Local Thai Packaging.

Page 1

หน่วยที่ 3

การขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ

ผู้สอน : อ.เยาวนาถ นรินทร์สรศักดิ์

ปัจจุบันวิถีชีวิตของผู้คน เปลี่ยนไป สิ่งที่เคยเป็นของใช้ ในชีวิตประจําวันของคนไทยจึง สูญหาย วัตถุดิบจาก ธรรมชาติที่เคยใช้กันอยู่ทั่วไป เริ่มหายากเช่น ใบตอง ใบบัว แต่มีวัตถุดิบที่เป็นผลิตผลของ เทคโนโลยีสมัยใหม่มาแทนที่ ทําให้การใช้วัตถุดิบตาม ธรรมชาติสูญไป โดยเฉพาะ ความรู้เกี่ยวกับการ “ห่อ กลัด มัด เย็บ“ ซึ่งเป็นความรู้ ที่คนไทยในอดีตใช้ในชีวิต ประจําวันมาแต่โบราณ

รูปแบบบรรจุภัณฑ์พื้นบ้านไทย

ห่อ เป็นกรรมวิธีในการเก็บรักษา และพัน หรือหุ้มสิ่งของ อาหาร เพื่อแปรรูปให้เป็น อาหารสุก เช่น การห่อขนมต่างๆด้วย ใบตอง ใบบัว ใบตองตึง เพื่อเก็บรักษา หรือนําอาหารนั้นไปนึ่ง หรือต้มให้สุก กรรมวิธีการห่อที่ง่ายที่สุดคือใช้ใบ ตองห่ออาหาร เช่นห่อหมก ห่อขนมต่างๆ โดยนําใบตองมาฉีก หรือตัดให้เป็นแผ่นตาม

ขนาดที่ต้องการ แล้วจีบหัวท้ายเข้าหากัน ใช้ใบตองที่ฉีกเป็นริ้วประมาณ 1 – 2 นิ้ว เรียกว่า เตี่ยว คาดแล้ว กลัด ด้วย ไม้กลัด ซึ่งเป็นไม้เล็กกว่าก้านไม้ขีด ตัดหัวท้ายเป็น ปากฉลาม มักใช้ไม้ไผ่เหลาให้กลมแล้วตัด หัวท้ายให้แหลม หรือใช้ก้านมะพร้าวที่เลาะ ใบออกแล้วมาตัดสั้นๆประมาณ 1 นิ้ว การ ตัดจะต้องตัดทแยงให้แหลม เพื่อให้กลัด ใบตองหรือกลัดใบไม้ให้สะดวก

ห่อ : แหนม ห่อใบตองมัดด้วยตอกไม้ไผ่

ห่อ-กลัด : ขนมสอดใส้ ห่อด้วยใบตองกลัด

ห่อ : ขนมต้ม ห่อด้วยใบตอง (ตลาด

(เพิงข้างทาง อ.แม่เจดีย์ จ.เชียงราย)

ด้วยทางมะพร้าว (ตลาดวโรรส อ.เมือง

สามชุกร้อยปี จ.สุพรรณบุรี)

จ.เชียงใหม่)


ไม้กลัด เป็นส่วนประกอบสําคัญในการ หีบห่อของคนไทย เพราะไม้ กลัดจะช่วยให้วัตถุดิบที่นํามา ห่อคงรูปอยู่ได้ตามต้องการ เช่นการห่อ และการทําภาชนะ ด้วยใบไม้ มักใช้ ไม้กลัด เพื่อ กลัด ให้วัตถุดิบคงรูป ไม้กลัด จึงเป็นส่วนประกอบสําคัญของ การหีบห่อของบรรจุภัณฑ์พื้น บ้านไทยมาช้านาน แต่ ปัจจุบันการห่อสิ่งต่างๆด้วย ใบตองมักใช้ที่เย็บกระดาษที่ เป็นเส้นลวดแทน แม้จะสะดวก รวดเร็วก็ตาม แต่ตัวเย็บที่เป็น เส้นลวดเล็กๆ นี้ อาจจะหลุด เข้าไปปนกับอาหาร หากผู้ บริโภคกลืนเข้าไปเป็นอันตราย ใบตอง เป็นวัตถุดิบที่นํามาใช้ ห่อหรือทําเป็นภาชนะใส่อาหาร อย่างแพร่หลายมาแต่โบราณ ใช้ห่อหรือบรรจุอาหารสําเร็จรูป และใช้ห่อหรือใช้เป็นภาชนะใส่ อาหารเพื่อนําไปนึ่งให้สุก ได้แก่ ห่อหมก ขนมกล้วย ขนมสอดไส้ ขนมตาล ขนม เทียน เป็นต้น

