ธกส

Page 1

ธ.ก.ส. นอมเกลานอมกระหมอมถวายที่ดินและอาคารสิ่งปลูกสรางแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว



““...เศรษฐกิจพอเพียง เปนเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป...”” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จากวารสารชัยพัฒนา ประจำเดือนสิงหาคม ๒๕๔๒

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

3


4

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


สารบัญ

ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ

๑. ธ.ก.ส. ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรวงข้าวทองคำแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๒. ธ.ก.ส. น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายที่ดินและอาคารสิ่งปลูกสร้าง แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๓. สถาปัตยกรรมอาคารโกลเด้นเพลซหัวหิน

ตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาท...บนเส้นทางแห่งความพอเพียง ๑. ก่อเกิด....ธนาคารต้นแบบ “ความพอเพียง” ๒. ก่อเกิด...ธนาคารต้นไม้ ๓. ก่อเกิด...ศูนย์เรียนรู้เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ธ.ก.ส.

๑๑ ๑๓ ๔๑

๕๙ ๗๕ ๘๗

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

5


นายลักษณ์ วจนานวัช ผู้จัดการ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

6

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


สารผู้จัดการ ธ.ก.ส. นับจ​ าก​วัน​ก่อ​ตั้ง ธ.ก.ส. ใน​ปี พ.ศ.๒๕๐๙ จน​ครบ​รอบ​การดำเนิน​งาน​ปที​ ี่ ๔๖ ใน​ปี พ.ศ.๒๕๕๕ นี้ ธ.ก.ส. ได้​ดำรง​บทบาท​การ​เป็น​ธนาคาร​เฉพาะ​กิจ​เพื่อ​ให้​ความ​ช่วย​เหลือ​ทาง​ด้าน​การ​เงิน​แก่​เกษตรกร กลุ่ม​เกษตรกร สหกรณ์​การเกษตร ใน​การ​ลงทุน​ประกอบ​อาชีพ​การเกษตร​และ​อาชีพ​ที่​เกี่ยว​เนื่อง​กับ​ การเกษตร ตาม​เจตนารมณ์​ใน​การ​ก่อ​ตั้ง ธ.ก.ส. อย่าง​ไม่​เปลี่ยนแปลง และ​ท่ามกลาง​วิกฤตการณ์ข​ อง​การ​ เปลีย่ นแปลง​ทงั้ ด​ า้ น​สงั คม เศรษฐกิจ และ​การเมือง​ทท​ี่ ำให้ท​ กุ อ​ งค์กร​ตอ้ ง​ปรับต​ วั อย่าง​ขนาน​ใหญ่ รวม​ถงึ ธ.ก.ส. ทีไ่​ด้ร​ ับผลก​ระ​ทบ​ด้วย​เช่นก​ ัน แต่เ​พราะ​การ​น้อมนำ​หลักก​ าร​ทรง​งาน​และ​หลักป​ รัชญา​เศรษฐกิจพอ​เพียง​ที่​ พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั ไ​ด้พ​ ระราชทาน​แก่ป​ วง​ชน​ชาว​ไทย​มา​ถอื ใ​ช้ป​ ฏิบตั อ​ิ ย่าง​จริงจังแ​ ละ​เป็นร​ ปู ธ​ รรม ​ทั้ง ๓ ด้าน คือ ด้าน​องค์กร ด้าน​พนักงาน และ​ด้าน​เกษตรกร​ลูกค้า จึง​ทำให้ ธ.ก.ส. สามารถ​รอดพ้น​ จาก​วกิ ฤตการณ์ต​ า่ งๆ มา​ได้อ​ ย่าง​มนั่ คง โดย​ยงั ค​ งยึดม​ นั่ ต​ าม​ปณิธาน​ทว​ี่ า่ “ธ.ก.ส. มุง่ ม​ นั่ ด​ ำเนินง​ าน​ตาม​หลัก​ ปรัชญา​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​ดว้ ย​การ​บริหาร​จดั การ​องค์กร​ทด​ี่ ี มีค​ วาม​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ​ตอ่ ส​ งั คม​และ​สงิ่ แ​ วดล้อม สร้างสรรค์​บริการ​ที่​มี​คุณค่า​และ​หลาก​หลาย​เพื่อ​ให้​เกษตรกร​ราย​ย่อย​มี​คุณภาพ​ชีวิต​ที่​ดี​ขึ้น” ซึ่ง​ผล​ สำเร็จจ​ าก​การ​นอ้ มนำ​ปรัชญา​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​มา​ใช้ใ​น​การ​บริหาร​จดั การ​องค์กร โดย​การ​เลือก​และ​ปรับใ​ช้​ ความ​รท​ู้ าง​วชิ าการ​ให้เ​หมาะ​สม​กบั ภ​ ารกิจข​ อง ธ.ก.ส. จน​ได้ร​ บั ร​ างวัลเ​กียรติยศ​สงู สุด คือ ถ้วย​พระราชทาน ​พระบาทสมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ซึ่ง​เป็น​รางวัล​ชนะ​เลิศ​จาก​การ​ประกวด​ผล​งาน​ตาม​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​ พอ​เพียง ครั้ง​ที่ ๒ ประเภท​หน่วย​งาน/องค์กร​ภาค​รัฐ​ใน​ส่วน​กลาง นับ​ว่าเ​ป็นรางวัลท​ ี่​สร้าง​กำลังใ​จ​ให้​กับ​ พนักงาน ธ.ก.ส. ทุก​คนใน​การ​พากเพียร​ปฏิบัตหิ​ น้าที่​ให้ค​ วาม​ช่วย​เหลือ​เกษตรกร​ลูกค้า เพื่อใ​ห้​มี​ความ​ เป็น​อยู่​และ​มี​คุณภาพ​ชีวิต​ที่​ดี​ขึ้น​ภาย​ใต้ห​ ลัก​การ​ดำเนิน​ชีวิต​แบบ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​อย่าง​มุ่ง​มั่น​ต่อ​ไป ด้วย​สำนึกใ​น​พระ​มหากรุณาธิคุณข​ อง​พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยู่หัวอ​ ย่าง​หา​ที่สุดมิได้ ธ.ก.ส. จึงไ​ด้​ น้อม​เกล้าน​ อ้ ม​กระหม่อม​ถวาย​ทดี่ นิ พ​ ร้อม​สงิ่ ป​ ลูกส​ ร้าง​อาคาร​สำนักงาน ๒ ชัน้ ทีอ​่ ำเภอ​หวั หิน จังหวัดป​ ระจวบคีรขี นั ธ์ แด่พ​ ระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั เพือ่ ท​ รง​ใช้ต​ ามพระ​ราช​อธั ยาศัย นับว​ า่ เ​ป็นค​ วาม​ภาค​ภมู ใิ จ​สงู สุดข​ อง​พนักงาน ธ.ก.ส. ทุกค​ น​ทไ​ี่ ด้แ​ สดงออก​ถงึ ค​ วาม​จงรักภ​ กั ดีต​ อ่ ส​ ถาบันพ​ ระ​มหา​กษัตริย์ อันเ​ป็นเ​สา​หลักแ​ ละ​ศนู ย์ร​ วม​จติ ใจ​ ของปวง​ชน​ชาว​ไทย

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

7


8

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


บทนำ พระบาท​สมเด็จ​พระ​ปร​มิ​นท​รม​หา​ภูมิพล​อดุลย​เดช ได้​ทรง​พระ​กรุณา​โปรด​เกล้าฯ ให้​ตรา​พระ​ราช​บัญญัติ​ ธนาคาร​เพื่อก​ ารเกษตร​และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) ไว้​เมื่อ​วัน​ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ โดย​รัฐบาล​ใน​ขณะ​นั้น​ ได้​กำหนด​เหตุผล​ใน​การ​จัด​ตั้ง ธ.ก.ส. คือ ใน​การ​ส่ง​เสริม​พัฒนาการ​เกษตร​ของ​ประเทศ​จำเป็น​ต้อง​จัด​ให้​ความ​ช่วย​เหลือ​ ทางการ​เงินอันเ​ป็นป​ จั จัยส​ ำคัญป​ ระการ​หนึง่ เพือ่ เ​กษตรกร​สามารถ​เพิม่ ผ​ ลผลิตแ​ ละ​ราย​ได้การ​เกษตร การ​ให้ค​ วาม​ชว่ ย​เหลือ​ เช่น​นนั้ ​ควร​จดั ​ขยาย​ออก​ไป​อย่าง​กว้าง​ขวาง ทั้ง​ใน​ดา้ น​เกษตรกร​โดยตรง​และ​ใน​ดา้ น​กลุม่ ​เกษตรกร​กบั ​สหกรณ์​การเกษตร การ​ดำเนิน​งาน​ให้​ความ​ชว่ ย​เหลือ​ทางการ​เงินใน​ดา้ น​ตา่ งๆ เหล่า​นี้ ควร​อยูภ่​ าย​ใต้ก​ าร​ควบคุมเ​ป็น​ระบบ​เดียวกัน เพื่อ​ให้ไ​ด้​ ผล​มั่นคง​และ​สะดวก​ใน​การ​จัดหาเงิน​ทุน​เพิ่ม​เติม โดย ธ.ก.ส. ได้เ​ริ่ม​เปิด​ดำเนินง​ าน​ตั้งแต่​วันท​ ี่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๙ เป็นต้นม​ า มีฐ​ านะ​เป็นร​ ฐั วิสาหกิจป​ ระเภท​ธนาคาร​เฉพาะ​กจิ ใ​น​สงั กัดก​ ระทรวง​การ​คลัง และ​ได้ร​ บั ค​ วาม​เห็นช​ อบ​ จาก​รัฐสภา​ให้​แก้ไข​เพิ่ม​เติม​พระ​ราช​บัญญัตธิ​ นาคารเพื่อ​การเกษตร​และ​สหกรณ์ก​ ารเกษตร (ฉบับ​ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๙ ทำให้ ธ.ก.ส. สามารถขยาย​บทบาท​จาก​การ​เป็น​สถาบันก​ าร​เงิน​ทใี่​ ห้​ความ​ช่วย​เหลือ​ทางการ​เงินแ​ ก่​ภาค​เกษตร​และ​ ด้าน​อื่นๆ เพิ่ม​ขึ้น ดังนี้ ดำเนิน​งาน​ให้​ความ​ช่วย​เหลือ​ทางการ​เงิน​แก่​เกษตรกร กลุ่ม​เกษตรกร​หรือ​สหกรณ์​การเกษตร​ สำหรับการ​ประกอบ​ธุรกิจอ​ ื่น​อัน​เป็นการ​ส่ง​เสริมห​ รือส​ นับสนุนก​ าร​ประกอบ​เกษตรกรรม ดำเนินง​ าน​เป็นส​ ถาบันก​ าร​เงิน​ เพื่อการ​พัฒนา​ชนบท และ​ให้​ความ​ช่วย​เหลือ​ทางการ​เงิน​แก่​สหกรณ์ เพื่อ​ใช้​ดำเนิน​งาน​ภาย​ใต้​ขอบเขต​วัตถุประสงค์ใน​ การ​จัด​ตั้ง​สหกรณ์ นับ​จาก​วัน​ก่อ​ตั้ง​จนถึง​ปัจจุบัน ธ.ก.ส. ได้​ดำเนิน​งาน​โดย​ยัง​คง​รักษา​เจตนารมณ์​ตามเหตุผล​ของ​การ​จัด​ตั้ง ธ.ก.ส. ด้วย​การ​ยึดถือ​หลัก​การ​ทรง​งาน​และ​แนวทาง​ตามพ​ระ​ราชดำริ​หลักปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง มา​เป็น​นโยบาย​ ถือ​ปฏิบัติ​ทั้ง​ใน​ส่วน​ของ​องค์กร​เกษตรกร​ลูกค้า​และ​พนักงาน​อย่างต่อ​เนื่อง และ​เป็น​รูป​ธรรม อาทิ​เช่น โครงการ​ชุมชน​ ต้นแบบ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​และ​ทฤษฎี​ใหม่ ศูนย์​เรียน​รู้​เพื่อ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ต้นแบบ ธ.ก.ส. โครงการ​ ธนาคาร​ต้นไม้ โครงการ​ทำ​นา ๑ ไร่ ได้เ​งิน ๑ แสน​บาท เป็นต้น จน​กระทั่ง​ปรากฏ​ผล​งาน​เป็นท​ ี่​ประจักษ์​แก่​สาธารณชน ทำให้ ธ.ก.ส. ได้​รับ​รางวัล​ชนะเลิศ​ประเภท​หน่วย​งาน/องค์กร​ภาค​รัฐ​ใน​ส่วน​กลาง​จาก​การ​ประกวด​ผล​งาน​ตาม​ หลัก​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจพอ​เพียง ครั้ง​ที่ ๒ ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ส่ง​ผล​ให้ ธ.ก.ส. เป็น​องค์กร​ที่​มีภาพ​ลักษณ์​ที่​ดี เป็น​ ธนาคาร​ตน้ แบบ “ความ​พอ​เพียง” นำ​มา​ซงึ่ ค​ วาม​ภาค​ภมู ใิ จ​ของ​พนักงาน ธ.ก.ส.ทุกค​ น และ​ยดึ ม​ นั่ ท​ จ​ี่ ะ​ดำเนินง​ าน​ตาม​รอย ​เบื้อง​พระ​ยุคลบาท​แห่ง​องค์​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว​อย่างมุ่ง​มั่นต​ ่อ​ไป ด้วย​สำนึก​ใน​พระ​มหากรุณาธิคุณ​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระ​ปร​มิ​นท​รม​หา​ภูมิพล​อดุลย​เดช ธ.ก.ส. จึง​ได้​ทูล​เกล้า​ ทูล​กระหม่อม​ถวาย​รวง​ข้าว​ทองคำ​และ​น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​ที่ดิน​พร้อม​อาคาร​สิ่ง​ปลูก​สร้าง​แด่​พระบาท​สมเด็จ​ พระเจ้าอยู่หัว เพื่อท​ รง​ใช้​ตามพ​ระ​ราช​อัธยาศัย คือ ที่ดิน​พร้อม​อาคาร​สำนักงาน​สอง​ชั้น เลข​ที่ ๙๙ ซอย​หมู่บ้าน​บ่อ​ฝ้าย ตำบล​หวั หิน อำเภอ​หวั หิน จังหวัดป​ ระจวบคีรขี นั ธ์ และ​เพือ่ ใ​ห้อ​ นุชน​คน​รนุ่ ห​ ลังไ​ด้ม​ ห​ี ลักฐ​ าน​ความ​ทรง​จำ​เกีย่ ว​กบั เหตุการณ์​ สำคัญ​ของ ธ.ก.ส. ที่​ได้​ดำเนิน​งาน​สนอง​พระ​ราช​ปณิธาน​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​ และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) จึง​ได้​จัด​ทำ​จดหมายเหตุ​ฉบับ​นี้​ขึ้น​มา

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

9


ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ

10

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ธ.ก.ส. ทูล เกล้าทูล กระหม่อมถวายรวงข้าวทองคำ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู ่ ห ั ว

เมื่อ​วัน​ที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๘ นาย​ธีร​พงษ์ ตั้ง​ธีร​ะ​สุนันท์ ผู้​จัดการ ​ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​ และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) และ​ผู้​แทน​คณะ​กรรมการ​บริหาร​สมาคม​สิน​เชื่อ​การเกษตร​และ​ชนบท ​ภาค​พื้น​เอเชีย​แปซิฟิก (APRACA) เฝ้า​ทูล​ละออง​ธุลพี​ ระบาท ทูล​เกล้า​ทูล​กระหม่อม​ถวาย​รวง​ข้าว​ทองคำ​ แด่พ​ ระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั เพือ่ เ​ป็นข​ อง​ทร​ี่ ะลึกเ​ฉลิมพระเกียรติส​ ำหรับพ​ ระองค์ท​ า่ น​ทท​ี่ รง​นำ​ชนบท​ ให้ว​ ฒ ั นา โดย​ทรง​มพ​ี ระ​ราช​ดำรัสช​ แี้ นะ​แนวทาง​การ​ดำเนินช​ วี ติ แ​ ก่พ​ สก​นกิ ร​ชาว​ไทย​มา​โดย​ตลอด​ยาวนาน​ กว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่​ก่อน​เกิด​วิกฤต​เศรษฐกิจ​และ​ภาย​หลัง​ก็​ทรง​เน้นย​ ้ำ​แนวทาง​แก้ไข​ให้ร​ อดพ้นแ​ ละ​ดำรง​อยู่​ ได้​อย่าง​มั่นคง​ยั่งยืน​ภาย​ใต้​กระแส​โลกาภิวัฒน์​ด้วย​ปรัชญา “เศรษฐกิจ​พอ​เพียง”

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

11


ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ

12

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ธ.ก.ส. น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย ที่ดินและอาคารสิ่งปลูกสร้างแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่ หั ว

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

13


ความ​เป็น​มา

เมื่อ​ปี พ.ศ.๒๕๓๘ ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) รัฐวิสาหกิจ ใน​สังกัด​กระทรวง​การ​คลัง ได้​ซื้อ​ที่ดิน​ที่​ตำบล​หัวหิน อำเภอ​หัวหิน จังหวัด​ประจวบคีรีขันธ์ โฉนด​เลข​ที่ ๑๖ เลข​ที่ดิน ๒๓๐ หน้า​สำรวจ ๑๖ เนื้อที่ ๑ ไร่ ๑ งาน ๖๙.๔ ตาราง​วา ขนาด​กว้าง ๓๓.๕๐ เมตร ยาว ๖๗.๕๐ เมตร ใน​ราคา ๑๒,๙๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อ​เตรียม​ไว้​เป็น​สถาน​ที่​ก่อสร้าง​ อาคาร​สำนักงาน ธ.ก.ส. สาขา​หัวหิน

14

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

15


ต่อ​มา ​ใน​ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ธ.ก.ส. พิจารณา​เห็นว​ ่า​ใน​เดือน​มิถุนายน ๒๕๔๙ จะ​มี​งาน​เฉลิม​ฉลอง​ เนื่อง​ใน​โอกาส​ทรง​ครอง​ราชย์​ครบ ๖๐ ปี สมควร​ก่อสร้าง​อา​คาร​โกลเด้นเพล​ซ​ใน​ที่ดิน​ของ ธ.ก.ส. ที​ไ่ ด้​ จัดซ​ อื้ ไ​ว้ เพือ่ ถ​ วาย​แด่พ​ ระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั โดย​การ​ออกแบบ​ตวั อ​ าคารเป็นลักษณะ​สถาปัตยกรรม​ แบบ​ตะวัน​ตกวิคตอเรีย​น​สมัย​รัชกาล​ที่ ๕ มี​บรรยากาศ​คล้าย​กับ​สถานี​รถไฟ​หัวหิน เพื่อ​ให้ร​ ูป​แบบของ​ อาคาร​กลมกลืน​กับบรรยากาศของ​อำเภอ​หัวหิน​ที่​เป็น​เขต​พระ​ราชฐาน​ด้วย ธ.ก.ส. ได้​ให้​ บริษัท มาส​เต​อ​นาย จำกัด โดย ว่าที่ ร.ต.บุญจ​ ง สนธิท​ ิม (สถาปนิก​พิเศษ​ระดับ ๙ ประจำ​สำนัก​พระราชวัง เป็นผู้จัดท​ ำ​แบบ​ร่าง​อาคาร​พร้อม​โมเดล​หุ่นจ​ ำลอง ส่วน​ผกู้​ ่อสร้าง​อาคาร คือ บริษัท บาง​ลำพู สวี​ท คอน​ โด​มี​เนียม จำกัด ดำเนินการก่อสร้าง​อาคารใน​วงเงิน ๒๙,๕๐๐,๐๐๐ บาท

16

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

17


สภาพอาคารระหว่างการก่อสร้าง

18

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


การตกแต่งอาคารโกลเด้นเพลซ

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

19


เมื่อ​การ​ก่อสร้าง​อาคาร​แล้ว​เสร็จ​ใน​ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ผู้​จัดการ ธ.ก.ส. นาย​ธีร​พงษ์ ตั้ง​ธีร​ะ​สุนันท์ ได้​นำ​เสนอ​เรื่องขอ​อนุมัตใิ​ห้ ธ.ก.ส. น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​ที่ดิน​แด่​พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยู่หัว เพื่อ​ทรง​ใช้​ตามพ​ระ​ราช​อัธยาศัย ใน​การ​ประชุม​คณะ​กรรมการ ธ.ก.ส. ครั้ง​ที่ ๑๐/๒๕๕๑ วัน​ที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดย​ประธาน​คณะ​กรรมการ ธ.ก.ส. คือ นาย​สุ​รพงษ์ สืบ​วงศ์​ลี รัฐมนตรี​ว่าการ​ กระทรวงการ​คลัง

20

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

21


ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) แต่ง​ตั้ง​คณะ​ทำงาน​โครงการ น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​ที่ดิน​และ​อาคาร​สิ่ง​ปลูก​สร้าง​แด่​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว เพื่อ​จัด​ทำ​โค​รง​การฯ ให้​แล้ว​เสร็จ​สมบูรณ์​ พร้อม​กับ​งาน​ตกแต่ง​ภายใน​ของ​อา​คาร​โกลเด้น​เพล​ซ ใน​การ​นี้ ธ.ก.ส. จึง​ได้​ขอ​พระราชทาน​ทูล​เกล้า​ทูล​กระหม่อม​ถวาย​เช็ค​เงินสด​จำนวน ๑๐ ล้าน​บาท แด่​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว เพื่อ​ทรง​ใช้​ใน​การ​ปรับปรุง​ตกแต่ง​ภายใน​อาคาร​ร้าน​โกลเด้น​เพล​ซ สาขา​หัวหิน ๒

22

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ธ.ก.ส. ขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเช็คเงินสด จำนวนเงิน ๑๐ ล้านบาท ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

23


ต่อ​มา​ เมื่อ​วัน​ที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้ ​ด ำเนิ น ​ก าร​โ อน​ก รรมสิ ท ธิ์ ​ที่ ดิ น ​แ ละ​อ าคาร​แ ด่ ​พ ระบาท​ส มเด็ จ ​พ ระเจ้ า อยู่ หั ว​ ที่​สำนักงาน​ที่ดิน อำเภอหัวหิน จังหวัดป​ ระจวบคีรีขันธ์

24

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

25


เอกสารหลักฐานทางราชการที่สำคัญ

26

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


เอกสารหลักฐานทางราชการที่สำคัญ

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

27


ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้​ขอ​พระบรม​รา​ชา​นุ​ญาตเช่า​พื้นที่​ บาง​ส่วน​ของ​อา​คาร​โกลเด้น​เพล​ซ เพื่อ​ใช้​เป็นส​ ำนักงาน​ของ ธ.ก.ส. สาขา​เฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) ธ.ก.ส. สาขา​เฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) ได้​เปิด​ดำเนิน​การ​ให้​บริการ​ลูกค้า​อย่าง​เป็น​ทางการ เมื่อ​วัน​ที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๓ โดย​การ​ทำ​สัญญา​เช่า​พื้นที่​ชั้น​ล่าง​ด้าน​หลัง​ที่​เป็น​ส่วนต่อ​เนื่องจาก ​ร้านโกลเด้น​เพล​ซ เป็น​ระยะ​เวลา ๓๐ ปี ขนาด​จำนวน​เนื้อที่ ๑๘๕ ตาราง​เมตร โดย ธ.ก.ส. ได้ทูลเกล้า ทูลกระหม่อมถวาย​เงินค​ ่า​เช่า​อาคาร​สำนักงาน​สาขา​เฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) ปี​ละ ๑,๕๔๔,๔๐๐ บาท

28

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


หนังสือสัญญาเช่าอาคารโกลเด้นเพลซระยะเวลา ๓๐ ปี ของ ธ.ก.ส.

