การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ส่งเสริมให้คนไทยได้เข้าถึงศาสนสถาน สำคัญของทุกศาสนาซึ่งต ่างมุ่งหวังให้คนเป็นคนดี และมีความสมานฉันท์อยู่ร่วมกันอ ย่างมีความสุขทำให้หนังสือ๑๐๐๙ทางบุญ เป็นการเชื่อมต่อของมิติทางวัฒนธรรมและโลกปัจจุบันที่ศาสนสถาน เป็นเสมือนสะพานที่ทอดให้กาลเวลามาบรรจบกันโดยเราจะได้พบเห็นเรื่องราว ในอดีตมากมายผ่านภาพวาดอันวิจิตรบรรจงบนผนังโบสถ์ภาพแกะสลักอันละเอียดอ่อน บนศิลาทรายของเหล่าปราสาทหินค วามโอบอ้อมอารีและรอยยิ้มแห่งการเสียสละ ของเหล่าบุญราศรีแห่งค ริสตศาสนารวมไปถึงความเสมอภาค และสันติสุขข องชาวมุสลิม เรื ่องราวเหล่านกี้ ำลังเลือนหายไปตามกระแสอันเชี่ยวกรากของสังคมและโลกสมัยใหม่ ทว่าในความรุนแรงและรวดเร็วของกระแสโลกาภิวัตน์นี้ ยังมีขอบคามเขตแดน แห่งเวลาที่ยังคงหมุนไปอย่างช้าๆสงบงามซึ่งนอกจากจะเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ ของเหล่าศาสนิกชนแล้วดินแ ดนเหล่านี้ยังร อคอยการมาเยือน ของผู้ที่มีศรัทธาที่ต้องการเห็นความงามในหัวใจแบ่งบาน...
คำนำ หนังสือ๑ ๐๐๙ท างบญุ จ ดั ท ำโดยการทอ่ งเทีย่ วแห่งป ระเทศไทย(ท ทท.)ม คี วามมงุ่ ห มายให้ศ าสนกิ ชนทุกศ าสนาได้ท ำบุญ อย่างเข้าใจเข้าถึงหลักการของศาสนานั้นๆโดยคำว่า“บุญ”แปลว่าความสุขความดีความสะอาดความผ่องแผ้วแห่งจิตคำว่า “การทำบุญ”จึงหมายถึงการทำกิจใดๆเพื่อให้ได้บ ุญคือเพื่อให้ได้ความสุขกายสบายใจกิจที่ทำนั้นจึงเป็นประโยชน์ท ั้งต่อตนเอง และผู้อื่นโดยถูกทำนองคลองธรรม ททท. หวังว่าเมื่อหนังสือ ๑๐๐๙ ทางบุญ ได้พิมพ์เผยแพร่ออกไปยังศาสนิกชนอย่างกว้างขวางแล้ว จะก่อให้เกิด ความเข้าใจในมุมมองของการทำบุญ รวมถึงเรื่องราวความเป็นมาของบุณยสถานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี อันจะยังผลต่อการ ทำนุบำรุงพระศาสนาในเบื้องหน้า นอกจากนี้ยังจะได้เรียนรู้บริบททางสังคมที่เป็นอยู่ของชนบท ความเรียบง่าย สงบงาม และความศรัทธาในหลักแห่งศาสนา อันจะเป็นเสมือนเครื่องนำทางที่ทำให้เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน และใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ตามจดุ ม งุ่ ห มายของแต่ละศาสนาทตี่ า่ งกต็ อ้ งการเห็นค วามสงบสขุ เกิดข นึ้ บ นโลกและกบั ท กุ ๆ ช วี ติ ซ งึ่ ส งิ่ เหล่าน สี้ ามารถเริม่ ต น้ ได้ที่ …ก ารทำบุญ… สำหรับหลักในการเลือกศาสนสถานต่างๆ ที่มานำเสนอในหนังสือชุด ๑๐๐๙ ทางบุญนั้นจะคำนึงถึงปัจจัยห ลายด้วยกัน ทั้งจากความมีชื่อเสียงของศาสนสถานอันเป็นที่รู้จักของศาสนิกชนทั่วๆ ไปในด้านต่างๆ เพื่อเป็นที่พึ่งพาทางใจแก่ศาสนิกชน ไม่ว า่ จ ะเป็นด า้ นความเชือ่ ในเรือ่ งราวของสงิ่ ศ กั ดิส์ ทิ ธิ์ เพือ่ ก ารกราบไหว้ข อพรอนั น ำมาซงึ่ ค วามเป็นส ริ มิ งคลแก่ช วี ติ แ ละครอบครัว สถานที่ปฏิบัติตนเพื่อความสงบของจิตใจ ขณะเดียวกันก็ไม่อาจที่จะละทิ้งสถานที่อันทรงคุณค่าทางด้านอื่นๆ โดยเฉพาะด้าน ประวัติศาสตร์ และด้านสถาปัตยกรรมที่แฝงไปด้วยความสวยงาม ซึ่งสิ่งเหล่านี้เปรียบเสมือนรากเหง้าของชุมชนและประเทศชาติ ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้ด ำรงอยู่สืบไป นอกจากปัจจัยดังที่กล่าวมาแล้ว ความพร้อมของศาสนสถานแต่ละแห่งในการไปแสวงบุญ และการเดินทางก็ถือเป็น สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงด้วยเช่นกัน ดังนั้นในจำนวนศาสนสถานทั้ง๑๐๐๙แห่งท ี่ได้นำมาเสนอไปนั้นถือว่าเป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งอันน้อยนิดยิ่งในแผ่นดินไทย ของเรา
สารบัญ ภาคอีสาน กาฬสินธ์ุ
๗
ร้อยเอ็ด
๑๖๓
ขอนแก่น
๒๓
เลย
๑๗๗
ชัยภูมิ
๔๑
ศรีสะเกษ
๑๙๕
นครพนม
๖๑
สกลนคร
๒๑๗
นครราชสีมา
๗๙
สุรินทร์
๒๓๙
บุรีรัมย์
๙๙
หนองคาย
๒๕๕
มหาสารคาม
๑๑๓
หนองบัวลำภู
๒๗๓
มุกดาหาร
๑๒๗
อำนาจเจริญ
๒๘๓
ยโสธร
๑๔๙
อุดรธานี
๒๙๗
อุบลราชธานี
๓๑๙
พระธาตุยาคูจังหวัดกาฬสินธุ์
