บทนำ คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยความร่วมมือระหว่าง ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) และธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน) โดยมวี ตั ถุประสงค์เพือ่ เผยแพร่ค วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั ก ารทำธรุ กรรมโดยใช้ เงินหยวนเพื่อการชำระค่าสินค้าและบริการระหว่างประเทศ ปัจจุบัน การค้าระหว่างประเทศทั่วโลกมีการใช้เงินสกุลหลักในการ ชำระเงินค่าสินค้า ได้แก่ เงินดอลลาร์ สรอ. เงินยูโร เงินเยน อย่างไรก็ดี นับตั้งแต่วิกฤตการเงินในสหรัฐอเมริกาในปี 2551 รวมทั้ง วิกฤตหนีส้ าธารณะ ในยุโรปตั้งแต่ปี 2553 ที่ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น และมีแนวโน้มลุกลามต่อ ไปยังประเทศอื่นในยุโรป ซึ่งทำให้ประเทศต่างๆ มีการดำเนินนโยบายการเงิน และการคลังที่ผ่อนคลายมากขึ้น ส่งผ ลต่อเสถียรภาพของค่าเงินดอลลาร์ สรอ. เงินยูโร และระบบการเงินโดยรวม วิกฤตการณ์ทางการเงินในสหรัฐฯ และยุโรปส่งผลให้บทบาททาง เศรษฐกิจข องสหรัฐฯ และยโุ รปมคี วามสำคัญล ดลง ประกอบกบั เศรษฐกิจญ ปี่ นุ่ ท ี่ ยังไม่ฟ นื้ ต วั ในขณะทปี่ ระเทศจนี ม บี ทบาทสำคัญในเศรษฐกิจโลกมากขนึ้ ต ามลำดับ ในปี 2553 จีนก้าวขึ้นม าเป็นป ระเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอ ันดับ 2 ของ โลกอย่างเป็นทางการ แซงหน้าประเทศญี่ปุ่นซึ่งครองอันดับ 2 มาเป็นทศวรรษ โดยเป็นรองเพียงสหรัฐฯ เท่านั้น นอกจากนี้ จีนย ังเป็นประเทศผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลก และเป็นป ระเทศคู่ค้าในการส่งอ อกและนำเข้าที่มีมูลค่าสูงสุดอ ันดับ ที่ 2 ของไทย (รองจากญี่ปุ่น) โดยมูลค่าน ำเข้าและส่งออกระหว่างไทยกับจีนใน ปี 2554 คิดเป็น 58 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือร้อยละ 12.7 ของมูลค่านำเข้า ส่งออกทั้งหมด และตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 12 (ปี 2554-2558) ของ จีนที่ให้ความสำคัญกับอาเซียนในฐานะกลุ่มประเทศคู่ค้าที่สำคัญ จึงทำให้มีการ คาดการณ์ว่าปริมาณการค้าระหว่างไทยและจีนจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต
ในปี 2552 จีนเริ่มผลักดันนโยบายสนับสนุนเงินหยวนสู่สากล หรือที่ เรียกว่า “RMB Internationalization” และได้มีการดำเนินการตามนโยบาย ดังกล่าวอย่างค่อยเป็นค่อยไป เริ่มจากการอนุญาตให้ใช้เงินหยวนชำระค่าสินค้า บริการระหว่างประเทศในระดับ “ภูมิภาค” (Regionalization) และขยายไป ทั่วโลก (Globalization) นโยบายดังกล่าวส่งผลให้เงินหยวนหมุนเวียนนอก ประเทศจีน โดยมีฮ่องกงเป็นศูนย์กลางเงินหยวนนอกประเทศจีน “Offshore Yuan Business” ซึ่งบริษัทต่างชาติสามารถระดมทุน ลงทุนในตราสารทาง การเงิน และซอื้ ข ายเงินห ยวนเพือ่ ก ารชำระคา่ ส นิ ค้า บริการและการลงทุนร ะหว่าง ประเทศได้อย่างคล่องตัวในฮ่องกง ในการนี้ ธนาคารกลางแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (People’s Bank of China-PBC) ได้ร่วมกับธนาคารกลางประเทศต่างๆ จัดทำความตกลง ทวิภาคีในการแลกเปลี่ยนเงินสกุลหยวนและเงินท้องถิ่นของประเทศต่างๆ (Bilateral Currency Swap Arrangement) เพื่อส ร้างความเชื่อมั่นให้ระบบ การเงินในการใช้เงินหยวนเพื่อการชำระเงินจากการค้าและการลงทุนระหว่าง ประเทศ ทัง้ นี้ สำหรับป ระเทศไทย ธนาคารแห่งป ระเทศไทยได้ล งนามความตกลง ทวิภาคีเพือ่ แ ลกเปลีย่ นเงินส กุลห ยวนและบาทกบั PBC เมือ่ ว นั ท ี่ 22 ธันวาคม 2554 ที่ผ่านมา จากความสำคัญข องเศรษฐกิจจีนต่ออาเซียน และประเทศไทย รวมทั้ง นโยบายของจีนที่จะผลักดันเงินหยวนให้เป็นสกุลหลักของโลกเช่นเดียวกับเงิน สกุลหลักอื่นๆ เช่น ดอลลาร์ สรอ. ยูโร