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

29


ธ.ก.ส. สาขาเฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓

30

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ธ.ก.ส. สาขาเฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

31


นายธีรพงษ์ ตั้งธีระสุนันท์ อดีตผู้จัดการ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๕๑)

32

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


“...พระองค์​ท่าน​ทรง​สร้าง​ตัวอย่าง​ให้​พวก​เรา​เห็น​ทั้ง​เรื่อง​ด้าน​การ​ตลาด​และ​เรื่อง​ เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง เป็นเ​หมือน​โรงเรียน​แห่ง​หนึ่ง​ให้​คน​ไทย​ได้​ศึกษา​เป็นแ​ บบ​อย่าง​ที่​​ดี...” การ​ริเริ่ม​โครงการ​น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​ที่ดิน​และ​อาคาร​สิ่ง​ปลูก​สร้าง​แด่​พระบาทสมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว เกิดข​ นึ้ ใ​ น​ชว่ ง​ท​ี่ นาย​ธรี พ​ งษ์ ตัง้ ธ​ รี ะ​ ส​ นุ นั ท์ เป็นผ​ จ​ู้ ดั การ​ธนาคาร​เพือ่ ก​ ารเกษตรและ​สหกรณ์ก​ ารเกษตร (พ.ศ.๒๕๔๗-๒๕๕๑) “ผม​ใช้​เวลา​ทั้ง​ชีวิต​คลุกคลี​อยู่​กับ​เกษตรกร​เพราะ​ทำงาน​ที่ ธ.ก.ส. มา​ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ แม้ว่า​ภารกิจ​หน้าที่​ ของ ธ.ก.ส. คือการ​ให้​เงิน​ทุน​สิน​เชื่อ​แก่​เกษตรกร แต่​เรา​พบ​ว่า​สิ่ง​ที่​เกษตรกร​ต้องการ​มากกว่า​เรื่อง​เงิน คือ ความ​ต้องการ​ด้าน​ การ​ตลาด ถัด​มาคือต้องการ​ความ​รู้​ด้าน​วิชาการ​และ​ด้าน​เทคโนโลยี​การเกษตร เกษตรกร​อยาก​รู้​ว่า​ปลูก​ข้าว​อย่างไร​ให้​ได้​ข้าว​ ​คุณภาพ​ดี แล้วจะ​ขาย​ที่ไหน​ให้​ได้​ราคา​ดี อย่าง​น้อย​ให้คุ้ม​ค่าแรง​ของ​พวก​เขา นีแ่​ หละ​คือสิ่ง​ทเี่​ขา​อยาก​รู้ และ​ผม​เห็น​ว่า​ตัวอย่าง​ หนึง่ ท​ ด​ี่ ท​ี สี่ ดุ ส​ ำหรับเ​รือ่ ง​การ​ตลาดคือ หนึง่ ใ​น​โครงการ​ตามพ​ระ​ราชดำริข​ อง​พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั ท​ ท​ี่ รง​จดั ต​ งั้ ร​ า้ น​คา้ ป​ ลีก ​ภาย​ใต้​การ​ดำเนิน​งาน​ของ​บริษัท สุวรรณ​ชาด จำกัด ใน​พระบรม​ราชูปถัมภ์ คือ ร้าน​โกลเด้น​เพล​ซ (Golden Place) ทีพ่​ ระองค์​ ทรง​มี​พระ​ราช​ประสงค์​จะ​ให้​เป็น​ร้าน​ค้า​ปลีก​ต้นแบบ​ของ​ไทย​ที่​มี​รูป​แบบ​และ​การ​จัดการ​ที่​เหมาะ​สม​กับ​คน​ไทย เพื่อ​เป็น​แหล่ง​ รวบรวม​ผลิตภัณฑ์​สินค้าการเกษตร และ​สินค้า​เกษตร​แปรรูป ที่​ให้ป​ ระโยชน์​ทั้ง​ด้าน​ผู้​บริโภค​ได้​ซื้อ​สินค้า​ดี มี​คุณภาพ​มาตรฐาน ปลอด​สาร​พิษ ราคา​ยุติธรรม ส่วน​ด้าน​ผู้​ผลิต​สามารถ​จำหน่าย​สินค้า​ได้โ​ดย​ไม่​ขาดทุน นั่นค​ ือ พระองค์​ท่าน​ทรง​สร้าง​ตัวอย่าง​ให้​ พวก​เรา​เห็น​ทั้ง​เรื่อง​ด้าน​การ​ตลาด​และ​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง เป็น​เหมือน​โรงเรียน​แห่ง​หนึ่ง​ให้​คน​ไทย​ได้​ศึกษา​เป็น​แบบ​อย่าง​ ที่​ดี จะ​เห็น​ได้​ว่า​ทุก​โครงการ​ของ​พระองค์​ท่าน​จะ​ไม่มี​การ​ส่ง​เสริม​สนับสนุน​ให้เ​กษตรกร​เป็นห​ นี้​เป็นส​ ิน​เลย แต่​พระองค์ท​ ่าน​ก็​ไม่​ ได้​คัดค้าน​ใน​การ​กู้​ยืม​เงินไ​ป​ใช้​ใน​การ​ลงทุน แต่​ต้อง​เป็นการ​ลงทุน​เพื่อ​การ​ทำ​อยูท่​ ำ​กิน​ทยี่​ ั่งยืน​แบบ​พอ​อยู่​พอ​กิน​พอใช้ ใน​ขณะ​นนั้ เ​อง ธ.ก.ส. เตรียม​การ​ทจ​ี่ ะ​สร้าง​สาขา​หวั หินใ​น​ทดี่ นิ ข​ อง ธ.ก.ส. พวก​เรา​จงึ เ​ห็นร​ ว่ ม​กนั ว​ า่ ธ.ก.ส. ควร​จะ​สร้าง​อาคาร​ ทีม​่ เ​ี อกลักษณ์ค​ วาม​เป็นเ​มือง​หวั หินใ​น​รปู แ​ บบ​ทค​ี่ ล้าย​กบั ส​ ถานีร​ ถไฟ​หวั หิน เพือ่ จ​ ะ​นอ้ ม​เกล้าน​ อ้ ม​กระหม่อม​ถวาย​ทดี่ นิ พ​ ร้อม​อาคาร​แด่​ พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั เพือ่ ท​ รง​ใช้ต​ ามพ​ระ​ราช​อธั ยาศัย คือ การ​เปิดเ​ป็นร​ า้ น​โกลเด้นเ​พล​ซ (Golden Place) สาขา​หวั หินอ​ กี แ​ ห่งห​ นึง่ และ ธ.ก.ส. ขอ​พระบรม​รา​ชา​นญ​ุ าต​เช่าพ​ นื้ ทีบ่​ าง​สว่ น​เปิดเ​ป็นส​ าขา​หวั หิน เพือ่ ใ​ห้ล​ กู ค้าข​ อง ธ.ก.ส. มีค​ วาม​ภาค​ภมู ใิ จ​เมือ่ ​เข้าม​ า​ใช้​บริการ​ที่​สาขา​เฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) ใน​อาคาร​สำนักงาน​ทมี่​ ี​ความ​สวยงาม​และมี​เรื่อง​ราว​ความ​เป็นม​ า​ที่​น่า​ประทับ​ใจ เพราะ​ตงั้ อ​ ยูใ​่ น​ทดี่ นิ ข​ อง​พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั ใน​สว่ น​ของ​พนักงาน ธ.ก.ส. เรา​ทกุ ค​ น​ตา่ ง​กต​็ ระหนักว​ า่ การ​สร้าง​สาขา​ให้ด​ ด​ู ​ี มี​ความ​สวยงาม​ ก็​เพื่อใ​ห้​ลูกค้าไ​ด้​รับ​ความ​สะดวก​สบาย​เป็น​หลัก ส่วนเรา​พนักงาน ธ.ก.ส. เป็น​เพียง​ผู้​คอย​ให้​บริการ​และ​อำนวย ค​ วาม​สะดวกให้ล​ กู ค้าเ​ท่านัน้ เพราะ​พระ​ราช​ประสงค์ข​ อง​พระองค์ท​ า่ น คือ ทรง​โปรด​ให้ม​ ค​ี น​ออก​ไป​ให้บ​ ริการ​เกษตรกร​ไม่ใช่ไ​ป​เอา​เปรียบ เ​กษตรกร ดังน​ นั้ ​บน​ทดี่ นิ ผ​ นื น​ ท​ี้ กุ ค​ น​จะ​ได้ใ​ช้ป​ ระโยชน์ร​ ว่ ม​กนั ใ​น​การ​เป็นโ​รงเรียน​แหล่งเ​รียน​รท​ู้ งั้ ข​ อง​เกษตรกร​ลกู ค้าแ​ ละ​พนักงาน ธ.ก.ส. ร่วม​กนั ใ​น​เรือ่ ง​การ​ตลาด​และ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง และ​เป็นไ​ป​ตาม​หลักท​ ว​ี่ า่ พึง่ พา​ตนเอง พึง่ พา​กนั แ​ ละ​กนั และ​ชว่ ย​เหลือก​ นั แ​ ละ​กนั ​ ตาม​หลัก​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง ถ้า​พูด​ถึง​ความ​สำเร็จ​ของ​โค​รง​การฯ​ นี้ ต้อง​ชื่นชม​ทุก​คน​ที่​ช่วย​กัน​ทำงาน​นี้​ให้​สำเร็จ​ลุล่วง และ​ ผม​หวัง​ว่า ธ.ก.ส. จะ​รักษา​และ​สืบทอด​แนวคิด​และ​ลงมือ​ปฏิบัติ​ตาม​แนว​พระ​ราชดำริ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​จาก​รุ่น​สู่​รุ่น​ต่อ​ไป”

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

33


นายบุญไทย แก้วขันตี รองผู้จัดการ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ประธานคณะทำงานโครงการน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายที่ดิน และอาคารสิ่งปลูกสร้าง แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

34

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


“...คน​เรา​เกิดม​ า​แล้วค​ รั้งห​ นึ่งใ​ น​ชีวิต ได้ท​ ำ​อะไร​เพื่อพ​ ระองค์ท​ ่านสักอ​ ย่าง​ถือว่าเ​ป็น​ บุญข​ อง​พวก​เรา​...” โครงการ​น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​ที่ดิน​และ​อาคาร​สิ่ง​ปลูก​สร้าง​แด่​พระบาท​สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว​ของ ธ.ก.ส. นี้ ต้อง​ชนื่ ชม​ผท​ู้ ร​ี่ เิ ริม่ โ​ค​รง​การฯ คือ อดีตผ​ จ​ู้ ดั การ ธ.ก.ส. (นาย​ธรี พ​ งษ์ ตัง้ ธ​ รี ะ​ ส​ นุ นั ท์) ถึงแ​ ม้วา่ ก​ าร​กอ่ สร้าง​อาคาร​จะ​มา​ ดำเนินก​ าร​แล้วเ​สร็จส​ มบูรณ์ใ​น​ชว่ ง​ทผ​ี่ จ​ู้ ดั การ​ธรี พ​ งษ์ได้ห​ มด​วาระ​การ​เป็นผ​ จ​ู้ ดั ก​ าร​ธ.ก.ส. ไป​แล้วก​ ต็ าม ใน​ตอน​ทท​ี่ า่ น ​ดำรง​ตำแหน่งผู้​จัดการ ธ.ก.ส. ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ท่าน​มี​แนวคิด​ที่​จะ​ทำ​อะไร​สัก​อย่าง​หนึ่ง​เพื่อ​เป็นการ​น้อม​เกล้า​ น้อม​กระหม่อม​ถวายพระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ผนวก​กับ ธ.ก.ส. มี​แผนการ​ขยาย​เครือ​ข่าย​สาขา​เพื่อ​ให้​บริการ​ ทางการ​เงิน​แก่ล​ กู ค้า​ได้​อย่าง​ทวั่ ​ถงึ ​หนึ่ง​ใน​แผน​งาน​นั้นคือ การ​สร้าง​สาขา​หวั หิน​ซงึ่ ธ.ก.ส. มี​ทดี่ ินอ​ ยู่​แล้ว จึง​คดิ ​วา่ ค​ วร​ จะ​สร้าง​อาคาร​สำนักงาน​ทมี่​ คี​ วาม​เป็นเ​อกลักษณ์ข​ อง​เมือง​หัวหิน​ใน​ลักษณะ​เป็นอ​ าคารทีม่​ สี​ ถาปัตยกรรม​ทรง​โบราณ​ สไตล์ย​ โุ รป​แบบ​สถานีร​ ถไฟ​หวั หิน เพือ่ น​ อ้ มเกล้าฯ​ถวาย​แด่พ​ ระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั ​ทรง​ใช้ต​ ามพ​ระ​ราช​อธั ยาศัย โดย ธ.ก.ส. จะ​ขอ​พระบรม​รา​ชา​นญ ุ​ าต​เช่าอาคาร​บาง​ส่วน เพื่อเ​ปิด​เป็น​สำนักงาน​สาขา​เฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) ธ.ก.ส. ได้​แต่ง​ตั้ง​คณะ​ทำงาน​โครงการ​น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​ที่ดิน​และ​อาคาร​สิ่ง​ปลูก​สร้าง​ แด่พ​ ระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั โดย​ผม​ได้ร​ บั ม​ อบ​หมาย​ให้เ​ป็นป​ ระธาน​คณะ​ทำ​งานฯ​ชุดน​ ไี้ ด้ท​ ำงาน​รว่ ม​กนั ก​ บั เ​พือ่ น​ พนักงาน ธ.ก.ส. อย่าง​เต็ม​ความ​สามารถ​ของ​ทุก​คน รวม​ถึง​การ​ประสาน​งานกับ​ส่วน​งาน​ภายนอก​โดย​เฉพาะ​สำนัก​ พระราชวัง ซึ่ง ธ.ก.ส. ได้​รับ​ความ​กรุณา​เป็น​อย่าง​มาก​จากท่าน​รองเลขาธิการ​พระราชวัง (นาย​ดิส​ธร วัช​โรทั​ย) ใน​ การ​ให้​คำ​แนะนำ​แนวทาง​ใน​การ​ดำเนิน​การ​ต่างๆ จน​กระทั่ง​โครงการ​น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​ที่ดิน​และ​อาคาร​ สิ่ง​ปลูกส​ ร้าง​แด่​พระบาท​สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว​สำเร็จ​ได้​ด้วย​ดี ด้วย​เจตนา​ที่​บริสุทธิ์​ของ​คน ธ.ก.ส. ที่​ตั้งใจ​จะ​ทำ​สิ่ง​ดีๆ เพื่อ​น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​พระองค์​ท่าน​ สัก​อย่าง​หนึ่ง​ และ​เป็นการ​แสดงออก​ถึง​ความ​จงรัก​ภักดี และ​สิ่ง​สำคัญ​สูงสุด คือ ด้วย​พระ​บารมี​ของ​พระองค์​ท่าน โค​รง​การฯ​นีจ​้ งึ ส​ ำเร็จไ​ด้ด​ ว้ ย​ดี เพราะ​การ​ทบ​ี่ คุ คล​หรือห​ น่วย​งาน​ใดจะ​ขอ​พระบรม​รา​ชา​นญ ​ุ า​ตน้อ​ ม​เกล้าฯ ถวาย​สงิ่ ใ​ด​ให้​ พระองค์ท​ ่าน ​ไม่ใช่เ​ป็นเ​รื่อง​ทจี่​ ะ​ทำได้ง​ ่ายๆ จะ​ต้อง​มกี​ าร​ตรวจ​สอบ​ถึงเ​จตนา​และ​ความ​เป็นม​ า​อย่าง​ละเอียด​รอบคอบ​​ อย่าง​มาก​โดย​สำนัก​พระราชวัง จึง​นับ​ว่าค​ รั้ง​นี้​เป็น​ความ​โชค​ดี​ของ​พวก​เรา​พนักงาน ธ.ก.ส.ทุก​คน​จริงๆ

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

35


นางบุษบา เสมารัตน์ พนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

36

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


“... แม้ว่าจ​ ะ​มี​ปัญหา​และ​อุปสรรค​บ้างใน​การ​ทำงาน​แต่​ด้วย​เจตนารมณ์ท​ ี่​ดี​ ของ​ทกุ ค​ น​ทต​ี่ อ้ งการ​ทำงาน​เพือ่ ถ​ วาย​พระองค์ท​ า่ น จึงท​ ำให้ท​ กุ อ​ ย่าง​สามารถ​ผา่ น​ พ้น​ไป​ได้​ด้วย​ดี ถือว่า​การ​ทำงาน​ใน​ครั้ง​นเี้​ป็น​เรื่อง​ที่​ดที​ ี่สุด​ครั้ง​หนึ่งใ​ น​ชีวิต ...” “ดิฉัน​มี​ความ​ปลาบปลื้ม​และ​รู้สึก​ปีติ​ยินดี​ที่ ธ.ก.ส. ได้​มี​โอกาส​ถวายความ​จงรัก​ภักดี​แด่​ พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ใน​การ​น้อม​เกล้า​น้อม​กระหม่อม​ถวาย​ที่ดิน​และ​อาคาร​สิ่ง​ปลูกสร้าง ที่อำเภอ​หัวหิน​แด่​พระองค์​ท่าน และ​ใน​ฐานะ​ที่​ดิฉันไ​ด้​มี​โอกาส​เป็นส​ ่วน​หนึ่งข​ อง​พนักงาน ธ.ก.ส. ทีไ่​ด้​ช่วย​ ทำงาน​ใน​ครั้ง​นี้​ตั้งแต่​เริ่ม​ต้น​จน​กระทั่ง​แล้ว​เสร็จ ซึ่ง​เป็น​สิ่ง​ที่​ไม่​เคย​คาด​คิด​มา​ก่อน​เลย​ว่า​จะได้​รับ โ​อกาส​เป็นผ​ ป​ู้ ระสาน​งาน​ระหว่างสำนักพ​ ระ​ราช​วงั แ​ ละ​ธ.ก.ส. แม้วา่ จ​ ะ​มป​ี ญั หา​และ​อปุ สรรค​บา้ งในการ​ทำงาน​ แต่​ด้วย​เจตนารมณ์​ที่​ดี​ของ​ทุก​คน​ที่​ต้องการ​ทำงาน​เพื่อ​ถวาย​พระองค์​ท่าน จึง​ทำให้​ทุก​อย่าง​สามารถ ผ่าน​พ้น​ไป​ได้​ด้วย​ดี ถือว่าการทำงานในครั้งนี้เป็นสิริมงคลในชีวิตของดิฉันอย่างหาที่สุดมิได้”

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

37


ส.อ.ชัยวัฒน์ หาญธนะสุกิจ ผู้จัดการสาขาเฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน)

38

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


“... พนักงาน​ทุก​คน​ที่​ปฏิบัติ​งาน​อยู่​ที่​สาขา​แห่ง​นี้ ต่าง​ก็​ตระหนักเ​ป็น​อย่าง​ดี​ ว่า​เรา​ควร​จะ​ปฏิบัติ​ตน​อย่างไร เพื่อใ​ ห้​เป็น​แบบ​อย่าง​ที่​ดี​ สม​กับ​ที่​ได้ท​ ำงาน​อยู่​ใน​ ที่ดิน​ของ​พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยู่หัว ...” “ผม​รู้สึก​ภาค​ภูมิใจ​มาก​ที่​ได้​มา​ทำ​หน้าที่​เป็น​ผู้​จัดการ​ที่​สาขา​เฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) ถือว่า​เป็น​เกียรติ​ที่​ได้​ทำงาน​อยู่​ใน​ที่ดิน​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ดัง​นั้น ​ใน​การ​บริหาร​งาน​ หรื อ ​ก าร​ท ำงาน พนั ก งาน​ทุ ก ​ค น​ที่ ​ป ฏิ บั ติ ​ง าน​อ ยู่ ​ที่ ​ส าขา​แ ห่ ง ​นี้ ต่ า ง​ก็ ​ต ระหนั ก ​เ ป็ น ​อ ย่ า ง​ดี ​ ว่า​เรา​ควร​จะ​ปฏิบัติ​ตน​อย่างไร เพื่อ​ให้​เป็น​แบบ​อย่าง​ที่​ดี​สม​กับ​ที่​ได้​ทำงาน​อยู่​ใน​ที่ดิน​ของ​พระบาท​ สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ใน​ส่วน​ของ​ลูกค้า ​เมื่อ​เวลา​มี​การ​ประชุม​กลุ่ม​ลูกค้า ผม​จะ​บอก​ให้​ลูกค้า​ รู้​ถึง​ความ​เป็น​มา​ของ​สาขาเฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) อยู่​เสมอ ทำให้​ลูกค้า​เอง​ก็​มี​ความ​ภาค​ภูมิใจ​ที่​ได้​ เข้า​มา​ใช้​บริการ​ที่​สาขา​แห่ง​นี้ และ​ใน​ผืน​ดิน​แห่ง​นี้​เรา​จะ​ได้​เห็น​ความ​หลาก​หลาย​ของ​ผู้คน​ที่​เข้า​มา​ใช้​ บริการ​ทั้ง​ลูกค้า​เงิน​ฝาก​ราย​ใหญ่ ราย​ย่อย และ​ลูกค้า​เกษตรกร​ที่มา​ใช้​บริการ​สิน​เชื่อ​และ​ออม​เงิน​กับ ธ.ก.ส. รวม​ถึง​ลูกค้า​ใน​พื้นที่​และ​นัก​ท่อง​เที่ยว​ที่​เข้า​มา​จับ​จ่าย​ซื้อ​สินค้า​ที่​ร้าน​โกลเด้น​เพล​ซ ถือว่า​เป็น ศ​ นู ย์ร​ วม​ทท​ี่ กุ ค​ น​มา​ใช้ป​ ระโยชน์ส​ ขุ ร่วมกันไ​ด้ อย่างไร​กต็ าม​ วัฒนธรรม​ใน​การ​ให้บ​ ริการ​ของ​พนักงาน ธ.ก.ส. ทุก​คน​ไม่​ว่า​จะ​อยู่​สาขา​ไหน เรา​ก็​ถือ​ปฏิบัติ​เหมือน​กัน​ว่า​ต้อง​ดูแล​ลูกค้า​ให้​ดี​เหมือน​ดูแล​พ่อ​แม่​พี่​น้อง​ ของ​เรา​เอง”

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

39


40

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


รูปแบบงานสถาปัตยกรรมอาคาร “Golden Place” อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