กาฬสินธ์ุ จังหวัดที่มีชื่อซึ่งแปลความหมายได้ว่า เมือง น้ำดำ ที่มาของชื่อนี้สันนิษฐานออกได้เป็น ๒ ประการด้วยกัน บ้างก็ว่ามาจากสีของน้ำอันขุ่นข้นของแม่น้ำปาว แม่น้ำสายสำคัญ ที่หล่อเลี้ยงดินแดนแห่งนี้ในบริเวณที่เรียกว่า แก่งสำโรง ซึ่งท้าว โสมพะมิตรอพยพผู้คนเข้ามาตั้งถิ่นฐาน แต่บ้างก็ว่าหมายถึง กาน้ำสำริดที่ท้าวโสมพะมิตรนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ เมื่อครั้ง เดินทางไปเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ กรุงเทพมหานคร ไม่ว ่าจะ เป็นข อ้ ส นั นิษฐานใด ท งั้ ส องสงิ่ ก ล็ ว้ นแล้วแ ต่ม คี วามหมายตอ่ จ งั หวัด กาฬสินธ์ุ ดังจะเห็นได้จากการนำสองสิ่งนี้มาใช้เป็นสัญลักษณ์อยู่ใน ดวงตราประจำจังหวัดต ราบถึงทุกวันนี้ ความเป็นม าของกาฬสนิ ธ์ตุ ามหลักฐ านทางประวัตศิ าสตร์ เริ่มข ึ้นเมื่อป ระมาณ พ.ศ .๑๖๐๐โดยบริเวณดังก ล่าวเดิมเป็นถิ่นทอี่ ยู่ ข องช าวละว้ า แ ละส ามารถนับย้อนไปในสมัยทวารวดี หรือ ราวพุทธศตวรรษที่๑๓ - ๑๕ด้วยมีการพบเสมาหินแ ละสถูปขนาด ใหญ่ในอำเภอกมลาไสย ส่วนประวัติศาสตร์ยุคใหม่เริ่มมีความชัดเจนขึ้นเมื่อ ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๒๐ เมื่อท้าวโสมพะมิตรและอุปฮาดเมือง แสนคอ้ นโปงเมืองแสนหน้างำ้ ได้ร วบรวมผคู้ นอพยพขา้ มแม่นำ้ โขง มาตงั้ บ า้ นเรือนบริเวณลมุ่ น ำ้ ก ำ่ แถบบา้ นพรรณนาในจงั หวัดส กลนคร ต่อม าพระเจ้าศิรบิ ุญสารได้ยกกองทัพม าติดตาม ท้าวโสมพะมิตรจึง อพยพแยกออกเป็น๒สายคือสายที่๑อพยพไปถึงนครจำปาสัก
กาฬสินธ์ุ
แ ละเกิดข ดั ใจกบั พ ระเจ้าศ ริ บิ ญุ ส ารแห่งน ครเวียงจันทน์ส ว่ นสายที่ ๒ นำโดยท้าวโสมพะมิตรได้อพยพข้ามสันเขาภพู านลงมาทางใต้และ ตัง้ บ า้ นเรือนอยูท่ บี่ า้ นกลางหมืน่ ต อ่ ม าทา้ วโสมพะมติ รได้ส ง่ ท า้ วตรัย และคณะออกเสาะหาชยั ภูมทิ จี่ ะสร้างเมืองใหม่ใช้เวลาประมาณปเี ศษ จึงพบทำเลที่เหมาะสมคือ บริเวณลำน้ำปาว และเห็นว่าแก่งสำโรง ชายสงเปือยมดี นิ น ำ้ อ ดุ มสมบูรณ์จ งึ อ พยพผคู้ นมาตงั้ บ า้ นเรือนแ ละ ได้จัดตั้งศาลเจ้าพ ่อหลักเมือง ล่วงถึง พ.ศ. ๒๓๓๖ ท้าวโสมพะมิตรได้นำเครื่อง บรรณาการคอื ก านำ้ ส ำริดเข้าส วามิภกั ดิต์ อ่ พ ระบาทสมเด็จพ ระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ เพื่อข อตั้งบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง ได้รับพระราชทานนามว่า“กาฬสินธ์ุ”และได้แต่งตั้งท้าวโสมพะมิตร เป็น“พระยาชัยสุนทร”พ.ศ.๒๔๓๗สมัยพระยาชัยสุนทร(ท้าวเก) ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองเป็นแบบเทศาภิบาล มี มณฑล จงั หวัด อำเภอ ตำบล และให้เมืองกาฬสนิ ธ์ุเป็น “อำเภอ อุทยั กาฬสนิ ธ์”ุ ขึ้นกับจ ังหวัดร้อยเอ็ด ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ ได้ยกฐานะอำเภออุทัยกาฬสินธ์ุเป็น “จังหวัดกาฬสินธ์ุ” ให้มีอำนาจปกครองอำเภออุทัยกาฬสินธ์ุ อำเภอ สหัสขันธ์อำเภอกุฉินารายณ์อำเภอกมลาไสยและอำเภอยางตลาด โดยให้ขึ้นต่อมณฑลร้อยเอ็ด ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ จังหวัด กาฬสินธ์ถุ ูกย ุบเป็นอ ำเภอขึ้นกับจ ังหวัดมหาสารคามแต่ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ได้ยกฐานะเป็น“จังหวัดกาฬสินธ์ุ”จนถึงปัจจุบัน
พระธาตุยาคู กาฬสินธุ์ พระธาตุยาคู หรือพระธาตุใหญ่แห่งเมืองกาฬสินธ์ุ ถือ เป็นหลักฐานทางโบราณคดีสำคัญที่ยืนยันการมีอยู่ของเมืองโบราณ ในสมัยท วารวดี ซึ่งอ ยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๕ ที่มีชื่อว่า เมืองฟ้าแดดสงยางได้เป็นอย่างดี ด้วยเป็นโบราณสถานขนาดใหญ่ และสมบูรณ์ที่สุดที่ยังคงหลงเหลืออ ยู่ ลักษณะรปู ทรงของพระธาตุยาคูนน้ั ปรากฏการกอ่ สร้าง ๓ ส มั ยด้ว ยกัน คือส่ว นฐ านน่าจะสร้างในสมัยแรก เป็นรูป สีเ่ หลีย่ มยอ่ มมุ ฐานกว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๑๐ เมตร มบี นั ไดทางขน้ึ ๔ทศิ มปี นู ปน้ั ประดับส ร้างในสมัยทวารวดีแต่ได้หลุดร่วงไปและนำไป จัดแสดงทพ่ี พิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น รปู ทรงเป็นเจดียท์ รง แปดเหลีย่ มกอ่ ดว้ ยอฐิ ถัดขน้ึ มาจากฐานรปู แปดเหลีย่ มจะมีลกั ษณะ การสร้างซอ้ นทบั บนฐานเดิมเป็นรปู แบบเจดียใ์ นสมัยอยุธยา ส่วนองค์ ระฆังและสว่ นยอดสร้างในสมัยรตั นโกสินทร์ รอบๆ องค์พระธาตุพบ ใบเสมาแกะสลักภาพนนู ตำ่ เรือ่ งพทุ ธประวัติ ความสงู วดั จากฐานถงึ ยอดได้ ๘ เมตร พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๒๒ กรมศลิ ปากรได้ขุดแต่งและ บูรณะเจดียอ์ งค์น้ี รวมทง้ั ได้ขน้ึ ทะเบียนเป็นโบราณสถาน ที่ตั้งและการเดินทาง พระธาตุยาคูต้งั อยู่ท่ีตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัด กาฬสินธ์ุ จากก าฬสิ นธ์ุ ไปต ามท างหลวงห มายเลข ๒ ๑๔ (กาฬสนิ ธ์ุ -ร้อยเอ็ด)จ ากนัน้ เลีย้ วขวาไปตามทางหลวงหมายเลข ๒๓๖๗ ประมาณ๖ก โิ ลเมตรเลีย้ วขวาตรงข้ามกับวัดโพธิช์ ยั เสมาราม เข้าถนนลกู รัง๕๐๐เมตร ๘
