คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
คำนำ ด้ ว ยค ณะก รรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ข องรั ฐ บาลไ ด้ เห็ น ช อบข้ อ เสนอก าร เปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในกระบวนงานการก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นา นอกเขตชลประทาน ของกรมพัฒนาที่ดิน ตามยุทธศาสตร์และแผนงานเชิงรุกของ รัฐบาลในการต่อต ้านการทุจ ริตค อร์รัปชั่น โดยกิจกรรมที่ต ้องดำเนินก ารตามข้อเสนอ ดั ง ก ล่ า วคื อ การจั ด ท ำคู่ มื อ ก ารด ำเนิ น ง านโครงการแ หล่ ง น้ ำ ในไร่ น านอ กเขต ชลประทาน ประกอบกับในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ กรมพัฒนาที่ดินได้รับการ จัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทานเพิ่มขึ้นเป็น จำนวน ๘๐,๐๐๐ บ่อ ซึ่งม ากกว่าปีงบประมาณที่ผ ่านมาหลายเท่าตัว ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน เป็ น ไปต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเกิ ด ค วามโปร่ ง ใส กรมพั ฒ นาที่ ดิ น จึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะท ำงาน โดยมี ผู้ แ ทนจ ากห น่ ว ยง านที่ เกี่ ย วข้ อ งภ ายในก รมพั ฒ นาที่ ดิ น ร่วมกนั พ จิ ารณาจดั ท ำคมู่ อื ก ารดำเนินง านโครงการแหล่งน ำ้ ในไร่น านอกเขตชลประทาน ฉ บับน ี้ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดป ระโยชน์ก ับเจ้าห น้าที่ผ ู้ป ฏิบัติง าน เกษตรกรเจ้าของแหล่งน ้ำ และห มอดิ น อ าสา และเหนื อ สิ่ ง อื่ น ใดเพื่ อ ให้ เกษตรกรได้ มี แ หล่ ง น้ ำ ที่ เหมาะส ม กับการทำการเกษตร กักเก็บน้ำ ไว้ ใช้ประโยชน์และเป็นการสนับสนุนก ารทำเกษตร แ บบผ สมผ สานห รื อ ต ามแ นวทางท ฤษฎี ใหม่ อั น เนื่ อ งม าจ ากพ ระร าชดำริ เพื่ อ ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของเกษตรกร
คณะผู้จัดทำ ๕ กันยายน ๒๕๕๕
1
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สารบัญ
2
หน้า
คำนำ
1
สารบัญ
2
บทนำ
3
บทที่ ๑ การคัดเลือกพื้นที่ การคัดเลือกเกษตรกร
5
บทที่ ๒ รูปแบบการก่อสร้างแหล่งน้ำ
8
บทที่ ๓ การจัดซื้อจัดจ้าง การควบคุมงาน การตรวจการจ้าง การเบิกจ่ายเงิน
14
บทที่ ๔ การดูแลรักษาแหล่งน้ำในไร่นาและการจัดการดิน
18
บทที่ ๕ การใช้ประโยชน์แหล่งน้ำในไร่นา
23
บทที่ ๖ การติดตามและการประเมินผล
31
ภาพวาดประกอบโครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
33
แบบฟอร์มความต้องการแหล่งน้ำในไร่นา โครงการแหล่งน้ำ ในไร่นานอกเขตชลประทาน
39
แบบสอบถามความต้องการใช้ประโยชน์แหล่งน้ำในไร่นา
40
คณะผู้จัดทำ
41
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
บทนำ สาระสำคัญของโครงการ ประเทศไทยมีพ ื้นที่ทำการเกษตรประมาณ ๑๕๑.๙๒ ล้านไร่ ซึ่งภายใต้พื้นที่การเกษตรดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีระบบ ชลประทานประมาณ ๒๙.๓๔ ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๓๑ ของพื้นที่ทำการเกษตร ส่วนพื้นที่ที่เหลือ ๑๒๒.๕๘ ล้านไร่ หรือร้อยละ ๘๐.๖๙ เป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน นอกจากนี้ ภายใต้พื้นที่เกษตรกรรมที่มีการพัฒนาระบบชลประทานแล้ว ยังม ีพ ื้นที่ช ลประทานบางส่วนที่ม ีป ัญหาการขาดแคลนน้ำ มีน ้ำใช้เพื่อก ารเกษตรไม่เพียงพอตลอดทั้งป ี ขาดแคลนน้ำในฤดูแ ล้ง น้ำจัดเป็นปัจจัยสำคัญในระบบการผลิตทางการเกษตรและเป็นสิ่งจำเป็นในการอุปโภคและบริ โภค ส่งผลต่อความเจริญ ทางเศรษฐกิจข องประเทศ ดังน ั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้ม อบหมายกรมพัฒนาที่ดินจ ัดท ำโครงการแหล่งน ้ำในไร่ นานอกเขตชลประทาน โดยการขุดส ระน้ำในไร่น าขนาด ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร และให้เกษตรกรมสี ่วนร่วมในการออกค่าใช้จ ่าย ๒,๕๐๐ บาท/บ่อ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการบรรเทาสภาพปัญหาภัยแล้ง การขาดแคลนน้ำ และเพิ่มประสิทธิภาพ การเก็บกักน้ำในพื้นที่ทำการเกษตรของเกษตรกร ซึ่งคณะรัฐมนตรี ได้มีมติอนุมัติ และกรมพัฒนาที่ดินได้ดำเนินการก่อสร้าง แหล่งน้ำในไร่นาไปแล้วบางส่วน แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ กรมพัฒนาที่ดินได้รับเป้าหมายดำเนินการจำนวน ๘๐,๐๐๐ บ่อ
สรุปมติคณะรัฐมนตรี ๑. มติคณะรัฐมนตรี ๒๙ มิถุนายน ๒๕๔๗ คณะรัฐมนตรีม ีม ติเห็นช อบในหลักก ารโครงการแหล่งน ้ำในไร่น านอกเขตชลประทาน ตามที่ก ระทรวงเกษตรและ สหกรณ์เสนอ ซึ่งการดำเนินงานโครงการต้องเป็นไปตามความสมัครใจ และความต้องการของเกษตรกร เพราะเกษตรกร จะต้องออกค่าใช้จ่ายส่วนหนึ่ง นอกเหนือจากส่วนที่ทางการให้การสนับสนุนด้วย ดังนั้น จึงให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้เกษตรกรได้ม ีค วามรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับก ารดำเนินงานโครงการฯ และให้จ ัดการฝึกอ บรมแนวทาง การทำการเกษตรที่เหมาะสม เช่น การเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมแสดงความจำนง ที่จะเข้าร่วมโครงการฯ ด้วยความสมัครใจ และนำข้อมูลดังกล่าว มาจัดทำแผนการดำเนินงาน และเสนอขอสนับสนุน งบประมาณค่าใช้จ ่ายของโครงการฯ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับข้อเท็จจริงต่อไป ๒. มติคณะรัฐมนตรี ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๗ ๒.๑ คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการสำรวจความต้องการแหล่งน้ำในไร่นาของเกษตรกร ระยะที่ ๑ จำนวน ๙๑๙,๒๘๙ บ่อ ๒.๒ เห็นชอบแผนการดำเนินการขุดสระน้ำที่กระทรวงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ และให้ดำเนินการ ระยะเวลา ๓ ปี (๒๕๔๘-๒๕๕๑) เป้าหมายการดำเนินการปีละ ๑๐๐,๐๐๐ บ่อ ไปก่อน เมื่อดำเนินการในปีแรกแล้ว ให้มี การประเมินผลเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ ไขและทบทวนเป้าหมายการดำเนินการในปีต่อๆ ไป และให้รับความเห็นของกระทรวง การคลัง กระทรวงมหาดไทย และสำนักงบประมาณไปพิจารณาดำเนินการด้วย ๒.๓ งบประมาณเพื่อด ำเนินต ามแผนงานในข้อ ๒.๒ อนุมัติให้ ใช้ว งเงินง บประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่สำนักงบประมาณเสนอตั้งงบประมาณไว้ ให้แล้ว จำนวน ๓๐๑.๕๐๗ ล้านบาท และที่ ได้เสนอขอเพิ่มงบประมาณ ต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปี ๒๕๔๘ อีกจำนวน ๔๑๘.๘๙๓ ล้านบาท ทั้งนี้ ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำกับดูแลการดำเนินโครงการนี้ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เป็นธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในการ ขุดสระน้ำให้เปิดให้ภาคเอกชนเข้าร่วมการประมูลอย่างกว้างขวาง และควรมีเอกชนที่เข้าร่วมดำเนินการมากกว่า ๑ ราย 3
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๓. มติคณะรัฐมนตรี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๔๗ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมพัฒนาที่ดิน) จ้างเหมาผูกพันงบประมาณในการ ดำเนินการขุดสระน้ำข นาด ๑,๒๖๐ ลบ.ม. จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บ่อ ตามผลการประกวดราคา ภายในวงเงิน ๒,๖๙๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท จำแนกเป็นเงินงบประมาณ จำนวน ๑,๙๔๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท และเงินส มทบจากเกษตรกร ๗๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท และ ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำกับ ดูแลการดำเนินโครงการให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส เป็นธรรมและตรวจ สอบได้ โดยเฉพาะในเรื่องของสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง ให้ครอบคลุมประเด็นที่ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในส่วนที่ต้อง เรียกเก็บจากเกษตรกรเองให้ชัดเจน โดยทางราชการจะต้องไม่เป็นผู้รับผิดชอบในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่สามารถจัดเก็บจาก เกษตรกรได้ และจะต้องไม่เป็นข้ออ้างของผู้รับจ้างในการที่จ ะไม่ดำเนินโครงการต่อไป รวมทั้งให้คำนึงถ ึงศักยภาพของพื้นที่ การกระจายโครงการลงพืน้ ท อี่ ย่างทัว่ ถ งึ แ ละเป็นธ รรมดว้ ย สำหรับงบประมาณเพือ่ ด ำเนินโครงการในปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ ให้กรมพัฒนาที่ดินเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.๒๕๔๘ ที่ ได้รับจัดสรรแล้ว ๕๙๙,๑๐๗,๒๐๐ บาท เพื่อด ำเนินการขุดสระน้ำในไร่นา จำนวน ๙๒,๔๕๔ บ่อ ส่วนที่เหลืออีก ๒๐๗,๕๔๖ บ่อ วงเงิน ๑,๓๔๔,๘๙๒,๘๐๐ บาท ให้ เสนอตั้งไว้ ในงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ๒๕๔๙-๒๕๕๐ ต่อไป ตามความเห็นของสำนักงบประมาณ ทั้งนี้ ให้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินโครงการดังกล่าวอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นระยะๆ และให้นำข้อมูลที่ ได้มาประกอบการพิจารณาปรับปรุงแนวทางการดำเนินโครงการให้เหมาะสม และมีประสิทธิภาพมากยิ่ง ขึ้นต่อไป ๔. นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) ได้มีบัญชาให้กองทัพบกร่วมกับก รมพัฒนาที่ดิน ดำเนินการขุดสระน้ำในไร่นา จำนวน ๓๒๐ บ่อ ที่จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีการลงนามใน บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง ๔ หน่วยงาน คือ กองทัพบก บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร และกรมพัฒนาที่ดิน ๕. เนื่องจากค่าน้ำมันซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการทำงานมีราคาสูงขึ้น จึงได้มีการเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๔๗ โครงการแหล่งน้ำใน ไร่นานอกเขตชลประทาน ซึ่งค ณะรัฐมนตรีม ีมติ เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๙ อนุมัติตามที่กรมพัฒนาที่ดินเสนอดังนี้ ๕.๑ อนุมตั จิ า่ ยคา่ งานให้ก องทัพบ กเพิม่ ข ึน้ ต ามผลการดำเนินงานจริง จำนวน ๓๒๐ บ่อ เป็นเงิน ๘,๑๑๑,๓๑๘ บาท (งบประมาณ ๗,๓๑๑,๓๑๘ บาท เกษตรกรสมทบ ๘๐๐,๐๐๐ บาท) และค่าบ ริหารจัดการของกรมพัฒนาที่ดิน ๕๗,๖๐๐ บาท รวมเป็นเงินงบประมาณ จำนวน ๗,๓๖๘,๙๑๘ บาท ๕.๒ อนุมตั ใิช้งบประมาณปี ๒๕๔๘ และปี ๒๕๔๙ ทีก่ รมพฒ ั นาทีด่ นิ ได้ร บั อ นุมตั แิ ล้ว จำนวน ๙๗๒,๐๐๕,๒๐๐ บาท หลังจากหักค่าใช้จ่ายในข้อ ๕.๑ แล้ว คงเหลืองบประมาณ ๙๖๔,๖๓๖,๒๘๒ บาท (๙๗๒,๐๐๕,๒๐๐ – ๗,๓๖๘,๙๑๘ บาท) เพื่อใช้ ในการขุดสระน้ำในปี ๒๕๔๙ ทั้งนี้ราคางานขุดสระน้ำในไร่นาจะขออนุมัติภายในเกณฑ์ราคามาตรฐานตามที่ สำนักง บประมาณกำหนด โดยเกษตรกรสมทบ ๒,๕๐๐ บาท/บ่อ โดยขอปรับเปลี่ยนวิธีก ารดำเนินง านจากเดิมท ี่ค ณะรัฐมนตรี อนุมัติจากจ้างเหมาผูกพัน เป็นการกระจายการจ้างเหมาลงจังหวัด ๕.๓ สำหรับแ ผนการขุดส ระน้ำในไร่น าตามความต้องการของเกษตรกรนั้น จะขออนุมัตบิ รรจุในคำของบประมาณ รายจ่ายประจำปีตามความจำเป็นและเหมาะสมเป็นปีๆ ไป ทั้งนี้ ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประสานกับกระทรวงมหาดไทยเพื่อกำกับดูแลให้การขุดสระน้ำในไร่นา ของเกษตรกรได้มาตรฐาน ขนาด และรูปแบบที่กองทัพบกได้ดำเนินการไปแล้ว และให้รับความเห็นของสำนักงบประมาณ ไปพิจารณาประกอบการดำเนินการด้วย
4
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