41


ว่าที่ ร.ต.บุญจง สนธิทิม (อดีต) สถาปนิกพิเศษระดับ 9 ประจำสำนักพระราชวัง บริษัท มาสเตอนาย จำกัด

42

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


“...ผม​คิด​ว่า​ไม่มี​กิจกรรม​ใด​ที่​น่า​จะ​สรรเสริญ​มาก​ไป​กว่า​กิจกรรม​ที่ ธ.ก.ส. ดำเนิน​การ​ใน​ครั้งน​ ี้...” “ผม​รสู้ กึ ด​ ใี จ​และ​ยนิ ดีม​ าก​ที่ ธ.ก.ส. เห็นค​ วาม​สำคัญข​ อง​สถาบันพ​ ระ​มหา​กษัตริย์​และ​มค​ี วาม​ตงั้ ใจ​ ที่​ดี​ใน​การน้อมเกล้าฯ​ ถวาย​ที่ดิน​และ​อาคาร​แด่​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ผม​คิด​ว่า​ไม่มี​กิจกรรม​ใด ​ที่​น่าสรรเสริญ​มาก​ไป​กว่า​กิจกรรม​ที่ ธ.ก.ส. ดำเนิน​การ​ใน​ครั้ง​นี้ และ​ไม่​เห็น​ว่าม​ ี​ธนาคาร​ใด​ที่​จะ​โชค​ดี​และ​ มีโ​อกาส​ดอ​ี ย่าง ธ.ก.ส. ผม​คดิ ว​ า่ เ​พราะ ธ.ก.ส. เป็นธ​ นาคารทีช​่ ว่ ย​เหลือแ​ ละ​เข้าถ​ งึ เ​กษตรกร​ซึง่ เ​ป็นป​ ระชาชน​ คน​ส่วน​ใหญ่​ของ​ประเทศ​ที่​พระองค์​ท่าน​ทรง​ห่วงใย​ให้​ความ​สน​พระทัย​เสมอ​มา สำหรับง​ านการ​ออกแบบ​อา​คาร​โกลเด้นเ​พล​ซใ​น​ครัง้ น​ ถ​ี้ อื ว่าเ​ป็นง​ าน​ชนิ้ ส​ ำคัญใ​น​ชวี ติ ผม​ทมุ่ เท​ทำงาน​น​ี้ อย่าง​เต็มท​ ​ี่ เต็มค​ วาม​สามารถ​โดย​พยายาม​ทจ​ี่ ะ​ออกแบบ​อาคาร​ทย​ี่ งั ค​ ง​รกั ษา​คณ ุ ลักษณะ​หรือ Character เดิม​ ของ​สถาปัตยกรรม​สถานีร​ ถไฟ​หวั หินไ​ว้ คือ เป็นส​ ถาปัตยกรรม​แบบ​ยโุ รป​ผสม​ผสาน​กบั ส​ ถาปัตยกรรม​ไทย​ทไ​ี่ ด้ม​ ​ี การ​ประยุกต์อ​ อกแบบ​ให้เ​หมาะ​สม​กบั ป​ ระเทศ​รอ้ น​ชนื้ อ​ ย่าง​เมือง​ไทย​ทต​ี่ อ้ ง​มช​ี ายคา​ปอ้ งกันไ​ด้ท​ งั้ แ​ ดด ลม และ​ฝน ซึง่ ก​ าร​ออกแบบ​อา​คาร​โกลเด้นเ​พล​ซไ​ม่ใช่ก​ าร​ลอก​แบบ​หรือเ​ลียน​แบบ​อาคาร​สถานีร​ ถไฟ​หวั หินเ​สียทีเ​ดียว แต่​เป็นการ​พยายามนำ​คณ ุ ลักษณะ​หรือ Character ของ​สถาปัตยกรรม​สถานี​รถไฟ​หวั หิน​มา​ออกแบบ​ใหม่​ โดย​ใช้​เทคนิค​ของ​เทคโนโลยี​สมัย​ใหม่​เข้า​มา​ช่วย เพราะ​อาคาร​และ​การ​ตกแต่ง​ของ​สถานี​รถไฟ​หัวหิน​เป็น​ งาน​ไม้​ที่​มี​การ​แกะ​สลัก​ลวดลาย​สวยงาม ดัง​นั้น​ หาก​เรา​ต้องการ​ให้​อาคาร​ที่​จะ​ก่อสร้าง​ขึ้น​ใหม่ ซึ่ง​เป็น​ อาคาร​คอนกรีตเสริมเหล็ก​ยัง​คง​มี​ความ​เป็น​เอกลักษณ์​ที่​ใครๆ ​ดู​แล้ว​เข้าใจได้​ทันที​ว่า​เป็น​เอกลักษณ์​ของ​ เมือง​หวั หิน เ​ช่นเ​ดียว​กบั ส​ ถานีร​ ถไฟ​หวั หิน เรา​กต​็ อ้ ง​ใช้เ​ทคนิคก​ าร​ออกแบบ​และ​การ​กอ่ ส​ ร้าง​ใหม่ๆ เ​ข้าม​ า​ชว่ ย เช่น การ​หล่อเ​สา ทีต​่ อ้ ง​มล​ี วดลาย​โดย​ใช้ค​ อนกรีตป​ ระสาน​แรง​หรือ G.R.C. (Glass Reinforced Cement) ซึง่ เ​ป็น ส​ ว่ นผสม​ของ​ซเี มนต์ป​ อร์ตแ​ ลนด์ ทราย น้ำ และ​ใย​แก้ว ทำให้ส​ ามารถ​หล่อเ​สา​ให้เ​ป็นร​ ปู ล​ กั ษณะ​ตา่ งๆ​ได้ง​ า่ ย​และ​ มี​ความ​ทน​ต่อแรง​ดัด​และ​แรง​ดึง​ได้​สูง หรือ​การ​ทำ​ช่อง​แสง​ต่างๆ ผม​ยัง​คง​ใช้​ลวดลาย​ไม้​แบบ​ของ​เดิม​ แต่​มา​ปรับ​เป็น​ช่อง​แสง​โดย​ใช้​กระจก​พ่น​ทราย​เป็น​ลวดลาย​แทน และ​สิ่ง​สำคัญ​อีก​อย่าง​หนึ่ง​ที่​ผม​ยึดถือ​ เป็น​หลัก​ใน​การ​ออกแบบ​อาคาร​ใน​ครั้ง​นี้ คือ ยึด​หลัก​ความ​ประหยัด​และ​เกิด​ประโยชน์​ใน​การ​ใช้สอย​ ให้ค​ มุ้ ค​ า่ ม​ าก​ทสี่ ดุ ต​ ามพ​ระ​ราช​จริยวัตร​ทพ​ี่ ระองค์ท​ า่ น​ทรง​เป็นแ​ บบ​อย่าง​ให้ป​ วง​ชน​ชาว​ไทย​ได้ร​ เ​ู้ ห็นต​ ลอด​มา ผล​งาน​ครั้ง​นี้​เป็น​ความ​ภาค​ภูมิใจ​มาก​ที่สุด​ครั้ง​หนึ่ง​ใน​ชีวิต​ของ​ผม​ที่​ได้​ร่วม​กับ ธ.ก.ส. ทำงาน​ถวาย ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว”

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

43


ผังบริเวณ

44

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


แปลนพื้นชั้นล่าง

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

45


แปลนพื้นชั้น ๒

46

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


แปลนห้องเก็บของใต้หลังคา

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

47


ภาพด้าน A

48

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ภาพด้าน B

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

49


ภาพด้าน C

50

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ภาพด้าน D

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

51


ภาพถ่ายจากสถานที่จริง

52

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ภาพถ่ายสถานที่จริง

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

53


““หัวหิน สไตล์”” ฝรั่งผสมไทย หัวหินเป็น​หนึ่ง​ใน​อำเภอ​ของ​จังหวัด​ประจวบคีรีขันธ์​ที่​มี​ความ​สง่า​งาม และ​คลาสสิค ​แม้ว่า​เวลา​ จะ​ผ่าน​เลย​มา​นาน​กว่า ๘๐ ปี นับ​แต่​สมัย​ที่​พระบาท​สมเด็จ​พระ​ปกเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว​โปรด​เกล้าฯ​ ให้สร้าง พระราชวัง​ไกล​กังวล​เป็น​สถาน​ที่พัก​ผ่อน ยาม​ที่​พระ​องค์​เสด็จฯ​แปร​พระ​ราชฐาน​มา​ประทับ​แรม ณ ที่​แห่ง​นี้ เมือง​ตาก​อากาศ​แห่ง​แรก​ของ​ประเทศ​แห่ง​นี้ ได้​ถูก​แต่ง​แต้ม​ด้วย​รูป​ทรง​สถาปัตยกรรม​ที่​มี​ เอกลักษณ์​เฉพาะ​ตัว จน​ถูก ขนา​มนาม​ว่า “หัวหิน สไตล์” ด้วย​รูป​แบบ​ของ​อาคาร​ทรง​โค​โล​เนีย​ล​หรือ​ ที่​เรียก​กัน​ทั่วไป​ว่าต​ ึก​ฝรั่ง รูป​แบบ​อาคาร​ประเภท​นี้​ที่​รู้จัก​กัน​ทั่วไป​ได้แก่

วังไ​กล​กังวล

พระ​ตำหนัก​สร้าง​ขึ้น​ใน​สมัย​สมเด็จ​พระ​ปกเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว เพื่อ​ใช้​เป็น​ที่​ประทับ​ตาก​อากาศ เป็น​สถาปัตยกรรม​อาคาร​ปูน ทีม่​ ี​อิทธิพล​ของ​สถาปัตยกรรม​สเปน และ​สวน​ไม้​ดอก​เมือง​ร้อน ปัจจุบัน​เป็น​ ที่​ประทับ​ส่วน​พระองค์​ของ​พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยู่หัว​และ​พระบรม​วงศา​นุ​วงศ์

สถานี​รถไฟ​หัวหิน

อาคาร​ครึ่ง​ตึก​ครึ่ง​ไม้ อิทธิพล​จาก​สถาปัตยกรรม​วิค​ทอ​เรียมี​ราย​ละเอียด​สวยงาม ประดับ​เสา ค้ำย​ ัน และ​อื่นๆ ได้​รับ​การ​ยกย่อง​ว่า​เป็นส​ ถานี​รถไฟ​ที่​สวย​ที่สุด​ และ​เป็น​สถานีร​ ถไฟ​เพียง​แห่ง​เดียว​ที่เป็น​ สถาน​ที่​ท่อง​เที่ยว​ที่​มีชื่อ​เสียง​ของ​ประเทศ​ จน​เป็น​ธรรมเนียม​ของ​ผู้​ที่มา​เยือน​หัวหิน​จะ​ต้อง​มา​ถ่าย​รูป คู่​กับ​ป้าย​สถานีร​ ถไฟ​ตั้งแต่อ​ ดีต​จนถึงป​ ัจจุบัน

54

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ตลาด​ฉัตร​ไชย

สร้าง​ขึ้น​ใน​ที่ดิน​พระ​คลัง​ข้าง​ที่ โดย​ออกแบบ​ให้​มี​หลังคา​รูป​โค้ง​ครึ่ง​วงกลม​ต่อ​เนื่อง​กัน ๗ โค้ง เพื่อ​สื่อ​ความ​หมาย​ว่า​เป็นการ​สร้าง​ขึ้น​ใน​รัชกาล​ที่ ๗ ทั้ง​ตัว​อาคาร​และ​แผง​ขาย​สินค้า​เป็น​คอนกรีต เสริมเหล็ก โดย​อาศัย​แนวทาง​ของ​รูป​แบบ​อาคาร​ตะวัน​ตก ตัว​ตลาด​โล่ง​อากาศ​ถ่ายเท​ได้​สะดวก และจัด​ ว่า​เป็น​ตลาด​ที่​ถูก​สุขลักษณะ​ที่สุด​ของ​ประเทศไทย​ใน​ขณะ​นั้น ชื่อ​ตลาด​ฉัตร์​ไชย​นี้​มา​จาก​พระนาม​ เดิม​ของพระองค์​เจ้า​บุร​ฉัตร​ไชยา​กร​ หรือ​พล​เอก​พระบรม​วงศ์​เธอ กรม​พระ​กำแพงเพชร​อัคร​โยธิน ซึ่ง​ ทรงเป็น​หัวหน้า​จัด​สร้าง​ถวาย​พระบาท​สมเด็จ​พระ​ปกเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว เมื่อ​ครั้ง​เสร็จ​ประทับ​ที่​วัง​ไกล​กังวล ​เป็น​ครั้ง​แรก เมื่อ​ปี พ.ศ. ๒๔๖๙

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

55


โซฟิเ​ทล เซ็น​ทา​รา แก​รนด์ รีสอร์ท แอนด์ วิลล่า หัวหิน (เดิม​คือ โฮเต็ลห​ ัวหิน)

โรงแรม​ตาก​อากาศ​ชายทะเล​แห่งแ​ รก​ทห​ี่ รูหรา​ทสี่ ดุ สร้าง​ขนึ้ ใ​น​สมัยพ​ ระบาท​สมเด็จพ​ ระมงกุฎเกล้า​ เจ้า​อยู่​หัว เพื่อ​ให้​เป็น​สถาน​ที่​ตาก​อากาศ​รองรับ​บุคคล​ชั้น​สูง​ใน​สมัย​นั้น โดย​สร้าง​เปิด​ให้​คน​พัก​อย่าง​เป็น​ ทางการ เมื่อ​วัน​ที่ 1 มกราคม 2466 โดด​เด่น​ด้วย​รูป​แบบ​อาคาร​ทรง​วิคตอเรีย​ตอน​ปลาย (ยุค​เดียว​กับ​ สถานีร​ ถไฟ​หัวหิน) และ​สวน​ไม้ดัด ปัจจุบัน​ใช้​ชื่อ โซฟิ​เทล เซ็น​ทา​รา แก​รนด์ รีสอร์ท​และ​วิลล่า เสน่ห์​แห่ง​เมือง​ท่อง​เที่ยว​ที่​แวดล้อม​ด้วย​สถาปัตยกรรม​ที่​งดงามอบอุ่น ​เริ่ม​จาก​พระบาท​ สมเด็จพ​ ระ​จลุ จอมเกล้าเ​จ้าอ​ ยูห่​ วั โ​ปรด​เกล้าฯ​ ให้พ​ ฒ ั นา​หวั หินเ​ป็นเ​มือง​ตาก​อากาศ​ตาม​คำ​กราบ​บงั คม​ทลู ​ ของ​นาย​เฮ​นรี กิตติ​นส์ เลขานุการ​กรม​การ​รถไฟ​ และ กรม​หลวง​ดำรง​ราชา​นุ​ภาพ เสนาบดี​กระทรวง​ มหาดไทย ใน​ระหว่าง​การ​สำรวจ​เพื่อ​เตรียม​ก่อสร้าง​ทาง​รถไฟ​สาย​ใต้ ซึ่งไ​ด้​เสนอ​รายงาน​ถึง​ความ​สวยงาม​ ของ​หาด​ทราย​ชายทะเล​หัวหินว​ ่า​เหมาะ​ที่​จะ​สร้าง​เป็น​เมือง​ตาก​อากาศ​พัก​ผ่อน​ชายทะเล และ​พระบาท​สมเด็จพ​ ระมงกุฎเกล้าเ​จ้าอ​ ยูห​่ วั โปรด​เกล้าฯ ใ​ห้ส​ ร้าง​สถานีร​ ถไฟ​หวั หินแ​ ละ​โรงแรม​ รถไฟ​หัวหิน (ปัจจุบันค​ ือโ​ซฟิ​เทล เซ็นท​ า​รา แก​รด์น รีสอร์ท​และ​วิลล่า) ภาย​หลังเ​มื่อ​เส้นท​ าง​รถไฟ​สร้าง​ เสร็จ ด้วย​รูป​แบบ​สถาปัตยกรรม​ที่​ผสม​ผสาน​ศิลปะ​สมัย​วิคตอเรีย​ล​ที่​สง่า​งาม ​เข้า​กับ​ศิลปะ​ไทย​ที่​ละเอียด​ อ่อน ทำให้ใ​น​ไม่ช​ า้ ไ​ด้เ​กาะ​กมุ ค​ วาม​นยิ ม​ใน​การ​ออกแบบ​อาคาร​บา้ น​เรือน​และ​ทส​ี่ ถาน​ทส​ี่ ำคัญบ​ ริเวณ​หวั หิน​ มา​นาน​นับทศวรรษ จน​สถาปัตยกรรม​ใน​แนว​โค​โล​เนีย​ล (ตึก​ฝรั่ง) กลาย​เป็น​สถาปัตยกรรม​ที่​ได้​รับ​ ความ​นยิ ม​อย่าง​สงู โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยงิ่ ใ​น​กลุม่ บ​ คุ คล​สงั คม​ชนั้ ส​ งู และ​ยงั ค​ ง​ได้ร​ บั ค​ วาม​นยิ ม​จวบ​จน​ปจั จุบนั ใน​ คุณค่าแ​ ห่งค​ วาม​เป็นห​ วั หินซ​ งึ่ เ​ป็นส​ ว่ น​ผสม​ระหว่าง​ความ​รม่ เย็น ครอบครัว ความ​สนุกสนาน​และ​โร​แมน​ตกิ โดย​มี​รูป​ทรง​อาคาร​ใน​แบบ​โค​โล​เนียล​ ​เป็น​ฉาก​หลัง

56

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


รูป​แบบ​สถาปัตยกรรม​แบบ​ของ​หัวหิน​สไตล์ หรือ​รูป​แบบ​ของ​โค​โล​เนีย​ล​สไตล์​นั้น มี​ลักษณะ​ โดด​เด่นท​ ส​ี่ ำคัญไ​ด้แก่ รูปท​ รง​อาคาร​เป็นล​ กั ษณะ​สเี่ หลีย่ ม​แบบ​สมมาตร (square and symmetrical shape) มีก​ าร​เน้นป​ ระตูท​ าง​เข้าท​ ก​ี่ งึ่ กลาง​อาคาร (central door) มีก​ าร​ใช้เ​สา​สงู เ​ป็นแ​ นว​รบั ช​ ายคา​กว้าง (Colonnade) ป้องกันแ​ ดด ลม ฝน และ​เป็นซ​ มุ้ เพือ่ เ​น้นบ​ ริเวณ​ทาง​เข้า-ออก มีก​ าร​ออกแบบ​แนว​เส้นป​ ระตูใ​ห้เ​ป็นร​ ะเบียบ​ ใน​แนว​เดียวกัน ผนังส​ ่วน​ใหญ่​มัก​เป็น​ผนัง​ไม้​ตี​ซ้อน​เกล็ด สลับไ​ ป​มา​กับ​โครงสร้าง​ปูน อาจ​มี​การ​ประดับ ​ตกแต่งด้วย​บัว​ปูนป​ ั้นร​ อบ​ชายคา บัว​หัว​เสา หรือ​รอบ​กร​หน้าต่าง ระหว่าง​ชั้น​มัก​จะ​มี​ระเบียง​โดย​รอบ อย่างไร​ก็​ดี สถาปัตยกรรม​ใน​แนว​โค​โล​เนียล​ นี้ หยุดช​ ะงักไ​ป​ชั่วร​ ะยะ​หนึ่งน​ ับจ​ าก​ช่วง​หลังส​ งคราม โลก​ครั้ง​ที่ ๒ จาก​หลาย​ปัจจัย ไม่ว​ ่า​จะ​เป็นส​ ภาพ​การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ​กลับ​มา​เฟื่อง​ฟอู​ ีก​ครั้ง ใน​ช่วง ๑๐ ปี​ที่​ผ่าน​มา ซึ่ง​รูป​แบบ​การ​ก่อสร้าง​อาคาร​ใน​ปัจจุบัน แม้​จะ​ยัง​มี​รูป​ทรง​โค​โล​เนีย​ล​เหมือน ​ใน​อดีต แต่​ก็​มี​อีก​หลาย​อาคาร​ที่​ยึด​รูป​แบบ​สมัย​ใหม่​ใน​แนว​โม​เดิร์น ซึ่ง​แม้​จะ​มี​ความ​หลาก​หลาย​มาก​ขึ้น แต่​หัวหินย​ ัง​คง​เสน่หข์​ อง​การ​เป็น​เมือง​ตาก​อากาศ​ที่​สงบ อบอุ่น ​และ​มบี​ รรยากาศ​ของ​ความ​เป็น​ครอบครัว ที่​ไม่มี​วัน​จบ​สิ้น

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

57


ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท... บนเส้นทางแห่งความพอเพียง

58

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ก่อเกิด...ธนาคารต้นแบบ “ความพอเพียง”

รางวัล ​ช นะ​เลิ ศ​จ าก​ก าร​ป ระกวด​ผ ล​ง าน​ต าม​ป รั ช ญา​ ของ​เศรษฐกิ จ​พอ​เพี ยง ครั ้ ง ​ที ่ ๒ ประเภท​ห น่ ว ย​ง าน/องค์ ก ร​ภ าค​ร ั ฐ​ใน​ส ่ ว น​ก ลาง ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

59


60

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


การ​ก้าว​เดิน​ตาม​รอย​เบื้อง​พระ​ยุคลบาท​แห่ง​องค์​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัวมา​อย่าง​ยาวนาน โดย​การ​ยึดถือ​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​ดำเนิน​งาน​ของ ธ.ก.ส. เพื่อ​ส่ง​เสริม ให้​เกิด​การ​ขับ​เคลื่อน​และ​การ​เปลี่ยนแปลง​ไป​สู่​แนว​วิถี​แห่ง​ความ​พอ​เพียงอย่าง​ยั่งยืน​คู่​ขนาน​กัน​ไป​ทั้ง ๓ ด้าน คือ ด้าน​องค์กร ด้าน​พนักงาน และ​ด้าน​ลูกค้า จน​ปรากฏ​เป็นผล​สำเร็จ​แห่ง​ความ​มุ่ง​มั่น​บน​เส้น​ ทาง​แห่งค​ วาม​พอ​เพียง เมื่อว​ ัน​ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๕ พนักงาน​ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) ทุก​คน​ต่าง​มี​ความ​ภาค​ภูมิใจ​และ​ปลื้ม​ปิติ​ที่​ผู้​จัดการ ธ.ก.ส. (นาย​ลักษณ์ ว​จนา​นวัช) ได้​เป็น​ตัวแทน ​พนักงาน ธ.ก.ส. เข้า​รับ​ถว้ ย​พระราชทาน​พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยู่หัว จากสมเด็จพ​ ระ​เทพ​รัตน​ราช​สดุ​ าฯ สยาม​บรม​ราช​กุมารี ซึ่ง​เป็น​รางวัล​ชนะ​เลิศ​จาก​การ​ประกวด​ผล​งาน​ตาม​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง ครั้ง​ที่ ๒ ประเภท​หน่วย​งาน/องค์กร​ภาค​รัฐ​ในส่วน​กลาง โครงการ​ประกวด​ผล​งาน​ตาม​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง ครัง้ ท​ ี่ ๒ ซึง่ ส​ ำนักงาน​คณะ​กรรมการ​ พิเศษ​เพื่อ​ประสาน​งาน​โครงการ​อัน​เนื่อง​มา​จาก​พระ​ราชดำริ (สำนักงาน กปร.) และ​หน่วย​งาน​ภาคี ประกอบ​ด้วย​มูลนิธิ​ชัย​พัฒนา สำนัก​งบ​ประมาณ กระทรวง​มหาดไทย กองทัพ​ไทย และ​มูลนิธิ​สถาบัน วิจัย และ​พัฒนา​ประเทศ​ตาม​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง ได้​ร่วม​กัน​จัด​ขึ้น​ใน​ปี ๒๕๕๒ เพื่อ ​เฉลิมพระเกียรติ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว และเผย​แพร่​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง รวม​ทั้ง​ค้นหา​ ตัวอย่าง​ผล​สำเร็จ​ของ​ผู้​ปฏิบัติ​ตามปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ใน​ภาค​ส่วน​ต่างๆ โดย​แบ่ง​การ​ประกวด​ ออก​เป็น ๑๐ ประเภท คือ

๑) ๓) ๕) ๗) ๙)

ประชาชน​ใน​พื้นที่​ห่าง​ไกล​และ​กันดาร ชุมชน​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง กลุ่ม​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่ หน่วย​งาน/องค์กร​ภาค​รัฐ​ใน​ส่วน​กลาง ธุรกิจ​ขนาด​กลาง

๒) ประชาชน​ทั่วไป ๔) เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่ ๖) หน่วย​งาน/องค์กร​ภาค​รัฐ​ใน​ส่วน​ภูมิภาค ๘) ธุรกิจข​ นาด​ใหญ่ ๑๐) ธุรกิจข​ นาด​ย่อม

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

61


ทั้งนี้ ปรากฏ​ว่า​มี​ผู้​สนใจ​เข้า​ร่วม​โครงการ​จาก​ทุก​จังหวัด​ทั่ว​ประเทศ จำนวน ๑,๖๔๔ ผล​งาน โดย​คณะ​กรรมการ​ดำเนิน​การ​ประ​กวดฯ ได้​ตัดสิน​ให้​มี​ผู้​ได้​รับ​รางวัล​ถ้วย​พระราชทาน​พระบาท​สมเด็จ​ พระเจ้าอยู่หัว จำนวน ๑๐ ผล​งาน และ​รางวัลถ​ ้วย​พระราชทาน​สมเด็จพ​ ระ​เทพ​รัตน​ราช​สดุ​ าฯ สยาม​บรม​ ราช​กุมารี จำนวน ๓๓ ผล​งาน คณะกรรมการ​ตัดสิน​ผล​งาน​ประเภท​หน่วย​งาน/องค์กร​ภาค​รัฐ ได้ก​ ำหนด​ คุณสมบัติ​ของ​หน่วย​งาน​ภาค​รัฐ​ใน​ส่วน​กลาง​ว่าเป็นหน่วย​งาน/องค์กร​ของ​รัฐ​ใน​ระดับ​กรม​หรือ​เทียบ​เท่า​ ที่​นำ​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​มา​ใช้​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​ดำเนิน​งาน​และ​พัฒนา​องค์กร​ให้​สามารถ​ ปฏิบัตงิ​ าน​ได้​อย่าง​มปี​ ระสิทธิภาพ คณะ​กรรมการ​ตัด​สินฯ​ได้​แถลง​ว่า ตัดสิน​ให้ ธ.ก.ส. รับร​ างวัล​ถ้วย​พระราชทานพระบาท​สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว​จาก​จุดเ​ด่น​ของ ธ.ก.ส. ๔ ด้าน คือ 1.

