Royal project, newsletter September 2013

Page 1

ปีที่ 21 ฉบับที่ 9 ประจําเดือน กันยายน 2556

R I A F L A CT Y E J O O R PR

ROYAL PROJECT FAIR 8 - 18 AUGUST 2013

สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาหญิงจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี เสด็จเปดงาน “โครงการหลวง 44” เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2556 บริเวณชัน้ 1 โซน Dazzle ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพฯ ซึ่งจัดขึ้นในระหวางวันที่ 8 – 18 สิงหาคม 2556


ขาวทั่วไป

    

 

สัมมนา สรุปผลการดําเนินงาน ฯ ของศูนยพัฒนาโครงการหลวง เมือ่ วันที่ 13-17 สิงหาคม 2556 มูลนิธโิ ครงการหลวง รวมกับสถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องคการมหาชน) ไดจัดโครงการสัมมนา เรื่อง “สรุปผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ 2556 และการ กําหนดเปาหมายการดําเนินงาน ปงบประมาณ 2557 ของศูนยพฒ ั นาโครงการหลวง” ขึ้น ณ โรงแรมปาลมมาลี บีช ต.ซากพง อ.แกลง จ.ระยอง เพื่อสรุปผลการดําเนินงาน ตามแผนการปฏิบัติการศูนยพัฒนาโครงการหลวง ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ระดม ความคิดเห็นจัดทํารางแผนปฏิบัติการศูนยพัฒนาโครงการหลวง ปงบประมาณ 2557 และระดมความคิดวางแผนการจัดกิจกรรม พรอมกําหนดเปาหมายในการปฏิบัติงาน รวมกันระหวางศูนยพัฒนาโครงการหลวง และสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการ มหาชน) ในรูปแบบการนําเสนอผลการปฏิบัติงานของศูนยฯ การระดมความคิด การกําหนดเปาหมายการดําเนินงานและการนําเสนอ พรอมระดมความคิดในการ กําหนดเปาหมายการปฏิบัติการรวมกัน นอกจากนี้ผูเขารวมสัมมนา ยังมีโอกาสไดเพิ่มพูน ประสบการณดวยกิจกรรมการศึกษาดูงาน ณ ศูนยบริการการพัฒนาปลวกแดงตาม พระราชดําริ จังหวัดระยอง ผูเขารวมสัมมนาประกอบดวย ผูประสานงานผูอํานวยการ หัวหนา และเลขานุการ คณะทํางานศูนยพฒ ั นาโครงการหลวง ผูเ ชีย่ วชาญและนักวิชาการ ของมูลนิธิโครงการหลวง และบุคลากรจากสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง จํานวน 100 กวาคน

2


R O YA L P R O J E C T F O U N D AT I O N

ผลการออกปฏิบัติงานมหาวิทยาลัย เชียงใหม-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง ครั้งที่ 323/41



3

     

วันที่ 18 สิงหาคม 2556 ศ.ดร.พงษศักดิ์ อังกสิทธิ์ ประธาน คณะทํางานมหาวิทยาลัยเชียงใหม - ประชาอาสา พั ฒ นาโครงการหลวง และมู ล นิ ธิ โรงพยาบาลสวนดอก รองศาสตราจารย นายแพทยนิเวศน นันทจิต อธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม พรอมดวยคณะแพทย ทันตแพทย พยาบาล เภสัชกร และขาราชการหนวยงานตางๆ ออก ปฏิบัติงานบริการหนวยแพทยเคลื่อนที่ ใหแกราษฎรชาวไทยภูเขาเผาลาหู และ คนเมืองจากหมูบานหวยโปง บานปาเมี่ยง บานสบโปง บานปาตอง ณ ศูนยพัฒนา โครงการหลวงหวยโปง ตําบลเจดียใหม อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย โดยการ ประสานงานของงานพัฒนาการศึกษาและสาธารณสุข ใหบริการตรวจรักษา จายยา และใหคําปรึกษาในการดูแลสุขภาพอนามัย 126 ราย ตรวจมะเร็งปากมดลูกและ มะเร็งเตานม 50 ราย ทันตกรรม 35 ราย ตัดผม 115 ราย ตัดแวนสายตาผูสูงอายุ 86 ราย ชุดอุปกรณกีฬา สําหรับโรงเรียนบานหวยโปง 3 ชุด เครื่องอุปโภค บริโภค 150 ครอบครัว จัดยาให โรงเรียน วัด และศูนยฯ จํานวน 6 ชุด และกําหนดจะ ออกปฏิบัติงานครั้งตอไป ณ ศูนยพัฒนาฯ ตีนตก อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม ในวันที่ 22 กันยายน 2556


