C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Issue 79 JUNE 2015 8 Editor’s Note 10 News Report : ¡ÃÍ. ÃØ¡â¤Ã§¡ÒþѲ¹Ò à¤Ã×èͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈä·Â Å´áÅÐàÅÔ¡ 㪌ÊÒ÷íÒ¤ÇÒÁàÂç¹µÔ´µÑé§ 18 Cover Story : Evolution of LED ¹Çѵ¡ÃÃÁʋͧÊÇ‹Ò§¾Ñ²¹Ò¡Ò÷ÕèäÁ‹ÊÔé¹ÊØ´ 24 Interview : ãʋ㨾Åѧ§Ò¹ ์¹¤ÇÒÁÃÙŒ´ŒÒ¹ ¡ÒÃŧ·Ø¹¡Ñº½†ÒÂÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒäŒÒáÅСÒÃŧ·Ø¹ ÊÀÒÍصÊÒË¡ÃÃÁáË‹§»ÃÐà·Èä·Â 26 Interview : ÊÔ¹¤ŒÒ ºÃÔ¡Òà ÊÔè§ÊíÒ¤ÑÞ·ÕèäÁ‹¤ÇÃÁͧ¢ŒÒÁÊíÒËÃѺÊÔ¹¤ŒÒ¾Åѧ§Ò¹ 28 Interview : ÊÂÒÁà·Á»Š ÁØÁÁͧ·Õèᵡµ‹Ò§ ¨Ò¡¾Åѧ§Ò¹à»š¹¸ØáԨ 30 Product Highlight - Construction : à´¤Íà ÅÍ¿· ¿ÅÍà - à´¤Íà ྌ¹· »Ù¹«ÕàÁ¹µ à¾×èͧҹµ¡áµ‹§ 32 Product Showcase – Construction : Maxxma Decorative ¿ ÅÁ ÊÌҧºÃÃÂÒ¡ÒÈã¹ÍÒ¤Òà 35 Product Highlight – Industrial : Ozone Cooling Tower âÍ⫹ÊíÒËÃѺÃкºËͼ֧è àÂç¹ 38 Product Showcase – Industrial : Euroklimat Ãع‹ EKCU Precision Air Conditioners
40 Product Highlight – Commercial : SAMSUNG à» ´µÑÇ “activ dualwash” à¤Ã×èͧ«Ñ¡¼ŒÒ½Òº¹ ¾ÃŒÍÁἧ¢ÂÕ風Ѵ¤ÃÒº 43 Product Showcase – Commercial : VivoWatch ¹ÒÌ ¡ÒÍѨ©ÃÔÂÐ 46 Product Highlight – Logistics : ÂÒ§¹ÔµâµÐà» ´µÑÇÂÒ§»ÃÐËÂÑ´¹íéÒÁѹ “NT860” ¹Ø‹Á..à§Õº ʺÒ·ءàÊŒ¹·Ò§ 48 Product Showcase – Logistics : SMART PARKING ·Õè¨Í´Ã¶... ªÕÇÔµ¤¹àÁ×ͧ 51 Special Feature : mazda ¼ÅÑ¡´Ñ¹ä·Â Èٹ ¡ÅÒ§¡ÃШÒÂÍÐäËÅ‹ã¹ÍÒà«Õ¹ 52 Renergy : à¡ÉµÃ¾Åѧ§Ò¹ – ÊÌҧÊÁ´ØÅ à¡ÉµÃ¡ÃÃÁÊÙ‹¤ÇÒÁÂÑè§Â×¹ 54 Energy Management : þ.¡Ãا෾¨Ñ¹·ºØÃÕ Ë¹Ø¹Å´ãªŒ¾Åѧ§Ò¹ ์¹ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒ¼‹Ò¹¡ÒÃÁÕ Ê‹Ç¹Ã‹ÇÁ¢Í§ºØ¤ÅÒ¡Ã
43
30 4
40
June 2015
June 2015 PB
Issue 79 JUNE 2015 56 Building Management : Zero-energy Building ¡Ñº ÍÒ¤ÒÃà¢ÕÂÇ 58 Green Logistics : ¤ÇÒÁ໚¹ä»ä´Œ¢Í§ Green Logistics ·Õ¨è ÐࢌÒÊÙ‹ AEC 60 0 Waste Idea : »˜ÞËÒÊÒÃÍÔ¹·ÃÕ »¹à»„œÍ¹ ã¹áËÅ‹§¹íéÒ 62 Environment Alert : Áͧ»˜ÞËÒÊÔ§è áÇ´ÅŒÍÁ… ÀѾԺµÑ ¨Ô Ò¡»˜¨¨Øº¹Ñ ÊÙÍ‹ ¹Ò¤µ 64 Energy Focus : Èٹ ¡ÒÃà¼Âá¾Ã‹á¹Ç·Ò§¡Òà ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ã¹ÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ 66 Greenhouse Gas Management : Ahead of Paris à» ´¼¹Ö¡à¨µ¨íÒ¹§ ᡌ䢻˜ÞËÒâšÌ͹ËÅѧ»‚ ¤.È. 2020 68 Green Building : ÀÔÃѪ·ÒÇàÇÍà áÍ· àÍçÁ¤ÇÍà·ÕÂà ËÃÙËÃÒ â´´à´‹¹ ÃÑ¡É ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ 72 Green Industrial : Ê᡹ ÍÔ¹àµÍà ¼Ù¹Œ Òí ¸ØáԨ¾Åѧ§Ò¹ ʶҹըÒí ˹‹Ò¡ Ò«¸ÃÃÁªÒµÔ ໚¹ÁԵáѺÊÔ§è áÇ´ÅŒÍÁ
68
75 6
June 2015
78 75 Open House : ä´¡Ôé¹ à» ´µÑÇ “ä´¡Ôé¹ â«ÅÙªÑè¹ ¾ÅÒ«‹Ò” Èٹ áÊ´§à·¤â¹âÅÂÕ ´ŒÒ¹Ãкº»ÃѺÍÒ¡ÒÈáË‹§áá㹻ÃÐà·Èä·Â 78 Vertical Market : ö¹µ ä¿¿‡Ò¢Ñºà¤Å×è͹¢¹Ê‹§ÁÇŪ¹ 82 Viewpoint : ¹íÒËͧ...ÀÙà¡çµ ¢Öé¹á·‹¹¨Ñ§ËÇѴ㪌¾Åѧ§Ò¹ÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ 84 Energy Knowledge : Á.¹àÃÈÇà ÇÔ¨ÂÑ â»Ãà¨ç¤ “ÃкºÊÐÊÁ¾Åѧ§Ò¹ÊíÒËÃѺ»ÃÐÂØ¡µ 㪌§Ò¹ ã¹â¤Ã§¢‹ÒÂä¿¿‡ÒÍѨ©ÃÔÂТͧ»ÃÐà·È” 86 Energy Invention : ¸ÑÞºØÃÕ âªÇ ¹Çѵ¡ÃÃÁ “à¤Ã×èͧ¡íҨѴ½Ø†¹áººà»‚¡ª¹Ô´áç´Ñ¹¹íéÒÊÙ§” 88 Energy Report : ÊÌҧ “ËÁÍàÅ×èÍ” ã¹âç§Ò¹ Å´µŒ¹·Ø¹¾Åѧ§Ò¹ áÅж¹ÍÁà¤Ã×èͧàÅ×èÍÂÍ‹ҧ¶Ù¡ÇÔ¸Õ 90 Energy Loan : â¤Ã§¡Òáͧ·Ø¹¿„œ¹¿ÙÊÀÒ¾ à¤Ã×Íè §¨Ñ¡Ã ¡Ñº ½†ÒÂÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒäŒÒáÅСÒÃŧ·Ø¹ 92 Special Report : àË繪ͺ¡ÃͺºÃÔËÒèѴ¡ÒÃáËÅ‹§¡ Ò« 94 Special Scoop : SETA 2016 ¤Ãѧé áá¢Í§ä·Â âªÇ ÈÑ¡ÂÀÒ¾¾Åѧ§Ò¹áÅÐà·¤â¹âÅÂÕäÁ‹á¾Œã¤Ã ã¹àÍà«Õ 98 Green 4U 101 ẺÊÁѤÃÊÁÒªÔ¡ 102 áǴǧ¹Ñ¡¾Åѧ§Ò¹ 103 Energy Gossip 104 Energy Movement 106 Event Calendar
ES#79_p7 CIT_iMac5.pdf
1
5/18/2558 BE
8:41 PM
June 2015 PB
และหลากหลาย เพือ่ ให ผอู า นได เพลิดเพลินและได สาระไปพร อมๆ กันด วยค ะ
แหง 4 หง 4 250 50 9
Anniversary
สํ า หรัAnniversary บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กั น ด ว ยเรื่ อ งของแผ น กระจก และอุนิปตกรณ ระกอบฉบับโดยการนํ าเสนอคอลั น แล Cover ยสารปBuilder เดือนตุลาคมนี ก้ เ็ ป นฉบับทีม่ 12 ว ครบรอบStory นิตหนึ ฉบับเดือนตุลตนาคมนี ้สดีคเ็ ป ะ่ ...กลั ก น่อฉบั บ ที ่ 12 แล ว ครบรอบ ผ านมุ มยสาร มองไปยั งงานสถาป งกันภายในที ่งป ทBuilder ่นี ิตยสารของเราได ํยกรรมและงานตกแต าสวัเสนอเรื งราวต า งๆ ไว ากมาย บมานัง่ ทีร่ ายงานตัวม เป็นประจ�าทุ่ใกช เดือน เรือ่ งราวของพลังงาน ่งป ท่นี ิตยสารของเราได เสนอเรื งๆงของวั มๆากมาย ยังเคงเป็ ประเด็ นา่อ ให้ หลาย ฝ่าดุยหยิ บกรณ ยกขึ้นมาถกเถี เพือ่ ให ผนอกจากนี อู นา ํานได พลิ่อด้ยนงราวต เพลิ นเและได สไว าระไปพร อุปมๆ กและหลากหลาย ระจกได น าสนใจ ั ง มี รื ส อ ท ี่ ยงและหารือเพื่อหา วัสดุหนึ ทางออกที สี่ ดุ ให้กสบั าระไปพร ประเทศชาติอแมๆ ละประชาชนอยูเ่ นือง ๆ เรือ่ งฮอตเรือ่ งฮิต และหลากหลาย อ่ ให ผอู า นได เพลิ ดเพลินด่ ที และได กันด วยค ะ อเพืสร คณะผู้จัดทำ� ใช ประกอบการก า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั ้ ง บทสั ม ภาษณ ที่จะขอหยิบยกมาเล่าสู่กันฟัง จริง ๆ แล้วมีอยู่หลายเรื่องด้วยกัน แต่ในที่นี้ กันด วยค ะ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนวคิ แนล จ�าดกัดการทํางานของนักพัฒจะขอกล่ าวถึงหาริ ความวิมตทรั กกังวลของผู ใ้ ช้รง ถใช้เก ถนนที ใ่ ช้กงา๊ ซแอลพีจเี ป็นเชือ้ เพลิงหลัก นาอสั พย หาญิ งแห ในการเดิ เมื่อ่ อแว่ ว ๆ มาว่น กระทรวงพลั งงานเตรียมตั้งท่าจะเสนอให้มี สํ า หรั บ ฉบั บ ที ่ 12 นี ้ เรามาว า กั นนด งทาง ว ยเรื งของแผ กระจก 200/7-14 ซ.รามค�าแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง พั ฒ นรั ฐ พร็ อ พเพอร ต ้ ี และแนวคิ ด การสร า งสรรค ง านของ สํ า หรั บ ฉบั บ ที ่ 12 นี ้ เรามาว า กั น ด ว ยเรื ่ อ งของแผ น กระจก การปรั บ ภาษี ส รรพสามิ ต ส� า หรั บ ก๊ า ซแอลพี จ ี และจั ดเก็บภาษีน�าเข้าอุปกรณ์ และอุปกรณ ประกอบ โดยการนําเสนอคอลัมน Cover Story กรุงเทพมหานคร 10250 ถังแอลพีจีทมี่ติดน ตั้งCover ในรถยนต์Story ภายในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ผู้ที่ได้รับ และอุ ปฒ กรณ ปเจริ ระกอบ โดยการนํ าวเสนอคอลั ญงชาศรี จากตตัผลกระทบจากนโยบายดั DUCTSTORE the design guru โทรศัพท์ (66) 2717-2477 คุณนนทวั ผ านมุ มน มองไปยั งานสถาป ยกรรมและงานตกแต ง ภายในที ่ ใ ช งกล่าวต่างออกมาทักท้วงเพือ่ ให้ดา� เนินการในเรือ่ งนีอ้ ย่าง ผ าวันมุ งนงานสถาป ตยกรรมและงานตกแต งภายในที โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 สดุมกด มองไปยั ระจกได าสนใจ นอกจากนี ้ยังแนวคิ มีเรื่องของวั ดุอุปกรณ ทนถึี่ แบบ รอบคอบและลดผลกระทบที อ่ สาจจะเกิ ด่ใขึช น้ รร้อูป งกระทรวงพลังงานทีต่ อ้ งออกมา Co.,Ltd. ว ย GRAPHITECTURE ด นอกกรอบสู ส ดุ ก ระจกได น า สนใจ นอกจากนี ้ ย ั ง มี เ รื ่ อ งของวั ส ดุ อ ุ ป กรณ ที่ งต้มส�าหรับรถยนต์ว่า ข่าวดังกล่าว วั ชี ้ แ จงกั บ กลุ ่ ม ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ ก๊ า ซหุ ใช ป ระกอบการก อ สร า ง-ติ ด ตั ้ ง งานกระจก รวมทั ้ ง บทสั ม ภาษณ คอลัมนิสต์์: ที่หลากหลาย แต ห ากใครสนใจเรื ่ อ งของวั ส ดุ เ รายั ง มี ร ี ว ิ ว สิ น เป็นความจริรวมทั ง้งมีบทสั ความคลาดเคลื นจากข้อค เท็าจจริงอยูพ่ อสมควร ทีผ่ า่ นมา ใช ตปสาหกรรมแห่ ระกอบการก สร าง-ติดตัก้พังงานกระจก มญิภาษณ ดการทํงประเทศไทย าองานของนั ฒไม่ นาอสั งหาริงและยั ทรั พนช่ ย วหงของการประชุ งเก งอ่ แห คุณพิชัย ถ่ินสันติสุข สภาอุแนวคิ ทางกระทรวงฯ ยัมงพกั อยูย น่ให มงหารือกับผู้ประกอบการธุรกิจก๊าซ เกี ย ่ วกั บ กระจกให ผ อ ู า นของเราได ส าระเช น แนวคิ ด การทํ า งานของนั ก พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั ญิ ง เก ง แห ง อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์ บริษัทพัอิฒนนรั โนเวชั ฐ ่นพร็เทคโนโลยี อ พเพอร จ�าตกัี้ ด และแนวคิ ด การสร งาเพื งสรรค ง านของ แอลพีจีในภาคขนส่ ่อรับทราบปั ญหาและศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
EDITOR’S NOTE
ไฟไหม้ฟาง
นรันนทวั ฐมหาวิ พร็ฒทอน ยาลั พเพอร ตี้ และแนวคิ การสร า งสรรค ง านของ เพืDUCTSTORE อ่ น�าดไปก� าหนดเป็ นแนวนโยบายที ถ่ กู guru ต้องและเป็นธรรมในอนาคต ส่วนความ ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร จุฬพัาลงกรณ์ ย ญชาศรี คุฒณนนทวั เจริ จาก the design คุาณยในวาระครบรอบหนึ ฒน ฏเจริ ญรชาศรี จาก DUCTSTORE คืที บหน้ าจะเป็นBuilder เช่นthe ไรนั้นdesign เราจะน� าguru มาขยายความให้ณทราบต่อไป ดร.สิทธิชัย ฝร่ังทอง ท ยาลั ย ราชภั ธนบุ ี สุดมหาวิ ท Co.,Ltd. ง ่ ป ม งาน ขอขอบพระคุ Co.,Ltd.ด วด ยวยGRAPHITECTURE GRAPHITECTURE แนวคิ ด นอกกรอบสู ร ป ู แบบ ดนอกกรอบสู รูปนแบบ รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัแต ย หากใครสนใจเรื ่ อแนวคิ ข่ า วหนึ ่ งสซึ่ งดุน่เารายั สนใจเช่ กั น น เมืค ่ อากระทรวงคมนาคมมี น โยบายให้ ่หลากหลาย งของวั ผูม กรมส่ อี ทีปุ ่หทีการคุ ณและผู่งแวดล้ า นทุ กท านทีมาที ่ วงของวั ดิ ่อีกตามกั นเรายั ง ได้แก่ การรถไฟแห่ง หอ ากใครสนใจเรื รงีวมีิวรสิีวนิวงค สิมวลชนสาธารณะ าและหวั หน่่อต ยงานที ่เกีส่ยดุวข้ อมาโดยตลอด งกังบมี ระบบขนส่ อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ งลากหลาย เสริมคุณภาพสิแต อม เกี ย ่ วกั บ กระจกให ผ อ ู า นของเราได ส าระเช น กั น ประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) องค์ ก ารขนส่ ง มวลชนกรุ ง เทพฯ (ขสมก.) และบริษทั ขนส่ง เป น อย า งยิ ง ่ ว า ทุ ก ท า นจะติ ด ตามและสนั บ สนุ น เราต อ ไป แล ว เรา เกี่ยนวกั กระจกให ผู อ านของเราได สาระเช นกัน คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ สถาบั พลับงงานเพื ่ออุตสาหกรรม จ�ากัด (บ.ข.ส.) จัดท�าแผนการน�ารถพลังงานไฟฟ้ามาใช้แทนรถดีเซล เพือ่ ลดการ ดร.ณัฐริกา วายุภาพ นิติพนจะนํ องค์ากเรื ารบริ หารจัดการก๊ าทีซเรื่นอ านกระจก ่สุดอท งราวดี ๆ สนใจและไอเดี ย ใหม ๆ มานํ า เสนอในเล ม ใช้ทีพม ลังงานและรั บมือกับความผั นผวนของราคาน� าซธรรมชาติทจี่ ะมี ายในวาระครบรอบหนึ Builder ขอขอบพระคุ ณ เอ็า้นมัจีนวมีและก๊ (องค์ ารมหาชน) สุดกไปนะคะ ท ายในวาระครบรอบหนึ ่งป ่งป ทีราคาสู มงานงาน ขอขอบพระคุ ณอไปนะคะ งขึBuilder น้ ในอนาคต ทัง้ การเปลีม ย่ นจากรถเมล์ าเป็นรถเมล์ไฟฟ้า และ ต อ ๆ อย า ลื ม ติ ด ตามเราในฉบั บ ครบรอบเล ต ผู ม อ ี ป ุ การคุ ณ และผู อ า นทุ ก ท า นที ต ่ ด ิ ตามกั น มาโดยตลอด และหวั ง ฒนาวิ ยาศาสตร์ าเราคงจะได้และหวั เห็นรถไฟไทยเปลี ย่ นมาใช้ระบบรถไฟฟ้าทัง้ หมด อี ปุ การคุ ณทและผู อ า นทุและ กท านทีต่ ในอนาคตข้ ดิ ตามกันางหน้ มาโดยตลอด ง รี มรรคา มรรคา คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ส�านัผูกม งานพั ภายในปี บพ.ศ. 2575 โดยทางกระทรวงคมนาคมออกมายื นยันว่า โครงการ นอย างชาติ งยิ านจะติ ดตามและสนั นเราต เทคโนโลยี แาห่งยิ เป เป นอย ่งว ่งาว ทุากทุท กาท นจะติ ดตามและสนั สนุบนสนุ เราต อไปอไป แล วแล เราวเรา มน มรรคา ดั ง กล่ า วจะไม่ ส ่ ง ผลกระทบกั บ การใช้ ไ ฟฟ้ า ในประเทศอย่ างแน่นอน เนื่องจาก มน มรรคา จะนําเรืาเรื ่องราวดี ๆที่นที า่นสนใจและไอเดี าสนใจและไอเดี ยใหม ๆ่จะสร้ มานํ าเสนอในเล ม าจากพลั จะนํ อ ่ งราวดี ๆ ย ใหม ๆ มานํ า เสนอในเล ม ที ม ง�นฝ่ � ยบริ ห �ร: ทางรั ฐ บาลมี แ ผนที า งแหล่ ง ผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ งงานแสงอาทิตย์ าร มรรคา มรรคา าร ไปนะคะอย อย ดตามเราในฉบั ต โดยเราจะได้ อไปนะคะเห็นโครงการน�าร่องใช้รถไฟไฟฟ้า ต ชาตรี อต ๆอนัๆนไปนะคะ าลืามลืติมดติตามเราในฉบั และแหล่บงครบรอบเล พลับงครบรอบเล งานลมเพิม่มต เติอมมไปนะคะ ณัชคุณชา ทกาญจน กรรมการผู้จัดการ มรรคา นุนุsupaman@ttfintl.com ชช มีมีเเมืมือองง เส้นทางแรกคือ หาดใหญ่-ปาดังเบซาร์ ในปี พ.ศ. 2560 นับเป็นการปรับตัว รองกรรมการผู้จัดการ ณศุภาแมน มรรคา การ หัวคุหน กองบรรณธิ เพื่อรับมือกับปัญหาการขาดแคลนพลังงานในอนาคตของหลาย ๆ ภาคส่วน รองกรรมการผู้จัดการ คุณศุภวาร มรรคา ที่เริ่มวางแผนและลงมือจัดท�าโครงการด้านพลังงานต่าง ๆ ออกมามากมาย editor.buildernews@gmail.com Publishing Director คุณณัปิณั ยชะนุ ชนัมีนนัเมืทกาญจน ง ชชา นอทกาญจน ชา เชือ่ ว่ายังคงมีโครงการดี ๆ เช่นนีเ้ ตรียมคลอดออกมาอีกเป็นระยะ ขออย่างเดียว มน มรรคา มรรคา supaman@ttfintl.com supaman@ttfintl.com มน
ฝ่�ยข�ยโฆษณ� Sales Director
วหน ากองบรรณธิ หัวหัหน ากองบรรณธิ การการ
2477 -2477 777 6-9976 16-9976 ติดต่อฝ่ายขายโฆษณา โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 135, 144 ติดต่อฝ่ายสมาชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 169, 171 ติดต่อฝ่ายบรรณาธิการ โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 108, 148, 226
ทีมง�นฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร:
ทีมงานฝ ยกองบรรณาธิ หัวหน้าาทีกองบรรณาธิ การ การ:การ: ปิยะนุช มีเมือง ทีมมงานฝ งานฝ าายกองบรรณาธิ ยกองบรรณาธิ หัวหน ากองบรรณาธิ การ การ คุณการ: ณัชชารุชตชานัเถืนนั่อทกาญจน กองบรรณาธิ ก าร า หั ว หน า กองบรรณาธิ ด หัวหน ากองบรรณาธิการ คุนัณคุษณั ณณัชชานนทองค� นัทกาญจน นทกาญจน natcha.tank@gmail.com าร natcha.tank@gmail.com อภั สรา วัลลิภผล าร natcha.tank@gmail.com
นคร 10250 านคร 10250
กองบรรณาธิ กองบรรณาธิ การ กการาร กองบรรณาธิ
อย่าให้เป็นแค่เพียงไฟไหม้ฟางเท่านั้นพอ
นอกจากนี้ยังมีเรื่องราวดี ๆ ด้านพลังงานมาให้ติดตามกันอีกเพียบ ค้นหา คุณeditor.buildernews@gmail.com ศุeditor.buildernews@gmail.com ภแมน มรรคา ค�าตอบได้ในนิตยสาร Energy Saving ที่คุณก�าลังถืออยู่ในมือฉบับนี้ แล้วพบ supaman@ttfintl.com
จีรพร ทิพย์เคลือบ
คุณคุ่งหนึ ่งฤทั ยคาทุ คาทุ เซฟสกี ้้ ้ คุณหนึ ย่งฤทั สสเซฟสกี ณฤทั หนึ ย งรุคาทุ สเซฟสกี คุมณี ณณัีรฐัตธยาน รุตะนะมงคล จิไพศาล เลขากองบรรณาธิการ น์ วั ฒ คุ ณ ณั ฐ ธยาน รุ ง รุ จ ไ ิ พศาล คุณณัคุณฐภัธยาน จิไพศาล ณฑิรา รุมี งลรุาภ ณฑินิภัชรณ มีลยาภ ศิลปกรรม คุณภัคุศุณ าา ฑิพวงเนตร มีรลาเสถี าภ ณคุภอรวรรณ รเขต ยรเขต อาร ตไดเรคเตอร คุณคุยิณ่งอรวรรณ ยศ จารุ บเสถี ุษปายน คุ ณ อรวรรณ เสถี ย รเขต อาร ตกไดเรคเตอร ยศ จารุ บกุษข ปายน กราฟ ดีไซเนอร June 2015 คุ่งณคุยศ ธีณรยิภั่งทจารุ ร สลั ดุษทุปายน อาร 8ตไดเรคเตอร คุ ณ ยิ บ กราฟ กดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข ชั่นแนลกราฟ จํากัดกดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข
กันใหม่ฉบับหน้า...สวัสดีค่ะ ปิยะนุช มีเมือง หัวหน้ากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com
WHERE TO FIND
WHERE TOTO FIND WHERE FIND
News Report กรีนภัทร์
กรอ. รุกโครงการพัฒนาเครือ่ งปรับอากาศไทย ลดและเลิก ใช้สารท�าความเย็น
ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กล่ าวว่ า กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ได้รับ มอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการด�าเนินการ ภายใต้พิธีสารมอนทรีออล อันเป็นข้อตกลงระหว่าง ประเทศที่มุ่งมั่นในการพิทักษ์ชั้นบรรยากาศโอโซน และเป็นการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมร่วมกันในระดับ โลก ปัจจุบันมีประเทศที่ร่วมให้สัตยาบันแล้วรวม 197 ประเทศ ซึ่ง กรอ. ได้ด�าเนินโครงการลดและเลิกใช้ สารไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอนของประเทศไทย (Thailand HCFC Phase-out Project : HPMP) โดยได้ รับเงินช่วยเหลือแบบให้เปล่าจากกองทุนพหุภาคีพิธี สารมอลทรี อ อลและยั ง ได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ด้ า น เทคนิคจากรัฐบาลญี่ปุ่น กรมโรงงานอุตสาหกรรม ด�ำเนินโครงกำร ลดและเลิกใช้สำรไฮโดรคลอโรฟลูออโรคำร์บอน ของประเทศไทย สนั บ สนุ น และช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระกอบกำรผลิ ต เครื่ อ งปรั บ อำกำศให้ ปรับเปลี่ยนไปใช้เทคโนโลยีทดแทนที่ไม่ท�ำลำย ชั้ น บรรยำกำศโอโซนและมี ผ ลกระทบต่ อ สภำพภู มิ อ ำกำศโลกน้ อ ยกว่ ำ โดยใช้ ส ำร ท�ำควำมเย็น HFC-32 หรือ R-32 แทนสำร ไฮโดรคลอโร-ฟลูออโรคำร์บอน (HCFC หรือ R-22) พร้อมน�ำร่องเปิดอบรมเทคโนโลยีใน กำรผลิต ติดตัง้ และกำรซ่อมบ�ำรุงอย่ำงเหมำะสม จำกผู้เชี่ยวชำญ เพื่อให้ผู้ประกอบกำรไทยมี ควำมสำมำรถกำรผลิตเครื่องปรับอำกำศที่ใช้ สำรท�ำควำมเย็น R-32 อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่ ง มี ผู ้ ป ระกอบกำรน� ำ ร่ อ งเข้ ำ ร่ ว มโครงกำร 12 รำย โดยมีบริษทั ไดกิน ้ อินดัสทรีส์ จ�ำกัด ให้ควำมช่ ว ยเหลื อ ด้ ำ นเทคนิ ค และถ่ ำ ยทอด เทคโนโลยี ห ลั ก จำกประเทศญี่ ปุ ่ น ส� ำ หรั บ ผู้ประกอบกำรและประชำชนทั่ ว ไปสอบถำม ข้อมูลเพิ่มเติมได้ ที่ สำยด่ ว น กรมโรงงำน อุ ต สำหกรรม 1564 หรื อ ส� ำ นั ก ควบคุ ม วั ต ถุ อั น ตรำย 0-2202-4228
1010
June June2015 2015
ซึ่งมีระยะเวลาด�าเนินโครงการตั้งแต่ปี ค.ศ. 2014-2018 โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตเครื่องปรับอากาศ และกลุ่มอุตสาหกรรมผลิต โฟม โดยสารไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFC-22) หรือที่เรียกกันว่า R-22 ที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องปรับอากาศ มีค่าศักยภาพการท�าลายชั้น บรรยากาศโอโซน ODP = 0.05 ค่าศักยภาพท�าให้โลกร้อน GWP 1,810 แต่ปจั จุบนั พบว่าสารท�าความเย็น HFC-32 หรือที่เรียกกัน R-32 มีค่าศักยภาพการท�าลาย ชั้นบรรยากาศโอโซน ODP = 0 ค่าศักยภาพท�าให้โลกร้อน GWP 675 ซึ่งมี ผลกระทบกับสภาพภูมิอากาศโลกน้อยลง 2.68 เท่า ในการช่ ว ยเหลื อผู ้ ประกอบการผลิ ต เครื่ องปรับ อากาศให้เลิกใช้สาร R-22 โดยปรับเปลี่ยนไปใช้เทคโนโลยีสารทดแทนที่ไม่ท�าลายชั้นบรรยากาศโอโซนและ มีผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศโลกน้อยกว่า ซึ่งการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการ ผลิตไปใช้สารท�าความเย็น R-32 ในเครื่องปรับอากาศ จะต้องมีการออกแบบ การทดสอบและการติดตั้งใหม่ ให้มีประสิทธิภาพและปลอดภัย ซึ่งบริษัท ไดกิ้น อินดัสทรีส์ จ�ากัด ได้ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิคและถ่ายทอดเทคโนโลยีหลัก จากประเทศญี่ปุ่นแก่ผู้ประกอบการ ทั้งนี้เนื้อหาของการจัดอบรมจะเกี่ยวกับ เทคโนโลยีการผลิต การติดตั้ง และการซ่อมบ�ารุงเครื่องปรับอากาศที่ใช้สาร ท�าความเย็ น R-32 รวมถึ ง การศึ ก ษาดู งาน ณ บริษัท ไดกิ้น อินดัสทรีส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ให้แก่ผปู้ ระกอบการ ผลิตเครื่องปรับอากาศของไทยที่เข้าร่วมโครงการ 12 ราย เพื่อให้มั่นใจได้ว่า ผู ้ ป ระกอบการไทยจะมี ค วามสามารถในการผลิ ต เครื่ อ งปรั บ อากาศที่ ใช้ ส าร ท�าความเย็น R-32 ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยและสามารถ แข่งขันกับนานาชาติได้
News Report กองบรรณาธิการ
คาร์ลไซส์ส เปิดศูนย์การเรียนรู้แห่งใหม่
ตอบสนองนวัตกรรมและเทคโนโลยีในประเทศไทย คาร์ล ไซส์ส เปิดศูนย์การเรียนรู้แห่งใหม่ ซึ่งเป็นแหล่งรวมความรู้และเครื่องมือ อั น ทั น สมั ย ทั้ ง เครื่ อ งมื อ วั ด คุ ม อุ ต สาหกรรม เช่ น เครื่ อ ง CMM และ กล้องจุลทรรศน์ เพื่อให้บริการด้านการวัด การสาธิตการใช้เครื่อง พร้อมทั้งการ บรรยายหลักสูตรการฝึกอบรมมาตรวิทยาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยศูนย์การ เรียนรู้แห่งนี้นับเป็นล�าดับที่ 4 ถัดจากอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์
คุ ณ ฌอห์ น ลิ ม ผู้อ� านวยการฝ่ ายเครื่ องมือ วัดคุมอุตสาหกรรมแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวว่า การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ในประเทศไทยนั้นมีความ ส�าคัญมาก อันเนื่องมาจากความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นในการเพิ่มความรู้และ ความเชี่ยวชาญในเรื่องมาตรวิทยา ทั้งนี้ประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรมยานยนต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ มีบทบาทส�าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้านและวิสัยทัศน์ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2015 ซึ่ง ศูนย์การเรียนรูแ้ ห่งแห่งนีจ้ ะให้บริการ การใช้งานเครือ่ งมือวัด 3 แกน (CMM) การวัดด้วยกล้อง ตัวจับยึดชิน้ งาน ระบบวิเคราะห์อนุภาค การวัดความลึกของพื้นผิว metallurgical microscopes และอื่น ๆ หลักสูตรการฝึกอบรมที่รวมความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติ การสัมมนาด้านมาตรวิทยาและกล้องจุลทรรศน์ กลุ่มบริษัท คาร์ล ไซส์ส ประกอบด้วย 5 หน่วยธุรกิจ ได้แก่ เทคโนโลยีอุปกรณ์ การผลิตไมโครชิพ เทคโนโลยีมาตรวัดในงานอุตสาหกรรม เทคโนโลโยกล้องจุลทรรศน์ เทคโนโลยีทางการแพทย์ ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับ เลนส์สายตา และการผลิตภัณฑ์เลนส์ส�าหรับการถ่ายภาพยนตร์ โดยมีตัวแทนจ�าหน่ายมากกว่า 30 ประเทศทั่วโลก ปัจจุบันส�านักงาน ใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองโอเบอร์โคเคน ประเทศเยอรมนี
แลงเซส เปิดโรงงานผลิตยาง
EPDM แห่งใหม่ในประเทศจีน
แลงเซส (LANXESS) เป็นผู้ผลิตเคมีภัณฑ์ชั้นน�าที่มียอดขายรวม 8.3 พันล้านยูโร ในปี พ.ศ. 2557 ปัจจุบันมีพนักงานราว 16,600 คน ใน 29 ประเทศ มีฐานการผลิต 52 แห่งทั่วโลก ทั้งนี้ ธุรกิจหลักของ แลงเซส ได้แก่ การพัฒนา การผลิต และการจัดจ�าหน่ายพลาสติก ยาง สารที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการผลิตและเคมีภัณฑ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรม เฉพาะด้าน แลงเซสเป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Index (DJSI) และ FTSE4Good และเมื่อไม่นานมานี้ ทาง แลงเซส (LANXESS) บริษัทเคมีภัณฑ์เฉพาะทางชั้นน�าจากเยอรมนี ได้เริ่มเดินเครื่องโรงงานผลิตยาง EPDM แห่งใหม่ในเมืองฉางโจว มณฑลเจียงซู ประเทศจีน ด้วยก�าลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของโรงงานแห่งใหม่ แลงเซสจะสามารถ บรรลุการสร้างฐานสินทรัพย์ด้านยาง EPDM ในระดับโลกได้ และในอีกไม่กี่เดือนต่อจากนี้ จะเริ่มเดินหน้าการผลิตตัวอย่างสินค้าและ กระบวนการเพื่อทดสอบความพึงพอใจของลูกค้า โรงงานแห่งใหม่นี้จะผลิตยาง EPDM เกรดพรีเมียมกว่าสิบชนิดที่ออกแบบ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในประเทศจีนและภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะ โรงงานแห่งนี้มีก�าลังการผลิตสูงสุด 160,000 ตัน ต่อปี ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมฉางโจว แยงซี ริเวอร์ไซด์ ซึง่ เอือ้ ต่อการเข้าถึงคลังสินค้าและสิง่ อ�านวยความสะดวกด้านการขนส่ง ทางเรือ June June2015 2015 1111
News Report กองบรรณาธิการ
กฟผ. ระดมทุนผานกองทุนรวม
ครั้งแรกของไทยสนับสนุนโดยรัฐวิสาหกิจ นายสุ น ชั ย คํ า นู ณ เศรษฐ ผู ว า การ การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) เปดเผยวา จากนโยบายของภาครัฐที่ตองการผลักดันใหรัฐวิสาหกิจของไทยที่มีความพรอม ใหจัดหาแหลงเงินทุนทางเลือกใหม เพื่อใหสามารถจัดหาเงินทุนในการพัฒนาโครงสราง พื้นฐานของประเทศ ทั้งนี้ กฟผ. ในฐานะผูผลิตไฟฟารายใหญของประเทศ จึงระดมทุนผาน กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน EGATIF (กองทุนรวมฯ) ซึ่งเปนกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน กองแรกในประเทศไทยที่เขาลงทุนในสิทธิ์รายไดคาความพรอมจายไฟฟาของโรงไฟฟาที่ รัฐวิสาหกิจเปนเจาของและเปนผูบริหารจัดการโรงไฟฟา ทั้งนี้ กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน EGATIF เปดโอกาสใหประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะนักลงทุนรายยอยไดเขามามีสวนรวม ลงทุนพัฒนาระบบไฟฟาและสรางความมั่นคงดานพลังงานไฟฟา
สําหรับกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน EGATIF ไดรับการสนับสนุนโดยตรงจาก กฟผ. ซึ่งเปน รัฐวิสาหกิจ ที่มีประสบการณและความเชี่ยวชาญดานการผลิตไฟฟา การเดินเครื่องจักรและ บํารุงรักษาโรงไฟฟามากที่สุดในประเทศไทย ทั้งนี้ กฟผ. มีสัดสวนกําลังการผลิตไฟฟามาก ที่สุดในประเทศ โดย กฟผ. มีทีมงานเดินเครื่องและบํารุงรักษา เพื่อดูแลโรงไฟฟาของ กฟผ. ทั้งหมดเอง อีกทั้งยังรับบริหารจัดการ ดานการเดินเครื่องและซอมบํารุงใหแกผูผลิตไฟฟาภาคเอกชนอีกดวย
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
กาวตอไปสูการเพิ่มสมรรถนะกังหันกาซ จอหนสัน คอนโทรลส บริษทั ระดับโลกผูใ หบริการใน หลากหลายอุตสาหกรรม เปดตัว YCP-2020 เครือ่ งลด อุณหภูมอิ ากาศกอนเขากังหันกาซ ชนิดตูค อนเทนเนอร เปนเจาแรกของตลาด ผลิตภัณฑใหมนจี้ ะชวยเสริมไลน เครือ่ งลดอุณหภูมอิ ากาศกอนเขากังหันกาซ หรือ GTIAC (Gas Turbine Inlet Air Cooling) ของบริษทั ใหครอบคลุม ยิง่ ขึน้ ดวยอัตราการผลิตกวา 8,000 กิโลวัตต-เทอรมอล 1 เครือ่ ง YCP-2020 คื อ ระบบในตู ค อนเทนเนอร ที่ ภ ายใน ประกอบดวยเครือ่ งทําความเย็นภายใตแบรนด YORK® เครื่ องสู บนํ้ าเย็ น และเครื่อ งสูบ นํ้า ระบายความรอ น ตั ว สตาร ท ไฟฟ า และระบบควบคุ ม Metasys® เครื่อง YCP-2020 มีขนาดกะทัดรัด ออกแบบมาใหใชพื้นที่นอย มีความยืดหยุนในการจัดวางตําแหนงเครื่อง และยังชวยลดตนทุนการ ขนสงและโลจิสติกส จึงตอบโจทยและความทาทายที่โรงไฟฟาในปจจุบันและโรงไฟฟาสรางใหมตองเผชิญไดอยางดี 12
June 2015
K
June 2015 PB
News Report กองบรรณาธิการ
ปตท. มอบรางวัล
Eco-Driving Award ช่วยโลกลดร้อน
นายสรัญ รังคสิริ ประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารกลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน้ ปลาย บริษทั ปตท. จ�ากัด (มหาชน) เป็นประธานในพิธีมอบรางวัล Eco-Driving Award ในโครงการลดการใช้ พลังงานเชือ้ เพลิงของผูร้ บั จ้างขนส่งผลิตภัณฑ์เชือ้ เพลิงทางรถยนต์ (Fuel Saving Program) ณ อาคารส�านักงานใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) ถ.วิภาวดีรังสิต โดยมีเป้าหมาย ลดการใช้พลังงานเชื้อเพลิงภาคขนส่งทางรถของกลุ่ม ปตท. ให้ได้ 15% จากจ�านวนรถที่ เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 1,300 คัน จากนโยบายด้านคุณภาพความมัน่ คง ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อม กลุม่ ปตท. มีแนวปฏิบตั ใิ นการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์อย่างยัง่ ยืน ควบคูก่ บั การก�ากับดูแลกิจการ เพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยก�าหนดแผนกลยุทธ์ PTT Group Green Logistics Master Plan หรือ GLM เพื่อมุ่งเน้นการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ของกลุ่ม ปตท. อย่าง มีเสถียรภาพ หนึง่ ในการด�าเนินงานคือ “โครงการลดการใช้พลังงานเชือ้ เพลิงของผูร้ บั จ้างขนส่งทางรถ” หรือ “Fuel Saving Program” โดยเริ่มโครงการในปี พ.ศ. 2556 ในการให้ความรู้ด้าน การขับขี่อย่างประหยัดและปลอดภัยให้แก่บริษัทผู้รับจ้างขนส่งทางรถ จ�านวน 13 บริษัท คิดเป็นรถขนส่งทั้งหมด 1,300 คัน ที่เข้าร่วมโครงการ และเก็บข้อมูลการใช้พลังงาน เชื้อเพลิงของผู้รับจ้างขนส่งทางรถ เพื่อประเมินผลการขับขี่อย่างประหยัดพลังงานในปี พ.ศ. 2557 เปรียบเทียบกับอัตราการใช้พลังงานเชื้อเพลิงก่อนเข้าร่วมโครงการ โดยแบ่ง ตามประเภทผลิตภัณฑ์ที่ขนส่ง ลักษณะภูมิประเทศ และประเภทของรถขนส่ง โดยบริษัท PB14
June June2015 2015
ผู้รับจ้างที่ได้รับรางวัล Gold Award ใน ครัง้ นี้ จ�านวน 2 รางวัล ได้แก่ บริษทั เอสซี แคริเออร์ จ�ากัด และ บริษทั ศิรนิ คร จ�ากัด ความมุ่งมั่นในการด�าเนินงานด้าน Green Logistics ของกลุ่ม ปตท. ในครั้งนี้จะเป็น ก้าวส�าคัญในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมใน กระบวนตั้งแต่การขนส่งจนถึงการส่งมอบ สินค้า เป็นการให้ความส�าคัญต่อการปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ทเี่ กิดจากการเผาผลาญ พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ในภาคการขนส่ง ที่ จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ การเปลี่ ย นแปลง สภาวะโลกร้ อ น รวมถึ ง ผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ โดย กลุ่ม ปตท. มี แ ผนลดการใช้ พ ลั ง งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ สร้ า งสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี แ ก่ คนไทยต่อไป
News Report จีรพร ทิพย์เคลือบ
ดีเอชแอล MOU กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้น GoGreen ดีเอชแอล ประเทศไทย ในเครือของดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล กลุ่มบริษัทโลจิสติกส์และขนส่งพัสดุชั้นน�ำ ของโลก ลงนำมบันทึกควำมเข้ำใจ (MOU) ร่วมกับ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม เพื่อ สนับสนุนกิจกรรมกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือ GoGreen โดยสนับสนุนโครงกำรปลูกป่ำเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อมบนเนื้อที่ 19 ไร่ ในจังหวัดเพชรบุรี เป็นเวลำ 3 ปี
ทัง้ นี้ ภายใต้เงือ่ นไขของบันทึกความเข้าใจ ดีเอชแอล ประเทศไทย ซึง่ ประกอบด้วย ดีเอชแอล เอ๊กซเพรส ดีเอชแอล ซัพพลายเชน และ ดีเอชแอล โกลเบิล ฟอร์เวิร์ดดิ้ง ได้ประสาน ความร่วมมือกันอย่างใกล้ชดิ กับกองทุนสิง่ แวดล้อม ทีด่ า� เนินงานภายใต้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ในโครงการปลูกป่าเพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมในจังหวัดเพชรบุรี โดยมีความมุง่ มัน่ ที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเพื่อรณรงค์การพัฒนาแบบยั่งยืน ซึ่งในช่วง 1 ปีแรกของข้อตกลงร่วมกันนี้ ดีเอชแอล ประเทศไทย จะน�าเมล็ดพันธุ์ต้นไม้มาแจกจ่ายให้แก่ พนักงานเพือ่ ให้พนักงานน�าไปดูแล ก่อนทีจ่ ะน�าไปปลูกในพืน้ ทีโ่ ครงการปลูกป่าในจังหวัดเพชรบุรี เนื่องในวันจิตอาสาโลกที่จัดขึ้นในเดือนกันยายน คุณยาสมิน อลาดาด คาน รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียกลาง กล่าวว่า “ในฐานะที่องค์กรของเราปฏิบัติงานอยู่ใน 220 กว่า ประเทศทั่วโลก ดีเอชแอลจึงมีความมุ่งมั่นช่วยเหลือชุมชนในพื้นที่ที่เราด�าเนินธุรกิจอยู่ และ ส�าหรับความร่วมมือกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในครั้งนี้ ดีเอชแอลตั้งใจที่ จะส่งมอบสิ่งที่ดีไปยังชุมชนต่าง ๆ ในประเทศไทยผ่านทางโครงการอนุรักษ์แบบยั่งยืน” ความร่วมมือครั้งนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือและตอบแทนสังคมของดีเอชแอล ในประเทศไทย ภายใต้ชื่อโครงการ “ต้นกล้า” โดยมีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมพนักงานให้มี ส่วนร่วม สร้างการรับรู้ สนับสนุนให้มีการด�าเนินกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคมไทย ด้าน คุณชนัญญารักษ์ เพ็ชร์รัตน์ กรรมการผู้จัดการ ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส ประเทศไทย และ ภาคพื้นอินโดจีน กล่าว่า “ตั้งแต่ปี 2550 บริษัทในเครือของดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอลสามารถ ลดการใช้ก๊าซเรือนกระจกลงไปได้ถึง 19 ล้านตัน และประหยัดต้นทุนต่าง ๆ ด้านพลังงานลงไป ได้กว่า 6 พันล้านยูโร ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบของเราต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม สร้างมูลค่าเพิ่มมหาศาลให้กับลูกค้า และสร้างความแข็งแกร่งให้กับจุดยืนทางธุรกิจของเราได้อีก ด้วย พวกเราทุกคนในดีเอชแอลต่างมีเจตจ�านงอันแน่วแน่ที่จะขับเคลื่อนกิจกรรม GoGreen และ มีความยินดีที่ได้ร่วมงานกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นการตอบแทน และหยิบยื่นสิ่งดี ๆ คืนให้กับสังคมที่เราอยู่อาศัย”
ภายในปี 2563 บริษทั ในเครือของดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล ตั้งเป้าที่จะพัฒนาประสิทธิภาพ ในการเก็ บ กั ก คาร์ บ อนไดออกไซด์ ใ นกลุ ่ ม รวมถึ ง คู ่ ค ้ า ที่ ท� า ธุ ร กิ จ กั บ กลุ ่ ม ให้ ล ดลง ร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับปี 2550 ซึ่งในปี ที่ผ่านมา บริษัทได้พัฒนาไปมากกว่าครึ่งทาง คือสามารถเพิ่มอัตราการเก็บกักคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึงร้อยละ 23 เมื่อเทียบกับ ฐานข้อมูลปี 2550 ส�าหรับประเทศไทยนับได้ ว่ามีพัฒนาการที่โดดเด่น สามารถเพิ่มอัตรา การเก็บกักคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึงร้อยละ 36.2 ในปี 2556 อย่ า งไรก็ ต าม การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มนี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกิ จ กรรมเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ และตอบแทนสั ง คมของบริษัทในเครือของ ดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล ในชื่อ “การด�าเนิน ชีวิตอย่างรับผิดชอบ (Living Responsibility)” ที่มีสาระส�าคัญ 3 ประการด้วยกันคือ การปกป้องสิ่งแวดล้อม (GoGreen) การให้ บริการด้านโลจิสติกส์เพือ่ บรรเทาสาธารณภัย (GoHelp) และการพั ฒ นาโอกาสทางการ ศึกษาและการท�างานของเยาวชน (GoTeach) ซึ่งในแต่ละปี บริษัทในเครือของดอยช์ โพสต์ ดี เ อชแอลจะระดมพนักงานที่มีอยู่ทั่วโลก ให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ จั ด ขึ้ น เนื่ อ งในวั น จิตอาสาโลก June June2015 2015 15PB
News Report กองบรรณาธิการ
“คมนาคม” สั่งยกเครื่องรถสาธารณะทั้งระบบ
แนะใชพลังงานไฟฟาแทนดีเซลและ NGV กระทรวงคมนาคมได ใ ห น โยบายหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ระบบขนส ง มวลชน สาธารณะ ไดแก การรถไฟแหงประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) องคการขนสงมวลชนกรุงเทพฯ (ขสมก.) และบริษัท ขนสง จํากัด (บ.ข.ส.) จัดทําแผนการนํารถพลังงานไฟฟามาใช แทนรถดีเซล เพื่อลดการใชพลังงานที่เปนมลพิษตอสิ่งแวดลอม และชวยประหยัด พลังงานนํ้ามัน กาซธรรมชาติที่มีราคาสูงขึ้น และมีความผันผวนในขณะนี้
พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รมว.คมนาคม เปดเผยวา “ตองการใหประชาชนเดินทางอยาง ปลอดภัย รวมถึงเกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องการใชพลังงาน เชน เปลี่ยนจากรถเมลเอ็นจีวี เปนรถไฟฟา ซึ่ง พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ใหความสําคัญในเรื่องนี้ เพราะระยะยาวการใชรถเมลไฟฟาประหยัดกวา ขณะเดียวกัน ตั้งใจดวยวาอนาคตรถไฟไทยจะตองเปลี่ยนมาใชระบบรถไฟฟาทั้งหมดภายในป 2575 โดยจะไมเหลือรถไฟดีเซลอีกแลว พรอมกับ ให ร.ฟ.ท. ปรับวิธีการจัดหาหัวรถจักรใหม โดยใชวิธีเชาแทนการซื้อขาด เพื่อใหปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีรถไฟใหทันสมัยไดตลอดเวลา” ทัง้ นี้ มัน่ ใจวาหากเปลีย่ นรถโดยสารสาธารณะมาใชพลังงานไฟฟาทัง้ หมด จะไมกระทบตอการใชไฟฟาในประเทศแนนอน โดยในสวนของรถไฟฯ ประเมินวาจะใชไฟฟาเพิ่ม 1-2% หรือ 500 เมกะวัตต จากการใชพลังงานไฟฟาทั่วประเทศ 26,000 เมกะวัตต ซึ่งหลังจากนี้รัฐบาลมีแผนสราง แหลงผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลมในภาคอีสานเพิ่มเติม สําหรับโครงการนํารองจะเริ่มใชรถไฟพลังงานไฟฟาเสนทาง หาดใหญ-ปาดังเบซาร เชื่อมกับมาเลเซีย ในป 2560 ขณะที่รถไฟทางคูไทย-จีน ขนาดราง 1.435 เมตร จะใชพลังไฟฟาซึ่งนําเขาจาก สปป.ลาว สวนการจัดหารถเมล ขสมก. รอบแรก 489 คัน ยังคงเปนรถเมลเอ็นจีวีอยู ซึ่งจะรับมอบและใหบริการไดในเดือน ก.ค. 2558 แตการจัดหาระยะ ตอไปอีก 2 พันกวาคัน จะเปลี่ยนเปนรถเมลพลังไฟฟาทั้งหมด ซึ่งขณะนี้ไดรับรายงานผลศึกษาเบื้องตนแลว แมตนทุนการซื้อรถจะแพงกวา รถเมลธรรมดา 3 เทา แตในระยะยาวการใชพลังงานจะคุมคาและประหยัดคาบํารุงรักษา
เปดตัว E-BUS
รถบัสโดยสารไฟฟา
โครงการใชรถโดยสารไฟฟา เพือ่ ศึกษาและทดลองใชในกิจการของ PEA บริษัท PEA, PEA ENCOM และ บริษัท ล็อกซเลย จํากัด (มหาชน) รวมกันเปดตัว รถบัสโดยสารไฟฟา (E-Bus) รุน K9 (เค-ไนน) โดยรวมมือกันนํายานยนตไฟฟาซึ่ง เปนนวัตกรรมสะอาดปราศจากมลพิษและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ขับเคลื่อนดวย พลังงานไฟฟา 100% ชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนสาเหตุ สําคัญของภาวะโลกรอน ทั้งนี้ จะมีการศึกษาพฤติกรรมการชารจไฟฟาของสถานีประจุไฟฟา ศึกษาประสิทธิภาพ ของรถในดานตาง ๆ เชน อัตราการใชพลังงานไฟฟา อัตราการประหยัดพลังงานไฟฟา ความเชือ่ มัน่ ในใชรถโดยสารไฟฟา และโอกาสในการนํารถโดยสารไฟฟามาใชในประเทศ เปนตน ซึง่ PEA ไดใหการสนับสนุนเรือ่ งการติดตัง้ สถานีประจุไฟและเปนจุดสําหรับจอดรถบัสโดยสารไฟฟา (E-Bus) ณ การไฟฟาสวนภูมภิ าค สํานักงานใหญ เปนระยะเวลา 1 เดือน และนํารถโดยสารไฟฟามาทดลองใชในกิจกรรมตาง ๆ รวมถึงอํานวยความสะดวกในการ รับ-สง พนักงาน โดยความรวมมือกันของทั้ง 3 หนวยงาน ถือเปนกาวสําคัญในการพัฒนาเรื่องสถานีประจุไฟฟาซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาระบบไฟฟาใหเปน “โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ” หรือ “สมารทกริด (Smart Grid) ซึง่ เปนหนึง่ ในแผนยุทธศาสตรดา นพลังงานและสิง่ แวดลอมที่ PEA กําหนดขึน้ และ บริษทั PEA ENCOM นําแผนยุทธศาสตรดงั กลาวมาดําเนินการใหเปนรูปธรรม นอกจากนีย้ งั สนับสนุนนโยบายดานพลังงานของรัฐบาลทีจ่ ะสงเสริม การอนุรกั ษและประหยัดพลังงานในทุกภาคสวน ตลอดจนรองรับการใชยานยนตไฟฟาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต กอใหเกิดประหยัดพลังงานในระบบ ขนสงของประเทศและเปนแนวทางในการพัฒนาธุรกิจ พรอมทัง้ สรางการรับรูแ ละความเชือ่ มัน่ ในรถโดยสารไฟฟาใหกบั พนักงานและประชาชนทัว่ ไป
16
June 2015
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
June 2015 PB
Cover Story กองบรรณาธิการ
Evolution of LED นวัตกรรมทดแทนแสงสวางเพื่อสิ่งแวดลอม หากสืบสาวราวเรือ่ งกันจริง ๆ ถึงเทคโนโลยี ของ LED (Light Emitting Diode) หรือ แปลตรงตัว คือ ไดโอดชนิดเปลงแสง คงตองยอนไปในยุค 60 ที่ถือเปนยุคที่กอ กําเนิดของหลอดไฟขนาดเล็กหลอดนี้ขึ้น สิ่ ง ที่ ไ ด กั บ ยุ ค เริ่ ม แรกของอะไรสั ก อย า ง บนโลก มักยังไมเปนทีน่ า ประทับใจมากนัก เพราะชวงแรกของยุค LED ยังเปนชวงของ การตั้งไข บนความเปนไปไดที่เกิดชึ้นแลว ของอุปกรณสอ งสวางทีเ่ ปนหลอดไสอยาง หลอดไฟที่ยังมีใชกันอยูทุกวันนี้ และกําลัง ลดนอยลงไปทุกวัน ประวัติความเปนมา ของ LED ในชวงแรกของการพัฒนานั้น ดวยความที่เทคโนโลยียังไมเทาปจจุบัน การใชงานของ LED จึงถูกจํากัด เพราะ การใหแสงยังไมเขมมากนัก จึงถูกนํามา ใชไดเพียงชวงความถี่ในแสง Infrared ซึ่ง
µÅÒ´ÍØ»¡Ã³ ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§¡Ñºà·¤â¹âÅÂÕ´ŒÒ¹¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ºŒÒ¹àÃÒ ÁÕ¡Òà ¾Ù´¶Ö§Í‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ㹷ءÀҤʋǹ¢Í§¡ÒÃ㪌§Ò¹ ·Ñ้§ÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁáÅФÃÑÇàÃ×͹ ·Ñ้§·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§¡ÑºÃкº·ํÒ¤ÇÒÁàÂ็¹ Ãкº·ํÒ¤ÇÒÁÌ͹ Ōǹ໚¹ÊÔ่§·Õ่¡‹ÍãËŒà¡Ô´¡Òà ÊÙÞàÊÕ¾Åѧ§Ò¹·Ñ้§ÊÔ้¹ áÅÐÊÔ่§·Õ่¾Ù´¶Ö§äÁ‹á¾Œ¡Ñ¹¤×Í ÍØ»¡Ã³ ä¿¿‡Ò·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§¡ÑºÃкº Ê‹ Í §ÊÇ‹ Ò § ·Õ่ ÁÕ ¡ ÒÃ¾Ñ ² ¹ÒÍ‹ Ò §µ‹ Í à¹×่ Í §äÁ‹ á ¾Œ ÍØ » ¡Ã³ Í×่ ¹ æ Ê‹ Ç ¹Ë¹Ö่ § ໚ ¹ à¾ÃÒÐ áʧÊÇ‹ Ò § ¶× Í à»š ¹ »˜ ¨ ¨Ñ  Êํ Ò ¤Ñ Þ ã¹¡Òôํ Ò à¹Ô ¹ ªÕ ÇÔ µ ¢Í§Á¹Ø É Â ã ¹·Ø ¡ ª‹ Ç §àÇÅÒáÅÐ à·¤â¹âÅÂբͧÍØ»¡Ã³ ´Ñ§¡Å‹ÒÇ ³ »˜¨¨ØºÑ¹ ÁÒËÂØ´ÍÂÙ‹·Õ่ LED (Light Emitting Diode) ¹Ñ้ ¹ àͧ «Ö่ § ÁÕ ¡ ÒÃᵡᢹ§¡ÒÃ㪌 § Ò¹ÍÍ¡ä»ã¹ËÅÒÂÀҤʋ Ç ¹äÁ‹ãª‹à¾Õ§ ᤋ¡ÒÃʋͧÊÇ‹Ò§à¾Õ§Í‹ҧà´ÕÂÇ
เปนแสงที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลาได ลักษณะการใชงานดังกลาวที่เห็นในปจจุบันก็คือ ลําแสงที่เกิดจากรูปแบบการใชงานตามอุปกรณประเภทรีโมทคอนโทรลในเครื่องใชไฟฟาตาม บานนั้นเอง ถึงแมการใชงานชวงแรกจะถูกจํากัด เพราะเทคโนโลยียงั ไมเปนทีย่ อมรับ แตความนาจะเปนของ การใชงานก็เดนชัดวา สามารถที่จะนํามาตอยอดไดไมวาจะชาหรือเร็ว LED จึงถูกพัฒนาอยาง ตอเนื่อง จากผูผลิตหลายรายจนสามารถใหแสงที่ครอบคลุมยานความถี่ตั้งแต Infrared แสงที่ มองห็นไปจนถึงยาน Ultra violet หรือ UV จนสามารถนํามาใชงานไดจริงในเชิงอุตสาหกรรม มากยิ่งขึ้น ไมวาจะเปนการใชในอุปกรณไฟ แสดงตามแผงควบคุม ไฟสัญญาณ ไฟแสดง ตัวเลขของนาฬกาดิจิตอล ขอจํากัดของ LED ไดถูกเทคโนโลยีคอย ๆ กลืนกินทีละนอย จนสามารถเอาชนะขอดอย ดานประสิทธิภาพความเขมแสงลงได ทําให เกิดการนําเอามาใชงานในการแสดงสัญญาณ ตางๆ ที่ตองการความชัดเจนของแสงมาก ยิง่ ขึน้ อาทิ การนํามาใชในไฟสัญญาณสําหรับ การบิน ไฟสัญญาณจราจร ซึ่งการพัฒนา เทคโนโลยีของ LED ทําใหเห็นวา หลอดไฟ เล็ก ๆ นี้ มีขอดีที่มากกวาแคเพียงลําแสงที่
18
June 2015
แสดงออกมาไดชัดเจนกวาหลอดไฟแบบไส หรือ หลอดฟลูออเรสเซนต คือ คุณสมบัติ ดานการประหยัดพลังงาน การใชงานได นานขึน้ การบํารุงรักษาทีต่ าํ่ ขนาดทีเ่ ล็กมาก เมื่อเทียบกับหลอดไสอยางเดิม จึงเปนที่มา ในการพัฒนาประสิทธิภาพของ LED ในการ เพิ่มประสิทธิภาพของการใชงานใหมากขึ้น โดยเฉพาะการพั ฒ นาด า นความเข ม แสง ความสวาง เพื่อใหสามารถนํามาใชเปน อุปกรณสองสวางในชีวิตประจําวันในทุก รูปแบบ เพื่อทดแทนหลอดไฟแบบที่มีใชอยู ทั่วไปในปจจุบันนั้นเอง เนื่องจากเทคโนโลยีลํ้าสมัยขึ้นทุกวัน ไดมีการผลิตอุปกรณเครื่องใชไฟฟาที่มีสวนประกอบ ของ LED มากขึ้น หลายประเทศใหความสําคัญกับคําวาประหยัดพลังงานมากขึ้น จนมีชื่อ เข า มาเกี่ย วข อ งในผลิ ต ภั ณ ฑ ต า ง ๆ ไม ว า จะเป น TV LED, หลอดไฟ LED เป น ต น แตอุปกรณเครื่องใชไฟฟาที่มี LED เขามาเกี่ยวของจะมีราคาแพงกวาอุปกรณเครื่องใชไฟฟา ชนิดอื่น โดยเฉพาะที่มีการใชงานกันมากขึ้น คือ หลอดไฟหรืออุปกรณที่ใหแสงสวาง ขอดี ดานการประหยัดพลังงานทําใหประเทศออสเตรเลีย ไดมีการสั่งหามใชหลอดไฟแบบเกา เนือ่ งจากเห็นถึงขอเสียของหลอดไสและหลอดฟลูออเรสเซนตมากกวาหลอดไฟ LED หลายอยาง เชน หลอดฟลูออเรสเซนตมีสารปรอทอยูในตัวหลอด ถาหากทําหลอดไฟแตกแลวเกิดไป สัมผัสเศษของหลอดไฟ จะทําใหเปนอันตรายรายแรงถาไมทําความสะอาดแผลทันที รวมถึงหลายประเทศก็ไดประกาศยกเลิกการใชหลอดไสและหลอดฟลูออเรสเซนตเชนกัน โดยหันมาใชงานหลอดไฟ LED แทน เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีกวาหลอดไฟรูปแบบเดิม แตขอเสียของหลอดไฟ LED ณ ปจจุบัน คือ เรื่องของราคาที่แพงกวาหลอดไสและหลอด ฟลูออเรสเซนตประมาณ 2-3 เทา แตหลายๆประเทศก็ยังเลือกใชกันเนื่องจากหลอดไฟ LED มีอายุการใชงานที่มากกวาหลอดไสหรือหลอดฟลูออเรสเซนตหลายเทา โดยเฉลี่ยแลว อยูที่ 50,000 ชั่วโมง หรือ 4-5 ป
ไดเปดใจและยอมรับสิ่งที่กําลังจะกลายเปน อนาคตของเทคโนโลยีนี้ กอนที่จะเปดรับเทคโนโลยีใหมอยาง LED อยางจริงจัง เราทราบหรือไมวา อุปกรณ สองสวางที่เราใชในปจจุบันหรือกอนหนานี้ เปนอยางไร ซึ่งที่ไดยินกันติดหูเห็นจะเปน หลอดฮาโลเจน หลอดฟลู อ อเรสเซนต หลอดแสงจันทร หลอดโซเดียม และหลอด เมทัลฮาไลด ที่ผานมาเราแทบไมทราบหลัก การทํางานของหลอดเหลานี้วาเปนอยางไร ใชพลังงานมากนอยเพียงไรและทําไมหลอด LED จึงดีกวา ซึ่งหลอดไฟชนิดตาง ๆ จะมี คุณสมบัติและหลักการทํางานที่ตา งกัน
สงผลใหปจจุบัน หลอด LED มีการพัฒนาอยางตอเนื่องและเริ่มนํามาใชอยางแพรหลาย ในทุกภาคสวน เพราะแสงสวางเขามาเกีย่ วของกับวิถชี วี ติ ของมนุษยในทุกชวงชีวติ ทัง้ ในสวน ของแสงสวางทั่วไปตามบานพักที่อาศัย แสงไฟแสงสวางรถยนต แสงไฟในภาคอุตสาหกรรม แตก็ยังติดปญหาดานตนทุนการผลิตอยู แตในอนาคตอีกไมนานเมื่อตนทุนในการผลิต หลอดไฟ LED ตํ่าลงเรื่อยๆ เราคงไดเห็นหลอดไฟ LED ไดทั่วไปซึ่งจะมาแทนหลอดไฟใน ปจจุบันไมตางจากการเขามาแทนหลอดไสของฟลูออเรสเซนต สิ่งที่ทาทายกับการเปดรับเทคโนโลยีใหม ๆ คือ ทําอยางไรใหผูใชยอมรับและเปดใจมากพอ ที่จะเปลี่ยนความคิดเดิม ๆ ในการใชเทคโนโลยีใหม ๆ จริงอยูเทคโนโลยีเกาไมใชเรื่องที่ผิด กลับกันก็ไมใชเรื่องที่ถูกเสมอไป การที่ผูผลิตจะสามารถเอาชนะกระแสตอตานเทคโนโลยี ใหม ๆ ไดนั้น ก็คือ การทําความเขาใจใหกับผูใชเองเห็นวาสิ่งใหมที่เขามาแทนที่นั้น มีขอดี หรือขอเสียอยางไร เพื่อเปนตัวเลือกในการตัดสินใจ รวมถึงการทําใจยอมรับในสิ่งที่ขาด หายไปจากสิ่งเดิม ๆ การเขาใจและรูหลักการทํางาน LED จึงนาจะเปนประโยชน เพื่อที่จะ June June2015 2015 1919
หลอดอินแคนเดสเซนต (Incandescent lamps) หรือ หลอดไส เปนหลอดไฟที่มีการ ใชงานอยางแพรหลาย มีหลักการ คือ เมื่อมี กระไฟฟ า ไหลผ า นขดลวดที่ เ ป น ไส ห ลอด จะทําใหเกิดความรอนจนขดลวดแดงและ เปลงแสงสวางออกมา ไสหลอดสวนใหญทํา มาจากทังสเตน สวนภายในจะบรรจุกา ซเฉือ่ ย ไนโตรเจนและอาร ก อน และมี ห ลอดไส อีกชนิดหนึ่ง ซึ่งภายในบรรจุกาซ ฮาโลเจน เพื่ อ ทํ า ให ไ ส ห ลอดมี ค วามสว า งและอายุ การใชงานมากขึ้น เลยเรียกอีกชื่อหนึ่งวา หลอดทังสเตนฮาโลเจน (tungsten halogen) โดยทั่วไปหลอดไฟชนิดนี้มีประสิทธิภาพตํ่า มีอายุการใชงานสั้นโดยอายุการใชงานชนิด ธรรมดาจะอยู ที่ ป ระมาณ 1,000 ชั่ ว โมง สวนหลอดทังสเตนฮาโลเจนจะอยูท ปี่ ระมาณ 2,000 ช.ม ที่สําคัญมีความรอนสูง เปลือง พลังงาน แตราคาถูกที่สุดในทองตลาด หลอดฟลูออเรสเซนต (Fluorescent lamps) ชื่อนี้เชื่อวา ทุกทานคงเคยไดยิน เพราะเปน หลอดที่ไดรับความนิยมสูงที่สุดในปจจุบัน มีหลักการคือ การสงผานกระแสอิเลคตรอน วิง่ ชนไอโลหะและกาซเฉือ่ ยทีอ่ ยูภ ายในหลอด ทําใหเกิดแสง UV เมื่อแสง UV มากระทบ สารฟลู อ อเรสเซนต ที่ เ คลื อ บข า งหลอด จึงทําใหเกิดการเรืองแสงออกมา แตทั้งนี้ ตองใชงานรวมกับบัลลาสต หลอดไฟชนิด
20
June 2015
ฟลูออเรสเซนตนี้ มีประสิทธิภาพสูงกวาหลอดไส (60-100lm/w) มีอายุการใชงานนานกวา 10,000-20,000 ชั่วโมงและมีความรอนตํ่ากวา แตก็เปนหลอดชนิดที่มีใชเฉพาะกําลังวัตต ตํ่าๆ สําหรับในอาคารนิยมติดตั้งหลอดชนิดนี้ เพราะทําใหชวยประหยัดกวาหลอดไส หลอดคายประจุ (Gas Discharge lamps) หลอดคายประจุ มีหลักการทํางานเหมือนกับ หลอดฟลูออเรสเซนต แตแตกตางกันตรงสวนผสมของไอโลหะและกาซทีอ่ ยูภ ายใน แบงเปน 2 ชนิดใหญๆ คือ หลอดคายประจุความดันไอตํ่า(Low-pressure Discharge lamps) และ หลอดคายประจุความดันไอสูง (High-pressure discharge lamps) หลอดทีเ่ ปนแบบคายประจุความดันไอตํา่ ไดแก หลอดโซเดียมความดันตํา่ (Low-pressure Sodium lamps) ภายในบรรจุโซเดียม นีออน และอารกอน ใหแสงสีเหลืองเขม เปนหลอดไฟ ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ในบรรดาหลอดไฟทั้งหมดมีอายุการใชงานนาน 18,000-20,000 ชั่วโมง แตก็มีความถูกตองของสีแยที่สุด เปนมลภาวะทางแสง ปจจุบันมีการใชนอยมาก ตอมาเปน หลอดนีออน (Neon lightings) ภายในบรรจุดวยกาซชนิดตางๆ เพื่อทําใหเกิดสี ใชไฟฟาแรงสูงหลายพันโวลต เพื่อทําใหกาซคายประจุหรืออิเลคตรอนออกมา กาซที่เติม ภายใน ไดแก ไฮโดรเจนทําใหเกิดสี สีแดง ฮีเลียมทําใหเกิดสีเหลือง ปรอททําใหเกิด สีนาํ้ เงิน หลอดชนิดนีม้ สี สี นั สวยงาม จึงเหมาะ ที่นําเอาไปทําปายโฆษณา ไฟอักษรตางๆ แต ไ ม นิ ย มนํ า มาใช เ ป น ไฟแสงสว า งและ หลอดฟลูออเรสเซนตที่กลาวไวขางตนก็อยู ในกลุมนี้ดวย
หลอดคายประจุ ค วามดั น ไอสู ง (Highpressure discharge lamps) ไดแก หลอดโซเดียม ความดันสูง (High-pressure Sodium lamps) มีสเี หลืองแตไมเขม ประสิทธิภาพสูง รองลงมา จากหลอดโซเดียมความดันตํา่ อายุการใชงาน 15,000-25,000 ชัว่ โมง ความถูกตองของสีดกี วา หลอดโซเดียมความดันตํ่า หลอดไอปรอท หรือ หลอดแสงจันทร หรือ หลอดเมอคิวรี่ (Mercury-vapor lamps) เป น หลอดที่ มี ประสิทธิภาพสูงกวาหลอดไส มีอายุการใชงาน นานและยังมีความถูกตองของสีคอนขางดี แตตอ งใชบลั ลาสตกบั สตารทเตอรและการเปด แตละครัง้ ตองมีการอุน ไส 4-7 นาที นิยมนํามา ใชแทนหลอดฟลูออเรสเซนตเมื่อตองการ ความสวางสูง เชน ภายในอาคารโรงงานหรือ ตามถนนหรือที่สาธารณะที่ตองการความ ถูกตองของสีสงู หลอดเมทัลฮาไลด (Metal halide lamps) มีประสิทธิภาพดี ความถูกตอง ของสี ดี ม าก แต อ ายุ ก ารใช ง านสั้ น กว า เหมาะสําหรับใชในหางสรรพสินคา สนามกีฬา ทีต่ อ งการความถูกตองของสีสงู ปดทายดวย หลอดอารคซีนอน (Xenon arc lamps) ทีเ่ ปน หลอดคายประจุชนิดพิเศษ มีความถูกตอง สูงมาก มีกาํ ลังวัตตสงู มากเปนพิเศษ แตมี อายุการใชงานสัน้ ทีป่ ระมาณ 2,000 ชัว่ โมง จึงเหมาะเอามาใชในงานฉายภาพยนตร หลอดไฟ LED (LED lamps) เปนหลอดที่ กลาวถึงขางตน ซึง่ เปนหลอดไฟชนิดทีแ่ ตกตาง จากหลอดทีก่ ลาวมาทัง้ หมด หลอดมีขนาดเล็ก กําลังตํา่ มีหลักการทํางานโดยการผานกระแส ไฟฟาใหกบั สารกึง่ ตัวนํา จะทําใหบริเวณรอยตอ ของขัว้ ทีเ่ รียกวา P-N junction เกิดการเปลง แสงออกมา ถึงจะมีกาํ ลังตํา่ แตสามารถนํามา ตอกันในวงจรไฟฟา เพือ่ ใหมกี าํ ลังมากขึน้ ได ซึง่ หลอดไฟ LED มีคณ ุ สมบัตเิ ดนทีอ่ ายุการ ใชงานยาวนานทีส่ ดุ ประมาณ 50,000-100,000 ชัว่ โมง มีประสิทธิภาพคอนขางสูง มีความ ถูกตองของสีสงู ความรอนตํา่ ไมมรี งั สี UV ไม มี ก า ซพิ ษ หรื อ โลหะหนั ก ในการบรรจุ จึงถือเปนหลอดไฟประเภทที่กําลังมาแรง ทีส่ ดุ ในปจจุบนั นัน้ เอง
ชนิดของ หลอดไฟ หลอดLED หลอดไส้Halogen Flourescent Mercury Metal-Halide Hi-pressure soduim Lo-pressure soduim
ประสิทธิภาพ เฉลีย่ (avg. efficacy) (lm/w) 90 55 80 65 100 130 190
CRI เฉลีย่ (%)
อายุการใช้ งาน เฉลีย่ (ช.ม.)
90 100 85 45 60 90 0
60,000 2,500 18,000 22,000 9,000 20,000 18,000
สวนประกอบหลักของหลอด LED 1. LED Frame เปนฐานสําหรับยึด หรือ วาง LED Chip 2. LED Chip เปนตัวกําหนดเบื้องตนของความสวางและประสิทธิภาพของ LED 3. Zener Diode เปนตัวชวยปองกัน LED Chip จากกระแสไหลผิดดาน 4. Wire เปนตัวเชื่อมนํากระแสจาก Frame มาสู LED Chip 5. Resin Phosphor มีผลโดยตรงตอสีของแสง, CRI และ Color shift 6. Package ชวยปองกัน LED Chip และ Phosphor มีผลตอการกระจายแสงเปนตัว หลักที่มีผลตออายุ LED
ถึงแมวาโดยหลักการการทํางานของหลอด LED ทั่วไปจะเปลงแสงโดยไมมีความรอนเกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นนอยมากจนสามรถใชมือเปลาสัมผัสได แตใน Hi Power LED หรือ LED กําลังสูง ที่ใหแสงสวางมาก ๆ จะมีความรอนเกิดขึ้นมาก การออกแบบระบบระบายความรอนจึงมี ความสําคัญ แผงระบายความรอนหรือที่เรียกวาฮีทซิงค (Heat Sink) สวนใหญทํามาจาก อลูมิเนียมซึ่งมีคุณสมบัติคือ หลอมขึ้นรูปไดงาย นํ้าหนักเบา และพาความรอนไดดี การออกแบบฮีทซิงค นอกจากจะคํานึงถึงการระบายความรอนแลว ยังตองคํานึงถึงใหรปู ทรง เปนตามลักษณะของหลอดไฟอีกดวย การออกแบบระบบระบายความรอนที่ดี จะชวยให อายุการใชงานของหลอดไฟ LED ยาวนานถึง 60,000 ชั่วโมง โดยความสวางไมลดลง แตในทางตรงกันขาม การออกแบบ heat sink ที่ไมดี ยอมทําใหความรอนสะสมในหลอด LED มาก ผลก็คืออายุของ LED จะสั้นลงและไมเปนไปตามผูผลิตกําหนดไว ปจจุบันบทบาทของหลอด LED ถูกนํามาใชงานในหลากหลายรูปแบบ แตที่ดูเหมือนจะ โดดเดนที่สุด เห็นจะเปนการใชงานในการสองสวางเพื่อทดแทนหลอดไฟแบบเดิม ซึ่งมีการ พัฒนาจนสามารถนํามาทดแทนไดเกือบทุกชนิดกับเทคโนโลยีเพื่ออนาคตที่ทั้งโลกยอมรับ หากจะเลือกผลิตภัณฑหลอดไฟ LED ไปใชควรรูอะไรบาง มีเทคนิคในการเลือกซื้ออยางไร ประเภทของหลอดไฟ LED มีคําจํากัดความอยางไร คําที่สามารถเลือกซื้อหลอด LED จากแหลงจําหนายได โดยหลอดไฟ LED สวนใหญจะแบงเปน 3 ประเภท โดยหลอดไฟ LED June June2015 2015 2121
ใชภายในอาคารประกอบดวยหลอดประเภท BULB, TUBE, DOWN LIGHT, T-BAR, PAR LIGHT, PENDANT LIGHT, หลอดไฟ LED ใชภายนอกอาคาร ประกอบดวย หลอด FLOOD LIGHT, HIGH BAY, STREET LIGHT และหลอดไฟ LED ตกแตง ประกอบดวยหลอด STRIP LIGHT หรือไฟ เสนตกแตง, LAND SCAPE LIGHT, TRACK LIGHT ฉะนั้นการที่จะเลือกซื้อหลอด LED ควรศึกษาประเภทใหดีเสียกอนที่จะนํามา เปลี่ยนกับหลอดแบบเดิม เพราะอาจไดคา ของแสงไมเพียงพอตอความตองการหรือ อาจนํามาใชผิดประเภทก็เปนได ที่ผานมาผูบริโภคจะไดรับทราบขอมูลดานดี เพี ย งอย า งเดี ย วของการหั น มาใช ห ลอด LED แตอยาลืมวา มีขาวยอมมีดํา มีขอดี ก็ ย อ มมี ข อ ด อ ยเช น กั น โดยเฉพาะที่ เทคโนโลยี ยั ง มี ก ารพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ ง ทําใหราคาเริ่มตนของหลอด LED ยังมีราคา แพงกว า หลอดแบบเดิ ม ที่ ใช ม านานและ การพัฒนามาถึงที่สุดแลว แตเชื่อวาราคา จะคอย ๆ ลดลงในอนาคตตามเทคโนโลยี หลายรัฐบาลใหการสนับสนุนการพัฒนาและ การผลิตใหมีราคาที่ถูกลง ตอมาเปนเรื่อง ความไวตออุณหภูมทิ มี่ ผี ลตอประสิทธิภาพของ LED สวนใหญขึ้นอยูกับอุณหภูมิแวดลอม ของสภาพแวดลอมการทํางาน การเรงอุณภูมิ ของ LED จะทําใหลดอายุการใชงานและ อาจจะทําใหเกิดความเสียหายไดจึ ง จํ า เป น
22
June 2015
ตองติดตั้ง Heat Sink หรือ แผงระบายความรอน ที่เหมาะกับการใชงานและหนึ่งในความ เขาใจผิดที่พบบอยที่สุดเกี่ยวกับไฟ LED คือ คาการใชพลังงานแบบ watt ไมไดขึ้นอยูกับ การสิน้ เปลืองพลังงานของหลอด LED เพียงอยางเดียว แตขนึ้ อยูก บั ปจจัยแวดลอมอืน่ ๆ ดวย ความเขาใจผิดของหลอด LED วามีอุณหภูมิสีจํากัด ตองใชความระมัดระวังในการเลือกใชสี ของ LED ยกตัวอยางเชน แสงสีเหลืองอุน สามารถแสดงสีของเนื้อในซูเปอรมารเก็ต แสงอุน จะเนนสีแดงในเนือ้ ในขณะทีล่ ดการมองเห็นของสีขาวสวนไขมัน จึงทําใหเนือ้ นาสนใจ มากขึ้น เทคนิคตรงขามมักจะถูกใชในการใหแสงสวางในตูโชวอัญมณี การใชแสงสีขาวเย็น เพื่อเพิ่มความสวางของเพชรเงินหรือวัตถุที่เปนโลหะและอัญมณีอื่น ๆ ทําใหเกิดการมอง เห็นที่เพี้ยนไปจากเดิมได อีกหนึ่งขอจํากัดที่ผูใชยังไมทราบเกี่ยวกับหลอด LED ถึงแมมีการนําไปใชในอุปกรณตา ง ๆ หลากหลายมากขึ้น แตกลับยังไมไดนํามาใชแพรหลายในที่พักอาศัยมากนัก เนื่องจาก มีขอจํากัดสําคัญ คือ ยังไมสามารถผลิต LED ที่เปลงแสงสีขาวโดยแทจริงได โดยปจจุบัน มี 2 วิธี ที่นํามาใชเพื่อผลิต LED ที่เปลงแสงสีขาวทางออม คือ การเคลือบ LED สีนํ้าเงิน ดวยสารเรืองแสงสีเหลือง อีกวิธี คือ การนําแสงสีแดง เขียว และนํ้าเงิน มาผสมกันใหพอ เหมาะเพื่อใหเปนสีขาว สงผลใหราคาหลอด LED สีขาวยังแพงกวาหลอดฟลูออเรสเซนต อยูมากนั้นเอง ส ว นข อดี ข องหลอด LED นอกจากที่ ทราบกั น ดี ว า เปนเทคโนโลยีใหมที่นา จับ ตาแลว ไดมีการตอยอดการใชงานในหลากหลายรูปแบบมากขึ้น ดวยขอดีที่มากกวาหลอดไสทั่วไป ทั้งเรื่องของการใชพลังงานที่ตํ่ากวา อายุการใชงานทนทาน ทนตอการกระแทก มีขนาดเล็ก จึงมีการใชงานที่หลากหลาย เชน การติดตั้งบนเครื่องบิน และในรถยนต การโฆษณาปาย และสัญญาณไฟจราจร LED ยังมีประโยชนในดานเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย LED อินฟราเรดยังใชในหนวยควบคุมระยะไกลของผลิตภัณฑในเชิงพาณิชยจํานวนมาก รวมทั้ง เครื่องใชไฟฟาในบาน หลอด LED ไดถูกนํามาใชเปนไฟถนนและแสงไฟในสถาปตยกรรมอื่น ๆ ที่มักจะเปลี่ยนสี ของแสง ความทนทานและอายุการใชงาน ยังถูกนํามาใชในอุตสาหกรรมรถยนต มอเตอรไซค และจักรยาน ถูกนําไปใชบนเครื่องบินแอรบัส A320 ตั้งแตป 2007 และขณะนี้ยังถูกใชใน สนามบินและลานจอดเฮลิคอปเตอร การตอยอดใหเหมาะสําหรับโทรทัศนจอ LED และ Tablet ที่มีนํ้าหนักเบาและบางได รวมถึงกลองถายรูป และมือถือ และมักจะพบบอยในอุปกรณอินฟาเหรด กลองวงจรปด ไฟฉุกเฉิน รีโมทคอนโทล เซ็นเซอร จับความเคลือ่ นไหวและเมาท นิยมใชกนั มากขึน้ ในตูป ลา โดยเฉพาะตูปลาปะการัง เพราะหลอด LED ใหกําเนิด แสงที่มีประสิทธิภาพกับความรอนที่นอย ทําใหชวย ควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมกับปะการังและสามารถ เปลี่ยนสี SPRECTRUM ใหเหมาะกับการเจริญเติบโต ของปะการังได และดวยอุณหภูมิตํ่าของ LED จึงเหมาะ สําหรับการใชเปนไฟจากเวทีการแสดงตาง ๆ และเปน ไฟที่ใชในหองผาตัดอีกดวย
หากมองยอนกลับไป ณ จุดเริ่มตนของวิวัฒนาการของ LED แลว มีการพัฒนาอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน ก็ยังถือวายังไมถึงขั้นสูงสุด ของที่ควรจะเปน แลวอนาคตของเทคโนโลยีนี้ตอไปจะเปนอยางไร จากผลการสํารวจจากสถาบันวิจยั ขอมูลดานการตลาด IMS Research คาดการณวาตั้งแตป พ.ศ. 2552 – 2563 การขยายตัวของตลาด หลอดไฟฟาแสงสวางมีอัตราการขยายตัวและลดลงของมูลคาตลาด หลอดไฟฟาทัง้ 5 ชนิด ตัง้ แต หลอดไส หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต (หลอดตะเกียบ) หลอดฟลูออเรสเซนต หลอดความเขมสูง (HID : High Intesity Discharge) สวนทางกับหลอด LED ที่จะมีการเติบโต นาสนใจ จากแรงผลักดันดานคุณสมบัติและเทคโนโลยีที่ลํ้าสมัยขึ้น เมื่อเปรียบเทียบผลการประหยัดคาไฟฟากับราคาคาหลอด LED และอายุการใชงานที่ยาวนาน ถือไดวาหลอด LED มีความคุมคาใน การใชงานในอนาคต คาดวาอีก 5 ป ประมาณป พ.ศ. 2558-2559 จะมียอดการใชการเติบโตสูงสุด และยังมีขอ มูลสนับสนุนจากสถาบัน ที่การศึกษาเรื่องมาตรการการบรรเทาภาวะโลกรอนทั่วโลกวาตอไป หลอด LED จะมีตน ทุนตํา่ สุดในมาตรการลดโลกรอนของโลกอีกดวย อีกหนึ่งขอยืนยันวา LED ยังสามารถที่จะพัฒนาตอไปไดอีก คือ สถาบันการศึกษาวิทยาศาสตรหลวงแหงสวีเดน The Royal Swedish Academy of Sciences (RSAS) ไดประกาศตัดสินผูไดรับรางวัล รางวัลโนเบล สาขาฟสิกส ประจําป 2014 ใหแก 3 นักวิทยาศาสตร จากญี่ปุน สําหรับการประดิษฐที่มีประสิทธิภาพของไดโอดเปลงแสง (LED) สีนํ้าเงิน ที่ทําใหเกิดแหลงกําเนิดแสงสีขาว ที่ใหความสวาง และประหยัดพลังงาน ซึ่งเปนการคิดคนแหลงกําเนิดแสงใหมที่ ประหยัดพลังงานและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม บงบอกไดวา ในระยะยาว LED ยังมีทางเลือกเพิ่มขึ้น และเปนทางเลือกสําหรับแหลงกําเนิด แสงที่มีประสิทธิภาพ
ผลงานโคมไฟ LED สีขาวนี้ สามารถลบขอจํากัดของหลอด LED เดิม ๆ ที่ผานมา สามารถเปลงแสงสีขาวสวาง มีอายุยาวนาน และประหยัด พลังงาน พัฒนาใหดีข้ึนอยางตอเนื่องใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดวยคาสองสวางสูงขึ้น (หนวยเปน ลูเมน) ตอหนวย พลังงานไฟฟา (หนวยเปน วัตต ) ลาสุดบันทึกไววา กวา 300 ลูเมน/วัตต ซึ่งสามารถ เที ยบกั บหลอดไฟธรรมดา 16 หลอด และใกลเคียงกับ หลอด ฟลูออเรสเซนต 70 หลอด ในฐานะแสงสวางเปน 1 ใน 4 ของ ปริ มาณการใช ไ ฟฟ าของโลก ไฟ LED จึงนํา ไปสูการประหยัด ทรัพยากรของโลก ปริมาณการใชทรัพยากรตาง ๆ จะลดนอยลง และอายุการใชงานไฟ LED ที่สูงถึง 100,000 ชั่วโมง เมื่อเทียบกับ 1,000 ชั่วโมงสําหรับ หลอดไส และ 10,000 ชั่วโมง สําหรับหลอด ฟลูออเรสเซนต ฉะนั้น หลอดไฟ LED ถือเปนพันธกิจที่ดีสําหรับการเพิ่มคุณภาพ ชีวิตของ ประชากรมากกวา 1.5 พันลานคน ทั่วโลก ที่ขาดการเขาถึง สายสงไฟฟา เนื่องจากความตองการพลังงานที่ตํ่าของหลอด LED สามารถรองรั บ การจ า ยไฟด ว ยพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ใ นท อ งถิ่ น หางไกลได ซึ่งการประดิษฐของไฟ LED สีนํ้าเงิน ที่มีประสิทธิภาพ ใชเวลาในการพัฒนาเพียง 20 ป แตก็มีสวนรวมในการสรางแสง สีขาวในลักษณะใหมทั้งหมด เพื่อประโยชนของการงานที่แทจริง
June June2015 2015 2323
Interview
อภัสรา วัลลิภผล
คุณเชาวลิต ลีลาศิวพร
ผูอํานวยการ ฝายสงเสริมการคาและการลงทุน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
2424
June June2015 2015
ใส่ใจพลังงาน เน้นความรูด้ า้ นการลงทุน
กับฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน เป็นหน่วยงาน หนึ่งในสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาก�าไร มีบทบาทส�าคัญใน การส่งเสริมการค้าและการลงทุนทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายและพันธมิตร ทางธุรกิจ เพื่อยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ สากลและเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ด้ ว ยเทคโนโลยี และ นวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยความคิด สร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมี “คุณเชาวลิต ลีลาศิวพร” ด�ารงต�าแหน่งผูอ้ า� นวยการ ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย” ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน มีภารกิจหลักที่ มุ่งผลประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยและผูป้ ระกอบการในประเทศไทย โดยครอบคลุมสายงานหลัก ๆ 3 สายงานดังนี้ 1. สายงานด้านการค้า คือ ขอบข่ายงานจะเชือ่ มโยง เกี่ ย วข้ อ งกั บ ภาครั ฐ ต่ า ง ๆ เช่ น กระทรวง พาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม สสว. เป็นต้น 2. สายงานการลงทุน ขอบข่ายงานจะเชื่อมโยง เกี่ยวข้องกับ ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (BOI) กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม การนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยและ กระทรวงแรงงาน เป็นต้น 3. สายงานสภาธุรกิจ ขอบข่ายงานจะเชือ่ มโยง เกี่ ย วข้ อ งกั บ กระทรวงการต่ า งประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยปัจจุบัน ส.อ.ท. เป็น ประธาน สภาธุรกิจ พม่า มาเลเซีย รัสเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ อียิปต์ แอฟริกาใต้ รวมถึ ง โต๊ ะ อิ น เดี ย นอกจากนี้ ส.อ.ท. ยั ง ร่ ว มมื อ กั บ สภาหอการค้ า และสมาคม ธนาคารไทย ในนาม “กกร” (คณะกรรมการร่วม 3 สถาบันภาคเอกชน) เข้าร่วมเป็นผู้แทนในอีก 32 สภาธุรกิจ
ในส่วนของการสนับสนุนงานด้านพลังงานนั้น ทางสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม ที่ดูแลรับผิดชอบในด้านพลังงานโดยเฉพาะ เพื่อการ ให้บริการสมาชิกและสนับสนุนสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และโรงงาน อุตสาหกรรมทัว่ ไปให้มกี ารด�าเนินกิจกรรมด้านการอนุรกั ษ์พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล พร้อมสนับสนุน ส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านพลังงาน รวมถึง การจัดท�าโครงการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมโดยตรง ส�าหรับฝ่ายส่ง เสริม การค้าและการลงทุน ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นพันธกิจในการเสริม องค์ความรู้ สนับสนุนและสร้างความแข็งแกร่งให้กบั ผูป้ ระกอบการไทย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง (SMEs) ให้สามารถแข่งขันทางการค้าและขยาย ฐานการตลาดได้อย่างยั่งยืน โดยกิจกรรมต่าง ๆ จะเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแผน ยุทธศาสตร์ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ ซึง่ กิจกรรมในปีนจี้ ะมุง่ เน้นองค์ความรูใ้ นด้านพลังงาน นวัตกรรม และการรักษาสิง่ แวดล้อม ผ่านกิจกรรมหลัก ๆ ของฝ่ายส่งสริมการค้าและการลงทุน เช่น กิจกรรม Open House Network ศึกษาดูงานและเยี่ยมชมอุตสาหกรรมและสถานประกอบการต้นแบบ และน�า ประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากการดูงานจริง ไปประยุกต์ปรับใช้ในโรงงานและนอกจากนี้ยัง เพิ่มโอกาสในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้ประกอบที่เข้าร่วมกิจกรรมและสร้าง เครือข่ายทางการค้า (Business Networking) อีกด้วย ส�าหรับในช่วงไตรมาสแรกของปีทผี่ า่ นมา ฝ่ายส่งเสริมการค้าได้มกี ารจัดกิจกรรม Open House Network ที่เกี่ยวกับพลังงานโดยได้ไปศึกษาดูงานที่คลังสินค้าควบคุมอุณภูมิของ บริษทั เอก-ชัย ดิสทริบวิ ชัน่ ซิสเทม จ�ากัด (Tesco Lotus) อ.ล�าลูกกา จ.ปทุมธานี ซึง่ เป็น อาคารประหยัดพลังงานและลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถงึ 32% ต่อตารางเมตร และในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ทางฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุนน�าคณะสมาชิก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก Business Matching และผูป้ ระกอบการทัว่ ไป กว่า 60 ราย จากอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น อาหาร เหล็ก เคมีภณ ั ฑ์ สิง่ ทอ ผูใ้ ห้บริการด้าน การขนส่งโลจิสต์ อสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจด้านบริการ ฯลฯ ไปศึกษาดูงานด้านพลังงานที่ บริษทั โซลาร์ตรอน จ�ากัด (มหาชน) อ�าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ซึง่ เป็นโรงงาน ผลิตแผ่นเซลล์ แผงโซลาร์เซลล์แสงอาทิตย์ การศึกษาดูงานประกอบด้วยการฟังบรรยาย เจาะลึก เทคโนโลยีการผลิตล่าสุด รวมทัง้ รับฟังนโยบายสนับสนุนจากภาครัฐและสิทธิประโยชน์ ต่อธุรกิจ Solar Farm ในมุมมองของผูผ้ ลิต และเยีย่ มชมขบวนการผลิต พร้อมเปิดโอกาสให้ ผู้ประกอบการได้ซักถามเพื่อน�าองค์ความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กับโรงงานหรือธุรกิจของตนได้ อย่างเต็มที่ และในช่วงกลางปีนี้ ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุนมีโครงการน�าผูป้ ระกอบการ ไปเยี่ยมชมเทคโนโลยีการผลิตรถ EV (Electric Vehicle) ที่ญี่ปุ่นอีกด้วย ส�าหรับผู้ประกอบท่านใดอยากสอบถามเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ที่กล่าวมา สามารถติดต่อ หน่วยงานจับคู่ธุรกิจ ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ศูนย์ก ารประชุม แห่ง ชาติสิริกิติ์ โซนซี ชั้น 4 เลขที่ 60 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2345-115-20, 1123-5, 1180 หรือเข้าไปเยี่ยมชมองค์กรได้ที่ www.ftimatching.com June June2015 2015 2525
Interview
นัษรุ ต เถื่อนทองคํา
คุณศิรเวท ศุขเนตร
รองกงสุลกิตติมศักดิ์ราชรัฐโมนาโกประจําประเทศไทย
26
June 2015
สินค้า บริการ
สิ่งส�าคัญที่ไม่ควรมองข้ามส�าหรับสินค้าพลังงาน Energy Saving ฉบับนี้ของอนุญาตเปิดบ้านพูดคุยกับบุคคลส�าคัญท่านหนึ่ง ที่มีแนวคิดด้าน การใช้อนุรักษ์พลังงานที่น่าสนใจของ “คุณศิรเวท ศุขเนตร” ในการน�าพลังงานทดแทนจาก “แสงอาทิตย์” มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการพึ่งพาพลังงาน บทบาทหน้าที่ของ คุณศิรเวท ศุขเนตร ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่งส�าคัญเป็น รองกงสุลกิตติมศักดิ์ ราชรัฐโมนาโกประจ�าประเทศไทย และยังมีบทบาทอีกหลายด้านทั้งธุรกิจส่วนตัว ที่ปรึกษาทาง ด้านการบิน รวมถึงการพัฒนาอหังสาริมทรัพย์ส�าหรับชาวต่างชาติที่ต้องการหากิจกรรมท�าใน ช่วงวัยเกษียณจึงถือเป็นอีกหนึ่งบุคคลที่ค่อนข้างมีวิสัยทัศน์และบทบาทอย่างมากในแวดวง สังคม ฉะนั้น หากจะกล่าวถึงเรื่องพลังงานทดแทนจึงเป็นเรื่องที่ไม่อาจมองข้ามได้ โดยเฉพาะในโลก ปัจจุบันที่มีการพัฒนาด้านเทคโนยีพลังงานทดแทนอย่างมาก คุณศิรเวท ศุขเนตร ให้แนวคิดถึง เรื่องดังกล่าวว่า เรื่องพลังงานเป็นเรื่องที่ตนเองสนใจมานาน ด้วยการใช้ชีวิตวัยเรียนใน ต่างประเทศกว่า 10 ปี ตั้งแต่ระดับมัธยม ปริญญาตรี ปริญญาโท ที่สหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศส จึงเกิดการซึมซับด้านการอนุรักษ์และประหยัดพลังงาน เพราะประเทศที่เหล่านี้จะมีการให้ ความส�าคัญกับการใช้พลังงานอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านการออกแบบที่อยู่อาศัย อุปกรณ์ ประหยัดพลังงานและการส่งเสริมด้านภาษี ต่างกับในประเทศไทยถึงแม้จะมีการขับเคลื่อนเรื่อง พลังงานมานาน แต่ในบางประเด็นยังไม่ตรงจุดที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดให้กับประชาชน และประเทศมากนัก สิ่งส�าคัญ คือ การปลูกฝังจิตส�านึกในการอนุรักษ์พลังงานให้มากกว่านี้ เมื่อกลับมาประเทศไทยจึงน�าแนวคิดดังกล่าวมาใช้กับการออกแบบสร้างบ้าน ด้วยการให้ความ ส�าคัญกับเรื่องแสงแดดส่องสว่างเข้ามาในตัวบ้าน ทิศทางลมที่จะช่วยด้านการถ่ายเทอากาศ เพือ่ ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าโดยไม่จา� เป็น เมือ่ ตัวบ้านออกแบบมาเป็นอย่างดี ก็เกิดเป็นความคิด ที่จะต่อยอดในการผลิตไฟฟ้าด้วยโซล่าเซลล์ แต่โจทย์ที่ต้องตอบ คือ เรื่องพื้นที่ในการติดตั้ง เพราะโดยรูปแบบบ้านในเมืองไม่สามารถตั้งแผงโซล่าร์เซลล์ได้มากเท่าพื้นที่ต่างจังหวัดเหมือน โครงการโซล่าร์ฟาร์มต่าง ๆ ต่อมาภาครัฐบาลได้เปิดโครงการโซล่าร์รูฟท๊อป หรือ โครงการ จ�าหน่ายไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ให้การไฟฟ้า ท�าให้สนใจที่จะหาข้อมูลเพื่อติดตั้ง เพราะถือเป็น โครงการที่ตั้งขึ้นเพื่อรองรับพลังงานทดแทนส�าหรับบ้านพักที่อยู่อาศัยโดยตรง จึงได้เข้าร่วม โครงการดังกล่าว เพราะอยากเป็นอีกหนึ่งก�าลังขับเคลื่อนในการอนุรักษ์พลังงานในบ้านเราให้ มากขึ้น ไม่หวังลงทุนเพื่อผลก�าไร ถือแม้ว่ารายได้ที่ได้จากการจ�าหน่ายไฟฟ้าเข้าโครงการ จะมากกว่าค่าไฟไฟ้าที่จ่ายออกไปก็ตาม ส่วนจุดคุ้มทุนนั้น อยู่ที่ประมาณ 7-8 ปี โดยวัดจาก เงินที่ลงทุนไปจริง ๆ และค่าขายไฟฟ้าที่ได้รับจริงๆ จาก กฟน. ในช่วงเดือนที่ผ่านมา ประเด็นที่น่าสนใจก่อนที่จะเลือกตัดสินใจซื้อแผงโซล่าร์เซลล์ เป็นเรื่องของคุณภาพของแผง จะคุ้มทุน การดรอปของปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ลดลงในแต่ละปี การบริการหลังการขาย รวมถึง ตัวผลิตภัณฑ์เองมีวงจรอายุการใช้งานทีก่ อ่ ให้เกิดผลเสียต่อโลกภายหลังหรือไม่ และผูป้ ระกอบการ และติดตั้ง เพราะสินค้าประเภทนี้จะมีอายุการใช้งาน 20-25 ปี สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องที่ผู้ซื้อเอง ต้องศึกษามาพอสมควรก่อนที่จะตัดสินใจ
