Ebook energy saving#78

Page 1


C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



Issue 78 MAY 2015 8 Editor’s Note 10 News Report : ¡ÃÁâç§Ò¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ à» ´µÑÇ “DIW TEAM” 18 Cover Story : Green Paper ¹Çѵ¡ÃÃÁ·´á·¹à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ 24 Interview : ¡ÊÍ.ÃØ¡»ÃѺâ©ÁÍصÊÒË¡ÃÃÁῪÑè¹ »‚ 58 “´Õ Ê໫” ÊÌҧÁÙŤ‹ÒÍصÊÒË¡ÃÃÁ 26 Interview : BMCL ªÙŴ㪌¾Åѧ§Ò¹ ºÃÔ¡Òâ¹Ê‹§ÁÇŪ¹Í‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ 28 Interview : ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ ¾Ñ¹¸¡Ô¨ÊíÒ¤ÑÞ ·Õèͧ¤ ¡ÃãËÞ‹äÁ‹¤ÇÃÁͧ¢ŒÒÁ 30 Product Highlight - Construction : Building Blocs ¹Çѵ¡ÃÃÁ·Ò§àÅ×Í¡ãËÁ‹ ÊíÒËÃѺÇÑÊ´Ø¡‹ÍÊÌҧ 32 Product Showcase – Construction : SW UPCYCLE PROJECT á»Å§àÈÉ…¡ÅÒÂ໚¹¼Å 35 Product Highlight – Industrial : àùԪÍà ¼ÙŒ¼ÅÔµà¤Ã×èͧÁ×ÍÇÑ´Íѵâ¹ÁÑµÔ CMM ÍØ»¡Ã³ »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹·Ò§ÍŒÍÁ 38 Product Showcase – Industrial : ªä¹à´Íà ÍÔàÅ礷ÃÔ¤ à» ´µÑÇ ÃÕâÁ·¤Í¹â·ÃÅäÃŒÊÒÂ

15

35 40 Product Highlight – Commercial : Apple à» ´µÑÇ MacBook ãËÁ‹ àÅç¡ ¡Ð·Ñ´ÃÑ´ »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ 43 Product Showcase – Commercial : à¤Ã×èͧໆҼÁૹà«Íà ÍѨ©ÃÔÂÐ 46 Product Highlight – Logistics : á¤ÃÕèºÍ ¤Òà ⡠ºçÍ¡« ¤ÙŠöˌͧàÂ繾ÌÍÁà¤Ã×èͧ·íÒ¤ÇÒÁàÂç¹ 48 Product Showcase – Logistics : ¤Òà ⡌ ÁÒÃҸ͹ 2 ÂÒ§»ÃÐËÂÑ´¹íéÒÁѹ 51 Special Feature : àªÅÅ ÇÕ-à¾ÒàÇÍà ¾Åѧà·Íà âºã¹Ê¹ÒÁᢋ§¿Íà ÁÙÅ‹Ò-Çѹ 52 Renergy : ¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ä·Â º¹àÊŒ¹·Ò§ÊÒÂÇԡĵ 54 Energy Management : Toyota Buzz à´Ô¹Ë¹ŒÒŴ㪌¾Åѧ§Ò¹ ¢Öé¹á·‹¹¼ÙŒ¹íÒÈٹ ºÃÔ¡Òà ö¹µ ÊÕà¢ÕÂÇ

40 4

May 2015


May 2015 PB


Issue 78 MAY 2015 56 Building Management : ¡ÒõÃǨÊͺÍÒ¤Òà TREES PRE NCC 58 Green Logistics : Ãкº¡ÒèѴ¡ÒÃâŨÔÊµÔ¡Ê ¢Ò´»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ 60 0 Waste Idea : ¡ÒÃÅ´¢ÂÐÁÙŽÍ ÀÒáԨ¾ÔªÔµâšÌ͹ 62 Environment Alert : »˜ÞËÒ¢ÂÐÍÔàÅç¡·ÃÍ¹Ô¡Ê ¤ÇÒÁ¨íÒ໚¹·Õ赌ͧàË§á¡Œä¢ 64 Energy Focus : ESCO µÑǪ‹Ç¡ÒÃŧ·Ø¹´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ 66 Greenhouse Gas Management : àµÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁÊÙ¡‹ Åä¡à¤Ã´ÔµÃ‹ÇÁ ä·Â-ÞÕ»è ¹†Ø Joint Crediting Mechanism (JCM) 68 Green Building : â¤Ã§¡Òà “ºŒÒ¹¼ÕàÊ×éÍ” ¼ÅԵ俿‡ÒÃкº¼ÊÁäÎâ´Ãਹ-â«Å‹Òà à«ÅÅ 72 Green Industrial : BRR ˹عâç俿‡ÒªÕÇÁÇÅ ¼Å¾ÅÍÂä´Œ¨Ò¡¡Ò¡ÍŒÍÂ

68

75 6

May 2015

78 75 Open House : à» ´ºŒÒ¹ TPIPL ਌ҢͧÃÒ§ÇÑÅ´Õà´‹¹´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ä·Â Thailand Energy Awards 2014 78 Vertical Market : ÀÒ¾ÃÇÁ…¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ä·ÂÊ´ãÊ 82 Viewpoint : à¾ÔèÁ¡Åä¡ ¨Ñ´â«¹¹Ôè§ à»ÅÕè¹¢ÂÐ໚¹...¾Åѧ§Ò¹ 84 Energy Knowledge : Ê¡Ç. ʹѺʹع§Ò¹ÇÔ¨ÂÑ ÍØ»¡Ã³ áÅ¡à»ÅÕÂè ¹¤ÇÒÁÌ͹»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ 86 Energy Invention : ¡ÃеԺ俿‡Ò»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ¹Ö觢ŒÒÇà˹ÕÂÇ ´ŒÇ¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò á¡Œ»˜ÞËÒà¢Á‹Ò¤Çѹ 88 Energy Report : âÅ¡äÁ‹ä´ŒÊ¹ã¨Ç‹Ò¤Ø³ÃÙŒÍÐäà ᵋʹã¨Ç‹Ò¤Ø³¨Ð·íÒÍÐäèҡÊÔ觷Õè¤Ø³ÃÙŒ 90 Energy Loan : SPCG ¨ÑºÁ×Í ¸.¡Ãاä·Â »Å‹ÍÂÊÔ¹àª×èÍâ«ÅÒà ÃÙ¿ ǧà§Ô¹ 100 ŌҹºÒ· 92 Special Report : â¤Ã§¡Òà “¹íÒµÅѺËÁÖ¡ ¤×¹¡ÅѺÁÒ ¹íÒ¼×¹»†Ò¡ÅѺÊÙ‹ªØÁª¹” 94 Special Scoop : ʋͧö»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ Bangkok Motor Show 2015 98 Green 4U 101 ẺÊÁѤÃÊÁÒªÔ¡ 102 áǴǧ¹Ñ¡¾Åѧ§Ò¹ 103 Energy Gossip 104 Energy Movement 106 Event Calendar


速 速

May 2015 PB


และหลากหลาย เพือ่ ให ผอู า นได เพลิดเพลินและได สาระไปพร อมๆ กันด วยค ะ

แหง 4 หง 4 250 50 9

Anniversary

สํ า หรัAnniversary บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กั น ด ว ยเรื่ อ งของแผ น กระจก และอุนิปตกรณ ระกอบฉบับโดยการนํ าเสนอคอลั น แล Cover ยสารปBuilder เดือนตุลาคมนี ก้ เ็ ป นฉบับทีม่ 12 ว ครบรอบStory นิตหนึ ฉบับเดือนตุลตนาคมนี ก้ เ็ ป น่อฉบั บที่ 12างๆ แล ว ครบรอบ ผ านมุ มยสาร มองไปยั งงานสถาป ่งป ทBuilder ่นี ิตยสารของเราได ํยกรรมและงานตกแต าเสนอเรื งราวต ไว มงภายในที ากมาย ่ใช สวัสดีค่อ่ะงราวต คุณผู้อ่านทุ กท่านไว ช่มวงนี ้มีงานดี ๆ มาแนะน�ากันค่ะ งานที่ว่านั้นก็คือ ่งป ท่นี ิตยสารของเราได เสนอเรื า่องๆ ากมาย เพือ่ ให ผนอกจากนี อู นา ํานได เ พลิ ด เพลิ น และได ส าระไปพร อุปมๆ กและหลากหลาย ระจกได น าสนใจ ้ ย ั ง มี เ รื งของวั ส ดุ กรณ ที่ วัสดุหนึ “งานสถาปนิก’ 58” หรือ งานแสดงศักอยภาพด้ านการออกแบบของสถาปนิ กไทย และหลากหลาย อ่ ให ผอู า นได เพลิ นทและได สาระไปพร อมๆ านจะได้ กันด วยค ะ อเพืสร ครั ้งดยิเพลิ ่งใหญ่ ี่สุดสู่เวที โลก ภายในงานท่ พบกับสถาปัตยกรรมและ คณะผู้จัดทำา ใช ประกอบการก า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั ้ ง บทสั ม ภาษณ กั น ด ว ยค ะ ส่ิงปลูกสร้างสมัยใหม่ และยังจะได้สัมผัสกับนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนวคิ แนล จ�าดกัดการทํางานของนักพัฒเทคโนโลยี นาอสั ทรั ญิกระจก เก ยงจากทั แห ่วงโลกภายในงานนี้งานเดียว ออกแบบตกแต่ งและวั สดุกพ่อย สร้ห านงที ่ลง�้าสมั า หรั บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กั น ด งวหาริ ยเรื ่ม อ งของแผ 200/7-14 ซ.รามค�าแหง 4 แขวง/เขตสํสวนหลวง ซึง่กังานในครั ง้ นีการสร จ้่ อดั งของแผ ขึน้ ระหว่าางวั นกระจก ที่ 28 เม.ย. – 3 พ.ค. 58 ณ ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 1-3 พั ฒ นรั ฐ พร็ อ พเพอร ต ้ ี และแนวคิ ด งสรรค ง านของ สํ า หรั บ ฉบั บ ที ่ 12 นี ้ เรามาว า น ด ว ยเรื น และอุปกรณ ประกอบ โดยการนํ าเสนอคอลั มน แอบกระซิ Coverบว่าStory กรุงเทพมหานคร 10250 อิมแพ็ ค เมืองทองธานี นิตยสาร Energy Saving ก็ไปร่วมออกบูธ และอุ ปฒ กรณ ปเจริ ระกอบ โดยการนํ าเสนอคอลั มน Cover Story ญงชาศรี จากตในงานครั DUCTSTORE theงภายในที design โทรศัพท์ (66) 2717-2477 คุณนนทวั ผ านมุ มน มองไปยั งานสถาป ยกรรมและงานตกแต ่ใช guru ้งนี้ด้วย ในชื่อโครงการว่ า “Energy Saving Pavilion” ภายในพื้นที่ ผ า นมุ ม มองไปยั ง งานสถาป ต ยกรรมและงานตกแต ง ภายในที ่ ใ ช รูป โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 อัดแน่น้ยไปด้ กษ์โสลกที น าสนใจ นอกจากนี ังแนวคิ มีวยกิ เรืจ่อกรรมรั งของวั ดุอน่ ุปา่ สนใจมากมาย กรณ ที่ แบบอาทิ การจัดแสดงนวัตกรรม วัสดุกด ระจกได Co.,Ltd. ว ย GRAPHITECTURE ด นอกกรอบสู ระจกได น าสนใจ ้ยังมีเรื่อดพลั งของวั ดุอบทสั ุปพกรณ ที่ วัสใช ดุปกระกอบการก านประหยั งรวมทั งานสโดยใช้ ลังงานแสงอาทิ ตย์ หรือ “Bann Chaan” สร านอกจากนี ง-ติดตั้งบ้จาก งานกระจก คอลัมนิสต์​์: ที่หลากหลาย แต อหสร อากใครสนใจเรื ่องของวั ส้งดุบทสั เ้งรายั งมมีภาษณ รีวิวาสิธนบุนรค ี (มจธ.) า และบ้านคาร์บอนต�่า มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี พมระจอมเกล้ ใช ตปสาหกรรมแห่ ระกอบการก าง-ติดตัก้พังงานกระจก รวมทั ภาษณ ดการทํงประเทศไทย างานของนั ฒจาก นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ห ญิ ง เก ง แห ง คุณพิชัย ถ่ินสันติสุข สภาอุแนวคิ องค์ การบริ หพกั ารจั ดการก๊ าซเรื อนกระจก (องค์การมหาชน) ใครที่สนใจ เกี ย ่ วกั บ กระจกให ผ อ ู า นของเราได ส าระเช น น แนวคิ ด การทํ า งานของนั ก พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั ย ห ญิ ง เก ง แห ง อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์ บริษัทพัอิฒนนรั โนเวชั ฐ ่นพร็เทคโนโลยี อ พเพอร จ�าตกัี้ ด และแนวคิ การสร า งสรรค ง านของ อยากได้แดบบบ้ าน “Bann Chaan” แบบฟรี ๆ สามารถไปขอรับได้ที่บูธ

EDITOR’S NOTE

บ้านประหยัดพลังงาน

นรันนทวั ฐมหาวิ พร็ฒทอน ยาลั พเพอร ตี้ และแนวคิ ด การสร งาใครที านของ Energy Saving าค่งสรรค ะ the หรือถ้design ่สนใจอยากช้ ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร จุฬพัาลงกรณ์ ย ญชาศรี คุฒณนนทวั เจริ จาก DUCTSTORE guru อปปิ้งสินค้า Eco Product คุาณยในวาระครบรอบหนึ ฒน ฏเจริ ญรชาศรี จาก DUCTSTORE the design เก๋ทีม ๆ งาน ไม่ ซ�้ า แบบใคร ที่ บู ธขอขอบพระคุ ก็ มี มguru าจ� า หน่ า ยในราคาพิ ดร.สิทธิชัย ฝร่ังทอง ท ยาลั ย ราชภั ธนบุ ี สุดมหาวิ ท Co.,Ltd. ง ่ ป Builder Co.,Ltd.ด วด ยวยGRAPHITECTURE GRAPHITECTURE แนวคิ ด นอกกรอบสู ร ป ู แบบ ณ เศษส�าหรับผู้ที่สนใจ หรือถ้แนวคิ าท่านใดที ่ต้องการจะปรึก รษาปั ญหาด้านการประหยัดพลังงานก็สามารถ ดนอกกรอบสู ูปแบบ รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัแต ย หากใครสนใจเรื ที ่ ห ลากหลาย ่ อ งของวั ส ดุ เ รายั ง มี ร ี ว ิ ว สิ นและหวั ค ที่าบูธเช่นงกันค่ะ ส�าหรับท่านที่สนใจ ผู ม อ ี ป ุ การคุ ณ และผู อ า นทุ ก ท า นที ต ่ ด ิ ตามกั น มาโดยตลอด มาขอรั บ ค� า ปรึ ก ษาจากวิ ท ยากรชั ้ น น� า ที่หงลากหลาย หากใครสนใจเรื ่องของวัสดุเรายังมีรีวิวสินค าได้ อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ กรมส่ เสริมคุณภาพสิแต ่งแวดล้ อม ยังพอมี เวลาให้นบไกัปเดิ นนชมงานสถาปนิ กแล ’ 58วเรา ได้อีกหลายวัน แล้วพบกันที่ เกี ย ่ วกั บ กระจกให ผ อ ู า นของเราได ส าระเช น เป น อย า งยิ ง ่ ว า ทุ ก ท า นจะติ ด ตามและสนั สนุ เราต อ ไป เกี่ยนวกั กระจกให ผู อ านของเราได “Energy สาระเช Saving นกัน Pavilion” ค่ะ คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ สถาบั พลับงงานเพื ่ออุตสาหกรรม ดร.ณัฐริกา วายุภาพ นิติพนจะนํ องค์ากเรื ารบริ หารจัดการก๊ ่องราวดี ๆ าทีซเรื่นอ านกระจก สนใจและไอเดี ยBuilder ใหม นๆบ้างดีมานํ าเสนอในเล ม อ่ งของเรากั กว่า ส�าหรับ Energy ายในวาระครบรอบหนึ มาเรืงาน ขอขอบพระคุ ณ Saving ฉบับนี้ มีเรือ่ งทีน่ า่ สนใจ (องค์ ารมหาชน) สุดกสุไปนะคะ ท ดาท ยในวาระครบรอบหนึ ่งป ่งป ทีมาเข้ มทีงาน Builder ขอขอบพระคุ ณอไปนะคะ มาน� า เสนอมากมาย อาทิ บ้ า นไฮโดรเจน หรื อ “บ้ านผีเสื้อ” ผลิตไฟฟ้าด้วย ต อ ๆ อย า ลื ม ติ ด ตามเราในฉบั บ ครบรอบเล ม ต ผูอีม ปุ อี การคุ ปุ ฒการคุ ณยาศาสตร์ และผู า แนทุ ดิ ตามกั นมาโดยตลอด และหวั นาวิ ละ ณทและผู อ า อ นทุ กท กาท นทีานที ต่ ระบบผสมไฮโดรเจน-โซลาร์ ดิ ต่ ตามกั นมาโดยตลอด และหวั ง ง างานที่ว่า กลางวันใช้ไฟฟ้าที่ เซลล์ ซึ่งระบบการท� รี มรรคา มรรคา คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ส�านัผูกม งานพั นอย างชาติ งยิ านจะติ ดตามและสนั สนุเราต นพลัเราต เราวงกลางวันจะแปลงเป็นไฮโดรเจน เทคโนโลยี แาห่งยิ เป เป นอย ่งว ่งาว ทุากทุท กาท นจะติ ดตามและสนั บสนุบเนซลล์ องงานที ไปอไป แล เรา ผลิตจากโซลาร์ เ่ หลืวอแล ใช้จวากช่ มน มรรคา มรรคา มน จะนําเรืาเรื ่องราวดี ๆที่นที า่นสนใจและไอเดี าสนใจและไอเดี ยใหม ๆจะดึมานํ าเสนอในเล โดยตอนกลางคื นมานํ งาเอาไฮโดรเจนไปท� ามปฏิกิริยากับน�้าเพื่อผลิตเป็นไฟฟ้า จะนํ อ ่ งราวดี ๆ ย ใหม ๆ เสนอในเล ม ที ม งานฝ่ า ยบริ ห าร: าร มรรคา มรรคา าร ไว้ใช้ต่อบไปครบรอบเล อดีของบ้ามนหลั งต นีอ้คือไปนะคะ ผู้อยู่อาศัยสามารถใช้ไฟฟ้าได้ตลอด 24 ต ๆอนัๆนไปนะคะ ไปนะคะอย อย ามลืติมดติตามเราในฉบั ดตามเราในฉบั บข้ครบรอบเล มไปนะคะ ต อ า ลื ต อ ณั ช ชา ทกาญจน กรรมการผู จ ้ ด ั การ คุ ณ ชาตรี มรรคา ชั่วโมง ถ้าใครอยากรู้รายละเอียดมากกว่านี้หาค�าตอบได้ในเล่ม นอกจากนี้ นุนุsupaman@ttfintl.com ชช มีมีเเมืมือองง รองกรรมการผู้จัดการ ณศุภาแมน มรรคา การ ผู้ประกอบการท่านใดที่ก�าลังมองหาแหล่งเงินทุนเพื่อน�าไปติดตั้งโซลาร์รูฟ หัวคุหน กองบรรณธิ รองกรรมการผู้จัดการ คุณศุภวาร มรรคา มีข่าวดีมาบอกค่ะ ธนาคารกรุงไทย จับมือกับ บริษัท SPCG เปิดให้สินเชื่อแก่ editor.buildernews@gmail.com ลูกค้าของ SPCG ที่ต้องการติดตั้งโซลาร์รูฟ จ�านวน 300 ราย โดยในระยะแรก Publishing Director คุณณัปิณั ยชะนุ ชนัมีนนัเมืทกาญจน ง ชชา นอทกาญจน ชา มน มรรคา มรรคา supaman@ttfintl.com supaman@ttfintl.com มน จะปล่อยสินเชือ่ ให้กอ่ นในวงเงิน 100 ล้านบาท ตัง้ แต่วนั นี้ – สิน้ เดือน มิ.ย.58 นี้

ฝ่ายขายโฆษณา Sales Director

วหน ากองบรรณธิ หัวหัหน ากองบรรณธิ การการ

ส่ ว นรายละเอี ย ดจะมี อ ะไรบ้ า งนั้ น พลิ ก อ่ า นได้ ใ นเล่ ม แล้ ว พบกั น ใหม่

คุณeditor.buildernews@gmail.com ศุeditor.buildernews@gmail.com ภแมน มรรคา ฉบับหน้า...สวัสดีค่ะ supaman@ttfintl.com

2477 -2477 777 6-9976 16-9976 ติดต่อฝ่ายขายโฆษณา โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 135, 144 ปิยะนุช มีเมือง ติดต่อฝ่ายสมาชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 169, 171 หัวหน้ากองบรรณาธิการ ติดต่อฝ่ายบรรณาธิการ โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 108, 148, 226 piyanuch@ttfintl.com

ทีมงานฝ่ายกองบรรณาธิการ:

ทีมงานฝ ยกองบรรณาธิ หัวหน้าาทีกองบรรณาธิ การ การ:การ: ปิยะนุช มีเมือง ทีมมงานฝ งานฝ าายกองบรรณาธิ ยกองบรรณาธิ หัวหน ากองบรรณาธิ การ การ คุณการ: ณัชชารุชตชานัเถืนนั่อทกาญจน กองบรรณาธิ ก าร า หั ว หน า กองบรรณาธิ ด หัวหน ากองบรรณาธิการ คุนัณคุษณั ณณัชชานนทองค� นัทกาญจน นทกาญจน natcha.tank@gmail.com าร natcha.tank@gmail.com อภั สรา วัลลิภผล าร natcha.tank@gmail.com

นคร 10250 านคร 10250

กองบรรณาธิ กองบรรณาธิ การ กการาร กองบรรณาธิ

จีรพร ทิพย์เคลือบ

คุณคุ่งหนึ ่งฤทั ยคาทุ คาทุ เซฟสกี ้​้ ้ คุณหนึ ย่งฤทั สสเซฟสกี ณฤทั หนึ ย งรุคาทุ สเซฟสกี คุมณี ณณัีรฐัตธยาน รุตะนะมงคล จิไพศาล เลขากองบรรณาธิการ น์ วั ฒ คุ ณ ณั ฐ ธยาน รุ ง รุ จ ไ ิ พศาล คุณณัคุณฐภัธยาน จิไพศาล ณฑิรา รุมี งลรุาภ ณฑินิภัชรณ มีลยาภ ศิลปกรรม คุณภัคุศุณ าา ฑิพวงเนตร มีรลาเสถี าภ ณคุภอรวรรณ รเขต ยรเขต อาร ตไดเรคเตอร คุณคุยิณ่งอรวรรณ ยศ จารุ บเสถี ุษปายน คุ ณ อรวรรณ เสถี ย รเขต อาร ตกไดเรคเตอร ยศ จารุ บกุษข ปายน กราฟ ดีไซเนอร May 2015คุณยิคุ่งณคุยศ ธีณรยิภั่งทจารุ ร สลั ดุษทุปายน อาร 8ตไดเรคเตอร บ กราฟ กดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข ชั่นแนลกราฟ จํากัดกดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข

WHERE TO FIND

WHERE TOTO FIND WHERE FIND



News Report กรีนภัทร์

กรมโรงงานอุตสาหกรรม เปิดตัว “DIW TEAM” เตือนโรงงานอุตสาหกรรมกลุม่ เสีย่ งสูงในช่วงหน้าร้อน กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) รุกเปิด 3 มาตรการป้ อ งกั น อั ค คี ภั ย ในโรงงาน อุ ต สาหกรรม ดู แ ลเข้ ม การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้ พร้อมระบบ ดั บ เพลิ ง อั ต โนมั ติ ใ นโกดั ง (Warehouse) จั ด เก็ บ วั ต ถุ ดิ บ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ สถานที่ จัดเก็บวัตถุไวไฟของโรงงาน พร้อมแจกฟรี หนังสือคู่มือและวีดีทัศน์ที่ทันสมัย เข้าใจง่าย ท�าได้จริง ตามประกาศกระทรวงเรื่อง “การ ป้องกันและระงับอัคคีภยั ในโรงงาน พ.ศ. 2552” ทั่วประเทศร่วม 2,000 เล่ม

ทั้งนี้ทาง กรอ. ยังได้เปิดตัว “DIW TEAM” ที ม ชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น ตรวจสอบมลพิ ษ ภาคสนามทีค่ อยเฝ้าระวังเหตุอคั คีภยั อย่างใกล้ชดิ ลงพื้ น ที่ ที่ เ กิ ด เหตุ ทั น ที ภ ายใน 1-3 ชั่ ว โมง เพื่ อ ตรวจสอบ ประมวลข้ อ มู ล ประเมิ น ผล อีกทัง้ ให้การช่วยเหลือด้านข้อมูลสารเคมีอนั ตราย อั ค คี ภั ย รุ น แรงและการรั่ ว ไหลของมลภาวะ สู่แหล่งธรรมชาติ ทั้งนี้ หลังจากเหตุเพลิงไหม้ สงบแล้ว กรอ. จะสรุปและหาสาเหตุเพือ่ ป้องกัน อัคคีภัยที่มีโอกาสเกิดซ�้าในอนาคต จากสถิติ ในปี 2556 เกิดอัคคีภัยในโรงงาน 50 ราย ปี 2557 เกิดอัคคีภัย 73 ราย เพิ่มขึ้นถึง 46% มู ล ค่ า การสู ญ เสี ย ไม่ ต�่ า กว่ า 400 ล้ า นบาท และจากข้อมูล 3 ปี ย้อนหลัง พบว่า 5 ประเภท โรงงานที่เกิดอัคคีภัยสูงสุด ได้แก่ โรงงาน ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหาร สิ่งทอ และ คัดแยก วัสดุตามล�าดับ โดย 5 จังหวัดที่เกิดอุบัติเหตุ อัคคีภัยบ่อยครั้งที่สุดคือกรุงเทพและปริมณฑล อันเป็นศูนย์กลางเขตเศรษฐกิจที่มีความเจริญ ที่ สุ ด และเป็ น ศู น ย์ ก ลางอุ ต สาหกรรมของ ประเทศ

1010

May May2015 2015

ดร. พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กล่าวว่า ปัจจุบัน “DIW TEAM” มี เจ้ าหน้ าที่ ท�างานครอบคลุ มพื้ น ที่ ก รุ ง เทพฯ และปริมณฑล โดยในส่วนภูมิภาค ชุดปฏิบตั กิ ารจะจัดเตรียมข้อมูลทัง้ ในด้านเครือ่ งจักรและการใช้สารเคมี เพือ่ ประเมินผล พร้ อ มด� า เนิ น การให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ เมื่ อ ได้ รั บ การร้ อ งขอจากส� า นั ก อุ ต สาหกรรม จังหวัด ซึ่งภายหลังจากเหตุเพลิงไหม้สงบแล้ว กรอ.จะสรุปและหาสาเหตุเพื่อป้องกัน อัคคีภัยที่มีโอกาสเกิดซ�้าในอนาคต ผู้ประกอบการและบุคคลทั่วไปสามารถดาวน์โหลด ไฟล์คู่มือและ ไฟล์วีดีทัศน์ “การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. 2552” ได้ในเวบไซค์กรมโรงงานโรงงานอุตสาหกรรม http://php.diw.go.th/safety/ หรือ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วนกรมโรงงานอุตสาหกรรม 1564


News Report กองบรรณาธิการ

SCN เซ็นสัญญา PRAXAIR

รุกธุรกิจปรับคุณภาพก๊าซธรรมชาติ

บมจ. สแกน อินเตอร์ หรือ SCN เซ็นสัญญา PRAXAIR ผู้ผลิตและจ�าหน่ายก๊าซ รายใหญ่ที่สุดของโลก เมื่อเร็ว ๆ นี้ ได้ซื้อก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลอตใหญ่ รับแผน รุกธุรกิจปรับคุณภาพก๊าซธรรมชาติ หนุนศักยภาพการด�าเนินธุรกิจก๊าซธรรมชาติ แบบครบวงจรตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า หลัง ปตท. เตรียมปรับเปลีย่ นแนวท่อ ในการส่งก๊าซมาใช้จากอ่าวไทยแทนการน�าเข้าจากเมียนมาร์ ตัง้ เป้าท�ารายได้จากธุรกิจ ปรับคุณภาพก๊าซปีละประมาณ 130-200 ล้านบาท คุณธัญชาติ กิจพิพิธ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท สแกนอินเตอร์ จ�ากัด (มหาชน) หรือ SCN ผู้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติแบบครบวงจร เปิดเผยว่า บริษัทฯ ได้เซ็นสัญญากับ บริษัท แพรกซ์แอร์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ซึ่งถือเป็นบริษัท ผู้ผลิตและจ�าหน่ายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์รายใหญ่ที่สุดของโลก เพื่อสั่งซื้อก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น�ามาใช้ในการด�าเนินธุรกิจปรับคุณภาพ ก๊าซธรรมชาติ โดยภายใต้สัญญาดังกล่าว บริษัทฯ จะสั่งซื้อก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในระยะยาว คิดเป็นปริมาณ 35,000-50,000 ตันต่อปี การเซ็นสัญญากับ แพรกซ์แอร์ ในครั้งนี้ ช่วยให้ บริษัทฯ สามารถรุกธุรกิจปรับปรุงคุณภาพก๊าซธรรมชาติที่เข้ามาช่วยเติมเต็มความแข็งแกร่งการ ให้บริการก๊าซธรรมชาติแบบครบวงจรของบริษัทฯ เพื่อตอบสนองด้านการให้บริการแก่ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการ รองรับแผนงานของ ปตท. ซึ่งเป็นลูกค้าของบริษัทฯ ที่มีความต้องการเปลี่ยนแนวท่อโดยน�าก๊าซธรรมชาติจากแหล่งอ่าวไทยมาตามท่อก๊าซ เพื่อเข้าสู่สถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก ที่อ�าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี แทนการน�าเข้าก๊าซธรรมชาติจากประเทศเมียนมาร์

ค่าย Kids-to-Forests

กิจกรรมสร้างสรรค์รับวันป่าไม้สากล

ค่าย Kids-to-Forests (“K2F”) เป็นค่ายที่ FAO จัดขึ้นเป็นประจ�าตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นมา ในหลายประเทศแถบเอเชีย เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมและมัธยม ทั้งในและนอกพื้นที่ ให้เกิดการรับรู้เกี่ยวกับประโยชน์และความส�าคัญของป่าไม้ โดยในครั้งนี้ FAO เลือกจัดกิจกรรมขึ้นที่จังหวัดกาญจนบุรี โดยน�าเยาวชน จาก 7 โรงเรียน จ�านวนกว่า 30 คน จากทั้งกรุงเทพและกาญจนบุรี ร่วมท�ากิจกรรมศึกษาเกี่ยวกับระบบนิเวศน์ของป่าพุเตย ซึ่งเป็น ป่าที่มีระบบนิเวศน์หลากหลาย แสดงให้เห็นถึงความส�าคัญของป่าต่อชุมชนท้องถิ่น ที่ต้องพึ่งพา อาศัยและใช้ประโยชน์จากป่าไม้ อีกทั้งยังได้ร่วมกันท�าฝายภายในป่าพุเตย เพื่อไว้ใช้กักเก็บน�้า ในหน้าแล้ง ให้พืชพรรณภายในป่าให้มีชีวิตชีวาตลอดทั้งปี นอกจากกิจกรรมร่วมกับชุมชน ท้องถิ่นแล้ว กิจกรรมส�าคัญที่ชาวค่าย Kids-to-Forests (“K2F”) ได้ท�า คือการปลูกป่าทดแทนกว่า 300 ต้น ณ บริเวณพื้นที่บ้านท่าทุ่งนา ร่วมกับ มร.แอนดรูว สตีล ผู้ก่อตั้งมูลนิธิปลูกต้นไม้ (PATT Foundation) เพือ่ ทดแทนพืน้ ทีป่ า่ ให้อดุ มสมบูรณ์ตอ่ ไปอีกนานแสนนาน ซึง่ มร.แอนดรูว สตีล กล่าวว่า “มูลนิธิปลูกต้นไม้วันนี้ รู้สึกเป็นเกียรติที่ได้ร่วมมือกับ FAO ในการจัดกิจกรรมเนื่องใน วันป่าไม้สากล เพราะทางมูลนิธิเอง ก็ท�างานในด้านของการอนุรักษ์ป่าไม้มาตั้งแต่ปี 2548 โดยเน้นปลูกฝังจิตส�านึกที่ดีให้แก่เยาวชนอยู่แล้ว ซึ่งทางมูลนิธิหวังเป็นอย่างยิ่งว่ากิจกรรมดี ๆ ในครั้งนี้ จะเป็นส่วนในการสร้างส�านึกที่ดีต่อป่าไม้ในตัวเยาวชนของโลก ซึ่งที่ผ่านมามูลนิธิฯ ได้รับการสนับสนุนให้หน่วยงานภาคเอกชน องค์กร เอกชนและประชาชนได้ตระหนักถึงความส�าคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ด�าเนินการปลูกฟื้นฟูป่าบริเวณพื้นที่ที่เคยถูกบุกรุกท�าลาย มาก่อน เพื่อช่วยกันดูแลรักษาป่าไม้ให้คงความอุดมสมบูรณ์ และยั่งยืนต่อไปในอนาคต โดยปัจจุบันได้ท�ากิจกรรมปลูกต้นไม้คืนสู่ธรรมชาติ มาแล้วราว 900,000 ต้น” May May2015 2015 1111


News Report กองบรรณาธิการ

ธพ. ปรับสัดส่วนไบโอดีเซลเป็น บี7

ชะลอผลผลิตปาล์มล้นตลาด

นายวิฑูรย์ กุลเจริญวิรัตน์ อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน (ธพ.) เปิดเผยว่า คณะอนุกรรมการเพื่อบริหารจัดการปาล์มน�้ามันและน�้ามันปาล์มด้านตลาด ภายใต้คณะกรรมการนโยบายปาล์มน�้ามันแห่งชาติ (กปน.) มีมติให้เพิ่ม สัดส่วนผสมไบโอดีเซลในน�้ามันดีเซลจากร้อยละ 3.5 เป็นร้อยละ 7 ภายใน เดือนเมษายน 2558 เพื่อดูดซับผลผลิตน�้ามันปาล์มดิบส่วนที่เกินความ ต้องการของตลาดภายในประเทศ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไ ด้ รายงานสถานการณ์ผลผลิตน�้ามันปาล์มว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มสูง ขึ้นมาก ส่งผลให้ราคาปาล์มน�้ามันและน�้ามันปาล์มดิบในประเทศมีแนวโน้ม ลดลง เพื่อป้องกันผลผลิตปาล์มน�้ามันและน�้ามันปาล์มดิบล้นตลาด และช่วย พยุงราคาน�้ามันปาล์มในประเทศไม่ให้ตกต�่า รวมถึงยังเป็นการช่วยเหลือ เกษตรกรและกระตุ้นเศรษฐกิจ ทางกรมธุรกิจพลังงาน จึงได้ปรับเพิ่มสัดส่วนไบโอดีเซลในน�้ามันดีเซลหมุนเร็วจากร้อยละ 3.5. เป็น ร้อยละ 7 โดยจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 16 เมษายน 2558 เป็นต้นไป โดยเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ยอดการใช้น�้ามันดีเซลหมุนเร็วอยู่ที่ 60 ล้านลิตร/วัน คาดว่าหลังจากปรับสัดส่วนเป็น บี 7 จะสามารถเพิ่มยอดการใช้ไบโอดีเซลเป็น 3.7 ล้านลิตรต่อวัน จากยอดการใช้ ไบโอดีเซลปัจจุบัน 2.2 ล้านลิตร/วัน

แอดวานซ์ เพาเวอร์ จับมือ ซีทีซีไอ

เดินหน้าโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงจากขยะ-ชีวมวล

นายสุธีร์ ฉุยฉาย กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอดวานซ์ เพาเวอร์ คอนเวอร์ชั่น จ�ากัด (APCON) เปิดเผยว่า ตามที่ภาครัฐบาลได้มีนโยบายให้เรื่องของการ ก�าจัดขยะเป็นวาระแห่งชาติ ซึง่ ปัจจุบนั ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนได้ตนื่ ตัวและ สนใจกับการบริหารจัดการขยะมากขึ้น โดยเฉพาะการก่อสร้างโรงผลิตไฟฟ้า จากเชื้ อเพลิ ง ขยะ จึ ง ได้ ต กลงร่ ว มด� าเนินการลงนามในกิจการร่วมค้า กับ บริษัท ซีทีซีไอ (ประเทศไทย) จ�ากัด (CTCI) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ ซีทีซีไอ กรุ๊ป (CTCI GROUP) เพือ่ เข้าร่วมประมูลงานก่อสร้างโรงผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงขยะ การลงนามในครัง้ นีท้ าง APCON จะเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ที่ 60 % และทาง CTCI จะถือหุน้ 40% ซึง่ กิจการร่วมค้าดังกล่าวจะเริม่ งานได้ทนั ที โดยจะเริม่ จากการ เข้าประมูลรับงานโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงจาก RDF ขนาดก�าลังการผลิตไฟฟ้า 9.98 เมกะวัตต์ มูลค่า 9,000-10,000 ล้านบาท ทีบ่ ริษทั ฯ ได้เสนอให้กบั ทางบริษทั อีสเทริน์ เอเนอร์จ้ี พลัส จ�ากัด (EEP) ทีร่ ว่ มกับบริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ากัด (มหาชน) หรือ RATCH ก่อสร้างโรงไฟฟ้าขยะที่จังหวัดสมุทรปราการเป็นแห่งแรก ซึ่งบริษัทมีความ มั่นใจมากว่าจะชนะการประมูลในครั้งนี้ และคาดว่าจะทราบผลการประมูลประมาณเดือนพฤษภาคมนี้ โดยจะมีรูปแบบทั้งการรับงาน ก่อสร้างและบริหารโรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงจากขยะ (RDF) นอกจากการรับงานโรงไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงขยะทัง้ จากเอกชนและภาครัฐ บริษทั ยังมี ความพร้อมทีจ่ ะเข้าประมูลงานจากโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น โรงงานน�า้ ตาล ซึง่ มีกากอ้อยทีส่ ามารถน�ามาเป็นเชือ้ เพลิงในการผลิต ไฟฟ้าชีวมวล (Biomass) มันส�าปะหลัง หรือกากปาล์ม ส่วนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าขยะสามารถด�าเนินการได้ทั่วประเทศ เพราะปัจจุบัน ประเทศไทยมีปญ ั หาเรือ่ งการก�าจัดขยะ หากบริษทั สามารถน�าขยะมาผลิตกระแสไฟฟ้าก็จะช่วยลดปัญหาขยะล้นเมืองได้อย่างมาก 12

May 2015

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


11.05-11.30 . May 2015 PB


News Report กองบรรณาธิการ

จาโนเม รอยดวงใจเฉลิมพระเกียรติ

ตัดเย็บ “ดอกมวงเทพรัตน” 6,060 ดอก ¨Ñ¡ÃàÂ็º¼ŒÒ¨Òâ¹àÁ‹ ¼¹Ö¡Í§¤ ¡ÃÃÑ° áÅÐàÍ¡ª¹ ¨Ñ ´ §Ò¹ “ÃŒ Í Â´Ç§ã¨ à©ÅÔ Á ¾ÃÐà¡Õ Â ÃµÔ 60 ¾ÃÃÉÒ ÊÁà´็¨¾ÃÐ෾ϔ ¾ÃŒÍÁàªÔުǹ ¾Ê¡¹Ô ¡ êÒÇä·Â·Ø ¡ ËÁÙ ‹ à ËÅ‹ Ò Ã‹ Ç Áâ¤Ã§¡ÒÃµÑ ´ àÂ็ º »ÃÐ´Ô É ° “´Í¡Á‹Ç§à·¾Ãѵ¹ ” ãËŒ¤Ãº¨ํҹǹ 6,060 ´Í¡ ·ÙÅà¡ÅŒÒÏ ¶ÇÒÂã¹ÇÒÃÐ ÁËÒÁÔ่§Á§¤Å

นางศิริวรรณ วิลาสศักดานนท กรรมการผูจัดการ บริษัท วีน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (เครือสหกรุป) ผูจัดจําหนาย จักรเย็บผาจาโนเม และเอลนา กลาวถึงวัตถุประสงคของการจัดงาน รอยดวงใจเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพฯ วา เนือ่ งในโอกาสทีส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา บริษัทฯ จึงไดจัดกิจกรรม แสดงความจงรักภักดีและเฉลิมพระเกียรติพระองคทา น โดยเชิญชวน ประชาชนทุกหมูเ หลา เขารวมโครงการตัดเย็บประดิษฐ “ดอกมวง เทพรัตน” จํานวน 6,060 ดอก พรอมกับใหเขียนชื่อ – นามสกุล ติดผลงานของตัวเองเพื่อลงนามถวายพร นําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย ในวาระมหามิ่งมงคลนี้ สําหรับกิจกรรมครั้งนี้ไดรับความรวมมือจากหนวยงานรัฐ และ เอกชน อาทิ ศูนยพฒ ั นาฝมอื แรงงานกรุงเทพมหานคร กรมพัฒนา ฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน สํานักงานเขตบางกะป และ เดอะมอลล กรุป ในการเขารวมจัดทําและชวยประชาสัมพันธ เชิญชวนพสกนิกรชาวไทยรวมกันตัดเย็บประดิษฐดอกมวงเทพรัตน เพื่อใหครบ 6,060 ดอก สําหรับดอกมวงเทพรัตน เปนไมประดับที่มีตนกําเนิดจากเกาะ เยเมนในมหาสมุทรอินเดีย โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานนาม นับวาเปนมงคลนาม เพราะสีมว งเปนสีประจําพระองค จึงเปนทีม่ าของดอกไมประดิษฐ PB14

May May2015 2015

เพือ่ พระองคทา นทีจ่ ะมาจากความจงรักภักดีของพสกนิกรชาวไทย ทุกหมูเหลา และในโอกาสนี้ บริษัทฯ ยังนําจักรเย็บผาจาโนเม รุนเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษาจํานวน 60 เครื่อง นําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายใหสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงใช ในโครงการสรางงาน สรางอาชีพใหแกราษฎรตามพระราชอัธยาศัย ทางบริษัทฯ มีความภาคภูมิใจเปนอยางยิ่งที่เปนสวนหนึ่งในการ ขับเคลื่อนการสรางงานสรางอาชีพ อันเปนไปตามปณิธานของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทีม่ งุ เนนสงเสริม ในเรื่องการสรางงาน สรางรายได ใหกับราษฎร ในสาขาหัตถกรรม การตัดเย็บผาจากในหลายโครงการของพระองคทาน นอกจากนี้ ยังจะนํารายไดการจําหนายจักรเย็บผารุนนี้ มอบใหกับกองทุน พระราชทานเพื่ อ สงเคราะห ค นไข ย ากจนในสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ของคณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อเปนสาธารณะกุศลตอไป


News Report

“ล็อกซเล่ย์” เปิดตัว “BYD”

จีรพร ทิพย์เคลือบ

ยานยนต์พลังงานไฟฟ้าเพื่อการพาณิชย์ ล็อกซเล่ย์ ร่วมมือกับ บีวายดี ออโต้ อินดัสตรี้ ประเทศจีน (BYD) เปิดตัว “รถโดยสารและรถยนต์นงั่ ไฟฟ้าเพือ่ การพาณิชย์” ครัง้ แรกใประเทศไทย ชูจดุ เด่น ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า 100% ไร้มลพิษและประหยัดพลังงาน เผยโฉม พร้อมกัน 2 รุ่น คือ รถโดยสารไฟฟ้า รุ่น K9 ที่มีความยาว 12 เมตร ขุมพลัง 250 แรงม้า ชาร์จไฟ 5 ชั่วโมง ขับขี่ได้ถึง 250 กิโลเมตร และรถยนต์นั่งไฟฟ้า รุ่น E6 ขนาด 5 ที่นั่ง 121 แรงม้า ชาร์จไฟ 2 ชั่วโมง ขับได้ไกล 300 กิโลเมตร มั่นใจแบรนด์ BYD มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในวงการยานยนต์ไฟฟ้า เด่นด้วย เทคโนโลยีแบตเตอรี่คุณภาพสูง เมื่อครบอายุการใช้งาน ไม่น้อยกว่า 15 ปี สามารถน�ากลับมาใช้ได้อีก

ดร.โกศล สุรโกมล ทีป่ รึกษา บริษทั ล็อกซเล่ย์ จ�ากัด (มหาชน) เปิดเผยว่า “ล็อกซเล่ย”์ ได้ตระหนัก ถึงการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสภาวะโลกร้อน จึงได้ให้ความส�าคัญด้านพลังงานทดแทน มาอย่างต่อเนือ่ ง ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานเชือ้ เพลิงจาก สาหร่ายและพลังงานจากขยะ รวมถึงความคิดทีจ่ ะต่อยอดทางด้านยานยนต์พลังงานทางเลือกใหม่ ชนิดขับเคลือ่ นจากพลังงานไฟฟ้า จึงได้รว่ มมือกับ บริษทั บีวายดี ออโต้ อินดัสตรี้ จ�ากัด ซึง่ เป็น ผูน้ า� ด้านการผลิตแบตเตอรีแ่ ละยานยนต์ไฟฟ้าจากประเทศจีน “เปิดตัวรถโดยสารและรถยนต์นงั่ ไฟฟ้าเพือ่ การพาณิชย์” เป็นครัง้ แรกในประเทศไทย โดยน�าเข้ามาประเดิมตลาดก่อน 2 รุน่ ได้แก่ รถโดยสารไฟฟ้า รุน่ K9 และรถยนต์นงั่ ไฟฟ้า รุน่ E6 ทั้งนี้ ล็อกเล่ย์เลือกรถโดยสารและรถยนต์นั่งไฟฟ้าของบีวายดีเข้ามาเจาะตลาดในประเทศไทย เพราะมีความเชือ่ มัน่ ในคุณภาพ สมรรถนะและความปลอดภัยสูงของยานยนต์ไฟฟ้าบีวายดี อีกทัง้ ไม่ก่อให้เกิดมลพิษในอากาศ และยังช่วยประหยัดพลังงาน ลดการน�าเข้าน�้ามันเชื้อเพลิงจาก ต่างประเทศมีค่าซ่อมบ�ารุงรักษาต�่ากว่ารถที่ใช้น�้ามันเชื้อเพลิงทั่วไป ที่ส�าคัญแบตเตอรี่รถยนต์ ที่ครบอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า 15 ปี ยังสามารถกลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น ใช้เป็นแบตเตอรี่ส�ารอง ต่าง ๆ ดังนั้นจึงไม่เป็นภาระต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแน่นอน นอกจากนี้ จะน�าเสนอในลักษณะ โซลูชั่นที่ครอบคลุมตั้งแต่การจัดหารถโดยสารและรถยนต์นั่งไฟฟ้า การสนับสนุนด้านการบริหาร การเงิน การบริการหลังการขาย การจัดหาอะไหล่ส�ารองต่าง ๆ ทั้งในระยะเวลารับประกันและ หลังรับประกัน เพื่อให้ลูกค้ามั่นใจว่าจะได้รับการดูแลตลอดอายุการใช้งาน ในระยะแรกจะเน้นไป ยังกลุ่มลูกค้าที่เป็นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยกลุ่มลูกค้ารถโดยสารไฟฟ้าจะเป็นหน่วยงาน ราชการ รัฐวิสาหกิจ โรงเรียน มหาวิทยาลัย เป็นต้น ส่วนกลุ่มลูกค้ารถยนต์นั่งไฟฟ้าจะเป็น หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทรถเช่า แท็กซี่มิเตอร์ โรงแรม ฯลฯ

ชั่วโมง ซึ่งใช้เวลาในการประจุไฟฟ้าประมาณ 5 ชัว่ โมง สามารถวิง่ ได้ระยะทางมากกว่า 250 กิโลเมตรต่อการประจุไฟฟ้าเต็ม 1 ครัง้ ท�าให้ มีอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยราว 1.2 กิโลวัตต์ชวั่ โมงต่อกิโลเมตร หรือประมาณ 4 บาทต่อกิโลเมตร และให้ความเร็วสูงสุดที่ 70 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ส่วนรถยนต์นงั่ ไฟฟ้า รุน่ E6 มีขนาด 5 ทีน่ งั่ ขนาด ความยาว/กว้าง/สูง 4.560/1.822/1.645 เมตร มีระยะห่างช่วงล้อ 2.830 เมตร ขับเคลือ่ นด้วย ระบบมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับขนาด 90 กิโลวัตต์ หรือประมาณ 121 แรงม้า ใช้แบตเตอรี่ชนิด Lithium Fe ที่ความจุ 61.4 กิโลวัตต์ชั่วโมง ใช้เวลาในการประจุไฟฟ้าประมาณ 2 ชั่วโมง สามารถวิง่ ได้ระยะทางมากกว่า 300 กิโลเมตร ต่อการประจุไฟฟ้าเต็ม 1 ครั้ง ท�าให้มีอัตรา การสิน้ เปลืองพลังงานไฟฟ้าเฉลีย่ อยูท่ ปี่ ระมาณ 0.13 กิโลวัตต์ชวั่ โมงต่อกิโลเมตร หรือประมาณ 0.5 บาทต่อกิโลเมตร และให้ความเร็วสูงสุดที่ 140 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง

ในส่วนของศูนย์บริการ ในระยะแรก บริษทั ฯ จะร่วมมือกับพันธมิตรจัดตัง้ ศูนย์บริการกลาง และ ศูนย์บริการย่อย รวม 5 แห่งในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จากนัน้ จะขยายศูนย์บริการเพิม่ เติมใน ระยะต่อมา ขณะทีส่ ถานีประจุไฟฟ้าจะมีการติดตัง้ ในเขตพืน้ ทีข่ องผูป้ ระกอบการ หรือผูใ้ ห้บริการนัน้ ๆ และมีแผนจะขยายสถานีประจุไฟฟ้าส�าหรับส่วนกลางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ให้มจี า� นวน เพียงพอต่อความต้องการแน่นอน ส�าหรับ รถโดยสารไฟฟ้า รุน่ K9 มีขนาดความยาวถึง 12 เมตร เป็นรถโดยสารไฟฟ้าชานต�า่ ทีม่ ตี วั ถังรถท�าจากอลูมเิ นียมอัลลอยด์ มีนา�้ หนักเบา และไม่เป็นสนิม พร้อมระบบขับเคลือ่ นด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับขนาด 180 กิโลวัตต์ หรือประมาณ 250 แรงม้า ช่วงล่างมีระบบกันสะเทือนแบบถุงลมใช้แบตเตอรีช่ นิด Lithium Fe มีความจุขนาด 324 กิโลวัตต์ May May2015 2015 15PB


News Report กองบรรณาธิการ

รัฐบาลเปดตัว ECO sticker รับภาษีรถยนตอัตราใหมป’ 59

กระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงการคลัง รวมกันเปดตัว “ECO Sticker” สติกเกอรบอกขอมูลสําคัญของตัวรถ ทั้งสเปก ออปชั่น อัตราบริโภค นํา้ มัน มาตรฐานไอเสีย (เหมือนแนวทางฉลากประหยัดไฟเบอร 5) ทีต่ อ ง ติดมากับรถใหมทุกคันเพื่อแสดงมาตรฐานรถประหยัดพลังงานกอน ปรับโครงสรางภาษีสรรพสามิตรถยนตในป 59 เริ่มใช 1 ตุลาคมปนี้ นายสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีวา การกระทรวงการคลัง และนายจักรมณฑ ผาสุกวนิช รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม รวมลงนาม ในพิธีเปดตัวระบบปายขอมูลรถยนต ECO sticker สําหรับใหผูประกอบการติดในรถยนตที่นําเขาหรือผลิตขึ้นใหม เพื่อแสดงคุณสมบัติ ของรถทีผ่ ลิตภายใตมาตรฐานรถประหยัดพลังงาน หรือ อีโคคาร ซึง่ ECO sticker จะระบุขอ มูลสําคัญ 4 สวน ไดแก ขอมูลผูผ ลิต-ผูน าํ เขา ขอมูลรถยนต รายการอุปกรณที่ติดตั้งจากโรงงาน และการทดสอบตามมาตรฐานอางอิง โดยจะใหผูผลิตเริ่มติดสติกเกอรที่รถยนต ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมนี้เปนตนไป กอนดําเนินการปรับโครงสรางสรรพสามิตรถยนตใหมในป 2559 นายจักรมณฑ ผาสุกวนิช รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม กลาววา การปรับโครงสรางภาษีดังกลาว หรือภาษี CO2 ที่จะเริ่มใช ในวันที่ 1 มกราคมปหนา ไมนาจะสงผลใหประชาชนชะลอการตัดสินใจซื้อรถยนตมากนัก สวนรถรุนเกาจะเสียภาษีในอัตราเดิม ดานนางเพียงใจ แกวสุวรรณ ประธานสมาพันธอตุ สาหกรรมยานยนตแหงอาเซียน ยอมรับวารถยนตขนาดใหญ ทีป่ ลอยกาซฯ CO2 สูง จะปรับราคาเพิ่มขึ้นบางแตไมมากนัก เฉลี่ยรอยละ 3-5 อาทิ รถกระบะเชิงพาณิชย เพราะอัตราภาษีสรรพสามิตปรับสูงขึ้น

กทท. รวมกับ NCL ยกระดับขนสงสินคาทางนํา้ เปดเสนทางเดินเรือแหงใหม ระนอง-ยางกุง

การทาเรือแหงประเทศไทย (กทท.) รวมกับ บริษทั เอ็น ซี แอล อินเตอรเนชัน่ แนล โลจิสติกส จํากัด (มหาชน) เปดใหบริการเสนทางเดินเรือประจําระหวางทาเรือ ระนองกับทาเรือยางกุง เรือโท กมลศักดิ์ พรหมประยูร รองผูอํานวยการการทาเรือแหงประเทศไทย สายบริหารสินทรัพยและพัฒนาธุรกิจ เปดเผยวา การทาเรือแหงประเทศไทย (กทท.) กําหนดจัดพิธีลงนามขอตกลงกับ บริษัท เอ็น ซี แอล อินเตอรเนชั่นแนล โลจิสติกส จํากัด (มหาชน) เพื่อเปดใหบริการเสนทางเดินเรือประจําระหวางทาเรือระนองกับ ทาเรือยางกุง สําหรับการเชื่อมโยงธุรกิจการคา การลงทุนระหวางกันในการใช ทาเรือบริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกผานทาเรือระนอง เพื่อขนสงตูสินคา ไปยังทาเรือ AIPT 1 (Ahlone International Port Terminal 1) ประเทศเมียนมารและ กลุมประเทศเพื่อนบาน โดยมีระยะเวลา 1 ป ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มความสะดวก รวดเร็ว และลดตนทุนในการขนสงสินคา อีกทั้งยังเปนการเชื่อมโยง เสนทางการคาทางฝง ทะเลอันดามันอีกดวย สําหรับการเปดใหบริการเสนทางการขนสงทางนํา้ นัน้ บริษทั เอ็น ซี แอลฯ จะนําเรือตูส นิ คาทีเ่ ชามาจาก ประเทศสิงคโปร ชื่อ Munich Trader ซึ่งบรรทุกตูสินคาไดไมเกิน 12,000 เดทเวทตัน มีความยาว 147 เมตร กินนํ้าลึก 7.5 เมตร เขาเทียบทา ที่ทาเรือระนอง โดย กทท. ใหสิทธิในการนําเรือตูสินคาเขาเทียบทาในลักษณะ Priority Berth ประมาณ 4 เที่ยวตอเดือน และคาดวาจะมีปริมาณ ตูสินคาผานทาเรือระนองไมนอยกวา 6000 ทีอียูตอป ซึ่งประเภทของสินคาสงออกสวนใหญเปนวัสดุกอสรางใชเวลาในการเดินทางเพียง 3 วัน จากสถานีบรรจุและแยกสินคากลอง จากลาดกระบังมาทาเรือระนอง และจากทาเรือระนองไปยังทาเรือ AIPT ทั้งนี้ ทาเรือระนองไดจัดเตรียม สิ่งอํานวยความสะดวกในการใหบริการ ไดแก ปนจั่นหนาทาลอยางขับเคลื่อนดวยตัวเอง 1 คัน รถหัวลากพวงตูสินคา 6 คัน รถยกตูสินคาหนัก 2 คัน รถยกตูเปลา 1 คัน และรถยกขนาดตาง ๆ และลานวางตูสินคา 11,000 ตารางเมตร เพื่อรองรับการขนสงระบบตูสินคา อยางปลอดภัยและ มีประสิทธิภาพ ในอนาคตหากมีปริมาณตูสินคาเพิ่มขึ้นจะจัดหาปนจั่นยกตูสินคาหนาทารถหัวลากมาใหบริการเพิ่ม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการขนสง ขนถายตูสินคาและสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาตอไป

16

May 2015

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


May 2015 PB


Cover Story กองบรรณาธิการ

Green Paper นวัตกรรมทดแทนเพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม »˜¨¨ØºÑ¹¹Õ้ ¼ÅÔµÀѳ± ¨Ò¡ “¡ÃдÒÉ” ÁÕãËŒ¾ºàË็¹¡Ñ¹ÍÂÙ‹·Ñ่Çä» áµ‹·Õ่¤ØŒ¹à¤ÂáÅзÕ่㪌¡Ñ¹ÍÂÙ‹à¡×ͺ·Ø¡Ë¹‹Ç§ҹ¤§¨Ð˹ÕäÁ‹¾Œ¹ ¡ÃдÒÉ A4 áÅй͡¨Ò¡¡ÃдÒÉ A4 áÅŒÇ ¡ÃдÒÉÂѧÁÕʋǹà¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§à¡×ͺ·Ø¡ÍصÊÒË¡ÃÃÁ «Ö่§·ํÒãËŒº·ºÒ·¢Í§¡ÃдÒÉ à»ÅÕ่¹仨ҡà´ÔÁ·Õ่¹ํÒÁÒ㪌ᤋà¢Õ¹ ºÑ¹·Ö¡¢ŒÍ¤ÇÒÁ ᵋ㹵͹¹Õ้¡ÅÒÂ໚¹¼ÅÔµÀѳ± µ‹Ò§ æ ä»áÅŒÇ ÊÒà˵طÕ่¤¹Ê‹Ç¹ãËÞ‹ ¹ÔÂÁ㪌¼ÅÔµÀѳ± ¨Ò¡¡ÃдÒɡѹÁÒ¡¢Ö้¹à¾ÃÒСÃдÒÉ໚¹ÇÑÊ´Ø·Õ่‹ÍÂÊÅÒ§‹Ò ÊÒÁÒö¹ํÒ¡ÅѺÁÒ㪌ãËÁ‹ä´Œ ᵋ㹷ҧ ¡ÅѺ¡Ñ¹ÂÔ่§¤¹ãªŒ¡ÃдÒÉÁÒ¡à·‹Òäà ¡็·ํÒãËŒàÃÒµŒÍ§µÑ´µŒ¹äÁŒÁÒ¡¢Ö้¹à·‹Ò¹Ñ้¹ áÅй͡¨Ò¡¹Õ้¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ¡ÃдÒÉÂѧ㪌 ¾Åѧ§Ò¹ã¹¡ÒüÅÔµÁÒ¡¡Ç‹ÒÍصÊÒË¡ÃÃÁÍ×่¹ æ ·Ñ้§¹Õ้¨Ö§·ํÒãˌ˹‹Ç§ҹ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§ä´ŒÍÍ¡ÁҵáÒÃ㹡ÒÃÅ´¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹ 㹡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ¡ÃдÒÉ ¾ÃŒÍÁ·Ñ้§ÁÕ¡ÒÃóç¤ Å´¡ÒÃ㪌¡ÃдÒÉÍÕ¡´ŒÇÂ

ผลิตภัณฑในรูปกระดาษที่ผลิตออกมาเปนจํานวนมากและในจํานวนที่ผลิตออกมาอยาง มหาศาลนี้มีเพียงไมถึง 30 เปอรเซ็นตที่ไดมีการนํากระดาษที่ใชแลวไปรีไซเคิลทําเปน ผลิตภัณฑใหมอกี ครัง้ จํานวนทีเ่ หลือจึงกลายเปนขยะอยูใ นแหลงทิง้ ขยะ ในปหนึง่ ๆ ปรากฎวา จํานวนนับลาน ๆ ของใบปลิว โฆษณาทางไปรษณีย คูปอง ใบขอรับบริจาค แค็ตตาล็อกตาง ๆ และหนาโฆษณาในหนาหนังสือพิมพ มีเพียงนับพันแผนเทานัน้ ทีผ่ า นการอานและสวนทีเ่ หลือ นอกจากนัน้ ไดกลายเปนขยะโดยไมผา นการอานเลย จึงเปนการใชทรัพยากรทีส่ นิ้ เปลืองทีส่ ดุ กระดาษทุกชนิดที่เราใชทุกวันนี้สวนใหญผลิตจากเนื้อเยื่อของตนไมและมีกระดาษหลายชนิด ที่ เ มื่ อ ใช แ ล ว สามารถนํ า มาผลิ ต ใช ซํ้า ได อี ก เช น กระดาษหนั ง สื อพิ มพ กระดาษบั น ทึ ก กระดาษสําเนา กระดาษพิมพดีด กระดาษคอมพิวเตอร บัตรรายการ และซองจดหมายสีขาว สําหรับกระดาษที่ไมสามารถนํากลับมาผลิตใหม เชน กระดาษที่ติดกาวหรืออาบมัน เนื่องจาก ความรอนจะทําใหสารเคลือบกระดาษละลายแลวไปอุดตันเครือ่ งจักรทําใหเกิดความเสียหายได

18

May 2015

การรีไซเคิลกระดาษเริ่มตนดวยกระบวนการ ใชนาํ้ และสารเคมีกาํ จัดหมึกทีป่ นเปอ นออกไป ทํ า ให ก ระดาษเหล า นั้ น กลายเป น เนื้ อ เยื่ อ จากนั้นจึงทําความสะอาดเนื้อเยื่อ เพื่อนํา เขาสูกระบวนการผลิตเสนใยที่สามารถนําไป ผลิ ต เปนกระดาษตอ ไป กระดาษที่ใชแลว เมือ่ นํามาผลิตใชใหมมกี ระบวนการทีค่ อ นขาง ซับซอน เพราะจะตองกําจัดสีที่ปนเปอนออก ใหหมด เพราะการเจือปนแมเพียงเล็กนอย อาจทําใหกระดาษทีผ่ ลิตใหมใชประโยชนไมได ไฟเบอร ใ นเนื้ อ เยื่ อ กระดาษจะลดน อ ยลง ทุกขั้นตอนของกระบวนการรีไซเคิล กระดาษ ทีผ่ ลิตขึน้ ใหมจงึ มีคณ ุ ภาพดอยลง และมีเพียง 3 เปอรเซ็นตของกระดาษหนังสือพิมพเทานัน้ ที่ ส ามารถนํ า ไปผลิ ต เป น สิ่ ง พิ ม พ ไ ด ใ หม กระดาษรีไซเคิลสวนใหญจึงเหมาะสําหรับทํา เปนกลองบรรจุสินคา ทําเปนฝาเพดาน หรือ ฉนวนกันความรอนนั่นเอง


และเนื่องจากกระดาษเปนวัสดุสิ้นเปลือง จึงมีการนํากระดาษกลับมาใชอีก เชน กระดาษ หนังสือพิมพนํามาพับถุงกระดาษ กระดาษสําหรับเขียนแมใชแลวทั้งสองหนา ก็สามารถนํา ไปพิมพอักษรเบรลลสําหรับคนตาบอดได เมื่อหมดสภาพแลว ก็นําไปเขาโรงงานแปรรูปเปน สินคาประเภทลังกระดาษ สําหรับกระดาษที่ใชงานในสํานักงานในทั่วไป ปจจุบันใชขนาด มาตรฐาน คือ ขนาด A4 นํ้าหนัก 80-100 แกรม เปนสวนมาก

สําหรับ ประเภทของกระดาษ นั้นสามารถแบงออกได 4 ประเภท ไดแก

1. กระดาษพิมพเขียนชนิดเคลือบผิว ไดแก กระดาษอารตมันสองหนา กระดาษอารตการด สองหนา กระดาษอารตดาน กระดาษอารตมันหนาเดียว และกระดาษอารตคารบอนเลส 2. กระดาษพิมพเขียนชนิดไมเคลือบผิว ไดแก กระดาษออฟเซ็ต สําหรับเทคโนโลยีงานพิมพ แบบออฟเซ็ต กระดาษถายเอกสาร ใชกบั อุปกรณสาํ นักงานทัว่ ไป เชน เครือ่ งถายเอกสาร โทรสาร เครื่องพิมพอิงคเจ็ท เครื่องพิมพเลเซอร เปนตน กระดาษคอมพิวเตอร มีเนื้อ กระดาษบาง รูปแบบจัดจําหนายโดยมากมีลักษณะเปนมวนพรอมรูปรูดานขาง ตัวอยาง ที่พบเห็นไดบอย เชน ใบเสร็จรับเงิน กระดาษขาวพรีเมี่ยมไวท / การดสี กระดาษแอรเมล สําหรับใชงานพิมพหรือเขียนจดหมายสงตางประเทศ มีนาํ้ หนักเบาเปนพิเศษกวากระดาษ ทั่วไป ชวยลดคาใชจายในการสงจดหมายซึ่งคิดตามนํ้าหนักของกระดาษ กระดาษถนอม สายตา เปนกระดาษทีม่ อี ตั ราการสะทอนแสงนอยกวากระดาษทัว่ ไป จะมีสที หี่ มนกวาปกติ เล็กนอย และกระดาษแบงคสี หมายถึง กระดาษทีใ่ ชในธนาคาร มีสสี นั ตาง ๆ หลากหลาย 3. กระดาษชนิดพิเศษแบบเคลือบผิว ไดแก กระดาษอารตอัดลาย กระดาษอารตการด หนาเดียว และกระดาษอารตกึ่งมัน 4. กระดาษชนิดพิเศษแบบไมเคลือบผิว ไดแก กระดาษการดขาวกันเชื้อรา กระดาษ คราฟทขาว กระดาษคราฟทเหลืองออน กระดาษคราฟทเหลืองทอง กระดาษคราฟทครีม กระดาษคราฟทเขียว (เลคเยอร) กระดาษคันกระจก ใชสาํ หรับสอดคัน่ กลางระหวางกระจก แตละแผน เปนกระดาษที่ผานกรรมวิธีผลิตแบบกรด จึงไมทิ้งคราบดางไวบนกระจก กระดาษคั่นสแตนเลส กระดาษคราฟทขาว MF กระดาษคราฟทขาว MG กระดาษเบส รู ป ลอกเซรามิ ค กระดาษขาวการ ด ขาวไปรษณี ยบั ต ร สํ าหรั บพิ มพ แผ น ไปรณี ยบั ต ร กระดาษขาวการดขาวลายผา กระดาษบังสีรถยนต และกระดาษลิตมัส

นอกจากนีก้ ระดาษกลวยทีผ่ ลิตขึน้ ยังสามารถ สกรี นลวดลายตา ง ๆ ลงไปไดอ ยา งงา ย รวมถึ ง ตกแต ง ลวดลายและเสริ ม แรงด ว ย เยื่ อ ใบตอกสั ก เพิ่ ม ความสวยงามและ แข็งแรงขึน้ ตัวกระดาษทีเ่ คลือบแลวสามารถ ทนนํ้า ความชื้น และมีความเรียบมากขึ้น จนสามารถพิ ม พ ส กรี น ได นอกจากนี้ ยั ง สามารถทําความสะอาด สิง่ สกปรกทีเ่ กาะติด ไดงาย เหมาะที่จะนําไปใชในเชิงพาณิชย ไดเปนอยางดี ไมวาจะเปนการนําไปทําเปน ปกหนังสือ กันนํ้า ได นํา ไปประยุกตใชได กับงานอีกหลายประเภท เชน งานตกแตง ภายในอาคารสถานที่และงานบรรจุภัณฑ หีบหออีกดวย กระดาษทํามือจากตนขาวโพด ที่ผานมา ตนขาวโพดทีเ่ ก็บเกีย่ วผลผลิตแลว สวนใหญ เกษตรกรจะกําจัดดวยการเผาไฟ ทําใหเกิด มลภาวะทางอากาศ ลาสุดภาควิชาวิทยาศาสตร ทางภาพถายและเทคโนโลยีทางการพิมพ รวมกับ หลักสูตรเทคโนโลยีเยือ่ และกระดาษ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดนาํ ตนขาวโพดไปผลิตเปน “กระดาษทํามือ จากตนขาวโพด” ใชในงานหัตถกรรม งานฝมอื ทําเปนผลิตภัณฑตาง ๆ รวมถึงงานเขียน งานพิมพ มีคณ ุ ภาพดีกวากระดาษสา สําหรับ วิ ธี ผ ลิ ต กระดาษจากต น ข า วโพดก็ เ หมื อ น

นวัตกรรมการพัฒนากระดาษ

จากทีผ่ า นมาเปนทีท่ ราบกันดีวา กระดาษนัน้ ผลิตจากตนไม ซึ่งในแตละปมีการนําตนไม มาผลิตกระดาษจํานวนมหาศาล จึงทําให นั ก วิ จั ย หลาย ๆ หน ว ยงานทั้ ง ในและ ตางประเทศคิดคนนวัตกรรมใหม ๆ เพื่อหา วัสดุอยางอืน่ มาทดแทนตนไม อาทิ การคิดคน สรางนวัตกรรม ในการเคลือบกระดาษจาก เยื่ อ กล ว ยด ว ยฟ ล  ม พลาสติ ก ย อ ยสลาย เปนชองทางการเพิ่มมูลคาเศษเหลือใชจาก งานเกษตรกรรมใหเกิดประโยชน ดวยการ ใชฟลมพลาสติกชนิดยอยสลายไดเคลือบ ลามิเนต เพื่อเพิ่มความแข็งแรง ทนทานตอ สภาวะการใชงานรูปแบบตาง ๆ เชน ความชืน้ หรือการหลุดลอกของเยื่อกระดาษ

1. กระดาษทํามือจากตนขาวโพด 2. ผลิตกระดาษจากผักตบชวา 3. การคิดคนสรางนวัตกรรมในการ เคลือบกระดาษจากเยื่อกลวย ดวยฟลมพลาสติกสลาย May May2015 2015 1919


Cover Story กองบรรณาธิการ

การทํากระดาษสาแตคอนขางงายกวาตรงที่ นํามาผลิตไดทั้งตนดวยการนําสับเปนชิ้น เล็ก ๆ ยาวประมาณ 1 นิ้ว แลวนําไปตมกับ โซดาไฟ แตกระดาษสาตองลอกเปลือกนอก ออกกอนเอาเปลือกชัน้ ในมาตมเสียเวลากวา ที่สําคัญเนื้อกระดาษขาวโพดที่ไดจะมีเนื้อ ละเอียด เหมาะนําไปใชทํางานหัตถกรรม งานพิมพ งานเขียน ความแตกตางอีกอยางคือ กระดาษสาเหนียวและหยาบกวา สวนกระดาษ ขาวโพดจะมีความเรียบ ดูสวยงามกวา จึงนํา ไปใชประโยชนไดหลายอยาง กระดาษจากผักตบชวา ถือเปนนวัตกรรม อีกอยางหนึ่งที่นอกจากจะชวยลดการตัด ต น ไม แ ล ว ยั ง เป น การกํ า จั ด วั ช พื ช ได อี ก ทางหนึง่ วิธที าํ กระดาษผักตบชวาจะคลาย ๆ กับการทํากระดาษสา แตในเรือ่ งของคุณภาพ นั้นกระดาษผักตบชวาสามารถใชพิมพงาน กับเครื่องพิมพไดโดยตรง พรอมทั้งสามารถ ดัดแปลงเปนกระดาษอัดนูนเพื่อเพิ่มมูลคา บรรจุภัณฑสงออก นอกจากนี้ ยังมี บริษัท ไทย เปเปอร มิลล ไดนําเทคโนโลยีการผลิตกระดาษจากเสนใย พื ช ทางการเกษตร ซึ่ ง เป น วั ส ดุ ที่ เ หลื อ ทิ้ ง จากอุ ต สาหกรรมการทํ า นํ้ า ตาลจากอ อ ย และปาลมนํ้ามัน มาแปรรูปเปนกระดาษ โดยผลิตกระดาษออกมาหลายเกรดดวยกัน

สมุดโนต Ogami Repap

ทัง้ กระดาษทีใ่ ชเพือ่ สิง่ พิมพ ความหนาตัง้ แต 15-90 แกรม และกระดาษทีใ่ ชในอุตสาหกรรม เชน กระดาษหอกันรอยและกลองพัสดุ บริษทั แอดวานซ ฟลอร เปนบริษทั ผลิตภัณฑแปงมัน ทีผ่ สมในกระบวนการทํากระดาษในราคาถูกกวาทัว่ ไป โดยระบุวา แปงมันชนิดทีบ่ ริษทั ผลิต สามารถชวยลดการใชพลังงานและสารเคมีในกระบวนการผลิต และชวยทําใหกระดาษแข็ง และมีความทนทานมากขึน้ รอยละ 47-48 เลยทีเดียว ในปจจุบนั บริษทั กําลังอยูใ นระหวาง การดําเนินการจดสิทธิบตั ร ซึง่ เปนอีกผลงานหนึง่ ทีน่ า สนับสนุนของผูป ระกอบการไทย ในสวนนวัตกรรมตางประเทศ บริษทั ผลิตกระดาษจากประเทศอิตาลี ทําการคิดคนและ สรางสรรคสมุดโนต “Ogami Repap” ทีต่ วั กระดาษนัน้ ทํามาจากแคลเซียมคารบอเนตทีม่ อี ยู ในหินปูน ซึง่ แตกตางจากการผลิตกระดาษทัว่ ไปทีจ่ ะใชฝา ยหรือปานในการผลิต “Repap” เปนการเขียนยอนหลังจากคําวา “Paper” สมุดโนตดังกลาวผลิตโดยใชแคลเซียมคารบอเนต ซึ่งถูกคนพบในกอนหินจากเหมือง การทําอุตสาหกรรม กระบวนการผลิตสุดโนตพิเศษนี้ ไมจาํ เปนตองใชนาํ้ มันปโตรเลียม ตนไม หรือนํา้ และตัวของกระดาษเองก็ไมมกี รดหรือคลอรีน ใด ๆ ทัง้ สิน้ นอกจากนีก้ ระดาษในสมุดโนตจะแตกตางจากกระดาษทัว่ ไปตรงทีส่ ามารถกันนํา้ ไดและสามารถลบรอยทีข่ ดี เขียนตาง ๆ ไดอยางสะอาดหมดจด และยังสามารถนํากลับมาใช ใหมไดอกี ครัง้ ดวย กลุมนักวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีแมส ซาชู เซตส (Massachusetts Institute of Technology : MIT) รัฐแมสซาชูเซตสสหรัฐ อเมริกา ไดคดิ คนผลิตกระดาษนาโนชนิดใหม ขึ้ น ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเหมื อ นกระดาษทั่ ว ไป สามารถนํามาพิมพหรือตัดได แตจดุ ประสงค ของการออกแบบเพื่อชวยทําความสะอาด คราบนํ้ามันที่เกิดขึ้นหรือขจัดสิ่งปนเปอน ออกจากนํ้าใตดิน กระดาษชนิดนี้ผลิตจาก หวานหมักสารชีวภาพ (biological agent) ซึ่ ง คื อ ปุ  ย ฟอสฟอรั ส และไนโตรเจนบน ชายฝ  ง เพื่ อ เลี้ ย งจุ ลิ น ทรี ย  ช นิ ด ที่ ส ามารถ ยอยสลายนํ้ามันใหกลายเปนกรดไขมันและ

20

May 2015


คาร บ อนไดออกไซด แต ก็ มี ส ารชี วภาพ บางชนิ ด ที่ ส ามารถใช ใ นนํ้ า ได คุ ณ สมบั ติ พิเศษของกระดาษชนิดนีค้ อื สามารถดูดซับ นํา้ มันไดสงู ถึง 20 เทา และยังสามารถนํา กลับมาใชใหมไดหลายครัง้ สวนนํา้ มันทีด่ ดู ซับบนกระดาษก็สามารถนํากลับมาใชไดอีก ทัง้ ยังราคาวัสดุกไ็ มแพง เพราะสามารถผลิต ไดปริมาณมากกวาเมื่อเทียบกับวัสดุนาโน ชนิดอืน่ วัสดุชนิดอืน่ ก็สามารถดูดซับนํา้ มัน ออกจากนํา้ ไดเชนกัน เพียงแตความจําเพาะ เจาะจงไมสูงเทากับกระดาษนาโนที่พวกเขา คิดคนขึ้นมาหรือกลาวไดวาวัสดุเหลานั้น สามารถดูดซับนํา้ ไดดว ย ทําใหประสิทธิภาพ ในการดูดซับสารปนเปอนนอยกวากระดาษ นาโนชนิดอืน่ นัน่ เอง การผลิตกระดาษนาโนนี้ ใช ก ระบวนการเดี ย วกั บ การทํ า กระดาษ ทั่วไป แตตางกันที่การใชเสนลวดขนาดจิ๋ว ของโพแทสเซียมแมงกานีสออกไซดแทนที่ จะใชเซลลูโลส เสนลวดจิว๋ นีม้ เี สถียรภาพดี แมทอี่ ณ ุ หภูมสิ งู แตละเสนจะมีขนาดเสนผาน ศูนยกลาง 20 นาโนเมตร พันกันเปนกลุม กอน เมื่อนํามาแขวนลอยและทําใหแหงบนแผน รองก็จะไดแผนกระดาษทีม่ ขี นาด 27 x 27 เซนติเมตร แตก็สามารถทําใหมีขนาดใหญ กวานี้ไดอีก จากการทดลองภายหลังจาก นํา้ มันหกและปนเปอ นนํา้ โดยนํากระดาษ นาโนนีไ้ ปปูบริเวณทีป่ นเปอ น ถาบริเวณนัน้ มีการปนเปอ นมาก กระดาษนาโนนีจ้ ะดูดซับ คราบนํ้ามันจนอิ่มตัวโดยใชเวลาประมาณ 5 นาที หลังจากนัน้ ใหนาํ กระดาษนาโนนี้ มาต ม ที่ อุ ณ หภู มิ สู ง กว า จุ ด เดื อ ดนํ้ า มั น นํ้ามันก็จะระเหยและกลั่นตัวกลับมาอยูใน สถานะของเหลวอีกครัง้ ดังนัน้ ทัง้ นํา้ มันและ กระดาษนาโนก็สามารถนํากลับมาใชไดอีก นอกจากนี้ นักวิจยั ยังพบวา กระดาษนาโนนี้ สามารถใชแยกตัวทําละลายที่มีโครงสราง ใกลเคียงกัน อาทิ เบนซีน (benzene) และโท ลูอนี (toluene) โดยจะดูดซับเฉพาะโทลูอนี ดังนั้นจึงเปนการเปดโอกาสสูการนําไปใช งานประเภทอืน่ ๆ เชน ใชในการแยกหรือ การทําใหสารเคมีหรือตัวทําละลายบริสุทธิ์ แตอยางไรก็ตาม อาจเร็วเกินไปที่จะพูดวา กระดาษนาโนสามารถทํ า ความสะอาด

คราบนํ้ามันที่หกปนเปอนในปริมาณมากไดในการใชงานจริง เพราะในความเปนจริงคราบ นํ้ามันอาจมีเศษขยะอื่นที่สามารถลดประสิทธิภาพของการดูดซับได อีกทั้งวิธีที่จะทําความ สะอาดกระดาษนาโนดวยการใชความรอนเพื่อนํากระดาษกลับมาใชอีกเปนงานที่ยาก พอตัว ถาหากนําไปใชในการขจัดสารปนเปอนจากนํ้าในโรงงาน หรือทําความสะอาดคราบ นํ้ามันเล็ก ๆ นอย ๆ ในโรงรถหรือโรงกลึง นาจะใชงานไดเปนอยางดี ดานผูประกอบการไทย อยาง คุณนภดล ไกรฤกษ Managing Director บริ ษั ท ซี . จี . เอส. (ประเทศไทย) จํากัด ถือเปน บริษทั เดียวในประเทศไทยทีน่ าํ เขากระดาษรีบอรดจากผูผลิต กระดาษในประเทศสวี เ ดน ซึ่ ง กระดาษรี บ อร ด เป น วั ส ดุ รีไซเคิล 15% และเยื่อไมใหม 85% จากปาในสวีเดนที่ปลูก เพือ่ ทํากระดาษโดยเฉพาะ และ นํ ามาผ านกระบวนการทํ าให เกิดความแข็งแรง มีคุณสมบัติ โดดเดนกวากระดาษทั่วไปคือ นํา้ หนักเบา แข็งแรง รับนํา้ หนัก ไดมาก ถอดประกอบไดสะดวก และสามารถออกแบบขึ้นรูปได หลากหลาย มีความหนา 3 ขนาด คือ 5, 8, และ 16 มิลลิเมตร รวมทัง้ สามารถพิมพสีไดไมจาํ กัด ที่สําคัญเปนวัสดุที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม สําหรับเทคโนโลยี

คุณนภดล ไกรฤกษ May May2015 2015 2121


ที่ใชกับรีบอรดนั้นเปนเทคโนโลยีชั้ น สู ง จาก ยุโรปและอเมริกา พรอมกับใชซอฟตแวร ของ เบลเยี่ยม สวนเครื่องตัดที่เปนหุนยนต จากนอรเวย และเครื่องพิมพ UV Inkjet จากออสเตรียและญี่ปุน ที่ใชพลังงานนอย เทียบเทากับเครื่องปรับอากาศ 1 เครื่อง และหมึก ที่ ใช ก็ เ ปน สารอิ น ทรี ย ระเหยงาย (Volatile Organic Compounds: VOCs) สามารถรีไซเคิลได 100% กระดาษรีบอรด เองจะเกี่ยวของกับการเติบโตอยางยั่งยืน และตอบรั บ หลั ก 3R คื อ 1.Reduce 2.Reuse 3.Recycle นั่ น เอง ซี . จี . เอส ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ การร ว มงานแสดง สินคา การจัด Road Show และการโฆษณา ผานสื่อสิ่งพิมพตาง ๆ ซึ่งเปนกลยุทธทาง การตลาดที่ ทํ า มาตั้ ง แต แรก ธี ม หลั ก ใน การจัดงานของ ซี.จี.เอส. คือ การนําเสนอ ความเป น ไทยในรู ป แบบต า ง ๆ ทํ า ให มี ผู  ป ระกอบการหลายสาขาให ค วามสนใจ ในการประยุกตใชรีบอรดสําหรับการออกงาน แสดงสินคา เพราะนอกจากคุณสมบัตขิ า งตน ที่ ก ล า วมาแล ว นั้ น ถ า งานจั ด แสดงสิ น ค า หั น มาใช ก ระดาษรี บ อร ด แทนการใช ไ ม จะสามารถชวยลดการตัดไมทําลายปาได เยอะมาก และยังชวยลดกาซเรือนกระจกที่ เกิดจากการใชสารระเหยในการจัดงานได อีกดวย ถึงแมราคาจะสูงกวาการใชไมก็ตาม สําหรับ ธุรกิจกระดาษ เครือซิเมนตไทย หรื อ เอสซี จี เปเปอร (SCG Paper) ผู  นํ า ในธุ ร กิ จ กระดาษครบวงจร ถื อ เป น ผูประกอบการอีกรายหนึ่งที่ผลิตกระดาษ ถ า ยเอกสาร ได มี แ นวคิ ด ที่ จ ะลดการใช ตนไมในการผลิตกระดาษ ภายใตแบรนด “Idea Green” ที่ ค นทั่ ว ไปคุ  น เคยกั น ดี โดยเนนพัฒนานวัตกรรมในการสรางสรรค ผลิตภัณฑก ระดาษให มี คุ ณ ภาพที่ ดี เ ยี่ ย ม และมีความหลากหลาย ตอบสนองความ ตองการของวิถชี วี ติ ในยุคปจจุบนั อยางลงตัว และมีประสิทธิภาพสูงสุด พรอมเปนสวนหนึง่ ที่จะทําใหผูบริโภคมีชีวิตที่ดีขึ้น ดวยแนวคิด “Think for the better” กระดาษ Idea Green ถือเปนกระดาษถายเอกสารที่เปน 22

May 2015

มิ ต ร กั บ สิ่ ง แว ด ล  อ ม ชู จุ ด ข า ย น วั ต ก ร ร ม “Eco Fiber” ที่มุงเนน การลดใช ต  น ไม เ ป น วั ต ถุ ดิ บ เพราะจะใช เยื่อไมที่มาจากปาปลูก เพียง 70% สวนอีก 30% จะใช Eco Fiber จะชวย ลดการใชตนไมลง 30% ซึ่ง Eco Fiber ผลิตโดย การนําเศษกระดาษทีใ่ ชแลว มาผ า นการคั ด สรรอย า งพิ ถี พิ ถั น กอนเขาสูก ระบวนผลิตทีท่ นั สมัย จนไดเยือ่ กระดาษคุณภาพดี นับเปนนวัตกรรมเยือ่ กระดาษ ของธุรกิจกระดาษเครือซิเมนตไทย ในกระบวนการผลิตกระดาษอยางทีก่ ลาวไปขางตนวา อุตสาหกรรมกระดาษนัน้ ใชพลังงานใน การผลิตไมนอยกวาอุตสาหกรรมอื่นเลย จึงทําใหทาง กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน (พพ.) ในฐานะผูรับผิดชอบในการบริหารจัดการการใชพลังงานในภาค อุตสาหกรรม ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญในการดําเนินการใหภาคอุตสาหกรรมกระดาษ เพิ่มประสิทธิภาพการลดใชพลังงานใหมากขึ้น จึงไดริเริ่มใหมีการศึกษาเกณฑการใชพลังงาน สําหรับอุตสาหกรรมกระดาษขึ้น ซึ่งผลลัพธที่ไดคือ เกณฑการใชพลังงานมาตรฐานของ อุตสาหกรรมกระดาษของประเทศไทย ทําใหโรงงานในอุตสาหกรรมกระดาษทราบถึงสถานภาพ และประสิทธิภาพการใชพลังงานของตนเองได ซึ่งจะสงผลใหเกิดการพัฒนาประสิทธิภาพ การลดใชพลังงานใหดขี นึ้ นอกจากนีผ้ ลการศึกษาของโครงการนีย้ งั นําไปสูก ารกําหนดแนวทาง การสงเสริมการอนุรักษพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมกับอุตสาหกรรม กระดาษของประเทศอีกดวย มาตรการอนุรักษพลังงานนั้นจะมีทั้งที่เปนมาตรการเบื้องตน และมาตรการเชิงลึกซึง่ ในสวนของมาตรการเบือ้ งตนนัน้ จะเปนมาตรการทีส่ ามารถดําเนินการ ไดทันที โดยใชเงินลงทุนในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนอุปกรณไมสูงมากนัก หรือไมตองใชเงิน ลงทุนเลยสําหรับมาตรการเชิงลึกนั้น จะเกี่ยวของกับการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร หรือ เทคโนโลยีการผลิตเดิมไปใชเทคโนโลยีทม่ี คี วามทันสมัย และมีประสิทธิภาพดานพลังงานสูง ซึง่ จะสามารถชวยลดการใชพลังงานในกระบวนการผลิตลงได ทําใหมาตรการในสวนนีจ้ าํ เปน ตองใชเงินทุนเปนจํานวนมาก เชน Shoe Press Fractionation Screen เปนตน แนวทางการสนับสนุนสงเสริมการอนุรักษพลังงานสําหรับอุตสาหกรรมกระดาษประกอบ ไปดวยแนวทางการสนับสนุนสงเสริมใน 5 ดาน ไดแก ดานความรูและขอมูล ดานการศึกษา วิจัยและพัฒนาเพื่อตอยอดเทคโนโลยี ดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ดานการเงินและ การรณรงคสงเสริมการอนุรักษพลังงาน การใชเครื่องจักร และอุปกรณประสิทธิภาพสูง ในแตละดานนั้น จะประกอบดวยโครงการหรือมาตรการตาง ๆ ที่จะชวยพัฒนาหรือแกไข ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ในแตละดานใหดีขึ้นได การดําเนินโครงการหรือมาตรการตาง ๆ ไดถูกแบงออกตามระยะเวลาการดําเนินงาน บางโครงการจัดอยูในโครงการระยะสั้น จะเนนไปที่การความรูใหความเขาใจดานการอนุรักษพลังงาน การจัดการฝกอบรมในดาน ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาประสิทธิภาพพลังงาน สงเสริมสนับสนุนใหมีการศึกษา การดําเนินโครงการอาสาสมัคร และการจัดตั้งสถาบันกระดาษ เพื่อรับผิดชอบดูแลวางแผน


และการกําหนดนโยบายสําหรับอุตสาหกรรมกระดาษของประเทศ สงเสริมใหมีการใชเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพดานพลังงานสูง เชน ระบบ Turbo Air Vacuum Pump และ ระบบ Fractionation Screen เปนตน ซึ่งเทคโนโลยีนี้ สามารถลดการใชพลังงานในกระบวนการ ผลิตเยื่อและกระดาษได สําหรับโครงการในระยะกลาง ไดแก การจัดตั้งสถาบันกระดาษ และ การดําเนินโครงการอาสาสมัครอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรม กระดาษใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม หลังจากที่ไดทําการศึกษาถึง แนวทางการจั ด ตั้ ง และการดํ า เนิ น โครงการมาแล ว ในระยะสั้ น พรอมกับการศึกษาปรับปรุงทบทวนคาเกณฑการใชพลังงานใน อุตสาหกรรมกระดาษใหมีความถูกตอง เหมาะสมสอดคลองกับ สถานการณพลังงาน สภาพเศรษฐกิจ และสังคม ในโครงการระยะยาวนั้น เนนไปที่การสงเสริมใหมีการศึกษาวิจัย พัฒนาเทคโนโลยีและกระบวนการผลิต ที่สามารถลดการใชพลังงาน ในขั้นตอนการผลิตลง ซึ่งจะสามารถลดการพึ่งพิงเทคโนโลยีจาก ตางประเทศ และปนการสรางองคความรูในดานตาง ๆ ของ อุตสาหกรรมกระดาษขึ้นภายในประเทศอีกดวย โดยหัวขอในการ ศึกษาวิจัยที่นาสนใจ เชน การศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่ สามารถลดการใชพลังงานในขัน้ ตอนตาง ๆ ของการผลิตกระดาษลง เชน ขั้นตอนการดึงนํ้า (Dewatering) ขั้นตอนการรีดนํ้า (Pressing) ขั้นตอนการอบแหง (Drying) การพัฒนาเทคโนโลยีการฟอกเยื่อ แบบใหมที่มีความคุมคา และสามารถลดการใชพลังงานในการฟอก เยื่อลงได รวมถึงเทคโนโลยีที่สามารถลดการใชพลังงานในขั้นตอน การเพิ่มความเขมขนของ Black Liquor ใหสูงขึ้น

เราปฎิ เ สธไม ไ ด เลยวา “กระดาษ” เปนสิ่งที่ขาดไมได ซึ่งในแตละวันเราใชกระดาษอยางมากมาย ไมวา จะทางตรงหรือทางออม จึงทําใหมีการคิดคนหาวัสดุอยางอื่นเพื่อ มาแทนตนไมในการผลิตกระดาษ และถึงแมกระบวนการการผลิต กระดาษจําเปนตองใชพลังงานในการผลิตสูง แตถาผูประกอบการ หันมาชวยกันลดการใชพลังงานไดก็จะสามารถชวยลดตนทุนในการ ผลิตไดมากทีเดียว และยังเปนอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับผูที่จําเปน ตองใชกระดาษและหลีกเลี่ยงไมได เราก็สามารถนําเอาเทคโนโลยี มาใชใหเปนประโยชนไดเหมือนกัน เชน เวลาตองจดงาน บันทึกงาน สั่งงาน เราก็สามารถใชวิธีเขียน Email หรือ บันทึกลงไปในเครื่องมือ สื่อสารของเราแทนก็ได เพียงเทานี้ก็สามารถลดการใชกระดาษ ไดแลวคะ

ประวัติการใชกระดาษในประเทศไทยไมปรากฏหลักฐานชัดเจน เรามีกระดาษที่เรียกวา สมุดไทย ผลิตจากเยื่อไมทุบละเอียด ตมจนเปอย ใสแปงเพื่อใหเนื้อกระดาษเหนียว แลวนําไปกรอง ในภาชนะเล็ก ๆ ทิ้งไวจนแหง แลวลอกออกมาเปนแผน พับทบ ไปมาตลอดความยาว จนไดเปนเลมสมุด เรียกวา “สมุดไทยขาว” หากตองการ “สมุดไทยดํา” ก็จะผสมผงถานในขั้นตอนการผลิต ในทางภาคเหนือของไทยมีการผลิตกระดาษดวยวิธกี ารคลายคลึงกัน เรียกวา กระดาษสา เมื่อนํามาทําเปนสมุดใชเขียน เรียกวา ปบสา

May May2015 2015 2323


Interview

อภัสรา วัลลิภผล

ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

2424

May May2015 2015


กสอ. รุกปรับโฉมอุตสาหกรรมแฟชั่นป 58 “ดี สเปซ” สรางมูลคาอุตสาหกรรม กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม รุกขับเคลือ่ น อุตสาหกรรมแฟชั่นไทย ป 58 สูการเปนที่ยอมรับในวงการแฟชั่น ระดับอาเซียน ผานกลยุทธสรางพืน้ ทีเ่ พือ่ สงเสริมพัฒนาผูป ระกอบการ อุตสาหกรรมแฟชัน่ ภายใตแนวคิด “ดี สเปซ” (D Space) ดีไซน (Design) ดีเวลลอป (Developed) และดําเนินการโดยดีไอพี (Department of Industrial Promotion : DIP) กลยุทธการพัฒนาอุตสาหกรรมแฟชั่น ครบวงจรสูการสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ (Value Creation) ตั้งแต กระบวนการผลิ ต การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ก ารพั ฒ นาตราสิ น ค า การเชื่อมโยงสูเครือขาย (Supply Chain) ทั้งภาคการผลิตและธุรกิจ การตอยอดสูชองทางการคารวมทั้งการขยายโอกาสทางการตลาด ทั้งในและตางประเทศผานกิจกรรม “ดี สเปซ” (D Space): “Thailand Fashion Design Brands Developed by DIP” ภายใต 2 กิจกรรมสําคัญ ไดแก “กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑและตอยอดตราสินคาสูอาเซียน” และ “กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในอุตสาหกรรมแฟชั่น”

อยางไรก็ตาม กิจกรรมดังกลาวเปนเสมือนการสรางพืน้ ทีใ่ นการพัฒนา อุตสาหกรรมแฟชั่นตั้งแตกระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ การพัฒนาตราสินคาเชื่อมโยงสูเครือขาย (Supply Chain) ทั้งภาค การผลิตและภาคธุรกิจ ตลอดจนตอยอดสูชองทางการคารวมทั้ง ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กลาววา การขยายโอกาสทางการตลาดทั้งในและตางประเทศเพื่อยกระดับ อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น เป น หนึ่ ง ในอุ ต สาหกรรมที่ มี ค วามสํ า คั ญ ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละตราสิ น ค า แฟชั่ น ไทยสู  ก ารสร า งมู ล ค า เพิ่ ม ทาง ต อ ระบบเศรษฐกิ จ โดยเฉพาะประเทศไทยมี ค วามได เ ปรี ย บใน เศรษฐกิจ (ValueCreation) โดยคาดหวังใหผูประกอบการทั้ง 3 กลุม หลายดาน ไดแก ทักษะฝมือ โลจิสติกสความพรอมดานวัตถุดิบ อุตสาหกรรมสามารถพัฒนาผลิตภัณฑและตอยอดตราสินคาใหมี ตลอดจนไดสะสมความเชี่ยวชาญดานการผลิตมาอยางยาวนาน มูลคาเพิ่ม หรือแนวความคิดการสรางผลิตภัณฑใหม ๆ ตลอดจน จึงทําใหอุตสาหกรรมแฟชั่นทั้ง 3 กลุมอุตสาหกรรม ไดแก สิ่งทอ สามารถนําเสนอผลิตภัณฑและตราสินคาเผยแพรใหเปนที่รับรูใน และเครื่องนุงหมเครื่องหนังและรองเทา อัญมณีและเครื่องประดับ ตลาดอาเซียน โดยตั้งเปาสงเสริมใหเกิดการใชวัตถุดิบที่พัฒนาขึ้น มีความโดดเดนเปนที่ยอมรับในระดับสากล โดยในป 2557 มีมูลคา ในประเทศมากยิง่ ขึน้ มีการจับจายใชสอยผลิตภัณฑทเี่ ปนแบรนดไทย สงออกตอปสูงกวา 607,200 ลานบาทและกอใหเกิดการจางงาน เพิ่มขึ้น ทั้งจากความตองการภายในประเทศและจากนักทองเที่ยว รวมกวา 2.2 ลานคน กระทรวงอุตสาหกรรมจึงตระหนักถึงความ ที่เขามาในประเทศมีการสั่งซื้อหรือสงออกวัตถุดิบและผลิตภัณฑ สํ า คั ญ ในการพั ฒ นาศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรมแฟชั่ น จึ ง ได ดํ า เนิ น สําเร็จรูปจากอุตสาหกรรมแฟชั่นไปตางประเทศเพิ่มขึ้น รวมทั้งมี “โครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมแฟชัน่ ไทย” โดยดําเนิน การยอมรับแบรนดไทยในภูมภิ าคอาเซียนและภูมภิ าคอืน่ ๆ เปนตน การพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมแฟชั่นทั้งดานการเพิ่มผลิตภาพ ทัง้ นี้ คาดวาในป 2558 จะมีผเู ขารวมโครงการไมนอ ยกวา 1,900 คน การผลิ ต และการพัฒนานวัตกรรมการออกแบบใหตรงกับความ และกิจการไมนอยกวา 370 กิจการ เขารวมในกิจกรรมการพัฒนา ตองการตลาดเปาหมายสรางเสริมปจจัยที่จะกอใหเกิดมูลคาเพิ่ม ตาง ๆ สําหรับผูประกอบการอุตสาหกรรมแฟชั่นที่สนใจเขารับการ ตอสินคาแฟชัน่ แบรนดไทยทั้งในเชิงการสรางเอกลักษณของสินคา สงเสริมและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหแกกิจการ สามารถ สรางการจดจําตราสินคาใหแบรนดไทยสามารถแขงขันไดทั้งตลาด สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ กองพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา 1 ในประเทศและตางประเทศทั้งนี้ยังมีการสอดแทรกในเรื่องของการ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม โทร. 0-2367-8219, 0-2367-8221, ผลิตใหมีระบบจัดการพลังงานที่ดี และใชสีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 0-2367-8290 และติดตามขาวสาร กิจกรรม โครงการตาง ๆ ไดที่ www.dip.go.th หรือ www.facebook.com/dip.pr หรือ Twitter: อีกดวย DIPThailand May May2015 2015 2525


Interview

จีรพร ทิพย์เคลือบ

คุณปลิว ตรีวิศวเวทย

ประธานกรรมการ บริษัท รถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (BMCL)

BMCL ชูลดใชพลังงาน

บริการขนสงมวลชนอยางมีประสิทธิภาพ 26

May 2015


บริษทั รถไฟฟ้ากรุงเทพ จ�ากัด (มหาชน) ) หรือ BMCL หนึง่ ในผูใ้ ห้บริการรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนชั้นน�าของโลก ด้วยคุณภาพการบริการที่ประทับใจ และวิสัยทัศน์ด้านการใช้ พลังงาน โดยมีแนวทางด�าเนินการบนพืน้ ฐานของกระบวนการ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนใน 3 ด้าน คือ ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) ด้านสังคม (Society) และ ด้านเศรษฐกิจ (Economy) เพือ่ การบริการเดินรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คุณปลิว ตรีวศิ วเวทย์ ประธานกรรมการบริษทั บริษทั รถไฟฟ้ากรุงเทพ จ�ากัด (มหาชน) (BMCL) ได้เล่าถึงภารกิจและการจัดการพลังงานว่า บริษทั มีภารกิจหลัก คือ การให้บริการขนส่งมวลชน ด้วยรถไฟฟ้าทีม่ คี วามปลอดภัย สะดวก รวดเร็ว เชือ่ ถือได้ และตรงต่อเวลา เพือ่ บรรเทาปัญหา การจราจร ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้ง มีนโยบาย อนุรักษ์พลังงาน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยได้ ก�าหนดกลยุทธ์หลักในการด�าเนินธุรกิจ ซึ่งเป็นหนึ่งในพันธกิจ คือ บริหารต้นทุนและควบคุม ค่าใช้จ่ายให้เหมาะสม และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยส่งเสริมรณรงค์การอนุรักษ์พลังงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านพลังงานไฟฟ้า รวมถึงมีการควบคุมและก�าหนด มาตรการเพือ่ ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าส�าหรับพืน้ ทีช่ นั้ ร้านค้า การเดินรถ และงานซ่อมบ�ารุง การจัดท�านโยบายอนุรกั ษ์พลังงานเป็นรูปธรรมและได้ประกาศใช้ครัง้ แรก ในปี พ.ศ. 2553 ซึง่ มี การก�าหนดเนือ้ หาสอดคล้องกับกฎหมาย และมีนโยบายการประหยัดพลังงาน น�ามาประยุกต์ใช้ และด�าเนินการอย่างต่อเนือ่ งทุกปี ประกอบกับมีการจัดกิจกรรมหรือนโยบายต่าง ๆ ให้สอดคล้อง กับนโยบายภาครัฐ เช่น กิจกรรมโครงการปิดไฟ 1 ชัว่ โมง ลดโลกร้อน (60+ Earth Hour) โดยมีการ ด�าเนินการปิดบันไดเลือ่ นขาลง เพือ่ การประหยัดพลังงาน 18 สถานี และมีการประชาสัมพันธ์ ให้พนักงานทุกคนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมของภาครัฐดังกล่าวด้วยเช่นกัน แม้วา่ ในช่วงแรกทีม่ กี าร จัดการพลังงานจะประสบปัญหาด้านการมีส่วนร่วมเป็นหลัก แต่บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการประหยัดพลังงาน เพื่อให้พนักงานทุกคนรวมทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ตระหนัก การใช้พลังงานอย่างรู้ค่า โดยได้มีการก�าหนดจัดกิจกรรมทุกปี พร้อมส�ารวจและประเมินผล ภายใต้การด�าเนินงานอย่างมีระบบและมีเป้าหมาย การมีเป้าหมายเรื่องการประหยัดพลังงานอย่างชัดเจนบนพื้นฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3 ด้าน คือ ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) ด้านสังคม (Society) และ ด้านเศรษฐกิจ (Economy) โดยถือเป็นกลยุทธ์ธุรกิจ คือ ส่งเสริมรณรงค์การอนุรักษ์พลังงาน และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านพลังงานไฟฟ้าควบคุม และก�าหนดมาตรการเพือ่ ลดปริมาณ การใช้ไฟฟ้าส�าหรับพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ 18 สถานี การเดินรถ และงานซ่อมบ�ารุง รวมถึงมีการจัดกิจกรรม เพื่อให้พนักงานทุกคนรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับรู้และเข้าใจเรื่องการประหยัดพลังงาน และบริษทั ฯ ได้ดา� เนินการจัดการพลังงานอย่างต่อเนือ่ งและได้มกี ารก�าหนดจัดเป็นแผนงานทุกปี รวมถึงมีการน�าไปปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง จุดแข็งอีกหนึง่ อย่าง คือ บริษทั ฯมีผบู้ ริหารทีใ่ ห้ความส�าคัญ และมีส่วนร่วมในเรื่องการประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง โดยได้มีการสนับสนุนในทุก ๆ ด้าน เพื่อให้ ได้บรรลุผลตามเป้าหมายและแผนที่ก�าหนดไว้ ถือเป็นตัวอย่างที่ดีจนท�าให้คณะท�างาน ด้านการจัดการพลังงาน และพนักงานทุกคนปฏิบัติตามอย่างจริงจัง อย่างเป็นรูปธรรม จนท�าได้รับรางวัล Thailand Energy Award 2014 ที่ผ่านมา การด�าเนินการโครงการประหยัดพลังงานด้านไฟฟ้า และสามารถลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ทีม่ ผี ลกระทบกับสภาวะโลกร้อนได้ การพัฒนาด้านเทคนิค บริษทั ฯ มีแนวทางพัฒนาโครงการประหยัดพลังงานในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกระบวนการควบคุม การใช้งานอุปกรณ์ตามความต้องการอย่างเหมาะสม รวมถึงเปลีย่ นแปลงอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง ได้แก่

1. ควบคุมการท�างานระบบระบายอากาศ ให้เหมาะสมกับความต้องการ 18 สถานี สามารถลดการใช้พลังงานได้เฉลีย่ 338,000 หน่ ว ย/เดื อ น และลดการปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 190 ตัน/เดือน 2. ควบคุมการท�างานระบบปรับอากาศให้ เหมาะสมกับประสิทธิภาพของเครื่องท�า น�้าเย็ น (Chiller) ที่ 9 สถานี ส ่ ว นเหนื อ สามารถลดการใช้พลังงานได้เฉลีย่ 188,000 หน่ ว ย/เดื อ น และลดการปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 105 ตัน/เดือน 3. ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม ความเร็ ว รอบ มอเตอร์ในระบบปรับอากาศ (VSD) 18 สถานี สามารถลดการใช้พลังงานได้เฉลี่ย 130,000 หน่วย/เดือน และลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 73 ตัน/เดือน 4. โครงการจัดเวลาการเดินรถให้เหมาะสม กับผู้โดยสาร สามารถลดการใช้พลังงาน ได้เฉลีย่ 100,000 หน่วย/เดือน และลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 56 ตัน/เดือน 5. โครงการปิ ด บั น ไดเลื่ อนขาลง เพื่ อลด โลกร้อน (60+ EARTH HOUR 2013) เป็นเวลา 3 เดือน สามารถลดการใช้ พลังงานได้เฉลี่ย 54,000 หน่วย/เดือน และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 30 ตัน/เดือน นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริม เรือ่ งการประหยัดพลังงานอย่างต่อเนือ่ ง เช่น โครงการกิจกรรม “BMCL Green Power” กิจกรรมโครงการครบรอบการเดินรถ 7 ปี MRT ชวนลดพลังงาน กิจกรรมดูงานอาคาร อนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ คลอง 5 จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมดูงานแลกเปลี่ยน เรื่องการจัดการพลังงานที่บริษัท แอลฟ่า จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ กิ จ กรรมโครงการ “ไอเดียใส ๆ ลดการใช้พลังงาน” และ กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ผา่ นสือ่ ต่าง ๆ เช่น การจั ด บอร์ ด ประชาสั ม พั น ธ์ เรื่ อ งพลั ง งาน โปสเตอร์เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานและ จัดท�าเว็บไชต์เพื่อสื่อสารเรื่องการประหยัด พลังงานภายในองค์กร

May May 2015201527 27


Interview

นัษรุต เถื่อนทองคํา

คุณจตุพร วัฒนศัพท

ผูอํานวยการฝายบริการทรัพยสิน และบริหารงานกลาง ธนาคารธนชาต 28

May 2015


อนุรักษพลังงาน... พันธกิจสําคัญ ที่องคกรใหญไมควรมองขาม

คุณจตุพร วัฒนศัพท ผูอ าํ นวยการฝายบริการทรัพยสนิ และบริหารงานกลาง ธนาคารธนชาต เลาถึงบทบาทดานการประหยัดพลังงานขององคกรวา ธนชาตริเริม่ โครงการประหยัดพลังงาน เนือ่ งจากธนาคารธนชาตมีอาคารทีอ่ ยูใ นเกณฑอาคารควบคุม 2 อาคาร คือ อาคารสวนมะลิ และอาคารเพชรบุรี ซึง่ ทัง้ 2 อาคารตองทําการปรับปรุงงานระบบประกอบอาคาร เพราะเปน อาคารเกาใชงานมาเปนระยะเวลานาน แตทางธนาคารธนชาตไดเริ่มตนโครงการอนุรักษ พลังงานโดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการและคณะทํางานดานการจัดการพลังงานอยางเปน ทางการ เริ่มมาตั้งแตประมาณปลายป 2555 การเริม่ โครงการอนุรกั ษพลังงานของธนาคารธนชาตตองบอกเลยวาเริม่ ตนจากศูนย เพราะทาง ธนาคารไมมีประสบการณทางดานการดูแลอาคารเพื่อประหยัดพลังงาน การจัดตั้งทีมงาน จึงตองดูแลภาพรวมในทุก ๆ อาคารที่มีอยู เริ่มตั้งแตการวาจางบริษัทภายนอกมาชวยดูแล และบริหารอาคาร ทํางานเปน 2 ขั้นตอน คือ ดูแลเองและดูแลโดยผูเชี่ยวชาญดานการ อนุรกั ษพลังงาน โดยเริม่ ทีส่ าํ นักงานใหญและกระจายสูอ าคารอืน่ ๆ โดยทีมงานและพนักงาน จะชวยกันดูแลอาคารที่ตนเองทํางานอยู สวนบริษัทที่ปรึกษาจะดูแลและใหคําปรึกษาทุก ๆ อาคารของธนาคารธนชาต ฉะนัน้ คณะกรรมการและคณะทํางานดานการจัดการพลังงานจะมีการประชุมกันทุก ๆ เดือน ทุกอาคารจะมีมาตรการอนุรักษมานําเสนอ โดยแบงเปน 2 งาน คือ 1. งานตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องจักรประจําอาคาร เพื่อใหเกิดการอนุรักษพลังงาน มากขึ้น 2. งานดูแลบุคลากรใหมีสวนรวมในการอนุรักษพลังงาน โดยจะมีทีมที่ปรึกษาใหคําแนะนํา มีการจัดอบรมพนักงานในอาคาร 100% โดยหมุนเวียนจนครบทุกอาคาร การอบรม พลังงานยังสามารถใหพนักงานนํากลับไปใชทบี่ า นได โดยใหความรูว า การประหยัดพลังงาน ไมใชสิ่งที่ไกลตัว และพนักงานทุกคนสามารถนํากลับไปใชที่บานของตัวเองได เพื่อให รูสึกวาที่ทํางานเปนบานหลังที่ 2 ที่ตองทําการประหยัดพลังงานเชนกัน ทั้งนี้ ยังมีการประชาสัมพันธใหรูวาตลอดระยะเวลาวาที่ผานมามีการใชพลังงานไฟฟาที่ลด ลง โดยภาพรวมสามารถลดคาไฟฟาไดถึง 10 ลานบาท และใน 2 ปที่ผานมา มีตัวเลขการใช ไฟฟาลดลงไดถึง 19 ลานบาท โดยมีเปาหมายใหองคกรภายนอกเห็นวาธนาคารไมไดหา ผลประโยชนกับลูกคาแตเพียงอยางเดียว แตสิ่งที่ทําคือการดูแลสังคมโดยชวยกันประหยัด พลังงาน ถึงแมวาการอนุรักษพลังงานในปแรกจะเหนื่อยมาก แตพอไดมีการใหความรูแก พนักงาน ผลที่สะทอนกลับมาคอนขางเปนที่นาพอใจ โดยมีแคมเปญพลังมดลดโลกรอน เพราะเราถือวาการทํางานทุกอยางไมสามารถทําคนเดียวได เชนเดียวกับการอนุรักษ พลังงาน จึงตองใหทุกคนรวมมือรวมใจลดใชพลังงาน

