nitade

Page 1


: สารจากคณบดี

รายงาน​ประจำ�​ปี 2553 ฉบับน​ ี้ คณะ​นเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์​ มหาวิทยาลัย ได้​จัด​ทำ�​ขึ้น​เพื่อ​เผย​แพร่ ประชาสัมพันธ์ ถึง​ผล​การ​ ดำ�เนิน​งาน โดย​รวบรวม​ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน​ของ​คณะฯ ใน​รอบ​ ปีงบประมาณ 2553 (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 กันยายน 2553) ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย​ข้อมูล​ด้าน​ประวัติ​คณะ​นิเทศศาสตร์ ข้อมูล​ด้าน​ หลักสูตร​การ​เรียน​การ​สอน ข้อมูลเ​กี่ยว​กับบ​ ุคลากร​ทั้ง​สาย​วิชาการ​ และ​สาย​ปฏิบัตกิ​ าร ข้อมูลด​ ้าน​การ​วิจัย ด้าน​บริการ​วิชาการ ด้าน​ กิจการ​นิสิต เพื่อใ​ห้​สอดคล้อง​กับ​วิสัยท​ ัศน์​ของ​คณะ​นิเทศศาสตร์ ที่​ เป็นแ​ หล่งศ​ กึ ษา ค้นคว้า และ​อา้ งอิงอ​ งค์ค​ วาม​รด​ู้ า้ น​การ​สอื่ สาร โดย​ มี​คุณภาพ​ของ​การ​เรียน​การ​สอน คณาจารย์ และ​บัณฑิต​ที่​ทัดเทียม​ กับ​คณะ​นิเทศศาสตร์​ของ​มหาวิทยาลัยช​ ั้นน​ ำ�​ของ​โลก ใน​ระหว่าง​ปีงบประมาณ 2553 ที่​ผ่าน​มา คณะ​นิเทศศาสตร์ ได้​ดำ�เนิน​งาน​ตาม​วิสัย​ทัศน์ พันธ​กิจ และ​แผน​กลยุทธ์​ที่​กำ�หนด​ไว้ ซึ่งผ​ ล​งาน​ดัง​กล่าว​อยูภ่​ าย​ใต้​การ​บริหาร​งาน​ของ รอง​ศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญ​จรงค์​กิจ คณบดี​คณะ​นิเทศศาสตร์ ณ โอกาส​นี้ คณะ​ผู้​จัด​ทำ� ขอ​ขอบคุณห​ น่วย​งาน​ต่างๆ ทั้ง​ ภายใน​และ​ภายนอก​หน่วย​งาน​ทใ​ี่ ห้ค​ วาม​อนุเคราะห์ข​ อ้ มูล และ​คณะ​ นิเทศศาสตร์​หวัง​เป็น​อย่าง​ยิ่ง​ว่า​ข้อมูล​ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ต่างๆ ใน​รายงาน​ประจำ�​ปี 2553 ฉบับ​นี้ จะ​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​หน่วย​งาน​ ที่​เกี่ยวข้อง และ​ผู้​สนใจ​ต่อ​ไป คณะผู้จัดทำ�


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5


:: ปรัชญา ปรัชญา / ปณิธาน

คณะฯ มี​ปรัชญา​และ​ปณิธาน ใน​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน โดย​มุ่ง​ดำ�รง​ความ​เป็น​ผู้นำ� ใน​การ​สร้าง​ บัณฑิต​ที่​มี​ความ​รู้ สติป​ ัญญา​และ​คุณธรรม สามารถ​พัฒนา​ศักยภาพ​ใน​ศาสตร์ และ​ศิลป์​ของ​การ​สื่อสาร​เพื่อ​ เป็นน​ ักว​ ิชาการ นักว​ิชาชีพน​ ิเทศศาสตร์ท​ กี่​ อปร​ด้วย​คุณภาพ​และ​คุณธรรม เพื่อป​ ฏิบัตงิ​าน​และ​แข่งขันใ​น​สภาพ​ แวดล้อม​นานาชาติ​ได้ ตลอด​จน​สร้าง​องค์​ความ​รู้​ทาง​นิเทศศาสตร์​ที่​ตอบ​สนอง​สังคม​ไทย และ​เป็น​ที่​ยอมรับ​ใน​ ระดับ​นานาชาติ

วัตถุประสงค์

สร้าง​บัณฑิต​นิเทศศาสตร์ ให้​กอปร​ด้วย​ความ​รู้ สติ​ปัญญา​และ​คุณธรรม และ​รับ​ผิด​ชอบต่อส​ ังคม เตรียม​พื้น​ฐาน​การ​พัฒนา​ไป​สู่​การ​ผลิต​บัณฑิต​นิเทศศาสตร์ เป็นท​ ี่​ยอมรับข​ อง​สังคมทั้งใ​น​ระดับ​ชาติ​ และ​นานาชาติ พัฒนา​ประสิทธิภาพ​ของ​หน่วย​งาน​ทร​ี่ องรับก​ าร​สร้าง​องค์ค​ วาม​รท​ู้ าง​นเิ ทศศาสตร์ และการ​เผย​แพร่ส​ ารสนเทศ​ ทาง​นิเทศศาสตร์ และ​การ​บริการ​สังคม ส่ง​เสริมผ​ ล​งาน​วิชาการ​และ​งาน​วิจัย​ให้​เป็นม​ าตรฐาน ทั้ง​ใน​ระดับ​ชาติ และนานาชาติ


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

7


วิสัย​ทัศน์

คณะ​นเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ม​ หาวิทยาลัย เป็นแ​ หล่งศ​ กึ ษา​คน้ คว้าแ​ ละ​อา้ งอิงอ​ งค์ค​ วาม​รด​ู้ า้ น​การ​สอื่ สาร โดย​มี​คุณภาพ​ของ​การ​เรียน​การ​สอน คณาจารย์​และ​บัณฑิต​ที่​ทัดเทียม​กับ​คณะ​นิเทศศาสตร์​ของ​มหาวิทยาลัย​ ชั้น​นำ�​ของ​โลก โดย​องค์​ความ​รู้​ทเี่​จริญ​ก้าวหน้าข​ อง​ศาสตร์​ด้าน​การ​สื่อสาร​นั้น สามารถ​เป็น​หลัก​และ​แนวทาง​ สำ�หรับ​การ​พัฒนา​ด้าน​การ​สื่อสาร​ของ​สังคม​ไทย และ​จะ​ต้อง​ควบคู่​กัน​ไป​กับ​ความ​ยึด​มั่น​ใน​คุณธรรม จรรยา​บรรณ​ของ​วิชาชีพ

พันธ​กิจ

พัฒนา​คุณภาพ​ของ​การ​เรียน​การ​สอน และ​ส่ง​เสริม​ศักยภาพ​ของ​คณาจารย์ บุคลากร​และ​นิสิต เพื่อ​ให้​ได้ระบบ​การ​ผลิต​บัณฑิต​ที่​มคี​ ุณภาพ​ทัดเทียม​บัณฑิต​ของ​มหาวิทยาลัยช​ ั้นน​ ำ�​ของ​โลก ส่ง​เสริม​ให้​มี​การ​ทำ�​วิจัย​ที่​มี​คุณภาพ​เพื่อ​การนำ�​ผล​การ​วิจัย​ไป​เผย​แพร่​ใน​ระดับ​นานาชาติ​และ​นำ�​มา ประยุกต์​ใช้​ให้​เกิดป​ ระโยชน์​ต่อ​การ​ศึกษา ค้นคว้า​และ​สร้าง​องค์​ความ​รู้​ใน​ศาสตร์​ของ​การ​สื่อสาร และ การนำ�​ไป​พัฒนาการ​ปฏิบัติ​งาน​ใน​วิชาชีพด​ ้าน​การ​สื่อสาร ส่ง​เสริม​การนำ�​องค์​ความ​รู้​ที่​ได้​จาก​การ​ค้นคว้า​วิจัย​ไป​เผย​แพร่​ใน​วารสาร​ทาง​วิชาการ​ระดับ​นานาชาติ​ และนำ�​ไป​เสนอ​แนะ​ให้ก​ บั ห​ น่วย​งาน หรืออ​ งค์กร​ทม​ี่ ค​ี วาม​ตอ้ งการ​น�​ ำ ไป​ประยุกต์ใ​ช้ ไม่ว​า่ จ​ ะ​เป็นห​ น่วย​งาน ภาค​รัฐ องค์กร​สื่อ หรือ​ชุม​ชน​อื่นๆ ใน​สังคม​ที่​มี​ความ​สนใจ​ใน​การ​พัฒนา​ศักยภาพ​ของ​ตนเอง ส่ง​เสริมก​ ารนำ�​วิชาการ​และ​วิชาชีพ​ด้าน​การ​สื่อสาร​ไป​ใช้ใ​น​การ​พัฒนาการ​สื่อสาร​ของ​สังคม​ไทย ควบคู่ ไป​กับ​การ​ธำ�รง​รักษา​ไว้​ซึ่งจ​ รรยา​บรรณ​วิชาชีพ ศิลป​วัฒนธรรม​ที่​ทรง​คุณค่า​และ​ดงี​าม​ของ​ไทย


ยุทธศาสตร์ ก้าวหน้า : ก้าวหน้า​สู่​การ​ยอมรับ​ใน​ระดับ​นานาชาติ โดย​ส่ง​เสริมก​ ิจกรรม​วิชาการ ปรับปรุง​หลักสูตร และ เผย​แพร่ผ​ ล​งาน​วิชาการ​ระดับ​นานาชาติ ยอมรับ : เป็น​ปัญญา​แห่ง​แผ่นดิน สู่​สังคม ชาติ และ​นานาชาติ โดย​พัฒนา​หลักสูตร​และ​กิจกรรม​เสริม หลักสูตร สนับสนุน​การ​วิจัย​และ​การ​ประยุกต์​ใช้ เข้ม​แข็ง : เป็น​เลิศ​ด้าน​วิชาการ และ​การ​บริหาร​จัดการ โดย​การ​สร้าง​ระบบ​สารสนเทศ​เพื่อ​การ​บริหาร พัฒนา​บุคลากร สนับสนุน​ทุน​การ​ศึกษา​คณาจารย์ มั่นคง : บริหาร​สินทรัพย์​และ​สร้าง​สัมพันธ์​กับ​ศิษย์​เก่า โดย​ดำ�เนิน​กิจกรรม​สร้าง​ความ​สัมพันธ์​กับศ​ ิษย์​เก่า เกื้อกูล : ส่ง​เสริม​ความ​เสมอ​ภาค​ทางการ​ศึกษา เกื้อกูล​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​และ​ชุมชน โดย​ให้​ทุน​การ​ศึกษา​นิสิต ส่ง​เสริม​สวัสดิการ​บุคลากร นำ�​วิชาการ​ช่วย​ชุมชน เป็นสุข : เป็น​บ้าน​อัน​อบอุ่น​ของ​คน​ดี​และ​คน​เก่ง โดย​จัด​ตั้ง​ศูนย์​ออก​กำ�ลัง​กาย สร้าง​สุข​ภาวะ อบรม​พัฒนา บุคลากร ปรับปรุง​กายภาพ และ​ส่ง​เสริมศ​ ิลป​วัฒนธรรม


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10

นิ เทศจุ ฬ าฯ สอนเราให้

ลงมือทำ�

ที่นี่...เราสอนนิสิตของเราให้ลงมือทำ�จริง

ไม่ทำ�ตัวเป็นสมุดหน้าเปล่า...ที่มีแต่ความรู้ท่วมหัวแต่ตัวไม่เคยลงมือทำ� ด้วยความพร้อมทั้งด้านทฤษฏี และปฏิบัติ และใช้ทุกเวลา...เพื่อฝึกปรือให้เกิดความเชี่ยวชาญ สามารถปฏิบัติงานแบบรู้จริง...ทำ�จริง...


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: ประวัติคณะนิเทศศาสตร์

11

คณะ​นิเทศศาสตร์ เป็น​คณะ​หนึ่ง​ใน 19 คณะ​ วัตถุประสงค์​ของ​การ​เปิด​สอน​ใน​ระยะ​แรก คือ ของ​จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย ตั้ง​อยู่​ริม​ถนน​ เพื่อ​ผลิต​นัก​สื่อสาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์​ พญาไท เปิดท​ ำ�การ​สอน​ครั้ง​แรก​ตั้งแต่​ปี​การ​ศึกษา 2508 ให้แ​ ก่​ประเทศ​ชาติ

เป็นต้น​มา โดย​ใช้​ชื่อ​ว่า “แผนก​อิสระ​สื่อสาร​มวลชน​และ​ การ​ประชาสัมพันธ์” และ​ได้ร​ับก​ าร​จัดต​ ั้งเ​ป็นค​ ณะ​อย่าง​เป็น​ ทางการ​ใน​จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย​เมื่อ​วัน​ที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2517 ตาม พระ​ราช​กฤษฎีกา​ยก​ฐานะ​จาก​แผนก​อิสระ​ สื่อสาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์ เป็น​คณะ​ที่ 14 ของ​ จุฬาลงกรณ์ม​ หาวิทยาลัย มีศ​ าสตราจารย์บ​ ำ�รุงสุข สีหอ​ ำ�ไพ (ขณะ​นั้น​ยัง​เป็น​รอง​ศาสตราจารย์) ดำ�รง​ตำ�แหน่ง​คณบดี​ คน​แรก​ของ​คณะ​นิเทศศาสตร์ และ​เป็นห​ ัวเ​รี่ยว​หัวแรง​สำ�คัญ​ ใน​การ​ริเริ่ม​ก่อ​ตั้ง​คณะ

ใน​ระยะ​แรก​ตั้ง​คณะ​นิเทศศาสตร์ มี​อำ�นาจ​หน้าที่​ เช่นเ​ดียว​กับค​ ณะ​หนึ่งใ​น​มหาวิทยาลัย ดำ�เนินก​ าร​สอน 3 สาขา​ วิชา คือ สาขา​วิชาการ​หนังสือพิมพ์ (Journalism) สาขา​ วิชาการ​สื่อสาร​มวลชน (Mass Communications) อัน​ได้แก่ การก​ระ​จาย​เสียง (Broadcasting) โทรทัศน์ (Television) และ​การ​ภาพยนตร์ (Cinematography) และ สาขา​วิชาการ​ ประชาสัมพันธ์ (Public Relations)

เพื่อ​เผย​แพร่​วิชาการ​ต่างๆ ด้าน​การ​สื่อสาร​มวลชน​ และ​ก าร​ป ระชาสั ม พั น ธ์ ​ใ ห้ ​แ ก่ ​ท าง​ร าชการ​แ ละ​ ประชาชน เพื่อ​ส่ง​เสริม​และ​สนับสนุน​ให้​อาชีพ​ใน​ด้าน​สื่อสาร​ มวลชน​แ ละ​ก าร​ป ระชาสั ม พั น ธ์ ​ใ ห้ ​มั่ น คง​แ ละ​ มี​มาตรฐานดี​ยิ่งข​ ึ้น เพื่อ​ทำ�การ​วิจัย​ค้นคว้า​ทดลอง​ทาง​วิชาการ​ใน​ด้าน​ สื่อสาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์ เพื่อ​สนับสนุน​นโยบาย​รัฐบาล​ใน​การ​ที่​จะ​ใช้​ความ​ รู้​ใน​ด้าน​สื่อสาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์​ใน​ การพัฒนา​ประเทศ


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: ประวัติคณะ

12

การ​เปิด​รับ​นิสิต​รุ่น​แรก​ได้​ใช้​วิธี​การ​สอบ​คัด​เลือก​จาก​ผู้​ที่​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​ชั้น​มัธยมศึกษา​ปี​ที่ 5 หรือ​เทียบ​เท่า​ พวก​หนึง่ และ​สอบ​สมั ภาษณ์ผ​ ท​ู้ ม​ี่ ป​ี ระสบการณ์ด​ า้ น​สอื่ สาร​มวลชน และ​การ​ประชาสัมพันธ์ ซึง่ ม​ ค​ี วาม​รต​ู้ งั้ แต่ม​ ธั ยมศึกษา​ปท​ี ี่ 3 หรือม​ ธั ยมศึกษา​ปท​ี ี่ 6 ขึน้ ไ​ป และ​เคย​ปฏิบตั ง​ิ าน​ทาง​ดา้ น​สอื่ สาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์ม​ า​แล้วอ​ ย่าง​นอ้ ย 3 ปี อีกพ​ วก​หนึง่ ใน​ปี​การ​ศึกษา 2508 มี​นิสิตร​ุ่น​แรก​จำ�นวน 78 คน เปิด​สอน​แบบ​ภาค​สมทบใน​วัน​ปกติตอน​เย็น​เวลา 16.00 - 20.00 น. และ​ใน​วัน​เสาร์​เวลา 08.00 - 16.00 น. การ​บริหาร​งาน​อยูภ่​ าย​ใต้ค​ ำ�​แนะนำ�​ของคณะ​กรรมการ​ประจำ�​แผนก​สื่อสาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์ ประกอบ​ด้วย ศาสตราจารย์​เกษม อุท​ยา​นิน ประธาน​กรรมการ ศาสตราจารย์ พระ​ว​รวง​คเ์​ธอ​พระองค์​เจ้า​เปรม​บุร​ฉัตร กรรมการ ศาสตราจารย์ ดร.สุขุม ศรี​ธัญ​รัตน์ กรรมการ ผู้​ช่วย​ศาสตราจารย์​สำ�เภา ว​รา​งกูร กรรมการ ผู้​ช่วย​ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณ​กุล กรรมการ อาจารย์ ดร.กระมล ทอง​ธรรมชาติ กรรมการ อาจารย์​ไพฑูรย์ พงศ​ะ​บุตร กรรมการ อา​จาร​ย์​สอาด ตัณ​ศุภ​ผล กรรมการ อาจารย์​บำ�รุงสุข สีหอ​ ำ�ไพ กรรมการ​และ​เลขานุการ


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ะนิเทศศาสตร์ การ​เรียน​การ​สอน​ของ​แผนก​สอื่ สาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์ เริม่ ใ​น​วนั ท​ ี่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2508​ เป็น​วัน​แรก​ของ​การ​เปิด​ภาค​การ​ศึกษา และ​ได้​ถือว่า​วัน​ที่ 5 กรกฎาคม​ของ​ทุกป​ ี เป็น​วัน​สถาปนา​คณะ​นิเทศศาสตร์ สีนำ�เงิน (Royal Blue) เป็น​สปี​ ระจำ�​แผนก​อิสร​ะฯ และ​มี​สัญลักษณ์​เป็น​แตร​สังข์ ครั้น พ.ศ.2517 แผนก​อิสระ​สื่อสาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์​จึง​ได้​รับ​การ​ยก​ฐานะ​ขึ้น​เป็น​คณะ​นิเทศศาสตร์ จัดการ​เรียน​การ​สอน​ระดับป​ ริญญา​ตรี​ขึ้น 1 หลักสูตร มี 4 สาขา ได้แก่ สาขา​สื่อสาร​มวลชน (วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์แ​ ละ​ ภาพ​นิ่ง) สาขา​การ​ประชาสัมพันธ์ สาขา​หนังสือพิมพ์ สาขา​วาท​วิทยา​และ​สื่อสาร​การ​แสดง ต่อ​มา​ได้​มี​การ​ปรับปรุงเ​ป็น​หลักสูตร​ใหม่ มี​การ​เรียน​การ​สอน 7 สาขา​วิชา คือ สาขา​วิชา​วารสาร​สนเทศ สาขา​วิชาการ​ กระจาย​เสียง สาขา​วิชา​วาท​วิทยา สาขา​วิชาการ​โฆษณา สาขา​วิชาการ​สื่อสาร​การ​แสดง และ​สาขา​วิชา​ภาพยนตร์แ​ ละ​ภาพ​นิ่ง มีร​ะยะ​เวลา​ใน​การ​ศึกษา 4 ปี ใน​ปี พ.ศ.2521 คณะ​นิเทศศาสตร์ไ​ด้ข​ ยาย​งานการ​เรียน​การ​สอน โดย​เปิดส​ อน​ระดับป​ ริญญา​โท สาขา​วิชา​นิเทศศาสตร์​ พัฒนาการ​เป็นส​ าขา​แรก และ​มก​ี าร​ขยาย​สาขา​วชิ า​เพิม่ ข​ นึ้ ต​ าม​ล�ำ ดับ คือ สาขา​วชิ าการ​สอื่ สาร​มวลชน สาขา​วชิ าการ​หนังสือพิมพ์ สาขา​วิชาการ​โฆษณา และ​สาขา​วิชา​วาท​วิทยา มีร​ะยะ​เวลา​ใน​การ​ศึกษา 2 ปี ครั้น​ปี พ.ศ.2539 ได้​มี​การ​เปิด​หลักสูตร​ปริญญา​เอก​สาขา​วิชา​นิเทศศาสตร์​ขึ้นเ​ป็น​คณะ​แรก​ของ​ประเทศไทย ใช้​เวลา​ ใน​การ​ศึกษา 3 ปี โดย​มี​วัตถุประสงค์ด​ ังนี้ เพื่ อ ​ใ ห้ ก าร​ศึ ก ษา​ที่ ​เป็ น ​ค วาม​รู้ ​เฉพาะ​ด้ า น​แ ก่ ​นิ สิ ต ​ใ น​ส าขา​วิ ช า​นิ เ ทศศาสตร์ ซึ่ ง ​ป ระกอบ​ไ ป​ด้ ว ย การหนังสือพิมพ์ การ​สื่อสาร​มวลชน การ​ประชาสัมพันธ์ วาท​วิทยา​และ​การ​แสดง ทั้ง​ความ​รู้​ทาง​ด้าน​การ วิจัย​ทาง​นิเทศศาสตร์ข​ ั้น​พื้น​ฐาน โดย​เน้นห​ นัก​ทั้ง​ใน​ด้าน​วิชาการ​และ​ปฏิบัติ​การ เพื่อ​ทำ�การ​สอน​วิชา​นิเทศศาสตร์ใ​ห้​แก่​นิสิตค​ ณะ​อื่นๆ ใน​จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย เพื่ อ ​ป รั บ ปรุ ง ​ก าร​ศึ ก ษา​ด้ า น​นิ เ ทศศาสตร์ ​ใ ห้ ​มี ​ค วาม​ก้ า วหน้ า ทั น ​ส มั ย ​แ ละ​ก ว้ า ง​ข วาง​ทั ด เที ย ม​กั บ มหาวิทยาลัยใ​น​ต่าง​ประเทศ เพื่อ​ผลิต​กำ�ลังค​ น​เป็น​สำ�คัญใ​น​อันท​ จี่​ ะ​ส่ง​เสริมก​ าร​พัฒนา​ทาง​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​ใน​ประเทศไทย เพื่อ​ทำ�ให้​ผู้​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​มี​ความ​รู้​และ​ความ​สามารถ​ศึกษา​เพื่อ​ทำ�​ปริญญา​ต่อ​ใน​ระดับ​สูง​ขึ้น​ได้ ทั้ง​ใน และ​ต่าง​ประเทศ เพื่ อ ​เปิ ด ​บ ริ ก าร​ฝึ ก ​อ บรม​แ ก่ ​นั ก ​วิ ช าการ​ใ น​ส าขา​ต่ า งๆ และ​ผู้ ​ป ระกอบ​อ าชี พ ​ท าง​ด้ า น​นิ เ ทศศาสตร์ ​ใ ห้ สามารถ​ติดตาม​ความ​ก้าวหน้า และ​เทคนิค​ที่​ทันส​ มัย​ของ​การ​ติดต่อส​ ื่อสาร เพื่อ​ส่ง​เสริม​งาน​ใน​ด้าน​การ​ค้นคว้า​วิจัย โดย​ตั้ง​ศูนย์วิจัย​นิเทศศาสตร์​ขึ้น​ใน​คณะฯ เพื่อ​ทำ�การ​ค้นคว้า​และ วิจัย​งาน​ทาง​ด้าน​นี้ และ​เผย​แพร่​ผล​งาน​ค้นคว้า​วิจัย​สู่​สาธารณะ

5 กรกฎาคม 2508 : เปิดทำ�การสอนครั้งแรก ในชื่อว่า “แผนกอิสระสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์”

8 มีนาคม 2517 : ได้รับการจัดตั้งเป็นคณะอย่างเป็นทางการ เป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

13


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: ประวัติคณะ นับจ​ าก​วนั เ​ริม่ ก​ อ่ ต​ งั้ คณะ​นเิ ทศศาสตร์ไ​ด้พ​ ฒั นา​ (Photo Studio) และ​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ด้าน​เสียง​ระบบ​ดิจิทัล และ​ด�ำ เนินง​าน​จดั การ​ศกึ ษา​ทาง​ดา้ น​นเิ ทศศาสตร์ใ​ห้​ (Sound Studio) ตลอด​จน​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​เพื่อ​ผลิต​สื่อ ก้าวหน้าอ​ ย่าง​รวดเร็ว และ​เป็น​ผนู้ �​ำ ของ​สถาบัน​การ​ศกึ ษา​ ​อ​นิ​เม​ชั่น นอกจาก​น้ี ยังม​ ี​คณาจารย์ผ​ ู้ทรง​คุณวุฒเิ​พียบ​พร้อม​

14

อื่น​ที่​มกี​ าร​เรียน​การ สอน​ใน​ลักษณะ​เดียวกัน โดย​มี​การ​ขยาย​ หลักสูตร และ​มก​ี าร​ปรับปรุงก​ าร​เรียน​การ​สอน​ดว้ ย​การ​เปิดส​ อน​ ศาสตร์​ของ​การ​สื่อสาร​ที่​เจริญ​เติบโต​ไป​พร้อมๆ กับ​สื่อ และ​ เทคโนโลยี​สมัย​ใหม่ คณะฯ จึงไ​ด้​รับ​ความ​สนใจ​จาก​เยาวชน​ ที่​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​จาก​ชั้น​มัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย สมัคร​เข้า​ ศึกษา​ใน​ระดับ​ปริญญา​บัณฑิต​เป็น​จำ�นวน​มาก​ติดต่อ​กัน​เป็น​ เวลา​หลาย​ปจ​ี น​กระทัง่ ป​ จั จุบนั นิสติ ท​ ส​ี่ อบ​เข้าศ​ กึ ษา​ตอ่ ใ​น​คณะ​ นิเทศศาสตร์​เป็น​ผ​มู้ ​ผี ล​คะแนน​จาก​การ​สอบ​เข้า​มหาวิทยาลัย​ ทีส​่ งู ทัง้ บ​ ณั ฑิตเ​ก่าแ​ ละ​นสิ ติ ป​ จั จุบนั ป​ ระสบ​ความ​ส�ำ เร็จ สร้าง​ ชือ่ เ​สียง​ให้ก​ บั ค​ ณะฯ มา​อย่าง​ตอ่ เ​นือ่ ง นอกจาก​คณะ​นเิ ทศศาสตร์​ จะ​มี​บทบาท​ด้าน​การ​เรียน​การ​สอน​แล้ว คณะฯ ยัง​ทำ�การ​ อบรม วิจยั และ​ให้บ​ ริการ​วชิ าการ​ดา้ น​นเิ ทศศาสตร์แ​ ก่ส​ ถาบัน​ การ​ศึกษา หน่วย​งาน​ราชการ เอ​กชน สมาคม และ​องค์กร​ ต่างๆ มากมาย อีก​ทั้งย​ ัง​ได้​เปิด​อบรม​หลักสูตร​ต่างๆ หลาย​ หลักสูตร อาทิ นิเทศศาสตร์เ​พื่อ​การ​พัฒนา​ธุรกิจ ศิลปกรรม​ การ​ผลิต​สิ่ง​พิมพ์​ด้วย​คอมพิวเตอร์ ศิลปการ​ผลิต​สื่อ เป็นต้น จาก​ประวัติ​อัน​ยาวนาน และ​มี​การ​บริหาร​งาน​อย่าง​เป็น​ ระบบ ประกอบ​กบั ม​ อ​ี ปุ กรณ์ก​ าร​เรียน​การ​สอน และ​เทคโนโลยี​ การ​เรียน​การ​สอน​ที่​ทัน​สมัย มี​ศูนย์​แห่ง​ความ​เป็น​เลิศ​ด้าน​ สื่อ​ดิจิทัล อุปกรณ์​ที่​ใช้​มี​ทั้ง​ระบบ​ดิจิทัล ระบบ​ภาพ​ความ​ คม​ชดั ส​ งู (High Definition) ห้อง​ปฏิบตั ก​ิ าร​เทคโนโลยีเ​สมือน​ จริง (Virtual Studio) ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ภาพ​นิ่ง​ระบบ​ดิจิทัล