บทที่ ๑ การคัดเลือกพื้นที่ การคัดเลือกเกษตรกร ๑. สำรวจและรวบรวมรายชื่อเกษตรกรที่มีความต้องการสระน้ำ กรมพัฒนาที่ดิน จัดป ระชุมชี้แจงสถานีพัฒนาที่ดินทั่วประเทศ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ ทั้งส ่วนกลาง และท้องถิ่น และบน Internet (www.ldd.go.th) รวมทั้งป ระสานงานกับห น่วยงานในพื้นที่ เช่น อบต. หมอดินอ าสา และผู้นำท้องถิ่น เพื่อช ี้แจงทำความเข้าใจให้ค วามรู้ก ับเกษตรกร และสำรวจความต้องการของเกษตรกร ที่มีความสนใจให้แสดงความจำนงเข้าร่วมโครงการด้วยความสมัครใจ ซึ่งเกษตรกรจะต้องกรอกรายละเอียดความต้องการ ลงในใบสมัคร และเจ้าหน้าที่ สพด. จะเรียงลำดับความต้องการเป็นข้อมูลรวบรวมเก็บไว้ (ตามแบบฟอร์มความต้องการ แหล่งน้ำในไร่นา) แต่งต ั้งค ณะกรรมการพิจารณาการจัดสรรแหล่งน ้ำในไร่น านอกเขตชลประทานในพื้นที่จ ังหวัด ตามที่ ได้ม อบหมาย พื้นที่รับผิดชอบในแต่ละอำเภอในจังหวัดนั้น เงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการ ๑.๑ พื้นที่ขุดสระน้ำ จะต้องเป็นพื้นที่ทำการเกษตรที่เกษตรกรเป็นเจ้าของและมีเอกสารสิทธิ์ และมีหนังสือ ยินยอมให้เข้าดำเนินก ารขุดสระน้ำ ๑.๒ เกษตรกรที่เข้าร ่วมโครงการจะมีส ่วนร่วมในการสนับสนุนค ่าใช้จ ่ายในการดำเนินก ารขุดส ระน้ำ เช่น ค่าน้ำ มันเชื้อเพลิง และค่าขนย้ายเครื่องจักรกล จำนวน ๒,๕๐๐ บาทต่อบ่อ ให้ผู้รับจ้าง กรมพัฒนาที่ดิน โดยสถานี พัฒนาที่ดิน ตรวจสอบความเหมาะสมของพื้นที่ขุด สระน้ำ และความพร้อมของ เกษตรกร ๒. การคัดเลือกเกษตรกร ๒.๑ คัดเลือกเกษตรกรจากแผนความต้องการสระน้ำท ีเ่กษตรกรได้ม ายื่นค วามจำนงไว้แ ล้ว โดยนำความต้องการ ของเกษตรกรที่มาแจ้งความจำนงในการก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นา พิจารณาความสำคัญจากจังหวัดที่มีความต้องการมาก มาพิจารณากำหนดเป้าหมายและให้ความสำคัญเป็นลำดับต้นๆ ๒.๒ สถานีพัฒนาที่ดินและหมอดินอาสาประจำตำบล/หมู่บ้าน สำรวจศักยภาพของพื้นที่และความพร้อมของ เกษตรกรที่แจ้งความต้องการขุดสระน้ำไว้แล้ว ๒.๒.๑ เกษตรกรมีค วามตั้งใจประกอบอาชีพท างการเกษตร มีค วามพร้อมเข้าร ่วมโครงการ และสามารถ มีส ่วนร่วมในการสนับสนุนค ่าใช้จ่ายในการดำเนินการขุดสระน้ำ บ่อละ ๒,๕๐๐ บาท ๒.๒.๒ เกษตรกรเป็นเจ้าของพื้นที่ก่อสร้างที่ ใช้เป็นพื้นที่ทำการเกษตร มีเอกสารสิทธิ์ และมีหนังสือ ยินยอมให้เข้าดำเนินการก่อสร้าง
5
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๓. การคัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย ๓.๑ พื้นที่ซึ่งจะดำเนินการก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทานขนาด ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร ต้องเป็น ของเกษตรกรที่เป็นผู้ถือครองที่ดิน หรือเกษตรกรที่เป็นเจ้าของที่ดินในเขตพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และเป็น ผู้ทำกินในที่ดินนั้น โดยต้องมีหลักฐานเอกสารสิทธิ์ที่หน่วยงานรัฐผู้รับผิดชอบได้แก่ กรมที่ดินหรือสำนักงานการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมเป็นผ ู้ออกให้ ๓.๒ เป็นพื้นที่ที่อยู่นอกเขตชลประทาน ขาดแคลนระบบที่จะจัดส่งน้ำไปถึงได้ตลอดปี และประสบปัญหา ขาดแคลนน้ำเป็นประจำ หรือแล้งซ้ำซาก ซึ่งเป็นข้อมูลที่ ได้จากการเข้าไปตรวจสอบพื้นที่ หรือสอบถามเจ้าหน้าที่ของ กรมชลประทานในพื้นที่ โดยสถานีฯ ควรจะมีการทำรายงานบันทึกข้อสังเกตไว้ ๓.๓ คัดเลือกพื้นที่ก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทานตามเงื่อนไขของโครงการเป็นลำดับแรก คือ เป็นพื้นที่ที่มีป ระสิทธิภาพในการเก็บกักน้ำ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติของดิน หลีกเลี่ยงพื้นที่เป็นดินทรายจัด พื้นที่เกลือขึ้น เป็นดินเค็ม พื้นที่ซึ่งมีก้อนหินขนาดใหญ่ ซึ่งหากก่อสร้างไปจะทำให้ ไม่สามารถเก็บกักน้ำไว้ ใช้ ได้นาน และคุณภาพน้ำไม่ดี และควรพักการปลูกพืช เพื่อความสะดวกในการเข้าไปดำเนินการก่อสร้าง โดยเจ้าหน้าที่บริษัทผู้รับจ้างร่วมกับสถานี พัฒนาที่ดินและหมอดินอาสาจะเข้าไปตรวจสอบพื้นที่ที่คัดเลือกและสอบถามเกษตรกร ๓.๔ พื้นที่ดำเนินการควรจะมีขนาดไม่น้อยกว่า ๓๐ x ๔๐ ตารางเมตร โดยจะใช้ก่อสร้างสระอย่างน้อย ๒๐ x ๓๐ x ๒.๑ เมตร เพื่อให้เครื่องจักรสามารถทำงานได้ โดยสะดวก และสามารถทำการเกลี่ยดิน ตกแต่งคันบ่อได้อย่าง เรียบร้อย ทั้งนี้พื้นที่ดำเนินการควรมีการจัดกลุ่มเป้าหมายการจัดสรรพื้นที่ก่อสร้างให้มีขนาดของกลุ่มและการกระจาย ตัวของสระเก็บน้ำให้เหมาะสมกับการบริหารจัดการเครื่องจักรกล ได้แก่ การจัดชุดเครื่องจักรกลเข้าทำงาน การเคลื่อน ย้ายเครื่องจักรกลให้มีขนาดเหมาะสมกับระดับเศรษฐกิจ (Economy of Scale) ซึ่งจะมีผลต่อการดำเนินการที่ทันเวลา และคุ้มค ่ากับการลงทุน ทั้งในเขตพัฒนาที่ดินและยุทธศาสตร์จังหวัดอ ย่างสัมฤทธิ์ผล ๔. การดำเนินงานของสถานีพัฒนาที่ดิน ๔.๑ สถานีพ ัฒนาที่ดิน /หมอดินอ าสาประจำตำบล จัดป ระชุมช ี้แจงรวมกลุ่มเกษตรกรทีค่ ัดเลือกแล้ว เพื่อช ี้แจง ขั้นตอนการดำเนินงาน และซักซ้อมความเข้าใจ ๔.๒ จัดลำดับบัญชีรายชื่อเกษตรกร ที่มีความพร้อมที่จะดำเนินการขุดสระน้ำหลังผ่านการชี้แจง ๔.๓ สถานีพ ัฒนาที่ดินด ำเนินก ารจัดซ ื้อ จัดจ ้าง ตามระเบียบสำนักน ายกรัฐมนตรีว ่าด ้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว ่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเลกทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ (ดูรายละเอียดในบทที่ ๓) ๔.๔ เมื่อได้ผู้รับจ้างแล้ว จึงจัดทำรายงานขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมพัฒนาที่ดิน ๔.๕ ดำเนินก ารทำสัญญา และกำกับต ิดตามดูแลการปฏิบัติง านตามข้อต กลงที่ท ำไว้ ระหว่างสถานีพ ัฒนาที่ดิน กับผู้รับจ้าง โดยเกษตรกรเจ้าของที่ดินเป็นผู้ระบุตำแหน่งขุดสระน้ำ กรมพัฒนาที่ดินให้คำปรึกษาแนะนำ ตรวจสอบ ความเหมาะสม การเลือกรูปแ บบของสระน้ำข นาด ๑,๒๖๐ ลบ.ม. สามารถปรับได้ต ามความเหมาะสมของพื้นที่ และวางแนว การขุดสระน้ำตามที่ต้องการ ตามแบบที่กรมฯ กำหนด การกำกับการปฏิบัติงานให้ ใช้กรอบแนวทางตามที่ผู้รับจ้าง ได้ทำแผนการปฏิบัติการก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นา นอกเขตชลประทาน ในแต่ละพื้นที่ ไว้ภายในระยะเวลาที่กำหนด ๔.๖ เจ้าหน้าที่สถานีพัฒนาที่ดินดำเนินการสอบถามความต้องการของเกษตรกรในการใช้ประโยชน์แหล่งน้ำ (ตามแบบสอบถามความต้องการ) และบูรณาการการพัฒนาอาชีพให้แก่เกษตรกรร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร และหน่วยงานสนับสนุนอื่น ทั้งนี้ เพื่อให้ส ามารถใช้ ประโยชน์จ ากแหล่งน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
๕. การมีส่วนร่วมของเกษตรกร ๕.๑ ภายหลังจ ากการขุดส ระเสร็จเรียบร้อยแล้ว เกษตรกรต้องมคี วามตั้งใจประกอบอาชีพท างการเกษตร โดย กรมพัฒนาที่ดินจ ะให้การสนับสนุนป ัจจัยก ารผลิตท างการเกษตรตามความเหมาะสม เช่น ๙ สิ่งม หัศจรรย์ผ ลิตภัณฑ์ช ีวภาพ ของกรมพัฒนาที่ดิน ได้แก่ เมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด หญ้าแฝก พด.๑ (จุลินทรีย์สำหรับผลิตปุ๋ยหมัก) สารเร่งซุปเปอร์ พด.๒ (จุลินทรีย์ส ำหรับผ ลิตน ้ำห มักช ีวภาพ) สารเร่งซ ุปเปอร์ พด.๓ (จุลินทรีย์ค วบคุมเชื้อส าเหตุโรคพืช) สารเร่ง พด.๖ (จุลินทรีย์ สำหรับผลิตสารบำบัดน้ำเสียและขจัดกลิ่นเหม็น) สารเร่งซุปเปอร์ พด.๗ (จุลินทรีย์สำหรับผลิตสารป้องกันแมลงศัตรูพืช) สารเร่งจุลินทรีย์ซุปเปอร์ พด. ๙ (จุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัสที่ถูกตรึงในดินกรด และดินเปรี้ยว) พด.๑๑ (จุลินทรีย์สำหรับ พืชป รับปรุงบ ำรุงด ิน ปอเทือง แ ละโสนอัฟร ิก ัน) และปุ๋ยช ีวภาพ พด.๑๒ พร้อมทั้งค ำแนะนำทางวิชาการในการปรับปรุงบ ำรุง ดินเพื่อเพิ่มผ ลผลิตทางการเกษตร ลดต้นทุน และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ๕.๒ กรมพัฒนาที่ดิน จะประสานหน่วยงานทีเ่กี่ยวข้องเข้าร ่วมบูรณาก ารการพัฒนาอาชีพให้แ ก่เกษตรกร ได้แก่ กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมก ารเกษตร กรมวิชาการเกษตร และหน่วยงานสนับสนุนอ ื่น เช่น ธนาคารเพื่อก ารเกษตร และสหกรณ์ก ารเกษตร กองทุนห มู่บ้าน เป็นต้น เพื่อเป็นการขยายโอกาส ลดต้นทุน และเพิ่มรายได้ ให้แก่เกษตรกร
7
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ ๒ รูปแบบการก่อสร้างแหล่งน้ำ สภาพภูมิอากาศในปัจจุบันทำให้เกษตรกรต้องเผชิญกับปัญหาภัยแล้ง มีผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตร และคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกร ดังนั้น เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บกักน้ำ โดยการขุดสระน้ำใน ไร่นา บนพื้นที่การเกษตรของเกษตรกร ที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการและอยู่ ในหลักเกณฑ์การดำเนินงาน โดยกำหนดให้มี การก่อสร้างแหล่งน้ำขนาด ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร ในพื้นที่ของเกษตรกรที่มีความตั้งใจประกอบอาชีพทางการเกษตร มีค วามพร้อมเข้าร่วมโครงการ สามารถสนับสนุนค ่าใช้จ ่ายในการขุดส ระน้ำ บ่อละ ๒,๕๐๐ บาท โดยมีแนวทางและรูปแบบ การขุดสระน้ำขนาด ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร ดังนี้ สระเก็บน้ำ คือ แหล่งเก็บขังน้ำฝน หรือน้ำซับที่ ไหลซึมออกมาจากดิน โดยการขุดดินออกให้เป็นที่สำหรับขังน้ำ ให้มีขนาดความจุต ามปริมาณน้ำที่ต้องการจะเก็บขังไว้ ใช้แล้วนำดินท ี่ขุดม าถมเป็นคันล้อมรอบขอบสระ งานดินขุด คือ การขุดดินให้ ได้ขนาดความกว้าง ความยาว ความลึก และลาดด้านข้าง ตามที่กำหนดในแบบ มีว ัตถุประสงค์เพื่อเป็นที่เก็บกักน้ำ โดยมีข ้อกำหนดลาดด้านข้างตามคุณสมบัติของดิน ดังนี้ ๑. ลาดด้านข้าง การขุดดินจะต้องมีความมั่นคงไม่เกิดการลื่นไถลของลาดตลิ่ง การกำหนดความลาดด้านข้างของ ดินข ึ้นอ ยู่ก ับช นิดข องดินท ี่จ ะขุด โดยมีข ้อแ นะนำดังนี้ ดินเหนียวทั่วไปอาจปนทรายหรือก รวดมีล าดด้านข้าง ๑ : ๒ ดินต ะกอน ทั่วไปอาจปนทราย มีลาดด้านข้าง ๑ : ๓ ๒. ความลึก การขุดดินไม่ควรลึกเกิน ๓.๐๐ ม. ในแต่ละขั้น ถ้าลึกเกินต้องทำชานพักเพื่อความมั่นคง และสะดวก ในการก่อสร้าง
รูปแบบของสระน้ำ กรมพัฒนาที่ดินได้ออกแบบสระเก็บน้ำมาตรฐานความจุ ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร ซึ่งมีแบบให้เลือก ๒ รูปแบบ เป็นแบบรูปตัว I และแบบรูปตัว L พร้อมหลักเกณฑ์ ในการคำนวณปริมาณงานดินขุด หากมีการก่อสร้างสระที่มีความ กว้าง ความยาว ความลึก และลาดด้านข้างที่แตกต่างกัน สามารถคำนวณปริมาณดินขุด โดยการพิจารณาจากกราฟแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง ความยาว และความลึกของสระเมื่อมีปริมาตรดินขุด ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร ที่ความลาด ด้านข้างต่างๆ กัน
การดำเนินการก่อสร้าง เมื่อเกษตรกรเจ้าของพื้นที่ ผู้รับจ ้าง และช่างควบคุมง านร่วมกันพ ิจารณากำหนดสถานที่ก ่อสร้างได้แ ล้ว โดยอาศัย หลักเกณฑ์ที่ม ีอยู่ ในแบบมาตรฐาน ขั้นตอนต่อไปเจ้าของที่ดินและช่างรางวัดเตรียมพื้นที่ ตรวจสอบและวางผังกำหนดขนาด ความกว้าง ความยาว ความลึกของสระ โดยอาศัยตารางที่ประกอบอยู่ ในแบบ หากรูปแบบแตกต่างไปจากแบบมาตรฐานที่ กำหนด ให้ปรึกษาช่างควบคุมงาน โดยยึดปริมาณดินขุดให้ม ีปริมาตรเท่ากับ ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร
8
รูปแบบของสระน้ำในไร่นา ขนาด ๑,๒๖๐ ลบ.ม.
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
9
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รูปแบบของป้ายสระน้ำในไร่นา ขนาด ๑,๒๖๐ ลบ.ม.
