นิ เทศจุ ฬ าฯ สอนเราให้
แหลมคม
ที่นี่...เราสอนนิสิตของเราให้เหลาตัวเองให้แหลมอยู่เสมอ
ด้วยการสะสมข้อมูลทั้งในและนอกห้องเรียน ฝึกปรือให้รู้จักคิด...อย่างมีตรรกะ นำ�เสนอชุดความคิดอย่างคนที่เข้าใจ ไม่ปล่อยให้กลายเป็นดินสอ...หัวทู่ขาดความเฉียบแหลม
: สารจากคณบดี
รายงานประจำ�ปี 2553 ฉบับน ี้ คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ถึงผลการ ดำ�เนินงาน โดยรวบรวมผลการดำ�เนินงานของคณะฯ ในรอบ ปีงบประมาณ 2553 (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 กันยายน 2553) ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลด้านประวัติคณะนิเทศศาสตร์ ข้อมูลด้าน หลักสูตรการเรียนการสอน ข้อมูลเกี่ยวกับบ ุคลากรทั้งสายวิชาการ และสายปฏิบัตกิ าร ข้อมูลด ้านการวิจัย ด้านบริการวิชาการ ด้าน กิจการนิสิต เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยท ัศน์ของคณะนิเทศศาสตร์ ที่ เป็นแ หล่งศ กึ ษา ค้นคว้า และอา้ งอิงอ งค์ค วามรดู้ า้ นการสอื่ สาร โดย มีคุณภาพของการเรียนการสอน คณาจารย์ และบัณฑิตที่ทัดเทียม กับคณะนิเทศศาสตร์ของมหาวิทยาลัยช ั้นน ำ�ของโลก ในระหว่างปีงบประมาณ 2553 ที่ผ่านมา คณะนิเทศศาสตร์ ได้ดำ�เนินงานตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ที่กำ�หนดไว้ ซึ่งผ ลงานดังกล่าวอยูภ่ ายใต้การบริหารงานของ รองศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทำ� ขอขอบคุณห น่วยงานต่างๆ ทั้ง ภายในและภายนอกหน่วยงานทใี่ ห้ค วามอนุเคราะห์ข อ้ มูล และคณะ นิเทศศาสตร์หวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลผลการดำ�เนินงานด้านต่างๆ ในรายงานประจำ�ปี 2553 ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และผู้สนใจต่อไป คณะผู้จัดทำ�
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5
:: ปรัชญา ปรัชญา / ปณิธาน
คณะฯ มีปรัชญาและปณิธาน ในการจัดการเรียนการสอน โดยมุ่งดำ�รงความเป็นผู้นำ� ในการสร้าง บัณฑิตที่มีความรู้ สติป ัญญาและคุณธรรม สามารถพัฒนาศักยภาพในศาสตร์ และศิลป์ของการสื่อสารเพื่อ เป็นน ักว ิชาการ นักวิชาชีพน ิเทศศาสตร์ท กี่ อปรด้วยคุณภาพและคุณธรรม เพื่อป ฏิบัตงิานและแข่งขันในสภาพ แวดล้อมนานาชาติได้ ตลอดจนสร้างองค์ความรู้ทางนิเทศศาสตร์ที่ตอบสนองสังคมไทย และเป็นที่ยอมรับใน ระดับนานาชาติ
วัตถุประสงค์
สร้างบัณฑิตนิเทศศาสตร์ ให้กอปรด้วยความรู้ สติปัญญาและคุณธรรม และรับผิดชอบต่อส ังคม เตรียมพื้นฐานการพัฒนาไปสู่การผลิตบัณฑิตนิเทศศาสตร์ เป็นท ี่ยอมรับข องสังคมทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ พัฒนาประสิทธิภาพของหน่วยงานทรี่ องรับก ารสร้างองค์ค วามรทู้ างนเิ ทศศาสตร์ และการเผยแพร่ส ารสนเทศ ทางนิเทศศาสตร์ และการบริการสังคม ส่งเสริมผ ลงานวิชาการและงานวิจัยให้เป็นม าตรฐาน ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7
วิสัยทัศน์
คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ม หาวิทยาลัย เป็นแ หล่งศ กึ ษาคน้ คว้าแ ละอา้ งอิงอ งค์ค วามรดู้ า้ นการสอื่ สาร โดยมีคุณภาพของการเรียนการสอน คณาจารย์และบัณฑิตที่ทัดเทียมกับคณะนิเทศศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ชั้นนำ�ของโลก โดยองค์ความรู้ทเี่จริญก้าวหน้าข องศาสตร์ด้านการสื่อสารนั้น สามารถเป็นหลักและแนวทาง สำ�หรับการพัฒนาด้านการสื่อสารของสังคมไทย และจะต้องควบคู่กันไปกับความยึดมั่นในคุณธรรม จรรยาบรรณของวิชาชีพ
พันธกิจ
พัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน และส่งเสริมศักยภาพของคณาจารย์ บุคลากรและนิสิต เพื่อให้ได้ระบบการผลิตบัณฑิตที่มคี ุณภาพทัดเทียมบัณฑิตของมหาวิทยาลัยช ั้นน ำ�ของโลก ส่งเสริมให้มีการทำ�วิจัยที่มีคุณภาพเพื่อการนำ�ผลการวิจัยไปเผยแพร่ในระดับนานาชาติและนำ�มา ประยุกต์ใช้ให้เกิดป ระโยชน์ต่อการศึกษา ค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ในศาสตร์ของการสื่อสาร และ การนำ�ไปพัฒนาการปฏิบัติงานในวิชาชีพด ้านการสื่อสาร ส่งเสริมการนำ�องค์ความรู้ที่ได้จากการค้นคว้าวิจัยไปเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ และนำ�ไปเสนอแนะให้ก บั ห น่วยงาน หรืออ งค์กรทมี่ คี วามตอ้ งการน� ำ ไปประยุกต์ใช้ ไม่วา่ จ ะเป็นห น่วยงาน ภาครัฐ องค์กรสื่อ หรือชุมชนอื่นๆ ในสังคมที่มีความสนใจในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ส่งเสริมก ารนำ�วิชาการและวิชาชีพด้านการสื่อสารไปใช้ในการพัฒนาการสื่อสารของสังคมไทย ควบคู่ ไปกับการธำ�รงรักษาไว้ซึ่งจ รรยาบรรณวิชาชีพ ศิลปวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่าและดงีามของไทย
ยุทธศาสตร์ ก้าวหน้า : ก้าวหน้าสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ โดยส่งเสริมก ิจกรรมวิชาการ ปรับปรุงหลักสูตร และ เผยแพร่ผ ลงานวิชาการระดับนานาชาติ ยอมรับ : เป็นปัญญาแห่งแผ่นดิน สู่สังคม ชาติ และนานาชาติ โดยพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมเสริม หลักสูตร สนับสนุนการวิจัยและการประยุกต์ใช้ เข้มแข็ง : เป็นเลิศด้านวิชาการ และการบริหารจัดการ โดยการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร พัฒนาบุคลากร สนับสนุนทุนการศึกษาคณาจารย์ มั่นคง : บริหารสินทรัพย์และสร้างสัมพันธ์กับศิษย์เก่า โดยดำ�เนินกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับศ ิษย์เก่า เกื้อกูล : ส่งเสริมความเสมอภาคทางการศึกษา เกื้อกูลผู้ปฏิบัติงานและชุมชน โดยให้ทุนการศึกษานิสิต ส่งเสริมสวัสดิการบุคลากร นำ�วิชาการช่วยชุมชน เป็นสุข : เป็นบ้านอันอบอุ่นของคนดีและคนเก่ง โดยจัดตั้งศูนย์ออกกำ�ลังกาย สร้างสุขภาวะ อบรมพัฒนา บุคลากร ปรับปรุงกายภาพ และส่งเสริมศ ิลปวัฒนธรรม
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10
นิ เทศจุ ฬ าฯ สอนเราให้
ลงมือทำ�
ที่นี่...เราสอนนิสิตของเราให้ลงมือทำ�จริง
ไม่ทำ�ตัวเป็นสมุดหน้าเปล่า...ที่มีแต่ความรู้ท่วมหัวแต่ตัวไม่เคยลงมือทำ� ด้วยความพร้อมทั้งด้านทฤษฏี และปฏิบัติ และใช้ทุกเวลา...เพื่อฝึกปรือให้เกิดความเชี่ยวชาญ สามารถปฏิบัติงานแบบรู้จริง...ทำ�จริง...
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: ประวัติคณะนิเทศศาสตร์
11
คณะนิเทศศาสตร์ เป็นคณะหนึ่งใน 19 คณะ วัตถุประสงค์ของการเปิดสอนในระยะแรก คือ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ริมถนน เพื่อผลิตนักสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ พญาไท เปิดท ำ�การสอนครั้งแรกตั้งแต่ปีการศึกษา 2508 ให้แ ก่ประเทศชาติ
เป็นต้นมา โดยใช้ชื่อว่า “แผนกอิสระสื่อสารมวลชนและ การประชาสัมพันธ์” และได้รับก ารจัดต ั้งเป็นค ณะอย่างเป็น ทางการในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2517 ตาม พระราชกฤษฎีกายกฐานะจากแผนกอิสระ สื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ เป็นคณะที่ 14 ของ จุฬาลงกรณ์ม หาวิทยาลัย มีศ าสตราจารย์บ ำ�รุงสุข สีหอ ำ�ไพ (ขณะนั้นยังเป็นรองศาสตราจารย์) ดำ�รงตำ�แหน่งคณบดี คนแรกของคณะนิเทศศาสตร์ และเป็นห ัวเรี่ยวหัวแรงสำ�คัญ ในการริเริ่มก่อตั้งคณะ
ในระยะแรกตั้งคณะนิเทศศาสตร์ มีอำ�นาจหน้าที่ เช่นเดียวกับค ณะหนึ่งในมหาวิทยาลัย ดำ�เนินก ารสอน 3 สาขา วิชา คือ สาขาวิชาการหนังสือพิมพ์ (Journalism) สาขา วิชาการสื่อสารมวลชน (Mass Communications) อันได้แก่ การกระจายเสียง (Broadcasting) โทรทัศน์ (Television) และการภาพยนตร์ (Cinematography) และ สาขาวิชาการ ประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
เพื่อเผยแพร่วิชาการต่างๆ ด้านการสื่อสารมวลชน และก ารป ระชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ แ ก่ ท างร าชการแ ละ ประชาชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้อาชีพในด้านสื่อสาร มวลชนแ ละก ารป ระชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ มั่ น คงแ ละ มีมาตรฐานดียิ่งข ึ้น เพื่อทำ�การวิจัยค้นคว้าทดลองทางวิชาการในด้าน สื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนนโยบายรัฐบาลในการที่จะใช้ความ รู้ในด้านสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ใน การพัฒนาประเทศ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: ประวัติคณะ
12
การเปิดรับนิสิตรุ่นแรกได้ใช้วิธีการสอบคัดเลือกจากผู้ที่สำ�เร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หรือเทียบเท่า พวกหนึง่ และสอบสมั ภาษณ์ผ ทู้ มี่ ปี ระสบการณ์ด า้ นสอื่ สารมวลชน และการประชาสัมพันธ์ ซึง่ ม คี วามรตู้ งั้ แต่ม ธั ยมศึกษาปที ี่ 3 หรือม ธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ขึน้ ไป และเคยปฏิบตั งิ านทางดา้ นสอื่ สารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ม าแล้วอ ย่างนอ้ ย 3 ปี อีกพ วกหนึง่ ในปีการศึกษา 2508 มีนิสิตรุ่นแรกจำ�นวน 78 คน เปิดสอนแบบภาคสมทบในวันปกติตอนเย็นเวลา 16.00 - 20.00 น. และในวันเสาร์เวลา 08.00 - 16.00 น. การบริหารงานอยูภ่ ายใต้ค ำ�แนะนำ�ของคณะกรรมการประจำ�แผนกสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วย ศาสตราจารย์เกษม อุทยานิน ประธานกรรมการ ศาสตราจารย์ พระวรวงคเ์ธอพระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร กรรมการ ศาสตราจารย์ ดร.สุขุม ศรีธัญรัตน์ กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สำ�เภา วรางกูร กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล กรรมการ อาจารย์ ดร.กระมล ทองธรรมชาติ กรรมการ อาจารย์ไพฑูรย์ พงศะบุตร กรรมการ อาจารย์สอาด ตัณศุภผล กรรมการ อาจารย์บำ�รุงสุข สีหอ ำ�ไพ กรรมการและเลขานุการ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ะนิเทศศาสตร์ การเรียนการสอนของแผนกสอื่ สารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ เริม่ ในวนั ท ี่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2508 เป็นวันแรกของการเปิดภาคการศึกษา และได้ถือว่าวันที่ 5 กรกฎาคมของทุกป ี เป็นวันสถาปนาคณะนิเทศศาสตร์ สีนำ�เงิน (Royal Blue) เป็นสปี ระจำ�แผนกอิสระฯ และมีสัญลักษณ์เป็นแตรสังข์ ครั้น พ.ศ.2517 แผนกอิสระสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นคณะนิเทศศาสตร์ จัดการเรียนการสอนระดับป ริญญาตรีขึ้น 1 หลักสูตร มี 4 สาขา ได้แก่ สาขาสื่อสารมวลชน (วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์แ ละ ภาพนิ่ง) สาขาการประชาสัมพันธ์ สาขาหนังสือพิมพ์ สาขาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง ต่อมาได้มีการปรับปรุงเป็นหลักสูตรใหม่ มีการเรียนการสอน 7 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาวารสารสนเทศ สาขาวิชาการ กระจายเสียง สาขาวิชาวาทวิทยา สาขาวิชาการโฆษณา สาขาวิชาการสื่อสารการแสดง และสาขาวิชาภาพยนตร์แ ละภาพนิ่ง มีระยะเวลาในการศึกษา 4 ปี ในปี พ.ศ.2521 คณะนิเทศศาสตร์ได้ข ยายงานการเรียนการสอน โดยเปิดส อนระดับป ริญญาโท สาขาวิชานิเทศศาสตร์ พัฒนาการเป็นส าขาแรก และมกี ารขยายสาขาวชิ าเพิม่ ข นึ้ ต ามล�ำ ดับ คือ สาขาวชิ าการสอื่ สารมวลชน สาขาวชิ าการหนังสือพิมพ์ สาขาวิชาการโฆษณา และสาขาวิชาวาทวิทยา มีระยะเวลาในการศึกษา 2 ปี ครั้นปี พ.ศ.2539 ได้มีการเปิดหลักสูตรปริญญาเอกสาขาวิชานิเทศศาสตร์ขึ้นเป็นคณะแรกของประเทศไทย ใช้เวลา ในการศึกษา 3 ปี โดยมีวัตถุประสงค์ด ังนี้ เพื่ อ ใ ห้ ก ารศึ ก ษาที่ เป็ น ค วามรู้ เฉพาะด้ า นแ ก่ นิ สิ ต ใ นส าขาวิ ช านิ เ ทศศาสตร์ ซึ่ ง ป ระกอบไ ปด้ ว ย การหนังสือพิมพ์ การสื่อสารมวลชน การประชาสัมพันธ์ วาทวิทยาและการแสดง ทั้งความรู้ทางด้านการ วิจัยทางนิเทศศาสตร์ข ั้นพื้นฐาน โดยเน้นห นักทั้งในด้านวิชาการและปฏิบัติการ เพื่อทำ�การสอนวิชานิเทศศาสตร์ให้แก่นิสิตค ณะอื่นๆ ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่ อ ป รั บ ปรุ ง ก ารศึ ก ษาด้ า นนิ เ ทศศาสตร์ ใ ห้ มี ค วามก้ า วหน้ า ทั น ส มั ย แ ละก ว้ า งข วางทั ด เที ย มกั บ มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เพื่อผลิตกำ�ลังค นเป็นสำ�คัญในอันท จี่ ะส่งเสริมก ารพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมในประเทศไทย เพื่อทำ�ให้ผู้สำ�เร็จการศึกษามีความรู้และความสามารถศึกษาเพื่อทำ�ปริญญาต่อในระดับสูงขึ้นได้ ทั้งใน และต่างประเทศ เพื่ อ เปิ ด บ ริ ก ารฝึ ก อ บรมแ ก่ นั ก วิ ช าการใ นส าขาต่ า งๆ และผู้ ป ระกอบอ าชี พ ท างด้ า นนิ เ ทศศาสตร์ ใ ห้ สามารถติดตามความก้าวหน้า และเทคนิคที่ทันส มัยของการติดต่อส ื่อสาร เพื่อส่งเสริมงานในด้านการค้นคว้าวิจัย โดยตั้งศูนย์วิจัยนิเทศศาสตร์ขึ้นในคณะฯ เพื่อทำ�การค้นคว้าและ วิจัยงานทางด้านนี้ และเผยแพร่ผลงานค้นคว้าวิจัยสู่สาธารณะ
5 กรกฎาคม 2508 : เปิดทำ�การสอนครั้งแรก ในชื่อว่า “แผนกอิสระสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์”
8 มีนาคม 2517 : ได้รับการจัดตั้งเป็นคณะอย่างเป็นทางการ เป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
13
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: ประวัติคณะ นับจ ากวนั เริม่ ก อ่ ต งั้ คณะนเิ ทศศาสตร์ได้พ ฒั นา (Photo Studio) และห้องปฏิบัติการด้านเสียงระบบดิจิทัล และด�ำ เนินงานจดั การศกึ ษาทางดา้ นนเิ ทศศาสตร์ให้ (Sound Studio) ตลอดจนห้องปฏิบัติการเพื่อผลิตสื่อ ก้าวหน้าอ ย่างรวดเร็ว และเป็นผนู้ �ำ ของสถาบันการศกึ ษา อนิเมชั่น นอกจากน้ี ยังม ีคณาจารย์ผ ู้ทรงคุณวุฒเิพียบพร้อม
14
อื่นที่มกี ารเรียนการ สอนในลักษณะเดียวกัน โดยมีการขยาย หลักสูตร และมกี ารปรับปรุงก ารเรียนการสอนดว้ ยการเปิดส อน ศาสตร์ของการสื่อสารที่เจริญเติบโตไปพร้อมๆ กับสื่อ และ เทคโนโลยีสมัยใหม่ คณะฯ จึงได้รับความสนใจจากเยาวชน ที่สำ�เร็จการศึกษาจากชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สมัครเข้า ศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตเป็นจำ�นวนมากติดต่อกันเป็น เวลาหลายปจี นกระทัง่ ป จั จุบนั นิสติ ท สี่ อบเข้าศ กึ ษาตอ่ ในคณะ นิเทศศาสตร์เป็นผมู้ ผี ลคะแนนจากการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทีส่ งู ทัง้ บ ณั ฑิตเก่าแ ละนสิ ติ ป จั จุบนั ป ระสบความส�ำ เร็จ สร้าง ชือ่ เสียงให้ก บั ค ณะฯ มาอย่างตอ่ เนือ่ ง นอกจากคณะนเิ ทศศาสตร์ จะมีบทบาทด้านการเรียนการสอนแล้ว คณะฯ ยังทำ�การ อบรม วิจยั และให้บ ริการวชิ าการดา้ นนเิ ทศศาสตร์แ ก่ส ถาบัน การศึกษา หน่วยงานราชการ เอกชน สมาคม และองค์กร ต่างๆ มากมาย อีกทั้งย ังได้เปิดอบรมหลักสูตรต่างๆ หลาย หลักสูตร อาทิ นิเทศศาสตร์เพื่อการพัฒนาธุรกิจ ศิลปกรรม การผลิตสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ศิลปการผลิตสื่อ เป็นต้น จากประวัติอันยาวนาน และมีการบริหารงานอย่างเป็น ระบบ ประกอบกบั ม อี ปุ กรณ์ก ารเรียนการสอน และเทคโนโลยี การเรียนการสอนที่ทันสมัย มีศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้าน สื่อดิจิทัล อุปกรณ์ที่ใช้มีทั้งระบบดิจิทัล ระบบภาพความ คมชดั ส งู (High Definition) ห้องปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีเสมือน จริง (Virtual Studio) ห้องปฏิบัติการภาพนิ่งระบบดิจิทัล
ด้วยประสบการณ์ ทำ�หน้าทีถ่ า่ ยทอดความรู้ ทัง้ ท างทฤษฎีแ ละ ปฏิบัติ ประสบการณ์ท ี่นิสิตได้รับล้วนแต่มีความสำ�คัญและ มากด้วยคุณค่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ม หาวิทยาลัย จึงเป็นสถาบันอุดมศึกษาทางด้านสื่อสารมวลชนและการ ประชาสัมพันธ์ชั้นนำ�ของประเทศ ซึ่งไม่เพียงทำ�หน้าที่ผลิต บัณฑิตเพือ่ อ อกรับใช้ส งั คมและประเทศชาติเท่านัน้ ยังท �ำ หน้าที่ เป็นผ นู้ � ำ ทางดา้ นวชิ าการทเี่ กีย่ วข้องกบั ส อื่ ท กุ ป ระเภทอกี ด ว้ ย ความเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีท างการสอื่ สารทเี่ กิดข นึ้ อย่างรวดเร็ว และการเปลีย่ นโฉมหน้าแ ละการปฏิวตั พิ ฤติกรรม ในการเปิดรับข่าวสารของมนุษย์ในสังคม สิ่งเหล่านี้มีผลให้ คณะนิเทศศาสตร์ตระหนักในปัญหาและความจำ�เป็นอย่าง เร่งด่วนที่จะแก้ไข พัฒนา ตลอดจนผลักดันให้คณะฯ ก้าวไป ข้างหน้า พร้อมกบั ห น่วยงานอืน่ ๆ ในจฬุ าลงกรณ์ม หาวิทยาลัย ในอนั ท จี่ ะน� ำ จฬุ าลงกรณ์ม หาวิทยาลัยส คู่ วามเป็นม หาวิทยาลัย ระดับโลก ที่ได้รับการยอมรับทั้งในด้านความเจริญก้าวหน้า ทางวิชาการและเทคโนโลยี ความสามารถและศักยภาพ ของคณาจารย์และบัณฑิต ตลอดจนความเป็นมหาวิทยาลัย นานาชาติ ทีเ่ปิดโอกาสให้มีทั้งหลักสูตรที่เปิดสอนเป็นภ าษา อื่นๆ โดยมีคณาจารย์และนิสิตจากประเทศต่างๆ ทั่วโลกที่ เข้าม าเป็นสมาชิก ปัจจุบันค ณะนิเทศศาสตร์ได้จ ัดหลักสูตร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังก ล่าวไว้ 3 ระดับ คือ
หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) เปิดส อน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรภาษาไทย ประกอบด้วย 7 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาวารสารสนเทศ สาขาวิชาการกระจายเสียง สาขาวิชาการ ประชาสัมพันธ์ สาขาวิชาการโฆษณา สาขาวิชาวาทวิทยา สาขาวิชาสื่อสารการแสดง สาขาวิชาการภาพยนตร์แ ละภาพนิ่ง
หลักสูตรภาษาอังกฤษ เปิดสอน 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (Communication Management) ซึ่งได้เริ่มเปิดสอนเมื่อปีการศึกษา 2547 2521 : เปิดสอนระดับปริญญาโทสาขาแรก คือสาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ
2539 : เปิดสอนระดับปริญญาเอกสาขาวิชา นิเทศศาสตร์ คณะแรกของไทย
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ะนิเทศศาสตร์
หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) มี 2 ประเภท คือ ประเภทหลักสูตรปกติ (หลักสูตรเก่า) ประกอบด้วย 8 สาขาวิชา คือ สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ สาขาวิชาการ สือ่ สารมวลชน สาขาวชิ าวารสารสนเทศ สาขาวชิ าการโฆษณา สาขาวชิ าวาทวทิ ยา สาขาการประชาสัมพันธ์ สาขาวชิ าสอื่ สาร การแสดง และสาขาวิชาการภาพยนตร์ ประเภทหลักสูตรพิเศษ ประกอบด้วย 5 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน สาขานิเทศศาสตรพัฒนาการ สาขา วิชาวารสารสนเทศ สาขาวิชาการโฆษณา และสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ สำ�หรับห ลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ในปีการศึกษา 2554 นั้น ทางคณะฯ ได้ปรับให้มีการเปิดหลักสูตร ซึ่งเป็น หลักสูตรที่เอื้อต่อการศึกษาค้นคว้าท ี่ครอบคลุมส ื่อยุคใหม่ ที่ได้หลอมรวมสื่อเป็นสื่อเดียว (Media Convergence) และมี อิทธิพลเป็นอย่างสูงต่อสังคมมนุษย์ ซึ่งหลักสูตรที่มีอยู่เดิมนั้นไม่อาจตอบสนองประเด็นปัญหาของสังคมปัจจุบันได้ ประกอบกบั ต อ้ งการมงุ่ เน้นก ารสร้างบคุ ลากรให้ม คี วามเข้าใจในองค์ป ระกอบหลักข องศาสตร์ท างดา้ นนเิ ทศศาสตร์อ ย่างลกึ ซ งึ้ และสามารถน� ำ ความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในการแก้ป ญั หาทางดา้ นการสอื่ สารได้อ ย่างสอดคล้องกบั ส ภาพสงั คม หลักสูตรจงึ เปลีย่ น สภาพเป็นการเรียนการสอนเน้นหนักใน 7 กลุ่มว ิชา คือ กลุ่มว ิชาวารสารและสารสนเทศ กลุ่มวิชาการจัดการการสื่อสาร แบบบูรณาการ กลุ่มวิชาการสื่อสารผ่านสื่อและวาทนิเทศ กลุ่มวิชาการสื่อสารเชิงสังคมและวัฒนธรรม กลุ่มวิชาการสื่อสาร เชิงสุนทรียะและบันเทิงค ดี กลุ่มวิชาการผลิตข ่าวและสารคดี และกลุ่มวิชาสื่อสารการแสดงและสื่อบันเทิง ซึ่งเมื่อหลักสูตร ใหม่เปิดแ ล้วนั้น หลักสูตรเก่าจะเริ่มทยอยปิดตัวลง
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) เน้นหนักสาขาวิชานิเทศศาสตร์ เป็นห ลักสูตรทมี่ ุ่งเน้นก ารพัฒนาองค์ค วามรู้ด้านทฤษฎีและการวิจัย เพื่อนำ�ไปใช้แก้ไข ปัญหาการสื่อสารในปริบทต่างๆ ของสังคม
สาขาวิชาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวารสารสนเทศ
มุ่งสอนวิชาการหนังสือพิมพ์ทั้งทางด้านหลักทฤษฎีและด้านปฏิบัติ โดยเน้นที่จะปลูกฝังให้นิสิตมีความรู้ความชำ�นาญ และตระหนักถึงหน้าที่ตลอดจนความรับผิดช อบ และจรรยาบรรณของนักหนังสือพิมพ์ ทางด้านหลักทฤษฎี นิสิตจะได้ศึกษา เรื่องการเขียนข่าว บทความและสารคดี การถ่ายภาพ การบรรณาธิการ กฎหมาย การพิมพ์ ประวัติหนังสือพิมพ์ ตลอดจน การออกแบบจัดหน้า การผลิต และการบริหารงานหนังสือพิมพ์ ทางด้านปฏิบัตินั้นนิสิตจะมีโอกาสฝึกการจัดทำ� และผลิต หนังสือพิมพ์แ ละนิตยสาร “นิสิตนักศึกษา” 2547 : เปิดสอนหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) หลักสูตรภาษาอังกฤษ สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (Communication Management) เป็นครั้งแรก
15
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: ประวัติคณะ สาขาวิชาการกระจายเสียง
16
มุ่งสอนเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎี และหลักการปฏิบัติด้านการสื่อสารมวลชน โดยเน้นถึงกระบวนการเรียน การสอนที่เสริมสร้างให้เกิดการเรียนรู้เนื้อหาวิชาการ ไปพร้อมกับการเกิดทักษะความชำ�นาญในการปฏิบัติการด้านวิชาชีพ รายวิชาส่วนใหญ่ มุ่งเน้นหนักสื่อมวลชนด้านการกระจายเสียง เช่น การกระจายเสียงเบื้องต้น ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน การวจิ ยั ส อื่ สารมวลชน การวเิ คราะห์ผ รู้ บั ส อื่ สารมวลชน การวางแผน และการประเมินผ ล การใช้ส อื่ สารมวลชน การผลิตรายการ วิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การเขียนบท การสื่อข่าว และการเขียนข่าว การแสดงฉากแสงและเสียง เป็นต้น นิสิต วิชาเอกสอื่ สารมวลชน มิใช่จ ะได้รบั ป ระสบการณ์แ ค่เพียงในหอ้ งปฏิบตั กิ ารวทิ ยุก ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทัศน์ในคณะฯ เท่านัน้ แต่นิสิตย ังได้สัมผัสก ับการปฏิบัตงิานอาชีพท ี่แท้จ ริงต ามสถานีว ิทยุแ ละโทรทัศน์ต ่างๆ จากการออกฝึกงานภาคสนามอีกด้วย
สาขาวิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง
มุ่งให้การฝึกอบรมที่เหมาะสมทางด้านภาพยนตร์และภาพนิ่ง พร้อมทั้งพื้นฐ านทางด้านทฤษฎี การวิจารณ์ และการฝึก ภาคปฏิบัติ โดยมุ่งหวังให้นิสิตเป็นผู้รู้รอบตลอดกระบวนการเกี่ยวกับการผลิตภ าพยนตร์และภาพนิ่ง
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
มุ่งสอนเกี่ยวกับหลักแ ละทฤษฎีในการประชาสัมพันธ์ ทั้งหน่วยงานของภาครัฐ และภาคเอกชน หลักการวางแผนการ ปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ หลักการจูงใจ หลักจริยธรรม ตลอดจนการหาข้อมูลเพื่อการประเมินผลการผลิตและการใช้สื่อ ต่างๆ ในงานประชาสัมพันธ์ รวมทั้งการฝึกปฏิบัตงิานอาชีพด ้วย
สาขาวิชาการโฆษณา
มุง่ ส อนวชิ าการโฆษณาในฐานะเป็นกระบวนการสอื่ สารและในฐานะเป็นป จั จัยป ระการหนึง่ ข องการสง่ เสริมก ารตลาด โดย เน้นศึกษากลยุทธ์ของการโฆษณา การเขียนบทโฆษณา การจัดการโฆษณา การวางแผนสื่อโฆษณา การผลิตช ิ้นงานโฆษณา การวางแผนรณรงค์ทางการโฆษณาและประเมินผล ตลอดจนการฝึกป ฏิบัติงานอาชีพ
สาขาวิชาวาทวิทยา
มุ่งสอนพฤติกรรมการสื่อสารของมนุษย์ในระดับต่างๆ เช่น การสื่อสารระหว่างบุคคลในกลุ่ม และต่อหน้าชุมชนทั้ง การพูด การเขียน การอ่าน และการฟัง เพื่อทจี่ ะสามารถสื่อสารได้อย่างมีสัมฤทธิผล วิชาที่เปิดสอน ได้แก่ การโน้มน้าวใจ การโต้แย้งแสดงเหตุผล การพูดในทสี่ าธารณะ การสื่อสารต่างวัฒนธรรม การสื่อสารในองค์การ ฯลฯ การสอนทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ซึ่งนิสิตส ามารถจะนำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างกว้างขวางในการประกอบอาชีพ
2554 : เปิดหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) ใหม่ แทนหลักสูตรเก่า เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาสื่อสารการแสดง
มุ่งสอนศิลปะการแสดงเพื่อการสื่อสารทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ให้นิสิตมีความสามารถในการเป็น พิธีกร นักประชานิเทศ และนักแ สดงที่ใช้ศาสตร์และศิลปะการแสดงเพื่อให้เกิดค วามสัมฤทธิผ์ ลในทางการสื่อสาร
สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (Communication Management) หลักสูตรภาษาอังกฤษ
มุ่งสอนหลักการจัดการการสื่อสารเพื่อเตรียมให้นิสิตมีทักษะในการจัดการการสื่อสารในสภาวะต่างๆ หลักสูตรมุ่งเน้น การเตรียมความพร้อมของเครื่องมือท างด้านวิชาการ และงานอาชีพ ทีจ่ ะช่วยพัฒนาคุณภาพของนิสิตให้เข้าใจถึงเนื้อหาของ การสื่อสารต่างๆ และสามารถปฏิบัติงานได้ทั้งในสภาพแวดล้อมภายในประเทศและต่างประเทศ
สาขาวิชาระดับปริญญาโท (หลักสูตรเก่า) ขณะนี้เปิดสอน 8 สาขาวิชา คือ สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ
มุง่ ส อนเกีย่ วกบั ท ฤษฎี และการวจิ ยั ท างดา้ นนเิ ทศศาสตร์แ ละนเิ ทโศบาย (Communication Strategy) เพือ่ ป ระยุกต์ใช้ใน การพฒั นาประเทศ ด้านเศรษฐกิจส งั คม การปกครอง การศกึ ษา การสาธารณสุข เป็นต้น ทัง้ ในระดับท อ้ งถนิ่ แ ละระดับป ระเทศ
สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน
มุ่งสอนให้นิสิตเกิดการเรียนรู้ในเชิงวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวข้องกับการสื่อสารมวลชน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำ�ไปใช้เป็น กรอบแห่งก ารอา้ งอิงในการศกึ ษาคน้ คว้าก ารวจิ ยั แ ละวเิ คราะห์ ปรากฏการณ์ดา้ นการสอื่ สารมวลชนทเี่ กิดข นึ้ ในสงั คมไทย ทัง้ นี้ เพื่อป ระโยชน์ในการหาแนวทางในการแก้ไขและปรับปรุงโครงสร้าง และระบบองค์การสื่อสารมวลชน ผลผลิตห รือเนื้อหาของ สื่อมวลชน ผู้รับสารมวลชน ตลอดจนปริบททางสังคม ที่มีส่วนเกี่ยวพันให้ได้คุณภาพและมาตรฐานทดี่ ีขึ้น
สาขาวิชาวารสารสนเทศ
มุ่งสอนแนวคิดและวิธีการวิจัยด้านหนังสือพิมพ์ รวมทั้งเน้นศึกษาหลักและแนวทางด้านการจัดการธุรกิจหนังสือพิมพ์ นอกจากนี้ ยังให้ความสำ�คัญด้านบทบาทหน้าที่ เสรีภาพและความรับผิดชอบของหนังสือพิมพ์เพื่อส ่งเสริมให้หนังสือพิมพ์ ซึ่งเป็นสื่อมวลชนที่มีศักยภาพได้มีบทบาททเี่อื้ออำ�นวยต่อการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ มากขึ้น
สาขาวิชาการโฆษณา
มุ่งผลิตบุคลากรให้เป็นนักวิชาการและนักวิจัยทมี่ ีความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบต่อส ังคมในระดับส ูงด้าน โฆษณาและการสอื่ สารการตลาด ให้แ ก่ห น่วยงานรฐั บาล สถาบันก ารศกึ ษา รัฐวิสาหกิจ และธรุ กิจเอกชน ตลอดจนพฒั นาองค์ ความรู้ ความคดิ รวบยอดทฤษฎี และงานวจิ ยั ต า่ งๆ ทางดา้ นการโฆษณา และการสอื่ สารการตลาดทสี่ ามารถน� ำ มาประยุกต์ใช้ เพือ่ วตั ถุประสงค์ท างดา้ นโฆษณา และการสอื่ สารการตลาดของไทย ทัง้ ในระดับช าติ และมมี าตรฐานทดั เทียมระดับน านาชาติ
17
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: ประวัติคณะ
18
สาขาวิชาวาทวิทยา
มุ่งเน้นการศึกษาแก่นของความรู้ทางด้านการสื่อสารที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง ที่เรียกว่ามนุษยนิเทศ (Human Communication) โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือวาทศาสตร์ (Rhetoric) ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาคุณค่าของชีวิตและ ประชาธิปไตย และยังมีการศึกษาที่เน้นหนักด ้านการสื่อสารเชิงสุนทรีย ะ (Aesthetic Communication) ให้ผู้ศึกษาทสี่ นใจ การสอื่ สารทมี่ พี ลังจิตวญิ ญาณสงั คม นอกจากนยี้ งั ม งุ่ เป็นผ นู้ � ำ ในการพฒั นาองค์ค วามรดู้ า้ นภมู ปิ ญั ญา นิเทศศาสตร์ต ะวันอ อก โดยส่งเสริมวาทกิจกรรม ตลอดจนการศึกษาวิจัย เพื่อให้ได้ความรู้จากทฤษฎีและปฏิบัติ
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
มุ่งสอนเกี่ยวกับแนวคิด การวิจัย และการประยุกต์ใช้ก ารประชาสัมพันธ์ในโลกแห่งความเป็นจริง ในเรื่องของบทบาท และหน้าทีข่ องการประชาสัมพันธ์ การวิจัยก ารประชาสัมพันธ์ การวางแผนการประชาสัมพันธ์ การบริหารงานประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารในภาวะวิกฤต เป้าห มายของหลักสูตร คือ การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณะชนและสิ่งท ี่เกี่ยวข้อง กับประชาชน
สาขาวิชาสื่อสารการแสดง
มุ่งสอนศิลปะการแสดงและสื่อจินตคดี ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อผลิตบ ัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในการ สร้างสรรค์สื่อสุนทรียะ ในฐานะผู้อำ�นวยการ ผู้เขียนบท ผูก้ ำ�กับ นักแสดงและผู้จัดการแสดง ตลอดจนเป็นนักวิจารณ์ โดย ใช้ศาสตร์และศิลปะการแสดง เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการสื่อสาร
สาขาวิชาการภาพยนตร์
มุ่งสอนกระบวนการผลิตภาพยนตร์ รวมทั้งการเขียนบทการกำ�กับและการถ่ายทำ�ภาพยนตร์ สำ�หรับวิทยานิพนธ์นั้น นิสิตสามารถเลือกโครงงานสร้างภาพยนตร์ หรือการวิจัยด้านภาพยนตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพของ ภาพยนตร์ไทยให้ได้ระดับมาตรฐานโลก
หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรใหม่) แยกตามแผนการศึกษา ดังนี้ เน้นวิชาการ/เปิดสอนภาคในเวลาราชการ
การเรียนการสอนเน้นทฤษฎี วิจัย และองค์ค วามรู้นิเทศศาสตร์ กำ�หนดแผนการศึกษาเฉพาะแผน ก และเปิดการเรียน การสอนในเวลาราชการ มีกลุ่มวิชา 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มวิชาวารสารและสารสนเทศ เน้นอ งค์ค วามรู้ขั้นส ูงด้านข่าว สารสนเทศ การบรรณาธิการ สารคดี และจรรยาบรรณ วิชาชีพในสื่อต ่างๆ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ะนิเทศศาสตร์ กลุม่ วชิ าการจดั การการสอื่ สารแบบบรู ณาการ เน้นอ งค์ค วามรขู้ นั้ ส งู ด า้ นการจดั การการสอื่ สารเชิง กลยุทธ์ เพือ่ เป้าห มาย ทั้งท างด้านธุรกิจและสังคม การบริหารองค์กรสื่อและองค์กรต่างๆ ทีเ่กี่ยวข้องกับการสื่อสารสาธารณะ กลุม่ วชิ าการสอื่ สารผา่ นสอื่ แ ละวาทนเิ ทศ เน้นอ งค์ค วามรขู้ นั้ ส งู ในการสร้างองค์ค วามรแู้ ละวทิ ยาการดา้ นการสอื่ สาร ได้แก่ สื่อบุคคล สื่อก ระแสหลัก สื่อใหม่ สื่อประเพณี และวาทนิเทศ ซึ่งครอบคลุมการสื่อสารระหว่างบุคคล และหลักวาทศาสตร์ กลุม่ วชิ าการสอื่ สารเชิงสงั คมและวฒั นธรรม เน้นองค์ความรขู้ นั้ ส งู ดา้ นวทิ ยาการและการสอื่ สารกบั สงั คมและวฒั นธรรม ในบริบทของประเทศไทยและนานาชาติ รวมทั้งก ารใช้ก ารสื่อสารเพื่อการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศ กลุม่ วชิ าการสอื่ สารเชิงส นุ ทรีย ะและบนั เทิงค ดี เน้นอ งค์ค วามรขู้ นั้ ส งู ด า้ นการสร้างสรรค์ก ารสอื่ สารทมี่ สี นุ ทรีย ะและความ บันเทิงในการแสดงร่วมสมัย สื่อกระแสหลัก สื่อใหม่ และสื่อประเพณี
เน้นวิชาชีพ/เปิดสอนภาคนอกเวลาราชการ
การเรียนการสอนเน้นองค์ความรนู้ เิ ทศศาสตร์เชิงวชิ าชีพขนั้ สงู โดยมพี นื้ ฐานดา้ นทฤษฎีและวจิ ยั กำ�หนดแผนการศกึ ษา ที่เน้นแผน ข แต่เปิดโอกาสให้เลือกแผน ก ได้ เปิดการเรียนการสอนนอกเวลาราชการ มี 3 กลุ่มวิชา ดังนี้ กลุม่ วชิ าการผลิตขา่ วและสารคดี เน้นความเป็นน กั วชิ าชีพขนั้ สงู ท มี่ คี วามสามารถดา้ นการบรรณาธิการ ข่าว สารสนเทศ สารคดี และจรรยาบรรณวิชาชีพในสื่อต่างๆ กลุ่มวิชาการจัดการการสื่อสารแบบบูรณาการ เน้นความเป็นนักวิชาชีพขั้นสูงด้านการจัดการสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อ เป้าห มายทงั้ ท างดา้ นธรุ กิจแ ละสงั คม การบริหารองค์กรสอื่ แ ละองค์กรตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกบั ก ารสอื่ สารและการสอื่ สารสาธารณะ กลุ่มวิชาสื่อสารการแสดงและสื่อบันเทิง เน้นความเป็นน ักวิชาชีพข ั้นสูงท ี่มีความสามารถสร้างสรรค์การแสดง รายการ ภาพยนตร์ งานศิลปะการสื่อสารในการแสดงร่วมสมัย สื่อกระแสหลัก สื่อใหม่ และสื่อประเพณี
หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)
สาขาวิชาการจัดการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (หลักสูตรนานาชาติ) มุ่งส อนให้ผู้เรียนแสวงหาองค์ค วามรใู้หม่ท างนิเทศศาสตร์ ที่ตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และพฤติกรรมของผบู้ ริโภคสื่อ เพื่อจ ะได้นำ�องค์ความรู้เหล่านั้นมาพัฒนา ในการศึกษาวิจัย และประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในสาขาการจัดการการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ใน ระดับนานาชาติ สามารถปฏิบัติงานทางการสื่อสารในสภาพแวดล้อมที่เป็นนานาชาติในยุคของการหลอมรวมสื่อได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยจะเปิดสอนในปีการศึกษา 2554
สาขาวิชาระดับปริญญาเอก สาขาวิชานิเทศศาสตร์
มุ่งให้ผ ู้เรียนเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถด้านการศึกษาวิจัยและทฤษฎีทางด้านนิเทศศาสตร์ในระดับส ูง และนำ�การ สื่อสารไปใช้ได้อย่างเหมาะสม เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ของสังคม อีกทั้งส่งเสริมพัฒนาองค์ความรู้ขั้นส ูงท างด้านนิเทศศาสตร์ อันจะนำ�มาซึ่งความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวกับนานาชาติ ตลอดจนสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมต่างๆ ของ สังคมไทยและเป็นแบบอันด ีสำ�หรับสังคมอื่นๆ
2554 : เปิดสอนหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาวิชาการจัดการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
19
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: โครงสร้าง
20
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งการบริหาร
21
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: คณะกรรม
22
รองศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ คณบดี
1
2
3
4
5
6
7
8
1. รองศาสตราจารย์ปัทมวดี จารุวร 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนม คลี่ฉายา 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิรงรอง รามสูต 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เมธา เสรีธนาวงศ์ 5. อาจารย์ ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม 6. รองศาสตราจารย์ รุ่งนภา พิตรปรีชา 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณาณัฏฐ์ธัญ วงศ์บ้านดู่ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ ขำ�วิจิตร์
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิรัชกิจ รองคณบดีฝ่ายวางแผนพัฒนาและวิจัย รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษา รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิต รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ หัวหน้าภาควิชาการประชาสัมพันธ์ หัวหน้าภาควิชาการสื่อสารมวลชน หัวหน้าภาควิชาวารสารสนเทศ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มการบริหาร
23 9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
