บทที่ 6 ขั้นตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สินค้าอุปโภคบริโภค
6.3 การออกแบบ โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ 6.3.1 กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ 6.3.2 ลักษณะและรูปแบบโครงสร้างของ บรรจุภัณฑ์พื้นฐาน 6.3.3 การทดสอบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
การออกแบบโครงสร้าง หมายถึง การกำหนดลักษณะรูป ร่าง รูปทรง ขนาด ปริมาตร ส่วนปริมาตรอื่น ๆ ของวัสดุที่ จะนำมาผลิต และประกอบเป็นภาชนะบรรจุ ให้เหมาะสม กับหน้าที่ใช้สอย ตลอดจนกรรมวิธีการผลิต การบรรจุ การ เก็บรักษาและการขนส่ง
6.3.1 กระบวนการออกแบบ โครงสร้างบรรจุภัณฑ์
กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
เวลา
ผลงาน
สินค้า
วางแผน
1. กำหนดหรือวางแผนการดำเนินงาน (Policy Permulation or Atrategic Planning) เช่น ตั้งวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการผลิต เงิน ทุนงบประมาณ การจัดการ และการกำหนดสถานะ (Situation) ของบรรจุภัณฑ์
กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
2. การศึกษาและการวิจัยเบื้องต้น (Preliminary Research) ได้แก่ การศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและปัญหาของสินค้า หลักการทางการผลิต ตลอดจนการค้นพบสิ่ง ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นและเกี่ยวข้องสอดคล้องกันกับการออกแบบโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์
กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
3. การศึกษาถึงความเป็นไปได้ของบรรจุภัณฑ์ (Feasibility Study) เมื่อได้ศึกษาข้อมูลต่าง ๆ แล้วก็เริ่มศึกษาความเป็นไปได้ของบรรจุ ภัณฑ์ด้วยการสเก็ต (Sketch Design)
กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
4. การพัฒนาและแก้ไขแบบ (Design Refinement) ในขั้นตอนนี้ผู้ ออกแบบจะต้องขยายรายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ (Detail Function) ของแบบร่างให้ทราบอย่างละเอียด
กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
•
5. การพัฒนาต้นแบบจริง (PROTOTYPE DEVELOPMENT) เมื่อแบบโครงสร้างได้รับการแก้ไข และพัฒนา ผ่านการยอมรับแล้ว ลำดับต่อมาต้องทำหน้าที่ เขียนแบบ (Mechanical Drawing) เพื่อกำหนดขนาด รูป ร่าง และสัดส่วนจริงด้วยการเขียนภาพประกอบแสดงราย ละเอียดของรูปแบบแปลน (Plan) รูปด้านต่าง ๆ (Elevation) ทัศนียภาพ (PPerspective) หรือภาพแสดง การประกอบ (Assembly) ของส่วนประกอบต่าง ๆมีการ กำหนดมาตราส่วน (Scale) บอกชนิดและประเภทวัสดุที่ใช้
•
5. การพัฒนาต้นแบบจริง
กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ •
6. สร้างบรรจุภัณฑ์จริง ออกมาจำนวนหนึ่งเพื่อ เป็นตัวอย่าง (Pre Production Prototypes) สำหรับ การทดสอบทดลองและ วิเคราะห์เป็นครั้งสุดท้าย หากพบว่ามีข้อบกพร่อง ควรรีบดำเนินการแก้ไข ให้เป็นที่เรียบร้อยแล้วจึง ดำเนินการผลิตเพื่อนำไป บรรจุและจำหน่ายใน ลำดับต่อไป
กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
6.3.2
ลักษณะและรูปแบบโครงสร้าง ของบรรจุภัณฑ์พื้นฐาน
ลักษณะและรูปแบบโครงสร้าง ของบรรจุภัณฑ์พื้นฐาน 1. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์กระดาษ มีรูปทรงมาตรฐาน ตามศักยภาพที่วัสดุและเทคโนโลยีจะสร้างรูปทรงขึ้นได้
1. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์กระดาษ
กล่อง RSC
1. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์กระดาษ
กล่อง FOL
1. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์กระดาษ กล่อง Die Cut
1. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์กระดาษ
