร่ อ นอบอาว มีอณ ุ หภูมสิ งู ถึง 36.7 องศาเซลเซียส จึงทําใหมปี ริมาณการใชไฟฟาอยูใ นระดับสูงแมวา จะไมใชช ว งฤดูรอนก็ตาม


ดังนัน้ สนพ. ขอเชิญชวนทุกภาคสวนทัง้ ภาคประชาชน ภาคอุตสาหกรรม และภาคเอกชน ชวยกันประหยัดพลังงานไฟฟาอยางจริงจังและ เนื่องตลอดทั้งป เพื่อเปนการลดปริมาณการใชไฟฟาของประเทศ อยางยั่งยืน โดยสามารถทําไดทันที ประกอบดวย 1. ปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศเพิ่มขึ้น 1 องศา จาก 25 องศา เปน 26 องศา จะชวยประหยัดไฟได 10% 2. การลางเครือ่ งปรับอากาศ ทําความสะอาดแผนกรองอากาศอยาง สมํ่าเสมอ จะชวยประหยัดคาไฟได 5% 3. ระบบแสงสวาง ใหปดไฟดวงที่ไมจําเปน (โดยหากวัดจากจํานวน ครัวเรือน 20 ลานครัวเรือน) ถารอยละ 20 ของจํานวนครัวเรือน ใหความรวมมือปดไฟดวงที่ไมจําเปนครัวเรือนละ 1 หลอด ตั้งแต เวลา 14.00-15.00 น. จะชวยลดพีค (Peak) ไดประมาณ 208 เมกกะวัตต หรือลดการใชไฟฟาได 0.21 ลานหนวยตอวัน นอกจากนี้ยังมีขอมูลเพิ่มเติมจาก กฟผ. แจงถึงสาเหตุที่ยังคงมี สถานการณพีค (Peak) เกิดขึ้นจากปจจัยเรื่องของอุณหภูมิเปนหลัก เพราะพีค (Peak) จะเกิดขึ้นในชวงเวลาสั้นๆ อยางไรก็ตามอุณหภูมิ ที่อยูในรายงานเปนอุณหภูมิเฉลี่ยของกรุงเทพฯ จึงเปนไปไดวา

คุณชวลิต พิชาลัย

อุณหภูมิโดยรวมของประเทศในวันนั้น อาจจะสูงกวาวันพีค (Peak) ครั้งกอน สวนเรื่องความตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ก็เปน ปจจัยเสริม ซึ่งขอมูลการใชพลังงานใน 5 เดือนแรกของป 2558 เพิ่มขึ้น 2.1% ผลมาจากปจจัยอุณหภูมิเปนตัวแปรสําคัญ หลังจากนี้ พีค จะเกิดขึ้นอีกหรือไม ? ยังคงเปนคําถามสําหรับ คําตอบอีกครัง้ แตสงิ่ ทีป่ ระชาชนตาดํา ๆ อยางเรา ๆ ทาน ๆ สามารถ ทําไดงา ยทีส่ ดุ ก็คอื การเห็นคุณคาของพลังงานวา เราไมไดมาเปลา ๆ แตตองแรกมาดวยตนทุนในการผลิต ฉะนั้นประหยัดกันตั้งแตวันนี้ เพื่ออนาคตก็ไมใชเรื่องยากแตอยางไร ใชหรือไม?

July 2015 83


Energy Knowledge

สรุปผลการน�าเสนอ ผลงานนักวิจัย ที่รับทุนโครงการร่วมสนับสนุนทุนวิจัย และพัฒนา กฟผ.-สกว.

โครงการได้ประเมินศักยภาพพลังงานลมนอกชายฝั่งทะเลอ่าวไทยด้วยแบบจ�าลอง บรรยากาศ และศึกษาความเป็นไปได้ของโรงไฟฟ้าฟาร์มกังหันลมเบือ้ งต้น รวมถึงวิเคราะห์ ต้นทุนและการประมาณการผลตอบแทนของโรงไฟฟ้า ตลอดจนศึกษาข้อกฎหมายและ ทบทวนผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ขณะนี้ได้ส่งเสริมให้ผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานลม 1,800 เมกะวัตต์ภายในปี 2564 โดยมีการผลิตแล้ว 200 เมกะวัตต์ ซึ่งมีผู้ยื่น ค�าขอผลิตไฟฟ้าถึง 1,834 เมกะวัตต์ ซึ่งอาจปัญหาต้องใช้พื้นที่ในเขหวงห้าม เขตอุทยาน แห่งชาติหรือเขตชุมชน จึงเสนอทางเลือกให้ใช้พนื้ ทีฟ่ าร์มกังหันลมนอกชายฝัง่ ในอ่าวไทย

ดร.มะลิวัลย์ หฤทัยธนาสันต์ หัวหน้าโครงการศักยภาพพลังงาน ไม้โตเร็วในพื้นที่เสื่อมโทรม กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ ว่าได้ศึกษาศักยภาพของพื้นที่ด้านสมบัติของดิน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และการถือครองหรือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เพื่อน�ามา วางแผนการปลูกไม้โตเร็วที่จะใช้เป็นแหล่งเชื้อเพลิงทางเลือก ส�าหรับผลิตกระแสไฟฟ้า และเพื่อประเมินผลกระทบทางด้าน บวกและลบ รวมถึงความเสี่ยงของโครงการ ซึ่งพื้นที่เสื่อมโทรม ไม่มีศักยภาพในการท�าการเกษตร ส่วนใหญ่อยู่ในโครงการฟื้นฟู สภาพดินของกรมพัฒนาที่ดินและในเขตปฏิรูปเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เป็นหลัก นอกจากนีอ้ าจมีพนื้ ทีจ่ ากนโยบายทวงคืนผืนป่า 84

July 2015

และศึก ษาสกุลไม้โตเร็ว 5 สกุล ได้แก่ ยูคาลิปตัส เสม็ดขาว ประดิพัทธ์ อะเคเชีย และกระถินยักษ์ ที่พัฒนาพันธุ์จนสามารถ ก�าหนดผลผลิตได้ ซึ่งพบว่ายูคาลิปตัสมีผลผลิตต่อไร่สูงสุด เมื่อมองผลกระทบด้านลบ พบว่าถ้าการจัดการพื้นที่ไม่เหมาะสม อาจท�าให้ได้ผลผลิตต�่า และเกิดโรค-แมลงสะสม เกิดความ เสียหายอย่างมากต่อสวนในพื้นที่ใกล้เคียง และผลกระทบกับ พืชเกษตรอื่น ๆ ด้วย นอกจากนี้ยังใช้ต้นทุนมากกว่าพืชอื่นแต่ ผลตอบแทนน้อยกว่า อาจเกิดปัญหาความคาดหวังของเกษตรกร จึงต้องท�าความเข้าใจเพื่อไม่ให้เกิดการต่อต้านในภายหลัง


ดาน ผศ.พะยอม รัตนมณี หัวหนาโครงการ ศักยภาพพลังนํ้าบนเทือกเขาหลวง ระบุวา ภาคใตมีฝนตกชุกและมีเทือกเขาหลายแหง จึงมีความเหมาะสมที่จะผลิตกระแสไฟฟา ซึ่ ง ในพื้ น ที่ เ ทื อ กเขาหลวงมี นํ้ า ตกอยู  โ ดย รอบจึ ง เป น กั น ชนรั ก ษาป า เป น อย า งดี ภู มิ ป ระเทศลาดชั น มี ศั ก ย นํ้ า มากจึ ง ผลิ ต ไฟฟาไดมาก สามารถเลื อ กใช กังหั นที่มี ประสิทธิภาพสูงได ทําใหทอสงนํ้าสั้นลงได จึงเกิดการสูญเสียและตนทุนนอยลง แตการ กระจายศูนยดีมากทั่วภาคใต ปาที่สมบูรณ ชวยดูดซับนํ้าปาที่ไหลหลากไดเปนอยางดี และมี ป ริ ม าณนํ้ า ท า ไหลลงมาในปริ ม าณ หนึ่งแมในชวงฤดูแลงก็ยังมีนํ้าอยู ทั้งนี้พื้นที่ คั ด เลื อ กในการศึ ก ษาโดยรวมมี ศั ก ยภาพ ที่จะผลิตไฟฟา 215 แหง กําลังการผลิต 35,945 เมกะวัตต ใชงบลงทุนโรงไฟฟา ชุมชนประมาณสิบลานบาท สรุปมีโรงไฟฟา พลังนํ้า 50 แหง มีกําลังการผลิต 40-850 กิโลวัตต มีกาํ ลังการผลิตรวม 8,870 กิโลวัตต มูลคาการลงทุนรวมกว า 710 ล า นบาท ระยะเวลาคืนทุน 4-10 ป รศ. ดร.บัณฑิต ลิม้ มีโชคชัย หัวหนาโครงการ FIT สําหรับพลังงานหมุนเวียนที่คํานึงถึงผล ทางสังคม เผยวาไดศึกษาวิเคราะหอัตรารับ ซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน 4 ประเภท คื อ พลั ง งานแสงอาทิ ต ย พลั ง งานลม พลังงานนํ้าขนาดเล็ก และพลังงานชีวมวล รวมถึงศึกษาผลกระทบตออัตราคาไฟฟา โดยอัตโนมัติจากราคาคารับซื้อไฟฟาและ ผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตรมหภาคจากการ รับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน โดยวิธี input-output analysis จากกรณีศึกษามูลคา เงินสนับสนุนที่ กฟผ. ต อ งจ า ยแก ผู ผลิต ไฟฟาพลังงานหมุนเวียน ทั้งระยะสั้นและ ระยะยาว รวมทั้งกรณีศึกษาผลกระทบของ การรับซื้อไฟฟาแบบ Adder และ FiT อัตรา คาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) ตามแผน AEDP 25% และตาม Optimization

ทัง้ นี้ ประเทศไทยมีความจําเปนตองใชพลังงานหมุนเวียนทีส่ ะอาดมากขึน้ เพราะมีผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมนอย จึงอยากสงเสริมใหใชวัสดุที่มีอยูในประเทศผลิตพลังงานใชเองมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพานําเขาจากตางประเทศ และอยากให สกว.เพิ่มการสนับสนุนทุนวิจัยดานนี้ นอกเหนือจากพลังงานทางเลือกตาง ๆ ที่ดําเนินการอยู ในขณะที่ คุณภัทรพงศ เทพา ผอ. ฝายบริหารงานวิจัยและพัฒนา กฟผ. ไดกลาวถึงแผนการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิต ไฟฟาโดยการสรางโรงไฟฟาใหม มีทงั้ พลังงานหมุนเวียน โรงไฟฟาพลังความรอนรวม การซือ้ ไฟฟาจากประเทศเพื่อนบาน โรงไฟฟาเทคโนโลยีถานหินสะอาด และโรงไฟฟานิวเคลียร แตก็มีขอสังเกตวาเรงสรางโรงไฟฟามากเกินไปหรือไม จะเห็นไดวา ภาครัฐตองมีการควบคุมใหเกิดความเปนธรรมระหวางผูผลิตกับผูใชไฟฟา ปญหาใหญของผูผลิตไฟฟาในบางประเทศ พบวา ภาครัฐไมไดกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน ผูผลิตเทคโนโลยีจึงไมสามารถรองรับความตองการในการผลิตไฟฟาได ดังนั้นรัฐจึงตองมี โรดแมปที่ชัดเจน นอกจากนี้ยังตองใหความสําคัญกับการทําวิจัยเพื่อหาขอมูลเกี่ยวกับ ศักยภาพการผลิตพลังงานหมุนเวียนที่เปนธรรมและแหลงผลิตที่ตรงกับความเปนจริง เชนเดียวกับ ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูอ าํ นวยการสถาบันสิง่ แวดลอมไทย ทีก่ ลาววา สุขภาพคนเปนสิ่งสําคัญ การตอบโจทยของ พลังงานคือการลดมลพิษ คนมีสุขภาพดีขึ้น เมืองหลวงอยางกรุงเทพฯ มีประชากรหนาแนน ขณะที่ประเทศอื่นมีการกระจายตัวออกจาก เมืองหลวง การขยายตัวของเมืองหลวงทําให เกิดปญหาหลายดานรวมทั้งพลังงาน การจะ เกิดโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียนจึงตองมองที่ ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ คนในชุมชนดวยวาจะไดประโยชนอะไร เพือ่ ลด ปญหาขัดแยงกับชุมชน มิฉะนั้นก็จะไมเกิดโรงไฟฟาใหม รวมทั้งตองมอง life cycle analysis และ value chain ไมใชมองแต cost benefit July 2015 85


