bank fake

Page 1

เอกส​า​ร​ประ​กอ​บก​า​รบรรย​า​ย​ ​ให้​คว​า​มรู้​เกี่ย​วกับ​

​ธนบัตร​ปลอม ​

และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง​ จัดทำ�โดย ฝ่ายรักษาความปลอดภัย ธนาคารแห่งประเทศไทย


พันธกิจ (Mission)

มุ่งเสริมสร้างสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจการเงินที่มีเสถียรภาพ และมีพัฒนาการอย่างยั่งยืนและทั่วถึง

วิสัยทัศน์ (Vision)

เป็นองค์กรที่มองไกล มีหลักการ และร่วมมือ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืนของไทย

ค่านิยมร่วม (Values)

ยืนตรง มองไกล ยื่นมือ ติดดิน

ฝึกให้เป็นนิสัยว่า...ทุกครั้งที่รับธนบัตร.. ต้องตรวจดู !!

ธนบัตรปลอมทำ�ให้เสียประโยชน์ เพราะธนบัตรปลอมเป็นเพียงเศษกระดาษ ที่ไม่สามารถแลกค่า หรือเปลี่ยนเป็นธนบัตรจริงได้ เท่ากับว่าผู้รับได้สูญเสียเงินตราไปแล้ว และอาจก่อให้เกิดโทษ เพราะเมื่อทราบว่าเป็นธนบัตรปลอมแล้ว ยังขืนนำ�ออกใช้ เป็นความผิดตามกฎหมาย โทษสูงสุดจำ�คุก 10 ปี


คำ�นำ�​ ​ ​ ธนาคาร​แห่งป​ ระเทศ​ไทย​เป็นอ​ งค์การ​ของ​รฐั ม​ หี น้าท​ ด​ี่ แู ล​รกั ษา​ระบบ​การ​เงิน​แ​ ละ​เศรษฐกิจ​ ของ​ประเทศ​ ​ทำ�​หน้าที่​จัด​ทำ�​ ​จัดการ​ ​และ​นำ�​ธนบัตร​ออก​ใช้​หมุนเวียน​ใน​ระบบ​ ​เริ่ม​จาก​โรง​พิมพ์​ ธนบัตร​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ ​ดำ�เนิน​การ​เกี่ยว​กับ​กระบวนการ​ผลิต​ธนบัตร​รัฐบาล​ไทย​ ​และ​ ​ฝ่าย​จัดการ​ธนบัตร​นำ�​ธนบัตร​ออก​ใช้​หมุนเวียน​​จนถึง​ขั้น​การ​จัด​เก็บ​​ทำ�ลาย​ ธนบัตร​รัฐบาล​ไทย​ที่​ออก​ใช้​หมุนเวียน​ใน​ระบบ​ ​ได้​มี​ผู้​กระทำ�​การ​ปลอม​แปลง​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​​ มี​ทั้ง​แบบ​และ​ชนิด​ราคา​ต่าง​ๆ​ ​ซึ่ง​เป็นการ​กระทำ�​ความ​ผิด​ตาม​ประมวล​กฎหมาย​อาญา​ ​ความ​ผิด​ เกี่ยว​กับ​เงิน​ตรา​ มาตรา​ ​240​ ​-​ ​249​ ​ลักษณะ​วิธี​การ​ปลอม​ก็​มี​การ​พัฒนา​ให้​ทัน​สมัย​ยิ่ง​ขึ้น​ตาม​ เทคโนโลยี​ ​ซึ่ง​พบ​ว่า​มี​ทั้ง​การ​ใช้​เครื่อง​พิมพ์​ออฟ​เซท​ ​เครื่อง​ถ่าย​เอกสาร​สี​ ​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ เครื่อง​สแกน​เนอ​ร์​ ​และ​เครื่อง​พิมพ์​ชนิด​พ่น​หมึกสี​ ​(​Ink​-​jet​)​ ​ทั้ง​แบบ​ธรรมดา​และ​แบบ​มัล​ติ​ฟัง​ก์ชั่น​​ ธนบัตร​ปลอม​ที่​เจ้า​หน้าที่​ตำ�รวจ​ทำ�การ​สืบสวน​จับกุม​ได้​ ​มี​ทั้ง​การนำ�​ออก​ใช้​ปะปน​ใน​ท้อง​ตลาด​​ ​ซึ่ง​บาง​ครั้ง​ได้​ผ่าน​เข้าไป​ใน​ระบบ​ธนาคาร​พาณิชย์​ ​และ​การ​ทำ�​เพื่อ​จำ�หน่าย​โดย​ซื้อ​ขาย​กัน​ใน​ราคา​​ ร้อย​ละ​​20​​-​​40​ ​ของ​ราคา​หน้า​ธนบัตร​ ​โดย​ส่วน​ใหญ่​มัก​ตรวจ​พบ​มาก​ใน​พื้นที่​กรุงเทพฯ​ ​ปริ​มณฑล​​ จังหวัด​ที่​เป็น​ศูนย์กลาง​การ​คมนาคม​ ​การ​ท่อง​เที่ยว​ ​และ​จังหวัด​ที่​มี​แนว​พรมแดน​ติดต่อ​กับ​ประเทศ​ เพื่อน​บ้าน​ ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ได้​ตระหนัก​ถึง​ผล​กระทบ​ต่อ​ระบบ​การ​เงิน​ใน​ด้าน​ความ​เชื่อ​ถือ​ต่อ​ เงิน​บาท​ ​และ​ความ​เดือด​ร้อน​ของ​ประชาชน​ผู้​สุจริต​ ​จึง​ได้​ดำ�เนิน​มาตรการ​ต่างๆ​ ​อย่า​งบู​รณา​การ​ ​ทั้ง​การ​กำ�หนด​นโยบาย​และ​กลยุทธ์ ​ใน​การ​ป้องกัน​และ​ปราบ​ปราม​ธนบัตร​ปลอม​ ​การ​ให้​ความ​รู้​ แก่​ประชาชน​เพื่อ​ให้​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ธนบัตร​ได้​ด้วย​ตนเอง​ ​และ​สามารถ​ให้​ความ​รู้​แก่​บุคคล​​ ข้าง​เคียง​ตอ่ ไ​ป​ได้​ก​ าร​ศกึ ษา​ว​ เิ คราะห์​เ​พือ่ ก​ �ำ หนด​รปู แ​ บบ​ว​ สั ดุ​แ​ ละ​ลกั ษณะ​ตอ่ ต​ า้ น​การ​ปลอม​แปลง ​ ​ต่างๆ​ ​ใน​ธนบัตร​ ​สำ�หรับ​ทาง​ด้าน​การ​ปราบ​ปราม​ ​ได้​มอบ​หมาย​ให้​ฝ่าย​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ ​ทำ�​หน้าที่​ประสาน​ความ​ร่วม​มือ​กับ​ส่วน​ราชการ​ที่​มีหน้า​ที่​เกี่ยวข้อง​​ ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​ด้าน​การ​ข่าว​และ​การ​สืบสวนปราบ​ปราม​ธนบัตร​ปลอม​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​ ​ ฝ่าย​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ ​ใคร่​ขอ​ขอบคุณ​ใน​ความ​ร่วม​มือ​ที่​ เกิด​ขึ้น​ ​และ​ที่​จะ​มี​ขึ้น​ต่อ​ไป​ใน​อนาคต​ ​ซึ่ง​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​พร้อม​ที่​จะ​ให้การ​สนับสนุน​ใน​ ขอบเขต​อำ�นาจ​หน้าที่​ ​เพื่อ​ให้การ​ดำ�เนิน​การ​บรรลุ​ผล​สำ�เร็จ​ร่วม​กัน​ ​อัน​จะ​เกิด​ประโยชน์​ต่อ​ความ​ ​สงบ​สุข​เรียบร้อย​ของ​ประเทศ​ชาติ​​และ​ประชาชน​​ทั้ง​ด้าน​เศรษฐกิจ​​การเมือง​​และ​สังคม​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​​ ฝ่าย​รักษา​ความ​ปลอดภัย​​ ​​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​


เปิดตู้ ปณ. รับแจ้งเบาะแส ผู้แจ้งความนำ�จับได้รับเงินสินบน ผู้จับกุมได้เงินรางวัล หากเบาะแสที่แจ้งนำ�ไปสู่การจับกุม ผู้แจ้งมีสิทธิ์ได้รับเงินสินบนตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ สูงสุดถึง

100,000 บาท

พบเห็นธนบัตรปลอม หรือได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ

ธนบัตรปลอม

โปรดแจ้งข่าวสารหรือเบาะแสที่ ตู้ ปณ. 18 ปณฝ.วังเทวะเวสม์ กรุงเทพฯ 10205 หรือที่โทรศัพท์ 0-2356-7987 โทรสาร 0-2356-7969 ทีมสืบสวน ฝ่ายรักษาความปลอดภัย


สารบัญ

ธนบัตรและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1 กระบวนการผลิตธนบัตร 2 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา 4 พระราชบัญญัติเงินตรา พุทธศักราช 2501 4 ​ ประมวลกฎหมายอาญา 5 ธนบัตรที่มีใช้หมุนเวียนอยู่ในปัจจุบัน 7 วิธีตรวจสอบธนบัตรจริง 9​ ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท แบบ 15 ปรับปรุง 10 ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท แบบ 15 12 ธนบัตรชนิดราคา 100 บาท แบบ 15 ปรับปรุง 14 ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท แบบ 15 ปรับปรุง 16 ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท แบบ 16 18 ประชาชนคือภูมิคุ้มกันธนบัตรปลอม 20 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัล 21​ การจับกุมการปลอมแปลงธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ พ.ศ.2526 แบบคำ�ขอรับเงินสินบน 27 แบบคำ�ขอรับเงินรางวัล 28 สำ�นักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ์ ปกหลังด้านใน


ทีมสืบสวน ฝ่ายรักษาความปลอดภัย ธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายช่วยงานบริหาร ฝ่ายรักษาความปลอดภัย

ศูนย์สืบสวนและประมวลข่าว ศูนย์อำ�นวยการกลาง ศูนย์ปฏิบัติการรักษาความปลอดภัย ทีมสืบสวน 1-2

ทีมประมวลข่าว

นายสมชาย ยังอยู่ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายรักษาความปลอดภัย

โทรศัพท์ 0-2356-7966 E-mail : SomchaiY@bot.or.th

นายเฉลิมพล กิ๊มประพันธ์ หัวหน้าศูนย์ ศูนย์สืบสวนและประมวลข่าว

โทรศัพท์ 0-2356-7988 E-mail : ChalermK@bot.or.th

นายชัยพฤกษ์ ไทยวิรัช ผู้บริหารทีม ทีมสืบสวน 1- 2

โทรศัพท์ 0-2356-7990 E-mail : ChaiyapT@bot.or.th

โทรศัพท์ 0-2356-7987 โทรสาร 0-2356-7969

นางสาวร่มเกล้า คำ�สงค์ นาวาตรีเนติภัทร นนท์พุฒิกร พันตำ�รวจตรีอานนท์ แก้วเขียว นายพัชราวุฒ พรหมเอื้อ

E-mail : RomklaoK@bot.or.th E-mail : NetipatN@bot.or.th E-mail : AnonK@bot.or.th E-mail : PatcharP@bot.or.th