ซึ่งมีความผันผวนมากขึ้นจากปัญหา วิกฤตการเงินโลกนนั้ เพือ่ ให้ผ ปู้ ระกอบการไทยทมี่ กี ารทำธรุ กิจก ารคา้ ก ารลงทุน กับประเทศจีน มีทางเลือกมากขึ้นในการใช้เงินหยวนซึ่งเป็นสกุลเงินของคู่ค้าที่ อยู่ในภูมิภาคเดียวกันกับประเทศไทยและค่าเงินมีแนวโน้มเคลื่อนไหวในทิศทาง เดียวกัน รวมทงั้ เพือ่ ช ว่ ยลดความเสีย่ งจากอตั ราแลกเปลีย่ นและขยายโอกาสทาง ธุรกิจในประเทศจนี อันจ ะชว่ ยให้ธ รุ กิจไทยเพิม่ ข ดี ค วามสามารถในการแข่งขันก บั ต่างประเทศมากขึ้น ธนาคารแห่งป ระเทศไทย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) และ ธนาคารสแตนดาร์ดช าร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน) จึงร่วมกันจัดทำคู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระ ค่าสินค้าและบริการเล่มนี้ เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นแก่ธุรกิจไทยให้ทราบถึง ประโยชน์ของการใช้เงินหยวนในการทำธุรกิจกับประเทศจีน ขั้นตอนการชำระ เงินหยวนสำหรับธุรกิจนำเข้าและส่งอ อก บริการธุรกรรมเงินห ยวนของธนาคาร พาณิชย์ และธนาคารพาณิชย์ไทยที่ให้บริการเงินห ยวน อันจะช่วยให้ผู้ประกอบ การใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกใช้สกุลเงินที่เหมาะสมในการทำธุรกิจการค้า กับคู่ค้าในประเทศจีน ทั้งนี้ หากผู้ประกอบการท่านใดสนใจจะค้นคว้าหาข้อมูล ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม ท่านสามารถสอบถามจากธนาคารพาณิชย์ผู้ให้บริการตามที่ ระบุไว้ในคู่มือฉ บับนี้ อนึ่ง คณะผู้จัดทำคู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้า และบริการ จะดำเนินการปรับปรุงคู่มืออย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายทั้งของทางการจีนและไทย รวมทั้งข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยผู้ประกอบการสามารถตรวจสอบคู่มือฉบับล่าสุดได้ที่ Website ของ ธนาคารประเทศไทย http://www.bot.or.th/thai/fiffiinancialmarkets/ pages/index.aspx
คณะผู้จัดทำ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน) พฤศจิกายน 2555
สารบัญ • ปัจจัยส่งเสริมการชำระค่าสินค้าและ
5
บริการระหว่างประเทศด้วยเงินหยวน • ประโยชน์ต่อธุรกิจไทยจากการใช้เงินหยวน
7
ในการทำธุรกิจกับประเทศจีน • สิ่งที่ธุรกิจไทยควรพิจารณาก่อนเริ่มชำระ
9
ค่าสินค้าด้วยเงินหยวน • ขั้นตอนการทำธุรกรรมด้วยเงินหยวน
10
สำหรับธุรกิจนำเข้าส่งออก • บริการธุรกรรมเงินหยวนของธนาคารพาณิชย์ในไทย 15 • ธนาคารพาณิชย์ในไทยที่ให้บริการธุรกรรมเงินหยวน 18 • คำถามที่พบบ่อย (FAQ)
23
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
ปัจจัยส่งเสริมการชำระค่าสินค้าและบริการ ระหว่างประเทศด้วยเงินหยวน ปัจจัยท สี่ ง่ เสริมก ารใช้เงินห ยวนเพือ่ ก ารชำระคา่ ส นิ ค้าแ ละบริการระหว่าง ประเทศมีดังนี้ 1. มูลค่าการค้าระหว่างไทยและจีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากบทบาทของจีนที่เพิ่มขึ้นในตลาดโลก ความสัมพันธ์ไทยจีนที่ใกล้ชิดของ ห่วงโซ่อุปทาน และความตกลงการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่จะทยอยมี ผลบงั คับใช้เพิม่ ข นึ้ ในอนาคต เช่น กรอบ ASEAN+3 (อาเซียน + จีน ญีป่ นุ่ และ เกาหลีใต้), ASEAN+6 (อาเซียน + จีน ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย) นอกเหนือจ ากกรอบอาเซียน และอาเซียน-จีน ที่มีผลบังคับใช้แล้ว 2. เงินสกุลดอลลาร์ สรอ. เมื่อเทียบกับเงินบาทยังมีแนวโน้มผันผวน อย่างต่อเนื่องในระยะต่อไป ในขณะที่เงินหยวนเคลื่อนไหวอย่างค่อนข้างมี เสถียรภาพ เป็นแรงจูงใจให้ภาคธุรกิจหันมาสนใจการชำระเงินด้วยสกุลหยวน มากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของเงินดอลลาร์ สรอ.