Energy Invention

สามลอกูโลก! ภารกิจสุดระหํ่า นักศึกษามหิดลอินเตอร ขับ “ตุก ตุก ” จากไทยไปฝรั่งเศส

“Energy Invention” ©ºÑº¹Õ้¨Ð¾Òä´Œ´ÙÀÒáԨÃÑ¡É âÅ¡·Õ่¨Ð àÃÕ¡àÊÕ§Î×ÍÎÒä´Œ¨Ò¡·ÑÇ่ ·Ø¡ÊÒ÷ÔÈ ÀÒáԨ¹Õ¤้ Í× “ÊÒÁŌ͡Ù⌠š” ¢Í§ÊÒÁ¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒÁËԴŪÒǽÃѧ่ àÈÊ ÅÙ´ÇÔ¡ áÁà Ê, ¤Òàù ¡ÙÅÒà¤Õ¹ áÅÐ àÃÁÕ à¿Íà ¹¹Ñ à´Ê á´¹à´Ã ·Õ¤่ ´Ô â»Ãਤµ ãËÞ‹´ÇŒ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ¡ÅѺàÁ×ͧµÙÅ«Ù »ÃÐà·È½Ãѧ่ àÈÊ â´ÂÁÕʶҹյ¹Œ ·Ò§¨Ò¡»ÃÐà·Èä·Â ´ŒÇÂÂÒ¹¾Ò˹зÕ่໚¹àÍ¡Åѡɳ ¢Í§àÁ×ͧä·ÂÍ‹ҧ “µØ ¡µØ ¡” ¹Ñ่¹àͧ

การเดินทางสุดระหํ่าครั้งนี้ มีกรอบเวลา 120 วัน เปนตัว กําหนด กับระยะทางรวมกวา 20,000 กิโลเมตร และ ความทาทายที่จะตองโคจรผานประเทศตาง ๆ กวา 16 ประเทศ โดยรถตุก ตุก พลังงานไฟฟา-แสงอาทิตยทที่ าํ งาน ดวยแผงโซลารเซลลเพียง 1 แผง และแบตเตอรีอ่ กี 2 กอน และชายหนุมอีก 3 คน กับภารกิจรักษโลก โดยวัดใจกับ การเดินทางขามทวีปจากประเทศไทยกลับสูเมืองตูลูซ ประเทศฝรั่งเศส ดวยรถตุกตุกพลังงานไฟฟา คาเรน กูลาเคียน เลาถึงจุดเริ่มตนของไอเดียครัง้ นีว้ า “ครั้งแรกที่มากรุงเทพ เขาไดสะดุดตากับรถตุกตุกที่มี อยูจํานวนมาก แถมความพิเศษของรถตุกตุกยังสามารถ เดินทางไดสะดวกในเมืองใหญ จึงไดเขาไปพูดคุยและ อยากลองขับดูบา ง ก็เลยเกิดเปนไอเดียสนุก ๆ วานาจะ ลองขี่เจารถตุกตุกนี้ขามทวีปกลับบานได เนื่องจากมี คนเคยทํามาแลว แตครั้งนั้นเปนนํ้ามันเบนซิน ซึ่งครั้งนี้ พิเศษออกไป เพราะมันคือรถตุกตุกพลังงานไฟฟาและ แสงอาทิตย ซึ่งตอบโจทยกับโครงการ pilgreens ของเรา ตองขอบคุณทางตุก ตุก แฟคตอรี่ ทีท่ าํ ใหทกุ อยางเกิดขึน้ ได”

86

July 2015


ภารกิ จ แอดเวนเจอร นี้ เริ่ ม เดิ น ทางจาก กรุงเทพฯ สูเมืองตูลูซ ประเทศฝรั่งเศส โดย เดินทางเขาไปยังลาว จากนั้นตอไปยังจีน ผานคาซักสถาน ออกรัสเซีย ลงมาอารเมเนีย ตอดวยตุรกีกอ นจะเขายุโรปไดตอ งวางเสนทาง เอาไวโดยเลี่ยงสถานที่อันตรายและมีความ รุนแรง นอกจากเสนทางแลวจะตองเตรียม สภาพรถและรางกายใหพรอม เพราะไมรูวา หนทางข า งหน า จะสามารถชาร จ ไฟที่ ใ ด ไดบาง แตที่แน ๆ คือ ตองเดินทางใหทัน ภายใน 120 วั น เพราะไม อ ย า งนั้ น ต อง เผชิญกับสภาพอากาศหนาวเย็น จึงตองมี การเตรียมการที่ดี ฝกการซอมรถตุกตุกจาก ผูเ ชีย่ วชาญ โปรเจกตนไี้ มใชเรือ่ งงาย ๆ ตอง อาศัยการทํางานหนักและความพรอมทุกอยาง นอกจากนี้ ยั ง ได นํ า โครงการ Pilgreens ซึ่ ง เป น โครงการเพื่ อ ส ง เสริ ม แหล ง กํ า เนิ ด พลังงานสะอาด และพาหนะพลังงานไฟฟา ไปแนะนําใหคนรูจักหรือเตือนวาอยาหลง ระเริง ทําผิดเหมือนบางประเทศที่เจริญและ ใชพลังงานเยอะมาก การใชพลังงานสะอาด จะทําใหอยูไดนานและยั่งยืนมากขึ้น ทางดาน Dennis Harte Managing Director จากบริษทั TUK TUK Factory ผูผ ลิตรถตุก ตุก พลังงานไฟฟา รวมถึงรถตุกตุกคันพิเศษ ที่จะใชเดินทางขามทวีปในโปรเจกตนี้เลาวา “รถคันนี้สามารถวิ่งไดมากสุด 80 กิโลเมตร/ ชั่วโมง แตมีอันตราย เพื่อความปลอดภัย จะต อ งพยายามควบคุ ม โปรแกรมให วิ่ ง ดวยความเร็วที่ 50 กิโลเมตร/ชั่วโมงแทน เราออกแบบออกมาใหสามารถใชงานไดงา ย การดูแลซอมรักษาไมซบั ซอนมาก เพือ่ รองรับ เวลามีปญ  หากลางทางในประเทศอืน่ ๆ หรือ ถามีปญหาจริง ๆ จะมีการสงอะไหลไปให ซึ่งทั้งสามคนผานการฝกขั้นตอนเทรนดการ ซอมมาหนักมาก จากทีมชางผูเ ชีย่ วชาญของ เมืองไทย เพือ่ ความพรอมในการเดินทางไกล ครัง้ นี้ ซึง่ ถามีอะไรเกิดขึน้ เบือ้ งตนทัง้ สามคน สามารถซอมไดเองแนนอน”

นอกจากเรื่องพลังงานสะอาดที่ทั้ง 3 คนตั้งใจจะเผยแพรใหผูคนทราบ ลูดวิก และ คาเรน รวมทั้งเรมี่ ยังทําเกดวยการนํารถตุกตุกที่เปนยานพาหนะประจําชาติไทย อวดสายตา ผูคนใหเปนที่รูจักของคนทั่วโลก นํามาพัฒนาใหสามารถขับเคลือ่ นดวยพลังงานไฟฟาและ พลังงานแสงอาทิตย โดยการติดตั้งแผงโซลารเซลลบนหลังคารถ โดยกักเก็บพลังงานไวใน แบตเตอรี่ลิเธียม 72 โวลต ความจุ 30 กิโลวัตต/ชั่วโมง สามารถเดินทางได 200 กิโลเมตร ตอการชารจไฟหนึ่งครั้ง หรือใชได 6-8 ชั่วโมง คิดเปนคาไฟ 0.7 บาทตอกิโลเมตร หรือ 14,000 บาท ตลอดการเดินทาง ลูดวิก แมรส หนึ่งในสมาชิกผูริเริ่มโครงการกลาววา ปญหาสิ่งแวดลอม เปนประเด็นสําคัญ ทีท่ ว่ั โลกตองเผชิญปญหาจึงตองการแสดงใหเห็นวา จริง ๆ แลวความกาวหนาทางเทคโนโลยี สามารถชวยใหเราใชพลังงานสะอาดไดอยางมีประสิทธิภาพ จากการตอยอดการเรียนที่ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล รวม 1 ป ชวยใหไดเรียนรูการลงมือทําจริง ตนและ เพื่อนชาวฝรั่งเศสจึงไดริเริ่มโครงการรถตุกตุกพลังงานไฟฟาและพลังงานแสงอาทิตยขึ้น เพื่อพิสูจนใหคนทั่วโลกเห็นวา การเดินทางไกลขามทวีปกับระยะทางรวมกวา 20,000 กิโลเมตร โดยใชพลังงานไฟฟาจะเปนจริงไดหรือไม ซึ่งหากทําไดสําเร็จก็เปนสิ่งที่ชวยยืนยัน ไดเปนอยางดีวา เราสามารถนําพลังงานไฟฟามาใชในการเดินทางและการขนสงไดจริง ซึ่งจะเปนการแกปญหาการเปลี่ยนแปลงสถาพภูมิอากาศที่ยั่งยืนที่สุด อยางไรก็ตาม โครงการ The Pilgreens เปนองคกรสัญชาติฝรั่งเศสที่ไมแสวงหาผลกําไร กอตั้งเพื่อสงเสริมแหลงกําเนิดพลังงานสะอาด และพาหนะพลังงานไฟฟา โดยสองนักศึกษา ชาวฝรัง่ เศสและหนึง่ เยอรมนี มร. ลูดวิก แมรส, คาเรน กูลาเคียน และ เรมี เฟอรนนั เดส แดนเดร จากการรวมกันของวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยตูลูซ ประเทศฝรั่งเศส ดวยคิดสุดลํ้า ที่หวังจะสรางอิมแพ็คในระดับนานาชาติ ใหโลกไดตระหนักถึงประโยชนของแหลงกําเนิดพลังงานสะอาด ดวยการเดินทางโดยพาหนะ “รถตุกตุกพลังงานไฟฟา” ขามผานดินแดน Eurasia ที่ไกลถึง 20,000 กิโลเมตร ในระยะ เวลา 120 วัน ผาน 16 ประเทศ อาทิ ไทย ลาว จีน คาซักสถาน รัสเซีย ตุรกี ออสเตรีย เยอรมนี และฝรั่งเศส โดยไมสรางมลพิษตอโลก โดยสามหนุม ลูดวิก และ คาเรน จะขับรถ ตุกตุกพลังงานไฟฟาและพลังงานแสงอาทิตยคันแรกของโลก July 2015 87


Energy Report

คิดจะไปดวงจันทร… อยาหยุดแคปากซอย

ฉบับทีแ่ ลวผูเ ขียนไดนาํ เสนอกิจกรรมดี ๆ ที่ โครงการ iTAP ภายใต ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ไดจดั ขึน้ เพือ่ สงเสริมผูป ระกอบการใหเห็นความสําคัญ ในการพัฒนาหองลับคมใบเลื่อยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแปรรูปไมและลดตนทุนการผลิตไปแลวผาน กิจกรรมตาง ๆ เชน การจัดอบรมสัมมนา, การเขาเยีย่ มชมและใหคาํ แนะนําเบือ้ งตนในการวิเคราะหและแกไข ปญหา การเขาใหคาํ ปรึกษาเชิงลึกโดยผูเ ชีย่ วชาญ และการจัดทําชุดความรูใ นชือ่ “เทคนิคการผลิตและเทคนิคทาง วิศวกรรมสําหรับการผลิตเฟอรนเิ จอรและผลิตภัณฑไม” จํานวน 8 เลม โดยมี อ.สันทัด แสงกุล เปน ผูเ รียบเรียงหนังสือในชือ่ “เทคนิคในการตัง้ ใบมีดและการตัง้ เครือ่ งใสไม” ซึง่ เปน 1 ใน 8 เลม ของชุดความรู ดังกลาว และเพื่อใหเห็นตัวอยางกิจกรรมประสบความสําเร็จไปแลวจากการสนับสนุนขางตน ผูเขียนขอนําเสนอกรณี ตัวอยางของ บริษัท สยามเคียววะเซซาคูโช จํากัด ผูผลิตพาเลทไมสน ลังไม งานแพคกิ้งไม เพื่อใชเปนไม รองยกใหกบั ผลิตภัณฑทจี่ ะสงออกจากไทยไปขายทัว่ โลก โดยมี อ.สันทัด แสงกุล ผูเ ชีย่ วชาญดานอุตสาหกรรมไม เปนผูเ ชีย่ วชาญหลักของโครงการฯ และ iTAP ไดเขาไปใหความรูแ ละใหคาํ แนะนําแกบริษทั ซึง่ ถือเปนการ ทํางานทีส่ อดรับกันในการสานตอเจตนารมณทมี่ รี ว มกันระหวาง สวทช. กับผูเ ชีย่ วชาญ ทีจ่ ะพัฒนาผูป ระกอบการ ผลิตภัณฑไมและเครือ่ งเรือนใหมศี กั ยภาพในการแขงขันในตลาดโลกได