ปที่ผานมา ไดมีการเพิ่มอาคารที่เขารวม โครงการอนุรกั ษพลังงานขึน้ อีก 2 อาคาร คือ สํานักงานทีว่ งศสวางและพระราม 7 รวมเปน 4 อาคาร ซึง่ จากการทํางานทีผ่ า นมานอกจาก การรณรงคเรือ่ งของจิตสํานึกของพนักงานแลว ได ล งลึ ก ในส ว นของด า นเทคนิ ค มากขึ้ น โดยจะทําการบํารุงรักษายังไงใหเกิดผลการ ประหยัดสูงสุด โดยเรือ่ งของงานระบบตาง ๆ ไดใหบริษทั ทีป่ รึกษาดานพลังงานเขามาดูแล โดยตรง วาควรแกไขอะไรบาง ซึ่งอาจตองมี การลงทุนแตถือวาผลที่ไดคุมคา สําหรับอุปสรรคที่ผานมา คงเปนเรื่องของ การรับรูความเขาใจในการพูดคุยกับระดับ บริหารใหเห็นถึงความสําคัญของการประหยัด พลังงาน เพราะตองใชงบประมาณในการ ลงทุนสูง รวมถึงการทําความเขาใจกับพนักงาน วาการทําเรื่องการอนุรักษพลังงานไมใชเปน การบังคับ แตมันเปนการปลูกจิตสํานึกให เขาใจและมีสวนรวม อันนี้คือความยากใน การทํางาน แตเราก็จะผานตรงนีใ้ หได ถัดมา จะเปนเรื่องของงบประมาณ เพราะจะมี คําถามเสมอวา ลงทุนเพือ่ อะไร เพราะระยะ คืนทุนดานพลังงานเปนแผนระยะยาว ทีมทีป่ รึกษาดานพลังงาน ถือวามีสว นสําคัญ ตอการอนุรกั ษพลังงานอยางมาก โดยเฉพาะ เรื่องของระบบการทํางาน เพราะจะมีความ เชี่ยวชาญเฉพาะทาง โดยตอนนี้ธนาคารมี ทีมที่ปรึกษาจาก บริษัท Innovation เขามา วางระบบอนุรกั ษพลังงาน จนไดรางวัล MEA โดยรางวัลนี้ถือเปนกาวแรกและกาวตอไป คือการเขารวมโครงการ Thailand Energy Award ซึ่งเปนเปาหมายที่สําคัญของเรา May 2015 29


Product Highlight - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

BUILDING BLOCS นวัตกรรมและทางเลือกใหมสําหรับวัสดุกอสราง ÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ áÅСÒá‹ÍÊÌҧ໚¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Õ่¾Ñ²¹ÒÍ‹ҧÃÇ´àÃ็Ç ã¹àÈÃÉ°¡Ô¨ä·Â ¨Ò¡Ê¶ÔµÔ¾ºÇ‹Òã¹»‚ 2013 ÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ áÅСҡ‹ÍÊÌҧ ã¹»ÃÐà·Èä·ÂÁÕÁÙŤ‹ÒÊÙ§¶Ö§ 33,000 ŌҹàËÃÕÂÞÍàÁÃԡѹ áÅÐÁÕÍѵÃÒ¡ÒÃàµÔºâµ ÊÙ§¶Ö§ 4.5% µ‹Í»‚ «Ö่§ÍѵÃÒ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ´Ñ§¡Å‹ÒÇÊÙ§¡Ç‹Ò»ÃÐà·Èà¾×่͹ºŒÒ¹ ઋ¹ ÁÒàÅà«Õ 䵌ËÇѹ ΋ͧ¡§ ËÃ×ÍáÁŒáµ‹ à¡ÒËÅÕ㵌 áÅÐ ÞÕ่»Ø†¹ ¡ÒÃà¨ÃÔ Þ àµÔ º âµ·Õ่ à ǴàÃ็ Ç ¢Í§ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁ·ํ Ò ãËŒ à ¡Ô ´ ¤ÇÒÁ·Œ Ò ·ÒÂãËÁ‹ æ ˹Ö่§»˜¨¨Ñ ¤ÇÒÁ·ŒÒ·ŒÒ·Õ่ÊํÒ¤ÑÞ¤×Í¡ÒâҴá¤Å¹áç§Ò¹ áÅÐáç§Ò¹·Õ่ÁÕ½‚Á×Í ã¹¢³Ð·Õ่ µÅÒ´ÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ ÁÕ¤ÇÒÁµŒÍ§¡Ò÷Õ่¨ÐÊÌҧ§Ò¹·Õ่ÁդسÀÒ¾ÊÙ§¢Ö้¹ Í‹ҧઋ¹ µŒ Í §¡ÒáÒû‡ Í §¡Ñ ¹ ¤ÇÒÁÃŒ Í ¹·Õ่ ´Õ ¡Òû‡ Í §¡Ñ ¹ àÊÕ Â §·Õ่ ÊÙ § ¡ÒÃà¡็º§Ò¹·Õ่ àÃÕºÌÍ ¤ÇÒÁÃÇ´àÃ็Ç·Õ่ÁÒ¡¢Ö้¹ã¹§Ò¹¡‹ÍÊÌҧ áÅÐÊÔ่§àËÅ‹Ò¹Õ้¹ํÒÁÒ«Ö่§¡Òà ᢋ§¢Ñ¹·Ò§¡ÒõÅÒ´·Õ่ÊÙ§ áÅмٌÃѺàËÁÒÁÕ¤ÇÒÁ¨ํÒ໚¹¨ÐµŒÍ§ãªŒ¹Çѵ¡ÃÃÁãËÁ‹ æ ࢌÒÁÒà¾×่Íà¾Ô่Á»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹¢Í§µ¹

“เวลาเปนเงินเปนทอง” คําพูดของ เบนจามิน แฟรงคลิน อดีตประธานาธิบดีที่โดงดังของ สหรัฐอเมริกา ซึง่ ในโลกธุรกิจสมัยใหม ความมีประสิทธิภาพและความเร็วคือหัวใจ โดยเฉพาะ ธุรกิจที่เกี่ยวของกับการกอสรางและอสังหาริมทรัพย ความสามารถในการพัฒนาความมี ประสิ ท ธิ ภ าพและความเร็ ว ในการก อ สร า งจะเพิ่ ม โอกาสในการแข ง ขั น และผลกํ า ไร ที่มากขึ้น ความเร็วในการกอสรางมีผลโดยตรงตอ คาแรง คาดอกเบี้ย เวลาในการคืนทุน ความสามารถในการหมุนเวียนของเงินทุน และ ROI (Return On Investment) การคนหา นวัตกรรมใหม ๆ เพือ่ เพิม่ ผลผลิตและความมีประสิทธิภาพในการกอสรางจะเพิม่ ความไดเปรียบ ในการแขงขันจึงเปนสิ่งที่มีความสําคัญเสมอในอุตสาหกรรมนี้ นวัตกรรมใหมในวงการกอสรางจะตองประกอบดวยปจจัย 3 อยาง คือ ความเร็ว คุณภาพ และราคาที่คุมคา แตที่พบเห็นไดทั่วไปในทองตลาดอาจพบไดเพียง 2 จาก 3 ปจจัยดังกลาว เชน สินคาอาจมีคุณภาพ และประสิทธิภาพที่ดี แตราคาสูง หรือสินคาอาจจะถูก แตคุณภาพ ก็ตํ่าลงไป บริษัทนองใหมในอุตสาหกรรมวัสดุกอสรางชื่อวา บริษัท บิลดิ้งบล็อคส จํากัด (Building Blocs Co., Ltd.) สามารถเสนอผลิตภัณฑที่มีทั้ง 3 ปจจัยใหผูบริโภคไดครบดวย นวัตกรรม “แผนผนัง BB” (“BB Wall Panel)

PB30

May May2015 2015

คุณ โจชัว วู

คุณ โจชัว วู Director of Marketing บริษัท บิลดิ้งบล็อคส จํากัด ใหแนวคิดถึงตลาดและ อุตสาหกรรมวัสดุกอสรางในประเทศไทยวา ประเทศไทยเปนประเทศที่การกอสรางและ การพัฒนาเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว และเปน หนึ่ ง ในเศรษฐกิ จ ที่ มี ค วามน า สนใจที่ สุ ด ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทางบริษัทไดทํา การศึกษาตลาดการกอสรางและวัสดุกอ สราง ในประเทศไทยเปนอยางดี ตั้งแตขนาดของ ตลาด คุณภาพทีต่ ลาดตองการ ความสามารถ ดานวิศกรรม และความตองการดานการ อนุรักษสิ่งแวดลอม จากผลการศึกษาแสดง ใหเห็นวาประเทศไทยเปนทีท่ เี่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการสร า งฐานการผลิ ต ของนวั ต กรรมนี้ และบริษัท บิลดิ้งบล็อคส จํากัด พรอมที่จะ พัฒนาและเติบโตไปพรอม ๆ กับอุตสาหกรรม การกอสรางของประเทศไทย


บริษัท บิลดิ้งบล็อคส์ จ�ากัด เป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างไทย และสิงคโปร์ ก่อตั้งเมื่อปี 2013 โดยมีผู้ก่อตั้งและผู้ร่วมทุนทั้งหมด 4 คน โดยมี คุ ณ ไมค์ เกา, คุ ณ วิ ล เคอ, คุ ณ โจชั ว วู ่ และ คุณเกียรติก้อง ธนะแพทย์ นักบริหารที่มีประสบการณ์ตั้งแต่สาย การผลิต อสังหาริมทรัพย์ การก่อสร้าง หรือแม้แต่อตุ สาหกรรมการบิน ผลิตภัณฑ์แผ่นผนัง BB Wall Panel – The Next Phase of Materials Innovation นวั ต กรรมและทางเลื อ กใหม่ ส� าหรั บวั สดุ ก ่ อสร้ าง การร่วมทุนระหว่างผูล้ งทุนจากประเทศสิงคโปร์และไทย มีจดุ ประสงค์ เพื่อแนะน�านวัตกรรมวัสดุก่อสร้างใหม่ให้เป็นทางเลือกของตลาด อสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้างในประเทศไทย เริ่มต้นจากการ ออกแบบวัสดุก่อสร้างเพื่อป้องกันเสียงและความร้อน จนได้พัฒนา วัสดุดังกล่าวจนมีน�้าหนักเบา โดยแผ่นผนัง BB มีน�้าหนักเพียง 20% ของก� า แพงอิ ฐ มอญและเพิ่ ม ความเร็ ว ในการก่ อ สร้ า งได้ อ ย่ า งมี นัยส�าคัญ แผ่นผนัง BB ประกอบด้วยไส้ในที่มีน�้าหนักเบาจากการ ผสมซีเมนต์คุณภาพ เข้ากับเมล็ดโฟมชนิดไม่ลามไฟ ประกบเข้า แผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ผิวเรียบสูตรเคมีพิเศษ ท�าให้วัสดุมีความเป็น หนึง่ เดียวและถาวร และด้วยน�า้ หนักเพียง 69 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ท�าให้ติดตั้งได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สามารถลดปัญหาแรงงานขาดแคลนและแรงงานด้อยฝีมือ โดยใช้ จ�านวนแรงงานที่น้อยลงแต่สามารถติดตั้งแผ่นผนัง BB ได้ถึง 40 ตารางเมตรต่อทีมต่อวัน สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องฉาบหรือ สกิ ม โค้ ท โดยสภาการก่ อ สร้ า งของประเทศสิ ง คโปร์ (Building Construction Authority (BCA) of Singapore) ที่มีหน้าที่ในการ ออกใบอนุญาติก่อสร้างให้กับผู้รับเหมา และควบคุมวัสดุก่อสร้างให้ มี ม าตรฐานที่ ดี ได้ จั ด ตั้ ง ระบบการให้ ค ะแนนเพื่ อ ควบคุ ม การ ก่อสร้างในประเทศ ได้ให้คะแนนแผ่นผนัง BB สูงสุดในหัวข้อวัสดุ ที่ช่วยในการประหยัดแรงงานในการก่อสร้าง (Labor saving index) นอกจากนี้ ยังผ่านมาตรฐานต่าง ๆ ส�าหรับวัสดุก่อสร้างที่ใช้ใน ประเทศสิงคโปร์ อาทิ Fire rating(ค่าความทนไฟ), Toxic Fume Rating (ค่าสารพิษที่ปล่อยออกมาเมื่อเผาไหม้) ขณะที่ แผ่นผนัง BB อยู่ใน ขั้นตอนสุดท้ายในการที่จะได้รับ Green Label ซึ่งแสดงถึงการเป็น วัสดุที่เป็นมิตรต่อธรรมชาติ อีกด้วย รวมถึงคุณสมบัติอื่น ๆ ไม่ว่า จะเป็น การดูดซับเสียงได้ถึง 40 เดซิเบล มีค่าน�าความร้อนต�่าเพียง 0.23 W/mk และความแข็งแรงคงทนระดับ Severe Duty ท�าให้ ผู้อยู่อาศัยมั่นใจในคุณภาพสูงสุดของงานก่อสร้าง บริษัท บิลดิ้งบล็อคส์ จ�ากัด มีส�านักงานใหญ่และโรงงานตั้งอยู่ที่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด ทั้งในและต่างประเทศ ตลาดส�าคัญคือ ประเทศเกาหลีใต้ สิงคโปร์ และออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยได้เริ่มมีการกระจายผลิตภัณฑ์ สู่ตลาดในการก่อสร้างส�านักงานใหญ่ บริษัท EEC Engineering Network Co., Ltd. ผู้น�าในงาน Engineering Consultancy ของ ประเทศไทย โดยมีผดู้ า� เนินการก่อสร้างโดยบริษทั New Technology Engineering Construction Co., Ltd. (NTEC) เป็นต้น

ตามค�ากล่าวของ สตีฟ จอบป์ “นวัฒกรรมสร้างความแตกต่าง ระหว่างผู้น�าและผู้ตาม” คุณ โจชัว วู่ ให้แนวคิดต่อว่า นวัตกรรม ใหม่ เทคโนโลยีงานก่อสร้างได้พัฒนามากว่า 50 ปี และยังคงพัฒนา ต่อไป แต่เทคโนโลยีงานก่อสร้างยังมีการพัฒนาขึ้นมาไม่มากเท่า อุตสาหกรรมอื่น ๆ สิ่งที่ใช้อยู่ในปัจจุบันยังเป็นเทคโนโลยีสมัยเก่า เช่น การก่ออิฐฉาบปูนที่มีให้เห็นกันทั่วไป แม้กระทั้งในตึกสูง เห็นได้ชดั ว่าตลาดสมัยใหม่มคี วามต้องการการก่อสร้างทีม่ คี วามเร็วสูง มีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันความร้อนและเสียงรบกวน การใช้ แรงงานที่น้อยลง และที่ตลาดต้องการ คือ งานก่อสร้างและวัสดุเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประเทศทีม่ กี ารพัฒนาในระดับสูงอย่าง ญีป่ นุ่ หรือ สิงคโปร์ ตระหนักถึง การก่อสร้างทีย่ งั่ ยืน หรือ “sustainable building practices” โดย เริม่ ต้นจากให้แรงจูงใจต่าง ๆ โดยผ่านทางระบบลดหย่อนภาษี หรือ แรงจูงใจทางการเงินอื่น ๆ กับบริษัทและผู้ประกอบการ หากเลือก สร้างงานทีม่ คี วามเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมในลักษณะต่าง ๆ โดยปลูกฝัง ให้ผู้ประกอบการตระหนักถึงผลกระทบระยะยาวต่อสังคมโดยรวม และต่อจากการจูงใจก็เป็นการออกกฎต่าง ๆ เพือ่ ควบคุมผลกระทบ ตัวอย่างเช่น ประเทศจีนมีการควบคุมการใช้อิฐที่ท�าจากดินเผาผ่าน ร่างกฎหมายอย่างเคร่งครัด การเปลีย่ งแปลงอาจไม่ได้เกิดขึน้ โดยง่าย โดยความคุ ้ น เคยจากสิ่ ง ที่ ป ฏิ บั ติ ต ่ อ เนื่ อ งมาอย่ า งยาวนานเป็ น อุปสรรคต่อการเปลีย่ นแปลงเสมอ แต่ในตลาดทีม่ กี ารแข่งขันสูงอย่าง ปัจจุบันเชื่อว่าผู้ที่ริเริ่มเปลี่ยนแปลงจะเป็นผู้น�าอย่างที่เห็นได้ในทุก อุตสาหกรรมและในทุกตลาดทัว่ โลกเสมอ วัสดุก่อสร้างปัจจุบันหรือแบบเดิม ไม่สามารถตอบโจทย์ของความ ต้องการจากตลาดสมัยใหม่ได้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่นงาน Precast จะยังพัฒนาและปรับให้เข้ากับความต้องการของตลาดอยู่เสมอและ แผ่นผนัง BB กับระบบ Precast ก็สามารถใช้ควบคู่และส่งเสริม ซึ่งกันและกันได้โดยธรรมชาติ ผู้รับเหมาสามารถดึงประสิทธิภาพ สูงสุดของงานก่อสร้างโดยใช้จุดแข็งของทั้งสองระบบประกอบกัน เป็นงานก่อสร้างทีม่ ปี ระสิทธิภาพและคุณภาพสูงสุดในขณะทีส่ ามารถ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นได้และนี่คืออนาคตของงาน ก่อสร้าง บริษัท บิลดิ้งบล็อคส์ เป็นบริษัทที่เชื่อในการริเริ่ม และนวัฒกรรม ห้ อ งวิ จั ย และพั ฒ นาของบริ ษั ท ก� า ลั ง ท� างานอย่ า งเต็ ม ที่ เ พื่ อ เพิ่ ม ความโดดเด่นในกับผลิตภัณฑ์ เชื่อว่าความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ BB จะไม่มีที่สิ้นสุด และเชื่อว่า บิลดิ้งบล็อคส์ จะสามารถสร้าง ผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดอสังหาริมทรัพย์ และการก่อสร้างได้อย่างครบถ้วน และแน่นอนว่าเราจะไม่หยุดการ พัฒนาอย่างแน่นอน ยุคใหม่วสั ดุกอ่ สร้างก�าลังเริม่ ขึน้ ด้วยนวัตกรรม ใหม่ของผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดมาจากการความคิดสร้างสรรค์ และการวิจยั ทดลองที่ถี่ถ้วน มุ่งมั่นที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มประสิทธิภาพของ การก่อสร้าง ผลก�าไรของผู้ประกอบการ และความรับผิดชอบต่อ สังคมผ่านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม คุณ โจชัว วู่ กล่าวทิ้งท้าย May May2015 2015 31PB


Showcase - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

SW UPCYCLE PROJECT แปลงเศษ…กลายเปนผล บริษัท สยามวูดแลนด จํากัด (SW) ผูผลิตและจัดจําหนายวัสดุปดผิวสําหรับ งานตกแตงภายใน สรางสรรคแนวคิดพรอมตอยอดแรงบันดาลใจ แนะนํา SW UPCYCLE PROJECT โดยการนําวัสดุเหลือจากการผลิตไมวเี นียร นํามาอัพไซเคิล ผานกระบวนการแตงเติมไอเดีย จาก 6 ดีไซนเนอรชอื่ ดัง ไดแก อภิมขุ สังขวชิ ยั (มิว), ศรัณย อยูคงดี (เอก), นวธันย รุงดิลกโรจน (เมย), เพ็ญภาวีร เจริญชัยนาม (ตูญ), จุฑามาศ ภัคกิตติรัฐ (เซปท) และอัญชนา ทองไพฑูรย (เนค) แปลงเศษไมใหกลาย เปนผลงานที่มีดีไซนสวยเก และคอนเซ็ปตที่นาประทับใจ สรางมูลคาและเพิ่ม แรงบันดาลใจ โดยสือ่ ใหคนไทยไดรวู า ไอเดียดี ๆ อยูร อบตัวเรา และมักจะเกิดขึน้ จากสิ่งเล็ก ๆ เสมอ

SOSUCO VINTAGE กระเบือ้ งปูพนื้ แนวยอนยุค บริษทั โสสุโก แอนด กรุป (2008) จํากัด ผูด าํ เนินการจัดจําหนาย และการขายกระเบื้ อ งเซรามิ ก ปู พื้ น และบุ ผ นั ง ตราโสสุ โ ก แนะนําผลิตภัณฑกระเบื้องปูพื้นแนวยอนยุค ลายพูณพิณโอค ขนาด 12 x 12 นิ้ว และลาย วูดโรเซ ขนาด 16 x 16 นิ้ว เอาใจ คนรักแนวอนุรักษของเกาวินเทจ ดวยการสรางสรรคกระเบื้อง ลายไมในโทนสีนุมนวล ใชการพิมพลายที่ทันสมัยดวยระบบ ดิจิตอลเทคโนโลยี ทําใหกระเบื้องโสสุโกมีลวดลายสีสันสมจริง ชวยเสริมบรรยากาศใหหองโทนสีออนดูอบอุนมากขึ้น สามารถ นํ ามาตกแต ง ร ว มกั บเฟอร นิเจอรวินเทจตามความชอบของ แตละคน เพือ่ ใหหอ งนัน้ มีเสนหเ ฉพาะตัวพรอมกลิน่ อายของอดีต ไดอยางลงตัว

PALIZZA SERIES นวัตกรรมการออกแบบทีพ่ ถิ พี ถิ นั คอตโต เฉยโฉมอางลางหนา Palizza Series ผลงานการสรางสรรค จากนวัตกรรมการออกแบบและเทคโนโลยีการผลิตพิเศษจากคอตโต ประณีตและพิถีพิถันทุกขั้นตอนการผลิตดุจงานฝมือ ตั้งแตการเลือกสรร วัตถุดิบ การผสมนํ้าดิน จนถึงการขึ้นรูปอางที่ตองทําชิ้นตอชิ้นดวยมือ เพื่อใหไดลวดลายที่มีความสวยงามดุจหินธรรมชาติท่ีฝงลวดลายของ ริ้วหินแทรกลงในเนื้อของตัวอาง และมีเอกลักษณโดดเดนไมซํ้ากันใน แตละใบ ขณะเดียวกันก็ใหความแข็งแรงคงทนแบบเซรามิก ชนิดพอรซเลน ซึ่งผสานเปนเนื้อเดียวกันทั่วทั้งใบ ดวยเทคโนโลยีการผลิตแบบพิเศษ จึ ง สามารถรั ง สรรค ค วามงดงามของธรรมชาติ ดั่ ง งานศิ ล ป ล งบน อางลางหนาไดอยางสวยงาม 32

May 2015

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


www.buildernews.in.th เว็บไซตเพื่อวงการออกแบบ กอสราง ตกแตง บำรุงรักษาอาคาร และอสังหาริมทรัพย

May 2015 PB


Showcase - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

Eijffinger Parlando Collection ผาทอเฉดสีธรรมชาติ Eijffinger Parlando คอลเลคชั่นผาทอ เนื้อผาเสนใยสังเคราะห โพลีเอสเตอร 100% ในเฉดสีธรรมชาติ หนาผากวางเปนพิเศษกวาปกติเทาตัว เพื่อเนนผาทอลายกางปลา (herringbone design) ชูจุดเดนดวยคุณสมบัติผาโปรงที่มีความทึบแสงในตัว (in between) ชวยสรางสมดุลของแสงและความรอนที่รอดผานเขาสูภายในบาน บรรยากาศที่อบอุนและ ความเปนสวนตัวไดอยางลงตัว พรอมโซถวง (weighted bottom hem) ที่ทอเปนผืนเดียวกับ สวนปลายผา เหมาะสําหรับตัดเย็บผามาน และเพื่อปรับใชใหเขากับประโยชนใชสอย ในทุกรูปแบบการตกแตงภายในบาน

KVIK ชุดครัวสไตลสแกนดิเนเวียน Kvik เอาใจคนรักการเขาครัวดวย ชุดครัวสไตลสแกนดิเนเวียน เนนงานไมจริง ดูเรียบงายในโทนสีขาวและดํา เติมเต็มในเรื่องวัสดุ และประโยชนใชงานที่คุมคา เพื่อปรับเปลี่ยนแนวคิดการใชชีวิต ในครัว ใหทุกคนสามารถใชพื้นที่หองครัวไดรวมกัน กับคอนเซ็ปต “Sociable Kitchen” ครัวเทรนดใหม ที่ใชไอสแลนดกลางครัว เปนตัวเชื่อมที่ทําใหการทําอาหารเปนกิจกรรมที่ทําไดพรอมกันทั้งครอบครัว ดวยจุดเดน ดานความพิถีพิถันตั้งแตโครงสราง วัสดุ รวมไปถึงเวิรคท็อป ที่มีใหเลือกหลากหลายชนิด โดยเฉพาะเวิรค ท็อปชนิดไมนาํ เขาจากเดนมารก ทีส่ ามารถตรวจสอบไดถงึ แหลงทีม่ ารับรองโดย FSC (Forest Stewardship Council)

Andersen Low-E Insulated Glass กระจกฉนวนประหยัดพลังงาน Andersen ผลิตภัณฑที่ใสใจสิ่งแวดลอม ดวยสินคาประตูและ หนาตางที่ผลิตจากกระจกฉนวนประหยัดพลังงาน หรือ Low-E Insulated Glass ปองกันรังสีอัลตราไวโอเลต และอินฟราเรดจาก แสงอาทิตยไมใหเขาสูตัวบาน ลดการใชพลังงานไฟฟาของเครื่อง ปรับอากาศ ชวยใหภายในบานยังคงความสวางและความเย็นได ในเวลาเดียวกัน โดยไดรับการรับรองจากสถาบัน Energy Star จาก สหรัฐอเมริกา มีความทนทานในทุกสภาพอากาศ มีคา การแลกเปลีย่ น อากาศ (Air Infiltration) ตํ่า โดยการรับรองจากองคกร NFRC (National Fenestration Rating Council) และผานการทดสอบ มาตรฐานสากล ASTM E283 ซึ่งอากาศรอนจากภายนอก แทบจะ ไมเขามาสูภายในตัวอาคารเลย และยังผานการทดสอบความรั่วซึม ของนํ้าในการจําลองแรงอัดอากาศและกันนํ้ารั่วซึมตามมาตรฐาน สากล ASTM E547 34 PB

May May 2015 2015


Product Highlight - Industrial อภัสรา วัลลิภผล

ผูผลิต เครื่องมือวัดอัตโนมัติ CMM อุปกรณประหยัดพลังงานทางออม ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องเรนิ ช อร ถื อ เป น ตั ว ช ว ยใน การประหยัดพลังงานทางออม เพราะเปน ผลิตภัฑณทมี่ คี วามแมนยําจึงทําใหประหยัด ทรัพยากรใรการผลิตไดอยางมาก ผลิตภัณฑ ของเรนิ ช อร เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ร ะบบควบคุ ม ที่เกี่ยวกับการผลิตอากาศยาน รถยนต จักรยานยนต อุปกรณอิเลคโทรนิกสใน ครัวเรือน และผลิตภัณฑเชิงอุตสาหกรรม อีกมากมายหลายหลากประเภท เรนิชอร กอตัง้ ขึน้ ในสหราชอาณาจักร ในป ค.ศ. 1973 (พ.ศ. 2516) ผลิตภัณฑชิ้นแรกของบริษัทฯ ถูกประดิษฐขึ้นเพื่อใชตรวจสอบเครื่องยนต ที่ใชในเครื่องบินคองคอรด ซึ่งเปนเครื่องบิน โดยสารความเร็วเหนือเสียงชนิดแรก (และ ณ ปจจุบันยังคงเปนชนิดเดียว) นวัตกรรม ดังกลาวนําไปสูก ารเปลีย่ นแปลงอยางสิน้ เชิง ของอุตสาหกรรมมาตรวัดในกระบวนการผลิต ช ว ยให ก ารวั ด ชิ้ น ส ว นขึ้ น รู ป และอุ ป กรณ ประกอบเสร็จมีความถูกตองแมนยํา

ºÃÔÉÑ· àùԪÍà »ÃÐà·Èä·Â ¨ํÒ¡Ñ´ ໚¹¼ÙŒ¹ํÒÍѹ´ÑºË¹Ö่§ã¹¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¹ÇÑ µ ¡ÃÃÁ´Œ Ò ¹ÁÒµÃÇÑ ´ ·Õ่ ÁÕ ¤ ÇÒÁáÁ‹ ¹ Âํ Ò ÊÙ § ãËŒ á ¡‹ º ÃÔ ÉÑ · ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁªÑ้ ¹ ¹ํ Ò ·Ñ่ÇâÅ¡ â´Â¼ÅÔµáÅоѲ¹Ò¼ÅÔµÀѳ± à¾×่Í»ÃСͺã¹à¤Ã×่ͧÁ×Í à¤Ã×่ͧ¨Ñ¡Ã à¤Ã×่ͧÁ×ÍÇÑ´ÅÐàÍÕ´ à¤Ã×่ͧÁ×ÍÇÑ´Íѵâ¹ÁÑµÔ CMM ãËŒ¡Ñº¼ÙŒ¼ÅÔµ·Õ่ÁÕª×่ÍàÊÕ§ ·Ñ่ Ç âÅ¡ ¾ÃŒ Í ÁÃØ ¡ µÅÒ´ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁã¹»ÃÐà·Èä·Â ઋ ¹ ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁ Âҹ¹µ à¾×่ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ §Ò¹ÍÔàÅ็¡·ÃÍ¹Ô¡Ê ÁÙŤ‹ÒÊÙ§ áÅÐà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È áÅСÒÃÊ×่ÍÊÒà ໚¹µŒ¹

การดําเนินงานและผลิตภัณฑสวนใหญในปจจุบันของบริษัทฯ พัฒนาขึ้นมาจากตนฉบับ แหงนวัตกรรมดานมาตรวัดที่มีความแมนยําสูงที่นําไปใชอยุในหลาย ๆ วงการ ไมวาจะเปน ในวงการทันตกรรม การวัดที่มีความแมนยําสูงทําใหบริษัทฯ กลายเปนผูใหบริการจัดหา อุปกรณและเครื่องมือทันตกรรมรายใหญของอุตสาหกรรม ในวงการสุขภาพพลานามัย เทคโนโลยีวัดความแมนยําสูงของบริษัทฯ ชวยใหศัลยแพทยสามารถปลูกถายอุปกรณ ลงในสมองของคนไขไดอยางถูกตองแมนยํา เทคโนโลยีนี้ถูกนําไปใชกับผูปวยดวยโรค พารกินสัน และโรคลมชัก ทั้งนี้ระบบวัดเลเซอรของบริษัทฯ ยังถูกนําไปใชในเหมืองแร และเหมืองเจาะหินเพื่อสํารวจพื้นที่อันตรายหรือเขาถึงไมได และยังถูกนําไปใชระบุพิกัด เรือเดินสมุทรไดอยางแมนยําตรงเวลา และเมื่อพูดถึงการวัดที่มีความแมนยําสูง เรนิชอร เปนผูผลิตเครื่องพิมพโลหะสามมิติชั้นนํารายหนึ่งของโลก เดิมทีนั้นบริษัทฯ ใชเทคโนโลยีนี้ เพื่อรองรับกระบวนการผลิตภายในของบริษัทฯ เทานั้น แตปจจุบันบริษัทฯ ไดผลิต เครื่องมือนี้ใหกับลูกคาทั่วโลก ซึ่งเมื่อปกลาย บริษัทฯ ไดรวมมือกับผูผลิตจักรยานรายหนึ่ง ผลิตโครงจักรยานดวยการพิมพสามมิติชิ้นแรกของโลกขึ้นอีกดวย May 35 May2015 2015 PB


Product Highlight - Industrial กรีนภัทร์

เรนิชอร์ ได้ท�ำกำรเปิดให้บริกำรในประเทศไทยในปี ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) โดยยังคง ควำมสัมพันธ์อันแนบแน่นกับเครือข่ำยตัวแทนจ�ำหน่ำยต่ำง ๆ ที่มีอยู่กว้ำงขวำงทั่วประเทศ มำกว่ ำ สิ บ ปี ส� ำ นั ก งำนตั วแทนของบริ ษั ท ฯ ตั้ ง อยู ่ ในกรุ ง เทพฯ ร่ ว มงำนกั บลู ก ค้ ำ ในอุ ต สำหกรรมกำรผลิ ต ที่ ส� ำ คั ญ ๆ ของไทย อำทิ อุ ต สำหกรรมยำนยนต์ ตลอดจน เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร เรนิชอร์ วำงแผนขยำยในอนำคตส�ำหรับตลำดส่วนนี้ และก�ำลังมองหำกลยุทธ์เพื่อกำร เติบโตในระยะยำว นอกจำกนี้ยังก�ำลังลงทุนเพื่อขยำยทีมงำนในประเทศ ดูได้จำกกำร เข้ำรับต�ำแหน่งผู้จัดกำรประจ�ำประเทศเมื่อไม่นำนมำนี้ ซึ่งถือเป็นต�ำแหน่งที่ส�ำคัญยิ่ง ของบริษัทฯ และเนื่องจำกเรนิชอร์ในประเทศไทยให้บริกำรแก่อุตสำหกรรมยำนยนต์ เป็นส่วนใหญ่ บริษัทฯ จึงคำดหวังว่ำจะมีกำรเติบโตที่ดียิ่งขึ้นในปีนี้ (พ.ศ.2558) ควบคู่ไป กับแรงขับเคลื่อนในประเทศที่ต้องกำรเพิ่มพลังกำรผลิตในอุตสำหกรรมนี้ บริษัทฯ มองว่ำ ประเทศไทยเป็นตลำดที่ส�ำคัญในเอเชีย ด้วยฐำนกำรผลิตที่เข้มแข็งในประเทศส�ำหรับ อุตสำหกรรมยำนยนต์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะเปิดโอกำสมำกมำยให้เรนิชอร์ ได้ มี ส ่ ว นช่ ว ยผู ้ ผ ลิ ต ต่ ำ ง ๆ ให้ ส ำมำรถยกระดั บ มำตรฐำนคุ ณ ภำพและผลิ ต ผลใน อุตสำหกรรมดังกล่ำว

36

May 2015

ท�ำไมต้องเลือกเรนิชอร์ เหตุผลที่บริษัท ทั้งหลำยควรเลือกเรนิชอร์ คือ อย่ำงแรก เรนิ ช อร์ ภ ำคภู มิ ใ นเรื่ อ งบริ ก ำรที่ เ ป็ น เลิ ศ ด้ำนบริกำรลูกค้ำระดับสำกล เรนิชอร์เป็น ผู้ยกเกณฑ์มำตรฐำนด้ำนงำนบริกำร ไม่ว่ำ จะเป็นสินค้ำใด ในส่วนไหนของโลก ลูกค้ำ จะได้รบั บริกำรของบริษทั ฯเสมอ แม้บริษทั ฯ ผู ้ ดู แ ลค่ ำ ใช้ จ ่ ำ ยขนส่ ง ทำงอำกำศเพื่ อ น� ำ ชิ้นส่วนเข้ำและออกนอกประเทศเองก็ตำม ยินดีลงทุนเพื่อแก้ปัญหำของลูกค้ำ ไม่เคย ท�ำให้ลูกค้ำผิดหวัง บริษัทฯ มีควำมใส่ใจ ในควำมต้ อ งกำรของลู ก ค้ ำ นั้ น มำจำก ทัศนวิสัยที่ยำวไกลของบริษัทฯ ในกำรที่จะ เอื้อประโยชน์สูงสุดให้กับลูกค้ำ พันธมิตร ธุรกิจ และพนักงำนของบริษัทฯ เป็นเลิศ ด้ ำนกำรดูแลรักษำพนักงำน กำรท�ำ งำน ไม่ สะดุด มีสัมพันธภำพอันแนบแน่นกับ ลูกค้ำและตัวแทนจ�ำหน่ำย ยำวนำนกว่ำ 10 ปีในประเทศไทย มีควำมมั่นคงทำง กำรเงิน และหุ้นมีสภำพเยี่ยม และในฐำนะ นักนวัตกรรมในด้ำนนี้ บริษัทฯ จึงมีควำม เหนื อ กว่ ำ ในเชิ ง เทคนิ ค ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ เฉพำะตัวและผลงำนที่ลูกค้ำวำงใจ พร้อม ควำมสำมำรถทำงเทคโนโลยี ที่ เ หนื อ ชั้ น ตอบโจทย์ได้ตำมต้องกำร มีผลิตภัณฑ์ที่ หลำกหลำยครอบคลุม ทั้งแบบมำตรฐำน ทั่วไปจนถึงคุณสมบัติสูง ๆ

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


May 2015 PB


Showcase - Industrial กรีนภัทร์

ชไนเดอร อิเล็คทริค เปดตัว รีโมทคอนโทรลไรสาย ชไนเดอร อิเล็คทริค ผูเ ชีย่ วชาญระดับโลกดานการบริหารจัดการพลังงาน เปดตัว Harmony eXLhoist รีโมตคอนโทรลไรสายที่ออกแบบมาอยางลงตัว สะดวกในการใชงาน แบตเตอรี่ทํางานไดนานกวา และ รองรับ SIL3 สําหรับการหยุดฉุกเฉินแบบไรสาย ใหสามารถควบคุมสั่งงานเครนไดจากระยะไกลไดงาย กวาเดิมดวย Harmony eXLhoist ในขณะเดียวกันก็ชวยเพิ่มความปลอดภัยในการใชงานทั้งสําหรับ ผูค วบคุมและตัวเครือ่ งไดอยางดี Harmony eXLhoist ถูกออกแบบมาเพือ่ เพิม่ ความสะดวกในการใชงาน ดวยการจัดวางปุมตาง ๆ อยางเหมาะสมเพื่อใหสามารถควบคุมไดดวยมือเดียว รองรับการรูปแบบ การควบคุมที่ซับซอนดวยนิ้วโปงขางเดียว ทําใหผูควบคุมมีสมาธิไดเต็มที่ในการสั่งงาน ใชเวลาชารจไฟ เพียงราว 15 นาทีเทานั้น ซึ่งถือวาสั้นกวาอุปกรณลักษณะเดียวกันทั่วไปที่ใชเวลาชารจไฟเฉลี่ยที่ ราว 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังสามารถใชงานไดสูงสุดถึง 30 ชั่วโมงตอการชารจหนึ่งครั้ง เพื่อใหอุปกรณ พรอมใชงานไดทุกเมื่อที่ตองการ ที่สําคัญแบตเตอรี่ยังมีอายุการใชงานนานถึง 5 ป ทนทานกวา อุปกรณลักษณะเดียวกันทั่วไปถึง 2 เทา (ขอมูลเพิ่มเติม www.schneider-electric.com/th)

เปดตัวซีเกท เซเวน ฮารดไดรฟฉบับพกพา บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี จํากัด มหาชน (NASDAQ: STX) ผูนํา ของโลกในดานโซลูชั่นการจัดเก็บขอมูล เผยโฉมฮารดไดรฟภายนอก ดีไซนลํ้า ขนาดบางเฉียบ ที่จะคืนชีพคุณลักษณะในตํานานของ ฮารดไดรฟภายในแบบ 2.5 นิ้วใหหวนคืนมาอีกครั้ง ฮารดไดรฟใหม ในชื่อ ซีเกท เซเวน (Seagate Seven™) เปนวิถีใหมแหงการพกพา ขอมูลขนาด 500GB ที่บางเฉียบที่สุด และชื่อนี้สื่อใหเห็นถึงความ บางเพียง 7 มม. ของฮารดไดรฟ ดวยรูปลักษณภายนอกที่ดูเรียบงาย สไตลอินดัส เตรียลชวยใหหวนระลึกถึงตนกําเนิดของการจัดเก็บ ขอมูล ในขณะที่ภายในกลับอัดแนนไปดวยความกาวหนาลาสุดแหง นวัตกรรมการจัดเก็บขอมูลสมัยใหม เคสภายนอกของซีเกท เซเวน เปนเหล็กลวนเกรดพรีเมี่ยมเปลือยใหเห็นความเปนฮารดไดรฟอยางแทจริงซึ่งเปนสิ่งที่ซีเกทเชี่ยวชาญชํานาญมาตลอด 35 ป นอกจากนี้ เทคโนโลยี low profile motor ที่ใชภายในฮารดไดรฟนี้มีกลไกไจโร (Gyro) แบบทนทานเต็มพิกัดเฉกเชนการทํางานของแท็บเล็ตหรืออุปกรณ คอมพิวเตอรขนาดบาง ซึง่ มีประโยชนอยางยิง่ โดยเฉพาะเมือ่ คํานึงถึงการใชงาน ซึง่ ผูใ ชสามารถพกซีเกท เซเวนใสกระเปาเสือ้ หรือกางเกง หรือ กระเปาถือไดโดยไมตองกังวล ใชงานงาย สะดวกสําหรับพกพา เหมาะกับคนรุนใหม (ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับซีเกทไดที่ www.seagate.com)

อุปกรณเครือ่ งอัดลม KOBELCO ดวยประสบการณที่สั่งสมมากวาศตวรรษในการผลิตเครื่องอัดลมและความมุงมั่นที่จะเปน ผูนําในตลาดโลก KOBELCO ไดพัฒนาเครื่องอัดลมมาอยางตอเนื่อง และลาสุด KOBELCO ไดผลิตและออกแบบเครื่องอัดลมรุนใหม Kobelion Series นําเทคโนโลยีลาสุดเพื่อผลิตกําลัง ลมใหไดมากที่สุดและมีประสิทธิภาพในการใชงานสูงสุด เพื่อแสดงถึงความเปนผูนําในตลาด เครื่องจักรอุตสาหกรรมระดับโลก KOBELCO ที่ประเทศญี่ปุนไดออกแบบเครื่องอัดลม Kobelion series มี screw airends ที่มีเสนผาศูนยกลางขนาดใหญ เพื่อใหประสิทธิภาพการ อัดลมสูงสุดและชวยใหมกี ารประหยัดพลังงานอยางสูงสุดอีกดวย เนือ่ งจากแตละสวนประกอบ ตาง ๆ มีพื้นที่ระบายอากาศรอบ ๆ ทําใหชิ้นสวนอะไหลมีความทนทานและใชงานไดอยาง ปลอดภัย ไมวา จะมีสภาพการใชงานในหองเครือ่ งอัดลมแบบใด ใชเกียรโดยไรอปุ กรณเชือ่ มตอ ระหวางสกรูกับมอเตอรเพื่อลดการสูญเสียพลังงานโดยไมจําเปน ใชหนาจอ LCD ทัชสกรีน เพื่อการใชงานที่สะดวกและรวดเร็ว สามารถเชื่อมตอเครื่องอัดลมถึง 6 เครื่องโดยไมตองเพิ่ม การใช group controller

38

38

May 2015 May 2015


หลอดไฟ LED ประหยัดพลังงานมากกวา 50% บริษทั ยูนสิ ตาร ออฟโต (ไทยแลนด) จําหนาย และผลิต หลอดไฟแอลอีดี สําหรับโรงงานอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑเดนของ บริษัทฯ ไดแก หลอดไฟ LEDT8 Tube LED T-Bar, LED High Bay Lamp LED Flooding Lamp LED USB Light และ LED Module และดวยคุณสมบัติพิเศษที่สามารถชวย ประหยัดพลังงานไดมากถึง 50% และลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ในอากาศ อีกทัง้ วัสดุใชทาํ เปนหลอดแอลอีดี สามารถนํากลับมาใชใหม หรือ Recycle ไดมากกวา 90% ชวยลดมลพิษไดมากเลยทีเดียว สําหรับ ชิ้ น ส ว นประกอบของหลอดไฟบริ ษัทฯ นํ า เข า มาจากประเทศไต ห วั น ซึ่งมุงเนนผลิตภัณฑและบริการคุณภาพระดับมาตรฐานสากลตอบสนอง ความตองการของผูบริโภคทั้งในภาคครัวเรือนและอุตสาหกรรม บริษัทฯ ไดตระหนักถึงแนวโนมตลาดและเทรนดแสงสวางโลก พรอมใหความสําคัญตอผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด การใชวัตถุดิบที่สามารถนํากลับมาใชใหมได (Recycle) ประหยัดการใชพลังงานแตใหประสิทธิภาพแสงสวางที่มากขึ้น เรียกวาหลอดไฟของ บริษัทฯ เปนแบบ อีโคไลท (Eco Light Trend) เลยก็วาได

ผลิตภัณฑหลอลืน่ สังเคราะห “โมบิล เอสเอชซี ซีบสั ” โมบิล เอสเอชซี ซีบสั เปนผลิตภัณฑหลอลืน่ สังเคราะหระดับพรีเมีย่ มประสิทธิภาพสูง ทีก่ ลัน่ กรอง มาจากความรู  ค วามชํ า นาญในการคิ ด ค น สู ต รนํ้ า มั น หล อ ลื่ น และเพื่ อ ให เ หมาะต อ การใช ใ น อุตสาหกรรมอาหารโดยเฉพาะ ทั้งนี้ ดวยประสิทธิภาพการหลอลื่นที่สามารถคงตัวไดนานกวา สามารถลดการใชพลังงานในขั้นตอนการผลิต และยังชวยยืดอายุการใชงานของเครื่องจักร ดังนั้น ผลิตภัณฑนี้จึงชวยเพิ่มศักยภาพในการแขงขันใหกับผูผลิตในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มได อยางมีประสิทธิภาพ และดวยความเชี่ยวชาญของเอ็กซอนโมบิลในเทคโนโลยีดังกลาว ผนวกกับ การทํางานอยางใกลชิดกับ OEMs (Original Equipment Manufacturer) ทําใหทีมงานผูอยูเบื้องหลัง การคิดคนผลิตภัณฑหลอลืน่ โมบิล สําหรับการใชงานดานอุตสาหกรรม (Mobil Industrial Lubricants) สามารถสรางมาตรฐานใหมแหงผลิตภัณฑหลอลื่นคุณภาพ ที่ผูประกอบการจะไดรับ คือ เพิ่มความ ปลอดภัยในการผลิตอาหาร สามารถใชงานผลิตภัณฑหลอลื่นอยางเต็มประสิทธิภาพ มีประสิทธิภาพพลังงานที่เพิ่มขึ้น ชวยลดเวลาการหยุดชะงักของ กระบวนการผลิตเนื่องจากระบบขัดของ ลดคาใชจายในการบํารุงรักษา แถมยังชวยเสริมศักยภาพในการผลิตอีกดวย จึงทําใหกระบวนการผลิตเกิดการ ประหยัดพลังงาน

Evap ระบบประหยัดพลังงาน

อุปกรณประหยัดพลังงานไฟฟา เพิ่มประสิทธิภาพการทําความเย็นของ เครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (Split-type) และเครื่องทํานํ้าเย็นชนิด ระบายความรอนดวยอากาศ (Air-cooled Chiller unit) เพิ่มความสามารถ ในการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศ ทําใหประหยัดคาไฟแอรไดถึง 15 - 40% ปองกันสิ่งสกปรกสะสมบริเวณแผงระบายความรอน ลดคาใชจาย ในการบํารุงรักษาแผงคอยลรอน ลดการสึกหรอของคอมเพรสเซอรและ ยืดอายุการใชงานของคอมเพรสเซอร ทําความสะอาดงายและสะดวก ระบบ Evaporativeใชหลักการพื้นฐานวาดวยการระเหยของนํ้า นั่นคือ นํ้าจะระเหย ไดนั้นจะตองใชพลังงานความรอนในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเปนไอ เรียกพลังงานความรอนนี้วา ความรอนแฝงกลายเปนไอ (Latent Heat of Vaporization) ในธรรมชาตินํ้าที่ระเหยจะดึงพลังงานความรอนจากตัวของนํ้าเองและอากาศที่อยูรอบตัวเพื่อทําใหตัวเองระเหยกลายเปนไอนํ้า จึงเปนผลใหอุณหภูมิของทั้งนํ้าและอากาศโดยรอบลดลงเนื่องจากสูญเสียพลังงานความรอน ระบบ Evap นี้จึงชวยประหยัดพลังงานไฟฟา เนื่องจาก ระบบจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการระบายความรอนของเครื่องควบแนน ทําใหอุณหภูมิของสารทําความเย็นที่ออกจากเครื่องควบแนนลดลง ความดัน ของสารทําความเย็นจึงลดลงดวย สงผลใหคอมเพรสเซอรใชพลังงานไฟฟานอยลง แตไดความเย็นเพิ่มขึ้น อัตราการใชพลังงานไฟฟาตอภาระ การทําความเย็นจึงลดลงจากเดิมเมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องปรับอากาศที่ไมไดใชระบบ Evaporative Pre-cooler May 2015 39 39 May 2015


Product Highlight - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

Apple เปดตัว MacBook ใหม

เล็ก กะทัดรัด ประหยัดพลังงาน MacBook ใหม ถูกออกแบบสรางสรรค ขึ้นมาใหมหมดจด ไมใชเพียงแคเรื่องของ ความเบาบางลงเท า นั้ น แต Apple ได มองการณไกลไปถึงขีดความสามารถและ การใชงานทีง่ า ยกวาเดิมเพือ่ ตอบสนองความ ตองการ โดยในแตละมิตขิ อง MacBook ใหม ไมวา จะเปนจอภาพ Retina และแบตเตอรี่ แบบไลระดับไปจนถึงเทคโนโลยีอนั ทันสมัย ของ OS X ตางก็ไดรับการปรับปรุงให ประหยัดพลังงานมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปนไปได จึงกินไฟเพี ย ง 10.10 kWh ตอปเทานั้น ซึ่งถือวาเกินกวาขอกําหนดการใชพลังงาน ขัน้ ตํา่ ของ EPA จึงผานการรับรองมาตรฐาน ENERGY STAR 6.1 อีกอยางคือ เนือ่ งจาก แบตเตอรี่ใน MacBook ใหม ไมจําเปน ตองชารจไฟบอย ๆ ปริมาณกาซคารบอน ทีป่ ลอยออกมาจากการใชงานในแตละวัน จึงนอยลงดวย การแสดงผลดวยจอภาพ Retina ในมิตใิ หม เพียงแคเปด MacBook ใหมขึ้นมา จอภาพ Retina ขนาด 12 นิ้ว มีความสวยงาม พรอมกระจกเต็มบาน แบบขอบจรดขอบ ก็จะเผยใหทุกอยางดูเดนชัด ภาพทุกภาพ เต็มอิม่ ไปดวยสีสนั ทีส่ มจริงในทุกรายละเอียด ในขณะที่ แ ต ล ะตั ว อั ก ษรก็ ค มกริ บ ด ว ย ความละเอียดกวา 3 ลานพิกเซล ทัง้ หมดนี้ เจิดจรัสอยูบนจอภาพ Retina ที่บางที่สุด และประหยัดพลังงานที่สุดเทาที่เคยมีมา ซึ่ง MacBook รุนนี้ไดถูกออกแบบพิกเซล ใหมเพื่อสรางรูรับแสงที่ใหญขึ้นเพื่อใหแสง ลอดผานไดมากกวาเดิม สงผลใหสามารถ 40

May 2015

ºÃÔÉÑ· Apple Inc. à» ´µÑÇ ÊÔ¹¤ŒÒãËÁ‹ã¹§Ò¹ “Spring Forword” «Ö่§ÀÒÂ㹧ҹ ÇÑ ¹ ¹Ñ้ ¹ ä´Œ ÁÕ ¡ ÒÃà» ´ µÑ Ç ÊÔ ¹ ¤Œ Ò ãËÁ‹ Í Â‹ Ò § Apple Watch ¹ÒÌ ¡ ÒµÑ Ç áá¢Í§ ¤‹Ò Apple ᵋ¹Ñ่¹¡็ä Á‹ä ´ŒàÃÕ ¡¤ÇÒÁʹã¨ä´Œà·‹ÒÊÔ¹¤ŒÒÊØ´à«Íà ä¾ÃÊ Í‹ҧ New MacBook ¹Çѵ¡ÃÃÁà´ÔÁ·Õ่¾Ñ²¹Ò¢Ö้¹ãËÁ‹¡ÑºË¹ŒÒ¨Í 12 ¹Ô้Ç ·Õ่ÁҾÌÍÁ ´Õ䫹 ãËÁ‹ËÁ´¨´ ¢¹Ò´àÅ็¡¡Ð·Ñ´ÃÑ´ àºÒ·Õ่ÊØ´à·‹Ò·Õ่à¤ÂÁÕÁÒ áÅлÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ·Õ่ÊØ´ÍÕ¡´ŒÇÂ

ใช LED Backlight ทีป่ ระหยัดไฟมากกวาจอภาพ Retina บนโนตบุก Mac รุน อืน่ ๆ มากถึง 30% ขณะที่ยังคงความสวางสดใสไวเหมือนเชนเคย นอกจากการรับชมภาพที่ชัดเจนแลว การทํางานแตละครั้งจําเปนตองใชคียบอรดในการ พิมพงาน ซึง่ Apple ไดพฒ ั นาคียบ อรดขึน้ มาใหม เพือ่ สรางประสบการณทยี่ อดเยีย่ มใหกบั ผูใ ชงาน ดังนัน้ จึงมีการคิดทบทวนเกีย่ วกับสวนประกอบและโครงสรางของคียบ อรดใหม ทั้งหมด โดย Apple ไดออกแบบแตละปุมขึ้นมาใหมและรวมไปถึงกลไกที่อยูใตปุมดวย ปุม ทีไ่ ดรบั การออกแบบใหมบน MacBook ใหมนี้ มีผวิ สัมผัสทีใ่ หญขนึ้ โครงสรางทีบ่ างลง และสวนโคงที่ลึกกวา จึงชวยใหพื้นที่กดบนปุมรับกับปลายนิ้วของคุณไดดียิ่งขึ้น สงผลให สามารถคนหาและกดปุมไดอยางเปนธรรมชาติ