รูปแบบของป้ายสระน้ำ 10
๑. ปลายเสาอุดด้วยปูนทราย ๒. ตัวหนังสือเป็นสีเขียว ๓. เหล็กแผ่น หนา ๑.๒ มม. ๔. น็อต ø ๑/๔” พร้อมแหวน ๕. เสาเหล็กรูปพรรณ ๕๐ x ๕๐ x ๒ มม. ทาสีกันสนิมและทาทับด้วยสีดำ ๖. ปลูกหญ้าเป็นพื้นที่ ๗. คอนกรีตหุ้มรอบเสา
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
ความสัมพันธ์ระหว่างความยาว ความกว้าง และความลึก ของสระน้ำในไร่นา เมื่อสระน้ำมีปริมาณดินขุด ๑,๒๖๐ ลบ.ม. ลาดด้านข้าง ๑ : ๑
= ความกว้ าง (ม.) !"#$%&$'&()*+,-".#/!"#$0#" !"#$1"2#/ W 34,!"#$45 167/%+,(8 9:(;+.(# L = ความยาว (ม.) <$=>7%+,(8 9$?@+Aม. $#BCA(6DC ความลึ 1,260 4E.$. ความลึ ก ๒.๐๐ ก ๒.๕.๐๐ ม. ความลึก ๓.๐๐ ม. 4#CC2#(62#/ 1:1 ๓๗.๙๐ ๑๕.๐๐ W = !"#$%"& # ' ($.) ๓๖.๕๐ ๑๕.๕๐ L = !"#$*#" ($.) !"#$() % 2.00 $. !"#$() % 2.5.00 $. !"#$() % 3.00 $. ๔๖.๙๕ ๓๙.๘๔ ๓๕.๒๐ ๑๖.๐๐ 15.00 37.90 ๔๕.๕๐ ๓๘.๔๕ ๓๔.๐๐ ๑๖.๕๐ 15.50 36.50 ๔๓.๙๕ ๓๗.๑๕ ๓๒.๘๕ ๑๗.๐๐ 16.00 46.95 39.84 35.20 ๔๒.๕๕ ๑๗.๕๐ 16.50 45.50 38.45๓๖.๐๐ 34.00 ๓๑.๘๑ ๔๑.๓๐ ๑๘.๐๐ 17.00 43.95 37.15๓๕.๐๐ 32.85 ๓๐.๘๕ ๔๐.๑๐ ๑๘.๕๐ 17.50 42.55 36.00๓๓.๙๐ 31.81 ๒๙.๙๐ ๓๙.๐๐ ๑๙.๐๐ 18.00 41.30 35.00๓๓.๐๐ 30.85 ๒๙.๑๐ 40.10 33.90๓๒.๑๐ 29.90 ๒๘.๓๐ ๓๘.๐๐ ๑๙.๕๐ 18.50 39.00 33.00๓๑.๒๐ 29.10 ๒๗.๕๕ ๓๖.๙๕ ๒๐.๐๐ 19.00 38.00 32.10๓๐.๔๐ 28.30 ๒๖.๘๕ ๓๖.๐๐ ๒๐.๕๐ 19.50 36.95 31.20๒๙.๖๕ 27.55 ๒๖.๒๐ ๓๕.๑๐ ๒๑.๐๐ 20.00 20.50 36.00 30.40 26.85 ๓๔.๒๕ ๒๘.๙๐ ๒๕.๕๕ ๒๑.๕๐ 21.00 35.10 29.65 26.20 ๓๓.๕๐ ๒๒.๐๐ 21.50 34.25 28.90๒๘.๓๐ 25.55 ๒๕.๐๐ ๓๒.๗๐ ๒๒.๕๐ 22.00 33.50 28.30๒๗.๖๐ 25.00 ๒๔.๔๐ ๓๒.๐๐ ๒๓.๐๐ 22.50 32.70 27.60๒๗.๐๐ 24.40 ๒๓.๘๕ ๓๑.๓๐ ๒๓.๕๐ 23.00 32.00 27.00๒๖.๔๐ 23.85 ๓๐.๖๐ 31.30 26.40๒๕.๙๐ ๒๔.๐๐ 23.50 30.60 25.90๒๕.๓๕ ๓๐.๐๐ ๒๔.๕๐ 24.00 30.00 25.35 ๒๙.๔๐ ๒๕.๐๐ 24.50 29.40 ๒๘.๘๐ ๒๕.๕๐ 25.00 28.80 ๒๘.๓๕ ๒๖.๐๐ 25.50 26.00 28.35
ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้ างขอบสระ ความยาวขอบสระ และมีลาดด้านข้าง ๑ : ๑ !"#$%&$'&()*+,-".#/!"#$1"2#/67E%+, !"#$0#"67E%+, 34,$?4#C62#/ 1:1F w = !"#$1"2#/67E%+, ($.)F
50.0+ 45.0+ 40.0+ 35.0+ 30.0+ 451 2.0 $.F 25.0+
451 2.5 $.F 451 3.0 $.F
20.0+ 15.0+
17.5+
20.0+
L = !"#$0#"67E%+, ($.)F
22.5+
25.0+
11
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ความสัมพันธ์ระหว่างความยาว ความกว้าง และความลึก ของสระน้ำในไร่นา !"#$%& +,-".#/!"#$0#" 9:(;+.(# เมื่อสระน้ำมีปริมาณดิ นขุ$ด'&()*๑,๒๖๐ ลบ.ม.!"#$1"2 ลาดด้#/า34,!"#$45 นข้าง ๑167/%+,(8 : ๑.๕
<$=>7%+,(89$?@+A$#BCA(6DC 1,260 4E.$. 4#CC2#(62#/ 1:5
L = ความยาว (ม.) L = !"#$*#" ($.) ความลึก ๒.๐๐ ม.
!"#$()% 2.00 $.
๑๕.๐ ๑๕.๕๐ ๑๖.๐๐ ๑๖.๕๐ ๑๗.๐๐ ๑๗.๕๐ ๑๘.๐๐ ๑๘.๕๐ ๑๙.๐๐ ๑๙.๕๐ ๒๐.๐๐ ๒๐.๕๐ ๒๑.๐๐ ๒๑.๕๐ ๒๒.๐๐ ๒๒.๕๐ ๒๓.๐๐ ๒๓.๕๐ ๒๔.๐๐ ๒๔.๕๐ ๒๕.๐๐ ๒๕.๕๐ ๒๖.๐๐ ๒๖.๕๐
15.00 15.50 16.00 16.50 17.00 17.50 18.00 18.50 19.00 19.50 20.00 20.50 21.00 21.50 22.00 22.50 23.00 23.50 24.00 24.50 25.00 25.50 26.00 26.50
51.45 ๕๑.๔๕ 49.60 ๔๙.๖๐ 48.00 ๔๘.๐๐ 46.30 ๔๖.๓๐ 44.85 ๔๔.๘๕ 43.60 ๔๓.๖๐ 42.20 ๔๒.๒๐ 41.10 ๔๑.๑๐ 40.00 ๔๐.๐๐ 38.85 ๓๘.๘๕ 38.00 ๓๘.๐๐ 36.80 ๓๖.๘๐ 36.10 ๓๖.๑๐ 35.15 ๓๕.๑๕ 34.40 ๓๔.๔๐ 33.65 ๓๓.๖๕ 32.90 ๓๒.๙๐ 32.20 ๓๒.๒๐ 31.50 ๓๑.๕๐ 30.90 ๓๐.๙๐ 30.30 ๓๐.๓๐
W = ความกว้าง (ม.)
W = !"#$%"&#' ($.) ความลึก ๒.๕.๐๐ ม. ความลึก ๓.๐๐ ม. !"#$()% 2.5.00 $. !"#$()% 3.00 $.
44.80 ๔๔.๘๐ 43.10 ๔๓.๑๐ 41.65 ๔๑.๖๕ 40.30 ๔๐.๓๐ 38.90 ๓๘.๙๐ 37.70 ๓๗.๗๐ 36.60 ๓๖.๖๐ 35.60 ๓๕.๖๐ 34.50 ๓๔.๕๐ 33.60 ๓๓.๖๐ 32.80 ๓๒.๘๐ 31.90 ๓๑.๙๐ 31.15 ๓๑.๑๕ 30.40 ๓๐.๔๐ 29.70 ๒๙.๗๐ 29.00 ๒๙.๐๐ 28.40 ๒๘.๔๐ 27.80 ๒๗.๘๐ 27.25 ๒๗.๒๕ 26.70
40.90 ๔๐.๙๐ 39.30๓๙.๓๐ 37.90๓๗.๙๐ 36.55๓๖.๕๕ 35.30๓๕.๓๐ 34.20๓๔.๒๐ 33.10 ๓๓.๑๐ 32.10 ๓๒.๑๐ 31.20 ๓๑.๒๐ 30.40 ๓๐.๔๐ 29.60๒๙.๖๐ 28.70๒๘.๗๐ 28.15๒๘.๑๕ 27.50๒๗.๕๐ 26.85๒๖.๘๕ 26.30๒๖.๓๐ 25.80๒๕.๘๐
๒๖.๗๐
ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้ และมีลาดด้านข้าง ๑ : ๑.๕ !"#$%&$'&()*+,-".า#งขอบสระ /!"#$1"2#/67E%+,ความยาวขอบสระ !"#$0#"67E%+, 34,$?4#C62#/ 1:1.5F w = !"#$1"2#/67E%+, ($.)F
55.0+ 50.0+ 45.0+ 40.0+ 35.0+ 30.0+
451 2.0 $.F 451 2.5 $.F
25.0+
451 3.0 $.F
20.0+ 15.0+
12
17.5+
20.0+
22.5+
L = !"#$0#"67E%+, ($.)F
25.0+
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
ความสัมพันธ์ระหว่างความยาว ความกว้าง และความลึก ของสระน้ำในไร่นา เมื่อสระน้ำมีปริมาณดินขุด 1,260 ลบ.ม. ลาดด้านข้าง ๑ : ๒
!"#$%&$'&()*+,-".#/!"#$0#" !"#$1"2#W/ 34,!"#$45 167/%+,(89:(;+.(# = ความกว้าง (ม.) <$=>7%+,(89$?@+A$#BCA(6DC 1,260 4E.$. ความลึก 2.00 ม. 4#CC2#(62#/ ความลึ 1:2 ก 2.5.00 ม. ความลึก 3.00 ม.
L = ความยาว (ม.)
๑๕.๐๐ L = !"#$*#" ($.) ๑๕.๕๐ ๑๖.๐๐ 15.00 ๑๖.๕๐ 15.50 ๑๗.๐๐ 16.00 ๑๗.๕๐ 16.50 ๑๘.๐๐ 17.00 ๑๘.๕๐ 17.50 ๑๙.๐๐ 18.00 ๑๙.๕๐ 18.50 ๒๐.๐๐ 19.00 ๒๐.๕๐ 19.50 20.00 ๒๑.๐๐ 20.50 ๒๑.๕๐ 21.00 ๒๒.๐๐ 21.50 ๒๒.๕๐ 22.00 ๒๓.๐๐ 22.50 ๒๓.๕๐ 23.00 ๒๔.๐๐ 23.50 ๒๔.๕๐ 24.00 ๒๕.๐๐ 24.50 25.00 ๒๕.๕๐ 25.50 ๒๖.๐๐ 26.00 ๒๖.๕๐ 26.50 ๒๗.๐๐ 27.00
!"#$()% 2.00 $. ๕๖.๖๐ ๕๔.๕๐ ๕๒.๕๐ 56.60 ๕๐.๕๐ 54.50 ๔๙.๐๐ 52.50 50.50 ๔๗.๕๐ 49.00 ๔๕.๖๐ 47.50 ๔๔.๔๕ 45.60 ๔๓.๒๐ 44.45 ๔๒.๐๐ 43.20 ๔๐.๙๐ 42.00 ๓๙.๗๐ 40.90 ๓๘.๗๐ 39.70 ๓๗.๙๐ 38.70 ๓๗.๐๐ 37.90 37.00 ๓๖.๑๐ 36.10 ๓๕.๓๐ 35.30 ๓๔.๕๐ 34.50 ๓๓.๘๐ 33.80 ๓๓.๑๐ 33.10 ๓๒.๒๐ 32.20
W = !"#$%"&#' ($.) !"#$()% 2.5.00 $. ๕๑.๐๐ ๔๙.๐๐ ๔๗.๑๐ 51.00 ๔๕.๔๐ 49.00 ๔๓.๘๐ 47.10 45.40 ๔๒.๑๐ 43.80 ๔๐.๗๐ 42.10 ๓๙.๔๕ 40.70 ๓๘.๔๐ 39.45 ๓๗.๑๕ 38.40 ๓๖.๑๐ 37.15 ๓๕.๑๕ 36.10 ๓๔.๒๕ 35.15 ๓๓.๔๐ 34.25 ๓๒.๖๐ 33.40 32.60 ๓๑.๙๐ 31.90 ๓๑.๑๐ 31.10 ๓๐.๔๕ 30.45 ๒๙.๘๐ 29.80 ๒๙.๒๐ 29.20 ๒๘.๖๐ 28.60 ๒๘.๑๐ 28.10 ๒๗.๕๕ 27.55
!"#$()% 3.00 $. ๔๘.๕๐ ๔๖.๒๐ 48.50๔๔.๒๐ 46.20๔๒.๓๕ 44.20๔๐.๗๐ 42.35๓๙.๒๐ 40.70๓๗.๘๕ 39.20๓๖.๖๐ 37.85๓๕.๔๐ 36.60๓๔.๓๐ 35.40 ๓๓.๔๐ 34.30 33.40๓๒.๔๕ 32.45๓๑.๖๐ 31.60๓๐.๘๐ 30.80๓๐.๐๐ 30.00๒๙.๔๐ 29.40๒๘.๗๐ 28.70๒๘.๑๐ 28.10๒๗.๕๐ 27.50 ๒๗.๐๐ 27.00 26.40๒๖.๔๐
ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้ และมี าดด้านข้าง ๑ : ๒ !"#$%&า$งขอบสระ '&()*+,-".#/!"#$1"2ความยาวขอบสระ #/67E%+, !"#$0#"67E%+, 34,$? 4#C62#ล / 1:2F 60.0+
w = !"#$1"2#/67E%+, ($.)F
55.0+ 50.0+ 45.0+ 40.0+ 35.0+ 451 2.0 $.F
30.0+ 25.0+
451 3.0 $.F
451 2.5 $.F
20.0+ 15.0+
17.5+
20.0+
22.5+
25.0+
L = !"#$0#"67E%+, ($.)F
13
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ ๓ การจัดซื้อจัดจ้าง การควบคุมงาน การตรวจการจ้าง การเบิกจ่ายเงิน ๑.๑ ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญ เจ้าหน้าที่ต้องกระทำด้วยความระมัดระวังและเป็น ไปตามที่กฎหมายกำหนด ต้องดำเนินการอย่างรอบคอบและเป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ ไขเพิ่มเติมรวมทั้งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเลกทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ทั้งนี้ เพื่อให้การก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทานเป็นโครงการที่ประสบผลสำเร็จ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยมีขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ดังนี้ ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาจ้าง กระบวนการ รายงานความต้องการ
- แจ้งเหตุและความจำเป็นต้องใช้พัสดุ - กำหนดรายละเอียดพัสดุที่ต้องการ (TOR) - รายชื่อคณะกรรมการ ฯ
ระยะเวลา ดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบ
-
- หน่วยงานที่ ใช้พัสดุ
รายงานขอซื้อ/ ขอจ้าง (ข้อ ๒๗)
- ขออนุมัติดำเนินการซื้อ/จ้าง ตามระเบียบข้อ ๒๗
- ๑ วัน
- เจ้าหน้าที่พัสดุ - ผู้มีอำนาจอนุมัติ
ดำเนินการซื้อ/จ้าง
- ตกลงราคา ข้อ ๑๙, ๓๙ (วงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐) - สอบราคา ข้อ ๒๐, ๔๐-๔๓ (เกิน ๑๐๐,๐๐๐ – ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐) - ประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส์ (เงิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ ขึ้นไป) - วิธพี เิ ศษ ข้อ ๒๓,๕๗/๒๔,๕ (วงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐)
- ๓ วัน - ๑๒ วัน
- เจ้าหน้าที่พัสดุ - คณะกรรมการฯ
- คณะกรรมการฯ สรุปพิจารณาเสนอผ่าน หน.จนท.พัสดุ - เสนอผู้มีอำนาจ
- ๓ วัน
ขออนุมัติซื้อ/จ้าง
- ๕๐ วัน - ๓ วัน
- ๑ วัน
- คณะกรรมการฯ - หน.จนท.พัสดุ - ผู้มีอำนาจอนุมัติ
สัญญาซื้อ/จ้าง
- ดำเนินการจัดทำสัญญาซื้อ/จ้าง - แจ้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - บริหารสัญญา
- ๗ วัน - เจ้าหน้าที่พัสดุ - ๑/๒ วัน - คณะกรรมการ - ตามอายุส ญ ั ญา ตรวจรับพัสดุ
ส่งมอบ/ตรวจรับ
- รับมอบพัสดุจากผู้ขาย/ผู้รับจ้าง - ตรวจรับพัสดุ
- ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง - คณะกรรมการ ตรวจรับพัสดุ - งานคลังพัสดุ
เบิกจ่ายเงิน
14
รายละเอียด
- เตรียมเอกสารขอเบิกเงิน - วางฎีกาการเบิกจ่าย - เก็บรักษาเอกสาร
- ๓ วัน
- ๑ วัน - ๑ วัน
- เจ้าหน้าที่พัสดุ - เจ้าหน้าที่การเงิน
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