88

July 2015


โดยเบือ้ งต้นนัน้ บริษทั สยามเคียววะเซซาคูโช จ�ากัด จะมีขนั้ ตอนการเตรียมไม้แปรรูป เพือ่ ท�าพาเล็ทและกล่องไม้ โดยจะแปรรูปไม้โดยใช้เลือ่ ยสายพานทีต่ ดิ ตัง้ ไว้ทบี่ ริษทั ฯ และจะจ้าง ผูร้ บั เหมาภายนอกให้เป็นผูจ้ ดั หาใบเลือ่ ยและลับคมใบเลือ่ ย ซึง่ พบปัญหาว่ามีความยุง่ ยาก ต่อการควบคุมและดูแลการใช้งาน รวมถึงไม่สามารถทราบต้นทุนทีแ่ ท้จริงได้ และหลังจาก บริษทั ฯ เข้าร่วมโครงการกับทาง iTAP จึงได้รบั ค�าแนะน�าให้มกี ารปรับปรุงและพัฒนาห้องลับ คมใบเลือ่ ย รวมถึงการฝึกให้มี “หมอเลือ่ ย” เพือ่ ท�างานประจ�าให้กบั บริษทั ฯ ทดแทนการ จ้างวานผูร้ บั เหมาภายนอก ซึง่ นอกจากจะเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพของใบเลือ่ ยได้แล้ว ยังช่วย ควบคุมค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการแปรรูปไม้ได้อกี ด้วย โดยมีขอ้ สรุปถึงสิง่ ทีบ่ ริษทั ฯ ได้รบั ค�าแนะน�าจาก อ.สันทัด แสงกุล ดังนี้ 1. วางผังห้องลับคมใบเลือ่ ยสายพาน / ใบเลือ่ ยวงเดือน ปรับตัง้ วางต�าแหน่งเครือ่ งจักร / อุปกรณ์การลับคม / การติดตัง้ เครือ่ งเชือ่ มใบเลือ่ ยมิก 2. ฝึกอบรมงานลับคมใบเลือ่ ยเพือ่ เตรียมการในการปฏิบตั งิ านเบือ้ งต้น (On the job training) 3. ฝึกอบรมผูค้ วบคุมงานให้เป็นผูส้ อนงาน (Train the trainee) ในระดับก้าวหน้า (On the job training) 4. ปรับตั้งโต๊ะเลื่อยสายพานให้ถูกต้องเพื่อลดปัญหาการเสียหายของโต๊ะเลื่อยและ ใบเลือ่ ย (On the job training) 5. ฝึกหลักการด้านทฤษฏีและการปฏิบตั เิ กีย่ วกับการลับคมใบเลือ่ ยและการแปรรูปไม้ให้ ได้ประสิทธิภาพตามเป้าหมาย 6. ดูแลให้ค�าแนะน�าในการปฏิบัติร่วมกันระหว่างโต๊ะเลื่อยไม้และการใช้ใบเลื่อยให้มี ประสิทธิภาพ จัดท�าเอกสาร และในทีส่ ดุ บริษทั ฯ สามารถรับผลประโยชน์ได้ตามทีต่ อ้ งการ อาทิ • ลดค่าใช้จา่ ยจากการจ้างบริษทั เข้ามารับดูแลลับคมใบเลือ่ ย • ลดค่าใช้จา่ ยจากการใช้เครือ่ งจักร และการลับคมใบเลือ่ ย • มีหอ้ งลับคมทีส่ ามารถลับคม / ซ่อมแซม / บ�ารุงรักษา ใบเลือ่ ยทีม่ ปี ระสิทธิภาพ • มีพนักงานทีม่ คี วามสามารถในการลับคม / ดูแล / ซ่อมแซมใบเลือ่ ยให้สามารถใช้ งานได้เต็มทีต่ ามอายุการใช้งาน • เพิ่มประสิทธิภาพในการท�างานจากการลดการซ่อมแซมทั้งใบเลื่อยและโต๊ะเลื่อยที่ ต้องท�างานประสานกัน เพิม่ สัมพันธภาพในการท�างานของช่างเลือ่ ยและนายม้า • ผูเ้ ชีย่ วชาญมอบเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องในการฝึกอบรมและการปฏิบตั งิ านให้บริษทั เป็น เอกสารอ้างอิง และถือว่าบริษทั ฯ ได้รบั สิง่ ทีต่ อ้ งการ คือ การพัฒนาอย่างไม่หยุดยัง้ เพือ่ จะก้าวไปสูด่ วงจันทร์ ดังทีห่ วังไว้ โดยไม่หยุดรอ หรือหยุดชะงักการพัฒนาแต่เพียงเริม่ ก้าวเดิน เพราะถึงแม้วา่ ผลิตภัณฑ์ของบริษทั จะเป็นเพียงพาเล็ทและกล่องไม้เพือ่ ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ให้กบั ลูกค้า ไม่ใช่ ผลิตภัณฑ์หรือของใช้ทมี่ คี วามละเอียดลึกซึง้ ในการผลิต แต่การทีบ่ ริษทั ฯ ให้ความส�าคัญและ มุง่ มัน่ ใส่ใจกับการเตรียมวัตถุดบิ ไม้ (เลือ่ ยเพือ่ แปรรูปจากไม้เป็นแผ่นขนาดใหญ่ / ท่อนขนาด ใหญ่ มาเป็นแผ่นไม้เล็กตามขนาดทีต่ อ้ งการ) อย่างมีคณ ุ ภาพ เพือ่ น�ามาสร้างสรรผลิตภัณฑ์ ของบริษทั ถือเป็นการให้ความใส่ใจต่อผลิตภัณฑ์ นัน่ รวมถึงความใส่ใจต่อลูกค้าทีจ่ ะรับผลิตภัณฑ์ ในล�าดับต่อไปด้วย หากผู้อ่านสนใจจะขอรับการสนับสนุนจาก สวทช. ส�าหรับพัฒนา ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิต สามารถสอบถามข้อมูลเพือ่ ขอรับการสนับสนุนได้ที่ คุณชนากานต์ สันตยานนท์ โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@ tmc.nstda.or.th

ภาพการเข้าให้คา� ปรึกษาและแนะน�า ด้านการใช้และการบ�ารุงรักษาใบเลือ่ ย ณ บจก.สยามเคียววะเซซาคูโช

July 2015 89


Energy Loan

โปรแกรมสินเชื่อรับประกันการประหยัดพลังงาน กับ กสิกรไทย วงเงินสินเชื่อสูงสุด 100% สําหรับ เอกสารในการขอยื่นกู คือ หนังสือ รับรองการจดทะเบียนหุนสวน/บริษัท ฉบับ ลาสุด (ไมเกิน 3 เดือน) หนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของนิติบุคคล สําเนาทะเบียน ผูถือหุน งบการเงินสง สรรพากร (งบดุล งบกําไรขาดทุน) ปลาสุดและยอนหลังรวม 2 ป และ/หรืองบภายใน (ถามี) รายการ เดินบัญชีกับธนาคารยอนหลัง 6 เดือน และ เอกสารสรุปผลการประเมินโครงการลงทุน ประหยัดพลังงาน (ทางบริษัท ESCO เปน ผูจัดทํา) เงื่อนไขการใชบริการ เปนผูประกอบการ ที่มียอดขายตั้งแต 50 ลานบาทขึ้นไป เปน โครงการลงทุ น ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ การ จัดการดานพลังงานใหมีประสิทธิภาพที่มี การรับประกันผลการประหยัดพลังงานจาก บริษัท ESCO ซึ่งผูดําเนินการโครงการตอง เปน ESCO ที่ผานเกณฑการพิจารณาของ ธนาคาร โครงการและลูกคาที่สามารถได รั บ อนุ มั ติ สิ น เชื่ อ 100% ของเงิ น ลงทุ น ทั้งหมดของโครงการตองมีคุณสมบัติเปนไป ตามที่ธนาคารกําหนด

โปรแกรมสินเชื่อรับประกันการประหยัด พลังงานกสิกรไทย เปนโปรแกรมสินเชือ่ ทีธ่ นาคาร ให แ ก ผู  ป ระกอบการในรู ป ของสิ น เชื่ อ ลี ส ซิ่ ง /เช า ซื้ อ เครือ่ งจักรและอุปกรณและ/หรือเงินกูร ะยะยาว โดยมีวตั ถุประสงค เพื่อสนับสนุนการลงทุนในโครงการจัดการดานพลังงานใหมีประสิทธิภาพ ผานการใชบริการจาก “บริษัทจัดการดานพลังงาน” (Energy Service Company : ESCO) ซึง่ เปนบริษทั ทีป่ รึกษาและบริหารจัดการดานพลังงานอยางครบวงจร และมีการรับประกันผล การประหยัดพลังงานทีไ่ ดจากการลงทุนในโครงการดังกลาว ซึง่ ทําใหผปู ระกอบการมัน่ ใจไดวา ผลการประหยัดพลังงานที่ไดจากการลงทุนในโครงการจะเปนแหลงที่มาหลักของการชําระ คืนเงินกูของลูกคา (Self-Financing Project) สนใจติ ด ต อ ธนาคารกสิ ก รไทย เลขที่ 1 ซอยราษฎรบรู ณะ 27/1 ถนนราษฎรบรู ณะ จุดเดนของสินเชื่อ คือ ทางธนาคารฯ ใหวงเงินสินเชื่อสูงสุด 100 % ของเงินลงทุนทั้งหมด แขวงราษฎรบรู ณะ เขตราษฎรบรู ณะ กรุงเทพฯ ของโครงการ (รวมคาบริการที่ปรึกษาและดําเนินการของบริษัท ESCO) บริษัท ESCO 10140 โทร. 0-2888-8888 รับประกันผลการประหยั ดพลั งงาน ทํ า ใหลูก คาสามารถมั่นใจในผลประหยัด พลังงาน ซึ่งเปนแหลงที่มาของการชําระคืนเงินกู โดยไมรบกวนกระแสเงินสดจากการดําเนินงานปกติ วิธีการสมัคร/เปดใชบริการ สอบถามขอมูล ของกิจการ ลูกคาสามารถลดตนทุนการใชพลังงานของกิจการ ทําใหมีสถานะทางการเงิน เพิ่ ม เติ ม ได ที่ ผู  ดู แ ลความสั ม พั น ธ ลู ก ค า และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันดีขึ้นในระยะยาว ทั้งนี้ลูกคายังสามารถนําโครงการ ศูนยบริการธุรกิจตางประเทศ หรือ K-BIZ ลงทุนดานการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพทํา Corporate Social Responsibility (CSR) Contact Center 02-8888822 ของบริษัทได 90

July 2015



Special report

โอกาสทีค่ นไทยจะได้รว่ มทุน พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานไฟฟ้า สร้างความมัน่ คงด้านพลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หน่วยงานที่เป็นเสาหลักใน การผลิตรับซื้อพลังงานและจัดส่งพลังงานไฟฟ้า มายาวนานกว่า 46 ปี ซึ่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันองค์การแห่งนี้ได้มีการพัฒนา ประสิทธิภาพมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างความมัน่ คงทางด้านพลังงาน ไฟฟ้าอย่างยั่งยืนให้แก่ประเทศไทย อีกทั้งเพื่อเป็นการจัดหาแหล่ง เงินทุนทางเลือกใหม่ให้แก่รฐั วิสาหกิจ รัฐบาลจึงมีนโยบายสนับสนุน ให้หน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่มีศักยภาพและเข้มแข็ง เฉกเช่น “กฟผ.” ที่เป็นรัฐวิสาหกิจชั้นน�าและมีความแข็งแกร่งทางการเงินให้เป็น ต้นแบบในการระดมทุนผ่าน “กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน” 92

July 2015

กองทุน รวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ EGATIF เป็นกองทุนรวม โครงสร้างพื้นฐานที่เข้าลงทุนในสิทธิรายได้ค่าความพร้อมจ่ายไฟฟ้า ของ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 โดยมีระยะเวลาการลงทุน 20 ปี ทั้งนี้โรงไฟฟ้าดังกล่าว เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ยอมรับในระดับสากล มีก�าลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญา จ�านวน 670 Glossary Link เมกะวัตต์ และเป็นหนึง่ ในโรงไฟฟ้า ที่ใ หม่ที่สุด ในปัจจุบันของ กฟผ. โดย EGATIF เป็นกองทุนรวม โครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ นับสนุนโดยรัฐวิสาหกิจกองแรกของไทย ซึง่ เป็น ทางเลือกในการลงทุนทีน่ า่ สนใจ และทีส่ า� คัญเป็นโอกาสทีป่ ระชาชน ชาวไทยจะได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการขับเคลือ่ นและพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศให้มีความมั่นคงและยั่งยืน มากยิ่งขึ้น ล่าสุด ได้มกี ารลงนามในสัญญาแต่งตัง้ ให้ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ากัด (มหาชน) เป็นผู้จัดการการจัดจ�าหน่ายและรับประกันการจ�าหน่าย (Lead Underwriter) หน่วยลงทุนกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน EGATIF โดยมีบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) เป็นผู้จัดการกองทุน และ กฟผ. เป็นผู้บริหารทรัพย์สินและเจ้าของ ทรัพย์สินพร้อมเสนอขายให้กับประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) ในราคาหน่วยละ 10.00 บาท จ�านวนจองซื้อขั้นต�่า จ�านวน 5,000 หน่วย หรือ 50,000 บาท และเพิ่มเป็นทวีคูณของ 1,000 หน่วย หรือ 10,000 บาท โดยมีวิธีการจัดสรรให้กับผู้จองซื้อทั่วไปแบบ Small Lot First