May 2015 PB


Product Highlight - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

สําหรับ MacBook ใหมเปนโนตบุก Mac เครือ่ งแรกทีไ่ มตอ งมีพดั ลม นัน่ เปนเพราะวา ชิพ Intel Core M ใชกาํ ลังไฟแคเพียง 5 วัตต จึงทําใหเกิดความรอนนอยลง และไมจาํ เปน ตองใชพัดลมหรือทอความรอนอีกตอไป ในขณะเดียวกันแผงวงจรก็จะถูกวางไวที่ ดานบนสุดของแผนกราไฟตแบบแอนไอโซโทร ปกแทน ซึง่ วิธนี จี้ ะชวยไลความรอนทีเ่ กิดขึน้ ออกไปดานขาง ในระหวางนัน้ Mac ของคุณ ก็ยงั คงทํางานไดอยางเงียบสนิท นอกจากนี้ MacBook ใหมยงั ถูกออกแบบขึน้ มาใหประหยัด พลังงานมากกวาเดิมดวยคุณสมบัติตาง ๆ ใน OS X เชน Timer Coalescing, App Nap และ Safari Power Saver คุณจึงมัน่ ใจ ไดเลยวาทุก ๆ งานทีค่ ณ ุ ทําจะใชกาํ ลังไฟ ทีพ่ อเหมาะกับแตละงานจริง ๆ ไมมากเกินเหตุ และไมนอ ยเกินไป นอกจากนี้ ยังมาพรอมกับมิติใหมแหงประสบการณการใชงานแทร็คแพด โดยแทร็คแพด Force Touch นั้นไดรับการสรางสรรคทางวิศวกรรมมาเพื่อใหตอบสนองตอการคลิกได อยางรวด เร็วทันใจและสมํ่าเสมอ ซึ่งภายใตพื้นผิวที่เห็นก็ยังมีเซ็นเซอรแรงกดที่สามารถ รับรูถึงนํ้าหนักในการกด การโตตอบกับ Mac ได อีกทั้ง ยังสามารถใชการคลิกแบบกด คางเพื่อเปดใชความสามารถใหม ๆ เชน คนหาความหมายของคําศัพทหรือดูตัวอยาง ไฟลไดอยางรวดเร็ว ซึ่งทําไดงาย ๆ เพียงแคคลิกแลวกดคางไวเทานั้นเอง ในขณะที่ คุณกําลังใชงานจะไดพบกับการตอบสนองแบบสัมผัส ซึง่ ก็คอื การสัน่ จากแทร็คแพดทีช่ ว ย เพิ่มการรับรูทางสัมผัสใหกับสิ่งที่มองเห็นบนหนาจอ ที่สําคัญความสามารถสุดลํ้าเหลานี้ ยังทํางานควบคูไปกับคําสั่งนิ้ว Multi-Touch อันเรียบงาย ซึ่งผูใช Mac ตางชื่นชอบและ คุนเคยเปนอยางดี

อีกหนึง่ องคประกอบทีส่ าํ คัญ คือ แบตเตอรี่ ทีใ่ ชงานไดทงั้ วัน ในดีไซนใหมหมด MacBook ที่ บ างเฉี ย บนี้ มี ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี แบตเตอรีท่ ไี่ มเหมือนใครขึน้ มาเอง เพือ่ ใช ประโยชน จ ากพื้ น ที่ ทุ ก มิ ล ลิ เ มตรที่ มี ใ ห คุมคาที่สุด และผลลัพธที่ไดก็คือแบตเตอรี่ ในดีไซนไลระดับทีม่ สี ว นเวาสวนโคง ซึง่ ไม เพียงใสลงใน MacBook ใหมทบ่ี างเฉียบได อยางลงตัวเทานัน้ แตยงั เปนอะไรทีไ่ มเคย มีมากอนในโนตบุก อีกดวย ยิ่งไปกวานั้น ภายใน MacBook ใหม คุณจะพบกับโปรเซสเซอร Intel Core M “Broadwell” รุน ที่ 5 ซึง่ ถือวาเปนชิพตัวแรก ที่ออกแบบดวยเทคโนโลยีการผลิตแบบ 14 นาโนเมตร นั่นหมายความวาชิพจะ อัดแนนไปดวยทรานซิสเตอรมากกวารุน เกา เพือ่ ความหนาแนนทีส่ งู ขึน้ และประสิทธิภาพ ทีเ่ หนือชัน้ กวา โดยโปรเซสเซอร Core M นี้ ถือวาลงตัวอยางเหมาะเจาะ ดวยคุณสมบัติ ประหยัดพลังงานทีม่ าพรอมกับประสิทธิภาพ ที่จําเปนตอการทํางานในแตละวันนั่นเอง

PB

42

May 2015 May 2015


Showcase - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ

เครือ่ งเปาผมเซนเซอรอจั ฉริยะ บริษัท ฟลิปสอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด แนะนําเครื่องเปาผม Philips Moisture Protect รุน HP8280 ที่มีกําลังไฟสูงถึง 2,300 วัตต และมาพรอม เทคโนโลยี Moisture Protect เซนเซอรอัจฉริยะปรับอุณหภูมิอัตโนมัติตามระดับ ความชื้นของเสนผม และลดระดับอุณหภูมิอัตโนมัติเมื่อผมแหง ทําใหผมไมไดรับ ความรอนเกินความจําเปน ชวยรักษาความชุม ชืน้ ของเสนผม ไมตอ งกังวลวาผมจะเสีย และยังทําใหผมเงางามเปนประกาย สุขภาพดีสามารถปรับอุณหภูมิและแรงลมไดถึง 6 ระดับ เพือ่ การจัดแตงทรงผมไดตามสไตลทต่ี อ งการ นอกจากนีย้ งั มีฟง กชนั่ Thermo Protect ที่จะควบคุณอุณหภูมิความรอนคงที่ 57 องศา ถนอมเสนผมไมทําใหผมเสีย แตยังคงประสิทธิภาพการจัดแตงทรงผมสูงสุด และยังมี Ionic Care ที่เครื่องจะจาย ประจุไอออนโดยอัตโนมัติและตอเนื่องเพื่อลดการชี้ฟูและเพิ่มความเงางามใหเสนผม ใชแตงผมขั้นสุดทาย และยังสามารถเปลี่ยนหัวเปาลมได 2 แบบ ทั้งหัวปากแคบ และ หัวเปากระจายลม

Twin Oven นวัตกรรมใหมแหงเตาอบ เดอะซิกเนเจอร แบรนด หรือ เอสบีโอ (ประเทศไทย) ผูนําเขาเครื่องครัวจาก อิตาลีแบรนดเทคโนแกส สงสินคาในเครือ Tecno+ Twin Oven รุน TNP TO 1867 DG ซึ่งสามารถแบงเตาอบเปน 2 เตายอยในเครื่องเดียว ทําอาหารพรอม กัน 2 อยางในเวลาเดียวกัน โดยที่แยกฟงกชั่นและอุณหภูมิการอบอาหารได ในครั้งเดียว ประหยัดทั้งเวลาและพลังงาน มาดวยความจุถึง 70 ลิตร ใหญกวา เตาอบทั่วไป 25% พรอมโปรแกรมการทํางานอัตโนมัติถึง 18 โปรแกรม สอบถาม ขอมูลไดที่โชวรูม โทร. 0-2274-3434

Samsung Galaxy S6 edge Samsung เปดตัว Samsung Galaxy S6 edge ที่มาพรอมกับระบบปฏิบัติการ Android 5.0 Lollipop หนาจอขนาด 5.1 นิ้ว ความละเอียดระดับ QHD 1440 x 2560 พิกเซล หนาจอจะมีความโคงรับกับดีไซนเครื่องดานขาง ทั้งซายและขวา ซึ่งในสวนของหนาจอนั้นจะมีความแข็งแรงเปนพิเศษ ดวยกระจกหนาจอแบบ Corning Gorilla Glass 4 กลองดิจิตอลดานหลังของ Samsung Galaxy S6 edge นั้นจะมีความละเอียดอยูที่ 16 ลาน พิกเซล พรอมระบบปองกันภาพสั่นไหวขณะถายและรองรับการ ถายวีดโี อความละเอียดสูงระดับ 4K สวนกลองดิจติ อลดานหนานัน้ ก็มีความละเอียดสูงถึง 5 ลานพิกเซล เอาใจผูใชที่ชื่นชอบการถาย Selfie เปนพิเศษ ซึ่งมีใหเลือกทั้งหมด 4 สี คือ White Pearl, Black Sapphire, Gold Platinum และ Green Emerald มีความจุใหเลือก 3 แบบคือ 32, 64 สําหรับการชารจไฟใชเวลาชารจเพียง 10 นาที แบตเตอรี่นั้นจะสามารถใชไดยาวนานถึง 4 ชั่วโมงเลยทีเดียว นอกจากนี้ ยังรองรับการชารจแบบไรสายดวย May 2015 PB May 2015 43


Showcase - Commercial ณ ลาดพร้าว

HP เครือ่ งพิมพเลเซอรเจ็ทใหม คลองตัวกวา เร็วกวา ฉลาดกวา HP ออกแบบซีรียเครื่องพิมพใหมลาสุดจากการทําใหตัวเครื่องมีความคลองตัวเร็วขึ้น และฉลาดขึ้นกวาที่เคยเปนมากอนซึ่งจะชวยตอบสนองความตองการของสํานักงานสมัย ใหมไดเปนอยางดี ดวยการนําเสนอ HP Color LaserJet M552 and M553 series เหมาะกับการทํางานกลุมของผูใชตั้งแต 5-15 คน สามารถพิมพไดมากถึง 6,000 หนา ตอเดือน ชวยประหยัดเวลาและประหยัดคาใชจาย เครื่องพิมพซีรียนี้ยังพิมพดวย ความเร็วสูง ใชพลังงานตํา่ สุด สามารถพิมพสองหนาไดรวดเร็ว ประกอบกับตลับโทนเนอรแท JetIntelligence เพิ่มจํานวนหนาพิมพไดมากขึ้นถึง 33% มีประสิทธิภาพการพิมพสูงสุด และเทคโนโลยีที่ปกปองเครื่องพิมพจากหมึกพิมพปลอม อีกทั้งยังเปนครั้งแรกที่ผนวก Google Cloud Print 2.0 ที่สนับสนุนมาตรฐานการพิมพของ Google ดวยแอพพลิเคชั่น Chromebooks และ Chrome OS

New LG Inverter V เครือ่ งปรับอากาศประหยัดพลังงาน บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จํากัด ตอกยํ้าความเปนผูนํา ระดับโลกดานนวัตกรรมเครื่องปรับอากาศระบบอินเวอรเตอร เปดตัว “แอลจี อินเวอรเตอร วี ใหม” (New LG Inverter V) ดวยเทคโนโลยี ประหยัดพลังงานอยางเหนือชัน้ กับฟเจอร “แอคทีฟ เอนเนอรจี คอนโทรล” (Active Energy Control) ผูใชงานสามารถควบคุมการทํางานของเครื่องปรับ อากาศไดถึงสี่ระดับ โดยยังรักษาความเย็นพรอมลดการใชพลังงาน สามารถ ปรับได 3 ระดับ สําหรับระดับที่หนึ่ง “Normal Mode” เครื่องปรับอากาศ จะใหความเย็นเต็มที่ 100% แตประหยัดพลังงานมากกวา เมื่อเทียบกับ เครื่องปรับอากาศทั่วไป หากเลือกระดับที่สอง “80% Power Saving” ชวยประหยัดพลังงานสูงขึ้นรอยละ 20 สําหรับระดับที่สาม “60% Power Saving” ชวยประหยัดพลังงานขึ้นรอยละ 40 และระดับที่สี่ “40% Power Saving” ชวยประหยัดพลังงานไดสูงถึงรอยละ 60 และยังคงมาพรอมฟเจอร “วอยซ เมท” เทคโนโลยีการสั่งงานดวยเสียงที่แอลจีพัฒนาขึ้น เปนแบรนดแรกของโลก ที่สําคัญยังประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

เครือ่ งซักผาฝาหนานําเขาจากญีป่ นุ บริษัท พานาโซนิค เอ. พี. เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําดานการจัดจําหนาย เครือ่ งใชไฟฟาภายในบาน แนะนําเครือ่ งซักผาฝาหนา Made in Japan รุน NA-VX93GL ที่มาพรอมกับเทคโนโลยี Active Foam ระบบตีโฟมเขมขนเพิ่มประสิทธิภาพให ผงซักฟอกสามารถแทรกซึมเขาไปในเนื้อผา ขจัดคราบเลอะฝงลึกตาง ๆ ไดหมดจด และการอบแหงดวย Heat Pump ที่ทรงพลังแตนุมนวล ชวยลดการหดตัวของผาและ ทําใหผานุมฟู พรอมการประหยัดพลังงานดวยระบบ Econavi ที่มีเซ็นเซอรตรวจวัด สิ่ งสกปรก ปริ ม าณผา และชนิดของผาเพื่อ ปรับการทํางานใหเหมาะสม ทําให การซั ก ผ าของคุ ณสะอาดอยางที่ไ มเ คยมีมากอน สอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติม โทร.0-2729-9000

44

May 2015


May 2015 PB


Product Highlight - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

»˜¨¨ØºÑ¹àÃҨоºàË็¹¡Òâ¹Ê‹§ÊÔ¹¤ŒÒ´ŒÇÂö¹µ à¾Ô่Á¢Ö้¹àÃ×่Í æ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ÃŒÒ¹¤ŒÒ ÌҹÊдǡ«×้Í ËÃ×ÍáÁŒáµ‹¼ÙŒãËŒºÃÔ¡Òà ´ŒÒ¹âŨÔÊµÔ¡Ê àͧ¡็ä´ŒËѹÁÒ㪌ö¹µ 㹡Òâ¹Ê‹§ÁÒ¡¢Ö้¹ ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้Âѧ䴌ÁÕ¡ÒôѴá»Å§ µ¡áµ‹§µÒÁÊäµÅ áÅйํÒáºÃ¹´ ¢Í§µÑÇàͧࢌÒÁÒ㪌à¾×่Íâ¦É³Ò»ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÊÔ¹¤ŒÒÍÕ¡´ŒÇ ·Ç‹Ò㹡ÒôѴá»Å§Ã¶ ¡ÃкÐᵋÅФÃÑ้§µŒÍ§ãªŒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁàªÕ่ÂǪÒÞÍ‹ҧÁÒ¡ ´Ñ§¹Ñ้¹ ¨Ö§¨ํÒ໚¹·Õ่¨ÐµŒÍ§ ãËŒ¼ÙŒ·Õ่ÁÕ¤ÇÒÁªํÒ¹ÒÞ㹡ÒüÅÔµ µÔ´µÑ้§ ËÃ×ͼٌ¨Ñ´¨ํÒ˹‹ÒÂࢌÒÁÒª‹ÇÂàËÅ×Í

แครี่บอย คารโก บ็อกซ คูล รถหองเย็น พรอมเครือ่ งทําความเย็น

บริษัท ที.เค.ดี.ไฟเบอร จํากัด ผูผลิตหลังคา “แครี่บอย” หนึ่งในผูนําที่ใหลูกคาสามารถ เลือกดัดแปลงหรือปรับแตงรถกระบะไดครบทุกรุนทุกยี่หอ เชน โตโยตา ไฮลักซ วีโก แชมป อีซูซุ ดีแมคซ อีซูซุ อารที 50 มิตซูบิชิ ไทรทัน นิสสัน นาวารา นิสสัน ฟรอนเทียร ทาทา ซีนอน เชฟโรเลต โคโลราโด มาสดา บีที 50 และฟอรด เรนเจอร รวมถึงรุนและยี่หออื่น ๆ เพื่อตอบสนองทุกการบรรทุก ทุกการใชงานใหลงตัวและเหมาะสมกับทุกธุรกิจ ดวยดีไซน รูปลักษณที่ถูกออกแบบใหรองรับสินคาไดมากกวา เพื่อชวยลดเที่ยวการขนสงใหนอยลง เพิ่มผลกําไรใหธุรกิจ คุณจึงมั่นใจไดวา ทุกการขนสงสินคา และบริการ รวดเร็วทันใจ ประหยัดทั้งเงินและเวลาในการขนสง ซึ่งสินคาภายใตแบรนด “แครี่บอย” ถูกผลิตจาก โรงงานทีม่ มี าตรฐานระดับสากล ผานการออกแบบและกรรมวิธกี ารผลิตสวนตาง ๆ ตรงตาม มาตรฐานอุตสาหกรรมรถยนต

PB 46

May May 2015 2015

ดวยกรรมวิธี การผลิตผนังตูไฟเบอรกลาส คารโก บ็อกซ อันทันสมัยเปนไปตามมาตรฐาน การผลิตของ ATP ประเทศเยอรมัน อีกทั้ง มี ก ารคั ด สรรวั ส ดุ อุ ป กรณ ใ นการผลิ ต เป น อยางดี เชน ผนังไฟเบอรกลาสผิวเจลโคท สี ข าวในตั ว เป น วั ส ดุ นํ า เข า จากประเทศ เยอรมัน ซึง่ ไมมสี ารเคมีตกคาง ปลอดสารพิษ เจื อ ปนและป อ งกั น เชื้ อ ราได เ ป น อย า งดี ทําใหการบรรทุกสินคาประเภทอาหารและ เครือ่ งดืม่ ในการขนสงสินคาไมเกิดการปนเปอ น สารพิษ มัน่ ใจไดวา แครีบ่ อย คารโก บ็อกซ ตรงตามมาตรฐาน German Federal Law on Foodstuffs and Consumer Goods (ไดการ รับรองจากประเทศเยอรมนี) ซึง่ ทาง แครี่บอยไดมุงมั่นพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑปรับปรุงกระบวนการผลิต และการออกแบบให ดู ดี ย่ิ ง ขึ้ น เพือ่ ความพึงพอใจสูงสุดของลูกคา นอกจากนี้ ผลิตภัณฑแครี่บอย ทุกชิน้ ไดรบั การจดทะเบียนสิทธิบัตร ผลิตภัณฑและไดรบั ประกาศนียบัตร จากกรมทรัพยสินทางปญญาวา เปนเจาของทรัพยสินทางปญญา ทีม่ ผี ลงานดีเดน ยิง่ ไปกวานัน้ ยังเปน ผู  ผ ลิ ต หนึ่ ง เดี ย วที่ ข ายดี ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย


Product Highlight - Logistics BARBEER

หากมองถึงเรื่องความใส่ใจในการประกอบ ติด ตั้ง แครรี่บอย คาร์โก บ็อกซ์ คูล ได้มงุ่ เน้นในเรื่องของความเย็นเร็ว เย็นนาน และเก็บอุณหภูมิได้ดีกว่า เช่น การขึ้นรูป โครงสร้ า งด้ ว ยกาวโครงสร้ า งชนิ ด พิ เ ศษ น�าเข้าจากประเทศเยอรมัน ที่ทนต่อรังสี UV ไม่แตกกรอบ หรือแม้แต่ชดุ ประกอบหลังคา ยังถูกออกแบบเป็น 3 ชั้น คือ ชั้นผนัง ภายนอกนั้ น เป็ น ไฟเบอร์กลาสแผ่นเรียบ เจลโค้ทสีในตัว ทนต่อรังสี UV หนา 1.2 มม. ชัน้ ฉนวน ใช้ XPS หนาประมาณ 75-100 มม. ความหนาแน่นประมาณ 35-40 กก./ลบ.ม. และผนังภายในทีไ่ ด้ใช้ไฟเบอร์กลาสแผ่นเรียบ ทนต่ออุณหภูม-ิ 40°C หนาประมาณ 1.0 มม. นอกจากนี้ ในส่วนของตู้บรรทุก คาร์โก บ็อกซ์ คูล มีการออกแบบผนังตู้เป็นระบบ แซนวิส ที่ผลิตจากไฟเบอร์กลาส ไร้รอยต่อ ผิวเจลโค้ทสีขาวในตัว เสริมความแข็งแรงด้วย XPS โฟม แผ่นพื้นด้านล่าง ประกอบด้วย อลูมเิ นียมหนาประมาณ 2.0 มม. พร้อมด้วย ไม้ อั ด กั น น�้ า หนาประมาณ 10.0 มม. EXTRUDED POLYSTPENE FOAM (XPS) และไฟเบอร์กลาส (ST.) หนา 1.0 มม. ท�าให้มีน�้าหนักเบา ส่วนในการยึดเกาะ โครงสร้างตู ้ ไ ด้ ใ ช้ ก าวที่ มี คุ ณ สมบั ติ ท น ต่อแรงดึงและแรงเฉือน ป้องกันแสง UV

ไม่แตกกรอบ ไม่เหลือง ไม่เป็นเชือ้ รา เพือ่ เพิม่ อายุการใช้งานของตู้ นอกจากนีร้ ะบบท�าความเย็น ของตู้บรรทุก ลูกค้าสามารถเลือกระบบการท�าความเย็นได้ตามต้องการอีกด้วย ส�าหรับบริษัท ที.เค.ดี.ไฟเบอร์ จ�ากัด เรียกได้ว่าเป็นผู้น�าด้านการผลิตหลังคาไฟเบอร์กลาส รถดัดแปลงพิเศษ รถบ้าน รถตู้บรรทุก รถพยาบาล รถกู้ภัย ฝาครอบกระบะและชุดตกแต่ง ยานยนต์ชั้นน�ากว่า 1,000 รายการ มียอดจ�าหน่ายสูงสุดในประเทศไทย โดยมีตัวแทน จ�าหน่าย ศูนย์อะไหล่และบริการกว่า 750 แห่งทั่วประเทศ และมีตัวแทนจ�าหน่ายกว่า 150 ประเทศทั่วโลก อีกทั้งยังเป็นผู้น�าเงินตราต่างประเทศเข้าประเทศไทยเป็นอันดับหนึ่งในกลุ่ม อุตสาหกรรมผู้ผลิตหลังคารถปิกอัพและรถดัดแปลง

May May2015 2015 47PB


Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

คารโก มาราธอน 2 ยางประหยัดนํา้ มัน กูดเยียร ประเทศไทย เปดตัวนวัตกรรมยางรุนใหมลาสุด คารโก มาราธอน 2 ทีไ่ ดรบั การออกแบบใหมสี มรรถนะทีย่ อดเยีย่ มเหมาะกับรถกระบะและรถตู ซึง่ จะ ชวยใหรถยนตสามารถโลดแลนบนทองถนนไดในระยะไกลขึ้น ดวยการเพิ่ม ประสิทธิภาพของดอกยางใหสามารถยึดเกาะถนนไดดียิ่งขึ้น รวมถึงยังชวยยืด อายุการใชงานของยางรถยนต และประหยัดคาใชจายในการเปลี่ยนยางใหม ไดอีกดวย นอกจากยางจะใหความทนทานแข็งแกรงยิ่งขึ้นแลว ยังชวยลดแรง เสียดทาน ลดเสียงรบกวนขณะขับขี่ไดอยางดีเยี่ยม ดวยการออกแบบและการ ผลิตเนือ้ ยางรถยนตทมี่ คี ณ ุ ภาพสูงและมีโครงสรางทีแ่ ข็งแรงจะชวยเพิม่ คุณสมบัติ การยึดเกาะถนนที่เปยกลื่นไดดี และชวยลดปญหาการสึกหรอของขอบยาง

WISE ENGINE FLUSH ผลิตภัณฑทาํ ความสะอาดเครือ่ งยนต WISE ENGINE FLUSH ผลิตภัณฑทําความสะอาดเครื่องยนต บริษัท ริชไวสมารเก็ตติ้ง จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนายผลิตภัณฑบํารุงรักษาเครื่องยนตและเครื่องจักรทุกประเภท ภายใตเครื่องหมายการคา WISE เปนสินคาที่พัฒนาและวิจัยดวยเทคโนโลยีสูงสุดใหเขา กับสภาพภูมิอากาศรวมถึงการใชรถของคนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ผลิตภัณฑนี้มีคุณสมบัติ ชวยขจัดกาก ยางเหนียว และสิ่งสกปรกตาง ๆ ภายในเครื่องยนต ทําความสะอาดแหวนลูกสูบ วาลว และระบบวาลวไฮโดรลิค ใชเวลาทําความสะอาดเพียง แค 10 นาที ซึ่งสามารถใชไดกับเครื่องยนตที่มีการสันดาปภายในทุกชนิด

เบาะรถทัวรระบบไฟฟา บริษทั ดํารงศิลปกรุป จํากัด แนะนําเบาะทีน่ งั่ สําหรับรถทัวร V.I.P. รุน AERO EL 2013 (THE COCOON) THE LUXURIOUS COACH SEAT เบาะที่นั่งแบบ 2x1 แบบมีผนังกั้นเพื่อเพิ่ม ความเปนสวนตัว ควบคุมการทํางานดวยระบบไฟฟา ไดแก การปรับเอนนอนดวยระบบไฟฟาสามารถปรับไดสูงสุดถึง 145 องศา และที่พักนองปรับดวยระบบไฟฟา นอกจากนี้ ที่ ว างอาหารด า นหลั ง เป น แบบพั บ เก็ บ ได แ ละมี สิ่ ง อํ า นวย ความสะดวกในการรั บ ประทานอาหารขณะเดิ น ทางให กั บ ผูโดยสาร เชน ตลับวางแกวกระเปาตะขาย สามารถติดตั้งจอทีวีขนาด 7-10.2 นิ้ว ไดดวย ทั้งนี้ วัสดุที่ใชในการหอหุมเบาะ คือ หนังแท กํามะหยี่ PVC จึงทําใหมี นํ้าหนักเบาและชวยลดอัตราการสิ้นเชื้อเพลิงของรถทัวรไดอีกดวย 48

May 2015

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


May 2015 PB


Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ

กามเบรก AIMCO เอมโก โรเทกซ ผูดําเนินธุรกิจผลิต และจัดจําหนายผาเบรก และคลัทช ภายใตการดําเนินงานโดย บริษัท อรรถบูรณ จํากัด ดวยฝมอื การบริหารงานโดยคนไทย มานานกวา 27 ป กามเบรก AIMCO ผลิตภัณฑกามเหล็กคุณภาพที่เหนือกวา ทําจากเหล็ก P.O (PICKLING & OILS) ยืดหยุนตัวสูง คุณภาพเหล็กมาตรฐาน ของแทติดรถ สัดสวนพิกัดมาตรฐาน ประกอบงาย ไมตอ ง ดัดแปลง วงโคงไมบดิ เบีย้ วตลอดอายุการใชงาน เคลือบผิวพิเศษ กันสนิมตลอดอายุการใชงาน ผาเบรกคุณภาพดีกวา ความฝด จับสูง เบรกสนิทไดใจ ไมเกิดอาการลื่นไถล หรือ เบรกไมอยู ใหความรูสึกนุมนวลในการเบรก ทนความรอนสูง ไมกัดจานและดิสเบรก ไมหลุดรอนตลอดอายุการใชงาน

3M เซรามิกฟลม กรองแสงรถยนตระดับพรีเมีย่ ม ฟลม กรองแสงรถยนต 3M รุน เซรามิก แข็งแรงทนทาน ดวยเทคโนโลยี เซรามิกทีเ่ พิม่ คุณสมบัตคิ วามแข็งและหนา โดยมีความหนาถึง 2.5 มิลลิเมตร มีคณ ุ สมบัตเิ ปนฟลม ใสจึงไมเปนอุปสรรคตอวิสยั ทัศนการมองเห็น อีกทัง้ ชวยเพิ่มความสะดวกสบายใหกับผูโดยสารและปกปองอุปกรณภายใน รถยนตไดเปนอยางดี ดวยเทคโนโลยีอันเหนือชั้นของฟลมกรองแสงรุน เซรามิก ชวยมอบความเย็นสบายดวยการสะทอนรังสีอนิ ฟาเรดไดมากกวา ฟลมทั่วไป เพราะคุณสมบัติของนาโนเทคโนโลยีชวยปองกันความรอน จากแสงอาทิตย ซึ่งสามารถสะทอนความรอนไดสูงถึง 59% ของคา ความรอนทีส่ ง ผานเขามา อีกทัง้ ยังสะทอนความรอนจากรังสีอนิ ฟาเรดได สูงถึง 80%

ชุดอุปกรณ PTT DIESEL CNG ใชกบั Isuzu สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. พรอมดวย บริษัท สามมิตร กรีนพาวเวอร จํากัด หรือ SGP (กลาง) ผูผลิตและจําหนายรถ กระบะซีเอ็นจีแบรนดไทยมาตรฐานระดับโลก รวมมือกันพัฒนา ตอยอดเทคโนโลยีชุดอุปกรณ PTT DIESEL CNG ภายใตชื่อ เอสจีพี “เอราวัณ Model I” เพือ่ นําไปใชกบั รถกระบะดีเซล Isuzu ที่ไดรับความนิยมอยางสูงในทองตลาด อีกทั้งเปนการขยายฐาน ลูกคา ทั้งนี้ เทคโนโลยีชุดอุปกรณ PTT DIESEL CNG จากเดิม ที่สามารถใชไดเฉพาะรถ Toyota ปจจุบันสามารถใชไดกับรถ Isuzu เพื่อตอบสนองความตองการผูใชรถกระบะเชิงพาณิชย มี โ อกาสได ใช เ ทคโนโลยี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการใช พ ลั ง งานสู ง ประหยัดเชื้อเพลิง สะดวกตอการใชงาน และวิ่งไดระยะทางไกล สามารถลดตนทุนคาใชจา ยในการขนสงไดสงู ถึง 50% PB50

May May2015 2015


Special Feature จีรพร ทิพย์เคลือบ

ã¹»‚¹Õ้໚¹»‚·Õ่Êͧ¢Í§ÂؤÊÁÑÂáË‹§à¤Ã×่ͧ¹µ ¾Åѧ à·Íà âºã¹¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹¿Íà ÁÅÙ Ò‹ -Çѹ «Ö§่ ÁÕ¡ÒáํÒ˹´ ãËŒ·Ø¡·ÕÁ·Õ่ࢌÒᢋ§¢Ñ¹µŒÍ§»¯ÔºÑµÔµÒÁ¡®¡µÔ¡ÒãËÁ‹ áÅÐ¾Ñ ² ¹ÒÊÙ µ ùํ้ Ò ÁÑ ¹ ãËŒ ÁÕ » ÃÐÊÔ · ¸Ô À Ò¾ÊÙ § ¢Ö้ ¹ «Ö่ § àªÅÅ ä ´Œ ã ªŒ à ·¤â¹âÅÂÕ ¨ ҡʹÒÁᢋ § ¢Ñ ¹ ¿Íà ÁÙ Å ‹ Ò -ÇÑ ¹ ÁÒ·´Êͺ à¾×่ Í ¾Ñ ² ¹Ò¹ํ้ Ò ÁÑ ¹ àªÅÅ ÇÕ-à¾ÒàÇÍà ä¹âµÃ ¾ÅÑÊ ÊํÒËÃѺ㪌§Ò¹º¹ ·ŒÍ§¶¹¹·Ñ่Çä» «Ö่§ÁÕʋǹ¼ÊÁ·Õ่àËÁ×͹¡Ñº¹ํ้ÒÁѹ àªÅÅ ÇÕ-à¾ÒàÇÍà ·Õ่㪌¡Ñºà¤Ã×่ͧ¹µ ÇÕ6 ¢Í§ öᢋ § ·Õ Á Ê¤Ù à ´ÍàÃÕ Â à¿Íà à ÒÃÕ่ ã ¹¡ÒÃᢋ § ¢Ñ ¹ ¿Íà ÁÙÅ‹Ò-Çѹ

พลังเทอรโบในสนามแขงฟอรมูลา-วัน กติกาใหมของการแขงขันนั้นกําหนดใหการใชงานนํ้ามันเชื้อเพลิง ตองนอยลงถึงรอยละ 30-40 เมื่อเทียบกับการแขงขันในป 2013 ทําใหรถแขงของทีมสคูเดอเรีย เฟอรรารี่ที่ใสเครื่องยนตเทอรโบ วี 6 ขนาด 1.6 ลิตร ที่เพียบพรอมดวยเทคโนโลยีไฮบริดและ ระบบ Energy Recovery Systems (ERS) นัน้ จําเปนตองโลดแลน อยูใ นสนามแขงดวยนํา้ มันเชือ้ เพลิงในปริมาณทีน่ อ ยลงพอสมควร แตตองยังคงสมรรถนะที่สูงสุดใหได ความเขมงวดของขอกําหนด ดังกลาวทําใหนักวิทยาศาสตรเชลลตองทํางานอยางหนักเพื่อ คิดคนนํ้ามันสําหรับรถแขงของ ทีมสคูเดอเรีย เฟอรรารี่ ที่ยังคง ไวซึ่งพลังพรอมดวยสมรรถนะที่สมดุลและประสิทธิภาพดาน พลังงานที่สมบูรณแบบ ดวยเหตุนี้รถแขงรุน SF15-T ของทีม สคูเดอเรีย เฟอรรารี่ จึงไดรับนํ้ามันเชลล วี-เพาเวอร รุนใหมที่มี คุณภาพสูงทีส่ ดุ และเมือ่ ผสานการทํางานรวมกับเทคโนโลยี ERS ทําใหรถแขงฟอรมูลา-วันรุนนี้มีประสิทธิภาพสูงที่สุดเทาที่เ คย สรางมา นอกจากนี้ขอกําหนดที่ใหนํ้ามันทุกชนิดที่ใชกับรถแขง ฟอรมูลา-วัน ตองมีสวนประกอบของเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) ในปริมาณรอยละ 5.75 ตอมวล ซึง่ กลายเปนจุดหลักทีน่ กั วิทยาศาสตร ของเชลลไดใชในการมุงเนนเพื่อการวิจัยและพัฒนานํ้ามันเชลล วี-เพาเวอร ในปจจุบัน ทางดานของ Fédération Internationale de l’Automobile หรือ FIA ซึ่งเปนองคกรที่ดูแลการบริหารกีฬา แขงรถมอเตอร สปอรต มีความมุง มัน่ และจริงจังกับการทําใหกฬี ามอเตอรสปอรต มีความสอดคลองกับทรัพยากรพลังงานของโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป โดยในป 2015 FIA ไดกําหนดใหนักแขงแตละคนสามารถเปลี่ยน เครื่องยนตไดเพียง 4 เครื่อง จากเดิม 5 เครื่อง ตลอดฤดูกาล แขงขันฟอรมูลา-วัน แมวาจํานวนการแขงขันกรังดปรีซจะเพิ่มขึ้น

จาก 19 เปน 20 สนามก็ตาม ภาระสําคัญจึงตกมาอยูที่นํ้ามัน เครือ่ งอยาง เชลล เฮลิกซ อัลตรา ในการปกปองเครือ่ งยนตภายใต กติกาการแขงขันที่เขมงวดมากขึ้น และนํ้ามัน เชลล วี-เพาเวอร ที่ มี ส  ว นสํ า คั ญ ในการช ว ยให เ ครื่ อ งยนต ทํ า งานอยู  ใ นสภาพที่ ยอดเยี่ยมตลอดฤดูกาลการแขงขัน นอกจากนี้ นํ้ามันเชื้อเพลิงของเชลลยังถูกออกแบบมาเพื่อชวย ลดแรงเสี ยดทานได อย างต อเนื่อ ง ซึ่งเปนผลจากเทคโนโลยี Friction Modification Technology สูตรเฉพาะของเชลลที่มีอยูใน นํ้ามันหลอลื่น เชลล เฮลิกซ อัลตรา ดวยเชนกัน และเปน เทคโนโลยีที่ทําใหเชลลเขาไปชวยเพิ่มพลังสมรรถนะใหกับทีม สคูเดอเรีย เฟอรารี่ จนสามารถควารางวัลชนะเลิศการแขงขัน ฟอรมูลา-วันประเภททีมผูผลิตไดถึง 10 ครั้ง และรางวัลชนะเลิศ ประเภทนักแขงรวมอีก 12 ครั้ง ขณะที่ มร.ไมค อีวานส หัวหนาโครงการนํ้ามันเชื้อเพลิงสําหรับ รถแขงในรายการฟอรมูลา-วัน จากเชลล กลาววา “เทคโนโลยีของ เชลล วี-เพาเวอร ไนโตร พลัส สําหรับรถยนตทั่วไปบนทองถนน เปนผลโดยตรงจากการทํางานที่เราทํารวมกับเฟอรรารี่ในการ แขงขันฟอรมูลา-วัน และการพัฒนาจะไมหยุดนิ่ง บนสนามแขง ทุกคนลวนตองการเพิ่มสมรรถนะในการขับขี่ใหมากขึ้น แมเพียง เล็กนอยก็มีคาสําหรับชัยชนะและนี่คือปรัชญาที่เชลลนํามาใชกับ ผลิ ต ภั ณ ฑ ทุ ก ชนิ ด ของเชลล สํ า หรั บ รถยนต ทั่ ว ไปบนท อ งถนน เชนกัน เพราะเชลลถือวางานของเราไมเคยจบสิ้น แตเราตอง พยายามพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑของเราใหดียิ่งขึ้นเสมอ”

May May2015 2015 51PB


Renergy

คุณพิชัย ถินสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

พลังงานทดแทนไทย

บนเส้นทางสายวิกฤต

ท่ามกลางความสับสนของประเทศไทยในวันนี้ ตั้งแต่รัฐธรรมนูญ กฎอั ย การศึ ก มาตรา 44 ซึ่ ง มี ก ลุ ่ ม แฟนพั น ธุ ์ แท้ ก ารเมื องและ สื่อมวลชนตามติดสถานการณ์อยู่ ส�าหรับสามัญชนคนเดินดินที่ยัง ต้องหาเช้ากินค�่า หรือต้องหาเงินเดือนมาจ่ายลูกน้องทุกสิ้นเดือน คงจะไม่มีเวลามากนักกับการเมือง ทั้ง ๆ ที่เป็นเรื่องใกล้ตัวเหมือน กัน...พลังงานทดแทนก็เช่นกัน นาทีนี้มีข่าวสับสนจนยากจะหาใคร คนใดคนหนึ่ ง ออกมาตอบทุ ก ค� า ถาม เนื่ อ งจากเป็ น เรื่ อ งของ หลาย ๆ หน่วยงาน หลาย ๆ กระทรวง ซึ่งต่างมีอ�านาจหน้าที่ใน ขอบเขตของตนเอง เคราะห์กรรมจึงตกมาที่ประชาชนคนท�ามา หากินตามเดิม ค�าถามมากมายเรื่องของพลังงานทดแทน เช่น Solar Cell ดีเฉพาะ ปั่นหุ้นใช่ไหม? ชีวมวลมีไม่พอหรือเปล่า? พลังงานขยะต้องติดต่อ เจ้าพ่อหรือไม่? จะปลูกชนิดไหนดีกว่ากันระหว่างหญ้าเนเปียร์กับ กฐินยักษ์? พลังงานลมรัฐไม่ส่งเสริมแล้วหรือ? และมีหลาย ๆ ค�าถามที่ต้องการค�าตอบ ผู้เขียนจะขอวิเคราะห์เป็นข้อ ๆ แล้ว ท่านลองสังเคราะห์เองว่าจะ Go หรือ No พลังงานทดแทน

5252

May2015 2015 May

1. ประเทศไทยโดยกระทรวงพลังงาน ส่งเสริมให้ผลิตพลังงาน ทดแทนมาตั้งแต่ พ.ศ.2549 ด้วยเป้าหมาย 15% ของพลังงาน ที่เราใช้อยู่จริง ๆ ซึ่งปัจจุบันเป้าหมายเพิ่มเป็น 25% แต่ไม่ได้ เตรียมการเรื่องสายส่งไฟฟ้า (Transmission Line) ซึ่งทุกวันนี้ ทั้งประเทศแทบจะไม่มีสายส่งว่าง และที่ส�าคัญก็คือ ที่ไหนมี สายส่งบ้าง ยังเป็นเรื่องไม่เปิดเผย อยากลงทุนตรงไหนก็ไปลุ้น ไปสืบกันเอาเอง 2. ปัญหาจากกฎระเบียบภาครัฐ อาทิ ผังเมือง พ.ร.บ.ร่วมทุน การขอ PPA ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีปัญหาใหม่อีก เช่น ต้องมีการ เสนอราคาขั้นต�่าเพื่อแข่งขัน (Competitive Bidding) ท�าให้ นักลงทุนไม่สามารถวางแผนล่วงหน้าได้ 3. ระยะเวลาการเตรียมโครงการยาวนานเกินไป นอกจากพลังงาน เซลล์แสงอาทิตย์แล้ว พลังงานทดแทนประเภทผลิตไฟฟ้าอื่น ๆ ต้ องใช้ เวลาเตรี ยมการ และขออนุญ าตก่อ สร้า งจนสามารถ จ�าหน่ายไฟฟ้าได้ ต้องใช้เวลา 3.5 - 5 ปี ซึ่งหากเป็นธุรกิจอื่น ๆ คงคืนทุนไปแล้ว 4. พ.ร.บ.พลังงานทดแทน ก�าลังอยู่ในระหว่างเสนอ สนช. เนื้อหา ส่วนใหญ่จะช่วยให้ธุรกิจพลังงานทดแทนดีขึ้น เช่น การไฟฟ้า ทั้ง 3 หน่วยงานต้องรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนก่ อนซื้ อจากเชื้ อเพลิงฟอสซิล และยังเปิดโอกาสให้ เอกชนเข้ามาเป็นเจ้าของโครงข่ายไฟฟ้า เพือ่ ให้บริการขายไฟฟ้า แข่งกับทางการไฟฟ้าทั้ง 3 หน่วยงานได้อีกด้วย เป็นต้น


NO ROOM ส�ำหรับพลังงำนทดแทนไทย

ดูเหมือนว่าพลังงานทดแทนอันเลื่องชื่อของประเทศไทย ดังไปทั่ว อาเซียน มาถึงวันนีไ้ ม่มพี นื้ ทีว่ า่ งให้คนไทยทีส่ นใจได้มโี อกาสลงทุน ทัง้ ๆ ทีม่ ถี งึ 7 ธุรกิจ ทีเ่ ป็นเชิงพาณิชย์และเคยรุง่ เรืองมากในอดีต 1. พลังงำนเซลล์แสงอำทิตย์ (Solar Cell) เป้าหมายวันนี้ ก็คอื 3,800 เมกะวัตต์ ข้อมูลถึงวันที่ 31 มกราคม 2558 มีการ COD แล้ว 1,555 เมกะวัตต์ ด้วยอัตรา FiT 5.66 บาท/หน่วยเป็น 25 ปี แต่ต้องบอกว่า NO ROOM เมื่อเป้าหมายกลายเป็นโควต้า ใครสนใจลงทุนลองใช้กา� ลังภายในดูกแ็ ล้วกัน 2. ชีวมวล (Biomass) จากเป้าหมาย 4,800 เมกะวัตต์ ได้ COD แล้ว 2,429 เมกะวัตต์ อัตรา FiT ใหม่สงู กว่าเดิมเกือบครึง่ ปัญหา การแย่งเชือ้ เพลิงยังเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งเยียวยา แต่ถา้ ท่านเป็นสามัญชน คนเดินดินผู้สนใจจะผลิตไฟฟ้าจากชีวมวลแล้วละก็คงจะหาซื้อ เชื้อเพลิงในระยะยาวได้ยาก หรือจะบอกว่า NO ROOM ก็คง ไม่ ผิ ด ส� าหรั บ การผลิ ต เชื้ อ เพลิ ง อั ด แท่ ง (Biomass Pellets) ซึง่ ภาคเอกชนเดินหน้าไปไกล โดยไม่มนี โยบายใด ๆ จากภาครัฐ สนับสนุน ก็ขอให้อย่ามีมาตรการใด ๆ จากภาครัฐมาท�าให้ ผู้ส่งออก Biomass Pellets ต้องได้รับผลกระทบก็แล้วกัน 3. ก๊ำซชีวภำพ (Biogas) เป้าหมายจาก 120 เพิม่ เป็น 600 และ จบที่ 3,600 เมกะวัตต์ ภายใน 2 ปี เหตุผลก็มาจากการเปลีย่ น รัฐบาลบ่อย ๆ นัน่ แหละ วันนี้ COD แล้ว 235 เมกะวัตต์ จึงมี ROOM มากมายส�าหรับท่าน แล้วจะเริม่ ต้นตรงไหน? น�า้ เสีย ท�า Biogas หมดประเทศไปแล้ว ด้วยฝีมือ สนพ. (ส�านักงาน นโยบายและแผนพลั ง งาน) ขยะก็ ใ ห้ แ ก๊ สน้ อย ไม่ คุ ้ มค่ าการ ลงทุนส่วนหญ้าเนเปียร์ต้องท�า Contract Farming กับชาวไร่ แล้วใครจะให้กเู้ งิน 4. พลังงำนลม (Wind Turbine) เป้าหมาย 1,800 เมกะวัตต์ COD แล้ว 216 เมกะวัตต์ แต่ทางส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการ พลังงาน (สกพ.) งดรับซือ้ แล้ว เนือ่ งจากมีการขอไว้เกินเป้าหมาย ขณะนี้อยู่ในระหว่างอุทธรณ์จากผู้ประกอบการ ก็ต้องตอบว่า NO ROOM เช่นกัน 5. พลังงำนขยะ (Waste To Energy) เป้าหมาย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 15 โครงการ ในปีแรก คงจะต้องขอเวลา ไปอีกนาน ปัญหามากมายจากภาครัฐทั้ง ท้องถิ่น กฎระเบียบเก่ารวมกับกฎระเบียบ ใหม่ สรุปแล้วไปไม่ถูก บอกได้ค�าเดียวว่า “เทคโนโลยีพร้อม นักลงทุนพร้อม ภาครัฐ และขยะยังไม่พร้อม” และอีกสาเหตุหนึ่งที่ ท�าให้โครงการพลังงานขยะท�าท่าจะไปได้สวย ด้วย Road Map ของท่านเจ้ากระทรวงทรัพย์ฯ แล้วจู่ ๆ ก็หยุดนิ่งลง ทั้ง ๆ ที่กระทรวง พลังงานทุ่มทุนเกทับหมดหน้าตัก เพิ่ม FiT เป็นแบบ Premium เพื่อให้เอกชนลงทุน 100% ไม่รบกวนเงินภาครัฐในยามเศรษฐกิจ ติดลบ แต่ปรากฏว่าก็มีหน่วยงานอื่นตั้ง

งบประมาณแจกท้องถิ่นผู้ดูแลขยะทั่วประเทศฟรี ส่งผลกระทบ การลงทุนจากภาคเอกชนอย่างตัง้ ใจ หรือไม่ตงั้ ใจก็ตาม อันทีจ่ ริง น่าจะย้อนดูในอดีต ซึง่ ภาครัฐให้การลงทุนกับขยะมาแล้วนับเป็น แสนล้านบาท ผลก็ออกมาอย่างทีท่ าง คสช. ต�าหนินแี่ หละ 6. เอทำนอล (Ethanol) คือ แอลกอฮอล์ 99.5% ผลิตจากชานอ้อย และมันส�าปะหลัง ใช้ผสมเบนซินพืน้ ฐานทีเ่ ราเรียกว่า แก๊สโซฮอล์ อาทิ E-20, E-85 มีผู้อยู่ในธุรกิจนี้เพียง 15-20 โรงงาน ยังไม่ เต็มก�าลังการผลิต เนื่องจากมีผู้ซื้อน้อยราย และยังมีกฎหมาย อื่น ๆ ที่เป็นอุปสรรค จะบอกว่า NO ROOM ส�าหรับนักธุรกิจ หน้าใหม่ก็คงไม่ผิด 7. ไบโอดีเซล (BioDiesel) ผลิตจากน�้ามันปาล์มดิบ (CPO : Crude Palm Oil) มีบริษัทที่อยู่ในธุรกิจนี้ประมาณ 10 โรงงาน ภาครัฐ ใช้ผสมกับน�้ามันดีเซล 0-7% ขึ้นอยู่กับ CPO ล้นตลาดหรือไม่ โรงงานผู้ผลิตยังใช้ก�าลังการผลิตไม่เต็มที่ ใครจะเข้ามาคงต้องดู ทางหนีทีไล่ให้ดี หรือจะตอบว่า NO ROOM ก็ได้

เมือ่ เป็นเช่นนีแ้ ล้ว...อีกทัง้ สำยส่งก็ไม่มี PEA กับ EGAT ก็ยงั ตกลง กันไม่ได้ แล้วใครจะเป็นพระเอกขี่ม้ำขำวมำชุบชีวิตพลังงำน ทดแทนให้ฟื้นคืน ไม่ NO ROOM เหมือนในปัจจุบัน

May2015 2015 5353 May


Energy Management อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์

Toyota Buzz เดินหนาลดใชพลังงาน ขึ้นแทนผูนําศูนยบริการรถยนตสีเขียว โครงการอนุรักษพลังงานของศูนยบริการ เริ่มตนตั้งแตป พ.ศ. 2555 ซึง่ มาจากแนวคิดของ คุณสุรพล โตวิวฒ ั น กรรมการผูจ ดั การ ไดทาํ การ ศึกษาวิเคราะหหาตนทุนในทุก ๆ ดานทีเ่ กิดจากการทํากิจการของศูนย บริการ ซึ่งผลจากการวิเคราะหพบวา ตนทุนคาใชจายหนึ่งที่มีความ สําคัญมาก และมีสัดสวนสูงก็คือ ตนทุนทางดานพลังงาน โดยเฉพาะ คาไฟฟา มีคา ใชจา ยสูงกวา 6 ลานบาทตอป จึงเกิดแนวคิดทีจ่ ะลดการใช พลังงานโดยเฉพาะคาไฟฟาลงอยางเรงดวน ประกอบกับพนักงาน ทุกคนมีความเห็นพองตองกันที่ตองการมีสวนรวมกันในการลดการใช พลังงานของศูนยบริการลง จึงไดตดิ ตอให บริษทั อินโนเวชัน่ เทคโนโลยี จํากัด มาเปนที่ปรึกษาดานการอนุรักษพลังงานให ซึ่งเริ่มจากการ กําหนดนโยบายการประหยัดพลังงานออกมา โดยเปาหมายที่ระบุไว คื อ “โตโยต า บั ส ส จะดํ า เนิ น การและพั ฒ นาระบบการจั ด การ พลังงานอยางเหมาะสม รวมถึงการติดตามและประเมินผลอยาง ตอเนื่อง ไมมีผลทําใหประสิทธิภาพการบริหารงาน และการให บริการตามพันธกิจของโตโยตาบัสสลดลง”

5454

May May2015 2015

Èٹ ºÃÔ¡ÒÃâµâµŒÒºÑÊÊ ÊÒ¢Òà¡ÉµÃ-¹ÇÁÔ¹·Ã ¡‹ÍµÑ§้ ¢Ö¹ ้ àÁ×Í่ »‚ ¾.È. 2552 ´ํÒà¹Ô¹¸ØáԨ໚¹¼Ùጠ·¹¨ํÒ˹‹ÒÂö¹µ âµâµŒÒ·Õ่ÁÕÂÍ´¢ÒÂáÅÐÂʹࢌÒ㪌Èٹ ºÃÔ¡ÒÃÁÒ¡¡Ç‹Ò 30,000 ¤Ñ¹/»‚ «Ö่§ÁØ‹§à¹Œ¹¡ÒáÃдѺÁҵðҹ¡ÒÃãËŒ ºÃÔ¡ÒÃáÅдÙáÅàÍÒã¨ãÊ‹ÅÙ¡¤ŒÒµÒÁÁҵðҹ TEDAS áÅÐ ISO 14001 â´ÂÀÒÂã¹Èٹ ºÃÔ¡Òà »ÃСͺ仴ŒÇÂâªÇ ÃÁÙ ¢ÒÂö¹µ Èٹ ºÃÔ¡Òà (General Service : GS) áÅÐ Èٹ «Í‹ ÁµÑǶѧáÅÐÊÕ (Body and Paint : BP) ·Õ¾ ่ ÃŒÍÁ Áͺ¤ÇÒÁÊØ¢ãˌᡋ¼ÙŒÁÒ㪌ºÃÔ¡Òà ´ŒÇºÃÔ¡ÒôŒÒ¹Ã¶Â¹µ Ẻ¤ÃºÇ§¨ÃáÅÐÁҵðҹÊÙ§ÊØ´ à¾×่ͤسÀÒ¾·Õ่ÁÑ่¹ã¨ä´Œ

ในการดําเนินโครงการอนุรักษพลังงานของศูนยบริการ มีความมุงมั่น ใหเกิดการใชพลังงานอยางคุมคา ลดการใชพลังงานที่ไมจําเปนลงมาก ที่สุด โดยใชความมีสวนรวมของพนักงานทุกคนเปนแรงขับเคลื่อน จึงไดมกี ารจัดตัง้ ทีมอนุรกั ษพลังงานขึน้ มา โดยมี คุณสุรพล เปนประธาน กรรมการ และมี Synergy Buzz Team ซึ่งเปนพนักงานระดับหัวหนา จากทุกแผนกในศูนยบริการที่มีใจรักตอองคกร คอยสอดสองดูแลการ ใชพลังงานของพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ เพื่อใหเกิดการดําเนินโครงการฯ อยางตอเนื่อง และใหเกิดการปฏิบัติที่แทจริง ซึ่งการันตีไดวา “พื้นที่ ทุกตารางเมตรในศูนยบริการ จะมีผรู บั ผิดชอบดานพลังงานเสมอ”


ดานกิจกรรมการสงเสริมอนุรักษพลังงานไดดําเนินการไปแลวกวา 30 โครงการ ซึ่งมุงเนนการมีสวนรวมของพนักงานภายในศูนยบริการ รวมกับชุมชนภายนอก ตัวอยางเชน กิจกรรมจิตอาสาปลูกปาชายเลน ณ สถานตากอากาศบางปู โดยรวมกับนักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ เตรียมอุดมศึกษานอมเกลา เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอมใหกับเยาวชน ซึ่งจะเปนกําลังสําคัญและมีบทบาทตอ การอนุรักษในอนาคต ดานการปรับเปลี่ยนอุปกรณเพื่อลดพลังงาน เริ่มจาก “การลงทุน ไมมากกอน” และในระยะถัดไปจึงจะมีการพิจารณาถึงการลงทุนขนาด ใหญที่จะตองมีระยะเวลาคืนทุนสั้นเชนกัน หรือ จะตองไมเกิน 5 ป โดยพิจารณาจากระบบที่มีนัยสําคัญดานพลังงานสูงสุด นั่นก็คือ ระบบ ปรับอากาศและระบบไฟฟาแสงสวาง ซึ่งทางศูนยบริการมีเปาหมาย ที่จะใชหลอด LED 100% ในป 2558 นอกจากนี้ทางศูนยบริการก็ให ความสํ า คั ญ ด า นพลั ง งานทดแทนด ว ยการติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต ไฟฟ า พลังงานแสงอาทิตย ถึงแมระยะเวลาการคุม ทุนจะยาวนาน แตทางศูนย บริการก็พรอมสงเสริมใหมีการหันมาใชพลังงานสะอาดเพื่อตอบโจทย ความตองการเปนศูนยบริการสีเขียว

ในด า นสิ่ ง แวดล อ ม ศู น ย บริ ก ารมี ค วามตระหนั ก ถึ ง ความรับผิดชอบที่มีตอชุมชน และองค ก ร รวมทั้ ง สภาพ แวดล อ มในการทํ า งานของ พนั ก งานจึ ง ได จั ด ให มี ก าร ดํ า เนิ น การตรวจวั ด คุ ณ ภาพ สิ่ ง แวดล อ ม ให เ ป น ไปตาม กฎหมาย กฎกระทรวง และขอ กําหนดของ ISO 14001 และ TEDAS ในทุก ๆ ป โดยจะ ทําการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ปล อ งปล อ ยทิ้ ง อากาศเสี ย ของเครื่องอบสี การตรวจวัด คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มบริ เวณ พื้นที่ทํางาน และการตรวจวัด คุณภาพนํ้าทิ้ง ซึ่งผลที่ไดนั้น ผานเกณฑมาตรฐานทั้งหมด พรอมกันนีย้ งั ไดดาํ เนินการปลูกสวนแนวตัง้ เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวสามารถ ตอบโจทย ข  อ จํ า กั ด ในเรื่ อ งของพื้ น ที่ ไ ด เ ป น อย า งดี เพื่ อ เป น การ ประชาสั ม พั น ธ แ ละปลู ก ฝ ง จิ ต สํ า นึ ก ด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิ่ ง แวดล อ มให กั บ ผู  ใช บ ริ ก าร ทางศู น ย บ ริ ก ารได จั ด ทํ า โครงการ “ไมลา งรถ ลดให 100 บาท” เพียงแจงกับพนักงานรับรถวาไมประสงค ที่จะลางรถ ทางศูนยบริการจะลดคาบริการใหทันที 100 บาท จากการ ดําเนินกิจกรรมดานประหยัดพลังงาน โดยการปรับเปลี่ยนอุปกรณ ประหยัดพลังงาน การสงเสริมจิตสํานึกและการมีสว นรวมของพนักงานทุก ระดับชัน้ ทําใหดัชนีการใชพลังงานเทียบกับของศูนยบริการลดลงได มากกวา 10% โดยลดการสูญเสียทีไ่ มจาํ เปนซึง่ ไมสง ผลตอการใหบริการ การดําเนินการดานอนุรกั ษพลังงานของศูนยบริการไมไดหยุดอยูท สี่ าขา เกษตร-นวมินทร เพียงเทานี้ แตจะมีการถายทอดองคความรูท างดานการ อนุรกั ษพลังงานใหกบั บริษทั ในเครือซึง่ มีทงั้ หมด 9 แหง ซึง่ ในระยะแรก เริม่ ทีศ่ นู ยบริการโตโยตาบัสส สาขาเสรีไทย เพชรเกษม ราชพฤกษ และ บริษทั เพือ่ นรวมทางประกันภัย เพือ่ มุง สูเ ปาหมายการเปนศูนยบริการ รถยนตสเี ขียวและเปนตัวอยางใหกบั หนวยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน

“เปาหมายของการเขาดําเนินโครงการไมไดมุงเนนแคการใหความรู หรือสูตรสําเร็จของการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม เทานั้น แตเปาหมายสําคัญอยูที่การกระตุนจิตสํานึกใหพนักงานทุกคนเกิดความตระหนักเห็นความสําคัญของการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอมอยางจริงใจ เรียกวา การอนุรักษตองออกมาจากใจ ไมใชทําไปตามกฎขอบังคับหรือวิธีปฏิบัติ ที่สอน ๆ กันมา” May May2015 2015 5555


Building Management

ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร DGNB คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองประธานสถาบันอาคารเขียวไทย

การตรวจสอบอาคาร

TREES PRE NC

PB56

May May2015 2015


สืบเนื่องจากกฎกระทรวงผังเมืองกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2556 ที่ก�าหนดให้อาคารที่ ออกแบบตามมาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสถาบันอาคารเขียวไทยได้รับ สิทธิประโยชน์ในการเพิ่มพื้นที่ก่อสร้างอาคารได้ 5-20% หรือที่รู้จักกันว่า F.A.R. Bonus (Floor-Area-Ratio Bonus) ด้วยเหตุนี้ สถาบันอาคารเขียวไทยจึงได้จัดท�ามาตรฐาน TREES Pre NC ที่ใช้ในการออกแบบอาคารตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว โดยก�าหนดเกณฑ์ วิธีการและ ขั้นตอนการด�าเนินการเพื่อให้อาคารที่ก�าลังออกแบบได้น�าไปใช้ ซึ่งนอกเหนือไปจากเกณฑ์ การออกแบบ ก็คือขั้นตอนการน�าแบบอาคารไปรับการตรวจรับรองจนกว่าจะได้รับอนุญาต ให้สามารถก่อสร้างอาคาร โดยมีสิทธิประโยชน์พื้นที่อาคารมากขึ้น และหลังจากนั้นเมื่อเริ่ม การก่อสร้างก็ต้องมีกระบวนการตรวจสอบที่สถานที่ก่อสร้าง ซึ่งสถาบันอาคารเขียวไทย จ�าเป็นที่จะต้องให้มีการตรวจสอบว่าการก่อสร้างได้เป็นไปตามเอกสารที่ผู้ออกแบบและ เจ้าของโครงการได้ยื่นขอ F.A.R. Bonus ไว้ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาภายหลังหากท�าการ ก่อสร้างแล้วเสร็จ โดยไม่ได้ด�าเนินการตามเอกสารที่ยื่นไว้ จนท�าให้ไม่ได้รับการอนุญาตเปิด ใช้อาคาร หรือต้องมีการทุบทิ้งอาคารบางส่วน ในระหว่างการก่อสร้างอาคาร ผู้สมัครจะ ต้องจัดให้มี “ผู้ตรวจสอบอาคารเขียว” ท�าการตรวจสอบอาคาร ตามรายละเอียดที่ สถาบันอาคารเขียวไทยก�าหนด ดังนี้

หมวดงานสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม

1) พื้นที่ว่างพื้นที่สีเขียว งานภูมิสถาปัตยกรรม เพื่อตรวจสอบพื้นที่ว่างและพื้นที่ซึมน�้า 2) รุ่นสุขภัณฑ์ ก๊อกน�้า โถส้วม เพื่อตรวจสอบค่าการประหยัดน�้า 3) ระบบเปลือกอาคาร กระจก ฉนวนกันความร้อน และอุปกรณ์บังแดด เพื่อตรวจสอบ ด้านพลังงาน 4) รูปแบบกายภาพทางสถาปัตยกรรมที่สัมพันธ์กับหัวข้อคะแนนต่าง ๆ

หมวดงานวิศวกรรม 1) 2) 3) 4)

ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง หลอดไฟ และก�าลังวัตต์ เพื่อตรวจสอบด้านพลังงาน ระบบประปา สุขาภิบาล บ�าบัดน�้าเสีย เพื่อตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม ระบบปรับอากาศ เพื่อตรวจสอบด้านพลังงาน รูปแบบกายภาพของงานวิศวกรรมที่สัมพันธ์กับหัวข้อคะแนนต่าง ๆ

คุ ณ สมบั ติ ข องผู ้ ต รวจสอบ อาคารเขี ย ว

1. ผู ้ ต รวจสอบที่ ล งชื่ อ รั บ รองการ ตรวจสอบอาคารเขี ย วต้ อ งเป็ น สถาปนิกและวิศวกรทีม่ ใี บอนุญาต ประกอบวิชาชีพ (ระดับภาคี สามัญ หรือวุฒิ) ที่ยังไม่หมดอายุ ณ วันที่ ยื่ น ผลการตรวจสอบให้ ส ถาบั น อาคารเขียวไทยและต้องเป็นผูผ้ า่ น การรับรอง TREES-A จากสถาบัน อาคารเขียวไทย 2. ผู้ที่มีความเกี่ยวข้องหรือท�างานให้ กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เช่น เจ้าของโครงการ ผู้ออกแบบ ผู้รับเหมาก่อสร้าง ผู้ควบคุมงาน ก่อสร้าง และอื่น ๆ จะไม่สามารถ ลงชื่อรับรองการตรวจสอบอาคาร เขียวได้ 3. ผู ้ ต รวจสอบอาคารเขี ย วและผู ้ ที่ ลงชื่ อ รั บ รองการผลตรวจสอบ ต้องเป็นบุคคลเดียวกัน หมายเหตุ : TGBI ขอสงวนสิทธิ์ในการสุ่ม ตรวจอาคารที่ยื่นขอรับรองเกณฑ์ TREESPRE NC 1.1 เพือ่ เป็นการตรวจสอบคุณภาพ ของอาคารที่ยื่นขอรับรองให้สอดคล้องกับ ระดับเกณฑ์ที่ได้รับ

ทั้ ง นี้ สถาบั น อาคารเขี ย วไทยได้ จั ด ท� า รายละเอียดของเกณฑ์ TREES PRE NC ในหมวดต่าง ๆ ในเบือ้ งต้นเพือ่ ให้เข้าใจเกณฑ์ ในภาพรวม หากผู้ใช้ต้องการรายละเอียด เชิ ง ลึ ก ตัวอย่า งการด�าเนินการ รายการ ค�านวณต่าง ๆ รวมทั้งแบบฟอร์มเอกสาร กรอกข้อมูลต่าง ๆ ผูใ้ ช้จะต้องสืบค้นเพิม่ เติม จากหนังสือคูม่ อื TREES-NC 1.1 ของสถาบัน อาคารเขียวไทย และที่เว็บเพจของสถาบันฯ ที่ www.tgbi.or.th ซึ่งจะมีข่าวสารและการ อัพเดทเกณฑ์ TREES ประกาศออกมาเป็น ผู้สมัครส่งเอกสารแจ้งผลการตรวจสอบที่มีการลงชื่อรับรองจากผู้ตรวจสอบอาคารเขียวให้ ระยะ ๆ โดยทั้งนี้ ผู้เขียนจะได้น�าข้อบังคับ ขัน้ ต�า่ และรายละเอียดส�าคัญอืน่ ๆ ของเกณฑ์ แก่กรุงเทพมหานคร และส่งชุดส�าเนาให้สถาบันอาคารเขียวไทยเพื่อทราบ TREES PRE NC มาน�าเสนอต่อไป ผู้ตรวจสอบอาคารเขียว (Green Building Auditor) ท�าการตรวจสอบอาคารตามรายการ ที่สถาบันอาคารเขียวไทยก�าหนด โดยใช้แบบฟอร์มการตรวจสอบอาคารของสถาบันอาคาร เขียวไทยและลงชื่อรับรองการตรวจสอบ ในส่วนของหมวดงานสถาปัตยกรรม ให้สถาปนิก ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ระดับภาคี สามัญ หรือวุฒิ) เป็นผู้ลงชื่อรับรอง และในส่วน ของหมวดงานวิศวกรรม ให้วศิ วกรทีม่ ใี บอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ระดับภาคี สามัญ หรือวุฒ)ิ เป็นผู้ลงชื่อรับรอง โดยสถาปนิกและวิศวกรที่เป็นผู้ตรวจสอบอาคารเขียวต้องเป็นผู้ผ่านการ รับรอง TREES-A จากสถาบันอาคารเขียวไทยด้วย ซึ่งการรับรอง TREES-A ของสถาบัน อาคารเขียวไทยนี้ สถาบันฯ ได้จัดอบรมและสอบวัดความรู้ให้แก่ สถาปนิก วิศวกร นิสิต นักศึกษาและผู้สนใจมาแล้วหลายร้อยคน

May May2015 2015 57PB


Green Logistics

ดร.สิทธิชัย ฝรังทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ระบบการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ ข าดประสิ ท ธิ ภ าพ เมื่อเร็ว ๆ นี้ ผู้เขียนได้น�ำคูปองไปซื้อกล่อง ทีวีดิจิตอล ณ ห้ำงสรรพสินค้ำใกล้บ้ำน ก็พบว่ำ มีประชำชนตื่นตัวต่อกำรน�ำคูปอง มำซื้ อ กล่ อ งที วี ดิ จิ ต อลไปใช้ กั น เพิ่ ม อย่ ำ ง ต่อเนือ่ งและภำวะกำรแข่งขันในตลำดดังกล่ำว มีควำมคึกคักมำกยิ่งขึ้นด้วย โดยมีกำรน�ำ เสนอผลิตภัณฑ์กล่องทีวีดิจิตอลที่ให้ควำม คมชัดมำกขึ้น ซึ่งผู้เขียนก็ได้เดินดูอยู่นำน พบเห็นหลำกหลำยยี่ห้อ แต่ถูกใจยี่ห้อหนึ่ง

โดยพนักงำนขำยได้อธิบำยคุณสมบัติของกล่องทีวีดิจิตอลยี่ห้อดังกล่ำวว่ำ มีควำมคมชัด มำกกว่ำยีห่ อ้ อืน่ อีกทัง้ สำมำรถระบำยควำมร้อนได้ดหี ำกเปิดเป็นเวลำนำน จนท�ำให้ตกลงใจซือ้ โดยมีเงื่อนไขว่ำจะต้องเพิ่มเงินอีกประมำณเท่ำหนึ่งของคูปอง เพื่อจะได้รับเสำอำกำศ และ พนักงำนขำยก็ได้บอกเพิ่มอีกว่ำ ขณะนี้เสำอำกำศหมด จะต้องรออย่ำงน้อยอีก 7 วัน เนื่องจำกไม่มีของในสต็อกและจะต้องท�ำกำรผลิตเพิ่ม แต่ปรำกฏว่ำต้องรอเสำอำกำศจำก ทำงบริษัทที่จัดส่งมำให้ทำงไปรษณีย์นำนถึง 15 วัน ทั้ง ๆ ที่บ้ำนของผู้เขียนและโรงงำนอยู่ ในเขตพื้นที่เดียวกัน จึงโทรศัพท์ไปสอบถำมว่ำ เหตุใดจึงเกิดควำมล่ำช้ำในกำรจัดส่ง ก็ไม่มี ใครให้คำ� ตอบทีช่ ดั เจนถึงสำเหตุของกำรล่ำช้ำ ซึง่ ก็สำมำรถวิเครำะห์ได้เลยว่ำ ระบบกำรจัดกำร โลจิสติกส์ของบริษัทแห่งนี้น่ำจะมีปัญหำหลัก ๆ อยู่ 4 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นแรก คือ ปัญหำเรื่องกำรจัดกำรกำรบริกำรลูกค้ำ เมือ่ เกิดควำมล่ำช้ำจึงโทรไปสอบถำม ปรำกฏว่ำไม่มคี ำ� ตอบทีด่ ี ส�ำหรับลูกค้ำที่เฝ้ำรอ และต้องกำรค�ำตอบที่น่ำพอใจหรือลด ควำมกังวลใจ แต่กลับเพิ่มควำมกังวลใจให้กับลูกค้ำว่ำ จะต้อง รอตำมคิวที่จะจัดส่ง ซึ่งมีกำรสั่งเข้ำมำหลำกหลำยจังหวัด ทั่วประเทศ แสดงให้เห็นว่ำ ระบบกำรจัดกำรกำรบริกำรลูกค้ำ โลจิสติกส์ของบริษัทแห่งนี้มีปัญหำชนิดตกต�่ำมำก เมื่อลูกค้ำ ไม่พอใจจะเกิดกำรบอกต่อ ท้ำยทีส่ ดุ ในอนำคตจะประสบปัญหำ ยอดขำย และส่วนแบ่งกำรตลำดทีล่ กู ค้ำเปลีย่ นใจไปซือ้ ยีห่ อ้ อืน่ ซึง่ อำจจะไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ชนิดนี้ แต่อำจจะรวมถึงผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ที่บริษัทผลิตจ�ำหน่ำยอีกด้วย

58

May 2015


ประเด็นที่สอง คือ ปัญหาเรื่องการพยากรณ์ยอดขายและความต้องการของลูกค้า จะเห็น ได้วา่ ขาดการส่งผ่านข้อมูลต่อกันระหว่างพนักงานขาย ฝ่ายขาย ฝ่ายการตลาด และฝ่ายผลิต ว่าสินค้ารุ่นนี้ แบบนี้ ขายดี เป็นที่นิยมของลูกค้า จึงท�าให้ลูกค้าต้องเสียความรู้สึกในการรอ รับสินค้า ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนการตัดสินใจซื้อสินค้าของลูกค้าต่อบริษัทดังกล่าวได้ ซึ่งการ พยากรณ์ยอดขายและความต้องการของลูกค้านับว่าเป็นกิจกรรมเริ่มแรกของการจัดการ โลจิสติกส์กอ่ นเข้าสูก่ ระบวนการผลิต เคลือ่ นย้ายสินค้า และส่งมอบให้กบั ลูกค้า ธุรกิจส่วนใหญ่ มักผลิตก่อนเพือ่ ขาย และไม่รอให้มคี า� สัง่ ซือ้ ของลูกค้าก่อน แต่จะค่อย ๆ เริม่ ผลิต จากเหตุการณ์ ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การพยากรณ์ยอดขายและความต้องการของลูกค้าของบริษัทยังมี ความคลาดเคลื่อนไปมาก จึงท�าให้ไม่สามารถผลิตสินค้าให้เพียงพอต่อการตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าได้ ประเด็นที่สาม คือ ปัญหาเรื่องระบบการสต็อกสินค้า และสินค้าคงคลังที่มักพบเจอภายใน บริษัท มักเกิดมาจากนโยบายการบริหารการจัดการสินค้าคงคลังไม่ชัดเจน เนื่องจากบริษัท ต้องการที่จะจ�าหน่ายสินค้าที่มีความหลากหลายรองรับต่อความต้องการของกลุ่มลูกค้าให้ ครอบคลุมทุกกลุ่มมากที่สุด เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ซึ่งก็จะท�าให้ต้นทุนใน การจัดเก็บสินค้าสูงขึ้น และโอกาสเสี่ยงที่สินค้าจะล้าสมัยตามไปด้วย รวมถึงนโยบายการ ร่วมมือกับซัพพลายเออร์ในการส่งวัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการการผลิต ท�าให้สินค้า/วัตถุดิบ ขาดสต็อก และผลิตสินค้าไม่ทันส่งตามก�าหนด จากเหตุการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การสต็อกสินค้าของบริษทั ทีจ่ ะเตรียมไว้เพือ่ ขายหรือส่งมอบให้แก่ลกู ค้ายังท�าได้ไม่ดเี ท่าทีค่ วร ท�าให้ลูกค้าไม่ได้รับสินค้าในวันที่มีการสั่งซื้อหรือเตรียมไว้เพื่อขาย ประเด็นที่สี่ คือ ปัญหาเรื่องการจัดการการขนส่งสินค้าให้กับลูกค้า ซึ่งปัจจุบันเข้ามามี บทบาทในการวางแผนและตัดสินใจทางธุรกิจเป็นอย่างมาก เพราะการแข่งขันที่สูงขึ้น ท�าให้ มีผู้ขายมากกว่าผู้ซื้อ หรือเรียกว่าเป็นยุคที่ผู้ขายต้องตามใจผู้ซื้อ ซึ่งการขนส่งสินค้าก็เป็น

ปั จ จั ย ส� า คั ญ ที่ ต ้ อ งมี ก ารจั ด ระบบให้ ดี การส่งของทีต่ รงเวลา สินค้าไม่ชา� รุดเสียหาย ส่งสินค้าได้ถึงที่ห มาย และที่ส�า คัญต้อง ตอบสนองความต้ อ งการต่ อ ลู ก ค้ า อย่ า ง รวดเร็วและมีคณ ุ ภาพ จะเพิม่ ความน่าเชือ่ ถือ และสร้างโอกาสทางธุรกิจให้ประสบความ ส�าเร็จ แต่เหตุการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การจัดส่งสินค้า/ส่งมอบให้แก่ลูกค้ายังท�าได้ ไม่ดีเท่าที่ควร ท�าให้ลูกค้าต้องคอยนาน อย่างไรก็ดี การด�าเนินธุรกิจในยุคนี้ที่มีการ แข่งขันกันสูง ผู้บริหารและผู้ประกอบการจะ ต้ อ งมี ข ้ อ มู ล ประกอบในการวางแผนและ ตัดสินใจทางธุรกิจ เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถ ทางการแข่งขันให้สูงขึ้น โดยต้องน�าแนวคิด การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนมาปรับ ใช้กับธุรกิจ หรือในแต่ละหน่วยงานที่มีส่วน เกีย่ วข้องกับการเคลือ่ นย้ายสินค้าไปข้างหน้า และย้อนกลับทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเริม่ ตัง้ แต่ตน้ ทางคือวัตถุดบิ กลางทางคือ คนกลาง และสุดท้ายปลายทางที่จะต้อง ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่าง ดีเยี่ยมกว่าคู่แข่งขัน May2015 2015 5959 May


O waste idea

รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การลดขยะมูลฝอย… ภารกิจพิชิตโลกรอน สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงกับปญหาโลกรอน

ปญหาโลกรอนเปนที่ทราบกันดีวามาจากการปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมของมนุษย ในปริมาณมาก ไดแก การเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล ประเภทถานหิน นํ้ามัน และกาซ ธรรมชาติ เปนแหลงพลังงาน การทิ้งขยะปริมาณมากในการฝงกลบ การเผาขยะมูลฝอย กลางแจง ผลกระทบของภาวะโลกรอนเปนที่ทราบกันดี ไดแก การละลายของนํ้าแข็งขั้วโลก ระดับนํ้าทะเลที่สูงขึ้น ภัยแลง การแพรระบาดของโรค อุทกภัย และการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศอยางตอเนื่อง โดยประเทศตามแนวชายฝง ประเทศที่เปนเกาะมีความเสี่ยงที่จะ ไดรับผลกระทบมากที่สุด จากเหตุการณสถานการณนํ้าทวมใหญที่สุดในรอบ 140 ป ระดับนํ้าทวมสูงถึง 1.49 เมตร ที่เมืองเวนิส ในป คศ. 2012 ไดสรางความตระหนกถึงปญหาโลกรอนใหกับหลายประเทศ ทั่วโลก รายการโทรทัศนไดออกอากาศใหเห็นวา มีนักทองเที่ยวหลายคนตองเดินตะลุยนํ้า และกระเปาตกหลนไปในนํ้าที่บริเวณจตุรัส St Mark ซึ่งเปนแหลงทองเที่ยวยอดนิยม ของเมืองเวนิสในชวงเวลาตอนเชาตรู ถึงกับตองมีการอพยพผูอยูอาศัยประมาณ 200 คน ออกจากพื้นที่ และประมาณ 70% ของเมือง ซึ่งมีทั้งที่พักอาศัย รานคา สถานที่ทาง ประวัตศิ าสตรบางสวนตองจมอยูใ ตนาํ้ ทําใหมผี ลกระทบตอผูค นทีอ่ าศัยอยูใ นเมือง รวมทัง้ นักทองเที่ยวที่มาเยือนอีกดวย ดังนั้นถึงเวลาแลวที่ทุกฝายตองมาชวยกันลดปญหาโลกรอน และการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดลอมจากการปลอยกาซเรือนกระจกนี้

60

May 2015

แนวทางการลดปริมาณขยะมูลฝอย

ปจจุบันปญหาขยะกําลังเปนปญหาสําคัญ ที่ ส  ง ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มและนั บ วั น ก็ยิ่งสงผลเสียมากยิ่งขึ้น ทั้งผลกระทบทาง ดานอากาศ ผลกระทบทางดานนํ้า และ ผลกระทบดานอื่น ๆ เชน เหตุรําคาญและ ความไมนา ดู สงกลิน่ เหม็นรบกวนประชาชน และเกิดภาพไมสวยงาม เปนตน ดังนัน้ จําเปน ที่จะตองหาแนวทางในการลดปริมาณขยะ ที่ จ ะทิ้ ง ลงสู  ห ลุ ม ฝ ง กลบ ซึ่ ง จะช ว ยลด ผลกระทบของการปลอยกาซเรือนกระจก ตอสิ่งแวดลอมของโลกได ไมวาจะเปนการ รีไซเคิลขยะ การใชประโยชนจากขยะ และ การทําปุยหมัก และผลิตกาซชีวภาพจาก ขยะอินทรีย เปนตน สําหรับแนวทางการลด ปริมาณขยะ มีดังนี้ - ลดการเกิดขยะดวยการสงเสริมการลด การใชซาํ้ และการนํากลับมาใชใหม (3Rs) - ลดการฝงกลบขยะอินทรีย ดวยการ สงเสริมใหแยกขยะอินทรียไ ปใชประโยชน เชน เลี้ยงสัตว ทําปุยหมัก การหมักกาซ ชีวภาพ และการนํากาซชีวภาพจากการ หมักขยะมาใชเปนพลังงานทดแทน - ลดการใชถุงพลาสติก


กรณีศึกษาการลดขยะมูลฝอยของฮองกง

เนื่องจากการเติบโตดานเศรษฐกิจและสังคม ทําใหปริมาณขยะ มูลฝอยของเกาะฮองกงมีปริมาณเพิ่มขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได โดยมี ปริมาณขยะมูลฝอยเพิม่ ขึน้ ถึง 80% ภายในระยะเวลา 30 ปทผี่ า นมา ดังนั้นหนวยงานราชการในฮองกงไดมีการผลักดันวิถีชีวิตรูปแบบ Use Less, Waste Less Lifestyle สําหรับประชาชน และมีการ วางแผนดานเปาหมายของการลดปริมาณขยะมูลฝอยจากเดิมที่ อัตราการเกิดขยะมูลฝอย 1.27 กิโลกรัมตอคนตอวัน ในป คศ. 2011 ใหเหลือเพียง 1.0 และ 0.8 กิโลกรัมตอคนตอวัน ภายในป คศ. 2017 และ คศ. 2022 ซึ่งจะชวยลดปริมาณขยะลงไดถึง 20% และ 40% ตามลําดับ สําหรับรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยนั้น ทางฮองกงมี การวางแผนใหการฝงกลบขยะมูลฝอยตองมีสัดสวนลดลงไมเกิน 22% โดยจะมีนโยบายการสงเสริมการลดปริมาณขยะและการนําขยะ มาใชประโยชนใหไดถึง 55% ภายในป คศ. 2022 ถาหากไปซือ้ สินคาตามรานคาหรือหางสะดวกซือ้ ทีอ่ ยูใ นเกาะฮองกง ผูซ อื้ สินคาจะตองนําถุงไปเอง ทีเ่ รียกวา BYOB (Bring Your Own Bag) ซึ่งเปนนโยบายสงเสริมการลดการใชถุงพลาสติกที่สําคัญ สําหรับนโยบายหลักดานการจัดการขยะมูลฝอยของฮองกง ไดแก - หนวยงานราชการมีการเสนอมาตรการตาง ๆ หลายมาตรการ เพื่อสงเสริมการปองกันการเกิดขยะและการลดขยะมูลฝอยให นอยที่สุด - หนวยงานราชการมีมาตรการสงเสริมใหภาคประชาชนเขามา มีสวนรวมในการแยกขยะมูลฝอย ลดปริมาณขยะ เปนตน - หนวยงานราชการมีมาตรการบังคับใชดานกฎหมายดานขยะ มูลฝอยทีเ่ ขมงวด มีบทลงโทษดานคาปรับในกรณีทง้ิ ขยะไมถกู วิธี การใหผผู ลิตมีสว นรวมรับผิดชอบดานการจัดการขยะของตนเอง ที่เรียกวา Producer Responsibility Schemes (PRS) - หนวยงานราชการมีมาตรการสงเสริมการสรางระบบสาธารณูปโภค ดานการจัดการขยะมูลฝอยที่เพียงพอและเหมาะสม

กรณีศึกษาโครงการลดขยะมูลฝอยในมหาวิทยาลัยของ ประเทศไทย โครงการความร ว มมื อ ขององค ก ร JICA-จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปน ตัวอยางหนึ่งของโครงการลดปริมาณ ขยะมูลฝอยสูการฝงกลบ การจัดการ ขยะอิ น ทรี ย  น้ั น เป น แนวทางหนึ่ ง ที่ เหมาะสมทีจ่ ะนํามาใชเพือ่ ลดปริมาณ ขยะมูลฝอยภายในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นอกจากจะชวยลด ปริมาณขยะจําพวกเศษอาหาร เศษใบไมได โดยทางโครงการฯ ไดมี การออกแบบและติดตั้งถังหมักขยะอินทรียแบบกึ่งแหงกึ่งเปยก สําหรับการจัดการขยะอินทรียปริมาณ 80 กิโลกรัมตอวัน ภายใต งบประมาณความชวยเหลือจากองคกร JICA โดยไดผลผลิตเปน นํ้าหมักจุลินทรียและกาซชีวภาพ ซึ่งกาซชีวภาพที่ไดสามารถนําไป ใชประโยชนในการหุงตมในโรงอาหารได สวนนํ้าหมักจุลินทรีย เหลานั้นสามารถนําไปใชเปนปุยนํ้ารดนํ้าตนไมได เปนกิจกรรมการ ลดขยะมูลฝอยที่ลดโลกรอนไดอีกดวย เมื่อโลกมีสภาพแวดลอมที่ผิดปกติ เราทุกคนจําเปนตองมีสวนรวม ในการชวยกันทําใหโลกของเรากลับมามีสภาพแวดลอมที่ดีดังเดิม ไดแก การลดการใชพลังงาน การลดการเกิดขยะมูลฝอยที่จะตอง กําจัด การปองกันมลพิษที่ตนทาง การเฝาระวังดานสิ่งแวดลอม เปนตน เพื่อฟนฟูโลกของเราทุกคนนะครับ เอกสารอางอิง Sustainable use of resources in Hong Kong Year 2013-2022 by Environmental Bureau

May May2015 2015 6161


Environment Alert

อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิง่ แวดล้อมชํานาญการพิเศษ ศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึ กอบรมด้านสิงิ่ แวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม

ปญหาขยะอิเล็กทรอนิกส... ความจําเปนที่ตองเรงแกไข ขยะอิเล็กทรอนิกส คือ ขยะที่เกิดจากเครื่องใชไฟฟาและเครื่องใช ¨Ò¡¢‹ÒÇ¡ÒÃà¼Ò¢ÂÐÍÔàÅ็¡·ÃÍ¹Ô¡Ê µÒÁËÁÙ‹ºŒÒ¹ªØÁª¹ อิเล็กทรอนิกสตา ง ๆ และไดสง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมเปนอยางมาก ËÃ×ÍáËÅ‹§¢Âе‹Ò§ æ ·Õ่»ÃЪҪ¹¹ํÒÁÒà¼Ò¤Ñ´á¡àÍÒâÅËÐ เนื่องจากปริมาณซากขยะเหลือทิ้งไดเพิ่มจํานวนขึ้นอยางรวดเร็ว ปจจุบันประเทศไทยยังขาดระบบการจัดการซากผลิตภัณฑที่ถูกตอง ÁÕ¤‹Ò仢Ò ¡‹ÍãËŒà¡Ô´¼Å¡ÃзºÁÒ¡ÁÒµ‹ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ตามหลั ก วิ ช าการ เนื่ อ งจากซากผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า และ áÅÐÊØ¢ÀÒ¾¢Í§»ÃЪҪ¹ ¤ÇÒÁÃÙŒã¹àÃ×่ͧ¡ÒèѴ¡ÒâÂзÕ่ อิเล็กทรอนิกสจัดเปนขยะที่มีองคประกอบซับซอนและหลากหลาย ¶Ù¡ÇÔ¸ÕÂѧÁÕ¹ŒÍÂÁÒ¡ â´Â¨Ð¢ÍãËŒ¢ŒÍÁÙÅ¢ÂÐÍÔàÅ็¡·ÃÍ¹Ô¡Ê ประกอบดวยชิ้นสวนและสารจํานวนมาก การจัดการที่ไมเหมาะสม ´Ñ§¹Õ้ จึงอาจทําใหสารอันตราย เชน โลหะหนักและสารหนวงไฟที่อยูใน ซากผลิตภัณฑเกิดการรั่วไหลลงสูสิ่งแวดลอมเปนอันตรายตอสุขภาพ ของประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม ขยะเครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส ยังหมายถึง ปจจุบนั การบริโภคสินคาอิเล็กทรอนิกสเพิม่ ขึน้ ซากเครือ่ งใชหรืออุปกรณซง่ึ ใชกระแสไฟฟาหรือสนามแมเหล็กในการทํางานทีไ่ มไดตามมาตรฐาน อยางรวดเร็ว ทําใหเกิดขยะอิเล็กทรอนิกสขนึ้ จํานวนมาก เนือ่ งดวยอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส (off-spec) หรือหมดอายุการใชงาน หรือลาสมัย ซึ่งแบงเปน 10 ประเภท ไดแก 1. เครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสในครัวเรือนขนาดใหญ เชน ตูเ ย็น เครือ่ งทําความเย็น เหลานี้ ประกอบไปดวย สารพิษอันตราย หลายชนิด เมื่อเลิกใชแลวจะถูกนําไปรีไซเคิล เครื่องซักผา เครื่องลางจาน ฯลฯ 2. เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสในครัวเรือนขนาดเล็ก เชน เครื่องดูดฝุน เตารีด ฝงกลบ หรือเผาทําลาย ซึ่งอาจทําใหสารพิษ เหลานีร้ วั่ ไหลสูส ง่ิ แวดลอม ซึง่ จะสงผลกระทบ เครื่องปงขนมปง มีดโกนไฟฟา ฯลฯ 3. อุปกรณไอที เชน คอมพิวเตอร เมนเฟรม โนตบุค เครื่องสแกนภาพ เครื่องโทรสาร/โทรศัพท ตอสุขภาพของมนุษยโดยตรง สารพิษอันตราย ที่พบมาก คือ โลหะหนัก ไดแก ตะกั่ว (lead) โทรศัพทมือถือ ฯลฯ 4. เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสําหรับผูบริโภค เชน วิทยุ โทรทัศน กลองและ ปรอท (mercury) แคดเมียม (cadmium) โครเมียม (chromium) แบริลเลียม (beryllium) เครื่องบันทึกวีดีโอ เครื่องดนตรีที่ใชไฟฟา ฯลฯ พลวง (antimony) และสารอื่น ๆ ที่สามารถ 5. อุปกรณใหแสงสวาง เชน หลอดไฟฟลูออเรสเซนต หลอดโซเดียม ฯลฯ พบได เชน สารหนวงการติดไฟกลุมโบรมีน 6. อุปกรณเครื่องมือการแพทย (brominated flame retardants) โพลีไวนิล 7. เครื่องมือวัดหรือควบคุมตาง ๆ เชน เครื่องจับควัน เครื่องควบคุมอุณหภูมิ ฯลฯ คลอไรด (polyvinyl chloride, PVC) โพลีคลอ8. ของเลน เชน เกมบอยส ของเลนที่ใชไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ ริเนตไบฟนิล (polychlorinated biphenyls, 9. เครื่องมือไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เชน สวาน เลื่อยไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ PCBs) ไตรฟนิลฟอสเฟต (triphenylphos10. เครื่องจําหนายสินคาอัตโนมัติ เชน เครื่องจําหนายเครื่องดื่มอัตโนมัติ ฯลฯ

62

May 2015


phate, TPP) โนนิลฟีนอล (nonylphenol, NP) และโพลีคลอริเนทเต็ดแนฟทาลีน (polychlorinated naphthalene, PCNs) นอกจากนี้แล้วยังสามารถพบไดอ๊อกซิน (dioxins) และฟิวแรน (furans) ซึ่งจะถูกปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม เมื่อมีการเผาท�าลายขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีสารหน่วงการติดไฟ กลุ่มโบรมีนเป็นส่วนประกอบ ดังนั้น สหภาพยุโรป (EU Directives) จึงได้ออกกฎหมายเพื่อให้ ผูผ้ ลิตสินค้าประเภทนีเ้ ป็นผูร้ บั ผิดชอบรับคืนสินค้าทีเ่ ลิกใช้แล้วเพือ่ น�าไปท�าลายทิง้ และออกกฎหมาย ให้ผู้ผลิตเลิกใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ยังคงมีอตั ราการเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วเมือ่ เปรียบเทียบกับขยะประเภทอืน่ จึงยังคงเป็นประเด็นส�าคัญ ที่ทุกประเทศทั่วโลกให้ความสนใจ จากข้อมูลดังกล่าว ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ถูกจับตามองถึงการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ และความเกี่ยวข้องกับการน�าเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่น�ามาคัดแยกในประเทศไทยและน�าส่งออก เป็นโลหะมีค่า ซึ่งจะเห็นได้จากสื่อต่าง ๆ ที่มีการจัดการไม่ถูกวิธี และสารพิษในบรรยากาศที่เกิด จากการเผาท�าให้มีผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างรุนแรงตามที่ได้น�าเสนอไปนั้น ในการ นี้ใคร่ขอเสนอแนะมาตรการในการจัดการทั้งที่อาจอยู่ในยุทธศาสตร์และกฏหมายที่จะประกาศใช้ เป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ดังนี้ 1. ควรให้ความรู้กับประชาชน และความตระหนักของพิษจากการจัดการคัดแยกการเผาขยะ อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ถูกวิธี และเป็นวาระที่หน่วยงานด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมต้องให้ความรู้ อย่างต่อเนื่อง 2. ควรก�าหนดมาตรฐานการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกวิธีและได้มาตรฐาน และควบคุมความ ปลอดภัยในการจัดการ 3. ควรส่ ง เสริ ม การวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมกั บ ประเทศไทยในการจั ด การขยะ อิเล็กทรอนิกส์ การวิจัยวงจรการจัดการและการก�าจัดที่ถูกวิธี เพื่อการน�าไปใช้ประโยชน์ 4. ให้ผู้ผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ต้องรับผิดชอบต่อการจัดการซากหรือขยะให้ถูกวิธี และเน้นการ น�ากลับมาใช้ใหม่ ซึ่งการน�ามาใช้ใหม่วิธีนี้ช่วยยืดอายุของผลิตภัณฑ์ และลดการใช้ทรัพยากร ที่ต้องเสียไป แต่บ่อยครั้งการน�ากลับมาใช้ใหม่กลับเป็นปัญหาให้กับประเทศที่ก�าลังพัฒนา เมื่อเป็นผู้รับเอาสินค้าที่มีอายุการใช้งานเหลือน้อย ก็ต้องเจอกับปัญหาใหญ่ในการจัดการกับ ขยะเหล่านี้ เมื่อหมดสภาพการใช้งาน 5. จัดท�าฐานข้อมูลการจัดการซากขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ตั้งแต่การน�าเข้าและส่งออก อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 6. มี ก ารติ ด ตามประเมิ น สถานการณ์ ป ั ญ หาขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และเน้ น ความร่ ว มมื อ กั บ ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะแหล่งก�าเนิดหรือแหล่งการจัดการขยะดังกล่าว ต้องติดตามการจัดการ อย่างใกล้ชิด 7. บั ง คั บ ใช้ ก ฏหมายอย่ า งจริ ง จั ง และ น�าเสนอกฏหมายเฉพาะในการจัดการ ให้มีประสิทธิภาพ

จากข้อเสนอทั้ง 7 ข้อ เป็นส่วนหนึ่งของการ จัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ทมี่ อี ยูใ่ นประเทศไทย และนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น จะเห็นได้ จากปั ญ หาการเผาขยะชุ ม ชนที่ มี ก ารน� า ซาก ขยะอิเล็กทรอนิกส์ปนเปื้อน ซึ่งจะมีปัญหากับ สภาพแวดล้อมอย่างรุนแรง เป็นขยะอันตราย ที่ต้องได้รับการดูแลอย่า งใกล้ชิด ทั้งนี้เพื่อ อนาคตของการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ควรให้ ความส�าคัญและเร่งรัดในการก�าหนดยุทธศาสตร์ และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการด� า เนิ น การ อย่างจริงจัง เอกสารอ้างอิง แนวทางการจัดการของเสียและสารอันตราย. http://www.pcd.go.th/info_serv/haz_battery. htm#s6 • Guideline on Material Recovery and Recycling of End-of-Life Mobile Phones. http://www.basel.int/industry/mppiwp/ guid-info/guidmaterial.pdf • ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์. 2553. การเก็บกลับคืน ทรัพยากรและน�ากลับมาใช้ใหม่. กรุงเทพฯ : ส�านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • แนวทางการจั ด การซากหลอดฟลู อ อเรสเซนต์ในประเทศไทย. http://www.pcd. go.th/info_serv/haz_lamp.htm

May May2015 2015 6363


Energy Focus

คุณรุ ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู ้อํานวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุ ตสาหกรรม

ตัวชวยการลงทุนดานพลังงาน »˜¨¨ØºÑ¹¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒõŒÍ§à¼ªÔޡѺÊÀÒÇÐàÈÃÉ°¡Ô¨ªÐÅ͵ÑÇ áÅСÒà ᢋ§¢Ñ¹·Õ่ÃعáçÁÒ¡¢Ö้¹ ¡ÒÃÅ´µŒ¹·Ø¹¡ÒüÅԵ໚¹ÊÔ่§ÊํÒ¤ÑÞÍ‹ҧÂÔ่§·Õ่¨Ð ª‹ÇÂà¾Ô่Á¢Õ´¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹¡ÑºµÅÒ´âÅ¡ä´Œ «Ö่§µŒ¹·Ø¹´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹¶×Í໚¹ »˜¨¨ÑÂËÅѡ㹡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ ·Ñ้§ã¹ÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ÀÒ¤¡Òâ¹Ê‹§ ÃÇÁ件֧ÀÒ¤¸ØáԨÍ×่¹ æ ´Ñ§¹Ñ้¹¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹¨Ö§à»š¹ ¡ÒÃÅ´µŒ¹·Ø¹¡ÒüÅÔµâ´ÂµÃ§ «Ö§่ »˜¨¨Øº¹Ñ ¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹¹Ñ¹้ ÊÒÁÒö·ํÒä´ŒËÅÒÂÇÔ¸Õ ¢Ö¹้ ÍÂÙ¡‹ ºÑ ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁËÃ×ÍÅѡɳÐ੾ÒТͧ ¼Ù» Œ ÃСͺ¡Òà ઋ¹ »ÃÐàÀ·áÅТ¹Ò´¢Í§âç§Ò¹ ÍÒ¤Òà ¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹ à·¤â¹âÅÂÕ ÃÇÁ件֧¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ ໚¹µŒ¹

โดยสวนมากผูป ระกอบการอาจจะเลือกวิธกี ารบริหารจัดการพลังงาน หรือ House keeping ในกรณีที่สถานประกอบการยังไมไดมีการ ดําเนินการดานการอนุรักษพลังงานมากอน แตถาผูประกอบการที่มี การดําเนินการดังกลาวไปแลว ก็จาํ เปนจะตองมีการดําเนินมาตรการ อนุ รั ก ษ พ ลั ง งานขึ้ น ไปอี ก ขั้ น หนึ่ ง ที่ อ าจจํ า เป น ต อ งใช เ งิ น ลงทุ น ซึ่งจุดนี้จะเปนประเด็นปญหาถาผูประกอบการไมมีเงินที่จะลงทุนใน มาตรการประหยัดพลังงาน หรืออาจจะมีเงินลงทุน แตไมแนใจวา จะดําเนินการไดสําเร็จหรือไม ทําใหบางครั้งผูประกอบการตองเสีย โอกาส (Opportunity Loss) ในการประหยัดพลังงานไป ดังนัน้ ตัวชวย ในการลงทุนดานพลังงานโดยใชบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) จึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งของผูประกอบการ บริษัทจัดการพลังงาน (Energy Service Company : ESCO) คือ บริษทั หรือองคกรทีด่ าํ เนินธุรกิจเกีย่ วกับการใหบริการเพือ่ การลงทุน ดานการอนุรักษพลังงาน โดยเขาไปรับดําเนินการตาง ๆ ใหผูรับ บริการหรือลูกคา เพือ่ ประหยัดการใชพลังงานหรือลดตนทุนการผลิตลง แลวแบงผลประโยชนจากการประหยัดพลังงาน พรอมทั้งมีการรับ ประกันถึงผลการประหยัดไวดว ย ในกรณีทผี่ ลการประหยัดไมไดตาม PB64

May2015 2015 May

ที่ตกลงกันไว บริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) ก็จะเปนผูรับผิดชอบ ชดเชยให โดยปกติ ESCO จะมีหนาที่หลัก ดังนี้ - การตรวจสอบการใชพลังงาน - การจัดการโครงการ ซึ่งรวมไปถึงการจัดเตรียมรายละเอียดของ โครงการ - การจัดหาหรือชวยจัดหาเงินทุนดําเนินโครงการ - การตรวจสอบและการใหการรับประกันผลการประหยัดพลังงาน - การบํารุงรักษาอุปกรณ รวมถึงการฝกอบรมบุคลากร


รูปแบบการลงทุนเพือ่ การอนุรกั ษพลังงาน หรือเราอาจจะเรียกงายๆ วา รูปแบบของ การใหบริการของ ESCO สามารถแบงออกเปน 2 รูปแบบหลักๆ ดังนี้ 1. แบบรับประกันผลประหยัด (Guaranteed Saving) รูปแบบนีเ้ จาของโรงงาน/อาคาร จะรับผิดชอบเรือ่ งเงินลงทุนเอง โดย ESCO จะเปนผูร บั ประกันผลประหยัดพลังงานให จากการลงทุนดังกลาว ถาหากภายหลังการปรับปรุงพบวา ไมสามารถประหยัดไดตามที่ รับประกันไว ESCO ก็จะเปนผูจ า ยสวนตางคาพลังงานทีป่ ระหยัดใหแทน

2. แบบแบงปนผลการประหยัด (Shared Saving) รูปแบบนี้ ESCO จะเปนผูลงทุน ในการปรับเปลีย่ นอุปกรณเครือ่ งจักรตาง ๆ เกีย่ วกับการอนุรกั ษพลังงาน โดยมีขอ ตกลง ในสัญญาเกีย่ วกับสัดสวนการแบงผลการประหยัดพลังงานทีไ่ ดกบั เจาของโรงงาน/อาคาร ซึ่งโดยปกติสัดสวนของจํานวนเงินของผลการประหยัดพลังงานที่ไดจะแบงให ESCO มากกวารูปแบบแรก เพราะ ESCO ตองแบกรับความเสีย่ งและคาใชจา ยทีใ่ ชในการลงทุน ไปกอน อยางไรก็ตาม เมื่อครบกําหนดระยะเวลาคืนทุนหรือโครงการแลว อุปกรณ/ เครื่องจักร จะเปนของเจาของโรงงาน/อาคารตอไป

ประโยชนทไี่ ดรบั จากการใชบริการ ESCO การดําเนินโครงการรวมกับ ESCO นัน้ จะสง ผลใหผูประกอบการไดรับประโยชนในดาน ตาง ๆ ดังนี้ - ESCO ช ว ยจั ด หาแหล ง ทุ น ให แ ก ผูประกอบการในการดําเนินโครงการได - ESCO จะรั บ ประกั น ผลประหยั ด / ผลตอบแทนจากการดํ า เนิ น โครงการ และรับผิดชอบสวนตางหากผลประหยัด/ ผลตอบแทนไม เ ป น ไปตามที่ ร ะบุ ใ น สัญญาพลังงาน - ผู  ป ร ะ ก อ บ ก า ร มี ค ว า ม เ สี่ ย ง น  อ ย เนื่ อ งจาก ESCO จะรั บ ผิ ด ชอบการ ดําเนินงานตลอดระยะเวลาโครงทีร่ ะบุไว ในสัญญาพลังงาน (EPC) - มีการตรวจวัดและพิสูจนผลประหยัดที่ ชัดเจน (Measurement and Verification : M&V) ทําใหลดขอขัดแยงหรือขอพิพาท ทีเ่ กิดขึน้ ในการดําเนินงานระหวาง ESCO และผูประกอบการได - ช ว ยลดต น ทุ น ด า นพลั ง งานและรั ก ษา สิ่งแวดลอมทั้งในองคกรและในประเทศ มาถึงตรงนี้คงจะพอเห็นภาพของ ESCO พอสมควรแลววา ESCO คืออะไร มีหนาที่ และมีรูปแบบ รวมถึงประโยชนอยางไรบาง ก็เหลือเพียงแตการพิจารณาและศึกษาหา รายละเอียดเพิ่มเติมวาโรงงาน/อาคารของ ทานเหมาะที่จะใชบริการของ ESCO แลว หรื อ ยั ง และถ า เห็ น ว า เหมาะที่ จ ะใช จ ะมี ขอพิจารณาในการเลือก ESCO อยางไร ตอนนี้ทานสามารถสอบถามรายละเอียด เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ESCO ได ที่ ESCO Information Center สถาบั น พลั ง งาน เพือ่ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ ภายใต การสนั บ สนุ น จาก กรมพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน กระทรวง พลังงาน โทรศัพท 02-345-1250-51 หรือ www.Thaiesco.org ผมหวังวาตัวชวยนี้คงมี สวนชวยใหผปู ระกอบการสามารถลดตนทุน ดานพลังงานและเพิ่มขีดความสามารถใน การแขงขันไดมากขึ้นครับ May2015 2015 65PB May


Greenhouse Gas Management

คุณศุภณัฐ โชติวิทยธารากร นักวิชาการ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

เตรียมความพรอมสูก ลไกเครดิตรวม ไทย-ญีป่ นุ

Joint Crediting Mechanism (JCM)

¨Ò¡¡ÒêÐÅ͵ÑǢͧ¡ÒþѲ¹Òâ¤Ã§¡ÒáÅä¡¡ÒþѲ¹Ò·ÕÊ่ ÐÍÒ´ ËÃ×Í CDM ÀÒÂ㵌 ¾Ô¸ÊÕ ÒÃà¡ÕÂÇâµ «Ö§่ ໚¹·ÕÃ่ ¨ŒÙ ¡Ñ ¡Ñ¹´Õ㹡ÅØÁ‹ ¼Ù»Œ ÃСͺ¡ÒôŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ â´ÂÍÒ¨¨Ðà¹×Í่ §´ŒÇ ÃÒ¤Ò¤Òà ºÍ¹à¤Ã´ÔµÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È·Õ่µ¡µํ่ÒáÅФÇÒÁäÁ‹ªÑ´à¨¹¢Í§¡®¡µÔ¡ÒâÅ¡ ã¹´ŒÒ¹¡ÒÃÅ´¡ Ò«àÃ×͹¡ÃШ¡ ¨Ö§ÁÕ¤ÇÒÁ¨ํÒ໚¹·Õà่ ÃҨеŒÍ§¾Ô¨ÒóҡÅä¡ÃٻẺÍ×¹ ่ ·Õ่ÊÒÁÒöàÊÃÔÁ¡Ò÷ํÒ§Ò¹¢Í§¡Åä¡ CDM 㹡ÒÃÅ´¡ÒûŋÍ¡ Ò«àÃ×͹¡ÃШ¡ áÅÐ Ê‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃŧ·Ø¹¾Ñ²¹Ò»ÃÐà·ÈÊÙ‹Êѧ¤Á¤Òà ºÍ¹µํ่ÒÍ‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ㹻ÃÐà·Èä·Â

กลไกเครดิตรวม หรือ Joint Crediting Mechanism (JCM) เปนกลไกที่พัฒนาขึ้น โดยประเทศญี่ปุน มีวัตถุประสงคหลักเพื่อ สนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยีคารบอนตํา่ แกประเทศกําลังพัฒนา ดวยเหตุนี้จึงเปน ทางเลื อ กที่ น  า สนใจสํ า หรั บ ประเทศไทย ในการกระตุนใหเกิดการลงทุนที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมในประเทศมากยิ่งขึ้น องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) หรือ อบก. ไดดาํ เนินการ อยางตอเนือ่ งเพือ่ เตรียมความพรอมสําหรับ การจัดทําความรวมมือทวิภาคี ไทย-ญี่ปุน JCM รวมทั้งจัดประชุมสัมมนาเพื่อเผยแพร ความรูความเขาใจแกภาคสวนที่เกี่ยวของ โดยลาสุด เมือ่ วันที่ 2 เมษายน 2558 ทีผ่ า นมา อบก. ไดเชิญผูแทนจากรัฐบาลอินโดนีเซีย เปนวิทยากรบรรยาย แลกเปลีย่ นประสบการณ การพั ฒ นาโครงการ JCM ในประเทศ อินโดนีเซีย โดยมีผเู ขารวมการสัมมนา ทัง้ จาก หนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ซึ่งนับ เปนภาคสวนสําคัญดานการลงทุนของไทย

6666

May May2015 2015


Special report หลักการของกลไกเครดิตร่วม ไทย-ญี่ปุ่น JCM

กลไกเครดิตร่วม JCM เป็นการด�าเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกในระดับโครงการ เช่นเดียวกับ กลไก CDM โดยการร่วมลงทุนระหว่างผู้ประกอบการของประเทศญี่ปุ่น กับผู้ประกอบการ ของประเทศก�าลังพัฒนา ในการพัฒนาโครงการเพื่อน�าไปสู่การรับรองคาร์บอนเครดิต ผ่านการประเมินก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ด้วยกระบวนการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ (MRV) และน�าคาร์บอนเครดิตที่ได้มาปันส่วนกันระหว่างผู้ประกอบการทั้งสองฝ่าย โดย รัฐบาลญี่ปุ่นให้การสนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีคาร์บอนต�่า เงินลงทุน รวมถึงการ พัฒนาศักยภาพ ทั้งนี้ โดยมีคณะกรรมการร่วม(Joint Committee) จัดตั้งขึ้น ท�าหน้าที่อนุมัติ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องแนวทางการด�าเนินงาน ขึ้นทะเบียนโครงการ รวมถึงรับรองปริมาณ คาร์บอนเครดิต

โครงสร้างการด�าเนินงานกลไกเครดิตร่วม JCM แสดงดังรูปด้านล่างนี้

ท�าไมกลไกเครดิตร่วม ไทย-ญี่ปุ่น JCM จึงน่าสนใจส�าหรับผู้ประกอบการ

ถึงแม้คาร์บอนเครดิตที่ได้จากการด�าเนินโครงการ JCM จะไม่สามารถซื้อขายได้ ซึ่งแตกต่าง จากกลไก CDM แต่โครงการที่ได้รับการคัดเลือกเป็นโครงการ JCM จะได้รับเงินลงทุนจาก รัฐบาลญี่ปุ่น ในลักษณะ upfront payment โดยอัตราส่วนของเงินทุนที่ได้รับนั้น รัฐบาล ญี่ปุ่นจะพิจารณาเป็นรายโครงการไป จากการสัมมนาที่ผ่านมา Mr. Dicky Edwin Hindarto หัวหน้าส�านักเลขาธิการกลไกเครดิต ร่วม JCM ประเทศอินโดนีเซีย ได้อธิบายถึง รูปแบบการสนับสนุนเช่นนีว้ า่ ท�าให้ผปู้ ระกอบการ มีความมั่นใจต่อการลงทุน ซึ่งได้รับผลตอบแทนที่มีความแน่นอน โดยไม่ต้องกังวลเรื่อง ราคาคาร์บอนในตลาด และจากการพิจารณาโดยผูป้ ระกอบการในอินโดนีเซีย พบว่ามีความ คุ้มทุนมากกว่า นอกจากนี้หลักเกณฑ์การด�าเนินงานกลไกเครดิตร่วม JCM ยังมีความซับซ้อนน้อยกว่า กลไก CDM เช่น ในขั้นตอนการตรวจสอบเอกสารข้อเสนอโครงการ (validation) และการ ทวนสอบปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจก ในกลไกเครดิตร่วม JCM สามารถท�าได้โดยผ่าน ผู้ประเมินภายนอกรายเดียวกัน ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาด�าเนินโครงการโดยรวม

ประเภทโครงการที่น่าสนใจ ในประเทศไทย

เนื่องจากกลไกเครดิตร่วม JCM เน้นในด้าน การถ่ายทอดเทคโนโลยีคาร์บอนต�่า ดังนั้น ประเภทโครงการในประเทศไทยที่จะได้รับ ประโยชน์ และน่าสนใจในการพิจารณาเป็น โครงการ JCM ได้แก่ โครงการผลิตพลังงาน จากขยะ (Waste-to-Energy) โครงการพลังงาน หมุนเวียน และโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน

ความคืบหน้าการเตรียมความพร้อม ในประเทศไทย

เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 ที่ผ่านมา คณะ รัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการ การจัด ท�าความตกลงทวิภาคีกลไกเครดิตร่วม JCM และมอบหมายให้ อบก. เป็นผู้ด�าเนินการ ในรายละเอียดตามกฎหมายและระเบียบที่ เกีย่ วข้อง ในขณะนี้ อยูร่ ะหว่างการพิจารณา ร่างความตกลงทวิภาคี ไทย-ญีป่ นุ่ ซึง่ คาดว่า จะแล้วเสร็จ และมีการลงนามความตกลงฯ ระหว่างรัฐบาลญีป่ นุ่ กับรัฐบาลไทยในเร็ว ๆ นี้ โดยหากมีการลงนามความร่วมมือแล้วในล�าดับ ต่อไป จะมีการพิจารณาจัดตัง้ คณะกรรมการร่วม (Joint Committee) วิเคราะห์ความเป็นไปได้ ของโครงการ (feasibility study) รวมถึงพัฒนา วิ ธี ก ารค� า นวณการลดก๊ า ซเรื อ นกระจก (methodologies) เพื่ อ น� า ไปสู ่ ก ารจั บ คู ่ ด�าเนินงานระหว่างฝ่ายไทยกับฝ่ายญี่ปุ่น เพื่อด�าเนินโครงการในประเทศไทยต่อไป ผู้เขียนเชื่อว่าบทความนี้จะเป็นข่าวดีส�าหรับ ผู้ประกอบการหลาย ๆ ท่าน ที่สนใจลงทุน ในโครงการลดก๊าซเรือนกระจกที่จะได้รับ การสนั บ สนุ น เทคโนโลยี ค าร์ บ อนต�่ า จาก ประเทศญี่ปุ่น โดยผู้ที่สนใจสามารถติดตาม ข้อมูล ข่าวสาร ได้จาก http://www.tgo.or.th หรือส่งค�าถามหรือข้อคิดเห็น เกี่ยวกับกลไก JCM มาที่ thai-jcm@tgo.or.th