ปัจจุบันแผงโซล่าร์เซลล์ท่ีติดตั้งตามโครงการ โซล่ารูฟ ท๊ อปอยู ่ ที่เกื อบ 20 กิ โ ลวั ตต์ บน หลังคาบ้าน 2 หลัง แยก 2 มิเตอร์ เพราะตาม ข้อกฏของโครงการจะติ ด ตั้ งได้ ไ ม่ เกิ น 10 กิโลวัตต์ต่อหลัง โดยเลือกใช้แผงโซล่าเซลล์ แบบ Multicrystalline Photovoltaic Module ผลิตในประเทศญี่ ปุ ่ น ซึ่ งเป็ น ผลิ ตภั ณฑ์ ที่ น่าเชื่อในเรื่องของคุณภาพและบริการหลัง การขาย เพราะการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพ เป็นสิ่งส�าคัญที่ผู้ติดตั้งไม่อาจมองข้าม แม้จะ มีการลงทุนที่สูงก็ตาม อย่างที่กล่าวข้างต้นว่า ศักยภาพของแผงโซล่าร์เซลล์จะส่งผลต่อจุด คุ้มทุนในระยะยาว ซึ่งผู้ที่เข้าร่วมโครงการ โซล่าร์รูฟท๊อป หรือโครงการอื่น ๆ ต้อง มองมากกว่ า จะมองสิ น ค้ า ที่ ร าคาถู ก เพี ย ง อย่างเดียว เมื่อผลิตภัณฑ์ที่เลือกเป็นสินค้าคุณภาพแล้ว สิ่งที่ยังมองว่าจะไม่เป็นปัญหาอยู่ คือ เรื่อง ความชัดเจนที่ทางภาครัฐก�าหนดไว้ ควรที่จะ สอดคล้องกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่านี้ ท� า อย่ า งไรให้ ป ระชาชนเล็ ง เห็ น ถึ ง ความ ส�าคัญของโครงการดังกล่าว รวมถึงโครงการ พลังงานทดแทนอืน่ ๆ มากกว่าแค่มองแค่เรือ่ ง การประหยัดเงิน แต่ควรปลูกเป็นจิตส�านึก ในแบบที่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกท�ากันและ เห็นผลอย่างจริงจังมากว่า 20 – 30 ปี เพราะ เรือ่ งความพร้อมของผูป้ ระกอบการเทคโนโลยี ของแผงโซล่าเซลล์มีความก้าวหน้าไปมากพอ สมควร แต่ปัจจุบันปัญหาต่าง ๆ ก็ได้รับการ แก้ไขไปแล้วพอสมควร ท�าให้หลายโครงการ ด้ า นพลั ง งานทดแทนเป็ น ที่ น ่ า จั บ ตาและ คุ้มค่ามากยิ่งขึ้น
JuneJune 2015201527 27
Interview
จีรพร ทิพย์เคลือบ
คุณอรุณ เอี่ยมสุรีย กรรมการผูจัดการ บริษัท สยามเทมป จํากัด
สยามเทมป
Interview ©ºÑº¹Õ้ ä´ŒÁÕâÍ¡Òʾٴ¤Ø ¡Ñº¼ÙŒºÃÔËÒà ºÃÔÉÑ· ÊÂÒÁà·Á»Š ¨ํÒ¡Ñ´ ¼ÙŒ·Õ่ä´Œ ª×่ÍÇ‹Ò¤Ãํ่ÒËÇÍ´ã¹Ç§¡ÒøØáԨ¨Ñ´¨ํÒ˹‹Ò ¼ÅÔ µ ÀÑ ³ ± à ¤Ã×่ Í §»ÃÑ º ÍÒ¡ÒÈáÅÐÃкº·ํ Ò ¤ÇÒÁàÂ็¹ã¹»ÃÐà·Èä·ÂÁÒ¡Ç‹Ò 45 »‚ ´ŒÇ ¡ÒùํÒàʹͼÅÔµÀѳ± áºÃ¹´ AIRTEMP, SAIVER, EUROKLIMAAT áÅÐ HITACHI Áҵͺʹͧ¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òâͧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤
มุมมองที่แตกตาง จากพลังงานเปนธุรกิจ 28
June 2015
คุณอรุณ เอี่ยมสุรีย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามเทมป์ จ�ากัด เล่าให้ฟังว่าปัจจุบัน หลายบริษทั ให้ความสนใจกับเรือ่ งของพลังงานเป็นอย่างมาก และมีการจัดการพลังงานแบบ ปกติทวั่ ไป แต่สา� หรับสยามเทมป์มมี มุ มองทีแ่ ตกต่างจากผูอ้ นื่ คือ มองพลังงานให้เป็นเรือ่ ง ของธุรกิจ เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ในเรือ่ งของการประหยัดพลังงานในระบบขนาดเล็ก ๆ รณรงค์ เปิด-ปิดเครื่องปรับอากาศหากไม่มีการใช้งาน ควบคุมอุณภูมิที่เหมาะสมและมีเทคโนโลยี ต่าง ๆ เข้ามาช่วยท�าให้ในแต่ละเดือนค่าไฟฟ้าของสยามเทมป์มคี า่ ใช้จา่ ยไม่ถงึ หมืน่ บาท การด�าเนินการของบริษัทภายใต้วิสัยทัศน์และประสบการณ์ที่มีมามากกว่า 45 ปี ได้มีการ วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการท�าความเย็น โดยมุ่งเน้นการเป็นผู้เชี่ยวชาญระบบปรับอากาศ ขนาดใหญ่ส�าหรับอุตสาหกรรมและการพาณิชย์ นอกจากนี้ยังเน้นการออกแบบระบบปรับ อากาศแบบเฉพาะเจาะจงที่เหมาะสมส�าหรับลูกค้าแต่ละรายเพื่อให้เหมาะกับการใช้งาน ซึ่งจะส่งผลให้ระบบเกิดการประหยัดพลังงาน และต้นทุนการผลิตต�่า จากวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละประสบการณ์ ส ่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท มี ย อดการผลิ ต และจั ด จ� า หน่ า ยภายใน ประเทศในโครงการใหญ่ ๆ หลายโครงการ เช่น โครงการสโมสรทหารเรือ หอประชุม APEC ธนาคารกรุ ง ไทย ธนาคารกสิ ก รไทย การสื่ อสารแห่ ง ประเทศไทย กระทรวงพาณิ ชย์ โรงไฟฟ้าลิกไนต์ โรงงานยาสูบ ฯลฯ นอกจากนี้ ยังมีงานผลิตส่งไปยังหลายประเทศทั่วโลก เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย สเปน สวิสเซอร์แลนด์ อิตาลี อังกฤษ ฝรั่งเศส แอฟริกาใต้ ศรีลังกา บรูไน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย อินเดีย โอมาน และ สหรัฐอาหรับเอมิเรต ฯลฯ เนื่องจากวิกฤตด้านพลังงานที่ทั่วโลกประสบอยู่ท�าให้ทุกคนให้ความส�าคัญต่อการประหยัด พลังงาน ในช่วงทีผ่ า่ นมาสยามเทมป์เป็นส่วนหนึง่ ในการเข้าไปช่วยเหลือด้วยการน�าแนวทาง ปฏิบัติต่าง ๆ มาใช้ในการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน ในขณะที่ภาคธุรกิจเองก็มีนโยบายต่าง ๆ เหล่านี้เช่นกัน ช่วงนั้นบริษัทฯซึ่งเป็นหนึ่งในผู้จัดจ�าหน่ายเครื่องปรับอากาศชั้นน�าของไทย ได้นา� เสนอเครือ่ งปรับอากาศส�าหรับธุรกิจให้มสี ทิ ธิภาพเพิม่ ขึน้ พร้อมน�าแนวทางการรีไซเคิล พลังงานจากการด�าเนินธุรกรรมตามปกติมาใช้ใหม่ ทดแทนพลังงานไฟฟ้าที่ใช้แบบเดิมด้วย ระบบปรับอากาศ HITACHI ABSORPTION CHILLER ซึ่งระบบดังกล่าวเริ่มเป็นที่นิยมมาก ยิ่งขึ้นในต่างประเทศ เรียกได้ว่าเป็นมิติใหม่ของการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลด ภาวะโลกร้อนประหยัดค่าไฟฟ้าและสร้างผลดีต่อธุรกิจทั้งขนาดกลางและขนาดใหญ่เป็น อย่างมาก กว่า 45 ปี ที่สยามเทมป์เป็นผู้ผลิตเครื่องปรับอากาศที่ได้รับลายเส้นของตราสินค้าและ เทคโนโลยีจากสหรัฐอเมริกา เพราะฉะนั้น ตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงปัจจุบันจึงมีสินค้าในระบบ ปรับอากาศมีตราสินค้าอยู่ 4 แบบด้วยกัน คือ 1. AIRTEMP เป็นผู้ผลิตหลักจะเน้นเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่โดยมีการออกแบบเฉพาะ ส�าหรับการใช้งานพิเศษตามความต้องการ AIRTEMP ก็เป็นสินค้าที่ผลิตเอง ลูกค้าเป็น ภาคอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ ดังนั้นต้องใส่ใจในความพิเศษและออกแบบให้เครื่อง ตรงกับความต้องการโดยตรง และค�านึงถึงเรื่องความประหยัดพลังงานด้วย 2. SAIVER เป็นเครือ่ งส่งลมเย็นขนาดใหญ่จากประเทศอิตาลีมมี าตรฐานทีส่ งู ใช้ในห้องสะอาด ห้องผ่าตัด โรงงานยา คลีนรูม ซึ่งก็จะเป็นห้องที่มีความสะอาดสูงมาก ๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งโรงงานยาจะต้องมีมาตรฐานหรือความสะอาดที่สูงมาก
3. EUROKLIMAAT ส่วนใหญ่จะเน้นสินค้า ประหยัดพลังงานเครือ่ งท�าน�า้ เย็น ส่วนใหญ่ ใช้กับอุตสาหกรมกับอาคารพาณิชย์โดย ใช้เป็นล้าน ๆ BTU ซึง่ ปกติพอพูดถึงบีทยี ู เครื่องใหญ่โดยทั่วไปจะไม่เรียกเป็นบีทียู แต่จะเรียกเป็นตัน 100 ตัน หรือประมาณ 1 ล้าน 2 แสนบีทียู 100 ตัน 200 ตัน 300 ตัน เครื่องจ�าพวกนี้เครื่องใหญ่ใช้ ไฟมาก หากเทียบอัตราส่วนของการท�า ความเย็น ถ้าท�าความเย็นแล้วจะประหยัด กว่าสินค้าตัวเล็ก ๆ 4. HITACHI ในส่วนนีเ้ ราเป็นตัวแทนจ�าหน่าย มามากกว่า 40 ปี ส่วนมากทางบริษัทจะ ขายชินเลอร์กับตัวระบบ VRV เครื่องท�า น�้าเย็น ท�าความเย็นในอาคาร ระบบ ควบคุมการผลิตเครื่องจักรที่มีความร้อน ซึ่ ง ต้ อ งการความเย็ น เข้ า มาควบคุ ม อุ ณ หภู มิ จ ะต้ อ งมี ก ารน� า น�้ า เย็ น เข้ า มา ช่วยหล่อเลี้ยงเครื่องจักร ในการท�าความเย็นแต่ละครั้งจะต้องมีสาร ท�าความเย็นเข้า มาช่วย หากพูดถึงสาร ที่ใช้ท�าความเย็นจะเห็นว่า ปัจจุบันผู้ผลิต เครื่องท�าความเย็นจะมีการน�าเทคโนโลยี หรือสารท�าความเย็นที่แตกต่างกันออกไป แต่ มี น�้ า ยาหลายตั ว มากที่ ส ่ ง ผลให้ เ กิ ด ปัญหาโลกร้อนหลัก ๆ มี 2 ตัว และมีอีก หลายตัวที่ถูกยกเลิกไปแล้ว และเร็ว ๆ นี้ ในประเทศไทยจะมี อี ก หนึ่ ง ตั ว ที่ จ ะถู ก ยกเลิ ก ใช้ นั่ น คื อ R22 จะถู ก ยกเลิ ก ใน ปี 2017 ดังนั้น ผู้ผลิตจึงต้องพยายามหา น�้ า ยาตั ว ใหม่ ห รื อ เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ มา ทดแทน แต่ ที่ ใช้ กั น อยู ่ ใ นขณะนี้ ก็ มี ทั้ ง เหมือนและแตกต่างกันออกไป เช่น R410, R407 นอกจากนี้ยังมี R32 ซึ่งทางค่ายญี่ปุ่น ก�าลังผลักดันและมีอยู่หลายตัวที่ใช้งานได้ ในลั ก ษณะคล้ า ย ๆ กั น โดยสุ ด ท้ า ย เราจะไม่ได้ก�าหนดว่าน�้ายาตัวไหนดีที่สุด
June June2015 2015 2929
Product Highlight - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา
เดคอร ลอฟท ฟลอร - เดคอร เพนท ปูนซีเมนตเพื่องานตกแตง ¼ÅÔµÀѳ± µÃÒàÊ×Í àÍÒ㨼ٌÃÑ¡ ¡Òõ¡áµ‹§ÀÒÂã¹µÒÁÃٻẺ¢Í§ºŒÒ¹ ÊÁÑÂãËÁ‹ ·Õ่์¹¡ÒÃ㪌ÅÇ´ÅÒ¼‹Ò¹ ÈÔ Å »Ðº¹½Ò¼¹Ñ § ´Œ Ç Â»Ù ¹ «Õ à Á¹µ ¡ÅØ‹Á§Ò¹µ¡áµ‹§ÀÒÂ㵌ª×่Í àÊ×Í à´¤Íà ÅÍ¿· ¿ÅÍà áÅÐ àÊ×Í à´¤Íà ྌ¹· à¾×่ Í µÍºÃÑ º à·Ã¹´ á µ‹ § ºŒ Ò ¹ÊäµÅ ÅÍ¿· ·Õ่¡ํÒÅѧÁÒáçÍ‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ㹠»˜¨¨ØºÑ¹
ตราเสื อ ผู ผ ลิ ต นวั ต กรรมปู น ซี เ มนต เดิ น หน า ตอบโจทยดานการตกแตงภายใตแบรนด เสือ เดคอร แนะนํา เสือ เดคอร เพนท สีซีเมนตสําหรับทา ตกแตงผนัง ใหสีสันเขาถึงความเปนธรรมชาติของ ซีเมนต และ เสือ เดคอร ลอฟท ฟลอร ปูนซีเมนต งานตกแตงพืน้ ขัดมันสไตลลอฟท ตอบเทรนดผบู ริโภค ที่ตองการอิสระในการตกแตงมากขึ้น เสือ เดคอร เพนท เปนผลิตภัณฑสีซีเมนตที่ใช สําหรับการทาตกแตงผนังที่ใหสีสันเขาถึงความเปน ธรรมชาติของซีเมนต และมีจุดเดนคือ ใชงานงาย เนื่องจากสามารถใชลูกกลิ้งทาคลายสี ลดการเกิดคราบขาว ทนทานตอสภาพอากาศ ไมโปงพอง ประสานเปนเนื้อเดียวกับ ปูนซีเมนตฉาบใหมไดดี ปราศจากสารตกคาง สารปรอท โลหะหนัก และสารฟอลมัลดีไฮด ปลอดภัยตอสุขภาพ มีใหเลือกมากถึง 7 สี ไดแก สีขาว สีเหลือง สีฟา สีนํ้าตาล สีเทา สีเขียว และสีพิเศษประจําปอยางสีไวนแดง ที่สามารถตอบโจทยทุกจินตนาการงานตกแตง ใหกับเจาของบานไดเปนอยางดี เสือ เดคอร ลอฟท ฟลอร ผลิตภัณฑปูนซีเมนตสําหรับงานตกแตงพื้นสไตลลอฟทที่ให ผิ ว สั ม ผั ส เรี ย บเนี ย นด ว ยลั ก ษณะของเนื้ อ วั ส ดุ และคุ ณ สมบั ติ ล ดการแตกร า วลายงา (Hair Crack) พรอมความสวยงามแบบไรรอยตอดวยความสามารถในการสรางพื้นผิว ตอเนื่องไดกวางสูงสุด 5x5 ตร.ม. จึงสามารถทําความสะอาดไดงาย ไมมีคราบสกปรกฝง ตามรอยตอ มีใหเลือกถึง 5 โทนสี ไดแก Off White, Light Creamy, Dark Creamy, Ashy และ Choco เริ่มเปดตัวและทําตลาดในงานสถาปนิก 2558 ที่ผานมา และจะวางจําหนาย ชวงปลายปนี้เปนตนไป 3030
June June2015 2015
สําหรับกลยุทธในการรับรูเกี่ยวกับการเปด ตัวสองผลิตภัณฑใหม และการประยุกตใช งานผลิตภัณฑผานชองทางการสื่อสารที่เขา ถึ ง กลุ ม เป า หมายซึ่ ง เป น สถาปนิ ก และ เจาของบาน เชน การจัด กิจกรรมWorkshopใหความรูสินคา ตลอด จนการใชสื่อออนไลนเต็มรูปแบบ เพื่อสราง แรงบั น ดาลใจในการใช ง านปู น ซี เ มนต
ตกแต่ ง ตลอดจนแนะน� า การใช้ ง านผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ่ านเว็ บไซต์ www.tigerbrandth.com และ Facebook Page ตราเสื อ www.facebook.com/TigerBrandTH อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ ว างแผนสร้ าง เครื อ ข่ า ยช่ า งที่ มี ค วามช� า นาญเฉพาะทางส� า หรั บ งานประเภท ปู น ซี เ มนต์ ต กแต่ ง และจั ด กิ จ กรรมฝึ ก อบรมช่ า งฝี มื อ ตลอดทั้ ง ปี เพื่อพัฒนาช่างให้มีความช�านาญในการใช้ปูนซีเมนต์ตกแต่งผนัง และพื้ น ทั้ ง ในระดั บ เบื้ อ งต้ น และระดั บ สู ง ผ่ านช่ องทางสถาบั น เทคโนโลยีผนังและพื้นปูนซีเมนต์ ตราเสือ เพื่อให้บริการลูกค้าที่
ต้องการช่างมืออาชีพจากตราเสือ โดยเริ่มให้บริการผ่านเอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ์ และเอสซีจี โฮมโซลูชั่น สาขามีนบุรีจึงคาดว่าจะ กระตุ้นความต้องการใช้สินค้าปูนซีเมนต์ตกแต่งได้มากขึ้น การเปิดตัวผลิตภัณฑ์ทงั้ 2 เนือ่ งจากภาพรวมตลาดปูนซีเมนต์ตกแต่ง ในปีนี้มีแนวโน้มเติบโตดีขึ้นสวนกระแสเศรษฐกิจ กลุ่มเจ้าของบ้าน และสถาปนิกส่วนใหญ่หันมานิยมแต่งบ้านสไตล์ลอฟท์ ซึ่งเป็นการ แต่งแบบโชว์โครงสร้าง พืน้ ผิววัสดุ และงานระบบ นอกจากการแต่ง บ้ า นสไตล์ ล อฟท์ จ ะสามารถผสมผสานให้ เข้ า กั บ สไตล์ ห รื อ วั ส ดุ ประเภทอืน่ เช่น ไม้ หรือ เหล็ก เพือ่ ให้ผอู้ อกแบบสามารถประยุกต์ใช้ งานจริงตามจินตนาการได้เป็นอย่างดี สามารถประหยัดงบประมาณ การตกแต่งบ้านได้อกี ด้วย เชือ่ ว่าการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ในครัง้ นีจ้ ะ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี และจะช่วยท�าให้เป้าหมายยอดขายของ “เสือ เดคอร์” เติบโตกว่า 5% จากปีทผี่ า่ นมา
June June2015 2015 3131
Showcase - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา
Maxxma Decorative ฟลม สรางบรรยากาศในอาคาร บริษัท วงศบราเดอร อินเตอรเทรด จํากัด ผูนําเขาและจัดจําหนายฟลมประหยัด พลังงาน “MAXXMA” แนะนําฟลมตกแตงภายใน Maxxma Decorative ที่ชวย สรางบรรยากาศภายในอาคาร บาน คอนโด ออฟฟศ สํานักงาน โชวรูม หองอาหาร หองสปา ฯลฯ ใหเกิดความสวยงาม ความแปลกตา กับกระจกบานเดิม ๆ อีกทั้งยัง ชวยสรางความเปนสัดสวนหรือมุมที่ตองการความเปนสวนตัว โดยไมจําเปนตองใช ผามาน ซึง่ เปนแหลงสะสมของฝุน ละออง มีใหเลือกทัง้ แบบโปรงและแบบทึบ แบบโปรง จะมีทั้งลายเสนตรง ลายสี่เหลี่ยม ลายจุด และลายกระดาษสา แบบทึบจะเปน ลักษณะของฟลมฝาไมสามารถมองทะลุได มีใหเลือกทั้งแบบสีขาวขุน และสีปรอท เงิ น ขุ น เนื้ อ ฟ ลมมีค วามละเอียดและมีค วามทนทานสูงกวาสติ๊กเกอรฝาทั่วไป เหมาะสําหรับงานทีต่ อ งการคุณภาพสูง โดยเฉพาะสีปรอทเงินขุน ยังมีความแปลกตา ไมเหมือนใคร และสติ๊กเกอรฝาไมสามารถลอกเลียนแบบได นอกจากนี้ยังสามารถ ปองกันรังสี UV ไดสูงถึง 95% และลดความรอนไดสูงถึง 90%
HEMan The ONE กลองควบคุมไฟฟาอัจฉริยะ บริษัท ครีเอทีฟ พาวเวอร จํากัด เปนบริษัทที่กอตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมนวัตกรรมคนไทย เปดตัวกลองควบคุมไฟฟาอัจฉริยะ HEMan รุน The ONE ที่รวมมือกับ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ในการนําผลงานวิจัยมาพัฒนาเปนสินคาที่สามารถ สงใหผูบริโภคไดสามารถนํามาใชไดจริง โดยกลองควบคุมไฟฟานี้มีระบบการจัดการ MMD24® บรรจุอยูภายใน โดยถูกออกแบบมาเพื่อความสมบูรณในการปองกันอันตราย หรือคอยเฝาระวังและตรวจสอบความผิดปกติของรูปคลื่นไฟฟาที่ใชอยูภายในบาน ซึ่งสามารถแจงเตือนหรือตัดกระแสไฟฟาออกกอนที่จะเกิดเหตุ และตอคืนกระแสไฟฟา กลับสูการทํางานปกติไดอัตโนมัติ เมื่อปญหาไดรับการแกไขหรือสัญญาณความผิดปกติ หายไป อายุการใชงานมากวา 10 ป ระบบความปลอดภัยเชื่อถือได 100 % ใชงานรวม กับตูไฟเกาไดโดยไมตองเปลี่ยน ติดตั้งการใชงานไดทันที แสดงสถานะไฟฟาดวย LED ที่ ตัวเครื่อง
ZK Finger Scan K28 U-300C เครือ่ งบันทึกลายนิว้ มือ บริษัท แอดวานซ บิซิเนส เทคโนโลยี จํากัด แนะนําเครื่องบันทึกเวลาดวย ลายนิ้วมือรุนใหม ZK Finger Scan K28 U-300C ดวยหนาจอ Bright Screen สามารถแสดงผลไดดใี นทีม่ ดื และเก็บลายนิว้ มือไดถงึ 2,000 ลายนิว้ มือ เก็บขอมูล การลงเวลาไดมากถึง 8 หมืน่ รายการ พรอมจอ LCD 3” Digital Color TFT ขนาดใหญ ความเร็วในการสแกนลายนิว้ มือ ประมวลผลนอยกวา 2 วินาที พรอมเสียงตอบรับ เปนภาษาไทย หนาจอภาษาไทย ใชงานไดงายและสะดวกรวดเร็ว สามารถแสดง รูปภาพผูสแกนนิ้วในหนาจอทันที พรอมรองรับการเขาสูตลาด AEC ชวยให พนักงานชาวตางชาติทอี่ า นและฟงเสียงภาษาไทยไมได สามารถตรวจสอบรูปภาพ ตนเองไดทนั ที อีกทัง้ ตัวเครือ่ งยังเนนระบบประหยัดพลังงานโดยใชไฟเพียง 5 โวลท สามารถกําหนด IP Adderss ใหกับเครื่องเพื่อการเชื่อมตอในระบบอินเตอรเนต รองรับการเก็บขอมูลดวย USB ในกรณีที่ไมสามารถเดินสายจากตัวเครื่องไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร เหมาะสําหรับหนวยงานราชการ ธุรกิจเอสเอ็มอี และองคกร ธุรกิจขนาดใหญที่ตองการบันทึกเวลาพนักงานและควบคุมการเขาออกในจุด ที่สําคัญ
32
June 2015
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
June 2015 PB
Showcase - Construction นัษรุ ต เถื่อนทองคํา
Smart Lock เทคโนโลยีลอ็ คดิจติ อล บริษัท 2010 โกลบอลซอสรเซจ จํากัด ไดนํานวัตกรรม Smart Lock ล็อคอัจฉริยะ ที่สามารถตอบโจทยไดทุกความตองการของการใชชีวิตที่ทันสมัยของคนรุนใหมไดอยาง ครบถวน เพราะฉะนั้นแลวหากคุณตองการความปลอดภัยและสะดวกสบาย กาวสูโลก ยุคดิจิตอล กับเทคโนโลยีระบบล็อคประตูอัจฉริยะ (Digital Door Lock) จากประเทศเกาหลี ที่เหนือกวาดวยฟงกชั่น การทํางานที่ทันสมัย ตอบโจทยทุกการใชงาน ทําใหบานคุณ ปลอดภัย และสะดวกสบายยิ่งกวาเดิม พรอมการรับประกัน 3 ป และทีมงานดูแลอยางมือ อาชีพ Digital Door Lock ลูกบิด บานพับ ระบบล็อคประตูที่ใหคุณมากกวาความปลอดภัย สําหรับคอนโด อพารทเมนท บานพัก โรงแรม รีสอรท ฯลฯ
SMART บล็อกเย็นมวลเบามาตรฐาน G4 บริษัท สมารทคอนกรีต จํากัด (มหาชน) เผยนวัตกรรมดานการกอสราง กับ SMART บล็อกเย็น อิฐมวลเบาประหยัดพลังงาน ดวยรูพรุนขนาดเล็ก ภายใน กระจายตัวอยางสมํ่าเสมอทั่วทั้งกอนอิฐ ผานการอบไอนํ้าที่มีการ ควบคุมอุณหภูมิและความดันอยางเหมาะสม (AUTOCLAVED) จึงทําใหมี นํ้าหนักเบา สามารถรับแรงอัดไดสูง มีคุณสมบัติชวยลดปริมาณความรอน และเปนฉนวนกันความรอนไดเปนอยางดี สามารถลดความดังของเสียงไดมากกวา กอผนังได อยางสะดวกรวดเร็ว อิฐมวลเบาขนาดมาตรฐาน 1 กอน มีพื้นที่เทากับการกออิฐมอญ 18 กอน ทําใหชวยลดตนทุนในเรื่องของเวลาและคาใชจาย อีกทั้งเปนผลิตภัณฑที่ไดรับมาตรฐานระดับ G4 ตาม มอก. เนื่องดวยนํ้าหนักที่เบาจึงเปนวัสดุที่เหมาะกับงานตอเติมและกอสรางในปจจุบัน
BB Wall Panel นวัตกรรมและทางเลือกใหม บริษัท บิลดิ้งบล็อคส จํากัด แนะนําทางเลือกใหมสําหรับวัสดุ กอสราง พัฒนาแผนผนัง BB มีนํ้าหนักเพียง 20% ของกําแพง อิฐมอญ เพิ่มความเร็วในการกอสราง โดยแผนผนัง BB ประกอบ ดวยไสในที่มีนํ้าหนักเบาจากการผสมซีเมนตคุณภาพ เขากับเมล็ด โฟมชนิดไมลามไฟ ประกบเขาแผนไฟเบอรซีเมนตผิวเรียบสูตรเคมี พิเศษ ทําใหวัสดุมีความเปนหนึ่งเดียวและถาวรดวยนํ้าหนักเพียง 69 กิโลกรัมตอตารางเมตร ทําใหตดิ ตัง้ ไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ผานมาตรฐานวัสดุกอสรางในประเทศสิงคโปร อาทิ Fire Rating (คาความทนไฟ) Toxic Fume Rating (คาสารพิษที่ปลอยออกมา เมื่อเผาไหม) รวมถึงคุณสมบัติอื่น ๆ ไมวาจะเปน การดูดซับเสียง ไดถึง 40 เดซิเบล มีคานําความรอนตํ่าเพียง 0.23 W/mk และความ แข็งแรงคงทนระดับ Severe Duty ทําใหผูอยูอาศัยมั่นใจในคุณภาพ สูงสุดของงานกอสรางมากยิ่งขึ้น 34
June 2015
Product Highlight - Industrial Rainbow Ice
Ozone Cooling Tower โอโซนสําหรับระบบหอผึ่งเย็น ºÃÔÉÑ· à¤ÃÊâ¡Œ ¤Íà »ÍàêÑ่¹ ¨ํÒ¡Ñ´ ´ํÒà¹Ô¹§Ò¹â´Â·ÕÁ§Ò¹·Õ่ÁÕ¤ÇÒÁ ÃÙŒ¤ÇÒÁÊÒÁÒöáÅлÃÐʺ¡Òó ·Ò§´ŒÒ¹ÇÔÈÇ¡ÃÃÁ ¡ÒèѴ¡Òà áÅÐ ¡ÒúÃÔËÒÃâ¤Ã§¡Òà à¾×่ÍãËŒºÃÔ¡ÒÃẺ¤ÃºÇ§¨Ã ·Ò§´ŒÒ¹Ãкºä¿¿‡Ò Ãкº¤Çº¤ØÁÍѵâ¹ÁÑµÔ Ãкº¡ÒèѴ¡ÒþÅѧ§Ò¹ ÃÇÁ¶Ö§ÍØ»¡Ã³ áÅÐ à¤Ã×่ Í §Á× Í ·Õ่ à ¡Õ่  ǢŒ Í §·Ò§´Œ Ò ¹Ãкºä¿¿‡ Ò áÅСÒûÃÐËÂÑ ´ ¾ÅÑ § §Ò¹ ÊํÒ ËÃѺ ÍÒ¤ÒÃáÅÐâç§Ò¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Ø¡»ÃÐàÀ·
รวมไปถึง Ozone Cooling Tower โอโซน สําหรับระบบหอผึ่งเย็น ที่ถือวาเปนอุปกรณ ที่ ช ว ยให ป ระหยั ด พลั ง งานอี ก อย า งหนึ่ ง ซึ่ ง ตั ว โอโซน คื อ รู ป แบบหนึ่ ง ของก า ซ ออกซิเจนที่มีพลัง (Active Oxygen) สามารถ ทํ า ปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชั่ น กั บ สารอิ น ทรี ย สารอนินทรียไดเกือบทุกชนิด ทั้งในนํ้าและ ในอากาศ โอโซนมีฤทธิ์ในการฆาเชื้อที่ รุนแรงและเร็วกวาคลอรีนถึง 3,000 เทา ในการทํางานนั้น โอโซนจะเขาไปจับกับ โมเลกุ ล ของสารปนเป อ นและย อ ยสลาย โดยการเปลี่ ย นแปลงโครงสร า งของสาร ทั้งนี้เนื่องจากโอโซนเปนกาซ ที่มีโครงสราง ไมเสถียร หลังการทําปฏิกิริยาโอโซนจะแปร สภาพกลับไปเปนกาซออกซิเจนซึ่งไมเปน อันตรายหรือสงผลกระทบใด ๆ ตอมนุษย สัตว และสิ่งแวดลอม
แคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) โดยจะเกิดเกลือแคลเซียมไนเตรต [Ca(No3)2] แทน ซึ่งสามารถตกตะกอนไดสวนของการทําปฏิกิริยาของโอโซนกับแมกนิเซียมอิออนจะ เปนการทําปฏิกิริยาที่คลายคลึงกัน 2. การเกิดเชื้อโรค (Biofilm) และตะไครนํ้า (Algae) เปนสาเหตุหนึ่งของการกัดกรอนและเปน ตัวชวยใหเกิดตะกรันไดงายเนื่องจากการเกิดเมือกหรือตะไครนํ้าเปนแหลงสะสมของ เชื้อโรคและเปนที่เกาะยึด (Binder) ของแรธาตุตาง ๆ ที่สามารถฟอรมตัวเปนตะกรันได ซึ่งในความเปนจริงแลวการกัดกรอนที่เกิดจากตะกรันมีปริมาณที่นอยกวาการกัดกรอนที่ เกิดจากเชื้อโรค (Biofilm)เนื่องจากเชื้อโรคแบบใชอากาศ (AerobicBacteria) จะถูกเคลือบ ดวยตะกรัน และจะเปลี่ยนเปนเชื้อโรคแบบไมใชอากาศ (Anerobic) ซึ่งเชื้อโรคชนิดนี้ จะทําปฏิกิริยากัดกรอนผิวเหล็ก เนื่องจากเอ็นไซมของเชื้อชนิดนี้มีฤทธิ์เปนกรดกาซ โอโซนสามารถฆาเชื้อและตะไครนํ้าไดดวยการทําปฏิกิริยาออกซิไดซอยางรุนแรงโดยจะ ทําลายเซลลเนื้อเยื่อของเชื้อโรคแบบเฉียบพลัน
คุณสมบัตขิ อง Ozone Cooling Tower
1. การเกิดตะกรันหรือสารจําพวกหินปูนซึ่ง เปนสารที่เรียกวา แคลเซียมคารบอเนต หรือ แมกนีเซียมคารบอเนตตามปกติจะ พบมาก ในกลุม เกลือแคลเซียมคารบอเนต ซึ่งเกิดบริเวณพื้นผิวถายเทความรอนใน Cooling Tower การใชโอโซนในการบําบัด นํ้าที่มีแรธาตุเหลานี้ปะปนอยูโดยกาซ โอโซนที่ อ อกมาจากเครื่ อ งกํ า เนิ ด ก า ซ โอโซนจะไปทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ แคลเซี ย ม อิออน (Ca2+) และคารบอเนตอิออน (CO32-) ไมใหเกิดการรวมตัวกันเปน
June 2015 PB June 2015 35
Product Highlight - Industrial กรีนภัทร์
ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ Ozone Cooling Tower
1. ความเข้มข้นของน�้า (TDS) อันประกอบด้วย sulfate, chloride, bicarbonate, sodium, magnesium และcalcium ลดลงเนื่องจากก๊าซโอโซนได้ท�าการออกซิไดซ์แร่ธาตุต่างๆที่ ปะปนมากับน�้าให้ตกตะกอน และสามารถโปรดาวน์ออกได้ 2. น�้าจะใสเป็นประกายเนื่องจากสารแขวนลอยต่าง ๆ ถูกก�าจัดออกไป 3. ตะไคร่น�้าในส่วนที่แช่อยู่จะตายหมดภายใน 10-15 วันเท่านั้น และจะไม่เกิดขึ้นอีก (ในส่วนที่สัมผัสกับน�้า) 4. ไม่มีเชื้อโรคโดยเฉพาะเชื้อ Legionella หรือวัดปริมาณเชื้อโรคได้ไม่เกิน 100,000 cfu 5. ลดปัญหาตะกรันในเส้นท่อและในคอนเดนเซอร์ อันเป็นสาเหตุหลักที่ส�าคัญในการ สูญเสียพลังงาน 6. ไม่ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายและเวลาในการล้างประจ�าปี 7. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้สารเคมีเพราะไม่ต้องใช้อีกต่อไป 8. ไม่จ�าเป็นต้องใช้ Softener หรือระบบ RO ท�าให้ประหยัดเงิน (ค่าพารามิเตอร์ของน�้า ต้องไม่เกินมาตรฐานน�้าประปา)
36
June 2015
9. ลดปริมาณน�า้ ทีส่ ญ ู เสีย (ประมาณ 5-20%) อันเนื่องมาจากความเข้มข้นของแร่ธาตุที่ ปะปนมากับน�้าและความเข้มข้นของสาร เคมีที่เติมเข้าไปในระบบทุกวัน 10. ไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อมและไม่เป็นปัญหา กับการบ�าบัดน�้าทิ้ง C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
หากท่านผู้อ่านสนใจเครื่อง Ozone Cooling Tower สามารถติดต่อได้ที่ บริษัท เครสโก้ คอร์ ป อเรชั่ น จ� า กั ด เลขที่ 54 หมู ่ 10 ต� า บลตลาดขวั ญ อ� า เภอเมื อ งนนทบุ รี จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2966-5099 http://www.crescocorp.com/
June 2015 PB
Showcase - Industrial กรีนภัทร์
Euroklimat รุน EKCU Precision Air Conditioners บริษัท สยามเทมป จํากัด ผูนํานวัตกรรมระบบปรับอากาศที่มีผลงาน มายาวนานกวา 45 ป ขอแนะนํา Euroklimat รุน EKCU Precision Air Conditioners ระบบปรับอากาศสําหรับศูนยคอมพิวเตอรขนาดใหญ และพื้ น ที่ ที่ ต อ งการการควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ ละความชื้ น เป น พิ เ ศษ หนึ่งในผลงานของผูเชี่ยวชาญระบบปรับอากาศชั้นนําของโลกจาก ประเทศอิตาลี ที่มีผลงานยาวนานกวา 50 ป โดย EKCU Precision Air Conditioners มีจดุ เดน 5 ประการคือ เนนการทํางานแบบ Real Time เพือ่ ใหอปุ กรณภายในหนวยงานและพืน้ ทีน่ นั้ ๆ สามารถทํางานไดอยาง มีประสิทธิภาพสูงสุดและทํางานไดตอ เนือ่ งยาวนาน ควบคุม การเปลีย่ นแปลงสภาวะไดอยางแมนยํา การบํารุงรักษาระบบงาย เกิดประสิทธิภาพ สูงสุดในการใชงาน การประหยัดพลังงาน เพราะถูกออกแบบโดยนวัตกรรมลาสุดจากยุโรป และประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งตัวเครื่องถูกออกแบบ ใหมีขนาดกระทัดรัดมีความสวยงาม จึงไมสงผลกระทบสําหรับพื้นที่ที่ถูกออกแบบมากอน ระบบปรับอากาศ EKCU Precision Air Conditioners มีใหเลือกหลายรุนทั้งรุน BX Air Cooled รุน AX Water Cooled และรุน CW Chilled Water โดยมีขนาดตัง้ แต 12-17 ตันความเย็น จึงใชงานได สําหรับพืน้ ทีท่ กุ ขนาด สําหรับผูส นใจสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ฝายขอมูลการตลาด บริษัท สยามเทมป จํากัด โทร.08-1838-4057, 08-7822-7042 ทุกวันในเวลาทําการ
เครือ่ งปรับอากาศระบบระเหยนํา้ (Evaporative Cooling) ยีห่ อ Cool+
เครื่องปรับอากาศระบบระเหยนํ้า (Evaporative Cooling) หรือเครื่องสงลมเย็นแบบ ตั้งพื้น ใหความเย็นในพื้นที่กวาง กลางแจง โดยไมทิ้งละอองนํ้า ใหรูสึกเปยกชื้นเหมาะ สําหรับงานแสดงสินคา รานอาหาร พื้นที่กลางแจงที่ไมสามารถใชเครื่องปรับอากาศได เพียงเติมนํ้า เสียบปลั๊ก กดปุมเปด (Start) เมื่ออากาศรอนเขาเครื่องจะถูกทําใหเย็นลง โดยใชหลักการระเหยนํ้าผานตัวกลาง CeLPad (คูลลิ่งแพด Cooling Pad) ที่มี ประสิทธิภาพในการทําความเย็นสูง ลดอุณหภูมิไดสูงสุด 8 -10OC (ที่อุณหภูมิภายนอก 35OC ความชื้นสัมพัทธ 60% RH) ประหยัดไฟ เพราะใชไฟเทากับพัดลมเพียง 1 เครื่อง เสียบปลั๊กใชไฟบานธรรมดา ติดตั้งงาย เพียงเข็นไปวางยังจุดที่ตองการ ขนาดเครื่อง 0.85 x 0.45 x 1.83 เมตร (รวมลอ) (กวาง x ลึก x สูง) ปรับความเร็วลมได 3 ระดับ พรอม Auto Swingสามารถใช PVC STICKER WRAP เปนสือ่ โฆษณาสินคาได มีทมี งาน ติดตั้งและทีมบริการดูแลการทํางานใหสมํ่าเสมอ บริการขายและใหเชาเครื่อง สามารถติดตอขอทดลองใชได สนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.utile.co.th
เครือ่ งทําความเย็นระบบการดูดซึมลิเธียมโบรไมดโดยใชกา ซเชือ้ เพลิง เครือ่ งทําความเย็นระบบการดูดซึมโดยใชกา ซเชือ้ เพลิง ของเราสามารถเปลีย่ นนํา้ รอนทีม่ ี อุณหภูมไิ มตาํ่ กวา 90OC มาเปนนํา้ เย็นที่ 5OC - 7OC ซึง่ มักถูกใชในระบบปรับอากาศหรือ กระบวนการในอุตสาหกรรม ชุดจะทํางานโดยลําพังซึ่งมีขนาดทําความเย็น 350 - 6980 กิโลวัตตเครือ่ งทําความเย็นโดยใชกา ซเชือ้ เพลิง (flue gas fired chiller) นีเ้ ปนชิน้ สวนสําคัญของ ระบบการผลิตไฟฟาแบบไตร (tri-generation system) ซึง่ ในระบบนีจ้ ะใชนาํ้ มันหรือกาซในการ ผลิตไฟฟาขณะที่ความรอนของทอไอเสียจะถูกนํามาใชเพื่อสรางความรอนหรือความเย็น สําหรับชุมชนทีอ่ ยูอ าศัยหรืออาคารพาณิชย ในการผลิตไฟฟา ความรอนและความเย็นใน กระบวนการใดกระบวนการหนึ่งจะชวยทําใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและให อัตราการใชไฟฟาไดสงู ถึง 85% จึงจะตองติดตัง้ ในทําเลทีม่ รี ะดับการทํางานทีเ่ ปนอิสระจาก เพาเวอรกริดโดยลดการพึง่ พาเครือ่ งปรับอากาศในกริด ระบบมีบทบาทสําคัญในการทํางาน บรรเทาปญหาการขาดแคลนไฟฟา ซึง่ ในระบบนี้ เครือ่ งทําความเย็นระบบการดูดซึมลิเธียม โบรไมดโดยใชกา ซเชือ้ เพลิงหรือปม ความรอนของเราสามารถใชประโยชนไดเต็มทีจ่ ากความรอนเหลือทิง้ ทีไ่ ดจากกาซไอเสีย ซึง่ เปนการประหยัด พลังงานสูงสุด สามารถดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://sl-ecoenergy.sg/profile/about-us/163307/0
38
38
June 2015 June 2015
ทอลมอลูมเิ นียม Aluminium Pipe ปองกันสนิมไดอยางถาวร ประหยัดพลังงานอยางสูงสุด ดวยงานที่มีคุณภาพและพื้นผิว ภายในที่เรียบทําใหไมมีโอกาสเกิดสนิม ซึ่งชวยรับประกันคุณภาพอัดลมและชวยการันตี ความปลอดภัยในการใชงาน O Sealing Ring คุณภาพสูง การันตีการซีลอยางเหนือชั้น จนไรลมเล็ดลอดออกมาพืน้ ผิวภายในเรียบทําใหไมมอี ะไรบล็อคการไหลของลม ลด Pressure Drop ไดอยางมีประสิทธิภาพ ยืดหยุนตอการใชงานอยางสูงสุด สแปรพารทของ Airpipe สามารถถอดออกแลวสวมเขาไปใหมไดหลายตอหลายครั้ง ซึ่งเปนประโยชนตอลูกคาที่ ตองการเปลี่ยนสภาพแวดลอมการทํางานของเครื่องจักร สามารถตอเพิ่มทอหรืออุปกรณ พวงตาง ๆ ไดอยางงายดายทุกครั้งที่ตองการซึ่งเปนประโยชนตอกระบวนการผลิตที่อาจ ตองการขยับขยายเปลี่ยนแปลง หัวทอชี้ไปในทางเดียวกันกับลมจึงสามารถกําจัดนํ้าที่ไมตองการออกจากระบบไปปได งาย สะดวกสบาย และรวดเร็ว ในขั้นตอนการติดตั้ง ไมตองใชเครื่องมือในการดัด บิด จับทอใหเขากัน ตัวทอและขอตอสามารถประกอบเขาดวยกันไดอยางงายดาย โดยไมตองมี การเตรียมการพิเศษใด ๆ ไมตองมีการเทรนนิ่งกระบวนการ การประกอบหรือการแยกทอออกจากกัน ทอสามารถตัดออกมาจากกันไดอยางงายดาย เพือ่ การติดตัง้ ทีไ่ ซนงาน ทอลมสามารถเชือ่ มตอกับ ธรีดตัวเมีย ธรีดตัวผู และขอตอไดอยางงายดายดีไซนมาเพือ่ การใชงานทัง้ สายงานเพือ่ ทําให Airpipe เปนทางเลือกที่ประหยัดพลังงานและงายตอการติดตั้ง สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.thaibestenergy.com
ปม นํา้ พลังงานแสงอาทิตย ปมนํ้าดีซี 12V สามารถสูบนํ้าเพื่อใชในงานเกษตร โรงเรียน โรงงาน โรงแรม ปมกะทัดรัด ทํางาน เงียบเรียบเบา กินไฟนอย ชวยประหยัดคาไฟฟา ลดรายจายในการติดตั้งเสาเดินสายของระบบ ไฟฟาทั่วไป ดูแลงายไมมีอันตรายจากไฟดูดไฟช็อต เนื่องจากเปนระบบไฟฟาแรงดันตํ่า สามารถ ใชงานได 24 ชั่วโมง มีสวิทซแรงดันและระบบปองกันความรอนสูงอัตโนมัติคุณสมบัติพิเศษ คือ แรงดันไฟฟา 12VDC ( DC Pump ) สามารถใชงานกับแบตเตอรี่หรือแผงโซลาเซล หรือไฟฟา 12 โวลทอัตราการไหลสูงสุด : 7,900 ลิตร/วัน (330 ลิตร/ชม) ระดับนํ้าสูงสุด : 35.0 เมตร ความสามารถในการใชงานตอเนื่อง 24 ชม. มีระบบปองกันความเสียหายอัตโนมัติเนื่องจากนํ้าแหงหรือความรอน มีสวิทซแรงดันอัตโนมัติ ตัวอยางการใชงาน สูบนํ้า ทดนํ้า รดนํ้า ผัก พืช ไรนา ปาสวน ระบบนํ้าหยด นํ้าเลี้ยงตลอดวัน สูบนํ้าเลี้ยงสัตว ระบบฟารมเปด/ปด บอปลา สูบนํ้า เพื่อประหยัดคาไฟฟา โรงเรียน โรงงาน โรงแรม รีสอรท บานพักอาศัย ลดรายจายในการปกเสา รอยสายไฟ ในระยะทางไกล เพื่อสูบนํ้า สูบนํ้าวิดนํ้าออกจากเรือ ระบบประปาขนาดเล็กประจําหมูบาน สปริงเกอรหลังคาลดความรอนตัวบาน พนหมอก ละอองนํ้าโรงเรือนเพาะชํา โคนม หมู พนนํ้ายาเชื้อจุลินทรีย ชีวภาพ ดับกลิ่น
UES ระบบประหยัดพลังงานสําหรับเครือ่ งแชเย็น ระบบแชเย็นในปจจุบันเปนหนึ่งในระบบที่มีการกินไฟฟามากที่สุด คิดเปน 20% ของการใชไฟฟาทัว่ โลก เราเปนผูม ปี ระสบการณเชีย่ วชาญ ในด า นการลดการใช พ ลั ง งานของระบบแช เ ย็ น ภายใต ก ารใช ง าน เชิงพาณิชย โดยสามารถประหยัดไดถึง 33% ตามมาตรฐาน CUES (Chiller Unit Energy Saver) สําหรับสินคาที่มีการใชงานเชิงพาณิชย อยูในขณะนี้นั้น เราสามารถชวยใหองคกรของคุณประหยัดพลังงาน พัฒนาประสิทธิภาพการใชงานและความเสถียรของอุปกรณ รวมถึง เพิ่มความสามารถในการควบคุมอุณหภูมิในการเก็บอาหาร คุณสมบัติ ของ CUES หรือเครื่องประหยัดพลังงานไฟฟาระบบแชเย็น ลดคาใชจายดานพลังงานไดถึง 30% ควบคุมอุณหภูมิของ อาหารไดอยางแมนยํามากยิ่งขึ้น งายตอการตรวจวันอุณหภูมิของอาหาร ลดความรอน เสียง และการสั่นสะเทือน ภายในคอมเพรสเซอร ลดคาใชจายการบํารุงรักษา ยืดอายุการทํางานของเครื่องใชไฟฟาสําหรับรายละเอียดเพิ่มเติม ติดตอตัวแทนจําหนายของบริษัทอีโค สโคปส จํากัด http://ecoscopes.com/th/cues
39 39 June June 2015 2015
Product Highlight - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ
SAMSUNG เปดตัว “Activ Dualwash” เครือ่ งซักผาฝาบนพรอมแผงขยีข้ จัดคราบ
¡ÒÃ᪋¼ŒÒ¡‹Í¹«Ñ¡¢ÂÕ้¼ŒÒ´ŒÇÂÁ×Í¡‹Í¹Å§à¤Ã×่ͧ«Ñ¡¼ŒÒ¹Õ่ ¶×ÍÇ‹Ò໚¹¢Ñ้¹µÍ¹·Õ่ºÍ¡ä´Œ ¶Ö§¤ÇÒÁ¾Ô¶Õ¾Ô¶Ñ¹¢Ñ้¹à·¾ ᵋ¡็àÊÕÂàÇÅÒáÅÐÊÌҧ¤ÇÒÁà¨็º»Ç´ÃÇ´ÃŒÒÇãËŒ¡Ñº “ËÅѧ” áÅÐ “Ëҧ” ¢Í§áÁ‹ºŒÒ¹·Õ่µŒÍ§·ํÒ໚¹¡Ô¨ÇѵûÃШํÒÇѹ µŒÍ§·¹»Ç´ËÅѧ ·Õ่µŒÍ§¹Ñ่§Âͧ §Íà¢‹Ò §ÍËÅѧ ¡ŒÁ æ à§Â æ ¡Ç‹Ò¨Ð«Ñ¡ã¹¡ÐÅÐÁѧàÊÃ็¨¡็àÅ‹¹àÍÒ Ë¹ŒÒÁ×´ á¶Á«Ñ¡¢ÂÕ้àÊÃ็¨ÂѧµŒÍ§Â¡à·Å§à¤Ã×่ͧ«Ñ¡¼ŒÒ à·äÁ‹µÃ§ ¹ํ้ÒË¡àÅÍÐà·ÍÐ §Ò¹§Í¡µŒÍ§ÁÒµÒÁàª็´µ‹ÍÍÕ¡ ໚¹§Ò¹·Õ่˹ѡáÅШء¨Ô¡àÍÒ¡Òà º‹ÍÂà¢ŒÒ æ ¡็¨Ð ¾ÒÅãËŒàÊÕÂÊØ¢ÀÒ¾ËÅѧáÅÐÊØ¢ÀÒ¾¨Ôµä´Œ
กอนลงซักเครื่อง เพื่อใหมั่นใจวาเสื้อผาจะสะอาดหมดจด โดยผลสํารวจจากซัมซุง พบวา 82.9% ของกลุม ตัวอยางทําการขยีผ้ า เฉพาะจุดกอนซักเครือ่ ง ซึง่ นอกจากจะเปนการเพิม่ ขัน้ ตอนการซักผาใหยงุ ยากมากขึน้ แลว ยังอาจเปนหนึง่ สาเหตุทสี่ าํ คัญทีก่ อ ใหเกิดปญหา ดานสุขภาพในอนาคตได เชน โรคเกี่ยวกับกระดูก ขอตอ และกลามเนื้อ เปนตน ซึ่งซัมซุง เขาใจในพฤติกรรมการซักผาของคนไทย จึงพัฒนานวัตกรรมเครื่องซักผาที่คิดคนมาเพื่อ คนไทยโดยเฉพาะ ซัมซุง แอคทีฟ ดูอัลวอช เครื่องซักผาฝาบนที่มาพรอมแผงขยี้ ขจัดคราบกอนซัก (Built-in Sink) ดานบนของตัวเครื่องที่ออกแบบมาใหสามารถยืนซัก ทําความสะอาดผากอนเทลงเครื่อง โดยไมตองกมหรือยกยายถังใหวุนวาย นอกจากเพิ่ม ความสะดวกสบายแลว ยังชวยใหผูซักมีอิริยาบถในการซักผาที่ถูกตอง สามารถลด ความเสี่ยงของอาการปวดกลามเนื้อหลังไดถึง 43% และลดแรงกดทับระหวางกระดูก ขอตอไดถึง 54% อีกดวย นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยี Magic Dispenser ที่มีระบบใบพัด คุณเสาวณีย สิราริยกุล ผูอ าํ นวยการธุรกิจ ทรงพลังชวยละลายและกระจายผงซักฟอกใหแตกตัว ลดความกังวลเรื่องผงซักฟอก เครื่องใชไฟฟาในบาน บริษัท ไทยซัมซุง ตกคางในผา ทําใหไมระคายเคืองผิวหนังเมื่อสวมใส” อิเลคโทรนิคส จํากัด เผยวา “พื้นฐานของ คนไทยเปนคนใสใจเรื่องความสะอาดเปน พิ เ ศษเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ประเทศใน ภูมภิ าคอืน่ เนือ่ งดวยอากาศทีร่ อ นชืน้ ซึง่ เปน สาเหตุ ห นึ่ ง ของการเกิ ด คราบเหงื่ อ ไคล เครื่องสําอาง มลพิษ และฝุนละอองสะสม บนเสือ้ ผา ทําใหคนไทยสวนใหญมพี ฤติกรรม การซักผาที่คลายกัน คือ การนั่งยองเพื่อ ซักคราบสกปรกบริเวณจุดสะสมบนเสื้อผา เช น ปกคอเสื้ อ หรื อ ใต ว งแขนด ว ยมื อ SAMSUNG คนพบวิถีใหมแหงการซักผา นํ า เสนอ ซั ม ซุ ง แอคที ฟ ดู อั ล วอช (Samsung activ dualwash) เครือ่ งซักผา ฝาบนเครือ่ งแรกของโลกทีม่ าพรอมแผงขยี้ ขจัดคราบกอนซักในตัว นวัตกรรมลาสุดที่ จะลบลางวิธีการซักผาแบบเดิมไปอยาง สิ้นเชิง ซัมซุงไดพัฒนาเครื่องซักผาสําหรับ คนไทยโดยเฉพาะ เพื่อลดอาการปวดหลัง จากการนั่งซัก ตั ด ขั้ น ตอนอั น ยุ ง ยากใน การซักผา และลดปญหาผงซักฟอกตกคาง
40
June 2015
11.05-11.30 .