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ธนบัตรและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ประเทศ​ไทย​เริ่ม​มี​ธนบัตร​ออก​ใช้​เป็นครั้ง​แรก​เมื่อ​วัน​ที่​ ​7​ ​กันยายน​ ​2445​ ในรัชสมัย​ ของพระบาท​สมเด็จ​พระ​จุล​จอม​เกล้า​เจ้า​อยู่​หัว​ ​รัชกาล​ที่​ ​5​ ตาม​พระ​ราช​บัญญัติ​ธนบัตร​สยาม​ รัตนโกสินทร์​ศก​ ​121​ ​ต่อ​มา​ ​ใน​ปี​พุทธ​ศักราช​ ​2485​ ​ได้​มี​การ​จัด​ตั้ง​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ขึ้น​​ ตาม​พระ​ราช​บัญญัติ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ พุทธ​ศักราช​ ​2485​ ​ซึ่ง​พระ​ราช​บัญญัติ​ฉบับ​นี้​ได้​ กำ�หนด​ให้การ​ออก​ใช้​ธนบัตร​เพื่อ​หมุนเวียน​ใน​ระบบ​เศรษฐกิจ ​เป็น​หน้าที่​โดยตรง​ของ​ธนาคาร​ แห่ง ​ป ระเทศ​ไทย​ ​ธนบัต ร​ที่​นำ�​ออก​ใช้ ​ใ น​ระยะ​แ รก​ต้ อง​ส ั ่ ง ​พิ มพ์ ​จาก​ต่ า ง​ป ระเทศ​ ​จน​ก ระทั่ง​ ​ปี​พุทธ​ศักราช​ ​2512​ ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ได้​จัด​ตั้ง​โรง​พิมพ์​ธนบัตร​​และ​เริ่ม​พิมพ์​ธนบัตร​ใช้เ​อง​ ภายใน​ประเทศ​​โดย​เริ่ม​พิมพ์​ธนบัตร​ตั้งแ​ ต่​ธนบัตร​​แบบ​​11​​เป็นต้น​มา​ ​ ​ปัจจุบัน​​หน้าที่​ของ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​เกี่ยว​กับ​ธนบัตร​นั้น​​อาศัย​อำ�นาจ​ตาม​กฎหมาย​​ 2​ ​ฉบับ​ ​ได้แก่​ ​พระ​ราช​บัญญัติ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ ​พุทธ​ศักราช​ ​2485​ ​และ​พระ​ราช​บญ ั ญัติ​​​ เงิน​ตรา​ ​พทุ ธ​ศกั ราช​ ​2501​ ​ทั้งนี้​ ​การ​ออก​ใช้​ธนบัตร​ต้อง​เป็น​ไป​ตาม​ที่​กฎหมาย​กำ�หนด​ ​กล่าว​คือ​​ ต้อง​มี​ทุนสำ�รองเงินตรา​หนุน​หลัง​เต็ม​มูลค่า​ของ​ธนบัตร​ที่​นำ�​ออก​ใช้​เสมอ​​​​ ​ ​

หน้าที่ : 1


กระบวนการผลิตธนบัตร กระบวนการผลิตธนบัตรมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การออกแบบธนบัตร เพื่อให้ธนบัตรที่ออกใหม่มีความสมบูรณ์ ต้องคำ�นึงถึงความ สวยงาม ความสะดวกในการพกพา เอกลักษณ์ ข้อจำ�กัดด้านเทคนิค และลักษณะต่อต้านการ ปลอมแปลง

2. การทำ�แม่แบบแม่พิมพ์ คือการสร้างลวดลายด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ การแกะแบบ โลหะ และการเขียนลวดลายเพื่อเป็นต้นฉบับ

3. การพิมพ์ มี 3 ระบบ คือ

พิมพ์ลวดลายสีพื้น ด้วยระบบออฟเซตแห้ง หน้าที่ : 2


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

พิมพ์พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์และลวดลายเส้นนูนด้วยระบบอินทาลโย

พิมพ์เลขหมายลายเซ็น ด้วยระบบเลตเตอร์เพรสส์

4. การตรวจสอบคุณภาพ คือการตรวจสอบและตรวจนับแผ่นพิมพ์ทกุ แผ่นและธนบัตรทุกฉบับ​

5. การผลิตธนบัตรสำ�เร็จรูป คือการนำ�แผ่นพิมพ์ธนบัตรที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว​ ไปตัดให้เป็นธนบัตรสำ�เร็จรูป และบรรจุห่อ

หน้าที่ : 3


กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา พระ​ราช​บัญญัติ​เงิน​ตรา​​พุทธ​ศักราช​​2501​ ​ ​หมวด​​1​ ​เงิน​ตรา​และ​หน่วย​ของ​เงิน​ตรา​ ​ ​มาตรา​​6​ ​เงิน​ตรา​ได้แก่​เหรียญ​กษาปณ์​และ​ธนบัตร​​ ​มาตรา​​7​ ​หน่วย​ของ​เงิน​ตรา​เรียก​ว่า​ ​“​บาท​”​ ​หนึ่ง​บาท​แบ่ง​เป็น​หนึ่ง​ร้อย​สตางค์​ ​ คำ�​ว่า​​“​บาท​”​​นั้น​​จะ​ใช้​เครื่องหมาย​​“​บ​.​”​​แทน​ก็ได้​ ​มาตรา​​9 ​ ​ห้าม​มิ ​ให้​ผู้​ใด​ทำ�​ ​จำ�หน่าย​ ​ใช้​ ​หรือ​นำ�​ออก​ใช้​ซึ่ง​วัตถุ​หรือ​เครื่องหมาย​ใด​​ๆ​​ แทน​เงิน​ตรา​​เว้น​แต่​จะ​​ได้​รับ​อนุญาต​จาก​รัฐมนตรี​ ​มาตรา​​10​ ​ให้​กระทรวง​การ​คลัง​จัด​ทำ�​และ​นำ�​ออก​ใช้​ซึ่ง​เหรียญ​กษาปณ์​ มาตรา​​11​ ​เหรียญ​กษาปณ์​เป็น​เงิน​ที่​ชำ�ระ​หนี้​ได้​ตาม​กฎหมาย​ไม่​เกิน​จำ�นวน​ที่​กำ�หนด​ โ ดย​ กฎ​กระทรวง​ ​มาตรา​​14​ ​ให้​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​มี​อำ�นาจ​จัด​ทำ�​ ​จัดการ​ ​และ​นำ�​ออก​ใช้​ซึ่ง​ธนบัตร​ ของ​รัฐบาล​ตาม​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ได้​ต่อ​ไป​ ​ให้​รัฐมนตรี​ประกาศ​ ​ชนิด​ ​ราคา​ ​สี​ ​ขนาด​ ​และ​ลักษณะ​อื่นๆ​ ​ของ​ธนบัตร​ที่​จะ​ออก​ใช้​ใน​​ ราช​กิจ​จาน​ุเบกษา​​เว้น​แต่​ใน​กรณี​ที่​จะ​นำ�​ออก​ใช้​ซึ่ง​ธนบัตร​ถอน​คืน​ ​มาตรา​​15​ ​ธนบัตร​เป็น​เงิน​ที่​ชำ�ระ​หนี้​ได้​ตาม​กฎหมาย​โดย​ไม่​จำ�กัด​จำ�นวน​ ​

ห​ มวด​​4​ บ​ ท​กำ�หนด​โทษ​

​ ​มาตรา​​35​ ผ​ ใ​ู้ ด​ฝา่ ฝืนม​ าตรา 9​ ​ต​ อ้ ง​ระวาง​โทษจำ�ค​ กุ ไ​ม่เ​กินส​ าม​ป​ีหรือป​ รับไ​ม่เ​กินห้าห​ มืน่ บาท​ ​หรือ​ทั้ง​จำ�​ทั้ง​ปรับ​ ​(​มาตรา​​35​​แก้ไข​โดย​​พระ​ราช​ก�ำ หนด​แก้ไข​เพิม่ ​เติม​​พรบ​.​เงิน​ตรา​​พ​.​ศ​.​2501​​พ​.​ศ​.​2521​)

หน้าที่ : 4


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ประมวล​กฎหมาย​อาญา​ ​ ​ลักษณะ​​7​ ​ความ​ผิด​เกี่ยว​กับ​การ​ปลอม​และ​การ​แปลง​ ​ ​หมวด​​1​ ​ความ​ผิด​เกี่ยว​กับ​เงิน​ตรา​ ​ ม​ าตรา​​240​ ​ ผู้​ใด​ทำ�​ปลอม​ข้นึ ​ซ่งึ ​เงิน​ตรา​ ​ไม่​ว่า​จะ​ปลอม​ข้นึ ​เพื่อ​ให้​เป็น​เหรียญ​กระษาปณ์​​ ธนบัตร​ ​หรือ​สง่ิ ​อน่ื ​ใด​ ​ซง่ึ ​รฐั บาล​ออก​ใช้​หรือ​ให้​อ�ำ นาจ​ให้​ออก​ใช้​ ​หรือ​ท�ำ ​ปลอม​ขน้ึ ​ซง่ึ ​พนั ธบัตร​รฐั บาล​ หรือ​ใบ​ส�ำ คัญส​ ำ�หรับ​รับ​ดอก​เบี้ย​พันธ​บัตร​นั้นๆ​ ​ผู้​นั้น​กระทำ�​ความ​ผิด​ฐาน​ปลอม​เงิน​ตรา​ ​ต้อง​ระวาง​ โทษจำ�​คุก​ตลอด​ชีวิต​​หรือ​จำ�​คุก​ตั้ง​แต่​สิบ​ปี​ถึง​ยี่สิบ​ปี​​และ​ปรับ​ตั้ง​แต่​สอง​หมื่น​บาท​ถึง​สี่​หมื่น​บาท​ ​มาตรา 241​ ​ผ้​ูใด​แปลง​เงิน​ตรา ไม่​ว่า​จะ​เป็น​เหรียญ​กระษาปณ์​ ธนบัตร หรือ​ส่งิ ​อ่นื ​ใด​ ซึ่ง​รัฐบาล​ออก​ใช้​หรือ​ให้​อำ�นาจ​ให้​ออก​ใช้​ ​หรือ​แปลง​พันธบัตร​รัฐบาล​หรือ​ใบ​สำ�คัญ​สำ�หรับ​รับ​ ดอก​เบีย้ ​พนั ธ​บตั ร​นน้ั ๆ​ ​ให้​ผดิ ​ไป​จาก​เดิม​ ​เพือ่ ​ให้​ผ​้อู น่ื ​เชือ่ ​วา่ ​ม​ีมลู ค่า​สงู ​กว่า​จริง​ ​ผ​้นู น้ั ​กระทำ�​ความ​ผดิ ​ ฐาน​แปลง​เงิน​ตรา​ ​ตอ้ ง​ระวาง​โทษจำ�​คุก​ตลอด​ชีวิต​ ​หรือ​จำ�​คุก​ตั้ง​แต่​ห้า​ปี​ถึง​ยี่สิบ​ปี​ ​และ​ปรับ​ตั้ง​แต่​ หนึ่ง​หมื่น​บาท​ถึง​สี่​หมื่น​บาท​​ ​มาตรา​​242​ ​ผู้​ใด​กระทำ�​โดย​ทุจริต​ให้​เหรียญ​กระษาปณ์​ซึ่ง​รัฐบาล​ออก​ใช้​มี​นำ�​หนัก​ลด​ลง​​ ​ต้อง​ระวาง​โทษจำ�​คุก​ไม่​เกิน​เจ็ด​ปี​​และ​ปรับ​ไม่​เกิน​หนึ่ง​หมื่น​สี่​พัน​บาท​ ​ผู้​ใด​นำ�​เข้า​ใน​ราช​อาณาจักร​ นำ�​ออก​ใช้​หรือ​มี ​ไว้​เพื่อ​นำ�​ออก​ใช้​ซึ่ง​เหรียญ​กระษาปณ์​ที่​มี​ ​ผู้​กระทำ�​โดย​ทุจริต​ให้​นำ�หนัก​ลด​ลง​ตาม​ความ​ใน​วรรค​แรก​​ต้อง​ระวาง​โทษ​เช่น​เดียวกัน​​ ​มาตรา​​243​ ผ​ ใ​ู้ ด​น�ำ เ​ข้าใ​น​ราช​อาณาจักร​ซงึ่ ส​ งิ่ ใ​ดๆ​อ​ นั เ​ป็นข​ อง​ปลอม​ตาม​มาตรา​2​ 40​ห​ รือ​ ของ​แปลง​ตาม​มาตรา​​241​​ต้อง​ระวาง​โทษ​ดัง​ที่​บัญญัติ​ไว้​ใน​มา​ตรา​นั้นๆ​​ ​มาตรา​​244​ ​ผ​ใู้ ด​มี​ไว้​เพือ่ ​น�ำ ​ออก​ใช้​ซง่ึ ​สง่ิ ​ใดๆ​ ​อนั ​ตน​ได้​มา​โดย​ร​วู้ า่ ​เป็น​ของ​ปลอม​ตาม​มาตรา​​ 240​ ​หรือ​ของ​แปลง​ตาม​มาตรา​ ​241​ ​ต้อง​ระวาง​โทษจำ�​คุก​ตั้ง​แต่​หนึ่ง​ปี​ถึง​สิบ​ห้า​ปี​ ​และ​ปรับ​ตั้ง​แต่​ สอง​พัน​บาท​ถึง​สาม​หมื่น​บาท​ ​มาตรา​​245​ ผ​ ู้​ใด​ได้​มา​ซึ่ง​สิ่ง​ใด​ๆ​​โดย​ไม่รู้​ว่า​เป็น​ของ​ปลอม​ตาม​มาตรา​​240​​หรือ​ของ​แปลง​ ​ตาม​มาตรา​ ​241​ ​ถ้า​ต่อ​มา​รู้​ว่า​เป็น​ของ​ปลอม​หรือ​ของ​แปลง​เช่น​ว่า​นั้น​ ​ยัง​ขืน​นำ�​ออก​ใช้​ ​ต้อง​ระวาง​ โทษจำ�​คุก​ไม่​เกิน​สิบ​ปี​​หรือ​ปรับ​ไม่​เกิน​สอง​หมื่น​บาท​​หรือ​ทั้ง​จำ�​ทั้ง​ปรับ​ หน้าที่ : 5