ด้วย​ประสบการณ์ ทำ�​หน้าทีถ​่ า่ ยทอด​ความ​รู้ ทัง้ ท​ าง​ทฤษฎีแ​ ละ​ ปฏิบัติ ประสบการณ์ท​ ี่​นิสิต​ได้​รับ​ล้วน​แต่​มี​ความ​สำ�คัญ​และ​ มาก​ด้วย​คุณค่า คณะ​นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ม​ หาวิทยาลัย จึง​เป็น​สถาบัน​อุดมศึกษา​ทาง​ด้าน​สื่อสาร​มวลชน​และ​การ​ ประชาสัมพันธ์​ชั้น​นำ�​ของ​ประเทศ ซึ่ง​ไม่​เพียง​ทำ�​หน้าที่​ผลิต​ บัณฑิตเ​พือ่ อ​ อกรับใ​ช้ส​ งั คม​และ​ประเทศ​ชาติเ​ท่านัน้ ยังท​ �​ำ หน้าที​่ เป็นผ​ นู้ �​ ำ ทาง​ดา้ น​วชิ าการ​ทเ​ี่ กีย่ วข้อง​กบั ส​ อื่ ท​ กุ ป​ ระเภท​อกี ด​ ว้ ย ความ​เปลีย่ นแปลง​ของ​เทคโนโลยีท​ างการ​สอื่ สาร​ทเ​ี่ กิดข​ นึ้ ​ อย่าง​รวดเร็ว และ​การ​เปลีย่ น​โฉมหน้าแ​ ละ​การปฏิวตั พ​ิ ฤติกรรม​ ใน​การ​เปิด​รับ​ข่าวสาร​ของ​มนุษย์​ใน​สังคม สิ่ง​เหล่า​นี้​มี​ผล​ให้​ คณะ​นิเทศศาสตร์​ตระหนัก​ใน​ปัญหา​และ​ความ​จำ�เป็น​อย่าง ​เร่ง​ด่วน​ที่​จะ​แก้ไข พัฒนา ตลอด​จน​ผลัก​ดัน​ให้​คณะฯ ก้าว​ไป​ ข้าง​หน้า พร้อม​กบั ห​ น่วย​งา​นอืน่ ๆ ใน​จฬุ าลงกรณ์ม​ หาวิทยาลัย ใน​อนั ท​ จ​ี่ ะ​น�​ ำ จฬุ าลงกรณ์ม​ หาวิทยาลัยส​ ค​ู่ วาม​เป็นม​ หาวิทยาลัย​ ระดับ​โลก ที่​ได้​รับ​การ​ยอมรับ​ทั้งใ​น​ด้าน​ความ​เจริญ​ก้าวหน้า​ ทาง​วิชาการ​และ​เทคโนโลยี ความ​สามารถ​และ​ศักยภาพ​ ของ​คณาจารย์​และ​บัณฑิต ตลอด​จน​ความ​เป็น​มหาวิทยาลัย​ นานาชาติ ทีเ่​ปิด​โอกาส​ให้​มี​ทั้ง​หลักสูตร​ที่​เปิด​สอน​เป็นภ​ าษา​ อื่นๆ โดย​มี​คณาจารย์​และ​นิสิต​จาก​ประเทศ​ต่างๆ ทั่ว​โลก​ที่​ เข้าม​ า​เป็น​สมาชิก ปัจจุบันค​ ณะ​นิเทศศาสตร์​ได้จ​ ัด​หลักสูตร​ เพื่อร​องรับ​การ​เปลี่ยนแปลง​ดังก​ ล่าว​ไว้ 3 ระดับ คือ

หลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​บัณฑิต (ปริญญา​ตรี) เปิดส​ อน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตร​ภาษา​ไทย ประกอบ​ด้วย 7 สาขา​วิชา คือ สาขา​วิชา​วารสาร​สนเทศ สาขา​วิชาการ​กระจาย​เสียง สาขา​วิชาการ​ ประชาสัมพันธ์ สาขา​วิชาการ​โฆษณา สาขา​วิชา​วาท​วิทยา สาขา​วิชา​สื่อสาร​การ​แสดง สาขา​วิชาการ​ภาพยนตร์แ​ ละ​ภาพ​นิ่ง

หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ เปิด​สอน 1 สาขา​วิชา คือ สาขาวิชา​การ​จัดการ​การ​สื่อสาร (Communication Management) ซึ่งไ​ด้​เริ่ม​เปิด​สอน​เมื่อ​ปี​การ​ศึกษา 2547 2521 : เปิดสอนระดับปริญญาโทสาขาแรก คือสาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ

2539 : เปิดสอนระดับปริญญาเอกสาขาวิชา นิเทศศาสตร์ คณะแรกของไทย


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ะนิเทศศาสตร์

หลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​มหา​บัณฑิต (ปริญญา​โท) มี 2 ประเภท คือ ประเภท​หลักสูตร​ปกติ (หลักสูตร​เก่า) ประกอบ​ด้วย 8 สาขา​วิชา คือ สาขา​วิชา​นิเทศศาสตรพัฒนาการ สาขา​วิชาการ​ สือ่ สาร​มวลชน สาขา​วชิ า​วารสาร​สนเทศ สาขา​วชิ าการ​โฆษณา สาขา​วชิ า​วาท​วทิ ยา สาขา​การ​ประชาสัมพันธ์ สาขา​วชิ า​สอื่ สาร​ การ​แสดง และ​สาขา​วิชาการ​ภาพยนตร์ ประเภท​หลักสูตร​พิเศษ ประกอบ​ด้วย 5 สาขา​วิชา คือ สาขา​วิชาการ​สื่อสาร​มวลชน สาขา​นิเทศ​ศาสตร​พัฒนาการ สาขา​ วิชา​วารสาร​สนเทศ สาขา​วิชาการ​โฆษณา และ​สาขา​วิชาการ​ประชาสัมพันธ์ สำ�หรับห​ ลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​มหา​บัณฑิต ใน​ปี​การ​ศึกษา 2554 นั้น ทาง​คณะฯ ได้​ปรับใ​ห้​มี​การ​เปิด​หลักสูตร ซึ่ง​เป็น​ หลักสูตร​ที่​เอื้อ​ต่อ​การ​ศึกษา​ค้นคว้าท​ ี่​ครอบคลุมส​ ื่อ​ยุค​ใหม่ ที่​ได้​หลอม​รวม​สื่อ​เป็น​สื่อ​เดียว (Media Convergence) และ​มี ​อิทธิพล​เป็น​อย่าง​สูง​ต่อ​สังคม​มนุษย์ ซึ่ง​หลักสูตร​ที่​มี​อยู่​เดิม​นั้น​ไม่​อาจ​ตอบ​สนอง​ประเด็น​ปัญหา​ของ​สังคม​ปัจจุบัน​ได้ ประกอบ​กบั ต​ อ้ งการ​มงุ่ เ​น้นก​ าร​สร้าง​บคุ ลากร​ให้ม​ ค​ี วาม​เข้าใจ​ใน​องค์ป​ ระกอบ​หลักข​ อง​ศาสตร์ท​ าง​ดา้ น​นเิ ทศศาสตร์อ​ ย่าง​ลกึ ซ​ งึ้ และ​สามารถ​น�​ ำ ความ​รไ​ู้ ป​ประยุกต์ใ​ช้ใ​น​การ​แก้ป​ ญั หา​ทาง​ดา้ น​การ​สอื่ สาร​ได้อ​ ย่าง​สอดคล้อง​กบั ส​ ภาพ​สงั คม หลักสูตร​จงึ เ​ปลีย่ น​ สภาพ​เป็นการ​เรียน​การ​สอน​เน้น​หนัก​ใน 7 กลุ่มว​ ิชา คือ กลุ่มว​ ิชา​วารสาร​และ​สารสนเทศ กลุ่ม​วิชาการ​จัดการ​การ​สื่อสาร ​แบบ​บูรณาการ กลุ่ม​วิชาการ​สื่อสาร​ผ่าน​สื่อ​และ​วาท​นิเทศ กลุ่ม​วิชาการ​สื่อสาร​เชิง​สังคม​และ​วัฒนธรรม กลุ่ม​วิชาการ​สื่อสาร​ เชิง​สุนทรี​ยะ​และ​บันเทิงค​ ดี กลุ่ม​วิชาการ​ผลิตข​ ่าว​และ​สารคดี และ​กลุ่ม​วิชา​สื่อสาร​การ​แสดง​และ​สื่อ​บันเทิง ซึ่ง​เมื่อ​หลักสูตร​ ใหม่เ​ปิดแ​ ล้ว​นั้น หลักสูตร​เก่า​จะ​เริ่ม​ทยอย​ปิด​ตัว​ลง

หลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​ดุษฎี​บัณฑิต (ปริญญา​เอก) เน้น​หนัก​สาขา​วิชา​นิเทศศาสตร์ เป็นห​ ลักสูตร​ทมี่​ ุ่ง​เน้นก​ าร​พัฒนา​องค์ค​ วาม​รู้​ด้าน​ทฤษฎี​และ​การ​วิจัย เพื่อ​นำ�​ไป​ใช้​แก้ไข​ ปัญหา​การ​สื่อสาร​ใน​ปริ​บท​ต่างๆ ของ​สังคม

สาขา​วิชา​ระดับ​ปริญญา​ตรี สาขา​วิชา​วารสาร​สนเทศ

มุ่ง​สอน​วิชาการ​หนังสือพิมพ์​ทั้ง​ทาง​ด้าน​หลัก​ทฤษฎี​และ​ด้าน​ปฏิบัติ โดย​เน้น​ที่​จะ​ปลูก​ฝัง​ให้​นิสิต​มี​ความ​รู้​ความ​ชำ�นาญ และ​ตระหนัก​ถึง​หน้าที่​ตลอด​จน​ความ​รับ​ผิดช​ อบ และ​จรรยา​บรรณ​ของ​นัก​หนังสือพิมพ์ ทาง​ด้าน​หลัก​ทฤษฎี นิสิต​จะ​ได้​ศึกษา​ เรื่อง​การ​เขียน​ข่าว บทความ​และ​สารคดี การ​ถ่าย​ภาพ การ​บรรณาธิการ กฎหมาย การ​พิมพ์ ประวัติ​หนังสือพิมพ์ ตลอด​จน​ การ​ออกแบบ​จัด​หน้า การ​ผลิต และ​การ​บริหาร​งาน​หนังสือพิมพ์ ทาง​ด้าน​ปฏิบัติ​นั้น​นิสิต​จะ​มี​โอกาส​ฝึก​การ​จัด​ทำ� และ​ผลิต​ หนังสือพิมพ์แ​ ละ​นิตยสาร “นิสิต​นักศึกษา” 2547 : เปิดสอนหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) หลักสูตรภาษาอังกฤษ สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (Communication Management) เป็นครั้งแรก

15


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: ประวัติคณะ สาขา​วิชาการ​กระจาย​เสียง

16

มุ่ง​สอน​เนื้อหา​ความ​รู้​เกี่ยว​กับ​แนวคิด​ทฤษฎี และ​หลัก​การ​ปฏิบัติ​ด้าน​การ​สื่อสาร​มวลชน โดย​เน้น​ถึง​กระบวนการ​เรียน​ การ​สอน​ที่​เสริม​สร้าง​ให้​เกิด​การ​เรียน​รู้​เนื้อหา​วิชาการ ไป​พร้อม​กับ​การ​เกิด​ทักษะ​ความ​ชำ�นาญ​ใน​การ​ปฏิบัติ​การ​ด้าน​วิชาชีพ รายวิชา​ส่วน​ใหญ่ มุ่ง​เน้น​หนัก​สื่อมวลชน​ด้าน​การก​ระ​จาย​เสียง เช่น การก​ระ​จาย​เสียง​เบื้อง​ต้น ทฤษฎี​การ​สื่อสาร​มวลชน การ​วจิ ยั ส​ อื่ สาร​มวลชน การ​วเิ คราะห์ผ​ รู้ บั ส​ อื่ สาร​มวลชน การ​วางแผน และ​การ​ประเมินผ​ ล การ​ใช้ส​ อื่ สาร​มวลชน การ​ผลิตร​ายการ​ วิทยุ กระจาย​เสียง​และ​วิทยุโ​ทรทัศน์ การ​เขียน​บท การ​สื่อ​ข่าว และ​การ​เขียน​ข่าว การ​แสดง​ฉาก​แสง​และ​เสียง เป็นต้น นิสิต​ วิชา​เอก​สอื่ สาร​มวลชน มิใช่จ​ ะ​ได้ร​บั ป​ ระสบการณ์แ​ ค่เ​พียง​ใน​หอ้ ง​ปฏิบตั ก​ิ าร​วทิ ยุก​ ระจาย​เสียง​และ​วทิ ยุโ​ทรทัศน์ใ​น​คณะฯ เท่านัน้ แต่​นิสิตย​ ัง​ได้​สัมผัสก​ ับ​การ​ปฏิบัตงิ​าน​อาชีพท​ ี่แท้จ​ ริงต​ าม​สถานีว​ ิทยุแ​ ละ​โทรทัศน์ต​ ่างๆ จาก​การ​ออก​ฝึกงาน​ภาค​สนาม​อีก​ด้วย

สาขา​วิชาการ​ภาพยนตร์​และ​ภาพ​นิ่ง

มุ่ง​ให้การ​ฝึก​อบรม​ที่​เหมาะ​สม​ทาง​ด้าน​ภาพยนตร์​และ​ภาพ​นิ่ง พร้อม​ทั้ง​พื้นฐ​ าน​ทาง​ด้าน​ทฤษฎี การ​วิจารณ์ และ​การ​ฝึก​ ภาค​ปฏิบัติ โดย​มุ่ง​หวังใ​ห้​นิสิตเ​ป็น​ผู้​รู้​รอบ​ตลอด​กระบวนการ​เกี่ยว​กับ​การ​ผลิตภ​ าพยนตร์​และ​ภาพ​นิ่ง

สาขา​วิชาการ​ประชาสัมพันธ์

มุ่ง​สอน​เกี่ยว​กับ​หลักแ​ ละ​ทฤษฎีใ​น​การ​ประชาสัมพันธ์ ทั้ง​หน่วย​งาน​ของ​ภาค​รัฐ และ​ภาค​เอกชน หลัก​การ​วางแผน​การ​ ปฏิบัติ​งาน​ประชาสัมพันธ์ หลัก​การ​จูงใจ หลัก​จริยธรรม ตลอด​จน​การ​หา​ข้อมูล​เพื่อ​การ​ประเมิน​ผล​การ​ผลิต​และ​การ​ใช้​สื่อ​ ต่างๆ ใน​งาน​ประชาสัมพันธ์ รวม​ทั้ง​การ​ฝึก​ปฏิบัตงิ​าน​อาชีพด​ ้วย

สาขา​วิชาการ​โฆษณา

มุง่ ส​ อน​วชิ าการ​โฆษณา​ใน​ฐานะ​เป็นก​ระ​บวน​การ​สอื่ สาร​และ​ใน​ฐานะ​เป็นป​ จั จัยป​ ระการ​หนึง่ ข​ อง​การ​สง่ เ​สริมก​ าร​ตลาด โดย​ เน้น​ศึกษา​กลยุทธ์​ของ​การ​โฆษณา การ​เขียน​บท​โฆษณา การ​จัดการ​โฆษณา การ​วางแผน​สื่อ​โฆษณา การ​ผลิตช​ ิ้นง​าน​โฆษณา การ​วางแผน​รณรงค์​ทางการ​โฆษณา​และ​ประเมิน​ผล ตลอด​จน​การ​ฝึกป​ ฏิบัติ​งาน​อาชีพ

สาขา​วิชา​วาท​วิทยา

มุ่ง​สอน​พฤติกรรม​การ​สื่อสาร​ของ​มนุษย์​ใน​ระดับ​ต่างๆ เช่น การ​สื่อสาร​ระหว่าง​บุคคล​ใน​กลุ่ม และ​ต่อ​หน้า​ชุมชน​ทั้ง​ การ​พูด การ​เขียน การ​อ่าน และ​การ​ฟัง เพื่อ​ทจี่​ ะ​สามารถ​สื่อสาร​ได้​อย่า​งมีสัมฤ​ทธิ​ผล วิชา​ที่​เปิด​สอน ได้แก่ การ​โน้ม​น้าว​ใจ การ​โต้​แย้ง​แสดง​เหตุผล การ​พูด​ใน​ทสี่​ าธารณะ การ​สื่อสาร​ต่าง​วัฒนธรรม การ​สื่อสาร​ใน​องค์การ ฯลฯ การ​สอน​ทั้ง​ภาค​ทฤษฎี​ และ​ภาค​ปฏิบัติ ซึ่ง​นิสิตส​ ามารถ​จะ​นำ�​ไป​ใช้​ให้​เกิด​ประโยชน์ไ​ด้​อย่าง​กว้าง​ขวาง​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

2554 : เปิดหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) ใหม่ แทนหลักสูตรเก่า เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ะนิเทศศาสตร์ สาขา​วิชา​สื่อสาร​การ​แสดง

มุ่ง​สอน​ศิลปะ​การ​แสดง​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ทั้ง​ภาค​ทฤษฎี​และ​ภาค​ปฏิบัติ ให้​นิสิต​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​เป็น พิธีกร นัก​ประชา​นิเทศ และ​นักแ​ สดง​ที่​ใช้​ศาสตร์​และ​ศิลปะ​การ​แสดง​เพื่อ​ให้​เกิดค​ วาม​สัมฤทธิผ์​ ล​ใน​ทางการ​สื่อสาร

สาขา​วิชาการ​จัดการ​การ​สื่อสาร (Communication Management) หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ

มุ่ง​สอน​หลัก​การ​จัดการ​การ​สื่อสาร​เพื่อ​เตรียม​ให้​นิสิต​มี​ทักษะ​ใน​การ​จัดการ​การ​สื่อสาร​ใน​สภาวะ​ต่างๆ หลักสูตร​มุ่ง​เน้น​ การเต​รี​ยม​ความ​พร้อม​ของ​เครื่อง​มือท​ าง​ด้าน​วิชาการ และ​งาน​อาชีพ ทีจ่​ ะ​ช่วย​พัฒนา​คุณภาพ​ของ​นิสิตใ​ห้​เข้าใจ​ถึง​เนื้อหา​ของ​ การ​สื่อสาร​ต่างๆ และ​สามารถ​ปฏิบัติ​งาน​ได้​ทั้งใ​น​สภาพ​แวดล้อม​ภายใน​ประเทศ​และ​ต่าง​ประเทศ

สาขา​วิชา​ระดับ​ปริญญา​โท (หลักสูตร​เก่า) ขณะ​นี้​เปิด​สอน 8 สาขา​วิชา คือ สาขา​วิชา​นิเทศ​ศาสตร​พัฒนาการ

มุง่ ส​ อน​เกีย่ ว​กบั ท​ ฤษฎี และ​การ​วจิ ยั ท​ าง​ดา้ น​นเิ ทศศาสตร์แ​ ละ​นเ​ิ ทโศ​บาย (Communication Strategy) เพือ่ ป​ ระยุกต์ใ​ช้ใ​น​ การ​พฒั นา​ประเทศ ด้าน​เศรษฐกิจส​ งั คม การ​ปกครอง การ​ศกึ ษา การ​สาธารณสุข เป็นต้น ทัง้ ใ​น​ระดับท​ อ้ ง​ถนิ่ แ​ ละ​ระดับป​ ระเทศ

สาขา​วิชาการ​สื่อสาร​มวลชน

มุ่ง​สอน​ให้​นิสิต​เกิด​การ​เรียน​รู้​ใน​เชิง​วิพากษ์​วิจารณ์​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​สื่อสาร​มวลชน โดย​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​นำ�​ไป​ใช้​เป็น ก​รอบ​แห่งก​ าร​อา้ งอิง​ใน​การ​ศกึ ษา​คน้ คว้าก​ าร​วจิ ยั แ​ ละ​วเิ คราะห์ ปรากฏการณ์​ดา้ น​การ​สอื่ สาร​มวลชน​ทเ​ี่ กิดข​ นึ้ ใ​น​สงั คม​ไทย ทัง้ นี​้ เพื่อป​ ระโยชน์ใ​น​การ​หา​แนวทาง​ใน​การ​แก้ไข​และ​ปรับปรุงโ​ครงสร้าง และ​ระบบ​องค์การ​สื่อสาร​มวลชน ผลผลิตห​ รือเ​นื้อหา​ของ​ สื่อมวลชน ผู้รับ​สาร​มวลชน ตลอด​จน​ปริ​บท​ทาง​สังคม ที่​มี​ส่วน​เกี่ยว​พันใ​ห้​ได้​คุณภาพ​และ​มาตรฐาน​ทดี่​ ี​ขึ้น

สาขา​วิชา​วารสาร​สนเทศ

มุ่ง​สอน​แนวคิด​และ​วิธี​การ​วิจัย​ด้าน​หนังสือพิมพ์ รวม​ทั้ง​เน้น​ศึกษา​หลัก​และ​แนวทาง​ด้าน​การ​จัดการ​ธุรกิจ​หนังสือพิมพ์ นอกจาก​นี้​ ยัง​ให้​ความ​สำ�คัญ​ด้าน​บทบาท​หน้าที่ เสรีภาพ​และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​หนังสือพิมพ์เ​พื่อส​ ่ง​เสริมใ​ห้​หนังสือพิมพ์ ซึ่ง​เป็น​สื่อมวลชน​ที่​มี​ศักยภาพ​ได้​มี​บทบาท​ทเี่​อื้อ​อำ�นวย​ต่อ​การ​พัฒนา​ประเทศ​ด้าน​ต่างๆ มาก​ขึ้น

สาขา​วิชาการ​โฆษณา

มุ่ง​ผลิต​บุคลากร​ให้​เป็น​นัก​วิชาการ​และ​นัก​วิจัย​ทมี่​ ี​ความ​รู้ ความ​สามารถ และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อส​ ังคม​ใน​ระดับส​ ูง​ด้าน​ โฆษณา​และ​การ​สอื่ สาร​การ​ตลาด ให้แ​ ก่ห​ น่วย​งาน​รฐั บาล สถาบันก​ าร​ศกึ ษา รัฐวิสาหกิจ และ​ธรุ กิจเ​อกชน ตลอด​จน​พฒั นา​องค์​ ความ​รู้ ความ​คดิ ร​วบ​ยอด​ทฤษฎี และ​งาน​วจิ ยั ต​ า่ งๆ ทาง​ดา้ น​การ​โฆษณา และ​การ​สอื่ สาร​การ​ตลาด​ทส​ี่ ามารถ​น�​ ำ มา​ประยุกต์ใ​ช้​ เพือ่ ว​ตั ถุประสงค์ท​ าง​ดา้ น​โฆษณา และ​การ​สอื่ สาร​การ​ตลาด​ของ​ไทย ทัง้ ใ​น​ระดับช​ าติ และ​มม​ี าตรฐาน​ทดั เทียม​ระดับน​ านาชาติ

17


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: ประวัติคณะ

18

สาขา​วิชา​วาท​วิทยา

มุ่ง​เน้น​การ​ศึกษา​แก่น​ของ​ความ​รู้​ทาง​ด้าน​การ​สื่อสาร​ที่​มี​มนุษย์​เป็น​ศูนย์กลาง ที่​เรียก​ว่า​มนุษย​นิเทศ (Human Communication) โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​คือวาทศาสตร์ (Rhetoric) ซึ่ง​มี​ความ​สัมพันธ์​กับ​การ​พัฒนา​คุณค่า​ของ​ชีวิต​และ​ ประชาธิปไตย และ​ยัง​มี​การ​ศึกษา​ที่​เน้น​หนักด​ ้าน​การ​สื่อสาร​เชิง​สุนทรีย​ ะ (Aesthetic Communication) ให้​ผู้​ศึกษา​ทสี่​ นใจ​ การ​สอื่ สาร​ทม​ี่ พ​ี ลังจิตว​ญิ ญาณ​สงั คม นอกจาก​นย​ี้ งั ม​ งุ่ เ​ป็นผ​ นู้ �​ ำ ใน​การ​พฒั นา​องค์ค​ วาม​รด​ู้ า้ น​ภมู ปิ ญั ญา นิเทศศาสตร์ต​ ะวันอ​ อก โดย​ส่ง​เสริม​วาท​กิจกรรม ตลอด​จน​การ​ศึกษา​วิจัย เพื่อ​ให้ไ​ด้​ความ​รู้​จาก​ทฤษฎี​และ​ปฏิบัติ

สาขา​วิชาการ​ประชาสัมพันธ์

มุ่ง​สอน​เกี่ยว​กับ​แนวคิด การ​วิจัย​ และ​การ​ประยุกต์​ใช้ก​ าร​ประชาสัมพันธ์​ใน​โลก​แห่ง​ความ​เป็น​จริง ใน​เรื่อง​ของ​บทบาท​ และ​หน้าทีข่​ อง​การ​ประชาสัมพันธ์ การ​วิจัยก​ าร​ประชาสัมพันธ์ การ​วางแผน​การ​ประชาสัมพันธ์ การ​บริหาร​งาน​ประชาสัมพันธ์ และ​การ​สื่อสาร​ใน​ภาวะ​วิกฤต เป้าห​ มาย​ของ​หลักสูตร คือ การ​เชื่อม​โยง​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​สาธารณะ​ชน​และ​สิ่งท​ ี่​เกี่ยวข้อง​ กับ​ประชาชน