9. อาจารย์ ดร.จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ 10. รองศาสตราจารย์ ปัทมวดี จารุวร 11. อาจารย์ พรรณพิมล นาคนาวา 12. รองศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ อนันตชาติ 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ม.ล. วิฎราธร จิรประวัติ 14. อาจารย์ เติมสิทธิ์ ศิริพานิช 15. อาจารย์ สุภาพร โพธิ์แก้ว 16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภวรรณ ตันติเวชกุล 17. นางสาววราภรณ์ กุลสวัสดิ์ภักดี 18. นางสาวนิภาพรรณ์ แก้วสุวรรณ์
หัวหน้าภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง หัวหน้าภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� ผู้แทนคณาจารย์ประจำ� เลขานุการคณะกรรมการบริหารคณะนิเทศศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: จำ�นวนนิสิต ปีการศึกษา 2553
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (จำ�แนกตามสาขาวิชา)
24
นิ เทศจุ ฬ าฯ สอนเราให้
เฉีย บคม
ที่นี่...เราสอนนิสิตของเราให้ลับตัวเองให้มีคมอยู่เสมอ ไม่ปล่อยให้กลายเป็นเพียงกรรไกรทื่อๆ ขาดความคม ด้วยการเรียนรู้ให้เท่าทันยุคสมัย และปรับใช้ให้เข้ากับสังคมไทย....ตลอดไป
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: ผลการดำ�เนินงานด้านการบริหาร
บุคลากร คณะนิเทศศาสตร์
26
คณะนิเทศศาสตร์มีบุคลากรทั้งสิ้น จำ�นวน 108 คน ประกอบไปด้วย อาจารย์ จำ�นวน 49 คน และ บุคลากร สายสนับสนุน จำ�นวน 59 คน โดยจำ�นวนอาจารย์ ในปีงบประมาณ 2553 จำ�แนกตามตำ�แหน่งทางวิชาการได้ ดังนี้ ศาสตราจารย์ จำ�นวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.08 รองศาสตราจารย์ จำ�นวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 24.49 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำ�นวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 อาจารย์ จำ�นวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 และอาจารย์ที่เกษียณอายุราชการในปีงบประมาณ 2553 มีจำ�นวน 3 คน จำ�นวนบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553
55%
ประเภทอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553
45%
อาจารย์ 49 คน บุคลากรสายสนับสนุน 59 คน
ข้าราชการ 16 คน พนักงาน (เงินรายได้) 5 คน พนักงาน (เงินอุดหนุน) (ข้าราชการเปลี่ยนสถานภาพ) 13 คน พนักงาน (เงินอุดหนุน) 15 คน
จำ�นวนตำ�แหน่งทางวิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 หน่วย : คน
รวม
ศ.ดร.
รศ.ดร.
รศ.
ผศ.ดร.
ผศ.
อ.ดร.
อ.
ตำ�แหน่งทางวิชาการ
และการจัดการการเงินและงบประมาณ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัตราบุคคลที่เกษียณอายุราชการ คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 - 2558 หน่วย : คน
27
ปีงบประมาณ อาจารย์ พนักงาน
ประเภทบุคลากรสายสนับสนุน คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 หน่วย : คน
ประเภทบุคลากร
บุคลากรสายสนับสนุน ประกอบด้วย ข้าราชการ ลูก จ้างประจำ� พนัก งาน (เงิน อุด หนุน ) (ข้าราชการเปลี่ย นสถานภาพ) พนักงาน (เงินอุดหนุน) พนัก งาน (เง ิน รายได้)
จำ�นวน 3 คน จำ�นวน 8 คน จำ�นวน 15 คน จำ�นวน 5 คน จำ�นวน 28 คน
คิดเป็นร้อยละ คิด เป ็น ร้อ ยละ คิด เป ็น ร้อ ยละ คิดเป็นร้อยละ คิด เป ็น ร้อ ยละ
5.08 13.56 25.42 8.47 47.46
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: การเงินและงบประมาณ
ด้านงบประมาณ คณะนิเทศศาสตร์
ปีงบประมาณ 2553 คณะนิเทศศาสตร์ ได้รับงบประมาณรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 113,698,645.- บาท แบ่งเป็นงบประมาณ แผ่นดิน จำ�นวน 13,907,500.- บาท คิดเป็นร้อยละ 12.23 และงบรายได้คณะฯ จำ�นวน 99,791,145.- บาท คิดเป็นร้อยละ 87.77 โดยคณะฯ ได้จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ดังนี้
28
งบแผ่นดิน
งบรายได้
งบบุคลากร งบดำ�เนินการ
จำ�นวน จำ�นวน
10,895,400.- บาท 3,012,100.- บาท
คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ
78.34 21.66
งบบุคลากร งบดำ�เนินการ งบลงทุน งบวิจัย งบสำ�รองทั่วไป
จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน
6,099,198.- บาท 67,547,917.- บาท 21,739,030.- บาท 2,405,000.- บาท 2,000,000.- บาท
คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ
6.11 67.69 21.78 2.41 2.01
ประเภทบุคลากรสายสนับสนุน คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553
รายได้ 99,791,145.- บาท แผ่นดิน 13,907,500.- บาท
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: อาคารและสถานที่
ข้อมูลพื้นที่ คณะนิเทศศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ม หาวิทยาลัย มีอ าคารจำ�นวนทั้งส ิ้น 2 อาคาร คือ อาคาร 1 เป็นต ึก 5 ชั้น ประกอบด้วย ภาควิชาจำ�นวน 5 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาวารสารสนเทศ ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ ภาควิชาการสื่อสารมวลชน ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง และศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสื่อดิจิทัล มีพื้นที่ การเรียนการสอน พื้นทีห่ ้องพักอาจารย์และบริการส่วนกลางรวมทั้งส ิ้น 3,379.67 ตารางเมตร และอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ ซึง่ เป็นอ าคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 12 ชัน้ และชนั้ ล อย 1 ชัน้ โดยเชือ่ มตอ่ ก บั อ าคารเดิม 6 ชัน้ ประกอบไปดว้ ยพนื้ ทีก่ ารเรียน การสอนและพื้นที่บริการส่วนกลาง สำ�นักงานต่างๆ ศูนย์ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ศูนย์บริการวิทยทรัพยากร หอประชุม ฯลฯ รวมพื้นที่ทั้งส ิ้น 11,050.48 ตารางเมตร
ข้อมูลด้านพื้นที่
คณะนิเทศศาสตร์ มีพื้นทีแ่ ละอาคารสำ�หรับการเรียนการสอนและบริการส่วนกลาง ดังนี้
อาคาร อาคาร 1 ชั้น 1 - ภาควิชาวารสารสนเทศ - ห้องรับรองอาจารย์พิเศษ ชั้น 2 - ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง ชั้น 3 - ภาควิชาการสื่อสารมวลชน - ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ ชั้น 4 - ภาควิชาวาทวิทยาและสือ่ สารการแสดง - สาขาวิชาการโฆษณา - ห้องประชุม ชั้น 5 - ระหว่างปรับปรุง
พื้นที่การเรียนการสอน
118.20
ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสื่อดิจิทัล
468.31
อาคารมงกุฎสมมติวงศ์ รวมพื้นที่ทั้งสิ้น
1,050.48 1,636.99
พื้นที่ห้องพักอาจารย์ และบริการส่วนกลาง
พื้นที่รวม (ตารางเมตร)
343.44
343.44
328.60
446.80
445.08
445.08
790.26
790.26
885.78
885.78 468.31
10,000.00 12,793.16
11050.48 14430.15
*หมายเหตุ พื้นที่บริการส่วนกลาง ได้แก่ ห้องทำ�งานเจ้าหน้าที่ ห้องประชุม ห้องนำ� ทางเดิน
29
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสื่อดิจิทัล
30
ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นโครงการทีเ่ กิดขึน้ ภายใต้แผนพัฒนาวิชาการจุฬาฯ 100 ปี เนือ่ งใน โอกาสที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกำ�ลังก้าวเข้าสู่ปีที่ 100 แห่งการสถาปนาฯ ในปี พ.ศ. 2559 โดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการก่อสร้างศูนย์ฯ ดังนี้ 1. รองรับการศึกษาวิจยั และผลิตรายการโทรทัศน์เพือ่ การศึกษาของคณาจารย์ และนิสิต เช่น รายการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สุขภาพ สาธารณสุข วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียนการสอน 2. เพือ่ เป็นห้องปฏิบตั กิ ารสำ�หรับการศึกษาวิจยั ในการสร้างองค์ความรูพ้ นื้ ฐาน และองค์ความรูเ้ ฉพาะทางด้านนิเทศศาสตร์และนำ�ผลการศึกษาไปผลิตบทความวิจยั และบทความทางวิชาการ เพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสือ่ ดิจทิ ลั ก่อสร้างด้วยงบประมาณทัง้ สิน้ 120,000,000 บาท เริ่มต้นโครงการในปี 2552 แล้วเสร็จพร้อมรองรับการเรียนการสอนในภาค การศึกษาต้น ปีการศึกษา 2554 ภายในศูนย์ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ 1. ห้องวิทยุและโทรทัศน์ ประกอบด้วย ห้องควบคุมการออกอากาศ (MASTER CONTROL ROOM) ห้องปฏิบตั กิ ารวิทยุโทรทัศน์ระบบความคมชัดภาพสูง (HD STUDIO) ห้องปฏิบัติการวิทยุ โทรทัศน์ระบบความคมชัดภาพสูงแบบเสมือนจริง (HD VIRTUAL STUDIO) และห้องปฏิบตั กิ ารวิทยุโทรทัศน์ระบบความชัดภาพมาตรฐาน (SD STUDIO)
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(CEDM: Center of Excellence in Digital Media)
31
2. ห้องวิทยุกระจายเสียง ประกอบด้วย ห้องปฏิบตั กิ ารวิทยุกระจายเสียง ขนาดเล็ก ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียงขนาดกลาง และห้องปฏิบัติการวิทยุ กระจายเสียงขนาดใหญ่ระบบ 5.1 ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านสือ่ ดิจทิ ลั จะก่อให้เกิดการบูรณาการเนือ้ หาวิชา ต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทางคณะฯ คาดว่าจะสามารถรองรับ การเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ไม่น้อยกว่า 130 รายวิชา และ มีนิสิตที่เข้าใช้ห้องปฏิบัติการจำ�นวนไม่น้อยกว่าปีละ 1,500 คน และมีผลงานที่ เกิดจากกระบวนการเรียนการสอน เช่น รายการวิทยุกระจายเสียง รายการวิทยุ โทรทัศน์ หรือสื่ออื่นๆ รวมถึงงานวิจัยเพื่อรวบรวมเป็นองค์ความรู้พื้นฐานและ องค์ความรู้เฉพาะทางด้านนิเทศศาสตร์ไม่ตำ�กว่าปีละ 200 ชิ้น
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: อาคารมงกุฎสมมติวงศ์
32
อาคารมงกุฎส มมติวงศ์ เป็นอ าคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 12 ชัน้ และชั้นล อย 1 ชั้น มีพ ื้นที่ใช้สอยประมาณ 10,000 ตารางเมตร พื้น อาคารเป็นโครงสร้างระบบ POSTED TENSION ดำ�เนินการกอ่ สร้างเป็น 2 ระยะ โดยในระยะที่ 1 เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2549 สิ้นสุดปี พ.ศ. 2551 งบประมาณทั้งสิ้น 102,990,000 บาท มีถ ังเก็บนำ� ถังบ ำ�บัด นำ�เสีย ภายในอาคารมีระบบงานระบบไฟฟ้า งานระบบโทรศัพท์ งาน ระบบเตือนอัคคีภัย งานระบบสุขาภิบาลและดับเพลิง งานระบบปรับ อากาศและระบายอากาศ และงานระบบลิฟต์โดยสาร ต่อม า ค ณะฯ ได้ด �ำ เนินก ารระยะที่ 2 เป็นการตกแต่งภ ายใน ติดต งั้ ระบบปรับอากาศ (เพิ่มเติม) ระบบ LAN และระบบ CCTV โดย เริ่มดำ�เนินการเมื่อ พฤศจิกายน 2552 สิ้นสุด ธันวาคม 2553 งบประมาณทั้งสิ้น 87,000,000 บาท การดำ�เนินการก่อสร้างอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพือ่ เป็นอ นุสรณ์ 200 ปี บรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) 2. เพื่อเฉลิมฉลอง 40 ปี คณะนิเทศศาสตร์ 3. เพื่อให้ส ามารถรองรับพันธกิจของคณะฯ 4. เพื่อพ ัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการ 5. เพื่อให้บ ริการวิชาการแก่สังคม สำ�หรับชื่ออาคารนั้น คณะฯ ได้ทำ�หนังสือกราบบังคมทูล ขอพ ระราชทานชื่ อ อ าคารจ ากพ ระบาทส มเด็ จ พ ระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลอ ดุ ล ยเดชว่ า “อาคารม งกุ ฎ ส มมติ เทวว งศ์ ” ซึ่ ง เป็ น พระนามของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) โดยให้เหตุผลว่าการก่อสร้างอาคารดังกล่าวมีรูปแบบ แผนผัง สอดคล้องกับอาคารพินิตประชานารถ ซึ่งเป็นพระนามของ พระบาทส มเด็ จ พ ระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อ ยู่ หั ว (รั ช กาลที่ 5) เมือ่ ครัง้ ได้สถาปนาเป็นกรมขนุ พ นิ ติ ประชานารถ และอาคารเทพทวาราวดี ซึง่ เป็นพระนามของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) เมื่อครั้งได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าขุนเทพทวาราวดี ต่อมาเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2553 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่ออาคารว่า “อาคารมงกุฎสมมติวงศ์” ซึ่งเป็นพระนามที่จารึกในพระสุพรรณบัฎ ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัวว ่า “เจ้าฟ้ามงกุฎสมมติวงศ์ พงศ์อิศวรกษัตริย์ ขัตติยราชกุมาร”
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พื้นที่ภายในอาคารประกอบด้วยหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ ชั้นที่ 1 : ติดต่อส อบถาม (Information) พื้นที่ใช้สอย 60 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 745 ตารางเมตร ชั้นที่ M : ห้องระบบรักษาความปลอดภัย (Security and Control Room) พื้นทีใ่ช้สอย 185 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 305 ตารางเมตร ชั้นที่ 2 : สำ�นักงานฝ่ายกิจการนิสิต (Student Affairs Services) / คณะกรรมการนิสิต (Student Committee) / ชมรมนิสิต (Student Club) ห้องเรียนขนาด 30 ที่นั่ง จำ�นวน 2 ห้อง พื้นที่ใช้สอย 450 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 810 ตารางเมตร ชั้นที่ 3 : ศูนย์ปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ (Computer Center) มีจำ�นวน 4 ห้อง จำ�นวน 26 ทีน่ ั่ง 3 ห้อง และ 51 ที่นั่ง 1 ห้อง พื้นที่ใช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 720 ตารางเมตร ชั้นที่ 4 : หอประวัติและอนุสรณ์น ิเทศศาสตร์ (Communication Arts Hall of Fame) พื้นที่ใช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 810 ตารางเมตร ชั้นที่ 5 : ศูนย์บริการวิทยทรัพยากร (Academic Resource Services) (ห้องสมุด/โสตทัศนูปกรณ์) พื้นที่ใช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 810 ตารางเมตร ชั้นที่ 6 : สำ�นักงานหลักสูตรนานาชาติ (International Programs) / ห้องพักอาจารย์ จำ�นวน 6 ห้อง / หัองประชุมขนาด 10 ทีน่ ั่ง จำ�นวน 2 ห้อง ห้องเรียนจำ�นวน 45 ที่นั่ง จำ�นวน 1 ห้อง พี้นที่ใช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 810 ตารางเมตร ชั้นที่ 7 : สำ�นักงานบัณฑิตศ ึกษา (Graduate Programs) / ห้องพักอาจารย์ จำ�นวน 2 ห้อง ห้องประชุมขนาด 15 ที่นั่ง จำ�นวน 1 ห้อง / สำ�นักงานฝ่ายวิชาการและทะเบียน (Academic Affairs and Registrar) / ศูนย์ให้คำ�ปรึกษาด้านการสื่อสาร (Communication Consultation Center) / ศูนย์ศึกษานโยบายสื่อ (Media Policy Center) / ฝ่ายวิจัย (Research) พื้นทีใ่ช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นที่รวม 810 ตารางเมตร ชั้นที่ 8 : สำ�นักงานคณบดี (Office of Dean) พื้นที่ใช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นที่รวม 810 ตารางเมตร ชั้นที่ 9 : ห้องคณบดี (Dean) / ห้องรองคณบดี (Deputy Dean) จำ�นวน 8 ห้อง ห้องประชุมคณะ (Conference Room) จำ�นวน 40 ที่นั่ง พื้นที่ใช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 810 ตารางเมตร ชั้นที่ 10 : ศูนย์ประชุม ศ.บำ�รุงสุข สีหอำ�ไพ (Professor Bumrongsuk Siha-Umphai Conference Center) มีทั้งหมด 4 ห้อง ประกอบด้วย - ห้องประชุมข นาด 64 ที่นั่ง จำ�นวน 1 ห้อง - ห้องประชุมข นาด 32 ที่นั่ง จำ�นวน 1 ห้อง - ห้องประชุมข นาด 12 ที่นั่ง จำ�นวน 2 ห้อง พื้นที่ใช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นทีร่วม 810 ตารางเมตร ชั้นที่ 11 : หอประชุมนิเทศศาสตร์ (Communication Arts Convention Hall) จำ�นวน 168 ที่นั่ง มีพ ื้นที่ใช้สอย 480 ตารางเมตร พื้นที่รวม 810 ตารางเมตร
33
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: การให้บริการคอมพิวเตอร์และห้องสมุด
34
ศูนย์คอมพิวเตอร์ คณะนิเทศศาสตร์
การให้บริการศูนย์คอมพิวเตอร์คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 รายการ (ตัวชี้วัดความสำ�เร็จของการดำ�เนินงาน จำ�นวนนิสิตท ี่ใช้บริการศูนย์คอมพิวเตอร์ สถิติการจองคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
จำ�นวน (เครื่อง) 364 179
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ รายการ เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการ
จำ�นวน (เครื่อง) 2 125
ศูนย์โสตทัศนูปกรณ์ คณะนิเทศศาสตร์
ศูนย์โสตทัศนูปกรณ์ ให้บ ริการสื่อก ารเรียนการสอนและบริการด้านห้องสมุดเสียง เพื่อใช้ป ระกอบการเรียนการสอนของ คณะนิเทศศาสตร์ การให้บริการต่างๆ จำ�นวนผู้ใช้บริการศูนย์โสตทัศนูปกรณ์ 425 คน ให้บ ริการอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆ ของคณะฯ 982 ครั้ง
ห้องสมุด คณะนิเทศศาสตร์
ประวัติ ปี พ.ศ.2508 ได้มีการก่อตั้งแผนกอิสระสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ และได้จ ัดตั้งห้องสมุดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่ รวบรวมเอกสารการวิจัย ตำ�รา ด้านนิเทศศาสตร์ เพื่อประกอบการเรียนการสอน อยูท่ ี่อาคาร 1 ชั้น 2 และต่อม า ปี พ.ศ. 2519 ย้ายห้องสมุดจากอาคาร 1 ไปอยู่ที่ อาคาร 2 ชั้น 2 ต่อม าคณะฯ ก่อสร้างอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ ห้องสมุดคณะฯ จึงย้ายมาที่อาคารมงกุฎส มมติวงศ์ ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2553 ห้องสมุดคณะนิเทศศาสตร์ ตั้งอ ยู่ที่อาคารมงกุฎสมมติว งศ์ ชั้น 5 เปิดบริการดังนี้ วันจันทร์ - วันศ ุกร์ เปิดเวลา 08.00 - 19.00 น. วันเสาร์ - วันอ าทิตย์ เปิดเวลา 10.00 - 18.00 น. ปิดว ันนักขัตฤกษ์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
35
การให้บริการห้องสมุด