ห่อ กลัด มัด เย็บ ร้อย ห่อหมกปลากราย ตลาด สามชุก ร้อยปี จังหวัด สุพรรณบุรี

ข้าวห่อใบบัว ตลาดสามชุก ร้อยปี จังหวัดสุพรรณบุรี

เหตุที่นิยมใช้ใบตองห่อหรือทํา ใช้เตี่ยวรัดแล้วกลัดด้วยไม้กลัด ภาชนะใส่อาหาร เพราะเป็น เช่น การห่อขนมสอดไส้ ขนม วัตถุดิบที่หาง่าย ห่อง่าย เย็บ กล้วย และห่อหมก เป็นต้น ง่าย สะดวก โดยเฉพาะการห่อ อาหาร เพียงฉีกให้เป็นแผ่น ขนาดประมาณฝ่ามือ ปาดให้ เป็นรูปไข่ จีบทั้ง 2 ข้างเข้าหา กัน โดยสอดให้กระชับแนบกัน แล้วกลัดด้วยไม้กลัด เพื่อให้คง รูปตามลักษณะของการห่อหรือ

กลัด การเก็บอาหารด้วยใบตองและใบไม้ เช่นใบบัว ใบอ้อย ใบมะพร้าว เป็นการนําวัตถุดิบที่ใช้ห่อสิ่งต่างๆ ติดกัน มักใช้กับ ใบตอง ใบตองตึง ใบบัว วิธีกลัดจะต้องใช้ไม้กลัดที่ทําจากไม้ไผ่ หรือก้านมะพร้าวดังกล่าวแล้วมักกลัดในแนวทแยง เพื่อให้ไม้ กลัดขัดกับเส้นใยของใบไม้ และเกิดแรงยึดดีกว่าการขัดในแนว นอนที่จะกลัดได้ไม่แน่น ไม้กลัดมักหลุดได้ง่าย ขนาดของไม้ กลัดอาจจะยาว 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้วขึ้นอยู่กับขนาดของห่อ หรือ ภาชนะที่ต้องการ


ให้ดูเรียบร้อย และสะดวกกับ การซื้อขายแลกเปลี่ยน วิธีการ “ มัด “ โดยใช้ เชือกกล้วย ตอก มัดอย่าง ง่ายๆ อีกอย่างหนึ่งได้แก่ การ มัดหัวหอม หัวกระเทียม โดย มัดต้นที่แห้งแล้วเข้าด้วยกัน มัด เป็นพวงๆ เพื่อเก็บไว้จําหน่าย การมัดเข้าหากันหรือรัด ซึ่งสะดวกและเป็นระเบียบกว่า ให้แน่นด้วยตอก เพื่อให้ใบตอง การเก็บไว้ในภาชนะ นอกจาก หรือใบไม้หุ้มอาหารให้แน่น นี้ยังแขวนไว้ในที่ซึ่งมีอากาศ เช่นการห่อข้าวต้มผัดหรือ ผ่านได้ช่วยให้เก็บไว้ได้นาน ข้าวต้มมัดด้วยใบตอง แล้วใช้ ด้วย ตอกมัดหัวท้าย หรือใช้ใบตอง ห่อแล้วใช้ตอกมัดเป็นเปลาะๆ เย็บ อย่างการมัดแหนม หมูยอ การ ในที่นี้ เก็บอาหารด้วยการห่ออย่าง หมายถึงการใช้ มิดชิดช่วยให้อาหารปลอดจาก ตอก หวาย ไม้ แมลงและสิ่งปนเปื้อนต่างๆได้ดี กลัด สอดเสียบ นอกจากนี้ การมัดด้วยตอก ให้วัตถุดิบประเภท อาจใช้ตอกมัดประกอบกับวัตถุ ใบไม้คงรูปเป็น ดิบอื่นๆ เช่น ใช้กาบกล้วย ซีก ภาชนะ หรือเป็น ไม้ไผ่ ก้านตาล ขนาบสิ่งที่ ระเบียบตามต้องการ ต้องการจะเก็บรักษาแล้วมัด เช่นการเย็บกระทง ด้วยตอกให้แน่น เช่น การมัด ใบตองตึง และการ ใบพลู มัดช่อสะเดา มัดยอด เย็บใบจากด้วยตอก หรือหวาย ชะอม เป็นมัดหรือเรียงเป็นกําๆ ให้เป็นตับเพื่อนําไปมุงหลังคา การจัดเก็บโดยการมัดลักษณะ หรือทําฝาเรือน นี้เป็นการจัดเก็บชั่วคราวเพื่อ