สาขา​วิชา​สื่อสาร​การ​แสดง

มุ่ง​สอน​ศิลปะ​การ​แสดง​และ​สื่อ​จินต​คดี ทั้ง​ภาค​ทฤษฎี​และ​ภาค​ปฏิบัติ เพื่อ​ผลิตบ​ ัณฑิตใ​ห้​มี​ความ​รู้​ความ​สามารถ​ใน​การ​ สร้างสรรค์​สื่อ​สุนทรี​ยะ ใน​ฐานะ​ผู้​อำ�นวย​การ ผู้​เขียน​บท ผูก้​ ำ�กับ นัก​แสดง​และ​ผู้​จัดการ​แสดง ตลอด​จน​เป็น​นัก​วิจารณ์ โดย​ ใช้​ศาสตร์​และ​ศิลปะ​การ​แสดง เพื่อ​ให้เ​กิด​ผล​สัมฤทธิ์​ใน​การ​สื่อสาร

สาขา​วิชาการ​ภาพยนตร์

มุ่ง​สอน​กระบวนการ​ผลิต​ภาพยนตร์ รวม​ทั้ง​การ​เขียน​บท​การ​กำ�กับ​และ​การ​ถ่าย​ทำ�​ภาพยนตร์ ​สำ�หรับ​วิทยานิพนธ์​นั้น​ นิสิต​สามารถ​เลือก​โครง​งาน​สร้าง​ภาพยนตร์ หรือ​การ​วิจัย​ด้าน​ภาพยนตร์ โดย​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​พัฒนา​คุณภาพ​ของ ​ภาพยนตร์​ไทย​ให้ไ​ด้​ระดับ​มาตรฐาน​โลก

หลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​มหา​บัณฑิต (หลักสูตร​ใหม่) แยก​ตาม​แผน​การ​ศึกษา ดังนี้ เน้น​วิชาการ/เปิด​สอน​ภาค​ใน​เวลา​ราชการ

การ​เรียน​การ​สอน​เน้น​ทฤษฎี วิจัย และ​องค์ค​ วาม​รู้​นิเทศศาสตร์ กำ�หนด​แผนการ​ศึกษา​เฉพาะ​แผน ก และ​เปิด​การ​เรียน​ การ​สอน​ใน​เวลา​ราชการ มี​กลุ่ม​วิชา 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ม​วิชา​วารสาร​และ​สารสนเทศ เน้นอ​ งค์ค​ วาม​รู้​ขั้นส​ ูง​ด้าน​ข่าว สารสนเทศ การ​บรรณาธิการ สารคดี และ​จรรยา​บรรณ​ วิชาชีพ​ใน​สื่อต​ ่างๆ


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ะนิเทศศาสตร์ กลุม่ ว​ชิ าการ​จดั การ​การ​สอื่ สาร​แบบ​บรู ณาการ เน้นอ​ งค์ค​ วาม​รข​ู้ นั้ ส​ งู ด​ า้ น​การ​จดั การ​การ​สอื่ สาร​เชิง กลยุทธ์ เพือ่ เ​ป้าห​ มาย​ ทั้งท​ าง​ด้าน​ธุรกิจ​และ​สังคม การ​บริหาร​องค์กร​สื่อ​และ​องค์กร​ต่างๆ ทีเ่​กี่ยวข้อง​กับ​การ​สื่อสาร​สาธารณะ กลุม่ ว​ชิ าการ​สอื่ สาร​ผา่ น​สอื่ แ​ ละ​วาท​นเิ ทศ เน้นอ​ งค์ค​ วาม​รข​ู้ นั้ ส​ งู ใ​น​การ​สร้าง​องค์ค​ วาม​รแ​ู้ ละ​วทิ ยาการ​ดา้ น​การ​สอื่ สาร ได้แก่ สื่อ​บุคคล สื่อก​ ระแส​หลัก สื่อใ​หม่ สื่อ​ประเพณี และ​วาท​นิเทศ ซึ่ง​ครอบคลุม​การ​สื่อสาร​ระหว่าง​บุคคล และ​หลัก​วาทศาสตร์ กลุม่ ​วชิ าการ​สอื่ สาร​เชิง​สงั คม​และ​วฒั นธรรม เน้น​องค์​ความ​ร​ขู้ นั้ ส​ งู ​ดา้ น​วทิ ยาการ​และ​การ​สอื่ สาร​กบั ​สงั คม​และ​วฒั นธรรม​ ใน​บริบท​ของ​ประเทศไทย​และ​นานาชาติ รวม​ทั้งก​ าร​ใช้ก​ าร​สื่อสาร​เพื่อ​การ​พัฒนา​ชุมชน สังคม และ​ประเทศ กลุม่ ว​ชิ าการ​สอื่ สาร​เชิงส​ นุ ทรีย​ ะ​และ​บนั เทิงค​ ดี เน้นอ​ งค์ค​ วาม​รข​ู้ นั้ ส​ งู ด​ า้ น​การ​สร้างสรรค์ก​ าร​สอื่ สาร​ทม​ี่ ส​ี นุ ทรีย​ ะ​และ​ความ​ บันเทิงใ​น​การ​แสดง​ร่วม​สมัย สื่อ​กระแส​หลัก สื่อใ​หม่ และ​สื่อ​ประเพณี

เน้น​วิชาชีพ/เปิด​สอน​ภาค​นอก​เวลา​ราชการ

การ​เรียน​การ​สอน​เน้น​องค์​ความ​ร​นู้ เิ ทศศาสตร์​เชิง​วชิ าชีพ​ขนั้ ​สงู โดย​มพ​ี นื้ ​ฐาน​ดา้ น​ทฤษฎี​และ​วจิ ยั กำ�หนด​แผนการ​ศกึ ษา​ ที่​เน้น​แผน ข แต่​เปิด​โอกาส​ให้​เลือก​แผน ก ได้ เปิด​การ​เรียน​การ​สอน​นอก​เวลา​ราชการ มี 3 กลุ่ม​วิชา ดังนี้ กลุม่ ​วชิ าการ​ผลิต​ขา่ ว​และ​สารคดี เน้น​ความ​เป็นน​ กั ​วชิ าชีพ​ขนั้ ​สงู ท​ ​มี่ ​คี วาม​สามารถ​ดา้ น​การ​บรรณาธิการ ข่าว สารสนเทศ สารคดี และ​จรรยา​บรรณ​วิชาชีพ​ใน​สื่อ​ต่างๆ กลุ่ม​วิชาการ​จัดการ​การ​สื่อสาร​แบบ​บูรณาการ เน้น​ความ​เป็น​นัก​วิชาชีพ​ขั้น​สูง​ด้าน​การ​จัดการ​สื่อสาร​เชิงกล​ยุทธ์​เพื่อ​ เป้าห​ มาย​ทงั้ ท​ าง​ดา้ น​ธรุ กิจแ​ ละ​สงั คม การ​บริหาร​องค์กร​สอื่ แ​ ละ​องค์กร​ตา่ งๆ ทีเ​่ กีย่ วข้อง​กบั ก​ าร​สอื่ สาร​และ​การ​สอื่ สาร​สาธารณะ กลุ่ม​วิชา​สื่อสาร​การ​แสดง​และ​สื่อ​บันเทิง เน้น​ความ​เป็นน​ ัก​วิชาชีพข​ ั้น​สูงท​ ี่​มี​ความ​สามารถ​สร้างสรรค์​การ​แสดง รายการ​ ภาพยนตร์ งาน​ศิลปะ​การ​สื่อสาร​ใน​การ​แสดง​ร่วม​สมัย สื่อ​กระแส​หลัก สื่อใ​หม่ และ​สื่อ​ประเพณี

หลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​มหา​บัณฑิต (หลักสูตร​นานาชาติ)

สาขา​วิชาการ​จัดการ​สื่อสาร​เชิงกล​ยุทธ์ (หลักสูตร​นานาชาติ) มุ่งส​ อน​ให้​ผู้​เรียน​แสวงหา​องค์ค​ วาม​รใู้​หม่ท​ าง​นิเทศศาสตร์ ที่​ตอบ​สนอง​ต่อ​ความ​เปลี่ยนแปลง​ของ​เทคโนโลยี และ​พฤติกรรม​ของ​ผบู้​ ริโภค​สื่อ เพื่อจ​ ะ​ได้​นำ�​องค์​ความ​รู้​เหล่า​นั้น​มา​พัฒนา​ ใน​การ​ศึกษา​วิจัย และ​ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน​ใน​สาขา​การ​จัดการ​การ​สื่อสาร​เชิงกล​ยุทธ์ และ​สร้าง​องค์​ความ​รู้​ใหม่​ใน​ ระดับ​นานาชาติ สามารถ​ปฏิบัติ​งาน​ทางการ​สื่อสาร​ใน​สภาพ​แวดล้อม​ที่​เป็น​นานาชาติ​ใน​ยุค​ของ​การ​หลอม​รวม​สื่อ​ได้​อย่าง​มี​ ประสิทธิภาพ โดย​จะ​เปิด​สอน​ใน​ปี​การ​ศึกษา 2554

สาขา​วิชา​ระดับ​ปริญญา​เอก สาขา​วิชา​นิเทศศาสตร์

มุ่ง​ให้ผ​ ู้​เรียน​เป็น​ผู้​ที่​มี​ความ​รู้ ความ​สามารถ​ด้าน​การ​ศึกษา​วิจัย​และ​ทฤษฎี​ทาง​ด้าน​นิเทศศาสตร์ใ​น​ระดับส​ ูง และ​นำ�​การ​ สื่อสาร​ไป​ใช้ได้​อย่าง​เหมาะ​สม เพื่อ​แก้ไข​ปัญหา​ต่างๆ ของ​สังคม อีก​ทั้ง​ส่ง​เสริม​พัฒนา​องค์​ความ​รู้​ขั้นส​ ูงท​ าง​ด้าน​นิเทศศาสตร์ อัน​จะ​นำ�​มา​ซึ่ง​ความ​ก้าวหน้า​ทาง​วิชาการ​ที่​เกี่ยว​กับ​นานาชาติ ตลอด​จน​สามารถ​นำ�​มา​ประยุกต์​ใช้​กับ​กิจกรรม​ต่างๆ ของ ​สังคม​ไทย​และ​เป็น​แบบ​อันด​ ี​สำ�หรับ​สังค​มอื่นๆ

2554 : เปิดสอนหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาวิชาการจัดการสื่อสารเชิงกลยุทธ์

19


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: โครงสร้าง

20


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งการบริหาร

21


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: คณะกรรม

22

รองศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ คณบดี

1

2

3

4

5

6

7

8

1. รองศาสตราจารย์ปัทมวดี จารุวร 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนม คลี่ฉายา 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิรงรอง รามสูต 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เมธา เสรีธนาวงศ์ 5. อาจารย์ ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม 6. รองศาสตราจารย์ รุ่งนภา พิตรปรีชา 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณาณัฏฐ์ธัญ วงศ์บ้านดู่ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ ขำ�วิจิตร์

รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิรัชกิจ รองคณบดีฝ่ายวางแผนพัฒนาและวิจัย รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษา รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิต รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ หัวหน้าภาควิชาการประชาสัมพันธ์ หัวหน้าภาควิชาการสื่อสารมวลชน หัวหน้าภาควิชาวารสารสนเทศ


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มการบริหาร

23 9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

9. อาจารย์ ดร.จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ 10. รองศาสตราจารย์ ปัทมวดี จารุวร 11. อาจารย์ พรรณพิมล นาคนาวา 12. รองศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ อนันตชาติ 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ม.ล. วิฎราธร จิรประวัติ 14. อาจารย์ เติมสิทธิ์ ศิริพานิช 15. อาจารย์ สุภาพร โพธิ์แก้ว 16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภวรรณ ตันติเวชกุล 17. นางสาววราภรณ์ กุลสวัสดิ์ภักดี 18. นางสาวนิภาพรรณ์ แก้วสุวรรณ์

หัวหน้าภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง หัวหน้าภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� เลขานุการคณะกรรมการบริหารคณะนิเทศศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: จำ�นวนนิสิต ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (จำ�แนกตามสาขาวิชา)

24


นิ เทศจุ ฬ าฯ สอนเราให้

เฉีย บคม

ที่นี่...เราสอนนิสิตของเราให้ลับตัวเองให้มีคมอยู่เสมอ ไม่ปล่อยให้กลายเป็นเพียงกรรไกรทื่อๆ ขาดความคม ด้วยการเรียนรู้ให้เท่าทันยุคสมัย และปรับใช้ให้เข้ากับสังคมไทย....ตลอดไป


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: ผลการดำ�เนินงานด้านการบริหาร

บุคลากร คณะนิเทศศาสตร์

26

คณะนิเทศศาสตร์มีบุคลากรทั้งสิ้น จำ�นวน 108 คน ประกอบไปด้วย อาจารย์ จำ�นวน 49 คน และ บุคลากร สายสนับสนุน จำ�นวน 59 คน โดยจำ�นวนอาจารย์ ในปีงบประมาณ 2553 จำ�แนกตามตำ�แหน่งทางวิชาการได้ ดังนี้ ศาสตราจารย์ จำ�นวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.08 รองศาสตราจารย์ จำ�นวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 24.49 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำ�นวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 อาจารย์ จำ�นวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 และอาจารย์ที่เกษียณอายุราชการในปีงบประมาณ 2553 มีจำ�นวน 3 คน จำ�นวนบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553

55%

ประเภทอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553

45%

อาจารย์ 49 คน บุคลากรสายสนับสนุน 59 คน

ข้าราชการ 16 คน พนักงาน (เงินรายได้) 5 คน พนักงาน (เงินอุดหนุน) (ข้าราชการเปลี่ยนสถานภาพ) 13 คน พนักงาน (เงินอุดหนุน) 15 คน

จำ�นวนตำ�แหน่งทางวิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 หน่วย : คน

รวม

ศ.ดร.

รศ.ดร.

รศ.

ผศ.ดร.

ผศ.

อ.ดร.

อ.

ตำ�แหน่งทางวิชาการ


และการจัดการการเงินและงบประมาณ

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อัตราบุคคลที่เกษียณอายุราชการ คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 - 2558 หน่วย : คน

27

ปีงบประมาณ อาจารย์ พนักงาน

ประเภทบุคลากรสายสนับสนุน คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 หน่วย : คน

ประเภทบุคลากร

บุคลากรสายสนับสนุน ประกอบด้วย ข้าราชการ ลูก จ้างประจำ� พนัก งาน (เงิน อุด หนุน ) (ข้าราชการเปลี่ย นสถานภาพ) พนักงาน (เงินอุดหนุน) พนัก งาน (เง ิน รายได้)

จำ�นวน 3 คน จำ�นวน 8 คน จำ�นวน 15 คน จำ�นวน 5 คน จำ�นวน 28 คน

คิดเป็นร้อยละ คิด เป ็น ร้อ ยละ คิด เป ็น ร้อ ยละ คิดเป็นร้อยละ คิด เป ็น ร้อ ยละ

5.08 13.56 25.42 8.47 47.46


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: การเงินและงบประมาณ

ด้านงบประมาณ คณะนิเทศศาสตร์

ปีงบประมาณ 2553 คณะนิเทศศาสตร์ ได้รับงบประมาณรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 113,698,645.- บาท แบ่งเป็นงบประมาณ แผ่นดิน จำ�นวน 13,907,500.- บาท คิดเป็นร้อยละ 12.23 และงบรายได้คณะฯ จำ�นวน 99,791,145.- บาท คิดเป็นร้อยละ 87.77 โดยคณะฯ ได้จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ดังนี้

28

งบแผ่นดิน

งบรายได้

งบบุคลากร งบดำ�เนินการ

จำ�นวน จำ�นวน

10,895,400.- บาท 3,012,100.- บาท

คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ

78.34 21.66

งบบุคลากร งบดำ�เนินการ งบลงทุน งบวิจัย งบสำ�รองทั่วไป

จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน

6,099,198.- บาท 67,547,917.- บาท 21,739,030.- บาท 2,405,000.- บาท 2,000,000.- บาท

คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ

6.11 67.69 21.78 2.41 2.01

ประเภทบุคลากรสายสนับสนุน คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553

รายได้ 99,791,145.- บาท แผ่นดิน 13,907,500.- บาท


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: อาคารและสถานที่

ข้อมูล​พื้นที่ คณะ​นิเทศศาสตร์

คณะ​นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ม​ หาวิทยาลัย มีอ​ าคาร​จำ�นวน​ทั้งส​ ิ้น 2 อาคาร คือ อาคาร 1 เป็นต​ ึก 5 ชั้น ประกอบ​ด้วย ภาค​วิชา​จำ�นวน 5 ภาค​วิชา ได้แก่ ภาค​วิชา​วารสาร​สนเทศ ภาค​วิชาการ​ภาพยนตร์​และ​ภาพ​นิ่ง ภาค​วิชาการ​ประชาสัมพันธ์ ภาค​วิชาการ​สื่อสาร​มวลชน ภาค​วิชา​วาท​วิทยา​และ​สื่อสาร​การ​แสดง และ​ศูนย์​แห่ง​ความ​เป็น​เลิศ​ด้าน​สื่อ​ดิจิทัล มี​พื้นที่​ การ​เรียน​การ​สอน พื้นทีห่​ ้อง​พัก​อาจารย์​และ​บริการ​ส่วน​กลาง​รวม​ทั้งส​ ิ้น 3,379.67 ตาราง​เมตร และ​อาคาร​มงกุฎ​สมมติ​วงศ์ ซึง่ เ​ป็นอ​ าคาร​คอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 12 ชัน้ และ​ชนั้ ล​ อย 1 ชัน้ โดย​เชือ่ ม​ตอ่ ก​ บั อ​ าคาร​เดิม 6 ชัน้ ประกอบ​ไป​ดว้ ย​พนื้ ทีก​่ าร​เรียน​ การ​สอน​และ​พื้นที่​บริการ​ส่วน​กลาง สำ�นักงาน​ต่างๆ ศูนย์​ปฏิบัติ​การ​คอมพิวเตอร์ ศูนย์​บริการ​วิทย​ทรัพยากร หอ​ประชุม ฯลฯ รวม​พื้นที่​ทั้งส​ ิ้น 11,050.48 ตาราง​เมตร

ข้อมูล​ด้าน​พื้นที่

คณะ​นิเทศศาสตร์ มี​พื้นทีแ่​ ละ​อาคาร​สำ�หรับ​การ​เรียน​การ​สอน​และ​บริการ​ส่วน​กลาง ดังนี้

อาคาร อาคาร 1 ชั้น 1 - ภาควิชาวารสารสนเทศ - ห้องรับรองอาจารย์พิเศษ ชั้น 2 - ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง ชั้น 3 - ภาควิชาการสื่อสารมวลชน - ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ ชั้น 4 - ภาควิชาวาทวิทยาและสือ่ สารการแสดง - สาขาวิชาการโฆษณา - ห้องประชุม ชั้น 5 - ระหว่างปรับปรุง

พื้นที่การเรียนการสอน

118.20

ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสื่อดิจิทัล

468.31

อาคารมงกุฎสมมติวงศ์ รวมพื้นที่ทั้งสิ้น

1,050.48 1,636.99

พื้นที่ห้องพักอาจารย์ และบริการส่วนกลาง

พื้นที่รวม (ตารางเมตร)

343.44

343.44

328.60

446.80

445.08

445.08

790.26

790.26

885.78

885.78 468.31

10,000.00 12,793.16

11050.48 14430.15

*หมายเหตุ พื้นที่บริการส่วนกลาง ได้แก่ ห้องทำ�งานเจ้าหน้าที่ ห้องประชุม ห้องนำ� ทางเดิน

29


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสื่อดิจิทัล

30

ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นโครงการทีเ่ กิดขึน้ ภายใต้แผนพัฒนาวิชาการจุฬาฯ 100 ปี เนือ่ งใน โอกาสที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกำ�ลังก้าวเข้าสู่ปีที่ 100 แห่งการสถาปนาฯ ในปี พ.ศ. 2559 โดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการก่อสร้างศูนย์ฯ ดังนี้ 1. รองรับการศึกษาวิจยั และผลิตรายการโทรทัศน์เพือ่ การศึกษาของคณาจารย์ และนิสิต เช่น รายการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สุขภาพ สาธารณสุข วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียนการสอน 2. เพือ่ เป็นห้องปฏิบตั กิ ารสำ�หรับการศึกษาวิจยั ในการสร้างองค์ความรูพ้ นื้ ฐาน และองค์ความรูเ้ ฉพาะทางด้านนิเทศศาสตร์และนำ�ผลการศึกษาไปผลิตบทความวิจยั และบทความทางวิชาการ เพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสือ่ ดิจทิ ลั ก่อสร้างด้วยงบประมาณทัง้ สิน้ 120,000,000 บาท เริ่มต้นโครงการในปี 2552 แล้วเสร็จพร้อมรองรับการเรียนการสอนในภาค การศึกษาต้น ปีการศึกษา 2554 ภายในศูนย์ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ 1. ห้องวิทยุและโทรทัศน์ ประกอบด้วย ห้องควบคุมการออกอากาศ (MASTER CONTROL ROOM) ห้องปฏิบตั กิ ารวิทยุโทรทัศน์ระบบความคมชัดภาพสูง (HD STUDIO) ห้องปฏิบัติการวิทยุ โทรทัศน์ระบบความคมชัดภาพสูงแบบเสมือนจริง (HD VIRTUAL STUDIO) และห้องปฏิบตั กิ ารวิทยุโทรทัศน์ระบบความชัดภาพมาตรฐาน (SD STUDIO)


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(CEDM: Center of Excellence in Digital Media)

31

2. ห้องวิทยุกระจายเสียง ประกอบด้วย ห้องปฏิบตั กิ ารวิทยุกระจายเสียง ขนาดเล็ก ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียงขนาดกลาง และห้องปฏิบัติการวิทยุ กระจายเสียงขนาดใหญ่ระบบ 5.1 ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสือ่ ดิจทิ ลั จะก่อให้เกิดการบูรณาการเนือ้ หาวิชา ต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทางคณะฯ คาดว่าจะสามารถรองรับ การเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ไม่น้อยกว่า 130 รายวิชา และ มีนิสิตที่เข้าใช้ห้องปฏิบัติการจำ�นวนไม่น้อยกว่าปีละ 1,500 คน และมีผลงานที่ เกิดจากกระบวนการเรียนการสอน เช่น รายการวิทยุกระจายเสียง รายการวิทยุ โทรทัศน์ หรือสื่ออื่นๆ รวมถึงงานวิจัยเพื่อรวบรวมเป็นองค์ความรู้พื้นฐานและ องค์ความรู้เฉพาะทางด้านนิเทศศาสตร์ไม่ตำ�กว่าปีละ 200 ชิ้น


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: อาคารมงกุฎสมมติวงศ์

32

อาคาร​มงกุฎส​ มมติว​งศ์ เป็นอ​ าคาร​คอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 12 ชัน้ และ​ชั้นล​ อย 1 ชั้น มีพ​ ื้นที่​ใช้สอย​ประมาณ 10,000 ตาราง​เมตร พื้น​ อาคาร​เป็น​โครงสร้าง​ระบบ POSTED TENSION ดำ�เนิน​การ​กอ่ สร้าง​เป็น 2 ระยะ โดย​ใน​ระยะ​ที่ 1 เริ่ม​ก่อสร้าง​เมื่อ​ปี พ.ศ. 2549 สิ้น​สุด​ปี พ.ศ. 2551 งบ​ประมาณ​ทั้ง​สิ้น 102,990,000 บาท มีถ​ ัง​เก็บ​นำ� ถังบ​ ำ�บัด​ นำ�​เสีย ภายใน​อาคาร​มี​ระบบ​งาน​ระบบ​ไฟฟ้า งาน​ระบบ​โทรศัพท์ งาน​ ระบบ​เตือน​อัคคี​ภัย งาน​ระบบ​สุขาภิบาล​และ​ดับ​เพลิง งาน​ระบบ​ปรับ​ อากาศ​และ​ระบาย​อากาศ และ​งาน​ระบบ​ลิฟต์โ​ดยสาร ต่อม​ า ค​ ณะฯ ได้ด​ �ำ เนินก​ าร​ระยะ​ที่ 2 เป็นการ​ตกแต่งภ​ ายใน ติดต​ งั้ ​ระบบ​ปรับ​อากาศ (เพิ่ม​เติม) ระบบ LAN และ​ระบบ CCTV โดย​ เริ่ม​ดำ�เนิน​การ​เมื่อ พฤศจิกายน 2552 สิ้น​สุด ธันวาคม 2553 งบ​ประมาณ​ทั้ง​สิ้น 87,000,000 บาท การ​ดำ�เนิน​การ​ก่อสร้าง​อาคาร​มงกุฎ​สมมติ​วงศ์ มี​วัตถุประสงค์​ดังนี้ 1. เพือ่ เ​ป็นอ​ นุสรณ์ 200 ปี บรม​ราช​สมภพ​ของพระบาท​สมเด็จ​ พระจอมเกล้าเ​จ้า​อยู่​หัว (รัชกาล​ที่ 4) 2. เพื่อ​เฉลิม​ฉลอง 40 ปี คณะ​นิเทศศาสตร์ 3. เพื่อ​ให้ส​ ามารถ​รองรับ​พันธ​กิจ​ของ​คณะฯ 4. เพื่อพ​ ัฒนา​ความ​เป็น​เลิศ​ทาง​วิชาการ 5. เพื่อ​ให้บ​ ริการ​วิชาการ​แก่​สังคม สำ�หรับ​ชื่อ​อาคาร​นั้น คณะฯ ได้​ทำ�​หนังสือ​กราบ​บังคม​ทูล​ ขอ​พ ระราชทาน​ชื่ อ ​อ าคาร​จ าก​พ ระบาท​ส มเด็ จ ​พ ระเจ้ า อยู่ หั ว​ ภู มิ พ ล​อ ดุ ล ย​เดช​ว่ า “อาคาร​ม งกุ ฎ ​ส มมติ ​เทว​ว งศ์ ” ซึ่ ง ​เป็ น​ พระนาม​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระจอมเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว (รัชกาล​ที่ 4) โดยให้​เหตุผล​ว่าการ​ก่อสร้าง​อาคาร​ดัง​กล่าว​มี​รูป​แบบ แผนผัง​ สอดคล้อง​กับ​อาคาร​พินิต​ประชา​นา​รถ ซึ่ง​เป็น​พระนาม​ของ​ พระบาท​ส มเด็ จ ​พ ระ​จุ ล จอมเกล้ า ​เจ้ า ​อ ยู่ ​หั ว (รั ช กาล​ที่ 5) เมือ่ ​ครัง้ ​ได้​สถาปนา​เป็นก​รม​ขนุ พ​ นิ ติ ​ประชา​นา​รถ และ​อาคาร​เทพ​ทวา​ราว​ดี ซึง่ ​เป็น​พระนาม​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระมงกุฎเกล้า​ เจ้า​อยู่​หัว (รัชกาล​ที่ 6) เมื่อ​ครั้ง​ได้​รับ​สถาปนา​เป็น​สมเด็จ​เจ้า​ฟ้า​ขุน​เทพ​ทวา​ราว​ดี ต่อ​มา​เมื่อ​วัน​ที่ 18 กรกฎาคม 2553 ทรง​พระ​กรุณา​โปรด​เกล้าฯ พระราชทาน​ชื่อ​อาคาร​ว่า “อาคาร​มงกุฎ​สมมติ​วงศ์” ซึ่งเ​ป็น​พระนาม​ที่​จารึก​ใน​พระ​สุ​พร​รณบัฎ​ ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระจอมเกล้า​เจ้า​อยูห่​ ัวว​ ่า “เจ้า​ฟ้า​มงกุฎ​สมมติ​วงศ์ พงศ์​อิศวร​กษัตริย์ ขัตติย​ราช​กุมาร”


