PREFACE คำนำ
ตามทมี่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติมพ ระราชบญ ั ญัตธิ นาคารแห่งป ระเทศไทย (ธปท.) พ.ศ.2485 โดย พ ระราชบญ ั ญัติ ธปท. (ฉบับท ี่ 4) พ.ศ.2551 ทำให้ ธปท. ต้องปรับบ ทบาทการให้ค วามชว่ ยเหลือท างการ เงินแก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญให้เหมาะสมกับภารกิจอันพึงเป็นงานของธนาคารกลางในการดำรงไว้ซึ่ง เสถียรภาพทางการเงิน เสถียรภาพระบบสถาบันการเงิน และระบบการชำระเงิน ยกเว้นกรณีที่ ธปท. ได้มีข้อผูกพันไว้ก่อนทพี่ ระราชบัญญัติ ธปท. (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้ ซึ่ง ธปท. จะดำเนิน การต่อไปได้จนกว่าจะครบกำหนดเวลาตามข้อผูกพัน ซึ่งในส่วนของการให้ความช่วยเหลือท างการเงิน แก่ภาคเศรษฐกิจทสี่ ำคัญก็ได้สิ้นส ุดลงแล้วเมื่อว ันที่ 29 พฤษภาคม 2554
เนื่องจากการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ เป็นงานที่ ธปท. ได้ดำเนินการผ่านสถาบันการเงินมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลายาวนานตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2499 ฝ่ายกำกับการแลกเปลี่ยนเงินและสินเชื่อซึ่งรับผิดชอบดูแลงานด้านนี้จึงเห็นสมควรจัดทำหนังสือที่ ระลึกเพื่อรวบรวมสาระที่น่าสนใจเกี่ยวกับการดำเนินการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของ ธปท. ในแต่ละยุคสมัยที่มีส่วนสำคัญในการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในระยะเวลาที่ผ่านมา โดยได้รวบรวมความเห็นของผู้ประกอบการภาคเอกชนที่มีส่วนร่วมในโครงการให้ความช่วยเหลือและ อดีตผ ู้บริหาร ธปท. ทีเ่คยทำงานทางด้านนี้ไว้ด้วย คณะทำงานจดั ท ำหนังสือห วังเป็นอ ย่างยงิ่ ว า่ ห นังสือเล่มน จี้ ะเป็นป ระโยชน์ต อ่ ผ ทู้ สี่ นใจและ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับภ าคสถาบันการเงินของประเทศ ในบทบาทการให้ความช่วยเหลือท างการเงินของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจทสี่ ำคัญ คณะทำงานจัดทำหนังสือ สิงหาคม 2554
MESSAGE FRO สารจากผู้ว่าการ
ตลอดเวลาเกือบเจ็ดสิบปีที่ผ่านมา ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ทำหน้าที่รักษา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจก ารเงิน เพือ่ ให้เศรษฐกิจข ยายตวั ได้อ ย่างมนั่ คงและยงั่ ยืน ซึง่ ในชว่ งแรกๆ ของ การวางรากฐานเศรษฐกิจ ธปท. เข้าไปมบี ทบาทในการให้ค วามชว่ ยเหลือท างการเงินแ ก่ภ าคเศรษฐกิจท ี่ สำคัญผ่านสถาบันการเงิน เนื่องจากในขณะนั้นส ถาบันการเงินส ่วนใหญ่ก็ยังไม่สามารถแบกรับภาระใน การเป็นก ลไกหลักในการกระจายความเจริญได้ ทำให้ผ ปู้ ระกอบการยงั ไม่ส ามารถเข้าถ งึ ส นิ เชือ่ ได้ง า่ ยนกั ธปท. จึงเข้าม ามสี ว่ นชว่ ยจดั สรรเงินท นุ ท มี่ อี ยูอ่ ย่างจำกัดให้เป็นไปในทศิ ทางทเี่ ป็นป ระโยชน์ต อ่ เศรษฐกิจ ส่วนรวม และช่วยสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและกระจายความ เจริญไปสภู่ มู ภิ าคตามแผนพฒ ั นาเศรษฐกิจ ซึง่ ในระหว่างการดำเนินก าร ธปท. เองกต็ อ้ งคำนึงถ งึ ค วาม สอดคล้องในการดำเนินนโยบายการเงินที่เหมาะสมกับเสถียรภาพเศรษฐกิจ และเป็นความท้าทายของ ธปท. ในการรกั ษาสมดุลข องการสนับสนุนก ารพฒ ั นาเศรษฐกิจข องประเทศ ในขณะเดียวกันก็ต อ้ งดแู ล รักษาปริมาณเงินให้เหมาะสม และไม่ให้มีการแทรกแซงทางการเมือง ในระยะแรกของการให้ค วามชว่ ยเหลือท างการเงิน ได้เน้นไปทกี่ ารชว่ ยเหลือด า้ นการสง่ อ อก ต่อมาได้ขยายความช่วยเหลือไปภาคอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในด้านการพัฒนา อุตสาหกรรมที่จะเป็นพ ื้นฐานทมี่ ั่นคงของการพัฒนาเศรษฐกิจ ส่วนภาคการเกษตรซึ่งเป็นฐานรากของ ประเทศนนั้ ธปท. ได้ให้ค วามชว่ ยเหลือเพือ่ ส ง่ เสริมก ารผลิตท างการเกษตรผา่ นธนาคารเพือ่ ก ารเกษตร และสหกรณ์การเกษตร และธนาคารพาณิชย์ ทำให้ภาคการเกษตรได้รับเงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำ เพื่อจัดซื้อปัจจัยการผลิต สำหรับผ ู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมหรือ SMEs ซึ่งมีความ สำคัญต่อก ารพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาวและเป็นแ หล่งการจ้างแรงงานที่สำคัญ ธปท. ได้ สนับสนุนให้ความช่วยเหลือม าตั้งแต่ปี 2521 เพื่อให้ SMEs มีโอกาสได้รับสินเชื่อจากธนาคารพาณิชย์ ในอัตราดอกเบี้ยต่ำเพื่อนำไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินกิจการในระยะเวลาที่เพียงพอกับ
OM GOVERNER ความจำเป็นในการประกอบธุรกิจให้สามารถอยู่รอดดำเนินกิจการต่อไปได้ นอกจากนี้ ธปท. ยังได้ให้ ความช่วยเหลือบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจที่อาจกระทบต่อเสถียรภาพของระบบการเงิน ระบบสถาบันการเงิน อาทิ โครงการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการระบาด ของโรคไข้หวัดนก โครงการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการใน 6 จังหวัดภ าคใต้ที่ประสบภัยสึนามิ
หลายสิบปีที่ผ่านมานี้ ธปท. ได้ดูแลปรับระเบียบและกฎเกณฑ์เพื่อให้การดำเนินการเกิด ประโยชน์แก่การพัฒนาเศรษฐกิจในภาพรวม และเมื่อระบบเศรษฐกิจและระบบสถาบันการเงินของ ไทยพัฒนามากขึ้น มีการจัดตั้งสถาบันการเงินเฉพาะกิจให้ทำหน้าที่ในการสนับสนุนทางการเงินแก่ ภาคเศรษฐกิจต่างๆ ธปท. ก็ปรับล ดบทบาทการให้ค วามช่วยเหลือดังกล่าวลงเป็นล ำดับ เพื่อให้กลไก ตลาดได้ทำหน้าทีต่ ามที่ควร จนในระยะหลังเหลือเพียงโครงการที่มีความจำเป็นและฉุกเฉินเท่านั้น และ ได้ย ตุ บิ ทบาทดงั ก ล่าวลงเพือ่ ให้ส อดคล้องกบั ก ารดำเนินภ ารกิจอ นั พ งึ เป็นง านหลักข องธนาคารกลางตาม บทบัญญัตขิ องกฎหมายเมือ่ ม กี ารแก้ไขเพิม่ เติมพ ระราชบญ ั ญัติ ธปท. พ.ศ.2485 โดยพระราชบญ ั ญัติ ธปท. (ฉบับท ี่ 4) พ.ศ.2551 การดำเนินนโยบายในการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่ สำคัญจ ะเกิดผ ลสำเร็จไม่ได้ห ากไม่ได้ร บั ค วามรว่ มมอื จ ากผปู้ ระกอบธรุ กิจแ ละสถาบันก ารเงินต า่ งๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่งความร่วมมือจากธนาคารพาณิชย์ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการกระจายเงินช่วยเหลือของ ธปท. ไปยังผู้ประกอบการในภาคการผลิตและธุรกิจต่างๆ ที่พึงได้รับการส่งเสริม ตลอดจนสถาบัน การเงินเฉพาะกิจต่างๆ ทีจ่ ะมีบทบาทสำคัญในด้านนี้ต่อไป จึงขอขอบคุณทุกท่านที่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ ที่นี้
(นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย สิงหาคม 2554
บทบาทที่ท้าทาย
สารบัญ กำเนิดภารกิจเพื่อประชาชน วิวัฒนาการของภารกิจ ยุคแรกเริ่ม (2499 – 2528) ยุคขยายตัว (2529 – 2536) ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน (2537 – 2545) ยุคสุดท้าย (2546 – 2554) การยุติบทบาท : เมื่อภารกิจเดินถึงปลายทาง ผลการให้ความช่วยเหลือต่อภาคเศรษฐกิจสำคัญ บทสัมภาษณ์ และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ประโยชน์หลายสถาน : โครงการช่วยเหลือผู้ประกอบการโรงสีข้าว ต่อลมหายใจให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ : โครงการไข้หวัดนก กระบวนการทางเศรษฐกิจที่อาศัยกลไกตลาดยังไม่เพียงพอ : การช่วยเหลือผู้ประกอบการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เก็บตกจากผู้ควบคุมงานการให้สินเชื่อยุคแรกๆ ประสบการณ์การตรวจโกดัง : สุ่มเสี่ยงและท้าทาย ปรับปรุงเพื่อเดินหน้า : เบื้องหลังการปฏิรูปกลไก การช่วยเหลือภาคเศรษฐกิจสำคัญกับนโยบายการเงิน โครงการฉุกเฉิน : การช่วยเหลือ 6 จังหวัดภาคใต้ที่ประสบภัยสึนามิ มองหลายๆ มุม : โครงการ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ สินเชื่อผู้ประกอบการ สงขลาและสตูล และการปรับระเบียบการให้กู้ยืม SMEs บทส่งท้าย
6
05 15 15 22 29 44 49 54 58 58 61 63 65 69 71 73 77 81 90
กำเนิดภารกิจเพื่อประชาชน
55 ปี
บทบาทที่ท้าย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
1
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
เป็ นที่ ท ราบกั น ว่ า ห น้ า ที่ ห ลั ก ป ระการห นึ่ ง ข องธ นาคารก ลางคื อ ก ารรั ก ษาเสถี ย รภาพ การเงินเพื่อสร้างพื้นฐานที่มั่นคงให้ระบบการเงิน และท้ายที่สุดทำให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตได้อย่าง มีเสถียรภาพ ขณะเดียวกันธนาคารกลางอาจมีความจำเป็นต้องเข้าไปมีบทบาทในการส่งเสริม การพัฒนาและบรรเทาปัญหาเศรษฐกิจด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนาที่ระบบการ เงินยังไม่พัฒนาเต็มที่ ทั้งนี้ เพื่อให้นโยบายด้านการเงินและเศรษฐกิจมีความสอดคล้องกันและ เอื้ออำนวยประโยชน์ต่อกัน ดังตัวอย่างเช่น ประเทศเกาหลีใต้ อินโดนีเซีย และไต้หวัน ที่ธนาคารกลาง ต่างก็เคยมีบทบาทในการให้สินเชื่อแก่ภาคเศรษฐกิจส ำคัญมาแล้ว ธปท. ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในปี 2485 และตามพระราชกฤษฎีกากำหนดกิจการ ธปท. พ.ศ. 2485 กำหนดประเภทธุรกิจที่ ธปท. พึงประกอบได้ไว้ด้านหนึ่งคือ การซื้อ ขาย และรับช่วงซื้อลดตั๋วแลก เงินและตั๋วสัญญาใช้เงินทเี่กิดจากการค้าหรือพาณิชย์อ ันสุจริต การซื้อ ขาย และรับช่วงซื้อลดตั๋วแลก เงินและตั๋วสัญญาใช้เงินทเี่กิดจากการอุตสาหกรรม กสิกรรม การเลี้ยงสัตว์ การทำป่าไม้ การประมง การทำเหมืองแร่ หรือการสาวไหมอันสุจริต ข้อกำหนดตามพระราชกฤษฏีกาดังกล่าวเปิดโอกาสให้ ธปท. เข้าไปมีบทบาทในการให้สินเชื่อแก่ภาคเศรษฐกิจส ำคัญได้ แต่ในช่วงแรก ธปท. ยังมิได้ดำเนิน บทบาทดังกล่าว เนื่องจาก ธปท. มีภารกิจเร่งด่วนและจำเป็นที่จะต้องดำเนินการหลายเรื่อง เช่น การออกธนบัตรและจดั การทนุ สำรองเงินตรา การฟน้ื ฟูและบรู ณะเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครัง้ ทส่ี อง การบรรเทาปัญหาเงินเฟ้อ ฯลฯ
7
กำเนิดภารกิจเพื่อประชาชน
8
พระราชกฤษฎีกากำหนดกิจการ ธปท. พ.ศ.2485 มาตรา 12 (3) และ (4) กำหนดอำนาจของ ธปท. ในการซื้อ ขาย และรับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ในช่วงต้นปี 2498 สมัยผู้ว่าการเสริม วินิจฉัยกุล1 ธปท. ได้เริ่มมีการพิจารณาที่จะให้ สินเชื่อแก่ผู้ส่งออกข้าว ในช่วงที่รัฐบาลได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการค้าข้าว โดยให้ภาคเอกชนเข้ามา ทำการค้าข้าวแทนรัฐบาล จากเดิมที่ข้าวส่วนใหญ่ที่ส่งออกเป็นข้าวที่ขายระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล ใน การส่งข้าวออกไปจำหน่ายต่างประเทศ ผู้ส่งออกจะต้องมีเงินก้อนใหญ่เพื่อนำไปซื้อข้าว และระยะ เวลาที่ผู้ส่งออกซื้อข้าวเพื่อส่งออก กับระยะเวลาที่ผู้ส่งออกจะได้รับเงินค่าขายข้าวจากต่างประเทศ มชี ่วงห่างกัน นายสมหมาย ฮุนตระกูล2 หัวหน้าฝ ่ายการคลังในสมัยนั้นจึงทำบันทึกเสนอความเห็นให้ มีการพิจารณาช่วยเหลือผู้ส่งออกข้าว เพราะหากไม่พิจารณาช่วยเหลือ ผูส้ ่งออกข้าวโดยเฉพาะผู้ค้าข้าว ที่ไม่ใช่บริษัทต่างประเทศก็จะไม่มีเงินทุนหมุนเวียนสำหรับซื้อข้าวก่อนที่จะได้รับชำระเงินจากผู้ซื้อใน ต่างประเทศ ดังต อนหนึ่งของบันทึกท ี่เสนอ “เงินท ี่ใช้ซ อื้ ข า้ วนเี้ ป็นเงินม ิใช่น อ้ ย และเป็นส งิ่ ท เี่ กินก ำลังข องธนาคารพาณิชย์ท จี่ ะ finance เอง ถ้าผู้ส่งออกประมูลกันขอกู้จากธนาคารพาณิชย์ อัตราดอกเบี้ยก็ย่อมจะสูงขึ้น และเป็นการขัดขวางการ ส่งอ อก ขณะนที้ ราบวา่ ธ นาคารพาณิชย์ห ลายแห่งข อทจี่ ะทำ swap กับธ นาคารแห่งป ระเทศไทย โดยใช้ เงินตราต่างประเทศที่กู้ยืมจากสำนักงานใหญ่หรือที่ผู้ซื้อในต่างประเทศส่งเงินเข้ามา การกระทำที่กล่าว เห็นว่าควรสนับสนุน เพราะหากจะมีการเพิ่มธนบัตรออกใช้ก็เพียงระยะเวลาตั้งแต่ซื้อข้าวจนถึงได้รับ ชำระเงินจากต่างประเทศ ซึ่งนับได้ว่า เป็นการเพิ่มปริมาณเงินตามปริมาณของการค้ามิใช่เป็นเงินเฟ้อ แต่การที่ผู้ซื้อในต่างประเทศจะทดรองเงินมาให้นั้น เป็นที่หวังได้ยากเมื่อตลาดข้าวเป็น ตลาดที่ผู้ขายต้องง้อผู้ซื้อ และการที่จะกู้ยืมเงินตราต่างประเทศจากสำนักงานใหญ่นั้น ก็ทำได้แต่ เฉพาะสาขาธนาคารต่างประเทศ ซึ่งสาขาธนาคารดังกล่าวก็คงให้กู้ยืมแก่บริษัทต่างประเทศด้วย กันเป็นส่วนใหญ่ ธนาคารไทยและบริษัทไทยไม่มีทางจะทำได้ ในการ finance การส่งข้าวซึ่งเป็น สินค้าสำคัญออกนี้เห็นว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งเป็นธนาคารกลางควรจะได้ให้ความช่วยเหลือ เท่าที่ควร” 1
นายเสริม วินิจฉัยกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ครั้งแรก 17 ต.ค.2489 - 24 พ.ย.2490 ครั้งที่สอง 1 มี.ค.2495 - 24 ก.ค.2498 2 นายสมหมาย ฮุนตระกูล ผู้อำนวยการช่วยผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (พ.ศ.2506 - 2515) และเป็นรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง 4 สมัย (พ.ศ. 2517, 2523, 2524 - 2529)
9
กำเนิดภารกิจเพื่อประชาชน
หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากข้อเสนอและความเห็นข้างต้นเป็นเรื่องนโยบายและเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของ ธปท. หลายฝ่ายด้วยกัน ผู้ว่าการเสริมฯ จึงมดี ำริให้เจ้าห น้าทีจ่ ากหน่วยงานต่างๆ ประกอบด้วย หัวหน้าฝ า่ ยการคลัง หัวหน้าฝ า่ ยการธนาคาร หัวหน้าฝ า่ ยออกบตั รธนาคาร และหวั หน้าส ว่ นการคน้ คว้า3 ร่วมกนั พ จิ ารณาในรายละเอียดและเสนอความเห็น ซึง่ ก ารพจิ ารณาได้ข อ้ ส รุปว า่ การให้ค วามชว่ ยเหลือ ผู้ส่งออกข้าวโดยการรับช ่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้เงิน (ตั๋วฯ) นั้น ธปท. มีอำนาจดำเนินการรับช่วงซื้อลด ได้ท ั้งตั๋วฯ ทีอ่ อกเป็นเงินตราต่างประเทศ และตั๋วฯ ที่ออกเป็นเงินบ าท แต่ก ารรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ที่เป็น เงินบาทในขณะนั้นไม่สามารถกระทำได้เนื่องจากมีเงินบาทอยู่จำกัด เพราะตั๋วฯ ที่เป็นเงินบาทไม่อาจ ถือเป็นทุนสำรองตามกฎหมายเงินตราได้ จึงเห็นว่าน่าจะมีการแก้ไขกฎหมายเงินตราให้ตั๋วฯ ที่ ธปท. รับช ่วงซื้อลดไว้นับเป็นทุนสำรองได้ อย่างไรก็ตาม ในสมัยผู้ว่าการเสริมฯ ยังไม่มีการตกลงทำการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ กับ ธนาคารพ าณิ ช ย์ ใด การพิ จ ารณาอ อกร ะเบี ย บก ำหนดห ลั ก เกณฑ์ เงื่ อ นไขแ ละวิ ธี ป ฏิ บั ติ ในก าร รั บ ช่ ว งซื้ อ ล ดตั๋ ว ฯ กั บ ธ นาคารพ าณิ ช ย์ มี ก ารห ยิ บ ยกขึ้ นด ำเนิ นก ารต่ อ ในส มั ย ผู้ ว่ า การเกษม ศรีพยัคฆ์4 ตามดำริเมื่อ 28 ตุลาคม 2498 ...เรื่องนี้เป็นเรื่องที่จะต้องพิจารณาเตรียมไว้ ในการ finance rice export ฤดู ใหม่เดือนธันวาคมนี้ ซึ่งถ้ามีวิธี ใดที่จะ ช่วยเหลือตลาดได้ก็จะเป็นผลดีกับการส่งเสริมการขายข้าว และ โดยที่เรื่องนี้ทางเจ้าหน้าที่ก็ ได้เคยพิจารณากันเสนอตั้งแต่ปีที่แล้ว ผมได้ขอเรื่องเดิมม าดูและได้ส่งคืนผ่านไปทางคุณป ระหยัดฯ 5 โดยให้ แนวทางความคดิ เห็นไปบา้ ง ฉะนัน้ ข อให้ค ณ ุ ป ระหยัด หัวหน้าฝ า่ ยการ ธนาคาร หัวหน้าฝ่ายการคลัง และหัวหน้าส่วนการค้นคว้า ได้ร่วม กันพิจารณาเรื่องนี้ ให้ความเห็นว่าจะมีทางทำได้อย่างใดเป็นหลักการ ทั่วไป เท่าที่กำลังทางฝ่ายการธนาคารได้เงินทุนหมุนเวียนจากสินค้า ขาเข้าม า finance สินค้าอ อกได้ในระยะเวลาทสี่ มควรกบั ก ารหมุนเวียนเพือ่ ช ว่ ยตลาดเงินท ฝี่ ดื จึงโปรดได้พิจารณากันให้ความเห็นขึ้นมา 3
10
นายสมหมาย ฮุนตระกูล หัวหน้าฝ่ายการคลัง นายจำรัส จตุรภัทร์ หัวหน้าฝ่ายการธนาคาร หลวงธนาทรพินิศ หัวหน้า ฝ่ายออกบัตรธนาคาร และ นายจินตมัย อมาตยกุล หัวหน้าส่วนการค้นคว้า 4 นายเกษม ศรีพยัคฆ์ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 25 ก.ค.2498 – 23 ก.ค.2501 5 นายประหยัด บุรณศิริ หัวหน้าฝ่ายประจำสำนักผู้ว่าการ
55 ปี
จดหมายลงวันที่ 26 ตุลาคม 2498 จาก NATIONALE HANDELSBANK N.V. ถึง ธปท. ขอให้ช่วยเรื่อง Export Finance
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
11
กำเนิดภารกิจเพื่อประชาชน จากดำริของผู้ว่าการเกษมฯ ส่วนงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันหารือและเสนอแนวทางที่ จะให้สินเชื่อแก่ผู้ส่งออกข้าว พร้อมกับเสนอร่างระเบียบการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ที่เกิดจากการค้าข้าว เพื่อพิจารณา ซึ่งผู้ว่าการเกษมฯ ได้อนุมัติให้ดำเนินการได้ โดยให้ระวังเรื่องการรักษาระดับปริมาณ เงินในระบบให้มีความเหมาะสม เพื่อรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจในภาพรวมด้วย ดังดำริเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2498 ดังนี้ “ให้ฝ า่ ยการธนาคารเตรียมดำเนินก ารไปได้ โดยประกาศใช้ร ะเบียบนหี้ ลังจ ากวนั ห ยุดป ี ใหม่ แล้ว ในการ finance ข้าวส่งออกนี้ ในหนังสือถึงธนาคารพาณิชย์ควรให้ทราบด้วยว่า ธปท. จะระงับ การ discount นี้เมื่อใดก็ ได้ ทั้งนี้เพื่อจำกัดวงเงินที่เข้าสู่ตลาดให้เหมาะสม เพื่อจะได้ ไม่ต้องสร้างเม็ด เงินมากเกินไปโดยไม่จำเป็น….” ธปท. จึงได้มีหนังสือที่ ธ.(ว) 54/2498 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2498 เรือ่ งการรบั ช ว่ งซอื้ ล ดตวั๋ ส ญ ั ญาใช้เงิน ที่เกิดจากการค้าข้าว นำส่งระเบียบ การรับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้เงินที่ เกิดจ ากการค้าข้าว ซึ่งจ ะเริ่มใช้ตั้งแต่ 2 มกราคม 2499 ถึงธ นาคารพาณิชย์ ทุกธนาคาร หนังสือดังกล่าวถือเป็น หนังสือฉบับแรกของการดำเนินการ ให้สินเชื่อแก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ ของ ธปท. โดยเริ่มให้ความช่วยเหลือ เฉพาะการส่งออกข้าวแต่เพียงอย่าง เดียวก่อน ตามเหตุผลที่ว่าข้าวเป็น สินค้าออกที่สำคัญที่สุด และในระยะ นั้นราคาข้าวในตลาดโลกตกต่ำ จึง จำเป็นที่ทางการจะต้องเข้าไปให้ความ ช่วยเหลือทางการเงินเพื่อส่งเสริมให้ มีการส่งออกข้าวเพิ่มขึ้น
12
หนังสือเวียนฉบับแรกของการดำเนินการให้สินเชื่อ แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
กว่าจะใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ การรบั ช ว่ งซอื้ ล ดตวั๋ ส ญ ั ญาใช้เงินในระยะ 2 - 3 ปีแ รกนนั้ ไม่อ ำนวยประโยชน์แ ก่ก ารส่งอ อก ข้าวได้เต็มทนี่ ัก เพราะมีเงื่อนไขที่เข้มง วดเกินไป กล่าวคือ กำหนดอัตราการออกตั๋วฯ ได้เพียงร้อยละ 50 ของจำนวนเงินตามเล็ตเตอร์ออฟเครดิต อายุตั๋วฯ ต้องไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันที่ ธปท. รับช่วง ซื้อลด และ ธปท. กำหนดอัตรารับช่วงซื้อลดไว้ร้อยละ 7 ต่อป ี โดยให้ธนาคารพาณิชย์คิดอัตราซื้อลด จากผู้ส่งออกข้าวได้ไม่เกินร ้อยละ 9 ต่อปี ทำให้ในระยะแรกๆ มีผู้ใช้บริการไม่มากนัก ต่อมา หลังจากที่รัฐบาลประกาศใช้พระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ.2501 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2501 ทำให้การออกธนบัตรยืดหยุ่นขึ้น โดยสามารถนับตั๋วเงินภ ายในประเทศเป็นส ินทรัพย์ ที่จะประกอบเป็นทุนสำรองเงินตราได้ ทำให้ ธปท. มีกำลังเงินที่จะสนองความต้องการของภาค เศรษฐกิจได้มากขึ้น เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2501 ธปท. จึงได้ออกระเบียบ ธปท. ว่าด้วยการ รับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้เงินที่เกิดจากการส่งสินค้าออก พ.ศ.2501 ขยายขอบเขตการให้กู้ยืมเงิน ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยไม่จำกัดว่าเป็นสินค้าออกประเภทใด และให้กู้ยืมทั้งในช่วงก่อนมีการส่งออก (Pre-shipment) และช่วงหลังการส่งออก (Post-shipment) แต่เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ต้อง ใช้เวลาในการแสดงหลักฐานให้เป็นที่พอใจแก่ ธปท. ก่อนว่าผู้ส่งออกที่ออกตั๋วฯ เป็นผู้ที่พึงเชื่อถือได้ จึงทำให้การรับช ่วงซื้อลดตั๋วฯ ที่เกิดจากการส่งออกตามระเบียบดังกล่าวเริ่มดำเนินการได้เมื่อต้นเดือน มกราคม 2502
13
กำเนิดภารกิจเพื่อประชาชน
บทบาทในการให้สินเชื่อของ ธปท.