ร้อย หมายถึง การนําเอาวัสดุจากธรรมชาติ เช่น ไม้ไผ่ กาบกล้วย มาเหลา ฉีก หรือเจียนเป็นเส้น เพื่อ มาร้อยรวมผลผลิตหรือสินค้าเข้าไว้ด้วยกัน เช่น ใช้ เชือกกล้วยร้อยห่อน้ําพริกเข้าไว้รวมกัน, ใช้ตอก ไม้ไผ่ร้อยหัวปลาแล้วจัดเรียงกันอย่างเป็นระเบียบ นําไปตากแห้งเพื่อจําหน่าย, ใช้เชือกกล้วยหรือเชือก ปอ ร้อยผลหมากสุกที่หั่นเป็นแว่นรวมไว้เป็นเส้น แล้วนําไปตากแห้งนํามามัดรวมกันเป็นพวง

รรมวิธีในการเก็บรักษาอาหารและสิ่งของ

ต่างๆ โดยการ “ห่อ กลัด มัด เย็บ ร้อย” ดังกล่าว เป็นเพียงตัวอย่างหนึ่งของกรรมวิธีเก็บรักษาอาหาร และสิ่งต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจําวันของคนไทยมาแต่ โบราณและเป็นความรู้พื้นๆ ที่แทบทุกคนเรียนรู้ได้ จากชีวิตประจําวัน แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าทุกวันนี้ การบรรจุภัณฑ์แบบใหม่ตั้งแต่กล่องโฟม ถุง พลาสติก กล่องพลาสติก และถ้วยกระดาษ ได้เข้ามา แทนที่ การบรรจุหรือหีบห่อแบบพื้นบ้าน จึงทําให้ ความรู้เหล่านี้เลือนไปจากวิถีชีวิตของคนไทย


หน่วยที่ 3

1.2 การขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ด้วยใบตอง

การขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ด้วยใบตอง ผู้สอน : อ.เยาวนาถ นรินทรสรศักดิ์

คนไทยเป็นชนชาติที่มี

ความคิดสร้างสรรค์ที่ไม่แพ้ชาติ อื่น เห็นได้จากการนําเอาวัสดุ จากธรรมชาติรอบตัวมาคิด ประดิษฐ์เป็นเครื่องใช้ไม้สอย เพื่อใช้ในชีวิตประจําวัน สร้าง ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คนรุ่นหลัง ได้ศึกษาและเรียนรู้จนเกิดเป็น ศิลปะ ที่เป็นเอกลักษณ์ประจํา ชาติ สิ่งหนึ่งที่คนไทยดํารงอยู่ ควบคู่กับวิถีชิวิตคือ งานฝีมือที่ ประดิษฐ์จากใบตอง เช่นงาน เย็บแบบ บายศรี หรืองานที่ เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมทาง ศาสนาเป็นต้น ซึ่งงานประดิษฐ์ จากใบตองในงานพิธีกรรม ต่างๆ มักจะมีการประดิษฐ์เป็น บรรจุภัณฑ์เพื่อใส่อาหาร ข้าว ตอก ดอกไม้ต่างๆ จนเกิด การนํามาใช้ในการบรรจุอาหาร เพื่อนําพา หรือเพื่อความ สวยงาม สะดวกในการเก็บ รักษา

ใบตอง

ประเพณีหรือพิธีกรรมทางศาสนา และการทําอาหารหรือ

ขนมไทย เป็นการแสดงออกทางวัฒนธรรมพื้นบ้านที่แฝงไปด้วย ความละเอียดอ่อน ใบตองเป็นวัสดุธรรมชาติอย่างแรก ที่ได้รับ ความนิยมในการนํามาเป็นบรรจุภัณฑ์ หรือภาชนะสําหรับใส่ อาหารคาวและขนมหวานต่างๆ และยังรวมไปถึงการทําเป็น บรรจุภัณฑ์สําหรับใส่ดอกไม้เพื่อพิธีกรรม และความสวยงามอีก ด้วย