๑.๒ การควบคุมงาน การควบคุมง าน มีว ัตถุประสงค์เพื่อค วบคุม ตรวจสอบ และเข้าด ูก ารทำงานของผู้รับจ ้างให้ง านเป็นไปตาม รูปแบบ รายการข้อกำหนดและเงื่อนไข หลักวิธีการที่ดีและเป็นไปตามสัญญา ระเบียบสำนักน ายกรัฐมนตรีว ่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ ไขเพิ่มเติม กำหนดหน้าที่ของผู้ควบคุมงาน ไว้ดังนี้ ข้อ ๗๓ ผู้ควบคุมงานมีหน้าที่ ดังนี้ ๑. ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานที่ที่กำหนดไว้ ในสัญญา ทุกวัน ให้เป็นไปตามรูปแบบ รายการละเอียดและ ข้อกำหนดในสัญญาทุกประการ โดยสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ ไขเพิ่มเติมหรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตาม หลักวิชาการช่าง เพื่อให้เป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ปฏิบัติตาม ก็สั่งให้หยุดงานนั้น เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดแล้วแต่กรณี ไว้ก่อน จนกว่าผู้รับจ้างจะยอมปฏิบัติ ให้ถูกต้องตาม คำสั่งและรายงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทันที ๒. ในกรณีท ี่ป รากฏว่าแ บบรูป รายการละเอียด หรือข ้อก ำหนดในสัญญามีข ้อความขัดก ัน หรือเป็นท ี่ค าดหมายได้ว ่า ถึงแม้งานนั้นจะได้เป็นไปตาม แบบรูป รายการละเอียด หรือข้อกำหนดในสัญญา แต่เมื่อสำเร็จแล้วจะไม่ม ั่นคงแข็งแรง หรือ ไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือไม่ปลอดภัยให้สั่งพักงานไว้ก ่อน แล้วรายงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว ๓. จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ ้าง และเหตุการณ์แวดล้อมเป็นรายวัน พร้อมทั้งผลการปฏิบัติงาน หรือ การหยุดงาน และสาเหตุที่มีการหยุดงาน อย่างน้อย ๒ ฉบับ เพื่อรายงานให้ค ณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทุกส ัปดาห์ และเก็บรักษาไว้เพื่อมอบให้แก่เจ้าหน้าที่พัสดุ เมื่อเสร็จงานแต่ละงวด โดยถือว่าเป็นเอกสารสำคัญของทางราชการเพื่อ ประกอบการตรวจสอบของผู้มีหน้าที่ การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างให้ระบุรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและ วัสดุท ี่ ใช้ด้วย ๔. ในวันกำหนดลงมือทำการของผู้รับจ้างตามสัญญาและในวันถึงกำหนดส่งมอบงานแต่ละงวด ให้ร ายงานผลการ ปฏิบัติงานผู้รับจ้างว่าเป็นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบ ภายใน ๓ วันทำการ นับตั้งแต่วันถึง กำหนดนั้น
สรุปขั้นตอนการดำเนินการควบคุมงาน สัญญาจ้างก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นา นอกเขตชลประทาน ผอ. สพด. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการจ้าง และผู้ควบคุมงาน หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน ๑. ควบคุมงานทุกวันให้เป็นไปตามสัญญา ๒. สั่งแก้ ไข เพิ่ม ลด งาน ตามหลักวิชาและสัญญา ถ้าขัดขืน สั่งหยุดงานนั้นแล้วรายงาน คณะกรรมการ ๓. รายงานปัญหา หรือข้อขัดแย้งของแบบให้กรรมการทราบและแก้ปัญหา ๔. จดบันทึก ๒ ฉบับ ระบุขั้นตอนและวัสดุที่ ใช้ แล้วรายงาน ดังนี้ ฉบับที่ ๑ รายงานคณะกรรมการทุกสัปดาห์ ฉบับที่ ๒ ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ เมื่อเสร็จงานแต่ละงวด ๕. รายงานผลการทำงานเมื่อมีการส่งมอบงานแต่ละงวด ให้ก รรมการ ภายใน ๓ วันทำการ ควรมีการชี้แจง ให้ความรู้แก่เกษตรกรเจ้าของแหล่งน้ำและหมอดินอ าสา ให้ช่วยกันดูแลงาน ก่อสร้างให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดในสัญญา และหากพบปัญหาอุปสรรคให้ร ีบแจ้งม ายัง ผู้ควบคุมงานโดยเร็ว จัดทำรายงานเสนอคณะกรรมการตรวจการจ้าง
15
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑.๓ ขั้นตอนการตรวจการจ้าง คณะกรรมการตรวจการจ้างจะตรวจงานที่ผู้รับจ้างปฏิบัติงาน เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบรายละเอียดที่ ตกลงกันไว้ ในสัญญา โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้ ตรวจสอบการปฏิบัติงาน - ตรวจสอบการปฏิบัติงาน และเหตุการณ์แวดล้อมที่ผู้ควบคุมงานรายงาน - รับทราบหรือพิจารณาการสั่งหยุดงาน หรือพักงานของผู้ควบคุมงาน - รายงานผอ.สพด.เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป
- -
ออกตรวจงาน มีข ้อสงสัยหรือเห็นว่าไม่ปฏิบัติตามหลักวิชาการให้ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่ก่อสร้างแหล่งน้ำ มีอำนาจสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ ไข ตัดทอน เพิ่มเติม งานจ้างได้ตามที่เห็นส มควร และตามหลัก วิชาการเพื่อให้เป็นไปตามแบบสัญญา
ตรวจผลงาน - โดยปกติให้ต รวจผลงานทีผ่ ู้รับจ ้างส่งม อบงานภายใน ๓ วันท ำการ นับแ ต่ว ันท ีป่ ระธานกรรมการ ได้รับทราบการส่งมอบงานและให้ทำการตรวจรับให้เสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุด
- -
ทำใบรับรองผลการปฏิบัติงาน เมื่ อ ต รวจส อบแ ละเป็ น ไปต ามรู ป ร ายการล ะเอี ย ดแ ละข้ อ ก ำหนดในสั ญ ญาแ ล้ ว ให้ ถื อ ว่ า ผู้รับจ้างส่งมอบงานครบถ้วนตั้งแต่วันที่ผู้รับจ้างส่งงานจ้างนั้น ทำใบรับรองผลการปฏิบัติงานทั้งหมดหรือเฉพาะงวดงานแล้วแต่กรณี อย่างน้อย ๒ ฉบับ มอบแก่ผู้รับจ้าง ๑ ฉบับ เจ้าหน้าที่พัสดุ ๑ ฉบับ
รายงานให้หัวหน้าส่วนราชการทราบ ในกรณีที่เห็นว่าผลงานที่ส่งมอบทั้งหมดหรืองวดใดก็ตามไม่เป็นไปตามรูปแบบ รายการละเอียด และข้อกำหนดในสัญญาให้ดำเนินการ ดังนี้ รายงาน ผอ.สพด. ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
16
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
๑.๔ ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงิน ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินโครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน ๑. การเบิกเงินงบประมาณ ผู้รับจ้างส่งมอบงานพร้อมเอกสารการรับมอบบ่อ และภาพถ่ายแหล่งน ้ำข องผู้เข้าร่วมโครงการ/งวด (เรียนประธานกรรมการตรวจการจ้าง) ประธานกรรมการตรวจการจ้าง แจ้งผู้ควบคุมงานตรวจสอบบ่อน้ำที่ขอส่ง ผู้ควบคุมงานตรวจสอบและรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้าง คณะกรรมการตรวจการจ้างดำเนินการตรวจรับ และส่งเอกสารผ่านผู้ว่าจ้าง (ผอ.สพด.) ผอ.สพด. (ผู้ว่าจ้าง) มอบเอกสารให้งานธุรการเพื่อทำใบสำคัญเบิกเงิน งานธุรการมอบใบสำคัญให้งานการเงินเพื่อขอเบิกจ่ายในระบบ GFMIS งานการเงินขอเบิกจ่ายเงินในระบบ GFMIS online ไปที่คลังจังหวัด คลังจังหวัดตรวจสอบถูกต้องแล้ว online ไปที่กรมบัญชีกลาง กรมบัญชีกลางโอนเงินเข้าบัญชีผู้รับจ้างภายใน ๓ – ๕ วันทำการ ผู้รับจ้างรับเงินและออกใบเสร็จรับเงินให้หน่วยงาน
๒. ขั้นตอนการรับ – จ่ายเงินสมทบของเกษตรกร เจ้าหน้าทีห่ น่วยรับผิดชอบพืน้ ทีจ่ ะทำการขุดบ่อน้ำ แจ้งเก็บเงินสมทบจากผูเ้ ข้าร่วมโครงการบ่อละ ๒,๕๐๐ บาท นำเงินสมทบทีเ่ ก็บฝากธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ (บัญชีเงินฝากกระแสรายวันของหน่วยงาน) เจ้าหน้าทีห่ น่วยรับผิดชอบนำใบฝากธนาคารพร้อมเอกสารรายชือ่ เจ้าหน้าที่ ให้งานการเงินเพือ่ ลงบัญชีรบั เงิน งานการเงินเขียนเช็คสั่งจ่ายผู้รับจ้าง (โดยหักภาษี ณ ที่จ่ายส่งสรรพากร) ผู้รับจ้างออกใบเสร็จรับเงินให้หน่วยงาน งานธุรการมอบเอกสารต่างๆให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (เพื่อคีย์ข้อมูลบ่อน้ำเข้าระบบ)
17
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ ๔ การดูแลรักษาแหล่งน้ำในไร่นาและการจัดการดิน การดูแลรักษาแหล่งน้ำ การที่แหล่งน้ำในไร่นาหรือบ่อน้ำจะมีอายุการใช้งานได้นานนั้นจำเป็นต้องมีการบำรุงรักษาอย่างเหมาะสม บ่อน้ำจะมี ประสิทธิภาพในการกกั เก็บน ำ้ ได้ล ดลง หากบอ่ น้ำต นื้ เขินค วรปอ้ งกันโดยไม่ ให้ด นิ ข อบบอ่ ไหลลงไปในบอ่ และปอ้ งกันไม่ ให้ด นิ ข า้ ง นอกที่ ไหลมากับน้ำเข้ามาในบ่อได้ นอกจากนี้ยังต้องดูแลให้คันบ่อมีความแข็งแรงอีกด้วย การดูแลรักษาแหล่งน้ำต้องทำอย่าง สม่ำเสมอดังนี้ ก่อนฤดูฝน ต้องกำจัดวัชพืชที่ขึ้นปกคลุมรอบๆ บ่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณทางน้ำเข้าให้เรียบร้อย เพื่อจะให้น ้ำฝน ไหลเข้าบ ่อ ได้อย่างสะดวกและไม่เกิดการกัดเซาะ หลังฤ ดูฝ น เมือ่ บ อ่ เก็บก กั น ำ้ ไว้แ ล้ว ให้ต รวจดบู ริเวณรอบๆ บ่อ หากมกี ารรวั่ ซ มึ ให้ด ำเนินก ารแก้ ไข โดยการบดอดั ห รือ ใช้ดินเหนียวปิดทับ กรณีมีร่องรอยการกัดเซาะบริเวณทางน้ำเข้าห รือบริเวณขอบบ่อ ให้ท ำการปรับแ ต่งแล้วปลูกห ญ้าซ ่อมแซม ให้เรียบร้อย
การปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดินบริเวณขอบบ่อ เกษตรกรที่ ได้ร บั ก ารสง่ เสริมข ดุ บ อ่ น้ำในไร่น าจากกรมพฒ ั นาทีด่ นิ เพือ่ ก กั เก็บน ำ้ ไว้ ใช้ป ระโยชน์ท างการเกษตร จำเป็น ต้องมกี ารป้องกันการพังทลายของดินบริเวณขอบบ่อ เนื่องจากบริเวณด้านข้างของแหล่งน้ำในไร่นาที่เกิดจากการขุดดินออกเพื่อ ให้เป็นบ่อ จะมีความลาดชันและผิวดินเปิดโล่งไม่มีสิ่งปกคลุมทำให้น้ำกัดเซาะดินลงไปในก้นบ่อเกิดการตื้นเขิน จึงควรนำหญ้า แฝกมาปลูกเพื่อช่วยกรองเศษตะกอนดินหรือสิ่งปฏิกูลต่างๆ ไม่ ให้ ไหลลง บ่อ และยึดดินขอบบ่อโดยกรมพัฒนาที่ดินส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกหญ้า แฝกบริเวณขอบบ่อดังนี้ ๑. การปลูกหญ้าแฝก เกษตรกรควรขุดแนวร่องปลูกตามแนว ระดับ จำนวน ๒ แถว แถวแรกอยู่ โดยรอบขอบบ่อห ่างจากบริเวณริมขอบ บ่อ ๕๐ เซนติเมตร และแถวที่ ๒ ปลูกทรี่ ะดับน้ำสูงสุด ๑ แถว และอาจ ปลูกเพิ่มอ ีก ๑ - ๒ แถว ซึ่งขึ้นอยู่กับความลึกของขอบบ่อและจำนวนกล้า หญ้าแฝก ๒. ควรใส่ปุ๋ยหมักรองพื้นในร่องปลูกเพื่อเป็นการปรับปรุงบำรุง ดิน และเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซึ่งจะช่วยให้หญ้าแฝกมีการเจริญ เติบโต แตกหน่อใหม่ ได้เร็วขึ้น และรากเจริญลงในดินได้ล ึก ๓. หากเกษตรกรมกี ล้าห ญ้าแ ฝกแบบเพาะชำถงุ ข นาดเล็ก ควรใช้ ระยะปลูกห ่าง ๑๐ เซนติเมตร หรือมีกล้าหญ้าแ ฝกแบบรากเปลือย (ที่เกิด รากอ่อนแล้ว) นำไปปลูกโดยใช้ระยะห่าง ๕ เซนติเมตร ควรปลูกในช่วงฤดู ฝนจะทำให้กล้าแฝกเจริญขึ้นได้ง่าย ๔. หลังจ ากปลูกห ญ้าแ ฝกแล้วเกษตรกรควรปลูกซ อ่ มในจดุ ท หี่ ญ้า แฝกตาย เพื่อให้แนวรั้วหญ้าแ ฝกหนาแน่น
18
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
๕. เมื่อปลูกหญ้าแฝกได้ประมาณ ๓ เดือน ควรตัดใบหญ้าแ ฝกให้ส ูงจากระดับผิวดิน ๕๐ เซนติเมตร เพื่อเร่งการ แตกกอ โดยเกษตรกรนำใบหญ้าแ ฝกไปใช้ประโยชน์เป็นว ัสดุคลุมดินบ ริเวณโคนต้นไม้ผ ล แปลงผัก เพื่อช่วยรักษาความชื้นในดิน และช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียว ัตถุให้แก่ดินได้ ๖. บริเวณขอบบ่อน้ำในไร่นานอกจากปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายขอบบ่อเกษตรกรยังสามารถปลูกพืชผัก สวนครัว หรือไม้ผลต่างๆ ไว้บริโภคในครัวเรือนเป็นการใช้ป ระโยชน์บ่อน้ำในไร่นาได้อ ย่างมีประสิทธิภาพ ภายหลังจากการขุดบ่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว เกษตรกรต้องมีความตั้งใจ ประกอบอาชีพทางการเกษตร โดยกรมพัฒนาที่ดินจะให้การสนับสนุนปัจจัยการ ผลิตทางการเกษตรตามความเหมาะสม เช่น ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของ กรมพัฒนาที่ดิน ได้แก่ เมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด หญ้าแฝก สารเร่งซุปเปอร์ พด.๑ (จุลนิ ทรียส์ ำหรับผ ลิตป ยุ๋ ห มัก) สารเร่งซ ปุ เปอร์ พด.๒ (จุลนิ ทรียส์ ำหรับผ ลิตน ำ้ ห มัก ชีวภาพ) สารเร่งซ ุปเปอร์ พด.๓ (จุลินทรียค์ วบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืช) สารเร่ง พด.๖ (จุลินทรีย์สำหรับผลิตสารบำบัดน ้ำเสียและขจัดกลิ่นเหม็น) สารเร่งซุปเปอร์ พด.๗ (จุลินทรียส์ ำหรับผลิตสารป้องกันแมลงศัตรูพืช) สารเร่งจุลินทรีย์ซุปเปอร์ พด. ๙ (จุลินทรีย์ละลายฟอสฟอรัสที่ถูกตรึงในดินกรด และดินเปรี้ยว) พด.๑๑ (จุลินทรีย์ สำหรับพืชปรับปรุงบำรุงดิน ปอเทืองและโสนอัฟริกัน) และปุ๋ยชีวภาพ พด.๑๒ พร้ อ มทั้ งค ำแ นะนำทางวิชาการในการปรับปรุง บ ำรุ งดิ น เพื่ อเพิ่ มผ ลผลิ ตท าง การเกษตร ลดต้นทุน และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