ขาวจากดอย

ROYAL PROJECT FOUNDATION

อางขาง

01

Angkhang

25-26 JULY 2013

วันที่ 25-26 กรกฎาคม 2556 สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเวียงจันทน และสถานกงสุล ใหญ ณ แขวงสะหวันนะเขต ไดนําคณะผูบริหารของแขวง สาละวัน เซกอง และอัตตะปอ ซึ่งประกอบไปดวย รองเจาแขวง หัวหนาแผนกอุตสาหกรรมและการคา และหัวหนาแผนกการตางประเทศ จํานวน 15 คน เขาศึกษาการดําเนินงานของสถานีเกษตรหลวงอางขาง โดยมีนายสมชาย เขียวแดง ผูอํานวยการ สถานีเกษตรหลวงอางขาง ใหการตอนรับคณะและนําชมงาน

02

19 AUGUST 2013 วั น ที่ 19 สิ ง หาคม 2556 สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาพื้ น ที่ สู ง (องคการมหาชน) โดยโครงการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสงเสริมการปลูกเจียวกูหลานและกระบวนการผลิตการแปรรูปสมุนไพรเจียวกูหลาน ใหแกเกษตรกรในพื้นที่ สถานีเกษตรหลวงอางขาง ซึง่ เปนกลุม ผูป ลูกสมุนไพรเจียวกูห ลาน จากหมูบ า นขอบดง และ หมูบ า นนอแล จํานวน 50 คน เพื่อนําความรูและประสบการณไปพัฒนาอาชีพการปลูกพืชสมุนไพรเจียวกูหลานใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

03 สถานี เ กษตรหลวงอ า งขางได เข า ร ว มกิ จ กรรมสอนวิ ช า มัคคุเทศกนอ ย ใหแกนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบาน ขอบดง เพื่อพัฒนาทักษะการอาน เขียน ภาษาไทย และสอนให นักเรียนเขาใจและสามารถอธิบายเรือ่ งราวของมูลนิธโิ ครงการหลวง ใหนักทองเที่ยวเขาใจไดอยางถูกตอง 4


อินทนนท Inthanon

01

4 JULY 2013 วันที่ 4 กรกฎาคม 2556 คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบัณบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ไดนําคณาจารยและ นักศึกษาระดับมหาบัณฑิต รวมทั้งเจาหนาที่จํานวน 15 ราย ศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อเปนการเสริม สรางความรู และแลกเปลีย่ นประสบการณเกีย่ วกับงาน พัฒนาโครงการหลวงอินทนนท

02

7 JULY 2013 วันที่ 7 กรกฏาคม 2556 โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่อง มาจากพระราชดํ า ริ มู ล นิ ธิ แ ม ฟ า หลวง ได นํ า เจ า หน า ที่ ง านพั ฒ นากาแฟ เขาศึกษาดูงาน ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท หนวยแมยะนอย เพื่อเรียนรูงาน และเสริมสรางประสบการณ เพื่อนําความรูที่ไดมาปรับใชในการทํางานของ เจาหนาที่ โดยมี อ.วันชัย แกววิจิตร เจาหนาที่สงเสริมกาแฟ เปนวิทยากร ผูใหความรู

03

12 AUGUST 2013 วันที่ 12 สิงหาคม 2556 มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุน ไดนําคณะนักศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก จํานวน 20 คน เขาศึกษาดูงาน ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท เพื่อใหทราบถึงการดําเนินงาน ตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

5


ขุนวาง

Khunwang

01

22 JULY 2013 วันที่ 22 กรกฎาคม 2556 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รวมกับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีและมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนาจํานวน 32 คน เขาเยี่ยมชมกิจกรรมการดําเนินงานของศูนย พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง

02

23 JULY 2013 วันที่ 23 กรกฎาคม 2556 คณะเจาหนาที่ ลูกจางประจํา และพนักงานศูนยพัฒนาโครงการหลวง ขุนวางรวมกิจกรรม ถวายเทียนพรรษา เนื่องในวัน เขาพรรษา ประจําป 2556 ณ สํานักสงฆบา นขุนแมวาก สํานักสงฆ บานหวยยาว สํานักสงฆบานหนองเตา และ สํานักสงฆบานหวยเกี๋ยง จํานวน 4 แหง ในพื้นที่ความ รับผิดชอบของศูนยพัฒนาโครงการหลวงขุนวาง โดยมี ผูเขารวมกิจกรรมจํานวน 75 คน

03

4 AUGUST 2013 วันที่ 4 สิงหาคม 2556 คณะเจาหนาที่ ลูกจาง ประจํา พนักงาน และเกษตรกรในพืน้ ทีค่ วามรับผิดชอบ ของศูนยพฒ ั นาโครงการหลวงขุนวาง ไดรว มจัดกิจกรรม ปลู ก หญ า แฝกและปลู ก ต น นางพญาเสื อ โคร ง เฉลิ ม พระเกียรติ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ โดยปลูกหญาแฝก จํานวน 100,000 กลา และนางพญาเสือโครง จํานวน 1,300 ตน บริเวณเสนทางระหวาง หมูบานขุนแมวาง ระยะทาง 4 กิโลเมตร เพื่อปองกันการพังทลายของดิน มีผูเขารวม กิจกรรมจํานวน 140 คน 6


กิจกรรม 12 สิงหามหาราชินี Activities



    

12 AUGUST 2013

วันที่ 12 สิงหาคม 2556 สถานีเกษตรหลวงปางดะ ศูนยพัฒนา โครงการหลวงหวยลึก ศูนยพัฒนาโครงการหลวง มอนเงาะ โดย ผูอ าํ นวยการสถานี/ศูนยเจาหนาที่ ลูกจางประจํา/ชัว่ คราว รวมกับ หนวยงานตางๆ ในพื้นที่ อาทิ โรงเรียน หนวยจัดการตนนํ้า และ ประชาชนในหมูบ า นตางๆ ในเขตพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ ไดรว มกันจัดกิจกรรม เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาส 12 สิงหา มหาราชินี โดยไดจัดกิจกรรมดานการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตางๆ ไดแก การปลูกปา ปลูกหญาแฝก ฯลฯ

หวยลึก

Huai Luek

วันที่ 17 สิงหาคม 2556 ศูนยพัฒนา โครงการหลวงหวยลึกตอนรับคณะเจาหนาที่ และนักเรียนจากศูนยฝกอาชีพนักเรียนเกา โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม จํานวน 25 คน เขาเยี่ยมชมและศึกษาดูงาน เรื่องการเพาะกลาผัก การปลูกพืชผักเมืองหนาว การผลิตแมพันธุดอกเบญจมาศ ณ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงหวยลึก

บริษท ั เอ็นพีเอส สยาม สอบบัญชี จํากัด www.npssiam.co.th Tel. 02-711-5300

7


01

10 AUGUST 2013

แมปูนหลวง

Mae Pun Laung

วันที่ 10 สิงหาคม 2556 ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแมปูนหลวง สถาบันวิจัยพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) กศน.อําเภอเวียงปาเปา หนวยจัดการตนนํ้าแมปูน และหนวยงานในพื้นที่ เขารวมกิจกรรม โครงการสรางฝายชะลอนํา้ เพือ่ พระแมของแผนดิน ณ หมูบ า นหวยทรายขาว หมู 7 ต.บานโปง อ.เวียงปาเปา จ.เชียงราย เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันแมแหงชาติ 12 สิงหามหาราชินี โดยไดดําเนินการสรางฝาย ชะลอนํ้า (ฝายกระสอบ) จํานวน 3 ฝาย ปลูกหญาแฝก เพื่อปองกันการพังทลายของดิน และแปลงขยาย พันธุแฝก จํานวน 10,000 กลา มีผูเขารวมกิจกรรม จํานวน 80 คน