ในภาพรวมอาจกล่าวได้ว่า ธปท. ดำเนินการให้สินเชื่อเพื่อวัตถุประสงค์ต ่างๆ ดังนี้
1. เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินที่เกี่ยวข้องเป็นการทั่วไป ตามวัตถุประสงค์ ข้อนี้ ธปท. ทำหน้าทีธ่ นาคารกลางตามที่ยึดเป็นแ นวทางปฏิบัติมา คือเป็นนายธนาคารให้กับธนาคาร พาณิชย์ เมื่อธนาคารพาณิชย์ขาดเงินอย่างกระทันหัน หรือไม่มีช่องทางจะกู้จากแหล่งอื่นได้อย่าง ทันท ว่ งที ก็ส ามารถปรับส ภาพคล่องจาก ธปท. เป็นการชวั่ คราวโดย ธปท. ให้ก ยู้ มื เงินแ ก่ธ นาคารพาณิชย์ โดยมีพันธบัตรและหลักทรัพย์ทรี่ ัฐบาลรับประกันทั้งต้นเงินแ ละดอกเบี้ยเป็นประกัน 2. เพื่อให้สินเชื่อไปถึงภาคเศรษฐกิจบางประเภทที่ ธปท. ต้องการสนับสนุนเป็นพิเศษ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐ เพื่อวัตถุประสงค์นี้ ธปท. ทำหน้าที่ไปใน แนวของธนาคารเพื่อการพัฒนา อันเป็นบทบาทที่ถือว่ามีความจำเป็นสำหรับประเทศซึ่งอยู่ในขั้น กำลังพัฒนา ซึ่งน อกจากประเทศไทยแล้ว ยังม ปี ระเทศอื่นๆ อีก เช่น เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย ไต้หวัน ที่ธนาคารกลางทำหน้าที่ดังกล่าว การให้สินเชื่อของ ธปท. ในด้านนี้ ที่สำคัญคือ การรับช่วงซื้อลด ตั๋วสัญญาใช้เงินของผู้ประกอบการผ่านธนาคารพาณิชย์ การรับซื้อตั๋วสัญญาใช้เงินของธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ทั้งนี้ การกำหนดประเภทธุรกิจของผู้ประกอบการที่ ธปท. ให้การสนับสนุนด้านสินเชื่อ ทำให้มีการกระจายสินเชื่อไปสู่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจในภาพรวมของรัฐได้ เช่น ผู้ประกอบการที่มีช่องทางได้รับสินเชื่อคือ ผู้ประกอบการเกษตร และเลี้ยงสัตว์ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมบางชนิด ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดย่อม และ ผู้ส่งออก เป็นต้น 3. เพื่อให้ความช่วยเหลือเป็นการชั่วคราวแก่สถาบันการเงินหรือธุรกิจบางประเภทที่ ประสบปญ ั หา โดยมวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ส ถาบันก ารเงินห รือธ รุ กิจท กี่ ำลังป ระสบปญ ั หาสามารถใช้ส นิ เชือ่ เพื่อปรับตัวในช่วงที่กำลังป ระสบปัญหาให้สามารถประคับประคองฐานะและฟื้นฟูกิจการให้ดีขึ้นได้
14
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
เนือ่ งจากปจั จัยส ำคัญข องการพฒ ั นาภาคเศรษฐกิจต า่ งๆ นัน้ ค อื เงินท นุ หน้าทีข่ องธนาคาร กลางในสว่ นนจี้ งึ ต อ้ งคอยดแู ลวา่ ภ าคเศรษฐกิจท สี่ ำคัญไม่ข าดแคลนเงินท นุ และเพือ่ เป็นห ลักป ระกันว า่ ปัญหาเรือ่ งการขาดแคลนเงินท นุ จ ะไม่เกิดข นึ้ ธนาคารกลางในฐานะผคู้ วบคุมด แู ลระบบสถาบันก ารเงิน ซึง่ ท ำหน้าทีเ่ ป็นต วั กลางในการระดมเงินท นุ จ ากหน่วยเศรษฐกิจท มี่ เี งินท นุ ส ว่ นเกินม าจัดสรรให้แ ก่ห น่วย เศรษฐกิจที่ขาดแคลนเงินทุน จำเป็นที่จะต้องกำหนดนโยบายที่เกี่ยวกับการจัดสรรเงินทุนให้สถาบัน การเงินป ฎิบตั ิ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในกรณีท เี่ ห็นว า่ ถ้าป ล่อยให้การจดั สรรเงินท นุ เป็นไปอย่างเสรี โอกาส ที่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญจะได้รับการจัดสรรเงินทุนในจำนวนที่เหมาะสมคงเป็นไปได้ยาก ทั้งนี้ อาจจะ เนื่องมาจากความเสี่ยงสูงและผลตอบแทนต่อเอกชนผู้ลงทุนโดยเปรียบเทียบต่ำ การกำหนดวา่ ภาคเศรษฐกิจใดเป็นภ าคเศรษฐกิจท สี่ ำคัญ นนั้ อาจพจิ ารณาได้จ ากศกั ยภาพ ของรายได้ทภี่ าคเศรษฐกิจน นั้ ส ามารถจะสร้างขนึ้ เมือ่ เทียบกบั ร ายได้ร วมของประเทศ อีกท งั้ ศ กั ยภาพใน การจ้างงานของภาคเศรษฐกิจนั้นๆ เมื่อเทียบกับภาคอื่นๆ ในกรณีของประเทศไทยความสำคัญของ ภาคเกษตรกรรมใน 2 ลักษณะที่กล่าวข้างต้นปรากฏให้เห็นเด่นชัด นอกจากนี้ ยังมีภาคเศรษฐกิจ อื่นซึ่งจำเป็นต้องพัฒนาให้เจริญเติบโตขึ้นเพื่อเป็นพื้นฐานที่มั่นคงของการพัฒนาเศรษฐกิจต่อไป ในอนาคต ที่สำคัญได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม นอกเหนือไปจากนี้ยังมีภาคอื่นซึ่งจำเป็นต้องเจริญเติบโต ขึ้นเพื่อช่วยกระตุ้นให้ภาคเศรษฐกิจหลักเบื้องต้นขยายตัวตามที่ต้องการ ได้แก่ ภาคการส่งออก ในกรณีของประเทศไทยซึ่งมีระบบเศรษฐกิจ เปิด ความต้องการสินค้าและบริการจากภายนอก เป็นปัจจัยสำคัญที่จะสนับสนุนให้มีการขยายการผลิตและเพิ่มรายได้ในประเทศในที่สุด นอกจากนี้ รายได้จากการส่งออกจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการนำเข้าซึ่งสินค้าทุนและสินค้าอื่นที่จำเป็น ในการพัฒนาประเทศ โดยไม่ต้องพึ่งแหล่งเงินทุนจากนอกประเทศอีกด้วย 6
จากบทความของหน่วยการเงินและหน่วยวิจัยเศรษฐกิจการเงิน ฝ่ายวิชาการ ในรายงานเศรษฐกิจรายเดือน กุมภาพันธ์ 2526
15
กำเนิดภารกิจเพื่อประชาชน การแก้ปัญหาในเรื่องการขาดแคลนเงินทุนจึงต้องอาศัยการให้ความช่วยเหลือทางการ เงินจากธนาคารกลางโดยตรงให้แก่ภาคเศรษฐกิจสำคัญ ได้แก่ การให้ความช่วยเหลือในรูปของการ ให้กู้ยืมผ่านสถาบันการเงินหรือโดยการรับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้เงินที่เกิดจากกิจกรรมที่ต้องการ สนับสนุน สำหรับการให้ความช่วยเหลือโดยตรงนี้นอกจากจะจัดสรรเงินทุนจำนวนหนึ่งเพื่อให้กู้ยืม แล้ว ยังมักจะกำหนดอัตราดอกเบี้ยการให้กู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าอัตราตลาดอีกด้วยเพื่อลด รายจ่ายค่าดอกเบี้ยให้แก่กิจกรรมที่ต้องการสนับสนุน ซึ่งถือเป็นสิ่งจูงใจชนิดหนึ่ง หรือในบางกรณี เป็นการผ่อนคลายภาระให้กับกิจการนั้นๆ ในช่วงที่ประสบปัญหาในการดำเนินงาน อย่างไรก็ตาม ในการดำเนินงานในเรื่องการจัดสรรเงินทุนตามที่กล่าวข้างต้นนั้น ธนาคารกลางจำต้องดำเนินการ ด้วยความระมัดระวังเพื่อให้เกิดผลดีต่อระบบเศรษฐกิจโดยส่วนรวมอย่างแท้จริง และระมัดระวัง มิให้การให้ค วามช่วยเหลือทางการเงินโดยตรงสูงเกินขอบเขตที่เหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อม ิให้เกิดผ ลกระทบ อันไม่พึงปรารถนาต่อเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ
16
วิวัฒนาการของภารกิจ
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
2
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ยุคแรกเริ่ม (2499 - 2528) ยุคนีเ้ ป็นช่วงที่ ธปท. เริม่ โครงการให้ความช่วยเหลือแก่ภาคเศรษฐกิจสำคัญต่างๆ ทัง้ ภาค การเกษตร ภาคการอุตสาหกรรม และภาคการส่งออก
ก้าวแรกกับภาคการส่งออก หลังจากที่ ธปท. เริ่มให้ความช่วยเหลือผู้ส่งออกข้าวในปี 2499 โดยการรับช่วงซื้อ ลดตั๋วฯ ที่เกิดจากการค้าข้าวผ่านธนาคารพาณิชย์นั้น ในระยะแรกๆ มีผู้ใช้บริการไม่มากนัก โดยมี เหตุผลหลายประการ เช่น พ่อค้าผู้ส่งออกยังไม่คุ้นเคยกับวิธีการออกตั๋วฯ และขายช่วงลดกับ ธปท. พ่อค้ารายใหญ่ๆ ได้เครดิตส่วนหนึ่งม าจากต่างประเทศแล้ว และอายุตั๋วฯ ที่ ธปท. รับซื้อค่อนข้างสั้น คือไม่เกิน 30 วัน รวมถึงทางด้านธนาคารพาณิชย์เองก็เกรงว่ารายได้ของตนจะลดลงจากการที่นำ ตั๋วฯ มาขายต่อให้ ธปท. ดังน ั้น เพื่อให้การรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ เพื่อช่วยเหลือผ ู้ส่งออกมีความคล่องตัว และเป็นที่รู้จักมากขึ้น ในปี 2501 ธปท. ได้ขยายการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ให้ครอบคลุมไปถึงตั๋วฯ ที่เกิดจากการส่งออกสินค้าทุกประเภท จากเดิมที่รับช่วงซื้อลดเฉพาะตั๋วฯ การส่งออกข้าว มีการ ขยายอายุตั๋วฯ ที่จะรับซื้อเป็นไม่เกิน 90 วัน และเพิ่มเป็น 180 วันในปี 2514 เพิ่มอัตราการรับช่วง ซื้อลดจากไม่เกินร้อยละ 50 เป็นไม่เกินร้อยละ 70 ของมูลค่าตาม L/C และตั้งแต่ปี 2502 ถึงปี 2527 ได้ปรับลดดอกเบี้ยการรับ ช่วงซื้อลดจากเดิมร้อยละ 7 ต่อปีเหลืออัตราร้อยละ 5 ต่อปี โดย ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจ ากลูกค้าได้ไม่เกินร ้อยละ 7 ต่อป ี ทั้งๆ ที่ อัตราดอกเบี้ยทั่วไปมีการปรับสูงขึ้นมาก ซึ่งทำให้การให้สินเชื่อผ่าน การรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ นี้ กลายเป็นสินเชื่ออัตราดอกเบี้ยต่ำเป็นที่น่า สนใจของผู้ประกอบการทั่วไป
17
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคแรกเริ่ม (2499 - 2528)
เสริมสร้างรากฐานภาคอุตสาหกรรม
เมื่อ ธปท. ได้ดำเนินการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ที่เกิดจากการส่งออกมาได้ระยะหนึ่งแล้ว ในปี 2506 ธปท. เริ่มขยายการให้ความช่วยเหลือไปถึงผู้ประกอบการอุตสาหกรรม เพื่อสนับสนุน กิ จ การอุ ต สาหกรรมต ามน โยบายข องรั ฐ บาล การผ ลิ ต สิ นค้ า อุ ต สาหกรรมภ ายในป ระเทศเป็ น สิ่งจำเป็น และนับวันจะมีบทบาทเพิ่มขึ้นทั้งในด้านการเพิ่มผลิตผลเพื่อส่งออก และการเพิ่มการ จ้างงาน ในระยะแรก ธปท. ให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสำหรับการซื้อวัตถุดิบซึ่ง ช่วยให้มีต้นทุนค่าสต๊อควัตถุดิบต่ำลง ขณะเดียวกันก็เท่ากับเป็นการช่วยเหลือผู้ผลิตที่ขายวัตถุดิบใน ประเทศด้วยอีกด ้านหนึ่ง อัตราดอกเบี้ยการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ที่เกิดจ ากการซื้อวัตถุดิบข องผู้ประกอบ การอุตสาหกรรมใช้อัตราเดียวกันกับตั๋วสินค้าออกคือร้อยละ 5 ต่อปี และให้ธนาคารพาณิชย์เรียก เก็บจากผปู้ ระกอบการได้ไม่เกินร้อยละ 7 ต่อปี โดย ธปท. รับช่วงซื้อลดไม่เกินร้อยละ 90 ของมูลค่า วัตถุดิบทซี่ ื้อ ต่อม า ธปท. ได้ขยายการช่วยเหลือให้ครอบคลุมไปถึงด้านการจำหน่ายด้วย โดยรับช่วง ซื้อลดตั๋วฯ อันเนื่องจากการขายผ่อนเวลาชำระเงินของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมผ่านธนาคาร พาณิชย์ซึ่งการเพิ่มชนิดของการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมนี้ตรงกับความ ต้องการของภาคเอกชน เห็นได้จากการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ที่เพิ่มขึ้น ผู้ที่ขอรับความช่วยเหลือจะเป็น ในรูปของการขายผ่อนเวลาชำระเงินมากกว่าเพื่อซื้อวัตถุดิบ อย่างไรก็ตาม ธปท. ได้ยกเลิกระเบียบ ดังกล่าวใน ปี 2512 และเปลีย่ นมาให้สนิ เชือ่ แ ก่ผปู้ ระกอบการเพือ่ นำไปใช้เป็นเงินทนุ หมุนเวียนโดยตรง และกำหนดประเภทอุตสาหกรรมที่จะได้รับความช่วยเหลือต้องเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญ 18
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ต่ อ ก ารพั ฒ นาเ ศรษฐกิ จ ข องป ระเทศ ทั้ ง ใ นด้ า น ก า ร ส่ ง เ สริ ม ก ารใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ ภ ายในป ระเทศแ ละอุ ต สาหกรรม ที่ ผลิ ต เพื่ อ ท ดแทนก ารนำเข้ า นอกจากนี้ ในปี 2517 ได้ มี ก ารให้ ค วามช่ ว ยเหลื อท างด้ า นสิ น เชื่ อ เพื่ อ ล งทุ น โดยผ่ า นบ รรษั ท เงิ นทุ น อุ ต สาหกรรมแ ห่ ง ป ระเทศไทย (บรรษั ท ฯ) 7 ซึ่ ง เป็ น สถาบันการเงินที่ให้สินเชื่อระยะยาวสำหรับการลงทุนด้านอุตสาหกรรม ซึ่งโครงการนี้เรียกชื่อ กันย่อๆ ว่า โครงการเครดิตระยะยาว ปี 2521 ธปท. เริ่มให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดย่อมให้มีโอกาส ได้รับสินเชื่ออัตราดอกเบี้ยต่ำเพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินกิจการ โดยออกระเบียบการ รับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้เงินที่เกิดจากการประกอบกิจการอุตสาหกรรมขนาดย่อม แต่ปรากฎว่า ผู้ประกอบการที่ผ่านการคัดเลือกจากธนาคารพาณิชย์ให้เข้ามาขอรับความช่วยเหลือจาก ธปท. มีจ ำนวนน้อยมาก อาจเนื่องจากผลตอบแทนซึ่งเป็นส ่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยก ารรับซื้อลดตั๋วฯ จาก ผู้ประกอบการและอัตราในการขายช่วงลดตั๋วฯ ให้ ธปท. มีเพียงร้อยละ 2 จึงไม่จูงใจให้ธนาคาร พาณิชย์สนใจให้สินเชื่อแก่กิจการประเภทนี้เมื่อพิจารณาถึงความเสี่ยงและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ซึ่งต ่อม า ธปท. ก็ได้ปรับเพิ่มอัตราผลตอบแทนเป็นร ้อยละ 3 โดยคิดอัตรารับช่วงซื้อลดจากธนาคาร พาณิชย์ร้อยละ 5 ต่อปี และกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากผู้ประกอบกิจการอุตสาหกรรม ขนาดย่อมได้ไม่เกินร ้อยละ 8 ต่อปี และในปี 2529 เมื่อเปลี่ยนจากการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ มาเป็นการ รับซ ื้อตั๋วฯ ธปท. ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยท ี่เรียกเก็บจ ากธนาคารพาณิชย์เหลือร้อยละ 4 ต่อป ี และให้ ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากผู้ประกอบการไม่เกินร ้อยละ 7 ต่อป ี
7
จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2502 เมื่อ 6 ตุลาคม 2502 เพื่อช่วยเหลือด้านเงินทุนแก่กิจการอุตสาหกรรม ต่อมาได้ควบรวมกับธนาคารทหารไทยและธนาคารดีบีเอสไทยทนุ เมื่อ 8 มีนาคม 2547
19
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคแรกเริ่ม (2499 - 2528)
ชูธงภาคการเกษตร การใ ห้ ค วามช่ ว ยเ หลื อ ท างด้ า น การเกษตรข อง ธปท.เริ่ ม ห ลั ง จ ากมี ก ารก่ อ ตั้ ง ธ.ก.ส. ขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2509 แล้ว การ ให้ส ินเชื่อผ่าน ธ.ก.ส. ระยะแรก เริ่มจากการรับช่วง ซื้ อ ล ดตั๋ ว ฯ ของเกษตรกรผู้ ผ ลิ ต ที่ เกิ ด จ ากก าร ปลูกข้าวและข้าวโพดในปี 2511 และขยายไปถึง เกษตรกรผูป้ ลูกฝ า้ ยในปี 2512 ต่อม าในปี 2514 ได้ข ยาย ความชว่ ยเหลืออ อกไปโดยไม่จ ำกัดป ระเภทพชื ผ ล ทัง้ นี้ เพือ่ ส ง่ เสริมให้เกษตรกรในชนบทมรี ายได้เลีย้ งตวั ได้ ตามโครงการเร่งรัดพ ัฒนาชนบทในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ ละสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 การรบั ช ว่ งซอื้ ล ดตวั๋ ฯ ของ ธปท. เกษตรกรสามารถออกตวั๋ ฯ มาขายชว่ งลดได้ในวงเงินไม่เกิน ร้อยละ 90 ของจำนวนเงินท เี่ กษตรกรกยู้ มื ไปจาก ธ.ก.ส. อายุต วั๋ ฯ ไม่เกิน 12 เดือน โดย ธปท. คิดอ ตั รา การรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ร้อยละ 7 ต่อปี และให้ ธ.ก.ส. คิดส่วนลดจากเกษตรกรได้ในอัตราร้อยละ 12 ต่อปี และปี 2515 ได้ปรับลดลงเหลือร้อยละ 5 และร้อยละ 10 ต่อปีตามลำดับ (ปี 2509 - 2515 อัตรา ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของธนาคารพาณิชย์แก่ธุรกิจทั่วไปอยู่ที่ระดับร้อยละ 14 ต่อปี) การกำหนดให้มี ส่วนต่างถึงร้อยละ 5 นี้ก็เพื่อให้คุ้มกับต ้นทุนการดำเนินงาน เนื่องจากการให้สินเชื่อแก่เกษตรกรซึ่งเป็น ผู้กู้รายย่อย มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าการให้กู้แก่การส่งอ อกหรืออ ุตสาหกรรม การให้ความช่วยเหลือทางการเกษตรมีการขยายขอบเขตของสินเชื่อให้รวมถึงด้านการ ตลาดโดยมีผลิตผลทางการเกษตรเป็นประกัน การจัดซื้อวัสดุการเกษตรของสหกรณ์การเกษตรและ กลุ่มเกษตรกร และการประกอบกิจการเลี้ยงสัตว์ ในขณะเดียวกันก็ขยายบริการด้านนี้ออกไปสู่ ธนาคารพาณิชย์อื่นที่สนใจให้สินเชื่อการเกษตรด้วย แต่ส่วนใหญ่ยังคงเป็นการดำเนินการผ่าน ธ.ก.ส. ในปี 2519 ธปท. ได้เปลี่ยนวิธีการให้กู้เพื่อการเกษตร จากการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ของ เกษตรกรแต่ละราย เป็นการรับซื้อตั๋วฯ ของ ธ.ก.ส. ที่มีกระทรวงการคลังเป็นผู้อาวัลแทน เพื่อลด ภาระในการออกตวั๋ ฯ ของเกษตรกรทเี่ ป็นร ายยอ่ ยๆ จำนวนมาก ซงึ่ เป็นว ธิ ที ไี่ ม่ส ะดวกในทางปฏิบตั แิ ละ ไม่ประหยัด เพราะจำนวนตั๋วฯ มีมากและมูลค่าต ั๋วฯ แต่ละฉบับค่อนข้างน้อย 20
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
พืชผลเกษตร
นอกจากนี้ ธปท. ยังให้ค วามชว่ ยเหลือแ ก่ผ คู้ า้ พ ชื ผ ลเกษตร โดยเริม่ ให้ค วามชว่ ยเหลือเป็น ครั้งแรกในฤดูการผลิตปี 2522/2523 เพื่อช่วยรักษาเสถียรภาพของราคาพืชผลเกษตร เช่น ข้าว ยาง และพืชไร่อื่นๆ ในช่วงฤดูที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตออกจำหน่ายในปริมาณมาก การให้ความช่วยเหลือ จะคำนึงถึงความจำเป็นและความเหมาะสมในการรักษาเสถียรภาพของราคาพืชผลในช่วงเวลานั้นๆ เป็นสำคัญ และเมื่อหมดความจำเป็น ธปท. ก็งดการให้ความช่วยเหลือ
การส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ ธปท. ได้ส ง่ เสริมก จิ การเลีย้ งสตั ว์ภ ายในประเทศโดยเริม่ ให้ค วามชว่ ยเหลือในปี 2517 เพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกรที่ทำกิจการฟาร์มเลี้ยงสัตว์แบบการค้า ให้มีเงินทุนหมุนเวียนอัตราดอกเบี้ยต่ำไปใช้จ่ายในกิจการ ฟาร์ ม อั นจ ะเป็ นการช่ ว ยให้ เกษตรกรส ามารถพั ฒ นา ร ปู แ บบการผลิตท างการเกษตรให้ก า้ วหน้าย งิ่ ข นึ้ เพือ่ ส ง่ เสริม การเลี้ยงสัตว์ให้เพียงพอแก่การบริโภคภายในประเทศและ มีโอกาสเหลือส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศในต้นทุนที่ ต่ำ ซึ่งจะส่งผลประโยชน์ถึงผู้บริโภคในการช่วยลดค่าครอง ชีพข องประชาชน โดย ธปท. รับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ที่ออกโดย ผ ปู้ ระกอบการเลีย้ งสตั ว์ผ า่ นธนาคารพาณิชย์ และ ธ.ก.ส. ใน อัตราร้อยละ 5 ต่อปี และให้ ธนาคารพาณิชย์ และ ธ.ก.ส. คิดอัตรารับซ ื้อลดตั๋วฯ ร้อยละ 7 ต่อปี อายุต ั๋วฯ ไม่เกิน 60 เดือน 21
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคแรกเริ่ม (2499 - 2528)
โครงการช่วยเหลือชาวไร่อ้อย ธปท. เริ่มให้ความช่วยเหลือแ ก่ชาวไร่อ ้อยตั้งแต่ป ี 2514 ด้วยการออกระเบียบการรับช่วง ซื้อลดตั๋วฯ ที่ชาวไร่อ้อยเป็นผู้ออกและมีเช็คค่าบำรุงไร่อ้อยที่โรงงานน้ำตาลสั่งจ่าย (เช็คเกี๊ยวอ้อย) เป็นหลักประกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือเงิน ทุนหมุนเวียนและลดต้นทุนด้านดอกเบี้ยเงินกู้ยืมของ ชาวไร่ อ้ อ ย เนื่ อ งจากช าวไร่ อ้ อ ยส่ ว นใหญ่ ข าดแคลน แหล่ ง เงิ นกู้ ยื ม แ ละต้ อ งอ าศั ย กู้ ยื ม จ ากต ลาดเงิ นน อก ระบบซึ่งเสียดอกเบี้ยในอัตราค่อนข้างสูง ต่อมาในปี 2526 ธปท. ได้งดการให้ความช่วยเหลือตามระเบียบ ดังก ล่าวไว้ชั่วคราว เนื่องจากราคาน้ำตาลในตลาดโลกและ ราคาอ้อยที่ชาวไร่อ้อยขายได้มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ปี 2530 ธปท. ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ชาวไร่อ้อยอีกครั้งหนึ่งตามคำขอของคณะ กรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย เพื่อจูงใจให้ชาวไร่อ้อยเข้ามาจดทะเบียนชาวไร่อ้อย หัวหน้ากลุ่ม ชาวไร่อ้อย และสถาบันชาวไร่อ้อย ตามนโยบาย วางแผนก ารผ ลิ ต อ้ อ ยแ ละน้ ำ ตาลใ นร ะยะย าว ประกอบกับชาวไร่อ้อยได้มีการรวมกลุ่มกันอย่าง เหนี ย วแน่ น เพื่ อ ส ร้ า งอ ำนาจต่ อ ร องในก ารรั ก ษา ผลป ระโยชน์ข องตน ซึ่งรวมถึงการขอให้ ธปท. พิจารณาให้ความช่วยเหลืออัตราดอกเบี้ยต่ำแก่ชาว ไร่อ้อยด้วย ธปท. กำหนดแนวทางในการให้ความช่วยเหลือแ ก่ชาวไร่อ ้อยเฉพาะรายที่ได้จดทะเบียน เป็นชาวไร่อ้อยหรือหัวหน้ากลุ่มช าวไร่อ้อยแล้วเท่านั้น โดย ธปท. จะให้กู้ยืมแก่ธนาคารพาณิชย์โดย มีตั๋วฯ ของชาวไร่อ้อยที่ออกตามเช็คเกี๊ยวอ้อยเป็นหลักป ระกัน และวันถึงก ำหนดใช้เงินจะต้องไม่เกิน วันที่ระบุในเช็คแต่ต้องไม่เกิน 1 ปี ธปท. คิดดอกเบี้ยจากธนาคารพาณิชย์อัตราร้อยละ 5 ต่อปี และ ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจ ากชาวไร่ไม่เกินร อ้ ยละ 7 ต่อป หี รือค ดิ เป็นอ ตั ราส่วนลดไม่เกินร อ้ ยละ 6.54 ต่อป ี ชาวไร่อ อ้ ยจะได้ร บั ว งเงินช ว่ ยเหลือเต็มตามจำนวนเงินทีเ่ พียงพอใช้ส ำหรับเป็นเงินท นุ หมุนเวียน ในการผลิตอ้อย แต่ไม่เกินอัตราต่อตันอ้อยที่ ธปท. กำหนดขึ้นในแต่ละปี 22
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
การรับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้เงินประเภทต่างๆ นี้ ไม่ถือเป็นการแข่งขันกับธนาคาร พาณิชย์ แต่เป็นการส่งเสริมธนาคารพาณิชย์ให้มีแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำไปปล่อยกู้กับลูกค้าในภาค เศรษฐกิจที่สำคัญตามแนวนโยบายและเป้าหมายการพัฒนาประเทศ ภาคเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ ต่อการพัฒนาประเทศก็จะได้รับการส่งเสริมมาก โดย ธปท. ยังต้องระมัดระวังไม่ปล่อยสินเชื่อภาค เอกชนมากเกินไปจนเกิดผลเสียต่อเศรษฐกิจ ธปท. จึงต้องพยายามส่งเสริมให้มีการกระจายสินเชื่อ สูภ่ มู ภิ าคและภาคเศรษฐกิจท สี่ ำคัญต ามความจำเป็นแ ละเหมาะสมตอ่ เศรษฐกิจในภาพรวม โดยพยายาม แก้ไขกฎระเบียบไปในทางผ่อนคลายลงตามลำดับ เพื่อจูงใจให้ธนาคารพาณิชย์ให้ความร่วมมือใน ด้านนี้ การเปลี่ยนแปลงทางด้านนโยบายสินเชื่อที่สำคัญคือ ในปี 2518 ธปท. ได้กำหนดให้ธนาคาร พาณิชย์ปล่อยสินเชื่อเกษตรเป็นอัตราส่วนของเงินให้กู้ยืมของแต่ละธนาคาร และได้เปลี่ยนมา เป็นอัตราส่วนของเงินฝากของแต่ละธนาคารตั้งแต่ปี 2519 เป็นต้นมา เพื่อช่วยลดช่องว่างระหว่าง ภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมด้วย
สำนักงานภาคใต้
สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สาขาลำปาง
สำนักงานภาคเหนือ
ในการส่งเสริมการกระจายสินเชื่อไปสู่ภูมิภาค ธปท.ได้เปิดบ ริการรับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญา ใช้เงินที่สำนักงานสาขาของ ธปท. โดยเปิดที่สาขาภาคใต้เป็นแ ห่งแรกในปี 2509 และในระยะต่อมาได้ ขยายความอนุเคราะห์ออกไปยงั สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสาขาภาคเหนือ (สาขาลำปาง) ในปี 2511 และปี 2512 ตามลำดับ สำหรับสาขาเชียงใหม่ เปิดท ำการครั้งแรกเมื่อ 3 มีนาคม 2540 เป็นการ รับโอนงานของสาขาลำปาง
23
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคขยายตัว (2529 - 2536)
ยุคขยายตัว (2529 - 2536) ยุคนี้เป็นช่วงที่การให้ความช่วยเหลือทางการเงินขยายตัวมาก ตามการเติบโตของ เศรษฐกิจ ปริมาณตั๋วส ัญญาใช้เงินที่ ธปท. รับซ ื้อมีจำนวนเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะตั๋วส่งออก มีการ ปรับปรุงว ธิ กี ารและหลักเกณฑ์ก ารให้ค วามชว่ ยเหลือข องโครงการตา่ งๆ ที่ ธปท. ได้ด ำเนินก ารอยูแ่ ล้วให้ มีค วามคล่องตวั ในการปฏิบตั แิ ละเป็นป ระโยชน์แ ก่ผ ปู้ ระกอบการ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของ ผู้ประกอบการในภาคเศรษฐกิจทสี่ ำคัญได้อย่างทั่วถ ึงและเพียงพอยิ่งขึ้น โดยไม่ก่อให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ หรือสร้างปัญหาด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงิน นอกจากนี้ยังมีโครงการพิเศษที่ ธปท. ให้กู้ ผ่านสถาบันการเงินเกิดขึ้นอีกหลายโครงการเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และเพื่อ บรรเทาความเดือดร้อนของผู้ประกอบการที่ประสบปัญหาการดำเนินงานหรือได้รับผลกระทบจาก ภัยธรรมชาติ การให้ธนาคารพาณิชย์ร่วมสมทบกับเงินของ ธปท. ในการปล่อยสินเชื่อ ทำให้สินเชื่อ ดอกเบีย้ ต ำ่ ส ำหรับภ าคเศรษฐกิจท สี่ ำคัญม ปี ริมาณเพิม่ ม ากขนึ้ อ กี ห นึง่ เท่าต วั จึงส นองความตอ้ งการของ ผูป้ ระกอบการได้อ ย่างทวั่ ถ งึ ย งิ่ ข นึ้ ทำให้ผ ปู้ ระกอบการรายเล็กม ชี อ่ งทางและโอกาสได้ร บั ค วามชว่ ยเหลือ มากขนึ้ แ ทนทีจ่ ะกระจุกต วั อ ยูก่ บั ผ สู้ ง่ อ อกหรือผ ปู้ ระกอบการรายใหญ่ท มี่ อี ำนาจตอ่ รองในการขอสนิ เชือ่ จากธนาคารพาณิชย์ได้ดีอยู่แล้ว ซึ่งมีส่วนช่วยลดความเหลื่อมล้ำระหว่างผู้ประกอบการรายเล็กและ รายใหญ่ลง ทางด้านธนาคารพาณิชย์ก็พร้อมให้ความร่วมมือในการดำเนินการ เพราะสามารถนำลูกค้า ที่เดิมไม่มีโอกาสได้รับค วามช่วยเหลือเนื่องจากวงเงินเต็มม าขอรับความช่วยเหลือจ าก ธปท. เพิ่มข ึ้น
24
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
การเปลี่ยนแปลงวิธีการและหลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลือที่ สำคัญ ได้แก่ ปี 2529 ได้เปลี่ยนวิธีการให้ความช่วยเหลือจ ากที่ ใช้วิธีรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ซึ่งจะหักดอกเบี้ย ไว้ทันทีเมื่อมีการขายช่วงลดตั๋วฯ มาเป็นการรับซื้อตั๋วฯ ซึ่งจะคิดดอกเบี้ยเมื่อตั๋วฯ ครบกำหนดหรือมีการ ชำระเงินต ามตวั๋ ฯ ทำให้ผ ปู้ ระกอบการได้ร บั เม็ดเงินไปใช้ห มุนเวียนเพิม่ ข นึ้ เมือ่ ข ายตวั๋ ฯ และสามารถประหยัด ดอกเบี้ยล งจากเดิมเมื่อค ิดจากเงินต้นที่ได้รับ ปี 2531 มีก ารปรับห ลักเกณฑ์ข องทกุ ร ะเบียบโดยกำหนดให้ธ นาคารพาณิชย์เข้าม ามสี ว่ นรว่ ม ในการให้ความช่วยเหลือโดยใช้เงินของตนเองร่วมสมทบกับเงินของ ธปท. ในการให้ส ินเชื่อด้วยครึ่งหนึ่ง มีผลใช้บังคับ 2 ม.ค. 2532 เพื่อที่จะกระจายการให้ความช่วยเหลือได้กว้างขวางมากขึ้น โดย ธปท. รับซื้อตั๋วฯ ในสัดส่วนร้อยละ 50 ของจำนวนเงินหน้าตั๋วฯ อีกร้อยละ 50 เป็นเงินของธนาคารพาณิชย์ นอกจากนี้ได้กำหนดเพดานอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของเงินผสมระหว่าง ธปท.และ ธนาคารพาณิชย์ที่ให้กู้แก่ ผู้ประกอบการไว้ไม่เกินร้อยละ 10 ต่อปี เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ยทุก ประเภทในตลาดการเงิน
เหตุผลทตี่ ้องปรับปรุงห ลักเกณฑ์ดังกล่าว เนื่องจาก ธปท. มีหน้าท ี่รับผิดช อบโดยตรง ในการควบคุมปริมาณเงินให้เหมาะสม สอดคล้องกับการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในภาวะที่เศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะมีปัญหา ธปท. ยิ่งต้องมีความระมัดระวังในการปล่อย สินเชื่อเข้าสู่ระบบเพิ่มเติมซึ่งอาจทำให้ปัญหาดังกล่าวเลวร้ายลง ดังนั้น วงเงินรวมในการให้สินเชื่อ ของ ธปท. จึงไม่อาจเพิ่มจ ากระดับที่มีอยู่แล้วได้อีก หลักเกณฑ์ที่ปรับใหม่นี้ไม่ทำให้วงเงินดอกเบี้ยต่ำ ทั้งระบบลดลงจากเดิม เนื่องจากผู้ที่ได้รับสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำจะมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะเป็นการ ลดภาระของ ธปท. ลงแล้ว ยังเป็นการช่วยควบคุมให้การดำเนินงานอยู่ภายในขอบเขตหน้าที่ของ ธนาคารกลางไม่ ให้ก้าวก่ายไปในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบการเงินโดยตรงมากเกินไป และช่วย มิ ให้ปริมาณเงินขยายตัวเร็วเกินไปด้วย นอกจากนี้ ธปท. ยังได้กำหนดเพดานอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของเงินผสมระหว่าง ธปท. และธนาคารพาณิชย์ที่ให้กู้แก่ผปู้ ระกอบการไว้ไม่เกินร ้อยละ 10 ต่อปี เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการ เคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ยทุกประเภทในตลาดการเงิน ซึ่งอัตราเฉลี่ยน ี้อยู่ในระดับที่ต่ำเพียงพอและ เหมาะสมกับภาวการณ์ (ขณะนั้น prime rate อยู่ที่ระดับร้อยละ 12 - 12.5 ต่อป ี) ทั้งนี้ การให้ความ ช่วยเหลือทางการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญตามแนวทางใหม่เน้นหนักในเรื่องการช่วยให้มีความ เพียงพอของเงินทุนในอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสมที่กระจายการช่วยเหลือได้ ในวงกว้าง มากกว่าที่จะ ลดต้นทุนของเงินให้ต่ำจนเกินควรแล้วช ่วยผู้ประกอบการได้เพียงไม่กี่ราย 25
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคขยายตัว (2529 - 2536)
นโยบายกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค : โครงการ ด้านเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาชนบท
โครงการด้านนี้เป็นการให้ความช่วยเหลือที่ ธปท. ดำเนินการมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2531 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมให้มีการลงทุนระยะปานกลางและระยะยาวด้านเกษตรกรรม หรืออุตสาหกรรมในชนบท เพื่อสนองนโยบายการกระจายความเจริญสู่ส่วนภูมิภาคและยกระดับ ความเป็นอยู่ของประชาชนในชนบทให้สูงขึ้น โดยได้จัดสรรวงเงินจำนวน 2,000 ล้านบาทสำหรับ ช่วยเหลือโครงการที่มีลักษณะดังนี้ - เป็นโครงการด้านเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมที่เกิดข ึ้นในชนบท - เป็นโครงการทกี่ อ่ ให้เกิดค วามรแู้ ละประโยชน์ในดา้ นการผลิตแ ละการตลาดแก่ผเู้ ข้าร่วม โครงการ - เป็นโครงการที่ผู้เข้าร่วมโครงการมีภูมิลำเนาอยู่ในท้องที่ที่โครงการนั้นเกิดข ึ้น และ - เป็นโครงการที่มีความเป็นไปได้และมีประโยชน์ต่อก ารพัฒนาชนบท ธปท. ให้ค วามชว่ ยเหลือโดยรบั ซ อื้ ต วั๋ ฯ ทีอ่ อกโดยเจ้าของหรือผ เู้ ข้าร ว่ มโครงการทธี่ นาคาร พาณิชย์รับรองว่าเป็นผู้ที่พึงเชื่อถือได้ หรือด้วยการให้กู้ยืมแก่ธนาคารพาณิชย์โดยมีตั๋วฯ ที่ออกโดย ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นประกัน ในอัตราร้อยละ 50 ของจำนวนเงินตามตั๋วฯ และให้ความช่วยเหลือ คราวละไม่เกิน 5 ปี ธปท. เรียกเก็บดอกเบี้ยจากธนาคารพาณิชย์ไม่เกินร ้อยละ 3 ต่อป ี และให้ธนาคาร พาณิชย์คิดดอกเบี้ยจากผู้ออกตั๋วฯ ไม่เกินร ้อยละ 10 ต่อป ี ธนาคารพาณิชย์ที่ประสงค์จะขอรับความ ช่วยเหลือต อ้ งศกึ ษารายละเอียดและความเป็นไปได้ข องโครงการพร้อมทงั้ ให้ค วามเห็นเกีย่ วกบั โครงการ ดังก ล่าว โดยจดั ส ง่ เอกสารมาให้ ธปท. พิจารณากอ่ น ทัง้ นี้ จำนวนเงินค วามชว่ ยเหลือจ ะพจิ ารณากำหนด ให้ต ามความเหมาะสมของแต่ละโครงการ ซึ่งในที่สุดมีทั้งหมด 10 โครงการ ดังนี้
26
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ผู้ว่าการกำจร สถิรกุล8 เยี่ยมชมโครงการส่งเสริมการเลี้ยงกุ้งกุลาดำที่ภาคใต้
1. โครงการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ จังหวัดส งขลา และนครศรีธรรมราช ผ่านธนาคารเอเชีย 2. โครงการส่งเสริมก ารเลี้ยงโคนมทุ่งเสลี่ยม จังหวัดส ุโขทัย ผ่านธนาคารกรุงเทพ 3. โครงการปลูกห ม่อนเลี้ยงไหม เขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผ่านธนาคารกรุงเทพ 4. โครงการสง่ เสริมการปลูกห ม่อนเลีย้ งไหม หมูบ่ า้ นปอ้ งกันต นเองเสริมค วามมนั่ คงตาม แนวชายแดน (ชายแดนกัมพูชา) จังหวัดปราจีนบุรี ผ่านธนาคารกรุงเทพ 5. โครงการสง่ เสริมก ารปลูกข า้ วบาสมาติ จังหวัดเชียงรายและพะเยา ผ่านธนาคาร กรุงไทย 6. โครงการผลิตไหมครบวงจรเพื่อพัฒนาชนบท จังหวัดเพชรบูรณ์ ผ่านธนาคาร กรุงไทยและบรรษัทฯ 7. โครงการปลูกข ้าวโพดฝักอ ่อน จังหวัดกาญจนบุรี ผ่านธนาคารไทยพาณิชย์ (โครงการนไี้ ด้ข อยกเลิกก ารรบั ค วามชว่ ยเหลือโดยไม่มกี ารนำตัว๋ ฯ มาขาย เนือ่ งจาก ข้าวโพดฝักอ ่อนในตลาดมีจำนวนมาก ทำให้ไม่จำเป็นต้องพึ่งวัตถุดิบจากเกษตรกร) 8. โครงการส่งเสริมก ารปลูกม ะม่วงหิมพานต์ จังหวัดพ ะเยา ผ่านธนาคารกรุงเทพ 9. โครงการส่งเสริมก ารเลี้ยงโคนมสหกรณ์ป ศุสัตว์ต่างๆ ในจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 3 โครงการ ผ่านธนาคารกรุงเทพ 10. โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคนม จังหวัดแพร่ ผ่านธนาคารกรุงเทพ
8
นายกำจร สถิรกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 14 ก.ย. 2527 - 5 มี.ค. 2533
27
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคขยายตัว (2529 - 2536)
การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ได้รับ การส่งเสริมการลงทุนในส่วนภูมิภาค (BOI เขต 3) ธปท. ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแ ก่ผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนเขต 3 ซึ่งประกอบ ด้วย 57 จังหวัดในส่วนภูมิภาค รวมนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง เริ่มตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2536 ผ่านธนาคารพาณิชย์ และบรรษัทฯ เพื่อกระตุ้นให้มีการลงทุนในต่างจังหวัดม ากขึ้น สนับสนุน นโยบายของรัฐบาลในการกระจายรายได้และความเจริญไปสู่ภูมิภาค โดยเน้นให้ผู้ประกอบการขนาด กลางและขนาดเล็กที่เพิ่งตั้งกิจการใหม่ในส่วนภูมิภาคมีโอกาสได้รับสินเชื่อจากธนาคารพาณิชย์ ในอัตราดอกเบี้ยท ัดเทียมกับล ูกค้าชั้นดีมากขึ้น ธปท. จะให้ค วามชว่ ยเหลือผ ปู้ ระกอบการเป็นเวลา 5 ปี เพือ่ เป็นเงินท นุ หมุนเวียนและลงทุน ในสนิ ทรัพย์ถ าวร ตัว๋ ฯ ทเี่ กิดจ ากคา่ ใช้จ า่ ยทเี่ ป็นเงินท นุ หมุนเวียนตอ้ งมอี ายุแ ต่ละฉบับไม่เกิน 120 วัน และ ตั๋วฯ ทีเ่กิดจ ากการลงทุนต้องมีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจ ากวันทอี่ อกตั๋วฯ ฉบับแ รก ธปท. เรียกเก็บด อกเบี้ย จากสถาบันการเงินร้อยละ 3 ต่อปี และให้สถาบันการเงินเรียกเก็บจากผู้ประกอบการในอัตราไม่เกิน ร้อยละ 11.25 ต่อปี ในระยะแรก ธปท. รับซื้อตั๋วฯ ในสัดส่วนร้อยละ 30 ของจำนวนเงินในตั๋วฯ และได้ปรับเพิ่มเป็นร้อยละ 40 ในเวลาต่อมา พร้อมกับผ่อนปรนให้กิจการอุตสาหกรรมที่ย้ายหรือ ขยายโรงงานไปอยู่ในเขต 3 สามารถขอรับความ อนุเคราะห์ได้จ ากเดิมท ี่ให้เฉพาะกิจการใหม่เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ผลการให้ความช่วยเหลือ ยังม จี ำนวนนอ้ ย นับจ ากทเี่ ริม่ ให้ค วามชว่ ยเหลือจ นถึง วันที่ 22 มิถุนายน 2538 มีผู้ประกอบการได้รับความ ช่วยเหลือคิดเป็นร้อยละ 1.74 ของวงเงินอนุเคราะห์ รวม (12,000 ล้านบาท) เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่ ธปท. กำหนดไม่แตกต่างจากการขอกู้จากธนาคาร พาณิชย์ม ากนัก (MLR ขณะนั้นเท่ากับร ้อยละ 11.5 ต่อปี) อีกท ั้งการกู้จาก ธปท. ต้องผ่านหลายขั้นตอน และได้ร บั ส นิ เชือ่ จ าก ธปท. เพียงรอ้ ยละ 40 ผูป้ ระกอบ การจึงเลือกที่จะใช้เงินกู้ของธนาคารพาณิชย์โดยตรง มากกว่า 28
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
โครงการพิเศษผ่าน ธ.ก.ส. โครงการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบอุทกภัยภาคใต้ พ.ศ.2531 ในเดื อ นพ ฤศจิ ก ายน 2531 ได้ เกิ ด อุ ท กภั ย ร้ า ยแรงใน พื้นที่ 10 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ส่งผล ให้เกิดค วามเสียห ายตอ่ เกษตรกรอย่างกว้างขวาง ผลผลิตท ไี่ ด้ร บั ค วามเสีย หายส่วนใหญ่ ได้แก่ ข้าว ยางพารา และผลไม้ต่างๆ ธปท. ได้อนุมัติการ ให้ค วามชว่ ยเหลือเพือ่ ฟ นื้ ฟูฐ านะและการผลิตท างการเกษตรของเกษตรกร ที่ประสบอุทกภัยตามที่ ธ.ก.ส. เสนอขอมา โดยให้ ธ.ก.ส. ออกตั๋วฯ ที่ มี ก ระทรวงก ารค ลั ง อ าวั ล เพื่ อ กู้ ยื ม เงิ นจ ำนวน 1,500 ล้ า นบ าท กำหนดชำระคืน วันที่ 30 ธันวาคม 2537 อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 4 ต่อปี และให้ ธ.ก.ส. เรียกเก็บจ าก เกษตรกรไม่เกินร้อยละ 9 ต่อปี โครงการช่วยเหลือเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรทปี่ ระสบวาตภัยและอุทกภัย พ.ศ.2532 (พายุไต้ฝุ่นเกย์) ในเดื อ นพ ฤศจิ ก ายน 2532 ได้ เกิ ด ว าตภั ย แ ละอุ ท กภั ย จ ากพ ายุ ไต้ ฝุ่ น เกย์ ในพื้ นที่ จังหวัดภาคใต้และบางส่วนของภาคตะวันออกรวม 8 จังหวัดได้แก่ ชุมพร ระนอง ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฏร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช ปัตตานี และระยอง ธปท. ได้อนุมัติวงเงิน 3,240 ล้านบาท ให้แก่ ธ.ก.ส. เพื่อนำ ไปช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรแ ละส ถาบั น เกษตรกร โดย ธปท. จะ รับซื้อตั๋วฯ ที่ ธ.ก.ส. เป็นผู้ออกและมีกระทรวงการคลังอาวัล และให้ ธ.ก.ส. ทยอยเบิกเงินเป็นงวดรวม 14 งวด อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 4 ต่อป ี และให้ ธ.ก.ส. คิดจ ากเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ไม่เกินอ ัตราร้อยละ 9 ต่อปี ธปท. ได้ให้ความช่วยเหลือต ั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2533 ถึง 31 มีนาคม 2540
29
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคขยายตัว (2529 - 2536) โครงการเร่งรัดการให้สินเชื่อแก่เกษตรกรชั้นเล็กและยากจน โครงการนี้ รัฐได้มอบหมายให้ ธ.ก.ส. เป็นผู้ดำเนินการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการผลิตของเกษตรกรให้ได้ผลดี และเพือ่ แ ก้ป ญ ั หาเกีย่ วกบั เงินท นุ น อกระบบในชนบทอนั จ ะเป็นการ ยกระดับฐานะและความเป็นอยู่ของเกษตรกรที่ยากจน โดยใช้ เงินทุนรวม 5,000 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินทุนจากธนาคาร พาณิชย์ 2,000 ล้านบาท และจาก ธปท. ธนาคารออมสิน และงบประมาณแผ่นดินแห่งละ 1,000 ล้านบาท อายุโครงการ 5 ปี เริ่มต ั้งแต่ 3 เมษายน 2532 - 31 มีนาคม 2537 ธปท. ได้ให้ความช่วยเหลือตามโครงการนี้โดยการรับซื้อตั๋วฯ ที่ ธ.ก.ส. เป็นผ ู้ออกและมี กระทรวงการคลังอ าวัล จ ำนวน 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ ร อ้ ยละ 3.5 ต่อป ี กำหนดใช้เงินไม่เกิน 5 ปี นับตั้งแต่ว ันที่ออกตั๋วฯ ซึ่ง ธ.ก.ส. ได้ทยอยเบิกเงินกู้ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2533 - 21 กรกฎาคม 2535 และได้ชำระคืนแ ก่ ธปท. ทั้งหมดในวันที่ 24 มกราคม 2538 โครงการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้นทปี่ ระสบอุทกภัยในปี 2538
สืบเนื่องจากอิทธิพลของพายุโซนร้อนแกรี่และลูอีสในปี 2538 ทำให้เกิดอุทกภัยขึ้น อย่างกว้างขวางในทุกพื้นที่ของประเทศ และได้ทำความเสียหายต่อพื้นที่เกษตรกรรมใน 64 จังหวัด คณะกรรมการฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังภาวะน้ำท ่วม ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ได้มีมติให้ ธ.ก.ส. จัดทำโครงการให้ความช่วยเหลือเป็นสินเชื่อระยะยาวแก่เกษตรกรผู้ปลูกผลไม้และไม้ยืนต้นที่ประสบ อุทกภัย ระยะเวลาดำเนินการ 13 ปี วงเงิน 1,500 ล้านบาท โดยส่วนหนึ่งจ ะขอความช่วยเหลือจ าก ธปท. ธปท. ได้อนุมตั วิ งเงิน 1,000 ล้านบาท อายุ 10 ปี ให้ ธ.ก.ส. เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ดังกล่าวโดยการรับซื้อตั๋วฯ ที่ ธ.ก.ส. เป็นผ อู้ อกและมีกระทรวงการคลังอ าวัล อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อป ี และให้ ธ.ก.ส. คิดดอกเบี้ยจากเกษตรกรได้ไม่เกินร ้อยละ 5 ต่อปี โดยให้ ธ.ก.ส. เบิกเงินได้เป็น 2 งวดๆ ละ 500 ล้านบาท ครบกำหนดใช้เงินไม่เกิน 31 มีนาคม 2548 30
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน ( 2537 - 2545) บทบาทของ ธปท. ในการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจสำคัญในยุคนี้ ได้มีการพัฒนาปรับเปลี่ยนค่อนข้างมาก เริ่มจากการโอนงานรับซื้อตั๋วสินค้าออกไปให้ธนาคาร เพือ่ การส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) ดำเนินก าร รวมถงึ ป รับปรุงร ะเบียบการให้ค วามชว่ ย เหลือท างการเงินแ ก่ภ าคเศรษฐกิจส ำคัญเพือ่ ช ว่ ยกระตุน้ ให้เศรษฐกิจฟ นื้ ต วั จากการเกิดว กิ ฤติเศรษฐกิจ ในปี 2540 ที่มีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจการเงินอย่างกว้างขวาง ในยุคที่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ สถาบันการเงินถูกปิดกิจการ ธุรกิจล ้มละลาย ผู้ประกอบการโดยเฉพาะ SMEs ขาดเงินทุนหมุนเวียน ในการดำเนินธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์ที่ยังเปิดด ำเนินการก็ไม่กล้าป ล่อยสินเชื่อเพราะกลัวปัญหาการเพิ่ม ขึ้นของสินเชื่อท ี่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ จึงม ีความจำเป็นที่ทางการต้องมีมาตรการช่วยเหลือภ าคธุรกิจเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจในภาวะวิกฤตนั้น ซึ่งนอกจากให้ความช่วยเหลือเป็นเงินทุนหมุนเวียนผ่านธนาคาร พาณิชย์แล้ว ยังมีโครงการเงินกู้ระยะยาวที่ผ่าน บรรษัทฯ และ ธสน. และการให้ความช่วยเหลือ ผ่านธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) และธนาคารออมสินตามโครงการฟื้นฟูธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นอกจากนี้ การจั ด ตั้ ง องค์ ก ารการค้ า โลก (World Trade Organization - WTO) ก็ ได้ ส่งผ ลกระทบตอ่ แ นวทางการดำเนินก ารให้ค วามชว่ ยเหลือข อง ธปท. โดย WTO มีข อ้ ก ำหนดให้ป ระเทศ สมาชิกต อ้ งยกเลิกก ารอุดห นุนด า้ นการสง่ อ อกหรือข อ้ ก ำหนดเกีย่ วกบั ก ารบงั คับใช้ว ตั ถุดบิ ห รือช นิ้ ส ว่ น ภายในประเทศ เพราะถือว่าทำให้เกิดการบิดเบือนทางการค้า ซึ่งข ัดต่อร ะบบการค้าเสรี
31
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน (2537 - 2545)
การโอนงานสินเชื่อส่งออกไป ธสน. ในช่วงที่ผ่านมา แม้ว่าการส่งออกของไทย ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วจากร้อยละ 13 ของ GDP ใน ปี 2506 เป็นร้อยละ 29.7 ของ GDP ในปี 2536 และยัง คงทวีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทยมากยิ่งขึ้นเป็น ลำดับ แต่ผู้ส่งออกต้องประสบกับภาวะการแข่งขันที่รุนแรง ในตลาดโลกและมาตรการกีดกันทางการค้าจากประเทศคู่ ค้า ในขณะที่ยังไม่มีสถาบันการเงินให้บริการด้านการส่งออก โดยเฉพาะ มีเพียงบริการสินเชื่อ Packing credit ซึ่ง เป็ น สิ น เชื่ อ ร ะยะสั้ นด อกเบี้ ย ผ่ อ นป รนที่ ธปท. ให้ แ ก่ ผู้ ส่ ง อ อกผ่ า นธ นาคารพ าณิ ช ย์ ในว งเงิ นที่ จ ำกั ด แ ละไม่ ส ามารถต อบส นองค วามต้ อ งการข อง ผู้ส่งออกได้อย่างทั่วถึง ในขณะเดียวกัน ผู้ส่งออกและนักลงทุนไทยมีความต้องการบริการทางการ เงินอื่นๆ อีกม ากโดยเฉพาะความต้องการสินเชื่อระยะปานกลางและระยะยาวและบริการเพื่อสนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศ ประกอบกับการสนับสนุนทางการเงินอัตราดอกเบี้ยต่ำของ ธปท. ยังถูก บางกลุ่มเห็นว่า ทำให้การทำหน้าทีธ่ นาคารกลางไม่ถูกต ้องเหมาะสมเสียทีเดียว เพราะในเมื่อเศรษฐกิจ เติบโตขึ้นมากแล้ว ก็ควรเลิกให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ โดยดูแลเฉพาะภาพรวมเศรษฐกิจได้แล้ว ทางการจึงเห็นความจำเป็นที่จะต้องจัดตั้งสถาบันการเงินเฉพาะกิจเข้ามาดูแลการให้บริการทางการเงิน แก่ธุรกิจส่งออกและธุรกิจท ี่นำมาซึ่งเงินตราต่างประเทศ โดยการออกพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการ ส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย พ.ศ.2536 มีผลบังคับใช้วันที่ 7 กันยายน 2536 เพื่อจัดตั้ง ธสน. ขึ้นด้วยทุนประเดิม 2,500 ล้านบาทจากกระทรวงการคลังและ ธปท.9 หลังจากมีการจัดต ั้ง ธสน. แล้ว ธปท. ได้โอนงานรับซื้อตั๋วสินค้าอ อกไปให้ ธสน. ดำเนิน การแทนตั้งแต่ว ันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2537 เป็นต้นม า โดย ธปท. ให้ความอนุเคราะห์ท างการเงินแ ก่ ธสน. เพื่อให้กู้ยืมแก่ผู้ส่งออกผ่านธนาคารพาณิชย์ตามระเบียบ ธสน. ว่าด้วยการให้กู้ยืมเงินโดยมี ตั๋วสัญญาใช้เงินที่เกิดจากการส่งสินค้าออกเป็นประกัน พ.ศ.2536 โดย ธปท. คิดดอกเบี้ยจาก ธสน. ในอัตราร้อยละ 3.5 ต่อปี (ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2538 เพิ่มเป็นร ้อยละ 4 ต่อปี) และให้ ธสน. คิดดอกเบี้ยจากธนาคารพาณิชย์ร้อยละ 5 ต่อปี สัดส่วนการให้ความช่วยเหลือไม่เกินร้อยละ 50 ของจำนวนเงินในตั๋วฯ ที่ธนาคารพาณิชย์วางเป็นประกัน ทั้งนี้ มีเงื่อนไขเกี่ยวกับการคิดเบี้ยปรับ ด้วยหากมีการผิดข้อตกลง 9
บทความ “15 ปี ธสน.เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ” จากหนังสือทิศทางการส่งออกและลงทุน เล่ม 12
32
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ในปี 2537 วงเงินให้ความช่วยเหลือแก่ ธสน. ทั้ง สิ้น 30,000 ล้าน บาท แบ่งเป็น วงเงินป กติ 28,000 ล้านบาทสำหรับให้ก ยู้ มื โดยมตี วั๋ ฯ ของธนาคารพาณิชย์ว างเป็นป ระกัน และวงเงินฉ กุ เฉินอ กี 2,000 ล้านบาทสำหรับก รณีท ี่ ธสน. ให้ก แู้ ก่ธ นาคารพาณิชย์ไปแล้วแ ต่น ำตวั๋ ฯ ของ ธนาคารพาณิชย์มาวางเป็นประกันไม่ทันเวลาที่กำหนด ซีง่ ธสน. จะต้องออกตั๋วฯ ที่กระทรวงการคลัง อาวัล อายุ 5 ปี วางเป็นป ระกัน การให้ค วามชว่ ยเหลือผ สู้ ง่ อ อกผา่ น ธสน. ทำให้ม กี ารเปลีย่ นแปลงทางโครงสร้างทสี่ ำคัญ 2 เรื่องคือ 1) ผู้ส่งออกรายย่อย (ยอดคงค้างตั๋วรายละไม่เกิน 10 ล้านบาท) ได้รับความช่วยเหลือ เพิ่มข ึ้นจากเดิมม ากทั้งในด้านสัดส่วน จำนวนราย และจำนวนเงิน เนื่องจาก ธสน. ได้พยายามเจาะ ตลาดไปหาผู้ส่งออกรายย่อยมากขึ้น 2) การกู้เงิน Packing credit ของธนาคารพาณิชย์ผ่าน ธสน. มีลักษณะเป็นการกู้เพื่อปรับสภาพคล่องโดยมีการกู้มากในช่วงเงินตึงตัว ซึ่งต่างจากช่วงที่ธนาคาร พาณิชย์ได้รับความอนุเคราะห์จาก ธปท. ตามระเบียบเดิมที่การให้ความช่วยเหลือการส่งออกจะ เพิ่มข ึ้นหรือลดลงตามฤดูการส่งอ อก
การให้อัตราดอกเบี้ยลอยตัวอิงกับอัตรา MLR หลังก ารเกิดวิกฤติการเงินปี 2540 ต้นทุนเงิน ของสถาบันก ารเงินท จี่ ะนำมาสมทบกบั เงินข อง ธปท. ในการ ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการเพิ่มสูงขึ้นมาก ในขณะ ที่อัตราดอกเบี้ยปลายทางที่สถาบันการเงินจะเรียกเก็บจาก ผูป้ ระกอบการตามระเบียบตา่ งๆ ถูกก ำหนดไว้ไม่เกินร อ้ ยละ 10 ต่อปี จึงไม่จูงใจสถาบันการเงินให้สินเชื่อเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประกอบการ เพราะได้รับผลตอบแทนต่ำและมีความเสี่ยงมากกว่าการนำเงินไปลงทุนในด้าน อื่น เช่น นำไปให้กู้ยืมในตลาดซื้อคืนพันธบัตรหรือในตลาดเงินกู้ยืมระหว่างธนาคาร เป็นต้น ตั้ ง แต่ วั นที่ 4 พฤษภาคม 2541 ธปท. จึ ง ป รั บ อั ต ราด อกเบี้ ย ป ลายท างที่ ส ถาบั นก ารเงิ น จะคิ ด จ ากผู้ ป ระกอบก ารเป็ น อั ต ราด อกเบี้ ย ล อยตั ว ไม่ เกิ น อั ต รา MLR ของแ ต่ ล ะธ นาคาร พาณิ ช ย์ ล บด้ ว ยร้ อ ยล ะ 2.75 ต่ อ ปี หรื อ ก รณี ส ถาบั นก ารเงิ นที่ ไม่ ใ ช่ ธ นาคารพ าณิ ช ย์ ให้ ใ ช้ อัตรา MLR ตามประกาศของธนาคารพาณิชย์ 4 แห่งคือ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคาร กสิกรไทย และ ธนาคารไทยพาณิชย์ โดยเฉลี่ย ลบด้วยร้อยละ 2.75 ต่อปี เพื่อให้สถาบันการเงิน หันมาปล่อยสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการในภาคเศรษฐกิจสำคัญมากขึ้น ซึ่งจะช่วยบรรเทาปัญหาการ ขาดแคลนสภาพคล่องของผู้ประกอบการได้ทางหนึ่ง เพื่อช่วยประคับประคองมิให้เศรษฐกิจถ ดถอยไป มากกว่าทเี่ป็นอยู่ 33
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน (2537 - 2545)
ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับข้อกล่าวหาเรื่อง การอุดหนุนการส่งออก แม้ว่าโครงการสินเชื่อของ ธปท. ได้จัดตั้งขึ้นโดยมีเจตนาที่จะช่วยสนับสนุนการพัฒนา ประเทศในช่วงที่ยังอยู่ในระหว่างการปรับตัวและหน่วยงานด้านการเงินต่างๆ ยังไม่มีความพร้อม แต่ ในมุมมองของประเทศอื่นอาจถือได้ว่าเป็นการอุดหนุนอัตราดอกเบี้ยต่ำจากภาครัฐ ทำให้การแข่งขัน ด้านราคาไม่เป็นธรรม และเมื่อมีการยื่นคำร้อง จึงมีความจำเป็นที่ ธปท. ต้องร่วมหารือก ับหน่วยงาน ภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องของไทย เกี่ยวกับข ้อกล่าวหาดังก ล่าวเพื่อห าทางออกที่เหมาะสม นับเป็นความ ท้าทายของภารกิจในอกี ม ติ หิ นึง่ โดยมีสองเหตุการณ์ทสี่ ำคัญ ได้แก่ กรณีข อ้ พ พิ าทเกีย่ วกบั ส นิ ค้าส งิ่ ท อ ที่ส่งไปสหรัฐอเมริกา (สหรัฐฯ) และมาตรการอุดหนุนภายใต้กฎของ WTO
การส่งออกสินค้าสิ่งทอไปสหรัฐอเมริกา10 สืบเนื่องจากสมาคมอุตสาหกรรมสิ่งทอและสหภาพแรงงานสิ่งทอสหรัฐฯ ได้ยื่นคำร้อง ต่อกระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐฯ ให้เรียกเก็บภาษีตอบโต้การอุดหนุนการส่งออก (Countervailing Duty หรือ CVD) สิ่งทอจากประเทศไทย โดยกล่าวหาว่า ประเทศไทยให้การอดุ หนุนก ารสง่ อ อกสนิ ค้าส งิ่ ท อดว้ ยมาตรการ ต่างๆ กระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐฯ ได้ดำเนินการสอบสวน เบื้องต้นและประกาศว่าประเทศไทยให้การอุดหนุนการส่งออก สิ่งทอที่เป็นด้ายและเสื้อผ้าสำเร็จรูปโดยเรียกเก็บภาษีนำเข้า เพิ่มในอัตราร้อยละ 6.01 และ 2.03 ตามลำดับ สมาคมสิ่งทอแห่งประเทศไทยในฐานะตัวแทน ของผู้ผลิตและผู้ส่งอ อกสิ่งท อไปสหรัฐฯ และกระทรวงพาณิชย์ ของไทยได้ทำข้อตกลงว่าด้วยการหยุดยั้งการสอบสวนใน การเรียกเก็บภาษีตอบโต้ของสหรัฐฯ (Suspension Agreement) กับกระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐฯ เมื่อวันท่ี 4 มีนาคม 2528 ซึ่ ง ส รุ ป ได้ ว่ า ผู้ ส่ ง อ อกสิ นค้ า ด้ า ยแ ละผ้ า ผื น ไปยั ง สหรัฐฯ จะไม่ขอรับสิทธิจากมาตรการต่างๆ ของทางราชการ 10
จากเอกสารสรุประเบียบ ธปท. เกี่ยวกับการให้ความอนุเคราะห์ทางการเงินแก่กิจการส่งออกระหว่างปี พ.ศ.2499 - 2536
34
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
และกระทรวงพาณิชย์ต้องเป็นผู้รับผิดชอบดูแลการปฏิบัติ ตาม Suspension Agreement สำหรับส นิ ค้าเสือ้ ผ้าส ำเร็จรูป ผูส้ ง่ อ อกยนิ ดีเสียภ าษี เพิม่ ข นึ้ ร อ้ ยละ 2.03 และในสว่ นทเี่ กีย่ วข้องกบั ธปท. ไม่ข อรับส ทิ ธิป ระโยชน์ส นิ เชือ่ เพือ่ ก ารสง่ อ อกอตั ราดอกเบีย้ ต ำ่ ก ว่าอ ตั รา Commercial Rate หรือ Benchmark Interest-Rate11 ดังน นั้ กระทรวงพาณิชย์จ งึ ข อให้ ธปท. แก้ไข อัตราดอกเบี้ยการรับซื้อตั๋วฯ ของผู้ส่งอ อกสินค้าสิ่งทอไปสหรัฐฯ ให้ส ูงกว่าอัตรา Benchmark ตั้งแต่ 4 เมษายน 2528 เพื่อให้เป็นไปตาม Suspension Agreement ธปท. ได้ให้ความ อนุเคราะห์ท างการเงินแ ก่ผ สู้ ง่ อ อกสนิ ค้าส งิ่ ท อไปสหรัฐฯ โดยกำหนดอตั ราดอกเบีย้ ในการรบั ช ว่ งซอื้ ล ด ตั๋วสินค้าด้ายและผ้าผืนส ่งส หรัฐฯ สูงก ว่ากรณีป กติ กล่าวคือ ธปท. คิดจ ากธนาคารพาณิชย์ในอัตรา ร้อยละ 12.5 ต่อปี และให้ธนาคารพาณิชย์คิดจากผสู้ ่งออกร้อยละ 14.5 ต่อปี (ซึ่งเป็นอัตราที่สูงกว่า อัตรา Benchmark ในปี 2527 ที่คำนวณได้เท่ากับร้อยละ 14.39 ต่อปี) และตั้งแต่ 2 มกราคม 2529 เมือ่ ธปท. ได้เปลีย่ นการชว่ ยเหลือจ ากการรบั ช ว่ งซอื้ ล ดตวั๋ ฯ เป็นการรบั ซ อื้ ต วั๋ ฯ อัตราดอกเบีย้ ด งั ก ล่าว ยังคงใช้ในการรับซื้อตั๋วฯ ของผู้ส่งอ อกสินค้าสิ่งทอไปสหรัฐฯ ต่อมา กระทรวงพาณิชย์ได้ขอให้ ธปท. พิจารณาลดอัตราดอกเบี้ยแก่ผู้ส่งออกสินค้า สิ่งทอไปสหรัฐฯ เนื่องจากเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ ธปท. คิดจากผู้ส่งออกสินค้าสิ่งทอไปสหรัฐฯ จัด อยู่ในเกณฑ์สูงและไม่สอดคล้องกับอัตราดอกเบี้ยตลาดเงินเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราดอกเบี้ยการกู้ ยืมเบิกเกินบัญชี (MOR) นอกจากนี้ อัตรา Benchmark ในช่วงครึ่งหลังข องปี 2529 ที่คำนวณได้ คาดว่าจะอยู่ในระดับร้อยละ 12.25 - 12.80 ต่อปี ธปท. จึงได้ลดอัตราดอกเบี้ยจากเดิมร ้อยละ 14.5 ต่อป ีเหลือร้อยละ 13.0 ต่อปี และลดอัตราดอกเบี้ยที่คิดจากธนาคารพาณิชย์เหลือร้อยละ 11.0 ต่อป ี โดยทีอ่ ัตรา Benchmark ธปท. คำนวณขึ้นจากรายงานที่ธนาคารพาณิชย์ส่งม า จึงเป็น ข้อมูลย้อนหลัง แต่อัตราดอกเบี้ยทปี่ ระกาศรับซื้อตั๋วส่งออกสินค้าส ิ่งทอไปสหรัฐฯ เป็นอ ัตราที่กำหนด เพือ่ น ำไปใช้ในเวลาขา้ งหน้า ดังน นั้ เพือ่ ท จี่ ะสามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขใน Suspension Agreement ตามคำแนะนำของกระทรวงพาณิชย์ ธปท. จึงค ำนวณอตั ราดอกเบีย้ ก ารรบั ซ อื้ ต วั๋ ส ง่ อ อกสนิ ค้าส งิ่ ท อไป สหรัฐฯ โดยการประมาณคา่ อ ตั รา Benchmark ล่วงหน้าส ำหรับ 6 เดือนแล้วบ วกดว้ ย Safety Margin ที่สะท้อนถึงความไม่แน่นอนระหว่างอัตรา MOR และอัตรา Benchmark ตามจำนวนที่เห็นส มควร วันที่ 23 พฤศจิกายน 2533 กระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯ ได้ประกาศยกเลิกก รณีการเก็บ ภาษีตอบโต้การอุดหนุนการส่งออก (CVD) สินค้าผ้าผืนส่งสหรัฐฯ โดยมีผลบังคับย้อนหลังตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2533 แต่สินค้าด้ายยังคงต้องปฏิบัติตาม Suspension Agreement 11
Benchmark Interest- Rate เป็นตัวเลขอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงซ ึ่งต ามข้อตกลงถือเป็นอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชย์ คิดจากลูกค้าทั่วไปที่ไม่ได้รับการอุดหนุนซึ่งคำนวณจากรายได้ดอกเบี้ยต่อเงินให้สินเชื่อเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์
35
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน (2537 - 2545)
การยกเลิกมาตรการที่ขัดกับกฎระเบียบของ WTO12 องค์การการค้าโลก ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2538 โดยมีพื้นฐานมาจากข้อเสนอของประชาคมยุโรปและ ประเทศแคนาดาในปี 2533 ซึ่งเสนอให้จัดตั้งองค์การการค้า พหุภาคี เพื่อบริหารความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากร และการค้า (General Agreement on Tariffs and Trade : GATT) WTO เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับเดียวกับ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund - IMF) และธนาคารโลก โดยประเทศสมาชิกจะต้องปฏิบัติตามพันธกรณีอย่างเคร่งครัด เพื่อความเป็นระเบียบทางการค้าของโลกและให้การค้าขยายตัวอย่างเต็มที่และเป็นไปอย่างเสรี ประเทศไทยได้สมัครเข้าเป็นส มาชิกของ WTO เมื่อเดือนเมษายน 2537 และได้ออกพระราชบัญญัติ คุ้มครองการดำเนินงานขององค์การการค้าโลก พ.ศ.2537 รวมทั้งจะต้องปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการค้าต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับพ ันธกรณีของ WTO ด้วย
มาตรการอุดหนุนและการตอบโต้การอุดหนุน ภายใต้ก ฎระเบียบของ WTO ได้ก ำหนดคำนยิ ามและกรอบในการให้การอดุ หนุนอ อกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน ดังนี้ 1. การอดุ หนุนท ตี่ อ้ งหา้ ม (Prohibited Subsidies) ได้แก่ การอดุ หนุนท างดา้ นการสง่ อ อกหรือม เี งือ่ นไขให้ส ง่ อ อก หรือ มีข้อกำหนดเกี่ยวกับก ารใช้วัตถุดิบในประเทศ (Local Content Requirement) ซึ่ ง ป ระเทศส มาชิ ก ที่ ใช้ ม าตรการอุ ด หนุ น ดังกล่าวจะต้องยกเลิกการให้การอุดหนุนนั้นทั้งหมดนับจากวันที่ WTO มีผ ลใช้บ งั คับ ยกเว้นก รณีป ระเทศกำลังพ ฒ ั นาจะได้ร บั ก าร ผ่อนผนั ให้ย กเลิกก ารอดุ หนุนการส่งออก หรือมาตรการทีม่ เี งือ่ นไข ให้ส่งออกออกไปอีก 8 ปีนับจ ากวันที่ข้อตกลง WTO มีผลใช้บังคับ หรือภายในปี 2545 และได้รับ 12
36
จากเอกสาร สรุปความเป็นมาขององค์การค้าโลกและพันธกรณีของไทยในการยกเลิกมาตรการที่ขัดกับกฎ ของ WTO ของสายงานสินเชื่อ ฝ่ายการธนาคาร 17 กรกฎาคม 2541
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
การผ่อนปรนเกี่ยวกับการบังคับใช้ชิ้นส่วนภายใน ประเทศออกไปอีก 5 ปีนับจากวันที่ WTO มีผล ใช้บังคับ คือภายในปี 2542 2. การอุ ด หนุ น ที่ อ าจถู ก ต อบโต้ ไ ด้ (Actionable Subsidies) ได้แก่ การอุดหนุนที่ได้ ทำความเสียหายต่ออุตสาหกรรมภายในของประเทศ ภาคีสมาชิกอื่น หรือทำให้ผลประโยชน์โดยเฉพาะ การผูกพันภาษีกับแกตต์ที่ประเทศภาคีสมาชิกอื่น องค์การการค้าโลก ณ นครเจนีวา ได้รับต้องเสียไป หรือการอุดหนุนนั้นได้ทำความ เสียห ายอย่างรา้ ยแรงตอ่ ป ระเทศภาคีส มาชิกอ นื่ เช่น การอดุ หนุนแ ก่ผ ลิตภัณฑ์ห นึง่ ผ ลิตภัณฑ์ใดเกินก ว่า ร้อยละ 5 การอุดหนุนที่ส่งผ ลกระทบต่อยอดขายหรือร าคาขายของผลิตภัณฑ์ท ี่เหมือนกันของประเทศ ภาคีสมาชิกอื่นในตลาดเดียวกันลดลงอย่างมาก หรือทำให้ส่วนแบ่งของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการอุดหนุน ในตลาดโลกเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด หรือการอุดหนุนที่ไปขัดขวางการส่งออกหรือการนำเข้าผลิตภัณฑ์ ที่เหมือนกันจากประเทศภาคีสมาชิกอื่น ทั้งนี้ เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น ประเทศผู้เสียหายจะต้องเจรจากับประเทศคู่กรณีที่ให้ การอุดหนุนเพื่อหาทางแก้ไข หากไม่สามารถตกลงกันได้ ประเทศผู้เสียหายสามารถร้องเรียนไป ยังองค์กรระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement Body : DSB) เพื่อดำเนินการไต่สวน และเมื่อ พบว่าการอุดหนุนได้ทำความเสียหายจริง ประเทศที่ให้การอุดหนุนจะต้องยกเลิกมาตรการอุดหนุน ดังกล่าวภายใน 6 เดือน หรือให้ประเทศสมาชิกที่เสียห ายเรียกเก็บภาษีต อบโต้การอุดหนุนได้ในอัตรา เท่ากับจำนวนที่จะชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นเท่านั้น โดยการเก็บภาษีตอบโต้สามารถนำมาใช้ได้ ไม่เกิน 5 ปี อุตสาหกรรมที่จะดำเนินการกล่าวหาฟ้องร้องได้ จะต้องเป็นอุตสาหกรรมภายในที่ ได้รับความเสียหาย ซึ่งมีปริมาณการผลิตรวมกันเกินกว่าร้อยละ 50 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด และจะต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้ผลิตภายในประเทศเป็นจำนวนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 อนึ่ง WTO ได้ผ่อนปรนเป็นกรณีพิเศษแก่ประเทศกำลังพัฒนาที่ถูกร้องเรียนว่าให้การอุดหนุน ไม่ต้อง ถูกไต่สวนเพื่อเรียกเก็บภ าษีตอบโต้การอุดหนุนจากประเทศผู้เสียหาย เมื่อพบว่าระดับการอุดหนุนของ ผลิตภัณฑ์ม สี ัดส่วนไม่เกินร้อยละ 2 - 3 ของราคาขาย หรือการนำเข้าของผลิตภัณฑ์ด ังกล่าวต่ำกว่า ร้อยละ 4 ของปริมาณการนำเข้าผลิตภัณฑ์ประเภทดียวกันทั้งหมดของประเทศสมาชิกผู้นำเข้า 37