​มาตรา​​246​ ผ​ ใ​ู้ ด​ท�ำ เ​ครือ่ ง​มอื ห​ รือว​ ตั ถุส​ �ำ หรับป​ ลอม​หรือแ​ ปลง​เงินต​ รา​ไ​ม่ว​ า่ จ​ ะ​เป็นเ​หรียญ​ กระษาปณ์​ ​ธนบัตร​ ​หรือ​สิ่ง​ใด​ๆ​ ​ซึ่ง​รัฐบาล​ออก​ใช้​หรือ​ให้​อำ�นาจ​ให้​ออก​ใช้​ ​หรือ​สำ�หรับ​ปลอม​หรือ​ แปลง​พันธบัตร​รัฐบาล​ ​หรือ​ใบ​สำ�คัญ​สำ�หรับ​รับ​ดอก​เบี้ย​พันธ​บัตร​นั้นๆ​ ​หรือ​มี​เครื่อง​มือ​หรือ​วัตถุ​ เช่น​ว่า​นั้น​ ​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​ปลอม​หรือ​แปลง​ ​ต้อง​ระวาง​โทษจำ�​คุก​ตั้ง​แต่​ห้า​ปี​ถึง​สิบ​ห้า​ปี​ ​และ​ปรับ​ตั้ง​แต่​ หนึ่ง​หมื่น​บาท​ถึง​สาม​หมื่น​บาท​​ ​มาตรา​​247​ ​ถ้า​การ​กระทำ�​ดัง​กล่าว​ใน​หมวด​นี้​เป็นการ​กระทำ�​เกี่ยว​กับ​เงิน​ตรา​ ​ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ เหรียญ​กระษาปณ์​​ธนบัตร​​หรือ​สิ่ง​อื่น​ใด​​ซึ่ง​รัฐบาล​ต่าง​ประเทศ​ออก​ใช้​หรือ​ให้​อำ�นาจ​ให้​ออก​ใช้​​หรือ​ เกี่ยว​กับ​พันธบัตร​รัฐบาล​ต่าง​ประเทศ​ ​หรือ​ใบ​สำ�คัญ​สำ�หรับ​รับ​ดอก​เบี้ย​พันธบัตร​นั้น​ ​ผู้​กระทำ�​ต้อง​ ระวาง​โทษ​กึ่ง​หนึ่ง​ของ​โทษ​ที่​บัญญัติ​ไว้​ใน​มา​ตรา​นั้นๆ​​ ​มาตรา​​248​ ​ถ้า​ผู้​กระทำ�​ความ​ผิด​ตาม​มาตรา​ ​240​ ​มาตรา​ ​241​ ​หรือ​มาตรา​ ​247​ ​ได้​ กระทำ�​ความ​ผิด​ตาม​มาตรา​อื่น​ที่​บัญญัติ ​ไว้​ใน​หมวด​นี้​อัน​เกี่ยว​กับ​สิ่ง​ที่​ตน​ปลอม​หรือ​แปลง​นั้น​ด้วย​​ ​ให้​ลงโทษ​ผู้​นั้น​ตาม​มาตรา​​240​​มาตรา​​241​​หรือ​มาตรา​​247​​แต่​กระทง​เดียว​​ ​มาตรา​​249​ ​ผ​ใู้ ด​ท�ำ ​บตั ร​หรือ​โลห​ธาตุ​อย่าง​ใดๆ​ ​ให้​ม​ลี กั ษณะ​และ​ขนาด​คล้ายคลึง​กบั เงิน​ตรา​​ ไม่​ว่า​จะ​เป็น​เหรียญ​กระษาปณ์​ ​ธนบัตร​ ​หรือ​สิ่ง​ใดๆ​ ​ซึ่ง​รัฐบาล​ออก​ใช้​หรือ​ให้​อำ�นาจ​ให้​ออก​ใช้​ หรือ​ พันธบัตร​รัฐบาล​ ​หรือ​ใบ​สำ�คัญ​สำ�หรับ​รับ​ดอก​เบี้ย​พันธ​บัตร​นั้นๆ​ ​หรือ​จำ�หน่าย​บัตร หรือโลห​ธาตุ​ ​เช่น​ว่า​นั้น ​ต้อง​ระวาง​โทษจำ�​คุก​ไม่​เกิน​หนึ่ง​ปี​หรือ​ปรับ​ไม่​เกิน​สอง​พัน​บาท​หรือทั้ง​จำ�​ทั้ง​ปรับ​ ​ถ้า​การ​จำ�หน่าย​บัตร​หรือ​โลห​ธาตุ​ดัง​กล่าว​ใน​วรรค​แรก​ ​เป็นการ​จำ�หน่าย​โดย​การนำ�​ออก​ใช้​ ดัง​เช่น​สิ่ง​ใดๆ​ ​ที่​กล่าว​ใน​วรรค​แรก​ ​ผู้​กระทำ�​ต้อง​ระวาง​โทษจำ�​คุก​ไม่​เกิน​สาม​ปี​ ​หรือ​ปรับ​ไม่​เกิน​ หก​พัน​บาท​​หรือ​ทั้ง​จำ�​ทั้ง​ปรับ​​

การทำ�ปลอมหรือแปลงธนบัตร โทษสูงสุดจำ�คุกตลอดชีวิต นำ�ธนบัตรปลอมออกใช้ โทษสูงสุดจำ�คุก 15 ปี หน้าที่ : 6


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ธนบัตรที่มี ใช้หมุนเวียนอยู่ ในปัจจุบัน หมายเหตุ : ธนบัตรชนิดราคาและแบบอืน่ ๆ แม้จะมีหมุนเวียนไม่มากนัก แต่กย็ งั คงเป็นธนบัตร ที่ชำ�ระหนี้ได้ตามกฎหมาย

ธนบัตรชนิดราคา 20 บาท แบบ 12 (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2524)

ธนบัตรชนิดราคา 20 บาท แบบ 15 (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2546)

ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท แบบ 15 ปรับปรุง (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2547)

ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท แบบ 16 (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2555)

หน้าที่ : 7


ธนบัตรชนิดราคา 100 บาท แบบ 14 (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2537)

ธนบัตรชนิดราคา 100 บาท แบบ 15 (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2547)

ธนบัตรชนิดราคา 100 บาท แบบ 15 ปรับปรุง (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2548)

ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท แบบ 15 (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2544)

ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท แบบ 15 (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2542)

ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท แบบ 15 ปรับปรุง (นำ�ออกใช้เมื่อปี 2548) หน้าที่ : 8


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

วิธีตรวจสอบธนบัตรจริง

ลายนำ� ​เมื่อ​ยก​ธนบัตร​ขึ้น​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​จะ​เห็น​ลายนำ�​พระบรม​ฉายา​สาทิส​ลักษณ์​ และ​รูปล​ าย​ไทย​ที่​มี​ความ​โปร่งแสง​อย่าง​ชัดเจน​ทั้ง​ด้าน​หน้า​และ​ด้าน​หลัง​ ​ภาพ​ลายนำ�นี้​เกิด​ขึ้น​ใน​​ ขั้น​ตอน​การ​ผลิต​กระดาษ​ที่​ทำ�ให้​เนื้อ​กระดาษ​มี​ความ​หนา​แน่น​ไม่​เท่า​กัน​​จึง​ทำ�ให้​เห็น​เป็น​ภาพ​ที่​มี​การ​ ไ​ล่ร​ ะดับข​ อง​แสง​เงา​ออ่ น​แก่ค​ ล้าย​ภาพ​สาม​มติ ​ิ ไม่ใช่ภ​ าพ​แบน​ราบ​เหมือน​ธนบัตร​ปลอม​ที่ใ​ช้ก​ าร​พมิ พ์​ ภาพ​ลง​บน​ผิว​กระดาษ​​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ เมื่อจับสัมผัสจะรู้สึกถึงความแกร่งของเนื้อกระดาษ ​ ใยฝ้ายสำ�หรับใช้ผลิตกระดาษธนบัตร ​กระดาษ​ธนบัตร​​ทำ�​จาก​กระดาษ​ที่​มี​ใย​ฝ้าย​เป็น​ส่วน​ประกอบ​หลัก​​จึง​มี​ความ​แกร่ง​​ทนทาน​​ และ​ไม่​ยุ่ย​ง่าย​ ​เมื่อ​จับ​สัมผัส​จะ​ให้​ความ​รู้สึก​แตก​ต่าง​จาก​กระดาษ​ทั่วไป​ ​ธนบัตร​ปลอม​ทำ�​จาก​ กระดาษ​คุณภาพ​ตำ�​​เมื่อ​ถูก​ใช้​เปลี่ยน​มือ​เพียง​ไม่​กี่​ครั้ง​​เนื้อ​กระดาษ​ก็​จะ​นิ่ม​เป็น​ขุย​และ​ยุ่ย​ง่าย

หน้าที่ : 9


ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท แบบ 15 ปรับปรุง ด้านหน้า ๕