May May2015 2015 6767


Green Building นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

โครงการ “บานผีเสื้อ” ผลิตไฟฟาระบบผสมไฮโดรเจน-โซลาเซลล

»˜¨¨ØºÑ¹... ºŒÒ¹¾Ñ¡áÅзÕ่ÍÂÙ‹ÍÒÈÑÂäÁ‹ä´Œ ໚¹à¾Õ§˹Ö่§ã¹»˜¨¨Ñ·Õ่Á¹ØÉ ¢Ò´äÁ‹ä´Œ à¾Õ  §Í‹ Ò §à´Õ Â Ç áµ‹ â Å¡·Õ่ Ë ÁØ ¹ Í‹ Ò § µ‹Íà¹×่ͧ¼ÅÑ¡´Ñ¹ãˌ໚¹ÁÒ¡¡Ç‹Ò “CNX Construction” à» ´ µÑ Ç ·Õ่ ¾Ñ ¡ ÍÒÈÑ Â ·Õ่ ã ªŒ ¾ ÅÑ § §Ò¹ËÁØ ¹ àÇÕ Â ¹â´Â㪌 ¡ ÒÃà¡็ º ¾Åѧ§Ò¹áººäÎâ´ÃਹáË‹§áá¢Í§âÅ¡ ÀÒÂ㵌â¤Ã§¡Òà “The world’s first fully renewable powered hydrogen energy system for a multi house compound” ·ํÒãËŒÊÒÁÒö¹ํÒ¾Åѧ§Ò¹ áʧÍҷԵ ÁÒ㪌䴌 24 ªÑ่ÇâÁ§

PB 68

2015 MayMay 2015

บริษัท CNX Construction ผูใหบริการดานการพัฒนาอสังหาริมทรัพย การกอสราง และเปน ผูวางระบบการกอสรางโครงการบานผีเสื้อ ที่พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนโดยใชการ เก็ บ พลั ง งานแบบไฮโดรเจนแห ง แรกของโลก โดยเชื่ อ มั่ น เป น อย า งยิ่ ง ว า การพั ฒ นาของ เทคโนโลยีดังกลาว จะทําใหทุกอยางราคาถูกลงในอนาคตและจะเปนผลใหมีโปรเจคในรูปแบบ เดียวกันนี้เกิดขึ้นอีกมากมายในเมืองไทย ตอนนี้เฟสแรกของโครงการไดเสร็จลงแลว และระบบ พลังงานก็ไดเริ่มใชกับอาคารสามหลังแรกเปนที่เรียบรอย โครงการพัฒนาบานผีเสื้อตั้งอยูที่จังหวัดเชียงใหม ประกอบไปดวยบานสี่หลังและอาคารอื่น โดยอาคารทุกหลังในโครงการจะใชพลังงานไฟฟาทีไ่ ดจากเซลลแสงอาทิตย (photovoltaic panels) และเก็บพลังงานดวยระบบไฮโดรเจน ซึ่งในชวงเวลากลางวันพลังงานจากแสงอาทิตยที่เหลือ จากการใชงานระหวางวันจะถูกนําไปใชในระบบเทคโนโลยีการแยกไฟฟาดวยนํา้ (electrolysers) เพื่อสรางไฮโดรเจน และไฮโดรเจนดังกลาวจะถูกนําไปเปลี่ยนสภาพกลับไปเปนพลังงานไฟฟา ดวยเซลลเชื้อเพลิง (a fuel cell) สําหรับใชงานในเวลากลางคืน ซึ่งถือเปนความฝนของมนุษย ที่จะใชพลังงานจากแสงอาทิตยไดตลอด 24 ชั่วโมง ถึงแมวาเทคโนโลยีที่บรรจุอยูในบานหลังนี้จะเปนระบบที่ใหมมาก แตสําหรับระบบพลังงาน หมุนเวียนไดมีการใชจริงแลวในหองทดลองของมหาวิทยาลัยชั้นนําทั่วโลกและในหองทดลอง ซึ่งสวนนอยมีการนําระบบเก็บพลังงานไฮโดรเจนที่คลายคลึงกันไปใชในการสํารองพลังงานของ ระบบโทรคมนาคมในพื้นที่หางไกล แตสําหรับบานพักที่อยูอาศัยแลว บานผีเสื้อนี้เปนโปรเจค แรกของโลกที่ไดใชเทคโนโลยีนี้เปนพลังงานสําหรับโครงการพัฒนาอาคารพักอาศัย ซึ่งการ ใชพลังงานสะอาดดวยพลังงานแสงอาทิตย มีขอดีที่เปนแหลงพลังงานที่ไมมีวันหมดและมี อยูตลอด แตติดปญหาเมื่อเวลาที่ไมมีแสงแดด แผงโซลาเซลลก็ไมสามารถผลิตไฟฟาได เราจึง ตองหาวิธีเก็บพลังงานแสงอาทิตยไวใชอยางมีประสิทธิภาพ


ระบบผสมผสานการเก็บพลังงานด้วย ถังไฮโดรเจนจึงเป็นแนวทางที่ดีที่สุด สามารถเก็ บ พลั ง งานได้ อ ย่ า งมี ป ร ะสิ ท ธิ ภ า พและเป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อมเพราะวิ ธี ก ารผลิ ต ก๊ า ซ ไฮโดรเจนใช้ เ พี ย งแค่ แ สงอาทิ ต ย์ และน�้าเท่านั้น ซึ่งทั้งสองสิ่งนี้เป็นสิ่ง ที่มีอยู่อย่างเหลือเฟือในธรรมชาติ การแปลงน�้ า และแสงอาทิ ต ย์ ใ ห้ กลายเป็นก๊าซไฮโดรเจนที่เก็บได้ง่าย และแปลงกลั บ ไปเป็ น ไฟฟ้ า ได้ น้ั น จ�าเป็นจะต้องใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้อง หลักการท�างานที่สามารถอธิบายได้ ง่ายที่สุดของระบบนี้คือ พลังงาน จากดวงอาทิ ต ย์ จ ะโดนแปลงด้ ว ย โซล่าเซลล์เป็นไฟฟ้าส�าหรับใช้ ส่วน ของพลั ง งานที่ เ กิ น มาจะโดนแปลง และเก็บในรูปแบบของก๊าซไฮโดรเจน เมื่อไม่มีแสงอาทิตย์และต้องการใช้พลังงาน เพื่อใช้งาน

จะเอาก๊าซไฮโดรเจนจากในถังออกมาผลิตไฟฟ้า

พลังงานสะอาด 100% และสิ่งเหลือทิ้งหรือ ตกค้างมีเพียงแค่ออกซิเจนและน�้าเท่านั้น

การเก็บพลังงานของบ้านหลังนี้ คือ การใช้พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากแสงอาทิตย์แยกน�้าบริสุทธิ์ให้ กลายเป็นไฮโดรเจนแล้วเก็บไฮโดรเจนไว้ผลิตไฟฟ้า ซึ่งกระบวนการแยกน�้าด้วยไฟฟ้านี้เรียกว่า “อิเลคโตรไลซิส” ส่วนเทคโนโลยีในการแยกน�้าด้วยไฟฟ้านั้นเรียกว่า “อีเลคโตรไลเซอร์” ท�างาน ได้โดยการส่งกระแสไฟฟ้าผ่านน�้าเพื่อให้โมเลกุลของน�้า H2O ถูกแยกออกเป็นไฮโดรเจน (H2) และ ออกซิเจน (O) เมื่อต้องการใช้พลังงานเพิ่มเติมเวลากลางคืน ก๊าซไฮโดรเจนจะโดนน�ามาใช้ใน การผลิตไฟด้วยระบบเซลล์เชื้อเพลิงหรือฟูเอลเซลล์ (Fuel cell) โดยท�าให้เกิดปฏิกิริยาเคมี-ไฟฟ้า ระหว่างออกซิเจนกับไฮโดรเจน ซึ่งเปลี่ยนพลังงานของเชื้อเพลิงไปเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง โดยไม่ผ่านการเผาไหม้

ส� า หรั บ การก่ อ สร้ า งได้ อ อกแบบและติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า จากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ใ ห้ เข้ า กั บ สถาปัตยกรรมของอาคาร จ�านวน 65 กิโลวัตต์ โดยวางแผนจะเพิ่มตัวเลขเป็นเกือบสองเท่าที่ 114 กิโลวัตต์ เมื่อโครงการเสร็จสมบูรณ์ จาก การติดตั้งในส่วนแรกนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ที่ ค่าเฉลี่ย 247 กิโลวัตต์ต่อเดือน ซึ่งพลังงานนี้ มากพอเพียงส�าหรับบ้านพักอาศัยสี่หลังพร้อม อุปกรณ์ไฟฟ้าภายใน เครื่องปั๊มน�้า และงาน ระบบในโครงการทั้งหมด

โรงพลังงานใช้ระบบผสมระหว่างแบตเตอรี่และไฮโดรเจน ท�าให้สามารถดึงประสิทธิภาพสูงสุดออก มาจากทัง้ แบตเตอรีแ่ ละเซลล์เชือ้ เพลิงด้วยการสลับใช้ เพราะแบตเตอรีเ่ หมาะกับการโดนดึงพลังงาน ปริมาณมากไปใช้อย่างรวดเร็วในช่วงสั้นๆ ในขณะที่เซลล์เชื้อเพลิงหรือไฟฟ้าจากไฮโดรเจนนั้น เหมาะกับการโดนน�าไปใช้ในปริมาณมากแต่ต่อเนื่องไปช้า ๆ วิธีการในระบบผสมนี้เป็นการใช้

May2015 2015 69PB May


Green Building ด้านความปลอดภัยของก๊าซไฮโดรเจนส�าหรับบ้านหลังนี้ ถือว่า มีความปลอดภัยมาก หากเปรียบเทียบกับถังก๊าชประเภทอื่น ๆ ทั่วไป รวมไปถึงถังก๊าซ LPG ที่เห็นเป็นปกติในประเทศไทยนั้น ยังมีความอันตรายมากกว่าเสียอีก ซึ่งก๊าซไฮโดรเจนมีน�้าหนัก เบากว่ าอากาศและจะลอยตัวขึ้น สูง เสมอ ด้วยคุณสมบัตินี้ ท� า ให้ แทบจะไม่มีความเป็นไปได้ที่จะรวมตัวกันและเกิดการ ระเบิดขึ้น แม้กระทั่งการทดสอบของแรงระเบิดก๊าซไฮโดรเจน ยังท�าได้ยากมาก โรงงานผลิตรถยนต์ฟอร์ดถึงกับต้องจ�าลองการ ระเบิดของไฮโดรเจนขึ้นมาเพราะไม่สามารถทดสอบความเสีย หายจากการระเบิดของไฮโดรเจนตามธรรมชาติได้และแม้ว่า ได้ ท ดลองระเบิ ด จ� า ลองของถั ง ไฮโดรเจนแล้ ว ก็ ยั ง พบความ เสียหายที่น้อยกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น ๆ รวมไปถึงการระเบิดของ น�้ามันจากรถยนต์เสียอีก ถังก๊าซไฮโดรเจนมีความปลอดภัยและดูแลง่าย เพียงแค่ต้อง ติดตั้งและออกแบบให้มีพื้นที่ส�าหรับการถ่ายเทอากาศในกรณีที่ เกิ ด การรั่ ว เพื่ อ ให้ ก ๊ า ชลอยตั ว ขึ้ น สู ง และออกจากห้ อ งไปได้ โดยหลักการแล้วไม่มีความเสี่ยงในการระเบิดของก๊าซไม่ว่าจะเกิดประกายไฟหรือไฟลุก เนื่องจาก ความเบาของมวลก๊าซจะส่งผลให้ก๊าซลอยขึ้นสูงอย่างรวดเร็วท�าให้ไม่เกิดการกองตัวของก๊าซ ตามกฎป้องกันอัคคีภัยได้กล่าวถึงไฮโดรเจนว่า ถึงแม้จะเป็นสารติดไฟแต่ก็ไม่มีความเสี่ยงเนื่องจาก การลอยตัวขึ้นสู่อากาศอย่างรวดเร็ว และสามารถใช้อุปกรณ์ดับเพลิงมาตรฐานในการดับไฟได้ สมาคมป้องกันอัคคีภัยแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาได้จัดค่าก๊าซไฮโดรเจนเป็นศูนย์ส�าหรับค่าความ อันตรายต่อสุขภาพอนามัย ความไวไฟ และความไวต่อปฏิกิริยา ซึ่งแปลว่ามีความปลอดภัยและไม่ อันตรายมากไปกว่าสารติดไฟอื่นๆ เช่น ไม้ และยังมีความเสถียรและไม่มีปฏิกิริยากับน�้า ไฮโดรเจน ได้รับการจัดล�าดับด้านความปลอดภัยทั้งในแง่สุขภาพและความอันตรายไว้ต�่ากว่าแก๊สที่ใช้การหุง ต้มปกติเสียอีก หากจะกล่าวถึงการใช้เซลล์เชื้อเพลิงในปัจจุบัน ต้องยอมรับว่ามีการใช้แพร่หลาย แต่เทคโนโลยีการ แยกไฟฟ้าด้วยน�้ายังไม่มีการน�ามาใช้มากนัก ถึงแม้ว่าจะมีโครงการบ้านพักอาศัยหลายแห่งที่ติดตั้ง เพราะความใส่ใจในสิ่งแวดล้อมและเพื่อการศึกษาหรือทดลองของเจ้าของบ้างแล้วก็ตาม แต่ก็ยัง ไม่เคยมีโครงการไหนที่น�าการเก็บพลังงานในรูปแบบนี้มาใช้กับอาคารพักอาศัยที่แยกกันหลายหลัง มาก่อน จึงเรียกได้ว่าโครงการบ้านผีเสื้อถือเป็นโครงการที่ใช้ระบบการกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยการแปลงเป็นก๊าซไฮโดรเจนเพื่อการใช้อุปโภคส�าหรับกลุ่มอาคารที่พักอาศัยที่แยกกันเป็น เอกเทศเป็นแห่งแรกของโลก แนวคิดการจัดสร้างระบบแบ่งปันโรงพลังงานศูนย์กลางส�าหรับอาคารพักอาศัยหลายอาคารแบบนี้ จะช่วยให้การสร้างโรงพลังงานไฮโดรเจนแบบนี้เกิดขึ้นได้ง่ายกว่า เพราะสามารถลดค่าลงทุนและ ค่าใช้จ่ายส�าหรับผู้อยู่อาศัยในแต่ละหลังลงได้ ซึ่งเทคโนโลยีนี้มีศักยภาพและมั่นใจว่าในอนาคตจะ มีการพัฒนาเทคโนโลยีการแยกไฟฟ้าด้วยน�้า (อีเลคโตรไลเซอร์) และเซลล์เชื้อเพลิง (ฟูเอลเซลล์) มากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อมีการผลิตในปริมาณมากราคาย่อมต�่าลงและจะท�าให้ผู้คนทั่วโลกหันมาใช้ พลังงานสะอาดจากไฮโดรเจนอย่างแน่นอน ระบบของโครงการบ้านผีเสื้อได้ติดตั้งถังไฮโดรเจนขนาด 1,000 ลิตร จ�านวน 3 ถัง ที่ความดัน 30 บาร์ สามารถเก็บไฮโดรเจนได้ที่ 90,000 ลิตร น�ามาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 120 กิโลวัตต์ ผ่านเซลล์เชือ้ เพลิง สามารถจ่ายกระแสไฟ 4 กิโลวัตต์ ได้ 30 ชัว่ โมงจากพลังงานทีเ่ ก็บไว้ในแบตเตอรี่ เมื่อเวลาที่ต้องการใช้ในเวลาที่อากาศไม่ดี เช่น มีแดดน้อยหรือมีเมฆหมอกบัง ก็ยังคงสามารถผลิต พลังงานจากแสงอาทิตย์ได้เล็กน้อยและก็สามารถใช้พลังงานได้อีก 2-3 วัน

70

May 2015

ระบบในรูปแบบนี้มีหลายจุดส�าคัญที่คุ้มค่าแก่ การลงทุน ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพของพลังงานที่ ได้สูงมาก หากมีเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนที่มี ราคาสูง เช่น เครื่องเสียง หรือ คอมพิวเตอร์ จะได้รับผลประโยชน์ที่หาที่เปรียบไม่ได้จาก ความสะอาดของกระแสและคลื่นไฟฟ้าที่เสถียร และสมบูรณ์แบบ คุณภาพเหล่านี้รวมถึงการ ไม่เกิดไฟกระชาก ไฟกระตุก ไฟตก หรือ แม้กระทั่งไฟดับ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ช่วยท�าให้เครื่อง ใช้ ไ ฟฟ้ า ทั้ ง หลายมี อ ายุ ก ารใช้ ที่ ย าวนานขึ้ น จะไม่มีทางขาดไฟฟ้า และไม่จ�าเป็นที่ต้องมี เครื่องผลิตกระแสไฟด้วยน�้ามัน อาหารแช่แข็ง และไวน์ราคาแพงจะไม่มีปัญหาเรื่องการรักษา ระดับอุณหภูมิคงที่ถึงแม้ว่าภายนอกจะมีการ ตัดกระแสไฟฟ้าจากพายุและเหตุฉุกเฉินต่างๆ

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ส�าหรับตัวเลขการวัดผลตอบแทนในการลงทุน ณ วันที่ราคาค่าไฟที่ 5-6 บาทต่อกิโลวัตต์ จะต้องใช้เวลาในการคืนทุนที่ 15 ปี แต่หาก ระบบดังกล่าวได้การยอมรับและพัฒนาระบบ อย่างกว้างขวาง คาดว่าราคาในการพัฒนา ระบบที่คล้ายกันจะลดต้นทุนลงได้อย่างรวดเร็ว ในช่วง 3-5 ปีที่จะถึงนี้ ซึ่งจะท�าให้ผลตอบแทน คืนทุนได้เร็วกว่าที่คาดการณ์ไว้อย่างแน่นอน


May 2015 PB


Green Industrial จีรพร ทิพย์เคลือบ

หนุนโรงไฟฟาชีวมวล ผลพลอยไดจากกากออย ÍŒÍÂ໚¹¾×ªÍصÊÒË¡ÃÃÁã¹Í´ÕµãªŒ¼ÅԵ໚¹¾×ªÍÒËÒä×͹ํ้ÒµÒÅ·ÃÒÂà¾Õ§Í‹ҧà´ÕÂÇ áµ‹ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ÍŒÍÂÁÕº·ºÒ··Õ่ÊํÒ¤ÑÞ ã¹¡ÒÃ㪌¼ÅԵ໚¹¾×ª¾Åѧ§Ò¹¤×Í àÍ·Ò¹ÍÅ à¾×Í่ ·´á·¹¡ÒÃ㪌¹Òํ้ Áѹàª×Í้ à¾ÅÔ§ÊํÒËÃѺö¹µ ໚¹¼Å¾ÅÍÂä´Œ·ãÕ่ ªŒ¼ÅÔµ»Ø‰ ÍÔ¹·ÃÕ ªÑ¹ ้ ´Õ¡Ò¡ÍŒÍÂ㪌¼ÅԵ俿‡Òä´ŒÍÕ¡´ŒÇ ¹ÑºÇ‹ÒÍŒÍÂÁÕ¤ÇÒÁÊํÒ¤ÑÞÊÒÁÒö¹ํÒÁÒ¼ÅԵ໚¹¼ÅÔµÀѳ± µ‹Ò§ æ ä´ŒÁÒ¡ÁÒ ¨.ºØÃÕÃÑÁ «Ö§่ ໚¹¨Ñ§ËÇѴ˹่֧ ã¹ÀÒ¤µÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í ·Õ» ่ ÅÙ¡ÍŒÍÂÁÒ¹Ò¹áÅÐÁÕ¾¹ ×้ ·Õ» ่ Å١͌͡NjÒáʹäË ÁÕâç§Ò¹¹ํÒ้ µÒÅ·Õã่ ËŒ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ áÅзÕ่ÃѺ¼Å¼ÅÔµ¢Í§à¡ÉµÃ¡ÃÁÒ¼ÅԵ໚¹¹ํ้ÒµÒÅ·ÃÒÂ¡Ç‹Ò 50 »‚ ¤×Í âç§Ò¹¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁÂ

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย จํากัด (มหาชน) กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2507 แตเดิมชื่อบริษัท โรงงานนํ้าตาลสหไทยรุงเรือง (2506) จํากัด ดวยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 2 ลานบาทประกอบ กิจการโรงงานนํา้ ตาลทราย โดยมีกาํ ลังผลิตเริม่ ตนเพียง 3,003 ตันตอวัน ตอมาในปพ.ศ. 2529 ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย จํากัด เปนหนึ่งในบรรดาผูบุกเบิกอุตสาหกรรม นํ้าตาลของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีนายวิเชียร ตั้งตรงเวชกิจผูริเริ่มปลูกออยและ สงเสริมใหเกษตรกรปลูกออยในจังหวัดบุรีรัมย ทั้งนี้ ดําเนินงานภายใตแนวคิด “นํ้าตาล สรางในไร” โดยมุงเนนใหความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรชาวไรออย เพื่อใหไดออยที่มีคุณภาพและสะอาด ปจจุบันมีชาวไรออยในสังกัดราว 15,000 ครอบครัว ครอบคลุมพืน้ ทีเ่ พาะปลูก 200,000 ไร ในรัศมี 40 กิโลเมตรรอบโรงงาน ซึง่ นอกจากธุรกิจหลัก ในการผลิตนํา้ ตาลทรายขาวและนํา้ ตาลทรายดิบเพือ่ จําหนายภายในประเทศและสงออกแลว

PB72

May May2015 2015

กลุมบริษัทดําเนินธุรกิจผลิตและจําหนาย นํ้ า ตาลทรายดิ บ นํ้ า ตาลทรายขาวสี รํ า ทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมถึงนํา วัตถุดิบจากกระบวนการผลิตนํ้าตาล เชน กากออย กากหมอกรอง และกากนํ้าตาล มาใช ต  อ ยอดกั บ ธุ ร กิ จ อย า งครบวงจรมา ตอยอดธุรกิจแบบครบวงจร คือ โรงไฟฟา เชือ้ เพลิงชีวมวลวิจยั และพัฒนา การสงเสริม การปลูกออย และโรงงานปุยอินทรีย เมือ่ ทุกอยางเริม่ ลงตัวและประสบความสําเร็จ เปนทีร่ จู กั แพรหลายมากยิง่ ขึน้ บริษทั นํา้ ตาล บุรรี มั ย จํากัด (มหาชน) ไดเริม่ ลงทุนกอสราง โรงไฟฟาชีวมวลทีใ่ ชกากออยเปนเชือ้ เพลิงหลัก 100% (450 ตัน/วัน) ในนาม บริษัท บุรีรัมย พลังงาน จํากัด มีกาํ ลังการผลิต 9.9 เมกกะวัตต โดยใชระบบสายพานลําเลียงกากออยจาก บริษทั โรงงานนํา้ ตาลบุรรี มั ย จํากัด และไฟฟา ที่ผลิตไดจําหนายสูการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) จํานวน 8 เมกกะวัตต โดยเริม่ ขายไฟ ตัง้ แตวนั ที่ 11 พฤษภาคม 2555 หลังจากนัน้ ไดดาํ เนินการกอสรางโรงไฟฟาแหงที่ 2 ในชือ่ “บริษทั บุรรี มั ยเพาเวอร จํากัด” ซึง่ มีกาํ ลัง ผลิตเทากับโรงไฟฟาโรงแรกและจําหนาย ไฟฟาใหการไฟฟาภูมิภาคที่ 8 เมกกะวัตต เชนกัน


คุณอนันต์ ตัง้ ตรงเวชกิจ ประธานกรรมการ บริหาร บริษทั น�า้ ตาลบุรรี มั ย์ จ�ากัด (มหาชน) หรื อ BRR ได้ เ ล่าถึง น�าผลพลอยได้จาก กระบวนการผลิตน�้าตาลทรายต่อยอดทาง ธุรกิจสู่พลังงานทดแทนว่า บริษัทฯ ได้เปิด โรงไฟฟ้ า พลั ง งานชีว มวลแห่ง ที่ 2 หรือ โรงไฟฟ้าบุรีรัมย์พาวเวอร์ ก�าลังการผลิต ไฟฟ้ า รวม 9.9 เมกะวัต ต์ โดยเลือกใช้ ชานอ้อยซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการผลิต น�้ า ตาลทรายมาเป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต เมื่อรวมก�าลังการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า แห่งแรก หรือ บุรีรัมย์พลังงาน ท�าให้มีก�าลัง การผลิตรวมเกือบ 20 เมกะวัตต์

ต่อมามีการเปิดโรงไฟฟ้าชีวมวลแห่งที่ 2 ถือเป็นการตอกย�า้ ให้เห็นถึงศักยภาพการด�าเนิน ธุรกิจที่มุ่งน�าผลพลอยได้จากกระบวนการ ผลิตน�้าตาลมาต่อยอดสร้างมูลค่าสูงสุดให้ แก่ธุรกิจพลังงานทดแทนเพื่อผลักดันรายได้ คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และก�าไรสูงสุด ที่ส�าคัญโรงไฟฟ้าของ BRR ยังได้รับอานิสงส์จากการเปลี่ยนนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากนโยบายภาครัฐ ที่มีการปรับ เปลี่ยนระบบการซื้อไฟฟ้าจาก adder เป็น Feed-in-Tariff หรือ FiT ที่มีผลให้ราคาจ�าหน่าย ไฟฟ้าปรับเพิ่มขึ้นจากเดิมหน่วยละ 3.60 บาท เป็น 4.53 บาทต่อหน่วยหรือเพิ่มขึ้น 0.93 บาทต่อหน่วย

นโยบายระบบการรับซื้อไฟฟ้าดังกล่าว ช่วยส่งผลดีต่อ BRR ในการเพิ่มขีดความสามารถ สร้างรายได้จากธุรกิจพลังงานทดแทนในปี 2558 เพิ่มเป็น 450 ล้านบาท แบ่งเป็นรายได้ จากธุรกิจโรงไฟฟ้าแห่งที่ 2 ประมาณ 250 ล้านบาทและโรงไฟฟ้าแห่งแรกอีก 200 ล้านบาท บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จ�ากัด โรงไฟฟ้า ส่งผลให้สัดส่วนรายได้เพิ่มเป็น 10% จากเดิมที่มี 5% ของผลการด�าเนินงานรวมของ ชีวมวลแห่งแรก เป็นโรงไฟฟ้าขนาดเล็กก�าลัง บริษัทฯ และยังท�าให้สัดส่วนก�าไรเพิ่มเป็นกว่า 30% จากเดิมที่มีสัดส่วนก�าไรอยู่ที่ 20% ผลิต 9.9 เมกกะวัตต์ เคยได้รบั รางวัลโรงไฟฟ้า อีกด้วย สีเขียว ภายใต้โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว โดยกระทรวงอุตสาหกรรมทีม่ งุ่ สูอ่ ตุ สาหกรรม สี เขี ย วที่ เ น้ น การพั ฒ นาอย่ า งสมดุ ล และ ยั่งยืน นับเป็นหัวใจส�าคัญในการขับเคลื่อน โครงการต่าง ๆ ภายใต้การก�ากับดูแลของ กระทรวงอุตสาหกรรม ที่ต้องการให้การ เติบโตทางเศรษฐกิจของภาคธุรกิจอุตสาหกรรม มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ศั ก ยภาพและความ เป็นไปได้ของระบบนิเวศ รวมทั้งความสุข ของสังคม

May May2015 2015 73PB


Green Industrial

ล่าสุด จัดตั้ง บริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์พลัส จ�ากัด ซึ่งได้ด�าเนินการจดทะเบียนจัดตั้งต่อ กระทรวงพาณิชย์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อรองรับแผนงานขยายธุรกิจพลังงานทดแทนของ BRR ที่มีแนวทางขยายธุรกิจเพิ่มเติมต่อไป ส�าหรับโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลแห่งที่ 2 ของ BRR ถือเป็นโรงไฟฟ้าต้นแบบแห่งแรกของไทยทีภ่ าครัฐรับซือ้ ไฟฟ้าจากภาคเอกชนในรูปแบบ FiT แทนระบบ Adder ที่มีราคาขายต่อหน่วยสูงขึ้น ซึ่งถือเป็นแรงจูงใจที่เอื้อให้ภาคเอกชน ลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนเพิ่มเติม โดย BRR ตั้งเป้าหมายวางแผนการลงทุนโรงไฟฟ้า พลังงานชีวมวลโรงที่ 3 เพื่อรองรับนโยบายของภาครัฐดังกล่าวและรองรับความต้องการใช้ ไฟฟ้าภายในประเทศที่เพิ่มขึ้นสูงขึ้นทุกปีอีกด้วย

นอกจากการสร้างโรงไฟฟ้าแล้ว ยังได้เริ่ม จัดตั้ง บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จ�ากัด ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2554 โดยน�า “กากหม้อกรอง” (Filter Cake) ซึ่งเป็นสิ่งเหลือใช้จากกระบวนการ ผลิตน�้าตาลทราย มาเป็นวัตถุดิบหลักใน การผลิ ต ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ แ ละปุ ๋ ย เคมี อิ น ทรี ย ์ โดยเน้ น สู ต รปุ ๋ ย ที่ ส นองความต้ อ งการ สารอาหารของอ้อยโดยเฉพาะ บริษัท ปุ๋ย ตรากุญ แจ จ�า กัด มีป ณิธานที่จะมุ่งผลิต ส�าหรับเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นเชือ้ เพลิงจากกากอ้อยทีจ่ ะรับจาก ปุ ๋ ย คุณภาพดีเพื่อสนองความพึงพอใจของ โรงงานน�้าตาลบุรีรัมย์ซึ่งตั้งอยู่ติดกับอาณาเขตที่ดินด้านทิศตะวันออกของพื้นที่โครงการ ลูกค้าพร้อมทั้งมุ่งพัฒนาคุณภาพสินค้าและ โรงไฟฟ้าโดยโรงไฟฟ้ามีปริมาณการใช้เชื้อเพลิง 120,000 ตัน/ปี (400 ตัน/วัน) ในขณะที่ บริการอย่างต่อเนื่อง โรงงานน�า้ ตาลบุรรี มั ย์มปี ริมาณกากอ้อย 440,000 ตัน/ปี (ประมาณการอ้อยที่ 2,000,000 ตัน) ซึง่ การขนส่งเชือ้ เพลิงชีวมวล (กากอ้อย) ของโครงการจะท�าการขนส่งโดยใช้สายพานล�าเลียง กากอ้อยจากลานกองเชื้อเพลิงของโรงน�้าตาลบุรีรัมย์ ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 35 ไร่ เชื้อเพลิง จะถูกขนส่งล�าเลียงผ่านสายพานและน�าเข้ามาเก็บไว้ในอาคารเก็บเชื้อเพลิง (Fuel Storage Building) ขนาด 72.0 X 36.0 เมตร ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นที่ 1.62 ไร่ ภายในพื้นที่โครงการ และ เมื่อเชื้อเพลิงถูกส่งมาถึงบริเวณพื้นที่อาคารเก็บเชื้อเพลิง ในการล�าเลียงเชื้อเพลิงนั้น จะด�าเนินการแบบ “มาก่อนใช้ก่อน” (FIFO หรือ First In First Out) ในบริเวณพื้นที่อาคาร เก็บเชื้อเพลิง ซึ่งเก็บส�ารองเชื้อเพลิงได้ประมาณ 5 วัน เชื้อเพลิงส่วนใหญ่จะถูกล�าเลียง เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในหม้อไอน�้าของโครงการโดยตรง PB74

May May2015 2015


Open House อภัสรา วัลลิภผล

เปดบาน TPIPL เจาของรางวัลดีเดนดานพลังงานไทย Thailand Energy Awards 2014 Open house ©ºÑº¹Õ้¨Ð¾Ò·‹Ò¹¼ÙŒÍ‹Ò¹ä»·ํÒ¢‹ÒÇÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñº “ºÃÔÉÑ· ·Õ¾ÕäÍ â¾ÅÕ¹ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)” ËÃ×Í TPIPL «Ö่§àÁ×่Í»‚ 2557 ·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ ·Ò§ºÃÔÉÑ·Ï Âѧ䴌¤ÇŒÒÃÒ§ÇÑÅ´Õà´‹¹ ´ŒÒ¹¾ÅÑ §§Ò¹ä·Â Thailand Energy Awards 2014 áÅÐÃÒ§ÇÑ Å Ãͧª¹ÐàÅÔ ÈÍÑ ¹ ´Ñ º 2 ASEAN Energy Awards 2014 »ÃÐàÀ·â¤Ã§¡ÒþÅѧ§Ò¹ËÁعàÇÕ¹·Õ่äÁ‹àª×่ÍÁ⧡ѺÃкº ÊÒÂÊ‹§ä¿¿‡Ò (Off-Grid) ·Ñ้§¹Õ้·Ò§ºÃÔÉÑ·Ïàͧ䴌´ํÒà¹Ô¹¸ØáԨ໚¹¼ÙŒ¼ÅÔµáÅШํÒ˹‹Ò»ٹ«ÕàÁ¹µ àÁ็´¾ÅÒʵԡ LDPE &EVA áÅСÃÐàº×้ͧ¤Í¹¡ÃÕµ â´Â´ํÒà¹Ô¹¸ØáԨ·Õ่à¡Õ่ÂÇà¹×่ͧ¼‹Ò¹ºÃÔÉÑ· ã¹à¤Ã× Í ·Õ ¾Õ äÍâ¾ÅÕ¹ »ÃСͺ´ŒÇ ¸Øà ¡Ô¨µ‹Ò § æ 14 ¸Ø à ¡Ô ¨ ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้ ºÃÔ ÉÑ· ÂÑ §ä´Œ Å §·Ø ¹ ã¹¸Ø Ã¡Ô ¨Í×่ ¹ æ ¼‹Ò ¹ºÃÔÉѷ‹Í ºÃÔÉÑ·Ã‹Ç Á¢Í§ºÃÔ ÉÑ· «Ö่ §¤Ãͺ¤ÅØ Á ·Ñ้ §¸Ø à ¡Ô ¨ »ÃÐ¡Ñ ¹ ªÕ ÇÔµ ¸ØáԨ¾Ñ²¹ÒÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ áÅиØáԨºÃèضاÊÔ¹¤ŒÒ

บริษัทฯ ไดรับการจดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัทจํากัด ในนามบริษัท โพลีน จํากัด เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2530 โดยกลุมตระกูล “เลี่ยวไพรัตน” เปนผูกอตั้ง ประกอบธุรกิจเปนตัวกลางในการ จัดซื้อเม็ดพลาสติก PE (Polyethylene) จากบริษัท อุตสาหกรรมปโตรเคมีกัลไทย จํากัด (มหาชน) หรือทีพีไอ ปจจุบันคือ ไออารพีซี ตอมา บริษัท โพลีน จํากัด ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากัด เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2532 และในเดือนมีนาคม 2533 บริษัทไดรับโอนกิจการผลิต เม็ดพลาสติก LDPE (Low Density Polyethylene) และสิทธิประโยชนตาง ๆ ตามบัตรสงเสริม การลงทุนจากทีพีไอ และไดขยายสูธุรกิจการผลิตและจําหนายปูนเม็ดและปูนซีเมนตในป 2535 บริ ษั ทได นํ า หลั ก ทรัพยเขาจดทะเบียนในตลาดหลัก ทรัพยแหง ประเทศไทย เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2533 และแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2537 ซึ่งบริษัทฯ ไดดําเนินธุรกิจเปนผูผลิตและจําหนายปูนซีเมนตเปนธุรกิจหลัก และมีการดําเนิน ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องผานบริษัทในเครือทีพีไอโพลีน

ในส ว นของรางวั ล ดี เ ด น ด า นพลั ง งานไทย Thailand Energy Awards 2014 และ รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2ASEAN Energy Awards 2014 ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียน ไมเชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (Off-Grid) ที่ทางบริษัทฯ มีความมุงมั่นตองการลดการ ใชพลังงาน เพราะเห็นถึงความสําคัญของการ ใชพลังงานมาก แตจริง ๆ กอนที่เขาประกวด ทางบริษทั เองมีกระบวนการประหยัดพลังงาน กันอยูแลว ดาน คุณวรวิทย เลิศบุษศราคาม รองผูจัดการใหญ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากัด (มหาชน) ในฐานะผูด าํ เนินโครงการผลิตเชือ้ เพลิง RDF (Refuse Derived Fuel: RDF) จากขยะ ชุมชนใชทดแทนถานหิน กลาววา ขยะเปนปญหา ทั้งดานสังคมและสิ่งแวดลอม หากเรานําขยะ มาผลิตเปนพลังงานไดจะชวยลดตนทุนดาน เชื้อเพลิงและชวยรักษาสิ่งแวดลอมไดดวย ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีแนวคิดในการดําเนิน โครงการผลิตเชื้อเพลิงทดแทนจากขยะชุมชน โดยมีวัตถุประสงคหลัก เพื่อการกําจัดขยะ ซึ่งวัตถุดิบที่ไดจะมาจากขยะภายในโรงงาน และจากชุมชนรอบโรงงานในเขตจังหวัดสระบุรี May May2015 2015 75PB


Open House อภัสรา วัลลิภผล

และจังหวัดใกล้เคียง ขยะฝังกลบ (Landfill) และขยะอุ ต สาหกรรมไม่มีอัน ตราย (Nonhazardous Industrial Waste) จากโรงงาน อุตสาหกรรมและเอกชน น�ามาผ่านกระบวนการ คัดแยก ย่อย และผลิตเป็น RDF น�าไปใช้เป็น เชื้อเพลิงแทนถ่านหินน�าเข้า เพื่อเผาวัตถุดิบ ในกระบวนการผลิ ต ปู น ซี เ มนต์ แ ละเป็ น เชื้อเพลิงส�าหรับโรงไฟฟ้า ขนาด 20 MW ที่ ข ายไฟฟ้ า ให้ กั บ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แล้ ว ตั้งแต่เดือนมกราคม 2558 และอยู่ในระหว่าง การก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาด 60 MW ซึ่งจะเริ่ม ด�าเนินการขายไฟฟ้าเข้าระบบเดือนกรกฎาคม 2558 นี้ของบริษัทฯ ปัจจุบัน บริษัทฯ รับขยะ ชุมชนปริมาณวันละ 1,200 ตัน และสามารถ ที่จะรับปริมาณขยะได้เพิ่มขึ้นถึง 4,500 ตัน เมื่อมีการเดินโรงไฟฟ้า 60 MW ขยะที่เข้ามา จะถูกน�ามาแปรรูปเป็นเชือ้ เพลิงภายใน 3 ชัว่ โมง โดยผ่านกระบวนย่อย คัดแยกโดยเครื่องจักร เพื่ อ แยกส่ ว นที่ ส ามารถเป็ น เชื้ อ เพลิ ง และ ท� า การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพให้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง คุ ณ ภาพดี ส ่ ว นที่ เ ป็ น สารอิ น ทรี ย ์ ก็ น� า มาใช้ เป็นวัตถุดินในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และอยู่ใน ระหว่างการก่อสร้างโรงงาน Mechanical Biological Treatment เพื่อแปลงขยะอินทรีย์ ให้เป็นเชื้อเพลิง RDFและปุ๋ยอินทรีย์ต่อไป

76

May 2015

นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังให้ความร่วมมือกับหน่วยงานราชการ องค์การป้องครองส่วนท้องถิ่น หรือเอกชนผู้ที่หน้าที่ ในการก�าจัดขยะโดยสนับสนุนความรู้ในการแปรรูปขยะเป็นเชื้อเพลิง RDF และเป็นผูร้ บั ซือ้ เชือ้ เพลิงดังกล่าว เพือ่ ท�าให้เกิดการจัดการขยะโดยการแปรรูปเป็นพลังงาน อย่างเป็นรูปธรรมและมีการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับชุมชนพร้อมกับลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ในการกองขยะแบบเดิมอีกด้วย ทั้งนี้ในส่วนธุรกิจของบริษัทฯ นอกจากประกอบธุรกิจเป็นผู้ผลิตและจ�าหน่ายปูนซีเมนต์เป็น ธุรกิจหลักแล้ว บริษัทฯยังมีธุรกิจ อื่น ๆ รวมทั้งหมด 14 ธุรกิจ คือ ธุรกิจปูนซีเมนต์ ปูนเม็ด และปูนส�าเร็จรูป บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ ปูนเม็ด และปูนส�าเร็จรูป ชนิดต่าง ๆ โดยมีโรงงานผลิตอยู่ที่จังหวัดสระบุรี ทั้งนี้ บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตปูนซีเมนต์รายใหญ่ หนึ่งในสามของประเทศ โดยมีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 18 ของปริมาณการจ�าหน่ายทั้งหมด ในประเทศ และเป็นผู้ผลิตปูนส�าเร็จรูปรายใหญ่หนึ่งในสองของประเทศ ธุรกิจเม็ดพลาสติก LDPE / EVA บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก LDPE 2 ชนิด ได้แก่ LDPE Homopolymer (LDPE) และ LDPE Copolymer (EVA) ที่โรงงานในจังหวัดระยอง LDPE เป็นเม็ดพลาสติกประเภทที่น�าไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกหลายประเภท โดยบริษัทฯ มีส่วนแบ่งการตลาดในผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก LDPE และ EVA สูงสุดในประเทศ ประมาณร้อยละ 25 และร้อยละ 90 ตามล�าดับ ของปริมาณการจ�าหน่ายทั้งหมดในประเทศ นอกจากนี้บริษัทฯยังเป็นผู้ผลิตเพียงรายเดียวในประเทศและไม่กี่รายในโลกที่สามารถพัฒนา เทคโนโลยีการผลิตเม็ดพลาสติก EVA ธุรกิจรับก�าจัดกากอุตสาหกรรม บริษัทฯ ให้บริการก�าจัด กากอุตสาหกรรมจากโรงงานต่าง ๆ ภายในประเทศ ภายใต้ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ปรับคุณภาพของเสียรวม ซึ่งนอกจากจะช่วยก�าจัดกากอุตสาหกรรมแล้ว ยังช่วยลดการใช้ วัตถุดิบและเชื้อเพลิง ซึ่งมีผลให้สามารถประหยัดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติด้วย ธุรกิจคอนกรีต ผสมเสร็จ บริษัท ทีพีไอ คอนกรีต จ�ากัด (ถือหุ้นร้อยละ 99.99 โดยบริษัทฯ) เป็นผู้ผลิตและ จ�าหน่ายคอนกรีตผสมเสร็จรายใหญ่ของประเทศ โดยมีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 13 ของ ปริมาณการจ�าหน่ายทั้งหมดในประเทศ ภายใต้ตราทีพีไอ พีแอล มีจุดเด่นด้านคุณภาพสินค้า และการพัฒนาปรับปรุงบริการอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจผลิตกระเแสไฟฟ้า บริษัท ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์ จ�ากัด (ถือหุ้นร้อยละ 99.99 โดยบริษัทฯ) ด�าเนินธุรกิจผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงาน


Open House อภัสรา วัลลิภผล

ความร้อนทิ้งโดยมีก�าลังการผลิตขนาด 54 เมกกะวัตต์ โดยได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนจาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นโรงไฟฟ้าที่น�าพลังงานความร้อนทิ้งจากการผลิตปูนเม็ด และปูนซีเมนต์ของบริษัทฯ มาท�าการผลิตกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ทั้งหมด น�าไปใช้ ในกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ของบริษทั ฯ ธรุกจิ สถานีให้บริการน�า้ มันและก๊าซธรรมชาติ (NGV) การด�าเนินธุรกิจสถานีให้บริการน�้ามันและก๊าซธรรมชาติ (NGV) ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่าง จังหวัด ภายใต้โลโก้ทีพีไอพีแอล โดยสถานีให้บริการก๊าซธรรมชาติ (NGV) ได้รับบัตรส่งเสริม การลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ปัจจุบนั มีสถานีให้บริการน�า้ มันและก๊าซธรรมชาติ จ�านวน 12 สถานี ส�าหรับธุรกิจปุย๋ ชีวะอินทรียธ์ รรมชาติ บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ปยุ๋ ชีวะอินทรีย์ ธรรมชาติตั้งแต่ปี 2554 โดยได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย ปุ๋ยชีวะอินทรีย์ฮูมิคส์ เขียว (ใช้ส�าหรับปรับปรุงคุณภาพดิน) ปุ๋ยชีวะ อินทรีย์โกรออแกนิคม่วง (ใช้เร่งการเจริญเติบโตของพืช) และน�้าส้มควันไม้ พรีเมี่ยมโกลด์ (ใช้ป้องกันและก�าจัดเพลี้ย ปลวก แมลงศัตรูพืช และเป็นสารเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต ของพืช) ภายใต้ตราทีพีไอพีแอล โดยเป็นผลิตภัณฑ์จากสารอินทรีย์ธรรมชาติภายใต้โครงการ ลดภาวะโลกร้อน โดยผ่านกรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัย จึงมีคุณภาพตามมาตรฐานกรมวิชาการ การเกษตรและมาตรฐานกรมพัฒนาทีด่ นิ ปลอดภัยต่อผูใ้ ช้ ผูบ้ ริโภค และสิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ ยังมีผลพลอยได้ซึ่งสามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สบู่เหลวฆ่าเชื้อโรค เชื้อรา และแก้โรคผิวหนัง อันเกิดจากเชื้อรา ธุรกิจผลิตแอมโมเนียมไนเตรทและกรดไนตริก บริษัท ไนเตรทไทย จ�ากัด (กิจการร่วมค้าของบริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 50 โดยบริษทั ฯ) เป็นผูน้ า� และครองส่วนแบ่งตลาดสูงสุด ในประเทศส�าหรับผลิตภัณฑ์แอมโมเนียมไนเตรทและกรดไนตริก โดยบริษัท ไนเตรทไทย จ�ากัด เป็นผู้ผลิตกรดไนตริกเพียงรายเดียวในประเทศ ธุรกิจน�้าดื่มตราทีพีไอพีแอล บริษัทฯ ด�าเนิน ธุรกิจผลิตและจ�าหน่ายน�้าดื่ม ตรา ทีพีไอพีแอล ตั้งแต่ปี 2554 ซึ่งเป็นน�้าดื่มคุณภาพ ปลอดภัย ต่อ ผู้บริโภค ธุรกิจผลิตเชื้อเพลิงทดแทน (Refuse Derived Fuel - RDF) บริษัทฯ ด�าเนินธุรกิจ ด้านพลังงานทดแทน (RDF) ตั้งแต่ปี 2554 โดยการน�าขยะชุมชน ขยะเก่าจากบ่อฝังกลบ และ ขยะอุตสาหกรรม มาเข้ากระบวนการผลิตเป็นเชื้อเพลิงเพื่อใช้ทดแทนถ่านหิน โดยได้รับบัตรส่ง เสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เชื้อเพลิงที่ผลิตได้ (RDF) จะน�าไปใช้ ทดแทนพลังงานจากถ่านหินในโรงงานผลิตปูนซีเมนต์ของบริษัทฯ เอง ด้านธุรกิจผลิตเชือ้ เพลิง (Pyrolysis Plant) บริษทั ฯมีโรงงานแปรรูปขยะพลาสติกและยางเก่าให้เป็น น�้ามันดิบ หรือ เชื้อเพลิง ซึ่งจัดเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยเริ่มผลิตและจ�าหน่ายตั้งแต่ปี 2554 น�้ า มั น ที่ ผ ลิ ต ได้ จ ะน� า มาใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ในกระบวนการผลิ ต ปู น ซี เ มนต์ ข องบริ ษั ท ฯ เอง โครงการดังกล่าวได้รับการส่งเสริมการลงทุน จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ธุรกิจ Polene Solar® บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตและจ�าหน่าย Polene Solar® (EVA Sheet Encapsulant) เพื่อใช้ในการผลิตแผงพลังงานแสงอาทิตย์ ทัง้ ชนิด Crystalline และ Amorphous Thin Film โดยได้ รั บ บั ต รส่ ง เสริ ม การลงทุ น จากคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน พร้อมยังมีธุรกิจ กระเบื้องคอนกรีต และธุรกิจส�ารวจและผลิต ปิโตรเลียม อีกด้วย

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังลงทุนในธุรกิจอื่นผ่าน บริษัทย่อย ซึ่งครอบคลุมทั้งธุรกิจประกันชีวิต ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจบรรจุ ถุงสินค้า เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทฯ มีเป้าหมายที่จะรักษาความ สามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมการผลิต และจ�าหน่ายปูนซีเมนต์ คอนกรีตผสมเสร็จ ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ปุ๋ยชีวะอินทรีย์ และ ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ในเครือทีพีไอโพลีน ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ โดยมีความมุ่งมั่น ที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์และเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต โดยลดต้ น ทุ น ด้ า น พลังงาน เน้นคุณภาพสินค้า โดยผลิตสินค้าที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาประสิทธิภาพ ระบบการจัดส่ง ระบบการจัดสภาพสิง่ แวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของพนักงาน โดยมีการก�ากับดูแลกิจการที่ดีรวมถึงการมี ส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคม เพราะเรา มุ ่ ง มั่ น ทุ ่ ม เทพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก าร อย่างต่อเนือ่ ง จึงท�าให้ทพี ไี อโพลีนเป็นบริษทั ฯ ชั้นน�าของคนไทยที่น�าเสนอผลิตภัณฑ์และ บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง ในราคาทีเ่ ป็นธรรมและ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล นอกจากนี้ ทางบริษัทฯ ยังคงธ�ารงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์ของ องค์กรอันดับหนึง่ ของประเทศในการสร้างสรรค์ และรักษาสมดุลทางธุรกิจ ชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม เพื่อสังคมที่เข้มแข็งและธุรกิจที่ ยัง่ ยืนสืบไป ตามนโยบายความรับผิดชอบของ บริษัทฯ ต่อสังคม

May May2015 2015 7777


Vertical Market นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

ก.พลังงาน เผยภาพรวมการส่งเสริมพลังงานทดแทนไทยสดใส หลังเดินหน้า เห็ น ชอบรั บซื้อ ไฟฟ้า จากโครงการพลังงานหมุนเวีย น 178 โครงการ การด� า เนิ น งานของคณะกรรมการบริ ห ารมาตรการส่ ง เสริ ม พลั ง งาน หมุนเวียนมีความก้าวหน้าต่อเนื่อง โดยเฉพาะการการแก้ไขอุปสรรคและ สร้างความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ พร้อมเดินหน้ามาตรการส�าคัญ ที่จะสามารถช่วยดูดซับปริมาณน�้ามันปาล์มดิบที่ล้นตลาด

ภาพรวม...พลังงานทดแทนไทยสดใส

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผยในฐานะ ตัวแทนกระทรวงพลังงานถึงภาพรวมการส่งเสริมและผลักดันการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันว่า คณะกรรมการบริหารมาตรการส่งเสริม การผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน คณะกรรมการฯ ที่มีหน้าที่หลัก ในการพิจารณารับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ของประเทศตามแนวทางทีค่ ณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ

(กพช.) มอบหมาย ได้ ร ายงานผลการด�า เนินการรับซื้อไฟฟ้า จากโครงการพลังงานหมุนเวียน ได้มีการเห็นชอบไปแล้วทั้งสิ้น 178 โครงการ ปริมาณรวมทั้งสิ้น 971.392 เมกะวัตต์ การเห็นชอบครัง้ นี้ ได้รบั การตอบรับซือ้ ไฟฟ้าแล้ว จ�านวน 160 โครงการ ปริมาณรวม 918.33 เมกะวัตต์ แบ่งเป็นประเภทเชือ้ เพลิงจากขยะ จ�านวน 13 ราย ปริมาณเสนอขาย 161.448 เมกะวัตต์ ชีวมวล จ�านวน 41 ราย ปริมาณเสนอขาย 197.77 เมกะวัตต์ แก๊สชีวภาพ จ� า นวน 26 ราย ปริ มาณเสนอขาย 52.108 เมกะวัต ต์ และ แสงอาทิตย์โครงการติดตั้งบนพื้นดิน (กลุ่มโซล่าร์ฟาร์มค้างท่อ) 80 ราย ปริมาณเสนอขาย 507 เมกะวัตต์ คณะกรรมการฯ ยังได้เห็นชอบให้ลงนามซื้อขายไฟฟ้า จ�านวน 18 โครงการ ปริมาณรวมทัง่ สิน้ 53.062 เมกะวัตต์ แบ่งเป็นประเภท เชือ้ เพลิงจากขยะ จ�านวน 1 ราย ปริมาณเสนอขาย 0.9 เมกะวัตต์ ชี ว มวล 5 ราย ปริ ม าณเสนอขาย 36.080 เมกะวั ต ต์ และ ก๊าซชีวภาพ จ�านวน 12 ราย ปริมาณเสนอขาย 16.082 เมกะวัตต์

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

78

May 2015


ปัจจุบันคณะกรรมการบริหารมาตรการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ชุดปัจจุบัน ได้ด�าเนินการติดตาม ดูแล ประสาน สนับสนุน เร่งรัดการด�าเนินการ พิจารณารับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน รวมทั้งการลดปัญหาและ อุปสรรคที่ผ่านมาในอดีตของการส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนในประเทศ และสร้าง ความเป็นธรรมต่อผู้ประกอบการยิ่งขึ้น โดยคณะกรรมการฯ ได้ด�าเนินการต่อเนื่อง มาแล้ว 3 ช่วงได้แก่ ช่วงแรก วันที่ 22 พฤษภาคม – 11 กันยายน 2557 ในช่วงสมัยคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (คสช.) ได้เห็นชอบให้ลงนามซื้อขายไฟฟ้า จ�านวน 18 ราย ปริมาณรวม 53.062 เมกะวัตต์ ช่วงที่ 2 วันที่ 12 กันยายน 2557 – 12 มีนาคม 2558 ภายใต้ รัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้เห็นชอบให้ตอบรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ประกอบการภาคเอกชน จ�านวน 103 โครงการ ปริมาณรวม 665.13 เมกะวัตต์ และ ช่วงที่ 3 วันที่ 13 มีนาคม 2558 จนถึงปัจจุบัน ได้เห็นชอบให้ตอบรับซื้อไฟฟ้าเพิ่มเติมอีก 57 โครงการ ปริมาณรวม 253.20 เมกะวัตต์ ซึ่งถือเป็นตัวเลขที่ดีส�าหรับการเตรียมพร้อมด้าน พลังงานของประเทศ นอกจากนี้ กระทรวงพลังงาน เผย 2 มาตรการส�าคัญทีจ่ ะสามารถช่วยดูดซับปริมาณ น�้ามันปาล์มดิบที่ล้นตลาดและจะท�าให้ราคาน�้ามันปาล์มดิบมีเสถียรภาพสูงขึ้น จากตัวเลขสถานการณ์ผลผลิตปาล์ม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า ตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2558 เป็นต้นไป จะมีผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มสูงขึ้นมาก ส่งผลให้ ราคาผลปาล์มและน�้ามันปาล์มดิบในประเทศมีแนวโน้มลดลง และมีการคาดการณ์ ว่าจะมีสต๊อกน�้ามันปาล์มดิบของประเทศคงเหลือ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2558 อยู่ที่ ประมาณ 170,093 ตัน