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน (2537 - 2545) 3. การอุดหนุนที่ไม่ถูกตอบโต้ (Non-Actionable Subsidies) ได้แก่ การอุดหนุนที่ ไม่เป็นการให้โดยเจาะจง หรือการอุดหนุนที่ให้โดยเจาะจงแต่เป็นการช่วยเหลือกิจการเพื่อการวิจัยและ พัฒนา โดยครอบคลุมไม่เกินร อ้ ยละ 75 ของคา่ ใช้จ า่ ยในการวจิ ยั ท างอตุ สาหกรรม หรือร อ้ ยละ 50 ของ ค่าใช้จ า่ ยของกจิ กรรมวจิ ยั พ ฒ ั นาเพือ่ เตรียมการแข่งขัน หรือเป็นการชว่ ยเหลือแ ก่ภ มู ภิ าคทดี่ อ้ ยโอกาส ซึง่ ม รี ายได้ต อ่ ห วั ไม่เกินร อ้ ยละ 85 ของรายได้เฉลีย่ ข องประเทศหรือม อี ตั ราการวา่ งงานในพนื้ ทีอ่ ย่างนอ้ ย ร อ้ ยละ 110 ของอตั ราการวา่ งงานเฉลีย่ ร วมของประเทศ หรือเป็นการชว่ ยเหลือเพือ่ ก ารปรับปรุงค ณ ุ ภาพ ของสิ่งแวดล้อม แต่วงเงินช่วยเหลือจะต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของต้นทุนการปรับเปลี่ยน และจะต้อง เป็นการช่วยเหลือที่ให้เพียงครั้งเดียวและไม่เกิดขึ้นอีก
การดำเนินการของ ธปท. ตามข้อตกลง WTO ในชว่ งปลายเดือนกรกฎาคม 2541 ธปท. ได้ย กเลิกห ลักเกณฑ์ก ารให้ค วามอนุเคราะห์ท ขี่ ดั กับกฎของ WTO เช่น การช่วยเหลือก ิจการทเี่น้นการใช้แรงงาน วัตถุดิบ และชิ้นส่วนภายในประเทศ เป็นปัจจัยสำคัญในการผลิต ซึ่งจะต้องยกเลิกภายในปี 2542 และยกเลิกเกณฑ์ที่เป็นการเลือกปฏิบัติ ได้แก่ 1. ระเบียบตั๋วฯ อุตสาหกรรมขนาดย่อม ยกเลิกเกณฑ์ก ารอนุเคราะห์แ ก่กิจการที่ตั้งอยู่ ในเขตกรุงเทพฯ และ 5 จังหวัดใกล้เคียงทกี่ ำหนดว่าจะต้องเป็นกิจการที่ใช้แรงงานเป็นป ัจจัยสำคัญใน การผลิต 2. ระเบียบตวั๋ ฯ อุตสาหกรรมทวั่ ไป ยกเลิกเกณฑ์ก ารกำหนดวงเงินก ารอนุเคราะห์ในกรณี กิจการที่มีทุนข้างมากเป็นของชาวต่างชาติ ซึ่งมีสินทรัพย์ตั้งแต่ 30 ล้านบาทและมีเงินกองทุนต่ำกว่า กึ่งหนึ่งของสินทรัพย์ทั้งส ิ้น และได้กำหนดประเภทอุตสาหกรรมที่จะให้ความอนุเคราะห์ใหม่ไนลักษณะ กว้างๆ ที่ WTO ให้กระทำได้ ดังนี้ 2.1 กิจการอุตสาหกรรมเพื่อการวิจัยและพัฒนา 2.2 กิจการอุตสาหกรรมทชี่ ่วยแก้ไขปัญหา สิ่งแ วดล้อม 2.3 กิจการอุตสาหกรรมทกี่ ่อให้เกิดการประหยัด พลังงาน 2.4 กิจการอุตสาหกรรมทเี่ป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม นอกจากนี้ การให้ความช่วยเหลือทางการเงินของ ธปท. แก่ ธสน. เพื่อให้กู้ยืมแก่ ผูส้ ง่ อ อกหรือผ ผู้ ลิตส นิ ค้าอ ตุ สาหกรรมเพือ่ ก ารสง่ อ อกซงึ่ ถ อื เป็นการสนับสนุนก ารสง่ อ อก ก็ได้ย ตุ ลิ ง ณ สิ้นปี 2545 เท่านั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎ WTO ที่ต้องยกเลิกการอุดหนุนทางด้านการส่งออกภายใน ปี 2545 38
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
การเร่งให้ความช่วยเหลือ SMEs
ก่อนเกิดวิกฤติปี 2540 ธปท. ให้ความช่วยเหลือ SMEs โดยมุ่งส่งเสริมให้ SMEs ทั้งใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคมีเงินทุนหมุนเวียนในอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าตลาดเพื่อใช้ในการประกอบ กิจการเป็นสำคัญเนื่องจากเห็นว ่า SMEs เป็นธุรกิจที่มีปัญหาในการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินทั่วไป แต่หลังจากที่ต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ธปท. ได้ให้ความสำคัญกับ SMEs มากขึ้นเป็น พิเศษตามนโยบายของรัฐบาล โดยมวี ตั ถุประสงค์ห ลักเพือ่ ใช้ SMEs เป็นฐ านในการชว่ ยฟนื้ ฟูเศรษฐกิจ ที่ประสบกับภ าวะตกต่ำ ธปท. จึงได้เพิ่มวงเงินช่วยเหลือ SMEs เป็นจำนวนมาก รวมทั้งได้ปรับปรุง แก้ไขระเบียบการให้ความช่วยเหลือ SMEs ครั้งใหญ่ติดต่อกันตั้งแต่ปี 2541 - 2544 ถึง 10 ครั้งให้มี ขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น
39
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน (2537 - 2545) การปรับปรุงระเบียบ SMEs ปี 2541 - 2544 ครั้งที่ 1 : 20 สิงหาคม 2541 - ขยายขอบเขตการช่วยเหลือให้รวมถึงกิจการหัตถอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมในครัวเรือนเพื่อฟื้นฟูอาชีพและ ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในชนบท - เพิ่มสัดส่วนเงินช่วยเหลือของ ธปท. จากร้อยละ 50 เป็นร้อยละ 60 - อนุมัติ ให้ผู้ประกอบการที่เคยได้รับความช่วยเหลือไปแล้วกลับมาใช้ใหม่ ได้อีก 5 ปี จากเดิมที่กำหนดระยะเวลา สิ้นสุดการให้ความช่วยเหลือไว้ 5 ปี ครั้งที่ 2 : 29 กันยายน 2541 - ปรับอ ตั ราดอกเบีย้ ท สี่ ถาบันการเงินเรียกเก็บจ ากผปู้ ระกอบการเพิม่ ข นึ้ จ ากร้อยละ MLR - 2.75 ต่อป ี เป็นร้อยละ MLR - 1 ต่อป ี เพื่อให้สถาบันการเงินได้รับผลตอบแทนใกล้เคียงกับการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินเอง ครั้งที่ 3 : 12 มกราคม 2542 - ผ่ อ นค ลายห ลั ก เกณฑ์ ก ารส่ ง เอกสารที่ จ ะใ ช้ ใ นก ารยื่ น ข อรั บ ค วามช่ ว ยเหลื อ แ ละที่ ใ ช้ ป ระกอบก ารข ายตั๋ ว จ าก เดิมมีจำนวน 12 - 13 หน้าเหลือ 5 หน้า - อนุ โ ลมใ ห้ กิ จ การอุ ต สาหกรรมที่ มี สิ น ทรั พ ย์ ม ากกว่ า 50 ล้ า นบ าทแ ต่ ไ ม่ เกิ น 200 ล้ า นบ าทม าใ ช้ ต ามร ะเบี ย บ อุตสาหกรรมขนาดย่อมได้ ครั้งที่ 4 : 25 มีนาคม 2542 - เพิ่มวงเงินช่วยเหลือจาก 4,000 ล้านบาท เป็น 42,000 ล้านบาท ครั้งที่ 5 : 17 เมษายน 2543 - ขยายนิ ย าม SMEs จากเดิ ม ที่ ก ำหนดไ ว้ เพี ย งภ าคก ารผ ลิ ต ใ ห้ ร วมถึ ง ภ าคก ารค้ า ภาคบ ริ ก าร และก ารรั บ จ้ า ง ทำของ ครั้งที่ 6 : 26 กรกฎาคม 2543 - ขยายก ารใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เป็ น เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นแ ก่ SMEs ที่ เป็ น NPL แต่ มี ศั ก ยภาพใ นก ารด ำเนิ น กิ จ การ สำหรับภาคการผลิต การค้าและบริการในวงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท โดยมีการค้ำประกันจาก บรรษัทประกัน สินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) ร้อยละ 75 ครั้งที่ 7 : 3 มกราคม 2544 - ขยายก ารใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เป็ น เงิ น ทุ น ร ะยะย าวแ ก่ SMEs ที่ เป็ น NPL แต่ มี ศั ก ยภาพใ นก ารด ำเนิ น กิ จ การ สำหรับภาคการผลิต เพื่อนำไปปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตหรือขยายงานในวงเงินไม่เกิน 50 ล้านบาท โดย มีการค้ำประกันจ าก บสย. ร้อยละ 75 ครั้งที่ 8 : 12 มกราคม 2544 - ลดอัตราดอกเบี้ยที่เรียกเก็บจากสถาบันการเงินจากอัตราร้อยละ 3 เป็น ร้อยละ 2 ต่อปีเป็นการชั่วคราว 1 ปี เพื่อจูงใจให้ สถาบันการเงินเร่งให้สินเชื่อแก่ SMEs มากขึ้น ครั้งที่ 9 : 7 สิงหาคม 2544 - ลดระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือแต่ละรายจากไม่เกิน 5 ปีเหลือไม่เกิน 3 ปี ครั้งที่ 10 : 24 ตุลาคม 2544 - ขยายเ วลาก ารใ ห้ ค วามช่ ว ยเ หลื อ แ ก่ SMEs ที่ เ ป็ น NPL แต่ ยั ง มี ศั ก ยภาพใ นก ารด ำเนิ น ธุ ร กิ จ เ พื่ อ เ ป็ น เงินทุนหมุนเวียนและเงินทุนระยะยาวต่อไปอีกจนถึงวันที่ 7 เมษายน 2547
40
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
โครงการเงินกู้ระยะยาว เพื่ อ ให้ กิ จ การอุ ต สาหกรรมส ามารถกู้ ยื ม เงิ น ไป ลงทุนจัดตั้งหรือขยายกิจการในอัตราดอกเบี้ยต่ำ ธปท. ได้ให้ ความช่วยเหลือทางการเงินในรูปเงินกู้ระยะยาวไม่เกิน 10 ปี แก่กิจการอุตสาหกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ของป ระเทศผ่ า น บรรษั ท ฯ โดยก ารรั บ ซื้ อ ตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เงิ น ข องบรรษัทฯ ทีก่ ระทรวงการคลังเป็นผ อู้ าวัล โครงการเงินก รู้ ะยะ ยาวนี้ ธปท. ได้มีการดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2517 แต่หลังว ิกฤต เศรษฐกิจปี 2540 มีการอนุมัติโครงการเพิ่มขึ้นหลายโครงการ เพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ โครงการให้ความช่วยเหลือนี้ในช่วงแรกเรียกว่า โครงการเครดิตระยะยาว ประกอบดว้ ยโครงการเครดิตร ะยะยาวครัง้ ท ี่ 1 ถึงค รัง้ ท ี่ 3 ต่อม าได้เปลีย่ นมาเรียกวา่ โครงการเงินก รู้ ะยะ ยาว ประกอบด้วยโครงการเงินกู้ระยะยาวครั้งที่ 1 ถึงค รั้งที่ 7 สำหรับโครงการเงินกู้ระยะยาว ครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นการให้ค วามช่วยเหลือแ ก่ก ิจการพาณิชย์น าวี และกิจการอุตสาหกรรมเพื่อก ารเปลี่ยนเครื่องจักร ใหม่ ซึ่งนอกจากให้ความช่วยเหลือผ่านบรรษัทฯ แล้วยังให้ผ่าน ธสน. ด้วย 1. โครงการเครดิตระยะยาว ครั้งที่ 1 ปี 2517 - 2527 วงเงิน 200 ล้านบาท เพื่อช ่วยเหลือ กิจการอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อส่งอ อก หรือเพื่อท ดแทนการนำเข้า หรือเป็นอ ุตสาหกรรมที่ ใช้วัตถุดิบท างการเกษตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของวัตถุดิบทั้งสิ้น 2. โครงการเครดิตระยะยาว ครั้งที่ 2 ปี 2521 - 2531 วงเงินอ ีก 200 ล้านบาท เพื่อ ช่วยเหลือผ ปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมตามแผนพฒ ั นาเศรษฐกิจแ ละสงั คมแห่งช าติฉ บับท ี่ 5 (ปี 2525 - 2529) 3.
โครงการเครดิตระยะยาว ครั้งที่ 3 ปี 2529 - 2535 มุ่งให้ความช่วยเหลือแ ก่ผู้ประกอบ การอุตสาหกรรมขนาดย่อมที่ ธปท. กำหนดจำนวน 55 ประเภท ในวงเงินปีละไม่เกิน 100 ล้านบาทเป็นเวลา 3 ปี โดยรายที่กู้เพื่อขยายการดำเนินงานได้รับความช่วยเหลือ ไม่เกิน 5 ปี ส่วนรายที่ตั้งกิจการใหม่ได้รับความช่วยเหลือไม่เกิน 7 ปี
41
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน (2537 - 2545) 4. โครงการเงินกู้ระยะยาว ครั้งที่ 1 ปี 2535 - 2540 วงเงิน 1,750 ล้านบาท เพื่อให้กู้ แก่กิจการอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) หรือกิจการที่ช่วยแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อม กิจการด้านวิจัยแ ละพัฒนา และกิจการที่ก่อให้เกิดก ารประหยัดพลังงาน 5. โครงการเงินก รู้ ะยะยาว ครัง้ ท ี่ 2 ปี 2537 - 2544 วงเงิน 2,250 ล้านบาท เพือ่ ช ว่ ยเหลือเพิม่ เติมจ ากเงินก คู้ รัง้ ท ี่ 1 เนือ่ ง จากบรรษัทฯ ระดมทนุ ได้ย งั ไม่เพียงพอกบั ค วามตอ้ งการของ ภาคอุตสาหกรรม และจำเป็นต้องหาเงินทุนอัตราดอกเบี้ย ต่ำไปให้ความช่วยเหลือแก่อุตสาหกรรมที่รัฐบาลมีนโยบาย สนับสนุน และเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายที่จะกระจายรายได้ และความเจริญสู่ชนบท 6. โครงการเงินกู้ระยะยาว ครั้งที่ 3 ปี 2539 - 2545 วงเงิน 2,000 ล้านบาท เป็นโครงการ ต่อเนื่องจากโครงการเงินกู้ระยะยาวครั้งที่ 2 เพื่อให้กู้แก่ SMEs ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ความเจริญไปสภู่ มู ภิ าคตามนโยบายของรฐั บาล และกจิ การอตุ สาหกรรมทชี่ ว่ ยรกั ษาสงิ่ แ วดล้อม การวิจัยและพัฒนา และการประหยัดพลังงาน 7. โครงการเงินกู้ระยะยาว ครั้งที่ 4 ให้ความช่วยเหลือผ ่านบรรษัทฯ และ ธสน. ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ 7.1 โครงการช่ ว ยเหลื อ กิ จ การพ าณิ ช ย์ น าวี ลั ก ษณะกิ จ การพ าณิ ช ย์ น าวี ที่ ได้ รั บ ความชว่ ยเหลือต อ้ งเป็นธ รุ กิจข นส่งส นิ ค้าร ะหว่างประเทศไทยกบั ต า่ งประเทศเป็นห ลักแ ละนำเงิน ไปซื้อเรือใหม่หรือเรือเก่าท ี่มีอายุไม่เกิน 20 ปี ซึ่งต้องนำมา จดทะเบียนในไทยและมีธงประจำเรือเป็นธงไทย ปี 2539 - 2544 วงเงิน 2,000 ล้านบาท ผ่าน ธสน. สัดส่วนเงินข อง ธปท. : ธสน. เท่ากับ 50 : 50 อัตราดอกเบีย้ ที่ ธปท. คิดจาก ธสน. ร้อยละ 5 ต่อปี โดยให้ ธสน. เรียก เก็บด อกเบี้ยจากผู้ประกอบการได้เองตามความเหมาะสม 30 สิ ง หาคม 2544 ได้ เ พิ่ ม ว งเงิ น ให้ ธสน. เป็น 3,250 ล้านบาท และปรับอัตราดอกเบี้ย
42
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ที่คิดจาก ธสน. เป็นร ้อยละ 3 ต่อปี ปี 2545 - 2550 วงเงิน 750 ล้านบาท ผ่านบรรษัทฯ โดยอัตราดอกเบี้ยและสัดส่วน เงินให้ความช่วยเหลือระหว่าง ธปท.กับบ รรษัทฯ เช่นเดียวกันกับที่ให้ผ่าน ธสน. 7.2 โครงการช่วยเหลือเพื่อการเปลี่ยนเครื่องจักร เป็นการช่วยเหลือผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมฟอกย้อมและทอผ้าให้มีเงินทุนเพื่อนำไปใช้ในการเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ให้มี ประสิทธิภาพการผลิตสูงขึ้นตามนโยบายของรัฐบาล ผู้ประกอบการที่ได้รับความช่วยเหลือ ต้องได้รับหนังสือรับรองการเปลี่ยนเครื่องจักร จากกระทรวงอุตสาหกรรม และจะต้องทำลาย เครื่องจักรเก่าทิ้งเพื่อไม่ให้กำลังการผลิตของอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นมากเกินไป ธปท.อนุมัติวงเงิน 3,000 ล้านบาท ให้ แก่ ธสน. และ 3,250 ล้านบาท ให้แก่บรรษัทฯ โดยกำหนด เวลาการให้ความช่วยเหลือเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 (ปี 2540 - 2541) กำหนดวงเงิน 2,250 ล้านบาท แยกเป็นให้ ธสน. 1,000 ล้านบาท และบรรษัทฯ 1,250 ล้านบาท ระยะที่ 2 (ปี 2542 - 2543) จะช่วยเหลือเป็นวงเงิน ใหม่จำนวน 4,000 ล้านบาท แบ่งเป็นป ีละ 2,000 ล้านบาท เมื่อ ธสน. และบรรษัทฯ ใช้วงเงินใน ระยะที่ 1 หมดแล้ว อย่างไรก็ตาม ทั้ง ธสน. และบรรษัทฯ ได้ใช้วงเงินเฉพาะระยะที่ 1 เท่านั้น อัตราดอกเบี้ยท ี่ ธปท. คิดจ าก ธสน. ร้อยละ 2.5 ต่อป ี และให้ ธสน. คิดจ ากผปู้ ระกอบ การไม่เกินร้อยละ MLR - 3 ต่อปี สัดส่วนเงินของ ธปท. : ธสน. เท่ากับ 25 : 75 ต่อม า ในปี 2542 ได้ปรับส ัดส่วนเงินของ ธปท. : ธสน. เป็น 50 : 50 และเพิ่มอัตราดอกเบี้ยที่ ธปท. คิดจาก ธสน. เป็นร้อยละ 3 ต่อปี โดยไม่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยที่ ธสน. คิดจาก ผู้ประกอบการ ทั้งนี้ อัตราดอกเบี้ยและสัดส่วนเงินให้ความช่วยเหลือระหว่าง ธปท. กับบรรษัทฯ เช่นเดียวกันกับที่ให้ผ่าน ธสน. 8. โครงการเงินกู้ระยะยาว ครั้งที่ 5 ปี 2542 - 2548 วงเงิน 7,200 ล้านบาท เพื่อให้
43
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคพัฒนาปรับเปลี่ยน (2537 - 2545) กู้แก่กิจการ SMEs ในการบรรเทาปัญหาการขาดสภาพคล่อง อัตราดอกเบี้ยที่ ธปท.คิด จากบรรษัทฯ ร้อยละ 3 ต่อปี และปรับล ดเหลือร้อยละ 1 ต่อปีตั้งแต่ 18 พฤษภาคม 2542 สัดส่วนเงินของ ธปท. : บรรษัทฯ เท่ากับ 60 : 40 9. โครงการเงินก รู้ ะยะยาว ครัง้ ท ี่ 6 ปี 2544 - 2550 วงเงิน 9,000 ล้านบาท เพือ่ ให้ก แู้ ก่ก จิ การ SMEs ในการกระตุ้นให้เศรษฐกิจโดยรวมฟื้นตัวเร็วข ึ้น ธปท. คิดด อกเบี้ยจากบรรษัทฯ อัตรา ร้อยละ 1 ต่อป ี สัดส่วนเงินของ ธปท. : บรรษัทฯ เท่ากับ 60 : 40 10. โครงการเงินกู้ระยะยาว ครั้งที่ 7 อนุมัติเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2544 เพื่อให้ความช่วยเหลือ ต อ่ เนือ่ งจากโครงการเงินก รู้ ะยะยาวครัง้ ท ี่ 6 แต่เนือ่ งจากบรรษัทฯ จะถกู ค วบรวมเข้าก บั ธ นาคาร ทหารไทย กระทรวงการคลังจ ึงไม่อาวัลตั๋วฯ ของบรรษัทฯ ทำให้บรรษัทฯ ไม่ได้เบิกเงินกู้
44
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
โครงการฟื้นฟูธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2540 ธปท. ได้อนุมัติวงเงินให้ความช่วย เหลือแก่ธนาคารออมสินและธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) แห่งละ 2,500 ล้านบาทเพื่อร่วมสมทบมาตรการฟื้นฟูธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ของกระทรวงการคลังวงเงินรวม 20,000 ล้าน บาท ตามมติคณะรัฐมนตรี เพื่อนำไปให้ข้าราชการและพนักงาน รัฐวิสาหกิจ รวมถึงพนักงานองค์กรของรัฐและประชาชนทั่วไป กูย้ มื เพือ่ ซ อี้ ท อี่ ยูอ่ าศัย โดย ธปท. คิดดอกเบีย้ จากธนาคารออมสิน และ ธอส. ในอตั รารอ้ ยละ 0.1 ต่อป ี และให้ธ นาคารออมสินแ ละ ธอส. คิดจากผู้กู้ไม่เกินอ ัตราร้อยละ 9 ต่อปี ระยะเวลาให้กู้รายละไม่เกิน 30 ปี ธนาคารออมสิน และ ธอส. ได้ให้สินเชื่อต ามโครงการนี้เป็นจำนวนทั้งสิ้น 24,276 ราย เป็นวงเงินทั้งสิ้น 17,356 ล้านบาท หรือค ิดเป็นร้อยละ 86.8 ของเป้าห มาย (20,000 ล้านบาท)
โครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัย ในปี 2545 ธปท. ได้ อ นุ มั ติ ว งเงิ น ใ ห้ กู้ ยื ม 15,000 ล้านบาท อายุ 3 ปี แก่ ธอส. ตามนโยบายของ รัฐบาลในการสนับสนุนให้ ประชาชนและข้าราชการมีที่ อยูอ่ าศัยเป็นข องตนเองและ เป็นการช่วยฟื้นฟูธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจให้กระเตื้องขึ้น โดย ธปท. จะรับ ซือ้ ต วั๋ ฯ ที่ ธอส. เป็นผ อู้ อกและกระทรวงการคลังเป็นผ รู้ บั อ าวัล สัดส่วนเงินส มทบระหว่าง ธปท. : ธอส. เท่ากับ 25 : 75 โดย ธปท. เรียกเก็บดอกเบี้ยจาก ธอส. ร้อยละ 2 ต่อป ี และให้ ธอส. เรียกเก็บจาก ผู้กู้ในช่วง 3 ปีแรกเฉลี่ยไม่เกินร ้อยละ 4.5 ต่อปี 45
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคสุดท้าย (2546 - 2554)
ยุคสุดท้าย (2546 - 2554) เมื่อระบบเศรษฐกิจและระบบสถาบันการเงินได้พัฒนาขึ้น มีการจัดตั้งสถาบันการเงิน เฉพาะกิจขึ้นหลายแห่ง เช่น ธ.ก.ส. ธสน. และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย (ธพว.) เพื่อ ทำหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนทางการเงินแก่ ภาคเศรษฐกิจต่างๆ รวมทั้งธนาคารออมสินก็มีการพัฒนาการให้บริการสินเชื่อแก่ประชาชนและ ภาคธุรกิจเพิ่มมากขึ้นจากเดิมที่จะทำหน้าที่ให้กู้แก่ภาครัฐเป็นหลัก ความจำเป็นที่ ธปท. จะยังต้อง มีบทบาทด้านการพัฒนาและจัดสรรเงินทุนเพื่อช่วยเหลือภาคเศรษฐกิจต่างๆ จึงลดน้อยลง ซึ่ง ธปท. ได้ด ำเนินการลดบทบาทการให้ความช่วยเหลือท างการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจสำคัญอ ย่างค่อยเป็น ค่อยไปโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจต่างๆ ด้วย ทั้งนี้ เมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือมีความ จำเป็น ธปท. ก็ได้ให้ความช่วยเหลือในโครงการใหม่ๆ เป็นครั้งค ราว แต่เมื่อเหตุการณ์คลี่คลายก็ยุติ โครงการให้ความช่วยเหลือนั้นๆ ลงด้วย แนวคิดที่จะให้ ธปท. ลดบทบาทการให้ ความชว่ ยเหลือแ ก่ภ าคเศรษฐกิจส ำคัญล ง มีม าตลอด โดยเฉพาะในปี 2541 ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายของ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ทีเ่ดินทางมา ให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการได้เสนอให้ตัดหน้าที่ การให้ค วามชว่ ยเหลือแ ก่ภาคเศรษฐกิจส ำคัญอ อกจาก ร า่ งพระราชบญ ั ญัติ ธปท. ทีก่ ำลังม กี ารพจิ ารณาแก้ไข เพราะเห็นว า่ ไม่ใช่งานของธนาคารกลาง ซึง่ ป ระเด็นน ี้ มีความเห็นทีแ่ ตกต่างกัน ฝ่ายหนึ่งเห็นว่า ประเทศไทยยังเป็น ประเทศกำลังพัฒนา และภาครัฐยังมีรายได้ไม่เพียง พอทีจ่ ะจดั สรรงบประมาณไปสนับสนุนภ าคเศรษฐกิจ สำคั ญ ต่ า งๆ จำเป็ นต้ อ งพึ่ ง พาเงิ นช่ ว ยเหลื อ จาก 46
การจัดตั้งสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธ.ออมสิน ธอส. ธ.ก.ส. บสย. ธสน. ธพว. ธอท.
1 เมย.2490 9 ม.ค.2496 1 พ.ย.2509 30 ธ.ค.2534 7 ก.ย. 2536 20 ธ.ค.2545 12 มิ.ย.2546
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ธนาคารกลางเพื่อเอาไปเสริมกับเงินงบประมาณในการ พัฒนาภาคเศรษฐกิจสำคัญต่อไปจนกว่าประเทศไทยจะ ก้าวไปสู่ประเทศที่เทียบเท่าประเทศที่พัฒนาแล้ว และ ในแง่ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ หากภาคเศรษฐกิจ จริงและการส่งออกมีปัญหาโดยไม่ได้รับการช่วยเหลือ อย่ า งเพี ย งพอและทั นท่ ว งที ก็ อ าจส่ ง ผ ลกร ะท บต่ อ เศรษฐกิจโดยรวมได้ ในข ณะที่ อี ก ฝ่ า ยเห็ น ว่ า การให้ สิ น เชื่ อ ดอกเบี้ยต่ำเป็นอุปสรรคต่อการทำหน้าที่ของธนาคาร กลางในการดูแลนโยบายการเงิน และในกรณีท ภี่ าคเศรษฐกิจจริงแ ละภาคการส่งออกประสบปัญหากม็ ี สถาบันก ารเงินเฉพาะกจิ ท มี่ คี วามพร้อมมากขนึ้ แ ล้วในการให้ค วามชว่ ยเหลือท างการเงินแ ก่ภ าคเศรษฐกิจ ดังกล่าว ในปี 2545 ธปท. จึงพ จิ ารณายตุ บิ ทบาทการให้ส นิ เชือ่ แ ก่ภ าคเศรษฐกิจส ำคัญผ า่ นธนาคาร พาณิชย์ภายในปี 2547 ยกเว้นการให้ความช่วยเหลือแก่กิจการ SMEs โดยเห็นว่าโครงการพิเศษที่ รัฐบาลเห็นควรสนับสนุนสินเชื่อควรใช้ช่องทางผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจโดยกระทรวงการคลัง ค้ำประกัน สำหรับการให้สินเชื่อผ่านธนาคารพาณิชย์ในช่วงเปลี่ยนผ่านนี้ (transitional period) ให้ ปรับเปลี่ยนเป็นการให้สินเชื่อแบบ wholesale โดยมีพันธบัตรค้ำประกัน หรือมีมาตรการจูงใจอื่น ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2545 การรับซื้อตั๋วฯ ตามระเบียบต่างๆ มียอดคงค้างเพียงร้อยละ 17 ของวงเงินที่จัดสรร และส่วนใหญ่เป็นการขายตั๋วฯ ตามระเบียบการรับซื้อตั๋วสัญญาใช้เงินที่เกิด จากการประกอบวิสาหกิจข นาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2543 (ระเบียบฯ SMEs) ระเบียบฯ ค้าพืชผล เกษตร และระเบียบฯ เลีย้ งสตั ว์ ส่วนระเบียบอนื่ ๆ มีย อดคงคา้ งนอ้ ย เนือ่ งจากธนาคารพาณิชย์ม สี ภาพ คล่องสูงสามารถปล่อยสินเชื่อได้เองโดยไม่ต้องขอรับค วามอนุเคราะห์จ าก ธปท. ประกอบกับขณะนั้น อัตราดอกเบี้ยในตลาดลดลงมาก อัตราดอกเบี้ยที่ ธปท. เรียกเก็บในอัตราร้อยละ 3 ต่อปีค่อนข้างสูง เมื่อเทียบกับแ หล่งเงินทุนอ ื่นจึงไม่จูงใจให้ธนาคารพาณิชย์นำตั๋วมาขาย
47
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคสุดท้าย (2546 - 2554)
หนังสือเวียนถึงสถาบันการเงินแจ้งงดการให้ความช่วยเหลือตามระเบียบและหนังสือเวียนต่างๆ
วันท ี่ 2 มกราคม 2546 ธปท. จึงป ระกาศงดการให้ค วามชว่ ยเหลือท างการเงินต ามระเบียบ และหนังสือเวียนต่างๆ ที่มีอยูท่ ั้งหมด (ยกเว้น ระเบียบฯ SMEs) โดยจะรับซื้อตั๋วฯ ของผู้ประกอบการ รายทไี่ ด้ร บั ค วามอนุเคราะห์ต ามระเบียบดงั ก ล่าวอยูแ่ ล้ว ถึงว นั ท ี่ 31 มกราคม 2546 เป็นว นั ส ดุ ท้าย และ ให้ผ ู้ประกอบการยื่นขอรับความช่วยเหลือผ่านสถาบันการเงินตามระเบียบฯ SMEs เพียงระเบียบเดียว รวมทั้งได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยที่ ธปท. เรียกเก็บเหลือร้อยละ 1.75 ต่อป ีเพื่อจูงใจให้ธนาคารพาณิชย์ เข้ามาใช้หน้าต่างการเงินของ ธปท. ในการให้ความช่วยเหลือแ ก่ผู้ประกอบการ SMEs ระเบี ย บฯ SMEs เป็ น ร ะเบี ย บที่ เปิ ด ก ว้ า งส ามารถร องรั บ ก ารให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ผู้ประกอบการตามประเภทกจิ กรรมทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ได้ เช่น การประกอบกจิ การโรงสี และการเลีย้ ง สัตว์ เป็นธุรกิจป ระเภทการผลิต การค้าข้าวเปลือก เป็นธุรกิจประเภทค้าส่งหรือค ้าปลีก เป็นต้น นอกจากนี้ ในปี 2546 ธปท. ได้ป รับวิธีการให้ความช่วยเหลือทางการเงินตามระเบียบฯ SMEs จากการรับซื้อตั๋วฯ ของผู้ประกอบการรายฉบับ (retail) มาเป็นการให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน เป็นเงินก้อน (wholesale) โดยมีตั๋วฯ ของผู้ประกอบการวางเป็นประกัน โดยสถาบันการเงินจะออก 48
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ระเบียบวิสาหกิจขนาดย่อม (SEs) 1. 2. 3. 4.
วงเงินให้ความช่วยเหลือ 38,000 ล้านบาท ช่วยเหลือผปู้ ระกอบการขนาดย่อม แต่ละรายไม่เกิน 20 ล้านบาท ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี อัตราดอกเบี้ย (% ต่อป ี) ปีที่ ธปท. คิดจ ากสถาบันการเงิน สถาบันการเงินคิดจากผปู้ ระกอบการ 1 MLR – 6.75 MLR – 2.25 แต่ 2 MLR – 4.75 ไม่ต่ำกว่า MLR – 1.25 3 MLR – 2.75 MLR – 0.25 1% สัดส่วนเงินให้กู้ ธปท : สถาบันการเงิน = 50 : 50
ตั๋วสัญญาใช้เงิน (ตั๋วกู้) เพื่อขอกู้เงินจาก ธปท. โดยมีตั๋วสัญญาใช้เงินของผู้ประกอบการเป็นประกัน (ตั๋วประกัน) การปรับเปลี่ยนนี้ช่วยลดปริมาณงานเอกสารและขั้นตอนการปฏิบัติงาน กล่าวคือ ในตั๋วกู้ ของสถาบันการเงิน 1 ฉบับจ ะมีตั๋วประกันได้หลายฉบับ ซึ่งตั๋วกจู้ ะครบกำหนดชำระเกินกว่าตั๋วประกัน ไม่ได้ ระเบียบฯ SMEs ได้มีการปรับปรุงอ ีกครั้งในปี 2550 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจได้ปรับตัว ดีขึ้นมากแล้ว โดยปรับล ดขนาด SMEs ที่จะให้ความช่วยเหลือล งเหลือเฉพาะวิสาหกิจข นาดย่อม และ ให้ธนาคารพาณิชย์มีบทบาทในการให้สินเชื่อมากขึ้น โดยเพิ่มสัดส่วนเงินสมทบของธนาคารพาณิชย์ จากร้อยละ 40 เป็นร้อยละ 50 รวมทั้งปรับอัตราดอกเบี้ยที่เรียกเก็บในแต่ละปีเป็นขั้นบันไดเพื่อให้ ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวรองรับอัตราดอกเบี้ยตลาดได้หลังจากที่สิ้นสุดการได้รับความช่วยเหลือ จาก ธปท. อย่างไรกต็ าม ระหว่างปี 2546 - 2548 ได้เกิดโรคระบาดรา้ ยแรงและภยั พ บิ ตั ทิ างธรรมชาติ รวมถึ ง เหตุ ก ารณ์ ร้ า ยแรงที่ มี ผ ลกร ะท บต่ อ ภ าคธุ ร กิ จ ข องไทยซึ่ ง ไม่ เคยเกิ ด ขึ้ น ม าก่ อ น ทำให้ ธปท. ต้องเข้าให้การช่วยเหลือเพื่อบรรเทามิให้ส่งผลกระทบต่อระบบการเงินของประเทศ โดยได้ ออกระเบียบให้ความช่วยเหลือเป็นโครงการฉุกเฉินเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ได้แก่ โครงการช่วย เหลือผ ปู้ ระกอบการทไี่ด้ร ับผ ลกระทบจากโรคไข้ห วัดน ก โครงการช่วยเหลือผ ปู้ ระกอบการใน 6 จังหวัด ที่ประสบภัยส ึนามิ โครงการช่วยเหลือผู้ประกอบการใน 3 จังหวัดช ายแดนภาคใต้ โครงการช่วยเหลือ ผู้ประกอบการในจังหวัดสงขลาและสตูล และโครงการ SMEs ที่ได้รับผลกระทบจากการแข็งค่าของ เงินบาท เป็นต้น 49
วิวัฒนาการของภารกิจ : ยุคสุดท้าย (2546 - 2554)
โครงการไข้หวัดนก 1. วงเงินให้ความช่วยเหลือ 15,000 ล้านบาท 2. ช่วยเหลือผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์ปีก โรงงานแปรรูป และส่งอ อกสัตว์ปีก 3. ระยะเวลาให้ความช่วยเหลือแต่ละรายไม่เกิน 2 ปี สิ้นสุด 30 มิ.ย. 2551 4. สัดส่วนเงินให้กู้ ธปท. : สถาบันการเงิน วงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท ธปท. 100% วงเงินเกิน 10 ล้านบาท = 60 : 40 5. อัตราดอกเบี้ย (% ต่อปี) ปี 1 2
วงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท วงเงินเกิน 10 ล้านบาท ธปท. คิดจาก สถาบันการเงิน ธปท. คิดจาก สถาบันการเงิน สถาบันการเงิน คิดจากผู้ประกอบการ สถาบันการเงิน คิดจากผูป้ ระกอบการ 0.01 2 0.01 3.5 0.01 2 MLR - 4.75 MLR - 2
SMEs ที่ได้รับผลกระทบจากค่าเงินบาท 1. วงเงินให้ความช่วยเหลือ 2,700 ล้านบาท - SMEs ทั่วไป 2,250 ล้านบาท - SMEs ที่เป็น NPL 450 ล้านบาท 2. SMEs แต่ละรายได้รับค วามช่วยเหลือไม่เกิน 5 ล้านบาท ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี สิ้นสุดปี 2553 3. ธนาคารพาณิชย์ยื่นขอรับค วามช่วยเหลือได้ไม่เกิน 22 ธค. 2551 4. ธปท. คิดด อกเบี้ยจากธนาคารพาณิชย์ 1% ต่อปี ธนาคารพาณิชย์คิดด อกเบี้ยจากผู้ประกอบการ - SMEs ทั่วไป ไม่เกิน MLR – 2.25 % ต่อปี - SMEs ที่เป็น NPL ไม่เกิน MLR + 1 % ต่อปี 5. สัดส่วนเงินให้กู้ ธปท. : ธนาคารพาณิชย์ - SMEs ทั่วไป = 50 : 50 - SMEs ที่เป็น NPL = 90 : 10
โครงการจังหวัดสงขลาและสตูล 1. 2. 3. 4. 5.