การดูแลรักษาคุณภาพน้ำโดยใช้ป ัจจัยการผลิตของกรมพัฒนาที่ดิน น้ำเป็นท รัพยากรธรรมชาติท มี่ คี วามสำคัญอ ย่างยงิ่ ต อ่ ก ารทำการเกษตรโดยเฉพาะอย่างยงิ่ ก ารรกั ษานำ้ ให้ม คี ณ ุ ภาพดี ต่อก ารผลิตท างการเกษตร ทัง้ ด า้ นกายภาพ ชีวภาพและเคมีข องนำ้ การรกั ษาคณ ุ ภาพนำ้ ให้ส ะอาดสามารถใช้ว ธิ ที างเทคโนโลยี ชีวภาพโดยมีการจัดการดังนี้คือ ๑. การใส่ปุ๋ยห มักลงในบ่อน้ำ นำปุ๋ยห มักท ี่ผลิตได้จ ากการใช้ผลิตภัณฑ์ส ารเร่ง ซุปเปอร์ พด.๑ ของกรมพัฒนาที่ดิน ใส่ลงในบ่อน้ำ ทุก ๑ เดือน ในอัตรา ๒๕๐ กิโลกรัมต่อป ริมาตรน้ำ ๔๐๐ ลูกบาศก์เมตร เชื้อจุลินทรีย์ย่อยสลายเซลลูโลสจาก ปุ๋ยหมักจ ะช่วยย่อยสลายเศษขี้เลนบริเวณผิวก้นบ่อ เพื่อป้องกันก ารเกิดการเน่าเสียของเศษขี้เลน ๒. การใส่น้ำหมักชีวภาพลงในบ่อน้ำ นำน้ำหมักชีวภาพที่ผลิตได้จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรลักษณะสด เช่น เศษปลา ผัก ผลไม้ และเศษอาหารในครัวเรือนโดยใช้ผลิตภัณฑ์สารเร่งซุปเปอร์ พด.๒ หรือสารเร่ง พด.๖ ของกรมพัฒนาที่ดิน ใส่ลงในบ่อน้ำ อัตรา ๑ ลิตรต่อปริมาตรน้ำ ๑๐ ลูกบาศก์เมตร เพื่อเป็นการช่วยกำจัดข องเสียที่เกิดก ารทำงานของจุลินทรีย์และ รักษาระดับค ่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำให้มีความเหมาะสมในการใช้ป ระโยชน์ทางการเกษตร
19
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การดูแลรักษาคุณภาพน้ำในบ่อในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด พืน้ ทีด่ นิ เปรีย้ วจดั น อกจากมปี ญ ั หาจากสภาพดนิ เป็นกรดจดั แ ล้ว น้ำในบริเวณพนื้ ที่ ยังเป็นกรดจดั อ กี ด ว้ ย เมือ่ ข ดุ บ อ่ ในพนื้ ทีด่ งั ก ล่าว โดยขดุ ด นิ ช นั้ ล า่ งๆ ขึน้ ม าอยูบ่ ริเวณขอบบอ่ ซึง่ ท ำให้ด นิ บ ริเวณบอ่ แ ละขอบบอ่ ม คี วามเป็นกรดรนุ แรงมากขนึ้ เมือ่ ป ล่อยนำ้ เข้าไปขงั ในบอ่ ดังกล่าว น้ำจะละลายกรดออกมา ทำให้น ้ำเป็นกรดจัด นอกจากนั้นแ ล้วเมื่อฝนตก น้ำฝ น จะชะล้างกรดจากดินขอบบ่อล งไปสะสมในบ่อ เพิ่มความเป็นกรดของน้ำในบ่อมากขึ้น ดังน นั้ ก ารใช้ป ระโยชน์ข องนำ้ ในบอ่ ท ขี่ ดุ เพือ่ ก ารอปุ โภค บริโภค ปลูกพ ชื และเลีย้ ง ปลานั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับสภาพดินในบ่อ ดินขอบบ่อ และน้ำในบ่อให้เหมาะสม โดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ ๑. หว่านปูนทั่วพ ื้นที่ ในบ่อแ ละขอบบ่อ ทิ้งไว้ประมาณ ๑๐ – ๒๐ วัน หรือจนกว่า ฝนตกแล้วกักเก็บน้ำในบ่อให้มีระดับน้ำสูงอย่างน้อย ๒ เมตร จากก้นบ ่อขึ้นม าเพื่อป้องกัน การเกิดกรดเพิ่มข ึ้น ๒. ตรวจวดั ค วามเป็นกรดเป็นด า่ งของนำ้ ในบอ่ ห ลังข งั น ำ้ และตรวจวดั ท กุ ๗ – ๑๐ วัน ถ้ายังเป็นกรดสูง ควรใส่ปูนล งบ่อโดยใช้ปูน ๑ กิโลกรัมต่อน ้ำ ๑ ลูกบาศก์เมตร จนกว่าค วามเป็นกรดเป็นด ่างเหมาะสม ๓. กรณีท เี่ ลีย้ งปลาในบอ่ ห ลังจ ากจบั ป ลาแล้วท ำการลอกเลนกนั บ อ่ ตากบอ่ เพือ่ ฆ า่ เชือ้ โรคกอ่ นทปี่ ล่อยนำ้ เข้าค รัง้ ต อ่ ไป ทั้งนี้ จำเป็นต้องหว่านปนู รอบๆ ผนังบ่อแ ละก้นบ่อด้วย
วิธีการจัดการดินเพื่อปลูกพ ืชเศรษฐกิจ ๑. การจัดการดินอินทรียวัตถุต ่ำบนคันดินรอบบ่อเพื่อป ลูกพ ืช การใช้ประโยชน์ที่ดินบนคันดินรอบบ่อที่มีอินทรียวัตถุต่ำนั้น จำเป็นต้องทำการปรับปรุงแก้ โครงสร้างดินให้เหมาะสม โดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ ๑. หว่านเมล็ดพ ันธุ์พืชปุ๋ยส ด เมื่อพืชเริ่มออกดอกหรือมีอายุประมาณ ๕๕ – ๖๐ วัน ให้ส ับกลบเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ และความอุดมสมบูรณ์ ให้แก่ดิน พืชปุ๋ยสด ได้แก่ ถั่วพุ่ม ปอเทือง ถั่วพ ร้า และโสนอัฟริกัน
20
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
๒. เตรียมดินให้ล ะเอียดสม่ำเสมอ และใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยห มักหรือปุ๋ยคอกเพิ่มอินทรียวัตถุ แล้วปลูกพ ืชผ ักอ ายุสั้น ที่ทำรายได้ดี ได้แก่ ผักคะน้า ผักชี ถั่วฝักยาว บวบ มะระ พริกข ี้หนู กระเจี๊ยบเขียว หรือไม้ดอกบางชนิดที่สามารถเก็บผ ลผลิต ขายได้ตลอดปี
๓. เตรียมดินสำหรับปลูกไม้ยืนต้น บางชนิด เช่น มะม่วง กล้วย บริเวณคันดินขอบบ่อ โดยปรับส ภาพดินบริเวณหลุม ให้เหมาะสม ใส่ป ุ๋ยหมักปุ๋ยค อกคลุกเคล้ากับดิน ก่อนปลูกต ้นไม้แ ล้วคลุมโคนต้นด ้วยฟางข้าว
การจัดการดินเค็มบนคันดินรอบบ่อก่อนการเพาะปลูกพืช ๑. เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยการใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยค อก แกลบ ในอัตรา ๒ – ๓ ตันต ่อไร่ หรือโดย การปลูกพืช ปุ๋ยสดทนดินเค็ม เช่น โสนอัฟริกัน อัตราเมล็ด ๕ กิโลกรัมต่อไร่ ไถกลบที่อายุ ๕๕ – ๖๐ วัน หรือ ถั่วพร้า อัตราเมล็ด ๘ กิโลกรัมต ่อไร่ แล้วไถกลบเมื่อออกดอก ๒. ป้องกันก ารเคลือ่ นทีข่ องเกลือจ ากนำ้ ใต้ดนิ ไม่ ให้ส ะสมในชนั้ ด นิ โดยการรองพนื้ ด ว้ ยแผ่นพ ลาสติก หรือถ งุ ป ยุ๋ ท รี่ ะดับ ความลึก ๒๐ - ๓๐ เซนติเมตร จากผิวดิน ๓. คลุมดินด้วยฟางข้าว หรือ เศษซากพืช เพื่อลดการระเหยน้ำข องดิน ๔. ใช้น้ำในปริมาณที่มากกว่าป กติเพื่อเพิ่มการชะล้างเกลือ ๕. ปลูกหญ้าทนเค็ม เช่น หญ้าดิกซ ี่บนคันบ่อเพื่อป้องกันก ารชะล้างพังท ลายของคันบ่อ ๖. ปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มบนคันดินรอบๆ บ่อน้ำ เช่น ละมุด พุทรา สะเดา กระถินออสเตรเลีย (อะคาเซีย) ๗. เลือกพืชทนเค็มมาปลูก เช่น ผักบุ้ง คะน้า มะเขือเทศ เป็นต้น
21
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การจัดการดินเปรี้ยวบนคันดินรอบบ่อก่อนการเพาะปลูกพ ืช การแก้ป ัญหากรดในดินเปรี้ยว และเพิ่มธาตุอาหารในดิน ๑. ลดความรุนแรงของกรดในดิน ลดสารพิษ ใส่ป ูนแก้ความเป็นกรดของดิน เช่น ปูนม าร์ล หินปูนบด ปูนโดโลไมท์ ปูนขาว ปูนคัลไซท์ เป็นต้น ๒. ปรับด ินให้ร่วนซุย ด้วยการใส่อินทรียวัตถุ ปุ๋ยห มัก แกลบสด แกลบเผา ทำให้ด ินโปร่งร ่วนซุยข ึ้น ไม่เหนียวแน่น การระบายน้ำและอากาศดีขึ้น ๓. เพิ่มธ าตุอาหารพืช ใส่ปุ๋ยห มัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพ ืชสด และปุ๋ยเคมีช นิดและปริมาณที่เหมาะสม ๔. ดินเปรี้ยวจัดท ี่ ได้รับการปรับปรุงแก้ ไขแล้ว สามารถปลูกพ ืชได้เกือบทุกชนิด อย่างไรก็ตามควรเลือกชนิดพืชปลูกที่ เหมาะสม
การแก้ปัญหาน้ำที่เป็นกรด เพื่อใช้ ในการปลูกพ ืช ใส่ปูนลงในน้ำปริมาณ ๑ กิโลกรัมต่อน้ำ ๑ ลูกบาศก์เมตร มีการถ่ายเทน้ำเป็นครั้งค ราวระบายน้ำท ี่เป็นกรดออกไป บำบัด และปล่อยน้ำใหม่เข้าไป พร้อมทั้งคอยตรวจสอบความเป็นกรดของน้ำเป็นร ะยะๆ
22
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
บทที่ ๕ การใช้ประโยชน์แหล่งน้ำในไร่นา การนำน้ำในบ่อมาใช้เพื่อการปลูกพืชจะเป็นประโยชน์มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้น้ำ ของเกษตรกร และการเลือกชนิดพืชปลูกที่เหมาะสม เกษตรกรสามารถใช้น้ำจากบ่อในการทำนาโดยนำไปใช้สำหรับการ เพาะกล้าข า้ ว หรือใช้ ในกรณีท ฝี่ นทงิ้ ช ว่ งและเป็นร ะยะทตี่ น้ ข า้ วจำเป็นต อ้ งใช้น ำ้ เพือ่ ก ารเจริญเติบโตและให้ผ ลผลิต นอกจากใช้ เพือ่ ก ารทำนาแล้วก ารปลูกพ ชื ผ กั ร อบบอ่ ห รือป ลูกพ ชื ห ลังน า บริเวณใกล้เคียงบอ่ น้ำ โดยนำนำ้ จ ากบอ่ ไปใช้ ก็จ ะทำให้เกษตรกร มีร ายได้เพิ่มข ึ้นจ ากการปลูกพ ืชด ังก ล่าว เพื่อให้การใช้น ้ำเกิดป ระโยชน์ม ากที่สุดแ ละเพียงพอสำหรับใช้ป ลูกพ ืชได้ต ลอดฤดูกาล เกษตรกรควรเลือกปลูกพ ืชทมี่ ีอายุการเก็บเกี่ยวสั้น รวมทั้งมีการจัดการเรื่องน้ำท ี่เหมาะสมตามที่พืชต้องการ
แตงกวา การให้น้ำ หลังปลูกให้รดนํ้าทันที การปลูกแบบหยอดเมล็ด ให้นํ้าโดยวิธีการฉีดพ่นให้ เป็นฝอยละเอียด ส่วนการปลูกแบบย้ายกล้า การให้น้ำอ าจจะแตกต่างกัน ขึ้นอยูก่ ับสภาพ พื้นที่ แต่ที่เหมาะสมกับแตงกวา คือการให้น้ำตามร่อง เพราะจะไม่ทำให้ลำต้น และ ใบเปียกชื้น ลดการลุกลามของโรคพืชทางใบ ช่วงเวลาการให้น้ำ ในระยะแรกควรให้ ๒-๓ วันต่อครั้ง และเมื่อต้นแตงกวา เริ่มเจริญเติบโตแล้วจ ึงปรับช ่วง เวลาการให้น้ำให้ นานขึ้น ข้อควรคำนึงสำหรับการให้น้ำนั้น คือ ต้องกระจายในพื้นที่ ให้สม่ำเสมอตลอดแปลง และตรวจดูความชื้นในดินไม่ ให้สูงเกินไปจนกลายเป็นแ ฉะ เพราะจะทำให้แตงกวารากเน่าได้
คะน้า
เป็นพ ชื ท ี่ ไม่ช อบนำ้ ข งั แต่ต อ้ งการนำ้ อ ย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ เพราะตน้ ค ะน้าม กี ารเจริญเติบโต อย่างรวดเร็ว ดังน นั้ จึงต อ้ งปลูกในแหล่งท มี่ นี ำ้ เพียงพอตลอดฤดูป ลูก หากคะน้าข าดนำ้ จ ะทำให้ ชะงักก ารเจริญเติบโตและคณ ุ ภาพไม่ด เี ท่าท คี่ วร โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในระยะทเี่ มล็ดเริม่ ง อก การ ให้น้ำให้ ใช้ฝักบัวฝอยรดให้ทั่วและให้ช ุ่ม วันละ ๒ ครั้ง ในเวลาเช้าแ ละเย็น
ถั่วฝักยาว เป็นพืชที่ต้องให้น้ำอย่างสม่ำเสมอและเพียงพอ หลังหยอดเมล็ด ควรให้น้ำท ุกวัน แต่อ ย่าให้ม ากเกินไปเพราะจะทำให้เมล็ดเน่าได้ ระยะเจริญเติบโตหลังจ ากถอนแยกแล้ว ควรให้น้ำทุก ๓-๕ วันต่อครั้ง เมื่อเริ่มติดดอกออกผล ควรให้น ้ำท ุกวัน วันละ ๒ ครั้ง ในช่วงเช้าและเย็น เพราะหากขาดน้ำ จะทำให้ดอกถั่วฝักยาวร่วง ไม่ติดฝัก หรือฝักอาจ ไม่สมบูรณ์ วิธกี ารให้น้ำอาจใช้วิธีปล่อยน้ำเข้าตามร่อง หรือตักร ดโดยตรง ขึ้นอยูก่ ับแหล่งน้ำท ี่มี สภาพพื้นที่ปลูก และความสะดวกของผู้ปลูก
ผักชี เป็นผักที่ต้องการน้ำมากแต่ ไม่ชอบน้ำข ัง การให้น้ำห ลังจากหว่านเมล็ดเสร็จแล้ว รดน้ำโดยใช้ฝักบัว ฝอย หรือเครื่องฉีดฝอยฉีดรดให้ทั่วและชุ่มแปลง จากนั้นค วรให้น้ำอ ย่างสม่ำเสมอวันละ ๒ ครั้ง ใน เวลาเช้าและเย็น แต่อย่าให้มากจนเกินไป เพราะหากได้รับน้ำม ากเกิน ต้นผ ักชีจะเน่าง ่าย 23
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ต้นหอม การให้น้ำ ช่วงแรกต้องรดน้ำวันละ ๒ ครั้ง เวลาเช้าและเย็น เมื่อต้นห อม เริ่มมี ใบยื่นย าว ลดการให้น้ำลงเหลือเพียงวันละครั้ง เคล็ดล ับการปลูกต ้นห อมให้ งาม อยู่ที่การคลุมดินให้คงความชื้นไว้ แต่สามารถระบายน้ำได้ดี โดยการนำเอา ฟางแห้ง หญ้าแ ห้ง เปลือกถั่วลิสง หรือแกลบดิบ คลุมหน้าด ินไว้