Product Highlight - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ
สําหรับการทํางานของ Samsung Activ Dualwash นวัตกรรมที่ถูกออกแบบมาจากการ ศึกษาจนเขาใจศิลปะในการซักผาของแมบานอยางถองแท ทําใหตัวเครื่องประกอบไป ดวยถาดรองซักดานบนที่ถูกเติมเขามาเพื่อใหคุณแมบานสามารถยืนซักดวยมือไดอยาง สะดวกสบายที่ตัวเครื่องไดเลยโดยไมตองไปซักในอางหรือในถังจนหลังขดหลังแข็ง ซึ่งถาดดังกลาวติดมากับเครื่องใชงานไดงาย ๆ เพียงวางเสื้อผาที่ตองการซักลงมา เติมผงซักฟอก และเติมนํา้ โดยกดปุม ปลอยนํา้ จากดานขาง แลวก็เริม่ บรรจงซักจนสะอาด เปนที่พอใจ ที่สําคัญคือตัวถาดซักนี้ยังมีผิวที่ขรุขระเพื่อใหสามารถใชขัดเพื่อลดการ ออกแรงในการซักไดเปนอยางดี
ในขัน้ ตอนอัตโนมัตสิ ว นตอมานัน้ ตัวเครือ่ ง ก็ยังไดรับการออกแบบใหมีสวนที่เรียกวา Magic Dispenser ทีม่ รี ะบบใบพัดทรงพลัง ชวยละลายและกระจายผงซักฟอกใหแตกตัว ลดความกังวลเรื่องผงซักฟอกตกคางในผา ทํ า ให ไ ม ร ะคายเคื อ งผิ ว หนั ง เมื่ อ สวมใส รวมถึงเทคโนโลยี Wobble จานซักแบบ หลายทิศทาง ลดปญหาผาพันกัน อีกทั้ง ยังชวยถนอมเนือ้ ผาอีกดวย เสริมพลังการทํา ความสะอาดดวย Magic Filter คุณสมบัติ การกรองอันทรงพลัง ที่สามารถรวบรวม ฝุน ผงอนุภาพเล็ก ๆ จากเสือ้ ผา ชวยใหการ ทําความสะอาดงายเสื้อผาสะอาดยิ่งขึ้น นอกจากนั้น ในสวนของตัวถังและระบบ ใบพัดภายในตัวเครือ่ งถูกออกแบบใหมหมด เพื่ อ ให เ กิ ด กระแสนํ้ า วนทั้ ง แนวตั้ ง และ แนวนอน ซึ่งตางจากเครื่องซักผาทั่ว ๆ ไป ที่ ก ระแสนํ้ า จะไหลทางเดี ย วจนทํ า ให ผาพันกัน ดังนั้น เครื่องซักผาถนอมผา ออกแบบถังซักระบบนํ้า 2 ทิศทางนี้จึงลด ป ญ หาผ า พั น กั น ทํ า ให ผ า ถู ก ซั ก อย า ง ทะนุ ถ นอมและช ว ยยื ด อายุ ก ารใช ง าน ของเสื้อผาไดเปนอยางดี
PB
42
June 2015 June 2015
Showcase - Commercial จีรพร ทิพย์เคลือบ
VivoWatch นาฬกาอัจฉริยะ Asus เปดตัว VivoWatch นาฬกาอัจฉริย ะที่ใชระบบ ปฏิบัติการ Kood ที่ถูกพัฒนาขึ้นเปนพิเศษทําใหสามารถใช งานไดยาวนานถึง 10 วันตอการชารจ 1 ครั้ง ซึ่ง Asus VivoWatch ถูกออกแบบมาใหทํางานดวย microcontroller แทนที่การทํางานของ CPU และ OS ในสวนของตัวเรือน Asus VivoWatch ทําจากโลหะ สามารถทนนํ้าได และ สามารถเปลี่ยนสายไดเหมือนนาฬกาทั่วไป หนาจอขาวดํา มีความละเอียด 128x128 พิกเซล ดานหลังของตัวเรือน มีตัววัดชีพจร หรือ Herat rate sensor นอกจากนั้นบนหนาปดก็ยัง มี UV Sensor รับคา UV มาแสดงผลบนหนาปด และมีโหมด sleep tracker ที่สามารถบงบอกถึงการนอนหลับของผูใชงานไดอีกดวย
มินพิ ซี ไี รพดั ลมประหยัดพลังงาน Giada ผูนําดานการผลิตเครื่องมินิพีซี ระบบ embedded และผูเชี่ยวชาญ ดานเซิฟเวอรสําหรับองคกรขนาดเล็กไปจนถึงขนาดกลาง นําเสนอเครื่องมินิพีซี ประหยัดพลังงานพิเศษ รุน F110D ซึ่งเปนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็ก ที่มา พรอมสมรรถนะการประมวลผลที่ดีเยี่ยม ดวยโปรเซสเซอรจาก Intel ในรุน Intel Celeron ที่ไมมีการใชพัดลมระบายความรอน ซึ่งทําใหไรเสียงรบกวนระหวาง ทํางาน มินิพีซีนี้ถูกออกแบบมาสําหรับสภาพแวดลอมการใชงานที่ตองการความ เงียบสงบ ปราศจากการรบกวนทางเสียง เชน ธนาคาร โรงพยาบาล หรือโรงงาน อุตสาหกรรมบางประเภทที่ตองการสรางสภาพแวดลอมที่เงียบสงัด และยังคงให ประโยชนในดานการใชพลังงานไฟฟาที่คุมคา ที่มาพรอมกับตัวเครื่องที่ทนทาน
เครือ่ งดูดฝุน พลังลมไซโคลน พานาโซนิค นําเสนอเครื่องดูดฝุน รุน MC-CL455 พลังลมไซโคลนคู 2,000 วัตต สามารถกรองฝุนไดอยางมีประสิทธิภาพและชวยปองกันการอุดตันของผงฝุน ภายใน หัวดูดแบบใหม MOTHER CHILD ชวยในการถอดและประกอบหัวดูดฝุน กลับไดอยางงายดาย นอกจากนีม้ รี ะบบแผนกรองใยแกวเฮปา 2 ชัน้ และสัญญาณ เตือนฝุน ชวยตรวจสอบความสะอาดของพื้นที่กําลังทําความสะอาดอยูประกอบ พรอมทอดูดอเนกประสงคปรับยืดหดไดและลอยางปองกันการเสียดสีกับพื้น ทั้งพลังดูดแรงและใชงานงายสะดวกสบาย จึงชวยใหคุณมั่นใจไดวาพื้นบาน ของคุณสะอาดหมดจด
June 2015 43
Showcase - Commercial ณ ลาดพร้าว
สุดยอดสมารทโฟนกลองหลังคู Huawei เปดตัวสุดยอดสมารทโฟนรุน Honor 6 Plus ที่มาพรอมกับคอนเซ็ปต “เปด โลกสูมุมมองที่แตกตาง” ซึ่งตอบโจทยความตองการของผูที่หลงรักการถายรูปไดเปน อยางดี Honor 6 Plus มาพรอมกับเทคโนโลยีกลองหลังคู ความละเอียด 8 ลานพิกเซล ระบบออโตโฟกัสที่มีฟงกชั่นโฟกัส พลัส สามารถปรับจุดโฟกัสและฟลเตอรหลังการ ถายภาพ ดวยความเร็วโฟกัสเพียง 0.1 วินาที และยังสามารถปรับรูรับแสงของกลองให กวางขึ้นเพื่อถายภาพแบบหนาชัดหลังเบลอ นอกจากนั้นยังมีฟงกชั่นการถายภาพในที่ แสงนอยโดยเฉพาะเวลากลางคืนชวยลดสัญญาณรบกวนในภาพ ใหผูใชสรางสีสันใน การถายภาพกลางคืนไดราวกับชางภาพมืออาชีพ ขณะที่ตัวเครื่องถูกดีไซนมาใหดู เรียบหรู มีขนาดเหมาะแกการใชงาน และทํามาจากวัสดุชั้นดีที่มีความทนทานสูง ซึ่งมี ใหเลือก 3 สี คือ สีขาว สีดํา และสีทอง
เตารีดพลังไอนํา้ แรงดันสูง บริษัท ฟลิปสอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด แนะนําเตารีดระบบ แรงดันไอนํ้าใหม Philips Perfect Care Silence GC9550 มีประสิทธิภาพ พลังไอนํ้าแรงดันสูงในขณะที่ใหเสียงที่เงียบกวา มาพรอมกับเทคโนโลยี OptimalTemp ใหอุณหภูมิความรอนและแรงดันไอนํ้าที่พอดีกับเนื้อผา ทุกชนิด ทั้งผาไหม ผาฝาย ผาลินิน ผาชีฟอง ผาวูลและผายีนส ซึ่งเตารีด ไอนํ้าระบบแรงดันรุนนี้ มีระบบกระจายไอนํ้าอยางสมํ่าเสมอและทั่วถึง โดยมีแรงดันไอนํ้าตัวเครื่องสูงถึง 6.5 บาร แท็งกนํ้าจุได 1.5 ลิตร สามารถ ผลิตพลังไอนํ้าตอเนื่องไดถึง 120 กรัม/นาที และพลังไอนํ้าพิเศษ 360 กรัม/นาที และยังมีฟงกชั่น ECO ที่ชวยใหคุณประหยัดพลังงาน 40% และ ประหยัดการใชนํ้า 40% อีกดวย
LG SUPER UHD TV ทีวไี ลนอพั บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จํากัด นําเสนอ LG SUPER UHD TV ทีวไี ลนอพั ใหมมาพรอมคอนเซ็ปต “สีสดสวยกวา เต็มตาทุกเฉดสี ราวกับมีชวี ติ ” โดยรุนไฮไลทไดแก UF950T ซึ่งโดดเดนดวยเทคโนโลยี ColorPrime ที่ชวยเพิ่ม ความสามารถในการแสดงเฉดสีบนหนาจอใหกวางขึ้น การแสดงสีสันที่ทําไดเต็ม สเปกตรัมนี้ สงผลใหเนื้อสีที่ปรากฏบนหนาจอมีความบริสุทธิ์ มิติของภาพมีความ สมจริงยิ่งขึ้น ทําให UF950T แสดงสีสันใหม ๆ เชน สีฟานํ้าทะเล สีแดงทับทิม และสีเขียวมรกต ในขณะที่เทคโนโลยี ULTRA Luminance จะทําการวิเคราะห ความสวางและมืดของภาพอยางตอเนื่อง เพื่อปรับปรุงคาความสวางและอัตรา คอนทราสตใหมีความสมบูรณแบบสูงสุด นอกจากนี้ พาเนล IPS 4K ยังทําให รายละเอียดของภาพที่ปรากฏมีความคมชัดในทุกองศาการมอง และยังเชื่อมตอ โลกออนไลนสะดวกสบายดวย webOS 2.0 เปนระบบปฏิบัติการของสมารททีวี ที่ใชงานงายและสนุกกวาเดิม
44
June 2015
June 2015 PB
Product Highlight - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ
ÂÒ§¹ÔµâµÐ ÂÒ§¹ํÒࢌҨҡµ‹Ò§»ÃÐà·È 100% à» ´µÑÇÂҧö¹µ Ultra High Performance ÃËÑÊÌ͹ ÃØ‹¹ãËÁ‹Å‹ÒÊØ´ NT860 ¾ÃŒÍÁÅصÅÒ´Âҧö¹µ ·´á·¹ «Ö่§¡ํÒÅѧàµÔºâµÍ‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ ¾ÃŒÍÁ¡Ñº¡ÒäԴ¤Œ¹áÅоѲ¹Ò¢Ö้¹ÀÒÂ㵌෤â¹âÅÂÕãËÁ‹ Å‹ÒÊØ´¢Í§ÂÒ§¹ÔµâµÐ ´ŒÇ¼¹Ñ§Ã‹Í§´Í¡ÂÒ§ DUAL QUIET SERRATION à·¤â¹âÅÂÕãËÁ‹Å‹ÒÊش㹡ÒÃÅ´àÊÕ§ú¡Ç¹¨Ò¡ÂÒ§ ö¹µ ¢³ÐÇÔ่§·Õ่ãËŒ¤ÇÒÁÁÑ่¹ã¨ã¹¤ÇÒÁ¹Ø‹Á à§Õº ÂÖ´à¡Òж¹¹áººÂҧʻÍà µänj͋ҧ¤Ãº¶ŒÇ¹ã¹àÊŒ¹à´ÕÂÇ ¤Ãͺ¤ÅØÁ ·Ø¡¢¹Ò´¢Í§Âҧö¹µ µÑ้§áµ‹ÅŒÍ¢Íº 14 ¹Ô้Ç – 18 ¹Ô้Ç
ยางนิตโตะปลอยยางประหยัดนํ้ามัน “NT860” นุม ..เงียบ สบายทุกเสนทาง คุณอภิชัย ตั้งวงศศิริ กรรมการผูจัดการ บริษัท ต.สยาม คอมเมอรเชียล จํากัด ผูนําเขา และจัดจําหนายยางนิตโตะ ยางนําเขาจากตางประเทศ 100% เปดเผยวา ผลิตภัณฑยาง รถยนตรนุ ใหมรหัสรอน NT860 เปนการตอยอด จากความสําเร็จของยางรถยนต รุน NT830 ที่ใหประสิทธิภาพสูงสุดในการยึดเกาะถนนแตยังคงไวซึ่งความนุมนวลและเงียบไรเสียง รบกวนในการขับขี่ ซึ่งไดรับการพัฒนาดวยเทคโนโลยีที่เปนนวัตกรรมพิเศษของยางนิตโตะ ซึง่ มีการออกแบบและและวิจยั โดยคํานึงถึงความตองการและพึงพอใจของลูกคาในทุก ๆ ดาน เปนสําคัญ ไมวาจะเปนยางที่เกาะถนนในโคงความเร็วสูง เงียบสงบทุกการขับขี่ นั่งสบาย ทุกสภาพถนน แมวา นิตโตะ NT830 จะเปนยางที่มีเสียงรบกวนจากการใชงานในขณะที่วิ่งตํ่าที่สุดเทาที่ เคยมีมา โดยยาง NT830 สามารถผานขอกฏขอบังคับ R117-02 และไดรับการรับรองจาก UN ECE วาดวยเรื่องการควบคุมมาตรฐานเสียงรบกวนจากยางรถยนตในขณะขับขี่ อีกดวย ทําใหไดรับกระแสการตอบรับจากรานคาตัวแทนจําหนายและลูกคาอยางดีเยี่ยม
มาโดยตลอด นับ ตั้งแตไดมีการออกวาง จําหนายสูทองตลาด สามารถสรางความ พึงพอใจใหกับกลุมลูกคาที่มีความตองการ ยางนุม เงียบ แตเกาะถนนเหมือนยางสปอรต นับวาเปนจุดเดนของยางนิตโตะ NT830 แต ข ณะเดี ย วกั น ยั ง มี ผู บ ริ โ ภคอี ก จํานวน ไมนอยที่ตองการยางทดแทน ตั้งแตไซสยาง รถยนตขนาดเล็ก จนถึงขนาดใหญ ที่กําลัง ได รั บความนิยมเปนอยา งสูงในเมือ งไทย ซึ่งกอนหนานี้ยางนิตโตะ NT830 ยังไมมี ขอบยางขนาดดังกลาวมารองรับผู บ ริ โ ภค กลุมนี้ ทําใหจึงตองมีการพัฒนาผลิตภัณฑ ตัวใหมขึ้นมาทดแทน นิตโตะ จึงนําผลิตภัณฑตวั ใหมมาเจาะตลาด อี ก ครั้ ง เพื่ อ เป น การตอบสนองความ ตองการของผูบริโภค ทั้งนี้ ยางนิตโตะจึงได มีการออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีใหม เพื่อใหไดยางรถยนตที่มีประสิทธิภาพนุม เงียบ ลดเสียงรบกวนขณะขับขี่ พรอมทั้ง ใหสมรรถนะในการยึดเกาะถนนที่ดีเยี่ยม และยังมีอายุการใชงานทีย่ าวนานเพิม่ มากขึน้ โดยมาพรอมคอนเซ็ปต “นุม เงียบ สบาย ทุกเสนทาง” ซึ่งเหมาะกับรถยนตโดยสาร ขนาดเล็ก ไปจนถึงขนาดใหญ ตอบสนองกับ ไลฟสไตลการใชงานที่ตองการความนุมนวล แตมั่นใจในประสิทธิภาพการยึดเกาะถนน
PB46
June2015 2015 June
Product Highlight - Logistics BARBEER
ทัง้ นี้ NT860 ใช้เทคโนโลยี “แบบอะตอม” ซึ่งเป็นเทคโนโลยีแบบใหม่ เพื่อโครงสร้าง ของยางที่ อ อกแบบให้ ส ามารถดู ด ซั บ แรง กระแทกบนทุ ก พื้ น ผิ ว ถนนได้ เ ป็ น อย่ า งดี ประกอบกับการน�าเทคโนโลยีร่องดอกยาง เก็บเสียงแบบใหม่ล่าสุด “DUAL QUIET SERRATION” ที่ ล ดเสี ย งรบกวนจาก ยางรถยนต์ ข ณะขั บ ขี่ ไ ด้ สู ง สุ ด อี ก ทั้ ง ยั ง มี บ ล็ อ กดอกยางรู ป ตั ว “F” ที่ ช ่ ว ยปรั บ สมดุลประสิทธิภาพในการยึดเกาะถนน และ ความนุ่มนวลของการขับขี่ให้ได้สมรรถนะ ควบคู่กันสูงสุด อีกทั้งมีการออกแบบร่อง ดอกยาง และ Dots บนหน้ายาง ที่ช่วยปรับ หน้ า สั ม ผั ส ของดอกยางให้ อ ยู ่ ใ นระนาบ เดียวกับพื้นถนนทั้งในขณะรถวิ่งและเบรก จึงช่วยให้ดอกยางสึกเรียบ คุ้ม ทน ช่วยให้ สามารถขับเคลือ่ นไปบนท้องถนนได้ไกลกว่า จึงท�าให้มีอายุการใช้งานยาวนานมากยิ่งขึ้น คุ้มค่าและประหยัดน�้ามัน อีกทั้งการน�าสาร ซิลิกาสูตรใหม่มาเป็นส่วนผสมของเนื้อยาง ช่วยให้ นิตโตะ NT860 ลดแรงต้านทานการ หมุนของยางขณะรถวิ่ง ช่วยลดภาระของ เครือ่ งยนต์ ประหยัดน�า้ มันมากกว่า โดยผ่าน การรับรองมาตรฐาน ECE-R117 Stage 2 S2WR2 ท�าให้มั่นใจในทุกการขับขี่ตลอด การเดินทาง
ยางนิตโตะ NT860 พร้อมให้ทกุ ท่านเป็นเจ้าของแล้ว ในขนาดทีห่ ลากหลายทัง้ หมด 36 ขนาด ตั้งแต่ขอบ 14นิ้ว – 18 นิ้ว ราคาเริ่มต้น ตั้งแต่ 2,000 – 6,000 บาท ผ่านร้านค้าตัวแทน จ�าหน่ายยางนิตโตะ กว่า 400 ร้านค้าทั่วประเทศ ซึ่งยางนิตโตะ NT860 นี้ยังคงมาพร้อม การรับประกันคุณภาพสินค้าจากการผลิตตลอดอายุการใช้งาน ซึ่งเป็นนโยบายหลักของ ทางบริษัทฯ และมีเพียงเจ้าเดียวในประเทศไทย
June2015 2015 47PB June
Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ
SMART PARKING ทีจ่ อดรถ...ชีวติ คนเมือง บริษัท ปารคพลัส จํากัด แนะนํา SMART PARKING ระบบเครื่อง จอดรถแบบ Rotary แนวคิดการนําขอดอยของพื้นที่เมืองที่มีจํากัด นํามาตอยอดจนสามารถเพิ่มประโยชนไดมากยิ่งขึ้น สะดวก รวดเร็ว และประหยัดพลังงาน SMART PARKING ออกแบบใหสามารถใชงาน ไดสะดวกรวดเร็ว ไมจําเปนตองมีคนชวยดูแลการทํางาน ใชงานงาย สามารถเลือกใชงานไดทั้งระบบ Touch screen หรือ การด RFID และ มีความทนทานตอการใชงานในทุกภูมิภาคทั่วโลก สามารถทํางานไดใน ทุกฤดูที่อุณหภูมิตั้งแต -40°C ถึง +45°C ทนลมพายุได 30 เมตร ตอวินาที รองรับการสั่นสะเทือนจากแผนดินไหวไดมากถึง 7.5 ริกเตอร จากการออกแบบโครงสร า งด ว ยเหล็ ก กล า พิ เ ศษจากเกาหลี 100% สวนมอเตอรคุณภาพสูงเลือกใชจากเยอรมัน มีอายุการใชงานยาวนาน กวา 15 ป ทําใหเปนที่นิยมอยางมากสําหรับเมืองใหญและมีการติดตั้งมาแลวในประเทศตาง ๆ ทั่วโลก ผานมาตรฐานการผลิต คุณภาพความปลอดภัยระดับ ISO และ TUV
แบตเตอรีบ่ อ ช สตารท-สต็อป ไฮเทค AGM บริษัท มาสเตอร มอเตอร เทรดดิ้ง จํากัด ตัวแทนจําหนายอะไหลรถยนต บอชอยางเปนทางการ แนะนํา “แบตเตอรีบ่ อ ช สตารท-สต็อป ไฮเทค AGM” เพื่อรองรับรถยนตยุโรป และรถยนตแบรนดหรูนําเขาทุกยี่หอ โดยมีการ พัฒนาแบตเตอรี่รถยนตใหเหมาะสมกับระบบการทํางานของเครื่องยนต เพื่อใหเครื่องยนตสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ แบตเตอรี่บอช สตารท-สต็อป ไฮเทค AGM นี้ มีคุณสมบัติในการชารจไฟกลับไดอยาง รวดเร็วกวาแบตเตอรี่ทั่วไปถึง 3 เทา ชวยยืดอายุการใชงานของแบตเตอรี่ อีกทั้งยังชวยลดอัตราการสิ้นเปลืองของเชื้อเพลิงและชวยลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซด ทําใหมลพิษในอากาศลดลง ในดานความปลอดภัย ดวยเทคโนโลยี AGM เปนวัสดุใยแกวที่มีความสามารถในการ ดูดซับนํ้ากรดเปนอยางดี สามารถปองกันการรั่วซึมได 100% ปองกันการช็อตภายในแบตเตอรี่ และมีกําลังในการสตารทสูง
GPS Tracker TK103 ติดตามรถ ตัดนํา้ มัน กันขโมย บริษทั มิสเตอรแทร็คเกอร จํากัด แนะนํา GPS Tracker TK103 ติดตาม รถยนต กันขโมย เช็คตําแหนงรถออนไลนตลอด 24 ชั่วโมงและสามารถ ตัดนํา้ มันได โดยจะทํางานรวมกับระบบสัญญาณดาวเทียม GPS และระบบ สัญญาณเครือขายมือถือ และใชมือถือที่ตั้งคาไวโทรเขาไปซิมนั้น ซิมที่อยู ในเครื่องจะตัดสายและสงขอความ SMS กลับไปยังมือถือ ขอความที่สง กลั บ มาเป น พิ กัด ตํ า แหน ง ดั ง กล า ว นํ า พิ กั ด ไปค น หาในแผนที่ google โดยระบบอินเทอรเน็ต แผนที่จะแสดงตําแหนงของ GPS Tracker ทีแ่ มนยํา หากรถถูกลักขโมยเจาของรถยังสามารถสง SMS ไปยังระบบ GPS ใหตัด นํ้ามันไดทันที
48
June 2015
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
June 2015 PB
Showcase - Logistics จีรพร ทิพย์เคลือบ
จานเบรก AIMCO เอมโก โรเท็ กซ ผู ดํ าเนิ นธุรกิจผลิตและจํา หนา ยผา เบรก และคลัทช ภายใตการดําเนินงานในประเทศไทยของบริษัท อรรถบูรณ จํากัด ไดแนะนํา DISC ROTOR จานเบรกที่ผาน มาตรฐานการผลิตสูงสุด ดวยการขึ้นรูปแบบ CNC SYSTEM ตามมาตรฐานประเทศญี่ปุน JIS:04421 มีความละเอียดของ ผิวสัมผัส 6.3 mm. ปราศจากอาการแกวงสายทุกจุดผาน เทคโนโลยีการหลอดวยระบบ STACK MOLD ทําใหมีความ หนาแนนสมํา่ เสมอ แข็งแกรงตลอดทัง้ ชิน้ โมเลกุลนํา้ รูปลักษณ ของจานเบรกถูกออกแบบใหมีลักษณะเรียบไรโพรงอากาศ ไมแตกราว มีความปลอดภัยถึงขีดสุด ดวย SAFETY PREVENTIVE MANAGEMENT นอกจากนี้จุดเชื่อมตอเปนแบบ CHAMFER ไมแตกราวเมื่อมีแรงบิดสูง สามารถลบรอยคมทุกจุด
RFID นวัตกรรมลดตนทุน บริษทั เอเซนเทค (ประเทศไทย) จํากัด แนะนํา RFID (Radio Frequency Identification) ใหกับภาคอุตสาหกรรมและโลจิสติกส เพื่อชวยอํานวย ความสะดวก รวดเร็ว ปองกันความผิดพลาด และลดตนทุนดานการขนสง ใหกับผูประกอบการในการนํามาประยุกตใชกับธุรกิจ เชน ใชนับสตอก สินคาแบบเรียลไทมปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้นทั้งสินคาสูญหายและเช็ค จํานวนสินคาคงเหลือในคลังสินคา เปนตน ซึ่งเอเซนเทคเปนผูผลิต REID TAG INVENGO ไดรับ Certificated Waimart ในดานคุณภาพที่ทําใหลูกคา มั่นใจในประสิทธิภาพของอุปกรณ นวัตกรรมนี้แบงออกเปนนวัตกรรม สําหรับขายและนวัตกรรมใหเชาแกผูที่มีความสนใจไมวาจะเปนภาครัฐหรือ เอกชน โดยเอเซนเทคไดเขาไปดูแลโครงการตาง ๆ ไดแก โครงการ RFID Pallet และโครงการสงเสริมการปรับกระบวนการโลจิสติกส ตลอดถึงออกแบบตัวรับสัญญาณที่สามารถใสลงไปใน Pallet
ชุดติดตัง้ กาซ CNG สําหรับกระบะ Ford F-150 เมื่อ 2 ปกอน Ford ไดเปดตัวชุดอุปกรณติดตั้งระบบ CNG/LPG จากโรงงาน โดยใชงานรวมกับเครื่องยนต 3.7 ลิตร V6 โดยวิ่ง ไดไกลถึง 1,207 กม.และอัตราสิ้นเปลืองทําได 9.8 กม./ลิตร เมื่อขับบนเสนทางไฮเวย และจะติดตั้งในรุน F-150 ตอนเดียว และลาสุด Ford ไดแนะนําชุดอุปกรณติดตั้งกาซ CNG อีกครั้ง โดยนํามาติดตั้งในรุน Ford F-150 เจน 13 ที่ใชเครื่องยนตขนาด 5.0 ลิตร V8 โดยแพ็คเกจชุดติดตั้งอยุที่ 315 ดอลลาร หรือ ประมาณ 10,500 บาท ประกอบดวยวาลวหัวถัง บาวาลว และ ลูกสูบ-แหวน ซึ่งขึ้นอยูกับระบบที่เลือกใชเพื่อรองรับทั้งนํ้ามัน และกาซ CNG และถาตองการถังกาซพรอมชุดติดตั้ง สายสง และชุ ด หั ว ฉี ด ต องจ ายเงิ นเพิ่มอีก 7,500-9,500 ดอลลาร หรือราว 250,200- 316,900 บาท ขึ้นอยูกับความจุของถังกาซ PB50
June June2015 2015
Special Feature จีรพร ทิพย์เคลือบ
ËÒ¡àÃÒŒ͹àÇÅÒ¡ÅѺä»Âѧ¨Ø´àÃÔ่ÁµŒ¹¢Í§ÁÒÊ´ŒÒ ã¹»ÃÐà·Èä·Â¤ÃÑ้§ááàÁ×่Í»‚ ¾.È. 2538 㹡Òà ࢌÒÁÒµÑ้§âç§Ò¹¼ÅԵö¹µ «Ö่§à»š¹¡ÒÃËÇÁ·Ø¹ ÃÐËÇ‹Ò§ ÁÒÊ´ŒÒ ÁÍàµÍà ¤Í»Íà àêÑ่¹ (»ÃÐà·È ÞÕ่»Ø†¹) ¡Ñº¾Ñ¹¸ÁԵà ÀÒÂ㵌ª×่Í ºÃÔÉÑ· ÍÍⵌ ÍÑÅÅÒÂá͹« (»ÃÐà·Èä·Â) ¨ํÒ¡Ñ´ à¾×่Í·ํÒ¡Òà ¼ÅÔ µ ö¡ÃкÐà¾×่ Í ¡ÒÃ¾Ò³Ô ª  á ÅÐö¹µ ¹Ñ่§Ê‹Ç¹ºØ¤¤ÅÊํÒËÃѺ¨ํÒ˹‹ÒÂã¹»ÃÐà·Èä·ÂáÅÐ à¾×่Í¡ÒÃÊ‹§Í͡仨ํÒ˹‹ÒÂ¡Ç‹Ò 140 »ÃÐà·È
ผลัศูนกยดักลางกระจายอะไหล นไทย ในอาเซียน
ลาสุด มาสดา มอเตอร ประเทศญี่ปุน รวมกับโรงงานผลิต รถยนต ออโตอัลลายแอนซ (ประเทศไทย) สงความเชื่อมั่นตอ อุตสาหกรรมยานยนตไทย ดวยการเพิม่ เงินลงทุนอีกกวาหนึง่ หมืน่ ลานบาท เพื่อเริ่มสายการผลิตรถยนต All-NewMazda2 ซึ่งเปน รถยนตภายใตโครงการรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล ระยะที่ 2 ซึง่ รถยนต All-New Mazda2 นี้ นับเปนรถยนตทที่ นั สมัย ที่สุดในรถระดับเดียวกัน ซึ่งมาพรอมกับเทคโนโลยีสกายแอคทีฟ เต็มคันพรอมทั้งเครื่องยนตคลีนดีเซลและเครื่องยนตเบนซิน ประสิทธิภาพสูง มุงสงเสริมประเทศไทยใหกลายเปนศูนยกลาง การผลิตรถยนตมาสดาที่ใ หญที่สุดในอาเซียน
มร.ฮิเดสึเกะ ทาเกสึเอะ ประธานบริหาร บริษัท มาสดาเซลส (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “ประเทศไทยเปนฐานการผลิตภาค อุตสาหกรรมยานยนตที่ใหญที่สุดจากการสงเสริมและสนับสนุน ดานการลงทุนจากทางภาครัฐที่สําคัญ อีกทั้งภาคเอกชนก็มีทั้ง ศั ก ยภาพและความพร อ มด า นการผลิ ต ชิ้ น ส ว นและการผลิ ต ยานยนตผลักดันอุตสาหกรรมยานยนต ชิ้นสวนประกอบ อะไหล ยานยนต ทําใหตลาดเติบโตจนเปนสวนสําคัญในการขับเคลื่อน การสงออกและเศรษฐกิจในประเทศไทย” ศู น ย ก ระจายอะไหล แ ห ง ใหม ข องมาสด า นี้ จ ะช ว ยส ง เสริ ม ให มาสดาสามารถใหบริการงานอะไหลไดดวยคุณภาพดานการ บริการสูงสุด เนื่องจากสามารถทําการควบคุมการปฏิบัติงานได อยางเต็มที่ครอบคลุมภูมิภาคเอเชียแปซิฟกอันประกอบดวย ประเทศไทยและประเทศในกลุมอาเซียนอื่น ๆ มีศักยภาพสูง
ไมตองสงสัยเลยวานี่คือตลาดที่สําคัญที่สุดของมาสดาในการ ขยายธุรกิจใหเติบโต อีกทั้งศูนยฯ แหงนี้จะเปนศูนยกลางการ ปฏิบัติงานบริการในระดับภูมิภาค ดังนั้น มาสดาจึงถือเปนบริษัท รถยนตทเี่ ขามาลงทุนในประเทศไทยดวยมูลคาการลงทุนมหาศาล พร อ มทั้ ง ส ง ผลให ป ระเทศไทยกลายเป น ศู น ย ก ลางการผลิ ต รถยนตมาสดาที่สําคัญแหงหนึ่งของโลก นอกเหนือจากประเทศ ญี่ปุน ประเทศจีน และลาสุดประเทศเม็กซิโก สําหรับศูนยการกระจายอะไหลของมาสดาเปนการรวมมือกันกับ พันธมิตรระหวาง บริษัท มาสดา โลจิสติกส จํากัด และ บริษัท ยูเซ็น โลจิสติกส (ประเทศไทย) จํากัด ภายใตชื่อบริษัทใหมคือ Mazda Logistics & Yusen (Asia) Co., Ltd. มีพื้นที่รวมทั้งหมด ประมาณ 22,281 ตารางเมตร ซึง่ แบงเปนพืน้ ทีส่ ว นทีเ่ ปนสินคาหลัก ประมาณ 14,636 ตารางเมตรและพืน้ ทีค่ ลังสินคายอยอีกประมาณ 7,645 ตารางเมตร มีจาํ นวนอะไหลหมุนเวียนเขา-ออกทัง้ สิน้ ประมาณ 53,500 รายการ มูลคาสินคาหมุนเวียนในโกดังประมาณ 360 ลานบาท ศูนยกระจายอะไหลแหงใหมนี้มีซัพพลายเออรสงชิ้นสวนเขามา ประมาณ 260 ราย เพือ่ ทําแพ็กเกจจิง้ แลวสงออกไปยังศูนยบริการ มาสดาทั้ง 125 แหงทั่วประเทศไทย โดยในสวนของกรุงเทพฯ จะมีรถจัดสงจํานวน 6 คัน จัดสงวันละ 2 เที่ยวตอวัน ตางจังหวัด 1 เที่ยวตอวัน นอกจากนี้ศูนยกระจายอะไหลมาสดาแหงใหมนี้ ยั ง ทํ า การส ง ออกอะไหล ไ ปจํ า หน า ยยั ง ต า งประเทศที่ อ ยู ใ น ภูมิภาคอาเซียน และทั่วโลกอีกกวา 100 ประเทศ June June2015 2015 51PB
Renergy
คุณพิชัย ถินสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
เกษตรพลังงาน – สร้างสมดุลเกษตรกรรมสูค่ วามยัง่ ยืน ใน พ.ศ.นี้ ภาคเกษตรกรรมคงต้องยอมรับว่า พลังงานทดแทนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชีวมวล ก� า ลั ง เป็ น ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ ช ่ ว ยให้ ภ าคเกษตร มีความยั่งยืนและเข้มแข็งขึ้น วันนี้ไทยอาจ ไม่จ�าเป็นต้องเป็นผู้ส่งออกพืชตัวใดตัวหนึ่ง เป็นอันดับ 1 ของโลก และอาจไม่จ�าเป็น ต้องเป็นครัวของโลก หากโลกนี้ยังคงกด ราคาอาหารและสร้างเงื่อนไขมากมายกับ การส่ ง ออกของไทย แต่ สิ่ ง ที่ จ� าเป็ น ที่ สุ ด น่าจะเป็นเรื่องของการบริหารจัดการพื้นที่ เพาะปลูก จ�านวน 165,000 ตารางกิโลเมตร ให้เกิดความสมดุล ไม่ต้องประกันราคาหรือ จ� า น� า กั น ทุ ก รั ฐ บาล ชาวไร่ ไ ม่ ต ้ อ งน� าพื ช ราคาตกมาเทประท้วงตามท้องถนน เราปลูก ในสิ่งที่เราจ�าเป็นส่งออกเท่าที่เราเหลือน�า ส่วนเกินและเศษเหลือทิ้งมาผลิตพลังงาน ทดแทนลดการน� า เข้ า พลั ง งานจากซาก ดึกด�าบรรพ์ (Fossil) ภาคเกษตรกรรมและพลังงานถูกหลอมรวมกัน ในช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมานี้อย่างแนบเนียน จนแยกไม่ค่อยออก หรือบางท่านก็ไม่ทราบ ด้วยซ�้าว่า นี่คือ “เกษตรพลังงาน” สมมติ ว่าถ้ามีใครถามว่า “วันนี้ท่านใช้พลังงาน 5252
June2015 2015 June
ทดแทนแล้วหรือยัง…?” บางท่านอาจท�าหน้างง ๆ ตอบไม่ถกู แล้วคิดไปเองว่าเป็นปมด้อย หากไม่ใช้พลังงานทดแทน แต่แท้ที่จริงแล้วพลังงานทดแทนไทยแทรกอยู่ในทุกแห่งหนของ ชีวิตประจ�าวันคนไทยไปแล้ว พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน 2-3% ที่ขายเข้าสายส่ง ไปแล้วกระจายไปทั่วประเทศ ท�าให้ไฟที่ชาร์จมือถือของท่านก็มีส่วนที่ผลิตจากพลังงาน ทดแทน น�้ามันเบนซินและดีเซลมีส่วนผสมของพลังงานทดแทน 5 - 85% และยิ่งไปกว่านั้น หาก พ.ร.บ.พลังงานทดแทน ทีท่ าง คสช.ก�าลังท�าคลอดอยูร่ อดเป็นทารกและเติบโตแข็งแรง วันนั้นจะไม่มีใครถามว่า “วันนี้คุณใช้พลังงานทดแทนแล้วหรือยัง” เมื่อเข้าใจตรงกันแล้ว ก็จะน�าท่านที่อยู่นอกวงการไปรู้จักกับเกษตรพลังงานตัวแม่ นั่นก็คือ “อ้อยและน�้าตาล” ที่บรมครูสุนทรภู่เคยกล่าวไว้ว่า “อันอ้อยตาลหวานสิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รหู้ าย” ในยุคสมัยนีล้ มปากอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ ดังนัน้ ชาวไร่ออ้ ย และโรงงานน�้าตาลจึงมีอัตราแบ่งปันกันตามกฎหมาย 70 : 30 ชาวไร่ลงทุนลงแรงมากกว่า แบ่งไป 70% ซึ่งเพียงพอให้ชาวไร่อ้อยลืมตาอ้าปาก มีรถปิคอัพคันงามขับรับ-ส่งครอบครัว ทุกวันนี้เกือบทุกชิ้นส่วนของอ้อยได้น�าไปใช้ประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นกากน�้าตาล ชานอ้อย ใบอ้อย ฯลฯ น�ามาผลิตไฟฟ้าและเอทานอลผสมเบนซินเติมรถเก๋งคันหรูอยู่ทั่วเมือง พืชอันดับต่อไป ก็คือ ปาล์มน�้ามัน พืชพลังงานที่หล่อเลี้ยงพี่น้องชาวภาคใต้ ภาคอีสาน และภาคตะวันออก มาโดยตลอด ถึงแม้จะถูกการเมืองแทรกแซงน�าน�้ามันปาล์มเข้ามาบ้าง แต่ชาวสวนปาล์มก็ยังยืนหยัดอยู่ได้ ปาล์มน�้ามันมีความคล้ายคลึงกับอ้อยคือ หลังจากสกัด น�้ามัน ที่เราเรียกว่า CPO : Crude Palm Oil ออกไปแล้วจะเหลือทลายปาล์มเปล่า เหมือนอ้อยที่มีชานอ้อยเหลืออยู่ ซึ่งสามารถน�าไปใช้ผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวมวล หรือน�าไป หมักเอาก๊าซชีวภาพสุดแล้วแต่ตอ้ งการพลังงานชนิดไหน ปัจจุบนั กระทรวงพลังงานชาญฉลาด ใช้ไบโอดีเซลที่ผลิตจาก CPO เป็นเครื่องมือในการรักษาดุลยภาพราคาผลปาล์ม ระหว่าง การใช้เป็นอาหารและพลังงาน โดยช่วงปาล์มขาดแคลนก็ผลิตไบโอดีเซลน้อยลง ผลิตน�้ามัน
พืชบริโภคมากขึ้น ดังนั้นไบโอดีเซลบ้านเราจึงมีเกรดเดียว อาจเรียก กรีนดีเซล ก็คงไม่ผิด วันนี้ส่วนผสมของไบโอดีเซล B100 (100%) อยู ่ ร ะหว่ า ง 1% - 7% ในอนาคตอั น ใกล้ อ าจผสมได้ ถึ ง 10% นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีในการผลิตไบโอดีเซลใหม่ ๆ ที่มีความ ทันสมัยอยู่ในระหว่างการพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ มันส�ำปะหลัง เป็นพืชที่เคยถูกจัดอันดับให้เป็นพืชที่มีผลตอบแทน ต่อไร่ต�่าที่สุด เมื่อใดที่มีพืชตัวใหม่จะเข้ามาส่งเสริมเป็นต้องใช้ราคา มันส�าปะหลังเป็นตัวเปรียบเทียบเสมอมา วันนี้ถึงแม้มันส�าปะหลัง จะเป็นหนึ่งในพืชหลักของไทย แต่ราคาก็ยังผันผวน ยิ่งถ้ารัฐบาล กดราคาเอทานอลลง ก็อาจส่งผลกระทบกับผูป้ ลูกมันส�าปะหลังทันที การส่งออกมันส�าปะหลังส่วนใหญ่ยังต้องอาศัยตลาดประเทศจีน ซึ่งก่อนหน้านี้ดีกว่าในปัจจุบัน ไทยคงต้องหันมาพัฒนาการผลิต พลังงานจากมันส�าปะหลังมากขึ้น อาจเป็นการพัฒนาเทคโนโลยี การเพิ่มปริมาณการใช้เอทานอล ซึ่งคงจะดีกว่าทุ่มทุนไปน�าเข้า พลังงานทดแทนที่ไทยเองได้แค่ติดตั้งเครื่องจักร ในบรรดาราคาพืชหลักของประเทศไทย อันได้แก่ ข้าว มันส�าปะหลัง อ้อย ปาล์มน�า้ มัน และยางพารา จะเห็นได้วา่ ยางพาราเป็นไม้ยนื ต้น ที่ต้องมีการวางแผนการปลูกให้ดี เนื่องจากยางพาราต้องแข่งขัน ราคากั บ พลั ง งานจากฟอสซิ ล อั น เนื่ อ งมาจากยางเที ย มเป็ น ผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตน�้ามันนั่นเอง แต่ยางพาราก็มี จุดแข็งคือ ต้นยางพาราสามารถใช้ประโยชน์ได้แทบทุกชิ้นส่วน วันนี้ คสช. มีนโยบายให้ตัดลดปริมาณสวนยางลง เพื่อเป็นการพยุงราคา ยางแผ่น ซึ่งโดยปกติสวนยางที่อายุเกิน 20 ปี ก็ต้องตัดโค่น ปลูกใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตอยู่แล้ว แต่ชาวไร่ยังต้องอาศัยรายได้จาก การขายน�้ายางพาราจึงยังไม่มีการตัดโคนมากเท่าที่ควร
ขอก้ าวข้ ามไปถึ ง เรื่ องของป่า ไม้ในประเทศไทย บางท่า นอาจ ไม่ทราบว่า ป่าไม้ของไทยในส่วนของป่าอนุรักษ์ เราสามารถรักษา ให้อยู่ในเป้าหมายได้ ส่วนป่าเศรษฐกิจเรามีไม่เพียงพอ ดังนั้น การปลูกไม้ยืนต้นประเภทพืชพลังงานรวมทั้งยางพารายังถือว่า เป็นเรื่องจ�าเป็น ส่วนพืชโตเร็ว เช่น สแกนา กฐินยักษ์ ฯลฯ รัฐก็ควร ส่งเสริมให้ปลูกเพื่อผลิตพลังงานจะถือว่าเป็นการปลูกป่าเศรษฐกิจ เพิ่มขึ้น และช่วยให้ชาวสวนมีรายได้เพิ่มขึ้น ต้นยางหมดอายุหนึ่งต้น ที่ถูกตัดโค่นจะมีส่วนใช้ประโยชน์มากมาย โรงเลื่อยทั่วไปหันมาน�าส่วนที่เหลือจากการผลิตไม้แผ่น มาผลิต Biomass Pellets ซึ่งตลาดส่งออกราคาค่อนข้างดีตามที่เคยเสนอ ข่าวไปแล้ว แต่ปัจจุบันราคาอาจจะผันผวนไปบ้าง ซึ่งภาครัฐควร หันมาส่งเสริมให้ใช้ Wood Pellets ในโรงงานอุตสาหกรรมจะเกิด ความยั่งยืนกว่าการอาศัยตลาดส่งออกเพียงอย่างเดียว คงต้องมี เจ้ าภาพที่ มีทั้ง อ� านาจและหน้า ที่เข้า มาช่วย นอกจากนี้การขอ ใบอนุญาตจากกรมป่าไม้เพื่อยืนยันว่าไม่ได้ผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง จากการตัดไม้ทา� ลายป่า (FSC) ก็ดเู หมือนจะไม่ใช่เรือ่ งง่าย ๆ อีกต่อไป
จำกกำรยกตัวอย่ำงพืชหลัก 4 ชนิด ซึ่งสร้ำงมูลค่ำเพิ่มทั้งด้ำน เกษตรและพลังงำนมำให้ดูตัวอย่ำงแล้วนั้น ได้เวลำหรือยังที่ ประเทศไทยจะมีกำรก�ำหนดยุทธศำสตร์เศรษฐกิจไปสู่เกษตร พลังงำนอย่ำงเป็นรูปธรรม เฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข ระหว่ำงผู้ปลูก ไปจนถึ ง ผู ้ ผ ลิ ต พลั ง งำน และหนึ่ ง ในผู ้ ใ ห้ แ นวคิ ด นี้ ก็ คื อ ดร.ทวำรัฐ สูตบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงำน ผู้เขียนในฐำนะ สื่อและผู้ประกอบกำรพลังงำนทดแทน ใคร่ขอเชิญท่ำนที่มีส่วน เกีย่ วข้องร่วมเป็นเจ้ำภำพในกำรพัฒนำเกษตรสูพ ่ ลังงำน จะออก พ.ร.บ. หรือ ม.44 นำทีนี้ท�ำได้ถ้ำชำติได้ประโยชน์
June2015 2015 5353 June
Energy Management อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์
รพ.กรุงเทพจันทบุรี หนุนลดใชพลังงาน
เนนใหความรูผานกิจกรรมการมีสวนรวมของบุคลากร
»˜¨¨Øº¹Ñ »˜ÞËÒ´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹áÅÐÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁã¹»ÃÐà·Èä·Â ¹Ñºä´ŒÇ‹ÒÍÂÙ‹ã¹¢Ñ้¹Çԡĵ ¢ÍµÑÇÍ‹ҧ¡Ã³ÕÈÖ¡ÉÒઋ¹ âç¾ÂÒºÒÅ¡Ãا෾¨Ñ¹·ºØÃÕ·Õ่ÁÕ¤‹Ò㪌¨‹ÒÂÊÙ§¢Ö้¹Í‹ҧ µ‹Íà¹×่ͧ㹷ء´ŒÒ¹ ઋ¹ ¤‹Ò㪌¨‹Ò´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò µŒ¹·Ø¹¤‹Ò㪌¨‹ÒÂ㹡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¼ÙŒ»†Ç à§Ô¹à´×͹ºØ¤Åҡà ໚¹µŒ¹ â´Â·Õ่âç¾ÂÒºÒÅÏäÁ‹ÊÒÁÒö¼ÅÑ¡ÀÒÃйÕ้ãËŒ ¡Ñº¼Ù·Œ ÁÕ่ Ò㪌ºÃÔ¡Òà ´ŒÇ¡ÒûÃѺ¢Ö¹ ้ ¤‹ÒºÃÔ¡Òà ´Ñ§¹Ñ¹ ้ ·Ò§âç¾ÂÒºÒŨ֧䴌µÃÐË¹Ñ¡Ç‹Ò ËÒ¡äÁ‹Ã‹ÇÁÁ×͡ѹ Å´¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹áÅÐäÁ‹Å´µŒ¹·Ø¹¤‹Ò㪌¨Ò‹  âç¾ÂÒºÒÅÏ ÍÒ¨»ÃÐʺ¡ÑºÇԡĵÔàÈÃÉ°¡Ô¨·Ò§´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹¨Ö§Áا‹ Áѹ ่ ໚¹Í§¤ ¡ÃÊ‹§àÊÃÔÁóç¤ ´ÒŒ ¹¡ÒÃ͹Øá Ñ É ¾Åѧ§Ò¹à»š¹ ẺÍ‹ҧ·Õ่´Õ ÃÇÁ¶Ö§à¼Âá¾Ã‹¤ÇÒÁÃÙŒ´ŒÒ¹¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾ÅÑ §§Ò¹á¡‹ Êѧ¤ÁÍÕ¡´ŒÇ  ¨Ö§ÃÔàÃÔ่Áâ¤Ã§¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ã¹»‚ ¾.È. 2554 áÅÐÁÕ¡ÒôํÒà¹Ô¹§Ò¹ÁÒÍ‹ҧ µ‹ Í à¹×่ Í § à¾×่ Í à»š ¹ ¡ÒÃÊ‹ § àÊÃÔ Á ãËŒ ÁÕ ¡ ÒÃ¾Ñ ² ¹Ò´Œ Ò ¹ ¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧÂÑ่§Â×¹ ¨Ö§ä´ŒÇ‹Ò¨ŒÒ§ ºÃÔÉÑ· ÍÔ¹â¹àǪÑ่¹ à·¤â¹âÅÂÕ ¨ํÒ¡Ñ´ ࢌÒÁÒ໚¹·Õ่»ÃÖ¡ÉÒ´ŒÒ¹¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹áÅÐâç¾ÂÒºÒÅÁÕ¤ÇÒÁÁØ‹§ÁÑ่¹´ํÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·ํÒ Ãкº ISO 50001 ãËŒàÊÃ็¨ÊÔ¹ ้ ÊÁºÙó â´Âä´Œ¡Òํ ˹´ ໇ÒËÁÒ¢ÍÃѺ¡ÒÃÃѺÃͧ㹻‚ 2559 à¾×่ÍãËŒÃкºä´Œ ¾Ñ²¹ÒºØ¤ÅÒ¡ÃáÅкؤÅҡþѲ¹ÒÃкºÍ‹ҧµ‹Íà¹×Í่ §
5454
June June2015 2015
จากนโยบาย “Green Health Green Hospital” ของเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ โดยประธานคณะผูบ ริหาร นายแพทยประเสริฐ ปราสาททองโอสถ ไดแสดง ถึงความมุง มัน่ เปนโรงพยาบาลสีเขียวในดานการรักษาพยาบาล รวมถึงการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม จึงเปนทีม่ าของวิสยั ทัศน ทานผูอ าํ นวยการโรงพยาบาลกรุงเทพจันทบุรี นายแพทยสมชาย ภูนวกุล ทีม่ งุ มัน่ เปน “โรงพยาบาลสีเขียวสูศ นู ยการเรียนรูพ ลังงานสีเขียว : Green Hospital To Green Energy Learning Center” โดยทานผูอ าํ นวยการไดให คํามั่นสัญญาเรื่องการอนุรักษพลังงานไววา “เราจะมุงมั่นรวมกันพัฒนา กระบวนการอนุรกั ษพลังงาน จนเกิดเปนศูนยการเรียนรูด า นการอนุรกั ษ พลังงานใหแกชุมชน เพื่อใหเกิดประโยชนแกสังคมอยางแทจริงและ ยัง่ ยืน” จากคํามัน่ สัญญาทีใ่ หไวไดกาํ หนดเปนนโยบายการอนุรกั ษพลังงาน และประกาศใหบคุ ลากรรับทราบและปฏิบตั โิ ดยพรอมเพรียงกัน ตัวอยางกิจกรรมภายใน “BCH Energy Day” โรงพยาบาลไดมีการจัด กิจกรรมขึ้นเปนประจําทุกป เพื่อแสดงผลงานดานการอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอมประจําป โดยมีการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของแผนกอนุรกั ษ พลังงานดีเดน มีการประกวดการอนุรักษพลังงานที่บาน (Green Home Happy Home) นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมอบรมเพือ่ พัฒนาความรูด า นพลังงาน ให กั บ ผู บ ริ ห ารและหั ว หน า แผนกการรณรงค ก ารใช บั น ไดแทนลิ ฟ ต “ลดพลังงาน เพิ่มพลังกาย” เปนตน สําหรับกิจกรรมภายนอก มีการสอดแทรกความรูเ รือ่ งพลังงานใหกบั บุคลากร บุคคลภายนอก และศึกษาดูงานหนวยงานภายนอก เพือ่ นําไปเปนแนวทาง การประหยัดพลังงานในชีวติ ประจําวัน ซึง่ เปนภารกิจสําคัญของโรงพยาบาล คณะทํางานไดดาํ เนินการจัดกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ เพือ่ เผยแพรความรู ดานพลังงานใหกบั ทุกภาคสวนเกิดความตระหนักและเห็นความสําคัญในการ
อนุรกั ษ์พลังงาน เช่น การเปลีย่ นหลอดไฟประหยัดพลังงาน (LED) ให้กบั โรงเรียน วัด กิจกรรมคุง้ กระเบนเทิดไท้องค์ราชัน เพือ่ สร้างจิตส�านึกในการ อนุรกั ษ์ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมทางทะเล ด้านการพัฒนาการมีส่วนร่วมและการให้ความรู้พนักงาน มีการพัฒนา โครงการอบรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ พื้ น ฐานความรู ้ ใ น แต่ละระดับของบุคลากร โดยเน้นการมีส่วนร่วมผ่านกิจกรรมกระตุ้นและ สร้างแรงจูงใจ เช่น โครงการประกวดมาตรการอนุรักษ์พลังงานในแผนก โครงการ Green Home Happy Home ตลอดจนการอบรมเทคนิคใน การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานทั้ ง ในภาคทฤษฏี แ ละปฏิ บั ติ ผ่ า น Workshop “ตามหารอยรั่วพลังงาน” มีการน�าแนวคิด LEANR2R มาประยุกต์ ปรับปรุงกระบวนการท�างานให้เกิดการประหยัดพลังงาน รวมถึงการน�า ความรูไ้ ปเผยแพร่ให้กบั ผูท้ สี่ นใจ เพือ่ เป็น “ศูนย์การเรียนรูพ ้ ลังงานสีเขียว” สู่ความยั่งยืนด้านการอนุรักษ์พลังงานให้กับองค์กรและชุมชน ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพเครือ่ งจักร การลงทุนด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน โรงพยาบาลได้พิจารณาจากอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานสูง ได้แก่ ระบบปรับ อากาศแบบรวมศูนย์ โดยได้ลงทุนติดตั้งเครื่องท�าน�้าเย็นประสิทธิภาพ สูงเพิ่ม ร่วมกับ ระบบ BAS (Temp.Control จากส่วนกลาง) การใช้ตัว ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ (VSD) Chiller Pump, Cooling Tower และ CPMS (Chiller Plant Management Systems) ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิ และการท�างานของเครื่องท�าน�้าเย็น (Chiller) จากห้องควบคุม และ Software “I-Check” ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน ติดตั้งเครื่องปรับ อากาศแบบ VRF แทนเครือ่ งปรับอากาศแบบแยกส่วนทีใ่ ช้งานมานานและ ประสิทธิภาพต�่า ใช้ Software “I-Check” ผ่านระบบ Smart Devices ใน การบ�ารุงรักษาและเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์หาประสิทธิภาพเครื่องจักร ในส่วนระบบแสงสว่าง เปลี่ยนใช้หลอดไฟฟ้าชนิด LED, Motion Sensor with Dimmer LED ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2555 โรงพยาบาลได้จัดสรรเงินลงทุน โครงการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้โครงการมุ่งเน้นให้เกิด
ผลประหยั ด ทางด้ า นเศรษฐศาสตร์ แ ล้ ว โรงพยาบาลฯยังมีแนวคิดจัดท�าโครงการ เพื่อลดผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อมด้วย เช่น โครงการ Solar Street Lamp ที่ใช้ พลังงานจากแสงอาทิตย์ผลิตไฟฟ้าส�าหรับ แสงสว่างทีถ่ นนหน้าอาคาร การสร้างบ่อรับ น�้ า ฝนและใช้ ง านร่ ว มกั บ SolarPump ในการรดน�้าต้นไม้ ใช้ Heat Recovery โดย น�าความร้อนทิง้ จากเครือ่ งปรับอากาศของ ห้ อ งพั ก ผู ้ ป ่ ว ยมาผลิ ต น�้ าร้ อ นใช้ ภ ายใน ห้องพักและ Solar collector ผลิตน�้าร้อน เพื่อใช้ใ นกระบวนการซักผ้า แทนการใช้ Heater ไฟฟ้ า ถึ ง แม้ จ ะเป็ น โครงการ ที่ใช้ระยะเวลาในการคุ้มทุนนาน แต่ทาง โรงพยาบาลฯ ก็มไิ ด้ละเลยทีจ่ ะด�าเนินการ เพือ่ เป็นการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ที่ ส ะอาด เพื่ อ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มสู ่ ศู น ย์ การเรียนรูพ้ ลังงานสีเขียว ซึง่ ผลการด�าเนินโครงการ 3 ปี สามารถประหยัด ได้ถึง 6,685,418 บาท มีระยะเวลาคุ้มทุนเฉลี่ยอยู่ที่ 2.16 ปี ด้านการพัฒนาระบบเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ประธานคณะกรรมการ พลังงาน นพ.สมชาย ภูนวกุล ได้น�าแนวคิด ระบบ HA (Hospital Accreditation) ISO 14001 : 2004 OHSAS 18001 : 2007 มาใช้ ล่าสุด ได้เริม่ น�าระบบ ISO 50001 : 2011 เข้ามาใช้กบั องค์กรเพือ่ พัฒนาบุคลากร ให้เชี่ยวชาญและเกิดความภาคภูมิใจในการพัฒนาระบบการอนุรักษ์ พลังงานให้สา� เร็จอย่างยัง่ ยืน และเผยแพร่เป็นประโยชน์ตอ่ องค์กรอืน่ และ สังคมต่อไป
ผลลัพธ์การจัดการพลังงาน
โรงพยาบาลด�าเนินโครงการอนุรกั ษ์พลังงานอย่างเป็นระบบตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2554 เริม่ มีการจัดเก็บข้อมูลการใช้พลังงานอย่างเป็นระบบ การใช้พลังงาน ส่วนใหญ่ คือ พลังงานไฟฟ้า ผลประหยัดรวมพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบ กับจ�านวนผู้ป่วย พบว่า ดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับ APD ลดลงได้ถึง 22% โดยลดจากการสูญเสียที่ไม่จ�าเป็น มีประสิทธิภาพสูงสุด ส่งผลให้ โรงพยาบาลมีรายได้เพิ่มจากปี พ.ศ. 2557 เปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2554 ถึง 45% โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการให้บริการผู้ป่วย