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พื้นที่​ภายใน​อาคาร​ประกอบ​ด้วย​หน่วย​งาน​ต่างๆ ดังนี้ ชั้น​ที่ 1 : ติดต่อส​ อบถาม (Information) พื้นที่​ใช้สอย 60 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 745 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ M : ห้อง​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย (Security and Control Room) พื้นทีใ่​ช้สอย 185 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 305 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 2 : สำ�นักงาน​ฝ่าย​กิจการ​นิสิต (Student Affairs Services) / คณะ​กรรมการ​นิสิต (Student Committee) / ชมรม​นิสิต (Student Club) ห้องเรียน​ขนาด 30 ที่​นั่ง จำ�นวน 2 ห้อง พื้นที่​ใช้สอย 450 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 810 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 3 : ศูนย์​ปฏิบัตกิ​ าร​คอมพิวเตอร์ (Computer Center) มี​จำ�นวน 4 ห้อง จำ�นวน 26 ทีน่​ ั่ง 3 ห้อง และ 51 ที่​นั่ง 1 ห้อง พื้นที่​ใช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 720 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 4 : หอ​ประวัติ​และ​อนุสรณ์น​ ิเทศศาสตร์ (Communication Arts Hall of Fame) พื้นที่​ใช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 810 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 5 : ศูนย์​บริการ​วิทย​ทรัพยากร (Academic Resource Services) (ห้อง​สมุด/โสต​ทัศนูปกรณ์) พื้นที่​ใช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 810 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 6 : สำ�นักงาน​หลักสูตร​นานาชาติ (International Programs) / ห้อง​พัก​อาจารย์ จำ�นวน 6 ห้อง / หัอง​ประชุม​ขนาด 10 ทีน่​ ั่ง จำ�นวน 2 ห้อง ห้องเรียน​จำ�นวน 45 ที่​นั่ง จำ�นวน 1 ห้อง พี้​นที่​ใช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 810 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 7 : สำ�นักงาน​บัณฑิตศ​ ึกษา (Graduate Programs) / ห้อง​พัก​อาจารย์ จำ�นวน 2 ห้อง ห้อง​ประชุม​ขนาด 15 ที่​นั่ง จำ�นวน 1 ห้อง / สำ�นักงาน​ฝ่าย​วิชาการ​และ​ทะเบียน (Academic Affairs and Registrar) / ศูนย์​ให้​คำ�​ปรึกษา​ด้าน​การ​สื่อสาร (Communication Consultation Center) / ศูนย์​ศึกษา​นโยบาย​สื่อ (Media Policy Center) / ฝ่าย​วิจัย (Research) พื้นทีใ่​ช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นที่​รวม 810 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 8 : สำ�นักงาน​คณบดี (Office of Dean) พื้นที่​ใช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นที่​รวม 810 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 9 : ห้อง​คณบดี (Dean) / ห้อง​รอง​คณบดี (Deputy Dean) จำ�นวน 8 ห้อง ห้อง​ประชุม​คณะ (Conference Room) จำ�นวน 40 ที่​นั่ง พื้นที่​ใช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 810 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 10 : ศูนย์​ประชุม ศ.บำ�รุงสุข สีห​อำ�ไพ (Professor Bumrongsuk Siha-Umphai Conference Center) มี​ทั้งหมด 4 ห้อง ประกอบ​ด้วย - ห้อง​ประชุมข​ นาด 64 ที่​นั่ง จำ�นวน 1 ห้อง - ห้อง​ประชุมข​ นาด 32 ที่​นั่ง จำ�นวน 1 ห้อง - ห้อง​ประชุมข​ นาด 12 ที่​นั่ง จำ�นวน 2 ห้อง พื้นที่​ใช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นทีร่​วม 810 ตาราง​เมตร ชั้น​ที่ 11 : หอ​ประชุม​นิเทศศาสตร์ (Communication Arts Convention Hall) จำ�นวน 168 ที่​นั่ง มีพ​ ื้นที่​ใช้สอย 480 ตาราง​เมตร พื้นที่​รวม 810 ตาราง​เมตร

33


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: การให้บริการคอมพิวเตอร์และห้องสมุด

34

ศูนย์​คอมพิวเตอร์ คณะ​นิเทศศาสตร์

การ​ให้​บริการ​ศูนย์​คอมพิวเตอร์​คณะ​นิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 รายการ (ตัว​ชี้​วัด​ความ​สำ�เร็จ​ของ​การ​ดำ�เนิน​งาน จำ�นวน​นิสิตท​ ี่​ใช้​บริการ​ศูนย์​คอมพิวเตอร์ สถิติ​การ​จอง​คอมพิวเตอร์​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​เรียน​การ​สอน

จำ�นวน (เครื่อง) 364 179

อุปกรณ์​คอมพิวเตอร์​ที่​ให้​บริการ รายการ เครื่อง​คอมพิวเตอร์​แม่​ข่าย เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ให้​บริการ

จำ�นวน (เครื่อง) 2 125

ศูนย์​โสต​ทัศนูปกรณ์ คณะ​นิเทศศาสตร์

ศูนย์โ​สต​ทัศนูปกรณ์ ให้บ​ ริการ​สื่อก​ าร​เรียน​การ​สอน​และ​บริการ​ด้าน​ห้อง​สมุดเ​สียง เพื่อใ​ช้ป​ ระกอบ​การ​เรียน​การ​สอน​ของ​ คณะ​นิเทศศาสตร์ การ​ให้​บริการ​ต่างๆ จำ�นวน​ผู้​ใช้​บริการ​ศูนย์โ​สต​ทัศนูปกรณ์ 425 คน ให้บ​ ริการ​อุปกรณ์​ประกอบ​การ​เรียน​การ​สอน​และ​กิจกรรม​ต่างๆ ของ​คณะฯ 982 ครั้ง

ห้อง​สมุด คณะ​นิเทศศาสตร์

ประวัติ ปี พ.ศ.2508 ได้​มี​การ​ก่อ​ตั้ง​แผนก​อิสระ​สื่อสาร​มวลชน​และ​การ​ประชาสัมพันธ์ และ​ได้จ​ ัด​ตั้ง​ห้อง​สมุด​ขึ้น เพื่อ​ใช้​เป็น​ที่​ รวบรวม​เอกสาร​การ​วิจัย ตำ�รา ด้าน​นิเทศศาสตร์ เพื่อ​ประกอบ​การ​เรียน​การ​สอน อยูท่​ ี่อาคาร 1 ชั้น 2 และ​ต่อม​ า ปี พ.ศ. 2519 ย้าย​ห้อง​สมุด​จาก​อาคาร 1 ไป​อยู่​ที่ อาคาร 2 ชั้น 2 ต่อม​ า​คณะฯ ก่อสร้าง​อาคาร​มงกุฎ​สมมติ​วงศ์ ห้อง​สมุด​คณะฯ จึง​ย้าย​มา​ที่​อาคาร​มงกุฎส​ มมติ​วงศ์ ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2553 ห้อง​สมุด​คณะ​นิเทศศาสตร์ ตั้งอ​ ยู่​ที่​อาคาร​มงกุฎ​สมมติว​ งศ์ ชั้น 5 เปิด​บริการ​ดังนี้ วัน​จันทร์ - วันศ​ ุกร์ เปิด​เวลา 08.00 - 19.00 น. วัน​เสาร์ - วันอ​ าทิตย์ เปิด​เวลา 10.00 - 18.00 น. ปิดว​ ัน​นักขัต​ฤกษ์


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

35

การ​ให้​บริการ​ห้อง​สมุด

ทรัพยากร​ห้อง​สมุด ห้อง​สมุด​ให้​บริการ​หนังสือ ตำ�รา วารสาร วิทยานิพนธ์ และ​สิ่ง​พิมพ์​ต่างๆ เพื่อ​สนับสนุนก​ าร​เรียน​การ​สอน​และ​การ​วิจัย​ ของ​คณะ​นิเทศศาสตร์ ดัง​รายการ​ต่อ​ไป​นี้ หนังสือภ​ าษา​ไทย 13,410 เล่ม หนังสือ​ภาษ​อังกฤษ 12,604 เล่ม วารสาร​ภาษา​ไทย 18 รายการ วารสาร​ภาษา​อังกฤษ 44 รายการ วารสาร​เย็บ​เล่ม​ภาษา​ไทย 792 เล่ม วารสาร​เย็บ​เล่ม​อังกฤษ 1,729 เล่ม หนังสือพิมพ์​ภาษา​ไทย 11 ฉบับ หนังสือพิมพ์​ภาษา​อังกฤษ 2 ฉบับ วิทยานิพนธ์ 2,862 เล่ม แผ่น CD วิทยานิพนธ์ (PDF File) 560 ชื่อ​เรื่อง การ​ให้​บริการ​ต่างๆ ใน​ปีงบประมาณ 2553 ให้บ​ ริการ​ผู้​ใช้​ห้อง​สมุด ผู้​ใช้ภ​ ายใน​มหาวิทยาลัย บุคคล​ภายนอก ให้บ​ ริการ​ยืม​หนังสือ, วิทยานิพนธ์ จำ�นวน​ที่​นั่ง คอมพิวเตอร์เ​พื่อ​ค้น​ข้อมูล

8,183 2,143 6,365 125 9

คน คน เล่ม ทีน่​ ั่ง เครื่อง

ฐาน​ข้อมูล Chulalinet TJI วิทยานิพนธ์ (PDF File) จำ�นวน​ผใู้​ช้​บริการ​ห้อง​สมุด​โดย​รวม​ประจำ�​ปี 2548 - 2553 ปี พ.ศ. 2549 จำ�นวนผู้ใช้บริการห้องสมุด 19058

2550 16579

2551 15194

2552 12860

2553 10326


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: สถิติการใช้ห้องสมุด คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 (ตุลาคม 2552 - กันยายน 2553)

36


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

37

นิ เทศจุ ฬ าฯ สอนเราให้

เที่ย งตรง

ที่​นี่...เรา​สอน​นิสิต​ของ​เรา​ให้​ยึด​มั่น​ใน​คุณธรรม​ของ​วิชาชีพ ด้วย​การ​แยกแยะ​ให้​ยอมรับข​ ้อเ​ท็จ​จริงข​ อง​การ​ทำ�​ธุรกิจ​สื่อ แม้​จะ​แสวงหา​กำ�ไร​​ก็ตาม... แต่​ต้อง​ไม่ล​ ืม​ถึง​บุคลิก​ความ​เที่ยง​ตรง​และ​เที่ยง​ธรรม ​ใน​การนำ�​เสนอ​ข้อมูล​ข่าวสาร ความ​คิดเ​ห็น​สู่​ประชาชน


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต

ปีงบประมาณ 2553 คณะ​นิเทศศาสตร์​ได้​จัดสรร​งบ​ประมาณ​สนับสนุน​การ​จัด​โครงการ/กิจกรรม​นิสิต โดย​มุ่ง​เน้น​ การ​พัฒนา​นิสิต ได้แก่

กิจกรรม/โครงการ​ของ​นิสิต​ภาค​วิชาการ​สื่อสาร​มวลชน

38

โครงการ​ฝึก​ปฏิบัติ​งาน​อาชีพ​ด้าน​วิทยุ​โทรทัศน์ กำ�หนด​วัน​จัด​โครงการ ระหว่าง​วันท​ ี่ 28 กันยายน - 23 ตุลาคม พ.ศ.2552 สถาน​ที่ องค์การ​กระจาย​เสียง​และ​แพร่​ภาพ​สาธารณะ​แห่ง​ประเทศไทย (TPBS) จำ�นวน​ผู้​เข้าร​่วม​โครงการ นิสิต​ปริญญา​ตรีช​ ั้น​ปี​ที่ 4 จำ�นวน 11 คน ผู้รับ​ผิด​ชอบ ผู้​ช่วย​ศาสตรา​จาร​ย์ณาณัฎฐ์​ธัญ วงศ์​บ้าน​ดู่ ผล​การ​ด�ำ เนิน​งาน ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​เป็น​อย่าง​ดี ได้​รับ​ความ​ช่วย​เหลือ​จาก​สถานีฯ ใน​การให้​คำ�​แนะนำ�​ ดูแล และ​ให้โ​อกาส​ใน​การ​ฝึกป​ ฏิบัตงิ​าน เป็นท​ ี่​ยอมรับข​ อง​เจ้าห​ น้าท​ ี่​สถานีฯ โดย​พิจารณา ได้​จาก​ใบ​ประเมิน​ผล​การ​ปฏิบัตฝิ​ ึกงาน​ของ​นิสิตแ​ ต่ละ​คน

โครงการ JUNIOR PROJECT (สถานี​วิทยุ​กระจาย​เสียง​ภาค​ทดลอง​เพื่อ​เด็ก GO GROW)

กำ�หนด​วัน​จัด​โครงการ สถาน​ที่ จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ ผู้รับ​ผิด​ชอบ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน

ประชุม​ปฏิบัตกิ​ าร​วัน​ที่ 9 - 11 มกราคม พ.ศ.2553 และ​ออก​อากาศ​วัน​ที่ 2 - 3, 9 -10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 พนาศรม​รีสอร์ท จังหวัด​นนทบุรี และ​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​วิทยุ​กระจาย​เสียง นิสิตป​ ริญญา​ตรี​ชั้น​ปที​ ี่ 3 จำ�นวน 13 คน อาจารย์​มรรยาท อัคร​จัน​ท​โชติ เป็น​ไป​ด้วย​ดี นิสิต​มี​ความ​ตั้งใจ​ใน​การ​หา​ข้อมูล ผลิตร​ายการ​และ​การ​ทำ�งานออก​อากาศ​ อย่าง​ทุ่มเท มี​รายการ​ดีๆ สำ�หรับ​เด็ก หลาย​รายการ อาจารย์​ได้เ​ก็บ​เทป​ไว้​เพื่อน​ ำ�​ไป​ใช้​ เป็นประโยชน์ใ​น​อนาคต​ได้

โครงการ​ฝึก​ปฏิบัติ​งาน​อาชีพ​ด้าน​วิทยุ​กระจาย​เสียง กำ�หนด​วัน​จัด​โครงการ สถาน​ที่ จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ ผู้รับ​ผิด​ชอบ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน

ระหว่าง​วันท​ ี่ 22 มีนาคม - 23 เมษายน พ.ศ.2553 สถานี​วิทยุก​ ระจาย​เสียง​แห่ง​ประเทศไทย จ. หนองคาย, จ.มุกดาหาร, จ. เชียงใหม่ และ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ นิสิตป​ ริญญา​ตรี​ชั้น​ปี​ที่ 3 จำ�นวน 13 คน และ​เจ้า​หน้าที่​ของ​สถานีฯ อาจารย์​มรรยาท อัคร​จันท​ ​โชติ, ผศ.ดร.กิตติ กันภัย และ ผู้​ช่วย​ศาสตรา​จาร​ย์สุรินทร์ อารมณ์​สว่าง นิสิต​ได้​ฝึกฝน​ปฏิบัติ​งาน ทั้ง​ทาง​ด้าน​ฝ่าย​ข่าว ฝ่าย​รายการ ฝ่าย​เทคนิคอย่าง​เต็ม​ที่ แต่ละ​สถานีไ​ด้​เปิดโ​อกาส​ให้​นิสิตท​ ำ�งาน ยอมรับใ​น​ความ​สามารถ​ของ​นิสิต อย่างไร​ก็ตาม ในปี 2553 ด้วย​สถานการณ์​การเมือง​ที่​มี​ความ​ขัด​แย้ง​กัน ทำ�ให้​การ​ทำ�งาน​ของ​นิสิต​ใน​ บาง​สถานีฯ ต้องระมัดระวังเ​รื่อง​ความ​ปลอดภัยเ​พิ่มข​ ึ้น​ด้วย ทั้งนี้ มีเ​จ้าห​ น้าทีค่​ อย​ดูแล​ นิสิตเ​ป็น​อย่าง​ดี


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะนิเทศศาสตร์ โครงการ SENIOR PROJECT กำ�หนด​วัน​จัด​โครงการ สถาน​ที่ จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ ผู้รับ​ผิด​ชอบ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน

จัด​แสดง​ผล​งาน​รายการ​โทรทัศน์​ของ​นิสิต ใน​วัน​เสาร์​ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2553 ห้อง​ประชุม ดร.เทียม โชค​วัฒนา ชั้น 4 ตึก 1 คณะ​นิเทศศาสตร์ นิสิตป​ ริญญา​ตรี​ชั้นป​ ี​ที่ 4 จำ�นวน 11 คน และ​ผู้​เข้า​ชม​รายการ​ภายนอก ผู้​ช่วย​ศาสตราจารย์​เมธา เส​รี​ธนา​วงศ์ มี​การ​จัด​แสดง​ผล​งาน​รายการ​โทรทัศน์​ของ​นิสิต​ภาค​วิชาการ​สื่อสาร​มวลชน จำ�นวน 6 รายการ โดย​มี​วิทยากร​ที่​เป็นว​ ิชาชีพผ​ ลิตร​ายการ​โทรทัศน์ม​ าให้ค​ ำ�​แนะนำ�​ติ​ชม​รายการ ได้แก่ คุณ​ธวัช แสงศรี Co-Producer จาก​รายการเกม​ว ั ด ​ด วง, คุ ณ ​ค ​ร ิ ​ส ​โต​เฟอร์ ชอน วอชิ ง ตั น กรรมการ​ผ ู ้ ​จ ั ด การบริษัท กอ​ริล​ล่า โป​รดักชั่น จำ�กัด และ​คุณ​ธานิน​ท์ ตุ่มไ​ทย​สาคร Producer จาก​รายการ​คิด​ข้าม​เมฆ และ​มี​ผู้​เข้า​ชม​รายการ​เป็นจ​ ำ�นวน​มาก ภาย​หลังจัด​งาน นิสติ ​บาง​คน​ได้ม​ ​โี อกาส​ไป​สมั ภาษณ์​งาน​กบั ​บริษทั ​ทที่ าง​วทิ ยากร​ท�ำ งานอยู่

โครงการ​ฝึก​ภาค​สนาม​ผลิต​รายการ​สารคดี​เชิง​วิเคราะห์

กำ�หนด​วัน​จัด​โครงการ สถาน​ที่ จำ�นวน​ผเู้​ข้า​ร่วม​โครงการ ผู้รับ​ผิด​ชอบ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน

เดือน​มกราคม - มีนาคม พ.ศ.2553 นอก​สถาน​ที่ ใน​กรุงเทพมหานคร นิ สิ ต ​ป ริ ญ ญา​ต รี ​ที่ ​ล ง​ท ะเบี ย น​ร ายวิ ช า 2802423 การ​ผ ลิ ต ​ร ายการ​ส ารคดี โทรทัศน์ จำ�นวน 6 คน ผู้​ช่วย​ศาสตราจารย์​เมธา เส​รี​ธนา​วงศ์ นิสิต​ตระเวน​ถ่าย​ทำ�​รายการ​สารคดี​ทั่ว​กรุงเทพมหานคร สามารถ​ผลิต​รายการสารคดี​ โทรทัศน์ นำ�​เสนอ​เรื่อง​ราว​เกี่ยว​กับ​ชุมชน​แออัด และ​ขอทาน​ใน​กรุงเทพมหานคร แต่​มิได้​ นำ�เผย​แพร่​ออก​อากาศ ณ ที่​ใด

โครงการ​ประชุม​ปฏิบัติ​การ​ด้าน​วิทยุ​โทรทัศน์ (d’CATCH 2010)

กำ�หนด​วัน​จัด​โครงการ สถาน​ที่ จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ ผู้รับ​ผิด​ชอบ

ระหว่าง​วันท​ ี่ 23 มกราคม - 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 Kanda University of International Studies ประเทศ​ญี่ปุ่น นิสิต​ปริญญา​ตรี​ชั้น​ปี​ที่ 4 จำ�นวน 11 คน และ​อาจารย์ นักศึกษา​จาก 4 สถาบัน (Kanda University of International Studies ประเทศ​ญี่ปุ่น, University of Santo Tomas ประเทศ​ฟิลิปปินส์, Communication University of China Nanjing ประเทศ​ สาธารณรัฐป​ ระชาชน​จีน ศูนย์​ข่าวเยาวชน​ไทย) จำ�นวน 80 คน ผู้​ช่วย​ศาสตรา​จาร​ย์ณาณัฎฐ์​ธัญ วงศ์​บ้าน​ดู่

39


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

40

ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน

:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต

ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​อย่าง​สูง ได้​รับคำ�​ชมเชย​จาก​ผู้​เข้า​ร่วม​ประชุม​ใน​ด้านความ​ สมบูรณ์​ของ​เนื้อหา​รายการ​สารคดี​ที่​นำ�​ไป​เสนอ และ​การ​มี​ส่วน​ร่วม​ในกิจกรรม​ต่างๆ ของ​โค​รง​การฯ ขณะ​เดียวกัน​ผู้​ร่วม​ประชุม​ได้​เก็บ​เกี่ยว​ประสบการณ์​อัน​มี​ค่า และ​ ตระหนัก​ถึง​กระบวนการ​สร้างสรรค์​เพื่อการ​สื่อสาร​ในระดับ​นานาชาติ รวม​ถึง​ การ​สร้าง​ความ​สัมพันธ์​อัน​ดี​ที่​นำ�​ไป​สู่​ความ​ร่วม​มือ​ทาง​ด้าน​วิชาการกับ​สถาบัน​ เหล่า​นตี้​ ่อ​ไป​ใน​อนาคต

กิจกรรม/โครงการ​ของ​นิสิต ภาค​วิชา​วาท​วิทยา​และ​สื่อสาร​การ​แสดง โครงการ​บูรณาการ กิจการ​ภาษา และ​สื่อ​การ​แสดง (แบ่ง​จัด​เป็น 2 ครั้ง)

ครั้ง​ที่ 1 จัด​อบรม​เชิง​ปฏิบัตกิ​ าร​โดย​วิทยากร ใน​ระหว่าง​วัน​ที่ 25 มกราคม ถึง​วัน​ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 จัดการ​บรรยาย​พิเศษ​และ​การ​แสดง​ใน​วันท​ ี่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เวลา 13.00-18.00 น. ละครจาก​วรรณ​วิจิตร กฤษณา อโศก​สิน และ​วัน​ที่ 11-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เวลา 13.00-16.00 น. บรรยาย​พร้อม​สาธิต​การ​แสดง Readers Theatre วรรณกรรม​เยาวชน​ส่งเ​สริม​จริยธรรม จัดการ​ประชุม​และ​ประเมิน​ผล ระหว่าง​วนั ท​ ี่ 15-21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ใน​การ​จดั ก​ จิ กรรมระยะเวลา​กอ่ น​การ​แสดง มี​การ​ฝึก​ซ้อม​การ​แสดง ได้​เชิญ​วิทยากร​ฝึก​อบรม​ให้น​ ิสิตเ​พื่อ​เสริม​สร้าง​ความ​รู้​ความ เข้าใจ และ​ประเมินผ​ ล​กิจกรรม​ภาย​หลัง ​เสร็จส​ ิ้น​การนำ�​เสนอ​สู่​สาธารณะ ณ ห้อง​ประชุม ดร.เทียมโชค​วัฒนา (ห้อง​ใหญ่) โดย​มี​ผู้เ​ข้า​ร่วม​งาน​ประมาณ 150 คน ครั้ง​ที่ 2 จัดก​ จิ กรรม​ภาย​ใต้แ​ นวคิดเ​รือ่ ง “หนึง่ เ​รือ่ ง​ใน​หลาก​หลาย​สอื่ ” เพือ่ ​เสริมส​ ร้าง​ความ​รค​ู้ วาม​เข้าใจ​ในเรือ่ ง​ภาษา ไว​ยาก​รณ์​ และ​สื่อ​การ​แสดง โดย​จัด​อบรม​เชิง​ปฏิบัตกิ​ าร​และ​ฝึกซ​ ้อม​ใน​ระหว่าง​วัน​ที่ 9-22 สิงหาคม พ.ศ.2553 และ​จัด​กิจกรรม​ใน​วัน​ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2553 ณ ห้อง​ประชุม ดร.เทียมโชค​วัฒนา โดย​มี​ผเู้​ข้า​ร่วม​ประมาณ 130 คน ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน โครง​กา​รบู​รณา​การ​กิจกรรม​ภาษา และ​สื่อสาร​การ​แสดง เป็น​โครงการ​ที่ประสบ​ผล​สำ�เร็จ​ ตรง​ตาม​วัตถุประสงค์ โดยที่น​ ิสิต​ปัจจุบัน นิสิต​เก่า และ​อาจารย์​ได้​ร่วม​มือ​สร้างสรรค์​ งาน​เผย​แพร่​สู่​สาธารณะ และ​ยัง​เป็นการ​เชื่อม​โยง​นิสิต​กับ​การ​อ่าน เสริม​สร้าง​ศักยภาพ​ นิสิต ทั้งทาง​วิชาการ​และ​ศิลป​วัฒนธรรม


คณะนิเทศศาสตร์

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการ​กิจกรรม​เสริมห​ ลักสูตร​วาท​วิทยา​และ​สื่อ​การ​แสดง