ทรัพยากรห้องสมุด ห้องสมุดให้บริการหนังสือ ตำ�รา วารสาร วิทยานิพนธ์ และสิ่งพิมพ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนก ารเรียนการสอนและการวิจัย ของคณะนิเทศศาสตร์ ดังรายการต่อไปนี้ หนังสือภ าษาไทย 13,410 เล่ม หนังสือภาษอังกฤษ 12,604 เล่ม วารสารภาษาไทย 18 รายการ วารสารภาษาอังกฤษ 44 รายการ วารสารเย็บเล่มภาษาไทย 792 เล่ม วารสารเย็บเล่มอังกฤษ 1,729 เล่ม หนังสือพิมพ์ภาษาไทย 11 ฉบับ หนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ 2 ฉบับ วิทยานิพนธ์ 2,862 เล่ม แผ่น CD วิทยานิพนธ์ (PDF File) 560 ชื่อเรื่อง การให้บริการต่างๆ ในปีงบประมาณ 2553 ให้บ ริการผู้ใช้ห้องสมุด ผู้ใช้ภ ายในมหาวิทยาลัย บุคคลภายนอก ให้บ ริการยืมหนังสือ, วิทยานิพนธ์ จำ�นวนที่นั่ง คอมพิวเตอร์เพื่อค้นข้อมูล
8,183 2,143 6,365 125 9
คน คน เล่ม ทีน่ ั่ง เครื่อง
ฐานข้อมูล Chulalinet TJI วิทยานิพนธ์ (PDF File) จำ�นวนผใู้ช้บริการห้องสมุดโดยรวมประจำ�ปี 2548 - 2553 ปี พ.ศ. 2549 จำ�นวนผู้ใช้บริการห้องสมุด 19058
2550 16579
2551 15194
2552 12860
2553 10326
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: สถิติการใช้ห้องสมุด คณะนิเทศศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 (ตุลาคม 2552 - กันยายน 2553)
36
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
37
นิ เทศจุ ฬ าฯ สอนเราให้
เที่ย งตรง
ที่นี่...เราสอนนิสิตของเราให้ยึดมั่นในคุณธรรมของวิชาชีพ ด้วยการแยกแยะให้ยอมรับข ้อเท็จจริงข องการทำ�ธุรกิจสื่อ แม้จะแสวงหากำ�ไรก็ตาม... แต่ต้องไม่ล ืมถึงบุคลิกความเที่ยงตรงและเที่ยงธรรม ในการนำ�เสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดเห็นสู่ประชาชน
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต
ปีงบประมาณ 2553 คณะนิเทศศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดโครงการ/กิจกรรมนิสิต โดยมุ่งเน้น การพัฒนานิสิต ได้แก่
กิจกรรม/โครงการของนิสิตภาควิชาการสื่อสารมวลชน
38
โครงการฝึกปฏิบัติงานอาชีพด้านวิทยุโทรทัศน์ กำ�หนดวันจัดโครงการ ระหว่างวันท ี่ 28 กันยายน - 23 ตุลาคม พ.ศ.2552 สถานที่ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (TPBS) จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ นิสิตปริญญาตรีช ั้นปีที่ 4 จำ�นวน 11 คน ผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณาณัฎฐ์ธัญ วงศ์บ้านดู่ ผลการด�ำ เนินงาน ประสบความสำ�เร็จเป็นอย่างดี ได้รับความช่วยเหลือจากสถานีฯ ในการให้คำ�แนะนำ� ดูแล และให้โอกาสในการฝึกป ฏิบัตงิาน เป็นท ี่ยอมรับข องเจ้าห น้าท ี่สถานีฯ โดยพิจารณา ได้จากใบประเมินผลการปฏิบัตฝิ ึกงานของนิสิตแ ต่ละคน
โครงการ JUNIOR PROJECT (สถานีวิทยุกระจายเสียงภาคทดลองเพื่อเด็ก GO GROW)
กำ�หนดวันจัดโครงการ สถานที่ จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลการดำ�เนินงาน
ประชุมปฏิบัตกิ ารวันที่ 9 - 11 มกราคม พ.ศ.2553 และออกอากาศวันที่ 2 - 3, 9 -10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 พนาศรมรีสอร์ท จังหวัดนนทบุรี และห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียง นิสิตป ริญญาตรีชั้นปที ี่ 3 จำ�นวน 13 คน อาจารย์มรรยาท อัครจันทโชติ เป็นไปด้วยดี นิสิตมีความตั้งใจในการหาข้อมูล ผลิตรายการและการทำ�งานออกอากาศ อย่างทุ่มเท มีรายการดีๆ สำ�หรับเด็ก หลายรายการ อาจารย์ได้เก็บเทปไว้เพื่อน ำ�ไปใช้ เป็นประโยชน์ในอนาคตได้
โครงการฝึกปฏิบัติงานอาชีพด้านวิทยุกระจายเสียง กำ�หนดวันจัดโครงการ สถานที่ จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลการดำ�เนินงาน
ระหว่างวันท ี่ 22 มีนาคม - 23 เมษายน พ.ศ.2553 สถานีวิทยุก ระจายเสียงแห่งประเทศไทย จ. หนองคาย, จ.มุกดาหาร, จ. เชียงใหม่ และ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ นิสิตป ริญญาตรีชั้นปีที่ 3 จำ�นวน 13 คน และเจ้าหน้าที่ของสถานีฯ อาจารย์มรรยาท อัครจันท โชติ, ผศ.ดร.กิตติ กันภัย และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรินทร์ อารมณ์สว่าง นิสิตได้ฝึกฝนปฏิบัติงาน ทั้งทางด้านฝ่ายข่าว ฝ่ายรายการ ฝ่ายเทคนิคอย่างเต็มที่ แต่ละสถานีได้เปิดโอกาสให้นิสิตท ำ�งาน ยอมรับในความสามารถของนิสิต อย่างไรก็ตาม ในปี 2553 ด้วยสถานการณ์การเมืองที่มีความขัดแย้งกัน ทำ�ให้การทำ�งานของนิสิตใน บางสถานีฯ ต้องระมัดระวังเรื่องความปลอดภัยเพิ่มข ึ้นด้วย ทั้งนี้ มีเจ้าห น้าทีค่ อยดูแล นิสิตเป็นอย่างดี
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะนิเทศศาสตร์ โครงการ SENIOR PROJECT กำ�หนดวันจัดโครงการ สถานที่ จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลการดำ�เนินงาน
จัดแสดงผลงานรายการโทรทัศน์ของนิสิต ในวันเสาร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2553 ห้องประชุม ดร.เทียม โชควัฒนา ชั้น 4 ตึก 1 คณะนิเทศศาสตร์ นิสิตป ริญญาตรีชั้นป ีที่ 4 จำ�นวน 11 คน และผู้เข้าชมรายการภายนอก ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธา เสรีธนาวงศ์ มีการจัดแสดงผลงานรายการโทรทัศน์ของนิสิตภาควิชาการสื่อสารมวลชน จำ�นวน 6 รายการ โดยมีวิทยากรที่เป็นว ิชาชีพผ ลิตรายการโทรทัศน์ม าให้ค ำ�แนะนำ�ติชมรายการ ได้แก่ คุณธวัช แสงศรี Co-Producer จากรายการเกมว ั ด ด วง, คุ ณ ค ร ิ ส โตเฟอร์ ชอน วอชิ ง ตั น กรรมการผ ู ้ จ ั ด การบริษัท กอริลล่า โปรดักชั่น จำ�กัด และคุณธานินท์ ตุ่มไทยสาคร Producer จากรายการคิดข้ามเมฆ และมีผู้เข้าชมรายการเป็นจ ำ�นวนมาก ภายหลังจัดงาน นิสติ บางคนได้ม โี อกาสไปสมั ภาษณ์งานกบั บริษทั ทที่ างวทิ ยากรท�ำ งานอยู่
โครงการฝึกภาคสนามผลิตรายการสารคดีเชิงวิเคราะห์
กำ�หนดวันจัดโครงการ สถานที่ จำ�นวนผเู้ข้าร่วมโครงการ ผู้รับผิดชอบ ผลการดำ�เนินงาน
เดือนมกราคม - มีนาคม พ.ศ.2553 นอกสถานที่ ในกรุงเทพมหานคร นิ สิ ต ป ริ ญ ญาต รี ที่ ล งท ะเบี ย นร ายวิ ช า 2802423 การผ ลิ ต ร ายการส ารคดี โทรทัศน์ จำ�นวน 6 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธา เสรีธนาวงศ์ นิสิตตระเวนถ่ายทำ�รายการสารคดีทั่วกรุงเทพมหานคร สามารถผลิตรายการสารคดี โทรทัศน์ นำ�เสนอเรื่องราวเกี่ยวกับชุมชนแออัด และขอทานในกรุงเทพมหานคร แต่มิได้ นำ�เผยแพร่ออกอากาศ ณ ที่ใด
โครงการประชุมปฏิบัติการด้านวิทยุโทรทัศน์ (d’CATCH 2010)
กำ�หนดวันจัดโครงการ สถานที่ จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้รับผิดชอบ
ระหว่างวันท ี่ 23 มกราคม - 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 Kanda University of International Studies ประเทศญี่ปุ่น นิสิตปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 จำ�นวน 11 คน และอาจารย์ นักศึกษาจาก 4 สถาบัน (Kanda University of International Studies ประเทศญี่ปุ่น, University of Santo Tomas ประเทศฟิลิปปินส์, Communication University of China Nanjing ประเทศ สาธารณรัฐป ระชาชนจีน ศูนย์ข่าวเยาวชนไทย) จำ�นวน 80 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณาณัฎฐ์ธัญ วงศ์บ้านดู่
39
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
40
ผลการดำ�เนินงาน
:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต
ประสบความสำ�เร็จอย่างสูง ได้รับคำ�ชมเชยจากผู้เข้าร่วมประชุมในด้านความ สมบูรณ์ของเนื้อหารายการสารคดีที่นำ�ไปเสนอ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของโครงการฯ ขณะเดียวกันผู้ร่วมประชุมได้เก็บเกี่ยวประสบการณ์อันมีค่า และ ตระหนักถึงกระบวนการสร้างสรรค์เพื่อการสื่อสารในระดับนานาชาติ รวมถึง การสร้างความสัมพันธ์อันดีที่นำ�ไปสู่ความร่วมมือทางด้านวิชาการกับสถาบัน เหล่านตี้ ่อไปในอนาคต
กิจกรรม/โครงการของนิสิต ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง โครงการบูรณาการ กิจการภาษา และสื่อการแสดง (แบ่งจัดเป็น 2 ครั้ง)
ครั้งที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารโดยวิทยากร ในระหว่างวันที่ 25 มกราคม ถึงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 จัดการบรรยายพิเศษและการแสดงในวันท ี่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เวลา 13.00-18.00 น. ละครจากวรรณวิจิตร กฤษณา อโศกสิน และวันที่ 11-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เวลา 13.00-16.00 น. บรรยายพร้อมสาธิตการแสดง Readers Theatre วรรณกรรมเยาวชนส่งเสริมจริยธรรม จัดการประชุมและประเมินผล ระหว่างวนั ท ี่ 15-21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ในการจดั ก จิ กรรมระยะเวลากอ่ นการแสดง มีการฝึกซ้อมการแสดง ได้เชิญวิทยากรฝึกอบรมให้น ิสิตเพื่อเสริมสร้างความรู้ความ เข้าใจ และประเมินผ ลกิจกรรมภายหลัง เสร็จส ิ้นการนำ�เสนอสู่สาธารณะ ณ ห้องประชุม ดร.เทียมโชควัฒนา (ห้องใหญ่) โดยมีผู้เข้าร่วมงานประมาณ 150 คน ครั้งที่ 2 จัดก จิ กรรมภายใต้แ นวคิดเรือ่ ง “หนึง่ เรือ่ งในหลากหลายสอื่ ” เพือ่ เสริมส ร้างความรคู้ วามเข้าใจในเรือ่ งภาษา ไวยากรณ์ และสื่อการแสดง โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารและฝึกซ ้อมในระหว่างวันที่ 9-22 สิงหาคม พ.ศ.2553 และจัดกิจกรรมในวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2553 ณ ห้องประชุม ดร.เทียมโชควัฒนา โดยมีผเู้ข้าร่วมประมาณ 130 คน ผลการดำ�เนินงาน โครงการบูรณาการกิจกรรมภาษา และสื่อสารการแสดง เป็นโครงการที่ประสบผลสำ�เร็จ ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยที่น ิสิตปัจจุบัน นิสิตเก่า และอาจารย์ได้ร่วมมือสร้างสรรค์ งานเผยแพร่สู่สาธารณะ และยังเป็นการเชื่อมโยงนิสิตกับการอ่าน เสริมสร้างศักยภาพ นิสิต ทั้งทางวิชาการและศิลปวัฒนธรรม
คณะนิเทศศาสตร์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการกิจกรรมเสริมห ลักสูตรวาทวิทยาและสื่อการแสดง
ภาควชิ าวาทวทิ ยาและสอื่ สารการแสดง ได้จ ดั ก จิ กรรมเกีย่ วกบั วฒั นธรรมและการอา่ นกบั ศ ลิ ปะการแสดง : Readers Theatre เพือ่ เสริมส ร้างความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั ห นังสือแ ละการอา่ น อันเป็นวาระแห่งช าติต ามประกาศของรฐั บาล โดย จัดอ บรมเชิงป ฏิบตั ิก ารในวนั ท ี่ 7 - 9 สิงหาคม พ.ศ.2553 และไปร่วมงานกบั แ ผนงานสร้างเสริมวฒั นธรรมการอา่ น สสส. ในวนั ท ี่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2553 ณ สำ�นักงานกลางนกั เรียนคริสเตียนแห่งป ระเทศไทย (สะพานหวั ช า้ ง) โดยมผี เู้ ข้ารว่ มประมาณ 30 คน ผลการด�ำ เนินงาน นิสติ ให้ค วามสนใจและเข้ารว่ มจดั ก จิ กรรมเกีย่ วกบั วฒั นธรรมและการอา่ นกับศ ลิ ปะการแสดง : Readers Theatre และได้รบั ค วามสนใจจากบคุ คลภายนอก พร้อมมกี ารเสวนาทำ�ให้ก าร แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นกว้างขวางมากขึ้น
โครงการปริญญานิพนธ์วิชาเอกวาทวิทยา
นิสติ ช นั้ ป ที ี่ 4 เอกวาทวทิ ยา จำ�นวน 6 คน ได้จดั งานโครงการปริญญานพิ นธ์เพือ่ น � ำ เสนอผลงานก่อนส�ำ เร็จก ารศกึ ษา ภายในงานมีการโต้วาทีโดยนิสิตจ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจากคณะต่างๆ ผลการดำ�เนินงาน นิสติ ม คี วามสามารถในการผลิต สร้างสรรค์ บริหารจดั การกจิ กรรมรปู แ บบต่างๆ ได้เป็นผ ล ที่น่าพ ึงพ อใจ เพราะสามารถผลิตส ร้างสรรค์งานได้อ อกมามคี ุณภาพ และมปี ระสิทธิภาพ
โครงการปริญญานิพนธ์วิชาเอกสื่อสารการแสดง
นิสิตชั้นปีที่ 4 เอกสื่อสารการแสดงจำ�นวน 14 คน ได้จัดงานโครงการปริญญานิพนธ์ เพื่อนำ�เสนอผลงานก่อน จบการศึกษา โดยจัดแสดงละคร เรื่อง พันห นึ่งราตรี ในวันที่ 9-10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เรื่อง ลมหอบ ในวันที่ 1-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 และเรือ่ ง ตูต ู้ เมือ่ ช วี ติ ข องเธอถกู เขาทงิ้ จัดแ สดงในวันท ี่ 11-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ณ ห้องประชุม ดร.เทียม โชควัฒนา (ห้องใหญ่) มีผู้เข้าร่วมงานประมาณ 300 คน จัดแสดงละครเวทีเรื่อง แสงแห่งศรัทธาเหนือล ำ�นำ�เจ้าพระยา ในวันที่ 18 - 20 ธันวาคม พ.ศ.2552 ณ สถาบัน ปรีดี พนมยงค์ สุขุมวิท 55 วันที่ 22-24 มกราคม พ.ศ.2553 ณ ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร รอบ 14.00 น. และ 19.30 น. มีผ เู้ข้าชมประมาณ 500 คน ผลการดำ�เนินงาน โครงการฯ ดำ�เนินไปได้ด้วยดเี ป็นประโยชน์ตอ่ นสิ ิตในการเตรยี มความพร้อมเข้าสู่วชิ าชีพ ซึ่งนับว ่าต รงตามวัตถุประสงค์ทตี่ ั้งไว้
41
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต
42
กิจกรรม/โครงการของนิสิต ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ 1. โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรและดูงานนอกสถานที่ ประกอบไปด้วยวิชาต่างๆ ดังนี้ิ
• วิชา 2803306 การสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม วันดำ�เนินการ 4 กุมภาพันธ์ 2553 สถานที่ ไร่ปลูกรัก (ไร่ผักปลอดสารเคมี) จังหวัดราชบุรี จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ นิสิตจ ำ�นวน 19 คน อาจารย์ 1 คน เจ้าหน้าที่ 1 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ผลการดำ�เนินงาน ผลการประเมินค วามพงึ พ อใจของนสิ ติ ในโครงการศกึ ษาดงู าน จัดอ ยูใ่ นระดับค วาม พึงพ อใจมากทสี่ ดุ ด้านเอกสารประกอบเนือ้ หาสาระ สถานที่ กิจกรรม ระยะเวลา ส่วนข้อเสนอแนะ อยากให้จัดกิจกรรมอีกบ่อยๆ • วิชา 2803314 การประชาสัมพันธ์และสังคม วันดำ�เนินการ 24 กรกฎาคม 2553 สถานที่ บริษัท ปูนซ ิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) และชุมชนใกล้เคียง อำ�เภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ นิสิตจ ำ�นวน 31 คน อาจารย์ 1 คน และ TA 1 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ผลการด�ำ เนินงาน ผลการประเมินค วามพงึ พ อใจของนสิ ติ ในโครงการศกึ ษาดงู านจัดอ ยูใ่ นระดับ ความพงึ พ อใจมากทสี่ ดุ ด้านวทิ ยากร กิจก รรรม สถานทกี่ ารเดินท าง ระยะเวลา ระดับความพึงพอใจมากในด้านเนื้อหาข้อเสนอแนะ อยากให้มีเวลาทำ�ฝาย มากกว่าน แี้ ละการท�ำ CSR ด้านอนื่ ๆ อยากให้น สิ ติ ล งพืน้ ท ไี่ ปคยุ ก บั ป ระชาชน ในชุมชนเพื่อรับฟังความคิดเห็นที่สะท้อนออกมาโดยตรง เน้นเนื้อหาด้าน วิศวกรรมมากเกินไปอยากให้จัดกิจกรรมอีกบ่อยๆ
คณะนิเทศศาสตร์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
43 • วิชา 2803412 การเขียนขั้นสูงเพื่อการประชาสัมพันธ์ วันดำ�เนินการ 20 ธันวาคม 2552 สถานที่ ศูนย์อ นุรกั ษ์ธ รรมชาติ บ้านทา่ ด า่ น ตำ�บลหนิ ต งั้ อำ�เภอเมืองจังหวัดน ครนายก จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ นิสิต 38 อาจารย์ 2 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ รศ.กรรณิการ์ อัศวดรเดชา ผลการดำ�เนินงาน ผลการประเมินค วามพงึ พ อใจของนสิ ติ จ ดั อ ยูน่ ะดบั ค วามพงึ พ อในการเดินท าง มากที่สุด และความพึงพอใจมาก ในด้านเสาระ เนื้อหา สถานที่กิจกรรม ระยะเวลา ส่วนข้อเสนอแนะ ต้องการลงพื้นทจี่ ริง และข้อมูลเกี่ยวกับศ ูนย์ฯ ก่อนไปดูงานจริง • วิชา 2803489 การฝึกงานอาชีพการประชาสัมพันธ์ชื่อโครงการ “ฝึกงานอย่างไรให้ได้ผล” วันดำ�เนินการ 3 กุมภาพันธ์ 2553 สถานที่ ห้องประชุมศาสตราจารย์บำ�รุงสุข สีหอ ำ�ไพ ตึก 2 ชั้น 1 จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ นิสิต 38 คน อาจารย์ 2 คน เจ้าหน้าที่ 1 คน ผู้รับผิดช อบโครงการ รศ.กรรณิการ์ อัศวดรเดชา ผลการดำ�เนินงาน ผลการประเมินความพึงพอใจของน ิ ส ิ ต จ ั ด อ ยู ่ ในร ะดั บ ด ั บ ค วามพ ึ ง พ อใจ มากที่สุดด้านเสื้อหาสาระ วิทยากร กิจกรรม สถานทร่ี ะยะเวลา ส่วนขอ้ เสนอแนะ ความจดั ก ิจกรรมก่อนที่น ิสิตจ ะเลือกที่ฝ ึกงานเพื่อที่จะได้ทราบว่าอยากฝึก Agency หรือองค์กร ทำ�ให้รู้ว่าต้องเตรียมตัวอย่างไรก่อนไปฝึกงาน และ ใช้เวลาสัมมนามากไป ควรจัดช่วงเดือนพฤศจิกายน • วิชา 2803671 การวางแผนและการประเมินผลโครงการด้านนิเทศศาสตร์ (ภาคในเวลาราชการ) วันดำ�เนินการ 22-23 มกราคม 2553 สถานที่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่แหล่งท่องเที่ยวในเขต อำ�เภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ นิสิต 14 คน อาจารย์ 1 คน เจ้าหน้าที่ 1 คน ผู้รับผิดช อบโครงการ รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ผลการดำ�เนินงาน ผลการประเมินค วามพงึ พ อใจของนสิ ติ จ ดั อ ยูใ่ นระดับค วามพงึ พ อในการเดินท าง มากทสี่ ดุ ด้านเนือ้ หาสาระ สถานที่ ประโยชน์ท ไี่ ด้รบั จ ากการดงู าน ระดับค วาม พึงพ อใจมาก ในดา้ นกจิ กรรม การเดินท าง ระยะเวลา เนือ้ หา เอกสารประกอบ ส่วนข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มระยะเวลาในการดูงาน และต้องการงบประมาณ สำ�หรับการ survey
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
44
:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต
• วิชา 2803671 การวางแผนและการประเมินผลโครงการด้านนิเทศศาสตร์ (ภาคนอกเวลาราชการ) วันดำ�เนินการ 16-17 มกราคม 2553 สถานที่ สถานีวิทยุชุมชนและการพัฒนาชุมชนของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา จังหวัดก าญจนบุรี จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ นิสิต 17 คน อาจารย์ 1 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ผลการดำ�เนินงาน ผลการประเมินความพึงพอใจของนิสิตจัดอยู่ในระดับความพึงพอในการ เดินทางมากที่สุด ด้านเนื้อหาสาระ กิจกรรม สถานที่ การเดินทาง ประโยชน์ ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ระดับความพึงพ อใจมาก ด้านระยะเวลา ระดับ ความพงึ พ อใจปานกลาง เอกสารประกอบการดงู าน ส่วนขอ้ เสนอแนะ เนือ้ หาสาระ ในการนำ�เสนอมากไปท�ำ ให้รวบรัดให้ก ระชับท �ำ ให้เนือ้ หาส�ำ คัญบ างสว่ นหายไป • วิชา 2803605 การบริหารงานประชาสัมพันธ์ (ภาคในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ) วันดำ�เนินการ 15-18 มกราคม 2553 สถานที่ บริษัทเชียงใหม่ธนาธร จำ�กัด อำ�เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ นิสิต 35 คน อาจารย์ 2 คน เจ้าหน้าที่ 1 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา และ รศ.พัชนี เชยจรรยา ผลการดำ�เนินงาน ผลการประเมินค วามพึงพ อใจของนิสิตจ ัดอ ยูใ่นระดับค วามพึงพ อใจปานกลาง ด้านเนื้อหาสาระ กิจกรรม สถานที่ การเดินทาง ระยะเวลา ประโยชน์ท ไี่ด้รับ จากการศึกษาดูงานส่วนข้อเสนอแนะควรเลือกองค์การที่เด่นในด้านการ ประชาสัมพันธ์ใช้เวลากับบางทมี่ ากเกินไป และไม่เกีย่ วข้องกบั เนือ้ หาทต่ี อ้ งการ ควรจัดรถคันเดียวกัน จัดตารางให้ช ัดเจนจะได้กำ�หนดวันเวลาในการเดินทาง กลับได้ถ ูก
2. โครงการศึกษาดูงานด้านการประชาสัมพันธ์ ณ ต่างประเทศระดับปริญญาโท (ภาคในเวลาและนอกเวลาราชการ)
วันดำ�เนินการ สถานที่ จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ
2-6 เมษายน 2553 ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี นิสิต 4 คน อาจารย์ 4 คน ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา และ รศ.พัชนี เชยจรรยา
คณะนิเทศศาสตร์ ผลการด�ำ เนินงาน
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลการประเมินค วามพึงพ อใจของนิสิตจ ัดอ ยู่ในระดับค วามพึงพ อใจมาก ด้านเอกสารประกอบ เนื้อหาสาระ กิจกรรม สถานที่ การเดินท าง ระยะเวลา และประโยชน์ท ี่ได้รับจ ากการศึกษาดูงาน ส่วนข้อเสนอแนะให้ป รับเรื่องระยะ เวลาบางที่ม ีก ิจกรรมที่เป็นป ระโยชน์ม ากแต่ต ิดด ้วยเวลาทำ�ให้ศ ึกษาได้ ไม่ครบถ้วนและอยากให้ม ีการศึกษาดูงานแบบนี้อีก
3. โครงการ สัมมนาวิชาการเรื่อง “ล้วง แคะ แกะ เกา ปรากฎการณ์ เกาหลีฟีเวอร์” ระดับปริญญาโท (ภาคในเวลาราชการ) วันดำ�เนินการ สถานที่ จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้รับผิดช อบโครงการ ผลการด�ำ เนินงาน
3 สิงหาคม 2553 ห้องประชุม ดร.เทียม โชควัฒนา บุคคลภายนอก 106 คน รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ผลการประเมินค วามพึงพอใจของนิสิตจัดอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด ด้านเนื้อหาสาระ วิทยากร และประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมสัมมนา ระดับความพึงพ อใจมาก ด้านเอกสารประกอบการสัมมนา ด้านกิจกรรม ด้านเครื่องโสตฯ ด้านระยะเวลา ส่วนข้อเสนอแนะผู้เข้าร่วมสัมมนาต้องการ ให้มีการประชาสัมพันธ์ให้แพร่หลายมากกว่าเดิม ระยะเวลาการสัมมนาเช้า เกินไป ควรจัดช่วงบ่ายหรือเย็นทำ�ให้มีผเู้ข้าร่วมมากกว่านี้
4. โครงการ สัมมนาวิชาการเรื่อง “Social Media พื้นที่ของเรา ของเขาหรือของใคร?” ระดับปริญญาโท (ภาคนอกเวลาราชการ) วันดำ�เนินการ สถานที่ จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้รับผิดช อบโครงการ ผลการดำ�เนินงาน
9 สิงหาคม 2553 ห้องประชุม ดร.เทียม โชควัฒนา บุคคลภายนอก 103 คน รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ผลการป ระเมิ น ค วามพ ึ ง พ อใจข องน ิ ส ิ ต จ ั ด อ ยู ่ ในร ะดั บ ค วามพ ึ ง พ อใจ มากที่สุด ด้านวิทยากร ระดั บ ค วามพ ึ ง พ อใจม าก ด้ า นเนื ้ อ หาส าระ เอกสารประกอบ เนื้อหา กิจกรรม เครื่องมือโสตฯ เวลา และประโยชน์ที่ได้รับ จากการสัมมนา
45
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต
กิจกรรม/โครงการของนิสิต สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) โครงการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และมัลติมีเดียเพื่อการประชาสัมพันธ์
46
เป็นส ่วนหนึ่งข องรายวิชา 2800472 Advanced Reporting and Editing สำ�หรับน ิสิตช ั้นป ีที่ 4 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อฝึกฝนในนิสิตได้พัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถในการรายงานข่าว และการบริหารจัดการสื่อ ในการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนให้นิสิตได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการ ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล เพื่องานด้านข่าวสารและการวิเคราะห์ การดำ�เนินโครงการแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2552 (เดือนสิงหาคม - เดือนธันวาคม พ.ศ.2552) และภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2552 (เดือนมกราคม- เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2553) มีนิสิตด ำ�เนินโครงการจำ�นวน 90 คน โดยจัดกิจกรรมให้นิสิต แบ่งกลุ่มเพื่อผลิตส ื่อส ิ่งพิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์แ จก ฯลฯ ผลการดำ�เนินงาน นิสิตสามารถนำ�ความรู้ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในการผลิต สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ และได้เรียนรู้การวางแผน จัดการ การประเมินผลการผลิตส ื่อได้เป็นอย่างดี
โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร/ดูงานนอกสถานที่
2.1 วิชา Introduction to Computer นำ�นิสิตเยี่ยมชมเทคโนโลยีและเทคนิคการฉายภาพยนตร์ 4 มิติ ณ สยามโอเชี่ยนเวิลด์ สยามพารากอน เมื่อวันท ี่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 มีนิสิตเข้าร่วมจำ�นวน 53 คน 2.2 วิ ช า 2800209 Thai Culture สำ � หรั บ นิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ 1 นำ �นิ สิ ต เยี่ ย มช มกิ จ การโครงการ หรื อ กิจกรรมที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ในการเสริมสร้างความรู้ในด้านการบริหารจัดการการสื่อสารให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ได้แก่ • ทัศนศึกษา ณ พระที่นั่งว ิมานเมฆ วันพฤหัสบดีท ี่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2552 จำ�นวนผู้เข้าร่วม โครงการฯ 48 คน • ทัศนศึกษา ณ จังหวัดส มุทรปราการ วันพฤหัสบดีที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2552 จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ 53 คน • ทัศนศึกษา ณ โรงละครสยามนิรมิต วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2552จำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ 62 คน 2.3 วิชา 2800361 Computer Graphic for Communication นำ�นิสิตดูงาน ณ Thailand Creative & Design Center เพื่อเป็นป ระโยชน์ในการเสริมสร้างความรู้ในด้านการบริหารจัดการการสื่อสารให้กว้างขวางขึ้น
คณะนิเทศศาสตร์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2.4 วิ ช า 2800356 Communication Campaign Management (การบ ริ ห ารก ารสื่ อ สาร รณรงค์) ได้จัดโครงการศึกษาดูงานด้านการบริหารการสื่อสารรณรงค์ (Communication Campaign Management) ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้นิสิตพัฒนากระบวนการเรียนรู้ผ่านการทดลองปฏิบัติการจัดกิจกรรม และดำ�เนินการรณรงค์อย่างเป็นรูปธรรม โดยนิสิตจะต้องได้รับความรู้ผ่านประสบการณ์ตรงที่เกี่ยวข้อง กั บ ก ารร ณรงค์ อาทิ การส ร้ า งส ารสำ � หรั บ ก ารร ณรงค์ การเลื อ กใ ช้ ช่ อ งท างการสื่ อ สารที่ เหมาะส มใน การรณรงค์ ในวิชาดังกล่าวจึงมีการเดินทางไปศึกษาดูงานในประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นการเปิดโลกทัศน์ และส ร้ า งแ รงบั น ดาลใ จใ นก ารดำ � เนิ น โครงการร ณรงค์ ใ ห้ เกิ ด ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด โดยนำ �นิ สิ ต ไ ปดู ง าน ณ ฟาร์มโชคชัย และพาลิโอ เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา วันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2553 มีนิสิตเข้า ร่วมโครงการทั้งส ิ้น 72 คน ผลจากการดำ�เนินการ นิสิตได้รับประสบการณ์ตรงจากการเยี่ยมชมพื้นที่และร่วมกิจกรรมการสื่อสาร ในพื้นที่เป้าหมาย สามารถประยุกต์ใช้แนวคิด และทฤษฎีด้านการรณรงค์ในการ วิเคราะห์กิจกรรมการสื่อสารในบริบทที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนำ�มาใช้ในการจัดกิจกรรม การสื่อสารของกลุ่ม
โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร/สร้างความสัมพันธ์
โครงการแข่งขันกีฬา CU Inter Games ครั้งที่ 4
เป็ น กิ จ กรรมจั ด การแ ข่ ง ขั น กี ฬ าร ะหว่ า งนิ สิ ต ข องแ ต่ ล ะค ณะที่ เปิ ด ส อนห ลั ก สู ต รน านาชาติ ใ นร ะดั บ ปริญญาตรี ซึ่งปัจจุบันมีจำ�นวน 7 คณะ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านกีฬาและจริยธรรม ความมีนำ�ใจ รู้จักแพ้และรู้จักชนะ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างนิสิตคณะต่างๆ และเป็นการ เปิดโอกาสให้นิสิตได้ทำ�ความรู้จักเพื่อนต่างคณะ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็น เสริมสร้าง ความส ามั ค คี กระตุ้ น ใ ห้ นิ สิ ต เกิ ด ค วามรั ก ใ นส ถาบั น ปลู ก ฝั ง ใ ห้ นิ สิ ต รู้ จั ก ก ารทำ � งานเป็ น ห มู่ ค ณะ ฝึกการบริหารและจัดการงานต่างๆ และการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า อีกทั้งเป็นเวทีให้นิสิตได้แสดง ความสามารถพิเศษ นอกเหนือจากการเรียนรู้ตามหลักวิชาของคณะฯ ทั้งในด้านการปฏิบัติงานจริง โดย มีนิสิตของหลักสูตรฯ เข้าร่วมจำ�นวน 300 คน
โครงการสานสัมพันธ์รุ่นพี่รุ่นน้อง
เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี และเปิดโอกาสให้รุ่นพี่รุ่นน้องได้ทำ�ความรู้จักกัน ในการทำ�กิจกรรมร่วมกัน ซึ่ ง ใ นแ ต่ ล ะกิ จ กรรมนั้ น น อกจากค วามส นุ ก สนานที่ ไ ด้ รั บ แ ล้ ว ยั ง เป็ น การส ร้ า งสั ม พั น ธไมตรี อั น ดี ง าม ระหว่างนิสิตรุ่นพี่และรุ่นน้อง โดยได้จัดขึ้นในช่วงเดือนเดือนมิถุนายน พ.ศ.2553 มี นิสิตของหลักสูตรฯ เข้าร่วมประมาณ 200 คน
47
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: โครงการ/กิจกรรมนิสิต คณะนิเทศศาสตร์ โครงการ Exchange Student Society
48
เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิตได้มีปฏิสัมพันธ์ในเชิงวิชาการกับนิสิตต่างชาติที่เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างนิสิตในคณะฯ และนิสิตแลกเปลี่ยน และเป็นการเปิดโอกาส ให้นิสิตได้ทำ�ความรู้จักเพื่อนต่างชาติ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ วัฒนธรรมและความคิดเห็นในการ เรียนและการใช้ชีวิต รวมถึงเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์กับนิสิตชาวต่างชาติ ทั้งในบริบทของห้องเรียน และ กิจกรรมเสริมหลักสูตรฯ ได้มีนิสิตต่างชาติสมัครเข้าร่วมเป็นนิสิตแลกเปลี่ยน และเข้าร่วมศึกษากับนิสิต ของหลักสูตรฯ จำ�นวน 5 คน โดยนำ�นิสิตของหลักสูตรฯ และนิสิตแลกเปลี่ยนเดินทางไปปลูกป่าโกงกาง ณ ตำ�บลคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม ในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2553 มีน ิสิตและเจ้าหน้าที่หลักสูตรฯ เข้าร่วมดำ�เนินโครงการจำ�นวน 35 คน
โครงการอุดหนุนการแข่งขันโต้สาระวาทีภาษาอังกฤษ
กลุ่มโต้สาระวาทีภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีการรวมกลุ่มกันเพื่อจัดกิจกรรม เกี่ยวกับการโต้วาที และฝึกซ้อมนิสิตในกลุ่มเพื่อเข้าร่วมโครงการแข่งขันโต้วาทีในระดับนานาชาติ อัน เป็นการสร้างทักษะในการนำ�เสนอต่อที่สาธารณะ และตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 เป็นต้นมา นิสิตหลักสูตร นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) ที่เข้าร่วมกลุ่มโต้สาระวาที ภาษาอังกฤษ ได้รับรางวัลในการจัดการแข่งขันโต้วาทีมาโดยตลอด ถือเป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับ หลักสูตรฯ และคณะนิเทศศาสตร์ ในปีการศึกษา 2552 นี้ มีนิสิตของหลักสูตรฯ จำ�นวน 4 คน ได้รับอนุมัติให้เข้าร่วมการแข่งขัน “1st United Asia Debating Championship” ระหว่างวันที่ 12-19 พฤษภาคม พ.ศ.2553 ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการนำ�เสนอ บุคลิกภาพ และ กระบวนการเรียนรู้นอกห้องเรียนให้กับนิสิต โดยมีนิสิตของหลักสูตรฯ ที่ได้รับคัดเลือกจำ�นวน 4 คน ดังนี้ 1. นางสาวศโิยรี ไทยตระกูลพ าณิช เลขประจำ�ตัวนิสิต 514 53907 28 2. นางสาวกัญญาณัฐ ปิติเจริญ เลขประจำ�ตัวนิสิต 514 53083 28 3. หม่อมหลวงอรอำ�ภา สุขสวัสดิ์ เลขประจำ�ตัวนิสิต 514 54106 28 4. นางสาวนวลพรรณ เกตุมาน เลขประจำ�ตัวนิสิต 524 53215 28
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: วิเทศสัมพันธ์ และโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา
49
วิเทศสัมพันธ์ และโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา
จากการที่จุฬาลงกรณ์ม หาวิทยาลัยม ีนโยบายให้หลักสูตรภาษาอังกฤษ และหลักสูตรนานาชาติเป็นกลไกเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันในการจัดการการศึกษาซึ่งนับวันจะรุนแรงมากขึ้นจากการเปิดเสรีทางการศึกษา หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) ซึ่งจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ จึงจำ�เป็นต้องดำ�เนิน การติดต่อแ ละประชาสัมพันธ์ไปยังห น่วยงานราชการและหน่วยงานการศึกษาต่างๆ ในต่างประเทศ ทำ�ให้เกิดก ิจกรรมต่างๆ ที่สนับสนุนนโยบายดังกล่าว ดังนี้ ความร่วมมือกับอาจารย์มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในต่างประเทศ หลักสูตรต้อนรับอาคันตุกะจากต่างประเทศที่เดินทางมากระชับความสัมพันธ์/ติดตามความก้าวหน้าในการดำ�เนิน กิจกรรมความร่วมมือ/ขยายความร่วมมือ เจรจาปรับแก้ไขสัญญาความร่วมมือ ดังนี้ ชื่อ Dr. Chris Wensley Mr. Herbert Schmid-Eickhoff Prof. Dr. Howard W. Combs Ms. Rachel Bilson Assoc. Prof. Dr. Mohd Ismid Mohd Said Ms. Siti Rahimah Binti Mohd Yusop Dr. Thomas Hanitzcsh Mr. Jeffery Soong Mr. Joseph Tort Dr. Liam Morgan
มหาวิทยาลัย Bournemouth Macromedia University San Jose State University Goldsmiths Collage, U of London Universiti Teknologi Malaysia Universiti Teknologi Malaysia Ludwig-Maximilians-Univeritat Munchen (LMU) Liverpool John Moores University U. of Northern Colorado U. of Technology, Sydney
ประเทศ UK Germany USA UK Malaysia Malaysia Germany
วันที่ 26/11/53 23/12/53 17/12/53 21/01/54 02/02/54 02/02/54 03/02/54
UK 16/03/54 USA 15/06/54 Australia 30/06/54
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: วิเทศสัมพันธ์ และโครงการแ
การสร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
โดยในปีที่ผ่านมามีผู้บริหารและคณาจารย์เดินทางไปเจรจากิจการต่างประเทศ และกระชับสัมพันธไมตรี กับมหาวิทยาลัยต ่างประเทศดังนี้
50
ผู้ดำ�เนินการ อาจารย์ James R. Haft รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ และ ผศ.ดร.วรวรรณ องค์ครุฑรักษา รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ และ ผศ.ดร.วรวรรณ องค์ครุฑรักษา อาจารย์ James R. Haft อาจารย์ส มิทธิ์ บุญชุติมา
มหาวิทยาลัย University of Hong Kong
ประเทศ จีน
San Jose State University Macquarie University University of Technology, Sydney New York University Columbia University NAFSA 2011 ANNUAL CONFERENCE & EXPO
สหรัฐอเมริกา 24/02/2554 - 06/03/2554 ออสเตรเลีย
วันที่ 28-31/06/2553
03-10/05/2554
สหรัฐอเมริกา 20/05/2554 - 10/06/2554 แคนาดา
24/05/2554 - 03/06/2554
การสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
คณะฯ ได้ดำ�เนินการสร้างความร่วมมือและกระชับความสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศในระดับคณะฯ มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาในด้านต่างๆ ร่วมกัน เช่น การแลกเปลี่ยนนิสิต การวิจัย การแลกเปลี่ยนบุคลากร การพฒั นาหลักสูตร การประชุม การสมั มนาวชิ าการนานาชาติ และการให้ท นุ ก ารศกึ ษากบั น สิ ติ ช าวตา่ งชาติ เป็นต้น ปัจจุบนั ได้มสี ัญญาความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต ่างประเทศ จำ�นวน 3 ฉบับ ดังนี้ Nanyang Technological University ประเทศสิงคโปร์ RMIT University ประเทศออสเตรเลีย Ludwig-Maximilians-Univeritat Munchen (LMU) ประเทศเยอรมนี
โครงการนิสิตแลกเปลี่ยน
ในแต่ละปี คณะฯ ได้ดำ�เนินโครงการนิสิตแลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือ ทั้งระดับคณะ และระดับ มหาวิทยาลัย โดยคดั เลือกนสิ ติ ผ มู้ ผี ลการเรียนดแี ละมคี ณุ สมบัตเิ หมาะสมไปแลกเปลีย่ นกบั มหาวิทยาลัยต า่ งประเทศ สำ�หรับ ปี 2553 ทีผ่ ่านมา มีนิสิตเดินทางไปแลกเปลี่ยน ณ มหาวิทยาลัยต่างประเทศ และมีนิสิตจ ากต่างประเทศเดินทางมาศึกษา ที่คณะฯ ดังนี้ รายชื่อนิสิตเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2553 ชื่อ-สกุล มหาวิทยาลัย ประเทศ นส.กมลชนก โชติธาดา RMIT University ออสเตรเลีย นส.ชณัฐกานต์ งามวัฒนาวงษ์ U. of Hertfordshire อังกฤษ นส.ธนัญญา ลีโภคานนท์ La Trobe University ออสเตรเลีย นส.ธิษณา หาญดำ�รงกุล University of Hawaii สหรัฐอเมริกา
แลกเปลี่ยนนักศึกษา
นส.นริศรา จิระคุณ นส.นิฎา สิริโชติค ุณากร นส.พริฎฐา ตระกูลมีโชคชัย นส.พิช ฎา ตติยะวรนันท์ นส.ภาสร เสาวรัตธาดา นส.เรณิกา ศิริสัจจ เดชา นส.ลลิล ลิม ณ ศิริ นส.วงศ์พรรณ วิศิษฐ์รัสมีวงษ์ นส.วรการต์ ศิริทรัพย์สถิตย์ นายวัลลภ อดุลย์พิเชฎฐ์ นส.วัลวดี ตันฤดี นส.วาสิตา วิชชุไตรภพ นส.วินิตา เกษมสุภาพันธ์ นส.ศรินธร พวงย้อยแก้ว นส.ศศิวรรณ ศิรวิ ิโรจน์ นส.ศิรดา ดาวมณี นส.ปาริสา พิชิตมาร นส.ฮีจิน ลี นายวิชากร วรวรรณ ณ อยุธยา นส.ปุณนมา ปาวา นส.ศิโยรี ไทยตระกูลพาณิช นส.สุพิชฌาย์ จงขวัญยืน