“การร่วมแรงร่วมใจท�ากิจกรรมอนุรกั ษ์พลังงานทีผ่ า่ นมา ท�าให้เราได้เรียนรูว้ า่ ในอดีตมีความสูญเปล่าของการใช้ ทรัพยากรต่างๆ มากมาย และท�าให้เรารูว้ า่ เราสามารถ ลดความสูญเปล่านัน้ ได้ผา่ นกระบวนการมีสว่ นร่วมของ สมาชิกทุกคนในองค์กรอย่างเป็นระบบ นี่คือเหตุผล ส�าคัญทีเ่ ราร่วมกันพัฒนากระบวนการอนุรกั ษ์พลังงาน จนเกิดเป็นศูนย์การเรียนรูด้ า้ นการอนุรกั ษ์พลังงานให้แก่ ชุมชน เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคมอย่างแท้จริงและ ยัง่ ยืน” June June2015 2015 5555
Building Management
ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร DGNB คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองประธานสถาบันอาคารเขียวไทย
Zero-energy กับ อาคารเขียว PB56
June June2015 2015
การประหยัดพลังงานกับความเป็นอาคารเขียวเป็นสิง่ ทีแ่ ยกกัน ไม่ออก ผู้ออกแบบและเจ้าของอาคารจ�านวนมากจะนึกถึง การประหยั ด พลั ง งานของอาคารเป็ น สิ่ ง เริ่ ม ต้ น ในการท� า อาคารเขียวเสมอ และองค์ประกอบอาคาร เช่น หลอดไฟ LED เครื่องท�าความเย็นในระบบปรับอากาศ ฉนวนกันความร้อน หรือกระจก Low-e มักจะเป็นประเด็นต้น ๆ ที่ต้องพิจารณา ในการออกแบบ ทั้งด้านงบประมาณและความเหมาะสมทาง เทคนิค ซึ่งเหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่าประเด็นที่ผลักดัน กระแสการก่อสร้างอาคารเขียว ก็คือ ภาวะโลกร้อน หรือ Global Warming ซึ่งเกิดขึ้นจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในบรรยากาศโลกและการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ก็เป็นตัวการส�าคัญ ดังนัน้ หากลดการใช้พลังงานจากโรงไฟฟ้าได้ ก็จะลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อนได้นั่นเอง ซึ่งนั่นคือท�าไมจึงต้องกล่าวถึงการประหยัด พลังงานเสมอในการออกแบบอาคารเขียว เมื่อทศวรรษที่แล้ว ทั่วโลกใช้ค�าว่า “การออกแบบที่ยั่งยืน” หรือ “Sustainable Design” ซึ่งหมายถึงการออกแบบที่พยายามรักษาทรัพยากรต่าง ๆ ที่เรามีในวันนี้ให้ลูกหลานใช้สอย ได้ เ หมื อ นกั น แต่ วั น นี้ เราก� า ลั ง มี ค� า ใหม่ ที่ เรี ย กว่ า “Regenerative Design” หรื อ “การออกแบบทีฟ ่ น้ื ฟู” ซึง่ ท�าได้ยากมากขึน้ เช่น การออกแบบทีไ่ ม่เพียงลดการปล่อยคาร์บอน แต่ต้องเป็นการออกแบบที่ดักจับคาร์บอนจากบรรยากาศกลับไปสู่ผิวโลก หรือดักจับสารพิษ VOC ขยะ ของเสีย น�้าเสียที่มีตกค้างอยู่ในน�้าหรืออากาศให้กลับเป็นสารที่ไม่เป็นพิษภัยต่อ ระบบนิเวศของโลก ทางด้านพลังงานกับอาคาร การออกแบบที่เป็น Regenerative design นับว่าเป็นสิ่งที่ยังเอื้อมไม่ถึงนัก แต่ก็เริ่มเกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว จากเดิมที่กล่าวถึง Low-energy building ก็เริ่มขยับขึ้นเป็น Zero-Energy building และ ในทศวรรษหน้าก็จะพูดถึง Energy Plus หรือ Energy Positive Building ซึ่งค�าว่า Zero Energy Building ก็คือ อาคารที่ผลิตพลังงานได้เป็นปริมาณเท่ากับที่อาคารใช้ในช่วงเวลาหนึ่ง เช่น 1 ปี ในขณะที่ Energy Plus Building ก็จะผลิตพลังงานได้มากกว่าที่อาคารต้องใช้ ท�าให้เหลือส่งขาย ได้ก�าไรกลับคืนมาสู่ผู้ลงทุน Zero-energy หรือ Energy-plus Building จะสามารถเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่ออาคารมีการ ออกแบบที่มีประสิทธิภาพสูง ร่วมกับการใช้พลังงานทดแทน เช่น โซลาร์เซลล์ ในประเทศ สหรัฐอเมริกา องค์กรส�าคัญ ๆ ได้แก่ สภาอาคารเขียวแห่งสหรัฐอเมริกา (USGBC) สมาคม สถาปนิก (AIA) สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศ (ASHRAE) สมาคมวิศวกรรมไฟฟ้าแสงสว่าง (IES) โดยการสนับสนุนของกระทรวงพลังงาน (US.DOE) ได้ก�าหนดมาตรฐานการออกแบบอาคารที่ จะช่วยลดการใช้พลังงานลง 50% จากปีฐาน ค.ศ. 2004 (ASHRAE 50% Advanced Energy Design Guidelines) เพื่อช่วยส่งเสริมให้เกิด Zero-energy building ได้ โดยรัฐบาลจะส่งเสริมให้ อาคารใช้พลังงานทดแทนอีก 50% ซึ่งประมาณการณ์ว่าภายในปี ค.ศ. 2030 อาคารทุกหลังจะ สามารถสร้างให้ประหยัดพลังงานได้ถึงขั้น Zero-energy ซึ่งเกณฑ์ออกแบบอาคาร 50% นี้ ได้ถูกบรรจุเข้าในเกณฑ์การประเมิน LEED Version 4.0 ที่จะบังคับใช้กับอาคารเขียวอย่างเป็น ทางการในเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2559 นอกจากนี้ สิง่ ทีจ่ ะเปลีย่ นไปอย่างมากในเกณฑ์การออกแบบ อาคารเขียวที่ส่งเสริมให้เกิด Zero-energy building โดยเฉพาะในเกณฑ์ LEED Version 4 ก็คือ จะไม่ยอมให้ออกแบบอาคารอย่างไรก็ได้ แล้วน�าการผลิตพลังงานจากระบบพลังงานทดแทน มาหักลบออกจากการใช้พลังงานรวมของอาคาร เพื่อค�านวณเป็น Net Energy Saving แล้ว ผ่านเกณฑ์ประสิทธิภาพพลังงานอีกแล้ว หมายความว่า อาคารที่เข้าประเมิน LEED Version 4
จะต้องประหยัดพลังงานด้วยการออกแบบรูปทรง อาคารที่ดี เปลือกอาคารที่มีประสิทธิภาพสูง ใช้แสงสว่างธรรมชาติที่พ อเหมาะ ใช้แสง ประดิษฐ์ อุปกรณ์ไฟฟ้า ปรับอากาศต่าง ๆ ที่ประหยัดพลังงานรวมกันได้ 50% เสียก่อน แล้วพลังงานไฟฟ้าจากระบบพลังงานทดแทน ที่ผลิตได้ค่อยน�ามาค�านวณเป็นคะแนนเพิ่ม ต่างหาก หากอาคารไม่ได้รับการออกแบบที่ดี ตั้งแต่แรก ไม่ผ่านเกณฑ์ 50% นี้ ต่อให้ใช้ พลั ง งานทดแทนมากมายแค่ ไ หนก็ จ ะไม่ สามารถผ่านเกณฑ์ LEED version 4 นี้ได้เลย ซึ่ง แตกต่างจากเกณฑ์ LEED version 3 ที่ ใช้ ใ นปั จ จุ บั น ซึ่ ง ยั ง ยอมให้ อ าคารที่ ไ ม่ ประหยัดพลังงานน�าพลังงานทดแทนมาหักลบ เพื่อผ่านเกณฑ์ได้ นั่นคือ สิ่งที่หลายฝ่ายเกิด การกังวลว่า LEED Version 4 จะยากเกินไป ส�าหรับอาคารในประเทศไทย ส�าหรับประเทศไทย ถึงแม้วา่ กระทรวงพลังงาน จะพยายามออกเกณฑ์การออกแบบอาคาร ประหยั ด พลั ง งานเพื่ อ น� า มาบั ง คั บ ใช้ กั บ อาคารใหม่มาตั้งแต่ปี 2538 แต่ปัจจุบัน เกณฑ์ ดั ง กล่ า วก็ ยั ง ไม่ ส ามารถน� า มาบั ง คั บ ใช้ได้ เพราะมีเสียงต่อต้านจากหลายฝ่ายที่ เกรงว่าจะท�าให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ต้องมีภาระค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างอาคาร มากเกินไป ดังนั้นดูเหมือนว่า Zero-energy Building จะยิ่งเป็นสิ่งที่เกินเอื้อมส�า หรับ ประเทศไทยไปอีกนาน
June June2015 2015 57PB
Green Logistics
ดร.สิทธิชัย ฝรังทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ความเป็นไปได้ของ Green Logistics ที่จะเข้าสู่ AEC ในปลายปีนี้ (ปี พ.ศ. 2558) จะเป็นเพียงปี แห่งการเริ่มต้นที่จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ถึงแม้ความพร้อมในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะ ทางด้านโลจิสติกส์จะยังไม่เห็นความพร้อม ของภาครัฐ ผู้ประกอบการ หรือสถาบันการ ศึกษาเท่าใดนัก อย่างไรก็ตาม หากถามถึง ความเป็นไปได้ในการที่จะเริ่มบังคับใช้หรือ เริ่มมีการด�าเนินการอะไรต่าง ๆ ถึงความ เป็นไปได้ของ Green Logistics ในปีนี้ของ
กลุ่มอาเซียน ค�าตอบสั้นมาก คือ ยังมีความเป็นไปได้น้อยมาก แต่หากจะมองในอนาคต ของธุรกิจที่จะต้องมีการท�าธุรกิจร่วมกันในกลุ่มอาเซียน มีความเป็นไปได้มากที่จะให้ความ ส�าคัญกับเรื่องนี้ โดยเฉพาะเรื่องคาร์บอน ฟุตพริ้นท์ (Carbon Foot Print) ที่ประเทศไทยได้ ด�าเนินการเรือ่ งนีม้ าตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2552 แล้ว ซึง่ เกีย่ วข้องกับปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีป่ ล่อย ออกมาจากทุกหน่วยการผลิตตลอดจนเป็นผลิตภัณฑ์ โดยค�านึงถึงเรื่อง Green Logistics and Supply Chain ในทุกกิจกรรมนั้นจะต้อง Green and Clean ตั้งแต่กิจกรรมแรก คือ การจัดหาแหล่งวัตถุดิบที่เป็นต้นทางของกิจกรรมจะต้องไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม วัตถุดิบนั้น สามารถย่อยสลายได้และไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อมจนผลิตเป็นสินค้าส�าเร็จรูป และส่งมอบ ผลิตภัณฑ์นั้นถึงมือผู้บริโภค ซึ่ง Green ที่ว่านี้คือ ทุกกระบวนการไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม และ Clean ทุกกระบวนการต้องสะอาดไม่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ผู้ผลิต ซัพพลายเออร์ ไปจนถึงผู้บริโภค โดยเฉพาะ ประเทศที่มีความพร้อมความสามารถทางด้านโลจิสติกส์และ เงินทุน เช่น ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน อาจจะมีการ ก� า หนดกฎกติ ก าแนวทางหรื อ ก� า หนดค่ า มาตรฐานของ Green Logistics ในการท�าธุรกิจร่วมกัน ส่วนประเทศอื่น ๆ ของกลุ่มอาเซียนที่ ยัง มีความพร้อมความสามารถทางด้าน โลจิสติกส์และเงินทุนอยู่ในระดับที่ด้อยกว่าอาจจะต้องกลาย เป็นผู้ท�าตามกฎดังกล่าว
58
June 2015
ส�ำหรับปัจจัยที่เป็นตัวผลักดันให้ผู้ประกอบกำรปรับตัวสู่ Green Logistics มี 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยภำยนอกที่เห็นได้ชัดก็คือ กฎกติกำระเบียบของสังคมโลกและอำเซียนจะท�ำให้ ผู้ประกอบกำรต้องปรับตัวและผลักดันให้ทุก ๆ กิจกรรมในกำรด�ำเนินกำรธุรกิจต้องเป็น Green Logistics ส่วนปัจจัยภำยในจะต้องมีกำรเตรียมควำมพร้อมในด้ำนต่ำง ๆ ไม่วำ่ จะเป็น กำรก�ำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ต้องมีกำรก�ำหนด Vision ใหม่ ในกำรสนับสนุนให้เกิดระบบ Green Logistics ในทุก ๆ กิจกรรมทั่วทั้งองค์กร ก�ำหนดเป็นนโยบำย (Policy) ในกำรจะมุ่ง ไปสู่องค์กร Green Logistics กำรสื่อสำร (Communication) ให้ทุกคนในองค์กรทรำบถึง กำรพัฒนำกำรขององค์กำรไปสู่ระบบ Green Logistics เช่น ประชำสัมพันธ์ บรรยำกำศ กิจกรรม เป็นต้น กำรตั้งคณะท�ำงำนที่จะขับเคลื่อน (Steering Committee) โดยให้ทุกคน ทุกภำคส่วนมีส่วนร่วม “ทีม” สนับสนุนและแก้ไขปัญหำระบบ Green Logistics ในทุก ๆ กิจกรรมทั่วทั้งองค์กร และกำรตรวจสอบ (Audit) เปรียบเทียบผลที่ได้รับกับแผนที่วำงไว้ รวบรวม วิเครำะห์ และหำทำงปรับปรุง เพื่อให้เกิดควำมสำมำรถทำงกำรแข่งขัน ส�ำหรับบทบำทของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งภำคผู้ประกอบกำรและรัฐบำล ถือว่ำเป็นกลไกหลัก ในกำรน�ำไปใช้ในเชิงรุก ผู้เขียนเห็นว่ำบทบำททั้งผู้ประกอบกำรและรัฐบำลต่ำงก็ให้ควำม สนใจและควำมส�ำคัญในเรื่องนี้อยู่แล้ว โดยเฉพำะผู้ประกอบกำรขนำดกลำงและขนำดใหญ่ ต่ำงก็มีกำรท�ำ Green Logistics โดยกำรลดต้นทุนและลดค่ำใช้จ่ำยในแต่ละกิจกรรมอยู่แล้ว ขณะทีผ่ ปู้ ระกอบกำรขนำดเล็กนัน้ ยังไม่สำมำรถท�ำได้มำกนัก นอกจำกนีย้ งั เป็นกำรด�ำเนินกำร ทำงอ้อมอีกด้วยในเรือ่ งของกำรแสดงควำมรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื่อกำรเพิ่มควำมสำมำรถทำงกำรแข่งขัน ส่วนภำครัฐก็ให้ควำม ส�ำคัญและควำมสนใจ โดยมอบหมำยให้หน่วยงำนภำครัฐที่ดูแลงำนทำงด้ำนโลจิสติกส์ ให้กำรส่งเสริมช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบกำรในกำรลดต้นทุนในกำรด�ำเนินธุรกิจและส่งเสริม กำรท�ำ Green Logistics
และโซ่อุปทำนให้เป็นยุทธศำสตร์หนึง่ ในกำร พัฒนำประเทศ โดยให้ควำมส�ำคัญกับกำร พัฒนำประสิทธิภำพกำรจัดกำรโลจิสติกส์ ด้ำนกำรเกษตรและอุตสำหกรรม ตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ (Upstream) จนถึงปลำยน�้ำ (Downstream) ในกำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนของประเทศ นอกจำกนี้ ยั ง ส่ ง เสริ ม กำรพั ฒ นำขี ด ควำม สำมำรถด้ำนโลจิสติกส์แก่บุคลำกรภำครัฐ และเอกชน โดยกำรฝึกอบรมและสัมมนำ เชิงปฏิบตั ิ กำรสร้ำงบุคลำกร และผูเ้ ชีย่ วชำญ ด้ำนโลจิสติกส์ ของกลุ่มอุตสำหกรรม ถึงเวลำแล้วที่หน่วยงำนภำครัฐที่ยังไม่ได้มี กำรเชื่ อ มโยงสำนงำนต่ อ กั น ในลั ก ษณะที่ เป็นจิ๊กซอว์ต่อกันทั้งระดับนโยบำย วิธีกำร หรือกำรปฏิบัติกำร ซึ่งไม่ควรที่จะมีลักษณะ กำรท�ำงำนแบบต่ำงคนต่ำงท�ำ แต่หำกจะต้อง มีกำรบูรณำกำรจับมือร่วมกันอย่ำงเป็นรูปธรรม น่ำจะเป็นประโยชน์ต่อทุกภำคส่วน ซึ่งใน อนำคตอำจจะไม่ใช่เป็นเพียง Green Logistics เท่ำนั้น แต่จะต้องเป็น Green Logistics and Supply Chain ทั้งระบบของธุรกิจ
แต่เนือ่ งจำกสถำนกำรณ์ของโลจิสติกส์ไทยในปัจจุบนั อยูใ่ นช่วงทรงตัว ไม่ได้มกี ำรเปลีย่ นแปลง อะไรหรือมีควำมเคลือ่ นไหวมำกนัก เนือ่ งจำกนโยบำยภำครัฐบำล (รักษำกำร) และหน่วยงำน ภำครัฐที่รับนโยบำยมำด�ำเนินกำรสำมำรถท�ำได้ในระดับหนึ่งเท่ำนั้น ซึ่งส่วนใหญ่ก็สำนต่อ จำกรัฐบำลเดิม โดยพยำยำมลดต้นทุนโลจิสติกส์ทั้งประเทศ และกำรพัฒนำระบบโลจิสติกส์ June 2015 PB June 2015 59
O waste idea
รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปญหาสารอินทรียปนเปอนในแหลงนํ้า ภัยที่ไมควรมองขามในการผลิตนํ้าประปา สารอินทรียละลายนํ้าในระบบการผลิตนํ้าประปามีที่มาจากแหลงนํ้าดิบที่นํามาใชในการผลิตนํ้า ประปาโดยสวนใหญแลว คือ สารอินทรียธรรมชาติ (Natural Organic Matter) หรือเรียกวา NOM ทีม่ ใี นแหลงนํา้ ธรรมชาติ โดยทัว่ ไปจะเกิดจากการเจริญเติบโตหรือการเนาเปอ ยของพืชและกระบวนการ สลายตัวของจุลชีพตาง ๆ โดยแหลงที่มาของ NOM มีผลตอสวนประกอบของสารอินทรียละลายนํ้า สารอินทรียในนํ้าอาจจะอยูในรูปของอนุภาคคอลลอยดหรือในรูปสารละลาย โดยทั่วไปอนุภาค สารอินทรียจะถูกกําจัดไดงายโดยกระบวนการที่ใชในการผลิตนํ้าประปาในปจจุบัน (Conventional Process) เหมือนกับอนุภาคทั่วไปที่ทําใหเกิดความขุนในนํ้า สารอินทรียละลายนํ้า คือ โมเลกุล ของสารอินทรียที่สามารถผานเมมเบรนที่ขนาด 0.45 ไมโครเมตร สวนสารอินทรียที่เปนคอลลอยด จะแตกต า งจากโมเลกุ ล ของสารอิ น ทรี ย ต รงที่ ส ามารถกํ า จั ด ออกโดยใช ก ระบวนการเติ ม สาร โคแอกกูเลชันแบบทําใหประจุเปนกลาง เพื่อใหสามารถตกตะกอนแยกออกจากนํ้าได สารอินทรีย ละลายนํ้า สามารถแบงออกไดเปน 2 สวน คือ สวนที่เปนฮิวมิก และ สวนที่ไมใชฮิวมิก สารอินทรีย ละลายนํา้ ทีเ่ ปนฮิวมิกจะมีสมบัตเิ ปนสารทีไ่ มชอบนํา้ หรือ Hydrophobic โดยประกอบดวย กรดฮิวมิก กรดฟลวิก และฮิวมิน สวนสารอินทรียท ไี่ มใชสารฮิวมิกจะมีสมบัตเิ ปนสารทีช่ อบนํา้ หรือ Hydrophobic นอยกวาฮิวมิก โดยประกอบดวย Hydrophilc Acids โปรตีน กรดอะมิโน และคารโบไฮเดรต โดยทัว่ ไปสารอินทรียล ะลายนํา้ ทีเ่ ปนสารฮิวมิกจะมีประมาณรอยละ 45-65 และสวนทีไ่ มใชสารฮิวมิก จะมีประมาณรอยละ 35-55
สาเหตุทตี่ อ งกําจัดสารอินทรียล ะลายนํา้ ออกจากนํา้ ในกระบวนการผลิตนํา้ ประปา
ปญหาของการมีสารอินทรียละลายนํ้าอยูในแหลงนํ้าที่ใชในการผลิตนํ้าประปาเปนที่ทราบกันมา ตั้งแตกอนป ค.ศ. 1970 สาเหตุที่สารอินทรียละลายนํ้าเปนปญหาและมีความตองการกําจัดออก ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากสารอินทรียล ะลายนํา้ เปนสาเหตุในการเกิดสีในแหลงนํา้ ตอมาจึงพบปญหาอืน่ ๆ ทีเ่ กิด จากการมีสารอินทรียละลายนํ้าอยูในแหลงนํ้า เชน การทําใหความตองการปริมาณสารฆาเชื้อโรค มากขึน้ ในการผลิตนํา้ ประปา ความสามารถในการจับโลหะ และสารอินทรียไ มชอบนํา้ (Hydrophobic Organic Chemicals) ซึง่ ทําใหเกิดการปนเปอ นของสารเหลานีใ้ นนํา้ ทีผ่ ลิตได กอใหเกิดการกัดกรอน และการเจริญเติบโตขึ้นใหมของแบคทีเรียในระบบจายนํ้า โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีการใชสาร ออกซิแดนท เชน คลอรีน หรือ โอโซน ในกระบวนการบําบัดกอใหเกิดกลิ่นและรสในนํ้า แนวโนม ในการเปนตัวขัดขวางการกําจัดสารปนเปอนอื่น ๆ ในนํ้า และการเปนสารที่กอใหเกิดสารพลอยได จากการฆาเชื้อโรคในนํ้า (Disinfection By-products) หรือที่เรียกกันวาสาร DBPs ซึ่งเปนปญหาที่ สําคัญมากในปจจุบันสําหรับคุณภาพนํ้าประปา กระบวนการที่ใชในการผลิตนํ้าประปาในปจจุบัน หรือที่เรียกวา Conventional Process ซึ่ง ประกอบดวย กระบวนการโคแอกกูเลชัน ฟลอคคูเลชัน การตกตะกอน และการฆาเชื้อโรคดวย คลอรีนนัน้ ไมสามารถกําจัดสารอินทรียล ะลายนํา้ ไดอยางเพียงพอทีจ่ ะควบคุมไมใหเกิดปญหาดังที่ กลาวมาแลวขางตนได ในทางกลับกันอาจยิ่งเพิ่มปญหาใหกับนํ้าประปาที่ผลิตได ตัวอยางเชน ในขั้นตอนการฆาเชื้อโรคโดยการเติมคลอรีนใหกับนํ้าที่ผานกระบวนการบําบัดที่มีประสิทธิภาพ
60
June 2015
ในการกําจัดสารอินทรียตํ่า ทําใหมีปริมาณสาร อินทรียละลายนํ้าอยูมาก หากการฆาเชื้อโรค คํานึงถึงเพียงแตปริมาณคลอรีนที่ตกคางอยูใน นํ้าประปา (Free Residual Chlorine) อาจกอให เกิดสาร DBPs เชน สารไตรฮาโลมีเทน (Trihalomethane : THMs) ในปริมาณสูงซึง่ เปนสารกอ มะเร็งที่มีอันตรายมาก
ปญหาของสารไตรฮาโลมีเทน… สารอันตรายในนํา้ ประปา
สารไตรฮาโลมีเทน (Trihalomethane, THMs) เกิดจากการรวมตัวของสารอินทรียหลงเหลือ ในนํา้ โดยทัว่ ไปแลวคือกรดฮิวมิก และกรดฟลวิก (Humic acid and Fulvic acid) ที่มีอยูปกติในนํ้า ธรรมชาติ กั บ คลอรี น หรื อ โบรมี น ที่ ม าจาก กระบวนการฆาเชื้อโรค ซึ่งปจจุบันจัดวาเปน สารกอมะเร็ง (Carcinogenic organic substance) ในนํ้าประปา การเกิดของสารไตรฮาโลมีเทนใน นํา้ ประปา พบวา มาจากสารฮิวมิกในนํา้ ธรรมชาติ (Aquatic Humic materials) อัต ราการเกิด ไตรฮาโลมี เ ทนนั้ น จะเป น สั ด ส ว นโดยตรงกั บ การสูญไปของสารฮิวมิก เปนทีย่ อมรับกันวาอัตรา การเกิดไตรฮาโลมีเทนขึน้ อยูก บั ความเข ม ข น ของ คลอรีน ระดับไตรฮาโลมีเทนจะสูงขึ้น เมื่อเพิ่ม ปริมาณของคลอรีนในการฆาเชือ้ โรค เชนเดียวกัน เมื่อสารอินทรียละลายนํ้า (Soluble organic content) เพิม่ ขึน้ สารไตรฮาโลมีเทนก็เพิม่ ขึน้ ดวย สารไตรฮาโลมีเทนจัดอยูใ นกลุม ของ Haloform โดย ไตรฮาโลมีเทน ประกอบดวยสารประกอบ 4 ชนิด ไดแก Chloroform, Bromodichloromethane, Dibromochloromethane, Bromoform มีรายงาน ความเสี่ยงตอสุขภาพที่เกิดจากสาร Haloform ในนํ้าดื่มเกิดขึ้นครั้งแรกในป ค.ศ. 1974 โดยมี ขอมูลวา การดืม่ นํา้ ทีม่ สี าร Haloform ในระยะยาว อาจกอมะเร็งได เนื่องจากมีอัต ราการปวย
ด้วยโรคมะเร็งล�ำไส้ (Gastrointestinal tract) และระบบปัสสำวะ (Urinary Tract) เพิ่มขึ้น อีกกำรศึกษำหนึ่งพบว่ำ กำรดื่มน�้ำที่มี Chloroform สูง จะก่อให้เกิดมะเร็งในล�ำไส้ใหญ่ (Rectal-intestinal) และมะเร็งในไต (Bladder Cancer) จำกกำรทดลองกับหนูพบว่ำ Chloroform ท�ำให้หนูเป็น เนื้องอกในตับและไต เมื่อให้หนูดื่มน�้ำประปำที่มี Chloroform ซึ่งท�ำให้ คำดคะเนว่ำ Chloroform ในน�้ำดื่มมีผลต่อกำรเป็นมะเร็งในมนุษย์ได้ สำรประกอบไตรฮำโลมีเทนอีกสองชนิดคือ Bromodichloromethane กับ Dibromochloromethane ก็มรี ำยงำนว่ำเป็นสำรก่อมะเร็ง โดยสำรแรก ท�ำให้หนูทดลองป่วยด้วยอำกำร Hepatic adenofibrosis และ Neoplastic nodules นอกจำกนี้ยังท�ำให้เกิดเนื้องอกในอวัยวะหลำยส่วน เช่น ล�ำไส้ และไต ส�ำหรับมำตรฐำนขององค์กร U.S. Environmental Protection Agency หรือ U.S. EPA มีควำมเข้มงวดในประเด็นสำรไตรฮำโลมีเทน โดยได้กำ� หนดมำตรฐำนของสำรไตรฮำโลมีเทนให้มคี ่ำกำรปนเปือ้ นสูงสุด (Maximum Contaminant Levels, MCLs) ของไตรฮำโลมีเทนทั้งหมด ในน�้ำประปำเท่ำกับ 80 ไมโครกรัมกรัมต่อลิตร
การก� า จั ด สารไตรฮาโลมี เ ทนเพื่ อ ความปลอดภั ย ในการ บริโภคน�า้ ประปา
กำรควบคุมสำรไตรฮำโลมีเทนนั้น สำมำรถใช้แนวทำงของ U.S. EPA ที่มี กำรวำงมำตรกำรเพื่ อ ให้ ก ำรควบคุ ม สำรไตรฮำโลมี เ ทนอยู ่ ใ นเกณฑ์ มำตรฐำน โดยมีมำตรกำรที่พิจำรณำใช้ ดังนี้ 1) การเลือกใช้สารฆ่าเชื้อโรค (Disinfectants) ที่ไม่ท�าให้เกิดสาร ไตรฮาโลมีเทน สำรฆ่ำเชื้อโรคหรือผลพลอยได้ที่เกิดจำกกำรใช้สำรฆ่ำ เชือ้ โรคอำจท�ำให้นำ�้ ประปำมีลกั ษณะสมบัตทิ ไี่ ม่นำ่ พึงใจ หลักกำรเบือ้ งต้น ของกำรใช้สำรเคมีฆ่ำเชื้อโรค ก็คือ ต้องท�ำให้น�้ำที่ผลิตได้มีคุณสมบัติสูง และมีสำรเคมีเจือปนต�ำ่ กำรใช้สำรอืน่ ควบคูก่ ำรใช้คลอรีนคงเหลือ (Residual chlorine) ที่ไม่ใช่คลอรีนอิสระ เช่น โอโซนจะสำมำรถลดไตรฮำโลมีเทนลง ได้มำก กำรควบคุมกำรเติมคลอรีนอย่ำงใกล้ชิดจะช่วยป้องกันกำรเกิด ไตรฮำโลมีเทนได้ เช่น กำรใช้คลอรีนคงเหลือในรูปที่ไม่ท�ำปฏิกิริยำรุนแรง เช่น คลอรำมีน (คลอรีนกับแอมโมเนีย) จะลดไตรฮำโลมีเทนลงได้ดี แต่คลอรำมีนนั้นฆ่ำเชื้อโรคได้ช้ำกว่ำคลอรีนอิสระ และต้องใช้ระยะเวลำ สัมผัสนำนกว่ำถึง 100 เท่ำ ในกำรยับยั้งโคลิฟอร์มและเชื้อโรคอื่น ๆ เมื่อเทียบกับคลอรีนอิสระ ดังนั้นคลอรำมีนจึงใช้เพียงกำรควบคุมเชื้อโรค ในระบบท่อจ่ำยน�้ำเท่ำนั้น กำรฆ่ำเชื้อโรคด้วยวิธีอื่น ได้แก่ กำรใช้โอโซน คลอรีนไดออกไซด์ โบรมีนคลอไรด์ และอุลตรำไวโอเล็ต เป็นต้น แต่สำเหตุทกี่ ำรประปำนครหลวงยังไม่สำมำรถเปลีย่ นไปใช้สำรฆ่ำเชือ้ โรค ชนิดอื่นและยังต้องใช้คลอรีนในกำรฆ่ำเชื้อโรคอยู่เป็นเพรำะกำรฆ่ำเชื้อ โรคด้วยวิธีอื่นยังรำคำสูงและส่วนใหญ่ไม่มีฤทธิ์ตกค้ำงส�ำหรับฆ่ำเชื้อโรค ในระบบท่อจ่ำยน�ำ้ ซึง่ มีควำมจ�ำเป็นอย่ำงมำกส�ำหรับระบบท่อจ่ำยน�ำ้ ใน กรุงเทพมหำนคร กำรลดปริมำณสำรไตรฮำโลมีเทนในน�้ำประปำหลังจำก ผ่ำนกำรฆ่ำเชือ้ ด้วยคลอรีน (Chlorination) แล้วใช้วธิ กี ำรดูดติดออกซิเดชัน กำรแลกเปลี่ยนประจุและกำรเติมอำกำศ โดยกระบวนกำรเหล่ำนี้จะต้อง มีกำรประเมินผลในกำรฆ่ำเชื้อโรคและปริมำณสำรเคมีที่เหลืออยู่ในน�้ำ วิธีออกซิเดชันอำจใช้โอโซนกับอุลตรำไวโอเล็ตประกอบกัน แต่ก็ต้อง ค�ำนึงถึงผลผลิตอื่นที่เกิดขึ้นด้วย นอกจำกนี้ยังเป็นวิธีที่รำคำแพง กำรใช้ วิธีดูดติดผิว (Adsorption) ได้แก่ กำรใช้ถ่ำนกัมมันต์ หรือเรซินแลกเปลี่ยน
ไอออน จะมีประสิทธิภำพในกำรก�ำจัดสำรประกอบไตรฮำโลมีเทนประเภท โบรมีนมำกกว่ำกำรก�ำจัดประเภทคลอรีน ซึ่งอำจเกิดจำกคุณสมบัติ จ�ำเพำะของเรซินแต่ละชนิด ส่วนกำรใช้ถ่ำนกัมมันต์จะมีปัญหำเมื่อถ่ำน หมดสภำพ สำรที่ถูกดูดติดไว้จะถูกปล่อยออกมำ 2) การก�าจัดสารตั้งต้น กำรลดปริมำณสำรตั้งต้นก่อนผ่ำนกระบวนกำร ฆ่ำเชื้อด้วยคลอรีน น่ำจะเป็นวิธีกำรลดสำรไตรฮำโลมีเทนที่ใช้ได้ผลมำก ที่สุด โดยกำรก�ำจัดสำรตั้งต้นที่เป็นตัวกำรเกิดไตรฮำโลมีเทน มีหลักกำร ทั่วไป คือ ก�ำจัดกรดฮิวมิกและฟัลวิกในน�้ำดิบซึ่งมีอยู่หลำยวิธีกำร เช่น กำรตกตะกอน กำรเติมอำกำศ กำรออกซิเดชัน และกำรดูดติดผิว กำรตก ตะกอนที่ใช้สำรเคมี เช่น สำรส้มหรือสำรประกอบเฟอร์ริก ซึ่งสำมำรถลด กรดทั้งสองลงได้ดี ทั้งยังช่วยปรับปรุงคุณภำพน�้ำดิบด้วย แต่ก็ยังพบว่ำ ไม่อำจก�ำจัดกรดฟุลวิกได้หมด โดยก�ำจัดได้ดีเฉพำะสำรที่มีโมเลกุลหนัก เท่ ำ นั้ น กำรออกซิ เ ดชั น โดยทั่ ว ไปที่ ใช้ โ อโซนกั บ คลอรี น ไดออกไซด์ เพื่อออกซิไดส์สำรอินทรีย์ก่อนจะท�ำปฏิกิริยำกับคลอรีน อย่ำงไรก็ตำม กำรใช้คลอรีนไดออกไซด์จะมีขีดจ�ำกัดเนื่องจำกประจุคลอไรต์และคลอ เรตที่เกิดขึน้ จำกกำรออกซิเดชันมีสภำพเป็นสำรพิษ กำรดูดติดผิวเป็นกำร ก�ำจัดสำรตัง้ ต้นได้ดกี ว่ำวิธขี ำ้ งต้น มีกำรศึกษำพบว่ำ ชนิดของถ่ำนกัมมันต์ ที่ใช้เป็นปัจจัยส�ำคัญในประสิทธิภำพของกำรดูดติด กำรปรับพีเอช และ ใช้สำรตกตะกอนก่อน ก็ช่วยให้กำรก�ำจัดเป็นไปได้ดี กำรเลือกใช้วิธีใดนั้น ขึ้นอยู่กับสภำพของโรงผลิตน�้ำประปำแต่ละแห่ง หรือบำงแห่งอำจจะใช้ สำมวิธีประกอบกัน แต่กำรลดสำรอินทรีย์หรือสำรตั้งต้นน่ำจะเป็นวิธีกำร ที่น่ำจะดีที่สุด
เทคโนโลยีคอลัมน์ถา่ นกัมมันต์สา� หรับการก�าจัดสารอินทรีย์ ในน�า้
ถ่านกัมมันต์ (Activated Carbon) สำมำรถใช้ เ ป็ น สำรกรองใน บ่อกรองได้ สำมำรถก�ำจัดอนุภำค ขนำดใหญ่ ค อลลอยด์ ห รื อ ควำมขุ่น และยังสำมำรถก�ำจัด สำรอินทรียธ์ รรมชำติ สำรอินทรีย์ สังเครำะห์ สำรพลอยได้ที่เกิด จำกกำรฆ่ำเชื้อโรค (Disinfection By-product) กลิ่น สี ยำฆ่ำแมลง หรือสำรพิษต่ำง ๆ อย่ำงมีประสิทธิภำพ ถ่ำนกัมมันต์ที่ใช้ในระบบผลิต น�้ำประปำนอกจำกจะผลิตจำกวัตถุดิบธรรมชำติแล้ว ยังอำจจะผลิตจำก ถ่ำนหินบิทูมินัส หรือ ถ่ำนหินลิกไนต์ โดยกระบวนกำรเผำและกระตุ้น ถ่ำนเหล่ำนีใ้ นเตำภำยใต้สภำวะไร้อำกำศ ทีอ่ ณ ุ หภูมปิ ระมำณ 800-900 ๐C ซึง่ ถ่ำนกัมมันต์จะดูดซับสำรมลพิษในช่องรูพรุนของถ่ำน ในสหรัฐอเมริกำ กำรดูดติดผิวด้วยถ่ำนกัมมันต์ได้รับควำมสนใจอย่ำงมำกส�ำหรับงำนผลิต น�ำ้ ประปำ เนือ่ งจำกปี ค.ศ. 1986 ได้มกี ำรปรับปรุงระดับค่ำควำมปนเปือ้ น สำรอินทรีย์สูงสุดที่ยอมรับได้ (MCLs) ส�ำหรับน�้ำดื่มให้ต�่ำลง โดยควบคุม สำรอินทรีย์ (Organic Compounds) มำกกว่ำ 50 ชนิด และสำรอินทรีย์ สังเครำะห์ (Synthetic Organic Compounds) อีก 26 ชนิด
June June2015 2015 61PB
Environment Alert
อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิง่ แวดล้อมชํานาญการพิเศษ ศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึ กอบรมด้านสิงิ่ แวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม
มองปญหาสิ่งแวดลอม… ภัยพิบัติจากปจจุบันสูอนาคต ปญหาสิง่ แวดลอมทีท่ า ทายมนุษยชาติมากทีส่ ดุ อันหนึง่ ในศตวรรษที่ 21 ปญหานีเ้ กิดจากการปลอย กาซเรือนกระจก (Greenhouse gases : GHGs) สูช นั้ บรรยากาศโลกมากจนเกินสมดุลธรรมชาติ ทําให ความรอนจากแสงอาทิตยทสี่ อ งลงมายังพืน้ โลกไมสามารถระบายออกสูบ รรยากาศชัน้ นอกของโลกได จึงเกิดการกักเก็บความรอนหรือที่เรียกกันวา ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse effect) และทําให อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น กอใหเกิดผลกระทบเปนลูกโซตอระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิตที่สําคัญ ไดแก การละลายของภูเขานํา้ แข็งและธารนํา้ แข็ง การเพิม่ ขึน้ ของระดับนํา้ ทะเลและมหาสมุทร ความแปรปรวน ของสภาพภูมอิ ากาศ และการเกิดพายุและภัยธรรมชาติทรี่ นุ แรงและบอยครัง้ ขึน้ เชน การเกิดแผนดินไหว ทีเ่ นปาล เปนตน มีขอ มูลทางวิทยาศาสตรมากพอทีจ่ ะทําใหเชือ่ ไดวา การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ จะกอใหเกิดผลกระทบในทางลบตอประชากรโลกอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิง่ ประชากรที่อยูใน ประเทศกําลังพัฒนา ปญหาโลกรอนนับเปนปญหารวมกันของทุกประเทศ ซึง่ จะแกไขโดยประเทศใด ประเทศหนึ่งมิได ผลกระทบของโลกรอนตามที่กลาวมาแลวขางตน มิไดเกิดขึ้นในสุญญากาศ แต จ ะเกิ ด ขึ้ น ในขณะเดี ย วกั บ ที่ สั ง คมและระบบเศรษฐกิ จ ไทยกํ า ลั ง เดิ น หน า อย า งไม ห ยุ ด ยั้ ง สังคมไทยกําลังกาวเขาสูสังคมผูสูงวัย ซึ่งจะทําใหมีกลุมประชากรที่เปราะบางตอความเสี่ยงดาน สุขภาพมากขึน้ ในขณะทีพ่ ฤติกรรมการผลิตและการบริโภคซึง่ สรางภาระเพิม่ ขึน้ ใหแกสงิ่ แวดลอมก็ยงั ไมไดรบั การแกไขอยางมีประสิทธิภาพ กระแสโลกาภิวตั นดา นการเดินทาง การทองเทีย่ ว และการยายถิน่ จะทําใหความเสี่ยงตอการกระจายของโรคอุบัติใหมเพิ่มขึ้น พรอม ๆ กับความเสี่ยงและผลกระทบ ดานอืน่ ๆ จากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศทีก่ าํ ลังจะตามมา เมือ่ มองไปขางหนาอนาคตของ มนุษยชาติ รวมทัง้ คนไทยยอมมีความไมแนนอนสูงขึน้ มีความเสีย่ งสูงขึน้ แมวา ในทุกวิกฤตจะมี โอกาส แตโอกาสจะเกิดขึน้ ได ก็ตอ เมือ่ มีความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และสารสนเทศทีแ่ นนแฟนอยู บนฐานขอมูลทีต่ รวจสอบได ประเด็นสําคัญของการมองอนาคต คือ การวิเคราะหถงึ ปญหาทีเ่ กิดขึน้ ในปจจุบนั ดวยการพัฒนาเทคโนโลยีตา ง ๆ การติดตามสถานการณปญ หามลพิษทีเ่ กิดขึน้ รวมทัง้ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ทีจ่ ะสงผลถึงอนาคต ประเด็นสําคัญดังกลาวจึงตองสะทอนถึงความเปนจริง ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงทีเ่ ห็นไดชดั ในประเทศไทย ภาวะความแหงแลงทีผ่ า นมา มีโอกาสทีจ่ ะประสบ ความเปลีย่ นแปลงและความแปรปรวนตางกัน เชน บางจังหวัดจะรอนและแลงขึน้ บางจังหวัดจะมี ฝนตกมากขึน้ แตกระจุกตัว ดังนัน้ ภัยพิบตั ธิ รรมชาติ เชน นํา้ หลาก ดินถลม คลืน่ พายุ (Storm surges) ทีจ่ ะเกิดในแตละอําเภอและตําบลจะไมเหมือนกัน นัยยะทางนโยบาย ก็คอื มีความจําเปนทีจ่ ะตอง กระจายอํานาจดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมไปยังองคกรปกครองสวนทองถิน่ ใหมากขึน้ รวมทัง้ ใหความรู งบประมาณทีจ่ าํ เปน เพราะการแกไขปญหาแตละพืน้ ทีจ่ ะแตกตางกัน รัฐบาลไมควรมีนโยบายประชานิยม สนับสนุนการใชเชือ้ เพลิงและพลังงาน ตรงกันขามนโยบายสาธารณะที่อาจ จะตองมีในอนาคต ก็คือ การตั้งรับ ปรั บ ตั ว โดยอาศั ย มาตรการทาง เศรษฐศาสตร เชน ภาษีนา้ํ มัน ภาษี เชือ้ เพลิง จึงตองมีมาตรการในปจจุบนั ทีจ่ ะตองเขมขน ทัง้ การสงเสริมพลังงาน ทางเลื อ กอื่ น ๆ พลั ง งานทดแทน
62
June 2015
การกําหนดมาตรฐานเครือ่ งยนต ประสิทธิภาพ ของการใชพลังงานใหเพิม่ มากขึน้ รองรับกับการ พัฒนาในปจจุบนั และอนาคต การขยายตัวของเมืองใหญ สะทอนใหเห็นจาก ป ญ หาการจราจร การคมนาคมขนส ง ที่ ไ ม เพียงพอ และมีปญหามลพิษที่เกิดขึ้นมากมาย ในอนาคตปญหาสิ่งแวดลอมจากการขยายตัว ของเมืองจึงเปนปญหาทีจ่ ะแสดงใหเห็นถึงระบบ การกระจายอํ า นาจการปกครองท อ งถิ่ น ที่ มี ประสิทธิภาพ รวมทัง้ การวางผังเมืองเพือ่ รองรับ การขยายตัวของเมืองอยางแทจริง ในประเด็น การกระจายอํ า นาจที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ป ญ หา สิ่งแวดลอมในปจจุบัน คือ การใหอํานาจทาง กฏหมายและตองมีงบประมาณรองรับในการ จัดการปญหาสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ เชน ปญหา ขยะของเมือง หากมีแตกฎหมาย ไมมงี บประมาณ หรือการสนับสนุนที่เหมาะสมจากสวนกลาง สูท อ งถิน่ ตองมีการกระจายงบประมาณอยาง เหมาะสม ยกตัวอยางเชน กรุงเทพมหานคร เปนตัวอยางทีเ่ ห็นไดชดั การขยายตัวของเมืองใหญ เชน กรุงเทพมหานคร จากการที่มีประชากร อพยพยายถิน่ เขากรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตลอด 50 ป ทีผ่ า นมา เปนผลใหกรุงเทพมหานคร คงสภาพการเปนเอกนคร (Primate city) และทวี ความเหลือ่ มลํา้ ทางดานเศรษฐกิจและสังคมกับ พืน้ ทีอ่ น่ื ในประเทศ จากการคํานวณดัชนีความ เปนเอกนคร (Primacy index) ซึง่ เปรียบเทียบกับ จํานวนประชากรของกรุงเทพมหานครและพืน้ ที่ เมืองทีต่ อ เนือ่ งกับจํานวนประชากรของเมืองทีม่ ี ขนาดใหญเปนอันดับสองของประเทศในชวง เวลา 20 ป ทีผ่ า นมา พบวา กรุงเทพมหานคร ยังเปนศูนยกลางความเจริญของประเทศไทย แมวารัฐบาลหลายยุคหลายสมัยไดพยายาม ดํ า เนิ น นโยบายการกระจายความเจริ ญ ไปสู เมืองหลักในภูมภิ าคมาแลวก็ตาม แนวโนมการ เพิ่ ม ขึ้ น ของความเป น เมื อ งและความเป น
เอกนครของประเทศไทยมีทที า วาจะยังคงอยูต อ ไปอีกเปนเวลานาน จะตองคํานึงถึงการรองรับของ ระบบสาธารณูปโภค ระบบบําบัดของเสียที่เพียงพอกับเมืองที่จะขยายตัวในอนาคต และคํานึงถึง คาความสามารถในการรองรับมลพิษทางอากาศของเมืองที่มีการจราจร คมนาคม หรือกิจกรรม ของเมืองทีม่ ปี ริมาณมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ในการปฏิรูปกฎหมาย การรางรัฐธรรมนูญที่ตอบสนองตอการพัฒนาในอนาคตตองพิจารณาตอ ประโยชนสาธารณะเปนสําคัญ คือ การพัฒนาที่มีการรองรับการจัดการปญหาสิ่งแวดลอมที่มี ประสิทธิภาพ กฎหมายตองคุม ครองสิทธิ์ ความเปนอยู คุณภาพชีวติ ของประชาชนในเมืองใหญทไี่ ด รับผลกระทบจากโครงการพัฒนาตาง ๆ ในทุกภาคสวน และตองมองถึงทิศทางการพัฒนาทีเ่ หมาะสม ไมทําลายสภาพแวดลอมและคุณภาพชีวิตของคนจน เกิดการแบงชนชั้นระหวางคนจนและคนรวย อยางชัดเจน ในประเด็นการกระจายอํานาจ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตองเตรียมพรอมกับการรับมือการเปลีย่ นแปลงของสภาพปญหาโลกรอนและภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติที่ นับวันจะรุนแรงยิง่ ขึน้ ในกรณีทเี่ กิดภัยพิบตั แิ ผนดินไหวทีป่ ระเทศเนปาล เปนตัวอยางหนึง่ ของการ สูญเสียทีร่ นุ แรงและมหาศาล โดยเฉพาะความพรอมตอการรับมือภัยทางธรรมชาติทขี่ าดประสิทธิภาพ การกระจายอํานาจการจัดการเปนไปอยางไมทั่วถึง ประชาชนเดือดรอนแมในเมืองหลวงก็ตาม ในวันนี้เราไดเห็นแลวถึงความเปลี่ยนแปลงของโลกใบนี้ เราไดเห็นหายนะของมนุษยชาติที่กําลังมา อยางรวดเร็วและรุนแรง เชน ธรณีพบิ ตั ใิ นเนปาลประชาชนตายนับหมืน่ การขาดแคลนอาหาร โรคภัย ตาง ๆ ลวนแตเปนปญหาที่หลายประเทศตองคํานึงถึง วันเวลาที่ผานมาปญหาภัยพิบัติที่เกิดขึ้น เปนบทเรียนอันมีคา ที่เราตองนํามาวิเคราะหและหาทางรองรับเผชิญเหตุกับปญหาที่เกิดขึ้นอยาง มีประสิทธิภาพ คงจะรอคอยความชวยเหลือจากประเทศตาง ๆ ไมไดแลว เมือ่ พูดถึงความเสือ่ มโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม คนไทยมักคิดถึงการขาดแคลนนํา้ และการสูญเสียพืน้ ทีป่ า แตความเสือ่ มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติกนิ ความหมายกวางกวานัน้ การสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ อยางใดอยางหนึง่ จะกอใหเกิดผลกระทบตอเนือ่ งไปทัง้ ระบบ เชน การสูญเสียพืน้ ทีป่ า ไมใชแคการ สูญเสียปาไมหรือทีอ่ ยูอ าศัยของสัตวเทานัน้ แตยงั สงผลถึงระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ และวัฒนธรรมทีเ่ กาะเกีย่ วกับระบบนิเวศซึง่ หมายถึงการสูญเสียโอกาสและทางเลือกในอนาคตของ คนไทย สถิตปิ า ไมของไทยแสดงถึงการสูญเสียพืน้ ทีป่ า มาโดยตลอด อาจจะดูขยับขึน้ เล็กนอยในชวง ป พ.ศ. 2543 เพราะการเปลีย่ นสเกลของแผนที่ แตหลังจากนัน้ ก็คอ นขางคงที่ การพัฒนาของประเทศ ยังอยูบ นฐานคิดของการหารายไดจากทรัพยากรธรรมชาติกอ น สิง่ แวดลอมทีห่ ลัง ดังนัน้ พืน้ ทีป่ า พืน้ ทีช่ ายฝง พืน้ ทีช่ มุ นํา้ พืน้ ทีป่ า บุง ปาทาม ก็จะถูกนําไปพัฒนาใชการบริหารแบบ “บนลงลาง” ไมมี ระบบการจัดการปาและทีด่ นิ ทีเ่ หมาะสมกับระบบนิเวศและสังคมในพืน้ ที่ ขาดประสบการณในการ บูรณาการ เชน การเตรียมการเพือ่ รับมือกับนํา้ ทวมจึงทําใหเกิดมหาอุทกภัย ป พ.ศ. 2554 เปนภัยที่ รายแรงมากกวาทีค่ วรจะเปน มหาอุทกภัยในปนนั้ กอใหเกิดความสูญเสียถึง 4.57 หมืน่ ลานเหรียญ เปนมหาภัยพิบตั อิ นั ดับ 4 ของโลก รองจากอันดับ 1 คือ แผนดินไหวและสึนามิของญีป่ นุ ในป พ.ศ. 2554 อันดับ 2 แผนดินไหวทีโ่ กเบของญีป่ นุ ในป พ.ศ. 2538 และอันดับ 3 เฮอริเคนแคทรินา ทีส่ หรัฐอเมริกา ในป พ.ศ. 2548 ปญหาการจัดการทรัพยากรปาไมทดี่ นิ เปนปญหาเรือ้ รังมานาน ตราบจนปจจุบนั ก็ยงั มีคนใชทดี่ นิ อยูใ นปาประมาณ 500,000 คน แมกฎหมายปาไมจะเขมงวดและมี มาตรฐานเดียว แตการขาดแคลนกําลังคน งบประมาณ และปญหาเรือ่ งอิทธิพลทัง้ ในระดับทองถิน่ และระดับชาติ ทําใหมกี ารถือครองแบบหลายมาตรฐาน กลาวคือ คนจนตองขึน้ ศาล ผูม อี ทิ ธิพลได เอกสารสิทธิท์ ดี่ นิ ปญหานีไ้ ดบม เพาะความคับของใจในหมูร ากหญาและเปนหนึง่ ในทีม่ าของวาทกรรม “สองมาตรฐาน” ปญหาของการจัดการที่ดิน ปญหาความไมเพียงพอหรือความหนาแนนของ ประชากรและจํานวนของประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ ปญหาทีด่ นิ ยังตองการการจัดการอยางมีประสิทธิภาพ และเปนธรรมมากขึน้
ทรัพยากรอยางชัดเจน และรวมศูนยการวางแผน อยูท สี่ ว นกลาง เปรียบเสมือนวาทรัพยากรธรรมชาติ ไดถูกยึดไปจากคนไทยรากหญาที่ตองอิงอาศัย ธรรมชาติในความเปนอยู และขาดการมีสวน รวมในการจัดการดูแลใหใชประโยชนอยางยัง่ ยืน เมื่อประเทศไทยเริ่มมีกฎหมายสงเสริมคุณภาพ สิง่ แวดลอมในป พ.ศ. 2535 ชองวางทางนโยบาย ในชวงเวลานัน้ จะเปนการออกมาตรการ มาตรฐาน กฎเกณฑ ในการจัดการมลพิษ แตในปจจุบนั ปญหาที่ยิ่งใหญกวาจะเปนปญหาการจัดการ พฤติกรรมของผูสรางมลพิษ ยกตัวอยางเชน ปญหาขยะในเมืองจะแกไขไมไดเลย ถาไมมกี าร แยกขยะเสียกอนกําจัด ในปจจุบนั ปญหาขยะ จึงเปนปญหาหนักใจของทุกทองถิ่นที่ตองไดรับ การแกไขอยา งจริงจัง สํา หรับปญหานํ้า เสีย อากาศเสียของโรงงานอุตสาหกรรม ถึงแมจะมี มาตรฐานนํ้าเสียและมลพิษอากาศควบคุมอยู แตกเ็ ปนไปอยางไมทว่ั ถึง และประเทศไทยอยูใ น กลุมสุดทายของประเทศอาเซียน (มี ไทย ลาว กัมพูชา และเมียนมาร) ทีย่ งั ไมมภี าษีสงิ่ แวดลอม ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มจึ ง ไม ใช ป ญ หาเชิ ง เทคนิ ค อีกตอไป แตเปนปญหาเชิงสถาบันของการสราง แรงจูงใจใหรัฐ ภาคธุรกิจ และประชาชน หันมา พั ฒ นาพฤติ ก รรมให เ ป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม มากขึน้ หากไมมกี ารปฏิรปู โครงสรางการจัดการ ใหสามารถจัดการกับพฤติกรรมผูสรางมลพิษได สิ่งแวดลอมไทยก็นับวันจะแยลง สํา นักงาน เศรษฐกิจการคลัง ไดรว มกันจัดทําราง พ.ร.บ. มาตราการการคลังเพื่อสิ่งแวดลอม เพื่อสราง แรงจู ง ใจให ค รั ว เรื อ นและธุ ร กิ จ มี พ ฤติ ก รรม รักษาสิ่งแวดลอมมากขึ้น โดยผานเครื่องมือ การคลังในรูปเงินอุดหนุนภาษี คาธรรมเนียม เงินวางประกัน เปนตน โดยใหนาํ รายไดจาก เครื่ อ งมื อ เหล า นี้ เข า สู ก องทุ น ที่ ภ าครั ฐ และ เอกชนสามารถนําไปจัดการสิ่งแวดลอมใหดีขึ้น ปญหาสิง่ แวดลอมมิไดมาจากอุตสาหกรรมและ จากชุมชนเมืองเทานั้น ทุกปประเทศไทยจะมี ป ญ หาหมอกควั น ในภาคเหนื อ ช ว งฤดู ห นาว ที่กอใหเกิดมลพิษอากาศในเดือนกุมภาพันธถึง เมษายน สาเหตุของหมอกควันเกิดจากขอจํากัด ดานกายภาพในการทําเกษตรที่สูง การเผาไหม เชื้อเพลิงชีวมวล และการลาสัตว ฯลฯ