5
อย่างไรก็ดี ต้นทุนในการทำธุรกรรมแลกเปลี่ยนเงินหยวนอาจจะยัง ค่อนขา้ งสงู เมือ่ เทียบกบั เงินส กุลห ลัก เช่น ดอลลาร์ สรอ. เนือ่ งจากทางการจนี ม ี ข้อจ ำกัดเงินท นุ เคลือ่ นยา้ ยระหว่างประเทศและการใช้เงินห ยวนในการแลกเปลีย่ น ค่อนขา้ งสงู ปริมาณเงินห ยวนทหี่ มุนเวียนนอกประเทศจนี ย งั อ ยูใ่ นปริมาณตำ่ แต่ ทางการจีนได้มีการผ่อนคลายกฎระเบียบเกี่ยวกับเงินหยวนอย่างต่อเนื่อง โดย เริ่มจากให้เงินหยวนสามารถใช้ชำระค่าสินค้าระหว่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง อีกทั้งมีนโยบายสนับสนุนให้เงินหยวนเป็นเงินสกุลหลักอีกสกุลหนึ่งของโลก โดยให้เงินหยวนมีบทบาทในการทำธุรกรรมทางการเงิน และให้ประเทศต่างๆ ถือเงินหยวนเป็นทุนสำรองระหว่างประเทศในระยะต่อไป จากขอ้ จ ำกัดด า้ นสภาพคล่องเงินห ยวนขา้ งตน้ ธนาคารแห่งป ระเทศไทย จึ ง ได้ ล งน ามในค วามตกลงท วิ ภ าคีเพื่ อ แ ลกเปลี่ ย นเงิ น ห ยวนแ ละเงิ น บ าท (Bilateral Currency Swap Arrangement) กับธ นาคารกลางแห่งส าธารณรัฐ ประชาชนจีน (People’s Bank of China -PBC) เมื่อเดือนธันวาคม 2554 เพื่อช่วยให้ธนาคารแห่งประเทศไทยมีช่องทางเข้าถึงสภาพคล่องเงินหยวน อันจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ภาคเอกชนไทยว่าจะมีสภาพคล่องเงินหยวน เพียงพอรองรับการค้าและการลงทุนร ะหว่างประเทศไทยและประเทศจีน
6
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
ประโยชน์ต่อธุรกิจไทยจากการใช้เงินหยวน ในการทำธุรกิจกับประเทศจีน
ธุรกิจไทยทมี่ โี อกาสได้ร บั ป ระโยชน์จ ากการชำระเงินด ว้ ยสกุลห ยวน คือ ธุรกิจที่มีคู่ค้าในจีน หรือมีคู่ค้าที่อยู่ในเครือข่ายของธุรกิจจีน โดยประโยชน์จาก การใช้เงินหยวน มีดังนี้ ธุรกิจไทยทสี่ ง่ อ อกไปยงั ป ระเทศจนี หรือ ธุรกิจไทยทนี่ ำเข้าจ ากประเทศจนี 1. ลดความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากในระยะต่อไป คาดว่า เงินหยวนจะยังมีแนวโน้มผันผวนต่ำเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. 2. กระจายความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน สำหรับธุรกิจขนาดใหญ่ที่ มีกระแสเงินสดหมุนเวียนเป็นสกุลเดียว และต้องการกระจายความเสี่ยงจาก เงินสกุลนั้น 3. อาจเป็นผลดีต่อการเจรจาต่อรองราคาสินค้า เนื่องจากคู่ค้าจีนที่ รับ/ชำระคา่ ส นิ ค้าด ว้ ยเงินห ยวน ไม่มคี วามเสีย่ งดา้ นอตั ราแลกเปลีย่ น ทำให้ไม่มี ต้นทุนในการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และลดภาระด้านเอกสาร ยื่นต่อศุลกากรจีนและเพื่อรับคืนภ าษีส่งอ อก จึงม ีแนวโน้มที่น่าจะเจรจาต่อรอง ราคาได้ดขี ึ้น 7
4. เพิม่ โอกาสการสร้างเครือข า่ ยการคา้ ก บั ธ รุ กิจในประเทศจนี เนือ่ งจาก การใช้เงินห ยวนทำให้ค คู่ า้ ในประเทศจนี โดยเฉพาะธรุ กิจข นาดกลางและขนาดยอ่ ม สามารถกำหนดราคาซื้อขายสินค้าเป็นสกุลเงินหยวน โดยไม่ต้องยุ่งยากใน ก ารกำหนดราคา และคำนวณเป็นเงินต ราตา่ งประเทศ ดังน นั้ จ งึ ช ว่ ยให้ผ ปู้ ระกอบ การไทยสามารถเข้าถึงและขยายโอกาสทางธุรกิจก ับคู่ค้าในประเทศจีนมากขึ้น นอกจากนี้ ธุรกิจไทยที่ส่งออกและนำเข้าจากประเทศจีน สามารถ บริหารกระแสเงินสดรบั ส กุลเงินห ยวนจากการสง่ อ อก และกระแสเงินสดจา่ ยสกุล เงินหยวนทมี่ รี ะยะเวลาการสง่ ม อบทตี่ รงกนั หรือใกล้เคียงกนั (Natural hedge) ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนการแลกเปลี่ยนเงิน และลดความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนจาก การแลกเปลี่ยนสกุลเงินได้
8
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