กล่อง Rigid Box
2. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์พลาสติก
บรรจุภัณฑ์ที่ทำด้วยพลาสติก อาจจำแนกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้คือ พวกที่เป่ารีด เป็นแผ่น บาง หรือเรียกกันว่า “ฟิล์ม” ใช้ทำเป็นถุงหรือห่อรัดสินค้าต่างๆ และพวกที่ ขึ้นรูปเป็นภาชนะบรรจุที่ คงรูป เช่น ขวด กล่อง ถัง ลัง ตะกร้า
2. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์พลาสติก
PE Polyetherene
2. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์พลาสติก
PP
2. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์พลาสติก
PS
2. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์พลาสติก
PVC
3. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์โลหะ
เหล็กและอลูมิเนียมเป็นวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์โลหะ เหล็กใช้ในการผลิตกระป๋องบรรจุ อาหาร ในขณะที่อลูมิเนียมใช้เป็นวัตถุดิบ เพื่อผลิตกระป๋องบรรจุน้ำอัดลม
4. โครงสร้างพื้นฐานบรรจุภัณฑ์แก้ว
บรรจุภัณฑ์แก้วแบ่งลักษณะโครงสร้างออกเป็น แบบปากกว้างและแบบปาก แคบ เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้กับผลิตภัณฑ์มากมาย เช่น เครื่องดื่ม เครื่องสำอาง น้ำยาต่างๆ ที่เป็นของเหลว ส่วนมากจะบรรจุในบรรจุภัณฑ์แก้ว
6.3.3
การทดสอบ โครงสร้างบรรจุภัณฑ์
จุดมุ่งหมายในการ ทดสอบบรรจุภัณฑ์ 1. เปรียบเทียบวัสดุต่างชนิดกันโดยการทำการทดสอบ พร้อมๆ กัน 2. ควบคุมคุณภาพของวัสดุที่ใช้จริงกับวัสดุที่เคยผ่านการ ทดสอบมาแล้วโดยการเปรียบเทียบผลที่เกิดจากการ ทดสอบต่างชนิดและต่างวาระกัน 3. ศึกษาถึงคุณสมบัติการใช้งานของวัสดุหรือตัวบรรจุภัณฑ์ เช่น การทดสอบความสามารถทนแรงกดในแนวดิ่ง เพื่อ จำลองการรับน้ำหนักขณะเรียงซ้อนของสินค้า เป็นต้น
ประเภทของการทดสอบบรรจุภัณฑ์
1. การทดสอบเพื่อการบ่งบอก (Identification Test) การทดสอบประเภท นี้จะเป็นการทดสอบวัสดุที่ใช้ผลิตตัวบรรจุภัณฑ์เพื่อหาคุณลักษณะเฉพาะ ของวัสดุนั้น
ประเภทของการทดสอบบรรจุภัณฑ์
2. การทดสอบเพื่อประเมินการใช้งาน (Performance Test) บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบมาใช้งานจะต้องทำหน้าที่ต่างๆ กัน
การทดสอบบรรจุภัณฑ์
1. ทดสอบการปกป้องสินค้า
การทดสอบบรรจุภัณฑ์
2. ทดสอบความสามารถในการรวบรวมบรรจุ
การทดสอบบรรจุภัณฑ์
3. ทดสอบความสะดวกในการใช้งาน
การทดสอบบรรจุภัณฑ์
4. ทดสอบการทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของบรรจุภัณฑ์
References ปุ่น และสมพร คงเจริญเกียรติ. (2541). บรรจุภัณฑ์อาหาร. แพคเมทส์. กรุงเทพ พฤกษชาติ ชีวะโอสถ (2548). การออกแบบบรรจุภัณฑ์ทุเรียนแปรรูปสำหรับสำนักงานเกษตร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัด ชุมพร. งานวิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. [5/14/2552] . การออกแบบบรรจุ ภัณฑ์. (online) available : http://www.agro.cmu.ac.th/department/PKT/Packaging1.1/ PACKAGINGLEARNING0-1.htm. เยาวนาถ นรินทร์สรศักดิ์. (2556). โครงการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์สมุนไพรชาเชียงดาสันมหาพน. สมาคมส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่. 2555-2556. สุมาลี ทองรุ่งโรจน์. (2555). Packaging Design ออกแบบบรรจุภัณฑ์. วาดศิลป์. กรุงเทพ. The Pepin Press. (1998). Structural Package Design. Pepin Press. Amsterdam & Singapore. The Pepin van Roojen. (2011). Special Package. The Pepin Press BV. Amsterdam Netherland. gomew.com. (2003). การออกแบบบรรจุภัณฑ์. (online) available : http://www.mew6.com/composer/ package/package_8.php.