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
U. of Southern California Queen Marry U. of London Singapore Management U. U. of Southern California U. of New South Wales U. of Hertfordshire U. of Hertfordshire Griffith University University of Queensland Singapore Management U. SciencesPo. University Griffith University RMIT University La Trobe University U. of Hertfordshire SciencesPo. University Nanyang Technology University Yonsei University San Jose State University University of Northern Colorado University of Queensland University of Hertfordshire
รายชื่อนิสิตจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2553 ชื่อ-สกุล มหาวิทยาลัย Mr.Costa Danial Ming Wei Chua Nanyang Technology University Miss Isabelle Lim Qian Hui Nanyang Technology University Ms. Anjali Raguraman Nanyang Technology University Miss Rachel Pamela Wood U. of New South Wales Miss Nualtong Dhitavat University of Melbourne
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ อังกฤษ ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย สิงคโปร์ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย อังกฤษ ฝรั่งเศส สิงคโปร์ เกาหลี สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ
ประเทศ สิงคโปร์ สิงคโปร์ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
51
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: โครงการวิจัย
โครงการให้ทุนการศึกษาสำ�หรับนิสิตจากประเทศเพื่อนบ้าน
52
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้มีกรอบความร่วมมือระหว่างประชาคมอาเซียนในการที่จะให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการศึกษาของอาเซียนภายในปี 2558 นั้น คณะฯ ได้เล็งเห็นความสำ�คัญดังกล่าว เนื่องจาก สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยในการเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ในระดับโลก ที่มีมาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการ อันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ และเพื่อเป็นไปตามกลยุทธ์ ของคณะนิเทศศาสตร์ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมทางวิชาการในระดับนานาชาติ เพื่อ สนองประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในการเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ในระดับโลกที่มีมาตรฐานและ คุณภาพทางวิชาการอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิตในกลุ่มประเทศอาเซียน ได้มาเป็นนิสิตแลกเปลี่ยนในหลักสูตรภาษาอังกฤษ เพื่อให้นิสิตของหลักสูตรฯ และนิสิตที่ร่วมโครงการ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ และวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น โดยมีนักศึกษาต่างชาติในประเทศอาเซียน สมัครเข้าร่วมโครงการเป็นจำ�นวนมาก แต่เนื่องจากหลักสูตรมีทุนการศึกษาจำ�นวน 3 ทุน จึงจัดให้มีการ สอบสัมภาษณ์ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการและคัดเลือกผู้ทมี่ ีคะแนนสูงสุดจำ�นวน 3 คน ดังนี้
ชื่อ Miss Puji Maharani Miss Malorie Joy Obillo Mones Mr. Kevin Kenneth Dagdayan De Leos
มหาวิทยาลัย Universitas Padjadjaran University of the Philippines Diliman De La Salle University
ประเทศ Indonesia Philippines Philippines
นิสิตทั้ง 3 คน จะได้รับทุนการศึกษา (ค่าใช้จ่ายส่วนตัว) เป็นเงินคนละ 50,000 บาท และได้รับทุน การศึกษา (ค่าธรรมเนียมของมหาวิทยาลัย) เป็นเงินคนละ 18,000 บาท โดยนิสิตจะเดินทางมาศึกษา ร่วมกับนิสิตของหลักสูตรฯ เป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา คือภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2553 (เดือน สิงหาคม - เดือนธันวาคม พ.ศ.2553) ภายหลังจ ากที่นิสิตต ่างประเทศได้เข้าศึกษากับนิสิตข องหลักสูตรฯ และใช้ช ีวิตในประเทศไทยนั้นพบว่า 1. หลักสูตรฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้นจากมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน 2. ความสัมพันธ์อันดีระหว่างนิสิตข องหลักสูตรฯ และนิสิตต ่างชาติท ี่เข้าร่วมโครงการ 3. ความสัมพันธ์อันดีระหว่างคณะนิเทศศาสตร์ และสถาบันต้นส ังกัดข องนิสิตท เี่ข้าร่วมโครงการ
คณะนิเทศศาสตร์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการวิจัย คณะนิเทศศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์ ได้รับเงินสนับสนุนการทำ�วิจัย ปีงบประมาณ 2553 ดังนี้
จากแหล่งทุนงบประมาณเงินรายได้คณะฯ มีทั้งสิ้น 6 โครงการ
การสื่อสารกลุ่มในองค์กรธุรกิจไทยและองค์กรธุรกิจข้ามชาติในประเทศไทย (Group Communication of Thai and Multinational Business Organizations in Thailand) หัวหน้าโครงการ : รศ.เมตตา วิวัฒนานุกูล ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 487,300 บาท
กรอบการประเมินผลเว็บไซต์ขององค์กรภาครัฐ (Evaluation Framework For Governmental Websites) หัวหน้าโครงการ : อ.สมิทธิ์ บุญชุติมา ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 374,000 บาท
Celebrity culture in Thailand : A multi-focal investigation หัวหน้าโครงการ : Mr. James Robert Haft ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 351,000 บาท การตอบสนองของกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายต่อการประชาสัมพันธ์ทางสื่อใหม่ หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 303,000 บาท ตัวชี้วัดชื่อเสียงของธุรกิจเอกชนในประเทศไทย หัวหน้าโครงการ : รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา ได้รบั เงินสนับสนุน : จำ�นวน 479,600 บาท
ประโยชน์แห่งสาธารณะบนสื่ออินเทอร์เน็ต : ความท้าทายหรือความเสี่ยงจากสื่อสาธารณะทีวีไทย (The public interest on the public internet : a challenge or a risk from Thai Public Broadcasting Service (TPBS) หัวหน้าโครงการ : อ.อลงกรณ์ ปริวุฒิพงศ์ ได้รับเงินสนับสนุน : จำ�นวน 126,000 บาท
53
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: โครงการวิจัย
54
จากแหล่งทุนภายนอก มีทั้งสิ้น 11 โครงการ โครงการการศึกษาการใช้สื่อเพื่อการทำ� PR 2.0 หัวหน้าโครงการ : ผศ.ดร.วรวรรณ องค์ครุฑรักษา ได้รับเงินสนับสนุน : จากบริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำ�กัด จำ�นวนเงิน 487,300 บาท โครงการปิดทองหลังพระท่องเที่ยวเรียนรู้โครงการพระราชดำ�ริ หัวหน้าโครงการ : รศ.กรรณิการ์ อัศวดรเดชา ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) จำ�นวนเงิน 1,270,000 บาท โครงการศึกษาแนวทางเพื่อเตรียมสังคมสู่ Digital Culture หัวหน้าโครงการ : รศ.รัตนา จักกะพาก ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จำ�นวนเงิน 500,000 บาท โครงการจัดทำ�ข้อมูลการแบ่งเขตพื้นที่ให้บริการกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จำ�นวนเงิน 240,000 บาท โครงการภาพลักษณ์ของสำ�นักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวหน้าโครงการ : รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, อ.ดร.ธาตรี ใต้ฟ้าพูล ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาฯ จำ�นวนเงิน 320,000 บาท โครงการจัดทำ�คู่มือการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำ�กับกิจการพลังงาน หัวหน้าโครงการ : รศ.กรรณิการ์ อัศวดรเดชา ได้รับเงินสนับสนุน : สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน จำ�นวนเงิน 5,872,275 บาท
คณะนิเทศศาสตร์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการการสำ�รวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการของการประปาส่วนภูมิภาคปี 2553 หัวหน้าโครงการ : รศ.รัตนา จักกะพาก ได้รับเงินสนับสนุน : การประปาส่วนภูมิภาค จำ�นวนเงิน 1,320,000 บาท โครงการวิจัยสื่อเพื่อผู้สูงอายุในประเทศไทย : สถานการณ์ปัจจุบันความคาดหวังแนวโน้มในอนาคต และการกำ�หนดยุทธศาสตร์เชิงรุก หัวหน้าโครงการ : รศ.รัตนา จักกะพาก, รศ.ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ ได้รับเงินสนับสนุน : จากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชปีงบประมาณ 2553 จำ�นวน 727,000 บาท โครงการคุณภาพการบริการของกองสุขศึกษา หัวหน้าโครงการ : ผศ.ดร.กิตติ กันภัย ได้รับเงินสนับสนุน : จากกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จำ�นวนเงิน 300,000 บาท โครงการการศึกษาความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อสถาบันพระปกเกล้า หัวหน้าโครงการ : อ.ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม ได้รับเงินสนับสนุน : จากสถาบันพระปกเกล้า จำ�นวนเงิน 900,000 บาท โครงการแผนการดำ�เนินงานการปฏิรูปสื่อ หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ ได้รับเงินสนับสนุน : จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำ�นวนเงิน 3,000,000 บาท
55
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: อาจารย์ และนิสิตท
อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ ที่ได้รับรางวัล ศาสตราจารย์ ดร.ปาริ ช าต สถ าปิ ต าน นท์ อาจารย์ ป ระจำ �ภ าควิ ช าการ ประชาสั ม พั น ธ์ ค ณะนิ เ ทศศาสตร์ ไ ด้ รั บ ร างวั ล กิ ต ติ คุ ณ สั ม พั น ธ์ “สั ง ข์ เงิ น ” ครั้งที่ 32 จากสมาคมนักประชาสัมพันธ์แ ห่งประเทศไทย
56 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิรงรอง รามสูต อาจารย์ป ระจำ�ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ประจำ�ปี 2553 จากสำ�นักงานคณะ กรรมการวิจัยแห่งชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ม.ล.วิฏราธร จิรประวัติ อาจารย์ประจำ�ภาควิชาการ ประชาสัมพันธ์ คณะนเิ ทศศาสตร์ได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่น สออ.ประเทศไทย ประจำ�ปี 2552 “ASAIHL Thailand Award 2009” สาขาสังคมศาสตร์ จากสมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประจำ�ประเทศไทย (สออ.ประเทศไทย) อาจารย์ส มิทธิ์ บุญช ตุ มิ า อาจารย์ป ระจำ�ภาควชิ าการประชาสัมพันธ์ คณะนเิ ทศศาสตร์ ได้รบั รางวัลย กย่องชเู กียรติอ าจารย์ด า้ นการเรียนการสอนระดับด เี ด่น สาขาสงั คมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิสิตคณะนิเทศศาสตร์ ที่ได้รับรางวัล
นายไพรัตน์ แต้มไพโรจน์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ Youth Action Fund ในงาน Thailand’s Top Votes Award 2010 น.ส.ศิรินธร กิตติศรีไสว, นายธนาศักดิ์ ภักดี, น.ส.พรรณบุศย์ หาญชล และน.ส.บุญราภรณ์ สุพรศรี ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากมูลนิธิรักษ์ไทย น.ส.ณัฎฐนิช สุโฆสิต, น.ส.ปัณฑารีย์ ศรีปิยะโสทร, น.ส.พิชญา ศักดิ์เจริญยิ่ง, น.ส.ศุภลักษณ์ ลักษณ์อำ�นวยพร และน.ส.อติมน แววพานิช ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประกวดคำ�ขวัญและแผนประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ จาก สสส. น.ส.ชเลฝัน ดิษฐ์ผู้ดี ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากสถานีโทรทัศน์เพื่อมนุษย์แห่งชาติ (FMTV)
ที่ได้รับรางวัล
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
น.ส.พลอยไพลิน คชะเกษตริน และนายคฑาวุธ ดวงอินทร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากสำ�นักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติและสำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
น.ส.กัญญาณัฐ ปิติเจริญ ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขัน จากโครงการ “P&G ASEAN BUSINESS CHALLENGE 2011” น.ส.กัญญาณัฐ ปิติเจริญ ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขัน จากโครงการ “J-MAT 20th National Marketing Plan Competition 2011”
น.ส.กัญญาณัฐ ปิติเจริญ ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขัน จากโครงการ “Business Plan Competition One-2- Call Brand Age Award” น.ส.ทวีพร คุ้มเมต และน.ส.รวิกานต์ เดชดี ได้รับรางวัลนักข่าวแห่งอนาคตดีเลิศ จาก True Vision BBC World News Future นายวรรษยุต คงจันทร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากโครงการสายลับ...ตรวจจับโฆษณา ครั้งที่ 2 ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ มอบโดยเลขาธิการคณะกรรมการสำ�นักงานคุ้มครองผู้บริโภค นายสุวรรณ รัตนาแพง ได้รับรางวัลลูกกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่ ในโอกาสวันแม่แห่งชาติของสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ น.ส.ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย ได้รับรางวัลเหรียญทอง แบดมินตัน จากการแข่งขันกีฬายูธโอลิมปิคครั้งที่ 1 น.ส.ภาริอร วัชรศิริ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากโครงการ “ลมหายใจไร้มลทิน” จากสำ�นักงานส่งเสริมสวัสดิภาพ และพิทักษ์เด็กเยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ ร่วมกับบริษัท สื่อสากล จำ�กัด
57
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
58
:: อาจารย์ และนิสิต
น.ส.อติมน แววพานิช, น.ส.ภาวิณี วิชิตวัฒนะวงศ์, น.ส.อรจรรย์ นารถาพงษ์, น.ส.ศุภลักษณ์ ลักษณ์อำ�นวยพร และนายรัฐ สะอาดยิ่ง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการประกวดแผนการสร้างแบรนด์ของผลิตภัณฑ์กิฟฟารีน (Giffarine The Branding Project) ภายใต้หัวข้อ “การสร้างแบรนด์กิฟฟารีนในทศวรรษหน้า” น.ส.วรรษพร วัฒนกุล ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการประกวดมิสไทยแลนด์ยูนิเวอร์ส
น.ส.ชเลฝัน ดิษฐ์ผู้ดี ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากสโมสรการละครและภาพยนตร์ Simple Secret Society และมูลนิธิหนังไทย
น.ส.นวลพรรณ เกตุมาน ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 2 ในฐานะ Debater จากการเข้าร่วมแข่งขันในโครงการ The Delegation of European Union in Thailand and Mahidol University international college ณ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา
น.ส.ธนิตา สว่างจิตร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากงานประกวดภาพถ่ายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น.ส.ชนิกา จิระพงศ์วัฒนา ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 จาก 108health.com ร่วมกับ VISTRA Tricholess น.ส.พรพิมล สวัสดิ์แดง ได้รับรางวัลชมเชย จากโครงการนานมีบุ๊คส์อะวอร์ด ประเภทนิทานภาพส่งเสริมคุณธรรม น.ส.ภาริอร วัชรศิริ ได้รับรางวัลชมเชย จากสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ น.ส.พัชริกา จิรภิญโญ ได้รับรางวัลชมเชย จากบริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และสมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย
ตที่ได้รับรางวัล
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
น.ส.รัตนาพร มีแก้ว ได้รับรางวัลชมเชย จากบริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และสมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย น.ส.ปิติพร กิติรัตน์ตระการ ได้รับรางวัลชมเชย จากบริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และสมาคมโฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย น.ส.ชเลฝัน ดิษฐ์ผู้ดี ได้รบั รางวัลชมเชย ภาพยนตร์สนั้ ระดับประชาชน เรือ่ ง UN-alone จัดโดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ น.ส.ศศิธร ศรีจันทึก ได้รับรางวัลชมเชย จากการประกวดโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ โครงการ 5ส หอพัก รักษ์สิ่งแวดล้อม จัดโดยหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายปิยภัทร นันทนรเศรษฐ์ ได้รบั รางวัลชมเชย จากการเข้าร่วมประกวดเรียงความ...สิง่ เล็กๆ ทีเ่ รียกว่าความประทับใจจัดโดยเว็บไซต์เด็กดีดอทคอม
59
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: บทความวิจัย/บทความวิชาการ
บทความวิจัย/บทความวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ 1. การสืบทอดสื่อพื้นบ้านแท่งตุ๊ก อำ�เภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 1-18
60
2. โทรทัศน์ส่วนภูมิภาค: การกำ�เนิด การดำ�รงอยู่ และการพัฒนา รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ภัทรา บุรารักษ์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 36-51 3. การมีส่วนร่วมในพื้นที่สาธารณะของผู้หญิงโดยการส่งข้อความสั้นผ่านรายการเล่าข่าวทางโทรทัศน์ รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ปุณยนุช ยอแสงรัตน์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 65-76 4. การสร้างโลกแวดล้อมทางสารสนเทศทางการเมืองของบุคคล ผศ.ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ, ศศิธร ยุวโกศล วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 77-104 5.