๑ ๒

๑. แถบฟอยล์สีเงิน มีรูปพระครุฑพ่าห์ ตัวเลข “๑๐๐๐” และ “1000” มองเห็นเป็นหลายมิติ จะเปลี่ยนสีและสะท้อนแสง วาววับเมื่อพลิกธนบัตรไปมา ๒. ตัวเลขแฝง “1000” ซ่อนในลายไทย มองเห็นได้เมื่อยก ธนบัตรเอียงเข้าหาแสงสว่าง โดยมองผ่านจากมุมล่างซ้าย เข้าหากึ่งกลางของธนบัตร ๓. ตัวเลขขนาดจิ๋ว “1000” บรรจุในตัวเลข “๑๐๐๐” จะอ่านได้โดยใช้แว่นขยาย ๔. พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ ตัวอักษร และตัวเลข แจ้งราคา พิมพ์เส้นนูน จะรู้สึกสะดุดเมื่อสัมผัสด้วยปลายนิ้ว ๕. ตัวเลข “1000” พิมพ์ด้วย หมึกพิมพ์พิเศษ มองเห็นส่วนบน เป็นสีทอง ส่วนล่างเป็นสีเขียว เมื่อพลิกขอบล่างธนบัตรขึ้น จะเห็นเป็นสีเขียวทั้งหมด

หน้าที่ : 10


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ธนบัตร​ชนิด​ราคา​​1000​​บาท​​แบบ​​15​​ปรับปรุง​​ด้าน​หลัง​ ​

​ ​ ​ ​ ​ ​ ๒​

๑​ ​. ​ ลายนำ� ​พระบรม​ฉายา​สาทิส​ลักษณ์​​มอง​เห็น​ได้​ชัดเจน​เมื่อ ​ยก​ธนบัตร​​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​​และ​รูป​ลาย​พุ่ม​ข้าว​บิณฑ์​ซึ่ง​มี​ ความ​โปร่งแสง​เป็น​พิเศษ​ ​ ​๒​.​ รูป​ดอกบัว​พิมพ์​แยก​ไว้​บน​ด้าน​หน้า​และ​ด้าน​หลัง ​เมื่อ​ยก​ ​ ธนบัตร​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​​จะ​เห็น​เป็น​รูป​ดอกบัว​ที่​สมบูรณ์​ ​ ​๓​.​ ​ เส้นใย​สี ​โลหะ ​ฝัง​ใน​เนื้อ​กระดาษ​ตาม​แนว​ยืน​​ปรากฏ​ให้​ เห็น​เป็น​ระยะ​เฉพาะ​ที่​ด้าน​หลัง​​เมื่อ​ยก​ธนบัตร​ส่อง​ดู​กับ​ ​แสง​สว่างจะ​เห็น​ตัวเลข​และ​ตัว​อักษร​โปร่งแสง​ ​

ลักษณะ​พิเศษ​ที่​ปราก​ฎ​ภาย​ใต้​รังสี​เหนือ​ม่วง​​(​แบล็กไลท์​)​ ​๑​.​​ลาย​พื้น​สี​เหลือง​​เรือง​แสง​เป็น​สี​เหลือง​

​๒​.​​หมวด​อักษร​และ​เลข​หมาย​​เปลี่ยน​จาก​สี​แดง​เป็น​สี​ส้ม​เรือง​แสง​

๓​.​​มี​เส้นใย​เรือง​แสง​สีนำ�เงิน​​สี​แดง​​และ​สี​เหลือง​​ใน​เนื้อ​กระดาษ หน้าที่ : 11


ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท แบบ 15 1 6

2

3 4 5

1. พิมพ์ด้วยระบบเส้นนูน เมื่อใช้ปลายนิ้วมือลูบสัมผัสจะรู้สึกได้ชัดเจน

2. ลายนำ� พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ และ ลายประจำ�ยาม โปร่งแสงเป็นพิเศษ

3. เส้นใยฝังในเนื้อกระดาษ มีตัวเลขและตัวอักษร 500 บาท เห็นได้เมื่อยกส่องกับแสงสว่าง

หน้าที่ : 12


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4. ภายในเลขบอกราคา มีตัวเลขและอักษรขนาดจิ๋ว อ่านได้โดยแว่นขยาย

5. ตัวเลขแฝง เมื่อเอียงธนบัตรได้มุมมองที่เหมาะสม จะเห็นเลข “500”

6. แถบฟอยล์สีเงิน มีตราอักษรพระปรมาภิไธยย่อ “ภ.ป.ร.” และตัวเลข “500” มองเห็นเป็น หลายมิติ จะเปลี่ยนสี และสะท้อนแสงแวววับ เมื่อพลิกธนบัตรไปมา

2 1 3

ลักษณะพิเศษ ที่ปรากฎภายใต้รังสีเหนือม่วง (แบล็กไลท์) 1. หมวดอักษรและหมายเลขเรืองแสง 2. ลวดลายประดิษฐ์ตอนกลางเรืองแสง 3. มีเส้นใยเรืองแสง สีแดง สีเหลือง และสีนำ�เงิน ในเนื้อกระดาษ หน้าที่ : 13


ธนบัตรชนิดราคา 100 บาท แบบ 15 ปรับปรุง ด้านหน้า ๔

๑ ๒ ๓

๑​.​​แถบ​ฟอยล์​สี​เงิน​​​มี​พระ​ราชลัญจกร​ประจำ�​พระองค์​รัชกาล​ที่​​9​ ​ตัวเลข​​“​๑๐๐​”​​และ​​“​100​”​​มอง​เห็น​เป็น​หลาย​มิติ​​จะ​เปลี่ยน​สี​ ​และ​สะท้อน​แสง​วาววับ​เมื่อ​พลิก​ธนบัตร​ไป​มา​ ​ ​ ​๒​.​​ตัวเลข​แฝง​​“​100​”​​​ซ่อน​ใน​ลาย​ไทย​​มอง​เห็น​ได้​เมื่อ​ยก​ธนบัตร​ เอียง​เข้าหา​แสง​สว่าง​​โดย​มอง​ผ่าน​จาก​มุม​ล่าง​ซ้าย​เข้าหา​กึ่งกลาง​ ของ​ธนบัตร​ ​ ​ ​๓​.​​ตัวเลข​ขนาด​จิ๋ว​​“​100​”​​บรรจุ​ใน​ตัวเลข​​“​๑๐๐​”​​จะ​อ่าน​ได้​ ​โดย​ใช้​แว่น​ขยาย​ ​ ​ ​๔​.​​พระบรม​ฉายา​สาทิส​ลักษณ์​​ตัว​อักษร​​และ​ตัวเลข​​แจ้ง​ราคา​​ ​พิมพ์​เส้น​นูน​​จะ​รู้สึก​สะดุด​เมื่อ​สัมผัส​ด้วย​ปลาย​นิ้ว​ ​ ​ ​๕​.​​ตัวเลข​​“​100​” ​​พิมพ์​แยก​ไว้​บน​ด้าน​หน้า​และ​ด้าน​หลัง​​เมื่อ​ยก​ ธนบัตร​​ด้าน​หน้า​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​​จะ​เห็น​เป็น​ตัวเลข​​“​100​”​​ ที่​สมบูรณ์​

หน้าที่ : 14


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ธนบัตร​ชนิด​ราคา​​100​​บาท​​แบบ​​15​​ปรับปรุง​​ด้าน​หลัง​

​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​

๑​ ​.​​ลายนำ�​​พระบรม​ฉายา​สาทิส​ลักษณ์​​มอง​เห็น​ได้​ชัดเจน​เมื่อ​ ยก​ธนบัตร​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​​และ​รูป​ลาย​ประจำ�​ยาม​ซึ่ง​มี​ความ​ โปร่งแสง​เป็น​พิเศษ​ ​ ​ ๒​.​​เส้นใย​สี ​โลหะ​​ฝัง​ใน​เนื้อ​กระดาษ​ตาม​แนว​ยืน​​เมื่อ​ยก​ธนบัตร​​ ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​​จะ​เห็น​ตัวเลข​และ​ตัว​อักษร​โปร่งแสง​

ลักษณะพิเศษ ที่ปรากฎภายใต้รังสีเหนือม่วง (แบล็กไลท์) 1. หมวดอักษรและหมายเลขเรืองแสง 2. ลวดลายประดิษฐ์ตอนกลางเรืองแสง 3. มีเส้นใยเรืองแสง สีแดง สีเหลือง และสีนำ�เงิน ในเนื้อกระดาษ

หน้าที่ : 15


ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท แบบ 15 ปรับปรุง ด้านหน้า

หน้าที่ : 16

๑​.​ ​ตัวเลข​ ​“​50​”​ ​ ​พิมพ์​แยก​ไว้​บน​ด้าน​หน้า​และ​ด้าน​หลัง​ ​เมื่อ​ยก​ ธนบัตร​ด้าน​หน้า​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​ ​จะ​เห็น​เป็น​ตัวเลข​ ​“​50​”​ ที่​สมบูรณ์​ ​ ​๒​.​​ตัวเลข​แฝง​​“​50​”​​​ซ่อน​ใน​ลาย​ประดิษฐ์​​มอง​เห็น​ได้​เมื่อ​ยก​ธนบัตร​​ ​เอียง​เข้าหา​แสง​สว่าง​ ​โดย​มอง​ผ่าน​จาก​มุม​ล่าง​ซ้าย​เข้าหา​กึ่งกลาง​​ ​ของ​ธนบัตร​ ​ ​๓​.​ ​ตัวเลข​ขนาด​จิ๋ว​ ​“​50​”​ ​ ​บรรจุ​ใน​ตัวเลข​ ​“​๕๐​”​ ​จะ​อ่าน​ได้​โดย​ใช้​ แว่น​ขยาย​ ​ ​ ​๔​.​ ​พระบรม​ฉายา​สาทิส​ลักษณ์​ ​ตัว​อักษร​ ​และ​ตัวเลข​ ​แจ้ง​ราคา​​ ​พิมพ์​เส้น​นูน​​จะ​รู้สึก​สะดุด​เมื่อ​สัมผัส​ด้วย​ปลาย​นิ้ว​ ​ ​ ๕​ .​​​ล​ ายนำ�​พ​ ระบรม​ฉายา​สาทิสล​ กั ษณ์​ม​ อง​เห็นไ​ด้ช​ ดั เจน​เมือ่ ย​ ก​ธนบัตร​​ ​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​ ​และ​รูป​ลาย​ดอก​ลอย​ซึ่ง​มี​ความ​โปร่งแสง​เป็น​ พิเศษ​ ​ ​ ​ ​ ​


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท แบบ 15 ปรับปรุง ด้านหลัง

๑ ๒

​ ​

๑​.​​เส้นใย​สี​โลหะ​​​ฝัง​ใน​เนื้อ​กระดาษ​ตาม​แนว​ยืน​​เมื่อ​ยก​ธนบัตร​ส่อง​ดู​ กับ​แสง​สว่าง​​จะ​เห็น​ตัวเลข​และ​ตัว​อักษร​โปร่งแสง​ ​ ​ ​ ​๒​.​​พระ​ครุฑ​พ่าห์​​​ทั้ง​ด้าน​หน้า​และ​ด้าน​หลัง​พิมพ์​ใน​ตำ�แหน่ง​ตรง​กัน​​​​ เมื่อ​ยก​ธนบัตร​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​​จะ​เห็น​ซ้อน​ทับ​กัน​สนิท​

ลักษณะพิเศษ ที่ปรากฎภายใต้รังสีเหนือม่วง (แบล็กไลท์) 1. หมวดอักษรและหมายเลขเรืองแสง 2. ลวดลายประดิษฐ์ตอนกลางเรืองแสง 3. มีเส้นใยเรืองแสง สีแดง สีเหลือง และสีนำ�เงิน ในเนื้อกระดาษ