ประวัติที่มาขององค์พระธาตุ ชาวบ้านเชื่อกันว่าในองค์ พระธาตุบ รรจุอ ฐั ขิ องพระเถระผใู้ หญ่ท ชี่ าวเมืองเคารพนบั ถือส งั เกตได้ จากเมื่อครั้งที่เมืองเชียงโสทำสงครามชนะดินแดนแห่งนี้ ได้ทำลาย ทุกสิ่งทุกอย่างในเมืองฟ้าแดดสงยาง แต่ไม่ได้ทำลายพระธาตุยาคู จึงทำให้โบราณสถานแห่งนี้ยังคงสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ อีกทั้ง ความหมายของชื่อพ ระธาตุก น็ ่าจะหมายความตามนั้น เพราะคำว่า “ยาคูหรือญาคู”หมายถึงพระผู้ใหญ่ท ี่ผู้คนให้ความเคารพนับถือ พระธาตุยาคูจัดให้มีงานเทศกาลสักการะพระธาตุเป็น ประจำทกุ ป ี ในเดือนเมษายน- เดือนพฤษภาคมเพือ่ เป็นการขอฝนและ ความร่มเย็นให้กับหมู่บ้าน ภายในงานนอกจากการจุดและแห่บั้งไฟ ซึ่งเป็นพิธีกรรมโดดเด่นแล้ว ยังมีพิธีบวงสรวงพระธาตุยาคูแบบ พื้นบ้านอีสานให้ได้ชื่นชมและร่วมสักการะด้วย
กาฬสินธุ์
วัดโพธิ์ชัยเสมาราม
วัดโพธิ์ชัยเสมารามเป็นสถานที่เก็บรวบรวมเสมาแห่ง เมืองฟ้าแดดสงยางไว้มากมายอีกแห่งห นึ่ง สำหรับใบเสมามีประวัติ ความเป็นมาที่ยาวนานมาก ในประเทศไทยสามารถสืบย้อนไปไกล ถึงยุคสมัยแรกเริ่มของประวัติศาสตร์ นั่นคือ อารยธรรมทวารวดี ซึ่งใบเสมาแห่งวัดโพธิ์ชัยเสมารามถือเป็นเสมาในยุคนั้นเช่นกัน คือ ราวพุทธศตวรรษที่๑๓ -๑๕ โดยส่วนใหญ่ใบเสมาภายในวัดแห่งนี้ล้วนได้มาจาก การขุดพบของชาวบ้านในละแวกนี้และได้นำมารวบรวมไว้ ใน จำนวนนนั้ ม ี ใบเสมาหนิ ข นาดใหญ่ท อี่ าจถอื เป็นเอกลักษณ์ข องอสี าน เนือ่ งจากแทบไม่พ บในภาคอนื่ เลยใบเสมาทพี่ บในเมืองฟา้ แ ดดสงยาง มีความโดดเด่นคือ นิยมแกะสลักภาพเล่าเรื่องราวพุทธประวัติและ
ช าดก มี ใ บเสมาจ ำลองที่ ง ดงามแ ละส มบู ร ณ์ ที่ สุ ด ส ลั ก ภ าพ พุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากกรุงกบิลพัสด์พร้อมด้วย พระเจ้าส ุทโธทนะ พระราหุล และพระนางยโสธราพิมพาซึ่งเข้าเฝ้า แสดงสักการะอย่างสูงสุดด้วยการสยายพระเกศาเช็ดพระบาทองค์ พระพุทธเจ้าเรียกเสมาหินภาพ“พิมพาพิลาป”ซึ่งใบเสมาใบนี้ของ จริงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งช าติขอนแก่น หลักฐานที่บ่งบอกความเป็นไปของเมืองฟ้าแดดสงยาง ในแ ถบนี้ น อกจากพ ระธ าตุ ย าคู แ ละเสมาที่ เก็ บ รั ก ษาในวั ด โพธิ์ชัยเสมารามแล้ว พระพิมพ์ดินเผาสกุลช่างคุปตะรุ่นหลัง อายุ ประมาณ ๑,๐๐๐ - ๒,๐๐๐ ก็ม ีอยู่ทั่วไป รวมถึงพบกล้องยาสูบด ิน เผาลวดลายอมราวดี ก า้ นขดเป็นร ปู ม งั กรท นี่ า่ ส นใจคอื ก ล้องยาสูบ ชนิดเดียวกัน แต่ทำด้วยทองสำริด ซึ่งเป็นเครื่องยืนยันว่ายุคโลหะ ของสุวรรณภูมไิด้เริ่มม าก่อนทุกๆ แ ห่งในโลกนี้ ที่ตั้งและการเดินทาง วัดโพธิ์ชัยเสมารามตั้งอยู่ที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธิ์ุ จากกาฬสินธ์ุไปตามทางหลวงหมายเลข๒๑๔ (กาฬสนิ ธ์ุ -ร้อยเอ็ด)จ ากนัน้ เลีย้ วขวาไปตามทางหลวงหมายเลข ๒๓๖๗ ประมาณ ๖ กิโลเมตร วัดจ ะตั้งอยู่ซ้ายมือ ตรงกันข้าม กับทางเข้าไปสู่พระธาตุย าคู ๙
วัดกลาง กาฬสินธุ์
วัดกลาง จังหวัดกาฬสินธ์ุ ถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางใน การประกอบศาสนกิจสำคัญต่างๆ ของจังหวัด ประกอบไปด้วย ศาสนสถานศาสนวตั ถุแ ละโบราณวตั ถุท สี่ ำคัญต า่ งๆอ นั เป็นท เี่ คารพ สักก าระข องประชาชนชาวจงั หวัดก าฬสนิ ธ์แุ ละจงั หวัดใกล้เคียงแ ละ ยังเป็นศูนย์รวมแห่งสรรพวิทยาความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรมที่ สมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นวัดที่ประดิษฐานพระพุทธรูป โบราณสำคัญค เู่ มืองกาฬสนิ ธ์คุ อื พ ระพุทธรปู อ งค์ด ำพ ระพทุ ธสมั ฤ ทธิ์ นิร โรคนั ต ราย(ห ลวงพอ่ ช มุ่ เย็น)พ ระพุทธรปู จ ากเมืองหลวงพระบาง ฝีมือช่างล้านนาโบราณ พุทธลักษณะปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ ทำจากทองสำริด ขนาดหน้าตักกว้าง ๔๑ เซนติเมตร ฐานสูง ๓๗ เซนติเมตรส งู จ ากฐานถงึ ย อดพระเมาลี๗ ๕เซนติเมตรส ร้างในสมัย พระเจ้าคูนาขาม เมืองภูแล่นช้าง เมื่อ พ.