Special report นายสุนชัย ค�านูณเศรษฐ์ ผูว้ า่ การ การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เปิดเผยว่า โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ถือเป็นโรง ไฟฟ้าที่มีศักยภาพโดยเป็นหนึ่งในโรงไฟฟ้า ทีใ่ หม่ทสี่ ดุ ในปัจจุบนั ของ กฟผ. ทีก่ องทุนรวม โครงสร้างพื้นฐาน EGATIF จะเข้าไปลงทุน ในสิทธิรายได้ค่าความพร้อมจ่ายไฟฟ้า โดย เป็นโรงไฟฟ้าแบบพลังงานความร้อนร่วม ใช้ ก ๊ า ซธรรมชาติ แ ละไอน�้ า เป็ น ตั ว ผลิ ต กระแสไฟฟ้า ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับการ ยอมรับและมีความน่าเชื่อถือในระดับสากล มีประสิทธิภาพการด�าเนินงานสูง ส่งผลให้ โรงไฟฟ้าพระนครเหนื อ ชุ ดที่ 1 ดั ง กล่ าว มีดัชนีค่าความพร้อมจ่ายไฟฟ้าที่ดีมาโดย ตลอดตั้งแต่ปี 2554-2556 นอกจากนี้ กฟผ. ซึ่งมีประสบการณ์และ ความเชี่ยวชาญในการเดินเครื่องและซ่อม บ� า รุ ง โรงไฟฟ้ า มากที่ สุ ด ในประเทศไทย เป็นผู้รับผิดชอบเดินเครื่อง บ�ารุงรักษาและ บริ ห ารจั ด การโรงไฟฟ้ า แห่ ง นี้ เพื่ อ สร้ า ง ความมัน่ ใจในความพร้อมการเดินเครือ่ งผลิต ไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ได้อย่างเต็มที่ ท� าให้ โรงไฟฟ้ า แห่ ง นี้ มี ค่า ความพร้อมจ่ายไฟฟ้าสูงกว่าโรงไฟฟ้าที่มี ลักษณะใกล้เคียง นายอรรถพงศ์ พรธิติ ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ผู ้ บ ริ ห ารสายวาณิ ช ธนกิ จ 2 ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จ�ากัด (มหาชน) ในฐานะทีป่ รึกษา ทางการเงิ น และผู ้ จั ด การการจั ด จ� า หน่ า ย และรับประกันการจ�าหน่าย กล่าวว่า EGATIF เป็นกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานในกิจการ ไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดในปั จจุ บัน โดยมี ข นาด กองทุนรวมประมาณ 20,025 – 20,855 ล้านบาท ซึ่งจะเข้าลงทุนในสิทธิในรายได้ ค่าความพร้อมจ่ายของโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ซึ่งมีก�าลังการผลิตตามสัญญา 670 เมกะวัตต์ เป็นระยะเวลา 20 ปี โดยสิทธิใน รายได้ที่กองทุนรวมฯ จะเข้าไปลงทุนนั้น ถือเป็นรายได้ในอนาคตจากโรงไฟฟ้าที่มี เทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย มี ศั ก ยภาพและมี ความพร้อมในการเดินเครือ่ งสูง ประกอบกับ

ท�าเลที่ตั้งของโรงไฟฟ้าที่อยู่ใกล้แหล่งความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง จึงถูกจัดให้เป็นโรงไฟฟ้า ล�าดับต้น ๆ ที่ต้องผลิตไฟฟ้าส่งเข้าระบบเป็นล�าดับต้น ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ ใช้พลังงานของครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรมในย่านศูนย์กลางชุมชนผู้ใช้ไฟฟ้า ท�าให้ กองทุนรวมฯ มีโครงสร้างรายได้ที่ชัดเจน นอกจากนี้ กฟผ. เป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายในการ ด�าเนินงานและบ�ารุงรักษาที่เกี่ยวข้องกับโรงไฟฟ้าฯ ทั้งหมด ท�าให้ EGATIF ไม่มีภาระ ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ตลอดอายุสัญญาการเข้าลงทุนอีกด้วย ด้าน นางชวินดา หาญรัตนกูล กรรมการผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน EGATIF มีโครงสร้างรายได้ทชี่ ดั เจนและมีรายได้สม�า่ เสมอ ซึง่ สิทธิรายได้คา่ ความพร้อมจ่ายที่ EGATIF จะได้รบั นัน้ ขึน้ อยูก่ บั ความพร้อมในการจ่ายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพระนครเหนือชุดที่ 1 เท่านั้น ซึ่งไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้ไฟฟ้าจริงและความต้องการใช้ไฟฟ้าและไม่ขึ้นกับ อัตราค่าไฟฟ้าแต่อย่างใด นอกจากนี้ กองทุนรวมฯ ยังได้รับความคุ้มครองจากกรมธรรม์ ประกันภัยทีค่ รอบคลุมทัง้ หมด 4 ประเภท เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ต่อโรงไฟฟ้าฯ ในกรณีที่โรงไฟฟ้าฯ ได้รับความเสียหายและมีผลกระทบต่อรายได้ค่าความพร้อมจ่าย อาทิ เช่น ประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption Insurance) โดยหากโรงไฟฟ้าฯ ได้รบั ความเสียหายและไม่มคี วามพร้อมในการผลิตไฟฟ้า กฟผ. จะได้รบั สินไหมทดแทนจากบริษทั ประกันภัยและจะส่งมอบสินไหมทดแทนดังกล่าวให้แก่กองทุนรวมฯ นอกจากนี้กองทุนรวม โครงสร้างพืน้ ฐาน EGATIF มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90 ของก�าไรสุทธิ ที่ปรับปรุงแล้ว โดยจะจ่ายเงินปันผลอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ทั้งนี้ นักลงทุนทั่วไปจะได้รับการ ยกเว้นภาษีเงินได้ของเงินปันผลเป็นระยะเวลา 10 ปี นับจากวันจดทะเบียนจัดตั้งกองทุน รวมโครงสร้างพื้นฐาน EGATIF อีกด้วย ทั้งนี้ผู้ลงทุนสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) โทร 02-686-6100 และ ธนาคารไทยพาณิชย์ ส�านักงานใหญ่และทุกสาขาทั่วประเทศไทย โทร 02-777-6786 หากสนใจอยากร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เตรียมเก็บเงินเพื่อลงทุนได้เลย สามารถศึกษาข้อมูลหรือดาวน์โหลดร่างหนังสือชี้ชวนได้ที่ WWW.EGATIF.COM

July 2015 93


Special Scoop กรีนภัทร์

ส.อ.ท. ผนึกกําลัง กระทรวงพลังงาน สงเสริมธุรกิจและกระตุนตลาดการอนุรักษพลังงาน ʶҺѹ¾Åѧ§Ò¹à¾×่ÍÍصÊÒË¡ÃÃÁ ÊÀÒÍصÊÒË¡ÃÃÁáË‹§»ÃÐà·Èä·Â (Ê.Í.·.) ÃÇÁ¡ํÒÅѧ ¡ÃÁ¾Ñ²¹Ò¾Åѧ§Ò¹·´á·¹áÅР͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ ¡ÃзÃǧ¾Åѧ§Ò¹ ËÇÁ¾Ô¸Õ ŧ¹ÒÁÊÑÞÞÒ “â¤Ã§¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¸ØáԨáÅÐ ¡Ãе،¹µÅÒ´¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹â´Â¡Åä¡ ºÃÔÉÑ·¨Ñ´¡ÒþÅѧ§Ò¹ (ESCO »‚·Õ่ 8)” à¾×่Í¡Ãе،¹Ë¹‹Ç§ҹ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§·Ñ้§ÀÒ¤ÃÑ° áÅÐàÍ¡ª¹ãˌࢌÒÁÒÁÕº·ºÒ·áÅÐÁÕʋǹËÇÁ 㹡ÒþѲ¹ÒáÅÐÊ‹§àÊÃÔÁ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾¡ÒÃ㪌 ¾Åѧ§Ò¹¢Í§ÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁáÅиØáԨºÃÔ¡Òà µÅÍ´¨¹àÊÃÔÁÊÌҧÈÑ¡ÂÀÒ¾¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ ·Ò§¡ÒõÅÒ´¢Í§»ÃÐà·Èã¹Í¹Ò¤µ

94

July 2015


คุณดนัย เอกกมล รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เปดเผยว่า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ได้จดั ท�านโยบายและแนวทางเพือ่ ก�ากับดูแลส่งเสริม ให้เกิดการอนุรกั ษ์พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และต่อเนือ่ ง โดยด�าเนินการภายใต้แผนอนุรกั ษ์ พลังงานระยะ 20 ปี (ปี พ.ศ. 2554 - 2573) ซึง่ ก�าหนดเปาหมายให้มคี า่ ดัชนีการใช้พลังงาน รวมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ณ ปี พ.ศ. 2573 ลดลงให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 25 โดยมาตรการส�าคัญมาตรการหนึง่ ที่ พพ. ด�าเนินการ มาอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับ สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2550 จนถึงปจจุบนั ได้แก่ การส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังานด้วยกลไก บริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) โดยที่ผ่านมา ได้ด�าเนินการในหลาย ๆ ด้าน เช่น การสร้าง มาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน การจัดกิจกรรมกระตุน้ และส่งเสริมตลาดในธุรกิจ ESCO การพัฒนา ศั ก ยภาพและให้ ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจกั บ ผู ้ ที่ เกีย่ วข้อง เป็นต้น ซึง่ ผลการส่งเสริมการอนุรกั ษ์ พลังงานด้วยกลไก ESCO ในช่วงปี พ.ศ. 2552 2557 ทีผ่ า่ นมา สามารถผลักดันให้เกิดการสัญญา ลงทุนโครงการอนุรกั ษ์พลังงานด้วยกลไก ESCO ได้ถึง 379 โครงการ โดยมีเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น ประมาณ 19,615 ล้านบาท และก่อให้เกิด ผลประหยัดพลังงานได้เป็นมูลค่ากว่า 4,195 ล้านบาท/ปี นอกจากนี้สามารถผลักดันให้เกิด ผูป้ ระกอบการทีใ่ ห้บริการ ESCO ทีม่ กี ารขึน้ ทะเบียน ไว้กับสภาอุตสาหกรรมได้ถึง 59 ราย ทั้งนี้ หากนับเฉพาะผลล่าสุดทีเ่ กิดขึน้ ใน ปี พ.ศ. 2557 ที่ผ่านมา สามารถผลักดันโครงการ ESCO ได้ราว 67 โครงการ ก่อให้เกิดการลงทุนทั้งสิ้น กว่า 3,700 ล้ า นบาท และมี ผลประหยัด พลังงานรวมกันประมาณ 670 ล้านบาทต่อปี

คุณดนัย เอกกมล รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

จากความส�าเร็จที่ผ่านมา พพ. ยังคงเดินหน้าให้การสนับสนุนและผลักดันธุรกิจ ESCO อย่างต่อเนือ่ งเป็นปีท่ี 8 โดยการด�าเนินงานภายใต้ “โครงการส่งเสริมธุรกิจและกระตุน้ ตลาดการอนุรักษ์พลังงานโดยกลไกบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO)” มุ่งเน้นให้มี การยกระดับความเป็นมืออาชีพและมาตรฐานการให้บริการของบริษัท ESCO ให้เพิ่ม สูงขึ้นส�าหรับกลุ่มเปาหมายเดิม รวมถึงเพิ่มการขยายผลการด�าเนินโครงการ ESCO ไปยังกลุม่ เปาหมายอืน่ ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพ เช่น กลุม่ ผูป้ ระกอบการ SME ทีม่ กี ารใช้พลังงาน ค่อนข้างสูง รวมทัง้ กลุม่ อาคารของหน่วยงานภาครัฐทีม่ ศี กั ยภาพในการอนุรกั ษ์พลังงาน และมีความสามารถในการจัดหางบประมาณลงทุนบางส่วนได้ดว้ ยตนเอง เช่น โรงพยาบาล และมหาวิทยาลัย เป็นต้น โดย พพ. ได้มีมาตรการเสริมในการสนับสนุนด้านการลงทุน ส�าหรับโครงการ ESCO เป็นการเฉพาะ ซึ่งได้แก่ โครงการส่งเสริมการลงทุนผ่านทาง ESCO Revolving Fund โดยจะมีวงเงินส่งเสริมการลงทุน 500 ล้านบาท เพื่อไปส่งเสริม การลงทุนในโครงการ ESCO ควบคู่กันไปด้วย