62

ด้าน​นโยบาย​และ​การ​จัดการ​องค์กร - พึ่งพา​ตนเอง​ได้​แม้​ใน​ยาม​วิกฤต​เศรษฐกิจ​โดย​มิได้​มุ่งผ​ ล​กำไร​สูงสุด - ยึด​หลัก​การ​กำกับ​ดูแล​องค์กร​ที่​ดี​โดย​เน้นค​ วาม​ซื่อสัตย์​และ​โปร่งใส - บุคลากร​ส่วน​ใหญ่​ดำเนิน​วิถี​ชีวิต​พอ​เพียง - ส่งเ​สริม​เกษตรกร​ให้​สามารถ​พึ่งพา​ตนเอง​ได้​และ​มี​คุณภาพ​ชีวิต​ที่​ดี​ขึ้น

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


๒. ด้าน​งบ​ประมาณ​และ​การ​บริหาร​การ​เงิน - มี​ความ​โปร่งใส​และ​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ได้ - ส่งเ​สริม​การ​ออม​และ​จัดต​ ั้งม​ ูลนิธิ​อาจารย์​จำเนียร เพื่อ​เป็น​สวัสดิการ​แก่​ พนักงาน​และ​เกษตรกร - มีก​ าร​จัด​ทำ​บัญชี​ครัว​เรือน​ทั้ง​พนักงาน​และ​เกษตรกร​ลูกค้า ๓. ด้าน​การ​พัฒนา​บุคลากร - มี ​ก าร​ฝึ ก ​อ บรม การ​จั ด ​ท ำ​สื่ อ ​เรี ย น​รู้ ​แ ละ​ก าร​ป ฏิ บั ติ ​ใ น​เ นื้ อ ​ง าน​ห ลาย​ภ าค​ ส่วน​โดย​ไม่​ถือ​เป็น​โครงการ​พิเศษ - มี​รูป​แบบ Best Practice ทีช่​ ัดเจน​ตาม​ความ​สมัคร​ใจ - ขยาย​โอกาส​การ​เรียน​รู้​ด้วย​ระบบ E-Learning ๔. ด้าน​ผล​สัมฤทธิ์ - มี​ความ​ยั่งยืน​ใน​การ​น้อมนำ​หลัก​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​มา​เป็น​ปณิธาน​หลัก​ใน​การ​ ดำเนิน​งาน​องค์กร - มี​แนวคิด​วิถี​พอ​เพียง​ที่​ชัดเจน​และ​มี​ความ​พร้อม​ที่​เป็น​องค์กร​แบบ​อย่าง​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง ​ที่​สมบูรณ์ - มี​ความ​เข้ม​แข็ง​และ​ยึด​หลัก​การ​อย่าง​มี​เหตุผล​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน​ของ​คณะ​กรรมการ​ ธนาคาร

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

63


64

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


จาก​การ​ที่ ธ.ก.ส. ได้​น้อมนำ​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​มา​ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​ดำเนิน​งาน​ ใน​ช่วง​ระยะ​เวลา​ที่​ผ่าน​มา​จนถึง​ปัจจุบัน และ​เผย​แพร่​ไป​สู่​ทั้ง​พนักงาน​และ​เกษตรกร​ลูกค้า​มา​โดย​ตลอด จึง​ส่ง​ผล​ให้​มี​พนักงาน​และ​เกษตรกร​ลูกค้า​หลาย​คน​ได้​รับ​รางวัล​ประเภท​ต่างๆ ใน​การ​ประกวด​ครั้ง​นี้ ได้แก่

ประเภท​ประชาชน​ทั่วไป

รางวัล​ถ้วย​พระราชทาน​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว

รางวัล​ถ้วย​พระราชทาน​สมเด็จพ​ ระ​เทพ​รัตน​ราช​สุ​ดาฯ​สยาม​บรม​ราช​กุมารี

รางวัล​โล่​เกียรติยศ​นายก​รัฐมนตรี​ใน​ฐานะ​ประธาน กปร.

- นาย​สม​พงษ์ พร​ผล (ลูกค้า ธ.ก.ส. ) อ.ตะกั่วทุ่ง จ.พังงา - - - -

นาย​ไพโรจน์ ตัณฑิ​กุล (พนักงาน ธ.ก.ส.) เขต​บางซื่อ กรุงเทพมหานคร นาย​สุ​พจน์ โค​มณี (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์ นาย​สุ​นัน เผ้า​หอม (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ซำ​สูง จ.ขอนแก่น นาย​บำรุง คำ​อยู่ (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา

- นาย​ฉลอง​ชาติ ยัง​ปักษี (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ท่าแ​ ซะ จ.ชุมพร - นาย​ณรงค์ วิม​ า (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

65


ประเภท​ประชาชน​ใน​พื้นที่​ห่าง​ไกล​และ​กันดาร

รางวัล​ถ้วย​พระราชทาน​สมเด็จพ​ ระ​เทพ​รัตน​ราช​สุ​ดาฯ​สยาม​บรม​ราช​กุมารี

รางวัล​โล่​เกียรติยศ​นายก​รัฐมนตรี​ใน​ฐานะ​ประธาน กปร.

- นาย​ผล มี​ศรี (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ภูซ​ าง จ.พะเยา - นาย​ประมาณ ประสงค์ส​ ันติ (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี - นาย​คำ​ดี สาย​แวว (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.สิร​ ินธ​ ร จ.อุบลราชธานี

ประเภทชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

รางวัล​ถ้วย​พระราชทาน​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว

รางวัล​โล่​เกียรติยศ​นายก​รัฐมนตรี​ใน​ฐานะ​ประธาน กปร.

66

- ชุมชน​บ้าน​ดอกบัว (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.เมือง จ.พะเยา

- ชุมชน​บ้านนา​ป่าแดง (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ประเภท​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่ รางวัล​ถ้วย​พระราชทาน​พระบาท​สมเด็จ​ พระเจ้าอยู่หัว - นาง​เปรียว​จันทร์ ต๊ะ​ต้น​ยาง (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.เทิง จ.เชียงราย

รางวัล​ถ้วย​พระราชทาน​สมเด็จ​พระ​เทพ​รัตน​ ราช​ส​ดุ าฯ สยาม​บรม​ราช​กมุ ารี

- นาย​สำรอง แตง​พลับ (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี - นาย​พินัย แก้ว​จันทร์ (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.เมือง จ.ยะลา - นาย​บุญ​แทน เหลา​สุ​พะ (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.เมือง จ.เลย - นาย​ปรีชา เห​มก​รณ์ (ลูกค้า ธ.ก.ส.) เขต​หนองจอก กรุงเทพมหานคร

รางวัล​โล่​เกียรติยศ​นายก​รัฐมนตรี ใน​ฐานะ​ประธาน กปร.

- นาย​เฉลิม เรือง​เพ็ง (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ศรีบ​ รรพต จ.พัทลุง

ประเภท​กลุ่ม​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่

รางวัล​ถ้วย​พระราชทาน​สมเด็จ​พระ​เทพ​รัตน​ราช​สุ​ดาฯ สยาม​บรม​ราช​กุมารี

รางวัล​โล่​เกียรติยศ​นายก​รัฐมนตรีใ​ น​ฐานะ​ประธาน กปร.

- กลุ่ม​ศูนย์​ส่ง​เสริม​และ​ผลิต​พันธุ์​ข้าว​ชุมชน​บ้าน​ไทร​ใหญ่ (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี

- กลุ่ม​ผู้​ปลูกผ​ ัก​ปลอด​สาร​พิษ (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.ลาดบัวหลวง จ. พระนครศรีอยุธยา - กลุ่ม​ชุมชน​ต้นแบบ​เพื่อน​พึ่ง (ภาฯ) ยาม​ยาก (ลูกค้า ธ.ก.ส.) อ.เมือง จ.อ่างทอง

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

67


หนังสือ​เผย​แพร่​ผล​งานการ​ประ​กวดฯ ที่​จัด​ทำ​โดย​สำนักงาน กปร. กล่าว​ถึง​ผล​สำเร็จ ของ ธ.ก.ส. ว่า​เป็น “องค์กร​พอ​เพียง ก่อ​ประโยชน์ กำลัง​สาม” เริ่ม​จาก ธ.ก.ส. ได้​ใช้​แนวคิด ใน​การ​พึ่งพา​ตนเอง​ใน​ด้าน​เงิน​ทุน โดย​การ​ระดม​เงิน​ฝาก​จาก​เกษตรกร​และ​ประชาชน​ทั่วไป แทน​เงิน ​ฝาก​จาก​ธนาคาร​พาณิชย์ ซึ่ง ​เป็น​ไป​ตาม​หลัก​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ ​พอ​เพียง ตั้งแต่ ​ ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ต่อ​เนื่อง​ถึง​ปัจจุบัน ส่วน​ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้​มี​การ​ส่ง​เสริม​และ​ปลูก​ฝัง​ให้​พนักงาน ได้​ร่วม​มือ​ร่วมใจ​กัน​น้อมนำ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​มา​ใช้​ใน​การ​ดำเนิน​ชีวิต ทั้ง​ใน​ครอบครัว​และ​การ​ ปฏิบัตงิ​ าน ดังนี้

68

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ความ​พอ​ประมาณ ดำเนิน​งาน​โดย​ยึด​หลัก​ความ​มั่นคง ยั่งยืน และ​มี​ความ​พอเพียงของ​ แหล่ง​เงิน​ทุน โดย​สนับสนุน​การ​จัด​ทำ​บัญชี​ครัว​เรือน​เพื่อ​ให้​เกษตรกร​มี​เงิน​ออม​เพิ่ม​ขึ้นให้​เพียง​พอ​ กับ​การ​ให้​ความ​ช่วย​เหลือ​ด้าน​เงิน​ทุน​แก่​เกษตรกร​ราย​ย่อย​และ​ประชาชน​ใน​ชนบทควบคู่​กับ​การ​แนะนำ​ กำกับ​ที่​ดี รณรงค์​ให้​บุคลากร​รู้จัก​ความ​ดี ไม่​น้อย​เกิน​ไป ไม่​มาก​เกิน​ไป ไม่​เบียดเบียน​ตนเอง​และ​ผู้​อื่น จัดการ​สง่ เ​สริมใ​ห้บ​ คุ ลากร​มส​ี ขุ ภาพ​ดโ​ี ดย​ลด ละ เลิกอ​ บายมุข และ​มเ​ี ศรษฐกิจดี ทุกค​ น​ตอ้ ง​รจู้ กั ก​ ารบริหาร​ จัดการเงิน​ของ​ตนเอง ได้แก่ ลด​ราย​จ่าย ลด​ภาระ​หนี้ และ​เพิ่ม​เงิน​ออม เพื่อ​ให้ม​ ี​ความ​สุข​ใน​ชีวิต​จะ​ส่ง​ผล​ ให้การ​ปฏิบัตงิ​ าน​มปี​ ระสิทธิภาพ​และ​ประสิทธิผล

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

69


ส่วน​ของ​เกษตรกร​ลูกค้า​เน้น​ที่​จำกัด​จำนวน​ผู้​เข้า​รับ​การ​พัฒนา​เพื่อ​ให้​เหมาะ​สม​กับอัตรา​กำลัง​ พนักงาน​และ​หน่วย​งาน​ทม​ี่ ส​ี ว่ น​รว่ ม​ใน​การ​พฒ ั นา​เพือ่ ใ​ห้เ​กิดค​ ณ ุ ภาพ เน้นแ​ บบค่อย​เป็นค​ อ่ ย​ไป และ​เลือก​หา​ หลักสูตร​ที่​สอดคล้อง​กับ​วิถี​ชีวิต​และ​ความ​ต้องการ การ​พัฒนาศักยภาพ​ของ​ชุมชน​มุ่ง​ใช้​ศูนย์​เรียน​รู้​ใน​ ท้อง​ถิ่น​ที่​ถือ​เป็นท​ รัพยากร​และ​บุคลากร​ที่​มี​ประสิทธิภาพเป็น​สำคัญ ส่งเ​สริม​ให้ช​ ุมชน​และ​เกษตรกร​สร้าง​ ความ​พอดีใ​น​ครอบครัว เช่น การ​ผลิต​และ​การ​บริโภค​ที่​อยู่​ใน​ระดับ​พอ​ประมาณ มี​กิจกรรม​ลด​ราย​จ่าย​ใน​ ครัว​เรือน ลด​ต้นทุน​การ​ผลิตใ​น​การ​ประกอบ​อาชีพ สร้าง​ขนาด​การ​ผลิต​ให้​สอดคล้อง​กับ​ความ​สามารถ​ใน​ การ​บริหาร​จัดการ สร้าง​กระบวนการ​ผลิต​ที่​เน้นเ​พื่อ​การ​บริโภค​หรือจ​ ำหน่าย​ภายใน​ชุมชน​เป็น​หลัก หาก​ มี​ส่วน​เหลือ​จึง​ให้​จัดต​ ั้ง​เป็น​วิสาหกิจ​ชุมชน​เพื่อ​จำหน่าย​ผลิตภัณฑ์​ไป​สู่​ภูมิภาค ความ​มี​เหตุผล ให้​ความ​สำคัญ​กับ​การ​เพิ่ม​ราย​ได้​และ​ลด​ราย​จ่าย​ใน​การ​สร้าง​ความ​มั่นคง ทางการ​เงิน โดย​การ​จัดหา​แหล่ง​เงิน​ให้​เพียง​พอ​สำหรับ​ภารกิจ​ของ​ธนาคาร​และ​มี​ต้นทุน​ที่เหมาะ​สม ​และ​ดูแล​บริหาร​เงินอ​ ย่าง​มี​เสถียรภาพ มุ่งเ​น้นก​ าร​ให้​บริการ​ที่​ประทับใ​จ​แก่​ลูกค้าด​ ้วย​การสร้างวัฒนธรรม​ การ​บริการ​ด้วย​ใจ รวม​ทั้ง​สนับสนุน​ข้อมูล​ข่าวสาร การ​พัฒนา​ผลิตภัณฑ์​ของเกษตรกร​เพื่อ​ให้​เกิด ​ความ​รัก​และ​ผูกพัน​ต่อ ธ.ก.ส. ส่วน​การ​บริหาร​จัดการ​ทรัพยากร​มนุษย์​ได้​ยึด​หลักของ​การ​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​ ทุกร​ ะดับร​ วม​ทั้งร​ ับฟ​ ังค​ วาม​คิดเ​ห็นข​ อง​ลูกค้าผ​ มู้​ า​ใช้บ​ ริการ​เพื่อใ​ห้เ​กิดก​ ารปฏิบัตงิ​ าน​ทดี่​ ี ซึ่งจ​ ะ​ตอบ​สนอง​ ตรง​ตาม​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้าแ​ ละ​สะดวก​ใน​การ​ปฏิบัติ​ของ​พนักงาน รวม​ทั้ง​เป็น​ผล​ดี​แก่​องค์กร​ใน​การ​ พัฒนา​ให้​เจริญ​เติบโต​อย่าง​ยั่งยืน ส่วน​เกษตรกร​ลูกค้า​จะ​มุ่ง​เน้น​พัฒนา​ส่ง​เสริม​อาชีพ​โดย​พิจารณา​จาก​สภาพ​ความเป็น​จริง ​ตาม​ภูมิศาสตร์ และ​สิ่ง​แวดล้อม​ใน​ทุก​ด้าน​ของ​พื้นที่ รวบรวม​ข้อมูล​ต่างๆ ที่​เกี่ยวข้องอย่าง​เป็น​ระบบ สร้าง​ฐานข้อมูลท​ ง​ี่ า่ ย​ตอ่ ก​ าร​ใช้ง​ าน วาง​ระบบ​แนวทาง​การ​พฒ ั นา​ให้เ​กษตรกรใช้ท​ รัพยากร​ใน​กระบวนการ​ ผลิตอย่าง​ประหยัด ใช้ป​ ระโยชน์ค​ มุ้ ค​ า่ ส่งเ​สริมใ​ห้ช​ มุ ชน​มก​ี ฎ​ระเบียบ​ใช้ป​ ฏิบตั ร​ิ ว่ ม​กนั รวม​ทงั้ ใ​ห้ม​ ก​ี จิ กรรม สืบทอด​วัฒนธรรม​ภูมิปัญญา​ของ​ชุมชน​สู่​เยาวชน

70

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


การ​มี​ภูมิคุ้มกัน ได้​ตระหนัก​ถึง​ความ​สำคัญ​และ​เชื่อ​มั่น​ใน​แนวทาง​การ​บริหาร​จัดการ​ องค์กร​ภาย​ใต้​กรอบ​การ​บริหาร​และ​การ​กำกับ​ดูแล​ที่​ดี (Good Corporate Governance) อย่าง​ต่อ​เนื่อง​มา​โดย​ตลอด และ​ถือ​เป็น​กฎ​เกณฑ์​กติกา​ที่​ทุก​คน​ที่​เกี่ยวข้อง​ต้อง​ปฏิบัติ กำหนด​ให้ การ​ใช้ ​ชี วิ ต ​พ อ​เ พี ย ง​เ ป็ น ​ส่ ว น​ห นึ่ ง ​ข อง​วั ฒ นธรรม ธ.ก.ส. ที่ ​พ นั ก งาน​ทุ ก ​ค น​จ ะ​ต้ อ ง​ยึ ด ถื อ และ​ปฏิบัติ โดย ธ.ก.ส. กำหนด​ให้​มี​แผน​งาน​โครงการ​เสริม​สร้าง​และ​ปลูก​ฝัง​วัฒนธรรม ธ.ก.ส. อย่าง​ต่อ​เนื่อง​ทุก​ปี ซึ่ง​วัฒนธรรม ธ.ก.ส. ที่​กำหนด​ไว้ คือ “ซื่อสัตย์​สุจริต มี​สำนึก​รับ​ผิด​ชอบ ตอบ​สนอง​เป็น​ทีม ยิ้ม​บริการ​ด้วย​ใจ ใช้​ชีวิต​พอ​เพียง”