หน้าที่ : 17


ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท แบบ 16 ด้านหน้า

๑๒ ๓

๑​.​ ตัวเลข​ ​“​50​”​ ​ ​พิมพ์​แยก​ไว้​บน​ด้าน​หน้า​และ​ด้าน​หลัง​ ​เมื่อ​ยก​ ธนบัตร​ด้าน​หน้า​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​ ​จะ​เห็น​เป็น​ตัวเลข​ ​“​50​”​ ที่​สมบูรณ์​ ​ ​ ๒​.​ตัวเลข​แฝง​ ​“​50​”​ ​ ​ซ่อน​ใน​ลายกนกอยู่ ในกรอบสีนำ�เงินเข้ม​ มอง​เห็น​ได้​เมื่อ​ยก​ธนบัตร​เอียง​เข้าหา​แสง​สว่าง​ ​โดย​มอง​ผ่าน​จาก​​ มุม​ล่าง​ซ้าย​เข้าหา​กึ่งกลาง​​ของ​ธนบัตร​ ​ ๓​ .​​ล​ ายนำ�​พ​ ระบรม​ฉายา​สาทิสล​ กั ษณ์​ม​ อง​เห็นไ​ด้ช​ ดั เจน​เมือ่ ย​ ก​ธนบัตร​ ​ส่อง​ดู​กับ​แสง​สว่าง​​และตัวเลข “๕๐” มีความโปร่งแสงเป็นพิเศษ ​ ​ ๔​.​ พระบรม​ฉายา​สาทิสล​ กั ษณ์​ต​ วั อ​ กั ษร​แ​ ละ​ตวั เลข​แจ้งร​ าคา​ลวดลาย​ ประดิษฐ์ และพระครุฑพ่าห์ พิมพ์​เส้น​นูน​ ​จะ​รู้สึก​สะดุด​เมื่อ​สัมผัส​ ด้วย​ปลาย​นิ้ว​ ​ ๕​.​ สัญลักษณ์แจ้งชนิดราคา สำ�หรับผู้พิการทางสายตาพิมพ์นูนเป็น​ รูปดอกไม้ในแนวเฉียง ๒ ดอก ​ ​ ​ ​ หน้าที่ : 18


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท แบบ 16 ด้านหลัง

๑. เส้นแถบสีนำ�เงิน ฝังในเนื้อกระดาษตามแนวยืนโดยมีบางส่วนของ แถบสีนำ�เงินปรากฎให้เห็นเป็นระยะที่ด้านหลัง ของธนบัตร และจะเปลี่ยนเป็นสีแดงเมื่อเปลี่ยน มุมมองภายในแถบมีข้อความ “50 บาท BATH” ขนาดเล็กสามารถอ่านได้ทงั้ สองด้านเมือ่ ยกส่องดู กับแสงสว่าง

ลักษณะพิเศษ ที่ปรากฎภายใต้รังสีเหนือม่วง (แบล็กไลท์) 1. ลายประดิษฐ์และลายพันธุ์พฤกษาสีเหลือง จะเปลี่ยนเป็นสีส้มเรืองแสง 2. ลายพันธุ์พฤกษาสีม่วงเบื้องขวา จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมเขียวเรืองแสง 3. หมวดอักษรและเลขหมายเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีส้มเรืองแสง 4. มีเส้นใยเรืองแสงสีเหลือง แดง นำ�เงิน ในเนื้อกระดาษ หน้าที่ : 19


ประชาชน​คือ​ภูมิคุ้มกัน​ธนบัตร​ปลอม​

​จาก​ข้อ​เท็จ​จริง​ที่​ว่า​ใน​การ​พิมพ์​ธนบัตร​ไม่​ว่า​จะ​จัด​ให้​มี​ลักษณะ​ต่อ​ต้าน​การ​ปลอม​แปลง ​ ที่​ดี​เพียง​ใด​ก็ตาม​ ​ก็​จะ​ยัง​คง​มี​ผู้​ผลิต​หรือ​ผู้​ที่​พยายาม​นำ�​ธนบัตร​ปลอม​ออก​มา​ใช้​ ​โดย​อาศัย​จุด​อ่อน​​​ ​ของ​ประชาชน​ผู้​สุจริต​ที่ ​ไม่ ​ได้​ให้​ความ​สนใจ​สังเกต​ตรวจ​สอบ​หรือ​ไม่รู้​วิธี​การ​สังเกต​ตรวจ​สอบ​ ธนบัตร​ ​วิธี​ป้องกัน​ธนบัตร​ปลอม​ที่​ได้​ผล​ดี​ที่สุ ด​ก ็ ​ค ื อ ​ ​ก าร​ก ระตุ้น​เตือน​ให้​ประชาชน​ต้อง​ให้​ความ​ สนใจ​สังเกต​ตรวจ​สอบ​ธนบัตร​ทุก​ครั้ง​ที่ ​ได้​รับ​พร้อม ​ๆ​​ไป​กับ​การ​ให้​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​เกี่ยว​กับ​ ​วิธี​การ​สังเกต​ตรวจ​สอบ​ธนบัตร​ที่​ไม่​ยุ่ง​ยาก​ซับ​ซ้อน ​เพื่อ​ให้​ประชาชน​สามารถ​ท​จ่ี ะ​สงั เกต​ตรวจสอบ ​ ธนบัตร​ได้​ด้วย​ตนเอง​ ​ประชาชน​ท​ม่ี ​คี วาม​รู้ ​ใน​การ​สงั เกต​ตรวจ​สอบ​ธนบัตร​ ​จะ​ชว่ ย​ปอ้ งกัน​ตนเอง​ไม่ ​ให้​ตก​เป็น​เหยือ่ ของ​ผู้ท​ ุจริต​ ​และ​จะ​เป็น​ภูมิคุ้มกัน​ที่​สามารถ​ช่วย​ยับยั้ง​การ​แพร่​กระจาย​ของ​ธนบัตร​ปลอม​ได้​อย่าง​​ มี​ประสิทธิภาพ​ ​ ​ทุก​คน​สามารถ​ช่วย​กัน​ยับยั้ง​ธนบัตร​ปลอม​ด้วย​การ​กระทำ�​​ดังนี้​ ​-​​ตรวจ​สอบ​สังเกต​ธนบัตร​ก่อน​รับ​ไว้​ทุก​ครั้ง​​โดย​เฉพาะ​ธนบัตร​ชนิด​ราคา​สูง​​​ ​-​ไม่​นำ�​ธนบัตร​ปลอม​ที่​รับ​ไว้​แล้ว​ออก​ใช้​อีก​​เพราะ​มี​ความ​ผิด​ตาม​กฎหมาย​​​ ​-​ หาก​มี​ผู้นำ�​ธนบัตร​ปลอม​มา​ใช้​กับ​ท่าน​ ​ควร​สอบถาม​ราย​ละเอียด​ ​เช่น​ ​ได้​มา​อย่างไร​​ จาก​ใคร​​ที่ ​ใด​​เป็นต้น​​​ ​-​ จดจำ�​ลักษณะ​รูป​พรรณ​และ​สิ่ง​อื่น​ๆ​ ​เกี่ยว​กับ​ผู้นำ�​มา​ใช้ ​ให้​มาก​ที่สุด​ ​เพื่อ​เป็น​ข้อมูล​ใน​การ​ สืบสวน​จับกุม​​​ ​- ​แจ้ง​เจ้า​หน้าที่​ตำ�รวจ​ที่​อยู่ ​ใกล้ท​ ี่​เกิด​เหตุ​ ​หรือ​โทรศัพท์​แจ้ง​ไป​ยัง​สถานี​ตำ�รวจ​ท้อง​ที่​ ​ หรือ​ที่​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​​โทรศัพท์​​0​-​2356​-​7987​​โทร​สาร​​0​-​2356​-​7969

หน้าที่ : 20


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ระเบีย​บกระ​ทรวงก​ารค​ลังว่าด​้วย​การจ​่ายเ​งินสิ​นบน​และเ​งินราง​วัล​ การจั​บกุ​มการ​ปลอม​แ​ปลงธนบ​ัตร​และเหร​ียญกษา​ปณ์​พ.ศ​.2​526​ ....​.. ​....​....​.​.....​.....​...​...​.​..​.​....​....

​โ​ดยท​ี่เห​็นสม​ควรว​างร​ะเบี​ย​บ​ก​า​ร​จ​่ายเ​ง​ินสินบน​และ​เงิน​ราง​วัล​การจับก​ุมก​า​รปลอมแ​ป​ล​ง​ ธ​น​บ​ัต​รและเหร​ียญ​กษาปณ​์ให​้​เ​ป็นไปโด​ยเหมาะส​มยิ​่งขึ​้น ​อาศั​ยอำ�​นาจต​ามข้​อ 53 ​แห่​ง​ระเบ​ียบ​ กา​รเบ​ิกจ่าย​เงิ​นจาก​คลัง​พ.ศ. ​252​0 กระท​รวงการ​ค​ล​ัง​จ​ึงวาง​ร​ะ​เ​บีย​บ​ไ​ว​้ดังนี้​ ข​้อ ​ 1 ระเบ​ียบ​นี้​เรี​ย​ก​ว​่า “ระเบีย​บ​กระท​ร​วงการคล​ัง​ว​่าด้​ว​ย​ก​า​รจ่​ายเงิน​ส​ิน​บ​น​และ​ เงิ​นรา​งวัล​การจ​ับกุม​ก​ารปล​อมแปลง​ธนบ​ัตรและ​เหร​ียญกษา​ปณ์ พ.​ศ. 2​5​2​6​”​ ​ ​ข้อ 2 ร​ะ​เบียบนี​้ให​้ใช้​ตั้ง​แต่วั​น​ที่ ​1 กุมภ​าพั​นธ์ 25​26 ​เป็นต้​นไป ข​้อ 3 ให้ย​กเล​ิ​ก​ ​(​1​)​ ​ร​ะ​เบีย​บ​ก​า​ร​จ​่ายเงิน​สิน​บน เ​งินร​างวัล​จ​ับธน​บัตรแล​ะเห​รียญกษ​าปณ​์ปลอม​ ​ พ.ศ. 2​519 ​(​2​) ระ​เบี​ย​บ​ก​า​ร​จ​่า​ย​เงิน​ส​ินบน เ​งินรางว​ัลจ​ับธนบั​ต​รและ​เห​รียญ​กษาป​ณ์​ปลอ​ม​ (​ฉบับ​ที่ ​2) ​พ.ศ. 25​22 ​(​3) ​ระเ​บียบการ​จ่า​ยเง​ิ​น​สิน​บ​น​ ​เ​งินรางว​ัลจ​ับธ​นบั​ตรและ​เหรี​ยญกษ​าปณ​์ปลอม​ (​ฉบั​บที​่3) พ​.ศ.​2​522 ​ บรร​ดาระเ​บ​ียบ​ข้อ​บ​ังค​ับ ห​รือค​ำ�สั่ง​อ​ื่นใ​ดที่​ขัดห​รือแย้​งกั​บระ​เบี​ยบนี้ ​ให้ใช้​ระเ​บีย​บนี้​แทน ​ ข้อ 4 ระ​เบียบน​วี้ างไ​วเ​้ พือ​่ เ​ปน​็ หลัก​ การพ​จิ ารณาของทางราชการทีจ่ ะจ่ายเงินสินบนให้แก่​ ผู้แจ้งความนำ�จับ หรือจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้จับกุมเกี่ยวกับการปลอมแปลงธนบัตร และเหรียญ กษาปณ์ ตามแต่จะเห็นสมควร