ภาค​วชิ า​วาท​วทิ ยา​และ​สอื่ สาร​การ​แสดง ได้จ​ ดั ก​ จิ กรรม​เกีย่ ว​กบั ว​ฒั นธรรม​และ​การ​อา่ น​กบั ศ​ ลิ ปะ​การแสดง : Readers Theatre เพือ่ เ​สริมส​ ร้าง​ความ​รค​ู้ วาม​เข้าใจ​เกีย่ ว​กบั ห​ นังสือแ​ ละ​การ​อา่ น อันเ​ป็นว​าระแห่งช​ าติต​ าม​ประกาศ​ของ​รฐั บาล โดย​ จัดอ​ บรม​เชิงป​ ฏิบตั ิก​ าร​ใน​วนั ท​ ี่ 7 - 9 สิงหาคม พ.ศ.2553 และ​ไปร่วม​งาน​กบั แ​ ผน​งาน​สร้าง​เสริมว​ฒั นธรรม​การ​อา่ น สสส. ใน​วนั ท​ ี่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2553 ณ สำ�นักงานกลาง​นกั เรียน​คริสเตียน​แห่งป​ ระเทศไทย (สะพาน​หวั ช​ า้ ง) โดย​มผ​ี เ​ู้ ข้าร​ว่ ม​ประมาณ 30 คน ผล​การ​ด�ำ เนิน​งาน นิสติ ใ​ห้ค​ วาม​สนใจ​และ​เข้าร​ว่ ม​จดั ก​ จิ กรรม​เกีย่ ว​กบั ว​ฒั นธรรม​และ​การ​อา่ นกับศ​ ลิ ปะ​การ​แสดง : Readers Theatre และ​ได้ร​บั ค​ วาม​สนใจ​จาก​บคุ คล​ภายนอก พร้อม​มก​ี าร​เสวนาทำ�ให้ก​ าร​ แลก​เปลี่ยน​ความ​รู้​ความ​คิด​เห็น​กว้าง​ขวาง​มาก​ขึ้น

โครงการ​ปริญญา​นิพนธ์​วิชา​เอก​วาท​วิทยา

นิสติ ช​ นั้ ป​ ท​ี ี่ 4 เอก​วาท​วทิ ยา จำ�นวน 6 คน ได้​จดั ง​าน​โครงการ​ปริญญา​นพิ นธ์เ​พือ่ น​ �​ ำ เสนอ​ผล​งานก่อน​ส�ำ เร็จก​ าร​ศกึ ษา ภายใน​งาน​มี​การ​โต้วาทีโ​ดย​นิสิตจ​ ุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย​จาก​คณะ​ต่างๆ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน นิสติ ม​ ค​ี วาม​สามารถ​ใน​การ​ผลิต สร้างสรรค์ บริหาร​จดั การ​กจิ กรรม​รปู แ​ บบต่างๆ ได้​เป็นผ​ ล​ ที่น่าพ​ ึงพ​ อใจ เพราะ​สามารถ​ผลิตส​ ร้างสรรค์ง​าน​ได้อ​ อก​มา​มคี​ ุณภาพ และ​มปี​ ระสิทธิภาพ

โครงการ​ปริญญา​นิพนธ์​วิชา​เอก​สื่อสาร​การ​แสดง

นิสิต​ชั้น​ปี​ที่ 4 เอก​สื่อสาร​การ​แสดง​จำ�นวน 14 คน ได้​จัด​งาน​โครงการ​ปริญญา​นิพนธ์ เพื่อ​นำ�​เสนอผล​งาน​ก่อน​ จบ​การ​ศึกษา โดย​จัด​แสดง​ละคร เรื่อง พันห​ นึ่งร​าตรี ใน​วัน​ที่ 9-10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เรื่อง ลม​หอบ ใน​วัน​ที่ 1-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 และ​เรือ่ ง ตูต​ ู้ เมือ่ ช​ วี ติ ข​ อง​เธอ​ถกู เ​ขา​ทงิ้ จัดแ​ สดง​ในวันท​ ี่ 11-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ณ ห้อง​ประชุม ดร.เทียม โชค​วัฒนา (ห้อง​ใหญ่) มี​ผู้​เข้า​ร่วม​งานประมาณ 300 คน จัด​แสดง​ละคร​เวที​เรื่อง แสง​แห่ง​ศรัทธา​เหนือล​ ำ�นำ�​เจ้าพระยา ใน​วัน​ที่ 18 - 20 ธันวาคม พ.ศ.2552 ณ สถาบัน ปรีดี พนม​ยงค์ สุขุมวิท 55 วัน​ที่ 22-24 มกราคม พ.ศ.2553 ณ ศูนย์​ศิลปะ​และ​วัฒนธรรมแห่ง​กรุงเทพมหานคร รอบ 14.00 น. และ 19.30 น. มีผ​ เู้​ข้า​ชม​ประมาณ 500 คน ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน โค​รง​การฯ ดำ�เนิน​ไป​ได้​ด้วย​ด​เี ป็น​ประโยชน์​ตอ่ ​นสิ ิต​ใน​การเต​ร​ยี ม​ความ​พร้อมเข้า​สู่​วชิ าชีพ ซึ่ง​นับว​ ่าต​ รง​ตาม​วัตถุประสงค์​ทตี่​ ั้ง​ไว้

41


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต

42

กิจกรรม/โครงการ​ของ​นิสิต ภาค​วิชา​การประชาสัมพันธ์ 1. โครงการ​กิจกรรม​เสริม​หลักสูตร​และ​ดู​งาน​นอก​สถาน​ที่ ประกอบ​ไป​ด้วย​วิชา​ต่างๆ ดัง​นี้ิ

• วิชา 2803306 การ​สื่อสาร​เพื่อ​การ​เปลี่ยนแปลง​สังคม วัน​ดำ�เนิน​การ 4 กุมภาพันธ์ 2553 สถาน​ที่ ไร่​ปลูกร​ัก (ไร่​ผัก​ปลอด​สาร​เคมี) จังหวัด​ราชบุรี จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ นิสิตจ​ ำ�นวน 19 คน อาจารย์ 1 คน เจ้า​หน้าที่ 1 คน ผู้รับ​ผิด​ชอบ​โครงการ รศ.ดร.ปาริชาต ส​ถา​ปิตา​นนท์ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน ผล​การ​ประเมินค​ วาม​พงึ พ​ อใจ​ของ​นสิ ติ ใ​น​โครงการ​ศกึ ษา​ดง​ู าน จัดอ​ ยูใ​่ น​ระดับค​ วาม​ พึงพ​ อใจ​มาก​ทสี่ ดุ ด้าน​เอกสาร​ประกอบเนือ้ หา​สาระ สถาน​ที่ กิจกรรม ระยะ​เวลา ส่วน​ข้อ​เสนอ​แนะ อยาก​ให้​จัด​กิจกรรม​อี​กบ่อยๆ • วิชา 2803314 การ​ประชาสัมพันธ์​และ​สังคม วัน​ดำ�เนิน​การ 24 กรกฎาคม 2553 สถาน​ที่ บริษัท ปูนซ​ ิ​เมน​ต์​ไทย จำ�กัด (มหาชน) และ​ชุมชน​ใกล้​เคียง อำ�เภอ​แก่งคอย จังหวัด​สระบุรี จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ นิสิตจ​ ำ�นวน 31 คน อาจารย์ 1 คน และ TA 1 คน ผู้รับ​ผิด​ชอบ​โครงการ รศ.ดร.ปาริชาต ส​ถา​ปิตา​นนท์ ผล​การ​ด�ำ เนิน​งาน ผล​การ​ประเมินค​ วาม​พงึ พ​ อใจ​ของ​นสิ ติ ใ​น​โครงการ​ศกึ ษา​ดง​ู านจัดอ​ ยูใ​่ น​ระดับ ​ ความ​พงึ พ​ อใจ​มาก​ทสี่ ดุ ด้าน​วทิ ยากร กิจก​ รร​รม สถาน​ทก​ี่ าร​เดินท​ าง ระยะ​เวลา ระดับ​ความ​พึง​พอใจ​มาก​ใน​ด้าน​เนื้อหา​ข้อ​เสนอ​แนะ อยาก​ให้​มี​เวลา​ทำ�​ฝาย​ มากกว่าน​ แ​ี้ ละ​การ​ท�ำ CSR ด้าน​อนื่ ๆ อยาก​ให้น​ สิ ติ ล​ งพืน้ ท​ ไ​ี่ ป​คยุ ก​ บั ป​ ระชาชน​ ใน​ชุมชน​เพื่อ​รับ​ฟัง​ความ​คิด​เห็น​ที่​สะท้อน​ออก​มา​โดยตรง เน้น​เนื้อหา​ด้าน​ วิศวกรรม​มาก​เกิน​ไป​อยาก​ให้​จัด​กิจกรรม​อี​กบ่อยๆ


คณะนิเทศศาสตร์

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

43 • วิชา 2803412 การ​เขียน​ขั้น​สูง​เพื่อ​การ​ประชาสัมพันธ์ วัน​ดำ�เนิน​การ 20 ธันวาคม 2552 สถาน​ที่ ศูนย์อ​ นุรกั ษ์ธ​ รรมชาติ บ้าน​ทา่ ด​ า่ น ตำ�บล​หนิ ต​ งั้ อำ�เภอ​เมืองจังหวัดน​ ครนายก จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ นิสิต 38 อาจารย์ 2 คน ผู้รับ​ผิด​ชอบ​โครงการ รศ.กรรณิการ์ อัศว​ดร​เดชา ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน ผล​การ​ประเมินค​ วาม​พงึ พ​ อใจ​ของ​นสิ ติ จ​ ดั อ​ ยูน​่ ะ​ดบั ค​ วาม​พงึ พ​ อ​ใน​การเดินท​ าง ​มาก​ที่สุด และ​ความ​พึง​พอใจ​มาก ใน​ด้าน​เสา​ระ เนื้อหา สถาน​ที่กิจกรรม ระยะ​เวลา ส่วน​ข้อเ​สนอ​แนะ ต้องการ​ลงพื้น​ทจี่​ ริง และ​ข้อมูล​เกี่ยว​กับศ​ ูนย์ฯ ก่อน​ไป​ดู​งาน​จริง • วิชา 2803489 การ​ฝึกงาน​อาชีพ​การ​ประชาสัมพันธ์ชื่อ​โครงการ “ฝึกงาน​อย่างไร​ให้​ได้​ผล” วัน​ดำ�เนิน​การ 3 กุมภาพันธ์ 2553 สถาน​ที่ ห้องประชุมศาสตราจารย์บำ�รุงสุข สีหอ​ ำ�ไพ ตึก 2 ชั้น 1 จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ นิสิต 38 คน อาจารย์ 2 คน เจ้า​หน้าที่ 1 คน ผู้รับ​ผิดช​ อบ​โครงการ รศ.กรรณิการ์ อัศว​ดร​เดชา ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน ผล​การ​ประเมิน​ความ​พึง​พอใจ​ของ​น ิ ส ิ ต ​จ ั ด ​อ ยู ่ ​ใน​ร ะดั บ ด​ ั บ ​ค วาม​พ ึ ง ​พ อใจ มา​ก​ที่สุด​ด้าน​เสื้อ​หา​สาระ วิทยากร กิจกรรม สถาน​ทร่ี ะยะ​เวลา ส่วน​ขอ้ เ​สนอ​แนะ ความ​จดั ก​ ิจกรรม​ก่อน​ที่น​ ิสิตจ​ ะ​เลือก​ที่ฝ​ ึกงาน​เพื่อที่​จะ​ได้​ทราบ​ว่า​อยาก​ฝึก Agency หรือ​องค์กร ทำ�ให้​รู้​ว่า​ต้องเต​รี​ยม​ตัวอย่างไร​ก่อน​ไป​ฝึกงาน และ​ ใช้​เวลา​สัมมนา​มาก​ไป ควร​จัด​ช่วง​เดือนพฤศจิกายน • วิชา 2803671 การ​วางแผน​และ​การ​ประเมิน​ผล​โครงการ​ด้าน​นิเทศศาสตร์ (ภาค​ใน​เวลา​ราชการ) วัน​ดำ�เนิน​การ 22-23 มกราคม 2553 สถาน​ที่ อุทยาน​แห่ง​ชาติเ​ขา​ใหญ่​แหล่ง​ท่อง​เที่ยว​ใน​เขต อำ�เภอ​ปากช่อง จังหวัด​นครราชสีมา จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ นิสิต 14 คน อาจารย์ 1 คน เจ้า​หน้าที่ 1 คน ผู้รับ​ผิดช​ อบ​โครงการ รศ.ดร.ปาริชาต ส​ถา​ปิตา​นนท์ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน ผล​การ​ประเมินค​ วาม​พงึ พ​ อใจ​ของ​นสิ ติ จ​ ดั อ​ ยูใ​่ น​ระดับค​ วาม​พงึ พ​ อ​ใน​การเดินท​ าง​ มาก​ทสี่ ดุ ด้าน​เนือ้ หา​สาระ สถาน​ที่ ประโยชน์ท​ ไ​ี่ ด้ร​บั จ​ าก​การ​ดง​ู าน ระดับค​ วาม ​พึงพ​ อใจ​มาก ใน​ดา้ น​กจิ กรรม การ​เดินท​ าง ระยะ​เวลา เนือ้ หา เอกสาร​ประกอบ ส่วน​ข้อ​เสนอ​แนะ ควร​เพิ่ม​ระยะ​เวลา​ใน​การ​ดู​งาน และ​ต้องการ​งบ​ประมาณ สำ�หรับ​การ survey


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

44

:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต

• วิชา 2803671 การ​วางแผน​และ​การ​ประเมิน​ผล​โครงการ​ด้าน​นิเทศศาสตร์ (ภาค​นอก​เวลา​ราชการ) วัน​ดำ�เนิน​การ 16-17 มกราคม 2553 สถาน​ที่ สถานี​วิทยุ​ชุมชน​และ​การ​พัฒนา​ชุมชน​ของ​หน่วย​บัญชาการ​ทหารพัฒนา จังหวัดก​ าญจน​บุรี จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ นิสิต 17 คน อาจารย์ 1 คน ผู้รับ​ผิด​ชอบ​โครงการ รศ.ดร.ปาริชาต ส​ถา​ปิตา​นนท์ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน ผล​การ​ประเมิน​ความ​พึง​พอใจ​ของ​นิสิต​จัด​อยู่​ใน​ระดับ​ความ​พึง​พอ​ใน​การ เดินทางมาก​ที่สุด ด้าน​เนื้อหา​สาระ กิจกรรม สถาน​ที่ การ​เดิน​ทาง ประโยชน์​ ที่​ได้​รับ​จาก​การ​ศึกษา​ดู​งาน ระดับ​ความ​พึงพ​ อใจ​มาก ด้าน​ระยะ​เวลา ระดับ​ ความ​พงึ พ​ อใจ​ปาน​กลาง เอกสาร​ประกอบ​การ​ดง​ู าน ส่วน​ขอ้ เ​สนอ​แนะ เนือ้ หา​สาระ ใน​การนำ�​เสนอ​มาก​ไป​ท�ำ ให้ร​วบรัดใ​ห้ก​ ระชับท​ �ำ ให้เ​นือ้ หา​ส�ำ คัญบ​ าง​สว่ น​หาย​ไป • วิชา 2803605 การ​บริหาร​งาน​ประชาสัมพันธ์ (ภาค​ใน​เวลา​ราชการ​และ​นอก​เวลา​ราชการ) วัน​ดำ�เนิน​การ 15-18 มกราคม 2553 สถาน​ที่ บริษัท​เชียง​ใหม่​ธนา​ธร จำ�กัด อำ�เภอ​ฝาง จังหวัดเ​ชียงใหม่ จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ นิสิต 35 คน อาจารย์ 2 คน เจ้า​หน้าที่ 1 คน ผู้รับ​ผิด​ชอบ​โครงการ ผศ.ดร.พนม คลี่​ฉายา และ รศ.​พัชนี เชย​จรรยา ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน ผล​การ​ประเมินค​ วาม​พึงพ​ อใจ​ของ​นิสิตจ​ ัดอ​ ยูใ่​น​ระดับค​ วาม​พึงพ​ อใจปาน​กลาง ด้าน​เนื้อหา​สาระ กิจกรรม สถาน​ที่ การ​เดิน​ทาง ระยะ​เวลา ประโยชน์ท​ ไี่​ด้​รับ​ จาก​การ​ศึกษา​ดู​งาน​ส่วน​ข้อเ​สนอ​แนะ​ควร​เลือกองค์การ​ที่​เด่น​ใน​ด้าน​การ​ ประชาสัมพันธ์​ใช้เ​วลา​กับ​บาง​ทมี่​ าก​เกิน​ไป และ​ไม่​เกีย่ วข้อง​กบั ​เนือ้ หา​ท​ต่ี อ้ งการ ควร​จัด​รถ​คัน​เดียวกัน จัด​ตารางให้ช​ ัดเจน​จะ​ได้​กำ�หนด​วัน​เวลา​ใน​การ​เดิน​ทาง​ กลับ​ได้ถ​ ูก

2. โครงการ​ศึกษา​ดู​งาน​ด้าน​การ​ประชาสัมพันธ์ ณ ต่าง​ประเทศ​ระดับ​ปริญญา​โท (ภาค​ใน​เวลา​และ​นอก​เวลา​ราชการ)

วัน​ดำ�เนิน​การ สถาน​ที่ จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ ผู้รับ​ผิด​ชอบ​โครงการ

2-6 เมษายน 2553 ประเทศ​สาธารณรัฐเ​กาหลี นิสิต 4 คน อาจารย์ 4 คน ผศ.ดร.พนม คลี่​ฉายา และ รศ.พัชนี เชย​จรรยา


คณะนิเทศศาสตร์ ผล​การ​ด�ำ เนิน​งาน

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผล​การ​ประเมินค​ วาม​พึงพ​ อใจ​ของ​นิสิตจ​ ัดอ​ ยู่ใ​น​ระดับค​ วาม​พึงพ​ อใจมาก ด้าน​เอกสาร​ประกอบ เนื้อหา​สาระ กิจกรรม สถาน​ที่ การ​เดินท​ าง ระยะ​เวลา และ​ประโยชน์ท​ ี่ไ​ด้ร​ับจ​ าก​การ​ศึกษา​ดูง​าน ส่วน​ข้อเ​สนอ​แนะให้ป​ รับเ​รื่อง​ระยะ​ เวลา​บาง​ที่ม​ ีก​ ิจกรรม​ที่เ​ป็นป​ ระโยชน์ม​ าก​แต่ต​ ิดด​ ้วย​เวลา​ทำ�ให้ศ​ ึกษา​ได้​ ไม่​ครบ​ถ้วนและ​อยาก​ให้ม​ ี​การ​ศึกษา​ดู​งาน​แบบ​นี้​อีก

3. โครงการ สัมมนา​วิชาการ​เรื่อง “ล้วง แคะ แกะ เกา ปราก​ฎ​การณ์ เกาหลี​ฟีเวอร์” ระดับ​ปริญญา​โท (ภาค​ใน​เวลา​ราชการ) วัน​ดำ�เนิน​การ สถาน​ที่ จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ ผู้รับ​ผิดช​ อบ​โครงการ ผล​การ​ด�ำ เนินง​าน

3 สิงหาคม 2553 ห้อง​ประชุม ดร.เทียม โชค​วัฒนา บุคคล​ภายนอก 106 คน รศ.ดร.ปาริชาต ส​ถา​ปิตา​นนท์ ผล​การ​ประเมินค​ วาม​พึง​พอใจ​ของ​นิสิต​จัด​อยู่ใ​น​ระดับ​ความ​พึง​พอใจมาก​ที่สุด ด้าน​เนื้อหา​สาระ วิทยากร และ​ประโยชน์​ที่​ได้​รับ​จาก​การเข้า​ร่วม​สัมมนา ระดับ​ความ​พึงพ​ อใจ​มาก ด้าน​เอกสาร​ประกอบ​การสัมมนา ด้าน​กิจกรรม ด้านเครื่อง​โสตฯ ด้าน​ระยะ​เวลา ส่วน​ข้อ​เสนอแนะผู้​เข้า​ร่วม​สัมมนา​ต้องการ​ ให้​มี​การ​ประชาสัมพันธ์​ให้​แพร่​หลายมากกว่า​เดิม ระยะ​เวลา​การ​สัมมนา​เช้า​ เกิน​ไป ควร​จัด​ช่วง​บ่าย​หรือเย็น​ทำ�ให้​มี​ผเู้​ข้า​ร่วม​มากกว่า​นี้

4. โครงการ สัมมนา​วิชาการ​เรื่อง “Social Media พื้นที่​ของ​เรา ของ​เขา​หรือ​ของ​ใคร?” ระดับ​ปริญญา​โท (ภาค​นอก​เวลา​ราชการ) วัน​ดำ�เนิน​การ สถาน​ที่ จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โครงการ ผู้รับ​ผิดช​ อบ​โครงการ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน

9 สิงหาคม 2553 ห้อง​ประชุม ดร.เทียม โชค​วัฒนา บุคคล​ภายนอก 103 คน รศ.ดร.ปาริชาต ส​ถา​ปิตา​นนท์ ผล​การ​ป ระเมิ น ​ค วาม​พ ึ ง ​พ อใจ​ข อง​น ิ ส ิ ต ​จ ั ด ​อ ยู ่ ​ใน​ร ะดั บ ​ค วาม​พ ึ ง ​พ อใจ มาก​ที่สุด ด้าน​วิทยากร ระดั บ ​ค วาม​พ ึ ง ​พ อใจ​ม าก ด้ า น​เนื ้ อ หา​ส าระ เอกสาร​ประกอบ เนื้อหา กิจกรรม เครื่อง​มือ​โสตฯ เวลา และประโยชน์ที่​ได้​รับ​ จาก​การ​สัมมนา

45


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต

กิจกรรม/โครงการ​ของ​นิสิต สาขา​วิชาการ​จัดการ​การ​สื่อสาร (หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ) โครงการ​ผลิต​สื่อ​สิ่ง​พิมพ์​และ​มัลติมีเดีย​เพื่อ​การ​ประชาสัมพันธ์

46

เป็นส​ ่วน​หนึ่งข​ อง​รายวิชา 2800472 Advanced Reporting and Editing สำ�หรับน​ ิสิตช​ ั้นป​ ี​ที่ 4 โดย​มีวัตถุประสงค์​ เพื่อ​ฝึกฝน​ใน​นิสิต​ได้​พัฒนา​ทักษะ ความ​รู้ และ​ความ​สามารถ​ใน​การ​รายงาน​ข่าว และ​การบริหาร​จัดการ​สื่อ ใน​การ​ ผลิต​สื่อ​สิ่ง​พิมพ์​เพื่อ​การ​ประชาสัมพันธ์ และ​สนับสนุน​ให้​นิสิต​ได้​ใช้​ประโยชน์จาก​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​ใน​กระบวนการ​ ค้นคว้า​และ​รวบรวม​ข้อมูล เพื่อ​งาน​ด้าน​ข่าวสาร​และ​การวิเคราะห์ การ​ดำ�เนิน​โครงการ​แบ่ง​ออก​เป็น 2 ช่วง คือ ภาค​การ​ศึกษา​ต้น ปี​การ​ศึกษา 2552 (เดือนสิงหาคม - เดือน​ธันวาคม พ.ศ.2552) และ​ภาค​การ​ศึกษา​ปลาย ปี​การ​ศึกษา 2552 (เดือน​มกราคม- เดือน​พฤษภาคม พ.ศ.2553) มี​นิสิตด​ ำ�เนิน​โครงการ​จำ�นวน 90 คน โดย​จัด​กิจกรรม​ให้​นิสิต​ แบ่ง​กลุ่มเพื่อ​ผลิตส​ ื่อส​ ิ่ง​พิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์แ​ จก ฯลฯ ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน นิสิต​สามารถ​นำ�​ความ​รู้ ทั้ง​ภาค​ทฤษฎี​และ​ปฏิบัติ​มา​ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​ผลิต สื่อ​สิ่ง​พิมพ์​และ​สื่อ​ออนไลน์​เพื่อ​การ​ประชาสัมพันธ์ และ​ได้​เรียน​รู้​การ​วางแผน​ จัดการ การ​ประเมิน​ผลการ​ผลิตส​ ื่อ​ได้เ​ป็น​อย่าง​ดี

โครงการ​กิจกรรม​เสริม​หลักสูตร/ดู​งาน​นอก​สถาน​ที่

2.1 วิชา Introduction to Computer นำ�​นิสิต​เยี่ยม​ชม​เทคโนโลยี​และ​เทคนิค​การ​ฉาย​ภาพยนตร์ 4 มิติ ณ สยาม​โอ​เชี่ยน​เวิลด์ สยาม​พา​รา​กอน เมื่อ​วันท​ ี่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 มี​นิสิตเ​ข้า​ร่วม​จำ�นวน 53 คน 2.2 วิ ช า 2800209 Thai Culture สำ � หรั บ ​นิ สิ ต ​ชั้ น ​ปี ​ที่ 1 นำ �​นิ สิ ต ​เยี่ ย ม​ช ม​กิ จ การ​โครงการ หรื อ กิจกรรม​ที่​น่า​สนใจ​และ​เป็น​ประโยชน์​ใน​การ​เสริม​สร้าง​ความ​รู้​ใน​ด้าน​การ​บริหาร​จัดการ​การ​สื่อสารให้​กว้าง​ขวาง​ยิ่ง​ขึ้น ได้แก่ • ทัศนศึกษา ณ พระที่นั่งว​ ิมาน​เมฆ วัน​พฤหัสบดีท​ ี่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2552 จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม โค​รง​การฯ 48 คน • ทัศนศึกษา ณ จังหวัดส​ มุทรปราการ วัน​พฤหัสบดี​ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2552 จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โค​รง​การฯ 53 คน • ทัศนศึกษา ณ โรง​ละคร​สยาม​นิรมิต วัน​พฤหัสบดี​ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2552จำ�นวน​ผู้​เข้า​ร่วม​โค​รง​การฯ 62 คน 2.3 วิชา 2800361 Computer Graphic for Communication นำ�​นิสิต​ดู​งาน ณ Thailand Creative & Design Center เพื่อ​เป็นป​ ระโยชน์​ใน​การ​เสริม​สร้าง​ความ​รู้​ใน​ด้าน​การ​บริหาร​จัดการ​การสื่อสาร​ให้​กว้าง​ขวาง​ขึ้น