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

71


นอกจาก​นี้ ใน​การ​จัดท​ ำ​แผนการ​ดำเนินง​ าน ๕ ปี แผนการ​ดำเนิน​งาน​และ​งบ​ประมาณ​ประจำ​ปี ได้​นำ​แนวคิด​ทาง​วิชาการ​ไป​กำหนด​ให้​สอดคล้อง​และ​สนับสนุน​วิสัย​ทัศน์ พันธ​กิจ และ​ยุทธศาสตร์​ของ ธ.ก.ส. รวม​ทั้ง​มี​การ​ส่ง​เสริม​การนำ​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​มาขับ​เคลื่อน​องค์กร​อย่าง​ต่อ​เนื่อง โดย​ให้​ความ​รู้​เกี่ยว​กับ​แนวทาง​การ​พัฒนา​ชนบท​กับ​ผู้นำเกษตรกร ผู้นำ​ชุมชน​ต้นแบบ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง สร้าง​การ​มี​ส่วน​ร่วม​ระหว่าง​พนักงาน ธ.ก.ส. และ​ผู้นำชุมชน เพื่อ​วางแผน​ใน​การ​จัด​ทำ​โครง​กา​รบู​รณา​การ​ และ​เป็น​เครือ​ข่าย​เชื่อม​โยงระหว่าง​กลุ่ม​นักพ​ ัฒนา ศูนย์เ​รียน​รู้​และ​ชุมชน​ให้​เกิด​ความ​ยั่งยืน การ​มี​ความ​รู้ มุ่ง​มั่น​สู่​การ​เป็น​องค์กร​แห่ง​การ​เรียน​รู้​โดย​นำ​กระบวนการ​จัดการความ​รู้​มา​ใช้​ ใน​การ​พัฒนา​พนักงาน​ใน​ทุก​มิติ​เพื่อ​สร้าง​มูลค่า​เพิ่ม​ให้​แก่​องค์กร ได้​กำหนด​เป้า​หมายผล​สำรวจ​ความ​ พึง​พอใจ​ของ​ลูกค้า​ต้อง​ได้​ไม่​ต่ำ​กว่า​ร้อย​ละ ๘๐ ตลอด​จน​รวบรวม​ภูมิปัญญาของ​องค์กร​ใน​รูป​แบบ​ของ Best Practice และ​สร้าง​วฒ ั นธรรม​การ​แลก​เปลีย่ น​เรียน​รข​ู้ องพนักงาน​ใน​โครงการ​ชมุ ชน​นกั ป​ ฏิบตั ิ ขยาย ​โอกาส​การ​เรียน​รู้​ของ​พนักงาน​ทุก​ระดับ​ด้วยระบบ E-Learning และ​สร้าง​องค์​ความ​รู้​เพื่อ​สร้าง​ความ ​เข้ม​แข็ง​ให้​แก่​สหกรณ์​การเกษตร รวม​ทั้งส่ง​เสริม​การ​เรียน​รู้​เพื่อ​สร้าง​นวัตกรรม​ใน​การ​ทำงาน และ​มี​ การ​ให้​ความ​รู้​เกี่ยว​กับ​ปรัชญาเศรษฐกิจ​พอ​เพียง​แก่​บุคลากร​ใน​องค์กร​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​ใน​หลาย​ช่อง​ทาง ได้แก่ Intranet Website ของ​สำนักเ​สริมส​ ร้าง​ความ​สามารถ​บคุ คล การ​ฝกึ อ​ บรม การ​นเิ ทศ​งาน การ​ศกึ ษา ดู​งานและ​การ​สัมมนา​เชิง​ปฏิบัติก​ าร เป็นต้น มีก​ ารนำ​ระบบ​สารสนเทศ​มา​ใช้​ประกอบการบริหารจัดการ​ แผนการ​ฟื้นฟู​และ​พัฒนา​อาชีพ​ของ​เกษตรกร มี​การ​พัฒนา​บุคลากร​ทุก​ระดับ​อย่างต่อ​เนื่อง โดย​เชิญ​ นัก​วิชาการ ผู้ทรง​คุณวุฒิ และ​ปราชญ์​ชาว​บ้าน มา​ให้​ความ​รู้ คำ​ปรึกษา และข้อเสนอ​แนะ​แก่ฝ​ ่าย​จัดการ​ และ​พนักงาน​ผู้​วางแผน สร้าง​กลไก​กระบวนการ​ถ่ายทอด​ความ​รู้สู่​เกษตรกร​รุ่น​ใหม่​และ​เยาวชน ส่ง​เสริม​ ชุมชน​ให้​มกี​ าร​สืบทอด​ภูมิปัญญา​หรือก​ าร​ประยุกต์​ใช้​ภูมิปัญญา​ท้อง​ถิ่น มีแ​ ผน​ชุมชน​เพื่อ​การ​พึ่งพา​ตนเอง​ หรือ​สร้าง​เครือ​ข่าย​องค์กร​ชุมชนที่​มี​การ​แลก​เปลี่ยน​เรียน​รู้​โดย​ทำ​กิจกรรม​ร่วม​กัน​อย่าง​สม่ำเสมอ

72

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


การ​มี​คุณธรรม กำหนด​คุณลักษณะ​หลัก​ของ​กระบวนการ​กำกับ​ดูแล​กิจการ​ที่​ดีอัน​ประกอบ​ด้วย หลัก​สำคัญ ๙ ประการ ได้แก่ หลัก​สร้างสรรค์​คุณภาพ ประกันค​ ุ้ม​ค่า รักษาสิ่ง​แวดล้อม ร่วม​คิด​ร่วม​ทำ เปิดเ​ผย​โปร่งใส ซือ่ สัตย์ส​ จุ ริต เสมอ​ภาค​เป็นธ​ รรม สำนึกร​ บั ผ​ ดิ ช​ อบ และ​สนับสนุนก​ าร​เรียน​รู้ เพือ่ ใ​ห้ก​ รรมการ ผูบ​้ ริหาร และพนักงาน​ยดึ ม​ นั่ ใ​น​การ​ปฏิบตั ต​ิ าม​กฎระเบียบ ข้อบ​ งั คับแ​ ละ​วธิ ป​ี ฏิบตั เ​ิ พือ่ ใ​ห้บ​ คุ ลากร​ใน​องค์กร​ มีค​ ณ ุ ธรรม​และ​จริยธรรม​ใน​การปฏิบตั ง​ิ าน ได้แก่ จรรยา​บรรณ การ​ปอ้ งกันค​ วาม​ขดั แ​ ย้งท​ าง​ผล​ประโยชน์ การ​สร้าง สรรค์ว​ ฒ ั นธรรมทีพ่ งึ ป​ ระสงค์ มีก​ าร​รณรงค์ก​ จิ กรรม​ลดละ​เลิกเ​ครือ่ ง​ดมื่ แ​ อลกอฮอล์ กิจกรรม “บริการ​ดว้ ย​ใจ” กิจกรรม​คดั เ​ลือก “คน​พอ​เพียง​ของ ธ.ก.ส.” มีก​ าร​พฒ ั นา​สถาบันเ​กษตรกร​ให้เ​กิดค​ วาม​โปร่งใส ตรวจ​สอบ​ได้​ และ​เป็น​ธรรม สร้าง​แนวทาง​การ​มี​ส่วน​ร่วม​ภายใน​องค์กร​ทั้งส​ ่วน​กลาง​และ​ภูมิภาค มี​การกระจาย​อำนาจ​ และ​ถ่วง​ดุลอำนาจ​เพื่อ​ให้​เกิด​ประโยชน์​กับ​เกษตรกร​และ​ชุมชน ส่ง​เสริม​ให้​ชุมชน​มี​ความ​ตระหนัก​ใน ค​ ณ ุ ธรรมตาม​หลักศ​ าสนา​ของ​ตน มีค​ วาม​ซอื่ สัตย์ส​ จุ ริต อดทน และ​มค​ี วาม​เพียร​ใน​การ​ใช้ส​ ติป​ ญ ั ญา​ดำเนิน​ ชีวิต​บน​ทาง​สาย​กลาง​เกิด​ความ​สมดุล​ใน​ชีวิต รวม​ทั้ง​มี​การ​จัดสรร​ผล​ประโยชน์​ใน​ชุมชน​แก่​สมาชิก​อย่าง​ เป็น​ธรรม รางวัล​แห่ง​ความ​ภาค​ภูมิใจ​และ​เป็น​เกียรติ​สูงสุด​ที่ ธ.ก.ส. ได้​รับ​ใน​ครั้ง​นี้ ถือว่า​เป็นกำลัง​ใจ​ สำคัญ​ยิ่ง​ของ​พนักงาน ธ.ก.ส. ทุก​คน​ที่​จะ​มุ่ง​มั่น​ปฏิบัติ​งาน​ด้วย​ความ​ทุ่มเท​และ​พากเพียร​เพื่อ​รักษา ​ความ​เป็น “ธนาคาร​ต้นแบบ​ความ​พอ​เพียง” ให้​ยั่งยืนส​ ืบไป

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

73


ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท... บนเส้นทางแห่งความพอเพียง

74

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ก่อเกิด...ธนาคารต้นไม้ นวัตกรรมเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยื น

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

75


“...การ​ปลูก​ป่า​ถ้า​จะ​ให้​ราษฎร​มี​ประโยชน์​ให้​เขา​อยู่​ได้ ให้​ใช้​วิธีปลูก​ไม้ ๓ อย่าง แต่​มี​ประโยชน์ ๔ อย่าง คือ ไม้​ใช้สอย ไม้​กิน​ได้ไม้เ​ศรษฐกิจ โดย​รองรับ​การ​ชลประทาน ปลูก​รับ​ซับน​ ้ำ​และ​ปลูก​อุด​ช่วง​ไหล่ต​ าม​ร่อง​ห้วย โดย​รับ​น้ำ​ฝนอย่าง​เดียว ประโยชน์อ​ ย่าง​ ที่ ๔ คือ ได้ร​ ะบบ​อนุรักษ์​ดินแ​ ละ​น้ำ...” พระ​ราช​ดำรัส​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว เกี่ยว​กับ​การ​ปลูก​ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​และ​สหกรณ์​การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้น​ ้อมนำ​มา​เป็นห​ ลัก​คิด​และ​แนวทาง ​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน​ภาย​ใต้​โครงการ “ธนาคาร​ต้นไม้” ด้วย​การ​ส่ง​เสริม​และ​สนับสนุน​ให้​เกษตรกร ​ปลูก​ต้นไม้ให้​พอ​อยู่ พอ​กิน พอใช้ และ​ให้​เกิด​ประโยชน์​ต่อ​ระบบ​นิเวศ พอ​อยู่ หมาย​ถึง ไม้​เศรษฐกิจ​ที่​ปลูก​ไว้ส​ ำหรับ​ใช้​ทำ​ที่​อยู่​อาศัยห​ รือ​จำหน่าย พอ​กิน หมาย​ถึง ปลูก​พืช​เกษตร​เพื่อ​การ​กิน​และ​เป็นส​ มุนไพร​รักษา​โรค พอใช้ หมาย​ถึง ปลูกไ​ม้​ไว้​ใช้สอย​โดยตรง​และ​ใช้​เป็น​พลังงาน เช่น ไม้​ฟืนแ​ ละ​ไม้ไผ่ ประโยชน์​ต่อ​ระบบ​นิเวศ หมาย​ถึง การ​ปลูก​ต้นไม้​ได้​สร้าง​ให้​เกิด​ความ​อุดม​สมบูรณ์ และ​ก่อใ​ห้​ เกิด​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพ​ใน​พื้นทีป่​ ่า

76

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ธนาคาร​ตน้ ไม้ เป็นน​ วัตกรรม​ทางการ​เงินร​ ปู แ​ บบ​ใหม่ท​ อ​ี่ าจ​กล่าว​ได้ว​ า่ เป็นค​ รัง้ แ​ รกของ​ประเทศไทย​ ที่​ได้​มี​การนำ “ต้นไม้” มา​ใช้​เป็น “สินทรัพย์” หรือ “หลัก​ทรัพย์” ใน​ระบบ​การ​ทำ​ธุรกรรม​ทางการ​เงิน​ กับ​ธนาคาร เพราะ​ต้นไม้​มี​การ​เจริญ​เติบโต​และ​มี​การ​เพิ่ม​ปริมาณ​ของ​เนื้อ​ไม้ ซึ่ง​มี​มูลค่า​ทาง​เศรษฐกิจ​ หาก​มี​การ​ตัด​ต้นไม้​ไป​ขาย​เช่น​เดียว​กับ​การ​เพิ่ม​ขึ้น​ของมูลค่า​สินทรัพย์ เงิน​ฝาก หรือ​ดอกเบี้ย ที่​สำคัญ​การ​ ปลูก​ต้นไม้​ยัง​ก่อ​ให้​เกิด​คุณ​ประโยชน์​ต่อ​ระบบ​นิเวศ​โดย​รวม​ของ​ประเทศ​ด้วย ดังน​ นั้ การ​ปลูกต​ น้ ไม้ต​ าม​แนวทาง​ของ “ธนาคาร​ตน้ ไม้” แท้ท​ จ​ี่ ริงแ​ ล้ว คือ เครือ่ ง​มอื ใ​น​การ​ถา่ ยทอด ​องค์ค​ วาม​รู้ ข้อคิด และ​แนวทาง​ปฏิบัติ​ของ “หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจพอ​เพียง” ไป​สู่​เกษตรกร เพื่อท​ ี่​จะ​ ทำให้​เกษตรกร​และ​ประชาชน​เกิด​ความ​รู้ ความ​เข้าใจ และ​สามารถ​ปรับ​เปลี่ยน​วิถี​ชีวิต​และ​การ​ประกอบ​ อาชีพ​เกษตรกรรม​ไป​สู่​การ​ทำ​เกษตร​แบบพึ่งพา​ตนเอง​ได้​อย่าง​ยั่งยืน ซึ่ง​จะ​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​มั่นคง​ด้าน​ ที่​อยู่​อาศัย พลังงาน อาหาร และ​ยา อันจ​ ะทำให้เ​กษตรกร​มี​คุณภาพ​ชีวิต​และ​ความ​เป็น​อยู่​ที่​ดี​ขึ้น และ​ เป็นการ​อนุรักษ์และ​ฟื้นฟู​ป่า​ไม้​ให้ก​ ลับ​คืน​สู่​ธรรมชาติ​และ​ระบบ​นิเวศ

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

77


โครงการ​ธนาคาร​ต้นไม้ เป็นการ​ส่ง​เสริม​เกษตรกร​ให้​ปลูก​ต้นไม้​ตาม​แนว​พระ​ราชดำริ ปลูก​ป่า ๓ อย่าง เพื่อ​ประโยชน์ ๔ อย่าง แทน​การ​ปลูก​พืช​เชิงเดี่ยว โดย​ลด​พื้นที่​การเกษตร​เชิงเดี่ยว​ลง​แต่​ยัง​คง​ มี​ราย​ได้​เท่า​เดิม ใน​ขณะ​เดียวกัน​ยัง​สามารถ​พึ่งพา​ตนเอง​ได้​ด้วย​การ​ปลูกพืช ๗ กลุ่ม ประกอบ​ไป​ด้วย พืช​น้ำ พืช​ใต้ดิน พืช​เรี่ย​ดิน พืช​ชั้น​ล่าง พืชช​ ั้น​กลางพืชชั้น​บน และ​พืช​เถา ใน​ที่ดิน​ของ​ตนเอง บน​ที่ดิน​ สาธารณประโยชน์ ริม​ถนน ห้วย คลอง บึง ป่า​ชุมชน ป่า​ชาย​เลน ที่ดิน​บริเวณ​วัด โรงเรียน และ​ป่า​ต้นน้ำ​ ของ​ส่วน​รวม เน้นส​ ร้าง​กระบวนการ​มีส่วน​ร่วม​ใน​การ​จัดการ​ทรัพยากร​ชุมชน​ร่วม​กัน ให้ส​ ามารถ​พึ่งต​ นเอง​ ได้​ใน​ระดับ​ครอบครัว ชุมชน และ​เชื่อม​โยง​เครือ​ข่าย​ระดับ​ชุมชน​จนถึงร​ ะดับ​ประเทศ

78

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ธ.ก.ส. ได้​กำหนด​ให้​โครงการ​ธนาคาร​ต้นไม้​เป็น​โครงการ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​สังคม และ​สิ่ง​แวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) ของ ธ.ก.ส. เพื่อ​สร้าง​ความ​มั่นคง ​ด้านที่​อยู่​อาศัย พลังงาน อาหาร ยา​รักษา​โรค และ​ระบบ​นิเวศ เป็นการ​ป้องกันแ​ ละ​แก้ไข​ปัญหา​วิกฤติข​ อง ป​ ระเทศและ​ของ​โลก ด้าน​ประชากร ด้าน​อาหาร ด้าน​พลังงาน ด้าน​นำ้ ด้าน​การ​เปลีย่ นแปลง​ของ​ภมู อ​ิ ากาศ ด้านสิง่ แ​ วดล้อม และ​ดา้ น​สงั คม โดย​ได้ก​ ำหนด​ระยะ​เวลา​ดำเนินก​ าร​โครงการ​ธนาคาร​ตน้ ไม้ เพือ่ ใ​ห้การ​สนับสนุน​ การ​ปลูกต​ น้ ไม้ข​ อง​ชมุ ชนทัว่ ป​ ระเทศ​ได้เ​กิดข​ นึ้ อ​ ย่าง​เป็นร​ ปู ธ​ รรม​และ​ตอ่ เ​นือ่ ง ตัง้ แต่ว​ นั ท​ ี่ ๑ เมษายน ๒๕๕๒ ถึง วัน​ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๓ มีผ​ ล​การ​ดำเนิน​งาน​โครงการ​ธนาคาร​ต้นไม้​ใน​ปี ๒๕๕๓ จำนวน ๕๙๗ ชุมชน และ​ใน​ปี ๒๕๕๕ จำนวน ๘๘๙ ชุมชน ผล​การ​ดำเนิน​งาน​โครงการ​ธนาคาร​ต้นไม้​ของ ธ.ก.ส. ณ วัน​ที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๓ พบ​ว่า สมาชิกใ​น​โครงการ​ธนาคาร​ต้นไม้​ได้​ดำเนินก​ าร​จัด​ตั้งธ​ นาคาร​ต้นไม้ท​ ั่ว​ประเทศจำนวน ๕๙๗ ชุมชน มี​สมาชิกเ​ข้า​ร่วม​โครงการ ๗๑,๖๔๐ ราย โดย​เป็น​ลูกค้า ธ.ก.ส. จำนวน ๖๔,๔๗๖ ราย และ​บุคคล​ทั่วไป​ จำนวน ๗,๑๖๔ ราย ได้​ดำเนิน​การ​ปลูก​ต้นไม้จำนวน ๒,๙๐๕,๗๐๐ ต้น และ​ได้​มี​การ​ตรวจ​สอบ​และ​ประเมิน​มูลค่า​ต้นไม้ ๒ ชุมชน คือ บ้า​นพะงุ้น อำเภอ​สวี และ​ บ้าน​ทุ่ง​หงส์ อำเภอ​เมือง จังหวัดช​ ุมพร มี​ต้นไม้​รวม​ทั้งหมด จำนวน ๑๒,๘๓๐ ต้น มี​มูลค่า​ต้นไม้​ทั้ง​สิ้น ๑๕,๙๐๙,๒๒๓ บาท ชนิด​ของ​พรรณ​ไม้​ที่​ปลูก ได้แก่ กระถิน​เทพา ตะเคียน​ทอง มะฮอกกานี เคี่ยม สัก ทุ้ง​ฟ้า จำปา​ทอง ยาง​นา สะเดา​เทียม สะตอ และยม​หอม เป็นต้น สำหรับใ​น​ปี ๒๕๕๕ เพื่อเ​ป็นการ​ ร่วม​เฉลิม​ฉลอง​พระ​เกียรติ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว เนื่อง​ใน​โอกาส​พระ​ชนมายุ ๘๕ พรรษา ใน​วัน​ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ และ​สมเด็จ​พระนาง​เจ้า​สิ​ริกิ​ติ์​พระบรม​ราชินีนาถ เนื่อง​ใน​โอกาส พระ​ชนมายุ ๘๐ พรรษา ใน​วนั ท​ ี่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ ธ.ก.ส. มีเ​ป้าห​ มาย​ดำเนินก​ าร​สง่ เ​สริมก​ าร​ปลูกต​ น้ ไม้ ใน​ชมุ ชน​ตน้ แบบ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​ทไ​ี่ ด้ค​ ดั เ​ลือก​ให้เ​ข้าร​ ว่ ม​โครงการ​พฒ ั นา​ชมุ ชน​ตน้ แบบ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง ธ.ก.ส. จำนวน ๖,๔๕๐ ชุมชน

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

79


โดย​ภายใน​ปี ๒๕๖๓ มี​เป้า​หมาย​จะ​ขยาย​เป็น ๒๐,๐๐๐ ชุมชน มี​สมาชิก ๑ ล้านครัว​เรือน ปลูก​ต้นไม้ ๑,๐๐๐ ล้าน​ต้น มูลค่า​ต้นไม้ ๑ ล้าน​ล้าน​บาท ซึ่ง​จะ​ช่วย​เพิ่ม​พื้นที่​ป่า​ไม้และ​ลด​พื้นที่การทำ​ เกษตร​เชิงเดี่ยว​ได้ ๒๕ ล้าน​ไร่ (๔๐ ต้น/ไร่) ที่​สำคัญ​การ​ปลูก​ต้นไม้ยัง​เป็นการ​สร้าง​สินทรัพย์​ให้​ สมาชิกห​ รือเ​กษตรกร โดย​เกิดม​ ลู ค่าจ​ าก​ตน้ ไม้ท​ ป​ี่ ลูกไ​ว้ท​ งั้ หมดกว่า ๑ ล้าน​ลา้ น​บาท (๑,๐๐๐ บาท/ต้น) และ ​ต้นไม้​ที่​ปลูก​ยัง​สามารถ​สร้าง​หลัก​ประกันหนี้​เงินก​ ู้​ถึง ๕ แสน​ล้าน​บาท (๕๐% ของ​มูลค่าต​ ้นไม้) ธ.ก.ส. ได้​เชื่อม​โยง​โครงการ​ธนาคาร​ต้นไม้​กับ​ธุรกิจ​หลัก​ของ ธ.ก.ส. ด้าน​เงิน​ฝากและ​ด้าน​สิน​เชื่อ ได้แก่ โครงการ​เงินอ​ อม​ธนาคาร​ตน้ ไม้ เป็นการ​เชิญช​ วน​ผฝ​ู้ าก​เงินใ​ห้ม​ สี ว่ น​รว่ ม​ใน​ความ​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ​ตอ่ ส​ งั คม​ และ​สิ่ง​แวดล้อม และ​เพื่อ​สร้าง​แรง​จูงใจ​ให้​แก่​ผู้​ที่​ปลูกต้นไม้​ได้​รับ​ค่า​บริการ​ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม (Payment for Ecosystem Service : PES) โครงการสินเ​ชือ่ สีเ​ขียว​อตั รา​ดอกเบีย้ ต​ ำ่ เพือ่ ส​ นับสนุนเ​งินท​ นุ แ​ ก่ผ​ ป​ู้ ลูกต​ น้ ไม้​ และ​เป็นการ​ให้ก​ ำลังใ​จ​ใน​การดูแล​รกั ษา​ตน้ ไม้จ​ นถึงร​ อบ​ระยะ​เวลา​ตดั ฟ​ นั โครงการ​บริหาร​จดั การ​หนีโ​้ ดย​ใช้ต​ น้ ไม้ ​เป็นเครื่อง​มือใ​น​การ​แก้ไข​ปัญหา​หนี้​สิน​ของ​เกษตรกร เป็นต้น

80

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


โครงการ​เงิน​ออม​ธนาคาร​ต้นไม้ ธ.ก.ส. มีนโ​ย​บาย​สนับสนุนใ​ห้​หน่วย​งาน​ภาค​รัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ประชาชน ร่วม​กัน​สนับสนุน​ ชุมชน​จดั ท​ ำ​โครงการ​ธนาคาร​ตน้ ไม้ เพือ่ ร​ ว่ ม​กนั ร​ บั ผ​ ดิ ช​ อบ​ตอ่ ส​ งั คม​และสิง่ แวดล้อม (CSR) โดย​การ​เชิญช​ วน​ ให้​มา​ฝาก​เงิน​กับ ธ.ก.ส. ซึ่ง​ผู้​ฝาก​จะ​ได้​ดอกเบี้ย​ใน​อัตรา​ดอกเบี้ย​เงิน​ฝาก​ออม​ทรัพย์ จาก​นั้น ธ.ก.ส. จะ​นำ​ส่วน​ต่าง​ระหว่าง​อัตรา​ดอกเบี้ย​เงิน​ฝากประจำ กับอ​ ัตรา​ดอกเบี้ย​เงิน​ฝาก​ออม​ทรัพย์​ไป​เข้า กองทุน​ ธนาคาร​ต้นไม้​ของ ธ.ก.ส. เพื่อ​นำ​ไปจัดสรร​ให้​กับ กองทุน​ธนาคาร​ต้นไม้ข​ อง​ชุมชน เพื่อ​เป็นค​ ่า​ใช้​จ่าย​ ใน​การ​ดำเนิน​งาน​ธนาคารต้นไม้ชุมชน ส่วน​เงิน​ที่​นำ​มา​ฝาก​ไว้ ธ.ก.ส. จะ​นำ​ไป​สนับสนุน​สิน​เชื่อ​สี​เขียว (Green Credit) ให้​กับ​ผู้​ปลูก​ต้นไม้​ตาม​โครงการ​ธนาคาร​ต้นไม้ โดย​คิด​อัตรา​ดอกเบี้ยผ​ ่อน​ปรน​เชิง​สังคม เพื่อ​เป็นกำลัง​ใจ​ให้​กับ​ผู้​ปลูก​ต้นไม้​ได้​ดูแล​รักษา​ต้นไม้​ให้​เจริญ​เติบโต​จนถึง​รอบ​ระยะ​เวลา​ตัด​ฟัน ส่วน ​ผู้​ฝาก​เงิน นอกจาก​ได้​ดอกเบี้ย​เงิน​ฝาก​แล้ว ยัง​ถือว่า​ได้​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​ส่ง​เสริมให้​มีการ​ปลูก​ต้นไม้​เพิ่ม​ ขึ้น เป็น​โครงการ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​สังคม​และ​สิ่ง​แวดล้อม (CSR) ของผูฝ้​ าก นอกจาก​นั้น ธ.ก.ส. จะ​เชิญ​ผู้​ฝาก​ ไป​รว่ ม​กจิ กรรม​การ​ปลูกต​ น้ ไม้ชมุ ชน มีก​ าร​จดั ทำป้าย​ชอื่ ผ​ ส​ู้ นับสนุนโ​ครงการ​และ​จดั ทำ​ประกาศ​เกียรติคณ ุ ​ เพื่อ​เป็นการ​ประชาสัมพันธ์ให้ก​ ับ​ผู้​ฝาก​เงินก​ ับ ธ.ก.ส.