ศ . ๒๓๕๓ ที่ฐานมีจารึก เป็นอ กั ษรธรรมอสี านแ ต่บ า้ งกว็ า่ เป็นอ กั ษรสมัยห ลวงพระบางบ อก ศักราชนามผู้สร้างว่า เพื่อกราบไหว้บูชาทั้งแก่คนและเทวดา ขอให้ เป็นปัจจัยได้บ รรลุพ ระนิพพานที่เที่ยงแท้ม ั่นคงตามที่มุ่งหวัง กาลต่อมาพระยาชัยสุนทร (กิ่ง) เจ้าเมืองกาฬสินธ์ุ ได้ อัญเชิญมาเป็นพระพุทธรูปป ระจำจังหวัดกาฬสินธ์ุ ชาวบ้านเรียกว่า “หลวงพอ่ ช มุ่ เย็น”ด ว้ ยมพี ทุ ธคณุ เหมือนพระคนั ธ ารราษฐรท์ บี่ นั ดาล ฝนให้ตกได้หากปไีหนฝนแล้งท างวัดจะนำพระเจ้าองค์ดำออกมาให้ ชาวบา้ นแห่ข อฝนฝ นกจ็ ะตกมาให้ช าวบา้ นได้ด มื่ ใช้ร บั ค วามชมุ่ เย็น ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ แ ละอยู่เย็นเป็นสุขกันทั่วหน้า
ที่ตั้งและการเดินทาง วัดกลางตั้งอยู่ที่ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธ์ุ จังหวัด กาฬสิ น ธุ์ อ ยู่ ใ นตั ว เมื อ งก าฬสิ น ธ์ุ ใ กล้ กั บ อ นุ ส าวรี ย์ พระยาชัยสุนทรบนถนนโสมพะมิตร ๑๐
นอกจากนี้ ยังม พี ระสงั ก จั จ ายน์ร อยพระพุทธบาทจำลอง สลักจ ากหินทราย ขนาดกว้าง๑ ศอก ยาว ๔ศอก สันนิษฐานว่า สร้างในสมัยละว้าปกครอง เดิมอยู่ริมลำปาวใกล้แก่งสำโรงได้มีการ สมโภชทกุ ป ี แ ต่ต อ่ ม าตลิง่ ล ำปาวพงั เข้าม าทกุ ป ี ช าวเมืองเกรงจะถกู น้ำเซาะทำลายจึงได้อัญเชิญมาไว้ในที่วัดกลาง โดยพระยาชัยสุนทร เจ้าเมืองกาฬสินธ์ุในสมัยรัชกาลที่๕ ส่วนความเป็นมาของวัดกลาง ทราบแต่เพียงว่าสร้าง เมื่อ พ.ศ . ๒๓๘๗ แต่ไม่ปรากฏหลักฐ านเกี่ยวกับผ ู้สร้าง ต่อมาได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อว ันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๐ และได้ร บั ก ารสถาปนาเป็นพ ระอารามหลวงชนั้ ต รีช นิดส ามัญส งั กัด คณะสงฆ์มหานิกายเมื่อวันที่๓๑พฤษภาคมพ.ศ.๒๕๑๑ วัดกลางนั้นนอกจากเป็นวัดสำคัญและมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ให้พุทธศาสนิกชนได้ไปกราบไหว้บูชาแล้ว ยังถือเป็นวัดที่มีความ งดงาม โดยเฉพาะพระอุโบสถถือได้ว่ามีความงดงามตระการยิ่ง ซึ่ง การปั้นภาพประติมากรรมนูนต่ำ รวมถึงคำบรรยายประกอบภาพ เหล่านี้เกิดจากความคิดและแรงบันดาลใจของพระธรรมวงศาจารย์ (สุขส ุขโณ)
วัดสักกะวัน กาฬสินธุ์
กาฬสินธ์ุกับไดโนเสาร์น้นั ถือเป็นสองส่งิ ท่ีแยกกันไม่ออก มากกว่า๖๓๐ชิ้นจากนั้นเป็นต้นม าจังหวัดกาฬสินธ์ุจึงถูกจ ัดให้อยู่ ครั้นเมื่อเอ่ยถึงกาฬสินธ์ุแล้วจะไม่เอ่ยถึงไดโนเสาร์ก็คงมิอาจกล่าว ในทำเนียบดินแดนไดโนเสาร์ และในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ได้ว่าสมบูรณ์แบบ โดยจุดเริ่มของไดโนเสาร์แห่งกาฬสินธ์ุอันนำ ๒๕๓๘สมเด็จพ ระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารีได้เสด็จ มาซึ่งชื่อเสียงโด่งดังทั่วฟ้าเมืองไทยมีความเป็นมาอย่างไรนั้น พระราชดำเนินมาทอดพระเนตรซากกระดูกไดโนเสาร์ในบริเวณ คำตอบล้วนต้องหันกลับเข้าไปหาวัดอยู่ดี ที่เป็นเช่นนี้ก็สืบเนื่องมา ดังกล่าว วัดสักกะวันนั้น นอกจากมีชื่อเสียงในเรื่องของไดโนเสาร์ จากซากดึกดำบรรพ์ที่ได้มีการค้นพบครั้งแรกโดยพระภิกษุสงฆ์รูป หนึ่ง คือ พระญาณวิสาลเถร (พระครูว ิจิตรสหัสคุณ) เจ้าอาวาสวัด ที่ผู้คนทั่วไปรู้จักกันดีแล้วยังเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปศักดิส์ ิทธิ์ สักกะวันอำเภอสหัสขันธ์ในปีพ.ศ.๒๕๑๓ที่บริเวณภูกุ้มข้าวโดย ที่ชาวกาฬสินธ์ุให้ความเคารพ และถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ได้ม เี รือ่ งเล่าก นั ว า่ ท า่ นได้น มิ ติ เห็นส ตั ว์ย กั ษ์ข นาดมหึมาเล่นน ำ้ อ ยูใ่ น อีกองค์หนึ่งนั่นคือหลวงพ่อบันดาลฤท ธิผลหรือห ลวงพ่อบ้านด่าน บริเวณที่พบเจอ นำมาซึ่งความสงสัยท่านจึงได้ไปสำรวจตรวจดูใน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย สมัยทวารวดี เดิมทีประดิษฐานอยู่ บริเวณดังกล่าว และได้พบกับกระดูกจึงนำมาเก็บรักษาไว้ โดยคิด ริมบึงโน อำเภอสหัสขันธ์ ต่อมาเมื่อปิดกั้นน้ำเขื่อนลำปาวจึงทำให้ ว่าเป็นไม้กลายเป็นหิน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ดร. วราวุธ สุธีธร น้ำท่วมบริเวณที่ท่านประดิษฐานอยู่ ดังนั้น ชาวสหัสขันธ์จึงนิมนต์ นักธรณีวิทยาและคณะจากกรมทรัพยากรธรณีได้เดินทางมาสำรวจ มาประดิษฐาน ณ วัดสักกะวัน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยฐานของ ธรณีวิทยาบริเวณนี้ และพบตัวอย่างดังกล่าวจึงทราบความจริงว่า องค์พ ระสลักอ กั ขระเป็นภ าษาขอมม เี นือ้ ค วามวา่ “ห ลวงพอ่ บ นั ดาล” แต่ตัวหนังสือขอมไม่มีไม้โท คนสมัยนั้นแปลกันไม่ได้ ก็เลยพากัน เป็นกระดูกไดโนเสาร์ ปี พ.