คณะนิเทศศาสตร์

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.4 วิ ช า 2800356 Communication Campaign Management (การ​บ ริ ห าร​ก าร​สื่ อ สาร รณรงค์) ได้​จัด​โครงการ​ศึกษา​ดู​งาน​ด้าน​การ​บริหาร​การ​สื่อสาร​รณรงค์ (Communication Campaign Management) ขึ้น เพื่อ​ส่ง​เสริม​ให้​นิสิต​พัฒนา​กระบวนการ​เรียน​รู้​ผ่าน​การ​ทดลอง​ปฏิบัติ​การ​จัด​กิจกรรม และ​ดำ�เนิน​การ​รณรงค์​อย่าง​เป็น​รูป​ธรรม โดย​นิสิต​จะ​ต้อง​ได้​รับ​ความ​รู้​ผ่าน​ประสบการณ์​ตรง​ที่​เกี่ยวข้อง กั บ ​ก าร​ร ณรงค์ อาทิ การ​ส ร้ า ง​ส าร​สำ � หรั บ ​ก าร​ร ณรงค์ การ​เลื อ ก​ใ ช้ ​ช่ อ ง​ท างการ​สื่ อ สาร​ที่ ​เหมาะ​ส มใน การ​รณรงค์ ใน​วิชา​ดัง​กล่าว​จึง​มี​การ​เดิน​ทาง​ไป​ศึกษา​ดู​งาน​ใน​ประเด็น​ที่​เกี่ยวข้อง​เพื่อ​เป็นการ​เปิด​โลกทัศน์ และ​ส ร้ า ง​แ รง​บั น ดาล​ใ จ​ใ น​ก าร​ดำ � เนิ น ​โครงการ​ร ณรงค์ ​ใ ห้ ​เกิ ด ​ป ระสิ ท ธิ ภ าพ​สู ง สุ ด โดย​นำ �​นิ สิ ต ​ไ ป​ดู ง าน ณ ฟาร์ม​โชคชัย และ​พา​ลิ​โอ เขา​ใหญ่ จังหวัด​นครราชสีมา วัน​ที่ 21 เมษายน พ.ศ.2553 มี​นิสิต​เข้า ร่วม​โครงการ​ทั้งส​ ิ้น 72 คน ผล​จาก​การ​ดำ�เนิน​การ นิสิต​ได้​รับ​ประสบการณ์​ตรง​จาก​การ​เยี่ยม​ชม​พื้นที่​และ​ร่วม​กิจกรรม​การสื่อสาร​ ใน​พื้นที่​เป้า​หมาย สามารถ​ประยุกต์​ใช้​แนวคิด และ​ทฤษฎี​ด้าน​การ​รณรงค์​ใน​การ วิเคราะห์​กิจกรรมการ​สื่อสาร​ใน​บริบท​ที่​เกี่ยวข้อง รวม​ทั้ง​นำ�​มา​ใช้​ใน​การ​จัด​กิจกรรม​ การ​สื่อสาร​ของ​กลุ่ม

โครงการ​กิจกรรม​เสริม​หลักสูตร/สร้าง​ความ​สัมพันธ์

โครงการ​แข่งขัน​กีฬา CU Inter Games ครั้ง​ที่ 4

เป็ น ​กิ จ กรรม​จั ด การ​แ ข่ ง ขั น ​กี ฬ า​ร ะหว่ า ง​นิ สิ ต ​ข อง​แ ต่ ล ะ​ค ณะ​ที่ ​เปิ ด ​ส อน​ห ลั ก สู ต ร​น านาชาติ ​ใ น​ร ะดั บ ปริญญา​ตรี ซึ่ง​ปัจจุบัน​มี​จำ�นวน 7 คณะ โดย​มี​วัตถุประสงค์​เพื่อ​ส่ง​เสริม​ทักษะ​ทาง​ด้าน​กีฬา​และ​จริยธรรม ความ​มี​นำ�ใจ รู้จัก​แพ้​และ​รู้จัก​ชนะ เสริม​สร้าง​ความ​สัมพันธ์​อัน​ดี​งาม​ระหว่าง​นิสิต​คณะ​ต่างๆ และ​เป็นการ เปิด​โอกาส​ให้​นิสิต​ได้​ทำ�ความ​รู้จัก​เพื่อน​ต่าง​คณะ เพื่อ​แลก​เปลี่ยน​ประสบการณ์​และ​ความ​คิด​เห็น เสริมสร้าง ​ความ​ส ามั ค คี กระตุ้ น ​ใ ห้ ​นิ สิ ต ​เกิ ด ​ค วาม​รั ก ​ใ น​ส ถาบั น ปลู ก ​ฝั ง ​ใ ห้ ​นิ สิ ต ​รู้ จั ก ​ก าร​ทำ � งาน​เป็ น ​ห มู่ ​ค ณะ ฝึกการ​บริหาร​และ​จัดการ​งาน​ต่างๆ และ​การ​แก้ไข​ปัญหา​ที่​เกิด​ขึ้น​เฉพาะ​หน้า อีก​ทั้ง​เป็น​เวที​ให้​นิสิต​ได้​แสดง ความ​สามารถ​พิเศษ นอก​เหนือ​จาก​การ​เรียน​รู้​ตาม​หลัก​วิชา​ของ​คณะฯ ทั้ง​ใน​ด้าน​การ​ปฏิบัติ​งาน​จริง โดย มี​นิสิต​ของ​หลัก​สูตรฯ เข้า​ร่วม​จำ�นวน 300 คน

โครงการ​สาน​สัมพันธ์​รุ่น​พี่​รุ่น​น้อง

เพื่อ​เสริม​สร้าง​ความ​สามัคคี และ​เปิด​โอกาส​ให้​รุ่น​พี่​รุ่น​น้อง​ได้​ทำ�ความ​รู้จัก​กัน ใน​การ​ทำ�​กิจกรรม​ร่วมกัน ซึ่ ง ​ใ น​แ ต่ ล ะ​กิ จ กรรม​นั้ น ​น อกจาก​ค วาม​ส นุ ก สนาน​ที่ ​ไ ด้ ​รั บ ​แ ล้ ว ยั ง ​เป็ น การ​ส ร้ า ง​สั ม พั น ธไมตรี ​อั น ​ดี ​ง าม ระหว่าง​นิสิต​รุ่น​พี่​และ​รุ่น​น้อง โดย​ได้​จัด​ขึ้น​ใน​ช่วง​เดือน​เดือน​มิถุนายน พ.ศ.2553 มี ​นิสิต​ของ​หลัก​สูตรฯ เข้า​ร่วม​ประมาณ 200 คน

47


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต คณะนิเทศศาสตร์ โครงการ Exchange Student Society

48

เพื่อ​เปิด​โอกาส​ให้​นิสิต​ได้​มี​ปฏิสัมพันธ์​ใน​เชิง​วิชาการ​กับ​นิสิต​ต่าง​ชาติ​ที่​เข้า​ร่วม​โครงการ​แลก​เปลี่ยน เสริม​สร้าง​ความ​สัมพันธ์​อัน​ดี​งาม​ระหว่าง​นิสิต​ใน​คณะฯ และ​นิสิต​แลก​เปลี่ยน และ​เป็นการ​เปิด​โอกาส ให้​นิสิต​ได้​ทำ�ความ​รู้จัก​เพื่อน​ต่าง​ชาติ เพื่อ​แลก​เปลี่ยน​ประสบการณ์ วัฒนธรรม​และ​ความ​คิด​เห็น​ใน​การ เรียน​และ​การ​ใช้​ชีวิต รวม​ถึง​เป็นการ​สร้าง​ปฏิสัมพันธ์​กับ​นิสิต​ชาว​ต่าง​ชาติ ทั้ง​ใน​บริบท​ของ​ห้องเรียน และ กิจกรรม​เสริม​หลัก​สูตรฯ ได้​มี​นิสิต​ต่าง​ชาติ​สมัคร​เข้า​ร่วม​เป็น​นิสิต​แลก​เปลี่ยน และ​เข้า​ร่วม​ศึกษา​กับ​นิสิต ของ​หลัก​สูตรฯ จำ�นวน 5 คน โดย​นำ�​นิสิต​ของ​หลัก​สูตรฯ และ​นิสิต​แลก​เปลี่ยน​เดิน​ทาง​ไป​ปลูก​ป่า​โกงกาง ณ ตำ�บล​คลอง​โคน จังหวัด​สมุทรสงคราม ใน​วัน​ที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2553 มีน​ ิสิต​และ​เจ้า​หน้าที่​หลัก​สูตรฯ เข้า​ร่วม​ดำ�เนิน​โครงการ​จำ�นวน 35 คน

โครงการ​อุดหนุน​การ​แข่งขัน​โต้​สาระ​วาที​ภาษา​อังกฤษ

กลุ่ม​โต้​สาระ​วาที​ภาษา​อังกฤษ จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย ได้​มี​การ​รวม​กลุ่ม​กัน​เพื่อ​จัด​กิจกรรม เกี่ยว​กับ​การ​โต้วาที และ​ฝึก​ซ้อม​นิสิต​ใน​กลุ่ม​เพื่อ​เข้า​ร่วม​โครงการ​แข่งขัน​โต้วาที​ใน​ระดับ​นานาชาติ อัน เป็นการ​สร้าง​ทักษะ​ใน​การนำ�​เสนอ​ต่อ​ที่​สาธารณะ และ​ตั้งแต่​ปี​การ​ศึกษา 2551 เป็นต้น​มา นิสิต​หลักสูตร นิเทศ​ศาสตร​บัณฑิต สาขา​วิชาการ​จัดการ​การ​สื่อสาร (หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ) ที่​เข้า​ร่วม​กลุ่ม​โต้​สาระ​วาที ภาษา​อังกฤษ ได้​รับ​รางวัล​ใน​การ​จัดการ​แข่งขัน​โต้วาที​มา​โดย​ตลอด ถือ​เป็นการ​สร้าง​ชื่อ​เสียง​ให้​กับ หลัก​สูตรฯ และ​คณะ​นิเทศศาสตร์ ใน​ปี​การ​ศึกษา 2552 นี้ มี​นิสิต​ของ​หลัก​สูตรฯ จำ�นวน 4 คน ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​เข้า​ร่วม​การ​แข่งขัน “1st United Asia Debating Championship” ระหว่าง​วัน​ที่ 12-19 พฤษภาคม พ.ศ.2553 ณ มหา​วิทยา​ลัย​อัส​สัมชัญ ซึ่ง​เป็น​กิจกรรม​ที่​ส่ง​เสริม​และ​พัฒนา​ทักษะ​การนำ�​เสนอ บุคลิกภาพ และ กระบวนการ​เรียน​รู้​นอก​ห้องเรียน​ให้​กับ​นิสิต โดย​มี​นิสิต​ของ​หลัก​สูตรฯ ที่​ได้​รับ​คัด​เลือก​จำ�นวน 4 คน ดังนี้ 1. นาง​สาว​ศโิ​ย​รี ไทย​ตระกูลพ​ าณิช เลข​ประจำ�​ตัว​นิสิต 514 53907 28 2. นางสาว​กัญ​ญาณั​ฐ ปิติ​เจริญ เลข​ประจำ�​ตัว​นิสิต 514 53083 28 3. หม่อม​หลวง​อร​อำ�​ภา สุขสวัสดิ์ เลข​ประจำ�​ตัว​นิสิต 514 54106 28 4. นางสาว​นวล​พรรณ เกตุ​มาน เลข​ประจำ�​ตัว​นิสิต 524 53215 28


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: วิเทศสัมพันธ์ และโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

49

วิเทศสัมพันธ์ และ​โครงการ​แลก​เปลี่ยน​นักศึกษา

จาก​การ​ที่​จุฬาลงกรณ์ม​ หาวิทยาลัยม​ ีนโ​ย​บาย​ให้​หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ และ​หลักสูตร​นานาชาติเ​ป็น​กลไก​เพิ่ม​ศักยภาพ​ การ​แข่งขัน​ใน​การ​จัดการ​การ​ศึกษา​ซึ่ง​นับ​วัน​จะ​รุนแรง​มาก​ขึ้น​จาก​การ​เปิด​เสรี​ทางการ​ศึกษา หลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​บัณฑิต สาขา​วิชาการ​จัดการ​การ​สื่อสาร (หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ) ซึ่ง​จัดการ​เรียน​การ​สอน​เป็น​ภาษา​อังกฤษ จึง​จำ�เป็น​ต้อง​ดำ�เนิน​ การ​ติดต่อแ​ ละ​ประชาสัมพันธ์ไ​ป​ยังห​ น่วย​งาน​ราชการ​และ​หน่วย​งานการ​ศึกษา​ต่างๆ ใน​ต่าง​ประเทศ ทำ�ให้เ​กิดก​ ิจกรรม​ต่างๆ ที่​สนับสนุน​นโยบาย​ดัง​กล่าว ดังนี้ ความ​ร่วม​มือ​กับ​อาจารย์​มหาวิทยาลัย​ที่​มีชื่อ​เสียง​ใน​ต่าง​ประเทศ หลักสูตร​ต้อนรับ​อาคันตุกะ​จาก​ต่าง​ประเทศ​ที่​เดิน​ทาง​มา​กระชับ​ความ​สัมพันธ์/ติดตาม​ความ​ก้าวหน้าใน​การ​ดำ�เนิน​ กิจกรรม​ความ​ร่วม​มือ/ขยาย​ความ​ร่วม​มือ เจรจา​ปรับ​แก้ไข​สัญญา​ความ​ร่วม​มือ ดังนี้ ชื่อ Dr. Chris Wensley Mr. Herbert Schmid-Eickhoff Prof. Dr. Howard W. Combs Ms. Rachel Bilson Assoc. Prof. Dr. Mohd Ismid Mohd Said Ms. Siti Rahimah Binti Mohd Yusop Dr. Thomas Hanitzcsh Mr. Jeffery Soong Mr. Joseph Tort Dr. Liam Morgan

มหาวิทยาลัย Bournemouth Macromedia University San Jose State University Goldsmiths Collage, U of London Universiti Teknologi Malaysia Universiti Teknologi Malaysia Ludwig-Maximilians-Univeritat Munchen (LMU) Liverpool John Moores University U. of Northern Colorado U. of Technology, Sydney

ประเทศ UK Germany USA UK Malaysia Malaysia Germany

วัน​ที่ 26/11/53 23/12/53 17/12/53 21/01/54 02/02/54 02/02/54 03/02/54

UK 16/03/54 USA 15/06/54 Australia 30/06/54


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: วิเทศสัมพันธ์ และโครงการแ

การ​สร้าง​เครือ​ข่าย​กับ​มหาวิทยาลัย​ต่าง​ประเทศ

โดย​ใน​ปี​ที่​ผ่าน​มา​มี​ผู้​บริหาร​และ​คณาจารย์​เดิน​ทาง​ไป​เจรจา​กิจการ​ต่าง​ประเทศ และ​กระชับ​สัมพันธไมตรี กับ​มหาวิทยาลัยต​ ่าง​ประเทศ​ดังนี้

50

ผู้​ดำ�เนิน​การ อาจารย์ James R. Haft รศ.ดร.ยุบล เบ็ญ​จรงค์​กิจ และ ผศ.ดร.วร​วรรณ องค์​ครุฑ​รักษา รศ.ดร.ยุบล เบ็ญ​จรงค์​กิจ และ ผศ.ดร.วร​วรรณ องค์​ครุฑ​รักษา อาจารย์ James R. Haft อาจารย์ส​ มิทธิ์ บุญ​ชุติมา

มหาวิทยาลัย University of Hong Kong

ประเทศ จีน

San Jose State University Macquarie University University of Technology, Sydney New York University Columbia University NAFSA 2011 ANNUAL CONFERENCE & EXPO

สหรัฐอเมริกา 24/02/2554 - 06/03/2554 ออสเตรเลีย

วัน​ที่ 28-31/06/2553

03-10/05/2554

สหรัฐอเมริกา 20/05/2554 - 10/06/2554 แคนาดา

24/05/2554 - 03/06/2554

การ​สร้าง​ความ​ร่วม​มือ​กับ​มหาวิทยาลัย​ต่าง​ประเทศ

คณะฯ ได้​ดำ�เนิน​การ​สร้าง​ความ​ร่วม​มือ​และ​กระชับ​ความ​สัมพันธ์​กับ​มหาวิทยาลัย​ต่าง​ประเทศ​ในระ​ดับ​คณะฯ มา​อย่าง​ต่อ​เนื่อง เพื่อ​นำ�​ไป​สู่​การ​พัฒนา​ใน​ด้าน​ต่างๆ ร่วม​กัน เช่น การ​แลก​เปลี่ยน​นิสิต การวิจัย การ​แลก​เปลี่ยน​บุคลากร การ​พฒั นา​หลักสูตร การ​ประชุม การ​สมั มนา​วชิ าการ​นานาชาติ และ​การให้ท​ นุ ก​ าร​ศกึ ษา​กบั น​ สิ ติ ช​ าว​ตา่ ง​ชาติ เป็นต้น ปัจจุบนั ​ ได้​มสี​ ัญญา​ความ​ร่วม​มือ​กับ​มหาวิทยาลัยต​ ่าง​ประเทศ จำ�นวน 3 ฉบับ ดังนี้ Nanyang Technological University ประเทศ​สิงคโปร์ RMIT University ประเทศ​ออสเตรเลีย Ludwig-Maximilians-Univeritat Munchen (LMU) ประเทศ​เยอรมนี

โครงการ​นิสิต​แลก​เปลี่ยน

ใน​แต่ละ​ปี คณะฯ ได้​ดำ�เนิน​โครงการ​นิสิต​แลก​เปลี่ยน​กับ​มหาวิทยาลัย​ที่​มี​ความ​ร่วม​มือ ทั้ง​ระดับ​คณะ และ​ระดับ​ มหาวิทยาลัย โดย​คดั เ​ลือก​นสิ ติ ผ​ ม​ู้ ผ​ี ล​การ​เรียน​ดแ​ี ละ​มค​ี ณุ สมบัตเ​ิ หมาะ​สม​ไป​แลก​เปลีย่ น​กบั มหาวิทยาลัยต​ า่ ง​ประเทศ สำ�หรับ​ ปี 2553 ทีผ่​ ่าน​มา มี​นิสิตเ​ดิน​ทาง​ไป​แลก​เปลี่ยน ณ มหาวิทยาลัย​ต่างประเทศ และ​มี​นิสิตจ​ าก​ต่าง​ประเทศ​เดิน​ทาง​มา​ศึกษา​ ที่​คณะฯ ดังนี้ ราย​ชื่อ​นิสิต​เข้า​ร่วม​โครงการ​แลก​เปลี่ยน ปี​การ​ศึกษา 2553 ชื่อ-สกุล มหาวิทยาลัย ประเทศ นส.กมล​ชนก โชติ​ธาดา RMIT University ออสเตรเลีย นส.ชณัฐ​กานต์ งาม​วัฒนา​วงษ์ U. of Hertfordshire อังกฤษ นส.ธนัญญา ลีโ​ภค​า​นนท์ La Trobe University ออสเตรเลีย นส.ธิษณา หาญ​ดำ�รง​กุล University of Hawaii สหรัฐอเมริกา


แลกเปลี่ยนนักศึกษา

นส.นริศ​รา จิ​ระ​คุณ นส.นิฎา สิริ​โชติค​ ุณากร นส.พริฎฐา ตระกูล​มี​โชคชัย นส.พิช​ ฎา ตติย​ะว​รนันท์ นส.ภาส​ร เสาว​รัต​ธาดา นส.เรณิ​กา ศิริ​สัจจ​ ​เดชา นส.ล​ลิล ลิม ณ ศิริ นส.วงศ์​พรรณ วิ​ศิษฐ์ร​ัส​มี​วงษ์ นส.ว​รการต์ ศิริ​ทรัพย์​สถิตย์ นาย​วัลลภ อดุลย์​พิเชฎฐ์ นส.วัล​วดี ตัน​ฤดี นส.วา​สิ​ตา วิชชุ​ไตรภพ นส.วิ​นิ​ตา เกษม​สุภา​พันธ์ นส.ศริน​ธร พวง​ย้อย​แก้ว นส.ศศิ​วรรณ ศิรวิ​ ิโรจน์ นส.ศิร​ดา ดาว​มณี นส.ปา​ริ​สา พิชิต​มาร นส.ฮี​จิน ลี นาย​วิชา​กร วร​วรรณ ณ อยุธยา นส.ปุณ​นมา ปา​วา นส.ศิ​โย​รี ไทย​ตระกูล​พาณิช นส.สุ​พิชฌาย์ จง​ขวัญ​ยืน

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

U. of Southern California Queen Marry U. of London Singapore Management U. U. of Southern California U. of New South Wales U. of Hertfordshire U. of Hertfordshire Griffith University University of Queensland Singapore Management U. SciencesPo. University Griffith University RMIT University La Trobe University U. of Hertfordshire SciencesPo. University Nanyang Technology University Yonsei University San Jose State University University of Northern Colorado University of Queensland University of Hertfordshire

ราย​ชื่อ​นิสิต​จาก​มหาวิทยาลัย​ต่าง​ประเทศ​เข้า​ร่วม​โครงการ​แลก​เปลี่ยน ปี​การ​ศึกษา 2553 ชื่อ-สกุล มหาวิทยาลัย Mr.Costa Danial Ming Wei Chua Nanyang Technology University Miss Isabelle Lim Qian Hui Nanyang Technology University Ms. Anjali Raguraman Nanyang Technology University Miss Rachel Pamela Wood U. of New South Wales Miss Nualtong Dhitavat University of Melbourne

สหรัฐอเมริกา อังกฤษ สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ อังกฤษ ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย สิงคโปร์ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย อังกฤษ ฝรั่งเศส สิงคโปร์ เกาหลี สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ

ประเทศ สิงคโปร์ สิงคโปร์ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย

51


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: โครงการวิจัย

โครงการ​ให้​ทุน​การ​ศึกษา​สำ�หรับ​นิสิต​จาก​ประเทศ​เพื่อน​บ้าน

52

ตาม​ที่​กระทรวง​ศึกษาธิการ​ได้​มี​กรอบ​ความ​ร่วม​มือ​ระหว่าง​ประชาคม​อาเซียน​ใน​การ​ที่​จะ​ให้​ประเทศไทย เป็น​ศูนย์กลาง​การ​ศึกษา​ของ​อาเซียน​ภายใน​ปี 2558 นั้น คณะฯ ได้​เล็ง​เห็น​ความ​สำ�คัญ​ดัง​กล่าว เนื่องจาก สอดคล้อง​กับ​ประเด็น​ยุทธศาสตร์​ก้าวหน้า​ของ​มหาวิทยาลัย​ใน​การ​เป็น​มหาวิทยาลัย​ชั้น​นำ�​ใน​ระดับ​โลก ที่​มี​มาตรฐาน​และ​คุณภาพ​ทาง​วิชาการ อัน​เป็น​ที่​ยอมรับ​ใน​ระดับ​นานาชาติ และ​เพื่อ​เป็น​ไป​ตาม​กลยุทธ์ ของ​คณะ​นิเทศศาสตร์​ใน​การ​ส่ง​เสริม​และ​สนับสนุน​ให้​เกิด​กิจกรรม​ทาง​วิชาการ​ใน​ระดับ​นานาชาติ เพื่อ สนอง​ประเด็น​ยุทธศาสตร์​ของ​มหาวิทยาลัย​ใน​การ​เป็น​มหาวิทยาลัย​ชั้น​นำ�​ใน​ระดับ​โลก​ที่​มี​มาตรฐาน​และ คุณภาพ​ทาง​วิชาการ​อัน​เป็น​ที่​ยอมรับ​ใน​ระดับ​นานาชาติ เพื่อ​เปิด​โอกาส​ให้​นิสิต​ใน​กลุ่ม​ประเทศ​อาเซียน ได้​มา​เป็น​นิสิต​แลก​เปลี่ยน​ใน​หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ เพื่อ​ให้​นิสิต​ของ​หลัก​สูตรฯ และ​นิสิต​ที่​ร่วม​โครงการ ได้​มี​โอกาส​แลก​เปลี่ยน​ความ​รู้ และ​วัฒนธรรม​ของ​แต่ละ​ท้อง​ถิ่น โดย​มี​นักศึกษา​ต่าง​ชาติ​ใน​ประเทศ​อาเซียน สมัคร​เข้า​ร่วม​โครงการ​เป็น​จำ�นวน​มาก แต่​เนื่องจาก​หลักสูตร​มี​ทุน​การ​ศึกษา​จำ�นวน 3 ทุน จึง​จัด​ให้​มี​การ สอบ​สัมภาษณ์​ผู้​สมัคร​เข้า​ร่วม​โครงการ​และ​คัด​เลือก​ผู้​ทมี่​ ี​คะแนน​สูงสุด​จำ�นวน 3 คน ดังนี้

ชื่อ Miss Puji Maharani Miss Malorie Joy Obillo Mones Mr. Kevin Kenneth Dagdayan De Leos

มหาวิทยาลัย Universitas Padjadjaran University of the Philippines Diliman De La Salle University

ประเทศ Indonesia Philippines Philippines

นิสิต​ทั้ง 3 คน จะ​ได้​รับ​ทุน​การ​ศึกษา (ค่า​ใช้​จ่าย​ส่วน​ตัว) เป็น​เงิน​คนละ 50,000 บาท และ​ได้​รับ​ทุน การ​ศึกษา (ค่า​ธรรมเนียม​ของ​มหาวิทยาลัย) เป็น​เงิน​คนละ 18,000 บาท โดย​นิสิต​จะ​เดิน​ทาง​มา​ศึกษา ร่วม​กับ​นิสิต​ของ​หลัก​สูตรฯ เป็น​เวลา 1 ภาค​การ​ศึกษา คือ​ภาค​การ​ศึกษา​ต้น ปี​การ​ศึกษา 2553 (เดือน สิงหาคม - เดือน​ธันวาคม พ.ศ.2553) ภาย​หลังจ​ าก​ที่​นิสิตต​ ่าง​ประเทศ​ได้​เข้า​ศึกษา​กับ​นิสิตข​ อง​หลัก​สูตรฯ และ​ใช้ช​ ีวิตใ​น​ประเทศไทย​นั้นพบ​ว่า 1. หลัก​สูตรฯ เป็น​ที่​รู้จัก​เพิ่ม​ขึ้น​จาก​มหาวิทยาลัยใ​น​กลุ่ม​ประเทศ​อาเซียน 2. ความ​สัมพันธ์​อัน​ดี​ระหว่าง​นิสิตข​ อง​หลัก​สูตรฯ และ​นิสิตต​ ่าง​ชาติท​ ี่​เข้า​ร่วม​โครงการ 3. ความ​สัมพันธ์​อัน​ดี​ระหว่าง​คณะ​นิเทศศาสตร์ และ​สถาบัน​ต้นส​ ังกัดข​ อง​นิสิตท​ เี่​ข้า​ร่วม​โครงการ


คณะนิเทศศาสตร์

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการวิจัย คณะนิเทศศาสตร์

คณะนิเทศศาสตร์ ได้รับเงินสนับสนุนการทำ�วิจัย ปีงบประมาณ 2553 ดังนี้

จากแหล่งทุนงบประมาณเงินรายได้คณะฯ มีทั้งสิ้น 6 โครงการ

การสื่อสารกลุ่มในองค์กรธุรกิจไทยและองค์กรธุรกิจข้ามชาติในประเทศไทย (Group Communication of Thai and Multinational Business Organizations in Thailand) หัวหน้าโครงการ : รศ.เมตตา วิวัฒนานุกูล ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 487,300 บาท

กรอบการประเมินผลเว็บไซต์ขององค์กรภาครัฐ (Evaluation Framework For Governmental Websites) หัวหน้าโครงการ : อ.สมิทธิ์ บุญชุติมา ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 374,000 บาท

Celebrity culture in Thailand : A multi-focal investigation หัวหน้าโครงการ : Mr. James Robert Haft ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 351,000 บาท การตอบสนองของกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายต่อการประชาสัมพันธ์ทางสื่อใหม่ หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 303,000 บาท ตัวชี้วัดชื่อเสียงของธุรกิจเอกชนในประเทศไทย หัวหน้าโครงการ : รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา ได้รบั เงินสนับสนุน : จำ�นวน 479,600 บาท