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

81


การ​ใช้​ต้นไม้​เป็น​เครื่อง​มือ​บริหาร​จัดการ​หนี ้

ธ.ก.ส. มี​แผนการ​จัด​ทำ​โครงการ​นำร่อง​ส่ง​เสริม​ให้​ลูกค้า​ที่​มี​หนี้​ค้าง​ชำระ​หนี้​เงิน​กู้ตาม​โครงการ​ ปรับปรุงโ​ครงสร้าง​หนี้​และ​หนี้​เงิน​กนู้​ อก​ระบบ ปลูกต​ ้นไม้​ใช้​หนีต้​ าม​แนวทางพระ​ราชดำริ​ปลูก​ป่า ๓ อย่าง (ไม้​กิน​ได้ ไม้​ใช้สอย ไม้​เศรษฐกิจ) เพื่อ​ประโยชน์ ๔ อย่าง (อาหาร / ยา ใช้สอย / พลังงาน เศรษฐกิจ / ขาย / ออม ระบบ​นิเวศ) ประกอบ​ด้วย​พืช ๗ กลุ่ม คือ ๑) พืช​น้ำ เช่น ข้าว ผักก​ ูด ผักบ​ ุ้ง ผัก​กระเฉด สาหร่าย ฯลฯ ๒) พืช​ใต้ดิน เช่น ขิง ข่า ขมิ้น กระชาย กระ​ทือ มัน เห็ด ฯลฯ ๓) พืชเ​รี่ย​ดิน เช่น ผัก​สวน​ครัว และ​พืช​สมุนไพร ฯลฯ ๔) พืช​ชั้น​ล่าง เช่น กล้วย ไผ่ มะละกอ ส้ม ผัก​ป่า​อายุ​ยืน ไม้​ดอกไม้​ประดับ ชา กาแฟ พืชไ​ร่ ฯลฯ ๕) พืช​ชั้น​กลาง คือ ไม้ผ​ ล​และ​พืช​เศรษฐกิจ ฯลฯ ๖) พืช​ชั้นบ​ น คือ ไม้​ยืนต้น (ใช้เ​นื้อไ​ม้) ไม้​ผล​และ​ไม้​เศรษฐกิจ สำหรับไ​ม้​ยืนต้น ปลูก​เพื่อข​ าย เนื้อ​ไม้ เป็น​ทุน​การ​ศึกษา​ของ​บุตร ปลูก​ใช้​หนี้ ปลูก​สร้าง​บ้านโรง​เรือนปลูก​ไว้​เป็น​ บำเหน็จบำนาญ มรดก ปลูกไ​ว้เ​ป็น​หลัก​ประกัน​หรือ​เพื่อ​ระบบนิเวศ ๗) พืช​เกาะ​เกี่ยว (พืช​เถา) เช่น พริก​ไทย กล้วยไม้ หวาย เสาวรส ผัก​สวน​ครัว และ​พืช​ สมุนไพร ฯลฯ

82

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


โดย​ให้​ปลูก​พืช​ทั้ง ๗ กลุ่ม แบบ​ผสม​ผสาน หรือ​แบบ​เกษตร​ประณีต “๑ ไร่ ๑ แสน” เพื่อ​ให้​พืช​เติบโต​แบบ​อาศัย​เกื้อกูล​กัน​เป็น​ชั้นๆ เพื่อ​การ​ใช้สอย พลังงาน อาหาร ยา ลด​ค่า​ใช้​จ่ายใน ​ครัว​เรือน แบ่งป​ ัน​กัน​และ​เป็นร​ าย​ได้ ราย​วัน ราย​อาทิตย์ ราย​เดือน ราย​ปี ก่อใ​ห้​เกิด​เงิน​ออม​นำ​มาใช้​หนี้ สร้าง​ความ​มั่นคง​ด้าน​ที่​อยู่​อาศัย พลังงาน อาหาร​และ​ยา ซึ่ง ธ.ก.ส. ได้แ​ นะนำ​ให้เ​กษตรกร​ลูกค้าชำระ​หนี้​ ด้วย​การ​ให้​เก็บ​เกี่ยว​ผลผลิต​จาก​กลุ่ม​พืช​ระยะ​สั้น คือ พืชน​ ้ำ พืช​ใต้ดิน พืชเ​รี่ย​ดิน พืช​ชั้น​ล่าง พืชช​ ั้นก​ ลาง และ​พืช​เกาะ​เกี่ยว เพื่อ​ทยอย​ส่ง​ชำระ​หนี้ หาก​ต้นไม้​ถึง​รอบระยะ​เวลาตัด​ฟัน จะ​แนะนำ​ให้​เกษตรกร​ตัด​ ต้นไม้ข​ าย​แล้วน​ ำ​เงินม​ า​ชำระ​หนี้ หรือร​ วม​กลุม่ เ​ป็นว​ สิ าหกิจช​ มุ ชน​แปรรูปไ​ม้ เพือ่ ข​ าย​เป็นไ​ม้ส​ ำเร็จรูปห​ รือ​ ผลิต​เป็น​เฟอร์นเิ จอร์ หรือ​ผลิตภัณฑ์​ตา่ งๆ จาก​ไม้ เพือ่ ​ขาย​นำ​เงินม​ า​ชำระ​หนี้​ดว้ ย​การ​แนะนำ​ให้​ปลูก​ตน้ ไม้​ ใน​สัดส่วน “หนี้ ๑,๐๐๐ บาท ปลูก ๑ ต้น ๑๐ ปี ชำระ​หนี้​เสร็จ” กรณี​ที่​เกษตรกร​ลูกค้า​ไม่​ต้องการ​ตัด​ต้นไม้​ขาย​ชำระ​หนี้ จะ​มี​การ​ตรวจ​สอบ​และ​ประเมิน​มูลค่า​ ต้นไม้​เพื่อ​ใช้​เป็น​หลัก​ประกัน​พร้อม​สนับสนุน​สิน​เชื่อ​ใหม่ (Refinance) โดย​ใช้​ที่ดินพร้อม​ต้นไม้​เป็น​ หลัก​ประกัน​ส่วน​ควบ

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

83


นายธวัช เกตุรัตน์ ลูกค้า ธ.ก.ส. สาขาเฉลิมพระเกียรติ (หัวหิน) ประธานธนาคารต้นไม้ (บ้านคลองน้อย) บ้านห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าละอู จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ “ผม​อยาก​เชิญ​ชวน​ขอ​ให้​พวก​เรา​ช่วย​กัน​ปลูก​ต้นไม้​เพื่อ​เป็นการ​อนุรักษ์​ ป่า​ไม้​และ​เป็น​บำนาญ​ให้​กับ​ชีวิต​ของ​เรา​เอง​ด้วย”

84

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


เมื่อ​เกิด​วิกฤตการณ์​ใน​ชีวิต​ครั้ง​ใหญ่​ใน​ปี ๒๕๓๙ พื้นที่​ของ​ผม​ได้​รับ​ความ​เสีย​หายจากพายุลินดา​เสีย​หาย​นับ ๑๐ ไร่ จาก​นั้น​ได้​ไป​ดู​งาน​ที่​บุรีรัมย์​ของ​พ่อ​คำ​เดื่อ ก็ได้​แนวคิด​กลับ​มา​ว่า ให้​ปลูก​ต้นไม้​เป็น​บำนาญ เพราะ​อาชีพ​เกษตรกรไม่มี​ บำนาญ​เหมือน​ข้าราชการ ผม​ก็​เริ่ม​คล้อย​ตาม​เห็น​ตาม​นั้น กลับ​มา​บ้าน​ก็​ลงมือ​ปลูก​ต้นไม้​เลย โดย​ปลูก​ต้นไม้​แบบ​ผสม​ ผสาน​ตาม​แนว​พระ​ราชดำริ ปลูก​ป่า ๓ อย่าง ได้​ประโยชน์ ๔ อย่าง เพราะ​ถ้า​เรา​ปลูก​พืช​เชิงเดี่ยว​เพื่อ​ธุรกิจ​แล้ว จะ​มี​ ปัจจัย ๔ อย่าง​ที่​เรา​ควบคุม​และ​บังคับ​ไม่​ได้​เลย คือ ๑. คน​งาน ๒. ต้นทุนการ​ผลิต​พวก​ปุ๋ย ยาต่างๆ ๓. น้ำมัน และ ๔. ราคา แต่​ถ้า​เรา​ปลูก​ต้นไม้​ให้​หลาก​หลาย เราลงทุน​ไป​ซื้อ​ต้นไม้​มา​ต้น​ละ​ไม่​เกิน ๕ บาท ปลูก​ทิ้ง​ไว้​ไม่​กี่​ปี ต้นไม้​มัน​โต​ขึ้น​ ก็​มี​มูลค่าเ​ป็น​พันบาท​แล้ว และ​ไม่​ต้อง​ดูแล​มาก เพราะ​ต้นไม้แ​ ต่ละ​อย่าง​มัน​ก็​เกื้อกูลก​ ันเอง ทำ​แบบ​นี้​ไม่​ต้อง​อิงกับ​ระบบไม่​ต้อง​เอา​ เงิน​ไป​สู้​กับ​เขา ผม​จึง​คิดว​ ่า​ถ้าเ​รา​คิด​ใน​ระยะ​ยาว​ทำ​อะไร​กส็​ ู้​การ​ปลูก​ต้นไม้ไ​ม่ไ​ด้ อีกอ​ ย่าง​ความ​สุข​ใน​ใจ​เรา​ มัน​ไม่​เหมือน​กับ​ไป​ทำ​ อย่าง​อื่น ปลูก​ต้นไม้​มัน​ไม่​ได้​ไปเอา​เปรียบ​ใคร ถ้า​ต้นไม้​โต​ขึ้น​มา​ธรรมชาติ​ระบบ​นิเวศ​ต่างๆ ก็​จะ​กลับ​คืนให้​ประเทศ​ชาติ​ของ​เรา​ สังคม​ของ​เรา ตอน​มา​ซื้อ​ที่ดิน​ที่​นี่​เป็น​ป่า​ฝ้าย​เก่า​โล่งๆ ได้​ปลูก​บ้าน​หลัง​เล็กๆ อาศัย​อยู่ อยู่​ไปๆ รู้สึก​ว่าร้อน​มาก​จึง​ลอง​ปลูก​ต้นไม้​ดู เมื่อ​ต้นไม้​โต​ขึ้น​ก็​เป็น​สวน​ป่า​ธรรมชาติ อากาศ​ก็​เย็น​สบาย​ขึ้น ระบบนิเวศ​ต่างๆ ก็​กลับ​คืน​มา เป็น​ประสบการณ์​จริง​ที่​ผม​ ได้รับ​จาก​การ​ปลูก​ต้นไม้ รวม​กับ​มี​ไม้​ป่า​ขึ้น​เอง​ตาม​ธรรมชาติ ผม​ปลูก​ต้นไม้​ปี​แรก ๒๐,๐๐๐ กว่า​ต้น ขุด​เอง​ปลูก​เอง​จน​มือ​ ไม้​แตก พอ​ปี​ที่ ๒ ปลูก​อีก ๕,๐๐๐ ต้น วิธี​การ​ปลูก​ต้นไม้​ของ​ผม​ก็​ไม่​ได้​มี​เทคนิค​อะไร​มากมาย ปลูก​แบบไม้​โต​เร็ว​แถว​หนึ่ง ไม้​โต​ปาน​กลาง​แถว​หนึ่ง ไม้​โต​ช้า​แถว​หนึ่ง ไม้​มี​ราคา​แถว​หนึ่ง ปลูก​สลับ​กัน​ไป เช่น ไม้​สัก ไม้​มะค่า สุดท้าย​ต้นไม้​ก็​แข่ง​กัน​ โต​เอง และ​ที่​สำคัญ​ควร​จะ​ปลูก​พืช​ตระกูล​ถั่ว​แซม​ด้วย เช่น กระถิน​ณรงค์ กระถิน​เทพา เพราะ​ใบ​ของ​พืช​ตระกูล​ถั่ว​จะ​กลาย​ เป็น​ปุ๋ย ส่วน​ราก​ก็​จะ​มี​ปม​ช่วย​ดึง​ก๊าซ​ไนโตรเจน​ลง​มา​ใน​ดิน​จะ​เหมือน​เรา​มี​โรงงาน​ปุ๋ย​อยู่​ใน​พื้นที่​ของ​เรา​เลย อีก​อย่าง​คือ​ต้องปลูก​ หญ้า​แฝก​ไว้​คลุม​ดิน​เพื่อ​ปรับปรุง​ดิน​ให้​ดี​ขึ้น ปลูก​ต้น​พริก​ขี้นก​ไว้​ตาม​โคน​ต้นไม้ ผม​ก็​ปลูก​ไป​เรื่อยๆไม่​ได้​คิด​เรื่อง​ธนาคาร​ต้นไม้​ อะไร​เลย ผม​ปลูก​ต้นไม้​มา​ก่อน​ที่​จะ​เกิด​ธนาคาร​ต้นไม้ เพราะ​เดินตาม​แนว​พระ​ราชดำริ​ของพระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว จน​กระทั่ง​เขา​มี​โครงการ​ธนาคาร​ต้นไม้​ขึ้น​มา ผมก็ได้​รับ​ตำแหน่ง​เป็น​ประธาน​ธนาคาร​ต้นไม้​ของ​จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ช่วย​ดูแล​อยู่​ประมาณ ๑๐ สาขา จน​เกิดเ​ป็นก​ลุ่ม​ก้อน​ธนาคาร​ต้นไม้ข​ ึ้นม​ า ผม​ได้​บอก​กับ​ผู้​จัดการ ธ.ก.ส. สาขา​หัวหิน​ว่า ธ.ก.ส. น่า​จะ​จูงใจ​สมาชิก​เกษตรกร​ลูกค้า​ให้​ช่วยกัน​มา​ปลูก​ต้นไม้​โดย​ สร้าง​เงื่อนไข​ขึ้น​มา​แบบ​แกม​บังคับ​หน่อย เช่น กู้​เงิน​ไป​แล้ว​ต้อง​ช่วย​กัน​ปลูก​ต้นไม้​ด้วย​และควร​จะ​พาส​มา​ชิ​กลูก​ค้า ธ.ก.ส. ไป​ดู​ งานการ​ปลูกต​ ้นไม้เ​พื่อใ​ห้เ​ห็นต​ ัวอย่าง​ทเี่​ป็นร​ ูปธ​ รรม​จริง จะได้เห็นประโยชน์ข​ อง​การ​ปลูกต​ ้นไม้ เพราะ​ลูกค้าเ​กษตรกร​ของ ธ.ก.ส. มี​หลาย​ล้าน​คน ถ้าช​ ่วย​กันลง​มือ​ปลูกต้นไม้ก​ ็สามารถ​เปลี่ยนแปลง​ประเทศไทย​ของ​เรา​ให้​มปี​ ่า​ไม้ต​ ้นไม้เ​พิ่ม​ขึ้น ทำให้​สภาพ​อากาศ​ ก็​ไม่​แปรปรวน​เกิดน้ำ​ท่วม​ฝน​แล้ง​มาก​ไป​กว่าน​ ี้ ผม​คิดว​ ่า ถ้า​คน​ที่​อยู่​ต้นน้ำไ​ม่​ปลูก​ต้นไม้ป​ ลูก​ป่า คน​ที่​อยูป่​ ลาย​น้ำ​จะ​แย่ ถึง​แม้ว่า​พวก​เราจะ​เป็น​เพียง​กลุ่ม​คน​เล็กๆ ใน​ แนวป่า​ละ​อู​ก็ตาม เพราะ​ตอน​นี้​ใน​จังหวัด​ประจวบคีรีขันธ์​มี​ปัญหาเรื่อง​น้ำประปา​กัน​แล้ว ต้อง​ใช้​แบบ​ประหยัด​วัน​เว้น​วัน เพราะ​ ประสบ​ภยั แ​ ล้ง ถ้าไ​ม่ร​ บี ช​ ว่ ย​กนั ป​ ลูกต​ น้ ไม้ตอน​นี้ อาจ​จะไม่ทนั ก​ าร​กไ็ ด้ คน​มกั จ​ ะ​คดิ ก​ นั ว​ า่ ปลูกต​ น้ ไม้เ​มือ่ ไร​จะ​ได้ก​ นิ เขา​ไม่ไ​ด้ค​ ดิ ระยะ​ ยาว​วา่ การ​ปลูกต​ น้ ไม้เป็นค​ วาม​ยงั่ ยืนท​ สี่ ดุ ข​ อง​มนุษย์แ​ ล้ว เพราะ​มลู ค่าข​ อง​ตน้ ไม้ย​ งิ่ โ​ตยิง่ ม​ ม​ี ลู ค่าเ​พิม่ ม​ หาศาล อย่าเ​พิง่ เ​ชือ่ ผม​กไ็ ด้แต่​ อยาก​ให้​คน​ที่​สนใจ​แนวทาง​นี้​ลอง​เข้า​มา​ดู​งาน​ก่อน​แล้วก​ลับ​ไป​ลงมือ​ปลูก​ต้นไม้ แล้ว​รอ​ดู​ผล​กัน​ใน​ระยะ​ยาวดี​กว่า สำหรับ​ผม​การ​ ใช้​ชีวิต​ตามแนว​พระ​ราชดำริป​ ลูก​ป่า ๓ อย่าง ได้​ประโยชน์ ๔ อย่าง สร้าง​ความสุข​ให้​ผม​และ​ครอบครัว​ได้​อย่าง​ยั่งยืนแท้จริงและ ​ยัง​เป็น​ประโยชน์​ต่อร​ ะบบ​นิเวศ​ส่วน​รวม​อีก​ด้วย

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

85


ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท... บนเส้นทางแห่งความพอเพียง


ก่อเกิด…. ศูนย์เรียนรู้เพื่อการพัฒ นา เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ธ.ก.ส.