ความสัมพันธ์ระหว่างความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมกับทัศนคติ และพฤติกรรมการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค ผศ.รัตยา โตควณิชย์, นลินรัตน์ ถาวรเลิศรัตน์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 105-127
6. การวางตราสินค้า: ทัศนคติและความต้องการการกำ�กับดูแลของผู้บริโภค ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, สุทธิพงษ์ ธัญญานุรักษา วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 128-150 7. กลยุทธ์การจัดการเชิงประสบการณ์ลูกค้าของกลุ่มธุรกิจเครื่องสำ�อาง ผศ.ดร.วรวรรณ องค์ครุฑรักษา, วริษา นันทิยานนท์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 151-165 8. เครือข่ายการสื่อสารของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ โครงการเกษตรอินทรีย์ จังหวัดสุรินทร์ รศ.อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์, ศิริเมษ กลีบแก้ว วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 166-187
รที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ 9.
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตตนิยมวัฒนธรรมผู้บริโภคกับภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำ�เนิด การรับรู้คุณภาพสินค้า และความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, สมพล วันต๊ะเมล์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 1-23
10. พัฒนาการการแสดงสินค้าและเสียงของ “เครือข่ายคนดูหนัง” รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, นัฎกร บุญมาเลิศ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 24-43 11. การสื่อสารเพื่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายสุขภาพ โดยกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, อภิชา น้อมศิริ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 44-61 12. การสื่อสารรณรงค์โครงการเครือข่ายคนไทยไร้พุง รศ.อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์, ศุภชัย อาภาศิลป์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 62-82 13. การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารสำ�หรับพนักงานใหม่ในองค์กรไทย ผศ.ดร.รุ้ง ศรีอัษฎาพร, เกวลี ขันธ์เงิน วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 27 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 83-94 14. การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารสำ�หรับบุคลากรที่มีศักยภาพสูงในองค์กรรัฐ ผศ.ดร.รุ้ง ศรีอัษฎาพร, จิราวรรณ วงศ์ดอกไม้ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 95-107 15. นักร้องเกาหลีและกระแสนิยมเกาหลีของกลุ่มแฟนคลับชาวไทย รศ.เมตตา วิวัฒนานุกูล, กมลเนตร สุวรรณพิสิทธิ์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 108-122 16. โอเคเนชั่นบล็อกในฐานะวารสารศาสตร์ภาคพลเมือง ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต, นิดา หมอยาดี วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 123-143 17. ภาพความเป็นชายจากการสร้างตัวละครหลักในภาพยนตร์ ของ มาร์ติน สกอร์เซซี่ รศ.ปัทมวดี จารุวร, อัศวิน ศาบารา วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 144-158
61
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: บทความวิจัย/บทความวิชาการ
18. การใช้สื่อของผู้ปลูกถ่ายไขกระดูกเพื่อเสริมการบำ�บัด รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ณิชชารีย์ เดชส่งจรัส วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 1-11
62
19. กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ของโรงพยาบาลเอกชน ผศ.สุวัฒนา วงษ์กะพันธ์, ลลิตา พ่วงมหา วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 12-28 20. รูปแบบและกระบวนการสื่อสารของสื่อเว็บไซต์ของคณะละครเวทีร่วมสมัย อ.ดร.จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์, นันทศิริ ญาณจันทร์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 29-42 21. ประสิทธิผลของการใช้แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรในการสร้างภาพลักษณ์ ของ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) รศ.กรรณิการ์ อัศวดรเดชา, ปนัดดา ตันตระกูล วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 43-56 22. บทบาทของภาคประชาสังคมในการกำ�กับดูแลเนื้อหาอินเทอร์เน็ต ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต, เชิญพร คงมา วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 77-98 23. บุคลิกภาพการสื่อสารเชิงวัจนะและอวัจนะ ในการพูดต่อหน้าสาธารณะของเด็กวัยรุ่นอายุ 16-18 ปี ใน 4 ภูมิภาคของประเทศไทย ผศ.ดร.รุ้ง ศรีอัษฎาพร, ชัยยุทธ ถาวรานุรักษ์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 109-122 24. การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารสำ�หรับบุคลากรที่มีศักยภาพสูงในองค์กรเอกชน ผศ.ดร.รุ้ง ศรีอัษฎาพร, หทัยพร พิมสว่าง วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 123-135 25. การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ และทัศนคติ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อระบบแอดมิชชั่นส์ ปี 2553 ผศ.สุวัฒนา วงษ์กะพันธ์, อธิพร จันทรประทิน วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 3 2553 หน้า 136-158 26. การพัฒนาแนวคิดและมาตรวัดต้นแบบตราสินค้าวีรบุรุษในเชิงการสื่อสารการตลาด รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, อริชัย อรรคอุดม วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 1-20
รที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
27. การพัฒนาและขยายผลองค์ความรู้การสื่อสารเพื่อสุขภาวะของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย ตำ�บลนำ�เกี๋ยน อำ�เภอภูเพียง จังหวัดน่าน รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, นฤมล ใจดี วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 21-46 28. การสร้างและรักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในโลกออนไลน์: โอกาสหรืออุปสรรค ผศ.ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ, ศศิธร ยุวโกศล วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 47-75 29. การสือ่ สารเพือ่ ธำ�รงรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวมาเลเซียเชือ้ ชาติไทยในรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย รศ.อวยพร พานิช, ทัศนาวดี แก้วสนิม วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 76-101 30. การสื่อสาร ปฎิสัมพันธ์ทางสังคมกึ่งความจริงและการเรียนรู้ค่านิยมส่งเสริมสังคมจากภาพยนตร์ การ์ตูนญี่ปุ่นชุดมาสค์โรดดอร์ของกลุ่มแฟนคลับ รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ปริญชาติ จรุงจิตรประชารมย์ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 102-114 31. การใช้แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของ กฟผ. แม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง รศ.พัชนี เชยจรรยา, พฤกษา เกษมสารคุณ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 115-130 32. การกำ�หนดวาระข่าวสารทางการเมืองในกลุ่มบล็อกโอเคเนชั่น ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต, ปรียา กลิ่นสุวรรณ วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 131-146
63
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: บทความวิจัย/บทความวิชาการ
33. บทบาทของเว็บไซต์การศึกษา www.thaigoodview.com กับการสื่อสารความรู้ ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต, พรรณทิวา จันทร์สกุล วารสารนิเทศศาสตร์ ปี 28 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 147-168
64
34. การศึกษากระบวนการจัดทำ�แผนการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ในองค์กรธุรกิจข้ามชาติ ผศ. ดร. วรวรรณ องค์ครุฑรักษา, รศ. ดร. ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 1-33 35. สถานภาพการประชาสัมพันธ์ในประเทศไทย รศ. รุ่งนภา พิตรปรีชา วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 34-54 36. การสร้างแนวคิดส่วนตัวจากตราสินค้าระดับโลกของเด็กและวัยรุ่นไทย อ.ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 55-72 37. การแสวงหาข้อมูล การใช้ประโยชน์ และความเชื่อถือในข้อมูลการท่องเที่ยวจากสื่อออนไลน์ ที่ผู้บริโภคสร้างเองของคนวัยทำ�งาน รศ.พัชนี เชยจรรยา, นฤมล เพิ่มชีวิต วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 99-121 38. ภาพลักษณ์เปรียบเทียบของธนาคารพาณิชย์ไทยที่ร่วมทุนกับต่างชาติ รศ.พัชนี เชยจรรยา, มรกต จิรนิธิรัตน์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 122-146 39. คุณค่าตราสินค้ารถยนต์นั่งส่วนบุคคล ทัศนคติและความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคชาย ผศ.สุวัฒนา วงษ์กะพันธ์, วิทวัส ปานศุภวัชร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 147-164 40. วัฒนธรรมการบริโภคตราสินค้าโลโมกราฟฟีและการรับรู้เกี่ยวกับตนเองของวัยรุ่น รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, สรสรรณ จิระเรืองวงศ์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 165-194 41. สถานภาพการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, ศรินญา บุญเจิม วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 195-210
รที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
42. การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าขององค์กรธุรกิจไทย รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, วาสิตา บูรณศิลปิน วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 1-18 43. ตัวชี้วัดภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องสำ�อางในประเทศไทย รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, โอบเอื้อ วิโนสุนทรากร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 19-35 44. รูปแบบการสื่อสารเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนตลาดนำ�ยามเย็น อัมพวา รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, เณริศา ชัยศุภมงคลลาภ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 36-56 45. รูปแบบการสื่อสารในการจัดการการท่องเที่ยวของอำ�เภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, ปานตา ดารามิตร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 57-77 46. การเปรียบเทียบชุมชนตราสินค้าที่บริษัทเป็นผู้ดำ�เนินการและที่ผู้บริโภคเป็นผู้ดำ�เนินการ รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, พสุ กันทา วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 78-98 47. การสร้างแบบสอบถามวัดภาพลักษณ์องค์กร ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, ศุกลิน วนาเกษมสันต์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 99-117 48. ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อการตลาดและการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลบนเว็บไซต์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, ฌานภาณุ มงคลฤทธิ์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 118 -135 49. ตัวชี้วัดสำ�หรับการประเมินผลการดำ�เนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทธุรกิจในประเทศไทย ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, สุประพล นกทอง วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 136-157 50. บุคลิกภาพตราสินค้าของรายการข่าวโทรทัศน์ รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, ดวงแข จิตตางกูร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 2 2553 (พิเศษ 1) หน้า 158-177
65
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: บทความวิจัย/บทความวิชาการ 51. ความเป็นนานาชาติในนิตยสารตกแต่งบ้านต่างประเทศฉบับภาษาไทย รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, ศรีธนา ชื่นอังกูร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 1-18
66
52. กระบวนการสื่อสารส่งเสริมการตลาดสมุนไพรอภัยภูเบศร รศ.อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์, พจี มณีรัตน์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 19-33 53. ทัศนคติของผู้สื่อข่าวสายเศรษฐกิจที่มีต่ออาชีพการประชาสัมพันธ์และกิจกรรมสื่อมวลชนสัมพันธ์ ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, ทิพย์อาภาภรณ์ ยิ้มละมัย วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 34-54 54. ภาพลักษณ์ของผู้หญิงที่ปรากฏในข่าวประชาสัมพันธ์ละครโทรทัศน์ รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, ชญาน์ทัต วงศ์มณี วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 55-76 55. การวัดคุณค่าตราสินค้าบุคคล รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, หทัยรัตน์ วงศ์กิติกำ�จร วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 77-99 56. สิ่งกระตุ้นและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, วรรณพร ริจิรวนิช วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 100-120 57. การสื่อสารความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการธุรกิจบุหรี่ รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, กิติยา ปรัตถจริยา วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 121-140 58. กระบวนการสื่อสารกับสาธารณชน กระบวนการตัดสินใจและปัจจัยการสื่อสารที่มีผลต่อการเข้าร่วม โครงการ “จิตประภัสสรตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์” ของเสถียรธรรมสถาน รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, มาลีวรรณ ศุขวัฒน์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 141-159 59. ผลของบริบทของรายการโทรทัศน์ต่อประสิทธิผลของโฆษณา รศ.ดร.สราวุธ อนันตชาติ, พิมพ์พิไล ไทพิทักษ์ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 3 2553 (พิเศษ 2) หน้า 160-185
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ
67
60. ความพึงพอใจของผู้สมัครที่มีต่อเว็บไซต์ของหลักสูตรนานาชาติที่เปิดสอนในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ. สมิทธิ์ บุญชุติมา วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 1-19 61. ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อ Ambient Advertising ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, อรณี เตียวสมบูรณ์กิจ วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 62-88 62. การศึกษาการทำ�ซีเอสอาร์ โดยใช้แนวคิด enlightened self interest ของ James E. Grunig พร้อมกรณีศึกษานอก - ในประเทศ รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, อนัญญา กรรณสูต วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 89-116 63. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของพนักงานต่อการปรับเปลี่ยนตราสินค้าองค์กรของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ไทย อ.ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม, สุทธะ เกิดทรัพย์ วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 117-140 64. ความรู้ ในงานประชาสัมพันธ์และการนำ�ไปใช้เพื่อความสำ�เร็จทางการตลาด ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, ณัฐกานต์ รอดหิรัญ วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 141-157 65. การประมวลองค์ความรู้เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสื่อใหม่กับการประชาสัมพันธ์จากเว็บไซต์ ของ The institute for public relations รศ.รุ่งนภา พิตรปรีชา, อนัญญา กรรณสูต วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 158-189
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: บทความวิจัย/บทความวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ 66. การรับรู้การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงกลยุทธ์กับคุณค่าตราสินค้า ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา, ณรงค์ สิริวัฒนวิโรจน์ วารสารการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 190-217
68
67. ทัศนคติต่อโฆษณา และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาในโรงภาพยนตร์ ผศ.ดร.ม.ล.วิฎราธร จิรประวัติ, ชนม์ธนัทกรณ์ อยู่ชยันตี วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปี 3 ฉบับที่ 4 2553 หน้า 218 -239 68. การประกอบสร้างอัตลักษณ์ของผู้สูงอายุในหนังไทย รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, กำ�จร หลุยยะพงศ์ วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ. ปี 1 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 13-23 69. วัฒนธรรมฟุตบอล: การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงและธำ�รงรักษาโครงสร้าง “ชนชั้น” ในสังคมไทย รศ.ดร.อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท, รศ.ดร.กาญจนา แก้วเทพ, ณัฐสุพงศ์ สุขโสต วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ. ปี 1 ฉบับที่ 2 2553 หน้า 47-63 70. กระบวนการสร้างสารของพระมหาสมปอง ตาลปุตโต ในรายการธรรมะเดลิเวอรี่ รศ.สุธี พลพงษ์, ชลธิชา ชูชาติ วารสารวิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ ม.รังสิต นิเทศศาสตรปริทัศน์ ปี 14 ฉบับที่ 1 2553 หน้า 82-99
บ ทความวิจัย/บทความวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับนานาชาติ The Media Convergence Lifestyle Profile in Thailand Yubol Benjarongkij, Parichart Sailanoo Media Asia an Asian Communication Quarterly Volume 37 Number 4, 232-243 (2010)
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: การนำ�เสนอผลงานวิจัย/บทความวิชาการระดับนานาชาติ การนำ�เสนอผลงานวิจัย/บทความวิชาการระดับนานาชาติ ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
Matters of Communication From Tsunami 2004: Dealing with Personal Loss ศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ณ ประเทศสิงคโปร์ 22 - 26 มิถุนายน พ.ศ.2553
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
The Alcohol Communications War: “Communications” Versus “Symbolic Meaning” in relation of alcohol consumption ศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ ณ ประเทศสิงคโปร์ 22 - 26 มิถุนายน พ.ศ.2553