ประโยชน์แห่งสาธารณะบนสื่ออินเทอร์เน็ต : ความท้าทายหรือความเสี่ยงจากสื่อสาธารณะทีวีไทย (The public interest on the public internet : a challenge or a risk from Thai Public Broadcasting Service (TPBS) หัวหน้าโครงการ : อ.อลงกรณ์ ปริวุฒิพงศ์ ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 126,000 บาท

53


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: โครงการวิจัย

54

จากแหล่งทุนภายนอก มีทั้งสิ้น 11 โครงการ โครงการการศึกษาการใช้สื่อเพื่อการทำ� PR 2.0 หัวหน้าโครงการ : ผศ.ดร.วรวรรณ องค์ครุฑรักษา ได้รับเงินสนับสนุน : จากบริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำ�กัด จำ�นวนเงิน 487,300 บาท โครงการปิดทองหลังพระท่องเที่ยวเรียนรู้โครงการพระราชดำ�ริ หัวหน้าโครงการ : รศ.กรรณิการ์ อัศวดรเดชา ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) จำ�นวนเงิน 1,270,000 บาท โครงการศึกษาแนวทางเพื่อเตรียมสังคมสู่ Digital Culture หัวหน้าโครงการ : รศ.รัตนา จักกะพาก ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จำ�นวนเงิน 500,000 บาท โครงการจัดทำ�ข้อมูลการแบ่งเขตพื้นที่ให้บริการกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จำ�นวนเงิน 240,000 บาท โครงการภาพลักษณ์ของสำ�นักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวหน้าโครงการ : รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, อ.ดร.ธาตรี ใต้ฟ้าพูล ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาฯ จำ�นวนเงิน 320,000 บาท โครงการจัดทำ�คู่มือการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำ�กับกิจการพลังงาน หัวหน้าโครงการ : รศ.กรรณิการ์ อัศวดรเดชา ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน จำ�นวนเงิน 5,872,275 บาท


คณะนิเทศศาสตร์

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการการสำ�รวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการของการประปาส่วนภูมิภาคปี 2553 หัวหน้าโครงการ : รศ.รัตนา จักกะพาก ได้รับเงินสนับสนุน : การประปาส่วนภูมิภาค จำ�นวนเงิน 1,320,000 บาท โครงการวิจัยสื่อเพื่อผู้สูงอายุในประเทศไทย : สถานการณ์ปัจจุบันความคาดหวังแนวโน้มในอนาคต และการกำ�หนดยุทธศาสตร์เชิงรุก หัวหน้าโครงการ : รศ.รัตนา จักกะพาก, รศ.ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ ได้รับเงินสนับสนุน : จากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชปีงบประมาณ 2553 จำ�นวน 727,000 บาท โครงการคุณภาพการบริการของกองสุขศึกษา หัวหน้าโครงการ : ผศ.ดร.กิตติ กันภัย ได้รับเงินสนับสนุน : จากกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จำ�นวนเงิน 300,000 บาท โครงการการศึกษาความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อสถาบันพระปกเกล้า หัวหน้าโครงการ : อ.ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม ได้รับเงินสนับสนุน : จากสถาบันพระปกเกล้า จำ�นวนเงิน 900,000 บาท โครงการแผนการดำ�เนินงานการปฏิรูปสื่อ หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ ได้รับเงินสนับสนุน : จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำ�นวนเงิน 3,000,000 บาท

55


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: อาจารย์ และนิสิตท

อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ ที่ได้รับรางวัล ศาสตราจารย์ ดร.ปาริ ช าต ส​ถ า​ปิ ต า​น นท์ อาจารย์ ​ป ระจำ �​ภ าค​วิ ช าการ​ ประชาสั ม พั น ธ์ ​ค ณะ​นิ เ ทศศาสตร์ ไ ด้ ​รั บ ​ร างวั ล ​กิ ต ติ คุ ณ ​สั ม พั น ธ์ “สั ง ข์ ​เงิ น ” ครั้ง​ที่ 32 จาก​สมาคม​นัก​ประชาสัมพันธ์แ​ ห่ง​ประเทศไทย

56 ผู้​ช่วย​ศาสตราจารย์ ดร.พิร​ง​รอง ราม​สูต อาจารย์ป​ ระจำ�​ภาค​วิชา​วารสาร​สนเทศ คณะ​นิเทศศาสตร์​ได้​รับ​รางวัล​ผล​งาน​วิจัย​ดี​เด่น ประจำ�​ปี 2553 จาก​สำ�นักงาน​คณะ​ กรรมการ​วิจัย​แห่ง​ชาติ ผู้​ช่วย​ศาสตราจารย์ ดร.ม.ล.วิฏ​รา​ธร จิร​ประวัติ อาจารย์​ประจำ�​ภาค​วิชาการ​ ประชาสัมพันธ์ คณะ​นเิ ทศศาสตร์​ได้​รับ​รางวัล​อาจารย์​ดี​เด่น สออ.ประเทศไทย ประจำ�​ปี 2552 “ASAIHL Thailand Award 2009” สาขา​สังคมศาสตร์ จาก​สมาคม​สถาบัน​การ​ศึกษา​ขั้น​อุดม​แห่ง​ภูมิภาค​เอเชีย​ตะวัน​ออก​เฉียง​ใต้ ประจำ�​ประเทศไทย (สออ.ประเทศไทย) อาจารย์ส​ มิทธิ์ บุญช​ ตุ มิ า อาจารย์ป​ ระจำ�​ภาค​วชิ าการ​ประชาสัมพันธ์ คณะ​นเิ ทศศาสตร์​ ได้ร​บั ร​างวัลย​ กย่อง​ชเ​ู กียรติอ​ าจารย์ด​ า้ น​การ​เรียน​การ​สอน​ระดับด​ เ​ี ด่น สาขา​สงั คมศาสตร์​ และ​มนุษยศาสตร์ จาก​จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย

นิสิตคณะนิเทศศาสตร์ ที่ได้รับรางวัล

นายไพรัตน์ แต้มไพโรจน์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ Youth Action Fund ในงาน Thailand’s Top Votes Award 2010 น.ส.ศิรินธร กิตติศรีไสว, นายธนาศักดิ์ ภักดี, น.ส.พรรณบุศย์ หาญชล และน.ส.บุญราภรณ์ สุพรศรี​ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากมูลนิธิรักษ์ไทย น.ส.ณัฎฐนิช สุโฆสิต, น.ส.ปัณฑารีย์ ศรีปิยะโสทร, น.ส.พิชญา ศักดิ์เจริญยิ่ง, น.ส.ศุภลักษณ์ ลักษณ์อำ�นวยพร และน.ส.อติมน แววพานิช ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประกวดคำ�ขวัญและแผนประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ จาก สสส. น.ส.ชเลฝัน ดิษฐ์ผู้ดี ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากสถานีโทรทัศน์เพื่อมนุษย์แห่งชาติ (FMTV)


ที่ได้รับรางวัล

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

น.ส.พลอยไพลิน คชะเกษตริน และนายคฑาวุธ ดวงอินทร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากสำ�นักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติและสำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

น.ส.กัญญาณัฐ ปิติเจริญ ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขัน จากโครงการ “P&G ASEAN BUSINESS CHALLENGE 2011” น.ส.กัญญาณัฐ ปิติเจริญ ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขัน จากโครงการ “J-MAT 20th National Marketing Plan Competition 2011”

น.ส.กัญญาณัฐ ปิติเจริญ ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขัน จากโครงการ “Business Plan Competition One-2- Call Brand Age Award” น.ส.ทวีพร คุ้มเมต และน.ส.รวิกานต์ เดชดี ได้รับรางวัลนักข่าวแห่งอนาคตดีเลิศ จาก True Vision BBC World News Future นายวรรษยุต คงจันทร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากโครงการสายลับ...ตรวจจับโฆษณา ครั้งที่ 2 ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ มอบโดยเลขาธิการคณะกรรมการสำ�นักงานคุ้มครองผู้บริโภค นายสุวรรณ รัตนาแพง ได้รับรางวัลลูกกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่ ในโอกาสวันแม่แห่งชาติของสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ น.ส.ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย ได้รับรางวัลเหรียญทอง แบดมินตัน จากการแข่งขันกีฬายูธโอลิมปิคครั้งที่ 1 น.ส.ภาริอร วัชรศิริ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากโครงการ “ลมหายใจไร้มลทิน” จากสำ�นักงานส่งเสริมสวัสดิภาพ และพิทักษ์เด็กเยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ ร่วมกับบริษัท สื่อสากล จำ�กัด

57


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

58

:: อาจารย์ และนิสิต

น.ส.อติมน แววพานิช, น.ส.ภาวิณี วิชิตวัฒนะวงศ์, น.ส.อรจรรย์ นารถาพงษ์, น.ส.ศุภลักษณ์ ลักษณ์อำ�นวยพร และนายรัฐ สะอาดยิ่ง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการประกวดแผนการสร้างแบรนด์ของผลิตภัณฑ์กิฟฟารีน (Giffarine The Branding Project) ภายใต้หัวข้อ “การสร้างแบรนด์กิฟฟารีนในทศวรรษหน้า” น.ส.วรรษพร วัฒนกุล ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการประกวดมิสไทยแลนด์ยูนิเวอร์ส

น.ส.ชเลฝัน ดิษฐ์ผู้ดี ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากสโมสรการละครและภาพยนตร์ Simple Secret Society และมูลนิธิหนังไทย

น.ส.นวลพรรณ เกตุมาน ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 2 ในฐานะ Debater จากการเข้าร่วมแข่งขันในโครงการ The Delegation of European Union in Thailand and Mahidol University international college ณ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

น.ส.ธนิตา สว่างจิตร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากงานประกวดภาพถ่ายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น.ส.ชนิกา จิระพงศ์วัฒนา ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 จาก 108health.com ร่วมกับ VISTRA Tricholess น.ส.พรพิมล สวัสดิ์แดง ได้รับรางวัลชมเชย จากโครงการนานมีบุ๊คส์อะวอร์ด ประเภทนิทานภาพส่งเสริมคุณธรรม น.ส.ภาริอร วัชรศิริ ได้รับรางวัลชมเชย จากสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ น.ส.พัชริกา จิรภิญโญ ได้รับรางวัลชมเชย จากบริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และสมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย


ตที่ได้รับรางวัล

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

น.ส.รัตนาพร มีแก้ว ได้รับรางวัลชมเชย จากบริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และสมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย น.ส.ปิติพร กิติรัตน์ตระการ ได้รับรางวัลชมเชย จากบริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และสมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย น.ส.ชเลฝัน ดิษฐ์ผู้ดี ได้รบั รางวัลชมเชย ภาพยนตร์สนั้ ระดับประชาชน เรือ่ ง UN-alone จัดโดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ น.ส.ศศิธร ศรีจันทึก ได้รับรางวัลชมเชย จากการประกวดโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ โครงการ 5ส หอพัก รักษ์สิ่งแวดล้อม จัดโดยหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายปิยภัทร นันทนรเศรษฐ์ ได้รบั รางวัลชมเชย จากการเข้าร่วมประกวดเรียงความ...สิง่ เล็กๆ ทีเ่ รียกว่าความประทับใจจัดโดยเว็บไซต์เด็กดีดอทคอม

59


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: บทความวิจัย/บทความวิชาการ

บทความวิจัย/บทความวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ 1. การสืบทอดสื่อพื้นบ้านแท่งตุ๊ก อำ�เภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 1-18

60

2. โทรทัศน์ส่วนภูมิภาค: การกำ�เนิด การดำ�รงอยู่ และการพัฒนา รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ภัทรา บุรารักษ์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 36-51 3. การมีส่วนร่วมในพื้นที่สาธารณะของผู้หญิงโดยการส่งข้อความสั้นผ่านรายการเล่าข่าวทางโทรทัศน์ รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ปุณยนุช ยอแสงรัตน์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 65-76 4. การสร้างโลกแวดล้อมทางสารสนเทศทางการเมืองของบุคคล ผศ.ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ, ศศิธร ยุวโกศล วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 77-104 5.

ความสัมพันธ์ระหว่างความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมกับทัศนคติ และพฤติกรรมการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค ผศ.รัตยา โตควณิชย์, นลินรัตน์ ถาวรเลิศรัตน์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 105-127

6. การวางตราสินค้า: ทัศนคติและความต้องการการกำ�กับดูแลของผู้บริโภค ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, สุทธิพงษ์ ธัญญานุรักษา วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 128-150 7. กลยุทธ์การจัดการเชิงประสบการณ์ลูกค้าของกลุ่มธุรกิจเครื่องสำ�อาง ผศ.ดร.วรวรรณ องค์ครุฑรักษา, วริษา นันทิยานนท์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 151-165 8. เครือข่ายการสื่อสารของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ โครงการเกษตรอินทรีย์ จังหวัดสุรินทร์ รศ.อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์, ศิริเมษ กลีบแก้ว วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 166-187


รที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ 9.

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความสัมพันธ์ระหว่างอัตตนิยมวัฒนธรรมผู้บริโภคกับภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำ�เนิด การรับรู้คุณภาพสินค้า และความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, สมพล วันต๊ะเมล์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 1-23

10. พัฒนาการการแสดงสินค้าและเสียงของ “เครือข่ายคนดูหนัง” รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, นัฎกร บุญมาเลิศ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 24-43 11. การสื่อสารเพื่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายสุขภาพ โดยกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, อภิชา น้อมศิริ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 44-61 12. การสื่อสารรณรงค์โครงการเครือข่ายคนไทยไร้พุง รศ.อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์, ศุภชัย อาภาศิลป์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 62-82 13. การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารสำ�หรับพนักงานใหม่ในองค์กรไทย ผศ.ดร.รุ้ง ศรีอัษฎาพร, เกวลี ขันธ์เงิน วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 27 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 83-94 14. การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารสำ�หรับบุคลากรที่มีศักยภาพสูงในองค์กรรัฐ ผศ.ดร.รุ้ง ศรีอัษฎาพร, จิราวรรณ วงศ์ดอกไม้ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 95-107 15. นักร้องเกาหลีและกระแสนิยมเกาหลีของกลุ่มแฟนคลับชาวไทย รศ.เมตตา วิวัฒนานุกูล, กมลเนตร สุวรรณพิสิทธิ์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 108-122 16. โอเคเนชั่นบล็อกในฐานะวารสารศาสตร์ภาคพลเมือง ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต, นิดา หมอยาดี วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 123-143 17. ภาพความเป็นชายจากการสร้างตัวละครหลักในภาพยนตร์ ของ มาร์ติน สกอร์เซซี่ รศ.ปัทมวดี จารุวร, อัศวิน ศาบารา วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 144-158

61


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: บทความวิจัย/บทความวิชาการ

18. การใช้สื่อของผู้ปลูกถ่ายไขกระดูกเพื่อเสริมการบำ�บัด รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ณิชชารีย์ เดชส่งจรัส วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 1-11

62

19. กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ของโรงพยาบาลเอกชน ผศ.สุวัฒนา วงษ์กะพันธ์, ลลิตา พ่วงมหา วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 12-28 20. รูปแบบและกระบวนการสื่อสารของสื่อเว็บไซต์ของคณะละครเวทีร่วมสมัย อ.ดร.จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์, นันทศิริ ญาณจันทร์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 29-42 21. ประสิทธิผลของการใช้แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรในการสร้างภาพลักษณ์ ของ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) รศ.กรรณิการ์ อัศวดรเดชา, ปนัดดา ตันตระกูล วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 43-56 22. บทบาทของภาคประชาสังคมในการกำ�กับดูแลเนื้อหาอินเทอร์เน็ต ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต, เชิญพร คงมา วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 77-98 23. บุคลิกภาพการสื่อสารเชิงวัจนะและอวัจนะ ในการพูดต่อหน้าสาธารณะของเด็กวัยรุ่นอายุ 16-18 ปี ​ ใน 4 ภูมิภาคของประเทศไทย ผศ.ดร.รุ้ง ศรีอัษฎาพร, ชัยยุทธ ถาวรานุรักษ์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 109-122 24. การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารสำ�หรับบุคลากรที่มีศักยภาพสูงในองค์กรเอกชน ผศ.ดร.รุ้ง ศรีอัษฎาพร, หทัยพร พิมสว่าง วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 123-135 25. การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ และทัศนคติ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อระบบแอดมิชชั่นส์ ปี 2553 ผศ.สุวัฒนา วงษ์กะพันธ์, อธิพร จันทรประทิน วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 136-158 26. การพัฒนาแนวคิดและมาตรวัดต้นแบบตราสินค้าวีรบุรุษในเชิงการสื่อสารการตลาด รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, อริชัย อรรคอุดม วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 1-20


รที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

27. การพัฒนาและขยายผลองค์ความรู้การสื่อสารเพื่อสุขภาวะของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย ตำ�บลนำ�เกี๋ยน อำ�เภอภูเพียง จังหวัดน่าน รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, นฤมล ใจดี วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 21-46 28. การสร้างและรักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในโลกออนไลน์: โอกาสหรืออุปสรรค ผศ.ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ, ศศิธร ยุวโกศล วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 47-75 29. การสือ่ สารเพือ่ ธำ�รงรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวมาเลเซียเชือ้ ชาติไทยในรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย รศ.อวยพร พานิช, ทัศนาวดี แก้วสนิม วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 76-101 30. การสื่อสาร ปฎิสัมพันธ์ทางสังคมกึ่งความจริงและการเรียนรู้ค่านิยมส่งเสริมสังคมจากภาพยนตร์ การ์ตูนญี่ปุ่นชุดมาสค์โรดดอร์ของกลุ่มแฟนคลับ รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ปริญชาติ จรุงจิตรประชารมย์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 102-114 31. การใช้แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของ กฟผ. แม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง รศ.พัชนี เชยจรรยา, พฤกษา เกษมสารคุณ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 115-130 32. การกำ�หนดวาระข่าวสารทางการเมืองในกลุ่มบล็อกโอเคเนชั่น ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต, ปรียา กลิ่นสุวรรณ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 131-146

63


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: บทความวิจัย/บทความวิชาการ

33. บทบาทของเว็บไซต์การศึกษา www.thaigoodview.com กับการสื่อสารความรู้ ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต, พรรณทิวา จันทร์สกุล วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 147-168

64

34. การศึกษากระบวนการจัดทำ�แผนการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ในองค์กรธุรกิจข้ามชาติ ผศ. ดร. วรวรรณ องค์ครุฑรักษา, รศ. ดร. ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 1-33 35. สถานภาพการประชาสัมพันธ์ในประเทศไทย รศ. รุ่งนภา พิตรปรีชา วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 34-54 36. การสร้างแนวคิดส่วนตัวจากตราสินค้าระดับโลกของเด็กและวัยรุ่นไทย อ.ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 55-72 37. การแสวงหาข้อมูล การใช้ประโยชน์ และความเชื่อถือในข้อมูลการท่องเที่ยวจากสื่อออนไลน์ ที่ผู้บริโภคสร้างเองของคนวัยทำ�งาน รศ.พัชนี เชยจรรยา, นฤมล เพิ่มชีวิต วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 99-121 38. ภาพลักษณ์เปรียบเทียบของธนาคารพาณิชย์ไทยที่ร่วมทุนกับต่างชาติ รศ.พัชนี เชยจรรยา, มรกต จิรนิธิรัตน์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 122-146 39. คุณค่าตราสินค้ารถยนต์นั่งส่วนบุคคล ทัศนคติและความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคชาย ผศ.สุวัฒนา วงษ์กะพันธ์, วิทวัส ปานศุภวัชร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 147-164 40. วัฒนธรรมการบริโภคตราสินค้าโลโมกราฟฟีและการรับรู้เกี่ยวกับตนเองของวัยรุ่น รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, สรสรรณ จิระเรืองวงศ์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 165-194 41. สถานภาพการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, ศรินญา บุญเจิม วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 195-210


รที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

42. การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าขององค์กรธุรกิจไทย รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, วาสิตา บูรณศิลปิน วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 1-18 43. ตัวชี้วัดภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องสำ�อางในประเทศไทย รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, โอบเอื้อ วิโนสุนทรากร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 19-35 44. รูปแบบการสื่อสารเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนตลาดนำ�ยามเย็น อัมพวา รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, เณริศา ชัยศุภมงคลลาภ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 36-56 45. รูปแบบการสื่อสารในการจัดการการท่องเที่ยวของอำ�เภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, ปานตา ดารามิตร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 57-77 46. การเปรียบเทียบชุมชนตราสินค้าที่บริษัทเป็นผู้ดำ�เนินการและที่ผู้บริโภคเป็นผู้ดำ�เนินการ รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, พสุ กันทา วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 78-98 47. การสร้างแบบสอบถามวัดภาพลักษณ์องค์กร ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, ศุกลิน วนาเกษมสันต์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 99-117 48. ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อการตลาดและการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลบนเว็บไซต์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, ฌานภาณุ มงคลฤทธิ์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 118 -135 49. ตัวชี้วัดสำ�หรับการประเมินผลการดำ�เนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทธุรกิจในประเทศไทย ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, สุประพล นกทอง วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 136-157 50. บุคลิกภาพตราสินค้าของรายการข่าวโทรทัศน์ รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, ดวงแข จิตตางกูร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 158-177

65


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: บทความวิจัย/บทความวิชาการ 51. ความเป็นนานาชาติในนิตยสารตกแต่งบ้านต่างประเทศฉบับภาษาไทย รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, ศรีธนา ชื่นอังกูร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 1-18

66

52. กระบวนการสื่อสารส่งเสริมการตลาดสมุนไพรอภัยภูเบศร รศ.อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์, พจี มณีรัตน์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 19-33 53. ทัศนคติของผู้สื่อข่าวสายเศรษฐกิจที่มีต่ออาชีพการประชาสัมพันธ์และกิจกรรมสื่อมวลชนสัมพันธ์ ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, ทิพย์อาภาภรณ์ ยิ้มละมัย วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 34-54 54. ภาพลักษณ์ของผู้หญิงที่ปรากฏในข่าวประชาสัมพันธ์ละครโทรทัศน์ รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, ชญาน์ทัต วงศ์มณี วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 55-76 55. การวัดคุณค่าตราสินค้าบุคคล รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, หทัยรัตน์ วงศ์กิติกำ�จร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 77-99 56. สิ่งกระตุ้นและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, วรรณพร ริจิรวนิช วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 100-120 57. การสื่อสารความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการธุรกิจบุหรี่ รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, กิติยา ปรัตถจริยา วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 121-140 58. กระบวนการสื่อสารกับสาธารณชน กระบวนการตัดสินใจและปัจจัยการสื่อสารที่มีผลต่อการเข้าร่วม​ โครงการ “จิตประภัสสรตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์” ของเสถียรธรรมสถาน รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, มาลีวรรณ ศุขวัฒน์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 141-159 59. ผลของบริบทของรายการโทรทัศน์ต่อประสิทธิผลของโฆษณา รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, พิมพ์พิไล ไทพิทักษ์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 160-185


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ

67

60. ความพึงพอใจของผู้สมัครที่มีต่อเว็บไซต์ของหลักสูตรนานาชาติที่เปิดสอนในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ. สมิทธิ์ บุญชุติมา วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 1-19 61. ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อ Ambient Advertising ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, อรณี เตียวสมบูรณ์กิจ วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 62-88 62. การศึกษาการทำ�ซีเอสอาร์ โดยใช้แนวคิด enlightened self interest ของ James E. Grunig พร้อมกรณีศึกษานอก - ในประเทศ รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, อนัญญา กรรณสูต วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 89-116 63. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของพนักงานต่อการปรับเปลี่ยนตราสินค้าองค์กรของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ไทย อ.ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม, สุทธะ เกิดทรัพย์ วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 117-140 64. ความรู้ ในงานประชาสัมพันธ์และการนำ�ไปใช้เพื่อความสำ�เร็จทางการตลาด ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, ณัฐกานต์ รอดหิรัญ วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 141-157 65. การประมวลองค์ความรู้เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสื่อใหม่กับการประชาสัมพันธ์จากเว็บไซต์ ของ The institute for public relations รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, อนัญญา กรรณสูต วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 158-189


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: บทความวิจัย/บทความวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ 66. การรับรู้การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงกลยุทธ์กับคุณค่าตราสินค้า ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, ณรงค์ สิริวัฒนวิโรจน์ วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 190-217

68

67. ทัศนคติต่อโฆษณา และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาในโรงภาพยนตร์ ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, ชนม์ธนัทกรณ์ อยู่ชยันตี วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 218 -239 68. การประกอบสร้างอัตลักษณ์ของผู้สูงอายุในหนังไทย รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, กำ�จร หลุยยะพงศ์ วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ. ปี 1 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 13-23 69. วัฒนธรรมฟุตบอล: การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงและธำ�รงรักษาโครงสร้าง “ชนชั้น” ในสังคมไทย รศ.ดร.อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท, รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ณัฐสุพงศ์ สุขโสต วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ. ปี 1 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 47-63 70. กระบวนการสร้างสารของพระมหาสมปอง ตาลปุตโต ในรายการธรรมะเดลิเวอรี่ รศ.สุธี พลพงษ์, ชลธิชา ชูชาติ วารสารวิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ ม.รังสิต นิเทศศาสตรปริทัศน์ ปี 14 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 82-99

บ ทความวิจัย/บทความวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับนานาชาติ The Media Convergence Lifestyle Profile in Thailand Yubol Benjarongkij, Parichart Sailanoo Media Asia an Asian Communication Quarterly Volume 37 Number 4, 232-243 (2010)


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: การนำ�เสนอผลงานวิจัย/บทความวิชาการระดับนานาชาติ การนำ�เสนอผลงานวิจัย/บทความวิชาการระดับนานาชาติ ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

Matters of Communication From Tsunami 2004: Dealing with Personal Loss ศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ณ ประเทศสิงคโปร์ 22 - 26 มิถุนายน พ.ศ.2553

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

The Alcohol Communications War: “Communications” Versus “Symbolic Meaning” in relation of alcohol consumption ศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ณ ประเทศสิงคโปร์ 22 - 26 มิถุนายน พ.ศ.2553

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

สื่อในวิกฤต หรือวิกฤตในสื่อ - วาทกรรมความขัดแย้ง ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ.2553 อ.อลงกรณ์ ปริวุฒิพงศ์ The 6th Annenberg/Oxford Summer Institute on Global Media Policy ณ มหาวิทยาลัย Oxford ประเทศอังกฤษ 4 -17 กรกฎาคม พ.ศ.2553

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

Teaching development project by using digital media and the concept of instructional communication for Public Relations in New Media อ.สมิทธิ์ บุญชุติมา International Conference on Media & Culture : Global Homogeneity & Local Identity จัดโดย Asian congress for media and communication: ACMC ณ University Saints Malaysia 29 -31 ตุลาคม พ.ศ.2553