July 2015 95


Special Scoop กรีนภัทร์

และ 2. การพัฒนามาตรฐานการด�าเนินงาน และความเป็นมืออาชีพส�าหรับบริษทั จัดการ พลังงาน พัฒนาแนวทางตรวจวัดและพิสูจน์ ผลการประหยัดพลังงาน (M&V) ที่เหมาะสม ส�าหรับโครงการอนุรกั ษ์พลังงานแบบ ESCO ของประเทศไทยและมาตรฐานการท�างาน (Code of Practice) เพื่อให้เกิดการใช้กลไก ESCO อนุรกั ษ์พลังงานในสถานประกอบการ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการอนุรักษ์ พลังงานให้ประเทศและด�าเนินตามยุทธศาสตร์ แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี

“โครงการส่งเสริมธุรกิจและกระตุ้นตลาดการอนุรักษ์พลังงานโดยกลไกบริษัทจัดการ พลังงาน (ESCO ปีที่ 8) จะเป็นตัวกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางภาครัฐและ ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมประสิทธิภาพการ ใช้พลังงานของภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพการ แข่งขันทางการตลาดของประเทศต่อไป” นายดนัย กล่าว ด้าน คุณหิน นววงศ์ รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันพลังงานเพือ่ อุตสาหกรรม กล่าวว่า สภาอุตสาหกรรมฯ จะส่งเสริมให้เกิดการด�าเนินการอนุรกั ษ์พลังงานโดยอาศัย กลไก ESCO ให้สอดคล้องและเป็นไปตามแนวยุทธศาสตร์หลักของกระทรวงพลังงาน ที่ได้ก�าหนดไว้ โดยในปีนี้จะเน้นให้ความส�าคัญ 2 ด้าน คือ 1. สร้างความเชื่อมั่นและงานกระตุ้นขยายตลาดการอนุรักษ์พลังงานโดยกลไก ESCO โดยจัดกิจกรรมกระตุ้นขยายตลาดธุรกิจ ESCO ผ่านกิจกรรมสัมมนาใหญ่ Thailand ESCO Fair ซึง่ จะจัดขึน้ เร็ว ๆ นี้ ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2558 ณ ห้องบอลรูม โซนเอ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ และยังมีกจิ กรรม ESCO Forum ส�าหรับผูบ้ ริหาร และ ESCO Business Matching ทั้งในพื้นที่กรุงเทพฯ และภูมิภาค การสร้างและขยายเครือข่ายในการ ส่งเสริมการลงทุนโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบ ESCO ด�าเนินการพัฒนาปรับปรุงระบบการให้ บริการด้านข้อมูลของบริษัทจัดการพลังงานและ รวบรวมข้อมูลและติดตามผลข้อมูลการอนุรกั ษ์จริง จากการด� า เนิ น โครงการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานด้ ว ย กลไก ESCO โดยพัฒนาระบบหรือแนวทางในการ รวบรวมติดตามข้อมูลดังกล่าวทีส่ ามารถใช้ดา� เนินการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพในระยะยาว

96

July 2015

ส่วน คุณอาทิตย์ เวชกิจ นายกสมาคม บริษัทจัดการพลังงานไทย กล่าวว่า ในปี 2555 ได้มีการก่อตั้งสมาคมบริษัทจัดการ พลังงานไทยเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2555 ที่ผ่านมา เพื่อให้สมาคมฯ ได้มีบทบาทใน การส่งเสริมและผลักดันธุรกิจ ESCO ร่วมกับ สถาบันพลังงานฯ สภาอุตสาหกรรมฯ โดย เน้ น การพั ฒ นาศั ก ยภาพของ ESCO ใน ประเทศไทย ส�าหรับปีนสี้ มาคมบริษทั จัดการ พลังงานไทยจะร่วมมือกับสถาบันพลังงานฯ สภาอุตสาหกรรมฯ ในการพัฒนามาตรฐาน การด� า เนิ น งานและความเป็ น มื อ อาชี พ ส� า หรั บ บริ ษั ท จั ด การพลั ง งานเพื่ อ ให้ สถานประกอบการเชื่อมั่นในผลส�าเร็จของ การอนุรักษ์โดยใช้กลไก ESCO



Green 4U »ÃеÔÁÒ¡ÃÃÁ¨Ò¡¡ØÞá¨à¡‹ÒáÅÐàËÃÕÂÞà¡‹Ò

ªÒÁ¨Ò¡ãºäÁŒáËŒ§

Ethereal bowls ªÒÁ¨Ò¡ãºäÁŒáËŒ§ ·Õ่àËÅ×Íà¾Õ§᡹ àÊÁ×͹â¤Ã§ ¡Ãд١¢Í§ãºäÁŒ ¼Å§Ò¹¢Í§ÈÔÅ» ¹ªÒÇÞÕ่»Ø†¹ Kay Sekimachi ໚¹ÍÕ¡¼Å§Ò¹·Õ่¹‹Ò»ÃзѺ㨢ͧà¸Í ¹Í¡à˹×ͨҡ §Ò¹¶Ñ¡·Íàª×Í¡ ´Œ Ç ÂÁ× Í ·Õ่ ÁÕ ª×่ Í àÊÕ Â § Sekimach ÊÃŒ Ò §ÊÃä »ÃÐµÔ Á Ò¡ÃÃÁ â¤Ã§¡Ãд١ãºäÁŒà»š¹ªÒÁËÅÒ¡ËÅÒÂẺ à·¤¹Ô¤·Õ่à¸Í㪌¤×Í¡ÒùํÒ ¡ÃдÒÉ Kozo ÊÕ¹ํ้Ò áÅÐ Krylon coating «Ö่§ÁդسÊÁºÑµÔ໚¹ ÇÑÊ´Øà¤Å×ͺ¼ÔÇ à¾×Í่ ãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁá¢็§áçáÅÐÁÕ¤³ Ø ÊÁºÑµãÔ ÊàËÁ×͹¡Òà à¤Å×ͺà§Ò ÁÒª‹ÇÂãËŒÇÑÊ´Ø·Õ่ºÍººÒ§Í‹ҧâ¤Ã§ãºäÁŒ ÁÕ¤ÇÒÁá¢็§áç áÅФ§ÃٻËҧ·Õ่ÊǧÒÁ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th)

Michael Moerkerk ÈÔÅ» ¹ªÒÇÍÍÊàµÃàÅÕÂä´Œà¡Ô´äÍà´Õ¨ҡ¤ÇÒÁºÑ§àÍÔÞ ã¹¢³Ð·Õ่à¢Ò·ํÒ¤ÇÒÁÊÐÍÒ´·Õ่¾Ñ¡ áŌǾº·‹Í·Í§á´§à¡‹Ò æ ·Õ่µ¡¤ŒÒ§ËÅѧ¨Ò¡ ¡ÒûÃѺ»ÃاºŒÒ¹ ¨Ö§ä´Œ¹ํÒÁҵѴ໚¹Ç§ æ áŌǹํÒÁÒ»ÃСͺ໚¹ÃÙ»·Ã§¡ÅÁ ¨Ò¡¨Ø ´ àÃÔ่ Á µŒ ¹ 㹤ÃÑ้ § ¹Ñ้ ¹ ·ํ Ò ãËŒ à ¢Òä´Œ Ê ÃŒ Ò §ÊÃŒ Ò §ªÔ้ ¹ §Ò¹¨Ò¡¡Ø Þ á¨à¡‹ Ò áÅÐ àËÃÕÂÞà¡‹ÒÍ‹ҧ¨ÃÔ§¨Ñ§ â´Âä´ŒÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹»ÃеÔÁÒ¡ÃÃÁªÔ้¹àÅ็¡ æ ઋ¹ ¢Ç´äǹ á¡ŒÇäǹ ÅÙ¡·Ã§¡ÅÁ ¨¹¶Ö§§Ò¹»ÃеÔÁÒ¡ÃÃÁªÔ้¹ãËÞ‹ æ ໚¹ÃٻËҧ ¼ÙŒËÞÔ§ áÅÐ໚¹ªÔ้¹§Ò¹·Õ่à¾Ô่Á»ÃÐ⪹ 㪌ÊÍÂࢌÒä» àª‹¹ â¤Áä¿ ªÒÁãÊ‹¼ÅäÁŒ ã¤Ãʹã¨ÊÒÁÒöࢌ Ò ä»ÊÑ่ § «×้ Í §Ò¹¢Í§à¢Òä´Œ ·่Õ à Ç็ º §Ò¹½‚ Á× Í ·Õ่ ª×่ Í Etsy (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.iurban.in.th)

àµ็¹· ¾ÅѧáʧÍҷԵ ÃÑ¡ÉҢͧʴäÁ‹µŒÍ§¾Ö่§µÙŒàÂ็¹

Tsunago ¡ºàËÅÒàª×่ÍÁµ‹Í´Ô¹ÊÍà¡‹Ò

ºÃÔÉÑ· Nakajima Jukyudo ¨Ò¡âÍ«Ò¡ŒÒ »ÃÐà·ÈÞÕ่»Ø†¹ ºÃÔÉÑ· ªÑ้¹¹ํÒ´ŒÒ¹¡ÒüÅÔµ¡ºàËÅÒ´Ô¹ÊÍä´Œ¼ÅÔµ¡ºàËÅÒµÑÇãËÁ‹·่Õª‹Ç µ‹ÍÍÒÂØ´Ô¹ÊÍá·‹§à´ÔÁãËŒÊÒÁÒö㪌䴌¨¹ËÁ´á·‹§ ¡ºàËÅÒ´Ô¹ÊÍ ªÔ้¹¹Õ้ÁÕª×่ÍÇ‹Ò ‘Tsunago’ ·Õ่ÁҾÌÍÁ¤ÇÒÁËÁÒ ‘àª×่ÍÁµ‹Í’ àÁ×่ÍÁͧ ¨Ò¡ÀÒ¹͡áÅŒÇàËÁ×͹¨Ð໚¹¡ºàËÅÒ´Ô¹Ê͸ÃÃÁ´Òæ ·Õà่ ÃҤع Œ à¤Â ᵋàÁ×่ÍÁͧ¨Ò¡´ŒÒ¹º¹ àÃҨоºª‹Í§ÊํÒËÃѺãÊ‹´Ô¹ÊÍ 3 ÃٻẺ ª‹Í§áá໚¹¡ºàËÅÒ´Ô¹Ê͸ÃÃÁ´Ò·Õª่ Ç‹ ÂàËÅÒ´Ô¹ÊÍãËŒáËÅÁ¤Á¼‹Ò¹ ãºÁÕ´ªÑ¹ ้ àÂÕÂ่ Á ʋǹÍÕ¡ 2 ª‹Í§·Õà่ ËÅ×Í໚¹¡ÒÃàËÅÒ´Ô¹ÊÍ·Õª่ Ç‹ ÂãËŒàÃÒ ÊÒÁÒöàª×Í่ Á´Ô¹ÊÍá·‹§à¡‹Ò¡Ñºá·‹§ãËÁ‹à¢ŒÒ´ŒÇ¡ѹ â´Âª‹Í§¹Ö§¨Ðª‹Ç à¨ÒÐʋǹ¡Œ¹¢Í§´Ô¹ÊÍá·‹§à¡‹Òãˌ໚¹Ã‹Í§Å֡ࢌÒä» Ê‹Ç¹ÍÕ¡ª‹Í§·Õà่ ËÅ×Í ¡็·ํÒ Ë¹Œ Ò ·Õ่ àËÅÒËÑ Ç ´Ô¹ ÊÍá·‹§ãËÁ‹ãËŒÊÒÁÒöÊÇÁࢌҡѺʋǹ¡Œ¹ ¢Í§´Ô¹ÊÍá·‹§à¡‹Òä´Œ¾Í´Õ ¤ÅŒÒÂæ ¡Ñº¡ÒÃà¨ÒÐÃÙÊํÒËÃѺãÊ‹Ê¡ÃÙ¹็͵ µÑǼٌáÅеÑÇáÁ‹ ¨Ò¡¹Ñ้¹ãªŒ¡ÒÇà¾Õ§àÅ็¡¹ŒÍ·Òàª×่ÍÁÊÍ§Ê‹Ç¹à¢ŒÒ ´ŒÇ¡ѹ à¾Õ§෋ҹÕ้´Ô¹ÊÍá·‹§à¡‹Ò¡็¨ÐÊÒÁÒö㪌䴌¨¹ËÁ´´ŒÒÁ (¢ŒÍÁÙŨҡhttp://www.creativemove.com)