ศ .๒ ๕๒๓ค ณะสำรวจโบราณคดีว ทิ ยาไทย-ฝรัง่ เศส เรียก“หลวงพ่อบ ้านด่าน” สำหรับหลวงพ่อบันดาลฤทธิผล หรือหลวงพ่อบ้านด่าน ได้นำกระดูกเหล่านั้นจำนวน ๓ ท่อนไปศึกษา พบว่าเป็นส่วน กระดูกขาหน้าของไดโนเสาร์ซอโรพอด(Sauropod)หลังจากนั้นใน มักมีผู้เดินทางมากราบไหว้เพื่อขอพรซึ่งส่วนใหญ่ล ้วนประสบความ เดือนตุลาคมพ.ศ.๒๕๓๗ได้พบแหล่งส ะสมกระดูกท ี่บริเวณร่องน้ำ สำเร็จส มหวังด ังต ั้งใจดังน ั้นในวันส งกรานต์ข องทุกป จี ะจัดงานบูชา เชิงเขาข้างถนน จึงได้เริ่มสำรวจขุดค้นและอนุรักษ์เป็นระบบอย่าง สรงน้ำแ ละปิดทองจนกลายเป็นป ระเพณีท ี่สืบต่อกันมาจนถึงวันนี้ จริงจัง นำไปสู่การค้นพบกระดูกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘พบกระดูกไดโนเสาร์กินพืชมากกว่า ๖ตัวมีจ ำนวนกระดูก
ที่ตั้งและการเดินทาง วัดส ักกะวันต ั้งอ ยูท่ ีเ่ชิงภ กู ุ้มข ้าว ตำบลโนนบุรี อ ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ จากกาฬสินธ์ุใช้ทางหลวงหมายเลข ๒๒๗ (กาฬสินธ์ุ - สหัสขันธ์) ก่อนถึงสหัสขันธ์ ๒ กิโลเมตร มีทาง แยกขวาไปวัดสักกะวันอีก๑กิโลเมตร ๑๒
วัดพุทธนิมิต (ภูค่าว) กาฬสินธุ์ วัดพุทธนิมิต หรือพุทธสถานภูค่าว ที่ตั้งอยู่บนภูเล็กๆ ซึ่งเป็นชื่อเรียกกันมาแต่สมัยโบราณ ความหมายตามชื่อสันนิษฐาน ว่า เรียกขึ้นตามรูปล ักษณะของภูที่มีลักษณะคล ้ายๆ คู หรือ คร่าว (ค่าว)ซึ่งในพจนานุกรมคำว่าคร่าว(ค่าว)เป็นชื่อไม้ที่ตั้งไว้ก ับเสา สำหรับรับน้ำหนักหลังคา ภายในอาณาบริเวณของภเู ขาลกู น มี้ ถี ำ้ แ ห่งห นึง่ ท างทศิ ใต้ อันเป็นท ปี่ ระดิษฐานรปู อ งค์พ ระอรหนั ต ขีณาสพพ ระมหาโมคคลั ล านะ เถระเจ้าไสยาสน์ตะแคงซ้ายหันเศียรไปทางทิศอาคเนย์ซึ่งแกะสลัก บนแผ่นหินขนาดยาว ๖ ศอก องค์พระมคี วามยาว ๔ ศอก กว้าง ๕๐เซนติเมตร ซึ่งต ามตำนานได้เล่ากันว่า เมื่อพระเจ้าศรีโคตรบูร กษัตริยข์ อม ได้ต อ่ ยอดพระธาตุพนมสำเร็จแ ล้วจ ะประกอบพธิ สี มโภช ฉลองจ งึ ได้ม กี ารแจ้งข า่ วแก่ช าวขอมทวั่ ไปให้ม ารว่ มการฉลองครัง้ น ี้ ฝ่ายขอมทางเขมรต่ำซึ่งม ีนายสาเป็นหัวหน้าได้ร วบรวมทรัพย์สิน แ ละผคู้ นเดินท างมาทางรอ้ ยเอ็ด - ก าฬสนิ ธ์ุ เพือ่ ร ว่ มการกศุ ลสมโภช พระธาตุทว่ าส ภาพการเดินท างเป็นไปอย่างยากลำบากจ งึ ท ำให้ก าร เดินทางล่าช้า และระหว่างทางขณะหยุดพักอยู่ที่บ่อคำม่วง ซึ่งอยู่ ที่ตั้งและการเดินทาง วัดพุทธนิมิตตั้งอยู่ที่ตำบลสหัสขันธ์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัด กาฬสินธ์ุ จากกาฬสินธ์ุไปตามทางหลวงหมายเลข ๒๒๗ ถึง อำเภอสหัสขันธ์ เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข ๒๔๑๙ เจอทางแยกเลี้ยวซ้ายไปประมาณ ๕๐๐ เมตร ๑๔
ห่างจากถำ้ ภ คู า่ วไปทางทศิ ต ะวันอ อกเฉียงเหนือก ท็ ราบขา่ ววา่ ก าร สมโภชพระธาตุพนมเสร็จส นิ้ ไปแล้วน ายสาจงึ ได้ป รึกษากนั ก บั ส มัคร พรรคพวก แล้วตกลงว่าควรฝังท รัพย์สมบัตทิ ี่นำมาไว้ที่ภคู ่าว และ แกะสลักร ูปพระโมคคัลลานะไว้เป็นที่สักก ารบูชาณสถานที่แห่งนี้ นอกจากนี้ ภายในวัดยังมีสิ่งที่น่าส นใจอยู่หลายจุด เช่น อุโบสถไม้ซ งึ่ ได้จ ากไม้ท จี่ มนำ้ ในทะเลสาบเหนือเขือ่ นลำปาวล กั ษณะ เป็นอุโบสถแบบเปิด ผสมผสานสถาปัตยกรรมแบบภาคกลางและ ภาคเหนือประยุกต์ได้อย่างกลมกลืน โดยมีการแกะสลักลวดลาย งดงามตามประตูห น้าต่างเพดานเป็นภ าพพทุ ธประวัติ ท ศชาติช าดก ตรงกลางอุโบสถประดิษฐาน “พระมงคลชัยสิทธิ์ฤทธิ์ประสิทธิ์พร” และยังมี“ว ิหารสังฆนิมิต”ซึ่งเป็นที่เก็บพ ระพุทธรูปและพระเครื่อง รุ่นต่างๆที่หายากอีกมากมายจนอาจจะกล่าวได้ว่าเป็นสถานที่รวม พระเครื่องที่มากที่สุดในโลกเลยก็ได้
กาฬสินธุ์
พุทธสถานภูสิงห์
พุทธสถานภสู ิงห์ต ั้งอ ยูบ่ นภขู นาดย่อมนามว่าภ สู ิงห์ซ ึ่ง อยู่ใกล้ๆ ตัวชุมชนสหัสขันธ์ แม้ได้ชื่อว่าเป็นเพียงแค่สำนักสงฆ์ แต่ก็ถือว่าเป็นศาสนสถานสำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดกาฬสินธ์ุ ด้วยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปประทับนั่ง ปางมารวิชัยขนาด ใหญ่อันเป็นที่เคารพสักการะของชาวเมืองมานับแต่แรกสถาปนา แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ด้วยพุทธลักษณะที่สวยงามและดู โดดเด่นสะดุดตา สามารถมองเห็นได้จากระยะไกลตั้งแต่ย่างเข้า สู่ตัวอำเภอสหัสขันธ์ ผู้ที่ผ่านไปผ่านมาจึงมักไม่พลาดแวะขึ้นไป นมัสการ พระพุทธรูปดังกล่าวมีชื่อว่า พระพรหมภูมิปาโล เป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๑๐.๕ เมตร กล่าวกันว่า เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ที่สุดอีกแห่งหนึ่งในภาคอีสานสร้างใน