กระเทียม การให้น้ำ หลังปลูกเสร็จควรรดน้ำทันที ต่อจากนั้น ให้รดน้ำ ๓ - ๕ วันต่อ ครั้ง และเมื่อป ลูกไปแล้ว ๓๐ วัน หรืออายุประมาณ ๑ เดือน ให้ร ดน้ำทุก ๗ - ๑๐ วันต่อครั้ง เมื่อกระเทียมมีอายุเกินกว่า ๖๐ วัน ลดปริมาณการให้น ้ำลงเหลือ ๒ ครั้ง ต่อเดือน และควรงดการให้น ้ำเมื่อกระเทียมแก่จัด หรือก่อนเก็บเกี่ยวประมาณ ๒ - ๓ สัปดาห์
มะเขือเทศ ต้องการนำ้ อ ย่างสม่ำเสมอ ตัง้ แต่เริม่ ป ลูกไปจนถึงผ ลเริม่ แ ก่ (ผลมกี ารเปลีย่ นส)ี แต่ ระยะทตี่ อ้ งการนำ้ ม ากคอื ช่วงแรกของการเจริญเติบโตและชว่ งทผี่ ลกำลังข ยาย หลังจ ากนนั้ ควรลดการให้น ้ำลง มิฉ ะนั้นอาจทำให้ผลแตกได้ การรดน้ำม ากเกินไปจะทำให้ด ินมีความชื้น สูง ทำให้เชื้อราทเี่ป็นสาเหตุ ให้เกิดโรคเน่าเจริญได้ด ี แต่หากมะเขือเทศขาดน้ำ และมีการ ให้น้ำอย่างกะทันหันก็จะทำให้ผลแตกได้เช่นกัน
พริก ปกติพริกเป็นพ ืชที่ ไม่ต้องการน้ำมากนัก แต่ ในช่วงแรกของการเจริญเติบโต โดยเฉพาะ หลังย้ายกล้าปลูก ควรได้รับน้ำอย่างสม่ำเสมอจนกว่าพริกจ ะตั้งต ัวได้ การให้น้ำท ุกครั้งไม่ควรให้ มากเกินไป และไม่ค วรปล่อยให้ด นิ แ ห้งม ากเพราะจะทำให้ช ะงักก ารเจริญเติบโต ในชว่ งเก็บผ ลผลิต ควรลดการให้น้ำเพื่อจะทำให้ค ุณภาพผลผลิตดี สีของผลสวย
ข้าวโพดฝักอ่อน เป็นพ ชื ท ตี่ อ้ งการนำ้ อ ย่างสม่ำเสมอตลอดฤดูป ลูก การขาดนำ้ ห รือป ล่อยให้ด นิ แ ห้งช ว่ งใดชว่ งหนึง่ ของการเจริญเติบโต จะทำให้ก ารเจริญเติบโตหยุดช ะงัก และมผี ลกระทบถงึ ผ ลผลิตข นาดฝกั อ อ่ นและ คุณภาพของฝัก โดยเฉพาะฝักที่มีรูปร่างผิดปกติจะเกิดขึ้นม ากถ้าขาดน้ำในช่วงติดฝักอ่อน ในการ ปฏิบัติทั่วไปการให้น้ำ ในฤดูแล้ง คือขณะทขี่ ้าวโพดยังเล็ก ให้น้ำท ุก ๒ - ๓ วัน เมื่อต้นส ูงประมาณ ๕๐ - ๖๐ เซนติเมตร ให้น้ำทุก ๕ - ๗ วัน ต่อจากนั้นให้น้ำเมื่อดินในแปลงเริ่มแห้ง
ข้าวโพดหวาน
24
การให้น้ำ ในช่วง ๗ วันแ รก หลังปลูกเป็นร ะยะที่ข้าวโพดหวานขาดน้ำไม่ ได้ เพราะ เป็นร ะยะทกี่ ำลังง อก ถ้าข า้ วโพดหวานขาดนำ้ ช ว่ งนจี้ ะทำให้ก ารงอกไม่ด ี จำนวนตน้ ต อ่ พ นื้ ทีก่ ็ จะนอ้ ยลงจะทำให้ผ ลผลิตล ดลงไปดว้ ย ระยะทขี่ าดนำ้ ไม่ ได้อ กี ช ว่ งหนึง่ ค อื ร ะยะออกดอก การ ขาดนำ้ ในชว่ งนจี้ ะมผี ลทำให้ก ารผสมเกสรไม่ส มบูรณ์ การตดิ เมล็ดจ ะไม่ด ี ติดเมล็ดไม่เต็มถ งึ ปลายหรือติดเมล็ดเป็นบ างส่วน ซึ่งฝักที่ ได้จ ะขายได้ร าคาต่ำ โดยปกติค วรให้น้ำท ุก ๓ - ๕ วัน ขึ้นกับสภาพต้นข้าวโพดและสภาพอากาศ แต่ช่วงที่ควรให้น้ำถ ี่ขึ้นค ือช ่วงที่ข้าวโพดกำลัง งอกและช่วงออกดอก
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
มะเขือเปราะ ต้องการน้ำอย่างสม่ำเสมอ โดยช่วงแรกหลังย้ายกล้าลงปลูก ให้น้ำว ันล ะ ๒ ครั้ง เวลาเช้าและเย็น เมื่อต้นกล้าต ั้งตัวได้ด ีแล้ว จึงลดการให้น้ำลงเหลือวันละครั้ง ก็พอ
ผักกาดขาว ต้องการน้ำอย่างสม่ำเสมอตลอดฤดูปลูก ในระยะแรกเมื่อผักกำลังงอก ควรให้น้ำ วันละ ๓ - ๔ ครั้ง เมื่อผักมีอายุเกิน ๗ วันไปแล้ว ก็ลดลงเหลือให้วันล ะ ๓ ครั้ง พออายุ เกิน ๑ เดือนไปแล้วให้น้ำเพียงวันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็น การให้น้ำค วรใช้บ ัวรดน้ำหรือ ใช้เครื่องฉีดพ่นเป็นฝอย แต่ ไม่ควรฉีดพ่นแรงมากนัก เพราะอาจจะเป็นอันตรายต่อผักได้ การให้น้ำผักกาดขาวระยะที่ควรระวังที่สุดคือ ช่วงที่ผักกาดขาวกำลังห่อปลี ไม่ควรให้ขาดน้ำ อย่างเด็ดขาด เพราะจะทำให้ก ารห่อปลีแ ละการเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์
กะหล่ำปลี การให้ น้ ำ ควรให้ น้ ำ อ ย่ า งส ม่ ำ เสมอแ ละเพี ย งพ อ ช่ ว งที่ ก ะหล่ ำ ป ลี ก ำลั ง เจริ ญ เติบโตคือหลังปลูกไปแล้วประมาณ ๒ - ๓ สัปดาห์ เป็นระยะเวลาที่ต้องการน้ำมาก ที่ สุ ด หากข าดน้ ำ จ ะท ำให้ก ะหล่ ำป ลี เข้ าหั ว ช้ า และเมื่ อก ะหล่ ำป ลี เข้ าป ลี เต็ มที่ แ ล้ ว ควรลดปริมาณน้ำให้น้อยลง เพราะหากกะหล่ำป ลี ได้ร ับน้ำม ากเกินไปจะทำให้ปลีแตกได้
กะหล่ำดอก การให้น้ำ ในช่วงแรกไม่ต้องให้น้ำมากนัก เพียงให้ดินม ีความชุ่มชื้นสม่ำเสมอ ถ้าแฉะเกิน ไปจะเป็นโรคเน่าเละได้ง่าย เมื่อกะหล่ำดอกโตขึ้นก็ ให้น้ำมากขึ้นเพราะการระเหยน้ำเกิดเร็ว ขึ้น โดยให้น้ำวันละ ๒ ครั้ง เวลาเช้าและเย็น ไม่ควรปล่อยให้กะหล่ำด อกขาดน้ำ เพราะจะ ชะงักก ารเจริญเติบโตและกระทบกระเทือนตอ่ ก ารสร้างดอก ทำให้ค ณ ุ ภาพและปริมาณดอก ลดลง ในฤดูแล้งควรมีการคลุมดินด้วยฟางหรือหญ้าแ ห้ง จะช่วยให้ร ักษาความชื้น ในดินไว้ ได้ดี
การปลูกผ ักโดยวิธีเกษตรอินทรีย์ นอกจากการใช้น้ำจากบ่อน้ำที่ขุดขึ้นแล้ว หากเป็นการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ โดยเฉพาะการใช้ผลิตภัณฑ์ สารเร่งจ ลุ นิ ทรียท์ ผี่ ลิตโดยกรมพฒ ั นาทีด่ นิ ไม่ว า่ จ ะเป็นน ำ้ ห มักช วี ภาพ ซึง่ ผ ลิตจ ากสารเร่งซ ปุ เปอร์ พด.๒ การใช้จ ลุ นิ ทรียค์ วบคุม โรคพืช ซุปเปอร์ พด.๓ ผสมปุ๋ยหมัก การใช้สารป้องกันแ มลงศัตรูพืชซ ึ่งผลิตจ ากสารเร่งซุปเปอร์ พด.๗ และปุ๋ยหมักชีวภาพ พด. ๑๒ นอกจากจะเป็นการช่วยเพิ่มผลผลิตแล้ว ยังเป็นการลดต้นทุนก ารผลิต และจะเป็นว ิธีการเพาะปลูกท ี่นำไปสู่การเกษตร ยั่งยืน ตัวอย่างอัตราการใช้ผลิตภัณฑ์สำหรับพ ืชผัก มีดังนี้ พืชผ กั เช่น พริก ข้าวโพดฝกั อ อ่ น เป็นต้น ใช้น ำ้ ห มักช วี ภาพทผี่ ลิตจ ากสารเร่งซ ปุ เปอร์ พด.๒ ทีเ่ จือจ างแล้วในอตั ราส่วน ๑ : ๑,๐๐๐ จำนวน ๖๐ ลิตรต่อไร่ ทุกๆ ๑๐ วัน จุลินทรีย์ควบคุมโรคพืช ซุปเปอร์ พด.๓ ในส่วนผสมปุ๋ยห มัก ๑๐๐ กิโลกรัม ต่อไร่ และสารป้องกันแมลงศัตรูพืชผลิตจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.๗ อัตราเจือจาง ๑ : ๕๐๐ จำนวน ๖๐ ลิตรต่อไร่ ในกรณีที่ ไม่มกี ารระบาดของแมลงฉดี พ น่ ช ว่ งพชื เจริญเติบโตทกุ ๆ ๑ เดือน กรณีท มี่ กี ารระบาดของแมลง ฉีดพ น่ ท กุ ๑๐ วัน สำหรับป ยุ๋ ห มัก ชีวภาพ พด. ๑๒ ทีข่ ยายเชื้อในปุ๋ยหมักแ ล้ว อัตรา ๓๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ระหว่างแถวตามแนวปลูกพ ืชและคลุกเคล้าก ับดิน 25
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑ ครั้ง
26
ผลตอบแทนจากการปลูกพืชผ ัก การใช้น้ำจ ากแหล่งน้ำในไร่น าในการปลูกพ ืชผ ัก ๑๔ ชนิด ข้างต้น สำหรับการปลูก ในพื้นที่ปลูก ๑ งาน จะให้ผลตอบแทนสำหรับพืชแต่ละชนิดดังนี้ แตงกวา ให้ผลตอบแทน ๔,๓๕๐ บาท คะน้า ให้ผลตอบแทน ๒,๔๕๕ บาท ถั่วฝักยาว ให้ผลตอบแทน ๑,๔๗๗ บาท ผักชี ให้ผลตอบแทน ๙,๖๑๕ บาท ต้นหอม ให้ผ ลตอบแทน ๓,๗๕๐ บาท กระเทียม ให้ผลตอบแทน ๖,๒๒๓ บาท มะเขือเทศ ให้ผลตอบแทน ๘,๘๓๗ บาท พริก ให้ผ ลตอบแทน ๒,๔๑๙ บาท ข้าวโพดฝักอ่อน ให้ผ ลตอบแทน ๔,๘๗๘ บาท ข้าวโพดหวาน ให้ผลตอบแทน ๗๒๗ บาท มะเขือเปราะ ให้ผลตอบแทน ๗,๒๘๗ บาท ผักกาดขาว ให้ผลตอบแทน ๒,๘๑๒ บาท กะหล่ำปลี ให้ผ ลตอบแทน ๒,๗๐๐ บาท กะหล่ำดอก ให้ผลตอบแทน ๘,๓๕๕ บาท
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
การเลี้ยงสัตว์ ในบริเวณบ่อน้ำที่เกษตรกรได้รับ เกษตรกรสามารถนำมาเลี้ยงสัตว์ เพื่องานอดิเรกหรือเพื่อขายเป็นรายได้เสริมหรือ เพื่อไว้เป็นอ าหาร ซึ่งจะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในด้านอาหาร สำหรับค รัวเรือนเกษตรกร โดยเกษตรกรอาจทำควบคู่ ไปกับ อาชีพอื่นๆ ที่เป็นอ าชีพหลักข องตนเองได้ การลดค่าใช้จ่ายด้านอาหารภายในครอบครัว นอกจากเกษตรกรจะไม่ต้องจ่ายเงินสด ซื้ออาหารแล้ว ยังเป็นการเก็บอ อมเงินและทำให้ม ีรายได้เพิ่มข ึ้นด้วย นอกจากนยี้ ังเป็นการฝึกให้สมาชิกท ุกคนในครอบครัวได้ ใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน
การเลี้ยงปลาในบ่อน้ำ การเลี้ยงปลาในบ่อน้ำในไร่นา หรือในบ่อด ินขนาด ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร เมือ่ เทียบเป็นข นาดเนือ้ ทีจ่ ะประมาณ ๘๐๐ ตารางเมตร หรือ ๐.๕ ไร่ นิยมสร้างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าเพื่อความสะดวกในการจับ ปลา การเลี้ยงปลานอกเขตชลประทานอาจทำควบคู่ ไปกับการเพาะ ปลูก แต่จำเป็นต้องวางแผนการใช้น้ำให้เหมาะสม เนื่องจากเป็นพ ื้นที่ ที่ ไม่มีแหล่งน้ำเติมนอกจากอาศัยน้ำฝน การรักษาระดับน้ำไว้ ให้อยู่ ในระดับที่เหมาะสมเป็นส ิ่งจำเป็น โดยทั่วไประดับน้ำควรอยู่ที่ ๑ - ๒ เมตร จากก้นบ่อ ถ้าปริมาณน้ำน้อยกว่า ๕๐ เซนติเมตร ปลาอาจตาย ได้หรือไม่ โต เนื่องจากน้ำมีอุณหภูมสิ ูง ปลาที่นิยมเลี้ยงมี ๓ ประเภท ปลากนิ พ ชื เช่น ปลานลิ ปลาตะเพียนขาว ปลายสี่ ก และปลาไน ปลากนิ เนื้อ เช่น ปลาดุกอ ุย ปลาดุกบิ๊กอุย ปลาสวาย ปลาตามธรรมชาติ เช่น ปลาช่อน ปลาหมอเทศ กรณีที่มีแหล่งน้ำจำกัด เช่น มีเพียง ๑ - ๒ บ่อ เกษตรกรนิยมเลี้ยงปลากินพืช เนื่องจากการเลี้ยงปลากินเนื้อ มักป ระสบปัญหาน้ำเสีย จำเป็นต้องมีการถ่ายน้ำและตากบ่อทุกปี ส่วนปลาธรรมชาติ เช่น ปลาช่อน ปลาหมอ มักชอบอยู่ ใน แหล่งน ำ้ น งิ่ ท มี่ รี ะดับน ำ้ ค อ่ นขา้ งตนื้ ไม่เกิน ๑ เมตร และจะกนิ ลูกปลาขนาดเล็กเป็นอ าหารทำให้ปลาชนิดอื่นอยู่รอดน้อย การเลี้ยงปลากินพืช อาจเลี้ยงแบบให้กินอาหาร ธรรมชาติอย่างเดียว ซึ่งเป็นอาหารที่เกิดขึ้นเองในบ่อ เช่น ไรนำ้ หนอน แมลง พืชน ำ้ สาหร่ายขนาดเล็กห รือเพิม่ อ าหาร สมทบ ประเภทรำ ปลายขา้ วต้ม ผักต า่ งๆ หรืออ าหารสำเร็จรูป การเลีย้ งปลากนิ พ ชื อ าจเลีย้ งชนิดเดียวหรือห ลายชนิดป ะปน กัน เช่น ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาไน ขนาดบ่อ ๐.๕ ไร่ ควรปล่อยลูกปลาประมาณ ๒,๐๐๐ - ๒,๕๐๐ ตัว ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ ๖ - ๘ เดือน ให้เริ่มจับป ลาขนาดใหญ่ออกก่อน เพื่อล ดอัตราความหนาแน่น แล้ววิดน้ำจ ับปลาทั้งหมดเมื่อเลี้ยงครบรอบ ๑ ปี จะได้ผ ลผลิตประมาณ ๑,๐๐๐ - ๑,๒๐๐ กิโลกรัม การเลี้ยงปลากินเนื้อ โดยทั่วไปการเลี้ยงปลากินเนื้อพวกปลาดุกอุย ปลาดุกบิ๊กอุย หรือปลาสวาย ต้องให้อาหาร จำพวกเนื้อสัตว์ เช่น ตัวไหม ปลวก ไส้เดือน หนอน มด หรือพวกเครื่องในสัตว์ อาหารประเภทนที้ ำให้ปลาเติบโตเร็ว แต่ม ีข้อ เสียท คี่ า่ อ าหารแพง น้ำเสียง า่ ยและจำเป็นต อ้ งมกี ารคมนาคมสะดวกเพือ่ ก ารจำหน่าย เมือ่ น ำ้ เสียจ ำเป็นต อ้ งถา่ ยนำ้ แ ละตากบอ่ ทำให้ต ้องมบี ่อส ำรอง หรือแ หล่งน ้ำเติมเพื่อล ดความเข้มข ้นข องน้ำให้เจือจ างลง สามารถเลี้ยงได้ค รบรอบประมาณ ๓ - ๔ เดือน โดยทั่วไปบ่อขนาด ๐.๕ ไร่ ปล่อยปลาดุกอุยจำนวน ๒๐,๐๐๐ ตัว จะได้ผลผลิตป ระมาณ ๒,๐๐๐ กิโลกรัม (ค่าอ าหารประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท)
27