ธนาคาร​เพือ่ ก​ ารเกษตร​และ​สหกรณ์ก​ ารเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้น​ อ้ มนำ​หลักป​ รัชญาเศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​ มา​ใช้เ​ป็น​แนวทาง​ใน​การ​พัฒนา​เกษตรกร​ลูกค้า ธ.ก.ส. ด้วย​การ​ส่งเ​สริม​ให้เ​กษตรกร​มีคุณภาพ​ชีวิต​ที่​ดี​ขึ้น รู้จัก​การ​พึ่งพา​ตนเอง ลด​ค่า​ใช้​จ่าย เพิ่ม​ราย​ได้​และ​มี​เงิน​ออม พร้อม​ทั้ง​สนับสนุนให้ม​ ีการ​พึ่งพา​ซึ่ง​กันแ​ ละ​ กัน รวม​กลุ่ม​กิจกรรม​ทำ​แผน​ชุมชน สร้าง​เครือ​ข่าย​ชุมชน ธุรกิจช​ ุมชน ตลอด​จนวิสาหกิจช​ ุมชน​และ​ระบบ​ สหกรณ์ โดย​ได้จ​ ดั ท​ ำ​โครงการ​ศนู ย์เ​รียน​รเ​ู้ พือ่ ก​ าร​พฒ ั นา​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​ตน้ แบบ ธ.ก.ส. เพือ่ ใ​ห้เ​กษตรกร​ เข้าม​ า​เรียน​รแู้​ ละ​เพิ่มท​ ักษะ​อาชีพก​ ารเกษตร​ร่วม​กันใ​น​ลักษณะ​นำ​ทำ นำพา(Learning by doing) ภาย​ใต้​ หลักป​ รัชญา​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​และ​เกษตร​ทฤษฎีใ​หม่ข​ องพระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอยูห่ วั มีก​ าร​กำหนด​กรอบ​ การ​พัฒนา ๓ ขั้น​ตอน ประกอบ​ด้วย ขั้น​ที่ ๑ ก่อ​เกิด​จิตสำนึก​ใน​การ​พึ่งพา​ตนเอง​ของ​สมาชิก​ชุมชน ขั้น​ที่ ๒ ขับ​เคลื่อน​สู่​การ​รวม​กลุ่ม​พึ่งพา​ซึ่ง​กัน​และ​กัน​ใน​ชุมชน​และ​ระหว่าง​ชุมชน ขั้นท​ ่ี ๓ พัฒนา​เป็น​วสิ าหกิจ​ชมุ ชน​และ​เชือ่ ม​โยง​เครือ​ขา่ ย​เศรษฐกิจ​ชมุ ชน

88

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


เน้น​การ​ใช้​กิจกรรม​เวที​การ​แลก​เปลี่ยน​เรียน​รู้​เป็น​เครื่อง​มือ​หลัก​ใน​การ​พัฒนา ซึ่ง ธ.ก.ส. ได้​ ดำเนิน​การ​มา​ตั้งแต่​ปี ๒๕๕๒ จนถึง​ปัจจุบัน โดย​การ​สนับสนุน​ให้​ปราชญ์ชาว​บ้าน​ได้​ทำ​หน้าที่​เป็น​ ผู้​ถ่ายทอด​องค์​ความ​รู้ วิธี​คิด วิธ​ีปฏิบัติ ประสบการณ์ ตลอด​จน​กระบวนการ​พัฒนาการ​เกษตร​ตาม​ แนว​ทฤษฎี​ใหม่​และ​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง เพื่อ​ให้​เกษตรกร​ได้​นำ​ความ​รู้​และ​แนวคิด​ที่​ได้​รับ​ จาก​ศูนย์​เรียน​รู้​เพื่อ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงชุมชน​ต้นแบบ ธ.ก.ส. ไป​ประยุกต์​ใช้​กับ​ทักษะ​อาชีพ​ ทางการ​เกษตร​ให้​มี​ความ​เหมาะ​สม​กับสภาพ​ภูมิ​นิเวศ​และ​ภูมิ​สังคม​ของ​เกษตรกร​เอง ถือ​ได้​ว่า​เป็นการ​ พัฒนา​ทรัพยากร​มนุษย์ทางการ​เกษตร​ที่​สำคัญ​อย่าง​ยิ่ง และ​ยัง​เป็น​ศูนย์​รวบรวม​องค์​ความ​รู้​ต่างๆ ทาง​ด้าน​การเกษตร​ที่​สามารถเชื่อม​โยง​และ​บูรณาการ เพื่อ​ขับ​เคลื่อน​ร่วม​กัน​ระหว่าง​ศูนย์​เรียน​รู้​เพื่อ​การ​ พัฒนา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​แต่ละ​ศูนย์

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

89


โดย ธ.ก.ส. ได้ม​ ี​การเต​รยี​ ม​ความ​พร้อม​ของ​ชุมชน​ต้นแบบ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​และทฤษฎี​ใหม่​ที่​ได้​ ดำเนิน​การ​พัฒนา​มา​ตั้งแต่ป​ ี พ.ศ. ๒๕๔๙ จนถึง​ปัจจุบัน เพื่อค​ ัด​เลือก​จาก​ชุมชนต้น​แบบฯ​เป็น​ศูนย์เ​รียน​รู้​ เพื่อ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ต้นแบบ ธ.ก.ส. มี​แนวทาง​ดำเนิน​การ​ดังนี้ ๑. การ​คัด​เลือก​ชุมชน​เพื่อ​เป็น​ศูนย์​เรียน​รู้​เพื่อ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ต้นแบบ ธ.ก.ส. จังหวัด ๑.๑ เป็นช​ มุ ชน​ตน้ แบบ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​ทไ​ี่ ด้ม​ ก​ี าร​พฒ ั นา ขัน้ ท​ ี่ ๑ ใน​การ​พงึ่ พา​ตนเอง​มา​ แล้วต​ ั้งแต่ป​ ี พ.ศ. ๒๕๔๙ และ​มี​ความ​พร้อม​ที่​จะ​พัฒนา​ขึ้น​ไป​ขั้นท​ ี่ ๒ ใน​การ​รวมกลุ่ม​พึ่งพา​ซึ่ง​กันแ​ ละกัน​ ใน​ชุมชน​และ​ระหว่าง​ชุมชน และ​ขั้น​ที่ ๓ พัฒนา​เป็นว​ ิสาหกิจ​ชุมชน​และเชื่อม​โยง​เป็น​เครือ​ข่าย​เศรษฐกิจ​ ชุมชน ตลอด​จน​ชุมชน​ยินดี​และ​สมัคร​ใจ​ที่​จะ​เข้า​ร่วม​โครงการ​กับ ธ.ก.ส. ๑.๒ เป็นช​ ุมชน​ที่​มี​ความ​พร้อม มี​การ​จัด​เวที​แลก​เปลี่ยน​เรียน​รู้​กันต​ ลอด​เวลา ผู้นำ​ชุมชน และ​สมาชิก​ชุมชน ให้​ความ​ร่วม​มือ​เป็น​อย่าง​ดี​ใน​การ​พัฒนา​ร่วม​กับ ธ.ก.ส. มี​การ​จัด​เก็บ​ข้อมูล​ใน​ชุมชน ได้แก่ ราย​ได้ - ราย​จ่าย ของ​สมาชิก​ใน​ชุมชน ทรัพยากร​ต่างๆ ที่​อยู่​ใน​ชุมชน วัฒนธรรม​ประเพณี​อันด​ ี​งาม และ​ภูมิปัญญา​ท้อง​ถิ่น และ​ได้​มี​การ​วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูล​ดัง​กล่าว โดย​การ​จัด​เวที​แลก​เปลี่ยน​ เรียน​รเ​ู้ กิดเ​ป็นแ​ ผน​ชมุ ชน ซึง่ ใ​ช้เ​ป็นท​ ศิ ทาง​ใน​การ​พฒ ั นา​ชมุ ชน​ของ​ตนเอง​ใน​อนาคต นอกจาก​นี้ เป็นช​ มุ ชน​ ที่​มี​ความ​สามัคคีแ​ ละ​ร่วม​มือ​กัน​ใน​การ​พัฒนา​ทั้ง​สถาบันค​ รอบครัว สถาบันศ​ าสนา และ​สถาบันก​ าร​ศึกษา (บวร.) รวม​ทั้ง​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล (อบต.) ให้การ​สนับสนุน ๑.๓ เป็น​ชุมชน​ที่​ประกอบ​อาชีพ​การเกษตร​ที่​เป็น​พืช​หลัก​ของ​จัง​หวัด​นั้นๆ ซึ่ง​เป็นไ​ป​ตาม ภูมสิ​ ังคม สามารถ​ที่​จะ​พัฒนา​เป็นศ​ ูนย์​เรียน​รเู้​พื่อ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงต้นแบบ ธ.ก.ส. ที่​จะ​ใช้​ใน​ การ​ปฏิบัตจิ​ ริง และ​ศึกษา​ดู​งาน​ได้​ใน​อนาคต​แบบ​ยั่งยืน​ใน​ด้าน​การ​ลงทุน การ​ผลิต และ​การ​ตลาด อย่าง​มี​ ปริมาณ​และ​คุณภาพ ๑.๔ เป็นช​ มุ ชน​ทม​ี่ ก​ี าร​รวม​ตวั เ​กิดว​ สิ าหกิจช​ มุ ชน และ​ได้ม​ ก​ี าร​เชือ่ ม​โยง​การ​ลงทุน การ​ผลิต และ​การ​ตลาด กับธ​ นาคาร สกต. และส่วน​งาน​ภายนอก​บ้าง​แล้ว

90

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ใน​ช่วง​แรก ธ.ก.ส. ได้​จัด​ตั้ง​ศูนย์​เรียน​รู้​เพื่อ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ต้นแบบ ธ.ก.ส. จำนวน ๙ ชุมชน โดย​ร่วม​มือ​กับ​มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร์ และ​ใช้​กระบวนการ​มี​ส่วน​ร่วมของชุมชน ​ใน​การ​พัฒนา​พื้นที่​ต้นแบบ​ใน​แต่ละ​ภูมิภาค จน​กระทั่ง​ใน​ปี ๒๕๕๔ สามารถ​ขยาย​ผลการพัฒนา​ ไป​ยัง​ชุม​ชน​อื่นๆ อีก​รวม​จำนวน ๘๔ ศูนย์​ทั่ว​ประเทศ เป็นการ​สร้าง​กระบวนการ​เรียน​รู้​ร่วม​กัน​ และ​สร้าง​ความ​เข้ม​แข็ง​ของ​ชุมชน ให้​มกี​ าร​จัดการ​ดิน​และ​น้ำ​อย่าง​ถูก​ต้อง เพื่อ​ลดค่า​ใช้​จ่าย​ใน​ภาค​ การ​ผลิต​และ​ครัว​เรือน ภาย​ใต้​พื้น​ฐาน​ของ​วัฒนธรรม​และ​ภูมิปัญญา​ท้อง​ถิ่น อีก​ทั้ง​เพื่อ​เป็นการ​เฉลิม พระเกียรติ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว เนื่อง​ใน​โอกาส​เจริญ​พระ​ชนมพรรษา​ครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

91


หลัก​เกณฑ์​การ​พิจารณา​คัด​เลือก​ชุมชน เพื่อ​เป็น​ศูนย์​เรียน​รู้​เพื่อ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ พอ​เพียง​ตน้ แบบ ธ.ก.ส. ๑. อาชีพ​การเกษตร​หลัก​ของ​ชุมชน​ต้อง​สอดคล้อง​กับ​สภาพ​ภูมิ​สังคม​และการ​ให้​สิน​เชื่อ​หลัก​ ของ ธ.ก.ส. ๒. ผูน้ ำ​ชมุ ชน​ม​คี วาม​เข้มแ​ ข็ง มี​คณ ุ ธรรม ซือ่ สัตย์ส​ จุ ริต เห็น​แก่ป​ ระโยชน์สว่ น​รวม ๓. คั ด ​เ ลื อ ก​จ าก​ชุ ม ชน​ต้ น แบบ​เ ศรษฐกิ จ ​พ อ​เ พี ย ง​ท่ี ​ผ่ า น​ก าร​พั ฒ นา​จ าก​ข้ั น ​ท่ี ๑ ขัน้ ​ท่ี ๒ และ​พฒ ั นา​ใน​ขน้ั ​ท่ี ๓ ๔. สมาชิก​ใน​ชมุ ชน​ม​สี ว่ น​รว่ ม​ใน​การ​พฒ ั นา ๕. ชุมชน​ตอ้ ง​เข้า​รว่ ม​โค​รง​การฯ​ดว้ ย​ความ​สมัคร​ใจ​และ​เต็มใจ​ทจ​่ี ะ​รว่ มพัฒนา ๖. มี​แผน​ชมุ ชน​ทเ​่ี กิด​จาก​การ​เก็บ​ขอ้ มูล และ​ม​กี าร​วเิ คราะห์ สังเคราะห์ข​ อ้ มูลโดย​ชมุ ชน ๗. องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล สถาบัน​การ​ศึกษา สถาบัน​ศาสนา และ​ส่วน​ราชการ มี​สว่ น​รว่ ม​ใน​การ​พฒ ั นา ๘. มี​การ​รวม​ตัว​เพื่อ​จัด​ซ้ือ​ปัจจัย​การ​ผลิต บริหาร​จัดการ​ผลผลิต และ​รวบรวมผลผลิต ​เพือ่ ​จำหน่าย

92

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


๙. มี​การ​จดั ​เวที​การ​แลก​เปลีย่ น​เรียน​ร​อู้ ย่าง​ตอ่ ​เนือ่ ง ๑๐. เกิด​กลุม่ ​อาชีพ กลุม่ ​ออม​ทรัพย์ วิสาหกิจ​ชมุ ชน สวัสดิการ​ชมุ ชน สิง่ ​แวดล้อม และ​อน่ื ๆ ๑๑. ฝ่าย​กิจการ​สาขา​ภาค สำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัด สาขา และ สกต. จะ​ต้องมี​ส่วน​ร่วม​ใน​ การ​คดั ​เลือก​ชมุ ชน ๑๒. ระยะ​ทาง​และ​การ​คมนาคม​สะดวก​เหมาะ​สม​แก่ก​ าร​ศกึ ษา​ด​งู าน สำหรับ​การ​พัฒนา​ชุมชน​ต้นแบบ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ของ ธ.ก.ส. มี​ผล​การ​ดำเนิน​งานเมื่อ​วัน​ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ มี​ชุมชน​สมัคร​ใจ​เข้า​ร่วม​เป็น​ชุมชน​ต้นแบบ เศรษฐกิจ​พอ​เพียง จำนวน ๓,๕๕๖ ชุมชน ผล​จาก​การ​พัฒนา​ต่อ​เนื่อง​เมื่อ​ประเมินร​ ะดับ​ขั้นช​ ุมชน พบ​ว่า​เป็นช​ ุมชน​ขั้น​ที่ ๑ จำนวน ๓,๐๕๗ ชุมชน ชุมชน​ขั้น​ที่ ๒ จำนวน ๓๔๘ ชุมชน และ​มี​การ​เชื่อม​โยง​เครือ​ข่ายเศรษฐกิจ​ชุมชน เป็น ​ขั้น​ที่ ๓ จำนวน ๑๕๑ ชุมชน ส่วน​ผล​การ​ดำเนิน​งาน​ใน​ปี ๒๕๕๔ มีจ​ ำนวน​ชุมชน ๔,๙๘๑ ชุมชน จาก​การ​ตดิ ตาม​ประเมินผ​ ล​โค​รง​การฯ​พบ​วา่ ส​ มาชิกช​ มุ ชน (ลูกค้าแ​ ละ​เกษตรกร​อนื่ ) มีค​ วาม​พงึ พ​ อใจ​ การ​ดำเนิน​งาน​ของ ธ.ก.ส. ใน​ระดับ​มาก​ที่สุด เนื่องจาก​ความ​รทู้​ ี่​ได้​รับ​นำ​ไป​ใช้ในชีวิต​ประจำ​วันไ​ด้ และ​ ช่วย​ให้เ​กษตรกร​รจู้ กั ก​ าร​ลด​คา่ ใ​ช้จ​ า่ ย​ตน้ ทุนก​ าร​ผลิต มีก​ าร​พฒ ั นา​กลุม่ ใ​ห้เข้มแ​ ข็ง มีก​ าร​พฒ ั นา​ผนู้ ำ​กลุม่ ใ​ห้​ มีค​ วาม​รค​ู้ วาม​สามารถ​ใน​การ​ขบั เ​คลือ่ น​กจิ กรรม​กลุม่ มีก​ าร​ขยายผล​การ​จดั เ​วทีเ​รียน​รเ​ู้ พือ่ จ​ ดั ท​ ำ​แผน​ชมุ ชน​ จาก​ข้อมูล​การ​ทำ​บัญชี​ครัว​เรือน มี​การ​พัฒนาการ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​การ​ผลิต มี​การ​เชื่อม​โยง​เครือ​ข่าย​ เศรษฐกิจ​ชุมชน และ​มี​ความ​ประสงค์​จะ​ให้ ธ.ก.ส. สนับสนุนการ​จัด​กิจกรรม​เวที​การ​แลก​เปลี่ยน​เรียน​รู้​ ต่อ​เนื่อง​สม่ำเสมอ โดย​เพิ่ม​เติม​เนื้อหา​ให้​เข้ม​ข้นข​ ึ้น นอกจาก​นี้ เกษตรกร​ยัง​มี​การ​ปรับเ​ปลี่ยน​พฤติกรรม​ เชิงบ​ วก​ด้าน​การ​ลด​ค่าใ​ช้​จ่าย​ใน​ครัว​เรือน การ​จด​บัญชี​ครัวเ​รือน การ​ออม​เงิน การ​ปลูก​ต้นไม้ การ​ทำ​ดี​ต่อ​ สาธารณประโยชน์ การ​พูด​ให้สมาชิกใ​น​ครัว​เรือน​นำ​แนวทาง​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​ใช้​ใน​การ​ดำรง​ ชีวิต มี​การนำ​แผน​ชุมชน​ไป​ปฏิบัตจิ​ ริง​และ​นำ​แผน​ธุรกิจช​ ุมชน​ไป​เชื่อม​โยง​เครือ​ข่าย​ประสาน​ประโยชน์ไ​ด้​ มาก​ที่สุด

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

93


94

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง บ้านป่ายาง หมู่ที่ ๒ ตำบลศรีค้ำ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ...เริม่ ต​ น้ ​จาก​พน้ื ฐ​ าน​การ​พฒ ั นา​จติ ใจ​ของ​สมาชิก​กอ่ น... “ความ​สำเร็จ​ของ​ชุมชน​ท่​ีสามารถ​พ่งึ ​ตนเอง​ได้ คือ​การ​เอื้อเฟื้อ​เผื่อ​แผ่​ซ่งึ ​กันและ​กัน พร้อม​พฒ ั นา​ขยาย​เครือข​ า่ ย​การ​ประกอบ​อาชีพเ​ป็นว​ สิ าหกิจช​ มุ ชน​เกษตรออม​ทรัพย์เ​พือ่ ก​ าร​ผลิต​ บ้าน​ปา่ ย​ าง จน​สามารถ​เสริมส​ ร้าง​ราย​ได้ใ​ห้แ​ ก่ส​ มาชิก ทำให้ช​ มุ ชน​มคี วาม​พร้อม​ใน​การ​ดำรง​ชวี ติ ​บน​พ้นื ​ฐาน​ของ​หลัก​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​อย่าง​ย่งั ยืน โดย​เริ่ม​ต้น​จาก​พ้นื ​ฐาน​การ​พัฒนา​จิตใจ​ ของ​สมาชิก​กอ่ น ให้ว​ ดั ​เป็น​ศนู ย์​รวม​จติ ใจ เพือ่ ​ขดั เกลา​และ​ปลูก​ฝงั ​ให้​ม​จี ติ ​สาธารณะ จิตอ​ าสา ร่วม​แรง​รว่ มใจ พร้อม​ท​จ่ี ะ​พฒ ั นา​ตนเอง​และ​ชมุ ชน​ตอ่ ​ไป​ไม่มท​ี ส​่ี น้ิ ส​ ดุ ” นาย​เกษม วงศ์​สภุ า ประธาน​ศนู ย์​เรียน​รฯู้

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

95


ชุมชน​บ้าน​ป่า​ยาง อำเภอ​แม่จัน จังหวัด​เชียงราย เป็น​หนึ่ง​ใน​ศูนย์​การ​เรียน​รู้​เพื่อ​การ​พัฒนา​ เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ต้นแบบ ธ.ก.ส. ซึ่ง​สมาชิก​ใน​ชุมชน​ได้​น้อมนำ​หลัก​ของ​ปรัชญาเศรษฐกิจ​พอ​เพียง​มา​ใช้​ ใน​การ​พึ่งพา​ตนเอง พึ่งพา​กัน​และ​กัน และ​สร้าง​เครือ​ข่าย​ใน​ชุมชน รวม​กลุ่ม​สร้างอาชีพ สร้าง​ราย​ได้ ใน​ วิถแี​ ห่ง​ความ​พอ​เพียง ด้วย​ความ​สามัคคี เอื้อเฟื้อ​เผื่อ​แผ่ เต็ม​ไป​ด้วย​น้ำใจ​ไมตรี ทำให้สมาชิก​ใน​ชุมชน​บ้าน​ ป่าย​ าง​มคี​ ุณภาพ​ชีวิตท​ ี่​ดี​ขึ้น

96

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


นาย​เกษม วงศ์​สุภา ผู้ใหญ่​บ้าน บ้าน​ป่า​ยาง ประธาน​ศูนย์​เรียน​รู้ฯ เล่า​ว่า ชุมชน​บ้าน​ป่า​ยาง​ มีแผน​พัฒนา​ชุมชน​ทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้าน​เศรษฐกิจ ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม ด้าน​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน และ​ด้าน​ สังคมและ​วัฒนธรรม ด้าน​เศรษฐกิจ ชุมชน​ป่า​ยาง​มี​กลุ่ม​วิสาหกิจ​ชุมชน​เกษตร​ออม​ทรัพย์​เพื่อ​การ​ผลิต​ป่า​ยาง ซึ่ง​ เริ่ม​ก่อ​ตั้ง​เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๔ โดย​มี​วัตถุประสงค์​ใน​การ​จัด​ตั้ง​กลุ่ม​เพื่อ​ต่อสู้​การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​ยุค​ทุนนิยม ปัจจุบัน​มี​สมาชิก​จำนวน ๖๒ คน​ มี​คณะ​กรรมการ​ดำเนิน​งาน​จำนวน ๗ คน การ​ดำเนิน​การ​ของ​กลุ่ม​ มีค​ วาม​เข้มแ​ ข็งม​ าก มีเ​งินอ​ อมจำนวน ๔๗๐,๐๐๐ บาท เงินห​ นุ้ จ​ ำนวน ๑,๔๐๐,๐๐๐ บาท โดย ธ.ก.ส. สาขา​ แม่จนั ได้อ​ นุมตั สิ นิ เ​ชือ่ ใ​ห้ซ​ อื้ ร​ ถ​เกีย่ ว​ขา้ ว​ของ​กลุม่ เพือ่ นำ​มา​ใช้ใ​น​การ​เกีย่ ว​ขา้ ว​ให้ก​ บั ส​ มาชิกแ​ ละ​กลุม่ เ​กษตร​ ทัว่ ไป โดย​เมือ่ ถ​ งึ ฤ​ ดูการ​เก็บเ​กีย่ วข้าว​ชาวชุมชน​บา้ น​ปา่ ย​ าง​จะ​สามารถ​ใช้บ​ ริการ​รถ​เกีย่ ว​ขา้ ว​ใน​ราคา​ทย​ี่ อ่ ม​เยา ทำให้​ประหยัด​ทั้ง​เวลา​และ​ค่า​ใช้​จ่าย อีก​ทั้ง​ราย​ได้ที่​เกิด​จาก​รถ​เกี่ยว​ข้าว​ก็​จะ​นำ​ผล​ตอบแทน​คืน​สู่​ท้อง​ถิ่น และหมู่บ้าน เกิด​เป็น​เงินปันผล​ให้​กับ​สมาชิก​ใน​ชุมชน​นั่นเอง ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม มี​การ​จัด​ตั้ง​กองทุน​ธนาคาร​ต้นไม้ โดย​ครั้ง​แรก ธ.ก.ส. ได้​นำ​กล้ายาง​นา ​มา​ให้​ชาว​บ้าน​ใน​ชุมชน​ปลูก​จำนวน ๒,๒๐๐ ต้น เพื่อ​ให้​เข้า​กับ​ชื่อ​ของ​หมู่บ้าน​ที่​มีชื่อ​ว่า “บ้าน​ป่า​ยาง” กว่า ๕-๖ ปี​ที่​ผ่าน​มา ต้น​ยาง​นา​ได้​เติบโต​เป็น​ป่า​ชุมชน ให้​ร่ม​เงา สร้าง​ความ​ร่มรื่น​ให้​กับชาว​ชุมชน​บ้าน​ ป่า​ยาง ซึ่ง ธ.ก.ส. ได้​ต่อย​อด​กิจกรรม “ธนาคาร​ต้นไม้” โดย​ได้​ให้ชาว​บ้าน​ที่​เป็น​ลูกค้า​สิน​เชื่อ​ใน​ชุมชน​ ที่​ไม่ส​ ามารถ​ใช้ห​ นีไ้​ด้ เข้าร​ ่วม​โครงการ​ปลูกป​ ่าใ​ช้ห​ นี้ โดย​ให้ล​ ูกค้าค​ อย​ดูแล​ต้นไม้ ดูแล​ป่าช​ ุมชนปลูกต​ ้นไม้​ เพิ่ม​เติม​ตาม​ที่ ธ.ก.ส. กำหนด ปัจจุบันบ้าน​ป่า​ยาง​ได้​มี​การ​เพาะ​กล้า​ไม้​ยืนต้น อาทิ กล้าย​ าง​นา กล้าส​ ัก เป็นต้น โดย​สร้าง​เป็น​เรือนเพาะ​ชำ มี​ชาว​บ้าน​และ​เยาวชน​ของ​หมู่บ้าน​คอย​ดูแล​รดน้ำ ใส่​ปุ๋ย ให้​กล้า​ไม้​ แต่ละ​ชนิด​งอกงาม จน​สามารถ​นำ​ไป​จำหน่าย​เกิด​เป็น​ราย​ได้​เข้า​ชุมชน​อีก​ด้วย ยิ่ง​ไป​กว่า​นั้น ชุมชน​บ้าน​ ป่า​ยาง​ยังมี​กลุ่ม​ปลูก​ผัก​ปลอด​สาร​พิษ​ใน​ชุมชน ซึ่ง​จะ​ปลูก​ไว้​กิน​ทุก​ครัว​เรือน หาก​ครอบครัว​ไหน​มี​พื้นที่