02

8 AUGUST 2013 วันที่ 8 สิงหาคม 2556 สถานีพฒ ั นา เกษตรทีส่ งู ตามพระราชดําริดอยมอนลาน โครงการหลวงแมปูนหลวง หนวยจัดการ ตนนํ้าพราว หนวยจัดการตนนํ้าแมปูน หนวยจัดการตนนํ้าแมสะลวม โรงเรียนบานขุนแจ โรงเรียนบานแมปูนหลวง และชุมชนในเขตรับผิดชอบ จังหวัดเชียงใหม และจังหวัดเชียงราย จํานวน 7 ชุมชน ไดรว มกันจัดกิจกรรม “โครงการ ปลูกปาประชาอาสา 800 ลานกลา 80 พรรษา มหาราชินี” เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 12 สิงหามหาราชินี ณ โรงเรียนบานขุนแจ หมู 8 ต.แมแวน อ.พราว จ.เชียงใหม เพื่อสงเสริมการ ทองเทีย่ ว และเสริมสรางจิตสํานึกใหกบั ชุมชนในการฟน ฟูอนุรกั ษ ปา ตนนํา้ ลําธาร ดวยการปลูกตนพญาเสือโครง จํานวน 12,000 ตน มีผรู ว มกิจกรรม 300 คน โดยมี ดร.สุรชัย มณีปกรณ นายอําเภอพราว ใหเกียรติเปนประธานเปดงาน และเขาเยีย่ มชมกิจกรรมชองศูนยฯ โดยมี ผศ.ดร.สุรตั น นักหลอ ผูอ าํ นวยการศูนยพฒ ั นาฯ แมปนู หลวง ใหการตอนรับ

03

9 AUGUST 2013 วันที่ 9 สิงหาคม 2556 งานไมผลเขตหนาว มูลนิธิโครงการหลวง ไดจัด อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารเรือ่ ง วิธกี ารผลิตพลับคุณภาพและการขจัดความฝาด ใหกบั เจาหนาทีส่ ง เสริมไมผล และเกษตรกรในพืน้ ทีโ่ ครงการหลวง จํานวน 7 ศูนยฯ ณ ศูนยพฒ ั นาโครงการหลวงแมปนู หลวง มีเจาหนาทีไ่ มผล และเกษตรกรแตละ ศูนยฯ เขารวมอบรม จํานวน 50 คน และไดเขาเยีย่ มชมสวนตัวอยางของเกษตรศูนย พัฒนาฯ แมปูนหลวง ในดานการ จัดการแปลงผลผลิตพลับ ใหไดคุณภาพ 8


หวยโปง-หวยนํ้าริน

H ua i P o ng - H ua i N a m R i n

วันที่ 8 สิงหาคม 2556 ศูนยพฒ ั นาโครงการหลวง หวยโปง และศูนยพัฒนาโครงการหลวงหวยนํ้าริน อ.เวียงปาเปา จ.เชียงราย ไดรวมกันจัดกิจกรรมวัน แมแหงชาติขึ้น ณ วัดศรีรัตนมงคล (สบโปง) โดยนาย วิจติ ร ถนอมถิน่ ผูอ าํ นวยการศูนยฯ เปนประธานในพิธี มีหนวยงานตางๆ คณะครู/นักเรียน เหลาพอคาและ ประชาชน ในพื้นที่เขารวมกิจกรรมกันอยางคับคั่ง

คณะเยี่ยมชม/ดูงานโครงการ กองทุนปุย อินทรียแ ละไฮโดรโพนิคส มูลนิธิโครงการหลวง

01

9 AUGUST 2013 วันที่ 9 สิงหาคม 2556 คณะ เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ และเทศบาลตําบลหาดกรวด อ.เมือง จ.อุตรดิตถ โดยความรวมมือทางวิชาการ กับโครงการหมูบาน วิทยาศาสตร หมูบานไสเดือนดิน ประจําป 2556 ไดนําคณะเกษตรกรและเจาหนาที่เทศบาลหาดกรวด จังหวัด อุตรดิตถ จํานวน 35 คน เขาศึกษาดูงาน เรื่องการเพาะเลี้ยงไสเดือนดิน เพื่อเปนการเพิ่มองคความรูและ ประสบการณ ณ ศูนยวิจัยและพัฒนาไสเดือนดิน มหาวิทยาลัยแมโจ