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การเลี้ยงปลาธรรมชาติ ปลาธรรมชาติคือปลาที่ชอบอยู่ตามแหล่งน้ำธ รรมชาติ เช่น ปลาช่อน ปลาหมอ มักอาศัย บริเวณน้ำนิ่งตามแม่น้ำลำคลอง หนองบึงและบริเวณที่มพี ืชน้ำห นาแน่น เป็นป ลาล่าเหยื่อกินป ลาขนาดเล็ก กบเขียดเป็นอาหาร และชอบอยู่ ในน้ำที่มีความลึกไม่เกิน ๑ เมตร มักอพยพย้ายถิ่นไปหากินแ ละวางไข่เลี้ยงตัวอ่อนตามท้องนา ดังนั้นเมื่อฝ นตกหนัก น้ำล้นนาไหลเข้าบ่อ ถ้าเกษตรกรต้องการเลี้ยงปลาธรรมชาติสามารถเปิดทางน้ำเข้า หรือปล่อยให้น้ำล้นคันบ่อให้ปลาเข้าได้ แต่ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงไว้บริโภคเฉพาะครัวเรือน การทำอาหารธรรมชาติเลี้ยงปลา อาหารธรรมชาติเกษตรกรสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ โดยการใส่ปุ๋ย การใส่ปุ๋ยถ ้าเป็นปุ๋ยคอก ปุ๋ยห มัก หรือปุ๋ยพ ืชสด ให้กองไว้ม ุมบ่อ ถ้าเป็นปุ๋ยเคมี ให้ละลายน้ำสาดให้ทั่วบ ่อในอัตราดังนี้ ๑. ปุ๋ยคอก (ขี้ ไก่) ๑๐๐ - ๒๕๐ กิโลกรัมต่อบ ่อ ๒. ปุ๋ยหมัก ๓๐๐ - ๓๕๐ กิโลกรัมต่อบ ่อ ๓. ปุ๋ยพืชสด ๖๐๐ - ๗๕๐ กิโลกรัมต่อบ ่อ ๔. ปุ๋ยเคมี ๒.๕ กิโลกรัมต่อบ่อ
การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินในการเลี้ยงปลา ๑. การใส่น้ำหมักชีวภาพลงในบ่อปลา การใช้สารบำบัดน้ำเสียและขจัดกลิ่นเหม็นผลิตจากสารเร่ง พด.๖ ใช้สาร บำบัดน้ำเสียแ ละขจัดกลิ่นเหม็นผลิตจากสารเร่ง พด.๖ ประมาณ ๑ ลิตรต่อน ้ำ ๑๐ ลูกบาศก์เมตร สาดให้ทั่วบ่อ ทุกๆ ๕-๗ วัน ๒. การผสมน้ำหมักชีวภาพลงในอาหาร โดยผสมน้ำห มักชีวภาพ อัตรา ๒๐ มิลลิลิตร (๒ ช้อนโต๊ะ) ในอาหารปลา ๑ กิโลกรัม น้ำหมักชีวภาพเป็นแหล่งอ าหารเสริมการเจริญเติบโต ช่วยลดระยะเวลาในการเลี้ยงจาก ๕ เดือน เป็น ๓ เดือน และ ลดการเกิดโรค
การเลี้ยงโคเนื้อ กระบือ เกษตรกรสามารถใช้น้ำจากบ่อมาเลี้ยงโคเนื้อและกระบือ ส่วนจะเลี้ยงจำนวนเท่าใดขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำในบ่อ ซึ่ง ต้องมีเพียงพอต่อจำนวนของสัตว์เลี้ยงโคเนื้อพันธุ์พื้นเมืองและกระบือ สามารถเลี้ยงได้ง่ายโดยทั่วไปตามสภาพภูมิอากาศของ ประเทศไทยจะสามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอากาศได้ดี กินอาหารง่าย และมีต้นทุนก ารผลิตต ่ำ แต่เกษตรกรต้องดูแล เอาใจใส่ทุกวัน โดยการให้อาหาร น้ำ และหาโรงเรือนที่ปลอดภัยจากฝน แมลง งู และศัตรูอื่นๆ อาหารหยาบที่สำคัญส ำหรับ โคเนื้อ กระบือ คือ หญ้าสด พันธุ์หญ้าท ี่กรมปศุสัตว์ส ่งเสริมให้เกษตรกรทั่วไปนำไปปลูกเลี้ยงสัตว์ เช่น หญ้ารูซี่ กินนีสีม่วง หญ้าขน แพงโกล่า เฮมิล เป็นต้น ในฤดูฝนมักมีหญ้าสดเกินความต้องการ จึงควรเก็บถนอมไว้เป็นอาหารสัตว์ ในฤดูแล้ง โดยการทำหญ้าแห้งหรือหญ้าหมัก
28
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
นอกจากหญ้าแล้ว พืชตระกูลถั่วยังเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณค่าทางอาหารสูงเนื่องจากถั่ว ส่วนใหญ่มีระบบรากลึกกว่า หญ้าจึงทนแล้งได้ดีกว่าพืชตระกูลถั่ว ที่กรมปศุสัตว์แนะนำให้ปลูก เช่น ถั่วฮามาต้า แกรมสไตดล คาวาลเคด เซนโตรซีม่า ซีราโตร กระถิน แคฝรั่ง ไมยราพ ฯลฯ กรมป ศุ สั ต ว์ แ นะนำให้ ป ลู ก พื ช ต ระกู ล ถั่ ว แ ซมกั บ ห ญ้ า เพื่ อ ป รั บ คุ ณ ภาพ อาหารสัตว์ นอกจากนี้ วั ส ดุ พ ลอยไ ด้ จ ากก ารป ลู ก พื ช ก็ ส ามารถน ำ มาใช้เลี้ยงโค กระบือได้ เช่น ฟางข้าว ต้นข้าวโพด ยอดอ้อย มันสำปะหลัง (มันเส้น) ต้นถั่วล ิสง ต้นถั่วเหลือง ฯลฯ ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมการเกษตร ก็สามารถ ใช้เป็นอาหารเสริมในการเลี้ยงโค กระบือ ได้เช่นเดียวกัน เช่น กากน้ำตาล เปลือกสับปะรด มันสำปะหลัง เป็นต้น
การเลี้ยงไก่พื้นเมือง ไก่พันธ์พื้นเมืองมีลักษณะที่ดี ในเรื่องการเลี้ยงง่ายและกินอาหารง่าย เกษตรกรสามารถจัดหาอาหารไก่ ได้จากสิ่งที่ตัวเองมี เช่น ข้าวเปลือก ข้าวโพด มันสำปะหลัง ถั่วต่างๆ ฯลฯ ข้อควรระวังสำหรับผู้เลี้ยงไก่ ในปัจจุบัน คือ จะต้อง ทำวัคซีนป้องกันโรคของสัตว์ปีกที่ ไม่สามารถรักษาให้หายได้ด้วยยา เช่น หยอด วัคซีนป ้องกันโรคนิวค าสเซิล หลอดลมอักเสบ ฝีดาษ เมื่ออายุ ๑-๗ วัน โดยปรึกษา สัตวแพทย์ ในพื้นที่ ส่วนโรคที่สามารถรักษาให้หายได้ด้วยยา เช่น โรคบิด ซึ่งมัก เป็นมากกับไก่ที่อายุต่ำกว่า ๒ เดือน ลูกไก่จะถ่ายเป็นม ูกเลือดปนออกมา เกษตรกร ต้องหมั่นสังเกตเวลาลูกไก่ผิดปกติ ไม่กินอาหารซึ่งหากเป็นบิดให้ยาละลายน้ำให้ ไก่กิน ๓ วัน หยุด ๑ วัน แล้วกินต่ออีก ๓ วัน ส่วนโรคหวัดลูกไก่ม ักเป็นมากในฤดูฝน หรือเวลาอากาศเปลี่ยนแปลงกะทันหัน ลูกไก่จ ะมีน้ำมูกน้ำตาไหล จามเสียงดัง รักษาโดยการให้ยาปฏิชีวนะพวกแกลลิมัยซิน เพนซิ ิลิน หรือเทอร์ร ามัยซิน หรืออาจให้ พวกสมุนไพร เช่น ฟ้าทะลายโจร ๑๔๔ กรัม ไพล ๒๙ กรัม ขมิ้น ๗ กรัม ผสมในอาหารให้ ได้ ๑๐๐ กิโลกรัม จะช่วยให้ลูกไก่ แข็งแรงขึ้น และไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะมาก
การเลี้ยงเป็ดไข่ เป็ดเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อโรค และสามารถใช้วัสดุท้องถิ่นหรือ วัสดุเหลือใช้ท างการเกษตรเป็นอ าหารเป็ดได้ ประชาชนยงั น ยิ มบริโภคไข่เป็ดอ กี ด ว้ ย พื้นที่เลี้ยงเป็ดไข่ควรอยู่ ใกล้แหล่งน้ำ พันธุ์ที่นิยมใช้เลี้ยงเป็นเป็ดไข่ คือพันธุ์กากี แคมเบลล์ หรือลูกผสม ควรหาซื้อพันธุ์เป็ดจ ากฟาร์มที่ ได้รับความเชื่อถ ือ ไว้ ใจได้ และไม่เคยมีประวัติโรคระบาดมาก่อน ลักษณะโรงเรือนเลี้ยงเป็ดควรทำจากวัสดุที่ หาได้ง ่ายหรือมี ในท้องถิ่นโรงเรือนควรตั้งอยู่ ในแนวทิศตะวันอ อก-ตก ต้องสามารถ กันแดดกันฝ นได้ และมีลานปล่อยอยู่ด้านนอก เพื่อปล่อยให้เป็ดออกหาอาหารตาม ธรรมชาติกินและได้ออกกำลังกาย พื้นที่ โรงเรือนเลี้ยงเป็ด ขนาด ๑ ตารางเมตร จะเลี้ยงเป็ดไข่ ได้ ๕ ตัว เป็ดจ ะเริ่มไข่เมื่ออายุ ๒๑ สัปดาห์ ในระยะนเี้ป็ดต้องการอาหารอย่างเต็มที่ โดยเฉลี่ยประมาณ ๑๕๐ กรัมต่อตัวต่อวัน ต้องทำความสะอาดที่ ให้น้ำก่อนทุกครั้ง และต้องมีน้ำให้เป็ดได้กินตลอดเวลา การเลี้ยงในช่วงเป็ดกำลังไข่
29
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต้องพิถีพิถันระมัดระวังเป็นอย่างมากเพราะถ้าเป็ดตกใจหรือได้รับความเครียดจะ ทำให้ผลผลิตน้อยลง อาหารสำหรับเลี้ยงเป็ดโดยทั่วไปจะนิยมอาหารสำเร็จรูปที่มี ขายในท้องตลาดทั่วไป หรือการนำเอาวัตถุดิบที่มี ในท้องถิ่นมาผสมใช้เองตามสูตร ในการผสมอาหารเป็ดใช้เองเกษตรกรจะต้องหลีกเลี่ยงการใช้ข้าวโพด ถ้าจ ะใช้ค วร ใช้ ในปริมาณน้อยและต้องแน่ ใจว่าเป็นข้าวโพดคุณภาพดีปราศจากเชื้อรา แม่เป็ด แต่ละตัวจะให้ ไข่ ได้ปีละประมาณ ๒๔๐-๒๖๐ ฟอง และจะปลดระวางเมื่อแม่เป็ด ให้ ไข่ ได้ประมาณ ๑ ปี
ต้นทุนแ ละผลตอบแทน สำหรับการเลี้ยงเป็ดไข่ จำนวน ๒๐๐ ตัวต่อรุ่น ต้นทุน ในส่วนต้นทุนค งที่ จะได้แก่ ค่าโรงเรือน และอุปกรณ์ ในการเลี้ยง จะมีค่าป ระมาณ ๑๐,๐๐๐-๑๒,๐๐๐ บาท ส่วนต้นทุน ผันแปรซึ่งได้แก่ ค่าพันธุ์เป็ด ค่าว ัคซีนและเวชภัณฑ์ จะมีต้นทุนป ระมาณ ๙๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ บาท ผลตอบแทน ได้จากการจำหน่ายไข่เป็ด ประมาณ ๕๐,๐๐๐-๖๐,๐๐๐ ฟอง ในราคาจำหน่ายฟองละ ๒ บาท มีผลตอบแทนประมาณ ๑๐๐,๐๐๐-๑๒๐,๐๐๐ บาท และจากการจำหน่ายแม่เป็ดปลดระวางในราคาตัวละประมาณ ๕๐-๗๐ บาท คิดเป็นม ูลค่าป ระมาณ ๑๐,๐๐๐-๑๔,๐๐๐ บาท อย่างไรก็ตาม ต้นทุนและผลตอบแทนดังกล่าวจะเปลี่ยนแปลงไปตามแหล่งท ี่เลี้ยง สภาวะตลาด และขนาดการผลิต โดยเฉพาะราคาอาหารเลี้ยงเป็ด พันธุ์เป็ด และราคารับซื้อไข่เป็ดในแต่ละท้องถิ่น ดังนั้น เกษตรกรจำเป็นต ้องศึกษาข้อมูล และ รายละเอียดให้ชัดเจนก่อนการตัดสินใจเลือกเลี้ยง อนึง่ ถ้าเกษตรกรตอ้ งการขยายพนั ธุเ์ป็ดด ว้ ยตนเองควรให้ค วามสำคัญก บั ก ารเลีย้ งลกู เป็ดร ะยะ ๒ สัปดาห์แ รกเพราะ ว่าล กู เป็ดน นั้ ถือว่าเป็นจ ดุ เริม่ ต น้ ข องการทำฟาร์ม ถ้าล กู เป็ดแ ข็งแ รงสมบูรณ์เติบโตสม่ำเสมอ มีภ มู คิ มุ้ กันโรคระบาดและไม่อ มโรค แล้ว การเลี้ยงในระยะต่อไปจะไม่ประสบปัญหา โดยปกติแ ล้วลูกเป็ดอายุ ๐-๒ สัปดาห์ มีความต้องการอยู่ ๕ อย่างด้วยกัน คือ การเตรียมพร้อมก่อนนำลูกเป็ดเข้ามาเลี้ยง ความอบอุ่น อาหารที่มีคุณภาพ น้ำส ะอาดและการป้องกันโรค
การใช้ผลิตภัณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดินในคอกสัตว์ การใช้ส ารบำบัดน ้ำเสียและขจัดกลิ่นเหม็นผลิตจากสารเร่ง พด.๖ ทำความสะอาดคอกสัตว์ เช่นคอกเลี้ยงสุกร โดยใช้ สารบำบัดน้ำเสียแ ละขจัดก ลิ่นเหม็นผลิตจากสารเร่ง พด.๖ อัตราเจือจาง ๑ ลิตรต่อน ้ำ ๑๐ ลิตร ราดลงบนพื้นทีเ่ลี้ยงสัตว์แล้ว ล้างด้วยน้ำสะอาดอีกครั้ง
30
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
บทที่ ๖ การติดตามและการประเมินผล ๑. ขั้นตอนการติดตามโครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน ลำดับ
กระบวนงาน (ติดตาม)
รายละเอียด
ใช้ เวลา
ผู้รับผิดชอบ
๑
๑.๑ ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ น โยบายแ ละ − กลุ่มต ิดตามและประเมินผล กผง. ศึกษา วิเคราะห์ ยุทธศาสตร์ของกรพัฒนาที่ดิน นโยบายและยุทธศาสตร์ของกรมพัฒนาที่ดิน
๑๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๒
๑.๒ กำหนดรูปแบบระบบการติดตาม ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์/ ผลผลิต/กิจกรรม/โครงการของกรม พัฒนาที่ดิน
− กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. กำหนดรูปแบบ และจัดทำระบบการติดตามผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์/ผลผลิต/กิจกรรม/โครงการของกรมฯ ตามแบบ สงป.๓๐๑ กผง. เป็นรายหน่วยงาน และ ภาพรวมของกรมฯ
๔๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๓
๑.๓ จัดประชุมชี้แจงการจัดทำแผน/ ผล
− กลุม่ ต ดิ ตามและประเมินผ ล กผง. จัดป ระชุมช แี้ จงการ จัดท ำแผน/ผลการดำเนินง านตามแบบ สงป.๓๐๑ กผง. โดยให้ห น่วยงานจดั ท ำแผนการดำเนินง านประจำปตี าม ใบจัดสรรงบประมาณที่ ได้รับเป็นรายเดือนและราย ไตรมาส จัดส ง่ ให้ก ลุม่ ต ดิ ตามและประเมินผ ล กผง. ตาม เวลาทกี่ ำหนด และรายงานผลการดำเนินง านภายในวนั ที่ ๒๗ ของทุกเดือน
๑ วัน
− กผง. − หน่วยงานใน สังกัดกรมฯ
๑ . ๔ จั ด เ ก็ บ แ ล ะ − หน่ ว ยง านส่ ง แ ผนการด ำเนิ น ง านป ระจำปี เป็ น ร ว บ ร ว ม แ ผ น ก า ร รายเดือน และรายไตรมาส ดำเนินงาน − กลุ่ ม ติ ด ตามแ ละป ระเมิ น ผ ล กผง. จั ด เก็ บ แ ละ รวบรวมขอ้ มูลแ ผนการดำเนินงานของทกุ ห น่วยงาน แล้ว สรุปเป็นภาพรวมของกรมฯ
๓๐ วัน
− −
− กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. แจ้งหน่วยงานให้ ตรวจสอบข้อมูลแผนการดำเนินงาน − หากหน่วยงานตรวจสอบแล้วไม่ถูกต้องหรือต้องการ แก้ ไข แจ้งกลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. ปรับปรุง แก้ ไขให้ถูกต้อง
๑๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง. − หน่วยงานใน สังกัดก รมฯ