สิ่งที่ธุรกิจไทยควรพิจารณาก่อนเริ่มชำระค่าสินค้า ด้วยเงินหยวน ก่อนทธี่ รุ กิจจ ะเลือกชำระคา่ ส นิ ค้าแ ละบริการดว้ ยเงินห ยวนควรพจิ ารณา ปัจจัย ดังนี้ 1. กระแสเงินสดของกจิ การ และคา่ ใช้จ า่ ยทอี่ าจเกิดข นึ้ เมือ่ ใช้เงินห ยวน เช่น ธุรกิจ Trading ที่มีการรับและจ่ายด้วยเงินหยวน อาจทำประมาณการ กระแสเงินสดในส่วนที่จะเกิดขึ้น เพื่อบริหารรายรับและรายจ่ายที่เป็นเงินสกุล หยวนให้สอดคล้องกัน (Natural hedge) จากนั้นควรพิจารณาค่าใช้จ่ายที่อาจ เกิดขึ้นจากการปรับวิธีการหรือระบบงานมาใช้เงินหยวน เพื่อให้เห็นภาพที่จะ เกิดขึ้นจริงและช่วยให้สามารถพิจารณาความคุ้มค่าได้ 2. ค่าบริการ ค่าธรรมเนียม และอัตราแลกเปลี่ยนที่ได้ จากธนาคาร พาณิชย์ที่ให้บริการ เพื่อใช้เปรียบเทียบความคุ้มค่าระหว่างการใช้เงินดอลลาร์ สรอ. และเงินหยวน 9
ขั้นตอนการทำธุรกรรมด้วยเงินหยวน สำหรับธุรกิจนำเข้าส่งออก ตั้งแต่ มิถุนายน 2555 เป็นต้นม า ทางการจีนอ นุญาตเป็นการทั่วไปให้ ธุรกิจในประเทศจีนสามารถรับหรือชำระเงินค่าสินค้าและบริการระหว่างประเทศ ด้วยเงินหยวน โดยธุรกิจในประเทศจีนต้องเข้าเงื่อนไข ดังนี้ 1) เป็นธุรกิจที่ได้รับ “ใบอนุญาตในการประกอบธุรกิจนำเข้าและ ส่งออก” จากหน่วยงานบริหารอุตสาหกรรมและการพาณิชย์แห่งประเทศจีน (Administrative Bureau for Industry & Commerce) และรายงานต่อ คณะกรรมการเศรษฐกิจแ ละการค้าระหว่างประเทศ (Foreign Economic and Trade Committee) เพื่อส ามารถทำธุรกรรมระหว่างประเทศด้วยเงินห ยวน
10
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
2) ต้องมีการลงทะเบียนในระบบ Cross-Border RMB Receipt and Payment Information Management System (RCPMIS) ของธนาคาร พาณิชย์ในประเทศจีนที่ให้บริการเงินหยวนระหว่างประเทศก่อน โดยมีการลง ทะเบียนในครั้งแรกเพียงครั้งเดียว หลังจากนั้นธุรกิจในประเทศจีนดังกล่าวก็จะ สามารถรับชำระค่าสินค้าเป็นเงินห ยวนได้ อย่างไรก็ดี หากคู่ค้าในประเทศจีนที่เป็นผู้ส่งออกและต้องการรับ ช ำระเงินค า่ ส นิ ค้าเป็นเงินห ยวนและได้ล งทะเบียนในระบบ RCPMIS แล้ว หากคคู่ า้ ในประเทศจีนไม่ได้อยู่ในรายชื่อ “ธุรกิจที่ถูกจับตามองเป็นพิเศษ” จะสามารถ รับเงินหยวนได้ และไม่ถูกตรวจสอบธุรกรรมต่างๆ แต่กรณีท ี่คู่ค้าในประเทศจีน อยู่ในรายชื่อดังกล่าว จะสามารถรับเงินหยวนได้ แต่ไม่สามารถฝากเงินหยวน ค่าส ง่ อ อกในตา่ งประเทศ รวมทงั้ ธนาคารพาณิชย์ในประเทศจนี จ ะตอ้ งตรวจสอบ ธุรกรรมและหลักฐานต่างๆ ของธุรกิจด ังกล่าว
11
ขั้นตอนการทำธุรกรรมการค้าด้วยเงินหยวนโดยทั่วไปนั้น ไม่แตกต่าง จากสกุลเงินอื่น ดังนี้ 1. ธุรกรรมการค้าสำหรับผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้ส่งออก ผู้ส่งออกที่ตกลงรับชำระค่าสินค้าเป็นเงินหยวน จะมีขั้นตอนการทำ ธุรกรรม ดังนี้ • กรณีผ สู้ ง่ อ อกมบี ญ ั ชีเงินฝ ากสกุลห ยวนกบั ธ นาคารพาณิชย์ในไทย สามารถเลือกรบั เงินเป็นส กุลห ยวนได้ เพียงแจ้งเลขทบี่ ญ ั ชีเงินฝ ากสกุลห ยวนและ ธนาคารที่รักษาบัญชีดังกล่าว ให้กับผ ู้โอนเงินต้นทาง • กรณีผ สู้ ง่ อ อกไม่มบี ญ ั ชีเงินฝ ากสกุลห ยวน สามารถสอบถามและ ขายเงินหยวนเพื่อรับเงินบ าทในวันนี้ (Today) วันร ุ่งขึ้น (Tomorrow) หรือใน อีก 2 วันข้างหน้า (Spot) หรือขายเงินห ยวนล่วงหน้า (Forward Contract) กับธนาคารพาณิชย์ และเมื่อมีเงินโอนเข้ามา ธนาคารพาณิชย์จะดำเนินการตาม ความประสงค์ของผู้ส่งออก
12
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
2. ธุรกรรมการค้าสำหรับผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้นำเข้า ผู้นำเข้าที่ตกลงชำระค่าสินค้าเป็นเงินหยวน จะมีขั้นตอนการทำ ธุรกรรม ดังนี้ • กรณีท ผี่ นู้ ำเข้าม บี ญ ั ชีเงินฝ ากสกุลห ยวนกบั ธ นาคารพาณิชย์ในไทย และตอ้ งการโอนเงินจากบญ ั ชีดงั กล่าว ให้ดำเนินการยนื่ ค ำขอโอนเงินกบั ธนาคาร พาณิชย์ • กรณีท ผี่ นู้ ำเข้าไม่มบี ญ ั ชีเงินฝ ากสกุลห ยวน ให้ด ำเนินก ารยนื่ ค ำขอ โอนเงินกับธนาคารพาณิชย์ โดยซื้อเงินห ยวน และจ่ายชำระเป็นเงินบ าทในวันนี้ (Today) วันรุ่งขึ้น (Tomorrow) หรือในอีก 2 วันข้างหน้า (Spot) หรือซ ื้อ เงินหยวนด้วยอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Contract) เพื่อโอนออก เป็นเงินหยวน