50
วงเงินให้ความช่วยเหลือ 3,000 ล้านบาท ช่วยเหลือผู้ประกอบการท่องเที่ยวและที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว รวมถึงธ ุรกิจต่างๆ ในจังหวัดส งขลาและสตูลทีไ่ด้ร ับผลกระทบทางอ้อมจากเหตุการณ์ค วามไม่ส งบ ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ประกอบแต่ละรายได้ร ับความช่วยเหลือไม่เกิน 5 ล้านบาทระยะเวลาให้ค วาม ช่วยเหลือสิ้นสุดว ันที่ 31 ธ.ค. 2553 ธปท. คิดอ ัตราดอกเบี้ยจากสถาบันการเงิน 1.0% ต่อป ี และ สถาบันการเงิน คิดจากผู้ประกอบการไม่เกิน MLR - 2.75 % ต่อป ี สัดส่วนเงินให้กู้ ธปท : สถาบันการเงิน = 60 : 40
โครงการ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 1. 2. 3. 4. 5.
วงเงินให้ความช่วยเหลือ 25,736 ล้านบาท ให้ความช่วยเหลือผ ู้ประกอบการที่มีสถานประกอบการและวงเงินกู้กับสถาบัน การเงินในจังหวัด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สถาบันการเงินยื่นขอความช่วยเหลือ/ระยะเวลาให้ความช่วยเหลือสิ้นส ุดปี 2553 ธปท. คิดอัตราดอกเบี้ยจากสถาบันการเงิน 0.01% ต่อปี และ สถาบันการเงิน คิดจากผู้ประกอบการไม่เกิน 1.5% ต่อปี สัดส่วนเงินให้กู้ ธปท. 100%
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
3
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ตามที่ได้กล่าวแล้วว ่า เมื่อพิจารณาในมุมหนึ่ง การดำเนินการให้ความช่วยเหลือท างการ เงินแก่ภาคธุรกิจของ ธปท. ถือว่าเป็นไปเพื่อสนับสนุนพัฒนาการและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในภาวะที่ยังไม่มีการจัดตั้งสถาบันการเงินเฉพาะกิจ หรือสถาบันการเงินยังไม่มีความพร้อมใน การขับเคลื่อนการพัฒนาสู่ชนบท แต่ในอีกมุมหนึ่ง ก็เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ได้ว่า ภารกิจนี้ไม่ใช่ ภารกิจหลักของธนาคารกลาง และยังอาจทำให้การดำเนินนโยบายการเงินไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร รวมทั้งอาจถือเป็นการแทรกแซงกลไกตลาดอีกทางหนึ่ง ดังน ั้น ธปท. จึงได้ทยอยลดบทบาทด้านนี้ลง เป็นลำดับ เพื่อให้สอดคล้องกับร ะดับการพัฒนาของประเทศ ซึ่งในระยะหลังก ็เหลือเพียงโครงการเพื่อ บรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติ หรือที่จำเป็นแ ละเร่งด่วนจริงๆ เท่านั้น เมือ่ พระราชบญ ั ญัติ ธปท. พ.ศ.2485 ทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติมโดย พระราชบญ ั ญัติ ธปท. (ฉบับท ี่ 4) พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้ คณะกรรมการ ธปท. ได้พิจารณาแล้วเห็นว ่า ธปท. ควรให้ความสำคัญกับ ภารกิจหลัก คือการดำเนินนโยบายการเงิน ส่วนการให้สินเชื่อควรเป็นภาระของธนาคารพาณิชย์และ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธปท. จึงได้ม หี นังสือเวียนที่ ธปท.ฝกช. (22) ว.1000/2551 ลงวนั ท ี่ 3 มิถนุ ายน 2551 เรือ่ งการ ปรับบ ทบาทการให้ค วามชว่ ยเหลือท างการเงินแ ก่บ างภาคเศรษฐกิจ ถงึ ส ถาบันก ารเงิน และมีการแถลงข่าว รวมถึงได้เชิญผ บู้ ริหารของสถาบันก ารเงินเข้าร ว่ มฟงั ก ารชแี้ จงแนวทางดำเนินก ารให้ค วามชว่ ยเหลือท าง การเงินแก่ผู้ประกอบการตามระเบียบต่างๆ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2551 โดย ธปท. ยังคงให้ความ ช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบการที่ ธปท. ได้ให้ความเห็นชอบแล้วต่อไปตามวงเงินและ ระยะเวลาที่ ธปท. มีข้อผูกพันไว้ใน 5 โครงการ ได้แก่
1) โครงการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดย่อม
2) โครงการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการในจังหวัดส งขลาและสตูล
3) โครงการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากโรคไข้หวัดนก
4) โครงการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการใน 3 จังหวัดช ายแดนภาคใต้
5) โครงการให้ความช่วยเหลือแก่ SMEs ที่ได้ร ับผลกระทบจากค่าเงินบ าท
51
การยุติบทบาท : เมื่อภารกิจเดินถึงปลายทาง
52
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ดั๋วสัญญาใช้เงินฉบับสุดท้าย
53
การยุติบทบาท : เมื่อภารกิจเดินถึงปลายทาง ทั้งนี้ ธปท.จะไม่มีการอนุมัติผู้ประกอบการรายใหม่อีก นอกจากนี้ ให้ยกเลิกโครงการให้ ความช่วยเหลือท างการเงินแ ก่ SMEs เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งออกหลังจ ากพระราชบัญญัติ ธปท.(ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้และ ธปท. ยังไม่ได้อนุมัติจัดสรรวงเงิน และขอให้ธนาคาร พาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจให้ความช่วยเหลือ SMEs ให้มีโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน ได้อย่างเหมาะสมต่อไป
แนวทางในการช่วยเหลือ SMEs หลังการยุติบทบาทของ ธปท. ในหลักการ ธนาคารพาณิชย์ควรเป็นหลักในการให้ความช่วยเหลือแก่ SMEs เพราะ บทบาทที่สำคัญของธนาคารพาณิชย์คือเป็นตัวกลางทางการเงินในการระดมเงินฝากจากคนกลุ่มหนึ่ง ซึง่ ม เี งินเหลือแ ล้วน ำไปให้ก ยู้ มื แ ก่ค นอกี ก ลุม่ ห นึง่ ท ปี่ ระสงค์จ ะนำเงินไปทำการคา้ ก ารลงทุน ซึง่ ก ารจดั หา เงินทุนของธนาคารพาณิชย์อาจจะเป็นการรับฝากจากประชาชนหรือกู้ยืมด้วยวิธีอื่น เพื่อมาให้กู้ยืมต่อ ซึ่งในยุคปัจจุบันธนาคารพาณิชย์มีความสามารถจัดหาเงินทุนด้วยต้นทุนที่ต่ำ โดยมิต้องพึ่งวงเงินช่วย เหลือจ าก ธปท. เนือ่ งจากวงเงินก ารให้ค วามชว่ ยเหลือข อง ธปท. ทัง้ 5 โครงการดงั ก ล่าวคดิ เป็นส ดั ส่วน เพียงร้อยละ 1 ของสินเชื่อร วมของระบบธนาคารพาณิชย์เท่านั้น นอกจากนี้ บรรษัทค้ำประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) ยังสามารถเพิ่ม บทบาทในการค้ำประกันสินเชื่อแก่ SMEs เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ธนาคารพาณิชย์ในการปล่อย สินเชื่อแก่ SMEs โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ซึ่งโอกาสที่จะเกิด NPL ค่อนข้างสูง โดยในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจที่ผ่านมา ธปท. ได้ผลักดันให้มีการค้ำประกันสินเชื่อ SMEs ผ่าน บสย. เพื่อบรรเทาผลกระทบต่อภาคธุรกิจ โดยมีการหารือร่วมกันทั้ง ธปท. บสย. และธนาคารพาณิชย์ เกี่ยวกับแนวทางดำเนินการที่เหมาะสมของ Business model ใหม่ที่แก้ไขจุดอ่อนจากเดิมที่เป็น การค้ำประกันรายสัญญา (Risk Participation) มาเป็นรูปแบบของการค้ำประกันลูกค้าเป็น รายกลุ่มที่เรียกว่า Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ที่กำหนดวงเงินค้ำประกันเป็น port และมีเงื่อนไขที่เหมาะสมกับสภาวการณ์ PGS แบ่งก ารค้ำประกันล ูกค้าเป็น 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มลูกหนีป้ กติ กลุ่มลูกหนี้ NPL และ กลุ่ม Clean loan โดยสถาบันการเงินจะต้องส่งรายชื่อและวงเงินลูกค้าให้ บสย. พิจารณา ค้ ำ ป ระกั น ภ ายใน 1 ปี และมี อ ายุ ก ารค้ ำ ป ระกั น 5 ปี สำหรั บ ก ารร่ ว มรั บ ค วามเสี่ ย งแ ละค่ า ธรรมเนียมขึ้นอยู่กับการเจรจาตกลงกัน หลังจากการนำวิธีค้ำประกันในลักษณะนี้มาใช้ในระย ะแรกประสบความสำเร็จ บสย. ได้ออกโครงการ PGS ระยะ 2 และระยะ 3 ซึ่งก็มีสถาบันการ 54
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
เงิ น ส นใจเข้ า ร่ ว มโครงการจ ำนวนม าก เนื่ อ งจากสามารถ ต อ บ สนองสิ่ ง ที่ ส ถาบั นก ารเงิ นต้ อ งการได้ ม ากขึ้ น เช่ น ระยะ เ ว ล า ก า ร พิจารณารวดเร็วขึ้นเพราะไม่ต้องมีการวิเคราะห์ลูกหนี้ซ้ำกับที่สถาบันการเงินได้วิเคราะห์ไว้แล้ว มีการชดเชยความเสียห ายได้เร็วขึ้นภ ายใน 1 เดือนที่ศาลประทับรับฟ้อง ขณะเดียวกัน สถาบันการเงินเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารเพื่อพัฒนาวิสาหกิจข นาดกลางและ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ซึ่งเป็น หน่วยงานที่จัด ตั้งขึ้น เพื่อทำหน้าที่ในการให้ ความ ช่วยเหลือและสนับสนุนทางการเงินแก่ SMEs หรือธนาคารออมสินซึ่งมีสภาพคล่องทางการเงินสูง แ ละไม่ ถู ก จ ำกั ด ด้ ว ยเงื่ อ นไขท างก ฎหมาย สามารถเข้ า ม ามี บ ทบาทในก ารให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ได้ ม ากขึ้ น โดยรั ฐ บาลอ าจให้ ก ารส นั บ สนุ น ในก ารช ดเชยด อกเบี้ ย บ างส่ ว นแ ก่ ส ถาบั นก ารเงิ น รวมทงั้ เป็นการวางรากฐานแก่ส ถาบันก ารเงิน เฉพาะกิจ ในการดำเนินการต่อไปในระยะยาว กรณี ธ นาคารอ อมสิ น คณะ รัฐมนตรีได้มีมติให้เข้ามาทำหน้าที่แทน ธปท. ในการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการ ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ในวงเงิน 25,000 ล้านบาท เป็นเวลา 3 ปีหลังจากที่ โครงการของ ธปท. สิ้นสุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 โดยกระทรวงการคลังจะ ชดเชยส่วนต่างระหว่างอัตราผลตอบแทน ปกติของธนาคารออมสินกับอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 0.01 ทีธ่ นาคารออมสินค ดิ จ ากสถาบัน การเงิน
55
การยุติบทบาท : เมื่อภารกิจเดินถึงปลายทาง
ผลการให้ความช่วยเหลือต่อภาคเศรษฐกิจสำคัญ
4
เมื่อมองย้อนกลับไปเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของ ธปท. ที่ให้แก่ภาค เศรษฐกิจสำคัญตามระเบียบหลักเกณฑ์ในแต่ละยุค จะเห็นว ่าโครงการช่วยเหลือในยุคแรกเริ่มเป็นการ สร้างระบบ refiffiinancing ให้กับภาคสถาบันการเงินและภาคเอกชน และส่วนหนึ่งเป็นการสนับสนุน นโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคตามแผน พัฒนาเศรษฐกิจ นอกจากนอี้ ีกส่วนหนึ่งยังเป็นการดำเนินการเพื่อช ่วยบรรเทาปัญหาที่เกิดข ึ้นในระบบ เศรษฐกิจ ทีอ่ าจกระทบต่อเสถียรภาพของระบบการเงินห รือระบบสถาบันการเงิน หรือม ีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจทตี่ กต่ำ ในยคุ แ รกเริม่ แ ม้จ ะเป็นการให้ค วามชว่ ยเหลือผ สู้ ง่ อ อก แต่ก เ็ ป็นการชว่ ยเหลือภ าคเกษตร ทางอ้อมเนื่องจากสินค้าออกของไทยในขณะนั้นส่วนใหญ่เป็นสินค้าเกษตร หากสามารถส่งสินค้าออก ได้ม าก ก็จะส่งผลถึงราคาสินค้าเกษตรด้วย การรบั ช ว่ งซอื้ ล ดตวั๋ ฯ ทเี่ กิดจ ากการสง่ อ อกมปี ริมาณเพิม่ ข นึ้ ตามการขยายตัวของการส่งอ อกทุกป ี จากจำนวน 2,760 ล้านบาท ในปี 2515 เป็น 53,720 ล้านบาท ในปี 2524 หรือมีอัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเท่ากับร ้อยละ 45 ต่อปี และประเภทของสินค้าท ี่ได้รับการส่งเสริม ก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน จากสินค้าเกษตรเพียงไม่กี่ชนิดในระยะเริ่มแ รก เพิ่มขึ้นเป็นกว่า 30 ชนิด โดยแยกเป็น สินค้าเกษตร 14 ชนิด และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมประมาณ 20 ชนิด ประเภทตั๋วส่งออกที่นำมาขาย
56
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ช่วงลดมากได้แก่ ตั๋วน้ำตาล ตั๋วผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ตั๋วข้าว และตั๋วผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า ทางด้านการรับซื้อตั๋วฯ ทเี่กิดจากการประกอบกิจการอุตสาหกรรมในช่วงปี 2515 -2524 ปริมาณการ ร บั ซ อื้ ได้เพิม่ ข นึ้ โดยเฉลีย่ ร อ้ ยละ 19.1 ต่อป ี โดยมกี ารเพิม่ ข นึ้ ค อ่ นขา้ งสงู จ นถึงป ี 2523 จาก 2,560 ล้าน บาท เป็น 7,980 ล้านบาท ส่วนปี 2524 ได้ลดลงเหลือ 4,950 ล้านบาทเนื่องจากกำหนดระยะเวลาการ ให้ความช่วยเหลืออ ุตสาหกรรมหลายราย ได้สิ้นสุดล งเพราะครบกำหนด 5 ปี13 สำหรับภ าคเกษตรซงึ่ เป็นฐ านรากของประเทศ มูลค่าก ารรบั ช ว่ งซอื้ ล ดตวั๋ ฯ จากเกษตรกร ได้เพิม่ ข นึ้ จ าก 205.5 ล้านบาทในปี 2515 เป็น 740.8 ล้านบาทในปี 2518 ขณะเดียวกันจ ำนวนเกษตรกร และปริมาณตวั๋ ฯ ทีเ่ กษตรกรออกมาขายชว่ งลดกไ็ ด้เพิม่ ข นึ้ เป็นจ ำนวนมาก แต่ส ว่ นใหญ่ม ลู ค่าต วั๋ ฯ แต่ละ ฉบับของเกษตรกรมีจำนวนน้อย ทำให้เสียเวลาและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานทั้ง ธปท. และ ธ.ก.ส. ในปี 2519 ธปท. จึงเปลี่ยนเป็นการรับซื้อตั๋วฯ ที่ ธ.ก.ส. เป็นผู้ออก โดยมีกระทรวงการคลัง เป็นผู้รับอาวัล โดยวงเงินที่กำหนดไว้ได้เพิ่มขึ้นจาก 1,000 ล้านบาทในปี 2519 เป็น 4,500 ล้านบาท ในปี 2523 นอกจากนี้ ธปท. ยังให้ความช่วยเหลือด ้วยการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ ค้าพืชผลเกษตร หรือ ตั๋วข้าวนาปรังสำหรับฤดูเก็บเกี่ยวเป็นบางฤดู และร่วมมือกับธนาคารพาณิชย์ในการให้เงินกู้แก่ องค์การคลังสินค้าและผู้ส่งออกตามโครงการรักษาระดับราคาข้าวโดยการจัดสรรวงเงินพิเศษ แก่ธนาคารพาณิชย์ เช่น ฤดูผลิตปี 2522/2523 จำนวน 8,000 ล้านบาท ฤดูผลิตปี 2524/2525 จำนวน 5,000 ล้านบาท และฤดูผลิตปี 2529/2530 จำนวน 3,000 ล้านบาท เป็นต้น หลังจากที่ได้เปลี่ยนวิธีการให้ความช่วยเหลือจากการรับช่วงซื้อลดตั๋วฯ มาเป็นการรับ ซื้อตั๋วฯ ในปี 2529 การรับซ ื้อตั๋วฯ ของผู้ประกอบการช่วงปี 2529 - 2536 มีปริมาณเพิ่มขึ้นมากแต่ ส่วนใหญ่ยังคงเป็นตั๋วสินค้าออก โดยปี 2531 มียอดการรับซื้อตั๋วส่งออกสูงถึง 142,476 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 95.4 ของยอดรับซื้อตั๋วฯ ทั้งส ิ้น (149,318 ล้านบาท) เป็นตั๋วภาคการเกษตร 5,629 ล้านบาท และตั๋วภาคอุตสาหกรรม 1,213 ล้านบาท หรือเท่ากับร้อยละ 3.7 และ 0.9 ของยอดรับซื้อ ทั้งสิ้นตามลำดับ ซึ่งยอดการรับซื้อตั๋วฯ ทั้งส ิ้นในปี 2532 ได้ลดลงจากปี 2531 เหลือ 81,003 ล้านบาท เนื่ อ งจาก ธปท.ได้ ป รั บ ร ะเบี ย บให้ ส ถาบั นก ารเงิ น มี ส่ ว นร่ ว มในก ารให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ โดยให้ สถาบันการเงินร่วมออกเงินส มทบกบั เงินข อง ธปท. ร้อยละ 50 จากเดิมท เี่ ป็นเงินข อง ธปท. เต็มจ ำนวน เพือ่ ท จี่ ะกระจายความชว่ ยเหลือไปยงั ผ ปู้ ระกอบการได้ม ากขนึ้ นอกจากนี้ ยังม โี ครงการให้ความชว่ ยเหลือ เพื่อส นับสนุนการพัฒนาชนบทหรือกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคเกิดข ึ้นด้วยหลายโครงการ 13
จากบทความของหน่วยการเงินและหน่วยวิจัยเศรษฐกิจการเงิน ฝ่ายวิชาการ ในรายงานเศรษฐกิจรายเดือน กุมภาพันธ์ 2526
57
ผลการให้ความช่วยเหลือต่อภาคเศรษฐกิจสำคัญ ในปี 2537 งานรับซื้อตั๋วส่งออกทั้งหมดได้โอนไปให้ ธสน. ดำเนินการ คงเหลือเฉพาะ การรับซื้อตั๋วส่งออกจำนวน 10,974 ล้านบาทที่เกิดจากการให้ความช่วยเหลือแก่กระทรวงพาณิชย์ เพื่อสนองนโยบายของทางการในการขายข้าวให้รัฐบาลต่างประเทศที่เป็นสินเชื่อระยะยาว ในขณะที่ การรับซื้อตั๋วภาคอุตสาหกรรมในปี 2537 - 2544 มีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ธปท. ได้ปรับระเบียบ SMEs และให้เงินกู้ระยะยาวผ่าน บรรษัทฯ และ ธสน. เพื่อช่วยเหลือ SMEs โดยต้องการใช้ SMEs เป็นฐานในการช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ประสบภาวะตกต่ำหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 การรับซื้อตั๋วฯ ภาคอุตสาหกรรมได้เพิ่มขึ้นจาก 1,052 ล้านบาทในปี 2537 เป็น 58,988 ล้านบาทในปี 2544 และใน ปี 2545 ได้ลดลงเหลือ 49,644 ล้านบาทเนื่องจากธนาคารพาณิชย์มีสภาพคล่องสูงสามารถปล่อย สินเชื่อได้เองโดยไม่ต้องขอรับค วามอนุเคราะห์จาก ธปท. ในปี 2546 ได้มีการงดการให้ความช่วยเหลือตามระเบียบต่างๆ เหลือระเบียบ SMEs เพียงระเบียบเดียว และได้เปลี่ยนรูปแบบการให้ความช่วยเหลือ SMEs จากการรับซื้อตั๋วฯ รายฉบับ เป็นให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงินเป็นเงินก้อนโดยมีตั๋วฯ ของ SMEs เป็นประกัน ซึ่งปี 2546 - 2549 ธปท. ได้จัดสรรวงเงินให้สถาบันการเงินเพื่อให้ความช่วยเหลือ SMEs ปีละ 38,000 ล้านบาท มี SMEs ทีไ่ ด้ร บั อ นุมตั กิ ารชว่ ยเหลือท งั้ ส นิ้ 12,463 ราย ยอดคงคา้ งการกยู้ มื เฉลีย่ ป ลี ะ 28,745 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 75.7 ของวงเงินอ นุมัติ
58
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ในปี 2550 ธปท. ได้ปรับร ะเบียบ SMEs โดยให้ความช่วยเหลือเฉพาะผู้ประกอบการ ขนาดย่อม (Small enterprises - SEs) ซึ่ง SEs ที่ได้ร ับอนุมัติให้ใช้วงเงินม ีจำนวน 7,585 ราย วงเงิน ทั้งสิ้น 30,624 ล้านบาท โดยไม่มีการอนุมัติผู้ประกอบการรายใหม่อีกต ั้งแต่ 29 พฤษภาคม 2551 ในชว่ งปี 2547 ถึงปี 2550 ธปท. ได้อ อกโครงการฉกุ เฉินห ลายโครงการเพือ่ บ รรเทาความ เดือดร้อนของผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดร้ายแรงและภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมถึงเหตุการณ์ร้ายแรงที่มีผลกระทบต่อภาคธุรกิจซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน โดยมีวงเงินและจำนวน ผู้ประกอบการทไี่ด้รับอนุมัติความช่วยเหลือจาก ธปท. ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท โครงการ 1. ไข้หวัดนก 2. สึนามิ 6 จังหวัด 3. ช่วยเหลือ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. สงขลาสตูล 5. SMEs ที่ได้รับผลกระทบจากค่าเงินบาท
วงเงิน ธปท. วงเงินอนุมัติ 15,000 10,411 48,000 45,590 25,737 21,964 3,000 2,247 2,700 634
จำนวนราย 3,705 9,376 19,924 225 276
ผลการดำเนินงานให้ความช่วยเหลือทางการเงินของ ธปท. นับว่าบรรลุเจตนารมณ์ใน การให้ความช่วยเหลือ โดยเป็นครั้งแรกที่ทำให้ประเทศไทยใช้ระบบ refiffiinancing ช่วยให้ผู้ประกอบ การสามารถปรับตัวและแข่งขันได้ และธุรกิจส่วนใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนก็ยังเป็นแรงขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา และหากพิจารณาในด้านปริมาณการให้ความช่วยเหลือและจำนวน ผู้ประกอบการที่ได้รับความช่วยเหลือก็นับว่าประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถ กระจายความช่วยเหลือไปยังผ ู้ประกอบการรายย่อยบางส่วนได้ก็ตาม
59
5 บทสัมภาษณ์และข้อเขียน: ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย
ประโยชน์หลายสถาน : โครงการช่วยเหลือผูป้ ระกอบการโรงสีขา้ ว
-- เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์คุณนิพนธ์ วงษ์ตระหง่าน ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจ (ดร.ไตรรงค์ สุวรรณคีรี) อดีตนายกสมาคมโรงสีข้าวไทย
โครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบการโรงสี เกิดขึ้นสมัยผู้ว่าการกำจร สถิรกุล ซึ่งขณะนั้นกิจการโรงสีประสบปัญหา หนี้ สิ นกั บ ธ นาคารพ าณิ ช ย์ ม ากถึ ง ขั้ นจ ะต้ อ งเลิ ก กิ จ การ ในฐ านะน ายก สมาคมโรงสีข้าวไทย จึงได้ทำหนังสือถึง ธปท. ขอเข้าพบผู้ว่าการ ซึ่ง ผู้ ว่ า การก็ ให้ พ บ รั บ ฟั ง ปั ญ หาค วามเดื อ ดร้ อ นร วมถึ ง ได้ อ อกพื้ นที่ เพื่ อ เยี่ยมผู้ประกอบการด้วยตนเองด้วย เหตุที่โรงสีต้องขอรับความช่วยเหลือ เนื่องจากต้องรับความเสี่ยงถึง 2 ด้าน ทั้งต้นทุนดอกเบี้ย และความเสี่ยง ของราคาข้าวที่ผกผันค่อนข้างมาก หากโรงสีต้องปิดตัวลง นอกจากโรงสีแล้วชาวนาก็ได้รับความ เดือดร้อนด้วย เพราะต้องขนข้าวเปลือกไปขายไกล ถ้าโรงสีมีจำนวนมาก ชาวนาก็ไม่ต้องเสีย ค่าขนส่งสูง ซึ่งในที่สุด ธปท. ก็ได้มีการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการโรงสีให้ได้รับ สินเชื่อดอกเบี้ยต ่ำเช่นเดียวกันกับผ ู้ส่งอ อก โครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของ ธปท. แก่ผู้ประกอบการโรงสี มีประโยชน์ต่อ ระบบการค้าข้าวของไทยเป็นอ ย่างมาก
60
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ผู้ว่าการกำจรฯ เยี่ยมชมโครงการเลี้ยงโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินและฟาร์มเกษตรจังหวัดขอนแก่น ร่วมกับผู้ว่าการเริงชัย มะระกานนท์14 (ขวาสุดในภาพ) ซึ่งดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการในขณะนั้น
ประการแรก ช่วยให้ร าคาขา้ วเปลือกตน้ ฤ ดูไม่ต กต่ำเหมือนในอดีตก อ่ นมโี ครงการชว่ ยเหลือ เพราะโรงสีมีสภาพคล่องที่จะซื้อข้าวเปลือกเก็บเข้าสต๊อก และการที่ได้รับสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำช่วยจูงใจ ให้โรงสีแย่งกันซื้อข้าวเก็บเข้าสต๊อกมากขึ้น การกดราคารับซื้อจากชาวนาหรือการตัดทอนค่าใช้จ่าย จากราคาขา้ วเปลือกมนี อ้ ยลง ชาวนากส็ ามารถขายขา้ วเปลือกได้ในราคาทสี่ งู ข นึ้ โดยเฉพาะในชว่ งตน้ ฤ ดู ที่มีปริมาณข้าวเปลือกออกสตู่ ลาดพร้อมๆ กันในจำนวนมาก ประการทสี่ อง ช่วยปรับโครงสร้างการคา้ ข า้ วของไทยให้ม คี วามสมดุลม ากขนึ้ ทำให้ผ คู้ า้ ข า้ ว มีอำนาจการต่อรองที่เท่าเทียมกัน จากเดิมที่ผู้ส่งออกข้าวมีอำนาจต่อรองราคาค่อนข้างสูง เพราะ ได้รับการช่วยเหลือสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำในขณะที่โรงสีข้าวไม่ได้รับการช่วยเหลือ ทำให้ผู้ส่งออกข้าวมี ต้นทุนทางการเงินในการเก็บรักษาข้าวที่ต่ำกว่าโรงสีข้าว จึงกดราคารับซื้อข้าวจากโรงสีได้ ดังนั้น การที่โรงสีข้าวได้รับความช่วยเหลือทางการเงินดังกล่าวทำให้โรงสีข้าวมีอำนาจต่อรองราคาได้มากขึ้น โดยสามารถเก็บสต๊อกข้าวได้ในระยะเวลาที่นานขึ้น ไม่ต้องรีบขายข้าวให้แก่ผู้ส่งออกหากผู้ส่งออก ให้ราคาต่ำเกินไป
14
นายเริงชัย มะระกานนท์ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 13 ก.ค. 2539 - 28 ก.ค. 2540
61
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ประการทสี่ าม ช่วยสง่ เสริมว นิ ยั ในการเก็บส ต๊อกขา้ วเปลือกของโรงสี กล่าวคอื ในชว่ งทมี่ ี การให้ความช่วยเหลือท างการเงินของ ธปท. จะมีพนักงานของ ธปท. ออกตรวจสอบสต๊อกข้าวเปลือก ของโรงสที ไี่ ด้ร บั ค วามชว่ ยเหลือท างการเงินอ ย่างสม่ำเสมอ ทำให้ผ ปู้ ระกอบการโรงสตี อ้ งเข้มง วดในการ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการดำรงสต๊อกข้าวเปลือกตามระเบียบฯ ค้าข้าวเปลือกของ ธปท. ในขณะที่ การให้สินเชื่อตามปกติของธนาคารพาณิชย์ในการเก็บสต๊อกข้าวเปลือกนั้น ผู้ประกอบการโรงสีต่างๆ มิได้เข้มง วดในการดำรงสต๊อกเท่าที่ควร ประการที่สี่ เป็นประโยชน์ต่อประเทศโดยรวม เนื่องจากสินค้าเกษตรเป็นสินค้าตาม ฤดูกาล ช่วงการเก็บเกี่ยวจะมีปริมาณผลผลิตส ่วนเกินม าก การที่ชาวนาได้รับการช่วยเหลือจ าก ธ.ก.ส. ในการรับจำนำข้าวโดยไม่ต้องรีบขายในช่วงราคาต่ำ และการที่โรงสีข้าวได้รับสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ในการซื้อข้าวเก็บเข้าสต๊อกโดยไม่ต้องเร่งสีข้าวเพื่อขายให้ผู้ส่งออกเพื่อนำเงินมาหมุนเวียนซื้อข้าว ผู้ส่งออกก็ไม่จำเป็นต้องรีบร้อนในการส่งข้าวออกไปขายแข่งกับต่างประเทศ สามารถรอราคาที่ดีได้ ประเทศกไ็ ด้ร บั ป ระโยชน์ท ไี่ ด้ร บั เงินต ราตา่ งประเทศจากการขายขา้ วจำนวนมากขนึ้ ดังน นั้ การให้ค วาม ช่วยเหลือท างการเงินจ งึ ช ว่ ยให้ท กุ ฝ า่ ย ไม่ต อ้ งเร่งร ะบายขายขา้ วในชว่ งทรี่ าคาตลาดตกต่ำสามารถชะลอ การขายเพื่อรอราคาที่เหมาะสมได้ ทัง้ นี้ ความประทับใจทมี่ ตี อ่ โครงการให้ค วามชว่ ยเหลือท างการเงินข อง ธปท. แก่ผ ปู้ ระกอบ การโรงสขี า้ วคอื นอกจากโครงการดงั ก ล่าวมสี ว่ นชว่ ยให้ร ะบบการคา้ ข า้ วของไทยมคี วามเป็นธ รรมมาก ขึน้ แ ล้ว ยังช ว่ ยให้ผ ปู้ ระกอบการโรงสขี า้ วรอดพ้นจ ากภาวะขาดทุนท มี่ คี อ่ นขา้ งมากในชว่ งแรกๆ ของการ เริ่มโครงการด้วย ปัจจุบันโรงสขี ้าวยังค งต้องการความช่วยเหลือท างการเงิน ซึ่งรัฐบาลโดยกระทรวง พาณิชย์ได้สนับสนุนให้โรงสีข้าวซื้อข้าวเปลือกเก็บเข้าสต๊อกเพื่อช่วยไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำโดยรัฐจ่าย ชดเชยดอกเบี้ยให้แก่โรงสขี ้าวที่เข้าโครงการในอัตราร้อยละ 2 ต่อปีจากดอกเบี้ยที่โรงสีข้าวต้องจ่ายให้ ธนาคารพาณิชย์
62
55 ปี ต่อลมหายใจให้เกษตรกรผู้เลี้ยง
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ไก่ :
- เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์ คุณฉวีวรรณ คำพา นายกสมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ และประธานกรรมการกลุ่มบริษัทฉวีวรรณกรุ๊ป