− หน่วยงานรายงานผลการดำเนินงานรายเดือนตาม แบบ สงป.๓๐๑ กผง. หากยังดำเนินงานไม่เสร็จตาม แผนที่วางไว้ ให้รายงานปัญหาอุปสรรคและขั้นตอน การดำเนินงาน − กลุม่ ต ดิ ตามและประเมินผ ล กผง. จัดเก็บแ ละรวบรวม ข้อมูลผลการดำเนินงานของทุกหน่วยงาน
๗ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง. − หน่วยงานใน สังกัดก รมฯ
๑.๗ ตรวจส อบ − กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. ตรวจสอบข้อมูล ข้อมูล ผลการดำเนินงานของกรมฯ หากตรวจสอบแล้วไม่ถูก ต้อง ปรับปรุงแ ก้ ไขให้ถูกต้อง ถูกต้อง
๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๑.๘ วิ เ คราะห์ − กลุ่มต ิดตามและประเมินผล กผง. วิเคราะห์ข้อมูลผล ข้ อ มู ล ผ ล ก า ร การดำเนินงานรายหน่วยงาน รายกจิ กรรม และสรุปเป็น ดำเนินงาน ภาพรวมของกรมฯ
๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๑ . ๙ จั ด ท ำ เอกสารรายงาน การติ ด ตามผ ล การดำเนินงาน
๓ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๔
๕
หน่วยงานใน สังกัดกรมฯ
ปรับปรุงแก้ ไข ให้ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง
๑.๕ แ จ้ ง ห น่ ว ย งานให้ตรวจสอบ ข้ อ มู ล แ ผนการ ดำเนินง าน
กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง. หน่วยงานใน สังกัดก รมฯ
ถูกต้อง ๖
๗
หน่วยงานใน สังกัดกรมฯ
ปรับปรุงแก้ ไข ให้ถูกต้อง
๘
๙
ติดตามผลต่อเนื่อง
ไม่ถูกต้อง
๑.๖ จั ด เ ก็ บ แ ละ รวบรวมข้อมูลผล การด ำเนิ น ง าน ของห น่ ว ยง าน ต่างๆ ของกรม
- กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. จัดทำเอกสาร รายงานการติดตามผลการดำเนินงาน และนำข้อมูลลง ระบบ e-meeting ล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ วันก่อนการ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการกรมฯ - กลุ่มต ิดตามและประเมินผล กผง. รายงานผลการ ดำเนินงานของกรมฯ ให้หน่วยงานอื่นๆ ทีเ่กี่ยวข้อง
31
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒. ขั้นตอนการประเมินผลโครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน ลำดับ
กระบวนงาน (ประเมินผล)
รายละเอียด
ใช้ เวลา
ผู้รับผิดชอบ
๑
๒.๑ ศึกษารายละเอียดโครงการและจัด − กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. ศึกษารายละเอียด ทำโครงร่าง โครงการและจัดทำโครงร่างการประเมินผลโครงการ โดยกำหนดวัตถุประสงค์ วิธกี ารประเมินผล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวชี้วัด และเกณฑ์ และกำหนดวิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล
๑๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๒
๒.๒ วางแผนการเก็บข้อมูล
− กลุม่ ต ดิ ตามและประเมินผ ล กผง. วางแผนการเก็บข อ้ มูล โดย คัดเลือกประชากรหรือส มุ่ ต วั อย่าง และสร้างเครือ่ งมอื /กำหนดแบบสอบถาม เช่น ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกร ลักษณะการถือครองที่ดิน การกักเก็บน้ำของแหล่งน้ำใน ไร่นาฯ ระยะเวลาที่เกษตรกรได้ ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ ในไร่นาฯ ความเป็นอยู่ของเกษตรกรหลังใช้ประโยชน์ จากแหล่งน้ำในไร่นาฯ ความพึงพอใจของเกษตรกรหลัง ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำในไร่นาฯ ต้นทุน รายได้ และ ผลตอบแทนของเกษตรกร รายได้ของเกษตรกรก่อนและ หลังใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำในไร่นาฯ ปัญหา/อุปสรรค/ ข้อเสนอแนะของเกษตรกรและเจ้าหน้าที่
๑๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๓
๒.๓ ดำเนินการเก็บข้อมูล
− กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. ดำเนินการเก็บข้อมูล จริงในภาคสนามตามแบบสอบถามที่กำหนดไว้ทุกพื้นที่ ให้ ครบทุกตัวอย่างตามที่ ได้กำหนดไว้ โดยจะประสานความ ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบพื้นที่นั้นๆ และตรวจสอบ ข้อมูลจากแบบสอบถามให้มีความสมบูรณ์ หากพบสิ่ง บกพร่องรีบแก้ ไขหรือเก็บข้อมูลเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
๖๐ วัน
− −
๔
๒.๔ เก็บร วบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
− กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. เก็บรวบรวม บันทึก ข้อมูลจากแบบสอบถาม วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล แปรผลข้อมูลและแสดงตารางผล
๔๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๕
๒.๕ จัดทำรายงานการประเมินผล
− กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. จัดทำรายงานการ ประเมินผล และนำข้อมูลบางส่วนไปใช้ประโยชน์
๗๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๒ . ๖ ต ร ว จ ส อ บ − กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. ตรวจสอบคุณภาพ คุณภาพรายงานการ รายงานการประเมินผล หากตรวจสอบแล้วไม่สมบูรณ์ ปรับปรุงแก้ ไขให้สมบูรณ์ ประเมินผ ล สมบูรณ์
๗ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง. หน่วยงานใน สังกัดก รมฯ ที่เกี่ยวข้องกับ โครงการ
ปรับปรุงแก้ ไข ให้ถูกต้อง
๖ ไม่สมบูรณ์
32
๗
๒.๗ รายงานผลการประเมิน
− กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. รายงานผลการ ประเมินให้ผ ู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
๘
๒.๘ เผยแพร่ผลงานให้กับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง
− กลุ่มติดตามและประเมินผล กผง. จัดทำรูปเล่มเพื่อเผย แพร่ผลงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๕ วัน
− กลุ่มต ิดตามและ ประเมินผล กผง.
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
ภาพวาดประกอบโครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
ต้องการทราบรายละเอียด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกแบบภาพประกอบ จิราวุธ จันทร์บัว ระบายสีภาพประกอบ ลดาวัลย์ ขันติ
33
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
34
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
35
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
36
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
37
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
38
คู่มือการดำเนินงาน โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน
รหัสเลขที่.......................
แบบฟอร์มความต้องการแหล่งน้ำในไร่นา โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน
๑. ข้ามเจ้าชื่อ....................................นามสกุล.............................บ้านเลขที่............................... ถนน..............................หมู่ที่...........ตำบล........................อำเภอ........................จังหวัด........................ รหัสไปรษณีย์.....................โทรศัพท์...............................เลขที่บัตรประชาชน.......................................... ๒. ความต้องการแหล่งน้ำในไร่นา
๒.๑ ข้าพเจ้ามีความประสงค์ขอแหล่งน้ำในไร่นา ขนาด ๑,๒๖๐ ลบ.ม. จำนวน
๑ บ่อ ๒ บ่อ ๓ บ่อ อืน่ ๆ (ระบุ)...........................................โดยยินยอมให้ผรู้ บั จ้างของ กรมพัฒนาที่ดินขุดสระน้ำขนาด ๑,๒๖๐ ลบ.ม ในที่ดินข้าพเจ้าเป็นเจ้าของ โดยมีเอกสารสิทธิ์ โฉนด นส.๓ ส.ป.ก. ๔-๐๑ อื่นๆ (ระบุ)...............................และยินยอมจ่ายเงิน สมทบค่ า ขุ ด สระน้ ำ (ค่ า น้ ำ มั น และค่ า ขนย้ า ยเครื่ อ งจั ก รกล) ให้ ผู้ รั บ จ้ า งของกรมพั ฒ นาที่ ดิ น จำนวน ๒,๕๐๐ บาท/บ่อ โดยใช้ เงินสด เงินกู้ (ระบุแกล่งเงินกู้).......................................... ๒.๒ ข้าพเจ้ามีความ มั่นใจ ไม่มั่นใจ สถานที่ขุดสระน้ำจะสามารถกักเก็บน้ำได้ รายนามผู้ที่สามารถติดต่อได้ ชื่อ............................................................................................... ที่อยู่...................................................................................................โทรศัพท์.................................... ข้าพเจ้ามีที่ดินถือครองทั้งหมด..........................ไร่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตร.................................ไร่ พืชหลัก (ระบุชื่อพืช)..................................................พืชอื่น ๆ (ระบุชื่อพืช)........................................... รายได้.................................................บาท/เดือน หรือ...............................................................บาท/ปี ข้าพเจ้าขอรับรองว่าจะดูแลรักษา และใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำไร่นานี้ เพื่อประโยชน์ทางการเกษตรตลอดไป ลงนามชื่อผู้ร้องขอ..................................................... 39
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แบบสอบถามความต้องการใช้ประโยชน์แหล่งน้ำในไร่นา ชื่อโครงการ แหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน ปีงบประมาณ ....................................................... ชื่อเจ้าของที่ดิน.......................................................................................................อายุ................................ แหล่งน้ำตั้งอยู่ บ้านเลขที่................................................... หมู่ที่ ................................................................ ถนน ........................................................ตำบล.............................................อำเภอ.................................... จังหวัด.................................................................... ขนาดพื้นที่ทำการเกษตร..........................................ไร่ เจ้าของที่ดินมีความประสงค์จะใช้ประโยชน์แหล่งน้ำในการปลูกพืช / เลี้ยงสัตว์ / ประมง / อื่นๆ ดังนี้............ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................
40
ลงชื่อ .................................................................. เจ้าของที่ดิน
(.......................................................................................)
ลงชื่อ .................................................................. เจ้าหน้าที่ สพด.
(.......................................................................................)