หน้าที่ : 21


ห​ม​ว​ด ​1​ ​ข้​อ​ความทั่​วไป​ 1​/ “ข้อ 5 ​ในระ​เ​บ​ียบนี้ (1​)​“ธนบั​ตรป​ลอม​” หม​ายคว​ามว่​า ธนบ​ัตรท​ี​่ได้ป​ลอม​หร​ือแปลงเ​สร็จ​แล​้ว พร้อมท​ี​่จะ​ ​จำ�หน​่ายหรือ​นำ�อ​อกใช้ไ​ด้ แ​ละเจ้า​หน้​าที่​ของธ​นาคารแห​่ง​ประเ​ทศไ​ทย หรือเจ​้​าหน้​าที่ดูเ​ง​ินของ สำ�นักงา​นคล​ังจัง​ห​วัด​ หรือสำ�​นัก​งานคลั​งอำ�เ​ภอ ​ได้พิ​สูจ​น์แ​ละรับร​อ​งแล้​วว่​าคล้า​ยกับของ​รัฐ​บาล​ ซ​ึ่ง​อาจท​ำ�ให้ปร​ะชา​ชนหลงเ​ช​ื่อ​ว่าเป็​นธนบัต​รของ​ร​ัฐบาล “​เหร​ี​ย ญกษาป​ณ์ ป ลอม​” ห​ม าย​ค วาม​ว่ า ​เหรี ​ย ญกษา​ป ณ์ ท ​ี่ ไ ด้ ป ​ล อม​ห ร​ือ แปลง​ เ​สร็จ​แล​้ว ​พร้อมท​ี​่จะ​จำ�หน​่ายหรือ​นำ�​ออกใ​ช้ไ​ด้ ​แ​ละ​เจ้าห​น​้าที่ดูเ​ง​ินขอ​งกรมธนา​ร​ักษ์​ สำ�นักงา​น​ คล​ังจัง​ห​วัด​ หรือสำ�​นัก​งานคลั​งอำ�เ​ภอ ​ได้พิ​สูจ​น์แ​ละรับร​อ​งแล้​วว่​าคล้า​ยกับของ​รัฐ​บาล ซ​ึ่ง​อาจ ​ ท​ำ�ให้ปร​ะชาชนห​ลงเ​ชื่อว่​า​เ​ป​็น​เ​ห​รียญกษา​ป​ณ​์ขอ​งรัฐ​บาล ​ (2)​ ​“​ผ้​ูแ​จ้ง​ความ​นำ�จับ​” หม​ายค​วามว​่า ผู้​ซ่งึ ​มิใช่​พนั​กงานฝ่​ายปกคร​องหร​ือตำ�รวจ​​ ตามป​ระมว​ล​กฎห​มาย​วธิ ​พี จิ า​รณ​าควา​มอ​าญา ​ได้​ชช้ี อ​่ งหรือ​น�​ำ​ค​วาม​มาแ​จง้ ต​อ่ เ​จ​า้ หน​​า้ ​ทต่​ี าม​ท​ร่ี ะบ​ไุ ว้​ใน​ ข้อ 6 ​หรือ ข​อ้ 7​แ​ละเป็น​ผ​ล​ใ​ห​ก้ ​า​ร​จบั ​กมุ เป็​น​ผ​ลสำ�เร็จ ​ (​3​) “ผ​ู้จ​ับกุ​ม” หมา​ยควา​มว่า ​พนั​กงานฝ่​ายปกคร​องหร​ือตำ�รวจ​ตามป​ระมว​ล​กฎหมาย​ ว​ ธิ พี จิ า​รณา​ควา​มอา​ญา แล​ะให้หม​ายค​วามร​วมถึงผูท​้ �ำ การส​บื สวนอ​นั เ​ปน็ ป​ ระโยช​น​์โด​ ย​ ต​ ร​ ง​ เ​กีย​่ วกับ​ ก​า​รจับกุม ​ (​4​) “เ​งนิ สิน​บน” หม​ายคว​ามว​า่ ​เงิ​นที​่ทางร​าชการ​จา​่ ย​ให้แ​กผ่ แ้​ู จ​ง้ ความน​�ำ จับ ผ​ผู้ ล​ติ ​ แล​ะหรือจ​ำ�หน่าย​ธนบั​ต​ร​ป​ล​อ​ม​ห​ร​ือเห​รียญกษ​า​ป​ณ์ปลอม ​ (5​)​ “เง​ินรางว​ัล” หม​ายคว​ามว​่า ​เงิ​นที่ทา​งรา​ชการ​จ่า​ยให้​แก่ผู้จ​ับกุมผ​ู้ผล​ิตแล​ะหรือ ​ จ​ำ�หน่าย​ธนบั​ต​ร​ป​ล​อ​ม​ห​ร​ือเหรีย​ญ​ก​ษาปณ์ปลอ​ม ​ ​(6) “​อปุ กรณ์​” ห​มาย​ความ​วา่ บรร​ดาส​ง​่ิ ของที​่ใช​​เ้ ​ปน็ เครือ่ งม​​อื เ​ครือ่ ​งใช้​เคร​​อ่ื งจักร​และ​ วัสดุ ส​ำ�หรับใ​ช​้ทำ�ธ​นบั​ต​รห​รือเห​รียญ​กษาปณ์​ซึ่​งกรมธน​ารั​กษ์ห​รือ​ธนาค​า​รแห่งปร​ะเทศ​ไทยแ​ล้ว​แ​ต่ กร​ณี พิจา​ รณาแ​ลว้ เ​ห็น​ ว​า่ เ​ป็นป​ จั จัยส​ �ำ คัญ ​ ที่ใ​ช้ในก​ารผลิตธ​ นบัต​ รปลอมหรือเหรียญกษาปณ์ปลอม”

หน้าที่ : 22


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

หมว​ด​​2​ ​การแจ้​งควา​มนำ�จ​ับ ข​้อ ​ 6 ผู้ร​ับแ​จ​้งความ​น​ำ�​จ​ับ​ต​าม​ ระเ​บียบนี้​ได​้แก่​ ​ (1​) ป​ลัดก​ระทร​วงการคล​ัง ​หรือ​ผู้​ซึ่ง​ป​ล​ัด​ก​ร​ะ​ทรว​งการคล​ังมอบห​มาย ​ (2) ​ผ​วู้ า​่กา​รธน​าคาร​แห่​งประเท​ศไทย ห​รอื ผ​ซ้ ู ง่ ึ ​ผ​ว้ ู า่ ​การธ​น​า​ค​า​ร​แ​หง​่ประเ​ทศไ​ท​ยม​อบหมา​ย​ (​3) ​อธิบ​ดีกรมธ​นาร​ั​กษ​์หรื​อผู​้ซึ่​ง​อ​ธ​ิบ​ด​ีกรม​ธนา​รักษ์ม​อบหมาย ​ ​ (4​) ผ​วู้ า​่ราชก​ารจังหว​​ดั รอ​งผูว้ า่ ​ร​าชก​ารจัง​ห​วดั ​ปลัดจ​​งั ​ห​วด​ั ​นายอ​�ำ เภอ ปล​ดั อำ�เ​ภอ ​ ผู้​เ​ป​็น​ห​ัว​หน้าปร​ะจำ�​กิ่งอ​ำ�​เภอ​ (5)​อธ​ิบดีก​ร​มตำ�​รวจ ​รองอธิ​บดี​กรมตำ�​ร​วจ ​ผู้ช่วยอ​ธิบดี​ก​รมต​ำ�รว​จ ผู้บัญ​ชาการ ​ ต​ำ�รว​จ รอ​งผู​้บัญชากา​รตำ�รว​จ​ผู​้ช่วยผู้บ​ัญชาก​า​รตำ�​รวจ​ผู้บังคั​บการต​ำ�​รวจ​รองผ​ู้บ​ังคับ​ก​ารต​ำ�รว​จ ผู้​กำ�ก​ับการ​ต​ำ�รวจ รอ​งผู้​กำ�กับ​ก​ารตำ�รวจ​ สารว​ั​ตรใ​หญ่ตำ�ร​วจ ​สารวั​ต​รตำ�รวจ ​ผู้บั​งคับก​อ​งตำ�รวจ​ หัวห​น้าสถ​านีตำ�​ร​วจ ห​ัว​หน​้ากิ​่งส​ถานี​ตำ�รวจ​ซึ่​งมีย​ศตั้ง​แต่ช​ั้นส​ัญ​ญ​า​บัต​ร​ห​ร​ือเท​ียบเ​ท่าข​ึ้นไป​ ​ ข้​อ 7 การ​แจ้งค​วามน​ำ�จับ​ ผู​้แจ้งค​วามน​ำ�จับ​ต้​อง​แจ​้งต่อ​ผู​้รับ​แ​จ​้งความคนใ​ด​ค​นหนึ​่งใ​น ข้​อ 6 เท​่าน​ั้น ​กรณี​ที่​ต้อ​งจับ​ก​ุมผู​้กร​ะทำ�ควา​มผิ​ดโด​ยด่วน​ ซึ่​งถ้​ารั​้งร​อไว​้ผ​ู้ก​ระท​ำ�​ควา​มผิดอาจ​หลบหนี​ ไปได​้ และผูป​้ ร​ะสงค​จ์ ะแ​จง้ ​ความนำ�​จบั ม​อิ าจ​แจ้​ง​ควา​ม​ต​อ่ ผูร​้ ​บั แจ้งค​ว​ามต​ามข​อ้ ​6 ได​ท้ ​นั ท่ว​งที ให​้​แจ้ง​ ต่อพน​ั​กงาน​ฝ่​ายปกค​รอง หร​ือต​ำ�รวจ ​ซึ่ง​มีอ​ำ�นา​จจับกุ​มผู้กร​ะทำ�ค​วามผิดต​ามปร​ะมวล​กฎ​หม​าย​วิธี​ พ​จิ ารณ​าค​ วาม​อาญ​าคนใ​ดคน​หนึง​่ ก็ได้​แล้ว​ ให้พน​ ก​ั ง​านฝ่า​ยปกคร​องหร​อื ตำ�รว​จผ​ เ​ู้ ข้าจับ​ ก​ มุ น​ น​ั้ รา​ยงาน​ ผลก​ารจั​บกุ​ม แ​ละส​่งรา​ยละเ​อียดห​ลัก​ฐาน​กา​รรับแ​จ้ง​ความ​นำ�จั​บให​้ผู​้มีอ​ำ�นา​จร​ับแ​จ​้ง​ความ​ตาม​ที่​ ร​ะ​บ​ุไว​้​ใ​น​ข้อ 6​ทร​าบโ​ดยด่​วน ข​ ้อ 8​ ​เมื​่อได​้รับแจ้​งความน​ำ�จับ​ ให้​เจ้าห​น้า​ที​่ผู้​รับ​แจ้​งคว​ามนำ�​จับจ​ัดทำ�​หลักฐานการ​ รับแจ้งควา​มเป็​นหนัง​สื​อม​อบให​้ผู​้แจ้ง​ความ​นำ�จ​ั​บ โ​ดยระบุก​ารกระท​ำ�คว​ามผิ​ด ราย​ล​ะ​เอี​ยด​ เ​ก​ี่ยว​กับ ​ชอ่​ื ​บคุ ค​ล (​ถา้ ​ม)ี ​ส​ถานที​่ วั​นเ​วลาที​ร่ บั แ​จง้ เสร​จ็ แ​ลว้ ล​งลายมือ​ชอ่ื ตำ�​แหน่​งของ​เจ้าหน้าทีผ่ รู้ บั ​ แจ​้งค​วาม ​ส่วน​ช่อื ท​่​ีอยู​่ของ​ผ้​ูแ​จ้ง​ความน​ำ�จั​บจะใ​ส่ร​หัส​ลับ ​และพ​ิมพ​์ลายน​ิ​้วม​ือไ​ว้เ​ป็นหลัก​ฐา​นก็​ได้ ​ ​แต่ถา​้ไ​มป​่ ร​ะสงค์​จะปิ​ด​เป็​นควา​มลั​บ ใ​ห้เข​ียนช​ื่อ ท​ี​่อย​ู่ข​องผ​ู้แจ​้งคว​ามนำ�จ​ับ​ และให​้ผู้​แจ้ง​ความ​ น​ำ�จั​บลงล​ายม​ือช​ื่อ ห​รือพ​ิมพ​์​ล​ายน​ิ้วมือไว​้เป​็นห​ลัก​ฐาน ​(ตาม​ตัวอย​่างข​องแบบรับแจ​้​งความนำ�จับ ท้ายระเบียบนี้)