13
• ผูป้ ระกอบการตอ้ งยนื่ เอกสารประกอบการโอนเงินห ยวนเพือ่ แ สดง ภาระผูกพันตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย อย่างใดอย่างหนึ่ง 1. สัญญาซื้อขาย 2. บัญชีราคาสินค้า (Invoice) 3. เอกสารเรียกเก็บเงินจากผู้ขาย 4. ใบสรุปร ายการเอกสารข้างต้น ทัง้ นี้ ธนาคารพาณิชย์อ าจจะเรียกเอกสารอนื่ เพิม่ เติม เช่น เอกสารขนส่ง สินค้าท างเรือห รือท างอากาศ (Bill of Lading :B/L หรือ Airway Bill : AWB) คำยืนยันการตกลงซื้อขายสินค้าท างอินเตอร์เน็ต ใบเสร็จก ารเสียภ าษี
14
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
บริการธุรกรรมเงินหยวนของธนาคารพาณิชย์ในไทย ปัจจุบันธนาคารพาณิชย์ในไทยให้บริการธุรกรรมเงินหยวนในลักษณะ เดียวกับเงินตราต่างประเทศสกุลอื่น โดยอาจมีรายละเอียดและเงื่อนไขการ ให้บ ริการทแี่ ตกตา่ งกนั ในแต่ละธนาคาร ซึง่ ผ ปู้ ระกอบการสามารถสอบถามบริการ ได้ที่ธนาคารพาณิชย์ท ี่ให้บริการ ดังนี้ 1. บริการบัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ (Foreign Currency Deposit: FCD) สกุลห ยวน • บัญชีเงินฝ ากสกุลห ยวนที่มีแหล่งท ี่มาจากรายได้ต่างประเทศ • บัญชีเงินฝากสกุลหยวนที่มีแหล่งที่มาของรายได้ในประเทศแบบ แสดงภาระ • บัญชีเงินฝากสกุลหยวนที่มีแหล่งที่มาของรายได้ในประเทศแบบ ไม่แสดงภาระ 15
2. บริ ก ารซื้ อ ข ายเงิ น ห ยวนเพื่ อ ก ารค้ า แ ละบ ริ ก าร มี ก ำหนดการ รับ/จ่ายดังนี้ • Today, Tomorrow, Spot • Forward Contract o บริการขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Export Forward Contract) o บริการซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Import Forward Contract) 3. บริการโอนเงินหยวน • บริการรับเงินโอนจากต่างประเทศ (Global Inward) • บริการโอนเงินไปต่างประเทศ (Global Outward) 4. บริการด้าน Trade Service • บริการด้านการส่งอ อก o บริการแจ้งเปิดเล็ตเตอร์ออฟเครดิต (L/C Advising) o บริการเรียกเก็บเงินตามเอกสารสินค้าออกตามเลตเตอร์ ออฟเครดิต (Export Collection under L/C) o บริการเรียกเก็บเงินตามเอกสารสินค้าออกตามเอกสาร เรียกเก็บ (Export Collection under B/C) 16
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
o บริการสินเชื่อเพื่อการส่งอ อก (Packing Credit) o บริการสินเชื่อ International Trade P/N • บริการด้านการนำเข้า o บริการเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต (L/C Issuance) o บริการชำระเงินค่าสินค้าตามเลตเตอร์ออฟเครดิต (Import Payment under L/C) o บริการชำระเงินค่าสินค้าตามเอกสารเรียกเก็บ (Import Payment under B/C) o บริการสินเชื่อเพื่อการนำเข้า (Trust Receipt) o บริการสินเชื่อ International Trade P/N 5. บริการซื้อขายธนบัตรเงินหยวน • บริการรบั ซอ้ื และขายธนบัตรเงินหยวนโดยไม่คดิ คา่ ธรรมเนียม
17
ธนาคารพาณิชย์ในไทยที่ให้บริการธุรกรรมเงินหยวน ปัจจุบันมีธนาคารพาณิชย์ไทย 9 แห่ง ที่ให้บริการธุรกรรมเงินหยวน รายละเอียดและเงื่อนไขการให้บริการของแต่ละธนาคารอาจจะแตกต่างกัน สรุปได้ ดังนี้
ธนาคาร
FCD
Spot Forward T/T Export L/C Bill for L/C Trust Packing Document Collection Receipt Credit
กรุงเทพ
√
√
√
√
√
√
√
√
√
กรุงไทย
×
√
×
√
×
×
√
×
×
กรุงศรีอยุธยา
√
√
×
√
√
√
√
√
√
กสิกรไทย
√
√
√
√
√
√
√
√
√
ไทยพาณิชย์
√
√
√
√
√
√
√
√
√
ทหารไทย
×
√
√
√
√
√
√
×
×
ธนชาต
×
×
×
√
×
×
×
×
×
สแตนดาร์ด ชาร์ตอร์ด (ไทย)
√
√
√
√
√
√
√
√
√
ไอซีบีซี (ไทย)
√
√
√
√
√
√
√
√
√
ผู้ประกอบการที่ประสงค์จะทำธุรกรรมเงินหยวนกับธนาคารพาณิชย์ใน ไทยสามารถเรียกดูบริการของธนาคารพาณิชย์ได้ดังนี้
18
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