กระทงสี่มุมปากหยัก ใส่ดอกไม้

กระทงสองมุมท้องแบน ใส่ขนมตาล

กระทงใส่หมากพลู ข้าวสาร ในพิธีขึ้น บ้านใหม่ของชาวเหนือ


วัสดุอุปกรณ์ ใบตอง ไม้กลัด ตอก กรรไกร มีดหรือคัทเตอร์ เขียงไม้รองตัด

การเตรียมวัสดุ 1. ใบตองที่เหมาะกับการทําบรรจุภัณฑ์ในการ

3. ตอก เป็นไม้ไผ่ที่นํามาผ่าเป็นซีก แล้วจักเป็น เส้นบางๆ นําไปแช่

พับ ทบ ห่อ ม้วน คือใบตองกล้วยน้ําว้า

น้ําให้อ่อน

เพราะมีความนุ่ม เหนียว สามารถ

ตัว จะง่าย

พับขึ้นรูปได้ไม่ฉีกขาดง่าย สีสวย

ต่อการนํา มามัด

4. กรรไกร ใช้ สําหรับตัด ใบตองให้ ได้รูปตาม ควรตัดใบตองใน ช่วงเวลาตอนสายให้

ต้องการ

น้ําค้างตอนเช้าแห้งเสียก่อน หรือตัดในเวลา เย็น เพื่อให้ใบตองฟื้นตัวจากแดดในเวลา กลางวัน ใบตองจะได้ไม่เหี่ยว 2. ไม้กลัด เหลาจากไม้ไผ่แห้ง หรือ

5. มีด หรือคัทเตอร์ ควรมีความคมมากๆ เพื่อ ใช้สําหรับกรีดใบตองตามขนาดที่ต้องการ

ทางมะพร้าง แห้ง ไม่ควร

6. เขียงไม้ ใช้รองเพื่อตัดใบตองทีละจํานวน

เหลาให้บางเกิน

มากๆ เพื่อ

ไป ควรเลือกไม้

ป้องกันไม่ให้

กลัดที่ยังมีผิวไม้

พื้นเป็นรอย

ติดอยู่ เพราะไม้กลัดจะเหนียวและแข็งแรง ใช้สําหรับกลัดบนบรรจุภัณฑ์ใบตอง


กระทงมุมเดียว

ขั้นตอนการทํา •••

ทําจากใบตองและไม้ กลัด นิยมใช้ในการ เก็บดอกไม้ เช่น ดอก ขจร ดอกจําปี ดอก จําปา ใช้เก็บพริกขี้หนู และยอดผักขนาดเล็ก ส่วนมากจะใช้เป็นการ ชั่วคราว ก่อนนําไปใช้

1. ฉีกใบตอง 2 ชิ้น

งานอื่น

กว้างประมาณ 6 นิ้ว

2. ตัดใบตองเป็นวงกลมเส้นผ่าน

4. จับทํามุมตรงกลางวงกลม โดย

ศูนย์กลางใหญ่ - เล็ก ตาม

พับใบตองให้ขวาทับซ้ายให้มี

หรือใช้วิธีค่อยๆ ดุนก้นกระทง

ต้องการ อาจใช้ถ้วยกรีดเป็นรอย

ลักษณะเหมือนกรวย แต่ปาก

ขึ้น จัดร่องดุนตรงกลางให้เป็น

ก่อนตัด

กระทงกว้างกว่า

วงกลม

3. วางใบตองซ้อนสลับทางกัน โดย 5. กลัดไม้กลัดด้านในกระทงในแนว ให้ด้านนวลประกบกัน

ขวางกับลายใบตอง

ก็จะได้กระทงมุมเดียวดุนก้นไว้ เป็นบรรจุภัณฑ์ขนมต่างๆ


กระทงสองมุมดุน

ขั้นตอนการทํา

มีคุณสมบัติเหมือนกับ กระทงมุมเดียวดุนก้น ใช้ ใส่ของเล็กน้อย ขนมที่มี น้ําหนักเบาเนื่องจาก เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มี ลักษณะยาว จึงมีความ 1. ฉีกใบตอง 2 ชิ้น

บอบบางกว่ากะทงมุม

กว้างประมาณ 3 นิ้ว

เดียวดุนก้น

2. วางใบตองซ้อนสลับทาง หัวท้ายประกบด้านนวลเข้าหา กัน

3. ตัดปลายใบตองทั้งสองด้านหัว

5. กลัดไม้กลัดตามแนวยาว

6. ทําอีกด้านเช่นเดียวกัน

ท้ายออก

4. จับมุมใบตองด้านขวาซ้อนด้าน

7. ใช้นิ้วค่อยๆ ดุนก้นกระทงขึ้นมา

ซ้ายตรงกลางใบตอง ให้ปลาย

ทั้งสองมุมให้เป็นร่องตามแนว

แยกกันเล็กน้อย

ยาว เพื่อให้สามารถตั้งได้


กรุงเทพ บุษกร เข่งเจริญ. บรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติใบตองและใบเตยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสืบทอดภูมิปัญญาไทย . เพชรกะรัต. กรุงเทพ. 2537.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.