02

14 AUGUST 2013 วันที่ 14 สิงหาคม 2556 คณะวิทยาศาสตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีชวี ภาพ มหาวิทยาลัยแมโจ ไดนาํ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในกระบวนวิชา ชว 350 เทคโนโลยีชีวภาพ 1 จํานวน 70 คน เขาศึกษาดูงาน เรื่อง การ เลีย้ งไสเดือนดินกําจัดขยะอินทรียอ นิ ทรียเ พือ่ ผลิตปุย มูลไสเดือนดิน ณ ศูนยวจิ ยั และพัฒนาไสเดือนดิน มหาวิทยาลัยแมโจ เพือ่ ใหมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ และเปนการเพิม่ พูนความรูแ ละประสบการณใหแกนกั ศึกษาในกระบวนวิชาทีเ่ รียน 9


คลินิกพืช

ROYAL PROJECT FOUNDATION

สารรมขาว…เปนพิษจริงหรือ ? ไดอานขาวเรื่องสารรมขาว บางคนพูดวาขาวที่ผานการรมเปนพิษกินแลวสะสมเปนมะเร็ง จึง ประมวลขอมูลขาวทีเ่ ราบริโภค ไมวา จะเปนขาวสารตักขายจากกระสอบ หรือเปนขาวบรรจุถงุ ไมวา จะเปนแบรนดอะไรก็ตามในทองตลาดสวนใหญ ลวนแตตอ งผานกระบวนการอบยาฆาแมลงศัตรูใน โรงเก็บ เชน ผีเสื้อขาวเปลือก ผีเสื้อขาวสาร มอดขาวเปลือก หรือมอดหัวปอม ดวงงวงขาว เกือบทุก แบรนด เพราะขาวสารเปนแหลงอาหารของแมลงเหลานี้ถาไมควบคุมหรือกําจัดใหเหมาะสมจะเกิด ปญหามีแมลงปนอยูในขาว ทําใหขาวเสื่อมคุณภาพเร็วขึ้น สารเคมีที่ใชกําจัดแมลงศัตรูพืชในยุงฉางขาวคือสารฆาแมลงชนิดรม (Fumigant) คือ สารเคมี ที่เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในรูปของไอ หรือควัน เปนวิธีที่นิยมใชกันอยางกวางขวาง เนื่องจากสามารถ ทําลายแมลงศัตรูไดทุกชนิด และทุกระยะการเจริญเติบโต ไมมีพิษตกคางเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการ ใชสารฆาแมลง สารรมทีน่ าํ มาใชมอี ยูห ลายชนิด แตทนี่ ยิ มมากคือ เมทิลโบรไมด (Methyl bromide) และฟอสฟน (Phosphine) สารเมทิลโบรไมด เปนตัวทําลายชั้นโอโซนในชั้นบรรยากาศทําใหโลก รอนขึ้น และแสงอุลตราไวโอเลตมากกวาปกติ ดังนั้นจึงมีการลงนามในพิธีสารมอนทรีออล ยกเลิก การใช ซึ่งตองยกเลิกการใชภายในป ค.ศ. 2015 ดังนั้นในปจจุบันจึงมีการใชสารรมฟอสฟนมากขึ้น ทุกวันนี้มีใชอยูหลักๆ คือ เมธิลโบรไมด (Methylbromide) และฟอสฟน (phosphine) ซึ่งแนนอนวา สารเคมีทั้งสองนั้นเปนพิษตอแมลงและสัตวเลือดอุนสูงมาก แมลงทุกชนิดจะตายหมด หนูที่เขาไป กินขาว แมวหรืองูที่ตามเขาไปกินหนูก็ไมรอดเชนกัน ฟอสฟน (phosphine) ถูกนํามาใชครั้งแรกตั้งแตป 1930 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการผลิต เปนเม็ด โดยประเทศอเมริกาไดเริม่ นําเอากาซฟอสฟนนีม้ าใชเพือ่ กําจัดแมลงโดยใชในการรมใบยาสูบ และไดรับการรับรองจากองคการอาหารและยาวามีความปลอดภัยไมมีพิษตกคาง กาซฟอสฟน ได มาจากปฏิกิริยาของ aluminium phosphide หรือ magnesium phosphide กับไอนํ้าในอากาศ ปฏิกิริยาทางเคมีคือ AIP + 3H2 O Al (OH)3 + PH3 หรือ Mg3 P2 + 3H2 O 3 Mg (OH)2 + PH3