May2015 2015 7979 May


Vertical Market นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

จากตัวเลขดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อชาวสวนปาล์ม กระทรวงพลังงานจึงได้ร่วมกัน 2. ให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. ใช้นา้� มันปาล์มดิบทีโ่ รงไฟฟ้า หาทางออกให้กับพี่น้องชาวสวนปาล์มด้วย 2 มาตรการส�าคัญที่จะสามารถช่วยเหลือ กระบีข่ นาด 300 เมกะวัตต์ โดยน�าไป ด้วยวิธีการดูดซับปริมาณน�้ามันปาล์มดิบที่ล้นตลาดอยู่ในปัจจุบัน เพื่อท�าให้ราคาน�้ามัน ผสมกั บ น�้ า มั น เตาเพื่ อ ผลิ ต กระแส ปาล์มดิบมีเสถียรภาพสูงขึ้น ได้แก่ ไฟฟ้าในสัดส่วนร้อยละ 20 ซึ่งปริมาณ รั บ ซื้ อ น�้ า มั น ปาล์ ม ดิ บ เพิ่ ม เติ ม ได้ อี ก 1. ได้มอบนโยบายให้กรมธุรกิจพลังงาน ด�าเนินการไปแล้ว คือ การปรับเพิ่มสัดส่วน 1,000 ตัน/สัปดาห์ การผสมไบโอดีเซลในน�้ามันดีเซลหมุนเร็วจากไม่ต�่ากว่าร้อยละ 3.5 เป็นไม่สูงกว่า ร้อยละ 7 ทั้งนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน 2558 เป็นต้นไป โดยการปรับ เพิ่มสัดส่วนไบโอดีเซลจากร้อยละ 3.5 เป็นร้อยละ 6 จะช่วยซับน�้ามันปาล์มดิบได้ จากมาตรการทีก่ ระทรวงพลังงานหาทางออก ให้ กั บ ผู ้ ผ ลิ ต ปาล์ ม ทั้ ง 2 แนวทางนั้ น ประมาณ 6,500 ตัน/สัปดาห์ จะสามารถช่ ว ยดู ด ซั บ น�้ า มั น ปาล์ ม ดิ บ ที่ ล้นตลาดอยู่ ณ ตอนนี้ได้ถึง 7,500 ตัน/ สัปดาห์ ซึ่งสามารถช่วยลดผลกระทบให้ กับเกษตรได้อีกส่วนหนึ่ง โดยในระยะยาว กระทรวงพลังงานจะหาแนวทางช่วยเหลือ ต่อไป

80

May 2015


May 2015 PB


Viewpoint

นัษรุ ต เถื่อนทองคํา

เพิม ่ กลไก จัดโซนนิง่ เปลีย ่ นขยะเปน...พลังงาน µÒÁ¹âºÒÂÃÑ°ºÒÅ´ŒÒ¹¤ÇÒÁÁÑ่¹¤§¢Í§ »ÃÐà·È ÁÕ ¡ ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁãËŒà¡Ô´ ¡ÒÃÊÌҧ ¾ÅÑ §§Ò¹ã¹ËÅÒ¡ËÅÒÂÃÙ» Ẻ áÅзÕ่ÁÕ ¡Òþٴ¶Ö§Í‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ ¤×Í ¡ÒùํÒ¢ÂÐ ¢Í§àÊÕ Â ÁÒá»Ãà»ÅÕ่  ¹à»š ¹ ¾ÅÑ § §Ò¹ ÍÑ ¹ ·Õ่ ¨ ÃÔ § äÁ‹ ä ´Œ à »š ¹ àÃ×่ Í §ãËÁ‹ á µ‹ Í Â‹ Ò §äà à¾ÃÒл˜¨¨ØºÑ¹ÁÕ¡Òè‹ÒÂä¿¿‡ÒࢌÒÊÙ‹Ãкº ¨Ò¡¢ÂÐ (COD) áÅŒÇ áÅзÕ่ÊํÒ¤ÑÞÂѧÁÕ ¡ÒÃ͹ØÁѵÔãËŒ¡ÒÃä¿¿‡Òà«็¹ÊÑÞÞÒÃѺ«×้Í ä¿¿‡Ò (PPA) à¾Ô่ÁàµÔÁÍÕ¡ ÃÇÁ¶Ö§ÁÕ¡Òà à¾Ô่ Á ¡Åä¡»ÃÐÊÔ · ¸Ô À Ò¾¡ÒÃºÑ § ¤Ñ º 㪌 ¡®ÃÐàºÕº áÅСÒèѴ⫹¹Ô่§ÈÑ¡ÂÀÒ¾ ¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ ¨Ðª‹ÇÂÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃŧ·Ø¹ á»ÃÃÙ » ¢ÂÐãËŒ à »š ¹ ¾ÅÑ § §Ò¹à»š ¹ ·Õ่ Ê ¹ã¨ ÁÒ¡¡Ç‹Ò·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ

8282

May May2015 2015

เรื่องดังกลาวมีหนวยงานที่รับผิดชอบหลัก คือ กระทรวงพลังงาน ที่มีนโยบายสงเสริม และปรับปรุงมาตรการสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะใน กลุมขยะของเสียเพื่อผลิตเปนพลังงาน ซึ่งเปนไปตามนโยบายหลักของรัฐบาล ปจจุบัน การผลักดันการพัฒนาโรงไฟฟาขยะ ไดมีความกาวหนาอยางตอเนื่อง โดยมีการใช พลังงานจากขยะที่สามารถจายไฟฟาเขาสูระบบเชิงพาณิชย (Commercial Operation Date : COD) แลว 74.717 เมกะวัตต จาก 21 โครงการ รวมทั้งมีโครงการที่เซ็นสัญญา ซื้อขายไฟฟา (Power Purchase Agreement : PPA) แลวและอยูระหวางการกอสรางอีก 112.568 เมกกะวัตต จาก 12 โครงการ และปจจุบันมีโครงการที่มีศักยภาพไดรับ อนุมัติการตอบรับซื้อไฟฟาเพิ่มเติมอีก 12 โครงการ จํานวน 171.688 เมกะวัตต สงผล ใหภาพรวมการผลิตไฟฟาจากพลังงานขยะของประเทศไทยขณะนี้มีมากถึง 45 โครงการ กําลังผลิต 358.973 เมกะวัตต แนวทางการสงเสริมการผลิตพลังงานจากขยะ กระทรวงพลังงานไดกําหนดอัตรารับซื้อ ไฟฟาแบบ Feed in Tariff (FiT) สําหรับไฟฟาจากขยะ โดยคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ (กพช.) ไดเห็นชอบ FiT เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2557 สําหรับขยะ ชุมชน และ FiT สําหรับขยะอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2558 ตามลําดับ อีกทั้งกระทรวงพลังงานยังมีสวนรวมในการจัดทําแผนดําเนินการภายใตแผนแมบท การจั ด การขยะมู ลฝอยของประเทศ (2558 – 2562) รวมกับ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมซึ่งทําหนาที่หลักในการขับเคลื่อน และมีโครงการหรือแผน งานที่อยูระหวางการศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม ไมวาจะเปนโครงการนํารองการ จั ด การขยะชุ มชนแบบครบวงจรแบบกระจายศูนย โครงการศึกษาออกแบบระบบ บริหารจัดการขยะเพื่อผลิตเปนพลังงานทดแทนระดับจังหวัด


กระทรวงพลังงาน จะได้เร่งแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนา พลังงานขยะ โดยมีการด�าเนินงานที่ส�าคัญ เช่น ขอความร่วมมือ ในการแก้ไขผลักดันกฎระเบียบต่าง ๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การขอความร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทยและองค์กรปกครอง ท้องถิ่น ในการส่งเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในพื้นที่ให้มีความรู้ที่ ถูกต้องในการบริหารจัดการขยะและโรงไฟฟ้าจากขยะ รวมถึงการ ประสานให้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) การไฟฟ้า นครหลวง(กฟน.) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(กฟภ.) สนับสนุน การรับซื้อไฟฟ้าจากขยะ ซึ่งกระทรวงพลังงานอยู่ระหว่างการจัด โซนนิ่ ง พื้ น ที่ ที่มี ศั ก ยภาพจากพลั ง งานทดแทน โดยได้ ให้ ค วาม ส�าคัญกับการผลิตพลังงานจากขยะเป็นล�าดับแรกอีกด้วย ทั้งนี้ ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากขยะชุมชนจากการประเมิน ศักยภาพการผลิต ถือเป็นแหล่งพลังงานทีม่ ศี กั ยภาพ แต่เมือ่ พิจารณา ข้ อ จ� ากั ด หลายประการ เช่ น พื้ น ที่ ตั้ ง ศู น ย์ ก�า จัดขยะผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อมจากการใช้เทคโนโลยี ปริมาณและองค์ประกอบ ของขยะ ความสามารถในการเก็บรวบรวมของท้องถิ่นปัญหาด้าน ชุ ม ชน ค่ า ด� าเนิ น การและค่ า ก่ อ สร้ า งระบบก� าจั ด ขยะ ขั้ น ตอน การขอรับงบประมาณที่ยุ่งยากหลายขั้นตอน ความซับซ้อนทาง ด้านการบริหารจัดการของท้องถิ่นและนโยบายการก�าจัดขยะของ แต่ละหน่วยงานของภาครัฐที่แตกต่างกัน เป็นต้น

หากมีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ จะท�าให้การน�าขยะมาผลิตเป็น ไฟฟ้าเป็นเรื่องที่ไม่ยากจนเกินไปส�าหรับประเทศไทย เพื่อทดแทน การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงรูปแบบอื่น ที่ใช้ต้นทุนเชื้อเพลิงสูงกว่า อย่างในปัจจุบัน

May May2015 2015 8383


Energy Knowledge อภัสรา วัลลิภผล

สกว. สนับสนุน งานวิจัย

อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนประหยัดพลังงาน ส�ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย (สกว.) ได้ให้กำรสนับสนุนทุนวิจัยแก่ “ศ.ดร.สมชำย วงศ์วิเศษ” ศำสตรำจำรย์วิจัยดีเด่น ภำควิชำวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี ในโครงกำร “กำรวิ จั ย ขั้ น สู ง ทำงกำรไหลสองสถำนะและกำรเพิ่ ม ควำมสำมำรถในกำร ถ่ำยเทควำมร้อน” เป็นกำรมุ่งเน้นกำรน�ำศำสตร์กำรถ่ำยเทควำมร้อนและมวล กลศำสตร์ ข องไหลและเธอร์ โ มไดนำมิ ก ส์ ม ำประยุ ก ต์ ใ นกำรพั ฒ นำอุ ป กรณ์ แลกเปลี่ยนควำมร้อนให้มีสมรรถนะสูงขึ้น โดยเน้นที่กำรเพิ่มประสิทธิภำพและ ลดกำรใช้พลังงำนของระบบปรับอำกำศและระบบท�ำควำมเย็น ซึ่งควำมรู้ใหม่ต่ำง ๆ ที่ ไ ด้ จ ำกงำนวิ จั ย พื้ น ฐำนเหล่ ำ นี้ ส ำมำรถน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นกำรออกแบบ อุปกรณ์ให้มีสมรรถนะสูงขึ้น ประหยัดพลังงำน และลดต้นทุนกำรผลิต ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่ออุตสำหกรรมโดยตรง

ทัง้ นีโ้ ดยปกติกระบวนการแลกเปลีย่ นความร้อนระหว่างสารสองชนิด ที่ มี อุ ณ หภู มิ แ ตกต่ า งกั น สามารถท� า ได้ โ ดยใช้ อุ ป กรณ์ ที่ เรี ย กว่ า “อุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อน” ถ้าอุปกรณ์ดงั กล่าวถูกออกแบบมา อย่างเหมาะสม การถ่ายเทความร้อนก็จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การเพิ่มการถ่ายเทความร้อนถือเป็นสิ่งหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มสมรรถนะ ของอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน ซึ่งก็เท่ากับเป็นการประหยัด พลังงานหรือเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า

84

May 2015

ศ.ดร.สมชาย วงศ์วิเศษ

ตั ว อย่ างส่ ว นหนึ่ ง ของงานวิ จัยนี้คือ การเพิ่มประสิทธิภาพและ ลดการใช้พลังงานในระบบการท�าความเย็นและการปรับอากาศ โดยท�างานวิจัยลงลึกตั้งแต่งานวิจัยพื้นฐานเข้าสู่งานวิจัยประยุกต์ ได้ศึกษาวิธีพัฒนาคอนเดนเซอร์และอีวาโปเรเตอร์ ถือเป็นอุปกรณ์ แลกเปลี่ ย นความร้ อ นที่ อ ยู ่ ใ นวงจรการปรั บ อากาศและการท� า ความเย็น ให้สามารถแลกเปลีย่ นความร้อนระหว่างสารท�าความเย็น กั บอากาศได้ ดี ยิ่ง ขึ้ น โดยศึกษาทั้งจากการทดลองและจากการ สร้ า งแบบจ� า ลองทางคณิ ต ศาสตร์ ได้ อ อกแบบ อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนรูปแบบใหม่ ๆ ที่มี ประสิทธิภาพสูงในการถ่ายเทความร้อน ซึ่งอาจเป็น แนวทางในการน� า ไปประยุ ก ต์ ใช้ ต ่ อ ไปในอนาคต รวมทั้งศึกษาถึงผลของรูปร่างของครีบที่ใช้ในการ ถ่ายเทความร้อน ความหนาของครีบ ระยะห่าง ระหว่างครีบ วัสดุทใี่ ช้ ลักษณะการวางท่อ ต่อสมรรถนะ ทางการถ่ายเทความร้อน และการลดลงของความดัน ของอากาศขณะไหลผ่านอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อน ทั้ ง ที่ ภ าวะที่ ผิ ว ท่ อ ด้ า นนอกของคอนเดนเซอร์ มี สภาพแห้ง และที่ภาวะที่ผิวท่ออีวาโปเรเตอร์เปียก ด้วยน�้าที่เกิดจากการควบแน่น ได้ศึกษาในส่วนของ อุปกรณ์ขยายซึ่งถือเป็นอุปกรณ์ที่ส�าคัญอีกตัวหนึ่ง ในวงจรการปรับ อากาศและท�า ความเย็น ได้แก่ การน�าอีเจ็กเตอร์ และการน�าท่อคาปิลลารีทั้งแบบ


แอเดี ย แบติ ก และแบบนอนแอเดี ย แบติ ก มาใช้ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ข ยาย ได้ พั ฒ นาแบบ จ�าลองทางคณิตศาสตร์เพื่อจ�าลองการไหล ของสารท� า ความเย็ น ในท่ อ คาปิ ล ลารี ซึ่ ง มี ก ารไหลสองเฟสเป็ น กลไกส� า คั ญ แบบจ�าลองดังกล่าวสามารถน�าไปใช้ในการ ออกแบบหาขนาดท่อคาปิลลารีที่เหมาะสม ที่ ใช้ กั บ สารท� า ความเย็ น ประเภทต่ า ง ๆ ที่ท�างานที่ภาวะต่าง ๆ ตามแต่ก�าหนด และ เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งานในภาคสนาม ได้ พั ฒ นาแผนภู มิ เ พื่ อ ใช้ เ ลื อ กขนาดท่ อ คาปิลลารีที่เหมาะสมกับสารท�าความเย็น และภาวะการใช้งานจริง ในส่วนของสารท�างานในวงจรการปรับอากาศ และการท�าความเย็น ได้ศกึ ษาลักษณะเฉพาะ ในการไหลของสารท�าความเย็นทางเลือกใหม่ ทีม่ ศี กั ยภาพในการเพิม่ การถ่ายเทความร้อน ของอุ ป กรณ์ แ ลกเปลี่ ย นความร้ อ น เช่ น สารท�าความเย็นใหม่ทไี่ ม่ทา� ลายสิง่ แวดล้อม ไฮโดรคาร์บอน หรือของไหลนาโน สารท�า ความเย็นทีร่ ะเหยและควบแน่นภายในท่อเรียบ และท่อที่ผิวภายในไม่เรียบ โดยศึกษาทั้งกับ สารท� า ความเย็ น บริ สุ ท ธ์ แ ละกั บ สารท� า ความเย็นที่มีน�้ามันหล่อลื่นผสม ซึ่งตรงกับ สภาพการใช้งานจริง ผลลัพธ์จากการศึกษา ทางด้านการถ่ายเทความร้อนจะอยู่ในรูป ของสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารถ่ า ยเทความร้ อ น ส�าหรับในเชิงกลศาสตร์ของไหลจะเสนอผล ในรู ป แบบการไหลสองเฟสซึ่ ง เป็ น ไปได้ หลากหลายรูปแบบการไหล แฟกเตอร์ความ เสี ย ดทาน และความดั น ลดสหสั ม พั น ธ์ ที่พัฒนาได้ทั้งสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความ ร้อนและแฟกเตอร์ความเสียดทาน สามารถ น� า ไปใช้ ใ นการออกแบบอี ว าโปเรเตอร์ และคอนเดนเซอร์ได้โดยตรง นอกจากนั้น แบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นมา ยังสามารถน�าไปเป็นแนวทางและใช้ดดั แปลง เพือ่ การออกแบบอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อน ที่มีลักษณะแตกต่างออกไปได้

นอกจากการศึกษาคุณสมบัตขิ องสารท�าความเย็นขณะไหลและเปลีย่ นสถานะแล้ว ยังพัฒนา อุปกรณ์การทดลองเพือ่ ศึกษาการเดือดของสารท�าความเย็นประเภทต่าง ๆ ขณะไม่มกี ารไหล โดยมุ่งพัฒนาเส้นโค้งการเดือด จากข้อมูลดังกล่าวจะท�าให้เข้าใจถึงกลไกการเดือดของสาร ท�าความเย็นชนิดต่าง ๆ อันจะมีประโยชน์ในการออกแบบอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนที่ จะน�าสารท�าความเย็นนั้นไปใช้ได้ และในปัจจุบันสามารถท�าผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติมากกว่า 230 บทความ และมีผลงานที่ยื่นจดสิทธิบัตรแล้ว 5 เรื่อง ได้แก่ วิธีการหาขนาดออริฟิชท่อสั้นที่ใช้เป็น อุปกรณ์ขยายในระบบปรับอากาศ แผนภาพส�าหรับการเลือกขนาดออริฟชิ ท่อสัน้ และขนาด ท่อคาปิลลารีแบบขด เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ขยายในระบบปรับอากาศที่ใช้สารท�าความเย็น 5 ชนิด อุปกรณ์เพิ่มสมรรถนะการถ่ายเทความร้อนชนิดกังหันแบบหมุนได้ภายในท่อ และ ชนิดกังหันหมุนเองได้เหนือพื้นผิวของการเดือด รวมถึงได้รับการสนับสนุนจากบริษัทหลาย แห่งภายในประเทศในการผลิตท่อและอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนแบบต่าง ๆ อีกด้วย

May May2015 2015 8585


Energy Invention จีรพร ทิพย์เคลือบ

กระติบไฟฟ้าประหยัดพลังงาน

นึ่งข้าวเหนียวด้วยพลังงานไฟฟ้า แก้ปัญหาเขม่าควัน จากโครงการ Move World Together : เคลื่อนโลกไป ด้วยกัน ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เป็นความร่วมมือ ระหว่าง กฟผ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหน่วยงาน ภาคีเครือข่าย ประกอบด้วย ส�านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพ และพิทักษ์เด็ก เยาวชนผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ (พม.) และสมาคมพัฒนาศักยภาพและอัจฉริย ภาพ มนุษย์ เพื่อสื่อสารและสร้างเครือข่ายผู้น�าเยาวชนให้มี ความรู้ความเข้าใจด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม โดยการ พั ฒ นาศั ก ยภาพทางด้า นความคิดระดับสูง ให้เข้าใจ แก่นความรูด ้ า้ นพลังงานและสิง่ แวดล้อม มีสา� นึกสาธารณะ ตระหนักในบทบาทของเยาวชนที่มีต่อตนเอง ชุมชน และ สังคม

86 86

MayMay 2015 2015

กระติบไฟฟ้า (Electric sticky rice cooker) เป็นอีกหนึง่ ผลงานประดิษฐ์ ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากโครงการ Move World Together : เคลือ่ นโลก ไปด้วยกัน ซึ่งเป็นผลงานการสร้างสรรค์ของ นายกฤษฎา โจ่ยสา นายณัฐวุฒิ ศณีสมภาร, นางสาวธัญญาเรศ ทองยศ, นางสาว ประภัสสร พานโคตร และ นางสาวน�้าฝน กลอนโคกสูง นักเรียน โรงเรี ย นอุ บ ลรั ต น์ พิ ท ยาคม อ.อุ บ ลรั ต น์ จ.ขอนแก่ น โดยมี นายเชษฐกร ประชาโรจน์ เป็นครูทปี่ รึกษา การประดิษฐ์กระติบข้าว ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน มีความโดดเด่นถูกใจกรรมการจากประเทศ ไต้หวัน คือ สิ่งประดิษฐ์สามารถนึ่งข้าวเหนียวด้วยพลังงานไฟฟ้า และแก้ปญ ั หาคราบเขม่าควันจากการนึง่ ด้วยถ่านหรือฟืนจนสามารถ คว้ารางวัลชนะเลิศ 5 รางวัล การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ณ กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน เมื่อปลายปี 2557 ที่ผ่านมา นายเชษฐกร ประชาโรจน์ อาจารย์ที่ปรึกษา โรงเรียนอุบลรัตน์ พิทยาคม กล่าวว่า จากการแข่งขันที่ผ่านมาผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัย จากทั่วโลกร่วมส่งผลงานเข้าประกวด เมื่อเทียบกันแล้ว เยาวชน Move World Together ยังมีวัยวุฒิที่อ่อนกว่าแต่พวกเขาก็แสดง ความสามารถได้อย่างเต็มภาคภูมไิ ม่นอ้ ยหน้านักวิจยั รุน่ พี่ ซึง่ ผลงาน ดังกล่าวก�าลังอยูใ่ นช่วงของการท�าอนุสทิ ธิบตั ร อีกทัง้ ยังอยูร่ ะหว่างการ


ทดลองหาข้อดีข้อเสียของสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ เ พื่ อ พัฒนาให้ดขี น้ึ เพือ่ ส่งตลาดในเชิงพาณิชย์ได้ ทั้ ง นี้ เยาวชนกลุ ่ ม นี้ ไ ด้ จั ด ประกวดและ จัดแสดงที่ประเทศไต้หวันตั้งแต่วันที่ 18-21 กันยายนที่ผ่านมา ซึ่งได้รับรางวัล สเปเชียล อวอร์ดจากประเทศไต้หวัน ซึ่งมาเป็นรางวัล ความภาคภูมใิ จของเยาวชนด้วย ผลงานนี้สามารถลดปริมาณการใช้น�้าและ ลดการใช้พลังงานได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยัง ช่วยนึ่งข้าวให้สุกได้ในเวลา 30-35 นาที ซึ่งข้าวเหนียวที่ได้จะมีการพองตัว ท�าให้นุ่ม มีกลิ่นหอม น่ารับประทาน สามารถเก็บ อุณหภูมหิ ลังการนึง่ ได้นานท�าให้ขา้ วแข็งตัวช้า สิง่ ส�าคัญทีท่ า� ให้ผลงานนีน้ า่ สนใจ คือ หลักการ ท�างานโดยชุดก�าเนิดความร้อนจะท�าหน้าที่ เป็นตัวก�าเนิดความร้อน และถ่ายเทความร้อน ไปยังหม้อต้มน�้า เมื่ออุณหภูมิน�้าสูงขึ้นจะท�า ให้ น�้ า เดื อ ดกลายเป็ น ไอและระเหยไปยั ง ชุดปรับแรงดันจนไอน�้าเกิดการอัดตัวแน่น เมือ่ ไอน�า้ ร้อนและมีความดันมากขึน้ จึงเปลีย่ น สภาวะจากไอน�า้ ธรรมดากลายเป็นไอน�า้ ยิง่ ยวด ซึ่งจะพุ่งขึ้นสู่ภายในหม้อนึ่งที่บรรจุกระติบ ข้าวส�าหรับนึ่ง โดยท�าจากไม้ไผ่สานเป็นรูป ทรงกระบอก และนึ่งประมาณ 30-35 นาที จะท�าให้ขา้ วสารเหนียวทีอ่ ยูใ่ นกระติบ สุก นุม่ และมีกลิน่ หอมน่ารับประทาน ทัง้ นี้ ข้าวสาร

ที่จะน�ามาหุงต้องน�าไปล้างให้สะอาดและแช่น�้าไว้ก่อนประมาณ 3-6 ชั่วโมง ซึ่งหาก เปรียบเทียบกับการนึ่งโดยใช้เตาถ่านหรือเตาแก๊ส กระติบไฟฟ้าจะนึ่งข้าวเหนียวให้สุก ได้ในเวลา 30–35 นาที ส่วนเตาถ่านหรือเตาแก๊สจะใช้เวลา 40-45 นาที อีกทั้งการนึ่ง ด้วยเตาถ่านจะมีเขม่าควันท�าให้อุปกรณ์และที่พักอาศัยสกปรก ประกอบกับกระติบไฟฟ้า สามารถเคลื่อนย้ายหรือเก็บรักษาและท�าความสะอาดได้ง่ายกว่าชุดนึ่งที่ใช้ในปกติทั่วไป ส�าหรับผลงานกระติบไฟฟ้า (Electric Sticky Rice Cooker) ของโรงเรียนอุบลรัตน์พิทยาคม จังหวัดขอนแก่น “กระติบไฟฟ้า” โดดเด่นด้วยคุณสมบัติพิเศษในการนึ่งประกอบอาหาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพใช้เวลาน้อยและประหยัดพลังงาน เมล็ดข้าวเหนียวที่ได้จะเป็นเงา สวยหอมนุ่มอร่อย และยังประยุกต์ใช้กับการนึง่ อาหารหลากหลายประเภท ผลงานนีส้ ามารถ กวาดไปถึง 5 รางวัล คือ 1. รางวัลพิเศษเกียรติยศ HonorableMention Awards 2. รางวัล Special Award จากประเทศเกาหลีใต้ 3. รางวัล Special Award จากประเทศกาตาร์ 4. รางวัล Special Award จากประเทศไต้หวัน และ 5. รางวัลนวัตกรรมที่ชาญฉลาด TIIIA Outstanding Diploma จาก TIIIA ประเทศไต้หวัน

MayMay 2015201587 87


Energy Report

คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุ โส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

โลกไมไดสนใจวาคุณรูอะไร...

แตสนใจวาคุณจะทําอะไรจากสิ่งที่คุณรู

¨Ò¡¤ํÒ¡Å‹ÒÇ·Õ่Ç‹Ò “âÅ¡äÁ‹ä´ŒÊ¹ã¨Ç‹Ò¤Ø³ÃÙŒÍÐäÃ...ᵋʹã¨Ç‹Ò¤Ø³¨Ð·ํÒÍÐäèҡ ÊÔ่§·Õ่¤Ø³ÃÙŒ” ¼ÙŒà¢Õ¹¢Í¹ํÒàʹͼٌ»ÃСͺ¡Ò÷Õ่¹‹Ò¨Ð໚¹µÑÇá·¹¢Í§ÇÃä·Í§¹Õ้ 䴌໚¹Í‹ҧ´Õ ¹Ñ่¹¤×Í ºÃÔÉÑ· àÍÊ.ºÕ.¾Õ. ·ÔÁàºÍà ¡ÃØ » ¨ํÒ¡Ñ´ «Ö่§ä´Œ¹ํÒÊÔ่§·Õ่àÃÕ¹ÃÙŒ áÅлÃÐʺ¡Òó ã¹àÃ×่ͧ “äÁŒ” ÁÒÊÃä ÊÌҧÊÔ่§ãËÁ‹ æ ãËŒà¡Ô´¢Ö้¹¡Ñº¼ÅÔµÀѳ± à¾×่͹ํÒàʹ͵‹Í¸ØáԨ´ŒÒ¹¼ÅÔµÀѳ± áÅСÒá‹ÍÊÌҧÍ‹ҧäÁ‹ËÂØ´¹Ô่§

กับคําพูดทีว่ า “ไม...ใชไดทงั้ ในการตกแตงภายในและใชกบั งานโครงสรางภายนอกได ดวยเทคโนโลยี และนวัตกรรม” นีค่ อื สิง่ ทีบ่ ริษทั ฯ ไดนาํ ความชํานาญการทีส่ งั่ สมจากรุน สูร นุ มากวา 30 ป ทําให “ไม...เปนมากกวาไม” โดยเริม่ จากการเปนผูผ ลิตและจําหนายผลิตภัณฑจากไม เชน ไมแบบกอสราง ไมแปรรูป ไมพนื้ ไมควิ้ ขอบบัว จนกลายมาเปนบริษทั ชัน้ นําทีม่ กี ารพัฒนาอยางตอเนือ่ ง ทัง้ ดาน คุณภาพและรูปลักษณผลิตภัณฑ และสามารถขยายธุรกิจดวยการกอตั้ง บริษัท ไพรซออฟวูด อินดรัสทรีส จํากัด เพือ่ ผลิตสินคาจากไม ภายใตแบรนด ชารเลย (CHALE’T) ซึง่ แสดงถึงความ เปนผูนําดานนวัตกรรมในสินคาประเภทไมและการกอสรางแหงการอยูอาศัยครบวงจร เกือบ 10 ป ทีผ่ า นมา บริษทั ฯ ไดรบั การสนับสนุนจากโครงการ iTAP สวทช. มาอยางตอเนือ่ ง ตัง้ แต ป พ.ศ.2548 ถึงปจจุบนั ในหลากหลายโครงการเพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เพิม่ คุณภาพ ลดตนทุน และสรรคสราง ผลิตภัณฑใหม ๆ สูต ลาดอยางตอเนือ่ งไมหยุดยัง้ และหนึง่ ในโครงการทีท่ าํ ใหบริษทั ฯ เปนทีจ่ บั ตา มองมากทีส่ ดุ คือ โครงการพัฒนาบานพักอาศัยกึง่ สําเร็จรูป (Prefabrication House) ซึง่ ริเริม่ และดําเนินการระหวาง ป 2554 - ปจจุบนั เหตุเพราะผูบ ริหารมีนโยบายทีจ่ ะขยายธุรกิจและผันจาก การเปนเพียง Supplier วัสดุเขาสูอุตสาหกรรมกอสราง มาเปนผูผลิตบานพักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป

ภาพคณะผูเชี่ยวชาญ, คณะทํางาน และผูประกอบการที่เขารวมโครงการ Prefab Innovation

PB 88

2015 MayMay 2015

โดยใชศกั ยภาพทีบ่ ริษทั ฯ มีทงั้ ในดานวัสดุประเภท “ไม” ที่บริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญ ขีดความ สามารถทางการผลิตชิน้ สวนและพืน้ ฐานเทคโนโลยี เครื่องมือ เครื่องจักรที่บริษัทฯ ใชอยูเ ดิม เพือ่ นํา เสนอจุดแข็งของบริษทั ตอกลุม ผูบ ริโภคเปาหมาย เพื่ อ ให ไ ด รู ป แบบการทํ า งานที่ ไ ด ม าตรฐาน ควบคุมตนทุนการผลิตได และสามารถปรับรูปแบบ ไดตามความตองการของลูกคา รวมทัง้ การปรับ มุมมองทางดานสถาปตยกรรม ทั้งนี้ ถือเปนการ ทํางานรวมกันอยางแข็งขันระหวางผูเชี่ยวชาญ และบริษัทฯ โดยเริ่มตนตั้งแตการวิจัยตลาด การวิจยั และพัฒนาตนแบบ การวิเคราะห/ทดสอบ รวมทั้งการออกแบบพื้นที่ใชสอย ผานการ สนับสนุนจากโครงการ iTAP ภายใต ศูนยบริหาร จัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ในโครงการ Prefab Innovation โดยมี อ.กัลยา โกวิทวิสทิ ธิ์ เปนหัวหนาคณะผูเ ชีย่ วชาญ จาก คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ทําใหบริษทั สามารถกําหนดตําแหนง ทางการตลาดสําหรับบานกึง่ สําเร็จรูป ในรูปแบบ ผสมผสานความเปนทีพ่ กั อาศัยสวนตัวขนาดเล็ก กับบานพักตากอากาศระดับ 5 ดาว ไดอยางลงตัว โดยยังใชวสั ดุทเี่ ปนไม ตามความถนัดของบริษทั ฯ โดยรูปแบบของที่พักจะเปนระบบ Modular ที่ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นพื้ น ที่ ใช ส อยได ต าม ความตองการของลูกคาไดมากกวา 10 รูปแบบ ที่ตัวอาคารสื่อถึงความเปนธรรมชาติและความ ทันสมัยไดอยางลงตัว รวมทั้งผูบริโภคสามารถ เลือกชิน้ สวนประกอบอืน่ ๆ เชน ประตู หนาตาง วัสดุปด ผิวไดอยางอิสระ และมีการพัฒนารูปแบบ ในระบบดิจิตอล เพื่อใหลูกคาไดเลือกและปรับ รูปแบบกอนทําการผลิตจริง ในสวนของการขนสง และติดตั้ง บริษัทสามารถพัฒนาศักยภาพให สามารถติดตั้งที่หนางานโดยใชเวลาเพียง 3 วัน เทานั้น ถือเปนความกลาที่จะกาวขามความ เปลีย่ นแปลงของบริษทั ฯ ในการเขาสูอ ตุ สาหกรรม กอสรางอยางเต็มตัว หลังจากการเปดตัวที่พัก อาศัยกึง่ สําเร็จรูปภายใตแบรนด “Wood Mood”


ภาพผลิตภัณฑตนแบบบานพักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป ที่สามารถเลือก space, module และ finishing ไม ตามรูปแบบ Lifestyle และ Character เพื่อสรางพื้นที่ที่สื่อถึงความเปนตัวตนของผูอยูอาศัย ที่ทําการเปดตัวครั้งแรกที่งานบานและสวนแฟร 2012 และการนําเสนอขอมูลตนแบบฯ ที่บูธ นิทรรศการของโครงการ Prefab Innovation ในงานบานและสวนแฟร 2014 ณ อาคาร ชาเลนเจอร ศูนยการแสดงสินคา อิมแพ็ค เมืองทองธานี คุณคมวิทย บุญธํารงกิจ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เอส.บี.พี. ทิมเบอร กรุป จํากัด กลาวถึงโครงการ พัฒนาทีพ่ กั อาศัยสําเร็จรูป ทีไ่ ดรบั การสนับสนุนโดยโครงการ iTAP สวทช. วา ไดรเิ ริม่ ดําเนินโครงการ รวมกัน ตัง้ แตการศึกษาคุณสมบัตขิ องเนือ้ ไมทจี่ ะนํามาประกอบเปนโครงสรางบานสําเร็จรูป มีความ แข็งแรงทนทาน มีวศิ วกรออกแบบเทคโนโลยีการผลิตและสถาปตยกรรมทีท่ นั สมัย เขาถึงธรรมชาติ เสมือนมีบานพักตากอากาศที่เปนสวนตัว ลูกคาสามารถออกแบบบานไดตามสไตล ดีไซนทันสมัย สวยงาม มีใหเลือก 11 แบบ 11 อารมณ กอสรางเสร็จไดอยางรวดเร็วภายใน 15 วัน (ตอพื้นที่ 30 ตร.ม.) เพราะเปนการประกอบแบบเลโก ถอดออกไดงา ย ทําใหเคลือ่ นยายไดสะดวก ตนทุนการเคลือ่ นยายเพียง 20% เมื่อเทียบกับการกอสรางแบบเดิม และมีแผนที่จะพัฒนา เปนบาน 3-4 ชัน้ ในอนาคต นอกจากนีย้ งั ไดรบั คําแนะนํา และคําปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญ ในแนวทางการออกแบบ ผลิตชิน้ สวน เทคนิคการติดตัง้ และประกอบบานสําเร็จรูป ตลอดจนต อ ยอดในเชิ ง พาณิ ช ย ไ ด อ ย า งเป น รู ป ธรรม โดยการพัฒนาบานพักอาศัยกึง่ สําเร็จรูป ภายใตแบรนด “วูด มูด” (Wood Mood) ถือเปนการสะทอนชือ่ สินคาได เปนอยางดี นัน่ คือ “บานสําหรับลูกคาทีต่ อ งการบาน สําเร็จรูปอารมณของไมอยางแทจริง” ซึง่ ลูกคาสามารถ ปรับเปลีย่ นแบบบานได 3 แนวทาง คือ 1). ฟงกชนั่ รูปแบบ การใชงานในชีวติ ประจําวัน 2). สไตล ภาพสะทอนรสนิยม และบุคลิกของผูอ ยูอ าศัย 3). อารมณ อารมณของเจาของ บานที่สื่อสารผานชนิดและสีสันของไม นอกจากนี้อาคาร ที่สรางขึ้นนี้จะมุงเนนใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย ทีส่ ดุ เปนอาคารทีป่ ระหยัดพลังงานไฟฟา ประหยัดการใชนาํ้ คุณคมวิทย บุญธํารงคกิจ ใชวัสดุกอสรางที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อันตอเนื่องและ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอส.บี.พี. ทิมเบอร กรุป จํากัด สงผลไปถึงการลดโลกรอน ซึ่งกําลังอยูในกระแส Green

ทีก่ าํ ลังรวมรณรงคกนั ทัว่ โลกอยูใ นปจจุบนั และ “ดวยความมุง มัน่ ในการพัฒนาอยางไมหยุดยัง้ ” บริษทั ฯ จึงมีผลิตภัณฑไมทมี่ คี ณ ุ ภาพตอบสนอง ตอความตองการของผูบริโภคอยางครบครัน (One Stop Shopping) ในทุกดานของการใชงาน ทัง้ งานวิศวกรรมโครงสราง งานออกแบบตกแตง ภายใน และงานสถาปตยกรรม เพือ่ การดําเนิน ธุรกิจอยางซือ่ ตรง และมุง เนนคืนสิง่ ดี ๆ แกสงั คม หากผู  อ  า นสนใจจะขอรั บ การสนั บ สนุ น จาก สวทช. สําหรับธุรกิจอุตสาหกรรมกอสราง และ รับสรางบาน เพือ่ เขารวมโครงการใหม เริม่ เปด รับสมัครแลว เพือ่ จะเริม่ ตนโครงการในตนป 2558 สามารถสอบถามขอมูลเพื่อยื่นใบสมัครเขารวม โครงการดาน Prefabrication Innovation และ นวัตกรรมระบบอาคารทางสถาปตยกรรมและ ระบบประกอบที่อยูอาศัย ไดที่ คุณชนากานต สันตยานนท โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@tmc.nstda.or.th ฉบับหนาผูเ ขียนจะนําเสนอขอมูลดานเทคโนโลยี และนวัตกรรมในเรื่องใด โปรดติดตามอานใน ฉบับหนาคะ ขอบคุณ อ.กัลยา โกวิทวิสทิ ธิ์ สําหรับขอมูล ดานเทคโนโลยีของโครงการฯ

May2015 2015 89PB May


Energy Loan กรีนภัทร์

SPCG จับมือ ธ.กรุงไทย

ปลอยสินเชื่อโซลารรูฟ วงเงิน

100 ลานบาท

ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ “¾Åѧ§Ò¹áʧÍҷԵ º¹ËÅѧ¤ÒËÃ×Íâ«ÅÒà ÃÙ¿” ¡ํÒÅѧ໚¹·Õ่ʹã¨à¾ÃÒй͡¨Ò¡¨ÐÊÒÁÒö¼ÅԵ俿‡Òä´Œ àͧáÅŒÇ ÂѧÊÒÁÒö¹ํÒ¡ÅѺ仢ÒÂãËŒ¡Ñº¡ÒÃä¿¿‡Ò¹¤ÃËÅǧ (¡¿¹.) áÅСÒÃä¿¿‡ÒʋǹÀÙÁÔÀÒ¤ (¡¿À.) ä´ŒÍÕ¡ ´ŒÇ áÅÐàÁ×่ÍàÃ็Ç æ ¹Õ้ ·Ò§ºÃÔÉÑ· àÍÊ¾Õ«Õ¨Õ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) (SPCG) 䴌ËÇÁ¡Ñº ¸¹Ò¤ÒáÃاä·Â»Å‹ÍÂÊÔ¹àª×่Í ºØ ¤ ¤ÅãËŒ¡ÑºÅÙ¡¤ŒÒ ¢Í§ ºÃÔÉÑ· àÍÊ¾Õ«Õ¨Õ ¨ํÒ¡Ñ´ ·Õ่µŒÍ§¡ÒõԴµÑ้§¾Åѧ§Ò¹áʧÍÒ·Ôµ  º ¹ËÅѧ¤ÒËÃ×Íâ«ÅÒà ÃÙ¿ «Ö่§àº×้ͧµŒ¹¨Ð»Å‹ÍÂÊÔ¹àª×่Í 300 ÃÒ ǧà§Ô¹¡ÙŒÃͺáá»ÃÐÁÒ³ 100 ŌҹºÒ·

คุณจิรารักษ กุลสิงห ผูอํานวยการฝายบริหาร ฝายทีมผลิตภัณฑสินเชื่อบุคคล ธนาคาร กรุงไทย เปดเผยวา ธนาคารพรอมปลอยสินเชื่อบุคคลใหกับลูกคาของ บริษัท เอสพีซีจี จํากัด ที่ตองการติดตั้งพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคาหรือโซลารรูฟ โดยในเบื้องตน จะปลอยสินเชื่อ 300 ราย วงเงินกูรอบแรกประมาณ 100 ลานบาท แตถาลูกคายื่นขอ สินเชื่อมากกวานี้ ธนาคารพรอมพิจารณาใหสินเชื่อโดยไมจํากัดวงเงิน เพราะตามแผน ของบริษัทฯ ตั้งเปาติดตั้งโซลารรูฟใหได 1,000 หลังคาเรือน และถาไดรับการตอบรับจาก ลูกคาเปนอยางดี ธนาคารจะปลอยกูใหกับลูกคาทั่วไปที่มีสัญญาซื้อขายไฟกับการไฟฟา นครหลวง (กฟน.) และการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) โดยใชที่อยูอาศัยเปนหลักทรัพย คํ้าประกันการขอกู นอกจากนี้ทางธนาคารยังไมมีความกังวลในเรื่องของปญหาความเสี่ยงและหนี้ที่ไมกอ ใหเกิดรายได หรือ เอ็นพีแอล เนื่องจากลูกคาที่ขอสินเชื่อนั้นจะตองมีรายไดไมตํ่ากวา 50,000 บาทตอเดือน และมีสถานะเปนเจาของบานและที่อยูอาศัย รวมทั้งผานการ อนุมัติจาก กฟน. และ กฟภ.ใหเปนผูขายไฟฟา ขณะเดียวกันจะตองไมมีประวัติหนี้เสีย เพราะการปลอยกูในแตละครั้งจะตองมีการตรวจสอบขอมูลเครดิตบูโรใหกับลูกคา ถาพบวามีหนี้สินมากเกินไปก็จะไมพิจารณาใหสินเชื่อ โดยสินเชื่อเพื่อการติดตั้ง SPR Solar Roof นั้น ผูที่สนใจสามารถวางเงินดาวนได 2 แบบ คือ วางเงินดาวน 30% ไดรับ อัตราดอกเบี้ย 8.88 % และ วางเงินดาวน 20% จะไดรับอัตราดอกเบี้ย 9.99% สําหรับ ผอนชําระ 8 ป นอกจากนี้เปนอัตราดอกเบี้ยที่ไมตองมีหลักทรัพยคํ้าประกันอีกดวย โดยนํารายไดจากการขายไฟฟามาผอนชําระแกแบงกกรุงไทยเปนรายเดือน

90

May 2015

คุณวันดี กุญชรยาคง ประธานกรรมการ และกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั เอสพีซจี ี กลาวเสริมวา การติดตั้ง SPR Solar Roof จะมีใหเลือก 2 แบบ ลูกคาสามารถเลือก ติดตั้งไดตามตองการ ไดแก ขนาดกลาง (Size L) สําหรับพืน้ ทีห่ ลังคา 36 ตารางเมตร มีขนาดติดตัง้ 4.5 KWp ราคา 375,000 บาท และขนาดใหญ (Size XL) โดยมีพนื้ ทีห่ ลังคา 80 ตารางเมตร ขนาดติดตัง้ 10 KWp ราคา 820,000 บาท เริม่ ตนผอนเพียง 3,830 บาท โดยจะใชระยะเวลาคืนทุนประมาณ 9-10 ป ขึ้ น อยู  กั บ ความเข ม ของแสงอาทิ ต ย และการรวมมือกันครั้งนี้ เปนการสนอง นโยบายรัฐที่ประกาศรับซื้อพลังงานแสง อาทิ ต ย ติ ด ตั้ ง บนหลั ง คาประเภทที่ อ ยู  อาศัยไมเกิน 10 กิโลวัตต ซึ่ง กฟน. และ กฟภ. จะรับซื้อไฟฟาจากลูกคาอัตรา 6.85 บาทตอหนวย ระยะเวลา 25 ป โดยนํา รายได จ ากการขายไฟฟ า รายเดื อ นจ า ย ชํ า ระค า อุ ป กรณ ใ ห กั บ ธนาคารกรุ ง ไทย และลู ก ค า ที่ ร  ว มโครงการต อ งยื่ น แบบ คําขอขายไฟฟาไมเกินวันที่ 30 มิ.ย. 2558 นี้ สวนการปรับระบบสายปอนแรงสงไฟจาก ที่อยูอาศัยมาใหกับ กฟภ. และ กฟน. เชือ่ วาไมมปี ญ  หา สําหรับผูท สี่ นใจสามารถ ติดตอ บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร ซึง่ เปน ผูแทนจําหนายทั่วประเทศ Call Center โทร. 0-2831-6000 หรือ ขอขอมูลเพิม่ เติม ไดที่ SPR Call Center โทร. 0-2712-6202–8


May 2015 PB


Special report เจด้า

โครงการ

“น�าตลับหมึกคืนกลับมา น�าผืนป่ากลับสูช่ มุ ชน” พลิกคืนผืนป่าใน 3 เดือนกับ 52,590 ต้นกล้า

บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กับพันธกิจเพื่อ สังคมตลอดระยะเวลำ 3 ปี ได้จัดกิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม ด้ ว ยกำรปลู ก ป่ ำ เพื่อ เพิ่มพื้นที่สีเขียว และล่ำ สุดกับโครงกำร “น�ำตลับหมึกคืนกลับมำ น�ำผืนป่ำกลับสู่ชุมชน” ที่ประสบควำม ส� ำ เร็ จ เป็ น อย่ ำ งมำก ในกำรคื น พื้ น ที่ สี เ ขี ย วให้ แ ก่ ชุ ม ชนและ แหล่งอนุบำลของสัตว์น�้ำ

หลั ง จากการที่ มี ลู ก ค้ า น� า ตลั บ หมึ ก ที่ ใช้ แ ล้ ว ส่ ง คื น กลั บ มายั ง บริษัทฯ ผ่านช่องทางต่างๆ โดยเฉพาะกล่องรับคืนตลับหมึกที่ได้ รับความร่วมมือจากออฟฟิศเมทและดีลเลอร์ทั่วประเทศ ซึ่งตลับ หมึกเก่าที่ได้มาทาง ฟูจิ ซีร็อกซ์ จะน�าไปเข้าโรงงานรีไซเคิลที่ ปราศจากมลพิษ ณ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ อีโค่-แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด ส่วนการปลูกป่านั้น เป็นกิจกรรมที่เน้นการส่งเสริมด้านความผูกพัน การร่วมแรงร่วมใจของพนักงาน ให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ด้วยการมารวมกลุ่มมาท�ากิจกรรมตอบแทนสังคมร่วมกัน มร.โคจิ เทสึกะ ประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์(ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า กิจกรรมนี้ เป็นไปตามนโยบายของบริษัทในเรื่องของการ สร้างความตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการ มุ ่ ง มั่ น อย่ า งเต็ ม ก� า ลั ง ที่ จ ะปกป้ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มโลกและป้ อ งกั น ปัญหามลพิษ ซึ่งจากความร่วมมืออย่างพร้อมเพรียงจากบุคลากร ท�าให้ปลายทางของโครงการนี้ ประสบความส�าเร็จลุล่วงด้วยดี และพวกเรามีความภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง

9292

May May2015 2015


Special report

จากระยะเวลาเพียง 3 เดือน ของโครงการ “น�ำตลับหมึกคืนกลับมำ น�ำผืนป่ำกลับ สู่ชุมชน” ของทาง ฟูจิ ซีร็อกซ์ ประสบ ความส�าเร็จเป็นอย่างมาก สามารถรวบรวม ตลับหมึกได้ทั้งหมด 52,590 ตลับ ซึ่งทาง ผู้บริหารและพนักงานของ ฟูจิ ซีร็อกซ์ ได้ด�าเนินการปลูกไม้ชายเลนไปแล้วจ�านวน 590 ต้น เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ณ ศูนย์ศึกษา ธรรมชาติ ก องทั พ บกฯ (บางปู ) จั ง หวั ด สมุทรปราการ และได้มอบเงินทุนสนับสนุน การปลูกป่าอีกจ�านวน 52,000 บาท เพื่อใช้ เป็นทุนส�าหรับการปลูกทดแทนหากต้นไม้ ที่ปลูกไว้ตายลง รวมทั้งเพื่อสนับสนุนการ ด�าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของทางศูนย์ฯ ต่อไป ช่วยสร้างความเชื่อมั่นว่าโครงการนี้ จะก่อ ให้ เ กิ ด ประโยชนสู ง สุ ด แก่ ก ารอนุ รั ก ษ์ ธรรมชาติตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่ ต้ อ งการลดผลกระทบต่ อ สภาพแวดล้ อ ม จากกิจกรรมในการด�าเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้อง กับการใช้กระดาษ และพลังงานไฟฟ้า

ทั้งนี้ ตลับหมึกที่น�าส่งไปยัง บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ อีโค่-แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด จะน�าเข้า สู่กระบวนการรีไซเคิลตามนโยบายการฝังกลบเป็นศูนย์ (Zero Landfill) ด้วยระบบหมุนเวียน แบบปิ ด (Closed-loop System) คื อ ส่ ว นต่ าง ๆ ที่ไม่สามารถน�ากลับ มาใช้ได้ใหม่ จะถูกน�าไปแยกส่วนและน�าไปรีไซเคิลอีกที และจะคัดแยกตลับหมึกที่สภาพยังใช้งานได้ ไปสู ่ ก ระบวนการรี แมนู แฟคเจอริ่ ง โดยมี ก ารควบคุมการผลิตตามมาตรฐาน ISO 9001 แล้ ว น� ากลั บไปจ� าหน่ ายในประเทศญี่ ปุ ่ น เพื่ อลดปริมาณของเสียในสิ่งแวดล้อ มต่อ ไป นี่คือการรวมพลังของกลุ่มเอกชนอีกครั้งหนึ่งเพื่อสังคมโลก สังคมไทยและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมดังกล่าว ถือเป็นอีกหนึ่งโครงการที่นอกจากจะเป็นการก�าจัดขยะแล้ว ขยะเหล่านี้ ยังมีส่วนย้อนกลับมาสู่ชุมชนเพื่อกลับสู่วิถีอนุรักษ์อย่างยังยืนต่อไป

May May2015 2015 9393


Special Scoop จีรพร ทิพย์เคลือบ

ส่องรถประหยัดพลังงาน Bangkok Motor Show 2015 จบไปแล้วส�ำหรับงำนแสดงรถยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปี “บำงกอก อินเตอร์ เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ ครั้งที่ 36” (The 36th Bangkok International Motor show) โดยกำรด�ำเนินงำนของบริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหำชน) ซึง่ งำนในปีนจี้ ด ั ขึน ้ ภำยใต้แนวคิด Art of Auto : ยนตรกรรมไร้พรมแดน ค่ำยรถดัง ๆ หลำยค่ำย ต่ำงน�ำรถประหยัดพลังงำนมำอวดโฉมเพื่อดึงดูดมวล มหำชนที่ เ ข้ ำมำชมงำนอย่ำ งคับคั่ง Special scoop ฉบับนี้จะพำไปยลโฉม รถประหยัดพลังงำนของแต่ละค่ำยที่น�ำมำประชันกันในงำนมอเตอร์โชว์

เริ่มกันที่พี่ใหญ่ในอุตสาหกรรมยานยนต์โลกอย่าง บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ากัด ได้อวดโฉมรถยนต์พลังงานเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell Vehicle – FCV) “โตโยต้า มิไร” (TOYOTA MIRAI) เรียกได้ว่าเป็นระบบเซลล์เชื้อเพลิงโตโยต้า (Toyota Fuel Cell System-TFCS) ซึ่งมีต้นก�าเนิดมาจากการผสานการท�างานของ เทคโนโลยีเซลล์เชือ้ เพลิงกับนวัตกรรมไฮบริดออกสูส่ ายตาประชาชนโลก เป็นการส่งสัญญาณ ว่า “ยุคใหม่แห่งยานยนต์” ก�าลังเริ่มต้นขึ้น โดยระบบเซลล์เชื้อเพลิงลิขสิทธิ์ใหม่ล่าสุด ของโตโยต้า อย่างเซลล์เชือ้ เพลิงโตโยต้า (FC Stack) และถังเก็บไฮโดรเจนแรงดันสูงทีถ่ กู น�า มาใช้ในมิไรนั้น กล่าวได้ว่าประหยัดพลังงานกว่าระบบเครื่องยนต์เผาไหม้และไม่ปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือสารทีม่ ผี ลกระทบต่อร่างกายมนุษย์ (Substance of Concern— SOCs) ‘มิไร’ คือ ยนตรกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเพียบพร้อมด้วยคุณสมบัติ ที่ยานยนต์รุ่นใหม่ควรจะมี ทั้งดีไซน์โดดเด่นสะดุดตา ประกอบกับการขับขี่ที่เหนือชั้น ด้ ว ยเสถี ย รภาพแห่ ง การ ควบคุมยานยนต์ที่เหนือกว่า ทั้งยังประกอบไปด้วยระบบ เทเลมาติ ก ส์ (Telematics Service) เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการ ขับขีจ่ ะปลอดภัย มีเสถียรภาพ และสะดวกสบาย อีกทัง้ รถรุน่ นี้ ยังสามารถเป็นแหล่งพลังงาน ส�ารองที่ทรงประสิทธิภาพถึง สองเท่า หากเกิดเหตุการณ์ ไฟฟ้าดับ ภัยพิบัติ หรือเหตุ ฉุกเฉินอื่น ๆ ซึ่งในประเทศ 94