โรคไข้หวัดนกได้เริ่มแพร่ระบาดประมาณปี 2546 ที่จังหวัด นครสวรรค์เป็นจังหวัดแรก แล้วล ุกลามไปยังจังหวัดอ ื่นๆ อย่างรวดเร็ว ซึ่ง เกษตรกรผเู้ ลีย้ งไก่ไม่รจู้ กั โรคนมี้ ากอ่ น เป็นเรือ่ งทใี่ หม่ม ากสำหรับป ระเทศไทย เมื่อข่าวเรื่องโรคระบาดแพร่สะพัดออกไป ผู้บริโภคในประเทศพากันกลัวไม่ กล้าก นิ ไก่ ต่างประเทศทนี่ ำเข้าไก่จ ากไทย เช่น ญปี่ นุ่ และยโุ รป ต่างไม่ร บั ส นิ ค้า ที่สั่งจากประเทศไทย ไก่ที่ส่งอ อกไปแล้วอ ยู่กลางทะเล ต้องถูกนำกลับเข้ามา ในไทยอีกค รั้ง สินค้าค้างสต๊อกมาก ขายไม่ได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เสียหายมาก เป็นวิกฤติที่หนักมากสำหรับผู้เลี้ยงไก่ จากที่เคยขายไก่ได้วันละหลายล้านบาท เป็นขายได้วันละ 2 - 3 หมื่นบาทเท่านั้น เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ ไม่มีเงินซื้ออาหารให้ไก่กิน ผู้เลี้ยงไก่รายใหญ่ต้องพยุงตัวเองด้วยความยากลำบาก และไม่สามารถ ช่วยเหลือผ ู้เลี้ยงไก่รายย่อย ในครั้งน ั้นมีผู้เลี้ยงไก่อิสระล้มเลิกกิจการไปเป็นจำนวนมาก สมาคมส่งเสริมฯ ได้ร้องขอความช่วยเหลือจากรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลในขณะนั้นได้เชิญ ผู้เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมประชุมทุกวันจันทร์ที่ทำเนียบรัฐบาลเพื่อหาทางแก้ไขปัญหา และในที่สุดคณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้มีการพักชำระหนี้และลดดอกเบี้ยให้แก่ผู้ประกอบการที่ได้ รับผลกระทบจากไข้หวัดนก รวมทั้งมีการรณรงค์การกินไก่อย่างปลอดภัย ทางด้าน ธปท. ก็เข้าให้ ความช่วยเหลือด้าน Soft loan ผ่านธนาคารพาณิชย์ภายใต้ชื่อที่เราเรียกกันติดปากว่า “โครงการไข้ หวัดนก”
63
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย โครงการนี้ช่วยต่อลมหายใจให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ ทำให้เกษตรกรมีเงินทุนหมุนเวียน ไปซื้ออาหารให้ไก่กิน ทำให้ผู้เลี้ยงไก่สามารถประคับประคองตัวต่อไปได้ เป็นการเปิดโอกาสยืด เวลาให้ผู้เลี้ยงไก่มีเวลาปรับตัว และมีแรงพอที่จะต่อสู้กับวิกฤติที่เกิดขึ้น ทำให้อาชีพนี้ไม่หายไป จากประเทศไทย โครงการนี้สามารถช่วยเหลือเกษตรกรได้ถึงระดับรากหญ้าทั่วทั้งห่วงลูกโซ่ของ การเลี้ยงไก่ ผู้ประกอบการทั้งรายเล็กและรายใหญ่ต่างก็ได้รับความช่วยเหลือจากโครงการทั่วก ันหมด หากไม่มโี ครงการชว่ ยเหลือน ี้ ผูป้ ระกอบการเกือบทกุ ร ายอาจเป็นห นี้ NPL ถูกสถาบันการเงินฟ้องรอ้ ง ดำเนินคดี เพราะช่วงนั้นไม่มีเงินเข้ามาเลย สินค้าส่งออกต่างประเทศไม่ได้เป็นเวลานานหลายๆ เดือน เมื่อไม่มีรายรับก็ไม่ทราบจะเอาเงินจากที่ไหนมาจ่าย คนงานที่ต้องดูแลหลายๆ พันคนต่อโรงงานก็ต้อง ตกงาน วันนี้ผู้เลี้ยงไก่ของไทยมีความเข้มแข็งขึ้นมาก สามารถพัฒนาการใช้เทคโนโลยีการ เลี้ยงไก่เพื่อป้องกันโรคระบาดได้อย่างดี รวมทั้งสามารถพัฒนาการแปรรูปไก่เป็นอาหารได้หลาย รูปแบบ หลากรสชาด เพื่อสนองความต้องการของตลาด หรือแม้แต่การผลิตก็สามารถทำได้ตามกฎ เกณฑ์อาหารฮาลาล จนเป็นที่น่าภาคภูมิใจว่าไทยเป็นประเทศที่ส่งออกไก่เป็นอันดับต้นๆ สามารถทำ รายได้เข้าประเทศกว่า 50,000 ล้านบาทต่อป15ี
15
ที่มา: ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
64
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
กระบวนการทางเศรษฐกิจที่อาศั ยกล ไกตลาดยังไม่เพียงพอ : การช่วยเหลือผู้ประกอบการใน 3
- เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์ ดร.ธวัชชัย ยงกิตติกุล เลขาธิการสมาคมธนาคารไทย
ที่มาของการขอรับความช่วยเหลือจาก ธปท. ในโครงการ 3 จังหวัด เริ่มจากเหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ยืด เยื้อและทวีความรุนแรงมากขึ้น คณะกรรมการร่วม 3 สถาบันภาคเอกชน (กกร.) ประกอบด้วย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย เกิดความคิดที่จะเข้าไปช่วยเหลือ ประชาชนในพื้นที่ จึงได้ร่วมกันทำโครงการ “สานใจไทยสู่ใจใต้” รณรงค์หา ทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือ โดยระดมเงินม าได้ประมาณ 20 ล้านบาท และเริ่ม ช่วยคนในพื้นที่ด้วยการให้ผู้จัดการธนาคารในพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ว่า ผู้เสียหายเป็นใคร สภาพความเป็นอ ยู่เป็นอ ย่างไร และจะช่วยเหลืออ ย่างไร ซึ่งผ ู้เสียหายส่วนใหญ่ คือแม่บ้านที่สามีถูกฆ่า อาชีพไม่มี ในเบื้องต้นก็ให้ความช่วยเหลือเป็นเงินไปรายละ 1 - 2 หมื่นบาท ช่วยค่ารักษา แต่เพื่อให้โครงการมีความยั่งยืน ได้เลือกให้มหาวิทยาลัยราชภัฎฯ เข้าไปช่วยฝึกสอน อาชีพให้คนในท้องถิ่น เช่น สอนกลุ่มสตรีเย็บหมวกมุสลิมซึ่งสามารถส่งไปขายมาเลเซีย เย็บผ้า คลุมผมสตรีมุสลิม ทำขนม ส่วนผู้ชายสอนการเป็นช่างซ่อมมอเตอร์ไซด์ ช่างซ่อมวิทยุ ทำเช่นนี้ อยู่หลายเดือน เงินก็เหลือน้อยลง เหตุการณ์ความไม่สงบก็ยังไม่ยุติ ประกอบกับได้ทราบข่าวว่า มูลนิธิ ของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ กำลังท ำโครงการนำเด็กนักเรียนชาวมุสลิมภาคใต้มาอยู่ร่วมกับ ชาวมุสลิมภาคกลาง เพื่อเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต เชื่อมความสัมพันธ์เป็นเครือข่ายครอบครัว อันจ ะนำไปสคู่ วามสมานฉันท์ในสงั คมตอ่ ไป กกร. เห็นว่าเป็นโครงการทีด่ ี จึงไปขอพบทา่ นและมอบเงินท ี่ ระดมได้ท เี่ หลืออ ยูเ่ ข้าร ว่ มสมทบโครงการของทา่ น ต่อม า ฯพณฯ พลเอกเปรมฯ ก็ได้เปลีย่ นชอื่ โครงการ ของท่านเป็นโครงการ “สานใจไทยสู่ใจใต้” และดำเนินการต่อมาจนถึงทุกวันนี้ 65
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ในระหว่างการลงพื้นที่ ผู้แทน กกร. ได้พ บปะกบั ช าวบา้ น และพบวา่ น กั ธ รุ กิจในพนื้ ทีเ่ ริม่ ถอดใจทิ้งธุรกิจ ย้ายไปอยู่จังหวัดอื่น ชาวบ้านละ ทิ้งถิ่นฐาน เนื่องจากได้รับความเดือดร้อน ธนาคาร พาณิชย์เองก็ขาดความมั่นใจในสถานการณ์ไม่กล้า ปล่อยสนิ เชือ่ เพราะเกรงวา่ จ ะเป็น NPL ซึง่ บ างสว่ น ก็เป็น NPL แล้ว ในที่สุดผู้ประกอบการได้ร้อง อยากได้ สิ น เชื่ อ ด อกเบี้ ย ต่ ำ ซึ่ ง ก็ ต้ อ งใช้ เงิ น เป็ น จำนวนมาก กกร. ได้หารือกันโดยตอนแรกจะขอความช่วยเหลือจากรัฐบาล เนื่องจากเป็นเรื่องการเงิน สมาคมธนาคารไทยจึงรับท จี่ ะเป็นคนกลางในการหารือก ับ ธปท. เพื่อขอ Soft loan ช่วยธุรกิจใน 3 จังหวัด ผู้ว่าการ ธปท. ในขณะนั้น (ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล16) ก็ตอบรับดีมาก โดยมีวงเงินให้ความ ช่วยเหลือทั้งสิ้นรวม 20,000 ล้านบาท ช่วงที่เริ่มโครงการท่านก็กังวลว่าจะมีคนมาขอกู้เงินหรือไม่ มีก ารสง่ ค นไปอธิบาย ซึง่ ป รากฎว า่ ม คี ำขอเข้าม าเป็นจ ำนวนมาก อัตราดอกเบีย้ ผ ปู้ ระกอบการพอใจมาก เท่าที่ทราบโครงการประสบความสำเร็จมีก ารเบิกใช้เกือบเต็มว งเงิน โครงการ Soft loan ของ ธปท. ดังกล่าวนับเป็นโครงการที่ช่วยบรรเทาความเดือด ร้อนของผู้ประกอบการได้มาก ช่วยต่ออายุภาคธุรกิจให้ดำเนินต่อไปได้ เป็นกิจกรรมที่ดี น่าสรรเสริญ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยทำเพื่อประชาชน ถ้าไม่มีโครงการนี้ เชื่อว่าธุรกิจในพื้นที่จะไปไม่รอด ไม่ว า่ ธ รุ กิจเล็ก หรือธ รุ กิจใหญ่ รวมถงึ โรงแรมกอ็ ยูไ่ ม่ได้เนือ่ งจากรายได้ลดลงมาก นักธ รุ กิจไม่มกี ำลังใจ ทำธุรกิจ มีเหตุร ะเบิด และยิงกันตายเป็นประจำ ร้านค้าปิดตั้งแต่ 4 โมงเย็น ไม่มีคนเดินตามท้องถนน ไม่มีการซื้อขาย ด้วยสภาพความเป็นอยู่ลักษณะนี้ ชาวบ้านสู้อัตราดอกเบี้ยปกติของธนาคารพาณิชย์ ไม่ไหว โครงการ Soft loan ของ ธปท. จึงเป็นกำลังใจให้ภาคธุรกิจสู้ต่อไป ไม่หนีออกจากพื้นที่ ช่วยให้ธุรกิจอ ยูไ่ด้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธุรกิจเดิม ธุรกิจใหม่ไม่ค่อยมี ปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่ 3 จังหวัดภาคใต้มีหลายสาเหตุ แต่ที่ทุกฝ่ายเห็นตรงกันคือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม การเข้าถึงบริการของรัฐที่ไม่เท่าเทียมกัน กระบวนการทาง เศรษฐกิจท อี่ าศัยก ลไกตลาดยงั ไม่เพียงพอ จึงค วรตอ้ งใช้ม าตรการของภาครฐั ท จี่ ะเข้าไปแทรกแซงโดย ไม่ค ำนึงถ งึ ค วามคมุ้ ท นุ ท างเศรษฐกิจเพือ่ ช ว่ ยบรรเทาปญ ั หา อย่างไรกต็ าม การแก้ไขปญ ั หาตอ้ งมคี วาม รอบคอบ และทำทุกด ้านไปพร้อมๆ กัน อย่าต ำน้ำพริกละลายแม่น้ำ ซึ่งโครงการ Soft loan 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ของ ธปท. ถือเป็นกลไกหนึ่งของรัฐที่เข้ามาช่วยตอบปัญหาเรื่องนี้ได้ 16
หม่อมราชวงศ์ปรีดิยากร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 31 พ.ค. 2544 - 6 ต.ค. 2549
66
55 ปี เก็บตกจากผู้ควบคุมงานการให้สินเชื่อยุ
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
คแรกๆ
ผู้ว่าการเสนาะ อูนากูล17 ลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมชมการเพาะปลูกของเกษตรกรภาคเหนือ เมื่อ 15 ธ.ค. 2518 (ภาพที่ 2 - 3)
- เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์คุณหญิงศรีวงศ์ มหาสันทนะ อดีตผู้อำนวยการฝ่ายการบัญชี อดีตรองผู้อำนวยการฝ่ายการธนาคารและอดีตหัวหน้าส่วนสินเชื่อ และคุณอำนวย ลิ้มตระกูล อดีตผู้จัดการฝ่ายจัดการกองทุน อดีตรองผู้อำนวยการฝ่ายการธนาคารและอดีตหัวหน้าส่วนสินเชื่อ
การให้ความช่วยเหลือแ ก่ผ ู้ส่งออก หลักการในการให้ความช่วยเหลือนั้น ธปท. จะพิจารณาเมื่อผู้ประกอบการได้รับความ เดือดรอ้ นและรอ้ งเรียนมา หรือเกิดภ าวะราคาสนิ ค้า ตกต่ำแ ละต้องการความช่วยเหลือ โดยฝ่ายวิชาการ จะมีหน้าที่ติดตามภาวะเศรษฐกิจ และออกสำรวจ ตลาดและราคาสินค้า แล้วทำรายงานเสนอความ เห็นต่อผู้บริหาร ซึ่งผู้บริหารก็จะพิจารณากำหนด เป็นนโยบายลงมา หรืออาจกล่าวได้ว่าฝ่ายวิชาการ เป็นผู้ให้น โยบาย และส่วนสินเชื่อเป็นผ ู้ปฏิบัติ โดย ทำหน้าที่ร่างระเบียบหลักเกณฑ์ให้เป็นไปตามนโยบายร่วมกับฝ่ายกฎหมาย สำหรับสินค้าบ างชนิด เช่น สินค้าข า้ ว ส่วนสนิ เชือ่ ต อ้ งเข้าร ว่ มประชุมเพือ่ ช แี้ จงรายละเอียดขอ้ มูลต า่ ง ๆ ต่อค ณะกรรมการนโยบาย ข้าว (กนข.) ซึ่งม ีรองนายกรัฐมนตรีเป็นป ระธาน และอธิบดีต่างๆ รวมทั้งรองผู้ว่าการ ธปท. เป็นคณะ กรรมการ
17
นายเสนาะ อูนากูล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 24 พ.ค. 2518 - 31 ต.ค. 2522
67
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย เนือ่ งจากการให้ค วามชว่ ยเหลือข อง ธปท. อัตราดอกเบีย้ ต ำ่ ก ว่าธ นาคารพาณิชย์ ธปท. จึง ต้องกำหนดและปรับปรุงหลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งเพื่อ ป้องกันการทุจริต โดยมีการกำหนดอัตราการออกตั๋วสัญญาใช้เงินของผู้ส่งออกแตกต่างกันตาม หลักฐานประกอบ ดังนี้
ก. ตั๋วแลกเงิน - ไม่เกินร้อยละ 90 ของจำนวนเงินห น้าต ั๋วแลกเงินที่ผู้ส่งออกส่งไปเรียก เก็บเงินจากผู้ซื้อในต่างประเทศ
ข. เล็ตเตอร์ออฟเครดิต - ไม่เกินร้อยละ 80 ของเล็ตเตอร์อ อฟเครดิตท ี่เพิกถ อนไม่ได้ที่ ผู้ซื้อเปิดให้ผู้ส่งอ อก
ค. ใบรับฝากสินค้า - ไม่เกินร้อยละ 80 ของจำนวนเงินตามใบรับฝากสินค้าที่ธนาคาร พาณิชย์ประเมิน
ง. สัญญาซื้อขาย - ไม่เกินร้อยละ 70 ของสัญญาซื้อขายหรือค ำสั่งซื้อสินค้าท ี่ผู้ซื้อส่งมา ให้ผสู้ ่งอ อก
นอกจากนี้ มีการกำหนดบทลงโทษกรณีไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนด อาทิ ต้องนำเงิน ตราต่างประเทศเข้ามาขายภายในกำหนดเวลาของเอกสารที่ส่งมาประกอบตั๋วสัญญาใช้เงิน มิฉะนั้น ถูกระงับการขายตั๋วฯ ทั้งนี้ การดำเนินการให้ความช่วยเหลือจะต้องออกไปสำรวจกิจการของผู้ขอก่อน ทั้งการ ช่วยเหลือภ าคอตุ สาหกรรม ภาคการเกษตร และเลีย้ งสตั ว์ ยกเว้นภ าคการสง่ อ อกจะพจิ ารณาจากเอกสาร หลักฐาน การให้ค วามชว่ ยเหลืออ อ้ ยและนำ้ ตาลถือเป็นต วั๋ ส ง่ อ อก ในทางปฏิบตั มิ เี รือ่ งโควต้า 70 : 30 (เกษตรกร 70 : โรงงานน้ำตาล 30) ประเภทบัญชีน้ำตาล ก ข ค ซึ่งต้องพิจารณารายละเอียดมาก ผู้วิเคราะห์เรื่องอ้อยและน้ำตาลจะเป็นผู้ที่รู้ระบบการเกษตรของประเทศไทยดี เรื่องอ้อยมีปัญหามาก บางครั้ง ธปท. ต้องเข้าไปไกล่เกลี่ย ครั้งหนึ่งธนาคารพาณิชย์และเกษตรกรต้องรอเซ็นสัญญากัน ตีหนึ่ง ตีสอง ตกลงกันไม่ได้ เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ไม่ยอมให้นำน้ำตาลลงเรือ ผู้บริหาร ธปท. บางท่านต้องทำหน้าที่เป็นคนกลางในการเจรจา เบื้องหลังก ารออกตรวจอ้อยนั้นไม่ได้ หวานเหมือนน้ำอ ้อย เป็นการตรวจที่มีปัญหามากที่สุดและได้ความรู้มากที่สุดด้วยเหมือนกัน
68
55 ปี การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบกิจการอุตสาหกรรม
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
และเลี้ยงสัตว์
การให้ความช่วยเหลือในภาคอุตสาหกรรมจะเน้นให้ความช่วยเหลือแก่กิจการที่มีผู้ถือ หุ้นในประเทศและการใช้วัตถุดิบในประเทศ เมื่อผู้ประกอบการออกตั๋วฯ มาขาย ถ้าเอกสารประกอบ เป็นรายการซื้อวัตถุดิบจากต่างประเทศก็จะหักออก ซึ่งการออกไปสำรวจกิจการจะช่วยให้ทราบ ข้อเท็จจริงมากขึ้น ดังนั้น ผู้ออกสำรวจจะต้องเป็นคนช่างสังเกต เช่น การคำนวณกำลังการผลิต จากจำนวนเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตเทียบกับข้อมูลในงบการเงิน บางครั้งพบว่ามีการทำบัญชีเท็จ ก็จะไม่ให้ความช่วยเหลือ การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบกิจการเลี้ยงสัตว์จะคล้ายกับภาคอุตสาหกรรมโดยผู้ ที่จะได้ร ับความช่วยเหลือต้องเป็นผ ู้เลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นการค้า (commercial farm) การช่วยเหลือภ าค การเกษตรส่วนใหญ่จะผ่าน ธ.ก.ส. ซึ่งตั๋วเกษตรจะมี 2 ลักษณะคือ ให้กู้เป็นก้อน (เช่น หนี้ 1 ก้อน 100,000 บาท เกษตรกร 10 คนจะออกตั๋วฯ มาคนละฉบับๆ ละ 10,000 บาท ถ้าม ีการชำระ 9 คน ส่วนที่เหลือจะต้องช่วยกันจ่ายให้ครบ 100,000 บาท) และรายฉบับ
การให้ค วามรแู้ ก่ผ ทู้ เี่ กีย่ วข้อง การรว่ มมอื ก บั ส ำนักงานภาค การจดั บ รรยายให้ส ำนักงานภาค และธนาคารพาณิชย์ท้องถิ่นได้รับทราบและเข้าใจระเบียบและวิธีปฏิบัติ
ผู้ว่าการเสนาะฯ เป็นประธานการประชุม เรื่อง ธนาคารให้สินเชื่อแก่เกษตรกรภาคเหนือ ณ ธปท. สาขาลำปาง
ผู้บรรยายต้องเป็นผู้ที่รู้เรื่องจริงๆ เพราะการให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง จะทำให้ผู้ส่งออก หรือธนาคารพาณิชย์ได้รับข้อมูลไม่ถูกต้อง ซึ่งทำให้ปฏิบัติผิดแ ละถูกล งโทษปรับเป็นเงินจำนวนมากได้ ซึ่งเรื่องนี้ผู้ว่าการกำจรฯ ก็กำชับมากว่า ต้องให้ความรู้กับธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ให้รู้แนวทางว่า เป็นอย่างไร เพราะหากธนาคารพาณิชย์และสาขาไม่เข้าใจ ก็จะไม่สามารถส่งลูกค้าเข้ามาได้ งานของ ธปท. ก็จ ะไม่บ รรลุผ ลสำเร็จ นอกจากนี้ เพือ่ ช ว่ ยให้เจ้าห น้าทีธ่ นาคารพาณิชย์เข้าใจระเบียบและวธิ ปี ฏิบตั ิ โดยง่ายและถูกต้อง ได้ทำคู่มือเพื่อแจกจ่ายให้แก่ผู้ปฏิบัติงานโดยตรงด้วย 69
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ประโยชน์จ ากการให้ความช่วยเหลือท างการเงิน จากการสัมผัสกับผ ู้ประกอบการจริงๆ มองเห็นส ภาพและสถานการณ์จ ริงๆ มีความเห็น ว่าการช่วยเหลือของ ธปท. เป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบการที่มีทุนน้อย กิจการประสบปัญหามากจาก สภาวะเศรษฐกิจโดยช่วยให้กิจการสามารถอยู่รอดได้และเจริญก้าวหน้า ผู้ส่งออกสามารถส่งออกและ นำเงินตราต่างประเทศเข้าประเทศ รวมทั้งในช่วงที่เกิดภาวะเงินฝืด โครงการของ ธปท. ก็สามารถ ช่วยได้มาก การที่จะช่วยภาคเศรษฐกิจใดหรือผู้ประกอบการรายใดก็จะเห็นข้อมูลตั้งแต่เริ่มแรกว่า กิจการประสบปัญหา มีความจำเป็นต้องช่วยเหลือ และเมื่อได้รับความช่วยเหลือแล้วเจริญก้าวหน้า ช่วยเหลือเศรษฐกิจได้อย่างไร การที่มีนักลงทุนชาวต่างชาติมาลงทุนในอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก ก็เป็นเรื่องที่ ธปท. เป็นผู้ริเริ่มช่วยเหลือและรัฐบาลเข้ามาส่งเสริมด้วย ดังนั้น มองว่าการให้ความ ช่วยเหลือทางการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศกำลังพัฒนายังมี ความจำเป็น
ความประทับใจในผู้ร่วมงานส่วนสินเชื่อ พนักงานทุกค นรักกันเหมือนพี่น้องและตั้งใจทำงานร่วมกันม าตลอด มีเจ้าน ายที่ดที ี่ทำให้ บรรยากาศในการทำงานเป็นไปอย่างดี และขอขอบคุณผู้บริหารทุกท่านที่ไม่ปล่อยให้การเมืองเข้ามา แทรกแซง สนับสนุนแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ ทำให้ ธปท. มีภาพลักษณ์ที่ดี และได้รับ การยกย่องจากบุคคลภายนอกมาจนถึงปัจจุบัน ความภูมิ ใจที่ได้ป ฏิบัติงานใน ธปท. คุณห ญิงศ รีว งศ์... ภูมิใจที่ได้ท ำงาน ที่แบงก์ชาติ และภูมิ ใจที่ ธปท. เป็นสถาบันที่มี ความซื่อสัตย์ คุณอำนวย... ภูมิ ใจมากที่พาส่วน สินเชื่อไปรอดจนเกษียณ อย่างไรก็ตาม ต้องขอ ขอบคุณผู้ว่าการที่ให้โอกาสเสมอมา และที่ภูมิใจ มากกว่านั้นคือ การมีลูกน้องที่ดี ทุกคนต่างเสีย สละ เพราะการอยู่ส่วนสินเชื่อมีความเสี่ยงที่จะถูกยุบ แต่ทุกคนก็ตั้งใจทำงานกันมากๆ
70
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ประสบการณ์การตรวจโกดัง :
- เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์คุณเพ็ญจันทร์ มงคลกุล อดีตผู้บริหารทีม ทีมพิจารณาสินเชื่อ
จะมีใครทราบหรือไม่ว่า การที่ ธปท. เข้าไปมีบทบาทในการให้ สินเชื่อแก่ภาคเศรษฐกิจทสี่ ำคัญ ทำให้มีภารกิจที่เกี่ยวข้องที่น่าส นใจอยู่อย่าง หนึ่ง คือการลงพื้นที่ไปตรวจสอบภาระของสินค้าส่งออก หรือตรวจโกดัง พืชผลเกษตรเพื่อดูข้อมูลต่างๆ ว่า ถูกต้องตามที่รายงานและร้องขอมา หรือไม่ จึงขอนำประสบการณ์จากผู้ที่เกี่ยวข้องมาเล่าส ู่กันฟัง สมัยก่อนนั้นการตรวจโกดังเป็นงานที่เสี่ยงและท้าทายมาก เคยมีครั้งหนึ่งไปตรวจข้าว แล้วผู้ควบคุมโกดังบอกว่าข้าวเต็มโกดังจนล้น ปิดประตูไม่สามารถเข้าไปข้างในได้ แต่ด้วยความมุ่งมั่นจนลืมนึกถึงอ ันตราย จึงยืมรถตักดินที่ใช้ในการตักข้าวมา แล้วขึ้นไปยืนในที่ตักของรถตัก ให้รถยกขึ้นสูงระดับด้านบน ประตูโกดังเพื่อมองเข้าไปดูว่าข้าวเต็มโกดังจริงหรือเปล่า กลัวก็กลัว เสียวก็เสียว แต่ตอนนั้นไม่ได้ นึกถึงอันตรายหากตกลงมา แต่เมื่อคิดย้อนกลับไปแล้วก็ยังรู้สึกเสียวอยู่ การตรวจข้าวนอกจาก จะต้องสมบุกสมบันแล้ว ยังต้องเป็นคนที่รอบรู้และเก่งคำนวณอีกด้วย เพราะข้าวและข้าวเปลือกมี การเก็บในลักษณะที่แตกต่างกัน เช่น บรรจุเป็นกระสอบวางเรียงซ้อนกัน กองเป็นพีระมิด ก็ต้องงัด สูตรคณิตศาสตร์ขึ้นมาคำนวณปริมาตรข้าวว่ามีเท่าใด มีครั้งหนึ่งที่ลืมไม่ลงเลยคือ ไปตรวจสินค้าแล้วสินค้าขาด ทำให้เจ้าของบริษัทรู้ว่ามี การทจุ ริตในบริษทั ถ้าแ บงก์ช าติไม่ม าตรวจกย็ งั ไม่รู้ ซึง่ บ ริษทั ก ถ็ กู ป รับก นั ไปตามระเบียบ แต่เรือ่ งกย็ งั ไม่ จบแค่น นั้ เนือ่ งจากหลังจ ากนนั้ ม คี นสง่ บ ตั รสนเท่หถ์ งึ ผ วู้ า่ การ (คุณวิจติ ร สุพนิ จิ 18) กล่าวหาวา่ ม กี ารทจุ ริต 18
นายวิจิตร สุพินิจ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 1 ต.ค.2533 - 1 ก.ค.2539
71
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ในการตรวจโกดัง ซึ่งก็ได้ทำบันทึกชี้แจงเรื่องราวและข้อเท็จจริงตามข้อกล่าวหาได้อย่างครบถ้วนและ ชัดเจนผ่านหัวหน้าต ามลำดับจ นถึงผ ู้ว่าการ ท้ายสุดก็จบลงด้วยดี อีกหนึ่งเรื่องคือประสบการณ์ท ้าลมหนาวที่ต้องไปตรวจโรงงานปลากระป๋องรายใหญ่ ซึ่ง ต้องเข้าไปตรวจปลาทูน่าสดบางส่วนที่แช่อยู่ในห้องเย็น ต้องยืมเสื้อและรองเท้าบูทของพนักงาน โรงงานใส่ การตรวจห้องเย็นไม่ใช่ว่าใครๆ ก็สามารถตรวจได้ เพราะต้องมีเทคนิคนิดหน่อยคือ การเข้าไปนับทีละจุดแล้วก็วิ่งออกมาพักให้พอหายหนาว แล้วจึงเข้าไปใหม่ เพื่อตรวจอีกจุดหนึ่ง ทำอย่างนี้ไปเรื่อยๆ เพราะข้างในมันหนาวมากๆ ประสบการณ์ค วามเสีย่ งยงั ไม่ห มด มีค รัง้ ห นึง่ ม ขี า่ วหนังสือพิมพ์ว า่ มีก ารทจุ ริตข องผสู้ ง่ อ อก ยางพารา จึ ง ต้ อ งเดิ นท างไปภ าคใต้ พ ร้ อ มกั บ หั ว หน้ า ในข ณะนั้ น (คุ ณ สุ ป รี ย า แสงอุ ด มเลิ ศ ) เพือ่ ร ว่ มตรวจนบั ส ต๊อกยางพารากบั ส าขาภาคใต้ต งั้ แต่จ งั หวัดส งขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส ไปเรือ่ ยๆ จังหวัดเหล่านี้หลายแห่งเคยเป็นแดนของผู้ก่อการร้ายมาก่อน บรรยากาศที่เห็นก็เงียบเหงาน่าก ลัวมาก
ผู้บริหารและพนักงานส่วนสินเชื่อไปสัมมนา ณ เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
สุดท้ายขอเล่าถึงส่วนสินเชื่อในสมัยก่อนว่า ช่วงนั้นทั้งส่วนมีพนักงานมากถึง 102 คน แต่ทำงานหามรุ่งหามค่ำกันทุกคน กลับบ้านมืดแทบทุกวัน แต่ก็อยู่กันได้อย่างมีความสุขเหมือนญาติ สนิท ดูได้จากสรรพนามทเี่รียกกัน มีทั้ง เจ๊ เฮีย พี่ ป้า น้า ลุง ยาย และขอคอนเฟิร์มว ่า ไม่มีที่ไหน บรรยากาศดีเท่าส่วนสินเชื่อ เราอยู่ด้วยกันด้วยความรัก สามัคคี เอื้ออาทรและห่วงใยกันตลอดมา มีครั้งหนึ่งไม่สบายมาก ต้องนอนโรงพยาบาล ได้ของเยี่ยมทั้งที่โรงพยาบาลและที่บ้านมากมาย กิน 2 - 3 ปียังไม่หมดเลย เวลาไปสัมมนาต่างจังหวัดยิ่งสนุกครึกครื้นขึ้นไปอีก เพราะเราไปไหนไปกัน เฮไหนเฮนั่น นี่แหละคือส่วนสินเชื่อ
72
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ปรับปรุงเพื่อเดินหน้า :
- ผู้เขียน คุณไพบูลย์ กิตติศรีกังวาน ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายการเงิน อดีตหัวหน้าส่วนส่วนวิคราะห์ และธุรกิจตลาดเงิน ฝ่ายการธนาคาร
ราวปี 2529 สมัยผู้ว่าการกำจร สถิรกุล ขณะนั้นผมเพิ่งเข้า ทำงาน ธปท. ได้เพียงปีเศษ เป็นเจ้าหน้าที่สังกัดหน่วยวิเคราะห์ ฝ่ายการ ธนาคาร มีค ณ ุ ว จิ ติ ร สุพ นิ จิ เป็นผ อู้ ำนวยการฝา่ ย อาจารยน์ นั ท์ กิจจาลกั ษณ์ เป็นผู้ช่วยผู้ว่าการที่ดูแลฝ่ายการธนาคาร ผมได้รับมอบหมายให้ทำการ ศึกษาประเมินผ ลการให้ความช่วยเหลือภาคเศรษฐกิจส ำคัญของ ธปท. ผ่าน rediscount facilities ต่างๆ ซึ่ง ธปท. ดำเนินการต่อเนื่องมา 30 ปี ว่ามี ประโยชน์ต อ่ เศรษฐกิจเพียงใด บรรลุเป้าท ตี่ งั้ ใจหรือไม่ ควรจะมกี ารทบทวน ปรับปรุงอย่างไร นับว ่าเป็นงานสำคัญชิ้นแ รกในชีวิตการทำงาน แต่แน่นอน คงไม่สามารถทำคนเดียวได้ มีเพื่อนร่วมงานที่ช่วยเหลืออย่างมาก คือ คุณส ุวรรณ นกอยู่ (เสียช ีวิตไป แล้ว) นอกจากนนั้ พีๆ่ ในฝา่ ยการธนาคารโดยเฉพาะในสว่ นสนิ เชือ่ ทีม่ ากดว้ ยความรแู้ ละประสบการณ์ ก็ได้ให้ความร่วมมืออย่างดียิ่ง ทำให้เราทราบถึงความเป็นม า เหตุผลเบื้องลึก และปัญหาข้อจำกัดต่างๆ อย่างละเอียด ทำงานนี้อยู่นานหลายเดือนทีเดียว และดีใจที่ในที่สุดสามารถนำไปสู่การปฏิรูปครั้ง ใหญ่ในทิศทางเดียวกับที่เสนอ คือ ลด/เลิกการอุดหนุนดอกเบี้ยต่ำแก่ผู้ประกอบการที่ธนาคาร พาณิชย์เป็นผู้คัดมาซึ่งมักเป็นผู้ประกอบการขนาดใหญ่ที่ไม่มีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ ด งั ก ล่าว ภายใต้ร ะบบการ rediscount (หรือ reffiinfi ance) ในขณะนนั้ ธปท. คิดด อกเบีย้ ธนาคารพาณิชย์ ร้อยละ 5 แล้วธนาคารพาณิชย์ นำเงินไปให้กู้ต่อแก่ผู้ประกอบการโดยคิดดอกเบี้ยจากผู้ประกอบการได้ ไม่เกินร้อยละ 7 โครงสร้างดอกเบีย้ อ ย่างนแี้ ทบไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงเลยตลอด 30 ปี ไม่ว า่ อ ตั ราดอกเบีย้ 73
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย เงินให้กู้ยืมในตลาดบางช่วงจะสูงถ ึง ร้อยละ 10 ร้อยละ 15 หรือ ร้อยละ 20 ก็ตาม การเปลี่ยนแปลงสำคัญที่เกิดขึ้นจากผลพวง ข องการศกึ ษาทบทวนในครัง้ น นั้ คือ การกำหนดให้ธ นาคารพาณิชย์ ต้องสมทบเงินตัวเองครึ่งหนึ่ง ผสมกับเงินของ ธปท. ครึ่งหนึ่ง โดยเงินส่วนของ ธปท. ยังคิดดอกเบี้ยจากธนาคารพาณิชย์เท่า เดิม แล้วให้ธนาคารพาณิชย์คิดดอกเบี้ยจากผู้ประกอบการได้ ไม่เกินร้อยละ 10 สำหรับเงินท งั้ ก อ้ นทผี่ สมกนั แน่นอนทสี่ ดุ การลด การอุดหนุนดอกเบี้ย หลังจ ากที่ได้ให้ต่อเนื่องมานาน ย่อมประสบ ก บั ก ารตอ่ ต า้ นและแรงกดดันท างการเมืองเป็นอ ย่างสงู เพราะมผี เู้ สียป ระโยชน์ม าก แม้พ วกเราจะพยายาม อธิบายวา่ ว งเงินก ารให้ค วามชว่ ยเหลือม จี ำกัด ขยายไปมากกว่าน ไี้ ม่ได้เพราะจะกระทบเงินเฟ้อ จำเป็นต้อง ใช้วิธีผสมเงินกันเพื่อให้มีเม็ดเงินเพียงพอเพื่อกระจายความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการในวงกว้างขึ้น โดยเฉพาะสำหรับร ายเล็กๆ อย่างไรก็ตาม ในที่สุด ธปท. ก็ผ่านมรสุมมาได้ และหลังจ ากนั้นอีกไม่กี่ปี ก็มีการโอนงาน refiffiinance ส่วนใหญ่ คือ ด้าน packing credit สำหรับผู้ส่งออกไปยัง EXIM Bank และเมื่อก ติกาสากลภายใต้ WTO มีผลใช้บังคับ การให้การอุดหนุนดอกเบี้ยต่ำแก่ผู้ส่งออกก็เลิกไปใน เวลาต่อมา การทำงานชิ้นนี้ได้ให้ประสบการณ์และบทเรียนหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นแนวทางที่ ผู้ใหญ่สมัยนั้นจัดการกับแรงกดดันจากภายนอก การยืนหยัดในหลักการที่ถูกต้อง ตลอดจนความ สำคัญของการสื่อสารที่ดีในการทำเรื่องใหญ่ๆ บทเรียนสำคัญสำหรับตัวผมเองอีกประการหนึ่ง คือ การยืนนโยบายอะไรไว้น านๆ โดยไม่ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ นอกจากอาจทำให้เป้าประสงค์ ดั้งเดิมบิดเบือนไปแล้ว ยังท ำให้การปรับเปลี่ยนนโยบายที่จำเป็นทำได้ยากยิ่งขึ้นเป็นทวีคูณด้วย เพราะ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอาจเคยชินแ ละยึดติดกับข องเดิมที่ทำมานานจนคิดว่าเปลี่ยนแปลงไม่ได้
74
55 ปี การช่วยเหลือภาคเศรษฐกิจสำคัญกับนโ
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ยบายการเ
- เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์คุณศิริชัย สาครรัตนกุล 19 อดีตรองกรรมการผู้จัดการธนาคารเพื่อการส่งออกและ
นำเข้าแห่งประเทศไทย อดีตรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและฝ่ายการธนาคาร และเลขานุการคณะทำงานเตรียม การจัดตั้งธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย คุณสุปรียา แสงอุดมเลิศ อดีตผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารเพือ่ ก ารสง่ อ อกและนำเข้าแ ห่งป ระเทศไทย และอดีตห วั หน้าส ว่ นสนิ เชือ่ ฝ่ายการธนาคาร และคณ ุ ส มพร จิตเป็นธ ม รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย อดีตผู้วิเคราะห์ ฝ่ายการธนาคาร
ทำไมการช่วยเหลือการส่งออกต้องโอนไป EXIM Bank แนวคิดของการโอนงานการช่วยเหลือการส่งออกไป EXIM Bank อาจแยกได้เป็น 2 กระแส กระแสหนึ่งค ือ แนวคิดที่จะ จัดตั้ง EXIM Bank ขึ้นในประเทศไทยประมาณปี 2515 แต่ผลการ ศึกษาในขณะนั้นเห็นว่ายังไม่จำเป็นเพราะ ธปท. มีการให้ความช่วย เหลือโดยการรับซื้อลดตั๋วฯ ของผู้ส่งอ อกอยู่แล้ว ประกอบกับการส่ง ออกสว่ นใหญ่เป็นส นิ ค้าข า้ วและพชื ไร่ การส่งอ อกสนิ ค้าอ ตุ สาหกรรม ทีต่ อ้ งพงึ่ ส นิ เชือ่ ร ะยะยาวยงั ไม่ค อ่ ยมี ต่อม าได้ม ขี อ้ ร อ้ งเรียนจากผรู้ บั เหมาของไทยทอี่ อกไปประมูลง านใน ต่างประเทศและตอ้ งแข่งขันก บั ป ระเทศอนื่ ท มี่ ี EXIM Bank ให้การสนับสนุน เช่น เกาหลีใต้แ ละไต้หวัน ทางรฐั บาลและ ธปท. ก็ร บั เรือ่ งนมี้ าโดยมคี วามพยายามจดั ต งั้ ส ถาบันค ำ้ ป ระกันก ารกอ่ สร้างงานในตา่ ง ประเทศภายในกรอบของสถาบันป ระกันส นิ เชือ่ เพือ่ ก ารสง่ อ อกในปี 2521 แต่ก ารจดั ต งั้ อ งค์กรดงั ก ล่าว ไม่เป็นผลจนกระทั่งมีการจัดตั้ง ธสน. ขึ้นในปี พ.ศ.2536 และการค้ำประกันดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งข อง งาน ธสน. เพื่อช่วยเหลือผ ู้รับเหมาก่อสร้าง
19
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการนโยบาย องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ที่ปรึกษา สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รองประธานคณะกรรมการสมาคมตลาด ตราสารหนี้ไทย
75
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย
อีกกระแสหนึ่งเป็นเรื่องทางด้านนโยบายการเงิน ที่การให้ความช่วยเหลือข อง ธปท. ทีเ่ป็น reffiifinance facility ซึ่งดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2499 มีอัตราดอกเบี้ยอ ยู่ใน ระดับร้อยละ 5 - 7 โดยไม่สามารถที่จะขยับเพิ่มขึ้นได้ จึงเป็นปัญหากับการทำ หน้าทีข่ องธนาคารกลางในการดแู ลนโยบายการเงินม าโดยตลอด โดยเฉพาะในชว่ ง ที่ภาวะเงินเฟ้อส ูงถ ึงร้อยละ 20 และดอกเบี้ยทั่วไปมีอัตราสูง ซึ่งธ นาคารโลก เองก็เห็นปัญหาในเรื่องนี้จึงมีข้อเสนอให้ตั้ง Priority funding pool เพื่อ จำกัดวงเงินในการช่วยเหลือภาคเศรษฐกิจสำคัญ ซึ่งผู้ว่าการวิจิตร สุพินิจ มีความสนใจมาก ดังนั้น เมื่อมีการตั้ง ธสน. ขึ้น ท่านจึงผลักด ันให้มีการโอน งานรับซื้อตั๋วนี้ไปให้ ธสน. ดำเนินการ แม้ว่า EXIM Bank ของประเทศ ต่างๆ ส่วนใหญ่จะไม่ได้ทำในเรื่องนี้
สำหรับก ารโอนงานดา้ นนไี้ ปที่ ธสน. สามารถดำเนินก ารได้โดยไม่มปี ญ ั หา เพราะงานที่เกี่ยวกับการรับซื้อตั๋วส่งออกทั้งหมดได้โอนไป ธสน. รวมถึงเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานด้วย นอกจากนี้ ได้มีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้า 2 - 3 เดือน และได้ส ร้างระบบคอมพิวเตอร์ร องรับ ซึง่ ท ำให้ส ามารถดำเนินก ารได้ส ะดวกและ รวดเร็วกว่าเดิมที่เคยอยู่ที่ ธปท. อะไรคือภ าคเศรษฐกิจสำคัญ นิยามภาคเศรษฐกิจสำคัญขึ้นอยู่กับกาลเทศะ นั่นคือขึ้นอยู่กับสภาพสังคม สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมของประเทศในขณะนั้นว่าสนใจในเรื่องอะไร เห็นว่าภาคเศรษฐกิจนั้นเป็นภาค เศรษฐกิจที่สำคัญ แต่ทั่วๆ ไปแน่นอนต้องหมายถึงภาคเศรษฐกิจที่มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจ ของประเทศในเวลานั้นในช่วงนั้นๆ เช่น มีการจ้างงานสูง เพราะตอนนั้นมีคนว่างงานเยอะ หรือ ประเทศกำลัง มีปัญหา Foreign exchange ก็จะให้ความสำคัญ ต่อการนำรายได้เข้า ประเทศ นั่ นคื อ ส่ ง เสริ ม ก ารส่ ง อ อกแ ละล ดก ารนำเข้ า เป็ นต้ น ดั ง นั้ น นิ ย ามภ าคเศรษฐกิ จ ส ำคั ญ จึ ง
76
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
เปลี่ ย นไ ปต ามแ ต่ ล ะข ณะข องเ หตุ ก ารณ์ ข องป ระเทศ ที่ ผ่านมาภาคเศรษฐกิจที่ให้ความช่วยเหลือมีทั้งส่งออกและไม่ส่งออก ทั้งภาคการเกษตร ภาค อุตสาหกรรม หรือเร็วๆ นี้เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการใน 3 จังหวัดชายแดนภาค ใต้ และวิสาหกิจขนาดย่อม ซึ่งการพิจารณาว่าภาคเศรษฐกิจไหนสำคัญต้องให้ความช่วยเหลือ เป็ น เรื่ อ งข องก าลเทศะ ถ้ า ธปท. ทำแ ล้ ว เป็ น อุ ป สรรคต่ อ ก ารด ำเนิ นน โยบายก ารเงิ น ก็ อ าจ มอบให้เป็นภ าระหน้าทีข่ องสถาบันก ารเงินเฉพาะกจิ อ นื่ ท ตี่ งั้ ข นึ้ ม าทำหน้าทีใ่ ห้การสนับสนุนภ าคเศรษฐกิจ นั้นโดยรัฐบาลให้ความสนับสนุน แนวคิดหรือข้อเสนอในการดำเนินการให้ความช่วยเหลือ การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แ ก่ ภ าคเศรษฐกิ จ ส ำคั ญ ไม่ ค วรเอาเรื่ อ ง อัตราดอกเบี้ยต่ำมาเป็นประเด็นสำคัญ เพราะจะเป็นการบิดเบือนตลาด และใน ก รณีส ง่ อ อกกจ็ ะทำให้ม ปี ญ ั หาตอ่ กฎกติกาขององค์การการคา้ โลก (WTO) และ อ าจถกู ป ระเทศคคู่ า้ ตอบโต้เรียกเก็บภาษี CVD หรือ anti dumping ได้ แต่ ควรสนับสนุนให้ผู้ประกอบการสามารถได้รับบริการสินเชื่อจากสถาบัน การเงิ น ได้ การที่ ให้ ผู้ ป ระกอบก ารส ามารถอ อกตั๋ ว ฯ แล้ ว ขายลด ผ่่ า นธนาคารพาณิ ช ย์ ใ ห้ ธปท. ได้ โ ดยไ ม่ มี เ รื่ อ งอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ ต่ำก ว่าตลาดมาเกี่ยวข้อง ก็ถือเป็นการช่วยในเรื่องการเข้าถ ึงสินเชื่อแล้ว ซึ่ง ธปท. น่าจ ะยังทำได้ โดย ไม่เป็นการบิดเบือนนโยบายการเงิน ในทำนองตรงกันข้าม กลับทำให้ ธปท. มีเครื่องมือเพิ่มขึ้น (ตั๋วฯ) ในการดำเนินนโยบายการเงิน การที่รัฐตั้งสถาบันการเงินเฉพาะกิจขึ้นมา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีบทบาทในการให้ ความชว่ ยเหลือภาคเศรษฐกิจต า่ งๆ ดังน นั้ รัฐจ ะตอ้ งให้การสนับสนุนเกือ้ ห นุนให้ส ถาบันก ารเงินเหล่าน ี้ สามารถทำหน้าทีข่ องตนได้อ ย่างเต็มท ี่ มิใช่ป ล่อยให้ช ว่ ยเหลือต วั เอง เกิดป ญ ั หาสะสมตดิ ขัดไปหมดโดย ลืมวัตถุประสงค์หลักของการตั้งสถาบันการเงินเฉพาะกิจเหล่านี้ขึ้นมา ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดคือ
77
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย กรณี ธสน. การจดั สรรเงินไปสภู่ าคเศรษฐกิจส ำคัญส ามารถทำได้ผ า่ น กระทรวงการคลัง สมัยผู้ว่าการป๋วย อึ๊งภากรณ์20 ท่านเคยสนับสนุน กระทรวงการคลังในการกู้เป็นเงินตราต่างประเทศโดยวิธีการออก พันธบัตรมีอายุไถ่ถอนยาวตั้งแต่ 20 - 50 ปี เพื่อใช้ในโครงการที่เป็น ประโยชน์ต ่อก ารพัฒนาการศึกษาหรือทางการแพทย์ ได้แก่ - พันธบัตรเงินกู้ในปีงบประมาณ พ.ศ.2511 ครั้งที่ 2 วงเงิน 1.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (เท่ากับ 35.36 ล้านบาท) อายุ 50 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.75 ต่อปี เพื่อชดเชยรายจ่ายในการจัดซื้อ เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ต า ม โ ค ร ง ก า ร จั ด ตั้ ง ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ตามงบประมาณรายจ่าย ปี พ.ศ.2511 เริ่มชำระคืนต้นเงินเป็นงวดๆ ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2521 เป็นต้นไป - พันธบัตรเงินกู้เพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษา วงเงิน 7.01 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (เท่ากับ 140.2 ล้านบาท) อายุ 50 ปี อัตราดอกเบี้ยร ้อยละ 0.75 ต่อป ี กูเ้พื่อชดเชยรายจ่ายตามโครงการพัฒนา การอาชีวศึกษาในงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2511 - 2512 เริ่มชำระคืนต้นเงินเป็นงวดๆ ตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน 2521 เป็นต้นไป - พันธบัตรเงินกู้เพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนมัธยมแบบประสม พ.ศ.2514 วงเงิน 6.817 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (เท่ากับ 141.8 ล้านบาท) อายุ 50 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.75 ต่อป ี กู้เพื่อ เป็นค า่ ใช้จ า่ ยตามโครงการพฒ ั นาการศกึ ษาโรงเรียนมธั ยมแบบประสม ในงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2515 -2518 เริ่มช ำระคืนต้นเงินเป็นงวดๆ ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2525 เป็นต้นไป
20
ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 11 มิ.ย.2502 - 15 ส.ค.2514
78
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
โครงการฉุกเฉิน : การช่วยเหลือ 6
- ผู้เขียน คุณประสพสุข พ่วงสาคร ผู้อำนวยการสำนักงานภาคเหนือ อดีตผู้บริหารส่วนสินเชื่อ
เมือ่ ว นั ท ี่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ได้เกิดค ลืน่ ส นึ ามคิ ร งั้ ท รี่ นุ แรง มากที่สุดในประวัติศาสตร์ มีผู้คนเสียชีวิตถึงประมาณ 220,000 คน นับเป็น ภัยทางธรรมชาติที่มีผู้เสียช ีวิตมากเป็นอ ันดับ 3 ของโลกเท่าท ี่มีการบันทึกไว้ ในประเทศไทย คลื่นสึนามิได้ก่อให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและ ทรัพย์สนิ ข องผคู้ นเป็นจ ำนวนมากใน 6 จังหวัดภ าคใต้ท มี่ พี นื้ ทีอ่ ยูต่ ดิ ก บั ช ายฝัง่ ทะเลอันดามัน คือ ภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล เพราะในเวลา ดังก ล่าวเป็นช ว่ งปลายปี มีเทศกาลสง่ ท า้ ยปเี ก่าต อ้ นรับป ใี หม่ มีช าวตา่ งประเทศ และชาวไทยเข้ามาพักผ่อนในพื้นที่นี้จำนวนมาก พิบัติภัยครั้งนี้เกิดขึ้นอย่าง รุนแรงและรวดเร็วโดยไม่ได้มีการระมัดระวังและป้องกันไว้ล่วงหน้า นอกจากจะมผี เู้ สียช วี ติ บาดเจ็บ และสญ ู หายเป็นจ ำนวนมากแล้ว ยังม คี วามเสียห ายทเี่ กิด ขึ้นกับทรัพย์สินทั้งของราษฎร และของหน่วยงานราชการ ตลอดจนสาธารณูปโภคของท้องถิ่น เช่น ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ถนนหนทาง ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งคือ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เนื่องจากการหยุดกิจการของธุรกิจต่างๆ เพราะนักท่องเที่ยวไม่กล้าเดินทางมาเสี่ยงภัยอีก จังหวัด ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ ภูเก็ต พังงา และกระบี่ ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีนักท่องเที่ยวเสียชีวิตและ บาดเจ็บมากที่สุด
79
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่แท้จริงนั้นมิได้มีการสำรวจอย่างครบถ้วน แต่ในเวลานั้นมี บางองค์กรได้ประเมินความสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในเบื้องต้นไว้ที่ประมาณกว่า 67,000 ล้านบาท เฉพาะสาขาธุรกิจท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องคาดว่าจะมีความสูญเสียประมาณ 30,000 ล้านบาท จากการขาดรายได้จากนักท ่องเที่ยวชาวต่างชาติที่งดการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยว และนักท่องเที่ยวไทย ที่ลดการเดินทางท่องเที่ยวลง หลังจ ากเกิดเหตุสมาคมธนาคารไทยได้มีจดหมาย ส.1232/2547 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2547 ขอให้ ธปท. ให้ความช่วยเหลือเงินกู้ยืมอัตราดอกเบี้ยต่ำแก่ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ดังกล่าวใน 6 จังหวัด ด้วยวงเงินความช่วยเหลือ 40,000 ล้านบาทเป็นเวลา 1 ปี อย่างไรกต็ าม เนือ่ งจากการให้ส นิ เชือ่ โดยธนาคารกลางเท่ากับเป็นการอดั ฉีดเงินเข้าส รู่ ะบบและเป็นการ บ ดิ เบือนโครงสร้างทางการเงินซ งึ่ ในฐานะธนาคารกลางซงึ่ ม หี น้าท ดี่ แู ลปริมาณเงินแ ละโครงสร้างพนื้ ฐ าน ในตลาดการเงินก ด็ จู ะไม่เหมาะสมนกั อีกท งั้ ม าตรการดงั ก ล่าวถอื เป็นส ว่ นหนึง่ ข องการดำเนินม าตรการ กึง่ ก ารคลัง (Quasi Fiscal Operation) ซึง่ ถ อื ว่าม คี วามถกู ต อ้ งทางวนิ ยั ก ารคลังไม่ม ากนกั แ ละจะตอ้ ง รายงานต่อกองทุนการเงินระหว่างประเทศทุกปีด้วย ทางผู้บริหารระดับสูงของ ธปท. ก็มีความลังเล พอสมควรในการออกโครงการนี้ แต่ เนื่ อ งจากเหตุ ก ารณ์ ค รั้ ง นั้ น เป็ น เรื่ อ งฉุ ก เฉิ น และต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนซึ่งทุกฝ่ายในสังคม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนต่างก็ระดมกันเข้ามาให้ความช่วย เหลือเป็นอันมาก แม้ธนาคารพาณิชย์บางธนาคารก็มีโครงการ ช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนออกมาด้วยเช่นกัน อีกทั้งผู้ประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบและมีหนี้เงินกู้อยู่กับสถาบันการเงิน เมื่อขาด รายได้หรือมีรายได้ลดลงถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือก็ไม่สามารถ ชำระคืนหนี้ได้และจะทำให้ปริมาณสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เพิม่ ข นึ้ ในระบบซงึ่ อ าจสง่ ผ ลกระทบตอ่ เสถียรภาพสถาบันก ารเงิน ในที่สุด ธปท. จึงได้สนับสนุนโครงการให้ความช่วยเหลือแก่ ผู้ได้รับผลกระทบจากธรณีพิบัติภัยในครั้งนี้โดยให้คำนึงถึง ประสิทธิผลของโครงการ ในขณะเดียวกันก็ต้องคำนึงถึงวินัย ทางการเงินของธนาคารกลางด้วย
80
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
คณะกรรมการ ธปท. ได้อนุมตั โิ ครงการให้ค วามชว่ ยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบการที่ ประสบธรณีพ บิ ตั ภิ ยั ในพนื้ ที่ 6 จังหวัดได้แก่ ภูเก็ต พังงา กระบี่ ระนอง ตรังแ ละสตูล โดยวงเงินให้ค วาม ช่วยเหลือทางการเงินครั้งนี้เมื่อรวมกับวงเงินให้ความช่วยเหลือตามโครงการอื่นๆ แล้วจะต้องไม่เกิน ร้อยละ 2.0 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ สาระสำคัญของโครงการดังกล่าวคือ
1. จัดสรรวงเงินให้ความช่วยเหลือจำนวน 30,000 ล้านบาท และให้สถาบันการเงินอ อก สมทบอีก 7,500 ล้านบาท ต่อม าได้เพิ่มวงเงินเป็น 48,000 ล้านบาทและให้สถาบัน การเงินอ อกสมทบ 12,000 ล้านบาท
2. ธปท. เรียกเก็บด อกเบี้ยจ ากสถาบันการเงินไม่เกินร ้อยละ 0.01 ต่อป ี และกำหนดให้ สถาบันการเงินเรียกเก็บดอกเบี้ยจากลูกหนี้ตามโครงการนี้ได้ไม่เกินร้อยละ 2.0 ต่อปี
3. ผู้ประกอบการที่มีสิทธิขอรับความช่วยเหลือต้องเป็นผู้ประกอบการสัญชาติไทยที่ ประกอบกิจการในพื้นที่ 6 จังหวัดได้แก่ ภูเก็ต พังงา กระบี่ ระนอง ตรังและสตูลแ ละ ได้รับผ ลกระทบจากสึนามิ
4. อายุโครงการให้ความช่วยเหลือเดิมก ำหนดไว้เพียง 1 ปีสิ้นสุด 28 กุมภาพันธ์ 2549 แต่ตอ่ มาก็ขยายการให้ความช่วยเหลืออ อกไปอีกเป็นส ิ้นสุด 29 กุมภาพันธ์ 2551
ทันทีท กี่ ารให้ค วามชว่ ยเหลือท างการเงินได้ป ระกาศออกไปมผี ปู้ ระกอบการเป็นจ ำนวนมาก ยื่นขอรับความช่วยเหลือผ่านสถาบันการเงิน ภายในเวลาไม่นานก็เต็มว งเงินที่จัดสรรไว้
81
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย อนึ่ง โครงการให้ความช่วยเหลือในครั้งนี้มีลักษณะการให้ความช่วยเหลือที่แตกต่างจาก โครงการให้ความช่วยเหลืออื่น ๆ ทีผ่ ่านมา กล่าวคือ
1. เป็นโครงการที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีความกระตือรือร้นต่อการให้ความช่วยเหลือและ สามารถปล่อยเม็ดเงินเพื่อให้ความช่วยเหลืออ อกไปได้โดยเร็วหลังจ ากเกิดพ ิบัติภัย
2. เป็นโครงการที่ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการทั่วไป ไม่จำกัดขนาดและประเภท ธุรกิจ เพียงแต่ให้เป็นธุรกิจท ี่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติเท่านั้น
3. วัตถุประสงค์ของการให้กู้ยืมในครั้งนั้นมีทั้งการเข้าไปช่วยเหลือภาระดอกเบี้ยจาก หนี้เดิมทมี่ ีอยู่และยังส ามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมเพื่อใช้ในการฟื้นฟูกิจการอีกด้วย
4. เป็นโครงการทเี่ ม็ดเงินส ว่ นใหญ่ม าจาก ธปท. คือร อ้ ยละ 80 และกำหนดให้ส ถาบันก าร เงินอ อกเงินส มทบเพียงรอ้ ยละ 20 อีกท งั้ อ ตั ราดอกเบีย้ ท เี่ รียกเก็บจ ากสถาบันก ารเงิน ก็เป็นอ ัตราต่ำสุดที่ ธปท. จะทำได้คือร้อยละ 0.01 หรือแทบเรียกได้ว่าเป็นการให้กู้ยืม โดยไม่เสียดอกเบี้ย ส่วนอัตราดอกเบี้ยที่สถาบันการเงินพึงเรียกเก็บจากลูกค้าได้ก็ กำหนดไว้ไม่เกินร ้อยละ 2.0 เท่านั้น
หลังจากที่ ธปท. ได้ประกาศให้ความช่วยเหลือทางการเงินตามโครงการนี้ก็ได้เข้าร่วม ประชุมในคณะกรรมการคณะต่างๆ ที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อติดตามการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบธรณี พิบัติภัย เพื่อให้คำปรึกษาหารือและการติดตามความคืบหน้าในการให้ความช่วยเหลือ สำหรับ ธปท. เองก็ได้ต ิดตามการฟื้นฟูกิจการของธุรกิจต ่างๆ ที่เข้ามาขอรับความช่วยเหลืออ ย่างใกล้ชิดโดยร่วมกับ เจ้าหน้าที่จากสำนักงาน ธปท. ภาคใต้ในการออกตรวจเยี่ยมเยียนผู้ประกอบการ ณ สถานที่ทำการโดย เฉพาะในจังหวัดใหญ่ๆ เช่น ภูเก็ต พังงา และกระบี่ เป็นต้น การที่ ธปท. ตัดสินใจอนุมัติโครงการให้ความ ช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับความเสียหายจากธรณีพิบัติภัย นอกจากจะชว่ ยบรรเทาความเดือดรอ้ นทางการเงินข องผูป้ ระกอบ การแล้ว ก็ยังช่วยประคับประคองเสถียรภาพในระบบสถาบัน การเงิน โดยป้องกันมิให้เกิดหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ในระบบ เพิ่มขึ้นโดยไม่จำเป็น นับเป็นอ ีกหนึ่งความภูมิใจในการปฏิบัติงาน ด้านการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของส่วนสินเชื่อ
82
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
มองหลายๆ มุม : โครงการ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ สินเชื่อผู้ประกอบการสงขลาและสตูล และการปรับ ระเบียบการให้กู้ยืม SMEs
- ผู้เขียน คุณสุชาติ สักการโกศล อดีตผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายเศรษฐกิจในประเทศ และอดีตผู้อำนวยการ ฝ่ายกำกับการแลกเปลี่ยนเงินและสินเชื่อ
บทบาทของส่วนสินเชื่อกับห น้าที่ของธนาคารกลาง : ทบทวนทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ใครที่อ่านทฤษฎีล ูกโป่งของ อาจารย์ป๋วย อึ๊งภ ากรณ์ คงจำได้ ธนาคารกลางของทุกประเทศรวมทั้ง ธปท. มีหน้าที่สำคัญ 3 ด้าน คือ เป็นนายธนาคารให้กับรัฐบาล เป็นนายธนาคารให้สถาบันการเงิน และเป็น ผ ดู้ ำเนินน โยบายทางการเงิน โดยควบคุมป ริมาณเงินในระบบให้อ ยูใ่ นปริมาณ ที่เหมาะสม หากปล่อยให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจม ีมากเกินไป ผลที่ตาม มาคือเกิดเงินเฟ้อ แต่ห ากปริมาณเงินม ีน้อยเกินไปก็จะเกิดภ าวะเงินฝืด โดยหลักเกณฑ์ทั่วไปแล้ว การให้สินเชื่อของธนาคารกลางเป็นเครื่องมือหนึ่งของ ธนาคารกลางในการควบคุมปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ หากต้องการให้ปริมาณเงินในระบบ เพิ่มขึ้น ธนาคารกลางก็จะปล่อยสินเชื่อเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจผ่านสถาบันการเงินให้มากขึ้น แต่หาก ต้องลดปริมาณเงินในระบบก็ปล่อยสินเชื่อให้น้อยหน่อย ที่พูดมานี้เป็นบทบาทหน้าที่ของการปล่อย สินเชื่อของธนาคารกลาง กรณีที่ยังไม่มีเครื่องมือใหม่ๆ ในการควบคุมปริมาณเงินในระบบเช่นที่มี อยู่ในปัจจุบัน
83
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย อย่างไรก็ตาม ในประวัติศาสตร์พบว่าธนาคารกลางของหลายประเทศ โดยเฉพาะ ธนาคารกลางประเทศด้อยพัฒนาได้อาศัยสินเชื่อจากธนาคารกลางเป็นแหล่งเงินทุนราคาถูก เพื่อ สนับสนุนน โยบายของรฐั ในการพฒ ั นาประเทศ ซึง่ ส ว่ นสนิ เชือ่ ข อง ธปท.ก็ถ กู ต งั้ ข นึ้ ม าเพือ่ ว ตั ถุประสงค์ ในลกั ษณะดงั ก ล่าวเช่นก นั ส่วนสนิ เชือ่ ท ตี่ งั้ ข นึ้ ม าจงึ เป็นห น่วยงานหนึง่ ใน ธปท. ทำหน้าทีใ่ ห้ส นิ เชือ่ ด ว้ ย อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าท้องตลาดแก่ภาคเศรษฐกิจสำคัญหรือกิจกรรมที่รัฐเห็นความจำเป็นต้องให้การ สนับสนุนทางการเงิน การให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำแก่คนใน 3 จังหวัดภาคใต้ คือ ปัตตานี ยะลา และ นราธิวาส รวมทั้งการให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำแก่ผู้ประกอบการในจังหวัดสงขลาและสตูลก็อยู่ในลักษณะ ของการให้ค วามช่วยเหลือตามนโยบายรัฐเช่นกัน
ต้นทุนแฝง หลายคนมองว่า ธปท. น่าจะปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำได้ไม่จำกัด เนื่องจากสามารถพิมพ์ ธนบัตรขึ้นเองได้ และปล่อยให้กู้ยืมได้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำเท่าไรก็ได้ เพราะเงินที่ปล่อยไปไม่มีต้นทุน รัฐบาลเกือบทุกยุคทุกสมัยก็มองในลักษณะนี้ (หรือเข้าใจแต่แกล้งไม่เข้าใจก็ยากจะรู้ได้) เมื่อมีเรื่อง ที่ต้องใช้เงินก็มักจะบอกให้ ธปท. เข้าช่วยเหลือเป็นประจำ เรื่องนี้เห็นควรขยายความเพื่อให้สังคม เข้าใจให้ถูกต้อง แม้ว่าบทบาทการให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำของ ธปท. จะถูกยกเลิกตามพระราชบัญญัติฯ ฉบับใหม่แ ล้วก็ตาม แม้ว่า ธปท. จะสามารถเพิ่มปริมาณเงินในระบบโดย การให้สินเชื่อแก่ธุรกิจต ่างๆ ผ่านสถาบันการเงิน โดยไม่ต้องอาศัย เงินฝากจากประชาชนก็ตาม แต่โดยข้อเท็จจริงแล้วเงินที่ ธปท. ปล่อยกอู้ อกไปมีต้นทุนแ ฝงโดยคนทั่วไปอาจไม่ทราบ ต้นทุนส งั คมคอื ต น้ ทุนแ ฝงประเภทแรก กล่าวคอื เมือ่ ธปท. ปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำจำนวนหนึ่งหมื่นล้านบาทโดยไม่ทำ อะไรเพิม่ เติม ผลทเี่ กิดข นึ้ ค อื ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจก จ็ ะเพิม่ ขึ้นในปริมาณเดียวกัน ปริมาณเงินที่เพิ่มขึ้นดังกล่าว จะทำให้อัตรา เงินเฟ้อเพิ่มข ึ้นในสัดส่วนเดียวกัน โดยมีสมมุติฐานว่าสิ่งอ ื่นๆ คงที่ (ซึ่งนักเศรษฐศาสตร์ชอบใช้กัน เพื่อให้ง่ายแก่การอธิบาย) คนที่รับ ภาระจากการปล่อยสนิ เชือ่ ร าคาถกู ค อื ป ระชาชนทวั่ ไป เพราะตอ้ งซอื้ ของแพงขนึ้ โดยตนเองไม่ได้ป ระโยชน์ จ่ายเงินม ากขนึ้ แ ต่ได้ข องเท่า เดิม เหมือนถูกเก็บภ าษีทางอ้อม 84
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
อย่างไรก็ตาม การเก็บภาษีทางอ้อมแบบนี้เป็น เรื่องผิดหลักการ ทางการคลังอ ย่างยงิ่ เพราะนอกจากจะไม่มคี วามโปร่งใสของการ บริ ห ารก ารค ลั ง เพราะเป็นการเก็บภ าษีแ ฝง โดยคนส่วนใหญ่ไม่ได้ป ระโยชน์แ ล้ว ยังท ำให้ร ัฐบาลมือเติบ โดยใช้น โยบาย สินเชื่อราคาถูกเป็นเครื่องมือภาครัฐโดยขาดเหตุผลหรือค วามจำเป็น ในทางกลับกัน หาก ธปท. ปล่อยสินเชื่อราคาถูกและไม่ต้องการให้เกิดผลกระทบต่อ ราคาสินค้าในตลาด สิ่งที่ต้องทำก็คือ ต้องดูดเงินออกจากระบบในปริมาณที่เท่ากับสินเชื่อที่ปล่อย ออกไป โดยจ่ายอัตราดอกเบี้ยตลาด ซึ่งแพงกว่าดอกเบี้ยราคาถูกที่รับจากสินเชื่อที่ปล่อยไป ภาระ นั้นก็จะตกกับ ธปท. ธปท. ก็จะไม่มีกำไร หรือกำไรลดลง ไม่มีเงินที่จะส่งให้รัฐ หรือในสถานการณ์ ที่เลวร้ายคือมีผลให้ ธปท. ขาดทุน ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ภาคการเมืองสามารถนำไปอ้างในการปลด ผู้บริหารของธนาคารได้ การที่ ธปท. มีเงินส่งรัฐน้อยลงก็จะมีผลให้รัฐมีเงินใช้จ่ายน้อยลงเช่นกัน การให้สินเชื่อ ราคาถกู แ บบนี้ จึงเป็นต้นท นุ ท ี่ ธปท. ต้องแบกรบั ในกรณีท เี่ ลวรา้ ยกวา่ น คี้ อื การใช้น โยบายสนิ เชือ่ ร าคา ถูกมากๆ จน ธปท. ขาดทุน ผลก็คือรัฐบาลกำลังใช้เงินมือเติบ โดยผลักภาระให้ ธปท. ซึ่งเป็นการ ทำนโยบายการคลังทไี่ม่โปร่งใสดังกล่าวมาแล้ว
ปัญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัญหาที่เกิดขึ้นใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ครอบคลุมจังหวัดยะลา ปัตตานีและ นราธิวาส เป็นปัญหาที่ซับซ้อนทั้งจากปัญหาความขัดแย้งทางเชื้อชาติ ศาสนา และประวัติศาสตร์ ซึ่งคงไม่กล่าวในรายละเอียด ผู้สนใจสามารถหาอ่านได้จากบทความในวิกิพีเดีย
85