มองอนาคตอยางไรสําหรับการแกไขปญหาสิง่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
ปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมของไทย ในอนาตตสวนหนึง่ เกิดจากการแบงแยกและรวม ศูนยอํานาจของราชการสวนกลาง กลาวคือ แตละหนวยงานจัดสรรแบงแยกอํานาจในการจัดการ June June2015 2015 6363
Energy Focus
คุณรุ ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู ้อํานวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุ ตสาหกรรม
ศูนยการเผยแพรแนวทาง การอนุรกั ษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม เปดตัวกันเรียบรอยไปแลวสําหรับ “โครงการจัดตัง้ ศูนยการเผยแพร แนวทางการอนุรักษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม” ภายใตการ ดําเนินงานของสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย ทีส่ นับสนุนโดย กองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวงพลังงาน ที่ไดเล็งเห็น ความสําคัญของการอนุรกั ษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม ซึง่ มีสดั สวน ในการใชพลังงานสูงเปนอันดับตน ๆ เมือ่ เทียบกับการใชพลังงานทัง้ หมด ของประเทศดังมีสดั สวนการใชพลังงานแยกตามประเภท ดังภาพ
สัดสวนการใชพลังงานแยกตามประเภท
แนวโนมการใชพลังงานขั้นสุดทายของประเทศ ที่มา : สถิติพลังงานของประเทศไทย 2556, กระทรวงพลังงาน
6464
June2015 2015 June
สืบเนื่องจากการที่ภาคอุตสาหกรรมเปนภาคที่มีการใชพลังงานมาก ที่สุด รวมทั้งมีแนวโนมการใชพลังงานขั้นสุดทายเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ สงผลใหผปู ระกอบการตางพากันตืน่ ตัว โดยเฉพาะโรงงานขนาดใหญ ทีต่ นื่ ตัวมากและสามารถปรับตัวเองใหรบั มือกับเรือ่ งนีไ้ ด แตสาํ หรับ ผูประกอบการ SME อุตสาหกรรมขนาดกลางหรือขนาดเล็กที่อยาก ดําเนินการลดการใชพลังงานเหมือนกัน แตติดในเรื่องขอจํากัด หลาย ๆ อยาง เชน การเขาถึงแหลงขอมูลดานการอนุรกั ษพลังงานยังมี จํากัด โดยเฉพาะโรงงานตามภูมภิ าคตาง ๆ ทําใหไมสามารถดําเนินการ ไดอยางทีต่ อ งการ ควรจะตองมีศนู ยเผยแพรความรูก ารอนุรกั ษพลังงาน กระจายอยูท วั่ ประเทศ แตการมีศนู ยฯประจําอยูท กุ จังหวัดทัว่ ประเทศ 70 กวาศูนย อาจจะลําบากในการบริหารจัดการ ดังนัน้ ในเฟสแรกนี้ จึงใชหลักการของภาครัฐในการแบงเปนกลุมจังหวัด ซึ่งประเทศไทย เราแบงออกเปน 18 กลุมจังหวัด เราจึงจัดตั้ง “ศูนยการเผยแพร แนวทางในการอนุรักษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม” ขึ้นมา จํานวน 18 ศูนย ซึง่ ทําใหการดูแลบริหารจัดการสะดวกขึน้ โดยอาศัย สภาอุตสาหกรรมจังหวัด ที่ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย มีเครือขาย ครอบคลุมอยูท วั่ ประเทศ ทําใหสามารถบริการและกระจายขาวสาร ขอมูลความรูสูสมาชิกและผูประกอบการอุตสาหกรรมทั่วไปไดทั่วถึง ซึ่งในแตละศูนยฯ จะมีวิศวกรประจําศูนยฯ ที่มีความรูพรอมใหคํา แนะนําแกผูประกอบการ การพูดใหชวยกันลดใชพลังงานอยางเดียว นั้นคงไมพอ เพราะจะเกิดคําถามตามมาวา แลวจะลดยังไง ดวยวิธี ไหน ไมเห็นภาพ ทางองคกรเลยพยายามพัฒนาคูมือ แผนพับ สติ๊กเกอร หรือสื่อตาง ๆ ที่เหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อมา ชวยอธิบายใหรวู า ระบบทีใ่ ชพลังงานตาง ๆ มีแบบไหน อยางไรบาง.. อันไหนทีเ่ หมาะกับโรงงานของทาน ก็ใหนาํ เอาอันนัน้ ไปปรับใช อาจ จะไมตองลงทุนอะไรมาก แคปรับเปลี่ยนวิธีการใชงานหรือการดูแล
เครื่องจักรเพิ่มขึ้นเทานั้น โดยมีกิจกรรมและผลสําเร็จจากการดําเนินโครงการที่ผานมา ดังนี้
ตัวอยางสื่อเผยแพรแนวทางการอนุรักษ พลังงานในภาคอุตสาหกรรม
คู มื อ แนวทางอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานในระบบ ตางๆ
“สํ า หรั บ เป า หมายในอนาคต คื อ ต อ ง พยายามผลั ก ดั น ให มี โ ครงการระยะที่ 2 ขึ้นมา เพราะเราตั้งใจวาจะใหมีกิจกรรมที่มี ความเขมขนมากขึ้น เปนรูปธรรมมากขึ้น โดยจะมีการใหคาํ ปรึกษาเขาไปทีโ่ รงงานและ อาจจะมีการประกวดแขงขันการประหยัด พลั ง งานในแต ล ะพื้ น ที่ . .ประกวดแล ว ไดรางวัลแลว ก็เอาโรงงานนัน้ ๆ เปนโรงงาน ตนแบบ สรางกิจกรรมสงเสริมการประหยัด พลังงานใหเกิดขึ้นในแตละพื้นที่ ทั้งในดาน การอบรม สัมมนา และเยี่ยมชมดูงาน โดยที่ ผูประกอบการในพื้นที่ไมตองเดินทางไกล อย า งไรก็ ดี เรื่ อ งการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของ ประเทศตองเกิดขึ้นจากความรวมมือรวมใจ ของทุกภาคสวน ไมเวนแมแตในภาคครัวเรือน เอง หากเราทุกคนรวมมือกันอยางจริงจังและ ตอเนือ่ งก็จะทําใหประเทศของเรายังคงเหลือ พลังงานไวใชไดอีกนาน”
ศูนยเผยแพรความรูการอนุรักษพลังงานประจํากลุมจังหวัด 18 ศูนย
ติ ด ตามและขอรั บ ข อ มู ล ความรู เ กี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานในภาคอุ ต สาหกรรม เพิ่ ม เติ ม ได ที่ www.ienergycenter.net หรื อ สถาบั น พลั ง งานเพื่ อ อุ ต สาหกรรม โทร. 0-2345-1253 65 June 2015 2015 65 June
Greenhouse Gas Management
คุณศุภณัฐ โชติวิทยธารากร นักวิชาการ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
Ahead of Paris
เปดผนึกเจตจํานงแกไขปญหาโลกรอนหลังป ค.ศ. 2020 จากที่ประเทศไทยเราไดรับการจัดอันดับใหติด 1 ใน 10 ของประเทศที่มีความออนไหว ตอผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุด (CRI Index 2015) ทําใหอดคิด ไมไดวา คนรุนหลังและสิ่งแวดลอมรอบ ๆ ตัวเราจะเปนอยางไร หากประเทศตาง ๆ ทั่วโลก ไมสามารถยกระดับความมุง มัน่ ในการแกไขปญหาโลกรอนไดเพียงพอ วาแลวก็อยากเชิญชวน ผู อ า นมาเพิ่ ม เติ ม ข อ มู ล ใหม ๆ เกี่ ย วกั บ การดํ าเนิ น การต อสู กั บป ญ หาโลกร อนหลั ง ป ค.ศ. 2020 กันตอดีกวาครับ จากฉบับเดือนเมษายนผมไดเลาสูกันฟงถึงรูปแบบทาง กฎหมายที่เปนไปไดของ “ขอตกลงฉบับใหม” ในฉบับนี้ ผมจึงขอตอดวยประเด็นการสง เจตจํานงของประเทศตาง ๆ ในการแกไขปญหาโลกรอนภายหลังป ค.ศ. 2020 หรือที่เรียก วา Intended Nationally Determined Contributions (INDCs)
ที่มาของ INDCs คือ ขอตัดสินใจของที่ ประชุมสมัชชารัฐภาคี ที่เชิญชวนใหรัฐภาคี พิจารณาจัดทํา และสง INDCs แกสํานัก เลขาธิการอนุสัญญา UNFCCC กอนการ ประชุมสมัชชารัฐภาคี ครั้งที่ 21 (COP21) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปลายปนี้ ซึ่งปรากฎวาเมื่อสิ้นเดือนเมษายนที่ผานมา มีรัฐภาคีแสดงเจตจํานง INDCs แลว 35 ประเทศ (28 ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป สงรวมกันในนามสหภาพยุโรป) ตารางเปรียบเทียบเจตจํานงลดกาซเรือนกระจกหลังป 2020 ตามINDCs ของรัฐภาคีตาง ๆ สวิ ต เซอร แ ลนด นอร เวย เม็กซิโก รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ระดับการลดก๊ าซฯ รัฐภาคี เทียบกับ กําหนดเวลา ประเภทก๊ าซฯ กาบอง และลิ ก เตนสไตน หลังปี 2020 ตามลํ า ดั บ ) จึ ง ทํ า ให เ หลื อ ก๊ าซ 6 ชนิด* + NF3 สวิตเซอร์ แลนด์ 50% ปี ฐาน 1990 2021 – 2030 ประเทศที่ตองสง INDCs อีก เที ย บเป น การปล อ ยก า ซ สหภาพยุโรป ; นอร์ เวย์ ; เรือนกระจกถึงสองในสามของ ก๊ าซ 6 ชนิด + NF3 อย่างตํ่า 40% ปี ฐาน 1990 2021 – 2030 ลิกเตนสไตน์ การปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก ก๊ าซ 6 ชนิด + NF3 สหรัฐอเมริ กา 26 – 28% ปี ฐาน 2005 บรรลุในปี 2025 ทั้งโลกเลยครับ รัสเซีย เม็กซิโก กาบอง
25 – 30% 25% (ไม่มีเงื่อนไข) 40% (มีเงื่อนไข) อย่างตํ่า 50%
ปี ฐาน 1990
2020 – 2030
ก๊ าซ 6 ชนิด + NF3
Business as usual
บรรลุในปี 2030
ก๊ าซ 6 ชนิด + Black carbon
Business as usual
2010 – 2025
CO2, CH4, N2O
* กาซ 6 ชนิดคือ CO2, CH4, N2O, HFCs, PFCs, และ SF6 ** Economy-wide หมายถึง ครอบคลุมสาขาพลังงาน กระบวนการอุตสาหกรรม เกษตรกรรม ขยะ และ การใชที่ดินและปาไม
6666
June June2015 2015
Special report
การสง INDCs ยอมมิใชเรื่องงาย ทั้งนี้ก็เพราะไมใชวาประเทศใดจะสงอยางไรก็ไดนะสิครับ เนื่องจากที่ประชุมสมัชชารัฐภาคีไดตกลงกันวา INDCs ของแตละประเทศ จะแสดงถึงความ กาวหนาที่มากกวาการดําเนินการในปจจุบันของประเทศนั้นๆ (“represent a progression beyond the current undertaking”) กลาวคือ ในดานการลดกาซเรือนกระจก (Mitigation) เจตจํานงลดกาซเรือนกระจกจะเขมขนกวาที่เคยแสดงไวในชวงกอน ป ค.ศ. 2020 โดยที่ ประชุ ม สมั ช ชารั ฐ ภาคี ต กลงว า INDCs อาจประกอบด ว ย เนื้ อหาต าง ๆ อาทิ ข อมู ล เชิงปริมาณเกี่ยวกับ reference point (รวมถึง base year ตามความเหมาะสม) กรอบระยะ เวลาการดําเนินงาน ประเภทกาซเรือนกระจก และสาขาการปลอยที่ครอบคลุมถึง หลายทานคงเริ่มสงสัยแลววา แตละประเทศที่สง INDCs ไปนั้น เขามีเจตจํานงลดกาซ เรือนกระจกหลังป ค.ศ. 2020 กันอยางไรบาง ผมจึงไดทําตารางเปรียบเทียบเจตจํานงลด กาซเรือนกระจกหลังป ค.ศ. 2020 ตาม INDCs ของรัฐภาคีตา ง ๆ มาใหดกู นั ครับ โดยเราจะ พบวามีการกําหนดระดับการลดกาซเรือนกระจกบนพื้นฐานที่แตกตางกันบาง ทั้งปฐาน กําหนดเวลาประเภทกาซเรือนกระจก และสาขาการปลอยที่ครอบคลุมถึง ซึ่งอาจอธิบายได จากระดับความรับผิดชอบที่แตกตางกันของประเทศพัฒนาแลว (เชน ประเทศสมาชิก สหภาพยุโรป) ประเทศกําลังพัฒนา (เชน เม็กซิโก) และประเทศพัฒนานอยที่สุด (หรือ least developed countries อยาง กาบอง) ทั้งนี้ เวนแตสหรัฐอเมริกาที่ดูจะแตกตางจากประเทศ พัฒนาแลวอื่น ๆ อยูมากทีเดียว นอกจากนี้ ผมขอใหขอสังเกตเพิ่มเติมวา รัฐภาคียังคงมีความเห็นที่แตกตางกันเกี่ยวกับการ ใชกลไกคารบอนเครดิตระหวางประเทศเปนเครื่องมือที่ชวยใหบรรลุเปาหมายการลดกาซฯ ตาม INDCs ของตน และขอสังเกตที่นาสนใจไมแพกัน คือ บางประเทศยังไดแสดงขอสงวน ไวใน INDCs ของตน (right to revisit) เพื่อเปดโอกาสใหแกไขไดในภายหลังอีกดวย อยางไรก็ตาม ประเด็นสําคัญทีส่ ดุ อีกประเด็นหนึง่ ทีห่ ลายทานรอคอย คงหลีกไมพน ประเด็น ที่วาเจตจํานง INDCs ของประเทศตาง ๆ เมื่อรวมกันแลว จะสามารถชวยใหบรรลุเปาหมาย การควบคุมมิใหอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส ไดหรือไม ซึ่ง ณ จุดนี้ คงยังไม สามารถตอบไดอยางแนนอนครับ แตก็สามารถบงบอกไดถึงความจําเปนที่โลกจะตองมี แนวทางการยกระดับความพยายามลดกาซเรือนกระจกใหมากขึ้น หากตองการจะใหบรรลุ เปาหมายดังกลาวไดอยางจริงจัง ซึ่งเราคงตองติดตามกันตอไปนะครับวาความหวังนี้จะเกิด เปนจริงไดหรือไม
สุดทายนี้ ผมขอแอบกระซิบวา หนังสือเลมใหม เกีย่ วกับ “การดําเนินงานลดกาซเรือนกระจก ที่ เ หมาะสมของประเทศ : Nationally Appropriate Mitigation Actions (NAMAs)” ซึ่ ง จั ดทํา โดย องคการบริหารจัดการกา ซ เรือนกระจก (องคการมหาชน) ออกแลวนะครับ โดยทานที่สนใจสามารถเขาไปดาวนโหลด ไดที่ www.tgo.or.th June June2015 2015 6767
Green Building นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ
ภิรัชทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์ หรูหรา โดดเด่น รักษ์สิ่งแวดล้อม
การแข่ ง ขั น ด้ า นการพั ฒ นาอหั ง สาริ ม ทรั พ ย์ ป ั จ จุ บั น สิ่ ง ที่ ผู ้ พั ฒ นาควรให้ ค วามส� า คั ญ ไม่ ไ ด้ มี เ พี ย งที่ ตั้ ง ท� า เล ความทันสมัย แต่ต้องใส่ใจเรื่องของความโดดเด่นด้านการออกแบบ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้อยู่อาศัยหรือ ใช้งานได้อย่างครบถ้วน ที่ส�าคัญต้องไม่ลืมใส่เรื่องของการอนุรักษ์พลังงานเข้าเป็นส่วนหนึ่งในการออกแบบด้วย หนึ่งในนั้น คื อ “ภิ รั ช ทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทีย ร์” อาคารที่สามารถตอบโจทย์ดังกล่าวได้อย่างครบถ้วน แลนด์มาร์คแห่งใหม่ ของการพัฒนาอาคารส�านักงานในประเทศไทย
ภิรัชทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์ ถูกออกแบบให้เป็นอาคารส�านักงานสูง 45 ชั้น แห่งใหม่ ที่มีส่วนเชื่อมต่อกับเอ็มควอเทียร์ แหล่งช้อปปิ้งยอดนิยม ถื อ เป็ น การโครงการที่ น� า เสนอบรรยากาศในการท� า งานรู ป แบบใหม่ แ ก่ ผู ้ ประกอบการและพนั ก งาน ด้ ว ยแนวคิด “มิก ซ์ยูส” ผสมผสานการใช้ ประโยชน์พื้นที่ในรูปแบบต่างๆ ณ ย่านธุรกิจใจกลางกรุงเทพมหานคร ที่ถือ เป็นท�าเลทองด้านอหังสาริมทรัพย์ของประเทศ กลุ่มบริษัทภิรัชบุรี เป็นผู้ริเริ่มการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในที่ท�างาน ด้วยการสร้างพื้นที่ไลฟ์สไตล์ที่หลากหลาย ด้วยการเปิดตัวพัฒนาโครงการ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ น� า ร่ อ งในย่ า นสุ ขุ ม วิ ท ที่ มี ค วามหลากหลายทั้ ง เป็ น แหล่ ง ธุรกิจ ช้อปปิ้ง บันเทิง และที่พักอาศัย เพื่อสร้างความสมดุลของการท�างาน และการใช้ชีวิตส�าหรับกลุ่มคนท�างาน PB 68
JuneJune 20152015
อาคารส�านักงานแห่งนี้มีพื้นที่การใช้งานขนาด 47,500 ตารางเมตร ที่เชื่อมต่อกับสถานี รถไฟฟ้าบีทีเ อสพร้ อมพงษ์ เต็ ม ไปด้ วยสิ่ ง อ� านวยความสะดวกต่ า งๆ ประกอบด้ ว ย ห้องประชุมขนาด 570 ตารางเมตร ที่เห็นทิวทัศน์ที่สวยงามของสวนเบญจสิริ ลานจอด เฮลิคอปเตอร์และห้องรับรองส่วนตัว การออกแบบบสถาปัตยกรรมภายนอกที่โดดเด่นและสวยงาม ผสมผสานการออกแบบ ที่เรียบง่ายและร่วมสมัยผสมผสานสไตล์ตะวันตกเข้าด้วยกันได้อย่างลงตัว กระจกด้านหน้า อาคารสร้างจ�าลองจากมงกุฎเพชร ประกอบด้วยกระจกโปร่งใสแบบ Low E และกระจก สะท้อนแสง (Reflective glass) กระจก low-E มีคุณสมบัติช่วยประหยัดพลังงานและลด เสียงรบกวน โดยจะติดตั้งบริเวณลิฟต์ฝั่งเหนือและใต้ แสดงถึงการมุ่งมั่นด�าเนินธุรกิจที่ โปร่งใสของกลุ่มบริษัทอย่างยาวนานหลายทศวรรษ ส่วนกระจกชนิด Reflective ทางฝั่ง ตะวันออกและตะวันตกของอาคาร ที่มีคุณสมบัติสะท้อนแสงอาทิตย์และป้องกันความร้อน ได้ดี แสดงถึงเอกลักษณ์และความมั่นคงของบริษัท การผสมผสานนี้สร้างความโดดเด่นให้กับอาคารส�านักงานแห่งใหม่ที่ตั้งอยู่ด้านบนของ ศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากจากการรวมแหล่งช้อปปิ้งและ ความบันเทิงต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน ด้วยการรวมเอาความโดดเด่นเหล่านี้จึงสร้างความสนใจ ให้แก่ผู้เช่าและกลุ่มคนท�างานได้เป็นอย่างดี อาคารภิรัชทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์ ซึ่งได้รับรางวัลจากเวทีไทยแลนด์ พร็อพเพอร์ตี้ อวอร์ดส์ ได้รับการตอบรับในการเช่า พื้นที่จากบริษัทชั้นน�าในกลุ่มธุรกิจต่างๆ อาทิ ด้านการเงิน อุตสาหกรรม สินค้าอุปโภค บริโภคและธุรกิจบริการ
คุณนิธิพัฒน์ ทองพันธุ์ กรรมการบริหาร หัวหน้าฝ่ายจัดหาอาคารส�านักงาน บริษัท ซีบี ริชาร์ด เอลลิส (ประเทศไทย) กล่าวว่า โครงการอาคารส�านักงานแห่งนีเ้ ป็นโครงการ ที่สามารถดึงดูดผู้เช่าจากหลากหลายกลุ่ม เนื่องจากขณะนี้หลายบริษัทมีแนวโน้มใน การเช่าส�านักงานทีม่ สี งิ่ อ�านวยความสะดวก แบบครบวงจรมากขึ้น กลุ่มบริษัทภิรัชบุรี เป็นผู้พัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์แบบครบวงจรที่มีคุณภาพ บนท�าเลชัน้ เยีย่ มทัว่ กรุงเทพฯ มากว่า 30 ปี โดยเป็นผู้อยู่เบื้องหลังความส�าเร็จและเป็น เจ้ า ของศู น ย์ นิ ท รรศการและการประชุ ม ไบเทค (BITEC) อาคารสมัชชาวาณิช 2 (UBC II) และ วันอุดมสุข คอมมิวนิตี้มอลล์ โดยได้พัฒนาย่านที่พักอาศัยที่เต็มไปด้วย ความมีชีวิตชีวาแห่งนี้ให้เป็นพื้นที่เป้าหมาย ใหม่ ใ นการพั ฒ นาโครงการแบบมิ ก ซ์ ยู ส ภายใต้ความเชื่อว่าจะสามารถสร้างความ สนใจในกลุ่มผู้ประกอบการในการเลือกที่ ตั้งส�านักงานและใช้ชีวิตในพื้นที่นี้
June2015 2015 69PB June
Green Building นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ
คุณปิติภัทร บุรี
คุณปิติภัทร บุรี กรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทภิรัชบุรี กล่าวว่า อาคารภิรัชทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์ ได้รับการออกแบบมาเพื่อตอบสนองต่อทุกๆความต้องการและประโยชน์ ใช้สอยของผู้เช่าด้วยมาตรฐานการก่อสร้างในระดับสูงสุด โดยให้ความส�าคัญเป็นอย่างมาก กับงานด้านวิศวกรรมและนวัตกรรมที่ทันสมัยเพื่อมอบการเติบโตอย่างยั่งยืนทางธุรกิจให้ กับผู้เช่าในย่านธุรกิจใจกลางกรุงเทพมหานคร เรารู้สึกตื่นเต้นที่ได้พัฒนาโครงการดังกล่าว และมีความยินดีที่โครงการนี้เสร็จสมบูรณ์ เชื่ อ ว่ า ผู ้ ป ระกอบการทั้ ง ชาวไทยและชาวต่ า งชาติ ท่ี ต ้ อ งการสภาพแวดล้ อ มที่ ค รบครั น ส� า หรั บ การท� า งานและการใช้ ชี วิ ต จะพึ ง พอใจกั บ สถาปั ต ยกรรมล�้ า สมั ย และสิ่ ง อ� า นวย ความสะดวกในอาคารส�านักงานแห่งนี้
70
June 2015
เราได้สร้างสรรค์โครงการแบบมิกซ์ยสู ซึง่ เป็น อาคารส�านักงานเกรด เอ ในย่านสุขุมวิท ภิรัชทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์ จะเป็น แลนด์มาร์คแห่งใหม่ใจกลางย่านธุรกิจของ กรุเทพฯ โดยปัจจุบันได้รับความสนใจเข้า เยี่ยมชมโครงการจากบริษัทชั้นน�าของไทย และต่างชาติเป็นจ�านวนมาก
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
June 2015 PB
Green Industrial อภัสรา วัลลิภผล
สแกน อินเตอร ผูนําธุรกิจพลังงาน สถานีจําหนายกาซธรรมชาติ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ºÃÔÉÑ· Ê᡹ ÍÔ¹àµÍà ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) (SCAN INTER PUBLIC COMPANY LIMITED) ¶×Í໚¹¼ÙŒ¹ํÒ·Ò§¸ØáԨ ´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹·Ò§àÅ×Í¡â´ÂÁØ‹§à¹Œ¹¡ÒÃÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹ÒÍ‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ ¾ÃŒÍÁ¡Ñº¾Ñ²¹ÒºØ¤ÅÒ¡ÃÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹Á×ÍÍÒªÕ¾ÃдѺÊÒ¡Å ä´Œ¡‹ÍµÑ้§àÁ×่Í ¾.È.2532â´ÂàÃÔ่ÁµŒ¹¸ØáԨ㹴ŒÒ¹ §Ò¹¡‹ÍÊÌҧâÂ¸Ò ÊÌҧʶҹպÃÔ¡Òá Ò«áÅйํ้ÒÁѹ (Gas service station) ÊÌҧâç¡ÅÑ่¹¹ํ้ÒÁѹ áÅÐâç§Ò¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁµ‹Ò§ æ §Ò¹Í͡ẺµÔ´µÑ้§·Ò§´ŒÒ¹à¤Ã×่ͧ¡ÅáÅÐä¿¿‡Ò ÃÇÁ¶Ö§µÔ´µÑ้§·‹ÍÊ‹§¡ Ò« áÅз‹Íáç´Ñ¹ÊÙ§ÍÕ¡´ŒÇÂ
ธุรกิจขนสงกาซธรรมชาติสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม ( iCNG ) ถือเปนธุรกิจแหงอนาคตของ บริษทั สแกน อินเตอร จํากัด (มหาชน) ทีม่ เี ปาหมายตองการขยายธุรกิจขนสงกาซธรรมชาติ ไปยังโรงงานอุตสาหกรรมนอกแนวทอกาซที่ตองการใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง จึงไดมี ระบบการจัดการที่ปราศจากมลพิษทั้งเรื่องการขนสง และระบบการทํางานภายใน ทั้งนี้ ป พ.ศ. 2543 กาซธรรมชาติสําหรับยานยนต (CNG / NGV) เขามามีบทบาทและอยูในความ สนใจของประชาชน ในการลดการพึง่ พาพลังงานจากตางประเทศเพือ่ ลดคาใชจา ยของประชาชน
PB
72
June 2015 June 2015
โดยเปนพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนการ ใชนํ้ามันเชื้อเพลิง อีกทั้งชวยลดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมของเมืองใหญ ดังนั้น บริษัท สแกน อินเตอร จํากัด (มหาชน) จึงไดทุมเท ในการดําเนินธุรกิจดานพลังงาน (Energy Supply) โดยรองรับการใหบริการดานการ ออกแบบและการกอสรางสถานีจําหนาย ก าซธรรมชาติ รวมถึงการติดตั้งและการ ประกอบอุปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งใน ปจจุบันบริษัทฯ ไดมีสถานีหลัก (Mother station) อยูท อี่ าํ เภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เพือ่ อัดบรรจุกา ซธรรมชาติในการขนสง และ กําลังขยายสถานียอยอีกหลายแหง ซึ่งไดรับ ความไววางใจจาก ปตท. ดวยดีเสมอมา และยังเปนที่ยอมรับจากหลายหนวยงาน ของภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและ ตางประเทศ
นอกจากนัน้ ทางบริษทั ฯ ยังได้มคี วามร่วมมือ กับผู้น�าทางด้านเทคโนโลยีก๊าซธรรมชาติ จากหลายประเทศชั้นน�าเพื่อให้การบริการ ในการจัดหา ติดตั้ง ตรวจสอบ และทดสอบ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ รวมถึงระบบก๊าซธรรมชาติในรถยนต์ให้มี คุณภาพมาตรฐาน ภายใต้การควบคุมอย่าง เข้มงวด รวมทั้งงานบริการการบ�ารุงรักษา ตลอดระยะเวลาหลายปีทผี่ า่ นมา ทาง บริษทั สแกน อินเตอร์ จ�ากัด (มหาชน) ได้ทุ่มเท สร้ า งสมประสบการณ์ แ ละพั ฒ นาความ สามารถอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ความเป็นมืออาชีพ และสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพสูงสุด สิ่งที่สะท้อนความยิ่งใหญ่อย่างต่อเนื่องของ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ากัด (มหาชน) คือ การมีธรุ กิจครอบคลุมทางด้านก๊าซธรรมชาติ ทุกแขนงตามแนวคิดเรื่องความมั่นคงของ ธุรกิจ (Sustainable Business) ซึ่งเป็นการ มองภาพการลงทุนที่ก่อให้เกิดผลเชื่อมโยง ไปข้างหน้าและข้างหลังอย่างครบวงจร (Forward and Backward Linkage) และมีการขยาย อุตสาหกรรมประเภทเดียวกันนี้ไปสู่นานา ประเทศ เช่น พม่า อินโดนีเซีย เป็นต้น เพื่อ ขยายฐานการผลิตและการตลาดสู่สากล
บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ากัด (มหาชน) มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี เกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติในระดับสูง มีการวิจัยและพัฒนาด้วยตนเอง โดยคิดค้นระบบลด ความดันก๊าซธรรมชาติ (Pressure Reducing System) ทีบ่ ริษทั ฯ ได้จดสิทธิบตั รเรียบร้อยแล้ว โดยระบบดังกล่าวจะถูกน�าไปติดตั้งให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องการเปลี่ยนจากการใช้ น�า้ มันเตา เพือ่ ลดความดันก๊าซจากรถขนก๊าซสูโ่ รงงานอุตสาหกรรม ซึง่ ถือเป็นการเปิดโอกาส ให้แก่โรงงานที่อยู่ตามแนวนอกท่อก๊าซมีทางเลือกใช้ก๊าซธรรมชาติมาช่วยลดต้นทุนด้าน พลังงานได้ ส�าหรับเป้าหมายของ บริษทั สแกน อินเตอร์ นัน้ มีความต้องการผลักดันให้โรงงานอุตสาหกรรม ตามแนวนอกท่อก๊าซสามารถใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงได้ โดยบริษัทฯ มีแผนขยาย สถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก (Private Mother Station) ไปยังจังหวัดสระบุรีจากเดิมที่มี สถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักที่อ�าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เพื่อรองรับการใช้ก๊าซ ธรรมชาติในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งในปัจจุบัน บริษัทฯ ได้เซ็นสัญญาการให้บริการขนส่ง ก๊าซธรรมชาติไปยังโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่แล้ว 2 ราย ได้แก่ บริษัท สิงห์ คอปอเรชั่น จ�ากัด และบริษัท คิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค ประเทศไทย จ�ากัด นอกจากนี้ยังมีการขนส่งแบบ Trailer เป็นระบบขนส่งด้วยรถพ่วงขนาดใหญ่ที่ได้มาตรฐาน ระดับสากล ผ่านการตรวจสอบจากกรมการขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย โดยมีระบบ SCADA ท�าหน้าที่ควบคุมก�ากับดูแลและ เก็บข้อมูลกระบวนการขนส่งผ่านระบบ GPS ซึง่ จะตรวจวัดระยะทางในการขนส่ง พร้อม ๆ กับการวัดระดับความเร็วของ รถยนต์โดยมีขอบเขตความเร็วจ�ากัดอยู่ที่ 60 ก.ม./ช.ม เนื่องจากรูปแบบรถขนส่ง Trailer ของ สแกน อินเตอร์ มีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับปริมาณก๊าซฯ ที่ลูกค้าต้องการ เช่น Long tube Trailer เป็นระบบขนส่ง ด้วยรถพ่วงขนาดใหญ่ที่บรรจุได้ 3,200 กิโลกรัม/เทีย่ ว Xperia Trailer เป็นระบบ ขนส่ ง ด้ ว ยรถพ่ ว งขนาดใหญ่ที่บรรจุได้
June 2015 PB June 2015 73
Green Industrial อภัสรา วัลลิภผล
6,400 กิโลกรัม/เทีย่ ว และปัจจุบนั บริษทั ฯ มียอดการขนส่งให้กบั สถานียอ่ ย (Daughter Station) ทั้งหมดกว่า 20 สถานี โดยมีก�าลังการผลิตอยู่ที่ 350 ตันต่อวัน เฉลี่ยวันละ 115 เที่ยว พร้อมให้บริการจัดส่งก๊าซธรรมชาติตลอด 24 ชั่วโมง ด้านพันธกิจของทางบริษัท สแกน อินเตอร์ ยังได้มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานที่ สะอาดและยั่งยืน น�าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างมูลค่าให้กับธุรกิจ สร้างผลตอบแทน ที่พึงพอใจให้กับนักลงทุน บริหารจัดการทรัพยากรบุคคลให้มีคุณภาพเพื่อสร้างแรงจูงใจและ ด�ารงรักษาไว้ซึ่งทีมงานที่หลากหลายในบรรยากาศที่เกื้อกูลกัน เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ด้าน Business strategy ทางบริษัทยังมีการค้นหาช่องทางในการ วิจัยและพัฒนาธุรกิจพลังงานอย่างต่อเนื่องและตรงเป้าหมายจัดสร งบประมาณที่เพียงพอ และเหมาะสม ตลอดจนสร้างบรรยากาศที่เกื้อกูลต่อการพัฒนา จัดสรรเครื่องจักรที่ทันสมัย เพื่อส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ อย่างครบวงจร สร้างพันธมิตรในการวิจัย พัฒนา
PB74
June June2015 2015
ผลิตภัณฑ์ต้นแบบพร้อมการทดสอบและ ประเมินผลสู่มาตรฐานสากล มุ่งเน้นการ จดสิ ท ธิ บั ต รเพื่ อ สร้ า งความได้ เ ปรี ย บใน เชิงธุรกิจ น�าผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้รบั มาตรฐานสากล จากการคิดค้น เพื่อการประยุกต์ใช้ในธุรกิจ พลั ง งาน สร้า งธุรกิจบริการด้า นพลังงาน อย่างครบวงจร สร้างจิตส�านึกและแรงจูงใจ ให้พนักงานตระหนักถึงความส�าคัญของการ วิ จั ย และพั ฒ นาลงทุ น ในธุ ร กิ จ พลั ง งานที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
Open House Rainbow Ice
“ไดกิ้น โซลูชั่น พลาซา”
ไดกิ้น เปดตัว ศูนยแสดงเทคโนโลยีดานระบบปรับอากาศแหงแรกในประเทศไทย Open house©ºÑº¹Õ้¨Ð¾Ò·‹Ò¹¼ÙŒÍ‹Ò¹ä»àÂÕ่ÂÁªÁ ºÃÔÉÑ· ÊÂÒÁä´¡Ô้¹à«ÅÊ ¨ํÒ¡Ñ´ «Ö่§¶×Í໚¹ ¼ÙŒ¹ํÒ´ŒÒ¹Ãкºà¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈ·Ñ้§à¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈà¾×่Í·Õ่ÍÂÙ‹ÍÒÈÑ áÅÐà¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈàªÔ§ ¾Ò³ÔªÂ ºÃÔËÒçҹÀÒÂ㵌¤ÇÒÁËÇÁÁ×ÍÃÐËÇ‹Ò§ ºÃÔÉÑ· ä´¡Ô้¹ ÍÔ¹´ÑÊ·ÃÕÊ (»ÃÐà·ÈÞÕ่»Ø†¹) áÅÐ ºÃÔÉÑ· ÊÂÒÁ¡Å¡Òà ¨ํÒ¡Ñ´ ´ŒÇ¾ѹ¸¡Ô¨·Õ่ÁØ‹§ÁÑ่¹ã¹¡ÒþѲ¹ÒáÅмÅÔµÃкº»ÃѺÍÒ¡ÒÈ·Õ่ÁÕ ¤Ø³ÀÒ¾áÅФํÒ¹Ö§¶Ö§ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ¨¹¡ÅÒÂ໚¹¼ÙŒ¼ÅÔµà¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈÍѹ´Ñº 1 ¢Í§»ÃÐà·È ÞÕ่»Ø†¹áÅТͧâÅ¡ ä´¡Ô้¹àªÕ่ÂǪÒÞ´ŒÒ¹Ãкº »ÃѺÍÒ¡ÒÈÁÒÂÒǹҹ¡Ç‹Ò 9 ·ÈÇÃÃÉ à»š¹¼ÙŒ ÃÔàÃÔ่Á¹Çѵ¡ÃÃÁáÅШѴ¨ํÒ˹‹ÒÂà¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈÍÔ¹àÇÍà àµÍà ·Õ่ãËŒ¤ÇÒÁàÂ็¹¾ÃŒÍÁ»ÃÐËÂÑ´ ¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ໚¹ÃÒÂáá㹻ÃÐà·Èä·Â áÅÐÅ‹ÒÊØ´ä´¡Ô้¹Âѧ໚¹ÃÒÂáá¢Í§âÅ¡ 㹡ÒþѲ¹ÒáÅШѴ¨ํÒ˹‹ÒÂà¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈ·Õ่㪌ÊÒ÷ํÒ¤ÇÒÁàÂ็¹ÍÒà 32 (R32) «Ö่§à»š¹ ÁԵáѺÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁá¶ÁÂѧ»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ÍÕ¡´ŒÇÂ
และเมือ่ เร็ว ๆ นี้ ทางบริษทั ฯ ไดทาํ การ เปดตัว “ไดกิน้ โซลูชนั่ พลาซา” (Daikin Solution Plaza) ณ อาคารสํานักงานใหญของบริษัท สยามไดกิ้นเซลส จํากัดขึ้น ดวยงบลงทุนกวา 40 ลานบาท เพื่อใหเปนศูนยนวัตกรรมทางเทคโนโลยีระบบปรับอากาศและเปนแหลงความรูทางวิชาการ ที่รวบรวมเทคโนโลยีดานระบบปรับอากาศสําหรับเครื่องปรับอากาศเชิงพาณิชยและเครื่อง ปรั บ อากาศเพื่ อ ที่ อ ยู อ าศั ย ไว ม ากที่ สุ ด แห ง แรกและแห ง เดี ย วของประเทศไทยโดยใช สื่อมัลติมีเดียอันทันสมัยนําเสนอนวัตกรรมเกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศใหเขาใจงายและนาสนใจ ในแบบฉบับของไดกิน้ ทีไ่ ดรบั แรงบันดาลใจมาจาก ไดกิน้ โซลูชนั่ พลาซา ทัง้ ประเทศญีป่ นุ และจีน
ไดกิน้ โซลูชนั่ พลาซา แหงนี้ เปนความมุง มัน่ อีกประการหนึ่งของไดกิ้นที่ตองการถายทอด องคความรูจากประสบการณที่ยาวนานของ เราในฐานะเปนผูนําในวงการอุตสาหกรรม เครื่องปรับอากาศมาถึงกวา 90 ป สําหรับ ไดกิ้น โซลูชั่น พลาซา แหงนี้ ไดรับแนวคิดมา จากไดกิ้น โซลูชั่น พลาซา จากทั้งในญี่ปุน คือ โตเกียว โอซากา และประเทศจีน นอกจากนี้ ไดกิ้น โซลูชั่น พลาซา ยังเปนทั้งศูนยแสดง เทคโนโลยีระบบปรับอากาศ และผลิตภัณฑ เครือ่ งปรับอากาศทัง้ หมดของไดกิน้ ทีจ่ าํ หนาย ในประเทศไทยและเป น แหล ง ความรู ท าง วิชาการที่ครบวงจรเพื่อบุคคลากรในวงการ อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ ลูกคา หรือ บุคคลทั่วไปที่สนใจที่จะไดรับความรูเกี่ยวกับ เครื่องปรับอากาศไปพรอมความสนุกสนาน เพราะเราใช ส่ื อ มั ล ติ มี เ ดี ย ในการอธิ บ าย เกี่ยวกับระบบปรับอากาศใหเขาใจงายขึ้น
June June2015 2015 75PB
Open House Rainbow Ice
ภายใน ไดกิ้น โซลูชั่น พลาซ่า ประกอบไป ด้วยโซนแสดงนวัตกรรมทั้งหมด 21 โซนย่อย โดยสามารถแบ่งเป็น 2 โซนหลัก ได้แก่ โซน แสดงเทคโนโลยีระบบปรับอากาศเชิงพาณิชย์ และโซนแสดงเทคโนโลยี ร ะบบปรั บ อากาศ เพื่อที่อยู่อาศัย ซึ่งมีไฮไลท์ส�าคัญในโซนย่อย ต่าง ๆ เช่น Daikin Timeline แสดงประวัติศาสตร์ความ เชี่ยวชาญด้านระบบปรับอากาศที่สั่งสมมา ยาวนานกว่า 90 ปีผา่ นสือ่ มัลติมเี ดียอันทันสมัย เริม่ ต้นทีว่ สิ ยั ทัศน์ในการพัฒนาอย่างไม่หยุดยัง้ ที่จะสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพให้แก่ ผูบ้ ริโภคของ มิสเตอร์ อากิระ ยามาดะ ผูก้ อ่ ตัง้
76
June 2015
ห้างหุ้นส่วนจ�ากัด โอซากา กินโซกุ โคเกียว พาร์ทเนอร์ชิพ ในปีพ.ศ. 2467 อันนับว่าเป็นบริษัท แรกเริ่มในการด�าเนินธุรกิจของไดกิ้น และในปี 2511 ถือเป็นปีส�าหรับก้าวส�าคัญของไดกิ้นใน ประเทศไทย บริษทั สยามกลการ จ�ากัด โดย ดร.ถาวร พรประภา ได้เริม่ ก่อตัง้ บริษทั สยามไดกิน้ จ�ากัด เพือ่ ท�าการผลิต น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายเครือ่ งปรับอากาศไดกิน้ เป็นครัง้ แรกในประเทศไทย จวบจนวันนี้ ไดกิ้นได้แนะน�าผลิตภัณฑ์ที่จะช่วยประหยัดพลังงานและแก้ปัญหาด้านการปรับ อากาศ ทั้งยังรักษาสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง VRV Zone เป็นการรวบรวมระบบปรับอากาศ วีอาร์วี ไว้อย่างครบถ้วน โดยระบบ วีอาร์วี เป็นระบบปรับอากาศแบบศูนย์กลางที่คอนเด็นซิ่งหนึ่งตัวสามารถเชื่อมต่อแฟนคอยล์เครื่อง ปรับอากาศได้มากกว่า 20 ตัว มีการค�านวณปริมาณการจ่ายน�้ายาให้เหมาะสมกับอุณหภูมิห้อง แต่ละห้อง พร้อมระบบควบคุมกลางอัจฉริยะ iTM (intelligent Touch Manager) ที่ช่วยควบคุม และตรวจสอบการท�างานของไดกิน้ ระบบ VRV ซึง่ ถูกติดตัง้ ไปทัว่ ทัง้ อาคาร ช่วยผูใ้ ช้งานเปิด-ปิด เครื่องปรับอากาศ ก�าหนดอุณหภูมิแต่ละห้อง ตั้งค่าการท�างานรายสัปดาห์ รวมถึงรายงาน ข้อมูลการใช้พลังงาน จุดไฮไลท์ส�าคัญของโซนนี้อยู่ที่ โซน VRV Round Flow With Sensing ที่จัดแสดงแฟนคอยล์แบบติดตั้งในฝ้าเพดานของระบบ ปรับอากาศ VRV ที่สามารถกระจายลมได้รอบทิศทาง และสามารถควบคุมบานสวิงทั้ง 4 ด้านอย่างอิสระ โดยใช้เซ็นเซอร์ตรวจจับคน และเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิที่ พื้น โดยเซ็นเซอร์ทั้งสองจะท�างานสอดรับกันเพื่อความ เย็นสบายและการประหยัดพลังงานสูงสุด สามารถตั้ง ค่าให้ส่งลมเย็นอัตโนมัติเฉพาะด้านที่เซ็นเซอร์ตรวจจับ เจอคนได้ ในโซนผู้เยี่ยมชมจะได้เข้าใจฟังก์ชั่นการ กระจายลม 4 ทิศทางได้อย่างเป็นภาพ ด้วยนวัตกรรม ของสื่อสร้างสรรค์ผสานกับเซ็นเซอร์ตรวจจับบุคคล ช่วยให้เพลิดเพลินไปกับเครื่องปรับอากาศนี้ได้อย่าง เข้าใจง่าย
Open House Rainbow Ice
Humidity Control Room เป็นห้องทดสอบความชื้นและการ หมุนเวียนลม Humidity Control Room ให้ผู้เข้าชมได้สัมผัสถึง ความสบายเหนือระดับ ด้วยการจัดห้องเปรียบเทียบเครื่องปรับ อากาศธรรมดากับเครื่องปรับอากาศรุ่น Urusara7 ที่มีนวัตกรรม โหมดปรับความชื้นสมดุลอัตโนมัติ โดยให้ทั้งสองห้องมีความชื้น ที่เท่ากัน และปรับอุณหภูมิเท่ากัน ผู้เข้าร่วมจะสัมผัสได้ถึงความ แตกต่างและรู้สึกถึงความสบายอย่างแท้จริง รวมทั้งการประหยัด พลังงานที่สูงกว่าอีกด้วย นอกจากนี้ห้องทดสอบที่ใช้เครื่องปรับ อากาศ Urusara7 ทั้งยังเปรียบเทียบให้เห็นถึงการกระจายลม แบบ Circulation Airflow หรือทิศทางการกระจายลมที่จะส่ง ลมขึ้นด้านบนเพดานห้องและไหลวนกลับทางด้านล่างของเครื่อง ปรับอากาศ Urusara7 เปรียบเทียบกับการกระจายลมของเครื่อง ปรับอากาศทั่วไป ผู้เข้าร่วมจะสังเกตได้ว่าเครื่องปรับอากาศ Urusara7 กระจายลมเย็นได้ระยะ ที่ไกลกว่า ทั่วถึง สม�่าเสมอทั่วทั้งห้องดังนั้นจึงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการท�างานของเครื่อง ปรับอากาศในการปรับอุณหภูมิให้ได้ตามต้องการให้ห้องเย็นเร็วมากขึ้น Operation Sound Experience โซนนี้ผู้เยี่ยมชมจะได้สัมผัสกับการทดสอบระดับเสียงในการ ท�างานของเครื่องปรับอากาศไดกิ้น โดยท�าการเปรียบเทียบระดับเสียงการท�างานระหว่าง เครื่องปรับอากาศไดกิ้นกับเครื่องปรับอากาศที่มีขายในตลาดทั่วไป ผู้เข้าชมจะได้สัมผัสถึง ความเงียบที่แตกต่างของไดกิ้น ไม่รบกวนต่อการพักผ่อนของผู้ใช้งานอย่างแน่นอน และด้วย เครือ่ งวัดระดับเสียงทีถ่ กู วางระบบมาอย่างเทีย่ งตรง จึงมัน่ ใจได้เลยว่ากราฟแสดงผลระดับเสียง เชื่อถือได้ Air Purifier เป็นโซนเครื่องฟอกอากาศ ที่ใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียแสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยี Flash Streamer ลิขสิทธิเ์ ฉพาะไดกิน้ ช่วยเสริมสร้างสุขภาพทีด่ ดี ว้ ยการปล่อย ประจุอเิ ล็คตรอน ความเร็วสูงไปจับกับเชื้อโรคที่ติดอยู่บริเวณแผ่นกรองอากาศและภายในตัวเครื่อง จัดแสดง คุณสมบัติอันล�้าหน้าไม่เหมือนใคร ด้วยเทคนิคการโปรเจคชั่นซึ่งก�าลังเป็นที่นิยมในการน�า เสนอปัจจุบัน Daikin Evolution R32 ในโซนนี้ผู้เยี่ยมชมจะได้ถ่ายรูปกับสัตว์โลกน่ารักในรูปแบบ 3 มิติ พร้อมรับรูปกลับเพื่อเป็นที่ระลึกกลับบ้าน และยังรับรู้ถึงคุณสมบัติของสารท�าความเย็นเจเนอ เรชั่นใหม่ R32 ที่นอกจากไม่ท�าลายโอโซน และยังก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนน้อยกว่าสารท�าความ เย็น R410a ที่ใช้ในปัจจุบันถึง 3 เท่า มากไปกว่านั้น ยังให้ประสิทธิภาพการท�าความเย็นสูงกว่า สารท�าความเย็น R22 ถึง 60% ในรูปแบ บการ์ตูนอนิเมชั่น แม้แต่เด็กก็ยังเข้าใจได้
ทั้ ง ลูกค้าที่มีความสนใจในเครื่องปรับอากาศ ไดกิ้ น ทั้ ง ในแง่ ข ้ อ มู ล ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละส� า รวจ ผลิตภัณฑ์จริง ตลอดจน คู่ค้าทางธุรกิจ หรือ บุคคลทั่วไป นิสิต นักศึกษาที่มีความสนใจใน เรื่องของเครื่องปรับอากาศ ซึ่งนอกจากนี้ยังมี แผนที่จะขยายศูนย์ไดกิ้น โซลูชั่น พลาซ่า ในรู ป แบบเดี ย วกั น นี้ ใ นอี ก หลายจั ง หวั ด ทั่วประเทศในอนาคต ส�าหรับผู้ที่สนใจเข้าเยี่ยมชม ไดกิ้น โซลูชั่น พลาซ่า สามารถเข้าไปได้ที่ ส�านักงานใหญ่ ขอ ง บริ ษั ท สยามไ ดกิ้ น เซ ลส์ จ� า กั ด ซอยอ่อนนุช 55/1 ถนนอ่อนนุช-ลาดกระบัง เปิดให้บริการตั้งแต่วันจันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่ เวลา 08.00 น.- 17.00 น. เว้นวันหยุดราชการ และนั ก ขั ต ฤกษ์ หรื อ สามารถติ ด ต่ อ ฝ่ า ย กิจการทั่วไป โทร. 0-2715-3200 ต่อ 3104 และ 3129
ส�าหรับในการการซื้อเครื่องปรับอากาศนับ เป็นลงทุนในระยะยาว ผู้บริโภคในปัจจุบันจึง ไม่ได้พิจารณาแค่ราคาเครื่องแต่ยังค�านึงถึง ความคุ ้ ม ค่ า และการบ� า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งให้ มีอายุการใช้งานยาวนาน จึงต้องการทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพการท�างานของ เครือ่ งปรับอากาศในเชิงลึก ศูนย์ไดกิน้ โซลูชนั่ พลาซ่า แห่งนี้ จะให้ค�าตอบทุกแง่มุมเกี่ยวกับ เครื่ อ งปรั บ อากาศและทางบริ ษั ท ฯ ยิ น ดี ต้ อ นรั บ ผู ้ ที่ ต ้ อ งการเข้ า เยี่ ย มชมทุ ก กลุ ่ ม June June2015 2015 7777
Vertical Market นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ
รถยนต์ไฟฟ้า
ประเด็ น ที่ น ่ า สนใจเกิ ด ขึ้ น หลั ง ประชุ ม คณะ กรรมการพัฒนาระบบนวัตกรรมของประเทศทีม่ ี พล.อ.ประยุทธ์ จั นทร์ โ อชา นายกรัฐมนตรี และหั ว หน้ า คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ (คสช.) เป็นประธาน ได้เห็นชอบการส่งเสริมให้ ประเทศไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต รถยนต์ ไฟฟ้าที่ใช้แบตเตอรี่โดยมอบหมายให้เอกชน ของไทยเร่ ง ผลิ ต รถยนต์ ต ้ น แบบออกมา พิจารณาในปี 58 นี้ โดยเฉพาะการผลิตออกมา เป็ น รถเมล์ ทั้ ง รถร้ อ นและรถปรั บ อากาศ ซึ่งบริษัทเอกชนที่ได้รับการคัดเลือก จะผลิต รถไฟฟ้ามาจ�าหน่ายให้องค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพ (ขสมก.) เพื่อให้บริการประชาชนต่อไป คาดว่าภายใน 2-3 ปีนี้
78
June 2015
ระบบขนส่งมวลชน ถือเป็นหัวใจหลักในการขับเคลื่อนด้านการคมนาคม ขนส่ง โดยเฉพาะในเมืองหลวงใหญ่ ๆ ทั่วโลก ได้มีการขับเคลื่อนระบบ ขนส่งมวลชน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในทุก ๆ ด้าน ประเทศไทยก็เป็นอีกหนึง่ ประเทศทีม่ คี วามต้องการระบบดังกล่าวค่อนข้างมาก จึงเกิดเป็นแนวคิดในการที่จะต่อยอดให้เป็นศูนย์กลางผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยจัดเอกชนท�ารถต้นแบบมาประกวด เพื่อเป็นแนวทางไปสู่การคัดเลือก และผลิตเป็นรถเมล์ของ ขสมก.