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

97


เพาะ​ปลูกผ​ กั ม​ าก​กจ​็ ะ​รวบรวม​สง่ จ​ ำหน่าย​ให้ก​ บั โ​รง​พยาบาล​แม่จนั ซึง่ ผ​ กั ป​ ลอด​สาร​พษิ จ​ าก​บา้ น​ปา่ ย​ าง​เป็น​ ทีร​่ จู้ กั ก​ นั ด​ ใ​ี น​กลุม่ ผ​ ร​ู้ กั ส​ ขุ ภาพ​ใน​จงั หวัดเ​ชียงราย เพราะ​มค​ี ณ ุ ภาพ​สด​ใหม่จ​ าก​แปลง​ผกั และ​ผบ​ู้ ริโภค​ยงั ได้​ ช่วย​เหลือ​ชาว​บ้าน​ที่​ปลูก​ผัก​ให้​มี​คุณภาพ​ชีวิต​ที่​ดี​ขึ้น เพราะ​ไม่​ต้องฉีด​พ่นสาร​เคมี​ที่​ส่ง​ผล​ทำลาย​สุขภาพ​ บั่นทอน​ชีวิต​ให้ย​ ่ำแย่

98

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ด้าน​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน ชุมชน​บ้าน​ป่า​ยาง​มี​การ​ผลิต​น้ำ​ดื่ม​ป่า​ยาง​โอ​เวอร์​ทอป ซึ่ง​เป็น SML ของ​หมู่บ้าน​เพื่อ​จำหน่าย​ให้​กับ​สมาชิก​ใน​ราคา​ย่อม​เยาว์ เพราะ​สมาชิก​ใน​ชุมชนคิด​ปรึกษา​ กัน​ว่า คน​เรา​ต้อง​กิน​น้ำ กิน​ข้าว มันเ​ป็นป​ ัจจัยพ​ ื้น​ฐาน​ของ​ชีวิต ดังน​ ั้น แทนทีจ่​ ะ​ไป​หา​ซื้อ​จาก​ที่​อื่น เรา​มา​ ผลิต​กันเอง​น่า​จะ​ดี​กว่า เพราะ​นอกจาก​จะ​เป็นการ​ช่วย​เหลือ​กัน​ใน​ชุมชน​แล้ว​ยัง​สามารถ​จำหน่าย​ให้​กับ​ ชุมชน​ใกล้​เคียง​เป็นการ​เพิ่ม​ราย​ได้​ให้​หมู่บ้าน​อีก​ทาง​หนึ่ง นอกจาก​นี้ ใน​ด้าน​สังคม​และ​วัฒนธรรม ชุมชน​บ้าน​ป่า​ยาง​มี​โครงการ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย งาน​ศพ โดย​ชุมชน​ได้​ร่วม​สัตยาบัน​กัน​ว่า จะ​ไม่มี​การ​ดื่ม​เครื่อง​ดื่ม​แอลกอฮอล์​และ​ไม่​สูบ​บุหรี่ ใน​งาน​ศพ โดย​ผู้​ที่​เสีย​ชีวิต​ทุก​คนใน​ชุมชน​จะ​นำ​ศพ​มา​ทำ​พิธี​ที่​วัด​ป่า​ยาง เพื่อ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน งาน​ศพ ซึ่ง​กำหนด​ไว้​ไม่​เกิน ๔๐,๐๐๐ บาท ข้อ​ตกลง​ดัง​กล่าว​นี้​เป็น​ที่​พอใจ​ของ​สมาชิก​ใน​ชุมชน​ และ​เป็น​ตัวอย่าง​ให้​กับ​ชุม​ชน​อื่นๆ ที่​สำคัญ​เมื่อ​นำ​ศพ​มา​ประกอบ​พิธี​ที่​วัด ก็​สามารถ​แก้​ปัญหา​ ใน​เรื่อง​ของ​การ​เล่น​การ​พนัน​ใน​งาน​ศพ​ไป​ได้ เพราะ​ไม่มี​ใคร​กล้า​เล่น​ไพ่ ไฮโล หรือ ​การ​พนัน​ ทุก​ชนิดใ​น​วัด ความ​สำเร็จ​ของ​ชุม​ชุน​บ้าน​ป่า​ยาง​ที่​สามารถ​พึ่ง​ตนเอง​ได้ มี​การ​พึ่งพา​กัน​และ​กัน​ของ ชาว​บ้าน​พร้อม​ทั้ง​พัฒนา​ขยาย​เครือ​ข่าย​เป็น​วิสาหกิจ​ชุมชน​สร้าง​ราย​ได้​ให้​กับ​สมาชิก ทำให้ ชุมชน​มี​ความ​พร้อม​และ​มี​ความ​ยั่งยืนบ​ น​พื้นฐ​ าน​ของ​หลัก​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

99


100

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


บ้านถ้ำแห่งนี้...อยู่ดีกินดี ด้วยเกษตรทฤษฎีใหม่และหัวใจที่พอเพียง เกษตร​ทฤษฎีใ​หม่เ​ป็นแ​ นวทาง​การ​พฒ ั นา​ภาค​เกษตร​อย่าง​เป็นข​ นั้ ต​ อน​นนั้ เป็นต​ วั อย่าง​การ​ใช้ห​ ลัก​ เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ใน​ทาง​ปฏิบัตทิ​ ี่​เป็น​รูป​ธรรม​ใน​พื้นที่​ที่​เหมาะ​สม เน้นก​ าร​บริหาร​การ​จัดการ​ที่ดิน​และ​น้ำ​ ให้​เกิด​ประโยชน์​สูงสุด รวม​ถึง​สนับสนุน​ให้​เกษตรกร​รวม​พลัง​ดำเนิน​การ​ใน​รูป​กลุ่ม​สหกรณ์​หรือ​เครือ​ข่าย​ วิสาหกิจ โดย​สร้าง​ความ​ร่วม​มือ​กับ​องค์ก​ ร​อื่นๆ ซึ่งจ​ ะ​เป็น​ประโยชน์​ใน​การ​สืบทอด​ภูมิปัญญา แลก​เปลี่ยน​ ความ​รู้ เทคโนโลยี​และ​บท​เรียน​จาก​การ​พัฒนา นอกจาก​นกี้​ าร​จัดสรร​ทรัพยากร​มา​ใช้​เพื่อ​การ​ผลิต​ที่​คำนึง​ ถึง​คุณค่า มากกว่าม​ ูลค่าจ​ ะ​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​สัมพันธ์ร​ ะหว่าง​บุคคล ชุมชน กับร​ ะบบ​อย่าง​ยั่งยืน ชุมชน​บ้าน​ถ้ำ อำเภอ​ดอกคำใต้ จังหวัด​พะเยา เป็น​อีกห​ นึ่งช​ ุมชน​ที่​นำ​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่​มา​ปรับ​ ประยุกต์​ใช้​ให้​เข้า​กับ​หลัก​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง นำ​พื้นที่​ที่​มี​อยู่​มา​จัดสรร​ให้​เกิด​ประโยชน์ พร้อม​ดำเนิน​ชีวิต​ และ​ดำเนิน​งาน​ตาม​แนว​พระ​ราชดำริ​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ซึ่ง​สร้าง​ความ​เป็น​อยู่​ที่​ดี​ให้​กับ​ สมาชิก​ของ​ชุมชน รวม​ทั้ง​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​เข้มแ​ ข็ง​ภายใน​ชุมชน​มาก​ยิ่ง​ขึ้น ทำให้​ได้​รับ​รางวัล​กลุ่ม​เกษตรกร​ ดีเ​ด่นร​ ะดับ​ประเทศ​ใน​โครงการ​ขับเ​คลื่อน​ปรัชญา​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​จังหวัดพ​ ะเยา ปี ๒๕๕๑ ยิ่งไ​ป​กว่า​นั้น ใน​ปี ๒๕๕๓ กลุ่ม​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่​บ้าน​ถ้ำ ยัง​ได้​รับ​รางวัล​ชนะ​เลิศ​ถ้วยพระราชทาน​พระบาท​สมเด็จ​ พระเจ้าอยู่หัว ใน​การ​ประกวด​ผล​งานการ​ดำเนิน​งาน​ตาม​แนวทาง​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ประเภท​ กลุ่ม​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่​ระดับ​ประเทศ ของ​สำนักงาน​คณะ​กรรมการพิเศษเพื่อ​ประสาน​งาน​โครงการ​อัน​ เนื่อง​มา​จาก​พระ​ราชดำริ (สำนักงาน กปร.) อีกด​ ้วย กลุม่ เ​กษตรกร​ทำ​สวน​บา้ น​ถำ้ จ​ ดั ต​ งั้ เ​มือ่ ว​ นั ท​ ี่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๒ และ​ได้จ​ ด​ทะเบียนเป็นน​ ติ บิ คุ คล เมื่อ​ปี ๒๕๔๗ ปัจจุบัน​มี​สมาชิก ๑๓๙ ราย ทำ​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่ จำนวน ๖๐ รายที่​เหลืออีก ๗๙ ราย ทำการ​เกษตร​แบบ​ผสม​ผสาน และ​ทุก​ครัว​เรือน​ใน​ชุมชน​ได้​นำ​ไป​ประยุกต์​ใช้ และ​ได้​มี​การ​ขยาย​สาขา​ การเกษตร​ให้​ครอบคลุม​ไป​ทุก​หมู่บ้าน​มาก​ขึ้น ผ่าน​การ​จัด​ตั้ง​กลุ่มสมาชิก​ปลูก​ยางพารา กลุ่ม​ทำ​ปุ๋ย​ หมัก - ปุ๋ย​อินทรีย์ กลุ่ม​จำหน่าย​และ​ผลิต​ข้าว​กล้อง ตลอด​จนกลุ่มป​ ลูกพ​ ืช​ผัก​สวน​ครัว​ที่​เน้น​การ​ดำเนิน​ งาน​ตาม​แนว​พระ​ราชดำริ​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว ซึ่ง​สร้าง​ความ​เป็น​อยู่​ที่​ดี​ให้​แก่​เกษตรกร​ รวม​ทงั้ ม​ ค​ี วามเข้มแ​ ข็งใ​น​ชมุ ชน​มาก​ยงิ่ ข​ นึ้ ปล่อย​สนิ เ​ชือ่ ใ​ห้ส​ มาชิกก​ ย​ู้ มื คิดอ​ ตั รา​ดอกเบีย้ ต​ ำ่ เพือ่ ช​ ว่ ย​เหลือ​ สมาชิกให้ม​ ค​ี วาม​เป็นอ​ ยูท​่ ด​ี่ ข​ี นึ้ และ​พงึ่ ต​ นเอง​ได้ สำหรับก​ าร​บริหาร​กลุม่ ค​ รบ​ถว้ น​ทงั้ ๕ ก ได้แก่ กรรมการ​ กิจกรรมกองทุน กติกา การ​จดั การ และ​ได้น​ อ้ มนำ​ปรัชญา​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​มา​ใช้บ​ ริหาร​จดั การ​ได้เ​ป็นอ​ ย่าง​ดี

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

101


นาย​อนิ ท​ วน เครือบ​ ญ ุ ประธาน​กลุม่ เ​กษตร​ทำ​สวน​ ทฤษฎีใ​หม่บ​ า้ น​ถำ้ ทีน​่ บั ว​ า่ เ​ป็นผูบ​้ กุ เบิกแ​ ละ​รเิ ริม่ ท​ ำการ​ เกษตร​ตาม​หลักป​ รัชญาเศรษฐกิจ​พอ​เพียง​และ​หลักเ​กษตร​ ทฤษฎีใ​หม่ใ​น​ชมุ ชน​บา้ น​ถำ้ เล่าว​ า่ ได้พ​ ยายาม​ศกึ ษา​เรียน​ร​ู้ การ​ทำการ​เกษตร​แบบ​พอ​เพียง​ดว้ ย​ตนเอง​และ​ศกึ ษา​เรียน​ รู้ เข้าร​ บั ก​ าร​อบรม​ตาม​เกษตร​ตำบล แล้วน​ ำ​ความ​รน​ู้ นั้ ม​ า​ ดัดแปลง​และ​ปรับใ​ช้ จาก​นนั้ จ​ งึ ไ​ด้ช​ กั ชวน​คน​ใกล้ช​ ดิ ใ​น​ชมุ ชน​ มา​รวม​เป็นก​ลุ่ม​เกษตร​พอ​เพียง จน​กระทั่ง​ใน​ปี ๒๕๔๕ ได้​มี​โอกาส​เดิน​ทาง​ไป​ศึกษา​ดู​งาน​เกี่ยว​กับ​ชุมชน​เกษตร​ ทฤษฎีใ​หม่ใ​น​พนื้ ทีจ​่ งั หวัดส​ กลนคร จึงน​ ำ​ความ​รม​ู้ า​พฒ ั นา​ กลุม่ ใ​น​ชมุ ชน​และ​ชกั ชวน​ให้ส​ มาชิกใ​น​ชมุ ชน​หนั ม​ า​ทำการ​ เกษตร​ทฤษฎีใ​หม่ท​ ส​ี่ ามารถ​ประยุกต์เ​ข้าก​ บั ห​ ลักเ​ศรษฐกิจ​ พอ​เพียง​ตาม​วิถชี​ ีวิต​ของ​ชาว​ชุมชน​บ้าน​ถ้ำ จึง​เริ่มม​ ี​การ​ พัฒนาการ​ทำการ​เกษตร​อย่าง​เป็น​ขั้น​ตอน “สมาชิกใ​น​ชมุ ชน​รว่ ม​แรง​รว่ มใจ​กนั ท​ ำการ​เกษตร​ หลายๆ อย่าง​ผสม​ผสาน​หมุนเวียน​กนั ไ​ป เช่นพืชเ​ศรษฐกิจ​ ที่​สำคัญ​ของ​ชุมชน​บ้าน​ถ้ำ คือ ข้าว ข้าวโพด กระเทียม จะ​ปลูกแ​ บบ​หมุนเวียน​ใน​พนื้ ทีน​่ า ใน​สว่ น​ของ​การ​ปลูกไ​ม้ผ​ ล ชาว​บา้ น​มกั จ​ ะ​ปลูก มะม่วง น้อยหน่า มะขาม ลิน้ จี่ เป็นต้น รวม​ถงึ ปลูกพ​ ชื ส​ มุนไพร​และ​ไม้ด​ อกไม้ป​ ระดับใ​น​แปลง​นา​และ​ระหว่าง​แปลง​ไม้ผ​ ล โดย​ปลูกต​ าม​ฤดูกาล​เพือ่ ​ ลด​ตน้ ทุนก​ าร​ผลิต ส่วน​ดา้ น​การ​ปศุสตั ว์ มีก​ าร​เลีย้ ง​โค กระบือ สุกร ไก่พ​ นื้ เ​มือง ปลา​ดกุ ปลา​นลิ และ​กบ​ใน​บอ่ ซ​ เี มนต์ มีโ​รง​สข​ี า้ ว​และ​ขา้ ว​กล้องภายในพืน้ ทีก​่ ารเกษตร ทัง้ นี้ ทาง​กลุม่ เ​กษตร​ทฤษฎีใ​หม่ช​ มุ ชน​บา้ น​ถำ้ ไ​ด้ม​ ก​ี าร​ขยาย​สาขา​ การเกษตรให้ค​ รอบคลุมไ​ป​ทกุ ห​ มูบ่ า้ น​มาก​ขนึ้ ผ่าน​การ​จดั ต​ งั้ ก​ ลุม่ ส​ มาชิกป​ ลูกย​ างพารา กลุม่ ท​ ำ​ปยุ๋ ห​ มัก - ปุย๋ อ​ นิ ทรีย์ ปุ๋ย​หมัก​ชีวภาพ น้ำห​ มัก​ชีวภาพ และ​สาร​ไล่​แมลง กลุ่ม​จำหน่าย​และ​ผลิต​ข้าว​กล้อง ตลอด​จน​กลุ่ม​ปลูกพืช​

102

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.


ผัก​สวน​ครัว โดย​การ​ทำงาน​ทุก​อย่าง​เรา​เน้น​การ​ดำเนิน​งาน​ตาม​แนว​พระ​ราชดำริ​ของ​พระบาท​สมเด็จ​ พระเจ้าอยู่หัว ซึ่งส​ ร้าง​ความ​เป็น​อยู่​ที่​ดี​ให้​แก่​เกษตรกร​รวม​ทั้งม​ ี​ความ​เข้มแ​ ข็งใ​น​ชุมชน​มาก​ยิ่ง​ขึ้น นอกจาก​ นี้​ยัง​ส่ง​เสริม​ให้​สมาชิก​เกษตรกร​ใน​ชุมชน มี​การ​พัฒนา​อาชีพ​ของ​ตนเอง ทำให้​มี​ราย​ได้​เพิ่ม​ขึ้น ส่ง​ผล​ให้​ ชาว​บ้าน​ดอกบัวส​ ามารถ​จัดการ​ออม​ใน​รูป​ของ​ธนาคาร​หมู่บ้าน แล้วใ​ช้​ดอก​ผล​ที่​ได้​จัดเ​ป็น​สวัสดิการ​ให้​แก่​ สมาชิก” นายอินท​ วน​กล่าว นอกจาก​การ​บริหาร​จัดการ​ที่ดินแ​ ละ​น้ำ ตาม​หลัก​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่ จะ​ทำให้​ชาวชุมชน​บ้าน​ถ้ำม​ ี​ ชีวติ ค​ วาม​เป็นอ​ ยูท​่ ด​ี่ ข​ี นึ้ แ​ ล้ว หลักป​ รัชญา​ของ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​ใน​ครัวเ​รือน​เป็นอ​ กี ป​ จั จัยห​ นึง่ ท​ เ​ี่ พิม่ ค​ ณ ุ ภาพ​ ชีวิตใ​ห้​กับ​สมาชิกใ​น​ชุมชน อินท​ วน​เล่า​อีกว​ ่า “นอกจากราย​ได้ที่​เพิ่ม​ขึ้น​จาก​การ​ปลูก​ผัก เลี้ยง​ไก่ เลี้ยง​กบ เลีย้ ง​ปลา รับจ้าง​ทวั่ ไป รวม​ถงึ กิจกรรม​ผลิตส​ นิ ค้าช​ มุ ชน ของ​สมาชิกก​ ลุม่ เ​กษตรกร​ทำ​สวน​ทฤษฎีใ​หม่ต​ ำบล​ บ้าน​ถ้ำ สิ่ง​หนึ่ง​ที่​เป็น​หัวใจ​ของ​ชาว​ชุมชน​คือ ความ​พอดี พอ​ประมาณ พอ​อยู่​พอ​กิน ไม่​ฟุ่มเฟือย​ใน​สิ่ง​ที่ ไ​ม่จ​ ำเป็น ตาม​หลักป​ รัชญา​ของ​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง ทัง้ ก​ าร​ลด​ราย​จา่ ย​ใน​ครัวเ​รือน เช่น ลด​การ​ใช้เ​ครือ่ ง​ใช้ไ​ฟฟ้า มือ​ถือ รถยนต์ รถ​จักรยานยนต์ งาน​รื่นเริง เป็นต้น สมาชิกใ​น​ชุมชน​มุ่ง​มั่น ลด ละ เลิก อบายมุข การ​พนัน สุรา บุหรี่ มีก​ าร​สร้าง​ภูมิคุ้มกันใ​น​ชุมชน โดย​คนใน​ชุมชน​สร้าง​ครอบครัวท​ อี่​ บอุ่น ไม่ไ​ป​ใช้แ​ รงงาน​ทอี่​ ื่น การ​ สร้าง​สังคม​ที่​ดี มี​การ​ช่วย​เหลือ​ซึ่ง​กัน​และ​กัน การ​ร่วม​กัน​อนุรักษ์​สิ่ง​แวดล้อม ไม่​เผา​ตอ​ซัง ใช้​วิธี​ไถกลบ มี​กิจกรรม​การ​ปลูกต​ ้นไม้ร​ ่วม​กัน การ​ลด​ใช้ส​ าร​เคมี และ​สร้าง​ความ​มั่นคง​ด้าน​การ​เงินใ​ห้ส​ มาชิกถ​ ือหุ้นข​ อง​ กลุ่ม​เพิ่ม​เงิน​ฝาก​เป็น​ประจำ​ทุก​เดือน พร้อม​ทั้งเ​พิ่มพูน​ความ​รโู้​ดย​การ​ประชุม​ของ​สมาชิก​ทุกว​ ัน​ที่ 5 ของ​ เดือน จะ​มก​ี าร​แลก​เปลีย่ น เรียน​รซ​ู้ งึ่ ก​ นั แ​ ละ​กนั สมาชิกท​ ไ​ี่ ด้ไ​ป​อบรม​มา​ถา่ ยทอด​ใน​ทป​ี่ ระชุมใ​ห้เ​พือ่ นสมาชิก​ ได้​รับ​รู้​รับ​ทราบ และ​มี​หน่วย​งาน​ราชการ​ที่มา​ร่วม​ประชุม​บรรยาย​ให้​ความ​รู้ รวม​ถึง​เข้า​รับ​การ​อบรม​จาก​ หลักสูตร​ต่างๆ ของ​หน่วย​งาน​ราชการ ใน​วันน​ สี้​ ิ่งท​ กี่​ ลุ่มเ​กษตร​ทำ​สวน​ทฤษฎีใ​หม่บ​ ้าน​ถ้ำภ​ าค​ภูมิใจ คือก​ าร​ ได้​น้อมนำ​แนวทาง​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว​มา​ประพฤติ​ปฏิบัติ จน​ประสบ​ความ​สำเร็จ ชุมชน​มี​ ความ​เข้มแ​ ข็ง สมาชิกใ​น​ชมุ ชน​มค​ี วาม​เป็นอ​ ยูท​่ ด​ี่ ี เป็นแ​ บบ​อย่าง​ให้ช​ มุ ช​ น​อนื่ ๆ​ได้ศ​ กึ ษา​เรียน​รู้ บ้าน​ถำ้ แ​ ห่งนี​้ จึงม​ ใิ ช่ถ​ ำ้ เ​สือแต่เ​ป็นถ​ ำ้ ท​ ร​ี่ ม่ เย็นส​ ามารถ​อยูไ่​ด้ด​ ว้ ย​การ​พงึ่ พา​ตนเอง และ​พร้อม​แบ่งป​ นั ก​ บั ท​ กุ ค​ น​ทส​ี่ นใจ​จะ​ เดิน​ตาม​รอย​พ่อ​ใน​แนวทาง​ของ​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่แ​ ละ​หลัก​ของ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง

ด้วยพระบารมี...จึงมี ธ.ก.ส.

103



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.