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

Way forward: Media reforms in Thailand รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ CPRsouth5: Convergence: Infrastructure, Services, Policies Xi’an, China (2010) 6 - 8 ธันวาคม พ.ศ.2553

69


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

70

:: การนำ�เสนอผลงานวิจัย/บท

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

Way forward: Media reforms in Thailand รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ CPRsouth5: Convergence: Infrastructure, Services, Policies Xi’an, China (2010) 6 - 8 ธันวาคม พ.ศ.2553

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

The Use of CRM in Public Relations Work of Private Sector in Thailand รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ American Society of Business and Behavior Sciences 18th Annual Meeting National University ประเทศสหรัฐอเมริกา 24 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

The Use of Websites and Social Networks for Consumer Products in Thailand ผศ. ดร. วรวรรณ องค์ครุฑรักษา American Society of Business and Behavior Sciences 18th Annual Meeting National University ประเทศสหรัฐอเมริกา 24 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554

Performance and Ecology การแสดงละครชุด “Terra Musica” อ.ดร.จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ / อ.ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร ณ ประเทศสิงคโปร์ 14 - 20 มีนาคม พ.ศ.2554

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ ผู้นำ�เสนอ ชื่อการประชุม/ประเทศ ระยะเวลา

: : : :

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

The Practice of Public Relations in Building National Unity ผศ.ดร.นภวรรณ ตันติเวชกุล การประชุมวิชาการ “The International History of Public Relations Conference” ณ เมือง Pool สหราชอาณาจักร 6 - 7 กรกฎาคม 2554


ทความวิชาการระดับนานาชาติ

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

Public Relations through Websites and Social Networks and Target Audience Responses in Thailand รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ การประชุ ม วิ ช าการเรื่ อ ง International Academy of Business and Public Administration Disciplines (IABPAD) Conference ณ The Double tree Hotel Waikiki, Honolulu, Hawaii ประเทศสหรัฐอเมริกา 24 - 29 กรกฎาคม 2554

ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :

The Potential of Internet Marketing for Consumer Products in Thailand ผศ.ดร.วรวรรณ องค์ครุฑรักษา งาน World Business, Economics and Finance Conference ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพมหานคร 26 -27 กันยายน 2554

71


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: งานกิจกรรมต่างๆ งานวันสถาปณาคณะนิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์จดั งาน “วันคล้ายวันสถาปนา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” เป็น ประจำ�ทุกปี ในวันที่ 5 กรกฎาคม โดยในช่วงเช้า คณะฯ จะจัดให้มีการทำ�บุญตักบาตร และถวาย เครื่องจัตุปัจจัยไทยธรรมแด่พระสงฆ์ เพื่อเป็นการ เสริมสร้างสิริมงคลให้กับคณาจารย์ บุคลากร และ นิสิตของคณะฯ และรับประทานอาหารกลางวัน ร่วมกัน ปิดท้ายด้วยการมอบรางวัลเพื่อเป็น การยกย่องชมเชยและเป็นกำ�ลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน ดีเด่นของคณะฯ

72

จัดขึ้นวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 ณ ห้อง ดร. เทียม โชควัฒนา ชั้น 4 อาคาร 1 คณะนิเทศศาสตร์


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะนิเทศศาสตร์​จุฬาฯ

73

งานแสดงมุทิตาจิต “งานแสดงมุทิตาจิต” จัดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อเชิดชูเกียรติและ คุณงามความดีของบุคลากรที่เกษียณอายุราชการ ที่ได้อุทิศตนปฏิบัติหน้าที่ รับใช้คณะนิเทศศาสตร์ดว้ ยความวิรยิ ะอุตสาหะ งานดังกล่าวยังเป็นการแสดง ถึงความรัก ความผูกพัน และขอบคุณในทุกสิ่งที่ผู้เกษียณอายุราชการมีต่อ คณะฯ และเพื่อนร่วมงาน

จัดขึ้นวันที่ 23 กันยายน 2553 ชั้น 4 อาคารมงกุฎสมมติวงศ์


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: งานกิจกรรมต่างๆ พิธีบำ�เพ็ญกุศลทักษิณานุประทาน อุทิศถวายแด่ พระบาทสมเด็จ ประจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) วั น ที่ 18 ตุ ล าคม ของทุ ก ปี เป็ น วั น พระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทางคณะฯ ได้จัดพิธีบำ�เพ็ญทักษิณา นุประทาน ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร เพื่อ น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ที่มี ต่อวิชาการและวิชาชีพนิเทศศาสตร์ไทย พระองค์ ทรงวางรากฐานด้านนิเทศศาสตร์ให้แก่สังคมไทย โดยเฉพาะด้ า นการพิ ม พ์ เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ใ น พระอัจฉริยภาพ จนได้รับการยกย่องว่าทรงเป็น “พระบิดาแห่งนิเทศศาสตร์ไทย”

74

จัดขึ้นวันที่ 18 ตุลาคม 2553 ณ วัดบวรนิเวศน์วรมหาวิหาร


คณะนิเทศศาสตร์​จุฬาฯ

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

75

พิธีอัญเชิญพระบรมรูป 3 รัชกาล (รัชกาลที่ 4, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 6) ด้วยคณะฯ ได้ดำ�เนินการจัดทำ�พระรูปรัชกาลที่ 5 ขึ้น ใหม่ และซ่อมแซมพระรูป รัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 6 ซึ่ง บางส่วนชำ�รุด และสีหลุดร่อนไป ที่ผ่านมาได้จัดวางพระรูป ทั้ง 3 รัชกาลไว้ ณ บริเวณโถงอาคาร 1 ต่อมาคณะฯ ได้ดำ�เนินการก่อสร้างอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ขึ้นใหม่ และ ทำ�การปรับปรุงอาคาร 1 เพื่อให้ดสู ง่างามสมพระเกียรติ และ เพือ่ ให้คณาจารย์ นิสติ บุคลากรและบุคคลทัว่ ไป ได้สกั การะ เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล จึงได้จดั ทำ�แท่นวางพระรูปทัง้ 3 รัชกาล บริเวณโถงอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ และได้ประกอบพิธอี ญั เชิญขึน้ ใน วันที่ 5 พ.ย. 53 จัดขึ้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2553 ณ คณะนิเทศศาสตร์


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

76

งานทำ�บุญตักบาตรเนื่องใน วโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2553 วันที่ 5 ธันวาคม 2553 ตรงกับวัน มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั คณะนิเทศศาสตร์ จัดพิธีทำ�บุญตักบาตรพระสงฆ์ เพื่อถวายเป็น พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพิธที �ำ บุญตักบาตรครัง้ นีม้ คี ณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมาร่วมตักบาตรเป็นจำ�นวนมาก

จัดขึ้นวันที่ 2 ธันวาคม 2553 ณ บริเวณหน้าอาคารมงกุฎสมมติวงศ์

:: งานกิจกรรมต่างๆ


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะนิเทศศาสตร์​จุฬาฯ

77

งานวันบำ�รุงสุข “งานวั น บำ � รุ ง สุ ข ” เป็ น งานที่ จั ด ขึ้ น เป็ น ประจำ � ทุ ก ปี ใ นวั น ที่ 31 มกราคม ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันอนิจกรรมของ “ศาสตราจารย์บำ�รุงสุข สีหอำ�ไพ” เพือ่ เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทิตา และน้อมรำ�ลึกพระคุณ ของปูชนียบุคคล ผู้บุกเบิกการศึกษาด้านนิเทศศาสตร์ในประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จัดขึ้นวันที่ 31 มกราคม 2554 ณ ชั้น 4 อาคารมงกุฎสมมติวงศ์


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: งานกิจกรรมต่างๆ คณะนิเทศศาสตร์​จุฬาฯ

78

พิธีเปิดอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรม ราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินเป็นประธาน ในพิธีเปิด “อาคารมงกุฎสมมติวงศ์” ซึ่งเป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง 12 ชั้น และ ชัน้ ลอย 1 ชัน้ มีพนื้ ทีใ่ ช้สอย 10,000 ตารางเมตร ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 87,000,000 บาท โดย มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น อนุ ส รณ์ 200 ปี พระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ผูท้ รงริเริม่ งานด้านนิเทศศาสตร์เป็น พระองค์แรกของประเทศ และเพื่อเฉลิมฉลอง การดำ�เนินงานครบ 40 ปี ของคณะนิเทศศาสตร์

จัดขึ้นวันที่ 26 มีนาคม 2554 ณ คณะนิเทศศาสตร์ 1


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: การบริหารงานของคณะฯ ในรอบสมัย 2549-2554 (คณบดี)

79

1. โครงการ​ปรับ​รวม​หลักสูตร​บัณฑิต​ศึกษา เนื่องจาก​ที่​ผ่าน​มา​หลักสูตร​มหา​บัณฑิต​ที่​มี​จำ�นวน​ถึง 8 หลักสูตร ใน​ขณะ​ที่​คณะฯ มีค​ ณาจารย์​อยูป่​ ระมาณ 50 คน ทำ�ให้ภ​ าระ​งาน โดย​เฉพาะ​งาน​ด้าน​การ​ดูแล​วิทยานิพนธ์เ​ป็น​ ภาระ​ทห​ี่ นักม​ าก​ส�ำ หรับค​ ณาจารย์ท​ ส​ี่ อน และ​วจิ ยั ใน​หลักสูตร​ บัณฑิต​ศึกษา หลักสูตร​ทมี่​ ี​อยู่​หลาก​หลาย​ทำ�ให้​มาตรฐาน​ใน​ การ​รับ​นิสิต​เข้า​ศึกษา​ต่อ มี​ความ​แตก​ต่าง​กัน​สูง ขึ้น​อยู่​กับ​ จำ�นวน​สมัคร​เข้าศ​ กึ ษา​ตอ่ ประกอบ​กบั ค​ วาม​เปลีย่ นแปลง​ดา้ น​ เทคโนโลยีก​ าร​สอื่ สาร​และ​พฤติกรรม​การ​เปิดร​บั ส​ อื่ ข​ อง​คน​ยคุ ​ ใหม่ใ​น​สังคม ทำ�​ให้​คณะฯ มุ่ง​ปรับ​หลักสูตร​มหา​บัณฑิตใ​หม่ โดย​เป็นห​ ลักสูตร​ทเ​ี่ อือ้ ต​ อ่ ก​ าร​ศกึ ษา ค้นคว้า ทีค​่ รอบคลุมข​ อง​ สือ่ ย​ คุ ใ​หม่ท​ ไ​ี่ ด้ห​ ลอม​รวม​กนั เ​ป็นส​ อื่ เ​ดียว แต่เ​กิดค​ วาม​ปลีย​่ น​ แปลง และ​มี​อิทธิพล​เป็น​อย่าง​สูง​ต่อ​สังคม​มนุษย์​ใน​ปัจจุบัน หลักสูตร​นิเทศศาสตร์ม​ หา​บัณฑิต​ใหม่ ที่ม​ ี​การ​จัดการ​เรียน​ การ​สอน เน้น​หนัก​ใน 6 สาขา (Area of concentration) ได้เ​ปิด​รับ​นิสิต​ใน​ภาค​การ​ศึกษา​ต้น ปีก​ าร​ศึกษา 2553 โดย​ หลักสูตร​เดิม 8 หลักสูตร ได้เ​ริ่ม​ทยอย​ปิด​ตัว​ลง

2. โครงการ​กอ่ สร้าง​และ​ตกแต่งอ​ าคาร​มงกุฎ​ สมมติ​วงศ์ เป็น​อาคาร​คอนกรีต​ผสม​เหล็ก สูง 12 ชั้น และ​ชั้น​ลอย 1 ชั้น มีพ​ ื้นทีใ่​ช้สอย​ประมาณ 10,000 ตาราง​ เมตร พื้น​อาคาร​เป็น​โครงสร้าง​ระบบ POSTED TENSION

แบ่ง​การ​ก่อสร้าง​เป็น 2 ระยะ ระยะ​ที่ 1 เริ่ม​ก่อสร้าง​เมื่อ​ปี พ.ศ. 2549 สิ้น​สุด ปี พ.ศ. 2551 งบ​ประมาณ​ใน​การ​ก่อสร้าง 102,990,000.00 บาท ระยะ​ที่ 2 เป็นการ​ตกแต่ง​ภายใน ติด​ตั้งร​ะบบ​ปรับ​อากาศ ระบบ LAN และ​ระบบ CCTV โดย​ เริ่ม​ดำ�เนิน​การ​เมื่อ​เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 สิ้น​สุด​ เดือนธันวาคม 2553 งบ​ประมาณ​ทั้งส​ ิ้น 87,000,000.00 บาท

3. ศูนย์แ​ ห่งค​ วาม​เป็นเ​ลิศด​ า้ น​สอื่ ด​ จิ ทิ ลั (CEDM : Center of Excellence in Digital Media) คณะฯ

ได้ร​บั ง​บ​ประมาณ​สนับสนุน​จาก​จฬุ าลงกรณ์​มหาวิทยาลัยต​ าม​ แผน​พัฒนา​วิชา​การ​จุฬาฯ 100 ปี จำ�นวน 120,000,000.00 บาท เป็นศ​ ูนย์​ผลิตส​ ื่อ​ดิจิทัล เพื่อ​นำ�​ไป​ใช้ใ​น​กิจการ​ด้าน​การ​ สื่อสาร และ​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ภาพ​คม​ชัด​สูง ภาพเสมือน​จริง ภาพ​นิ่งร​ะบบ​ดิจิทัล และ​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​เสียง​ระบบ​ดิจิทัล

4. ศูนย์ศ​ กึ ษา​นโยบาย​สอื่ (Thai Media Policy Center) มุง่ เ​น้น​ทร​ี่ ะบบ​กฎหมาย​และ​นโยบาย​เพือ่ ​ประโยชน์​

สาธารณะ เพื่อ​ธำ�รง​ไว้​ซึ่ง​เสรีภาพ สื่อ​ทเี่​ป็น​อิสระ และ​สิทธิ​ ทางการ​รับ​รู้​ของ​พลเมือง อย่างไร​ก็​ดี ขณะ​ที่​ประชาธิปไตย​ ใน​ประเทศ​ก�ำ ลัง​เบ่ง​บาน แต่​ประเทศไทย​ยงั ​คงขาด​โครงสร้าง​ พื้น​ฐาน​ทาง​กฎหมาย​ที่​จะ​สนับสนุนใ​ห้ส​ ื่อ​ทำ�​หน้าที่ ‘หมา​เฝ้า​ บ้าน’ และ​สนับสนุนใ​ห้ส​ าธารณชน​รกั ษา​เสรีภาพ​ใน​การ​แสดง​


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความ​คิดเ​ห็น​ของ​ตนเอง​ได้ โดย​ศูนย์ศ​ ึกษา​นโยบาย​สื่อ​จะ​ทำ�​ หน้าที​่ใน​การ​สง่ ​เสริม​สนับสนุน​และ​วจิ ยั ​ใน​ประเด็น​ท​เี่ กีย่ วข้อง​ กับก​ ฎหมาย​และ​นโยบาย​ทม​ี่ ผ​ี ลก​ระ​ทบ​กบั ส​ อื่ มวลชน​และ​การ​ สื่อสาร​ทั้ง​ใน​ประเทศไทย​และ​ต่าง​ประเทศ

80

:: การบริหารงานของคณะฯ

8. โครงการ​สนับสนุนก​ าร​ศกึ ษา​คณาจารย์ โดย​

การ​จดั สรร​งบ​ประมาณ​เงินร​าย​ได้ค​ ณะฯ เพือ่ เ​ป็นท​ นุ ก​ าร​ศกึ ษา​ ต่อ​ใน​ระดับ​ดุษฎี​บัณฑิต ทั้ง​ใน​และ​ต่าง​ประ​ทศ ซึ่ง​ที่​ผ่าน​มา​ คณะฯ ได้​สนับสนุน​ทุน​การ​ศึกษา​แก่​อาจารย์​ไป​แล้ว​จำ�นวน 2 ท่าน

5. ศู น ย์ ​ใ ห้ ​คำ � ​ป รึ ก ษา​ด้ า น​ก าร​สื่ อ สาร ​ (Communication Consultation Center) เป็น​ 9. โครงการ​ศนู ย์ส​ ขุ ภาพ​ของ​คณาจารย์ บุคลากร​ หน่วย​งาน​ที่​ดำ�เนิน​การ​ให้​คำ�​ปรึกษา​ด้าน​การ​สื่อสาร การ​วิจัย คณะ​นิ​เท​ศาสตร์ โดย​การ​จัด​ให้​มี​พื้นที่ และ​อุปกรณ์​ออก​ และ​การ​อบรม/พัฒนา​บุคลากร​ทาง​ด้าน​การ​สื่อสาร​ให้​แก่ กำ�ลัง​กาย ตลอด​จน​เชิญ​บุคลากร​ที่​มี​ความ​เชี่ยวชาญ​มา​ให้​ ​หน่วย​งาน​ทั้ง​ภาค​รัฐ​และ​ภาค​เอกชน ข้อมูล​ทเี่​ป็น​ประโยชน์ด​ ้าน​สุขภาพ​อนามัย

6. โครงการ​สนับสนุนภ​ าระ​งาน​ดา้ น​การ​สอนวิจยั 10. โครงการ​วารสาร​วชิ าการ​นเิ ทศศาสตร์ร​ะดับ​ และ​บริการ​สังคม (One Teacher One Computer) นานาชาติ เพื่อ​เป็นการ​ตอบ​สนอง​ต่อ​ยุทธศาสตร์​ก้าวหน้า

ซึง่ ​เป็น​โครงการ​จดั หา​คอมพิวเตอร์​โน้ต​บคุ ใ​ห้​กบั ค​ ณาจารย์​ไว้​ และ​เข้ม​แข็ง คณะฯ จึง​ได้​มี​จัดสรร​งบ​ประมาณ​มาส​นับส​ นุ​น ใช้​เพื่อ​งาน​ด้าน​การ​สอน วิจัย และ​บริการ​สังคม การ​จดั ​ท�​ ำ วารสาร​ระดับน​ านาชาติ เพือ่ ​สร้าง​ฐาน​ขอ้ มูลท​ ไ​ี่ ด​ร้ บั ​ การ​ยอมรับ และ​มี​ผล​ต่อ​การ​จัด​อันดับ​โลก

7. สูตร​นเิ ทศ​ศาสตร​มหา​บณั ฑิต สาขา​วข​ิ า​การ​ จัดการ​การ​สื่อสาร​เชิงกล​ยุทธ์ (หลักสูตร​นานาชาติ) (Master of Arts in Strategic Communication Management International Program) ใน​ฐานะ​

ที่​คณะ​นิเทศศาสตร์​มี​ความ​พร้อม​ทั้ง​ใน​แง่​ของ​บุคลากร​ที่​มี​ ศักยภาพ​และ​ทรัพยากร​สนับสนุน​ทางการ​ศึกษา การ​จัด​ให้​ มี​การ​ศึกษา​ใน​ระดับ​บัณฑิต​ศึกษา โดย​ใช้​ภาษา​อังกฤษ​เป็น​ เครือ่ ง​มอื ใ​น​การ​เรียน​การ​สอน​จงึ เ​ป็นก​ า้ ว​ส�ำ คัญท​ ค​ี่ ณะฯ จะ​เป็น​ แกน​กลาง​ใน​การ​สร้าง​องค์ค​ วาม​รด​ู้ า้ น​นเิ ทศศาสตร์ท​ เ​ี่ ป็นส​ ากล ผลิตบ​ ณั ฑิตใ​น​ระดับม​ หา​บณั ฑิตท​ ม​ี่ ค​ี วาม​รค​ู้ วาม​สามารถ​ใน​การ​ ศึกษา​วจิ ยั เ​พือ่ ส​ ร้าง​องค์ค​ วาม​รใ​ู้ หม่ท​ าง​นเิ ทศศาสตร์ใ​น​ระดับ​ นานาชาติ และ​บัณฑิต​ที่​สามารถ​นำ�​องค์ค​ วาม​รู้​ใหม่​เหล่า​นี้​ ไป​ใช้ใ​น​การ​ปฏิบตั ง​ิ าน​ทางการ​สอื่ สาร​ใน​สภาพ​แวดล้อม​ทเ​ี่ ป็น​ นานาชาติ​ใน​ยคุ ​ของ​การ​หลอม​รวม​สอื่ ​ได้​อย่าง​มป​ี ระสิทธิภาพ โดย​หลักสูตร​ดัง​กล่าว​เปิด​สอน​ใน​ปี​การ​ศึกษา 2554 ซึ่ง​มี​นิสิต​ รุ่น​แรก จำ�นวน 10 คน


ในรอบสมัย 2549-2554 (คณบดี)

รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

81

11. โครงการ​ความ​ร่วม​มือ​ด้าน​วิชาการ​กับ​ 13. โครงการ​ให้ท​ นุ ก​ าร​ศกึ ษา​ส�ำ หรับน​ สิ ติ จ​ าก​ มหาวิทยาลัย​ใน​ต่าง​ประเทศ ได้​ดำ�เนิน​การ​สร้าง​ ประเทศ​เพือ่ น​บา้ น เพือ่ เ​ปิด​โอกาส​ให้​นสิ ิต​ใน​กลุ่ม​ประเทศ​

ความ​ร่วม​มือ​และ​กระชับ​ความ​สัมพันธ์​กับ​มหาวิทยาลัย​ใน​ ต่าง​ประเทศ เพื่อ​นำ�​ไป​สู่​การ​พัฒนา​ใน​ด้าน​ต่างๆ ร่วม​กัน ปัจจุบัน​หลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​บัณฑิต สาขา​วิชาการ​จัดการ​ การ​สื่อสาร (หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ) มีส​ ัญญา​ความ​ร่วม​มือ​ กับ​มหาวิทยาลัยใ​น​ต่าง​ประเทศ จำ�นวน 3 ฉบับ ดังนี้ - Nanyang Technological University ประเทศ​สิงคโปร์ - RMIT University ประเทศ​ออสเตรเลีย - Ludwig-Maximilians-Univeritat Munchen (LMU) ประเทศ​เยอรมันนี

12. โครงการ​นิสิต​แลก​เปลี่ยน ใน​แต่ละ​ปี​ หลักสูตร​นิเทศ​ศาสตร​บัณฑิต สาขา​วิชาการ​จัดการ​การ​ สื่อสาร (หลักสูตร​ภาษา​อังกฤษ) ได้​ดำ�เนิน​โครงการ​นิสิต​ แลก​เปลี่ยน​กับ​มหาวิทยาลัย​ที่​มี​ความ​ร่วม​มือ​ทั้ง​ระดับ​คณะ และ​ระดับ​มหาวิทยาลัย โดย​คัด​เลือก​นิสิตผ​ ู้​มี​ผล​การ​เรียน​ดี​ และ​มี​คุณสมบัติ​เหมาะ​สม​ไป​แลก​เปลี่ยน​กับ​มหาวิทยาลัย​ใน​ ต่าง​ประเทศ สำ�หรับ​ที่​ผ่าน​มา มี​นิสิตเ​ดิน​ทาง​ไป​แลก​เปลี่ยน ณ มหาวิทยาลัยใ​น​ต่าง​ประเทศ และ​มี​นิสิตจ​ าก​ต่าง​ประเทศ​ เดิน​ทาง​มา​ศึกษา​ที่​หลักสูตร เป็นจ​ ำ�นวน​มาก

อาเซียน​ได้​มี​โอกาส​มา​เป็น​นิสิต​แลก​เปลี่ยน​ใน​หลักสูตร​นิเทศ​ ศาสตร​บัณฑิต สาขา​วิชาการ​จัดการ​การ​สื่อสาร (หลักสูตร​ ภาษา​อังกฤษ) และ​เพื่อ​ให้น​ ิสิต​ที่​เข้าร​่วม​โครงการ​ได้​มี​โอกาส​ แลก​เปลีย่ น​ความ​รู้ วัฒนธรรม​ของ​แต่ละ​ทอ้ ง​ถนิ่ ซ​ งึ่ ก​ นั แ​ ละ​กนั

14. สมาคม​วิชาการ​นิเทศศาสตร์​และ​การ​ สือ่ สาร​มวลชน​แห่งป​ ระเทศไทย (The Communication

Academic Association of Thailand : CAAT) ก่อ​ตั้ง ​และ​ได้​รับ​อนุญาต​ให้​จด​ทะเบียน​เป็น​สมาคม​ใน​ปี 2551 โดย​ไ ด้ ​รั บ ​ค วาม​ร่ ว ม​มื อ ​จ าก​ค ณะ​ที่ ​เปิ ด ​ส อนวิ ช าการ​ ด้าน​นิเทศศาสตร์​และ​การ​สื่อสาร​มวลชน 17 สถาบัน​ ทั่ ว ​ป ระเทศ​ข อง​รั ฐ และ​เอกชน โดย​มี ​วั ต ถุ ป ระสงค์ ​ เพื่อ​สร้าง​เครือ​ข่าย​องค์กร​ทาง​วิชาการ​ด้าน​นิเทศศาสตร์ ซึ่ง​จะ​สนับสนุน​การ​แลก​เปลี่ยน​องค์​ความ​รู้ ส่ง​เสริม​ความ ร​ว่ ม​มอื ก​ บั น​ านาชาติเ​พือ่ ก​ าร​พฒั นา​ศกั ยภาพ​ดา้ น​นเิ ทศศาสตร์ เผย​แพร่​งาน​วิจัย และ​เป็น​ศูนย์กลาง​เครือ​ข่าย​วิชาการ ​ด้าน​นิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ และ​สื่อสาร​มวลชน​ของ​ ประเทศไทย​ทม​ี่ เ​ี ป้าห​ มาย​และ​บทบาท​ทาง​วชิ าการ​อย่าง​ชดั เจน​ และ​ถกู ต​ อ้ ง​ตา​มกฏ​หมาย ปัจจุบนั สมาคม​วชิ าการ​นเิ ทศศาสตร์​ และ​การ​สื่อสาร​มวลชน​แห่ง​ประเทศไทย มีส​ ำ�นักงาน​ตั้ง​อยู่​ที่​ คณะ​นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

:: รายนามผู้จัดทำ�

งานกิจกรรมต่างๆ คณะนิเทศศาสตร์​จุฬาฯ 82

คณบดี รองศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ

ที่ปรึกษา

รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ อาจารย์ ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ นางสาวนิภาพรรณ์ แก้วสุวรรณ์

ที่ปรึกษา

นางสาวยุรวรรณ สุวรรณศรี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

ผู้จัดทำ�

นางสาวชนาภา หนูนาค นิสิตปริญญาโทผู้ช่วยสอน

ผู้ประสานงาน

ที่ปรึกษา

ขอขอบคุณทุกๆ หน่วยงานในการให้ข้อมูลสำ�หรับการจัดทำ�รายงานประจำ�ปีฉบับนี้


รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

83


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.