พ.ศ .๒ ๕๑๑โดยนายชา่ งทำพระพุทธรปู อ งค์น เี้ ป็นช า่ งจากบา้ นสถี าน อำเภอกมลาไสยซึ่งเป็นกลุ่มช ่างทสี่ ืบทอดวิชาช่างจากกลุ่มสกุลช่าง ล้านช้างมานานนับหลายร้อยปี การขึ้นไปนมัสการองค์พระพุทธรูปพระพรหมภูมิปาโล ซึ่งตั้งอยู่บนภูสิงห์นั้น มีอยู่สองทางเลือก หากเป็นหนุ่มสาวที่มี สุขภาพแข็งแรงกเ็ดินขึ้นไปตามบันได๔๐๑ขั้นที่ตั้งอยู่ด้านหน้าติด กับส วนสาธารณะห รือข บั ร ถขนึ้ ไปตามเส้นท างทอี่ าจจะคบั แ คบไปสกั หน่อยอย่างไรก็ตาม เมื่อขึ้นไปถึงน อกจากได้นมัสการองค์พระแล้ว บริเวณโดยรอบก็ถือเป็นจุดชมวิวที่ดีที่สุดอีกแห่งหนึ่งของกาฬสินธ์ุ ด้วยสามารถมองเห็นทิวท ัศน์ได้กว้างไกลโดยเฉพาะทะเลสาบเหนือ เขือ่ นลำปาวเส้นเลือดใหญ่ส ำคัญท หี่ ล่อเลีย้ งชวี ติ ผ คู้ นในพนื้ ทีจ่ งั หวัด กาฬสินธ์ุ
ที่ตั้งและการเดินทาง พุทธสถานภูสิงห์ตั้งอยู่ที่ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ จากกาฬสินธุ์ไปตามทางหลวงหมายเลข ๒๒๗ พุทธสถานภสู งิ ห์อยูบ่ นยอดเขาภูสิงห์ สามารถขึ้นได้๒ทางคอื ทางทิศตะวันตกจะเป็นทางลาดยางคดเคี้ยวขึ้นตามไหล่เขาและ ทางทิศตะวันออกเป็นทางขึ้นบันได๔๐๐กว่าข ั้น ๑๕
พุทธสถานภูปอ กาฬสินธุ์ พุทธสถานภูปอ ตั้งอยู่ที่วัดอินทร์ประทานพร หรือ วัดภูปอ สำหรับพุทธสถานแห่งนี้ตั้งอยู่บนภูเขาขนาดย่อมๆ ใน พุทธสถานซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดอินทร์ประทานพรจะมีพระพุทธรูปปาง ไสยาสน์ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวกาฬสินธ์ุให้ความเคารพอยู่ถึง ๒ องค์ แกะสลักอยู่บนแผ่นหินซึ่งเป็นผนังผาของเพิงถ้ำ จากลักษณะศิลปะ ที่ปรากฏพอที่จะระบุได้ว่าเป็นศิลปะสมัยทวารวดี สร้างขึ้นในราว พุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔ ปางโปรดอสุรินทราหู คือประทับนอน แบบสีหไสยาสน์ หรือประทับนอนตะแคงขวา พระกัจฉา (รักแร้) ทับพระเขนย(หมอน)และพระหัตถ์(มือ)ยกขึ้นประคองพระเศียร (ศี ร ษะ) ซึ่ ง ในบ างต ำนานก ล่ า วว่ า พ ระพุ ท ธอ งค์ ท รงแ สดง ปาฏิหาริย์ โดยทรงบรรทมให้ว รกายใหญ่โตกวา่ เพือ่ ให้ย กั ษ์ต นหนึง่ ช อื่ อสุ ริ นทร าหู ซึ่ ง ไม่ ย อมก้ ม หั ว ล งไปคุ ย กั บ ม นุ ษ ย์ ร่ า งเล็ ก เช่ น พระพุทธเจ้า เมื่อยักษ์เห็นดังนั้นจึงยอมลดทิฐิ และก่อเกิดศรัทธา แหงนหน้าข ึ้นไปชมพระบารมีพระพุทธเจ้า ที่ตั้งและการเดินทาง พุทธสถานภูปอตั้งอยู่ที่วัดอ ินทร์ประทานพร (วัดภูปอ) ตำบล ภูปอ อำเภอเมืองกาฬสินธ์ุ จังหวัดกาฬสินธุ์ จากกาฬสินธ์ุไป ตามทางหลวงหมายเลข๒ ๑๓(กาฬสินธุ์ - สหัสขันธ์) ถึงก โิ ลเมตร ท ี่๕ ๙แ ล้วเลี้ยวซ้ายเข้าถนน ทช. กส. ๓๐๐๕ (บ้านโจด - บ ้าน นาจารย์-นาคอกควาย)ประมาณ๑๖กิโลเมตร ๑๖
สำหรับพระพุทธรูปองค์แรก ประดิษฐานอยู่บริเวณ เชิงเขาใต้เพิงผาใกล้กับวัด องค์พระแกะสลักนูนต่ำบนแผ่นผาหิน ทราย ความยาว๓.๓เมตรสูง๑.๒๗เมตรส่วนองค์ที่๒ ตั้งอยู่ ใต้เพิงผาเกือบๆ ถึงยอดเขา โดยต้องเดินขึ้นบันได ๔๒๖ ขั้น องค์ พ ระมี พุ ท ธลั ก ษณะแ บบศิ ล ปะท วาร วดี ผ สมสุ โ ขทั ย ที่ คาดว่ า น่ า จ ะมี อ ายุ น้ อ ยก ว่ า อ งค์ แ รก คื อ ส ร้ า งขึ้ น ราว พุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ องค์พระประทับบนแท่นบรรทม โดยนอนตะแคงขวาเช่นกันความยาว๕.๒เมตรสูง๑.๕เมตรตั้ง อยู่ในหลืบผ าที่ลึกเข้าไปเล็กน ้อย พระพุทธรปู ป างไสยาสน์แ ห่งพ ทุ ธสถานภปู อนี้ ป ระชาชน ในท้องถิ่นจะจัดงานสมโภชขึ้นประมาณเดือนเมษายนของทุกปี
กาฬสินธุ์
วัดศรีบุญเรือง (วัดเหนือ)