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
สื่อในวิกฤต หรือวิกฤตในสื่อ - วาทกรรมความขัดแย้ง ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ.2553 อ.อลงกรณ์ ปริวุฒิพงศ์ The 6th Annenberg/Oxford Summer Institute on Global Media Policy ณ มหาวิทยาลัย Oxford ประเทศอังกฤษ 4 -17 กรกฎาคม พ.ศ.2553
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
Teaching development project by using digital media and the concept of instructional communication for Public Relations in New Media อ.สมิทธิ์ บุญชุติมา International Conference on Media & Culture : Global Homogeneity & Local Identity จัดโดย Asian congress for media and communication: ACMC ณ University Saints Malaysia 29 -31 ตุลาคม พ.ศ.2553
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
Way forward: Media reforms in Thailand รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ CPRsouth5: Convergence: Infrastructure, Services, Policies Xi’an, China (2010) 6 - 8 ธันวาคม พ.ศ.2553
69
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
70
:: การนำ�เสนอผลงานวิจัย/บท
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
Way forward: Media reforms in Thailand รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ CPRsouth5: Convergence: Infrastructure, Services, Policies Xi’an, China (2010) 6 - 8 ธันวาคม พ.ศ.2553
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
The Use of CRM in Public Relations Work of Private Sector in Thailand รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ American Society of Business and Behavior Sciences 18th Annual Meeting National University ประเทศสหรัฐอเมริกา 24 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
The Use of Websites and Social Networks for Consumer Products in Thailand ผศ. ดร. วรวรรณ องค์ครุฑรักษา American Society of Business and Behavior Sciences 18th Annual Meeting National University ประเทศสหรัฐอเมริกา 24 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554
Performance and Ecology การแสดงละครชุด “Terra Musica” อ.ดร.จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ / อ.ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร ณ ประเทศสิงคโปร์ 14 - 20 มีนาคม พ.ศ.2554
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ ผู้นำ�เสนอ ชื่อการประชุม/ประเทศ ระยะเวลา
: : : :
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
The Practice of Public Relations in Building National Unity ผศ.ดร.นภวรรณ ตันติเวชกุล การประชุมวิชาการ “The International History of Public Relations Conference” ณ เมือง Pool สหราชอาณาจักร 6 - 7 กรกฎาคม 2554
ทความวิชาการระดับนานาชาติ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
Public Relations through Websites and Social Networks and Target Audience Responses in Thailand รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ การประชุ ม วิ ช าการเรื่ อ ง International Academy of Business and Public Administration Disciplines (IABPAD) Conference ณ The Double tree Hotel Waikiki, Honolulu, Hawaii ประเทศสหรัฐอเมริกา 24 - 29 กรกฎาคม 2554
ชื่อผลงานวิจัย/บทความวิชาการ : ผู้นำ�เสนอ : ชื่อการประชุม/ประเทศ : ระยะเวลา :
The Potential of Internet Marketing for Consumer Products in Thailand ผศ.ดร.วรวรรณ องค์ครุฑรักษา งาน World Business, Economics and Finance Conference ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพมหานคร 26 -27 กันยายน 2554
71
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: งานกิจกรรมต่างๆ งานวันสถาปณาคณะนิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์จดั งาน “วันคล้ายวันสถาปนา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” เป็น ประจำ�ทุกปี ในวันที่ 5 กรกฎาคม โดยในช่วงเช้า คณะฯ จะจัดให้มีการทำ�บุญตักบาตร และถวาย เครื่องจัตุปัจจัยไทยธรรมแด่พระสงฆ์ เพื่อเป็นการ เสริมสร้างสิริมงคลให้กับคณาจารย์ บุคลากร และ นิสิตของคณะฯ และรับประทานอาหารกลางวัน ร่วมกัน ปิดท้ายด้วยการมอบรางวัลเพื่อเป็น การยกย่องชมเชยและเป็นกำ�ลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน ดีเด่นของคณะฯ
72
จัดขึ้นวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 ณ ห้อง ดร. เทียม โชควัฒนา ชั้น 4 อาคาร 1 คณะนิเทศศาสตร์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะนิเทศศาสตร์จุฬาฯ
73
งานแสดงมุทิตาจิต “งานแสดงมุทิตาจิต” จัดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อเชิดชูเกียรติและ คุณงามความดีของบุคลากรที่เกษียณอายุราชการ ที่ได้อุทิศตนปฏิบัติหน้าที่ รับใช้คณะนิเทศศาสตร์ดว้ ยความวิรยิ ะอุตสาหะ งานดังกล่าวยังเป็นการแสดง ถึงความรัก ความผูกพัน และขอบคุณในทุกสิ่งที่ผู้เกษียณอายุราชการมีต่อ คณะฯ และเพื่อนร่วมงาน
จัดขึ้นวันที่ 23 กันยายน 2553 ชั้น 4 อาคารมงกุฎสมมติวงศ์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: งานกิจกรรมต่างๆ พิธีบำ�เพ็ญกุศลทักษิณานุประทาน อุทิศถวายแด่ พระบาทสมเด็จ ประจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) วั น ที่ 18 ตุ ล าคม ของทุ ก ปี เป็ น วั น พระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทางคณะฯ ได้จัดพิธีบำ�เพ็ญทักษิณา นุประทาน ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร เพื่อ น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ที่มี ต่อวิชาการและวิชาชีพนิเทศศาสตร์ไทย พระองค์ ทรงวางรากฐานด้านนิเทศศาสตร์ให้แก่สังคมไทย โดยเฉพาะด้ า นการพิ ม พ์ เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ใ น พระอัจฉริยภาพ จนได้รับการยกย่องว่าทรงเป็น “พระบิดาแห่งนิเทศศาสตร์ไทย”
74
จัดขึ้นวันที่ 18 ตุลาคม 2553 ณ วัดบวรนิเวศน์วรมหาวิหาร
คณะนิเทศศาสตร์จุฬาฯ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
75
พิธีอัญเชิญพระบรมรูป 3 รัชกาล (รัชกาลที่ 4, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 6) ด้วยคณะฯ ได้ดำ�เนินการจัดทำ�พระรูปรัชกาลที่ 5 ขึ้น ใหม่ และซ่อมแซมพระรูป รัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 6 ซึ่ง บางส่วนชำ�รุด และสีหลุดร่อนไป ที่ผ่านมาได้จัดวางพระรูป ทั้ง 3 รัชกาลไว้ ณ บริเวณโถงอาคาร 1 ต่อมาคณะฯ ได้ดำ�เนินการก่อสร้างอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ขึ้นใหม่ และ ทำ�การปรับปรุงอาคาร 1 เพื่อให้ดสู ง่างามสมพระเกียรติ และ เพือ่ ให้คณาจารย์ นิสติ บุคลากรและบุคคลทัว่ ไป ได้สกั การะ เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล จึงได้จดั ทำ�แท่นวางพระรูปทัง้ 3 รัชกาล บริเวณโถงอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ และได้ประกอบพิธอี ญั เชิญขึน้ ใน วันที่ 5 พ.ย. 53 จัดขึ้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2553 ณ คณะนิเทศศาสตร์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
76
งานทำ�บุญตักบาตรเนื่องใน วโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2553 วันที่ 5 ธันวาคม 2553 ตรงกับวัน มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั คณะนิเทศศาสตร์ จัดพิธีทำ�บุญตักบาตรพระสงฆ์ เพื่อถวายเป็น พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพิธที �ำ บุญตักบาตรครัง้ นีม้ คี ณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมาร่วมตักบาตรเป็นจำ�นวนมาก
จัดขึ้นวันที่ 2 ธันวาคม 2553 ณ บริเวณหน้าอาคารมงกุฎสมมติวงศ์
:: งานกิจกรรมต่างๆ
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะนิเทศศาสตร์จุฬาฯ
77
งานวันบำ�รุงสุข “งานวั น บำ � รุ ง สุ ข ” เป็ น งานที่ จั ด ขึ้ น เป็ น ประจำ � ทุ ก ปี ใ นวั น ที่ 31 มกราคม ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันอนิจกรรมของ “ศาสตราจารย์บำ�รุงสุข สีหอำ�ไพ” เพือ่ เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทิตา และน้อมรำ�ลึกพระคุณ ของปูชนียบุคคล ผู้บุกเบิกการศึกษาด้านนิเทศศาสตร์ในประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จัดขึ้นวันที่ 31 มกราคม 2554 ณ ชั้น 4 อาคารมงกุฎสมมติวงศ์
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: งานกิจกรรมต่างๆ คณะนิเทศศาสตร์จุฬาฯ
78
พิธีเปิดอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรม ราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินเป็นประธาน ในพิธีเปิด “อาคารมงกุฎสมมติวงศ์” ซึ่งเป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง 12 ชั้น และ ชัน้ ลอย 1 ชัน้ มีพนื้ ทีใ่ ช้สอย 10,000 ตารางเมตร ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 87,000,000 บาท โดย มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น อนุ ส รณ์ 200 ปี พระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ผูท้ รงริเริม่ งานด้านนิเทศศาสตร์เป็น พระองค์แรกของประเทศ และเพื่อเฉลิมฉลอง การดำ�เนินงานครบ 40 ปี ของคณะนิเทศศาสตร์
จัดขึ้นวันที่ 26 มีนาคม 2554 ณ คณะนิเทศศาสตร์ 1
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: การบริหารงานของคณะฯ ในรอบสมัย 2549-2554 (คณบดี)
79
1. โครงการปรับรวมหลักสูตรบัณฑิตศึกษา เนื่องจากที่ผ่านมาหลักสูตรมหาบัณฑิตที่มีจำ�นวนถึง 8 หลักสูตร ในขณะที่คณะฯ มีค ณาจารย์อยูป่ ระมาณ 50 คน ทำ�ให้ภ าระงาน โดยเฉพาะงานด้านการดูแลวิทยานิพนธ์เป็น ภาระทหี่ นักม ากส�ำ หรับค ณาจารย์ท สี่ อน และวจิ ยั ในหลักสูตร บัณฑิตศึกษา หลักสูตรทมี่ ีอยู่หลากหลายทำ�ให้มาตรฐานใน การรับนิสิตเข้าศึกษาต่อ มีความแตกต่างกันสูง ขึ้นอยู่กับ จำ�นวนสมัครเข้าศ กึ ษาตอ่ ประกอบกบั ค วามเปลีย่ นแปลงดา้ น เทคโนโลยีก ารสอื่ สารและพฤติกรรมการเปิดรบั ส อื่ ข องคนยคุ ใหม่ในสังคม ทำ�ให้คณะฯ มุ่งปรับหลักสูตรมหาบัณฑิตใหม่ โดยเป็นห ลักสูตรทเี่ อือ้ ต อ่ ก ารศกึ ษา ค้นคว้า ทีค่ รอบคลุมข อง สือ่ ย คุ ใหม่ท ไี่ ด้ห ลอมรวมกนั เป็นส อื่ เดียว แต่เกิดค วามปลีย่ น แปลง และมีอิทธิพลเป็นอย่างสูงต่อสังคมมนุษย์ในปัจจุบัน หลักสูตรนิเทศศาสตร์ม หาบัณฑิตใหม่ ที่ม ีการจัดการเรียน การสอน เน้นหนักใน 6 สาขา (Area of concentration) ได้เปิดรับนิสิตในภาคการศึกษาต้น ปีก ารศึกษา 2553 โดย หลักสูตรเดิม 8 หลักสูตร ได้เริ่มทยอยปิดตัวลง
2. โครงการกอ่ สร้างและตกแต่งอ าคารมงกุฎ สมมติวงศ์ เป็นอาคารคอนกรีตผสมเหล็ก สูง 12 ชั้น และชั้นลอย 1 ชั้น มีพ ื้นทีใ่ช้สอยประมาณ 10,000 ตาราง เมตร พื้นอาคารเป็นโครงสร้างระบบ POSTED TENSION
แบ่งการก่อสร้างเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2549 สิ้นสุด ปี พ.ศ. 2551 งบประมาณในการก่อสร้าง 102,990,000.00 บาท ระยะที่ 2 เป็นการตกแต่งภายใน ติดตั้งระบบปรับอากาศ ระบบ LAN และระบบ CCTV โดย เริ่มดำ�เนินการเมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 สิ้นสุด เดือนธันวาคม 2553 งบประมาณทั้งส ิ้น 87,000,000.00 บาท
3. ศูนย์แ ห่งค วามเป็นเลิศด า้ นสอื่ ด จิ ทิ ลั (CEDM : Center of Excellence in Digital Media) คณะฯ
ได้รบั งบประมาณสนับสนุนจากจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยต าม แผนพัฒนาวิชาการจุฬาฯ 100 ปี จำ�นวน 120,000,000.00 บาท เป็นศ ูนย์ผลิตส ื่อดิจิทัล เพื่อนำ�ไปใช้ในกิจการด้านการ สื่อสาร และห้องปฏิบัติการภาพคมชัดสูง ภาพเสมือนจริง ภาพนิ่งระบบดิจิทัล และห้องปฏิบัติการเสียงระบบดิจิทัล
4. ศูนย์ศ กึ ษานโยบายสอื่ (Thai Media Policy Center) มุง่ เน้นทรี่ ะบบกฎหมายและนโยบายเพือ่ ประโยชน์
สาธารณะ เพื่อธำ�รงไว้ซึ่งเสรีภาพ สื่อทเี่ป็นอิสระ และสิทธิ ทางการรับรู้ของพลเมือง อย่างไรก็ดี ขณะที่ประชาธิปไตย ในประเทศก�ำ ลังเบ่งบาน แต่ประเทศไทยยงั คงขาดโครงสร้าง พื้นฐานทางกฎหมายที่จะสนับสนุนให้ส ื่อทำ�หน้าที่ ‘หมาเฝ้า บ้าน’ และสนับสนุนให้ส าธารณชนรกั ษาเสรีภาพในการแสดง
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความคิดเห็นของตนเองได้ โดยศูนย์ศ ึกษานโยบายสื่อจะทำ� หน้าที่ในการสง่ เสริมสนับสนุนและวจิ ยั ในประเด็นทเี่ กีย่ วข้อง กับก ฎหมายและนโยบายทมี่ ผี ลกระทบกบั ส อื่ มวลชนและการ สื่อสารทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ
80
:: การบริหารงานของคณะฯ
8. โครงการสนับสนุนก ารศกึ ษาคณาจารย์ โดย
การจดั สรรงบประมาณเงินรายได้ค ณะฯ เพือ่ เป็นท นุ ก ารศกึ ษา ต่อในระดับดุษฎีบัณฑิต ทั้งในและต่างประทศ ซึ่งที่ผ่านมา คณะฯ ได้สนับสนุนทุนการศึกษาแก่อาจารย์ไปแล้วจำ�นวน 2 ท่าน
5. ศู น ย์ ใ ห้ คำ � ป รึ ก ษาด้ า นก ารสื่ อ สาร (Communication Consultation Center) เป็น 9. โครงการศนู ย์ส ขุ ภาพของคณาจารย์ บุคลากร หน่วยงานที่ดำ�เนินการให้คำ�ปรึกษาด้านการสื่อสาร การวิจัย คณะนิเทศาสตร์ โดยการจัดให้มีพื้นที่ และอุปกรณ์ออก และการอบรม/พัฒนาบุคลากรทางด้านการสื่อสารให้แก่ กำ�ลังกาย ตลอดจนเชิญบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญมาให้ หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ข้อมูลทเี่ป็นประโยชน์ด ้านสุขภาพอนามัย
6. โครงการสนับสนุนภ าระงานดา้ นการสอนวิจยั 10. โครงการวารสารวชิ าการนเิ ทศศาสตร์ระดับ และบริการสังคม (One Teacher One Computer) นานาชาติ เพื่อเป็นการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ก้าวหน้า
ซึง่ เป็นโครงการจดั หาคอมพิวเตอร์โน้ตบคุ ให้กบั ค ณาจารย์ไว้ และเข้มแข็ง คณะฯ จึงได้มีจัดสรรงบประมาณมาสนับส นุน ใช้เพื่องานด้านการสอน วิจัย และบริการสังคม การจดั ท� ำ วารสารระดับน านาชาติ เพือ่ สร้างฐานขอ้ มูลท ไี่ ดร้ บั การยอมรับ และมีผลต่อการจัดอันดับโลก
7. สูตรนเิ ทศศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวขิ าการ จัดการการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (หลักสูตรนานาชาติ) (Master of Arts in Strategic Communication Management International Program) ในฐานะ
ที่คณะนิเทศศาสตร์มีความพร้อมทั้งในแง่ของบุคลากรที่มี ศักยภาพและทรัพยากรสนับสนุนทางการศึกษา การจัดให้ มีการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็น เครือ่ งมอื ในการเรียนการสอนจงึ เป็นก า้ วส�ำ คัญท คี่ ณะฯ จะเป็น แกนกลางในการสร้างองค์ค วามรดู้ า้ นนเิ ทศศาสตร์ท เี่ ป็นส ากล ผลิตบ ณั ฑิตในระดับม หาบณั ฑิตท มี่ คี วามรคู้ วามสามารถในการ ศึกษาวจิ ยั เพือ่ ส ร้างองค์ค วามรใู้ หม่ท างนเิ ทศศาสตร์ในระดับ นานาชาติ และบัณฑิตที่สามารถนำ�องค์ค วามรู้ใหม่เหล่านี้ ไปใช้ในการปฏิบตั งิ านทางการสอื่ สารในสภาพแวดล้อมทเี่ ป็น นานาชาติในยคุ ของการหลอมรวมสอื่ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยหลักสูตรดังกล่าวเปิดสอนในปีการศึกษา 2554 ซึ่งมีนิสิต รุ่นแรก จำ�นวน 10 คน
ในรอบสมัย 2549-2554 (คณบดี)
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
81
11. โครงการความร่วมมือด้านวิชาการกับ 13. โครงการให้ท นุ ก ารศกึ ษาส�ำ หรับน สิ ติ จ าก มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ได้ดำ�เนินการสร้าง ประเทศเพือ่ นบา้ น เพือ่ เปิดโอกาสให้นสิ ิตในกลุ่มประเทศ
ความร่วมมือและกระชับความสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัยใน ต่างประเทศ เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาในด้านต่างๆ ร่วมกัน ปัจจุบันหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ การสื่อสาร (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) มีส ัญญาความร่วมมือ กับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ จำ�นวน 3 ฉบับ ดังนี้ - Nanyang Technological University ประเทศสิงคโปร์ - RMIT University ประเทศออสเตรเลีย - Ludwig-Maximilians-Univeritat Munchen (LMU) ประเทศเยอรมันนี
12. โครงการนิสิตแลกเปลี่ยน ในแต่ละปี หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการ สื่อสาร (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) ได้ดำ�เนินโครงการนิสิต แลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือทั้งระดับคณะ และระดับมหาวิทยาลัย โดยคัดเลือกนิสิตผ ู้มีผลการเรียนดี และมีคุณสมบัติเหมาะสมไปแลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัยใน ต่างประเทศ สำ�หรับที่ผ่านมา มีนิสิตเดินทางไปแลกเปลี่ยน ณ มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ และมีนิสิตจ ากต่างประเทศ เดินทางมาศึกษาที่หลักสูตร เป็นจ ำ�นวนมาก
อาเซียนได้มีโอกาสมาเป็นนิสิตแลกเปลี่ยนในหลักสูตรนิเทศ ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (หลักสูตร ภาษาอังกฤษ) และเพื่อให้น ิสิตที่เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาส แลกเปลีย่ นความรู้ วัฒนธรรมของแต่ละทอ้ งถนิ่ ซ งึ่ ก นั แ ละกนั
14. สมาคมวิชาการนิเทศศาสตร์และการ สือ่ สารมวลชนแห่งป ระเทศไทย (The Communication
Academic Association of Thailand : CAAT) ก่อตั้ง และได้รับอนุญาตให้จดทะเบียนเป็นสมาคมในปี 2551 โดยไ ด้ รั บ ค วามร่ ว มมื อ จ ากค ณะที่ เปิ ด ส อนวิ ช าการ ด้านนิเทศศาสตร์และการสื่อสารมวลชน 17 สถาบัน ทั่ ว ป ระเทศข องรั ฐ และเอกชน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่อสร้างเครือข่ายองค์กรทางวิชาการด้านนิเทศศาสตร์ ซึ่งจะสนับสนุนการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ส่งเสริมความ รว่ มมอื ก บั น านาชาติเพือ่ ก ารพฒั นาศกั ยภาพดา้ นนเิ ทศศาสตร์ เผยแพร่งานวิจัย และเป็นศูนย์กลางเครือข่ายวิชาการ ด้านนิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชนของ ประเทศไทยทมี่ เี ป้าห มายและบทบาททางวชิ าการอย่างชดั เจน และถกู ต อ้ งตามกฏหมาย ปัจจุบนั สมาคมวชิ าการนเิ ทศศาสตร์ และการสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย มีส ำ�นักงานตั้งอยู่ที่ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
:: รายนามผู้จัดทำ�
งานกิจกรรมต่างๆ คณะนิเทศศาสตร์จุฬาฯ 82
คณบดี รองศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ
ที่ปรึกษา
รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ อาจารย์ ดร.สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ นางสาวนิภาพรรณ์ แก้วสุวรรณ์
ที่ปรึกษา
นางสาวยุรวรรณ สุวรรณศรี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา
ผู้จัดทำ�
นางสาวชนาภา หนูนาค นิสิตปริญญาโทผู้ช่วยสอน
ผู้ประสานงาน
ที่ปรึกษา
ขอขอบคุณทุกๆ หน่วยงานในการให้ข้อมูลสำ�หรับการจัดทำ�รายงานประจำ�ปีฉบับนี้
รายงานประจำ�ปี 2553-2554 คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
83