May 2015

ญีป่ น่ ุ “โตโยต้า มิไร” ถูกน�าออกมาจ�าหน่าย ในเชิงพาณิชย์แล้ว แต่สา� หรับประเทศไทย จะได้ เ ห็ น รถคั น นี้ วิ่ ง บนท้ อ งถนนเมื่ อ ใด ต้องคอยจับตาดูให้ดี ๆ มาต่อกันที่ บีเอ็มดับเบิลยู ประเทศไทย ค่ายนีเ้ รียกได้วา่ ต้องมีเซอร์ไพรส์ตลอดและ ในงานนี้ก็อีกเช่นเคย ซึ่งค่ายใบพัดสีฟ้า ขนรถคอนเซ็ปต์ทเี่ ตรียมเป็นโปรดักชัน่ คาร์ ในอนาคตมาอวดโฉม เพื่อหยั่งเชิงตลาด และสร้างการรับรูไ้ ปถึงกลุม่ ลูกค้าผูห้ ลงใหล ในนวัตกรรมจากค่ายรถยนต์สญ ั ชาติเยอรมัน โดยไฮไลต์ในบูธของบีเอ็มดับเบิลยู คือ BMW Concept X5 eDrive (บีเอ็มดับเบิลยู คอนเซ็ปต์ เอ็กซ์ 5 อีไดรฟ์) รถรุน่ นีไ้ ด้รบั การ ความสนใจจากเหล่าสาวกบีเอ็มดับเบิลยูไ ด้ เป็นอย่างดี ด้วยรูปลักษณ์ทดี่ บู กึ บึน พร้อม ลุยไปได้ทุกที่ คงความเป็นเอกลักษณ์ของ เอสยูวจี ากบีเอ็มฯ ทีม่ าพร้อมกับเครือ่ งยนต์ 4 สูบ ทวินพาวเวอร์ เทอร์โบ ก�าลัง 180 กิโลวัตต์ (245 แรงม้า) โดยจะท�างานร่วม กับมอเตอร์ไฟฟ้า ขุมก�าลัง 70 กิโลวัตต์ (95 แรงม้า) โดยในส่วนของมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้ พ ลั ง งานจากแบตเตอรี่ ลิ เ ธี ย ม-ไออน สามารถชาร์จพลังงานได้จากไฟบ้านทัว่ ไป และเดินทางได้ไกลถึง 30 กิโลเมตรต่อการ ชาร์จไฟ 1 ครัง้ ยิง่ ไปกว่านัน้ BMW Concept X5 eDrive สามารถเลือกปรับโหมดการขับขี่ (BMW Driving Experience) ได้ 3 รูปแบบ ได้แก่ โหมด AUTO eDrive ส�าหรับการ ขับขี่ที่ต้องการความสปอร์ต เร้าใจ และ ประหยัดเชือ้ เพลิง อีกโหมดคือ MAX eDrive


เครื่องยนต์จะขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าอย่างเดียว ไม่ปล่อย ควันเสีย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และโหมดสุดท้าย คือ SAVE Battery ส�าหรับประหยัดพลังงานขณะที่แบตเตอรี่ใกล้จะหมด แม้แต่ เมอร์เซเดส-เบนซ์ ประเทศไทย เปิดตัวแบรนด์สปอร์ตพลังแรง Mercedes-AMG เป็นทางการ พร้อมด้วยการเปิดตัวรถพรีเมี่ยมอีก 5 รุ่น โดยไฮไลท์คือ The new C-Class BlueTEC HYBRID ยนตรกรรมในตระกูล C-Class ที่เข้ามาเติมเต็มพอร์ทโฟลิโอของ รถยนต์ดีเซลไฮบริดในกลุ่ม Contemporary Luxury ให้ครบครันมาก ยิง่ ขึน้ โดยรถยนต์ทง้ั 2 รุน่ คือ C 300 BlueTEC HYBRID Exclusive และ C 300 BlueTEC HYBRID AMG Dynamic มาพร้อมกับ เทคโนโลยี HYBRID การท�างานอย่างยอดเยี่ยมของระบบควบคุม พลังงาน ซึ่งท�าหน้าที่ในการผสานการท�างานระหว่างเครื่องยนต์ ดีเซลแบบ 4 สูบกับมอเตอร์ไฟฟ้า และระบบเกียร์ให้เป็นไปโดย อัตโนมัติ ท�าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการประหยัดเชื้อเพลิงและ ลดมลพิษทุกครัง้ ทีช่ ะลอความเร็วหรือเบรก มอเตอร์ไฟฟ้าจะท�าหน้าที่ เป็นเจนเนอเรเตอร์แปลงพลังงานจลน์ที่เหลืออยู่ในระบบขับเคลื่อน ให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าสะสมไว้ในแบตเตอรี่ลิเธี่ยม-ไอออน เพือ่ เก็บส�ารองไว้และน�ากลับมาใช้ใหม่อกี ครัง้ ซึง่ รถยนต์ รุน่ นีย้ งั ได้ผา่ น มาตรฐานความสิน้ เปลืองน�า้ มันเชือ้ เพลิงและปริมาณไอเสีย (Euro 6) ที่เข้มงวดอีกด้วย ทางด้านค่ายรถอีโคคาร์อย่าง บริษัท มาสด้า เซลส์ ประเทศไทย จ�ากัด ประกาศศักดาด้วย “มาสด้า2 สกายแอคทีฟ” ใหม่รถยนต์ ภายใต้โครงการอีโคคาร์ ระยะที่ 2 (Eco Car Phase 2) ซึ่งรุ่นแรก เป็นเครื่องยนต์ดีเซล Skyactiv D 1.5 ลิตร เพิ่งวางจ�าหน่ายเป็น ทางการไปเมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา และล่าสุดในงานนี้ มาสด้าได้เพิม่ ตัวเลือกใหม่กบั รุน่ เครือ่ งยนต์เบนซิน Skyactiv G 1.3 ลิตร ซึ่งจะว่าไปทั้งตัวถัง รูปลักษณ์ และอุปกรณ์มาตรฐานต่าง ๆ ยกมา จากรุน่ เครือ่ งยนต์ดเี ซลนัน่ เอง แตกต่างก็เพียงเป็นเครือ่ งยนต์เบนซิน โดยจุดเด่นของมาสด้า 2 เวอร์ชั่นอีโคคาร์ ย่อมต้องเป็นเทคโนโลยี สกายแอคทีฟทัง้ คัน ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งยนต์ โครงสร้างตัวถัง ช่วงล่าง และระบบส่งก�าลัง ซึง่ ในรุน่ เครือ่ งยนต์เบนซินก็เช่นเดียวกัน โดยวาง เครือ่ ง SKyactiv G 1.3 ลิตร 93 แรงม้า ทีถ่ อื ว่ามีขนาดใหญ่และแรงสุด ในกลุ่มอีโคคาร์ปัจจุบัน และยังมากับเกียร์อัตโนมัติ Skyactiv-Drive 6 สปีด ไม่เพียงเท่านั้นความโดดเด่นของมาสด้า 2 ยังอยู่ที่การน�า เทคโนโลยีทันสมัยมาใส่ ไม่ว่าจะเป็นการติดตั้งระบบ i-Stop และ ล�้าหน้ากว่านั้นมี i-Eloop หรือระบบเปลี่ยนรูปพลังงานที่สูญเสีย จากการชะลอหยุดรถให้เป็นพลังงานไฟฟ้า เพื่อน�าไปใช้เลี้ยงระบบ ไฟฟ้าของอุปกรณ์ภายในรถ ท�าให้พลังงานจากเครื่องยนต์ถูกใช้ ในการขับเคลื่อนรถได้อย่างเต็มที่ ช่วยประหยัดพลังงานและน�้ามัน เชื้อเพลิงลงได้ถึง 10% May 2015 95


Special Scoop จีรพร ทิพย์เคลือบ

ไม่ใช่เพียงแค่คา่ ยมาสด้าเท่านัน้ ทีน่ า� อีโคคาร์มาตีตลาด ผูส้ ร้างกระแสรถเล็กสุดประหยัดและ คุ้มค่าอย่าง บริษัท ซูซูกิ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เผยโฉม “All New Suzuki CIAZ” (ออลนิว ซูซูกิ ซีอาส) รถยนต์ซีดานผสานดีไซน์สปอร์ตและความสง่างาม สรรค์สร้างขึ้นด้วย เทคโนโลยีและวิศกรรมของซูซกู ิ มีความเป็น “ซีดำนขนำนแท้” โดยได้ผสมผสานความสปอร์ต และความสง่างามเข้าด้วยกันอย่างลงตัว ดูดี มีระดับ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าชาวไทย ได้เป็นอย่างดี มีฟังก์ชั่นพื้นที่ห้องโดยสารกว้างขวางสะดวกสบายกว่า ให้ความเพลิดเพลิน และความสบายในทุกการขับขี่ สมรรถนะเป็นเลิศด้วยเครื่องยนต์เบนซิน 1.25 ลิตร ที่ให้ทั้ง พลังในการขับขี่ และประหยัดน้ามันเป็นเยี่ยม ซึ่งซูซูกิได้เผยโฉมให้ได้ชมกันในงานมอเตอร์ โชว์เป็นครั้งแรก ก่อนที่จะมีการเปิดตัวและจ�าหน่ายอย่างเป็นทางการในเร็ว ๆ นี้

กลับมาใช้ใหม่ (Energy recover system) ตัวถัง และระบบส่งก�าลัง หลักอากาศพลศาสตร์ และหลักสรีรศาสตร์ของผู้ขับขี่ และอีกส่วน ส�าคัญที่ขาดไม่ได้นั่นคือ เครื่องยนต์ตัว V ขนาดกะทัดรัด 4 สูบ และท�างานร่วมกับ ตัวถังได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นการพัฒนา เครื่องยนต์ตามหลักปรัชญาการลดขนาด เพือ่ เน้นอนาคต โดยเครือ่ งยนต์มขี นาด 2 ลิตร มาพร้อมกับระบบฉีดน�า้ มันเชือ้ เพลิงโดยตรง และ Mono-turbocharging เครื่องยนต์ สามารถวิง่ ไปได้จนถึงความเร็วที่ 9,000 รอบ ต่อนาที และมีกา� ลังขับประมาณ 500 แรงม้า และด้ ว ยความสมบู ร ณ์ แ บบของรถคั น นี้ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การพยายามคิ ด ค้ น และ พั ฒ นาสิ น ค้ า อย่ า งไม่ ห ยุ ด นิ่ ง ของปอร์ เช่ และการก้าวเข้าไปรุกวงการมอเตอร์สปอร์ต ด้วยรถไฮบริด จึงเป็นเรื่องท้าทายอย่างยิ่ง

และอีกหนึ่งไฮไลท์ส�าคัญคือ ปอร์เช่ ประเทศไทย โดย บริษัท เอเอเอส ออโต้ เซอร์วิส จ�ำกัด ผู้น�าเข้าและตัวแทนจ�าหน่าย ปอร์เช่ อย่างเป็นทางการในประเทศไทย น�ารถทุกรุ่น ที่มีจ�าหน่ายในบ้านเรามาพร้อมโปรโมชั่นพิเศษในงาน ความพิเศษของบูธนี้อยู่ที่การจัด แสดงรถที่ใช้แข่งรายการ World Endurance Championship รวมถึงรายการใหญ่ประจ�าปี อย่าง Le Mans นั่นคือ Porsche 919 Hybrid Porsche 919 Hybrid (ปอร์เช่ 919 ไฮบริด) โดดเด่นด้วยนวัตกรรมระบบขับเคลื่อนที่ล�้าสมัย มาพร้อมกับเครื่องยนต์ขนาด 2 ลิตร V4 Turbocharged มอเตอร์ไฟฟ้าจะให้พละก�าลังเครื่องยนต์ไปที่ล้อหน้า มาพร้อมกับระบบ เรียกพลังงานกลับมาใช้ 2 ระบบ (energy recovery systems) ผลลัพธ์ของการรักษาความ สมดุลของแนวคิดหลักของรถคันนี้อยู่ที่การรวมชิ้นส่วนแต่ละชิ้นทั้งหมดให้กลายมาเป็นชิ้น แม้ในปีนงี้ านบางกอก มอเตอร์โชว์ บรรยากาศ ส่วนที่มีประสิทธิภาพ ตั้งแต่เครื่องยนต์สันดาปไปจนถึงระบบการหมุนเวียนพลังงานเพื่อน�า จะไม่ได้คกึ คักด้วยกองทัพรถต้นแบบเหมือน เช่นในหลายปีทผี่ า่ น แต่สงิ่ ทีบ่ ง่ บอกถึงความ อลังการของงานแสดงรถยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด แห่ ง ปีได้อ ย่า งชัดเจนว่า รถต้นแบบเป็น ตัวก�าหนดทิศทางแห่งอนาคตของรถยนต์ แต่ละรุ่นจากค่ายต่าง ๆ คือกองทัพรถใหม่ ป้ ายแดงที่จอดประชันความสง่า งามด้วย รูปลักษณ์ทโี่ ดดเด่นกันอยูแ่ น่นขนัดเรียกได้วา่ ใครพลาดงานนี้ไปเสียดายแย่ !

96

May 2015



Green 4U

อภิสิทธิ์ วัฒณลาภมงคล

àµÕ§¹Í¹ÃÕä«à¤ÔŨҡäÁŒ¾ÒàÅ·

áÅйÕ่໚¹Íա˹Ö่§äÍà´ÕÂ´Õ æ ·Õ่¹‹Òʹ㨠«Ö่§à»š¹¡ÒùํÒäÁŒ¾ÒàÅ·ÁÒ·ํÒ à»š¹àµÕ§¹Í¹´ŒÇÂÇÔ¸Õ§‹Ò æ ÊÇÂáÅÐÁÕÊäµÅ ÁÕ·Ñ้§àµÕ§¹Í¹ÊํÒËÃѺ¼ÙŒãËÞ‹ àµÕ  §¹Í¹Êํ Ò ËÃÑ º à´็ ¡ ·Òá ËÃ× Í áÁŒ ¡ ÃзÑ่ § àµÕ  §¹Í¹¢Í§à¨Œ Ò µÙ º ਌ÒáÁÇàËÁÕÂÇ ÊÑµÇ àÅÕ้§¹‹ÒÃÑ¡ ¡็ÊÒÁÒö·ํÒä´Œ ¹Í¡¨Ò¡¨Ðä´Œ¢Í§ãªŒãËÁ‹ áÅŒÇÂѧ໚¹¡Òê‹ÇÂÅ´âšÌ͹䴌ÍÕ¡´ŒÇ (·Õ่ÁÒ : http://www.livingoops.com/)

µÐ¡ÃŒÒ¨Ò¡Ë¹Ñ§Ê×;ÔÁ¾

á·¹·Õ่àÃÒ¨ÐÃÕä«à¤ÔÅ¡ÃдÒÉ˹ѧÊ×;ÔÁ¾ àÍÒ仾Ѻ·ํÒ໚¹¶Ø§¡ÃдÒÉÍ‹ҧ·Õ่ ¾ºàË็¹¡Ñ¹º‹ÍÂ æ ·ํÒäÁàÃÒäÁ‹ÅͧÁÒà»ÅÕ่¹ÇÔ¸Õ ÃÕä«à¤ÔÅ¡ÃдÒÉ˹ѧÊ×;ÔÁ¾ ¡Ñ¹´ÙºŒÒ§ ¨Ò¡¡Òà “¾Ñº” ÁÒ໚¹¡Òà “ÁŒÇ¹” ᤋ¹Õ้§Ò¹äÍà´ÕºÃÃà¨Ô´¡็à¡Ô´¢Ö้¹ ä´Œ§‹ÒÂ æ ¡ÅÒÂ໚¹µÐ¡ÃŒÒÊÒ¹ÊØ´à¡Ž ãËŒÊÒÁÒö¹ํÒä»ãªŒãʋʧÔ่ ¢Í§µ‹Ò§ æ ÀÒÂã¹ ºŒÒ¹¡Ñ¹ä´ŒáŌǹР(·Õ่ÁÒ : http://www.livingoops.com)

¨Ñ¡ÃÂҹ俿‡Ò¾Ñºä´Œ

Impossible ¨Ñ ¡ ÃÂҹ俿‡ Ò ¾Ñ º ä´Œ ¢¹Ò´àÅ็ ¡ ÁÕ ¹ํ้ Ò Ë¹Ñ ¡ à¾Õ  §äÁ‹ ¶Ö § 5 ¡ÔâÅ¡ÃÑÁ Í͡ẺáÅоѲ¹Òâ´Â·ÕÁ§Ò¹ã¹»ÃÐà·È¨Õ¹ áÅÐá¤¹Ò´Ò Impossible «Ö่§¶Ù¡Í͡ẺãËŒÁÕ¡ÒþѺà¡็ºªÔ้¹Ê‹Ç¹µ‹Ò§ä´ŒÍ‹ҧŧµÑÇ ·ํÒ¨Ò¡ÇÑʴظÃÃÁªÒµÔáÅзÕ่¹‹Ò·Ö่§¤×ÍàÁ×่;ѺáÅŒÇÁÕ¢¹Ò´àÅ็¡ ¨¹ÊÒÁÒö à¡็ºãÊ‹¡ÃÐ້Ò໇ ¾¡¾Òä»ã¹·Õ่µ‹Ò§ æ 䴌͋ҧÊдǡ¡ÃÂҹ俿‡Ò¾Ñºä´Œ Impossible ¹Õ้ÊÒÁÒöÃѺ¹ํ้Ò˹ѡ䴌 85 ¡ÔâÅ¡ÃÑÁ ·ํÒ¤ÇÒÁàÃ็Çä´Œ 12.4 äÁÅ µ‹ÍªÑ่ÇâÁ§ ËÃ×Í 20 ¡ÔâÅàÁµÃµ‹ÍªÑ่ÇâÁ§ ¹Ò¹ 45 ¹Ò·Õ ËÃ×Í¢Õ่ä´Œä¡Å 24 ¡ÔâÅàÁµÃ (·Õ่ÁÒ : http://coolthings108.com)

¢Ç´¾ÅÒʵԡÃÕä«à¤ÔÅ ÊÔ§่ »ÃдÔÉ° ÊÌҧÃÒÂä´ŒàÊÃÔÁ

¹ÑºÇѹ¢ÂШҡ¢Ç´¹ํ้Ò¾ÅÒʵԡÂÔ่§à¾Ô่Á¨ํҹǹ໚¹·ÇÕ¤Ù³ «Ö่§¡ÒÃà¡็º¢Ç´ ¾ÅÒʵԡÁÒÃÕä«à¤ÔÅ ÁÒ·ํÒ໚¹ÊÔ§่ »ÃдÔÉ° ÊÌҧÃÒÂä´ŒàÊÃÔÁ ¤×Í Íա˹่֧ äÍà´Õ·Õ่ ÊÒÁÒöª‹ÇÂÅ´¢ÂÐ á¶ÁÂѧ䴌¢Í§ãªŒá¹ÇãËÁ‹·ÁÕ่ ÃÕ »Ù ẺäÁ‹«Ò้ํ ã¤Ã ´Ù´Õ á¶ÁÂѧ ÃÒ¤Ò¶Ù¡ ·Ñ§้ Âѧ¶×Í໚¹§Ò¹áι´ àÁ´ä´Œ´ÇŒ  (·ÕÁ่ Ò : http://ÍÒªÕ¾ÃÐËÇ‹Ò§àÃÕ¹.blogspot.com/2014/11/blog-post. html)

98

May 2015


ÃÕä«à¤Ôšŋͧ¹Áãˌ໚¹¡Å‹Í§à¡็ºà¤Ã×่ͧà¢Õ¹

à¡ŒÒÍÕ้ªØ´ Green Grass ÁҾÌÍÁàºÒйÑ่§à»š¹ËÞŒÒÃÕä«à¤ÔÅ

à¿Íà ¹Ô à ¨ÍÃ à ¡Œ Ò ÍÕ้ ªØ ´ Green Grass ¼Å§Ò¹¡ÒÃ´Õ ä «¹ ¢ ͧ´Õ ä «à¹Íà Jean-Marc Attia ¨Ò¡ºÃÔÉÑ·Í͡Ẻ㹻ÃÐà·È½ÃÑ่§àÈÊÍ‹ҧ Marron Rouge µÑÇà¡ŒÒÍÕª้ ´ Ø Green Grass ¹Õ¨้ ÐÁҾÌÍÁàºÒйѧ่ ¢Í§à¡ŒÒÍÕ้ «Ö§่ ·ํÒÁÒ¨Ò¡ ËÞŒÒÊѧà¤ÃÒÐË ÃÕä«à¤ÔÅ ¹ํÒÁÒÇÒ§äÇŒ´ŒÒ¹º¹à»š¹àºÒйÑ่§ÍÂÙ‹º¹µÑÇâ¿Á·Õ่ËØŒÁ ¢Íº´ŒÇÂÂÕ¹Ê áÅÐÁÕ¢Òà¡ŒÒÍÕ้·Õ่·ํÒÁÒ¨Ò¡äÁŒÂÙ¤ÒÅÔ»µÑÊ ´ÙáÅŒÇ໚¹à¡ŒÒÍÕ้·Õ่ࢌҡѺ ¸ÃÃÁªÒµÔ䴌͋ҧ¡ÅÁ¡Å×¹·Õà´ÕÂÇ ËÒ¡àÍÒÁÒµ¡áµ‹§ÀÒÂ㹺ŒÒ¹ ¤§ª‹ÇÂÊÌҧ ¤ÇÒÁÊ´ª×่¹ áÅÐ àµÔÁºÃÃÂÒ¡ÒÈÁÕªÕÇÔµªÕÇÒãËŒ¡ÑºËŒÍ§ä´Œ´Õ (·Õ่ÁÒ : http://www.livingoops.com)

äÍà´ÕÂâçáÃÁÊشࡎˌͧ¾Ñ¡¿Í§ÊºÙ‹ÂÑ¡É

âçáÃÁ Attrap’Reves Hotel ·Ò§µÍ¹ãµŒ¢Í§»ÃÐà·È ½ÃÑ่§àÈÊ Ë‹Ò§¨Ò¡ºÃÔàdz Marseille ÁÒ»ÃÐÁÒ³ 10 äÁÅ ä´ŒÁÕ äÍà´ÕÂÊش਎§ â´Âµ¡áµ‹§ËŒÍ§¾Ñ¡ãËŒÍÂÙ‹·‹ÒÁ¡ÅÒ§¸ÃÃÁªÒµÔáÅÐ໚¹ÁԵáѺ ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ÊÌҧˌͧ¾Ñ¡ËÃѺᢡ䴌Í‹ҧⴴഋ¹ µÑ้§ÍÂÙ‹ÀÒÂ㹿ͧʺًÂÑ¡É ãÊᨎÇãËŒÅÙ¡¤ŒÒä´ŒÊÑÁ¼ÑʡѺ¸ÃÃÁªÒµÔÃͺ´ŒÒ¹·Õ่ÊǧÒÁ µŒ¹äÁŒÊÕà¢ÕÂÇ¢¨Õ ºÃÃÂÒ¡ÒÈ´Õ æ âÃáÁ¹µÔ¡ ÍÕ¡·Ñ้§Âѧ㪌ÇÑÊ´ØÃÕä«à¤ÔÅ㹡Òõ¡áµ‹§ÀÒÂã¹´ŒÇ ᵋÅÐˌͧ¾Ñ¡¡็ÊÌҧãËŒÁÍÕ Ò³Òࢵ¾ÍÊÁ¤Çà ˋҧ¨Ò¡ËŒÍ§Í×¹ ่ æ à¾×Í่ ¤ÇÒÁ໚¹ ʋǹµÑÇä´Œ´Õ (·Õ่ÁÒ : http://www.livingoops.com)

Í‹ҧ·Õ่·ÃÒº¡Ñ¹´ÕNjҡŋͧ¹Á ໚¹ÇÑÊ´Ø·Õ่ÊÒÁÒö¹ํÒÁÒÃÕä«à¤ÔÅ໚¹ÊÔ่§¢Í§ µ‹Ò§ æ ä´ŒÁÒ¡ÁÒ áÅÐ˹Ö่§ã¹¹Ñ้¹¤×Í¡ÒùํÒÁÒ·ํÒ໚¹¡Å‹Í§à¡็ºà¤Ã×่ͧà¢Õ¹ ¹‹ÒÃÑ¡ æ «Ö่§äÁ‹ä´Œ·ํÒ໚¹¡Å‹Í§ÊÕ่àËÅÕ่ÂÁ·×่Í æ ¸ÃÃÁ´Ò ᵋ·ํÒãˌ໚¹·Ã§¹‹ÒÃÑ¡ ¡Ç‹Ò¹Ñ¹ ้ â´Âµ¡áµ‹§à¾ÔÁ่ àµÔÁ´ŒÇ¡ÃдÒÉˋͧ͢¢ÇÑÞÊÌҧÅÇ´ÅÒÂãËÁ‹ãËŒ¡º Ñ ¡Å‹Í§¹Á ¾Í·ํÒàÊÃ็¨áŌǡ็àËÁ×͹«×้ÍÁÒàÅ·Õà´ÕÂÇ ( ·Õ่ÁÒ : http://www.livingoops.com)

ä«à¤ÔÅÂҧö¹µ ãËŒÃÙŒÇ‹Ò ÂÒ§à¡‹Ò ÁÕ´Õ¡Ç‹Ò·Õ่¤Ô´

¢Í§à¡‹ Ò ºÒ§Í‹ Ò §ÊÒÁÒö¹ํ Ò ÁÒÃÕ ä «à¤Ô Å ·ํ Ò à»š ¹ Í‹ Ò §Í×่ ¹ ä´Œ ÍÕ ¡ ÁÒ¡ÁÒ á¶Áà¼ÅÍ æ ºÒ§·Õ §Ò¹äÍà´ÕÂÃÕä«à¤ÔÅÂѧ·ํÒÍÍ¡ÁÒä´Œ¹‹Òʹ㨠áÅдÙà¡Žä¡Ž¡Ç‹Ò Ẻà´Ô Á ÍÕ ¡ ´Œ Ç Â ÊÔ่ § ¢Í§·Õ่ ¹Ô  Á¹ํ Ò ÁÒ㪌 ÃÕ ä «à¤Ô Å ãËŒ à Ë็ ¹ º‹ Í Â æ ¡Ñ ¹ Í‹ Ò § Âҧö¹µ ·Õ่਌Ңͧ¼Å§Ò¹ä´Œ¹ํÒ¡ÅѺÁÒ·ํÒ໚¹Í‹Ò§ÅŒÒ§Ë¹ŒÒÀÒÂã¹ËŒÍ§¹ํ้Ò ¹Í¡¨Ò¡¨Ð´Ùá»Å¡µÒáÅŒÇ ÂѧÊÒÁÒöÁÕÍÒÂØ¡ÒÃ㪌§Ò¹ä´ŒÂÒǹҹÍÕ¡´ŒÇ (·Õ่ÁÒ : http://www.livingoops.com)

May May2015 2015 9999


Green 4U

อภิ สิทธิ์ วัฒ Rainbow Iceณลาภมงคล

à»ÅÕ่¹à¿ÍÃ à¡‹Ò ãˌ໚¹§Ò¹ÈÔÅ»Ð

กระบวนการ Upcycling เปลี่ยนของเกาไรคาใหกลับมามีชีวิตอีกครั้งเปนอีกหนึ่ง แนวคิดในการยืดอายุทรัพยากรทุกชิน้ อยางคุม คาทีส่ ดุ แตการสรรสรางงาน Upcycling จะตองคํานึงถึงประโยชนใชสอยวาของที่ทําขึ้นมาใหมนั้นจะตองใชไดดี มีประโยชน และสอดคลองกับความตองการของผูใชดวย ผลงาน Upcycling ชิ้นนี้สรางสรรคโดย Beat Lüthi Jakob นักออกแบบจากเบลพเบิรก เมืองเงียบ ๆ ในชนบทของประเทศสวิตเซอรแลนด ความนาสนใจของชิ้นงานอยูที่การนํา เฟอรนิเจอรเกาที่ถูกทิ้งมาพลิกเปนชิ้นงานที่ผสมผสานระหวางงานออกแบบและศิลปะของ การจัดวาง (Installation Art) โดยใชทกั ษะงานชางฝมอื ภายใตชอื่ คอลเลคชัน่ “ANNO Upcycling Mobel” จากกองขยะไรคา กลายเปนชิน้ งานทีส่ ามารถนํามาตกแตงบานเปนเฟอรนเิ จอรชนิ้ งาม อีกหนึ่งชิ้น งานของ Beat ชวยปลุกจิตสํานึกใหทุกคนไดเห็นคุณคาในการใชทรัพยากรอยาง สูงสุดที่สําคัญเราสามารถสรางธุรกิจจากกองขยะเหลานี้ได จะเห็นไดวาทุกวันนี้ เราเริ่มเห็นผลิตภัณฑที่นําของเกามา Upcycling อยูมากมาย ไมวา จะเปน Ruuber Killer กระเปาดีไซนเทที่นํายางรถยนตเกากลับมาใชใหม Kiddee Project เปลี่ยนถุงลางไตใหกลายเปนกระเปาสุดฮิฟ หรือ Annie Chair เปลี่ยนรถเข็นชอปปงใน ซูเปอรมารเก็ตใหเปนเกาอี้นั่ง ที่ทาง Creative MOVE ไดเคยนําเสนอไป เราหวังวาบทความ ตาง ๆ เหลานี้จะชวยกระตุนใหทุกคนไดตั้งสติกอนทิ้งสิ่งของลงในถังขยะ เพราะของที่ไรคา ในมืออาจทํารายไดสรางธุรกิจใหคุณก็เปนได (ขอมูลจาก : www.creativemove.com) 100

May 2015


May 2015 PB


แวดวงคนพลังงาน กองบรรณาธิการ

คุณอนันต์ ตัง้ ตรงเวชกิจ

คุณบัณฑิต งามวัฒนะศิลป์

โทร. : 0-2216-5820-2 ต่อ 116 โทรสาร : 0-2216-5823 Email : anan.tang @buriramsugar.com ทีอ่ ยู่ : 128/77-78 ชัน้ 7 อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท เเขวงทุง่ พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

วันเกิด : 25 ตุลาคม 2513 โทร. : 0-2941-4080-1 Email : bandit.n@inno.co.th ที่อยู่ : บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จ�ากัด เลขที่ 51/29-30 ถนนงามวงศ์วาน ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพ 10900

ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยรามค�าแหง ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เทคโนโลยีของน�า้ ตาล รุน่ ที่ 1 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ 99/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง รุน่ ที่ 15 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (CMA)

ประวัตกิ ารศึกษา พ.ศ. 2538 วศ.บ. ไฟฟ้าก�าลัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ประวัตกิ ารท�างาน ประธานกรรมการ/กรรมการบริหาร บริษทั บี.อาร์.เอส.เทรนเทอร์มนิ ลั โลจิสติกส์ จ�ากัด กรรมการบริษทั สมาคมผูผ้ ลิตน�า้ ตาลและชีวพลังงานไทย กรรมการบริษทั บริษทั ค้าผลผลิตน�า้ ตาล จ�ากัด รองประธานกรรมการ สภาอุตสาหกรรม จังหวัดบุรรี มั ย์ ต�าแหน่งปัจจุบนั ประธานกรรมการบริหาร บริษทั น�า้ ตาลบุรรี มั ย์ จ�ากัด (มหาชน)

PB 102

May May 2015 2015

ประวัตกิ ารท�างาน พ.ศ. 2548 - ปัจจุบนั บริษทั อินโนเวชัน่ เทคโนโลยี จ�ากัด พ.ศ. 2538 – 2547 บริษทั วิภาวดี คอนซัลแตนท์ จ�ากัด ต�าแหน่งปัจจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บ.อินโนเวชัน่ เทคโนโลยี จ�ากัด กรรมการ สมาคมผูป้ ระกอบวิชาชีพบริหารทรัพยากรอาคาร (TFMA) อาจารย์พเิ ศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหาร ทรัพยากรอาคาร มหาวิทยาลัยศรีปทุม งานอดิเรก เล่นกีฬา ว่ายน�า้ บาสเก็ตบอล วิง่ อ่านหนังสือ จัดสวน ปลูกต้นบอนไซ ผลงานด้านพลังงานทีภ่ าคภูมใิ จ ทีป่ รึกษาด้านการอนุรกั ษ์พลังงานให้กบั หน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ได้รบั รางวัล Thailand Energy Awards และ ASEAN Energy Awards มากกว่า 40 รางวัล วิทยากรรับเชิญพิเศษ ในงานเสวนาและการอบรมให้ความรูด้ า้ น การอนุรกั ษ์พลังงานต่าง ๆ จัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เป็นต้น


Energy Gossip พฤษาปุริ

สงกรานต์

สวัสดีครับ พบกับกระผมอีกแล้วส�ำหรับพื้นที่ท้ำยเล่มของ “ENERGY SAVING” ฉบับเดือนพฤษภำคม หลังจำกผ่ำนพ้นเดือนที่เขำว่ำกันว่ำ “ร้อนสุด ๆ” ของบ้ำนเรำ อันที่จริงจะว่ำร้อนซะทีเดียวก็เห็นจะไม่ถูก เรียกกันว่ำสลับ ๆ กันหลำย ๆ ฤดูน่ำจะฟังดูรื่นหูมำกกว่ำ เพรำะก่อนที่ จะร้อนกันสุด ๆ ทั่วประเทศก็เจอกับฝนกันสุด ๆ เหมือนกัน บำงพื้นที่ ถึงขนำดน�้ำท่วมกันเลยทีเดียวในช่วงเวลำไม่กี่ชั่วโมง โดยเฉพำะพื้นที่ “กรุงเทพมหานคร” เมืองที่มีค�ำแปลสวยหรูประมำณว่ำ “พระนคร อันกว้างใหญ่ดุจเทพนคร” ก็ต้องรับมืออย่ำงหนักหน่วง และผู้ที่ต้อง ตอบค�ำถำมอย่ำงหนักก็หนีไม่พน้ พ่อเมืองอย่ำง “ผูว้ า่ กรุงเทพมหานคร” ของเรำนีเ้ อง ในควำมเป็นจริง ฝนฟ้ำคะนองทีม่ ำในช่วงก่อนหน้ำร้อนก็เป็น เรือ่ งปกติของธรรมชำติทเี่ รำ ๆ ท่ำน ๆ ก็ทรำบกันดีอยูแ่ ล้ว เช่นเดียวกัน... เมื่อเมืองหลวงน�้ำท่วม หรือ จะเจอปัญหำใด ๆ ก็ตำม เรำ ๆ ท่ำน ๆ ก็ ทรำบกันดีวำ่ จะลงทีใ่ คร ถ้ำไม่ใช่ทำ่ นผูว้ ำ่ ของเรำ ฉะนัน้ ท�ำใจนะครับท่ำน เพรำะยังไงคนกรุงก็รักท่ำนเสมอ... เป็นปกติกบั พืน้ ทีแ่ ห่งนี้ ทีเ่ ริม่ ต้นต้องออกนอกประเด็นทีจ่ ะพูดถึงสักเล็กน้อย แต่ก็ไม่นอกสักทีเดียว เพรำะช่วงเดือนที่ร้อนที่สุด สิ่งที่อยู่คู่กันคือ “วันสงกรานต์” เทศกำลทีผ่ ใู้ หญ่รอคอยกำรกลับมำของลูกหลำน เทศกำล ที่ลูกหลำนรอคอย...อะไรบ้ำงอย่ำง เทศกำลที่ส�ำนักข่ำวจับจ้องที่ตัวเลข 7 วันว่ำจะท�ำลำยสถิติหรือไม่ เทศกำลที่.... ใครจะรออะไรก็แล้วแต่ วันสงกรำนต์ก็ยังเป็นวันแห่งควำมสุขของใครหลำย ๆ คนเสมอ ประเด็น ที่น่ำสนใจของวันดังกล่ำวมักมีเรื่องของกฎกติกำที่จะเพิ่มขึ้นทุกปี แล้วกฎ เหล่ำนั้นเกิดขึ้นได้อย่ำงไร ? คนที่ตอบได้ดีที่สุดก็คือ ตัวเรำเอง เพื่อนเรำ ญำติเรำ หรือคนทีเ่ รำรูจ้ กั ว่ำปีทผี่ ำ่ นมำท�ำอะไรไว้ ก่อให้เกิดควำมอับอำย ต่อสำยตำชำวโลกที่เฝ้ำมองเรำขนำดไหน จนเกิดเป็นกฎข้อห้ำมมำกมำย เกิดเป็นค�ำถำมว่ำ “ท�าไม ?” ซึ่งแน่นนอนว่ำสิ่งที่เกิดขึ้น ไม่ได้ท�ำเพื่อใคร ก็ท�ำเพื่อเรำ เพื่อเพื่อนเรำ เพื่อญำติเรำ และก็เพื่อคนที่เรำรู้จักนั้นเอง ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นมีทั้งเสียงที่เห็นชอบและคัดค้ำน ยกตัวอย่ำงหำกเรำเป็น ผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรง เรำก็จะเห็นดีเห็นชอบไปกับข้อห้ำมดังกล่ำว หรือหำกเรำเป็นผู้ที่เสียผลประโยชน์ เรำก็ไม่อยำกให้มีข้อห้ำมมำกมำย

ให้ท่องจ�ำกันทุกปี เพรำะคนเรำอยู่ต่ำงที่ ต่ำงเวลำ หรือแม้กระทั่งวัยก็ เข้ำมำเกี่ยวข้องเช่นกัน ฉะนั้น “ใจเขา ใจเรา” เป็นเรื่องที่เรำควรที่จะน�ำ มำไตร่ตรองให้มำก คิดให้ตกผลึกมำกกว่ำที่จะเอำควำมชอบ ควำมคึก คะนองมำเป็นตัวตัดสิน ไม่ใช่แค่เฉพำะเทศกำลสงกรำนต์เท่ำนั้น แต่ใน ทุก ๆ ก้ำวย่ำงของกำรด�ำเนินชีวิต สิ่ง ที่เห็นได้ชัดส�ำหรับสัง คมท่ ำ มกลำงกฎกติ ก ำมำกมำยที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ “การฝ่าฝืน” ถึงแม้ว่ำสิ่งที่ถูกห้ำมจะเป็นช่วงเวลำไม่กี่วันก็ยังไม่สำมำรถ ท�ำได้ นับภำษำอะไรกับกฎข้อห้ำมอื่น ๆ ที่ผ่ำนมำ นั้นก็เพรำะคนเรำยัง ไม่อำจเอำชนะใจตัวเองได้ แต่ก็มีไม่น้อยที่สำมำรถก้ำวผ่ำนและสำมำรถ เอำชนะใจตัวเองได้เช่นกัน ข้อนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลำยด้ำน ไม่ว่ำจะเป็น ทัศนคติ กำรด�ำเนินชีวิต หรือวุฒิภำวะ แต่ก็ไม่เสมอไปเช่นกัน ดังจะเห็น ได้จำกแบบแผนของประเทศไทยที่ผ่ำนมำ คนบำงกลุ่มอำจมองว่ำดี คนบำงกลุม่ อำจมองว่ำไม่ดี ซึง่ เป็นเรือ่ งของทัศนคติ แต่เมือ่ วันเวลำผ่ำนไป ทัศนคติกลำยเป็นวุฒิภำวะ วันนั้นเรำเองที่จะมองเห็น และถำมตัวเองว่ำ “ทีผ่ า่ นมา...ท�าไมเราไม่คดิ อย่างวันนี”้ ซึง่ ก็เชือ่ ว่ำหลำยคนก็เคยก้ำวผ่ำน ประโยคดังกล่ำวมำแล้วเช่นกัน จริงหรือไม่? ฉะนัน้ เรำอย่ำเอำแค่คำ� ว่ำ “สงกรานต์ หนึง่ ปีมคี รัง้ เดียว” มำเป็นข้ออ้ำง ในกำรไม่ให้เกียรติตัวเอง สังคม และคนรอบข้ำง เพรำะถ้ำแค่เวลำไม่กี่วัน เรำยังไม่อำจก้ำวผ่ำนไปได้ แล้วสงกรำนต์ต่อ ๆ ไป หรือ กำรด�ำเนินชีวิต ต่อ ๆ ไป เรำจะอยู่ในกรอบ กฎระเบียบได้หรือไม่ ที่กล่ำวเช่นนี้ไม่ได้จะ บอกว่ำกำรคิดนอกกรอบไม่ดี คิดนอกรอบเป็นเรื่องที่ดี เพรำะโลกเรำที่ หมุนมำได้อยู่ทุกวันนี้ ก็เพรำะว่ำมีกลุ่มคนที่คิดแบบนี้ แต่ที่เขำประสบ ควำมส�ำเร็จได้ เพรำะเขำรอเรื่องของโอกำสและเวลำที่จะออกนอกกรอบ ไม่ใช่เอะอะก็ค้ำน เอะอะก็ไม่เห็นด้วย ลองถำมตัวเองดูครับว่ำ “สงกรานต์” ที่ผ่ำนมำ เรำก้ำวผ่ำนมำด้วยกำร “ฝ่าฝืน” หรือ “เคารพ” กฎกติกำ และเรำก็จะรู้ค�ำตอบของตัวเองว่ำ “ชีวิต” ของเรำต่อไปในอนำคตจะเป็นไปในทิศทำงใด

PB May May 2015 2015 103


Energy Movement กองบรรณาธิการ

ล็อกซเล่ย์ น�ำรถบัสไฟฟ้ำ วิ่งบริกำรฟรีในศูนย์รำชกำร

ดร.โกศล สุรโกมล ที่ปรึกษำ บริษัท ล็อกซเล่ย์ จ�ำกัด (มหำชน) พร้อมด้วย คุณสารนิต อังศุสิงห์ ผู้ช่วยผู้ว่ำกำร กำรไฟฟ้ำนครหลวง และ คุ ณ ฉั ต รวิ ช ญ์ เสริ ม ด� ารงศั ก ดิ์ ผู ้ ช ่ วยกรรมกำรผู ้ จั ด กำร สำยปฏิบัติกำร บริษัท ธนำรักษ์พัฒนำสินทรัพย์ จ�ำกัด ร่วมเป็น ประธำนในพิธเี ปิดตัวรถโดยสำรไฟฟ้ำทีข่ บั เคลือ่ นด้วยพลังงำนไฟฟ้ำ 100% ไร้มลพิษและประหยัดพลังงำน เพื่ออ�ำนวยควำมสะดวกแก่ ข้ำรำชกำร พนักงำนและประชำชนทั่วไป ในกำรเดินทำงภำยใน ศูนย์รำชกำรแจ้งวัฒนะ รวมถึงเพือ่ ศึกษำและท�ำวิจยั ต่อยอดกำรพัฒนำ ยำนยนต์ไฟฟ้ำในอนำคต ณ ศูนย์รำชกำรแจ้งวัฒนะ เมื่อเร็ว ๆ นี้

คลิกออฟโครงกำร

“ปรับการจัดการโลจิสติกส์ดว้ ย RFID”

เมื่อเร็ว ๆ นี้ คุณอนงค์ ไพจิตรประภาภรณ์ ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนัก โลจิสติกส์ กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำรเหมืองแร่ กระทรวง อุตสำหกรรม เป็นประธำนในพิธีเปิดโครงกำร “ส่งเสริมการปรับ กระบวนการจัดการโลจิสติกส์ดว้ ยการใช้เทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcode” พร้อมปำฐกถำพิเศษเรื่อง “ส�านัก โลจิสติกส์กับการส่งเสริมการใช้ RFID ในยุค Digital Economy” ทัง้ นี้ ส�ำนักโลจิสติกส์มอบหมำยให้กบั บริษทั เอแซนเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นผูด้ ำ� เนินโครงกำร โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบกำร น�ำเทคโนโลยี RFID และ Barcode มำใช้ในกำรจัดกำรโลจิสติกส์ ภำยในองค์กรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ส�ำหรับผู้ประกอบกำรรำยใด ที่สนใจกำรใช้เทคโนโลยี Application ระบบ RFID สำมำรถสอบถำม รำยละเอียดเพิ่มเติมได้ โทร. 0-2743-2533

กระทรวงอุตสาหกรรม เปิดนโยบำยใหม่

ชไนเดอร์ รับรำงวัล CSR-DIW Award

ดร.อรรชกา สี บุ ญ เรื อ ง ปลั ด กระทรวงอุ ต สำหกรรมและ คุณอาทิตย์ วุฒิคะโร อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสำหกรรม พร้อมด้วย คณะผู้บริหำรกระทรวงอุตสำหกรรม ร่วมเปิดนโยบำยขับเคลื่อน 3 นโยบำยเร่งด่วนอัดฉีด SMEs ไทยปี 2558-2559 ได้แก่ กำรเตรียม ควำมพร้อมภำคอุตสำหกรรมในกำรเข้ำสู่ AEC กำรพัฒนำศักยภำพ อุตสำหกรรมแฟชั่นสู่กำรเป็นศูนย์กลำงแฟชั่นอำเซียน กำรสร้ำง ผู้ประกอบกำรใหม่โดยนโยบำยดังกล่ำวเพื่อเตรียมควำมพร้อม อุตสำหกรรม SMEs ไทยก่อนเข้ำสู่ AEC ในสิ้นปีนี้ ส�ำหรับ ผู ้ ป ระกอบกำรที่ ส นใจเข้ ำร่ ว มโครงกำรต่ ำ ง ๆ ของกรมส่ ง เสริ ม อุตสำหกรรม สำมำรถติดตำมข่ำวสำร กิจกรรม รวมถึงโครงกำรต่ำง ๆ ได้ที่ www.dip.go.th หรือ www.facebook.com/dip.pr หรือ twitter.com/DIPTHAILAND

โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ได้รบั รำงวัลมำตรฐำน ควำมรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ป ระกอบกำรอุ ต สำหกรรมต่ อ สั ง คม ประจ�ำปี 2557 หรือ CSR-DIW Award (Corporate Social Responsibility, Department of Industrial Works) เป็นรำงวัล ที่กรมโรงงำนอุตสำหกรรม กระทรวงอุตสำหกรรม ได้พิจำรณำ มอบให้แก่สถำนประกอบกำรที่ปฏิบัติงำนภำยใต้กำรบริหำร งำนองค์กรด้วยหลักธรรมำภิบำล ใส่ใจในคุณค่ำของทรัพยำกร ธรรมชำติ สิ่งแวดล้อม ควำมปลอดภัย เป็นมำตรฐำนที่อ้ำงอิง ตำม ISO 26000 (Social Responsibility) หรือมำตรฐำนควำม รับผิดชอบต่อสังคม และโรงงำนของชไนเดอร์ ยังคงมุ่งมั่นใน กำรด�ำเนินกำรแสดงควำมรับผิดชอบต่อสังคมอย่ำงต่อเนื่อง ซึ่งเป็นหลักกำรควำมรับผิดชอบของชไนเดอร์ทั่วโลก โดยมี คุณเซ็ดริค ดาร์มวั ร์ ผูอ้ ำ� นวยกำรโรงงำน เข้ำรับรำงวัล เมือ่ เร็ว ๆ นี้

104104

May May2015 2015


ไดกิน้ เปิดศูนย์ “ไดกิน้ โซลูชนั่ พลาซ่า”

อีเอ็มซี รุกธุรกิจอสังหาฯ เต็มตัว

เมื่อเร็ว ๆ นี้ คุณทากาโยชิ มิ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท สยามไดกิ้น เซลส์ จ�ากัด พร้อมด้วย คุณบัณฑิต ศรีวัลลภานนท์ กรรมการ ผู ้ จั ด การ คุ ณ สมพร จั น กรี น ภาวงศ์ ผู ้ ช ่ วยกรรมการผู ้ จั ด การ และ คุณเคนทาโร่ ยาดะ ผู้อ�านวยการฝ่ายขาย ร่วมกันเปิด “ไดกิ้น โซลูชั่น พลาซ่า” ซึ่งเป็นศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีด้าน ระบบปรั บ อากาศแห่ ง แรกในประเทศไทย ณ ส� า นั ก งานใหญ่ บริษัท สยามไดกิ้นเซลส์ จ�ากัด ซอยอ่อนนุช 55/1 ถนนอ่อนนุชลาดกระบัง เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร

ที ม ผู ้ บ ริ ห าร บริ ษั ท อี เ อ็ ม ซี จ� า กั ด (มหาชน) หรื อ EMC ผู้เชี่ยวชาญงานด้านวิศวกรรมก่อสร้างและระบบภายในอาคาร น�าโดย คุณชุมพล อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ คุณศิริพงศ์ ว่องวุฒิพรชัย กรรมการผู้จัดการ สายงานบริหาร และ คุ ณ เศรษฐวั จน์ ตั้ งวั ชรพงศ์ รองกรรมการผู้จัดการ สายงาน อสังหาริมทรัพย์ ร่วมกันแถลงข่าวทิศทางธุรกิจของปี 2558 และ ประกาศขยายสายธุรกิจรุกภาคอสังหาริมทรัพย์เต็มตัว โดยใช้กลยุทธ์ การเข้าซื้อกิจการ ควบคู่กับการพัฒนาโครงการของตัวเอง ซึ่งตั้งเป้า รับ รู ้ร ายได้ในสายงานอสังหาริมทรัพย์ของปี 2558 อยู่ที่ 1,050 ล้านบาท และยอดรายได้รวม 5 ปี อยู่ที่กว่า 13,230 ล้านบาท ที่โรงแรมดุสิตธานี เมื่อเร็วๆ นี้

พีอีเอ ผนึกพลังภาคเอกชน จัดงาน “Thailand Lighting Fair 2015”

Safe Digital Life Thailand

คุณวิลาศ งามแสงรุง่ สาโรจน์ รองผูว้ า่ การวางแผนและพัฒนาระบบ ไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ พีอีเอ ร่วมเปิดงานแถลงข่าว “Thailand Lighting Fair 2015” งานแสดงสินค้าด้านไฟฟ้าและ แสงสว่าง พร้อมด้วยผู้จัดงาน มิส ลูเซีย หว่อง ผช.ผจก. เมสเซ่ แฟรงค์เฟิร์ต เซี่ยงไฮ้ คุณนิคม เลิศมัลลิการพร ตัวแทน เมสเซ่ แฟรงค์เฟิรต์ ประจ�าประเทศไทย คุณพาขวัญ เจียมจิโรจน์ ผจก.ทัว่ ไป บริษัท ดิ เอ็กซ์ซิบิส จ�ากัด และเหล่าผู้ร่วมแสดงงาน Exhibitors คุณวรวุฒิ ก่อก้องวิศรุต ผจก.ฝ่ายผลิตภัณท์กลุ่มธุรกิจไฟฟ้า และอุปกรณ์แสงสว่าง บ.ฟิลิปส์ อิเล็กทรอนิกส์ ประเทศไทย จก. คุ ณ ฮาวเวิ ร ์ ด หวง กรรมการผู ้ จั ด การ บ.ที พี ฮ าโล จก. และ คุณวรกร จักรเพชร กรรมการผู้จัดการ บ.แอลอีดี ไลท์ติ้ง จก. ร่วมแสดงความยินดี ที่ รร. เจดับบลิว แมริออต เมือ่ เร็ว ๆ นี้ โดยงาน “Thailand Lighting Fair 2015” จัดขึ้นระหว่างวันที่ 19-21 สิงหาคม 2558 ณ อาคาร 106 ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค

ส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) หรือ ETDA (เอ็ตด้า) ร่วมกับ บีเอสเอ กลุ่มพันธมิตร ซอฟต์แวร์ (BSA | The Software Alliance) จัดท�าโครงการ “รูร้ อดปลอดภัยในโลกดิจทิ ลั ” หรือ “Safe Digital Life Thailand” ขึน้ ซึ่งเป็นแคมเปญรณรงค์ส่งเสริมให้องค์กรธุรกิจและสาธารณชน เพิ่มความใส่ใจและความระมัดระวังมากขึ้น เพื่อความปลอดภัย ของตนเองบนโลกไซเบอร์หรือออนไลน์ เป้าหมายของแคมเปญนี้ คือ ท�าให้ภาครัฐ ภาคเอกชน ตลอดจนประชาชนทั่วไป ได้รับทราบ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ รวมถึงรู้จักเครื่องมือที่จะช่วยเพิ่มความ ปลอดภัยบนโลกออนไลน์อีกด้วย May May2015 2015 105105


Event Calendar จีรพร ทิพย์เคลือบ

6-7 พฤษภาคม 2558 ชือ่ งาน : โครงการอบรมหลักสูตร “ผูเ้ ชีย่ วชาญอาคารเขียวรุน่ ที่ 11” รายละเอียด : สถาบันอาคารเขียวต้องการสร้างผูเ้ ชีย่ วชาญอาคารเขียวเพือ่ พัฒนาอาคารในไทยและในอาเซียนให้เป็นอาคารเขียวทีเ่ ป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์พลังงานอย่างเป็นรูปธรรม โดยจะจัดอบรมให้กับวิศวกร สถาปนิก ผู้รับเหมา เจ้าของอาคาร ผู้ออกแบบ อาคาร ข้าราชการ และผู้สนใจทั่วไป สถานที่ : ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท. ซอยรามค�าแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติม : สถาบันอาคารเขียวไทย 248/1 ซอยศูนย์วจิ ยั 4 (ซอย17) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร.0-2319-6555 ต่อ 203, 08-4099-5199 โทรสาร 0-2319-6419 14 พฤษภาคม 2558 ชื่องาน : Xperience Efficiency 2015 งานนิทรรศการและสัมนาครั้งยิ่งใหญ่แห่งปี รายละเอียด : ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย จัดงานครั้งนี้เพื่อเผยเคล็ดลับสีเขียวสู่ธุรกิจที่ยั่งยืน ยกทัพโซลูชั่นด้านการจัดการพลังงาน สุดไฮเทคส�าหรับบ้าน อาคาร และโรงงาน สถานที่ : ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : ติดตามรายละเอียดและลงทะเบียนได้แล้วที่ www.schneider-electric.co.th/xe2015 หรือ โทร 06-1631-6490 18-19 พฤษภาคม 2558 ชื่องาน : การอบรมเชิงวิชาชีพเรื่อง “การจัดการพลังงานและการสร้างความเชื่อถือได้ในดาตาเซนเตอร์” รายละเอียด : การใช้พลังงานหลักในดาตาเซนเตอร์เป็นพลังงานไฟฟ้าในปริมาณสูงมาก เนื่องจากการใช้พลังงานในตัวอุปกรณ์เองและ การใช้พลังงานในระบบปรับสภาพอากาศและระบบอื่นๆ จากสาเหตุข้างต้น การออกแบบ การใช้งาน และการบ�ารุงรักษา และการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในดาตาเซนเตอร์ ต้องมีความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน รวมทั้งมีการตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างถูกต้อง สถานที่ : ห้องประชุม ชั้น 6 อาคาร วสท. ซอยรามค�าแหง 39 ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : www.eit.or.th วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โทร. 0-2184-4600-9 ต่อ 521, 522, 523 20-21 พฤษภาคม 2558 ชื่องาน : การฝึกอบรมหลักสูตร “การจัดท�าระบบการจัดการพลังงานตาม ISO 50001 รุ่นที่ 3” รายละเอียด : ความร่วมมือระหว่างส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กับองค์การพัฒนาอุตสาหกรรม แห่งสหประชาชาติ (UNIDO) ภายใต้โครงการการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในภาคอุตสาหกรรม เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ การจัดท�าระบบการจัดการพลังงานตาม ISO 50001 สถานที่ : โรงแรมรอยัลปริ๊นเซส หลานหลวง กทม. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : www.tisi.go.th ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถ.พระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2202-3428 โทรสาร 0-2354-3214 21-24 พฤษภาคม 2558 ชื่องาน : LED Expo Thailand 2015 รายละเอียด : งานแสดงสินค้าทีร่ วบรวมสินค้า และเทคโนโลยี นวัตกรรม LED ครัง้ ยิง่ ใหญ่ของเมืองไทย เช่น ระบบติดตัง้ หลอดไฟ จอแสดงผล เครื่องมือและอุปกรณ์ส�าหรับการผลิต เครื่องจ่ายกระแสไฟ เครื่องมือประกอบติดตั้ง และบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ LED สถานที่ : ฮอลล์ 2-4 อิมเเพ็ค เมืองทองธานี ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : www.ledexpothailand.com บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเมนท์ จ�ากัด 99 ถนนป๊อปปูล่า อ�าเภอบ้านใหม่ ต�าบลปากเกร็ด นนทบุรี 11120 ประเทศไทย คุณพรรณวิสุทธิ์ โทร. 0-2833-5348 0-2833-5328 106

May 2015


May 2015 PB



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.