อดี ต ค วามเป็ น ม าข องก ารก่ อ ร่ า งตั้ ง ถิ่ น ฐานของ ผู้คนในจังหวัดกาฬสินธ์ุนั้น มีความเป็นมาเนิ่นนานตั้งแต่สมัย ทวารวดี หรือราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๕ โดยมีหลักฐาน ท างประวัตศิ าสตร์ส ำคัญๆ อย่างพระธาตุย าคู ซึง่ เป็นโบราณสถานขนาด ใหญ่ในอำเภอกมลาไสยแล้ว ใบเสมาก็ถือเป็นอีกหลักฐานหนึ่ง ที่มีการพบกันเป็นจำนวนมากจนกลายเป็นภาพลักษณ์หนึ่งของ จังหวัดกาฬสินธ์ุโดยส่วนใหญ่จะเก็บรักษาไว้ที่วัดโพธิ์ชัยเสมาราม นอกเหนือจากสถานที่ดังกล่าวแล้ว ณ ใจกลางเมือง กาฬสินธ์ุ ที่วัดศรีบุญเรือง หรือวัดเหนือ วัดเก่าแก่ของกาฬสินธ์ุ ก็ ถือเป็นอีกสถานที่หนึ่งที่เก็บรักษาใบเสมาของเมืองฟ้าแดดสงยาง ให้ผู้ที่สนใจหลักฐ านทางประวัติแต่ห นหลังได้ไปชื่นชม สำหรับเสมาหรือท ี่มีนักวิชาการบางท่านเรียกว่า“สีมา” ตามพจนานุกรมพทุ ธศาสน์ห มายถงึ เขตกำหนดความพร้อมเพรียง
ของสงฆ์ หรือเขตชุมนุมของสงฆ์ หรือเขตที่สงฆ์ตกลงไว้สำหรับ ภิกษุทั้งหลายที่อยู่ภายในเขตนั้นจะต้องทำสังฆกรรมร่วมกัน โดย เสมาแบ่งเป็น๒ประเภทคือ ๑.พัทธสีมาแปลว่าแดนที่ผูกได้แก่เขตทพี่ ระสงฆ์กำหนดขึ้นเอง ๒ .อ พ ทั ธสมี าแ ปลวา่ แ ดนทไี่ ม่ได้ผ กู ได้แก่เขตทที่ างราชการกำหนด ไว้ห รือเขตทเี่ กิดข นึ้ เองตามธรรมชาติเป็นเครือ่ งกำหนดแ ละสงฆ์ถ อื เอาตามเขตที่กำหนดนั้นไม่ได้ท ำ หรือผูกขึ้นใหม่ ความสำคัญของการมีใบเสมานี้ เนื่องจากพระพุทธเจ้า ได้ทรงกำหนดให้พระภิกษุต ้องทำอุโบสถ ปวารณา และสังฆกรรม ร่วมกัน โดยเฉพาะการสวดปาติโมกข์ ซึ่งต้องสวดพร้อมกันเดือน ละ๒ครั้งจึงเกิดห ลักแดนในการที่สงฆ์จ ะร่วมกันกระทำสังฆกรรม โดยมีหลักบ ่งชคี้ ือใบเสมา โดยเสมาที่เก็บไว้ที่วัดศรีบุญเรืองจะปักเรียงรายอยู่รอบ อุโบสถ ในจำนวนนั้นมีเสมาจำหลักที่สวยงามอยู่ใบหนึ่ง ซึ่งปักอยู่ ด้านหน้าของอุโบสถจำหลักเป็นร ูปเทวดาเหาะอยู่เหนือปราสาททำ เป็นซุ้มเรือนแก้ว(ศิลปะแบบทวารวดี)ซ้อนกันเป็น๒ ชั้นล่างสุด มีรูปกษัตริย์พระมเหสีและพระราชโอรส ที่ตั้งและการเดินทาง วัดศรีบุญเรืองหรือวัดเหนือ ตั้งอ ยู่ที่ตำบลกาฬสินธ์ุอำเภอเมือง กาฬสินธ์ุจังหวัดกาฬสินธุ์ บนถนนผ้าขาว ๑๗
อนุสาวรีย์พระยาชัยสุนทร หอเจ้าบ้าน และเสาหลักเมืองใหม่ กาฬสินธุ์
อนุสาวรียพ์ ระยาชัยส ุนทร(ท้าวโสมพะมิตร)หอเจ้าบ ้าน และเสาหลักเมืองใหม่ส ถานทศี่ กั ดิส์ ทิ ธิท์ งั้ ส ามแห่งท กี่ ล่าวถงึ น ถี้ อื ว่า ม คี วามเกีย่ วเนือ่ งกนั ด งั น นั้ หากเดินท างมายังก าฬสนิ ธ์ุ ก น็ า่ จ ะเข้าไป นมัสการกราบไหว้ให้ครบกันทุกที่ เพื่อความเป็นสิริมงคล อีกทั้ง สถานทดี่ ังกล่าวก็ตั้งอยู ่ไม่ไกลกันมากนัก ความเกี่ ย วเนื่ อ งข องส ถานที่ ทั้ ง ส ามแห่ ง ที่ ก ล่ า วม า นั้น ก็สืบเนื่องมาจากครั้งที่ท่านท้าวโสมพะมิตรอพยพผู้คนมาลง หลักปักฐาน สร้างบ้านแปงเมืองนั้น ตามธรรมเนียมจะต้องมีการ ตั้งศาลหลักเมืองและหอเจ้าบ้าน เพื่อเป็นที่สถิตของดวงวิญญาณ ศักดิ์สิทธิ์ในการปกปักรักษาบ้านเมือง ครั้นผ่านกาลเวลามาเนิ่นนาน ทุกสถานที่ก็ย่อมมีการ ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา แต่กระนั้นชาวเมืองกาฬสินธ์ุก็ไม่เคย ปล่อยปละละเลยศูนย์รวมจิตใจของพวกเขา โดยได้ร่วมแรงร่วมใจ บูรณะซ่อมแซมอยู่เสมอมา เสาหลักเมืองต้นใหม่ที่เห็นอยู่ทุกวันนี้ ได้ทำยกขึ้นใหม่เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ เวลา ๑๖.๐๐น.ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕คำ่ เดือน๑๑ปรี ะกาจุลศักราช๑๓๔๓ หลังจากที่ได้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ อนุสาวรีย์พระยาชัยสุนทร (ท้าวโสมพะมิตร)ซึ่งเป็นอนุสาวรีย์หล่อด ้วยสำริดเท่าตัวจริงยืนบน แท่นมือขวาถือกาน้ำมือซ้ายถือดาบอาญาสิทธิ์เพื่อเป็นการแสดง กตเวทิตาต่อผู้ก่อตั้งเมืองกาฬสินธ์ุและพิธเีททองหล่อพระรูปท ี่หน้า ศาลากลางจังหวัด ที่ตั้งและการเดินทาง อนุสาวรีย์พระยาชัยสุนทร(ท้าวโสมพะมิตร)หอเจ้าบ้านและ เสาหลักเมืองใหม่ตั้งอยู่ที่ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ในละแวกใกล้ๆกันโดยอนุสาวรีย์พระยา ชัยสุนทร(ท้าวโสมพะมิตร)หอเจ้าบ้านอยู่คนละฝั่งของถนน ส่วนศาลเจ้าพ ่อห ลักเมืองห่างออกไปทางทิศต ะวันต กเฉียงเหนือ ตามถนนอนรรฆนาคประมาณ๕๐๐เมตร ๑๘