98

July 2015

Arne Pauwels ¼ÙŒÊÌҧÊÃä áÅмÅÔµÍØ»¡Ã³ ¹Õ้à¼ÂÇ‹Ò The Wakati ÊÒÁÒö㪌¾Åѧ§Ò¹¨Ò¡áʧÍҷԵ áÅÐÍÒÈÑÂà¾Õ§¡ÒèํÒÅͧÊÀÒ¾ÍÒ¡ÒÈ à©¾ÒШش à¾×่ÍÂ×´ÍÒÂؼżÅÔµãËŒ¤§¤ÇÒÁÊ´ä´Œ¹Ò¹¢Ö้¹ â´ÂªØ´ÍØ»¡Ã³ »ÃСͺ仴ŒÇÂâ¤Ã§ÊÌҧàµ็¹· ÃÙ » ÊÕ่ à ËÅÕ่  Á¼× ¹ ¼Œ Ò ÁÕ ½ Òà» ´ ´Œ Ò ¹º¹ ÊÒÁÒö¨Ø ¼Ñ ¡ ¼ÅäÁŒ ä´Œ»ÃÐÁÒ³ 150 ¡ÔâÅ¡ÃÑÁ ἧ â«Å‹Òà ÃѺ¾ÅѧáʧÍҷԵ áÅÐ µÑÇ Ventilator ·Õ่ª‹Ç¤Ǻ¤ØÁ ¤ÇÒÁª×้ ¹ ÀÒÂã¹àµ็ ¹ · ã ËŒ ¤ §·Õ่ ¡Ò÷ํÒ§Ò¹¢Í§µÑÇ Ventilator ¹Õ้ ¤× Í ¡ Ò Ã » Å ‹ Í Â Å Ð Í Í § ¹ํ้ Ò ÃÒÇ 200 ÁÔÅÅÔÅԵõ‹ÍÊÑ»´ÒË à¢ŒÒä»ã¹àµ็¹· àÃ×่ÍÂæ «Ö่§·ํÒãËŒ àµ็¹· ÁÃÕ Ð´Ñº¤ÇÒÁª×¹้ ·Õà่ ËÁÒÐÊÁ µ‹ Í ¡ÒÃà¡็ º ÃÑ ¡ ÉҼżÅÔ µ áÅÐ ª‹ÇªÐÅÍ¡ÒÃàËÕ่ÂÇáËŒ§¢Í§¼Ñ¡ ¼ÅäÁŒ (¢Œ Í ÁÙ Å ¨Ò¡ http:// www.creativemove.com)


á¨็¤à¡็µ¨Ò¡¢Ç´¹ํ้Ò

Dirtball ¼ÅÔµá¨็¤à¡็µ¨Ò¡¢Ç´¹ํ้Ò´×่Áâ´Â㪌ª×่ÍÇ‹Ò The 50 à˵Øà¾ÃÒÐàÊ×้Í á¨็¤à¡็µ 1 µÑÇ à¡Ô´¨Ò¡¡ÒÃÃÕä«à¤ÔŢǴ¹ํ้Ò´×่Á¨ํҹǹ 50 ¢Ç´ ·Õ่ÊํÒ¤ÑÞ ¼ÅÔµÀѳ± ªÔ้¹¹Õ้ÊÒÁÒöÃÕä«à¤ÔÅä´Œ¤ÃºÇ§¨ÃªÕÇÔµ ¹Ñ่¹ËÁÒ¶֧¶ŒÒàÃÒàº×่Í á¨็¤à¡็µµÑǹÕ้ àÃÒÊÒÁÒöʋ§¡ÅѺ¤×¹ºÃÔÉÑ·à¾×่͹ํÒàÊ×้Íá¨็¤à¡็µä»ÃÕä«à¤ÔżÅÔµ ໚¹Çѵ¶Ø´ÔºµÑ้§µŒ¹ÍÕ¡¤ÃÑ้§ ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้ à¢Òä´Œª‹ÇÂʹѺʹعª‹Ò§½‚Á×Íáç§Ò¹ ÀÒÂã¹»ÃÐà·Èá·¹¡ÒÃÊ‹§ä»¼ÅÔµÂѧ»ÃÐà·È·Õ่ÁÕ¤‹Òáç¶Ù¡¡Ç‹Ò ઋ¹ à·»¼ŒÒ·Í ¼ÅÔµ¨Ò¡ÃÑ°¹Íà ·á¤âÃäÅ¹Ò à¹×้ͼŒÒáÅЫԻ¼ÅÔµ¨Ò¡ÃÑ°¨Íà à¨Õ ¼ŒÒ¹ÇÁºØ ´ŒÒ¹ã¹á¨็¤à¡็µ¨Ò¡ÃÑ°à·¹à¹Ê«Õ ໚¹µŒ¹ ¹Í¡¨Ò¡àÊ×้Íᨠ¤à¡็µáÅŒÇ Dirtball Âѧ¹ํҢǴ¾ÅÒʵԡ仼ÊÁ¡Ñº¼ŒÒ½‡ÒÂÊÃÃÊÌҧ໚¹¼ÅÔµÀѳ± Í×่¹ æ ઋ¹ àÊ×้ÍÂ×´ ·Õ่à¡Ô´¨Ò¡¡ÒüÊÁ¼ŒÒ½‡Ò¡Ѻ¡ÒÃÃÕä«à¤ÔŢǴ¹ํ้Ò´×่Á 6.5 ¢Ç´ àÊ×้ÍÊàǵàµÍà ·Õ่à¡Ô´¨Ò¡¡ÒüÊÁ¼ŒÒ½‡Ò¡Ѻ¡ÒÃÃÕä«à¤ÔŢǴ¹ํ้Ò´×่Á 14 ¢Ç´ ËÃ×Ͷا෌ҷÕ่à¡Ô´¨Ò¡¡ÒüÊÁ¼ŒÒ½‡Ò¡Ѻ¡ÒÃÃÕä«à¤ÔŢǴ¹ํ้Ò´×่Á 1 ¢Ç´ ໚¹µŒ¹ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www.creativemove.com)

àÊ×้ͼŒÒῪÑ่¹ÃÕä«à¤ÔÅ

Tiffany Brown áÅÐ Melanie Peddle ÊͧÊÒǪÒÇÍàÁÃԡѹ ËÇÁ·Ø¹¡Ñ¹¡‹ÍµÑ้§¸ØáԨàÊ×้ͼŒÒáÅÐáͤà«Ê«ÍÃÕ่ Look At Me Designs ¢Ö้¹ ËÑ Ç ã¨¢Í§¸Ø à ¡Ô ¨ ¹Õ้ ¤× Í ¡Òùํ Ò äÍà´Õ  ÊØ ´ à»ÃÕ้  ÇáÅÐ·Ñ ¡ Éн‚ Á× Í áºº¤ÃÒ¿· ÁҪغªÕÇÔµ ‘¢ÂÐã¹µÙŒàÊ×้ͼŒÒ’ ãËŒ¡ÅÒÂ໚¹ Fashion Item ÊØ´Î͵ ¸ØáԨ ¢Í§·Ñ้§¤Ù‹àÃÔ่ÁµŒ¹¢Ö้¹ã¹àÁ×ͧ Plainville ÁÅÃÑ° Massachusetts ¼Å§Ò¹ ªÔ้¹áá¤×Í¡ÃÐ້Òʵҧ¤ ·Õ่¼ÅÔµ¢Ö้¹¨Ò¡¡Å‹Í§«Ô¡Òà »˜¨¨ØºÑ¹ÁÕÊÔ¹¤ŒÒÊ‹§¢Ò ã¹ÃŒÒ¹¤ŒÒ¡Ç‹Ò 300 áË‹§·Ñ่ÇÊËÃÑ°ÍàÁÃÔ¡Ò äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹àÊ×้ÍÂ×´ ¡ÃÐâ»Ã§ ¶Ø§Á×Í ËÁÇ¡ ¼ŒÒ¾Ñ¹¤Í ÏÅÏ â´Â·Ñ้§ËÁ´¼ÅÔµ¢Ö้¹ãËÁ‹â´Âª‹Ò§½‚Á×Í·ŒÍ§¶Ô่¹¢Í§àÁ×ͧ Plainville Å‹ÒÊØ´¸ØáԨῪÑ่¹ÃÑ¡É âÅ¡Íѹ¹Õ้Âѧ䴌ÃѺÃÒ§ÇÑÅ Eco-Choice Award ¨Ò¡àÇ·Õà·Ã´âªÇ ª×่ʹѧÍ‹ҧ NY NOW ´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ http:// www.creativemove.com)

¡Ãкͧྪèҡ¢Ç´¾ÅÒʵԡ

Veronika Richterova ÈÔÅ» ¹ÊÒǪÒÇત໚¹¼ÙŒÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹ªÔ้¹¹Õ้ à¸Íä´Œ¤¹ × ¾×¹ ้ ·ÕÊ่ àÕ ¢ÕÂÇãËŒ¡º Ñ âÅ¡´ŒÇ¡ÒùํҢǴ¾ÅÒʵԡÁÒ¡¡Ç‹Ò 3,000 ªÔ¹ ้ «Ö่§ä´ŒÃѺ¡ÒúÃÔ¨Ò¤ÁÒ¨Ò¡ 76 »ÃÐà·È·Ñ่ÇâÅ¡ à¸ÍµŒÍ§ãªŒàÇÅÒ¡Ç‹ÒÊÔº»‚à¾×่Í ¤Œ¹ËÒ㪌෤¹Ô¤ËÅÒ¡ËÅÒÂ㹡ÒäѴÃÙ»·Ã§ ¢¹Ò´ áÅÐÊÕÊѹ·Õ่ᵡµ‹Ò§ ¾ÂÒÂÒÁÍ͡Ẻ à»ÅÕ่¹á»Å§ ·Ñ้§µÑ´ á¡ÐÊÅÑ¡ 㪌¤ÇÒÁÌ͹´Ñ´ ÃÇÁ¶Ö§ à»ÅÕ่¹ÊÕãˌ໚¹ä»Í‹ҧ·Õ่µŒÍ§¡Òà ¹Í¡¨Ò¡¡Ãкͧྪú¹ªÑ้¹áÅŒÇ à¸ÍÂѧ䴌 ·´Åͧ·ํÒ໚¹¨ÃÐࢌ â¤Áä¿ ËÑÇÇÑÇ»ÃдѺ¢ŒÒ§½Ò ÏÅÏ ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้ Veronika Richterova Âѧ໠´¾Ô¾Ô¸Àѳ± ¢Ç´¾ÅÒʵԡ PET ·Õ่ä´ŒÁÒ¨Ò¡·Ñ่ÇâÅ¡ãËŒ ࢌҪÁ¡Ñ¹´ŒÇ à¾×Í่ ÊзŒÍ¹¤ÇÒÁàËÁ×͹㹤ÇÒÁµ‹Ò§¢Í§ÇѲ¹¸ÃÃÁ¾ÅÒʵԡ ·Õ่ à µÔ º âµÍ‹ Ò §ÃÇ´àÃ็ Ç ¨¹¡ÅÒÂ໚ ¹ Ê‹ Ç ¹Ë¹Ö่ § ¢Í§ ªÕǵ Ô áÅÐÁžÔÉ·Õ ่ Ò¡¨Ð·ํÒÅÒ (¢ŒÍÁÙŨҡ http:// www.creativemove.com)

¨Ñ¡ÃÂÒ¹¨Ò¡¾ÃÁà¡‹Ò

Jenny áÅÐ Rich McIver áË‹§ºÃÔÉÑ· Wishbone Design (»ÃÐà·È ¹ÔÇ«ÕᏴ ) ËÒÇÔ¸Õ ‘¡ํҨѴ¾ÃÁ’ Í‹ҧªÒÞ©ÅÒ´¢Ö้¹ ¾Ç¡à¢Ò»ÃÐÂØ¡µ à·¤â¹âÅÂÕÃÕä«à¤ÔÅÊÁÑÂãËÁ‹à¾×่ͨоÅÔ¡ ‘¼×¹¾ÃÁ’ ãËŒ¡ÅÒÂ໚¹ ‘·‹Íà¿ÃÁ’ ÊํÒËÃѺ¨Ñ¡ÃÂÒ¹à´็¡ä´Œ ·Ñ§้ ¤Ù¾ ‹ ÂÒÂÒÁá»ÃÃÙ»ÇÑÊ´Ø´ÇŒ ¡ÒõѴ¢¹¾ÃÁá¡ÍÍ¡ ¨Ò¡Ê‹Ç¹á¼‹¹Ãͧ¾ÃÁ¡‹Í¹ ¨Ò¡¹Ñ¹ ้ ¤‹Í¹ํÒàÊŒ¹ãÂä¹Å͹ (à¹×Í้ ¾ÃÁ) áÅÐÇÑÊ´Ø ¾ÅÒʵԡ (Ἃ¹Ãͧ¾ÃÁ) ä»ÃÕä«à¤ÔÅᡨҡ¡Ñ¹ â´Â·Ñ§้ ËÁ´¨Ð¶Ù¡µÑ´à»š¹ªÔ¹้ àÅ็¡ ªÔ¹ ้ ¹ŒÍÂáÅйํÒ仼‹Ò¹¤ÇÒÁÌ͹¨¹ÊÐÍÒ´¡ÅÒÂ໚¹¢Í§àËÅÇ ·ŒÒÂÊØ´¤‹ÍÂàµÔÁ ‘ãÂᡌǒ ¼ÊÁŧä»ãËÁ‹à¾×Í่ ·ํÒãËŒÇÊÑ ´ØÃäÕ «à¤ÔŹÕÁ ้ ¤ Õ ÇÒÁ¤§·¹áÅÐá¢็§á¡Ã‹§à¾Õ§ ¾Í·Õ¨่ йํÒ仢ֹ ้ Ãٻ໚¹à¿ÃÁ¨Ñ¡ÃÂҹ䴌 ᵋ·àÕ ´็´äÁ‹ä´ŒÍÂÙá‹ ¤‹·ÇÕ่ ÊÑ ´Øµ§Ñ้ µŒ¹à·‹Ò¹Ñ¹้ ¨Ñ¡ÃÂÒ¹ Wishbone Áѹ໚¹¨Ñ¡ÃÂÒ¹à´็¡·Õ¤ ่ ´ Ô à¼×Í่ ¶Ö§ ‘¡ÒûÃѺ¢ÂÒ¢¹Ò´’ änj͋ҧàÊÃ็¨ÊÃþÊํÒËÃѺà´็¡ÍÒÂØ 1-6 »‚ (¢ŒÍÁÙŨҡ http://www. creativemove.com)