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ต้องถือว่าเหตุการณ์รุนแรงเริ่มขึ้นในปี 2547 ถึงขั้นเผาโรงเรียนถึง 20 แห่ง ใน จังหวัดนราธิวาสและมีการปล้นป ืนในค่ายทหาร เหตุการณ์ได้ทวีความรุนแรงขึ้นเป็นลำดับ จนกระทบ ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนทั่วไป และขวัญกำลังใจของคนที่อาศัยในพื้นที่ นอกจากผลกระทบ ที่สำคัญทางการเมืองแล้ว เศรษฐกิจการเงินในพื้นที่ก็ได้รับผลกระทบอย่างมากเช่นกัน ธุรกิจใน พื้นที่ชะงักงันไปหมด ของที่มีอยู่ในร้านขายไม่ออก การก่อสร้างและการจ้างงานก็ไม่เกิดขึ้น คนไม่มี รายได้ กำลังซื้อขาดหายไป ผู้ประกอบการขาดรายได้ ไม่มีเงินทุนหมุนเวียน และเริ่มขาดความสามารถ ในการชำระหนี้ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น รัฐและหลายๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พยายาม เข้าช่วยเหลือ และสังคมก็หันม ามองว่า ธปท. จะให้ความช่วยเหลือในเรื่องนี้อย่างไรได้บ้าง หากมองในหลักก ารแล้วเรือ่ งนคี้ วรเป็นบ ทบาทและหน้าทีข่ องรฐั โดยตรง ธปท. ไม่ส มควร ที่ จะต้องเข้าไปดูแลเพราะไม่ใช่ หน้าที่ โดยตรง การใช้ เงินจาก ธปท. จะมี ผลกระทบข้างเคีย ง ดังได้กล่าวมาแล้ว แต่ในอีกมุมหนึ่ง ภาครัฐก็ต้องการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้คนในท้องถิ่น และก่อให้เกิดการค้าและการลงทุนอย่างต่อเนื่อง เรื่องนี้จึงเป็นเหตุผลหลักที่ ธปท. ต้องยื่นมือเข้า ช ว่ ยเหลือ โดยให้ก ยู้ มื แ ก่ผ ปู้ ระกอบการทอี่ ยูใ่ น 3 จังหวัดช ายแดนภาคใต้ผ า่ นสถาบันก ารเงิน ด้วยอตั รา ดอกเบีย้ ต ำ่ เป็นพ เิ ศษ นอกจากเหตุผลทผี่ ปู้ ระกอบการขาดเงินท นุ หมุนเวียนจนอาจกระทบความสามารถ ในการชำระหนีใ้ ห้แ ก่ส ถาบันก ารเงินท ธี่ นาคารดแู ลอยู่ การชว่ ยเหลือค รัง้ น กี้ ำหนดวงเงินให้ก ยู้ มื ไว้ไม่เกิน 2 หมื่นล้านบาท (ดูจากยอดคงค้างที่สถาบันการเงินป ล่อยกู้ในเวลานั้น) และโครงการมีระยะเวลา 1 ปี (เริ่ม 28 กุมภาพันธ์ 2548 สิ้นส ุด 28 กุมภาพันธ์ 2549) โดยต้องเป็นการให้กู้ยืมเพื่อท ดแทนหนีเ้ดิม (reffiifinance) ผู้กู้ต้องเป็นผ ู้ประกอบการที่มีกิจการตั้งอยู่ในพื้นที่ 3 จังหวัดช ายแดนภาคใต้ โดย ธปท. คิดดอกเบี้ยจากสถาบันการเงินร้อยละ 0.01 ต่อปี และสถาบันการเงินคิดจากผู้กู้ไม่เกินร้อยละ 1.5 ต่อปี เงินให้กู้ยืมโครงการนี้ต้องถือว่าเป็นโครงการพิเศษกว่าโครงการอื่นๆ ใน 2 เรื่อง คือ เป็นโครงการที่ใช้เงิน ธปท. ทั้งหมด สถาบันการเงินไม่ต้องออกเงินสมทบเลย และเป็นโครงการที่ ดอกเบี้ยต ่ำจ ริงๆ เงินทปี่ ล่อยจาก ธปท. ในอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.01 ต่อป ี ต้องถือเสมือนหนึ่งให้ ยืมฟรีๆ โดยไม่ได้คิดดอกเบี้ย (แต่ต้องกำหนดไว้ 0.01 เพราะกฎหมายบอกว่าให้กู้ยืมต้องคิดดอกเบี้ย) ส่วนสถาบันการเงินคิดจากลูกค้าไม่เกินร้อยละ 1.5 ต่อปีจะถือว่าสถาบันการเงินเอาเปรียบคงไม่ได้ เพราะอัตราดังกล่าวยังต ่ำกว่าต ้นทุนดำเนินการ (operating costs) ของสถาบันการเงิน งานนี้จึงเป็น การลงแขกให้ค วามช่วยเหลือจริงๆ 86
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
โครงการนี้ ก็ เ หมื อ นโ ครงการอื่ น ๆ เมื่ อ ครบก ำหนดแล้ ว เ ลิ ก ย าก เมื่ อ โ ครงการด ำเนิ น ไ ป ได้ ป ระมาณ 6 เดื อ น ก็ เริ่ ม มี เรื่ อ งเรี ย กร้ อ งทั้ ง จ ากภ าครั ฐ และเอกชนให้ ข ยายร ะยะเวลาโครงการอ อกไปอี ก นอกจาก นี้ ยั ง ข อให้ ข ยายข อบเขตข องลู ก ค้ า ให้ ค รอบคลุ ม ทั้ ง ร ายที่ กู้ เดิมและรายที่ต้องการกู้ใหม่ และผู้ประกอบการ ทั้งรายใหญ่ รายกลาง และรายเล็ก ลองคิดในแง่ร้ายจริงๆ คนกู้ยืมตามโครงการนี้เสีย ด อ ก เ บี้ ย ใ ห้ ส ถ า บั น ก า ร เ งิ น ร้ อ ย ล ะ 1 . 5 ต่ อ ปี แ ล้ ว เ อ า เ งิ น จ ำ น ว น นี้ไปฝากสถาบันการเงิน (แทนที่จะนำไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน หรือลงทุน) ในอัตราดอกเบี้ย ประมาณร้อยละ 3 ต่อปี ได้เงินม าฟรีๆ ร้อยละ 1.5 อย่างนใี้ครไม่อยากทำบ้าง สิ่งที่พูดมาเป็นข่าวที่ ฟังมาจากคนที่เกี่ยวข้องบ้างแต่ไม่สามารถตรวจสอบได้ ต้องยกประโยชน์ให้จำเลย เรื่องอย่างนี้ ธปท. รู้และเข้าใจ ไม่ได้นิ่งนอนใจ มีการตรวจสอบเป็นครั้งคราวอยู่แล้ว อย่างว่าการทำโครงการใดๆ คง ไม่สามารถทำได้สมบูรณ์ตามที่อยากได้ แต่หากส่วนใหญ่ได้ประโยชน์ต้องถือว่าโครงการนั้นๆ บรรลุ เป้าหมายที่กำหนดไว้แ ล้ว เมือ่ เริม่ โครงการนปี้ ระเมินไว้ว า่ จ ะใช้เวลา 1 ปี น่าจ ะเลิกได้ แต่ท สี่ ดุ ต อ้ งตอ่ อ ายุโครงการอกี 2 ครั้ง รวมเวลาอายุโครงการ 5 ปี โดยสิ้นส ุดโครงการในปี 2553 ในช่วง 5 ปี ของโครงการ มีการปรับระเบียบหลายครั้งให้เหมาะสม รวมทั้งเพิ่มวงเงิน ให้กู้จาก 20,000 ล้านบาทเป็น 25,736 ล้านบาท ในช่วงสุดท้ายของโครงการ ส่วนผู้ประกอบการใน พื้นที่ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา คือ อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะบ้ า ย้ อ ย และ อ.นาทวี ซึ่ ง ไ ด้ รั บ ผ ลกร ะท บ จากส ถานการณ์ ใ น 3 จั ง หวั ด ช ายแดนภ าคใ ต้ (แม้ ว่ า จ ะน้ อ ยก ว่ า ก็ ต าม) มี ก ารเรี ย กร้ อ งให้ ธปท. เข้าช่วยเหลือเช่นกัน ซึ่ง ธปท. ได้เตรียมขออนุมัติ คณะก รรมการธ นาคารไ ว้ แ ล้ ว เมื่ อ ปี 2550 แต่ ยั ง ไม่ มี ผ ล ในท า ง ป ฏิ บั ติ เนื่ อ ง จ า ก ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใน 4 อ ำ เภ อ ดั ง ก ล่ า ว ส า ม า ร ถ ข อ รั บ ค ว า ม ช่ ว ย เห ลื อ จ า ก ธ ป ท . ผ่ า น โค ร ง ก า ร สิ น เ ชื่ อ SMEs และก ารใ ห้ ค วามช่ ว ยเ หลื อ ต ามโ ครงการสิ น เ ชื่ อ ผู้ ป ระกอบก าร 87
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ในจังหวัดสงขลา - สตูล
สินเชื่อผู้ประกอบการในจังหวัดสงขลา - สตูล หลายคนคงจำเรื่องระเบิดที่สนามบินหาดใหญ่และห้างคาร์ฟูหาดใหญ่เมื่อปี 2548 ได้ ซึ่งเหตุการณ์ในครั้งนั้นส่งผลให้เด็กอายุ 4 ขวบ ได้รับบาดเจ็บสาหัส และเหตุการณ์ในครั้งนั้นส่ง ผลกระทบตอ่ ก ารทอ่ งเทีย่ วในหาดใหญ่ รวมทงั้ แ หล่งท อ่ งเทีย่ วหลายแห่งในจงั หวัดส ตูล ตลอดจนธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่อง ไม่ว่าภัตตาคาร ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า แหล่งช ๊อบปิ้งต่างๆ ล้วนรับผลกระทบโดย ถ้วนหน้า เมื่อไม่มีลูกค้าก็ไม่มีกระแสเงินสดพอที่จะชำระหนี้ ก็เหมือนเหตุการณ์อื่นๆ คือ มีเสียงเรียกร้องให้ ธปท. ให้ความช่วยเหลือท างการเงินใน อัตราดอกเบี้ยต ่ำ (คงเป็นความเข้าใจแบบเดิมๆ คือ เงินของธนาคารไม่มีต้นทุน) เรื่องผลกระทบจากเหตุการณ์ระเบิดไม่ใช่เหตุผลเดียวที่มีการขอให้ ธปท. ช่วยเหลือ ในช่วงนั้นพบว่า ผู้ประกอบการ SMEs หลายรายในจังหวัดสงขลาได้ร้องเรียนผ่านสำนักงาน ธปท. ภาคใต้ว่า สถาบันการเงินหลายแห่งได้ลดการปล่อยสินเชื่อ SMEs ทั้งๆ ที่ ธปท. ได้จัดสรรเงิน ตามโครงการสินเชื่อ SMEs ให้ธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นจากเดิมและวงเงิน SMEs ที่ได้รับจัดสรร ก็ยังใช้ไม่หมด ดูแล้วไม่น่าจะมีเหตุทำให้ SMEs ในจังหวัดส งขลาไม่ได้รับสินเชื่อ เมื่อจัดประชุมหารือกับธนาคารพาณิชย์ที่มีสาขาในจังหวัดสงขลาแล้วพบว่า การลดลง ของสินเชื่อ SMEs มีเหตุจากการปรับระบบการปล่อยสินเชื่อใหม่ของธนาคารพาณิชย์ จากการที่ สาขาสามารถพิจารณาได้เอง เป็นต้องส่งเรื่องไปรวมศูนย์ที่สำนักงานใหญ่พิจารณา เรื่องจึงเดินช้า เพราะสำนักงานใหญ่ไม่รู้จักลูกค้าใกล้ชิดเท่าสาขา ซึ่งธนาคารพาณิชย์ชี้แจงว่า หากระบบเรียบร้อย ดีแล้ว การปล่อยสินเชื่อ SMEs น่าจะดีขึ้น แต่เวลาชี้แจงลูกค้ากลับบอกว่าเป็นเพราะ ธปท. ได้ปรับ ระเบียบใหม่ ทำให้ต้องใช้เวลามากขึ้น เรื่องเป็นอ ย่างนเี้สมอเวลามีปัญหากับลูกค้า เรื่องนี้ส่วนตัวก็ไม่แน่ใจนัก เพราะดูจากสถานการณ์ภาคใต้ในช่วงนั้น หากผมเป็น ผู้บริหารที่ดีของสถาบันการเงินคงต้องกำหนดนโยบายให้สาขาเร่งถอนเงินกู้คืน เพราะลูกค้าเริ่มขาด กระแสเงินสด และขาดความสามารถในการชำระหนี้ ใครถอนตัวเร็วกว่าก็เจ็บตัวน้อยกว่า คนที่ขยับตัว ช้าก็ต้องรับความเสียหายที่จะเกิดขึ้นอ ย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ก ็เชื่อว่าหากไม่จำเป็นจริง สถาบันการเงิน ก็คงไม่อยากทำต้องพยายามรักษาลูกค้าเดิมที่ดีไว้ให้มากและนานที่สุด เพราะเมื่อสถานการณ์ดีขึ้น การจะกลับไปเรียกลูกค้าเดิมมาใช้บริการอีกคงไม่ง่ายนัก 88
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ด้ ว ยเ หตุ ผ ลทั้ ง ส องเ รื่ อ งคื อ เหตุ ร ะเบิ ด ที่ ก ร ะ ท บ การท่ อ งเที่ ย วแ ละก ารล ดล งข องสิ น เชื่ อ SMEs ธปท. จึ ง ตั ด สิ น ใจตั้ ง โครงการพิ เศษเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ท างการเงิ น แ ก่ ธุ ร กิ จ ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ก ารท่ อ งเที่ ย ว ที่ ค รอบคลุ ม ธุ ร กิ จ โรงแรม ห้ า งส รรพสิ นค้ า ภั ต ตาคาร และร้ า นอ าหาร กิ จ การค้ า ป ลี ก แ ละ ค้าส่ง ธุรกิจบันเทิง และธุรกิจทเี่กี่ยวข้องกับก ารดูแลสุขภาพ มีวงเงินทั้งสิ้น 5,000 ล้านบาท โดยใช้ เงินจาก ธปท. 3,000 ล้านบาท (ร้อยละ 60 ของวงเงิน) และใช้เงินส ถาบันการเงิน 2,000 ล้านบาท (ร้อยละ 40 ของวงเงิน) และกำหนดระยะเวลาช่วยเหลือไม่เกิน 2 ปี ซึ่งวงเงินนี้คงมากพอที่จะบรรเทาความ เดือดร้อนของผู้ประกอบการได้บ้าง และเหมือนโครงการอื่นๆ เมื่ อ ค รบก ำหนด 2 ปี ก็ มี ก ารต่ อ อ ายุ โครงการจนถึงปี 2553
การปรับระเบียบการให้ก ู้ยืม SMEs เรื่องการปรับปรุงร ะเบียบการให้สินเชื่อต ามโครงการสินเชื่อ SMEs เมื่อป ี 2549 เป็น เรื่องที่ไม่เกี่ยวกับโครงการสินเชื่อ 3 จังหวัดภาคใต้ และสินเชื่อธ ุรกิจท่องเที่ยวในจังหวัดส งขลา สตูล แต่เห็นว่าเป็นเรื่องทนี่ ่าจะเล่าสู่กันฟ ังได้
เรื่องการปรับระเบียบสินเชื่อ SMEs นี้ ต้องถือว่ามีจุดเริ่มต้นจากผู้ว่าการปรีดิยาธร 89
บทสัมภาษณ์และข้อเขียน : ช่วยกันเล่า จับเข่าคุย ที่ให้ข้อส ังเกตว่า สินเชื่อ SMEs เป็นส ินเชื่อราคาถูกที่ผู้ประกอบการทุกคนอยากได้ แต่ด้วยวงเงินที่มี จำกัดจ ะทำอย่างไรจงึ จ ะให้โครงการนชี้ ว่ ยผปู้ ระกอบการรายยอ่ ยแทนผปู้ ระกอบการ SMEs ทีส่ ว่ นใหญ่ ช่วยตัวเองได้อยู่แล้ว จึงได้มีการทบทวนและตรวจสอบในรายละเอียดและพบหลายประเด็นที่น่าส นใจ เรือ่ งแรก ทีพ่ บคอื เงินช ว่ ยเหลือต ามโครงการดงั ก ล่าว กระจุกต วั อ ยูก่ บั ผ ปู้ ระกอบการบาง กลุ่มที่มีฐานะการเงินดีและช่วยเหลือตัวเองได้อยู่แล้ว ซึ่งผิดว ัตถุประสงค์ของโครงการที่ตั้งไว้คือ คนที่ ควรช่วยต้องเป็นคนทชี่ ่วยตัวเองไม่ได้ เรื่องที่สอง ธุรกิจบ างประเภทที่สังคมรังเกียจ (แต่รัฐยังอนุญาตให้ทำอยู่) ยังมาใช้สินเชื่อ โครงการ เช่น ธุรกิจข ายเหล้า เป็นต้น เรื่องที่สาม สถาบันการเงินหลายแห่งใช้สินเชื่อโครงการนี้สร้างสัมพันธ์กับลูกค้าชั้นดี (ซึ่งเป็นลูกค้าช่วยตัวเองได้อยู่แล้วและรวยด้วย) โดยนำเงินจากโครงการนี้ให้กู้แก่ลูกค้ากลุ่มนี้ รวม กับการให้กยู้ ืมเงินปกติเพราะเป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำกว่าตลาด ลูกค้าร ายใดที่มีประวัติการกู้ดี มีการชำระ หนี้สม่ำเสมอก็จะให้มาใช้เงินจากโครงการนี้บางส่วนเหมือนเป็นขนมหวานล่อใจให้ลูกค้ากลุ่มนี้ยังคง ใช้บ ริการจากสถาบันการเงินของตน (ใครทำดีอยู่แล้วต้องขออภัย) ลูกค้าบางรายกู้ยืมจากโครงการนี้นาน 5 ปี เต็มต ามเวลาที่โครงการนี้กำหนดไว้ ถ้าเป็น ลูกค้าที่ช่วยตัวเองไม่ได้จริง ต้องกู้นานแบบนี้แสดงว่า ควรหันไปทำธุรกิจอื่นจะดีกว่าหรือไม่ เหตุและปัจจัยด ังกล่าว จึงเป็นที่มาของการปรับระเบียบสินเชื่อ SMEs เมื่อป ลายปี 2549 ในสมัยทคี่ ุณธาริษาเป็นผ ู้ว่าการ21 โดยมีประเด็นป รับปรุงที่น่าสนใจ 3 เรื่อง 1. ผูป้ ระกอบการทขี่ อรับค วามชว่ ยเหลือจ ากโครงการนตี้ อ้ งเป็นผ ปู้ ระกอบการรายยอ่ ยจริง โดยใช้ค ำนิยามของสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจข นาดย่อม หรือ สสว. เป็นเกณฑ์พิจารณา 2. วงเงินก จู้ ำกัดไว้ไม่เกินร ายละ 20 ล้านบาท เป็นเงินข อง ธปท. 10 ล้านบาท และเป็นเงิน สมทบจากสถาบันการเงิน 10 ล้านบาท ธุรกิจใช้เงินกู้มากกว่านี้ต้องถือว่าเป็นธุรกิจขนาดกลาง ไม่ใช่ขนาดย่อม
3. อัตราดอกเบี้ยที่สถาบันการเงินคิดจ ากลูกค้า ให้ก ำหนดเป็นขั้นบันไดดังนี้
ปีที่ 1 เท่ากับร้อยละ MLR - 2.25 ต่อปี
ปีที่ 2 เท่ากับร้อยละ MLR - 1.25 ต่อปี
21
นางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 8 พ.ย.2549 – 30 ก.ย. 2553
90
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ปีท ี่ 3 เท่ากับร้อยละ MLR - 0.25 ต่อปี
ใครลำบากก็ให้ความช่วยเหลือ 3 ปีพอ (เดิมกำหนดไว้ 5 ปี) เกินกว่านี้ต้องถือว่า ผูป้ ระกอบการรายนั้นม ศี ักยภาพไม่พ อจะทำธุรกิจป ระเภทนี้ ควรไปทำอย่างอื่นจะดกี ว่า ส่วนเงินทเี่หลือ ธปท. ยังสามารถนำไปช่วยคนอื่นได้อีก อัตราดอกเบี้ยป ีสุดท้าย เท่ากับร้อยละ MLR - 0.25 ต่อปี ยังถือว่าต่ำกว่าอัตราปกติที่ ลูกค้ากลุ่มนี้ ต้องเสียอ ยู่ถึงร้อยละ 1.25 การที่ลูกค้าต ้องจ่ายดอกเบี้ยส ูงข ึ้นทุกปี ก็เพื่อก ระตุ้นให้ลูกค้าเร่งป รับตัว แทนที่จะพึ่งพา ดอกเบี้ยถ ูกไปเรื่อยเหมือนในอดีต นอกจากนยี้ ังก ำหนดให้ลูกค้าที่กู้ยืมตามโครงการนี้ ถ้าได้รับอนุมัตวิ งเงินไปแล้ว ต้องใช้ เงินที่ได้รับอนุมัตจิ ริง ไม่ใช่เก็บว งเงินไว้โดยไม่ใช้ ทำให้คนอื่นที่จำเป็นและรออยู่ขาดโอกาส ใครได้รับ อนุมัติวงเงินกู้ไปแล้ว แต่ไม่ใช้เงินติดต่อกัน 6 เดือน ต้องถือว่าไม่ต้องการใช้เงินจริง ธปท. จะยกเลิก วงเงิน เพื่อให้ส ถาบันการเงินนำเงินที่เหลือไปปล่อยกู้รายใหม่ต่อไป จริงๆ แล้ว เรื่องอย่างนี้น่าทำมานานแล้ว เพราะวงเงินตามโครงการนี้มีจำกัด และธุรกิจ หลายรายที่เดือดร้อน ยังรอความช่วยเหลืออยู่ หากมองในแง่หลักการแล้ว การปรับระเบียบครั้งนี้ น่าจะดีและถูกต้องตามหลักเศรษฐศาสตร์ คือ ทรัพยากรมีน้อย (วงเงินมีจำกัด) ก็ควรจัดสรรให้มี ประโยชน์มากที่สุด แต่ในมุมมองของลูกค้าคงเป็นอีกภาพหนึ่ง การปรับระเบียบแบบนี้ แม้ว่าทำช้า ก็ยังดีกว่าไม่ทำเลย การให้สินเชื่อราคาถูกของ ธปท. ต้องถือว่าเป็นตำนานที่มีเรื่องเล่าอ ยู่มากนับตั้งแต่มีการ ให้สินเชื่อเมื่อปี 2499 เรื่องทั้งหมดที่เขียนมาเป็นเกร็ดเล็กๆ ที่อยากบันทึกไว้เป็นความทรงจำให้ ได้อ่านกันในฐานะที่มีส่วนกำกับดูแลส่วนสินเชื่อมาระยะหนึ่ง ก่อนที่ส่วนสินเชื่อจะถูกยุบลง หลายคน มองว่า ธปท. ไม่ควรให้สินเชื่อด อกเบี้ยถูกแก่ธุรกิจ เพราะไม่ใช่กิจของธนาคารกลาง แต่หากถามกลุ่ม คนที่ใช้บริการสินเชื่อไม่ว่าจะเป็นสินเชื่อโครงการอะไร ทุกคนก็จะบอกว่าดีมีประโยชน์อยากให้มีมากๆ ถามคน ธปท. ทีอ่ ยู่ตามสำนักงานภาคก็จะบอกว่าดี เป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง ธปท. และภาคธุรกิจ
91
บทส่งท้าย
บทส่งท้าย
- ผู้เขียน คุณธาริษา วัฒนเกส อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตผู้ช่วยผู้ว่าการสายตลาดการเงิน
ธปท. ได้ริเริ่มการให้สินเชื่อแก่ภาคเศรษฐกิจสำคัญตั้งแต่ปี 2499 และต่อเนื่องมานานกว่าครึ่งศตวรรษ ก่อนจะยุติบทบาทดังกล่าวใน ปี 2554 จำได้ว ่าในช่วงทดี่ ิฉันเข้าทำงานที่ ธปท. เมื่อป ี 2518 งานนี้เป็นงาน สำคัญง านหนึ่งของ ธปท. เป็นงานค่อนข้างใหญ่ และมีเจ้าห น้าทีใ่นส่วนงาน ค่อนข้างมาก เพราะมีงานทั้งการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ขอรับสินเชื่อ การต รวจส อบห ลั ง จ ากก ารให้ สิ น เชื่ อ คื อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องก ารใช้ เงิ น งานธุรการในการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน การต่อตั๋วฯ และการเปลี่ยนตั๋วฯ เป็นต้น ขณะเดียวกันก็เป็นงานที่มีการถกเถียงกันในหมู่นักเศรษฐศาสตร์ ของ ธปท. อย่างต่อเนื่อง กลุ่มห นึ่งก็จะเห็นว่า ธปท. ไม่ควรมีหน้าท ี่ดังกล่าว เพราะเป็นการแทรกแซงกลไกของตลาด ยิ่งส ินเชื่อข อง ธปท. มีดอ กเบี้ยต่ำ กว่าอ ตั ราในตลาดกย็ งิ่ เป็นการบิดเบือนตลาดมากขนึ้ และไม่เป็นธ รรมเพราะเป็นการชว่ ยเหลือเพียงบาง ภาคบางกลุม่ แม้ ธปท. จะมเี หตุผลสนับสนุนค วามสำคัญข องเศรษฐกิจบ างภาคบางกลุม่ น นั้ ก ต็ าม ทำให้ มีการแทรกแซงทางการเมืองได้ง่าย นอกจากนี้ ที่สำคัญคือ อาจขัดแย้งกับบทบาทในการดูแลปริมาณ เงินเพือ่ ร กั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจข องประเทศได้ อีกก ลุม่ ห นึง่ ก ม็ คี วามเห็นต รงกนั ข า้ มวา่ ธนาคาร กลางของประเทศกำลังพัฒนาควรจะทำหน้าที่สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศด้วย เพราะ กลไกตลาดมคี วามไม่ส มบูรณ์ ผูร้ ว่ มตลาดในภาคเศรษฐกิจใหม่ห รือร ายยอ่ ยอาจเข้าไม่ถ งึ ส นิ เชือ่ แม้จ ะมี ความสำคัญท างเศรษฐกิจ หรืออ าจเข้าถ งึ แ ต่ต อ้ งจา่ ยภาระดอกเบีย้ ส งู ทำให้แ ข่งขันก บั ผ เู้ ล่นร ายเก่าห รือ ผูเ้ ล่นท ใี่ หญ่ก ว่าท งั้ ในและตา่ งประเทศได้ย าก จึงค วรทที่ างการจะชว่ ยสนับสนุน อย่างนอ้ ยกใ็ นชว่ งแรกๆ ให้ตั้งตัวได้ก่อน และบทบาทนี้ธนาคารกลางของหลายๆ ประเทศก็ทำอยู่แล้ว ที่จริงการถกเถียง นี้ก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกรอบใหญ่ระหว่างแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ของกลุ่มคลาสสิคใหม่และ กลุ่มเคนส์เท่านั้น และก็ถกเถียงกันได้ไม่รู้จบ ขึ้นอ ยู่กับความเชื่อของแต่ละคน 92
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
ดิฉัน มีความสนใจในเรื่องนี้จ นถึ ง ขั้ น ได้ น ำเอาเรื่ อ งนี้ไปท ดสอบวั ด ผลเมื่ อ ต อนท ำ วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาเอกที่สหรัฐอเมริกา โดยได้สร้างแบบจำลองทางเศรษฐมิติสำหรับ ประเทศไทย และนำแบบจำลองนี้มาทดสอบวัดผลของนโยบายหลายอย่างของ ธปท. รวมทั้งนโยบาย การให้สินเชื่อแก่ภาคเศรษฐกิจสำคัญ (ข้อมูลสำหรับปี 2505 - 2524 ประมาณร้อยละ 60 - 70 เป็นสินเชื่อที่ให้แก่ภาคส่งออก) เพื่อที่จะวัดผลว่า สินเชื่อนี้มีส่วนทำให้การส่งออกของไทยเพิ่มขึ้น หรือไม่ ผลการทดสอบปรากฎว่า นโยบายนี้ไม่มีผลดังกล่าว สาเหตุหลักเป็นเพราะการให้สินเชื่อของ ธปท. เป็นการเพิ่มปริมาณเงินในระบบถือเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ และเมื่อผ่านกลไกเชื่อมโยงต่างๆ ในเศรษฐกิจมีผลทำให้ราคาสินค้าในประเทศเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้สินค้าส่งออกของไทยแพงขึ้น และ ได้รับผลกระทบ คงต้ อ งเ น้ น ว่ า การวั ด ผลนี้ ใ ห้ ข้ อ ส รุ ป เ ฉพาะใ นช่ ว ง ที่ ท ำการวั ด เท่ า นั้ น ไม่ ส ามารถน ำไปส รุ ป ใ นช่ ว งอื่ น ๆ ได้ ในช่ ว ง ที่ ท ำการวั ด ร ะหว่ า งปี 2505 - 2524 ระบบธ นาคารพ าณิ ช ย์ ยั ง เล็ ก สินเชื่อจาก ธปท. บางปีมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 10 ของสินเชื่อ ธนาคารพาณิชย์ ถ้าหากธนาคารพาณิชย์มีการปล่อยสินเชื่อสมทบกับ ส่ ว นข อง ธปท. ด้ ว ย สั ด ส่ ว นนี้ ก็ จ ะสู ง ขึ้ น ไปอี ก ขึ้ น อ ยู่ กั บ สั ด ส่ ว น ของก ารส มทบ ดั ง นั้ น สิ น เชื่ อ ต ามโครงการข อง ธปท. จึ ง น่ า จ ะ มี ผ ลในก ารกร ะตุ้ น เศรษฐกิ จ แ ละท ำให้ ร าคาสิ นค้ า แพงขึ้ น ม ากกว่ า ในช่วงหลังๆ ที่สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ขยายตัวขึ้นมากแล้ว ขณะเดียวกันอาจเป็นช่วงที่พม่า ยังเป็นผู้ส่งออกข้าวที่เราต้องแข่งขันด้วย การเปลี่ยนแปลงของต้นทุนหรือราคาข้าวแค่เล็กน้อยก็ อาจทำให้เราแข่งขันด้วยไม่ได้ก็ได้ โดยส่วนตัวดิฉันเชื่อว่าการประคับประคองผู้ร่วมตลาดรายใหม่หรือรายเล็ก ช่วยเพิ่ม ความสามารถของธุรกิจเหล่านี้ในการอยู่รอดต่อไปได้ เพราะกลไกตลาดยังมีข้อบกพร่อง แต่กติกาต้อง ชัดว ่าเป็นการช่วยในช่วงสั้นๆ เท่านั้น เพื่อให้เขาเตรียมตัวได้ต ั้งแต่ต้น ดังนั้นแนวทางในช่วง 3 - 4 ปี ก่อนจะยุบเลิกบทบาทนี้ที่มีการกำหนดวงเงินกู้ให้ต่ำ และอัตราดอกเบี้ยให้ทยอยสูงขึ้นก่อนจะ ตัดทอนความช่วยเหลือหลังจาก 3 ปี จึงเป็นแ นวทางที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐศาสตร์ท ี่ดี
93
บทส่งท้าย จะอย่างไรกต็ าม บัดนีภ้ าคเอกชน ทัง้ ภ าคธรุ กิจ ภาคธนาคารพาณิชย์ และภาคสถาบันก ารเงิน เฉพาะกิจมีความเข้มแข็งมากขึ้น และมาถึงเวลาที่ ธปท. ไม่ต้องทำหน้าที่นี้อีกต่อไป ดิฉันอยากจะ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ส่วนสินเชื่อท ุกท ่าน ที่แต่ละท่านมีส่วนในการทำให้ภาพลักษณ์ข อง ธปท. ในการ ดูแลผลประโยชน์ข องประเทศโดดเด่นข นึ้ และการทำงานอย่างทมุ่ เท สูง้ าน ทัง้ ท ตี่ อ้ งเสีย่ งภยั ในบางครัง้ ในการออกตรวจสินเชื่อ ทำงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และแม้ในช่วงที่ทราบชัดเจนว่า บทบาทการให้ สินเชือ่ ข อง ธปท. จะตอ้ งจบลง เจ้าห น้าทีท่ กุ ท า่ นกย็ งั ค งทมุ่ เททำงานตา่ งๆ ทีเ่ หลือจ นเสร็จภ ารกิจส ดุ ท้าย โดยไม่ได้ตื่นตระหนกกับความไม่แน่นอนในสายงานอาชีพที่จะตามมา นี่คือสปิริตและลักษณะพิเศษ ของคนแบงก์ชาติโดยแท้ ขอแสดงความชื่นชมจากใจจริง
94
55 ปี
บทบาทที่ท้าทาย : การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ของ ธปท. แก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ
บรรณานุกรม ธนาคารแห่งป ระเทศไทย ทีร่ ะลึกในการเปิดอาคารสำนักงานใหญ่ธนาคารแห่งประเทศไทย 12 กรกฎาคม 2525 ธนาคารแห่งป ระเทศไทย หนังสือท ี่ระลึกครบรอบ 30 ปี : ประวัติและการดำเนินงานของธนาคาร แห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ : หจก.ศิวพร 2515 ธนาคารแห่งป ระเทศไทย 50 ปีธ นาคารแห่งป ระเทศไทย : 2485 - 2535 กรุงเทพฯ : อมรินทร์พ ริ้นติ้งกรุ๊พ 2535 ธนาคารแห่งประเทศไทย หนังสืออ นุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสมหมาย ฮุนตระกูล วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม 2536 กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์ 2536 ธนาคารแห่งป ระเทศไทย บทบาทของธนาคารแห่งประเทศไทยในการให้ความช่วยเหลือ ทางการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ รายงานเศรษฐกิจร ายเดือน กุมภาพันธ์ 2526 ธนาคารเพื่อการส่งอ อกและนำเข้าแห่งประเทศไทย “15 ปี ธสน.เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ” ทิศทางการส่งออกและลงทุน เล่ม 12 กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ 2552 หน่วยวิเคราะห์และประเมินผลสินเชื่อ ฝ่ายการธนาคาร การให้ความอนุเคราะห์ทางการเงินของ ธนาคารแห่งประเทศไทยแก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ ตุลาคม 2538 หน่วยวิเคราะห์และประเมินผ ลสินเชื่อ ฝ่ายการธนาคาร สรุปร ะเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย เกี่ยวกับการให้ความอนุเคราะห์ทางการเงินแก่กิจการส่งอ อกระหว่างปี พ.ศ.2499 - 2536 สายงานสินเชื่อ ฝ่ายการธนาคาร สรุปโครงการช่วยเหลือทางการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจสำคัญผ่าน สถาบันการเงินเฉพาะกิจ ตุลาคม 2542 ทีมจัดการตราสารหนี้ ฝ่ายเงินฝ ากและตราสารหนี้ การกู้เงินของรัฐบาลไทย ธันวาคม 2553 มนตรี ช่วยชู “การรับช่วงซื้อลดตั๋วส ัญญาใช้เงินโดยธนาคารแห่งประเทศไทย” วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต ภาควิชาการบัญชี บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ม หาวิทยาลัย พ.ศ.2526 บันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา เรื่อง อำนาจของธนาคารแห่งประเทศไทยในการให้ความ ช่วยเหลือทางการเงินแก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผู้ประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์ร้ายแรง ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ หรือโรคระบาดร้ายแรง เรื่องเสร็จท ี่ 388/2551 พฤษภาคม 2551
95
ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนทำให้หนังสือเล่มนี้สำเร็จลุล่วงด้วยดี คณะผู้ ให้ข้อมูลและเขียนบทความ นิพนธ์ วงศ์ตระหง่าน ดร.ธวัชชัย ยงกิตติกุล คุณห ญิงศ รีวงศ์ มหาสันทนะ ศิริชัย สาครรัตนกุล สุปรียา แสงอุดมเลิศ สุชาติ สักการโกศล ไพบูลย์ กิตติศ รีกังวาน ธาริษ า วัฒนเกส คณะทำงานจัดทำหนังสือ วชิรา อารมย์ดี สุพ ัฒน์พงษ์ นาวารัตน์ เนตรนิล เหลืองวัฒนพงศ์ ศิริ หาญพานิชเจริญ นราภรณ์ บุญป ระกอบ สหัสศร เบญจพิพัฒน์ก ุล นาถลดา คงอำนวยศักดิ์ กันยารัตน์ วิเชียรนุกูล บรรณาธิการ ฤธัยช นก มณีวัต คณะผู้ ให้การสนับสนุน ผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ อลิศรา มหาสันทนะ ประกอบ ตอสุวพรรณ พิทักษ์ บุณฑริก สุน ทรานี รัตนะมณี หอสมุดและจดหมายเหตุ
ฉวีวรรณ คำพา เพ็ญจันทร์ มงคลกุล อำนวย ลิ้มต ระกูล สมพร จิตเป็นธม ประสพสุข พ่วงสาคร ฤชุกร สิริโยธิน สุชาดา กิระกุล
ประสาน สุวิญญัติชัยพร ทศชนก ลีลาวรรณกุลศิริ นกุล โกสลาทิพย์ อุไรวรรณ พะมณี ทวีวรรณ ปิ่นโต พรทิพย์ พงศ์มรกต สุรินทร์ ภักดีธิติไพบูลย์
พิมพา ถาวรายุศม์ สิริธิดา พนมวัน ณ อยุธยา ภูวดล เหล่าแก้ว บุญท ิวา เรืองไรรัตนโรจน์ ทีมส ื่อโสตทัศน์ ฝ่ายกำกับการแลกเปลี่ยนเงินและสินเชื่อ จัดพิมพ์ที่ บริษัท ละม่อม จำกัด ติดต่อ : 025-142-952