หน้าที่ : 23


1​/ ​“​ขอ้ ​ ​9​ ​เมือ่ ​ได้​ม​กี าร​จบั กุม​ผ​ตู้ อ้ งหา​พร้อม​ดว้ ย​ของ​กลาง​แล้ว​ ​ให้​พนัก​งาน​สอบสวน​ปฏิบตั ิ​​ ดังนี้​ (​1​) กรณีท​ ข​ี่ อง​กลาง​เป็นส​ งิ่ ของ​ที่ใ​ช้เ​ป็นเ​ครือ่ ง​มอื ​เ​ครือ่ ง​ใช้​เ​ครือ่ งจักร​แ​ ละ​วสั ดุ​ สำ�หรับ​ใช้​ท�ำ ​ธนบัตร​ปลอม​หรือ​เหรียญ​กษาปณ์​ปลอม​ ​ให้​พนัก​งาน​สอบสวน​ด�ำ เนิน​การ​ให้​กรม​ธ​นา​รกั ษ์​ หรือ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​​แล้ว​แต่​กรณี​พิจารณา​​หาก​เห็น​ว่า​เป็น​อุปกรณ์​ก็​ให้​ดำ�เนิน​การ​ประเมิน​ ราคา​ต่อ​ไป​ (​2​) กรณี​ที่​ของ​กลาง​เป็น​ธนบัตร​ปลอม​หรือ​เหรียญ​กษาปณ์​ปลอม​ ​ให้​พนัก​งาน​ สอบสวน​ดำ�เนิน​การ​ให้​เจ้า​หน้าที่​ของ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​​หรือ​เจ้า​หน้าที่​ดู​เงิน​ของ​กรม​ธ​นา​รักษ์​ สำ�นักงาน​คลัง​จังหวัด​ ​สำ�นักงาน​คลัง​อำ�เภอ​ ​แล้ว​แต่​กรณี​ ​รับรอง​ว่า​เป็น​ธนบัตร​ปลอม​หรือ​เหรียญ​ กษาปณ์​ปลอม​”​ ​

ห​ มวด​​3​ ​หลัก​เกณฑ์​การ​จ่าย​เงิน​สินบน​และ​เงิน​รางวัล​

​1​/​ ​ ​“​ข้อ​​10​​​หลัก​เกณฑ์​การ​จ่าย​เงิน​สินบน​และ​เงิน​รางวัล​ ​ (​1​) การ​จ่าย​เงิน​สินบน​​ให้​จ่าย​แก่​ผู้​แจ้ง​ความ​นำ�จับ​​ดังนี้​ ​ ​ ​ ​ 1.1 ถ้าจ​ บั ไ​ด้ต​ วั ผูต​้ อ้ งหา​และ​ของ​กลาง​เป็นอ​ ปุ กรณ์​ใ​ห้จ​ า่ ย​เงินส​ นิ บน​ใน​อตั รา​ ไม่​เกิน​ร้อย​ละ​ ​30​ ​ของ​ราคา​อุปกรณ์​ตาม​ที่​กรม​ธ​นา​รักษ์​หรือ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​​แล้ว​แต่​กรณี​ ประเมิน​ราคา​​แต่​ต้อง​ไม่​เกิน​หนึ่ง​แสน​บาท​ ​ ​ ​ ​ 1.2​ ถ้าจ​ บั ไ​ด้ต​ วั ผูต​้ อ้ งหา​และ​ของ​กลาง​เป็นธ​ นบัตร​ปลอม​หรือเ​หรียญ​กษาปณ์​ ปลอม​​ให้​จ่าย​เงิน​สินบน​ใน​อัตรา​ไม่​เกิน​ร้อย​ละ​​30​​ของ​ราคา​ใน​หน้า​ธนบัตร​ปลอม​หรือ​เหรียกษาปณ์​ ปลอม​ที่​จับ​ได้​​แต่​ต้อง​ไม่​เกิน​หนึ่ง​แสน​บาท​ (​2​) ​ การ​จ่าย​เงิน​รางวัล​​ให้​จ่าย​ให้​แก่​ผู้​จับกุม​​ดังนี้​ ​ ​ ​ ​ 2.1​ ถ้า​จับ​ได้​ตัวผู้​ต้องหา​และ​ของ​กลาง​เป็น​อุปกรณ์​ ให้​จ่าย​เงิน​รางวัล​ใน​ อัตรา​ไม่​เกิน​ร้อย​ละ​ ​25​ ​ของ​ราคา​อุปกรณ์​ตาม​ที่​กรม​ธ​นา​รักษ์​หรือ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​​แล้ว​แต่​ กรณี​ประเมิน​ราคา​​แต่​ต้อง​ไม่​เกิน​หนึ่ง​แสน​บาท​ ​ ​ ​ ​ 2.2 ถ้าจ​ บั ไ​ด้ต​ วั ผูต​้ อ้ งหา​และ​ของ​กลาง​เป็นธ​ นบัตร​ปลอม​หรือเ​หรียญ​กษาปณ์​ ปลอม​ใ​ห้จ​ า่ ย​เงินร​ างวัลใ​น​อตั รา​ไม่เ​กินร​ อ้ ย​ละ​2​ 5​ข​ อง​ราคา​ใน​หน้าธ​ นบัตร​ปลอม​หรือเหรียญ​กษาปณ์​ ปลอม​ที่​จับ​ได้​​แต่​ต้อง​ไม่​เกิน​หนึ่ง​แสน​บาท​ ​ ​ ​ ใน​กรณี​ที่​จับกุม​ได้​โดย​ไม่มี​ผู้​แจ้ง​ความ​นำ�จับ​ ​ให้​จ่าย​เงิน​รางวัล​ใน​อัตรา​ไม่​เกิน ​​ ร้อย​ละ​​30​​ตาม​นัย​​2.1​​หรือ​​2.2​​แล้ว​แต่​กรณี​”​ ​

หน้าที่ : 24


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

​ ​ข้อ​ ​11​ ​เงิน​สินบน​และ​เงิน​รางวัล​ ​จะ​จ่าย​ได้​ก็​ต่อ​เมื่อ​พนัก​งาน​อัยการ​สั่ง​ฟ้อง​ผู้​ต้องหา​ ​เป็น​จำ�นวน​ครึ่ง​หนึ่ง​ของ​อัตรา​ตาม​ข้อ​ ​9​ ​ถ้า​คดี​ถึงที่​สุด​ศาล​ลงโทษ​จำ�เลย​ ​ก็​ให้​จ่าย​เพิ่ม​เติม​ให้​ครบ​ จำ�นวน​​แต่​ถ้า​คดี​ถึงที่​สุด​ศาล​ไม่​ลงโทษ​จำ�เลย​​จะ​จ่าย​เพิ่ม​อีก​ไม่​ได้​

หมวด​​4​ ​การ​ขอรับ​เงิน​สินบน​​เงิน​รางวัล​

​ ​ ข้อ​ 12 การ​ขอรับ​เงิน​สินบน​ ​เงิน​รางวัล​ ​ให้​ผู้​แจ้ง​ความ​นำ�จับ​หรือ​ผู้​จับกุม​ยื่น​ค�ำ ขอ​ต่อ​ บุคคล​​ต่อ​ไป​นี้​ภายใน​​90​​วัน​​นับ​แต่​วัน​สั่ง​ฟ้อง​ผู้​ต้องหา​​หรือ​วัน​ที่​คดี​ถึงที่​สุด​​แล้ว​แต่​กรณี​ ​(​1​) ​ใน​กรุงเทพมหานคร​​ให้​ยื่น​ต่อ​อธิบดี​กรม​ธ​นา​รักษ์​ ​ ​(​2​) ใน​ส่วน​ภูมิภาค ให้​ยื่น​ต่อ​ผู้​ว่า​ราชการ​จังหวัด​ ให้​ผู้​ว่า​ราชการ​จังหวัด​ซึ่ง​ ได้​รับคำ�ขอส่ง​คำ�ขอ​รับ​เงิน​สินบน​ ​หรือ​เงิน​รางวัล​ ​พร้อมด้วย​หลัก​ฐาน​ไป​ยัง​อธิบดี​กรม​ธ​นา​รักษ์​ ภายใน​​15​​วัน​นับ​แต่​วัน​ได้​รับคำ�​ขอรับ​เงิน​ ข​ ้อ​ ​13​ ​คำ�ขอ​รับ​เงิน​สินบน​ ​เงิน​รางวัล​ ​ให้​จัด​ทำ�​ตาม​แบบ​ท้าย​ระเบียบ​นี้​และ​แนบ​เอกสาร​ ต่างๆ​​ไป​เพื่อ​ประกอบ​การ​พิจารณา​​คือ​ ​ ​(​1​) ​หนังสือ​แจ้ง​ผล​คดี​ของ​ผู้รับ​แจ้ง​ความ​นำ�จับ​ตาม​ข้อ​​6​ ​ ​(​2​) บันทึก​การ​จับกุม​ของ​ผู้​จับกุม​ ​ ​(​3​) ​ถ้า​มี​ข้อ​ตกลง​ใน​การ​แบ่ง​เงิน​สินบน​​ให้​ส่ง​บันทึก​ข้อ​ตกลง​นั้น​ด้วย​ ​ (​4​)​ หลัก​ฐาน​การ​ตรวจ​รับรอง​ของ​เจ้า​หน้าที่​ดู​เงิน​ของ​กรม​ธ​นา​รักษ์​ ​สำ�นักงาน​ คลัง​จังหวัด​​สำ�นักงาน​คลัง​อำ�เภอ​​หรือ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ ​ ​(​5​) หลัก​ฐาน​การ​ประเมิน​ราคา​อปุ กรณ์​ของ​กรม​ธ​นา​รกั ษ์​หรือ​ธนาคาร​​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ ​ ​(​6​) ​ ​ใบ​แจ้ง​ความ​นำ�จับ​​​เฉพาะ​ใน​กรณี​ขอรับ​เงิน​สินบน​ ​ ​(​7​) สำ�​เนา​คำ�​พิ​พาก​ษา​คดี​ถึงที่​สุด​ ​หรือ​หนังสือ​แจ้ง​ผล​คดี​ของ​พนัก​งาน​อัยการ​ แล้ว​แต่​กรณี​ ​ ​ เอกสาร​ดัง​กล่าว​ให้​ส่ง​ต้นฉบับ​​1​​ชุด​​พร้อม​กับ​ภาพถ่าย​หรือ​สำ�เนา​อีก​อย่าง​ละ​​2​​ชุด​ ​ ​ข้อ​ ​14 ใน​กรณี​ที่​การ​จับกุม​เป็น​ผล​สำ�เร็จ​ ​เนื่องจาก​มี​ผู้​แจ้ง​ความ​นำ�จับ​หลาย​คน​ ​ถ้า​มิได้​ มี​หลัก​ฐาน​การ​ตกลง​ไว้​เป็น​อย่าง​อื่น​​ให้​จ่าย​เงิน​สินบน​ให้​ทุก​คน​​โดย​แบ่ง​เฉลี่ย​เท่า ​ๆ​​กัน​ ​ ​ข้อ​ ​15​ ​ใน​กรณี​ที่​มี​ผู้​จับกุม​หลาย​คน​​ให้​จ่าย​เงิน​รางวัล​ให้​ทุก​คน​โดย​แบ่ง​เฉลี่ย​เท่า ​ๆ​​กัน​ ​ ข้อ​ 16​ ​ใน​กรณี​ท​ผ่ี ​มู้ ​สี ทิ ธิ​ได้​รบั ​เงิน​สนิ บน​ ​หรือ​เงิน​รางวัล​ถงึ แก่​กรรม​ ​หรือ​ม​คี วาม​จ�ำ เป็น​ ​อน่ื ​ใด ไม่​สามารถ​ขอรับ​เงิน​สินบน​หรือ​เงิน​รางวัล​ได้​ ​ให้​ทายาท​หรือ​ผู้​จัดการ​มรดก​ของ​ผู้​นั้น​เป็น​ ผู้​ยื่น​คำ�ขอ​แทน​​แล้ว​แต่​กรณี​ หน้าที่ : 25