July 2015 99


Green 4U

แปลงโฉมบานราง

ใหกลายเปนแดนมหัศจรรยพันธุดอกไม บานรางบางหลังยังคงลักษณะตัวอาคารที่งดงามอยู

เพียงแตความรกรางของบานนั่นชวนใหไมนามอง และอาจ พาเราไปถึ ง คํ า ถามในใจมากมายทั้ ง ประวั ติ ค วามเป น มา ครั้งหนึ่งคงเคยมีคนอยูอาศัย แตลําพังขอสงสัย จินตนาการ ตางๆ นั่นไมไดชวยใหเกิดอะไรหรอก ยกเวนจะลงมือกระทํา อะไรสักอยาง หรือบางคนที่มีไอเดียเด็ดก็อาจพลิกซากราง นั้นใหกลับมามีชีวิตไดอีกครั้ง แบบที่ Lisa Waud กําลังทํากับ บานรางหลังหนึ่งในเมือง ดีทรอยด รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา ดวยประสบการณดานการออกแบบดอกไมและธุรกิจที่เธอทํามา 5 ป และดวยแรงบันดาลใจจากทีเ่ ห็นการตกแตงสะพาน Pont Neuf ในปารีสของ Christo และ Jeanne-Claude รวมทัง้ รายการแฟชัน่ โชว ของ Christian Dior couture 2012 เธอจึงเชื่อวาการตกแตงบาน รางดวยดอกไมของเธอนั้นจะเปนการจัดแสดงงานศิลปะที่ดึงดูด และเชื้อชวนผูคนใหไดประสบการณใหม ๆ อยางที่ไมเคยมีใคร ทํามากอน นีจ่ ดั เปนการจัดนิทรรศการสวนดอกไมทตี่ นื่ ตา เหมือนพาเราเขาไป สูโ ลกแหงนิยายอันลึกลับ หากเต็มไปดวยสีสนั ทุกซอกหลืบ รอยแตก บนเพดาน ฝาบาน หนาตาง ที่ดูชํารุดทรุดโทรมในทุกสวนของตัว บานใหกลายเปนทีง่ อกเงยของดอกไมนานาพันธุ มันชางเปนงาน สนุกที่จะเปลี่ยนพื้นที่ซึ่งครั้งหนึ่งสรางบรรยากาศไมนารื่นรมยให เพื่อนบานยามเดินผานไรความหมาย กลายเปนบานดอกไมที่ รวบรวมมาจากทุกแหลงในประเทศ จากการเปดใหเขาชมบานดอกไมนี้ Waud เชื่อวาจะชวยเปดมุม มองใหผูคนเล็งเห็นประโยชนจากโครงสรางอาคารรกรางอื่นๆ และสามารถดัดแปลงในรูปแบบของศิลปะ ชวยสงตอแรงบันดาลใจ ใหพวกเขานําความถนัดสวนตัวไปใชสรางสรรคบาง (ขอบคุณขอมูลจาก : http://www.creativemove.com)

100

July 2015



áǴǧ¤¹¾Åѧ§Ò¹ กองบรรณาธิการ

´Ã.¤ØÃ¨Ø µ Ô ¹Ò¤Ã·Ãþ

È.´Ã.¾ÃÒ¾Š¤ØÁŒ ·ÃѾÂ

โทร. : 0-2140-6123 โทรสาร : 0-2140-6129 E-mail : Kurujit@ energy.mail.go.th ทีอ่ ยู : สํานักงานปลัด กระทรวงพลังงาน เลขที่ 555/2 ศูนยเอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ อาคารบี ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทร. : 0-2140-6597 โทรสาร : 0-2140-6046 Email : Praipol @energy.mail.go.th ที่อยู : กระทรวงพลังงาน เลขที่ 555/2 ศูนยเอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ อาคารบี ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ตําแหนงปจจุบนั ปลัดกระทรวงพลังงาน

ตําแหนงปจจุบนั ผูช ว ยรัฐมนตรีประจํากระทรวงพลังงาน

ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาเอก Ph.D. in Petroleum Engineering University of Oklahoma, U.S.A. ปริญญาโท Master of Science in Petroleum Engineering University of Oklahoma, U.S.A. ปริญญาตรี Bachelor of Science (with Special Distinction) in Petroleum Engineering, University of Oklahoma, U.S.A.

ประวัตกิ ารศึกษา พ.ศ. 2521 ปริญญาเอก เศรษฐศาสตรดษุ ฎีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเยล ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2516 ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2513 ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยออสเตรเลียตะวันตก ประเทศออสเตรเลีย

ประวัตกิ ารทํางาน รองปลัดกระทรวงพลังงาน อธิบดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ รองอธิบดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ ผูอ าํ นวยการสํานักวิชาการ กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน ปฏิบตั ห ิ นาทีผ่ อู าํ นวยการสํานักความรวมมือระหวางประเทศ กระทรวงพลังงาน รักษาการหัวหนาสํานักงานรัฐมนตรี กระทรวงพลังงาน กรรมการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ บริษทั ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

ประวัตกิ ารทํางาน ศาสตราจารยระดับ 10 อาจารยประจําคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะบดีคณะเศรษฐศาสตรและรองอธิการบดีฝา ยวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะกรรมการกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน กรรมการทีป่ รึกษาดานเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรี นายกสมาคมเศรษฐศาสตรแหงประเทศไทย กรรมการอิสระของบริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการมูลนิธพิ ลังงานเพือ่ สิง่ แวดลอม

102

July 2015

เครือ่ งราชอิสริยาภรณ มหาปรมาภรณชา งเผือก (ม.ป.ช.) มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)


Energy Gossip

ปรับเพิ่ม + ตนทุน =

สวัสดีครับ...ทานผูอาน เปนอยางไรกันบางครับ ชวงที่ผานมา ประเทศไทยเจอเรื่องหนักหนา สาหัสเอาการเลยทีเดียว โดยเฉพาะกับเรือ่ งของ ดินฟาอากาศ รวมถึงการใชพลังงานของประเทศ ที่ปจจุบันเขามาเกี่ยวโยงกันโดยมิไดนัดหมาย หากมองยอนกลับไปสัก 10-20 ป เรื่องพลังงาน อาจไมเกี่ยวของกับวิถีชีวิตมากนัก แตปจจุบัน เขามาเกี่ยวของจนเปนอันรูกันวา ชวงเวลาใด ของปที่เราตองลุนวาการใชพลังงานจะไตไปถึง ระดับใดหรือที่เรียกกันวา “จุดพีค” ถามวา... ป จ จุ บั น ความพร อ มในการผลิ ต พลั ง งานของ ประเทศนั้นเพียงพอหรือไม คําตอบมีอยูแลว ในทุกสื่อประชาสัมพันธวา “เพียงพอ” แลว ทําไมเราจึงตองมาพูดถึงและขอความรวมมือกัน อยูเสมอวา ใหชวยลดการใชพลังงาน ทั้งที่เรา ก็จายคาไฟฟากันอยูทุก ๆ เดือน และที่เถียง ไม ไ ด ก็ คื อ ค า ไฟฟ า ที่ มี แ ต ขึ้ น ไม ไ ด ล ดลง แตอยางไรจากจุดที่ปรับตัว ที่ “เพียงพอ” ก็เพราะมีการ “ปรับเพิ่ม” เมื่อ 2 คํามารวมกันก็ตองมีอีกคําเชื่อม คือ “ตนทุน” ฉะนั้นโจทยขอนี้ตอบไมยากหรือคิดเปนสมการ แบบงาย ๆ ก็จะได “ปรับเพิ่ม + ตนทุน = เพียงพอ” นั่นเอง ทีนี้เราเขาใจแลวหรือยังวา ทําไมบานเราจึงไมมปี ญ  หาขาดแคลนดานพลังงาน

เพียงพอ?

โดยเฉพาะพลังงานไฟฟา การไมขาดแคลนถือเปนเรือ่ งทีด่ ใี นแงของการเตรียมความพรอม ของประเทศ แตอยาลืมวา ไฟฟาไมเหมือนพลังงานอื่น ๆ ที่สามารถเก็บลงถังได แบบนํา้ มัน การทีจ่ ะเก็บพลังงานไฟฟาขนาดนัน้ คงตองใชแบตเตอรีข่ นาดมหึมา ไฟฟา ที่ผลิตมาแลวถึงแมจะไดใชหรือไม ก็ลวนกอเกิดจากตนทุนทั้งสิ้น ทางออกไมไดอยูท กี่ ารตะบีต้ ะบันผลิตพลังงานใหเพียงพอตอความตองการ แตควรทีจ่ ะ ทําความเขาใจวา ความสะดวกสบาย ไมใชของฟรี ของฟรีไมมีในโลก เมื่อบานเราไมมี ก็ตองควักกระเปาเพื่อจายเพื่อแลกมานั่นเอง เรา ๆ ทาน ๆ เคยเพียงแตแคตื่นเชามา เปดไฟ เปดเครื่องใชไฟฟา ตองติดเทานั้น ใหคุมกับคาเงินที่จายไปอยูทุกเมื่อเชื่อวัน และหากวันใดเปดไมติด วันนั้นเราจะเปรียบเสมือนนอนอยูในหอง ICU ไมสามารถ ทําอะไรไดเลยแมกระทั่งขยับตัว นี่คือเรื่องจริงที่เราประสบกันอยูโดยไมรูตัว ฉะนั้น ปรับนะครับ... เพื่อยอมรับสิ่งที่เรามี โดยไมกอเพิ่มสิ่งที่ขาดโดยไมจําเปน และที่สําคัญ เราควรรูวาศักยภาพของเรามีมากนอยเพียงไร อยาไปตอกรกับใครหรือประเทศที่มี ศักยภาพมากกวาเรา จริงอยูท เี่ รือ่ งตนทุนของแตละประเทศนัน้ ไมเทากัน เราควรเคนศักยภาพของเราออกมา เพื่อเพิ่มความไดเปรียบใหเหนือกวาผูอื่น สิ่งนี้ก็จะทําใหเราไมจําเปนตองเพิ่มคําวา ตนทุนเขาไปในสมการที่กลาวมานั้นเอง สิ่งที่จะไดก็คือ

“ ปรับเพิ่ม + ศักยภาพที่มี = เพียงพอมากยิ่งขึ้น ”

เรื่องนี้อาจนํามาผูกเขากับเรื่องของการดําเนินชีวิตไดเชนกัน หลายคนมักบนนอยเนื้อ ตํ่าใจวาตนชีวิตของตนยังขาด บางคนขาดพอ บางคนขาดแม บางคนจน ไมมีบาน ไมมีรถ ฯลฯ โดยเอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับคนอื่น ถามวาเปรียบเทียบหรือรูวาตัว เองขาดอะไรไมใชเรื่องผิด เพียงแตวาเราอยาเอาเรื่องเหลานั้นมาเปนขออางที่จะทําให ชีวิตเราดิ่งลงเหว แตควรนํามาเปนแรงผลักดัน เพื่อนําเราไปอยูในจุดสูงสุด โดยที่ไม ทําใหใครเดือดรอน หรือขี่หัวใครเทานั้นก็พอ July 2015 103


Energy Movement

เกรซ ร่วมงาน การประชุมเชิงปฏิบัติการ

กรมโรงงานฯ รักโอโซน รุกน�าร่องใช้สาร HFC-32

เกรซ ประกาศเกียรติคณ ุ องค์กรปลอดโฟม 100% เสริมสร้างความเข้มแข็ง ภาคีเครือข่ายด้านสุขาภิบาลอาหาร นายแพทย์วรี ฉัตร กิตติรตั นไพบูลย์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม จ�ากัด (มหาชน) หรือ gracz นายแพทย์จิรเจษฎ์ สุขสุเพิ่ม (คนแรกจากซ้าย) ผู้อ�านวยการศูนย์มะเร็ง/อายุรแพทย์โรคมะเร็ง กลุ่มโรงพยาบาล จุฬารัตน์ เข้าร่วมงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ ประกาศเกียรติคุณ องค์กรปลอดโฟม 100% และเสริมสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย ด้านสุขาภิบาลอาหาร ปีงบประมาณ 2558 โดยมี ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย เป็นประธานเปิดงาน ณ ห้อง ดอนเมือง 1-2 โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ

ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (คนกลาง) และ ดร.วิรัช วิฑูรย์เธียร หัวหน้าโครงการธนาคารโลก (คนที่ 3 จากขวา) ร่วมน�าร่องเปิดอบรม “เทคโนโลยีในการผลิตเครื่องปรับอากาศที่ใช้ สารท�าความเย็น HFC-32” แก่ผู้ประกอบการผลิตเครื่องปรับอากาศ ไทยน�าร่อง 12 ราย เพื่อช่วยเหลือการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี การผลิตที่ไม่ท�าลายชั้นโอโซน โดยกิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้น ณ ห้อง ประชุม 509 อาคารกรมโรงงานอุตสาหกรรม

“เอเซนเทค” โชว์ศักยภาพ RFID ในลาว

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม อบรมระงับอัคคีภัย

อาจารย์สริ วิ รรณ์ รัตนราษี ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยก�ากับและติดตามงาน (สวมสูทยืนกลาง) จัด “โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันและ ระงับอัคคีภัยเบื้องต้น” โดยนายทวีวัฒน์ เขียวสอาด เจ้าหน้าที่ ช�านาญการ สถานีดับเพลิงธนบุรี มาให้การฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ โดยมีผนู้ า� จากชุมชน ประชาชนชุมชนใกล้เคียงวิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม เจ้ า หน้ า ที่ บุคลากรวิ ทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เกือบร้อยคนเข้ารับการฝึกจนจบคอร์สเบื้องต้น ภาคทฤษฎีอบรมที่ ห้องสัมมนาใหญ่ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ส่วนภาคปฏิบัติ อบรม ณ สนามกีฬา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม 104

July 2015

คุณก�าพล โชคสุนทสุทธิ์ ประธานกรรมการ บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จ�ากัด พร้อมทีมงานร่ว มกิจ กรรม The 1 st of Technology & Business Matching ซึ่งสถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ร่วมกับ ศูนย์ยั่งยืนและ ตรวจสอบคุณภาพแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จัดขึน้ โดย “เอเซนเทค” โชว์วิสัยทัศ น์แ ละศักยภาพในฐานะผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน RFID ไทย แก่ผู้บริหารระดับสูงของรั ฐ บาลและนั ก ธุ ร กิ จ ชั้ น น� า ของลาว ซึ่งได้รบั ความสนใจเป็นอย่างมาก ทัง้ นีแ้ ม้ลาวจะมีประชากร 6.8 ล้านคน แต่กม็ แี นวทางในการพัฒนาศักยภาพของประเทศ แบบยั่งยืน พร้อมทั้งให้ความสนใจต่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เพื่อคุณภาพชีวิตและธุรกิจที่ดีกว่า งานนี้จัดขึ้น ณ กรุง เวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ส�า หรับ ผู้สนใจเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีและประยุกต์ใช้ Application ระบบ RFID กับธุรกิจของท่าน สามารถสอบถามรายละเอียด เกี่ยวกับ เทคโนโลยีนี้ได้ที่โทร. 0-2743-2533 ทุกวันในเวลา ท�าการ


ซีเกท มอบเงินสนับสนุนโครงการสรางฝายชะลอนํ้า กสอ. พัฒนาผูประกอบการภาคใต

คุณเพียงฤทัย ศิวารัตน รองประธานฝายปฏิบัติการโรงงานโคราช บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด มอบงบประมาณ จํานวน 250,000 บาท เพื่อสนับสนุนการสรางฝายชะลอนํ้า ตาม แนวพระราชดําริ ประจําป พ.ศ. 2558 ใน “โครงการฟนฟูปาตนนํ้า เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ” แก พันโทชินกฤช เอมพันธุ ผูบังคับกองพันทหารปนใหญตอสู อากาศยานที่ 2 เมื่อเร็ว ๆ นี้ ซีเกทโคราชสนับสนุนโครงการสราง ฝายชะลอนํา้ ตามแนวพระราชดําริอยางตอเนือ่ งเปนปที่ 4 เพือ่ ถวาย เปนพระราชกุศลแดสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งใน โอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 82 พรรษา กิจกรรมนี้เปนอีกหนึ่ง นโยบายความรับผิดชอบตอสังคมของซีเกทเพือ่ ใหภาคอุตสาหกรรม อยูรวมกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดอยางสมดุลและยั่งยืน ซีเกท จึงรวมมือกับกองพันทหารปนใหญตอ สูอ ากาศยานที่ 2 และหนวยงาน อืน่ ๆ ในการสรางฝายชะลอนํา้ ใหแกชมุ ชนทัง้ 5 หมูบ า น จํานวนกวา 4,000 ครัวเรือน เพื่อใชในการอุปโภคบริโภคและประกอบอาชีพ ทางการเกษตรในชวงฤดูแลง

ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มอบวุฒิบัตรแก ผูประกอบการในกิจกรรมฝกอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนา ผูประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม (คพอ.) พื้นที่ภาคใต รุนที่ 289 จังหวัดสุราษฎรธานี และรุนที่ 290 จังหวัดพัทลุง โดยกิจกรรม ดังกลาวจัดขึ้นเพื่อสงเสริมใหเกิดผูประกอบการรายใหมและพัฒนา ผูประกอบการที่มีอยูเดิมใหเปนผูประกอบการที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ณ โรงแรมไดมอนด พลาซา อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี สําหรับ ผูประกอบการที่สนใจเขารวมโครงการหรือกิจกรรมตาง ๆ ของ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม สามารถติดตามขาวสารกิจกรรม รวมถึง โครงการตาง ๆ ไดที่ www.dip.go.th หรือ www.facebook.com/ dip.pr

บลูสโคป แซคส® คูล เปดตัว นวัตกรรม หลังคาเหล็กเคลือบสี เพื่ออาคารเย็นสบาย

กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตรวจเขมโรงงาน กําจัดกาก จังหวัดราชบุรี Excellence Awards 2015

คุณศักดา พันธกลา รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม พรอมคณะ วิศวกรผูเชี่ยวชาญลงพื้นที่ จังหวัดราชบุรี ตรวจสอบหลุมฝงกลบ และบอสังเกตการณนาํ้ ใตดนิ วามีสารจากโรงงานปนเปอ นสูน าํ้ ใตดนิ จนเกิดผลกระทบตอชุมชนตามที่มีประเด็นรองเรียนเพื่อประกอบ การพิจารณาสั่งการและการอนุญาตโรงงานตอไป โดยลงพื้นที่ ณ ตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี สอบถามขอมูล เพิ่มเติมไดที่ สายด วน 1564 หรื อ เว็ บไซต www.diw.go.th

คุณสมเกียรติ ปนตาธรรม ประธาน บริษัท เอ็นเอส บลูสโคป (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัวผลิตภัณฑใหม บลูสโคป แซคส® คูล (BLUESCOPE Zacs® Cool) นวัตกรรมวัสดุทําหลังคาที่ผลิตจาก เหล็กเคลือบคุณภาพสูง เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา กลุมที่อยูอาศัย โดยนําเทคโนโลยีการสะทอนความรอนและความ ทนทานตอรังสีอัลตรา ไวโอเลต หรือ ยูวี มาใสลงในชั้นเคลือบสีของ แผนเหล็ก ทําใหมีประสิทธิภาพในการสะทอนความรอน ชวยลด ปริมาณความรอนที่จะเขาสูตัวบาน ทําใหอาคารและบานเย็นสบาย นอกจากนี้ยังรับประกันปองกันการเกิดรูพรุนเนื่องจากการกัดกรอน สูงสุด 12 ป ปราศจากสารตะกั่วและใยหิน สามารถดัดขึ้นรูปไดงาย และมีสสี วยสดใสยาวนาน ดวยการรับประกันสีไมซดี จาง 5 ป สําหรับ เฉดสี ม าตรฐาน 16 สี โดยผู  ส นใจสามารถเลื อ กชมผลิ ต ภั ณ ฑ บลูสโคป แซคส® คูล ไดที่รานคาตัวแทนจําหนาย และรานบลูสโคป ออโธไรซ ดีลเลอร ทั่วประเทศ July 2015 105


Event Calendar จีรพร ทิพย์เคลือบ

นิทรรศการ งานประชุ ม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจําเดือนกรกฎาคม 2558

JULY

JULY

2015

9 กรกฎาคม 2558 ชื่องาน : สัมมนา หัวขอ “หมอไอนํ้า : เทคนิคการผลิตไอนํ้าและใชอยางประหยัดและปลอดภัย” รายละเอียด : เพื่อใหวิศวกรหรือชางเทคนิคที่ดูแลการใชงานของหมอไอนํ้า และอุปกรณตาง ๆ ในระบบไอนํ้าไดเรียนรูเทคนิค ในทางปฏิบตั ิ เชน การเดินเครือ่ งใหหมอไอนํา้ และระบบไอนํา้ มีความปลอดภัย ประหยัดพลังงาน มีอายุการใชงานนาน และรักษาสิง่ แวดลอม สถานที่ : หองบํารุงเมืองชั้น 4 โรงแรม The Twin Towers กรุงเทพฯ ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : http://www.ecct-th.org ศูนยอนุรักษพลังงานแหงประเทศไทย แผนกอบรม โทร. 0-2621-8531-9 ตอ100 7

14 กรกฎาคม 2558 ชื่องาน : งานสัมมนาทางวิชาการและแสดงนิทรรศการ “2015 Thai Green Building Expo and Conference” รายละเอียด : สถาบันอาคารเขียวไทยไดจัดใหมีงานประชุมสัมมนาทางวิชาการและแสดงนิทรรศการขึ้น เพื่อนําความรูที่ไดมาพัฒนา สรางจิตสํานึก ใหกบั ทุกภาคสวนไดรบั รูถ งึ ความสําคัญอันจะเปนการชวยสงเสริมวงการการออกแบบและกอสรางภายในประเทศไดกา วหนา ในเรื่องของการดูแลและรักษาสิ่งแวดลอม สถานที่ : ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค - บางนา ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : http://www.tgbi.or.th สถาบันอาคารเขียวไทย โทร. 0-2319-6555 ตอ 203, อีเมล: tgb.expo@gmail.com 16-19 กรกฎาคม 2558 ชื่องาน : Engineering Expo 2015 รายละเอียด : คณะวิศวกรรมศาสตร สจล. จับมือกับสมาคมศิษยเกาพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และบริษัท บิสิเนส อีเวนท เซอรวิสเซส (ไทยแลนด) จํากัด จัดงาน “วิศวะ’58 หรือ Engineering Expo 2015” ในธีม วิศวกรรมเปลี่ยนโลก แสดงนวัตกรรม เทคโนโลยี ผลิตภัณฑและบริการที่โดดเดนรองรับอนาคตโลกศตวรรษที่ 21 สถานที่ : ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : http://www.engineeringexpo2015.com

21-24 กรกฎาคม 2558 ชื่องาน : การฝกอบรมหลักสูตร “การประเมินศักยภาพการอนุรักษพลังงาน (ภาคปฏิบัติ) รุนที่ 1” รายละเอียด : จัดฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในนามของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน จํานวนไมนอ ยกวา 400 คน จํานวนผูเ ขาฝกอบรมรุน ละประมาณ 40 คน ประกอบดวย เปนบุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม ที่มีหนาที่เกี่ยวของ กับการควบคุมเครื่องจักรอุปกรณ สมัครฟรี ไมมีคาใชจาย สถานที่ : อาคารอนุรกั ษพลังงานเฉลิมพระเกียรติ/ Mini Plant ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : https://www.mitr.com บริษทั มิตรเทคนิคลั คอนซัลแทนท จํากัด คุณทองเพียร เทียนดวง โทร. 0-2679-9079 ตอ 84 อีเมล: mitr_trainingoutlook.com 25 กรกฎาคม 2558 ชื่องาน : การสัมมนาเรื่อง “การเลือกใชเครื่องสูบนํ้าอยางถูกตอง เพื่อประหยัดคาติดตั้งและคาไฟฟา รุนที่ 9” รายละเอียด : คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ จัดหลักสูตรนี้ขึ้นเพื่อให สมาชิกและผูท สี่ นใจ ไดพฒ ั นาความรูค วามเขาใจ ในการเลือกใชเครือ่ งสูบนํา้ อยางถูกตอง ชวยประหยัดคาติดตัง้ และประหยัดคาไฟฟาไดมาก สถานที่ : หองประชุม อาคาร วสท. ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : www.eit.or.th 106

July 2015




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.