แนวทางนี้ถือเปนการสงเสริมใหเกิดการใช รถยนตที่ประหยัดพลังงานและเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม โดยระยะแรกกําหนดใหทํา รถยนตตนแบบที่ผลิตขึ้นภายในประเทศ ในป 2558 ดวยการใหเอกชนเขามาแขงขัน ผลิตรถโดยสารไฟฟ า ขึ้ น จากนั้ น รั ฐ จึ ง คัดเลือกซึ่งผูประกวดจะตองผลิตรถยนต ที่มีมาตรฐานตรงตามที่รัฐกําหนดและเพื่อ เป น การนํ า ร อ งให ต ลาดดั ง กล า วเติ บ โต จึงไดมอบหมายใหกระทรวงการคลังรับไป พิจารณาเงื่อนไขวา ขสมก. จะมีการจัดซื้อ รถโดยสารใหม ม าให บ ริ ก ารประชาชน สมควรที่ พิ จ ารณาซื้ อ รถโดยสารไฟฟ า ที่ ผลิตในประเทศเปนอันดับตน ๆ พรอมกับ ทั้งนี้ การสงเสริมใหมีการออกแบบรถยนตไฟฟาในประเทศ เปนการสงเสริมใหเกิด หาแนวทางการตั้งสถานีประจุไฟฟาหรือ นวัตกรรมของเอกชนไทย เพราะหากไมมีการผลักดันใหเกิดในประเทศ ก็ตองนําเขาจาก ตางประเทศเสียเปนสวนใหญ ทําใหเกิดขอเสียเปรียบดานราคา ทําใหตองนําเขาและซื้อ สถานีเปลี่ยนแบตเตอรี่ควบคูกันไปดวย ในราคาแพงกวาที่ควรจะเปน ถาหากมีการเริ่มตนสงเสริมใหผลิตไดในประเทศ แนนอน สําหรับรถยนตไฟฟาตนแบบ ถือเปนโจทย วาประเทศไทยมีศักยภาพที่จะทําได และทําไดในราคาที่ถูก มีคุณภาพ ชวยใหเศรษฐกิจ สํ า คั ญ ที่ เ อกชนต อ งไปผลิ ต มาให รั ฐ ดีขึ้นดวย พิจารณา เพราะดวยลักษณะการใชงาน สถาพการจราจรในเมื อ ง หากมี ก าร ที่ประชุมยังเห็นชอบใหยกเวนภาษีเงินไดจากเงินปนผลและกําไรจากการขายหุนใหกับ ออกแบบเองภายในประเทศ นาจะเปนผลดี เอกชนที่รวมลงทุนในธุรกิจฐานเทคโนโลยี เพื่อสรางบรรยากาศใหเกิดธุรกิจรวมลงทุน มากกวารถที่ตองนําเขาจากตางประเทศ เพราะจะเปนชองทางของการหาแหลงเงินทุนใหผูประกอบการลงทุนดานนวัตกรรม เพราะผูออกแบบเองทราบดีวาการใชงาน ขณะเดียวกันหากเอกชนที่ลงทุนในกิจการที่ใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่สามารถเขาไป รถโดยสารของประเทศไทยเปนลักษณะใด จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยไดแลว รัฐจะลดภาษีเงินไดนิติบุคคล ใหเหลือ 15% เปน เชือ่ วาเอกชนของไทยสามารถทําได เพราะ เวลา 5 ป โดยกระทรวงการคลังจะดําเนินการออกพระราชกฤษฎีกาเพื่อยกเวน และลด ประเทศไทยเป น เจ า แห ง อุ ต สาหกรรม ภาษีตามขั้นตอนตอไป ชิ้นสวนยานยนตอยูแลว รถยนตที่ผลิต ออกมาตองใชงานไดจริง มีคุณภาพ ไมใช แคราคาถูก ซึง่ รัฐเองก็พรอมทีจ่ ะสนับสนุน และการผลิตรถยนตไฟฟานี้ ก็ไมเกี่ยวของ กับตลาดรถยนตปรกติทผี่ ลิตในเชิงพาณิชย เพราะการสงเสริมรถยนตไฟฟานี้จะเปน รถโดยสารขนาดใหญ
June2015 2015 7979 June
Vertical Market นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ
นอกจากนี้ ยังเห็นชอบให้จดั ตัง้ กองทุนร่วมทุนในธุรกิจเงินร่วมทุน รัฐจะสนับสนุนเงินตั้งต้นปีละ 500 ล้านบาท เป็นเวลา 4 ปีโดย กองทุนดังกล่าวจะไม่ลงทุนโดยตรงในธุรกิจฐานเทคโนโลยี แต่จะ ลงทุนผ่านกองทุนเงินร่วมลงทุน และทรัสต์เอกชน หรือกองทุน ร่วมทุนที่ตั้งขึ้นโดยมหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัย เพื่อช่วบรรเทา ความเสี่ยงของเอกชน และเป็นแหล่งเงินทุนสนับสนุนการจัดตั้ง ธุรกิจเกิดใหม่ด้านงานวิจัย และสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับ SMEs ด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม ด้วยการขยายผล โครงการทีป่ รึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรม ช่วยแก้ไขปัญหาให้เอกชน ในเชิงเทคนิคโดยตั้งเป้าหมายพัฒนาเอกชนให้ได้ 13,000 ราย ซึ่งจะสนับสนุนงบประมาณ 5,000 ล้านบาท ที่เหลือเป็นเอกชน คาดว่าจะช่วยเพิ่มก�าไรลดต้นทุน เพิ่มการ ลงทุนเพิ่มการจ้างงานได้ประมาณ 90,000 ล้านบาท ภายใน 6 ปี
80
June 2015
June 2015 PB
Viewpoint
นัษรุ ต เถื่อนทองคํา
นํารอง...ภูเก็ต ขึน ้ แทนจังหวัดใชพลังงานมีประสิทธิภาพ Ç‹Ò´ŒÇÂàÃ×่ͧ¢Í§àÁ×ͧ·‹Í§à·Õ่ÂÇ ¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹¶×Í໚¹»˜¨¨ÑÂËÅÑ¡ 㹡ÒÃ¢Ñ º à¤Å×่ Í ¹¾×้ ¹ ·Õ่ ã ËŒ ÁÕ ÈÑ ¡ ÂÀÒ¾à¾Õ  §¾Íµ‹ Í ¡ÒÃÃͧÃÑ º ¤ÇÒÁ µŒÍ§¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹·Õ่¨ÐÁÒ¡¡Ç‹Ò¾×้¹·Õ่Í×่¹ ¨Ñ§ËÇÑ´ÀÙà¡็µà»š¹Ë¹Ö่§ã¹àÁ×ͧ ·‹ Í §à·Õ่  ǷÕ่ ÁÕ¡ÒÃ㪌¾ Åѧ§Ò¹¤‹Í ¹¢ŒÒ §ÊÙ§ ¡ÃзÃǧ¾Åѧ§Ò¹¨Ö§àµÃÕ Á ¹ํÒËͧãˌ໚¹¨Ñ§ËÇѴ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ¨Ò¡¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í ¢Í§¡ÃзÃǧ·‹ Í §à·Õ่  ÇÏ Ë¹‹ Ç ÂÃÒª¡ÒÃã¹¨Ñ § ËÇÑ ´ ËÍ¡ÒäŒ Ò ÍصÊÒË¡ÃÃÁ-¾Åѧ§Ò¹¨Ñ§ËÇÑ´ ¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒÃÀÒ¤¸ØáԨÍÒ¤ÒÃâçáÃÁ Ë ÇÁŴ㪌 ¾ Åѧ§Ò¹ÍÂ‹Ò §¨ÃÔ§¨Ñ§ à¾ÃÒо×้¹ ·Õ่ÀҤ㵌ÍÒ¨ÁÕ¤ ÇÒÁàÊÕ่ § ´Œ Ò ¹¾Åѧ§Ò¹ã¹Í¹Ò¤µ
ภายใต ค วามร ว มมื อ ครั้ ง นี้ เกิ ด เป น การสั ม มนา “ภูเก็ตนํารอง การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ” โดยมี ร องผู ว า ราชการจังหวัดภูเก็ต ผูบ ริหารจาก กระทรวงทองเที่ยวและกีฬา ผูบริหารจากกระทรวง พลังงาน ผูแทนจากหอการคา อุตสาหกรรม และ พลังงานจังหวัด ผูแ ทนจากผูป ระกอบการธุรกิจโรงแรม การทองเที่ยว พรอมทั้งสื่อมวลชนเขารวมงาน เพื่อ เปนจุดเริ่มตนของการรณรงคการใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพในระดับจังหวัด จังหวัดภูเก็ต ถือเปนจังหวัดที่มีการจุดเดนเรื่องการ ทองเทีย่ วและมีผปู ระกอบการภาคธุรกิจอาคารโรงแรม ที่มีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นตอเนื่องจากภาคธุรกิจและ การทองเที่ยวที่เติบโตขึ้น โดยปจจุบันจังหวัดภูเก็ต มีความตองการใชไฟฟา 2,177 ลานหนวย มีความ ต องการใช ไ ฟฟา สูงสุดประมาณ 300 เมกกะวัตต และที่ สําคั ญมีการใชไฟฟา เปนอันดับ 2 ในพื้นที่ ภาคใตรองจากจังหวัดสงขลา การรณรงคดานการ ประหยัดพลังงานของกระทรวงพลังงานคาดวาจะ สามารถนํามาตรการประหยัด และเครือ่ งมือสนับสนุน ทางการเงินตางๆ มาจูงใจใหเกิดการอนุรักษพลังงาน ในจังหวัดภูเก็ตมากยิ่งขึ้น
PB82
June June2015 2015
ภาพรวมการใช้พลังงานในพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด พบว่ามีการใช้ไฟฟ้าคิดเป็น 9% ของทั่วประเทศ มีก�าลังผลิตที่ระดับ 3,182 เมกะวัตต์ และมี ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดประมาณ 3,000 เมกะวัตต์ รวมถึงความจ�าเป็นในพื้นที่ภาคใต้ ยังต้องอาศัยไฟฟ้าจากภาคกลางไปเสริมความ ต้องการในบางช่วงเวลา กระทรวงพลังงานจึง ต้องขอความร่วมมือจากทุกหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ และเอกชนในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต ร่วมกันอนุรักษ์ พลังงานและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ให้มากยิง่ ขึน้ เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการสร้างความ มั่นคงระบบไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ระยะยาว การสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ ผ่ า นมาตรการด้ า น การเงินและการลงทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานที่กระทรวงพลังงาน ได้มาน�าร่องแนะน�าผู้ประกอบการภาคธุรกิจในจังหวัดภูเก็ตผ่าน โครงการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมการลงทุนผ่าน ESCO Fund แนวคิด คือ การเข้าร่วมลงทุนกับภาคเอกชนในโครงการที่มี ศักยภาพที่เข้าไม่ถึงการยื่นของสินเชื่อจากสถาบันการเงินต่าง ๆ ปัจจุบันได้เปิดโครงการในระยะที่ 4 วงเงิน 500 ล้านบาท ระยะ เวลาโครงการระหว่างเดือนเมษายน 2558 ถึง เมษายน 2560 การสนับสนุนการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนอุปกรณ์อนุรักษ์พลังงาน (Direct Subsidy) โดยจะสนับสนุนเงินลงทุน 20% (กลุ่ม SME 30%) อัตราสูงสุดไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อราย ซึ่งจะเปิดรับสมัครถึง 31 กรกฎาคม 2558 ที่สามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.dede.go.th
นอกจากการจั ด สั ม มนาให้ ข ้ อ มู ล ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและ เครือ่ งมือเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานดังกล่าว กระทรวงพลังงาน ยังได้มีโอกาส น�าสื่อมวลชนมาร่วมติดตามโครงการด้านพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในพื้นที่จังหวัดภูเก็ตในหลายโครงการ ได้แก่ การเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าขยะของเทศบาลเมืองภูเก็ต ซึ่งถือ เป็นการใช้ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะของเสียในพื้นที่ จั ง หวั ด การปรั บเปลี่ ยนหลอดประหยัดพลังงาน LED ในถนน สายเมื องเก่ าภู เ ก็ ต เพื่ อช่ วยประหยัดพลังงาน รวมไปถึงการ เยี่ยมชมโมเดลการใช้น�้ามัน E85 ส�าหรับเรือ บริเวณอ่าวมาริน่า เบย์ อีกด้วย
June June2015 2015 83PB
Energy Knowledge อภัสรา วัลลิภผล
วิ ท ยาลั ย พลั ง งานทดแทน ม.นเรศวร
“ระบบสะสมพลังงานส�าหรับประยุกต์ใช้งาน ในโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะของประเทศ” วิจัยน�าร่อง
วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร น�ำร่อง โครงกำร เทคโนโลยีระบบสะสมพลังงำน ส�ำหรับโครงข่ำย ไฟฟ้ ำอั จ ฉริ ย ะของประเทศ ซึ่งนับเป็น โครงกำรต้น แบบ ของประเทศ คำดให้หลำยหน่วยงำนเกิดแนวคิดในกำรน�ำ ไปประยุกต์ใช้และกระจำยในภูมิภำคต่ำง ๆ โดยมีกำรน�ำ ผลวิจัยมำประยุกต์ใช้ในกำรท�ำโปรเจ็คในครั้งนี้ด้วย
ดร.สุขฤดี สุขใจ ผู้อ�ำนวยกำร วิทยำลัยพลังงำนทดแทน มหำวิทยำลัย นเรศวร เล่ำว่ำ วิทยำลัยพลังงำนทดแทน เป็นวิทยำลัยชั้นน�ำด้ำนกำร ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให้ มี ค วำมเป็ น เลิ ศ ทำงวิ ช ำกำรด้ ำ นพลั ง งำนทดแทน กำรวิจัย กำรพัฒนำเทคโนโลยี กำรฝึกอบรมให้มีควำมรู้และพัฒนำ บุคลำกรทำงด้ำนพลังงำนทดแทนและกำรอนุรักษ์พลังงำนในระดับ ชำติและระดับนำนำชำติ โดยมีพันธกิจหลัก 4 ด้ำนได้แก่
84
June 2015
1. ผลิตบัณฑิตที่มีควำมรู้ ทักษะ คุณธรรมและจริยธรรมที่ได้มำตรฐำน และพัฒนำนักวิชำกำร นักวิจัยทำงด้ำนพลังงำนทดแทนที่สำมำรถ ตอบแสนองควำมต้องกำรของประเทศ 2. มุง่ ในกำรวิจยั ทำงด้ำนพลังงำนทดแทน รวมถึงกำรพัฒนำเทคโนโลยี เพื่อให้มีกำรใช้พลังงำนทดแทนอย่ำงแพร่หลำย 3. ให้บริกำรวิชำกำรแก่สังคม ส่งเสริมกำรน�ำเทคโนโลยีไปใช้งำนทั้งใน ระดับอุตสำหกรรมและชุมชน เพื่อให้เกิดกำรพัฒนำกำรใช้พลังงำน ทดแทน โดยกำรให้เข้ำเยี่ยมชม ศึกษำดูงำน จัดฝึกอบรมถ่ำยทอด เทคโนโลยี บริกำรข้อมูลข่ำวสำรทำงด้ำนพลังงำนทดแทน รวมถึง ให้บริกำรวิชำกำรกำรให้ค�ำปรึกษำแก่องค์กร หน่วยงำนทั้งภำครัฐ และเอกชน ชุมชน สังคม 4. ส่งเสริมและสนับสนุนกำรสร้ำงงำนด้ำนท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดจิตส�ำนึกในกำรน�ำมำสร้ำงประโยชน์เพื่อพัฒนำท้องถิ่น ในภูมิภำคและของประเทศ ด้ำน ผศ.ดร.นิพนธ์ เกตุจอ้ ย รองผูอ้ ำ� นวยกำร ฝ่ำยวิจยั วิทยำลัยพลังงำนทดแทน มหำวิทยำลัย นเรศวร เล่ำว่ำ “เทคโนโลยีระบบสะสม พลังงำน ส�ำหรับโครงข่ำยไฟฟ้ำอัจฉริยะ ของประเทศ” เป็นโครงกำรน�ำร่องโดยได้รบั กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนเพื่อ ส่งเสริมกำรอนุรักษ์พลังงำน ส�ำนักงำน นโยบำยและแผนพลังงำน โครงกำรนี้มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษำเทคโนโลยี ร ะบบ สะสมพลั ง งำนที่ เ หมำะสมส� ำ หรั บ กำร ประยุ ก ต์ ใช้ ง ำนในระบบโครงข่ ำ ยไฟฟ้ ำ อัจฉริยะ (Smart Grid) ของประเทศไทย โดยกำรศึกษำครอบคลุมรูปแบบเทคโนโลยี ระบบสะสมพลังงำนที่หลำกหลำย และมี แนวโน้ ม ที่ จ ะได้ น� ำ มำประยุ ก ต์ ใช้ ง ำนใน ระบบ Smart-Grid ของประเทศไทยในอนำคต
และเพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติด้านระบบสะสม พลังงานของประเทศ โดยห้องปฏิบัติการดัง กล่าวสามารถใช้เพื่อการศึกษา วิจัย รวมถึง สาธิตเทคโนโลยีการประยุกต์ใช้ระบบสะสม พลังงานระบบ Smart-Grid ของประเทศไทย อีกทั้งยังใช้ในการก�าหนดทิศทางการพัฒนา อุตสาหกรรมและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้องกับการ สะสมพลังงานในระบบ Smart Grid ของ ประเทศ โดยเราคาดหวังว่า การประยุกต์ใช้ ระบบสะสมพลังงานในระบบ Smart Grid สามารถแบ่งตามรูปแบบของการใช้งานได้ 3 รูปแบบหลัก คือ 1. รูปแบบ Power Quality & UPS 2. รูปแบบ Bridging Power หรือ Shading Power และ 3. รูปแบบ Energy Management ซึ่งแต่ละ รูปแบบการใช้งานนั้นมีความส�าคัญต่อการ พัฒนาระบบ Smart Grid ของประเทศเป็น อย่างยิ่ง
โดยสามารถท�างานได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่เกิดปัญหาไฟฟ้าตกหรือดับภายในโครงข่ายไฟฟ้า ของตนเอง และเมื่อระบบไฟฟ้าก�าลังหลักกลับมาอยู่ในสภาวะปรกติระบบ Micro Grid ก็สามารถกลับเข้าไปเชื่อมต่อกับระบบไฟฟ้าก�าลังหลักได้อย่างปรกติ
ทัง้ นีว้ ทิ ยาลัยพลังงานทดแทนมีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 70 ไร่ มี อ าคารภายในวิทยาลัยฯ จ�า นวน 7 อาคาร ซึ่ ง ใช้ ไ ฟฟ้าทั้งสิ้น ต่อ วัน ประมาณ 8,000 – 10,000 หน่ ว ยต่ อ เดื อ น ภายใน วิทยาลัยพลังงานทดแทนมีการติดตั้งระบบ Micro Grid ซึ่งประกอบไปด้วย ระบบผลิต ไฟฟ้าแสงเซลล์แสงอาทิตย์ 130 กิโลวัตต์ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าหลักของวิทยาลัยฯ เครื่องก�าเนิดไฟฟ้าดีเซลขนาด 100 กิโลวัตต์ ส�าหรับเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าส�ารอง ระบบ สะสมพลังงานขนาด 400 กิโลวัตต์ชั่วโมง ซึ่งสามารถใช้เพื่อท�างานใน 3 รูปแบบหลัก ตามที่ได้อธิบายไปในข้างต้น ในการพัฒนา งานวิจัยด้าน Smart Gird ของวิทยาลัยนั้นได้ ด�าเนินการมาอย่างต่อเนื่องถึง 3 ระยะ ได้แก่ SERT Micro Grid (การพัฒนาระยะที่ 1 พ.ศ. 2549-2554) Micro Grid คือ รูปแบบของ ระบบโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็กซึ่งท�างานอยู่ ภายใต้ระบบควบคุม ภายในระบบประกอบด้วย ระบบผลิตไฟฟ้าซึง่ อาจมาจากพลังงานฟอสซิล หรือพลังงานหมุนเวียน ระบบสะสมพลังงาน และภาระทางไฟฟ้า ระบบ Micro Grid จะเชือ่ มต่อกับระบบไฟฟ้าก�าลังหลัก (เชือ่ มต่อ กั บ ระบบไฟฟ้ า ของการไฟฟ้ า ) โดยระบบ สามารถแยกตัวอิสระ (Islanding Operation) ออกจากระบบไฟฟ้าก�าลังหลักกรณีเกิดปัญหา
ส่วนทาง คุณกิตติ ธนนิธกิ ลุ ผูเ้ ชีย่ วชาญระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ที่ถือเป็นส่วนในการสนับสนุนอุปกรณ์ในการวิจัยครั้งนี้ เผยว่า “ทางชไนเดอร์ อิเล็คทริค รู้สึก ยินดีที่ได้มีโอกาสน�าเสนอโซลูชั่นระบบพลังงานแสงอาทิตย์ให้กับวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ในโครงการเทคโนโลยีระบบสะสมพลังงานทีเ่ หมาะสมส�าหรับการประยุกต์ ใช้งานในโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะของประเทศ ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ในความภูมใิ จทีเ่ ราได้เข้าไปมีสว่ นร่วม สานต่อแนวคิดให้เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งโครงการดังกล่าวข้างต้นยังถือเป็นต้นแบบให้ กับการไฟฟ้าและหน่วยงานอื่น ๆ ของประเทศอีกด้วย และทางชไนเดอร์ อิเล็คทริคเองได้ท�า การติดตัง้ โซลูชน่ั แบบครบวงจรให้กบั โครงการนี้ ซึง่ ครอบคลุมตัง้ แต่การจัดหาสินค้าและอุปกรณ์ รวมถึงการติดตั้งและการบริหารงานทั้งหมด ส�าหรับโครงการโซลาร์รูฟท็อปขนาด 130 กิโลวัตต์ อาทิเช่น โซลาร์อนิ เวอร์เตอร์ทงั้ แบบระบบ On-Grid และ Hybrid Inverter Battery Backup รวมถึง ระบบมอนิเตอริ่งที่สามารถใช้ควบคุมและดูภาพรวมของโรงไฟฟ้าทั้งโครงการ เป็นต้น
SERT Smart Grid (การพัฒนาระยะที่ 2 พ.ศ. 2554-2557) Smart Grid แนวคิดหลักของ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะนั้นคือการพัฒนาระบบไฟฟ้าที่มีอยู่ในปัจจุบันให้กลายเป็น ระบบไฟฟ้า ที่มีความชาญฉลาด ใช้ทรัพยากรให้น้อยลง มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น มีความน่าเชื่อถือ ยั่งยืน ปลอดภัย ร่วมถึงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นได้โดยการพัฒนาเทคโนโลยีระบบ ตรวจวัด ระบบเก็บข้อมูล ระบบสื่อสาร โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารมาบริหารจัดการ ควบคุมการผลิต ส่ง และจ่ายไฟฟ้า สามารถรองรับการเชือ่ มต่อ ระบบไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีลักษณะการกระจายตัว (Renewable Energy Distributed Generation; REDG) และ SERT Smart Campus Power (การพัฒนาระยะที่ 3)วิทยาลัยพลังงานทดแทนในปัจจุบัน ก้าวสู่การพัฒนาในระยะที่ 3 เพื่อพัฒนาไปสู่ Smart Campus Power โดยการเป็นต้นแบบ ของหน่วยงานที่ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเพื่อใช้เองในหน่วยงานโดยให้เข้าสู่ระบบ Net Positive Production คือผลิตใช้เองและเหลือจ่ายออกภายนอกระบบ และ Negative Zero Emission Campus คือหน่วยงานที่ไม่มีการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์จากกิจกรรม การใช้พลังงาน
June June2015 2015 8585
Energy Invention จีรพร ทิพย์เคลือบ
ธัญบุรี โชวนวัตกรรม “เครือ่ งกําจัดฝุน แบบเปยกชนิดแรงดันนํา้ สูง” ËÒ¡¾Ù´¶Ö§ÍصÊÒË¡ÃÃÁä·ÂàÃÒ¡็ÁÑ¡¨Ð¹Ö¡¶Ö§½Ø†¹ËÃ×Í¡ÅØ‹Á¤Çѹ·Õ่¾Ç¾؋§ÍÍ¡ÁÒ·ํÒÅÒªÑ้¹ºÃÃÂÒ¡ÒÈ ¼ÙŒ»ÃСͺ¡Òà ¨Ö § àÃÔ่ Á ËÒÇÔ ¸Õ µ ‹ Ò § æ à¾×่ Í ª‹ Ç ÂÅ´¡ÒäÅФÅØ Œ § ¢Í§½Ø † ¹ ÅÐÍͧ·Õ่ à ¡Ô ´ ¢Ö้ ¹ áÅЪ‹ Ç ÂÅ´¡Òûŋ Í Â¡ Ò «àÃ× Í ¹¡ÃШ¡·ํ Ò ÅÒªÑ้ ¹ ºÃÃÂÒ¡ÒÈâÅ¡ ´Ñ§¹Ñ้¹ Energy Invention ©ºÑº¹Õ้¨Ð¾Òä»·ํÒ¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñºà¤Ã×่ͧ¡ํҨѴ½Ø†¹áººà»‚¡ª¹Ô´áç´Ñ¹¹ํ้ÒÊÙ§ «Ö่§à»š¹¹Çѵ¡ÃÃÁãËÁ‹·Õ่ºØ¤¤Åҡüٌ·Ã§¤Ø³ÇزԢͧÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÁ§¤Å¸ÑÞºØÃÕ¤Ô´¤Œ¹áÅлÃдÔÉ° ¢Ö้¹ÁÒ à¾×่ÍãˌࢌҡѺ ÂؤÊÁÑÂáÅÐÃͧÃѺ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ¢Í§ÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁä·Â·Õ่ÁÕ¡ÒâÂÒµÑÇÍÍ¡ä»Í‹ҧ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§
ผลงาน “เครือ่ งกําจัดฝุน แบบเปยกชนิดแรงดันนํา้ สูง” ของ นายเรวัต ซอมสุข หัวหนาสาขา ครุศาสตรอุตสาหการ คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่นําปญหาที่พบเห็นในประเทศไทยมาเปนแรงผลักดันประดิษฐนวัตกรรมที่เปนประโยชน ออกมา ทั้งนี้ เนื่องจากประเทศไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง ประกอบกับ โรงงานและสถานประกอบการแตละแหง จะตองมีอปุ กรณปอ งกันมลภาวะทางอากาศ เพือ่ ให เปนไปตามขอบังคับของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เมือ่ มลภาวะทางอากาศเพิม่ มากขึน้ จึงจําเปน ตองใชระบบบําบัดอากาศเสียเขามาบําบัด โดยอุปกรณทเี่ ปนทีน่ ยิ มของโรงงานสวนใหญ คือ เครื่องดักจับฝุนดวยหยดนํ้า ซึ่งมีประสิทธิภาพในการดักจับอนุภาคฝุนขนาดเล็กตํ่า และไม จําเพาะเจาะจงที่ฝุนประเภทโลหะ นายเรวัต ซอมสุข เปดเผยวา เครื่องกําจัดฝุนแบบเปยกชนิดแรงดันนํ้าสูงนี้ ถูกออกแบบให มีความสามารถในการดักจับฝุนละลองที่มีขนาดเล็กที่ปนมาในอากาศได โดยใชนํ้าเปนตัว ดักจับผงฝุนแลวผานไปยังถังหมุนเวียนนํ้า ซึ่งมีหลักการทํางาน คือ ใชหลักความสมดุล ระหวางแรงดันนํ้ากับอากาศ โดยใชโบเวอร (Blower) เปนตัวดูดอากาศเสียเขาไปในระบบ และใชหัวฉีดสเปรยเพียง 1 หัว ทําการพนนํ้าที่แรงดันสูง จนนํ้าที่ออกจากหัวฉีดกลายเปน ละลองฝอย เมื่ออากาศปะปนดวยอนุภาคละอองฝุนที่เขามาจากทอลําเลียงอากาศ เขาสู 86 86
JuneJune 20152015
หอบ�ำบัด ละอองน�้ำที่ถูกพ่นจำกหัวฉีดจะ เกิดกำรสัมผัสกันและจับตัวกลำยเป็นหยดน�ำ้ ตกตะกอนลงไปในถั ง ด้ ำ นล่ ำ ง จำกกำร พิจำรณำสัดส่วนของน�ำ้ กับอำกำศทีเ่ หมำะสม ด้ ว ยระบบกำรควบคุ ม ทั้ ง แรงดั น น�้ ำ และ ปริมำณของอำกำศของเครื่องที่ถูกพัฒนำ ขึ้นมำ ท�ำให้เพิ่มประสิทธิภำพในกำรก�ำจัด ฝุ่นได้มำกยิ่งขึ้น เครือ่ งก�ำจัดฝุน่ แบบเปียกชนิดแรงดันน�ำ้ สูงนี้ มีวสั ดุและอุปกรณ์สำ� คัญหลัก ๆ คือ ถังบ�ำบัด ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบหอแนวตั้ง อุปกรณ์ ควบคุ ม กำรจ่ ำ ยปริ ม ำณน�้ ำ ลั ก ษณะที่ ใ ห้ แรงดั น สู ง ระบบดู ด อำกำศควบคุ ม ด้ ว ย อินเวอร์เตอร์ ถังไหลเวียนและแผ่นดักไอน�้ำ ซึ่งต้นทุนในกำรผลิตเครื่องต้นแบบนี้มีรำคำ อยู่ประมำณ 60,000 บำท และผลที่ได้จำก กำรทดสอบ พบว่ำ เครื่องก�ำจัดฝุ่นแบบ
เปียกชนิดแรงดันน�้ำสูง มีประสิท ธิภำพในกำรดักจับผงฝุ ่ น ขนำดเล็ ก จำกกำรทดสอบ อนุภำคฝุ่นที่ 3 ไมครอนและที่สูงกว่ำ 10 ไมครอน มีประสิทธิภำพดักจับฝุ่นได้มำกกว่ำ 95 เปอร์เซ็นต์ เมื่อแรงดันน�้ำที่สูงขึ้น มีผลให้ประสิทธิภำพกำรบ�ำบัดสูงขึ้น อนุภำคฝุ่นมีโอกำส สัมผัสกับอนุภำคของหยดน�้ำมำกขึ้น ผงฝุ่นที่น�ำมำใช้ทดสอบจึงถูกดักจับได้ทั้งหมด และยัง สำมำรถลดปริมำณกำรใช้น�้ำลงได้ ทัง้ นี้ เครือ่ งก�ำจัดฝุน่ แบบเปียก ชนิดแรงดันน�ำ้ สูงได้ผลตอบรับ จำกโรงงำนอุตสำหกรรมหลำยแห่ง เนื่องจำกเป็นประโยชน์และ ตอบโจทย์กำรบ�ำบัดมลภำวะ ทำงอำกำศ ขณะนีก้ ำ� ลังอยู่ใน ระหว่ำงกำรด�ำเนินกำรจดทะเบียน อนุสิทธิบัตร ผู้สนใจสำมำรถ ติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0-2549-4710
JuneJune 2015201587 87
Energy Report
คุคุณณชนากานต์ ชนากานต์สัสันนตยานนท์ ตยานนท์ทีที่ป่ปรึกรึกษาอาวุ ษาอาวุโสโสศูศูนนย์ย์บบริหริหารจั ารจัดดการเทคโนโลยี การเทคโนโลยีสํสํานัานักกงานพั งานพัฒฒนาวิ นาวิททยาศาสตร์ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเทคโนโลยีแห่แห่งงชาติ ชาติ
สราง “หมอเลื่อย” ในโรงงาน
ลดตนทุนพลังงาน และถนอมเครื่องเลื่อยอยางถูกวิธี
iTAP จัดโครงการ “พัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ ศักยภาพการแขงขันของอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑไม” หวังบมเพาะและพัฒนา “หมอเลื่อย” ใหกับโรงงานที่ตองการ ลดตนทุน ลดคาใชจายดานพลังงานไฟฟา เพิ่มทักษะเสริมความแข็งแกรงและ ความสามารถทางการผลิตสําหรับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมและเครื่องเรือนไทย โดยไดจัดใหมีการอบรมสัมมนาเพื่อใหความรูดานเทคนิคการใชและการบํารุงรักษา เครื่ อ งมื อ คม การใช ใ บเลื่ อ ยและเครื่ อ งเลื่ อ ยอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยเน น 6 หัวขอหลัก ๆ ไดแก 1. ปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการใชเครื่องมือคมและใบเลื่อย 2. สวนประกอบตาง ๆ ของใบเลื่อยที่มีผลตอการทํางาน 3. สาเหตุที่ทําใหเกิดความเสียหายของเครื่องมือคมและใบเลื่อย 4. การใชใบเลื่อยสายพานหนาแคบ (narrow bandsaws) 5. การใชใบเลื่อยสายพานหนากวาง (wide bandsaws) 6. การบํารุงรักษาเครื่องเลื่อยสายพาน
อาจารยสันทัด แสงกุล ผูเชี่ยวชาญดานอุตสาหกรรมไมจากโครงการ iTAP
อาจารยสันทัด แสงกุล ผูเชี่ยวชาญดานอุตสาหกรรมไม จาก โครงการ iTAP ภายใต ศู น ย บ ริ ห ารจั ด การเทคโนโลยี สํ า นั ก งานพั ฒ นาวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี แห ง ชาติ (สวทช.) คือ วิทยากรบรรยายและผูเ ชีย่ วชาญหลักของโครงการนี้ ดวยเจตนารมณทมี่ รี ว มกัน ระหวาง สวทช. และผูเชี่ยวชาญที่เห็นความสําคัญของคําวา “ทําใหถูกวิธีในทุกเรื่อง..เพื่อ สรางคุณภาพใหกับทุกงานที่ทํา” และดวยความเขาใจที่ตรงกันวา “ไม” เปนวัตถุดิบ สําคัญในการผลิตของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมและเครือ่ งเรือน ดังนัน้ การแปรรูปไมเพือ่ นํามา ใชประโยชนในอุตสาหกรรมนีจ้ งึ ตองรูจ กั วิธกี ารทีถ่ กู ตองในการใชเครือ่ งมือตาง ๆ โดยเฉพาะ “เลื่อย” ซึ่งเปรียบเสมือนอุปกรณอันเปนหัวใจสําคัญของอุตสาหกรรมนี้ เนื่องจากหากการ ใชเลื่อยไมมีประสิทธิภาพจะทําใหสูญเสียวัตถุดิบ อีกทั้งยังเพิ่มตนทุน เพิ่มคาไฟฟาใน การผลิต ซึ่งในการสงเสริมกิจกรรมครั้งนี้ ประกอบดวย กิจกรรมที่ครอบคลุมและครบวงจร ตั้งแตการจัดอบรมสัมมนาใหความรูแกผูประกอบการในอุตสาหกรรมไม โดยใหความรูและ ใชเทคโนโลยีในการผลิตผลิตภัณฑไมไดอยางเหมาะสม ซึ่งที่ผานมาไดมีผูเขารวมฟงการ อบรมสัมมนาไปแลวกวา 100 คน จากการจัดอบรมสัมมนากวา 4 ครั้ง ทั้งในกรุงเทพมหานคร จ.ระยอง จ.เชียงใหม และจ.นครศรีธรรมราช เปนตน และกิจกรรมตอเนื่องหลังการอบรม สั ม มนา คื อ การเข า ให คํ า ปรึ ก ษาเชิ ง ลึ ก แก ผู ป ระกอบการที่ มี ค วามสนใจ ที่ ผ า นมา มีผูประกอบการขอรับการสนับสนุนฯ ไปแลวกวา 10 ราย โดยมีตั้งแตขอรับคําแนะนํา การออกแบบและสรางหองลับคม พรอมการสั่งซื้ออุปกรณและเครื่องเลื่อยที่เหมาะสม ไป จนถึงการใชใบเลื่อยที่ถูกตอง และการบํารุงรักษาใบเลื่อยและเครื่องเลื่อยใหมีประสิทธิภาพ เพื่อเสริมสรางความสามารถทางการแขงขันในอุตสาหกรรมไมของไทย
8888
June2015 2015 June
อาจารยสันทัด แสงกุล กลา วเพิ่มเติมวา “หมอเลื่อยมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง เขาใจถึงพื้นฐานการใชใบเลื่อย หรืองาน เกี่ ย วกั บ ใบเลื่ อ ยและต อ งรู จั ก วิ ธี ก าร วิเคราะหปญหาเพื่อจะไดใชอุปกรณตาง ๆ อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสามารถแก ไข ปรับปรุงดูแลอุปกรณและเครื่องเลื่อยไดเปน อยางดี จึงจะถือวาเปน “หมอเลื่อย” ที่ดี” ดังนั้น โครงการฯ จึงมุงเนนการใหความ สําคัญกับหมอเลื่อย หรือ Saw Doctor ที่มี หนาที่สําคัญอยางยิ่งในการวินิจฉัยเกี่ยวกับ การใชเลือ่ ยเพือ่ แปรรูปไม เปรียบเสมือนหมอ ที่ตองรูจักตั้งสมมติฐาน วิเคราะหโรคของไม ตรวจสอบปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของในการ ปฏิบัติงานหรือจุดสําคัญในการบํารุงรักษา เลื่อยสายพาน เชน การเดินเครื่องที่เรียบ ไมมีการสั่นของเครื่องเลื่อย การตั้งใบเลื่อย และอุปกรณที่ถูกตอง อีกทั้งยังตองคํานึงถึง ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน ฯลฯ รวมถึง หาวิ ธี แ ก ไขเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง การทํ า งานให มี ประสิทธิภาพ ตลอดจนการดูแลใบเลื่อย เพื่อนําไปใชงานใหเกิดประโยชนสูงสุด
การจัดอบรมสัมมนาเทคนิคการใชและการบํารุงรักษาใบเลื่อย ณ จ.นครศรีธรรมราช
นอกจากการใหความรูใ นรูปแบบของการจัดอบรมดังเชนทีก่ ลาวมาแลว สวทช. ยังไดสนับสนุน งบประมาณในการจัดทําชุดความรูในชื่อ “เทคนิคการผลิตและเทคนิคทางวิศวกรรม สําหรับการผลิตเฟอรนิเจอรและผลิตภัณฑไม” จํานวน 8 เลม ซึ่งเขียนและเรียบเรียงโดย ผูเ ชีย่ วชาญจากภาควิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวิทยาลัยเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ โดยหนึ่งในแปดเลมนั้นมีหนังสือชื่อ “เทคนิคในการตั้งใบมีดและการตั้งเครื่องใสไม” ซึ่งเรียบเรียงโดย อาจารยสันทัด แสงกุล หากผู อ า นสนใจจะมี ไว ใ นครอบครองเพื่ อ เสริ ม เทคนิ ค ในการดู แ ลและการใช ใ บมี ด ที่ ถูกวิธี หนังสือดังกลาวมีวางจําหนายที่รานหนังสือซีเอ็ดทุกสาขา ศูนยหนังสือ สวทช. และ ศูนยหนังสือของมหาวิทยาลัย เชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หรือติดตอมาที่ผูเขียนโดยตรง เพื่อชวยประสานงานกับศูนยจัดหนายเพื่ออํานวยความสะดวกไดคะ หากผูอ า นสนใจจะขอรับการสนับสนุนจาก สวทช. สําหรับพัฒนาดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม การผลิต สามารถสอบถามขอมูลเพื่อขอรับการสนับสนุนไดที่ คุณชนากานต สันตยานนท โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@tmc.nstda.or.th ฉบับหนาผูเขียนจะนําเสนอตัวอยางของผูประกอบ การที่เคยขอรับการสนับสนุนเพื่อสรางหมอเลื่อยให กับโรงงาน โปรดติดตามอานในฉบับหนาคะ
หนาปกหนังสือชื่อ “เทคนิคในการตั้งใบมีดและ การตั้งเครื่องใสไม” เรียบเรียงโดย อาจารยสันทัด แสงกุล
ขอบคุณ อาจารยสันทัด แสงกุล สําหรับขอมูล ดานเทคโนโลยีของโครงการฯ June2015 2015 8989 June
Energy Loan กรีนภัทร์
โครงการกองทุนฟนฟูสภาพเครื่องจักร กับ ฝายสงเสริมการคาและการลงทุน ½†ÒÂÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒäŒÒáÅСÒÃŧ·Ø¹ ໚¹Ë¹‹Ç§ҹ˹Ö่§ã¹ÊÀÒÍصÊÒË¡ÃÃÁáË‹§»ÃÐà·Èä·Â (Ê.Í.·.) ʹѺʹع â¤Ã§¡Òáͧ·Ø¹¿„œ¹¿ÙÊÀÒ¾à¤Ã×่ͧ¨Ñ¡Ã (Machine Fund) ÁÒ¨Ò¡ËÅÑ¡¡ÒÃáÅÐà˵ؼŠà¤Ã×่ͧ¨Ñ¡Ã໚¹µÑǨѡà ÊํÒ¤ÑÞ㹡ÒâѺà¤Å×่͹¡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒã¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁÊÒ¢Òµ‹Ò§æ ¡Ò÷Õ่ÃÒ¤Òà¤Ã×่ͧ¨Ñ¡ÃÁÕÁÙŤ‹ÒÊÙ§ÁÒ¡ â´Â੾ÒÐ à¤Ã×่ͧ¨Ñ¡Ã·Õ่ÁÕ à·¤â¹âÅÂÕÊÙ§ ¨Ö§Ê‹§¼Å¡Ãзºµ‹Í¡ÒÃŧ·Ø¹áÅТմ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹¢Í§ÍصÊÒË¡ÃÃÁä·Â áÅмٌ»ÃСͺ¡Òà SMEs Í‹ҧÁÒ¡
เพื่ อ เป น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ให ผูป ระกอบการและลดการนําเขาเครือ่ งจักรจากตางประเทศ ประเทศไทยจําเปนตองมีนโยบาย ยุทธศาสตร และแผน พั ฒ นาส ง เสริ ม ให ภ าคอุ ต สาหกรรมได มี โ อกาสเข า ถึ ง เครือ่ งจักรทีเ่ หมาะสมไดอยางชัดเจนตอเนือ่ ง และบูรณาการ ปจจุบันประเทศไทยมีการนําเขาเครื่องจักรอุตสาหกรรม ในอัตราทีส่ งู ในป 2548 มีการนําเขาเครือ่ งจักรถึง 8 พันลาน ดอลลารสหรัฐ คิดเปน 6.8% ของมูลคาการนําเขาทั้งหมด ของประเทศไทย และมีเครื่องจักรที่นําเขาสะสมตลอด 20 ป ผานมาจํานวน 8 หมืนลานเครื่อง ในจํานวนนี้ 50% เปนเครื่องจักรที่สมควรตองปรับปรุงประสิทธิภาพเพราะ มีสภาพเกาแกมาก เพื่อเปนการสงเสริมและสนับสนุนใหผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมไดมีโอกาส ไดใชเครื่องจักรที่ทันสมัยมากขึ้น และเปนการสงเสริมฟนฟู เครื่องจักรภายในประเทศ และลดการนําเขาเครื่องจักรจากตางประเทศ จึงจัดทําโครงการ Machine Fund ขึ้น เพื่อเปนแหลงสนับสนุน เงินทุนดอกเบี้ยตํ่าชวยเหลือผูประกอบการจํานวน 50 ราย ที่ ต อ งการทุ น สํ า หรั บ พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพและเทคโนโลยี ข องเครื่ อ งจั ก รให ทั น สมั ย
90
June 2015
เพือ่ ใหทนั กับการแขงขันดวยการชวยจัดหา เงินทุนดอกเบี้ยตํ่าและสนับสนุนดอกเบี้ย 3% ใหกับผูประกอบการ SMEs เปนระยะ เวลา 5 ป ผูที่สนใจสามารถยื่นขอเสนอ ความต อ งการได แ ละทางฝ า ยส ง เสริ ม การคาและการลงทุน สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) จะรับพิจารณา ตามความเหมาะสม
June 2015 PB
Special report ฮาบีบะห์
เห็นชอบกรอบบริหารจัดการแหล่งก๊าซ ตามที่ ก ระแสสั ง คมให้ ค วามสนใจกั บ การพั ฒ นา สัมปทานปิโตรเลียมในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา ถึงผลประโยชน์ที่ประเทศจะได้รับจากการเปิดสัมปทาน ต่าง ๆ ส่งผลให้คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติเห็นชอบกรอบแนวทางการบริหารจัดการ แหล่งก๊าซธรรมชาติที่สัมปทานจะสิ้นสุดอายุในปี พ.ศ. 2565–2566 ชีไ้ ม่ได้เป็นการต่ออายุสมั ปทานแต่อย่างใด
พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) โดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ได้มีมติเห็นชอบกรอบแนวทางการ บริ ห ารจั ด การแหล่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ที่ สั ม ปทานจะ สิ้นอายุในปี พ.ศ. 2565 และปี พ.ศ. 2566 จ�านวน 2 บริษัท ตามที่กระทรวงพลังงานเสนอ จ�าเป็นต้อง ด� า เนิ น การให้ มี ค วามชั ด เจน 5 ปี ก่ อ นสิ้ น อายุ สัมปทาน เพื่อมิให้กระทบต่อการลงทุนในการพัฒนา แหล่งผลิต และรักษาเสถียรภาพและความต่อเนื่อง ของการผลิตก๊าซธรรมชาติของประเทศ ย�้ากระทรวง 9292
June June2015 2015
พลังงานและคณะกรรมการปิโตรเลียมพร้อมรับมอบหมายด�าเนินการพิจารณา หาข้อยุติภายใน 1 ปี นางพวงทิพย์ ศิลปศาสตร์ อธิบดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ กล่าวว่า ตามทีส่ มั ปทาน ปิโตรเลียม ทีร่ ฐั บาลไทยออกให้แก่ผรู้ บั สัมปทานภายใต้พระราชบัญญัตปิ โิ ตรเลียม เมื่อปี พ.ศ. 2514 จ�านวน 2 บริษัท ก�าลังจะสิ้นสุดอายุสัมปทานลงในเดือน เมษายน 2565 และมีนาคม พ.ศ. 2566 ซึ่งตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ไม่สามารถต่ออายุสัมปทานได้อีก และบรรดาทรัพย์สินทั้งหมดจะตกเป็นทรัพย์สิน ของรัฐ โดยสัมปทานปิโตรเลียม (จ�านวน 4 สัมปทานใน 7 แปลงส�ารวจ) ที่ก�าลัง จะสิ้นสุดอายุสัมปทาน ประกอบด้วย
Special report เพื่อรักษำระดับกำรผลิตเพื่อควำมต่อเนื่องในกำรผลิตก๊ำซธรรมชำติในกำรสร้ำงควำมมั่นคง ด้ำนพลังงำนของประเทศ จึงมีควำมจ�ำเป็นต้องมีควำมชัดเจนอย่ำงช้ำภำยในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงพลังงำนจึงได้เสนอกรอบแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรในพืน้ ทีส่ มั ปทำนดังกล่ำวข้ำงต้น ดังนี้ 1. พิจำรณำหำผู้ด�ำเนินงำนในพื้นที่ที่จะสิ้นสุดอำยุสัมปทำน ซึ่งต้องค�ำนึงถึงควำมต่อเนื่อง ในกำรพัฒนำแหล่งก๊ำซ รักษำเสถียรภำพกำรผลิตก๊ำซธรรมชำติของประเทศ รวมถึงน�ำ ทรัพยำกรก๊ำซธรรมชำติขึ้นมำใช้ประโยชน์ให้ได้มำกที่สุด
นางพวงทิพย์ ศิลปศาสตร์
1. แปลงส�ำรวจหมำยเลข B10, B11, B12 และ B13 (สัมปทำนหมำยเลข 1/2515/5 และ 2/2515/6) ของแหล่งก๊ำซธรรมชำติ เอรำวัณและใกล้เคียง ปัจจุบันมีอัตรำ กำรผลิต 1,240 ล้ำนลูกบำศก์ฟุตต่อวัน ด�ำเนินกำรโดย บริษทั เชฟรอนประเทศไทย ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด 2. แปลงส�ำรวจหมำยเลข B15, B16 และ B17 (สัมปทำนหมำยเลข 3/2515/7 และ 5/2515/9) ของแหล่งก๊ำซธรรมชำติบงกช ปั จ จุ บั น มี อั ต รำกำรผลิ ต 870 ล้ ำ น ลูกบำศก์ฟตุ ต่อวัน ด�ำเนินกำรโดย บริษทั ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหำชน)
2. พิจำรณำระบบกำรบริหำรจัดกำรฯ จัดเก็บผลประโยชน์เข้ำรัฐ (Government’s Take) ซึ่ง สำมำรถเป็นได้ทั้งระบบสัมปทำนตำมกฎหมำยปิโตรเลียมหรือระบบสัญญำอื่น ๆ ได้แก่ ระบบสัญญำแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing Contract : PSC) ซึ่งในทุกแนวทำงจะ ต้องมีกำรแก้ไขกฎหมำย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชำติและประชำชน อนึ่ง หำกจะมีกำรน�ำระบบ PSC มำใช้ก็อำจต้องมีกำรปรับโครงสร้ำงองค์กรของรัฐ และจะ ต้องเตรียมควำมพร้อมของบุคลำกรควบคู่ไปด้วย 3. กำรเพิ่มสัดส่วนของรัฐ (Government Participation) ในกำรถือครองแหล่งก๊ำซให้อยู่ใน ระดับที่เหมำะสมและเป็นธรรม โดยน�ำศักยภำพปริมำณส�ำรองปิโตรเลียมที่เหลืออยู่ใน พื้นที่ผลิต รวมทั้งสิ่งก่อสร้ำงและอุปกรณ์กำรผลิตที่จะตกเป็นของรัฐตำมกฎหมำย เมื่อสิ้นสุดสัมปทำน มำประกอบกำรพิจำรณำด้วย ซึ่งอำจต้องเจรจำเพื่อลดสัดส่วนกำร ถือสิทธิของผู้รับสัมปทำนและเพิ่มสิทธิกำรถือสิทธิของรัฐ (Government Participation) ในพื้นที่ผลิต หรือกำรเรียกเก็บโบนัสกำรลงนำมหรือโบนัสกำรผลิตต่ำงๆ เพิ่มขึ้นด้วย ปัจจุบันกระทรวงพลังงำน อยู่ระหว่ำงกำรด�ำเนินกำรศึกษำในประเด็นต่ำงๆ ดังนี้ 1. คณะกรรมกำรปิโตรเลียม ได้มีกำรแต่งตั้งคณะอนุกรรมกำรเพื่อศึกษำพิจำรณำเสนอ แนะแนวทำงในกำรด�ำเนินกำรคัดเลือกผู้ด�ำเนินงำนและระบบบริหำรจัดกำรที่เหมำะสม รวมถึงแก้ไขกฎหมำย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอต่อกระทรวงพลังงำนและคณะ รัฐมนตรีพจิ ำรณำตำมกรอบแนวทำงทีก่ ระทรวงพลังงำนเสนอเพือ่ พิจำรณำในครัง้ นีต้ อ่ ไป 2. กรมเชื้อเพลิงธรรมชำติได้ด�ำเนินกำร - ว่ำจ้ำงบริษทั ผูเ้ ชีย่ วชำญทีป่ รึกษำเพือ่ ท�ำกำรประเมินปริมำณส�ำรองและปริมำณทรัพยำกร ของกลุ่มแหล่งก๊ำซเอรำวัณ และแหล่งก๊ำซบงกช - จัดท�ำบัญชีสิ่งติดตั้ง/อุปกรณ์กำรผลิต โดยแยกสิ่งติดตั้งที่เป็นของผู้รับสัมปทำนกับ สิ่งติดตั้ง/อุปกรณ์กำรผลิตที่เป็นกำรเช่ำเพื่อใช้งำน เพื่อพิจำรณำส่วนที่จะต้องน�ำกลับ มำเป็นของรัฐ