- อัตราค่าธรรมเนียมและเงื่อนไขบัญชีเงินฝากสกุลหยวนเปรียบเทียบ ระหว่างธนาคารสามารถเรียกดูได้จาก Website ของธนาคารแห่งประเทศไทย ดังน ี้ เรื่อง ค่าธรรมเนียมและ เงื่อนไขบัญชีเงินฝาก เงินตราต่างประเทศ การเปิด L/C และ การเรียกเก็บตั๋วเงิน ต่างประเทศ
Website
http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/ FinancialMarkets/InterestRate/Pages/ feeRate.aspx http://www2.bot.or.th/feerate/internal. aspx?PageNo=22
การโอนเงิน ดราฟต์และ http://www2.bot.or.th/feerate/internal. ตั๋วเงินต่างประเทศ aspx?PageNo=23
19
- อั ต ราแ ลกเปลี่ ย นส กุ ล ห ยวนส ามารถเรี ย กดู ได้ จ าก Website หรือติดต่อสอบถามได้โดยตรงจากธนาคารพาณิชย์ไทย และสาขาธนาคาร ต่างชาติในไทยแต่ละแห่งทใี่ห้บริการ ดังนี้
20
ธนาคารพาณิชย์ไทย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
http://www.ktb.co.th/ktb/th/rates.aspx
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
http://www.krungsri.com/th/ foreign-exchange-rates.aspx
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
http://www.kasikornbank.com/TH/ RatesAndFees/ForeignExchange/Pages/ ForeignExchange.aspx
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
http://www.scb.co.th/scb_api/index.jsp
ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)
http://www.tmbbank.com/rates
Website
http://www.bangkokbank.com/ BangkokBankThai/WebServices/Rates/ Pages/FX_Rates.aspx
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
ธนาคารพาณิชย์ไทย ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)
Website
http://www.thanachartbank.co.th/cds/ thanachart/ExchangeRate/ exchange_rate.aspx
ธนาคารสแตนดาร์ด ชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน)
http://www.standardchartered.co.th/ th/index.html
ธนาคารไอซีบซี ี (ไทย) จำกัด (มหาชน)
http://www.icbcthai.com/th/service/ rates_forex01.aspx
21
สาขาธนาคารต่างชาติในไทย ธนาคารซิตี้แบงก์ เอ็น. เอ.
Website http://www.citibank.co.th
ธนาคารดอยซ์แบงก์
http://www.db.com/thailand
ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น
http://www.smbc.co.jp/global/ bangkok
ธนาคารแห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ http://www.th.bk.mufg.jp/rate.aspx ยูเอฟเจ จำกัด ธนาคารแห่งประเทศจีน จำกัด http://www.bankofchina.com/th/ th/bocinfo/bi3/ ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด
22
http://www.hsbc.co.th/1/2/ exchange-rate
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
คำถามที่พบบ่อย (FAQ) 1. Renminbi กับ Yuan ต่างกันหรือไม่ อย่างไร • Renminbi (เหริ น ห มิ น ปี้ ) หรื อ ในอั ก ษรย่ อ RMB เป็ นชื่ อ ส กุ ล เงินของประเทศจีนอย่างเป็นทางการ • Yuan (หยวน) คื อ ห น่ ว ยวั ด ข องเงิ น Renminbi เช่ น เดี ย วกั บ ที่ เงินสกุลดอลลาร์ สรอ. มีหน่วยวัดเป็น “ดอลลาร์” ดังการเปรียบ เทียบต่อไปนี้
ระบบของจีน (สกุลเงิน Renminbi)
ระบบของสหรัฐฯ (สกุลเงิน US Dollar)
分 (Fen) 角 (Jiao) 元 (Yuan)
Cent Dime Dollar 23
• อย่างไรก็ดี โดยทั่วไป สามารถใช้คำว่า Yuan และ Renminbi แทนกันได้ 2. CNY และ CNH ต่างกันอย่างไร • เงินหยวนที่ซื้อขายกันในประเทศจีน (Onshore market) และนอก ประเทศจีน (Offshore market) เป็นสกุลเดียวกันคือ “Renminbi (RMB)” แต่ใช้อัตราแลกเปลี่ยนต่างกัน • ในประเทศจีน (Onshore market) ใช้อ ัตราแลกเปลี่ยน CNY • นอกประเทศจีน (Offshore market) ใช้อัตราแลกเปลี่ยน CNH
24