ส่วนหอเจ้าบ้านกาฬสินธ์ุ ซ่ึงสร้างข้ึนพร้อมกับศาล หลักเมืองทส่ี ถิตข องมเหศักข์ดวงวญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ ท ค่ี อยดแู ล ให้ค วามคมุ้ ครองแก่บ ตุ รหลานให้อ ยูเ่ ย็นเป็นสุขแ ต่เดิมห อเจ้าบ า้ นเป็น อาคารไม้ หากแต่ชำรุดทรุมโทรมก็มีซ่อมแซมสืบมาหลายสมัย ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้จดั ให้มกี ารบรู ณะซอ่ มแซม โดยสร้างเป็นอาคารเสา คอนกรีตห ลังคาทรงจว่ั แ ละปี พ.ศ .๒ ๕๔๔ได้บ รู ณะใหม่ให้ม น่ั คงถาวร ในเดือน ๖ ของทุกปี ชาวกาฬสินธ์ุจะมีพิธีทางศาสนา และพธิ บี วงสรวงสง่ิ ศกั ดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั สาม คอื ศาลหลักเมือง หอเจ้าบา้ น อนุสาวรียพ์ ระยาชยั สนุ ทร ตลอดจนศาลปแู่ ฮ่ ศาลปหู่ าร ศาลปกู่ ลุ า บุญโฮมและศาลปโู่ ง้งตง้ั แต่สมัยการกอ่ ตง้ั เมืองกาฬสนิ ธ์สุ บื มาทกุ ปี นอกจากนี้ ชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดกาฬสินธ์ุก็ได้ ริเริ่มให้ม กี ารจัดงานสมโภชเจ้าพ ่อห ลักเมืองหอเจ้าบ ้านและเจ้าพ ่อ โสมพะมิตร หรือที่เรียกกันว่า “งานงิ้ว” ของชาวจังหวัดกาฬสินธ์ุ ขึ้นครั้งแ รกจัดในปีพ.ศ. ๒๔๙๖โดยมีความเชื่อว ่ากิจการค้าข อง พ่อค้าชาวจีนมีความเจริญรุ่งเรืองมากขึ้นทุกวันเป็นเพราะเจ้าพ่อ หลักเมืองชว่ ยคมุ้ ครองให้เป็นไปค วรจะมกี ารจดั งานสมโภชหลักเมือง หอเจ้าบ้าน และเจ้าพ่อโสมพะมิตรในจังหวัด เพื่อเป็นสิริมงคลกับ กิจการค้าขายและเป็นป ระเพณีส ืบทอดต่อมายังคนรุ่นหลัง
วัดตาดแม่นายเทพนิมิต กาฬสินธุ์
วัดตาดแม่นายเทพนิมิตเป็นวัดที่มีสิ่งก่อสร้างที่สวยงาม อยู่มากมายทั่วบริเวณวัดอีกทั้งมีการจัดวางที่ลงตัวทั้งหมดล้วนก่อ เกิดจากการถ่ายทอดความคิดอันวิจิตรของนักออกแบบจัดสวนของ “พระอาจารย์สมศักดิ์ สิริวัณโณ” เจ้าอาวาสวัดตาดแม่นายฯ กับ สไตล์การออกแบบการสร้างวัดที่ไม่เหมือนวัดใด ประหนึ่งการจัด สวนรีสอร์ต รูปทรงสิ่งก่อสร้างมีเอกลักษณ์สามารถแยกออกเป็น ศิลปะประจำชาติหลากหลายประเทศ เช่น หอกลอง ศิลปะประจำ ชาติญ ปี่ นุ่ ห อพระห อยกั ษ์ห อระฆังม ณฑปพระศ าลเจ้าแ ม่ก วนอมิ สะพานลวดลายมังกร ล้วนโชว์งานศิลปะประจำชาติจีน ไทย แขก ญี่ปุ่น จุดประสงค์ก็เพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนทางกายและ ใจแก่ผู้คน บริเวณวัดตาดแม่นายฯ ตั้งอยู่บนที่ลาดเชิงเขา ซึ่งมี ลักษณะคล้ายน้ำตก ด้วยเหตุน ี้เองจึงเป็นอีกหนึ่งที่มาของชื่อ คำว่า “ตาด” ในภาษาพื้นถิ่นแถบนี้ หมายถึงเนินเขา หรือพื้นที่ลาดชันที่ เป็นหนิ ซงึ่ จากสภาพภมู ิประเทศที่เห็นก็บง่ บอกได้อย่างชดั เจนดว้ ย ภายในบริเวณที่ตั้งของวัดประกอบด้วยลานหินกว้าง สูงจากพื้นดิน ตั้งแต่๕-๗เมตรมีหินเรียงทับซ้อนกันในลักษณะขั้นบันไดลดหลั่น กันลงมาจนถึงร ะดับพ ื้นราบ ส่วนคำวา่ “แ ม่น าย”น นั้ ม ตี ำนานเล่าข านจากชาวบา้ นมา หลายชวั่ อ ายุค นวา่ ณ ท แี่ ห่งน เี้ คยเป็นน ำ้ ตกม ผี หู้ ญิงส งู ศ กั ดิ์ ช าวบา้ น เรียกว่า “แ ม่นาย” แม่นายและทาสผู้ซื่อสัตย์ได้เดินทางมาที่นี่ และ เผอิญแม่นายได้ลื่นไถลลงมาจากตาดจนเสียชีวิต สร้างความเสียใจ
ที่ตั้งและการเดินทาง วัดตาดแม่นายเทพนิมิตตั้งอยู่ที่ตำบลโนนบุรี อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ จากกาฬสินธุ์ไปตามทางหลวงหมายเลข๒ ๒๗ ประมาณ๕ ก ิโลเมตรโดยเลี้ยวซ้ายทีป่ ้อมตำรวจหน้าโรงเรียน สหัสขันธ์ศึกษา หรือตรงกันข้ามทางเข้าวัดสักกะวัน เข้าไป ประมาณ๒กิโลเมตร ๒๐
ให้ผ ู้เป็นบ่าวยิ่งนักจึงได้เอาคำว่า“แม่นาย”เข้าม าบวกกับช ื่อพื้นที่ แห่งนี้คือ“ตาด”จึงเป็นเรียกกันว่า“ตาดแม่นาย”มาตั้งแต่บ ัดนั้น แต่ก่อนจะมาเป็นวัดที่สวยงามโดดเด่นเป็นสง่าแก่อำเภอ สหัสขันธ์ที่ดินแห่งนี้เดิมเป็นของวัดไตรภูมิแต่ขณะที่กำลังก่อสร้าง ในวดั เสาเกิดล ม้ ท บั พ ระสงฆ์ร ปู ห นึง่ ม รณภาพช าวบา้ นจงึ พ ากนั ก ลัว ทางวดั ไตรภูมเิ องกไ็ ด้ย า้ ยไปสร้างวดั ใหม่ท บี่ า้ นโนนบรุ ี ท บี่ ริเวณนจี้ งึ ถูกปล่อยเป็นว ัดร้างมาช้าน าน ต่อมาเมื่อป ี พ.ศ. ๒๕๓๓ พระอธิการสมศักดิ์ สริ ิวัณโน ได้มาพบสถานที่แห่งนี้เห็นว ่าเป็นพ ื้นที่ที่มีความเหมาะสมจะพัฒนา เป็นวัด ท่านได้ก่อสร้างวัดขึ้นใหม่โดยใช้ชื่อ “วัดบางโศก” แต่อยู่มา คืนหนึ่งท่านได้นิมิตเห็นหญิงสาวผมยาวนางหนึ่ง แต่งกายคล้าย ชาวผู้ไทโบราณมาเดินว นเวียนอยู่รอบกุฏคิ ล้ายๆ กับม ีเรื่องกังวลใจ บ างอ ย่ า ง ท่ า นจึ ง ได้ เปลี่ ย นชื่ อ วั ด เสี ย ใหม่ โดยเปลี่ ย นชื่ อ จ าก “วัดบางโศก”เป็น“วัดตาดแม่นายเทพนิมิต”เพื่อไม่ให้ซ้ำก ับช ื่อเก่า ที่ไม่เป็นมงคล อีกทั้งเพื่อให้พ้องกับเรื่องเล่าที่สืบต่อๆ กันมาของ ชาวบ้านแถบนี้ขณะเดียวกันภ ายในบริเวณวัดกจ็ ัดสร้างศาลแม่นาย เพื่อให้เป็นที่เคารพสักก าระของผู้คน