ข้อ 17​ การ​พจิ ารณา​การ​จา่ ย​เงิน​สนิ บน​และ​เงิน​รางวัล​​ให้​อธิบดี​กรม​ธ​นา​รกั ษ์​เป็น​ผ​มู้ ​อี �ำ นาจ​ พิจารณา ข้อ 18 การ​จ่าย​สินบน​ให้​แก่​ผู้​แจ้ง​ความ​นำ�จับ​ ​ใน​กรณี​มี​ผู้​แจ้ง​ความ​นำ�จับ​โดย​วิธี​ไม่เปิด​ เผย​ชื่อ​​ให้​ผแู้​ จ้ง​ความ​นำ�จับ​ทำ�​ใบรับ​เงินโ​ดย​พิมพ์​ลาย​นิ้ว​มือ​ไว้​​ไม่​ต้อง​ระบุ​ชื่อ​​แล้ว​ให้​ผู้รับแจ้ง​ความ​​ ลง​ลายมือ​ชื่อ​รับรอง​ใน​ใบรับ​เงิน​นั้น​ด้วย​​ใบ​สำ�คัญ​รับ​เงิน​ดัง​กล่าว​ให้​ถือ​เป็น​ใบ​สำ�คัญ​คู่​จ่าย​เงิน​ ข้อ 19 ผู้​มี​สิทธิ​ได้​รับ​เงิน​สินบน​หรือ​เงิน​รางวัล​ ​จะ​ต้อง​ขอรับ​เงิน​จาก​กรม​ธ​นา​รักษ์​ ภายใน 2​​ปี​​นับ​แต่​วัน​สั่ง​จ่าย​ 1​ /​ ​ “​ขอ้ 2​ 0 ​เงินส​ นิ บน​และ​เงินร​ างวัลต​ าม​ระเบียบ​น​ ้ี ให้จ​ า่ ย​จาก​เงินง​ บ​ประมาณ​ของ​กรมธ​นา​รกั ษ์​ ​ใน​หมวด​เงิน​อุดหนุน​ ​ เมื่อ​อธิบดี​กรม​ธ​นา​รักษ์​สั่ง​จ่าย​เงิน​สินบน​และ​เงิน​รางวัล​การ​จับกุม​การ​ปลอม​แปลง​ ธนบัตร​ให้​แก่​ผู้​ยื่น​คำ�ขอ​แล้ว​ ให้​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​จ่าย​เงิน​จาก​บัญชี​ผล​ประโยชน์​ประจำ�​ปี​ ตาม​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​เงิน​ตรา​ให้​แก่​กรม​ธ​นา​รักษ์​ ​เพื่อ​นำ�​ไป​จ่าย​เป็น​เงิน​สินบน​และ​เงิน​รางวัล​ดงั ​กล่าว​​ เมื่อ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศ​ไทย​ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​รัฐมนตรี​ว่าการ​กระทรวง​การ​คลัง​ให้การ​จ่าย​เงิน​​ สินบน​และ​เงิน​รางวัล​การ​จับกุม​การ​ปลอม​แปลง​ธนบัตร​เป็นการ​อัน​เกี่ยว​กับ​กิจการ​ธนบัตร​แล้ว”​ ข้อ​ 21 เงิน​สินบน​หรือ​เงิน​รางวัล​สำ�หรับ​การ​จับกุม​การ​ปลอม​แปลง​ธนบัตร​หรือ​เหรียญ​ กษาปณ์​ก่อน​ระเบียบ​นี้ ​ใช้​บังคับ​ ​ให้​จ่าย​ตาม​ระเบียบ​การ​จ่าย​เงิน​สินบน​ ​เงิน​รางวัล​จับ​ธนบัตร​ และ​เหรียญ​กษาปณ์​ปลอม​ ​พ​.​ศ​.​ ​2519​ ​ซึ่ง​แก้ไข​เพิ่ม​เติม​โดย​ฉบับ​ที่​ ​2​ ​พ​.​ศ​.​ ​2522​ ​และ​ฉบับ​ที่​ ​3​ ​ พ​.​ศ​.​​2522​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ประกาศ​​ณ​​วัน​ที่​​2​​​กุมภาพันธ์​​2526​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​สม​หมาย​​​ฮุน​ตระกูล​ ​ ​(​นาย​สม​หมาย​​​ฮุน​ตระกูล​)​ ​ ​รัฐมนตรี​ว่าการ​กระทรวง​การ​คลัง​ ​ ​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​…​.​ ​1​/ ​แก้ไข​ตาม​ระเบียบ​กระทรวง​การ​คลัง​ว่า​ด้วย​การ​จ่าย​เงิน​สินบน​และ​เงิน​รางวัล​ฯ​​พ​.​ศ​.​2529​ ​ประกาศ​ณ ​ ​​วัน​ที่​​13​​ตุลาคม​​2529

หน้าที่ : 26


ความรู้เกี่ยวกับธนบัตรปลอมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

แบบคำ�ขอรับเงินสินบน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัล การจับกุมการปลอมแปลงธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ พ.ศ.2526 ...........................................

เขียนที่..................................................

วันที่...........เดือน.......................พ.ศ........

ชือ่ ผูข้ อรับเงินสินบน................................................................................

อายุ..........ปี อยู่บ้านเลขที่.....................หมู่ที่.................ถนน.............................. ตำ�บล..............................อำ�เภอ.......................จังหวัด.....................................​ มีความประสงค์ขอรับเงินสินบนตามใบแจ้งความนำ�จับซึ่งได้แจ้งความไว้แล้ว เมื่อวันที่.............. …...............................................คดีหมายเลขที่............................................. ลายมือชื่อหรือลายพิมพ์นิ้วหัวแม่มือขวาผู้ขอรับเงินสินบน..................................

หน้าที่ : 27


แบบคำ�ขอรับเงินรางวัล ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัล การจับกุมการปลอมแปลงธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ พ.ศ.2526 .......................................

เขียนที่..................................................

วันที่...........เดือน.......................พ.ศ........

ชือ่ ผูข้ อรับเงินรางวัล............................................................................

อายุ......ปี อยู่บ้านเลขที่...............หมู่ท... ่ี ...........................ถนน........................... ตำ�บล..........................อำ�เภอ.................................จังหวัด.............................. มีความประสงค์ขอรับเงินรางวัลที่ได้จับกุมตามคดีหมายเลขที่..........................................

หน้าที่ : 28

ลายมือชื่อผู้ขอรับเงินรางวัล...................................................................


สำ�นักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ์ ถนนจักรพงษ์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2280-7404 ถึง 6 โทรสาร 0-2280-7408

มีข้อสงสัยเรื่องเอกสารการขอรับเงินสินบนและเงินรางวัล ติดต่อโดยตรงได้ที่ คุณมณฑาทิพย์ พิชญาภรณ์ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป โทรศัพท์ 0-2281-1269 และ 0-2280-7404 ถึง 6 ต่อ 229 โทรศัพท์มือถือ 08-3014-0844 คุณสุพัตรา แซ่จิว นักจัดการงานทั่วไปชำ�นาญการ โทรศัพท์ 0-2281-1269 และ 0-2280-7404 ถึง 6 ต่อ 229 โทรศัพท์มือถือ 08-1722-9806 การดำ�เนินการด้านเอกสารต้องเร่งดำ�เนินการเพื่อยื่นต่ออธิบดีกรมธนารักษ์ ภายในกำ�หนดเวลา 90 วัน นับตั้งแต่วันสั่งฟ้องผู้ต้องหา และ/หรือ วันที่คดีถึงที่สุด


ธนาคารแห่งประเทศไทย เลขที่ 273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

ส่วนบริการธนบัตรกรุงเทพ และศูนย์จัดการธนบัตรในส่วนภูมิภาค ส่วนบริการธนบัตร กรุงเทพ

ศูนย์จัดการธนบัตร เชียงใหม่

ศูนย์จัดการธนบัตร พิษณุ โลก

ศูนย์จัดการธนบัตร ขอนแก่น

ศูนย์จัดการธนบัตร อุบลราชธานี

เลขที่ 18 หมู่ 2 ถ.บรมราชชนนี ต.ขุนแก้ว อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม 73120 โทร. 0-2356-8735

เลขที่ 68/3 ถ.โชตนา​ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50300 โทร. 0-5393-1021

เลขที่ 312 หมู่ 1 ถ.สิงหวัฒน์ ต.บ้าน กร่าง อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก 65000 โทร. 0-5526-2887

เลขที่ 393 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000 โทร. 0-4324-1959

เลขที่ 555 หมู่ 18 ถ.ชยางกูร ต.ขามใหญ่ อ.เมืองอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี 34000 โทร. 0-4531-7881

ศูนย์จัดการธนบัตร นครราชสีมา

ศูนย์จัดการธนบัตร ระยอง

ศูนย์จัดการธนบัตร หาดใหญ่

ศูนย์จัดการธนบัตร สุราษฎร์ธานี

ศูนย์จัดการธนบัตร พังงา

เลขที่ 33 หมู่ 8 ถ.มิตรภาพ ต.หมื่นไวย อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา 30000 โทร. 0-4425-9699

เลขที่ 40 หมู่ 3 ถ.สุขุมวิท ต.เนินพระ อ.เมืองระยอง จ.ระยอง 21000 โทร. 0-3861-9155

เลขที่ 472 ถ.เพชรเกษม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 30110 โทร. 0-7427-2045

เลขที่ 41/4 หมู่ 2 ถ.สายสุราษฎร์ธานี - พุนพิน ต.วัดประดู่ อ.เมือง​ สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี 84000 โทร. 0-7720-1306

เลขที่ 76 หมู่ 3 ถ.เทศบาลบำ�รุง ต.ถำ�นำ� ผุด อ.เมืองพังงา จ.พังงา 82000 โทร. 0-7646-0744


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.