 

 

คําถาม คือ คนกินขาวที่รมดวย สารพิษแลวจะตายหรือไม?

10


   

  การรมยาที่ใชกันทั่วไป คือ วางสารอลูมิเนียม ฟอสไฟดในปริมาณที่เหมาะสม วางกระจายใหทั่ว กอง คลุมกองขาวดวยพลาสติก ซีลไมใหมรี รู วั่ ฟอสฟน มีลักษณะการกระจายตัวของแกสไดรวดเร็ว ระยะ เวลาที่ใชในการรมยา อยางนอย 5-7 วัน เพื่อให ครอบคลุมชวงวงจรชีวติ ของแมลง ระยะเวลาถายเท กาซ 12 ชั่วโมง แมจะถึงเวลาตามกําหนด 5-7 วัน ถายังไมตองการใชขาวกองนั้นก็มักจะคลุมพลาสติกตอไป จึง คัดแยกซากแมลงที่ตายออกกอนจําหนาย แก็สฟอสฟนจะสลายตัวไดรวดเร็วคือ ภายในประมาณ 5 ชั่วโมงใน อากาศถายเท อันตรายที่จะเกิดจากสารรมควันจะเกิดในบริเวณที่มีการรมในโกดัง สวนผูบ ริโภคอาจเกิดอันตรายไดในกรณีทมี่ ผี งของสารฟอสไฟดหลงเหลือ ติดขาวไปดวย เชน ในกรณีทไี่ มรอใหสารรมควันระเหยหายไปหมดหรือสาร รมควันที่หลงเหลือปนไปกับขาวถูกบรรจุถุงมิดชิดและสัมผัสกับความชื้น แก็สฟอสฟนก็จะเกิดขึ้นและกักขังอยูภายในถุง ยอมเปนอันตรายแกผูที่ เปดถุงขาวหากแก็สฟอสฟนมีปริมาณมากพอ และในกรณีหุงขาวจะตอง ลางขาว สารฟอสไฟดที่หลงเหลือจะเกิดปฏิกิริยาเกิดฟอสฟนไดเชนกัน แตสว นใหญจะมีปริมาณนอยมาก สวนผูท รี่ บั ประทานขาว โอกาสไดรบั สาร ฟอสฟนแทบไมมีเลยเนื่องจากถูกความรอนในการหุงตมระเหยออกไป หมด สรุปคือ สารรมทุกชนิดเปนอันตรายตอมนุษย แมมคี วามเขมขนนอย ดังนั้นการใชสารรมตองใชดวยความระมัดระวัง รอบคอบ และผูปฏิบัติตอง ไดรับการฝกอบรมวิธีการรมที่ถูกตอง ขาวที่เราซื้อกินทุกวันนี้นาจะมีความปลอดภัยตอการบริโภคพอสมควร เวนแตวาจะโชคไมดีที่ผูผลิตบางรายที่ ไมรับผิดชอบใชวิธีการรมที่ไมถูกวิธีเทานั้น http://www.ic.kmutnb.ac.th/sls/อันตรายจากสารเคมีปองกันมอดในขาว 2556.pdf

11


3. รานโครงการหลวง เชียงใหม 89 พลาซา 25-26 เชียงใหมพลาซา ถนนเชียงใหม-ลําพูน ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม โทร. 053-141-855

อุดรธานี รานคาโครงการหลวง สาขา อุดรธานี 277/1-3, 271/5 ศูนยการคาเซ็นทรัลอุดรธานี ถ.ประจักษศิลปาคม ต.หมากแขง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท : 042-921275

ปีที่ 21 ฉบับที่ 9 ประจําเดือน กันยายน 2556


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.