ปัจจุบันเป็นแหล่งผลิตก๊ำซธรรมชำติหลัก ของประเทศไทย ประมำณ 2,214 ล้ำน ลูกบำศก์ฟตุ ต่อวัน หรือคิดเป็นร้อยละ 76 ของ ปริมำณกำรผลิตก๊ำซธรรมชำติในอ่ำวไทย ในปี พ.ศ. 2557 และเชื่อว่ำจะสำมำรถผลิต อธิบดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชำติ ย�ำ้ ว่ำหลังจำกนีก้ ระทรวงพลังงำนและคณะกรรมกำรปิโตรเลียม ก๊ำซธรรมชำติ ขึ้ น มำใช้ ไ ด้ ต ่ อ อี ก ประมำณ จะด� ำ เนิ น กำรตำมกรอบแนวทำงกำรบริ ห ำรจั ด กำรแหล่ ง ก๊ ำ ซธรรมชำติ ที่ สั ม ปทำนจะ สิน้ อำยุตำมที่ กพช. ได้ให้ควำมเห็นชอบในครัง้ นี้ โดยจะด�ำเนินกำรให้ได้ขอ้ ยุตทิ เี่ ป็นรูปธรรม 10 ปี หำกมีกำรลงทุนอย่ำงต่อเนื่อง ภำยใน 1 ปี (นับจำกวันที่ได้รับควำมเห็นชอบ 14 พฤษภำคม พ.ศ. 2558) และขอให้ควำม มั่นใจว่ำกำรด�ำเนินกำรดังกล่ำวมิได้เป็นกำรต่ออำยุสัมปทำนปิโตรเลียมภำยใต้เงื่อนไขเดิม แต่อย่ำงใด แต่จะด�ำเนินกำรโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชำติและและประชำชนสูงสุด และมีเป้ำหมำยเพื่อสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนพลังงำนของประเทศเป็นส�ำคัญ June June2015 2015 9393
Special Scoop กรีนภัทร์
SETA 2016 ครั้งแรกของไทย โชว์ศักยภาพพลังงานและเทคโนโลยีไม่แพ้ใครในเอเชีย การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของโลกอยู ่ บ น พื้นฐานการใช้พลังงานที่เพียงพอและสมดุล รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ล�้าสมัย และเหมาะสมเข้ า ด้ ว ยกั น จึ ง เป็ น หนึ่ ง ใน เหตุ ผ ลให้ เ กิ ด การจั ด ประชุ ม วิ ช าการและ นิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลังงาน และเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2559” หรือ “SETA 2016” ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ไทย ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดงานนี้ขึ้นเพื่อ เชื้ อ เชิ ญ ผู ้ บ ริ ห ารภาครั ฐ และภาคเอกชน ผู ้ ผ ลิ ต บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า นั ก วิ ช าการ ผู้เชี่ยวชาญ บริษัทผู้ผลิตพลังงานทดแทน ธนาคาร นักลงทุน จากทุกภาคส่ว นและ ผู้สนใจทั่วไปทั้งในและต่างประเทศร่วมกัน ก�าหนดนโยบายและการวางแผนด้านพลังงาน เทคโนโลยี ร ะบบไฟฟ้ า พลั ง งานเพื่ อ การ คมนาคมขนส่ ง และพลั ง งานทางเลื อ กและ พ ลั ง ง า น ยั่ ง ยื น แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี สี เ ขี ย ว หวังผลักดันและยกระดับประเทศไทยให้เป็น ศู น ย์ ก ลางองค์ ค วามรู ้ ด ้ า นพลั ง งานและ เทคโนโลยีในระดับภูมิภาคเอเชีย
รศ.ดร.ธัชชัย สุมติ ร ประธานคณะกรรมการด�าเนินงาน โครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2559 กล่าวว่า งาน SETA 2016 ถือเป็นก้าวที่ส�าคัญ ในความร่วมมือกันอย่างจริงจังของหน่วยงานหลัก ของประเทศ โดยกระทรวงพลั ง งาน กระทรวง คมนาคม และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งองค์กรภาคเอกชน ผู้มีส่วนร่วมต่อการสร้าง บทบาทและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในการ ผลั ก ดั น ประเทศไทยให้ ก ้ า วสู ่ ค วามเป็ น ผู ้ น� า ด้ า น พลังงานในภูมิภาคอาเซียนอย่างแท้จริง 9494
June June2015 2015
งานนี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเวทีพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ร่วมหา ค�าตอบและแนวทางแก้ปัญหา ตั้งแต่การหาแหล่งพลังงาน ตลอดจนการใช้ ระบบผลิตกระแสไฟฟ้า ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน โดยในงานประชุมครั้งนี้จะมุ่งเน้นในประเด็นที่ทั้งเอเชียและทั่วโลกล้วนให้ ความส�าคัญ ซึ่งในส่วนของไทย จะเน้นโชว์ผลงานวิจัยที่ส�าคัญต่อการพัฒนา พลังงานและเทคโนโลยี โดยจุดเด่นของงานคือการเชิญวิทยากรซึ่งเป็น ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกหลากแขนงมาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้เข้าชมและ ร่ ว มงานตลอดทั้ ง 3 วั น ตั้ ง เป้ า ไว้ ที่ จ� านวน 5,000 คน จาก 15 ประเทศ ทั่วโลก ต่างเข้ามาแสวงหาโอกาสทาง พลั ง งานและเทคโนโลยี ที่ ง านนี้ แ ละ ตั้งใจจะส่งเสริมโครงการนี้เกิดขึ้นเป็น ประจ� า เพื่ อให้ ทุ ก ๆ ความเห็ น และ ความร่วมมือมีความต่อเนื่องและบรรลุ ผลส�าเร็จ
รศ.ดร.ธัชชัย สุมิตร
จากซ้ายไปขวา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร คุณอลงกรณ์ เหล่างาม คุณสมศักดิ์ ห่มม่วง
และเนื่องจากเป็นงานยิ่งใหญ่ระดับชาติ ภาครัฐจึงเข้ามามีบทบาท และเป็นแรงผลักดันที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งกระทรวงพลังงาน กระทรวง คมนาคม และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นเฟืองจักร ส�าคัญส�าหรับโครงการนี้ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวง พลังงาน กล่าวถึงการสนับสนุนโครงการนี้ว่า “เพราะโลกก�าลังเข้าสู่ ยุคไฮบริด มีการเชือ่ มโยงระหว่างกัน จึงจ�าเป็นต้องบูรณาการร่วมกัน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งกระทรวงพลังงานมีหน้าที่วางแผน นโยบายด้านพลังงานที่ดี เพื่อช่วยให้เกิดการปรับปรุงและน�าไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ และพร้อมกระตุ้นนโยบาย และพัฒนาด้าน เทคโนโลยี รวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอย่าง แท้จริงผ่านโครงการนี้”
นอกจากสององค์ ก รหลั ก ในด้ า นการวางแผนด้ า นพลั ง งานและ เทคโนโลยีแล้ว ทางกระทรวงคมนาคมยังเล็งเห็นความส�าคัญของ การใช้พลังงานและเทคโนโลยีเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์การขนส่งที่ ยั่งยืนขององค์กร ซึ่ง คุณสมศักดิ์ ห่มม่วง ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจ การขนส่งทางน�้า กระทรวงคมนาคม ให้ความเห็นว่า “SETA2016 ถื อเป็ น เวที พู ด คุ ยทั้ ง ในด้ านการใช้พลังงานที่ยั่งยืนอย่า งแท้จริง เพราะภายในงานจะจัดแสดงเทคโนโลยี นวัตกรรม และสินค้าใหม่ๆ รวมทั้ ง ยั ง สร้ า งโอกาสให้ ทุ ก ภาคส่ ว นร่ ว มกั น ผลั ก ดั น ทั้ ง ด้ า น นโยบายและการด�าเนินงานที่มีประสิทธิภาพ ทั้งมีความครอบคลุม เข้าถึงง่าย ประหยัด และปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม”
เช่นเดียวกับ คุณอลงกรณ์ เหล่างาม ผู้ช่วยปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี กล่าวว่า “โครงการ SETA 2016 จะสามารถผลั ก ดั น รวมถึ ง ส่งเสริมนโยบายและการวางแผนใน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การคิด สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ของไทย หรืองาน วิจยั และนวัตกรรมทางด้านพลังงานและ เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ด้ า นการใช้ พ ลั ง งานอย่ า งคุ ้ ม ค่ า และ มีคุณภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงการผลิต และการพาณิชย์ ตลอดจนการเติบโต ของเศรษฐกิจอย่างมั่นคง” June June2015 2015 9595
Special Scoop กรีนภัทร์
ด้ านเอกชนอย่า ง สมาคมนิวเคลียร์แห่ง ประเทศไทย โดย รศ.พล.ต.ดร.ชัยณรงค์ เชิดชู นายกสมาคมนิวเคลียร์ฯ กล่าวว่า “งานนี้จะ เป็นส่วนหนึ่งของความท้าทายให้ชาวไทย และทั่วโลกตระหนักว่า เทคโนโลยีความ ปลอดภัย อย่างพลังงานนิวเคลียร์นั้นมีส่วน ส�าคัญต่อการพัฒนาด้านพลังงานของชาติ และเชื่ อ มั่ น ว่ า ภายในงานครั้ ง นี้ จ ะช่ ว ย แลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ และผลงาน วิ จั ย เกี่ ย วกั บ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี นิวเคลียร์และสนับสนุนการผลิตและพัฒนา บุคคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นิวเคลียร์ให้เพิ่มมากขึ้น” จากซ้ายไปขวา - คุณสหรัฐ บุญโพธิภักดี, รศ.พล.ต.ดร.ชัยณรงค์ เชิดชู
ทั้งนี้ ในด้านองค์กรรัฐวิสาหกิจและเอกชน ต่างขานรับความน่าสนใจของ SETA 2016 โดยเฉพาะ กฟผ. ซึ่ง คุณสหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผู้ว่าการกิจการสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย เผยว่า “ไทยจ�าเป็นต้องพัฒนาและด�าเนินงานด้านพลังงานอย่างยั่งยืน เพื่อสอดรับเป้าหมายด�าเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลในปี 2563 โดยเน้นการวางแผน ใช้พลังงาน ขับเคลื่อนนโยบายการลงทุนเทคโนโลยีสีเขียวระดับอาเซียน จึงร่วมสนับสนุน ทั้ ง เงิ น ทุ น สรรหาวิ ท ยากร และหั วข้ อ การบรรยายระดั บนานาชาติ เช่ น Regional Connectivity and Grids Interconnection เป็นต้น”
และเพื่อให้งานนี้ประสบความส�าเร็จอย่าง สมบูรณ์ ทางผู้จัดงานจึงมุ่งเน้นเชื้อเชิญให้ ผู ้ ที่ ส นใจร่ ว มแสดงศั ก ยภาพทางพลั ง งาน และเทคโนโลยี ตลอดจนร่วมรับฟังทัศนะ และข้อมูลอันเป็นประโยชน์จากผู้เชี่ยวชาญ ระดับมืออาชีพภายในงานนี้ จึงได้เปิดพื้นที่ จั ด งานส� า หรั บ ทุ ก ภาคส่ ว นเข้ า มาจั บ จอง ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของงาน โดยมีหน่วยงาน และองค์กรเข้าร่วม อาทิ APEC workshop, Energy Research Institute Network (ERIN) ตลอดจนองค์กรนานาชาติอกี มากมาย สามารถ ดูรายละเอียดเพิม่ เติม และลงทะเบียนร่วมงาน ได้ในเว็บไซต์ www.SETA.Asia งานประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืน แห่งเอเชีย 2559” หรือ “SETA 2016” พร้ อ มเปิ ด โลกใหม่ ข องพลั ง งานและ เทคโนโลยี ใ นระดั บ นานาชาติ ใ ห้ ผู ้ ส นใจ เข้าชมได้ ระหว่างวันที่ 23-25 มีนาคม 2559 เวลา 10.00-18.00 น. ณ ฮอลล์ 103 ศู น ย์ นิ ท รรศการและการประชุ ม ไบเทค บางนา
96
June 2015
June 2015 PB
Green 4U จีรพร ทิพย์เคลือบ
Give It Back Rac ªÑ้¹´ÔÊà¾Å ÊÔ¹¤ŒÒ¨Ò¡¡Å‹Í§ãªŒáÅŒÇ
Give It Back Rack à¡Ô´¢Ö¹ ้ ÀÒÂ㵌¡ÒõÅÒ´ ·Õ่㪌á¹Ç¤Ô´à»š¹ÁԵáѺ ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ¢Í§áºÃ¹´ ⤤Òâ¤Å‹ Ò àÃÕ Â ¡Ç‹ Ò ä´Œ ·Ñ้ § »ÃÐ⪹ ã ªŒ Ê Í 䴌ÃÕä«à¤ÔŠ䴌Ŵ¢ÂÐ «Ö่§ ‘Give It Back Rack’ ·ํÒ¨Ò¡¡Å‹Í§¡ÃдÒÉäÁ‹ãªŒáÅŒÇ ÃÙ » ẺàÃÕ Â º§‹ Ò Âᵋ á ¢็ § áç Â× ´ ËÂØ ‹ ¹ áÅФŋͧµÑÇ ¢¹ÂŒÒÂÊдǡ¹ํ้Ò˹ѡàºÒ ·Ò§â¤¤Ò-â¤Å‹ Ò á¨¡¿ÃÕ ã ËŒ ¡Ñ º ÃŒ Ò ¹¤Œ Ò áÅЫػà»Íà ÁÒà à¡็µ áÅÐàÁ×่Í㪌仹ҹ áÅŒÇà¡Ô´¡ÒêํÒÃØ´àÊÕÂËÒ¡็ÂѧÊÒÁÒö Ê‹§¤×¹ºÃÔÉÑ·ä´ŒÍÕ¡´ŒÇ (·Õ่ÁÒ : http://www.iurban.in.th)
Ìҹ¡ÒῨҡ¢ÂÐ
¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒ¨Ò¡ Newcastle University »ÃÐà·ÈÍѧ¡ÄÉ ä´ŒÃǺÃÇÁ ÇÔ È Ç¡Ã áÅÐʶһ¹Ô ¡ ÊÃŒ Ò §ÃŒ Ò ¹¡ÒῨҡ¢Ç´¾ÅÒÊµÔ ¡ ÃÕ ä «à¤Ô Å áÅСÃдÒɡŋͧ ઋ¹ à¡ŒÒÍÕ้¨Ò¡¢Ç´¾ÅÒʵԡ ¼¹Ñ§¨Ò¡¡ÃдÒɡŋͧ áÅÐãËŒª×่ÍÇ‹Ò Trash Cafe «Ö่§à»š¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö่§ã¹¤ÇÒÁ¤Ô´ÃÔàÃÔ่Á¡ÒÃÃÕä«à¤ÔÅ ·Õã่ ËÞ‹·ÊÕ่ ´ Ø ¢Í§ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ â´ÂÁÕ¤ÇÒÁÁا‹ ËÇѧ·Õ¨่ Ðà¼Âá¾Ã‹ áÅлÅÙ¡½˜§ ¨Ô µ Êํ Ò ¹Ö ¡ ã¹àÃ×่ Í §ÊÔ่ § áÇ´ÅŒ Í Á㹡ÅØ ‹ Á àÂÒǪ¹ ¹Ñ ¡ Í͡ẺÃØ ‹ ¹ ãËÁ‹ à¾×่Í¡Ãе،¹ãËŒ¾Ç¡à¢Ò㪌ÇÑÊ´Ø·Õ่ÂÑ่§Â×¹ ¤Ô´¶Ö§¼Å¡Ãзº·Õ่ÁÕµ‹ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ 㹡ÒÃÍ͡Ẻ áÅСÒÃàÅ×Í¡ÇÑÊ´ØàÊÁÍ (·Õ่ÁÒ : http://www.iurban.in.th)
Bloom ËÁÇ¡¡Ñ¹¹็ͤ¾Ñºä´Œ¨Ò¡ÞÕ่»Ø†¹
ËÁÇ¡¡Ñ¹¹็ͤ¾Ñºä´ŒÍÒ¨¨ÐäÁ‹ãª‹¢Í§ãËÁ‹ã¹ÞÕ่»Ø†¹ à¾ÃÒÐÁÕËÅÒºÃÔÉÑ· ¼ÅÔµÍÍ¡ÁÒºŒÒ§¾ÍÊÁ¤Çà ᵋ Bloom «Ö่§¶Ù¡¤Ô´¤Œ¹áÅоѲ¹Ò¢Ö้¹ â´Â Toyo Safety ºÃÔÉÑ·¼ÅÔµÍØ»¡Ã³ ¹ÔÃÀÑÂâ´´à´‹¹¡Ç‹Ò´ŒÒ¹¡Òà Í͡Ẻ ´Œ Ç ÂÃÙ » ·Ã§·Õ่ Ê Ç§ÒÁ á¢็ § áç·¹·Ò¹ä´Œ Á ҵðҹ¤ÇÒÁ »ÅÍ´ÀÑÂÞÕ»่ ¹ †Ø ÁÕᶺÊзŒÍ¹áʧä¿ã¹àÇÅÒ¡ÅÒ§¤×¹ â»Ã‹§ÊºÒ ¾¡¾Ò§‹Ò 㪌§Ò¹¡็Êдǡ ÁÕ¹Òํ้ ˹ѡàºÒà¾Õ§ 430 ¡ÃÑÁ áÅÐÂѧ¶Ù¡¡ÒÃѹµÕ´ÇŒ ÂÃÒ§ÇÑÅ Good Design Award 2013 (·Õ่ÁÒ: http://www.creativemove.com)
¶Ñ§¢ÂÐàËÅ็¡¢¹Ò´ãËÞ‹ ¡ÅÒÂ໚¹ËŒÍ§àÃÕ¹ã¹àÁ×ͧ
º¹¶¹¹ 109 áÅж¹¹ÍÑÁÊàµÍà ´ÑÁ ‹ҹáÁ¹ÎѵµÑ¹ ¹ÔÇÂÍà ¡ ¶Ù¡Ê¶Ò»¹Ô¡¹ÒÁÇ‹Ò john locke ÊÌҧàʹ‹ËÍ ¹ Ñ Ã‹ÇÁÊÁÑÂãËŒ¡ºÑ àÁ×ͧ ´ŒÇ¡ÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§¶Ñ§¢ÂÐàËÅ็¡¢¹Ò´ãËÞ‹ã¹¾×้¹·Õ่ÊÒ¸ÒóÐãËŒ¡ÅÒÂ໚¹ ˌͧàÃÕ¹ÊํÒËÃѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒã¹àÁ×ͧ â´Â¹ํÒºÍÅÅÙ¹¾Í§ÅÁŧä»ã¹¶Ñ§¢ÂÐ ¨Ò¡¹Ñ้¹µÔ´µÑ้§âµ Ð à¡ŒÒÍÕ้ áÅÐà¤Ã×่ͧ©ÒÂÀҾࢌÒä» à¾×่Í㪌໚¹¾×้¹·Õ่¨Ñ´»ÃЪØÁ àªÔ§»¯ÔºÑµÔ¡ÒéÒÂÊÒä´ÕáÅÐáÊ´§´¹µÃÕ â´Â·Ø¡¤¹ÊÒÁÒöÁÕʋǹËÇÁ¡Ñº ʶҹ·Õá่ ÅСԨ¡ÃÃÁä´Œ¿ÃÕ áÅÐṋ¹Í¹Ç‹Ò ÃÒ¤ÒäÁ‹á¾§ ¹ํÒ้ ˹ѡàºÒ ¼ÅÔµ¨Ò¡ ¾ÅÒʵԡ·ÕÊ่ ÒÁÒö‹ÍÂÊÅÒÂä´Œ·Ò§ªÕÇÀÒ¾ (·ÕÁ่ Ò : http://www.iurban.in.th)
98
June 2015
µÙŒàÂ็¹´Ô¹à¼ÒäÁ‹µŒÍ§¾Ö่§ä¿¿‡Ò
Mansukh Prajapati ਌Ңͧ¸ØáԨà¤Ã×่ͧ»˜œ¹´Ô¹à¼Òä´Œ¹ํҤسÊÁºÑµÔ¢Í§ à¹×้ Í ´Ô ¹ ËÅÑ § ¡ÒÃà¼Ò¼ÊÁ¼ÊÒ¹¡Ñ º ËÅÑ ¡ ·ÄÉ®Õ ¡ ÒÃÃÐàËÂ໚ ¹ äͧ͢¹ํ้ Ò ÊÌҧµÙŒàÂ็¹´Ô¹à¼ÒÀÒÂ㵌ª×่Í MittiCool ·Õ่äÁ‹¨ํÒ໚¹µŒÍ§ãªŒ¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò ᵋÊÒÁÒöÂ×´ÍÒÂØÍÒËÒÃÊ´ ઋ¹ ¼Ñ¡ ¼ÅäÁŒ áÅйÁ ä´Œ¹Ò¹¢Ö้¹¡Ç‹ÒÊÑ»´ÒË µÒÁ»ÃÐàÀ·áÅЪ¹Ô ´ ¢Í§ÍÒËÒà µÙ Œ à Â็ ¹ ´Ô ¹ à¼Ò MittiCool ẋ § Í͡໚ ¹ 2 ʋǹËÅÑ¡¤×Í Ê‹Ç¹´ŒÒ¹º¹·Õ่ÁÕ½Òà» ´-» ´ÊํÒËÃѺãÊ‹¹ํ้ÒãËŒ¤ÇÒÁàÂ็¹áÅРʋǹŋҧ·Õ่໚¹ª‹Í§ÊํÒËÃѺãÊ‹ÍÒËÒÃÊ´ ·Ñ้§¹Õ้ à¹×้Í´Ô¹·Õ่¶Ù¡¹ํÒÁÒ㪌㹵ٌàÂ็¹ ´Ô¹à¼ÒÂѧ໚¹´Ô¹·ÕÊ่ ÒÁÒöËÒä´Œ§Ò‹ Âã¹·ŒÍ§¶Ô¹ ่ Gujarat ´ŒÇÂá¹Ç¤Ô´ÃÑ¡É âÅ¡ Å´¾Åѧ§Ò¹ á¶ÁÂÖ´ÍÒÂØãËŒ¡º Ñ ÍÒËÒÃÊ´ ¨Ö§·ํÒãËŒ¹Çѵ¡ÃÃÁ§Ò¹Í͡ẺµÙàŒ Â็¹ ´Ô¹à¼Ò MittiCool ¡ÅÒÂ໚¹¼ÅÔµÀѳ± ·Õ่ÊÒÁÒöÊÌҧ¤Ø³ÀÒ¾ªÕÇÔµ·Õ่´ÕãËŒ ¡Ñº¤¹ã¹ªØÁª¹ (·Õ่ÁÒ :http://www.creativemove.com)
Mozzie Box ¡Å‹Í§¡ÃдÒɵŒÒ¹Âا
ªÒÂ˹؋ÁªÒǻһ˜Ç¹ÔÇ¡Ô¹Õ¤Ô´¤Œ¹ Mozzie Box ໚¹ÅѧàºÕÂà ·Õ่ ¶Ù ¡ Í͡ẺáÅÐ¾Ô Á ¾ ¨ Ò¡¹ํ้ Ò ËÁÖ ¡ ÊÕ ¾Ô à ÈÉ â´ÂÁÕ Ê ‹ Ç ¹¼ÊÁ¢Í§ÊÁØ ¹ ä¾Ã ¸ÃÃÁªÒµÔÍ‹ҧÂÙ¤ÒÅÔ»µÑÊ àÁ×่ͪÔ้¹Ê‹Ç¹¡ÃдÒÉ·Õ่àÅÍÐËÁÖ¡â´¹¤ÇÒÁÌ͹ ËÃ× Í ¶Ù ¡ à¼Òã¹¡Í§ä¿ ¡็ ¨ лŋ Í Â¡ÅÔ่ ¹ ¸ÃÃÁªÒµÔ ·่Õ ÁÕ Ä ·¸Ô์ ä Å‹ á ÁŧäÍà´Õ  ÊشŧµÑǡѺäÅ¿ŠÊäµÅ ¢Í§ªÒǻһ˜Ç¹ÔÇ¡Ô¹Õ »ÃÐà·È·Õ่ÁÕÍÒ¡ÒÈÌ͹áÅмٌ¤¹ ¹Ô  ÁáΧà͌ҷ ¹ Í¡ºŒÒ ¹ ä´Œ¡ÅѺÁÒÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ ÍÕ¡¤ÃÑ้§¡Ñº ¡Òô×่ÁÊѧÊÃä ÂÒÁàÂ็¹ à¤ÅŒÒºÒà ºÕ¤ÔÇ» œ§Â‹Ò§Í‹ҧäÃŒ¡Ñ§ÇÅ â´Â¼‹Ò¹¡ÒüÅÔµÊØ´§‹Ò äÃŒÊÒà à¤ÁÕ ¡Ñ º µÑ Ç àÅ× Í ¡ÊÁØ ¹ ä¾Ã¸ÃÃÁªÒµÔ ã ¹ËÁÖ ¡ ¾Ô Á ¾ ·Õ่ ä Á‹ µ Œ Í §à»ÅÕ่  ¹á»Å§ ¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ äÁ‹·ํÒÅÒÂÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ áÅŒÇÂѧà¾Ô่Á»ÃÐ⪹ ¡ÒÃ㪌§Ò¹ä´Œ Íա˹Ö่§ÃٻẺ (·Õ่ÁÒ : http://www.creativemove.com)
´Ô¹ÊÍá·‹§ãËÁ‹¨Ò¡¡ÃдÒÉ㪌áÅŒÇ
¹Ñ¡Í͡ẺªÒǨչÍ͡Ẻ P&P Office Waste Processor ÍØ»¡Ã³ ·ÕÊ่ ÒÁÒöà¾ÔÁ่ ¤‹ÒãËŒ¡º Ñ àÈÉ¡ÃдÒÉ à¾Õ§ᤋÊÍ´¡ÃдÒÉ㪌áÅŒÇࢌÒä»ã¹à¤Ã×Í่ § áŌǡ´»Ø†Á ᤋ¹Õ้¡็ÃÍÃѺ´Ô¹ÊÍá·‹§ãËÁ‹ÁÒ㪌䴌àÅ àÃÕÂ¡ä´ŒÇ‹Ò ·Ò§ÅÑ´ 㹡Òà ªØºªÕǵ Ô ¢ÂÐÊํҹѡ§Ò¹ãËŒà¡Ô´ãËÁ‹ä´Œáºº·Ñ¹µÒàË็¹ ÊํÒËÃѺ¡Åä¡¡Ò÷ํÒ§Ò¹¢Í§ P&P Office Waste Processor àÃÔ่Á¨Ò¡¨Ø´·Õ่à¤Ã×่ͧ´Ù´¡ÃдÒÉ໚¹á¼‹¹ æ ࢌÒä» ÁŒÇ¹ÍÑ´Áѹ¨¹á¹‹¹ÃͺäÊŒ´Ô¹ÊÍ¡ÃÒ俵 ·Õ่໚¹á¡¹¡ÅÒ§ ÃÐËÇ‹Ò§¹Õ้ ¡็¼ÊÁà¹×้Í¡ÒÇࢌÒ仹Դ˹‹Í´ŒÇ à¾×่Í·ํÒãËŒà¹×้Í¡ÃдÒÉÃÇÁ·Ñ้§µÑÇäÊŒ´Ô¹ÊÍ µÔ´á¹‹¹¡Ñ¹´Õ ËÅѧ¨Ò¡¹Ñ้¹¡็¨Ðä´Œ´Ô¹ÊÍá·‹§ãËÁ‹·Õ่ÊÒÁÒö¹ํÒÁÒ㪌§Ò¹ä´Œ·Ñ¹·Õ (·Õ่ÁÒ: http://www.creativemove.com)
â¤Áä¿ÅÍÂ䴌㪌¾Åѧ§Ò¹¨Ò¡Ê¹ÒÁáÁ‹àËÅ็¡
Simon Morris Í͡ẺËÅÍ´ä¿·Õ่ÁÕª×่ÍÇ‹Ò Flyte â¤Áä¿·Õ่໚¹ËÅÍ´ä¿ ÅÍÂÍÂÙ ‹ ¡ ÅÒ§ÍÒ¡ÒÈàË¹× Í á·‹ ¹ äÁŒ ·Õ่ à ËÁ× Í ¹¡Ñ º á·‹ ¹ ªÒà ¨ ¾ÅÑ § §Ò¹äÃŒ Ê Ò «Ö่§¡Ò÷ํÒ§Ò¹à¡Ô´¨Ò¡°Ò¹·Õ่໚¹ electromagnetic ·Õ่ÁÕ¾Åѧ¢Í§áÁ‹àËÅ็¡ ·Õ่ÊÙ§ÁÒ¡ ·ํÒãËŒà¡Ô´ÀÒ¾ÁËÑȨÃà¢Ö้¹ â´ÂËÅÍ´ä¿ LED ·Õ่ÁÕ¹ํ้Ò˹ѡàºÒ ÅÍÂ䴌໚¹ËÅÑ¡¡ÒÃà´ÕÂǡѺ Bullet Train ö俿‡Ò ·Õ่áÅ‹¹º¹ÃÒ§â´ÂäÁ‹ÁÕ ¡ÒÃÊÑÁ¼ÑʡѺÃÒ§¹Ñ่¹àͧ ·ํÒãËŒËÅÍ´ä¿ÊNjҧ䴌 â´ÂäÁ‹µŒÍ§ÁÕÊÒÂä¿ áÅÐÅÍ ÍÂÙ¡ ‹ ÅÒ§ÍÒ¡ÒÈ ¹Í¡¨Ò¡¹ÕÂ้ §Ñ ÁÕªÇÑ่ âÁ§¡ÒÃ㪌§Ò¹·ÕÂ่ Òǹҹ¶Ö§ 50,000 ªÑÇ่ âÁ§ à¾Õ§ÇÒ§ËÅÍ´ Flyte µÃ§¡ÅÒ§¢Í§á·‹¹ªÒà ¨ä¿¡็¨ÐÊÇ‹Ò§·Ñ¹·Õ (·Õ่ÁÒ : http://www.iurban.in.th/)
June June2015 2015 9999
Green 4U จีRainbow รพร ทิพIce ย์เคลือบ
Trash People กองทัพคนขยะบุกโลก -เตือนมนุษย์ยุคบริโภคนิยม-
เหลือเชื่อว่ายิ่งโลกเจริญขึ้นเท่าไหร่ “ขยะ” ก็เพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ท่ามกลางการเติบโตของเมือง และสังคมบริโภคแห่งศตวรรษที่ 21 ราวกับวิถี แห่งความเจริญที่มีอยู่นี้แพร่เชื้อขยะเข้ามาในชีวิตคนเราอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงและ ท�าให้มนุษย์กลายพันธุ์กันไปแล้ว อาจคิดว่านั่นเกินจริง แต่ Ha Schult ศิลปินชาว เยอรมัน ไม่คิดแบบนั้น เขาได้จัดแสดงงานศิลปะที่เรียกว่า “คนขยะ” หรือ “Trash People” นั่นเอง ไม่นานมานี้เองธนาคารโลกได้ประกาศเตือนว่า โลกเราก�าลังเจอกับปัญหาวิกฤตขยะ ในทุก ๆ วินาที คนบนโลกทิ้งขยะประมาณ 50 ตัน แต่ละวันมีจ�านวนขยะเท่ากับเรือบรรทุก สินค้าขนาดใหญ่ที่สุด 12 ล�า ก�าลังถูกขนย้าย หรือ 4,830 ล�าในหนึ่งปี ซึ่งเทียบเท่ากับขยะ มากถึ ง 2 พั น ล้ า นตั น และมั น จะเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น สามเท่ าในปี 2030 ลองนึ ก ภาพดู ว ่ า จะมีปริมาณขยะมากมาย ขนาดไหน สิง่ ทีน่ า่ วิตกกว่านัน้ คื อ ต้ อ งใช้ พื้ น ที่ เ ท่ า ไหร่ เพื่อก�าจัดขยะเหล่านั้น
Ha Schult แสดงงาน “คนขยะ” ของเขาไป ตามเมืองใหญ่และพื้นที่ส�าคัญทั่วโลกตั้งแต่ ปี 1996 มาจนถึงปัจจุบนั ผูค้ นไม่วา่ จะเป็นที่ โคโลญ ปารีส กรุงโรม มอสโก บาร์เซโลนา นิ ว ยอร์ก ปักกิ่ง อียิป ต์ แม้แต่ในขั้วโลก ล่าสุดคือกรุงเทลอาวีฟ อิสราเอล ต่างก็ได้ สัมผัสกับเหล่าคนขยะกันมาแล้ว อย่าแปลกใจ ที่ ง านจัดแสดงของเขาล้วนสร้า งความตื่น ตะลึงชวนขนลุกให้ผู้ชม ซึ่งก็หวังว่าจะช่วย กระตุ้นเตือนจิตส�านึกของสังคมให้ตระหนัก และเห็นภาพปัญหาขยะล้นโลกกันได้บ้าง คิ ด ไปแล้ ว คนขยะพวกนี้ ก็ ไ ม่ ใ ช่ ใ ครอื่ น แต่อาจหมายถึงเราทุกคนนั่นเอง
ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.creativemove.com
100
June 2015
June 2015 PB
แวดวงคนพลังงาน กองบรรณาธิการ
คุณปลิว ตรีวศ ิ วเวทย์
คุณอนงค์ ไพจิตรประภาภรณ์
โทร. : 0-2277-0460 0-2275-0026 โทรสาร : 0-2275-7029 ทีอ่ ยู่ : บริษทั ช.กำรช่ำง จ�ำกัด (มหำชน) 587 อำคำรวิรยิ ะถำวร ถนนสุทธิสำรวินจิ ฉัย แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทร. : 0-2202-3816 โทรสาร : 0-2644-4355 Email : anong@dpim.go.th ที่อยู่ : ส�ำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสำหกรรมพืน้ ฐำน และกำรเหมืองแร่ ถนนพระรำมที่ 6 แขวงทุ่งพญำไท เขตรำชเทวี กรุงเทพฯ 10400
ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญำโทสำขำวิศวกรรมศำสตร์ (ไฟฟ้ำ) มหำวิทยำลัยโอซำก้ำ ประเทศญีป่ นุ่ ปริญญำตรีสำขำวิศวกรรมศำสตร์ (ไฟฟ้ำ) มหำวิทยำลัยโอซำก้ำ ประเทศญีป่ นุ่
ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญำโท Master of Science in Engineering Science (ทุน ก.พ.) Louisiana State University, USA. ปริญญำตรี วิทยำศำสตรบัณฑิต (ธรณีวทิ ยำ) จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
ประวัตกิ ารท�างาน กรรมกำรและประธำนกรรมกำรบริหำร บมจ. ทำงด่วนกรุงเทพ ประธำนกรรมกำรและประธำนกรรมกำรบริหำร บมจ. รถไฟฟ้ำกรุงเทพ กรรมกำร บจก. เซำท์อสี ท์ เอเชีย เอนเนอร์จี กรรมกำร บมจ. น�ำ้ ประปำไทย
ประวัตกิ ารท�างาน อำจำรย์มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิชำกำรสิง่ แวดล้อม กรมทรัพยำกรธรณี เลขำนุกำรกรม กรมอุตสำหกรรมพืน้ ฐำนและกำรเหมืองแร่ อ�ำนวยกำรส�ำนักอุตสำหกรรมเพิม่ มูลค่ำ กรมอุตสำหกรรมพืน้ ฐำนและกำรเหมืองแร่
หนังสือทีช่ อบ กำรบริหำรงำนแบบตะวันออก กำรบริหำรงำนแบบตะวันตก เศรษฐกิจกำรเงิน กีฬำ และปรัชญำพุทธศำสนำ
ต�าแหน่งปัจจุบนั ผูอ้ ำ� นวยกำรส�ำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสำหกรรมพืน้ ฐำนและกำรเหมืองแร่
ผลงานทีผ่ า่ นมา โครงกำรก่อสร้ำงอุโมงค์และสถำนีรถไฟฟ้ำมหำนคร โครงกำรก่อสร้ำงทำงด่วนสำยบำงนำ-บำงพลี-บำงปะกง โครงกำรก่อสร้ำงอำคำร B C D E และสิ่งก่อสร้ำงภำยนอก อำคำรศูนย์ Energy Complex โครงกำรก่อสร้ำงขยำยก�ำลังกำรผลิต บริษัท ประปำปทุมธำนี จ�ำกัด (ระยะ 3) โครงกำรก่อสร้ำงโรงผลิตน�้ำประปำ นิคมอุตสำหกรรมบำงปะอิน
ผลงานการประชุมนานาชาติ คณะผูแ้ ทนไทย กำรประชุมเจ้ำหน้ำทีอ่ ำวุโสด้ำนแร่ธำตุ ของกลุม่ ประเทศอำเซียน (ASOMM) คณะผูแ้ ทนไทย กำรประชุมเจ้ำหน้ำทีอ่ ำวุโสด้ำนแร่ธำตุ ของภูมภิ ำคเอเชียแปซิฟกิ (APEC)
ผลงานด้านพลังงานทีภ่ าคภูมใิ จ บมจ.รถไฟฟ้ำกรุงเทพ ได้รับรำงวัล Thailand Energy Award 2014 PB 102
JuneJune 20152015
ผลงานด้านการศึกษาและวิชาการ ผูช้ ำ� นำญกำรด้ำนสิง่ แวดล้อม ตำมท�ำเนียบของกรมส่งเสริมคุณภำพสิง่ แวดล้อม นักวิจยั ตำมท�ำเนียบของสภำวิจยั แห่งชำติ กรรมกำรผูเ้ ชีย่ วชำญด้ำนสิง่ แวดล้อม คณะกรรมกำรจัดท�ำพจนำนุกรมศัพท์ธรณีวทิ ยำของ รำชบัณฑิตยสถำน
Energy Gossip แสงสุดท้าย ณ ปุริ
งาน หรือ ความสุข สวัสดีครับ... มิตรรักแฟนหนังสือ “Energy Saving” ที่ยังคงติดตาม ผลงานจากคนทํางานสื่ออยางกระผม จนเดินทางกันมาถึงฉบับนี้ ก็เปรียบเสมือนกําลังใจทีม่ ใี หกนั เสมอมา ถามวา...การทีผ่ อู า นติดตาม ผลงานของนักเขียน นักเขียนทราบไหม ? ตอบเลยวาทราบบาง ไมทราบบาง ทีท่ ราบก็เพราะผูอ า นเองใหคาํ ชีแ้ นวผานมาทางหนังสือ ในรูปแบบที่ตางกันไป อาจมีการโทรเขามาพูดคุย หรือมาในรูปแบบ ของจดหมายติชม ซึ่งเราในฐานะคนทํางานตองตอบจากใจจริงวา เป น ความกรุ ณ าอยางยิ่ง เพราะถือ วาผลงานของเราที่ ส ง ผ าน งานเขียนที่เรารักนั้น...มีคนสนใจ และก็พรอมนอมรับคําชี้แนะ เพื่อใหมีพัฒนาการที่ดีขึ้นไปตอไป ตามหัวเรือ่ งทีว่ า “งาน หรือ ความสุข” สืบเนือ่ งมาจากชวงทีผ่ า นมา มีขาวเรื่องของการโยกยายตําแหนงการทํางานของผูหลักผูใหญ หลายทาน เรือ่ งดังกลาวทําใหเราฉุคดิ และหันกลับมายอนดูตวั เองวา ถาสิ่งเหลานั้นเกิดขึ้นกับเรา บนพื้นฐานของงานที่รับผิดชอบนั้นเปน งานทีเ่ รารัก เราจะทนรับแรงกดดันไดไหมหากจําเปนทีต่ อ งเปลีย่ นจาก งานที่รัก งานที่ถนัด ไปทํางานแคเพื่อเลี้ยงปากทองหรือครอบครัว เรื่องนี้ตอบยากสําหรับทุกคน เพราะคนเราตั้งอยูบนพื้นฐานการ ทํางานที่ไมเหมือนกัน มีตนทุนที่ติดตัวมาไมเทากัน มีไมนอยที่เรียก สิ่งที่เราทําวา “งาน” และไมนอยที่เรียกสิ่งที่ทําวา “ความสุข” คําวา “ความสุข” ของการทํางานก็สามารถแตกกิง่ กานสาขาออกไป อีกวา ความสุขอยูที่ตัวงานที่รับผิดชอบ อยูที่สังคมในองคกร หรือ สิง่ แวดลอมของการทํางาน จากทีก่ ลาวมานัน้ หากเราในฐานะคนทํางาน มีความสุขกับทัง้ หมด รับรองวาเราคงไมอยากเปลีย่ นงานอยางแนนอน แตในทางกลับกัน หากเราไมมีความสุขกับสิ่งที่กลาวมามากกวาครึ่ง แลวละก็ เชื่อเลย…ชางก็ฉุดเราไวไมอยู แมสิ่งที่ตองเผชิญตอไป ขางหนาจะเปนเหมือนการไปตายดาบหนา ก็พรอมที่จะเสี่ยง
เคยมี ผ ลวิ จัย ว า การทํ างานมี ค วามสํ า คั ญ ต อ ชี วิ ต ของคนทุ ก คน เนื่องจากการทํางานเปนสวนหนึ่งของชีวิต การทํางานเปนสิ่งที่ให ประสบการณที่มีคุณคาของชีวิตคน เพราะเปนโอกาสที่ทําใหเกิด การพบปะสั ง สรรค ระหว างบุ ค คลหรื อ หน ว ยงานต า ง ๆ ดั ง นั้ น การทํางานจึงเปนการเปดโอกาสในการแสดงออกถึงสติปญญา ความคิ ด ริ เริ่ ม อั น นํ า มาสู เ กี ย รติ ย ศและความพึ ง พอใจในชี วิ ต เมื่ อแต ล ะบุ ค คลได ใช ชี วิ ตการทํ า งานอยู กั บ สิ่ ง ที่ ต นเองรั ก และมี ความสุข ก็จะทําใหมีสภาพจิตใจและอารมณที่ดี สงผลใหทํางาน ดีตามไปดวย จึงจําเปนอยางยิ่งที่แตละองคกรจะตองศึกษาหรือ แสวงหาหนทางให เ กิ ด ความสอดคล อ งกั น ของความพึ ง พอใจ ระหวางพนักงานและองคการ เพือ่ ใหองคกรสามารถบรรลุเปาหมาย สูงสุด เพราะเชื่อวา หากองคกรอยูได พนักงานก็อยูไดเชนกัน คนทํางานก็เชนกัน เคยยอนมองดูตวั เองหรือไม หากเราไรซงึ่ ความสุข ในการทํางาน เราเองที่เปรียบเสมือนสมอคอยถวงเรือใหญไมให เดินหนาไปได ทั้ง ๆ ที่คนบนเรือตางพยายามนําพาเรือเพื่อไปให ถึงฝง การที่เราคนพบวาความทุกขของการทํางานเกิดจากตัวเราเอง และพรอมที่จะสละเรือ ถือเปนเรื่องที่ควรทํา อยาเอาคําวา “ทําไป วัน ๆ” มาใชเพื่อเอาตัวรอดใหพนเดือนแบบเชาชามเย็นอีกชาม คงไมใชเรื่องที่ดีสําหรับเพื่อนรวมทางอยางแนนอน หลักการดําเนินชีวิตก็เปรียบเหมือนการทํางานเชนกัน ลองสํารวจ สิ่งแวดลอมหรือคนรอบขางเราใหดี วาเราหรือเขายังมีความสุข อยูหรือไม ถาไม...ก็สละเรือซะ เพื่อใหเรือลํานั้นแลนไปสูฝงโดย สวัสดิภาพจะดีเสียกวา
June 2015 103
Energy Movement กองบรรณาธิการ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม รุกดันโรงงานทั่วประเทศเข้าระบบภายใน 5 ปี
ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม เผย 4 ยุทธศาสตร์ จัดการกากอุตสาหกรรม ใน 5 ปี เช่น การควบคุมและก�ากับดูแล ให้ทุกโรงงานปฏิบัติตามกฎหมาย สร้างความร่วมมือและแรงจูงใจ ส่งเสริมการจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ สร้างเครือข่าย ภายในประเทศทีใ่ ห้การสนับสนุนกระทรวงอุตสาหกรรม การปรับปรุง กฎหมายเพื่อติดตามผู้กระท�าผิดและอ�านวยความสะดวกให้แก่ ผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย รุกตั้งเป้า โรงงานที่มีใบอนุญาต ร.ง. 4 เข้าสู่ ระบบการจัดการกากฯ ไม่น้อยกว่า 90 % ในปี 2563 พร้อมจัด กิจกรรมเยี่ยมชมโรงงานตัวอย่างในการจัดการกากอุตสาหกรรม อย่างมีคุณภาพ เมื่อเร็ว ๆ ณ บริษัท อัคคีปราการ จ�ากัด (มหาชน) จังหวัดสมุทรปราการ ส�าหรับผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไป สามารถสอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ สายด่วนกรมโรงงานอุตสาหกรรม โทร. 1564
หุ้นส่วน “แรบบิท ออโต้ คราฟท์” เปิดตัวรถยนต์ไฮบริดคลาสหรู
คุณกล้ายุทธ จินตนะกุล พร้อมด้วย นายธีรวัจน์ อังคสกุลเกียรติ และคุณเอกฤกษ์ แสงเสรีดา� รง 3 ผูบ้ ริหารหนุม่ แห่ง “แรบบิท ออโต้ คราฟท์” ร่วมกันเปิดตัวรถยนต์ไฮบริดคลาสหรู และเครื่องชาร์จ รถยนต์ไฟฟ้า น�าเข้าจากยุโรป ช่วยลดมลพิษทางถนนและประหยัด พลังงานเชื้อเพลิง สะท้อนถึงการพัฒนาอย่างล�้าหน้าของโชว์รูม รถน�าเข้า และสุดยอดรถสปอร์ต โดยมี เมย์ พิชย์นาถ สาขากร เอมมี่ มรกต กิตติสาระ และเชน ณัฐวัฒน์ เปล่งศิริวัธน์ ร่วมเป็น เกียรติในงาน ณ แรบบิท ออโต้ คราฟท์ เมื่อเร็ว ๆ นี้ 104104
June June2015 2015
ชวาร์สคอฟ โปรเฟสชัน่ แนล
เปิดตัวดิจิตอล ซาลอน คอนเซ็ป
ชวาร์สคอฟ โปรเฟสชั่นแนล ร่วมกับ บริษัท ชลาชล กรุ๊ป จ�ากัด โดย คุณธีรศักดิ์ ไตรทิพย์ ผู้จัดการทั่วไป คุณกิตติณัฏฐ ชลาชล Asistant General Manager คุณกันตารัตน์ สิริภัทรคุณ ผู้จัดการ ฝ่ายการตลาด และคุณวิวรรธน์ เกษมอมร PPS Manager ร่วมกัน แถลงข่าวเปิดตัว ดิจติ อล ซาลอน นวัตกรรมใหม่ลา่ สุดทีจ่ ะน�ามาปรับ ใช้กบั ธุรกิจเสริมสวย เพือ่ ความสะดวกในการอัพเดตข้อมูลของลูกค้า และสามารถเก็บฐานข้อมูลของลูกค้าได้อย่างครบถ้วน โดยผ่าน แอปพลิเคชันบนสมาร์ท โฟน และแท็บเล็ต ที่ทุกคนสามารถเข้าถึง ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยงานจัดขึน้ ณ ASK Academy ชัน้ 35 อาคารดิออฟฟิสเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ เมื่อเร็ว ๆ นี้
กสอ. อบรมดีไซเนอร์ อัพดีกรีอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย คุณอาทิตย์ วุฒคิ ะโร อธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริ ม อุตสาหกรรม พร้อมด้วย ผู้บริหารกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม และนัก ออกแบบแฟชัน่ ชือ่ ดัง ร่ ว มเปิ ด การอบรม กิจกรรมการสร้างนัก ออกแบบอุตสาหกรรม แฟชั่นไทย (Fashion Designer Creation 2015) ภายใต้โครงการ พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย ประจ�าปี 2558 เพื่อให้ ความรู้และเตรียมความพร้อมนักออกแบบที่เข้าร่วมโครงการ ให้ ก ้ า วทั น แนวโน้ ม และความเปลี่ ย นแปลงของแฟชั่ น โลก โดยกิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ ห้องแกรนด์บอลรูม ชัน้ 3 โรงแรมเซ็นจูร่ี พาร์ค กรุงเทพฯ โดยมีนกั ออกแบบหน้าใหม่ สนใจเข้าร่วมการอบรมจ�านวนมาก ส�าหรับผูป้ ระกอบการทีส่ นใจ เข้าร่วมโครงการ หรือกิจกรรมต่างๆ ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม สามารถติดตามข่าวสาร กิจกรรม รวมถึงโครงการต่าง ๆ ได้ที่ www.dip.go.th หรือwww.facebook.com/dip.pr
คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน
พีทจี ี ขยายสถานีบริการน�้ามันครบ 1,000 สาขา
คณะกรรมกำรก�ำกับกิจกำรพลังงำน (กกพ.) น�ำโดย คุณพรเทพ ธัญญพงศ์ชยั ประธำนกรรมกำรฯ ได้เข้ำเยี่ยมชมควำมก้ำวหน้ำกำรก่อสร้ำงและ กำรทดลองเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ำของโครงกำรไฟฟ้ำพลังงำน ควำมร้อนหงสำ ณ เมืองหงสำ แขวงไชยะบุรี สปป.ลำว โดยคณะ ได้ ส อบถำมถึ ง เหตุ ก ำรณ์ ดั ง ที่ ป รำกฏเป็ น ข่ ำ วทั้ ง ทำงสื่ อ มวลชน และในโซเชียลมีเดีย เมื่อวันที่ 8 พฤษภำคม และเข้ำตรวจพื้นที่ หน้ำงำนจริง พบว่ำเหตุกำรณ์ดังกล่ำวไม่ส่งผลกระทบต่อกำรเดิน เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ำหน่วยที่ 1 และกำรก่อสร้ำงหน่วยที่ 2 และ หน่วยที่ 3 แต่อย่ำงใด
เชลล์ อัดโปรโมชั่นแรงเร้าใจต่อเนื่อง
คุณพิทักษ์ รัชกิจประกำร ประธำนเจ้ำหน้ำที่บริหำรและกรรมกำร ผู้จัดกำรใหญ่ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหำชน) หรือ PTG เดินหน้ำขยำยสำขำสถำนีบริกำรน�้ำมันครบ 1,000 แห่งทั่วประเทศ พร้อมเปิดสถำนีบริกำรน�้ำมันระดับมำตรฐำนใหม่ล่ำสุดในกรุงเทพฯ 2 แห่ง ท�ำให้ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลมีสถำนีทั้งสิ้น 50 สถำนี นอกจำกนี้ ยั ง ตอกย�้ ำ ควำมมั่ น ใจในเรื่ อ งกำรกระจำยน�้ ำ มั น จำก โรงกลั่นสู่สถำนีบริกำรด้วยระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภำพ ด้วยรถ บรรทุกน�้ำมันที่เป็นของตัวเองกว่ำ 350 คัน พร้อมติดตั้งระบบ GPS ที่ทันสมัยที่สุด ช่วยควบคุมเวลำและเส้นทำงของรถบรรทุกน�้ำมัน ทุกคัน รับประกันมำตรฐำนคุณภำพน�้ำมันและบริกำรอย่ำงเต็มที่ ตั้งเป้ำสู่กำรเป็นสถำนีน�้ำมันอันดับหนึ่งในใจคนไทยทั้งประเทศ
คุณปณต ไตรโรจน์ ผูอ้ ำ� นวยกำรฝ่ำยกำรตลำดค้ำปลีก บริษทั เชลล์ แห่งประเทศไทย จ�ำกัด เปิดเผยว่ำ ในฐำนะทีเ่ ชลล์ได้รบั ควำมไว้วำงใจ จำกผู้บริโภคจนได้เป็นผู้น�ำตลำดน�้ำมันเกรดพรีเมี่ยม ควำมภูมิใจ ในควำมส�ำเร็จที่ได้รับทั้งในเรื่องของคุณภำพผลิตภัณฑ์ และกำร ตอบรับอย่ำงล้นหลำม จึงแคมเปญกำรตลำดที่จัดขึ้นและเป็นกำร ตอบแทนลูกค้ำปัจจุบนั และเพิม่ สัดส่วนลูกค้ำรำยใหม่ เชลล์ ต่อยอด ควำมส�ำเร็จด้วย เชลล์ แจกโชคใหญ่ ลุ้นไอโฟน 6 ทุกเดือน รวม 300 เครื่อง ซึ่งได้มีกำรจับรำยชื่อผู้โชคดีที่ได้รับไอโฟน 6 รอบแรก จ�ำนวน 100 ท่ำนไปแล้ว และควำมพิเศษของแคมเปญอยูท่ ี่ นอกจำก ลูกค้ำจะมีสิทธิ์ร่วมลุ้นครอบครองไอโฟนรุ่นล่ำสุดแล้ว ยังมีโอกำส เลือกสีของตัวเครื่อง ไอโฟนได้เองด้วย สะท้อนถึงควำมตั้งใจในกำร รับฟังควำมต้องกำรของลูกค้ำ และทุ่มเทพัฒนำทั้งผลิตภัณฑ์และ คุณภำพกำรบริกำรของสถำนีบริกำรอย่ำงต่อเนือ่ งเพือ่ ควำมพึงพอใจ สูงสุดของลูกค้ำ
คุณวิรตั น์ เอือ้ นฤมิต ประธำน เจ้ำหน้ำทีบ่ ริหำรกำรเงิน บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหำชน) รับรำงวัล ยอดเยีย่ มเอเชียประจ�ำปี 2558 (Asian Excellence Awards 2015) โดยในปี นี้ ปตท. ได้รับทั้งสิ้น 6 รำงวัล ได้แก่ รำงวั ล ซี อี โ อยอดเยี่ ย มแห่ ง เอเชีย (Asia’s Best CEO) โดย ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถำวร ประธำนเจ้ำหน้ำทีบ่ ริหำรและกรรมกำรผูจ้ ดั กำรใหญ่ รำงวัลซีเอฟโอ ยอดเยีย่ มแห่งเอเชีย (Asia’s Best CFO) โดย คุณวิรตั น์ เอือ้ นฤมิต รำงวัลนักลงทุนสัมพันธ์มอื อำชีพยอดเยีย่ ม (Best Investor Relations Professional) โดย คุณพิจินต์ อภิวันทนำพร ผู้จัดกำรฝ่ำยผู้ลงทุน สัมพันธ์ และประเภทองค์กร ได้แก่ รำงวัลซีเอสอำร์ยอดเยี่ยม (Best CSR) รำงวั ลควำมรั บผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อ มยอดเยี่ยม (Best Environmental Responsibility) และรำงวัลนักลงทุนสัมพันธ์ ยอดเยี่ยม (Best Investor Relations Company) จัดโดยนิตยสำร Corporate Governance Asia ซึ่งเป็นนิตยสำรกำรเงินกำรลงทุน ชั้นน�ำในเอเชีย
เยี่ยมโรงไฟฟ้าหงสา
ปตท. รับรางวัล Asian Excellence Awards 2015
June June2015 2015 105105
Event Calendar จีรพร ทิพย์เคลือบ
นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�าเดือนมิถุนายน 2558
4-5 มิถุนายน 2558 ชื่องาน : สัมมนาพลังงานทดแทนเพื่อพัฒนาประเทศไทย รายละเอียด : สมาคมนักวิจัยส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนของไทยเพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาด สากล ทั้งในระดับนโยบายและในทางปฏิบัติเพื่อส่งเสริมให้เกิดการน�าทรัพยากรภายในประเทศมาใช้เป็นพลังงานทดแทน ตลอดจนพัฒนา เทคโนโลยีอย่างครบวงจรเพือ่ ให้สามารถน�ามาใช้งานได้จริงเพือ่ ช่วยลดการพึง่ พาและลดการน�าเข้าพลังงานเชือ้ เพลิงจากต่างประเทศ สถานที่ : BITEC บางนา ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.ar.or.th สมาคมนักวิจัย อาคาร วช.8 ชั้น 2 เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2942-7522 ,0-2579-0787 8 มิถุนายน 2558 ชื่องาน : สัมมนา Wastewater Pumping Seminar 2015 รายละเอียด : เพือ่ ถ่ายทอดเทคโนโลยีดา้ นเครือ่ งสูบส�าหรับระบบสูบบ�าบัดน�า้ เสีย และการเพิม่ ประสิทธิภาพด้านพลังงานในระบบสูบ อีกทัง้ เพือ่ เป็นการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหว่างผูเ้ ข้าร่วมการสัมมนา อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ ภาคอุตสาหกรรมและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง สถานที่ : โรงแรม The Grand Fourwings Convention Hotel Bangkok ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติม : คุณอมรรัตน์ ศรีละออ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�าแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 0-3435-1897 ต่อ 7017 อีเมล: fengarsr@ku.ac.th 18 มิถุนายน 2558 ชื่องาน : สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2/2558 เรื่อง “นวัตกรรม Chiller Plant เพื่อการลงทุนและการประหยัดพลังงานที่ยั่งยืน” รายละเอียด : การสัมมนานี้ มีทั้งความรู้และมีการร่วมแชร์ประสบการณ์จากผู้ช�านาญการ Chiller Plant จากบริษัทผู้ผลิต เครื่องท�าน�้าเย็น ชั้นน�าของโลกมาร่วมแบ่งปันพร้อม update นวัตกรรมของเครื่องท�าน�้าเย็นใหม่ ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา เพื่อใช้พัฒนา งานทางธุรกิจและวิชาชีพของวิศวกรไทยให้เกิดความยังยืนต่อไปในอนาคต สถานที่ : ห้องเลอโลตัส 1 ชั้น 2 โรงแรม สวิสโซเทล เลอคองคอร์ด ถนนรัชดาภิเษก ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : www.acat.or.th สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย โทร. 0-2318-4119, 0-2318-4123 22-23 มิถุนายน 2558 ชื่องาน : Workshop on Road Lighting Design with LEDs รายละเอียด : จัดขึน้ เพือ่ พัฒนาองค์ความรูข้ องผูท้ ตี่ อ้ งการออกแบบระบบไฟฟ้าแสงสว่างเพือ่ การส่องสว่างบนถนนให้สามารถใช้ซอฟต์แวร์ ส�าเร็จรูป (DIALux Program) เพื่อวิเคราะห์ ออกแบบ และจ�าลองผลลัพธ์การออกแบบเชิงเปรียบเทียบ ระหว่างโคมไฟฟ้าแบบเดิมกับ โคมไฟฟ้า LEDs สถานที่ : ห้องประชุม 1 ชั้น 3 อาคาร วสท. (ซ.รามค�าแหง 39) ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : คุณทศพร แดนมะตาม โทร. 0-2935-6905 อีเมล : TIEA_association@hotmail.com 23 มิถุนายน 2558 ชื่องาน : Xperience Efficiency 2015 รายละเอียด : งานแสดงเทคโนโลยีดา้ นการจัดการพลังงาน และงานสัมมนาครัง้ ยิง่ ใหญ่แห่งปี สถานที่ : โรงแรมเซนทารา คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : www.schneider-electric.co.th/xe2015 106
June 2015
June 2015 PB