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ 3. ทางการจีนมีระเบียบการการชำระ/รับชำระเงินค่าสินค้าและบริการระหว่าง ประเทศด้วยเงินห ยวนอย่างไร ตัง้ แต่ม ถิ นุ ายน 2555 เป็นต้นม า ผูป้ ระกอบการจนี ท กุ บ ริษทั ส ามารถชำระ/ รับช ำระคา่ ส นิ ค้าแ ละบริการระหว่างประเทศดว้ ยเงินห ยวน ผ่านธนาคารพาณิชย์ ในประเทศจนี ท ไี่ ด้ร บั อ นุญาตให้บ ริการชำระคา่ ส นิ ค้าบ ริการดว้ ยเงินห ยวน (RMB Settlement Bank) โดยธนาคารพาณิชย์ในประเทศจีนมีหน้าที่ตรวจสอบว่า ผูส้ ่งอ อกจีนแ ต่ละรายอยูใ่นรายชื่อ “ธุรกิจท ถี่ ูกจ ับตามองเป็นพ ิเศษ”1 จากระบบ บริหารจดั การขอ้ มูลร บั -จ่ายเงินห ยวนเพือ่ ก ารคา้ ร ะหว่างประเทศ (Cross border RMB Receipt and Payment Information Management System) กรณีคู่ค้าในประเทศจีนที่เป็นผู้ส่งออกไม่อยู่ในรายชื่อ “ธุรกิจที่ถูกจับตา มองเป็นพิเศษ” จะสามารถรับเงินหยวนได้ และไม่ถูกตรวจสอบธุรกรรมต่างๆ แต่กรณีที่คู่ค้าในประเทศจีนอยู่ในรายชื่อดังกล่าว จะยังสามารถรับชำระเงิน ทีท่ ำการคา้ ร ะหว่างประเทศดว้ ยเงินห ยวนได้ แต่ต อ้ งนำเงินห ยวนกลับเข้าป ระเทศ ไม่สามารถนำเงินดังกล่าวฝากในต่างประเทศได้ รวมทั้ง ธนาคารพาณิชย์ในประเทศจีนจะต้อง ตรวจสอบธุรกรรมและหลักฐานต่างๆ ของ ธุรกิจด ังกล่าว ทั้งนี้ PBC จะเป็นหน่วยงาน หลักในการกำกับด แู ลรายชอื่ ธ รุ กิจท ถี่ กู จ บั ตา มองเป็นพิเศษ โดยจะร่วมมือกับกระทรวง การคลัง กระทรวงพาณิชย์ กรมศุลกากร กรมส รรพากร และ China Banking Regulatory Commission ซึ่ง รายชื่อ ดังกล่าวจะมีการพิจารณาทบทวนทุกปี 1
ณ เดือนมิถุนายน 2555 รายชื่อธุรกิจที่ถูกจับตามองเป็นพิเศษมีจำนวน 9,502 บริษัท
25
4. ธุรกรรมประเภทใดบ้างที่สามารถโอนเงินหยวนไปชำระในประเทศจีน ผูป้ ระกอบการไทยสามารถโอนเงินห ยวนไปให้น ติ บิ คุ คลในประเทศจนี เพือ่ ชำระค่าสินค้าและบริการได้ การโอนเงินไปเพื่อวัตถุประสงค์อ ื่นที่ไม่ใช่ค่าสินค้า และบริการ เช่น การโอนเงินเพื่อไปลงทุนโดยตรงในประเทศจีน เป็นกรณีที่ต้อง ได้ร บั อ นุญาตจากทางการจนี ดังน นั้ ก่อนการทำธรุ กรรมโอนเงินห ยวนทไี่ ม่ใช่ค า่ สินค้าและบริการ ต้องตรวจสอบกับธ นาคารพาณิชย์ที่ท่านใช้บริการว่าธุรกรรม ดังก ล่าวนั้นสามารถชำระด้วยเงินหยวนได้หรือไม่ 5. ค่าธรรมเนียมในการใช้บริการธุรกรรมต่างๆ ที่เป็นสกุลหยวนแตกต่างจาก สกุลอื่นๆหรือไม่ ค่าธรรมเนียมในการใช้บริการเงินห ยวน เช่น บัญชีเงินฝ าก การโอนเงิน การ เปิด L/C ไม่แตกต่างโดยธนาคารพาณิชย์จะคิดค่าธ รรมเนียมในอัตราเดียวกับ ธุรกรรมในสกุลเงินอื่นๆ
26
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
6. ผู้ประกอบการไทยที่ทำการค้าเป็นเงินหยวนจำเป็นต้องเปิดบัญชีเงินฝากสกุล หยวนกับธนาคารพาณิชย์หรือไม่ ไม่จำเป็น เพราะผู้ประกอบการสามารถนำเงินหยวนที่ได้รับมาแลกเป็น เงินบาท และฝากเข้าบัญชีสกุลบ าทได้ กรณีที่ผู้ประกอบการมีบัญชีเงินฝ ากสกุล หยวนกบั ธ นาคารพาณิชย์ ก็ส ามารถฝากเงินเข้าบ ญ ั ชีส กุลห ยวนไว้ก อ่ น โดยยงั ไม่ ต้องแลกเปลีย่ นเงินบ าท และสามารถถอนเงินเพือ่ จ า่ ยบริษทั ค คู่ า้ เป็นเงินห ยวนได้ 7. มีข้อจำกัดเรื่องจำนวนเงินสกุลหยวนที่จะทำธุรกรรมโอนเงินหรือไม่ ไม่มีข้อจำกัดเรื่องจำนวนเงินในการโอนเงินหยวนจากไทยไปจีน แต่การ โอนเงินด งั ก ล่าวตอ้ งมกี ารคา้ ร องรับ และโอนได้ไม่เกินจ ำนวนเงินท รี่ ะบุในเอกสาร หลักฐาน
27
8. เมือ่ ผ ปู้ ระกอบการไทยได้ร บั เงินห ยวนจากประเทศจนี ส ามารถฝากเงินด งั ก ล่าว กับธนาคารพาณิชย์ในประเทศจีนได้หรือไม่ • ผู้ส่งสินค้าออกให้คู่ค้าในประเทศจีนที่มีมูลค่าตั้งแต่ 50,000 ดอลลาร์ สรอ. หรือเทียบเท่าจ ะต้องได้รับเงินจากคู่ค้าภายในเวลา 360 วันนับตั้งแต่ วันส่งสินค้าออกนอกประเทศ และเมื่อได้รับเงินหยวนแล้ว จะต้องนำเข้า มาในประเทศทันทีที่ได้รับชำระเงินจากผู้ซื้อในต่างประเทศ และขายหรือ ฝากเงินดังกล่าวกับธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย • การฝากเงินกับธนาคารพาณิชย์ในต่างประเทศเป็นเรื่องที่ต้องได้รับ อ นุ ญ าตจ ากเจ้ า พ นั ก งานค วบคุ ม ก ารแ ลกเปลี่ ย นเงิ น ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยก่อน 9. การฝากเงินหยวนกับธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยมีเงื่อนไข อย่างไร ผู้ประกอบการนำเข้าและส่งออกสามารถเปิดบัญชีเงินฝากสกุลหยวน (FCD) กับธ นาคารพาณิชย์ไทยได้ท งั้ ป ระเภทบญ ั ชี สะสมทรัพย์ และบัญชีเงินฝากประจำ ภาย ใต้กฎระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทย ดังนี้ • บั ญ ชี FCD ประเภทที่ มี แ หล่ ง ที่มาของรายได้จากต่างประเทศสามารถ ฝากเงินได้ตามจำนวนที่ได้รับจากต่าง ประเทศแ ละไม่ จ ำกั ด ย อดเงิ น ค งค้ า ง สูงสุด 28
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
• บัญชี FCD ประเภทที่มีแหล่งที่มาของรายได้จากในประเทศประเภท แสดงภาระ สามารถฝากเงินได้โดยมียอดคงค้างไม่เกิน 100 ล้านดอลลาร์ สรอ.หรือเทียบเท่าสำหรับนิติบุคคล และมียอดคงค้างไม่เกิน 1 ล้าน ดอลลาร์ สรอ.หรือเทียบเท่าส ำหรับบ คุ คลธรรมดา แต่ถ า้ ม รี ายจา่ ยเงินต รา ต่างประเทศทจี่ ะตอ้ งชำระในอกี ไม่เกิน 12 เดือนขา้ งหน้าก ส็ ามารถฝากเงิน เพิ่มได้ไม่เกินรายจ่ายนั้น • บัญชี FCD ประเภทที่มีแหล่งที่มาของรายได้จากในประเทศประเภท ไม่แสดงภาระ สามารถฝากเงินได้โดยมียอดคงค้างไม่เกิน 5 แสนดอลลาร์ สรอ. หรือเทียบเท่าท ั้งน ิติบุคคลและบุคคลธรรมดา
10. จากนโยบายที่ทางการจีนขยายกรอบการเคลื่อนไหวเงินหยวน ทำให้เงิน หยวนมีโอกาสยืดหยุ่น 2 ทางมากขึ้น ขณะนี้มีผลิตภัณฑ์ทางการเงินใดบ้างที่จะ ช่วยป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน RMB/THB ธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยบางแห่งม บี ริการสญ ั ญาซอื้ /ขายเงินห ยวน ล่วงหน้า (Forward Contract) โดยช่วยให้ผู้ประกอบการทราบจำนวนเงิน หยวนและเงินบาทที่จะรับหรือส่งม อบจริงในอนาคต ซึ่งช่วยให้ส ามารถวางแผน ทางการเงินได้ง า่ ยขนึ้ แ ละลดความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของทงั้ เงินห ยวนและ เงินบาท
29
11. ในการทำสญ ั ญาปอ้ งกันค วามเสีย่ งจากอตั ราแลกเปลีย่ นกบั ธ นาคารพาณิชย์ ในไทยผู้ประกอบการไทยต้องปฏิบัติอย่างไร • กรณีที่ ณ วันทำสัญญา ผู้ประกอบการมีเอกสารแสดงภาระผูกพัน ที่ ต้ อ งรั บ /จ่ า ยเงิ น ห ยวน สามารถท ำสั ญ ญาป้ อ งกั นค วามเสี่ ย งได้ ไม่เกินภาระรายจ่ายหรือรายได้ที่เป็นเงินหยวน โดยต้องแสดงเอกสาร หลักฐ านประกอบ • กรณีที่ ณ วันทำสัญญา ผู้ประกอบการไม่มีเอกสารแสดงภาระผูกพัน ที่ต้องรับ/จ่ายเงินห ยวน o หากผู้ประกอบการมีวงเงินการทำธุรกรรมป้องกันความเสี่ยงกับ ธนาคารพาณิชย์อยู่แล้ว ผู้ประกอบการสามารถทำสัญญาซื้อขาย เงินห ยวนลว่ งหน้าได้ โดยใช้ป ระมาณการคา่ ส นิ ค้าแ ละบริการของระยะ ไม่เกิน 1 ปี
30
คู่มือการทำธุรกรรมเงินหยวนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ
o หากผู้ประกอบการไม่มีวงเงินการทำธุรกรรมเพื่อป้องกันความเสี่ยง ก บั ธ นาคารพาณิชย์ หรือก รณีป ระสงค์จ ะทำสญ ั ญาเกินก ว่า 1 ปี สามารถ ทำคำรับรองว่ามีภาระหรือเงินได้สกุลเงินหยวนรองรับ โดยต้องยื่น เอกสารแสดงภาระหรือเงินได้แก่ธนาคารพาณิชย์ที่รับทำธุรกรรม ในภายหลัง เพื่อให้ธนาคารแห่งประเทศไทยตรวจสอบ • กรณี ที่ ผู้ ป ระกอบก ารต้ อ งการย กเลิ ก สั ญ ญาป้ อ งกั นค วามเสี่ ย งจ าก อัตราแลกเปลี่ยนสำหรับค ่าสินค้าหรือบริการที่ทำไว้แล้ว สามารถทำได้ทั้ง จำนวนที่ทำสัญญาไว้ห รือเพียงบางส่วนก็ได้ ทั้งนี้ ให้ผ ู้ประกอบการติดต่อ และแจ้งธ นาคารพาณิชย์ท เี่ ป็นค สู่ ญ ั ญา โดยอาจรบั /ชำระเงินส ว่ นตา่ งจาก อัตราแลกเปลี่ยนให้แก่ธนาคารพาณิชย์ โดยการยกเลิกสัญญาดังกล่าว จะต้องไม่เป็นไปเพื่อการเก็งกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
31