บทที่ 1 บทนำ

Page 1

APA 486 Design and Analysis of Experiments

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญของปญหา

หลังการประกาศผลคัดเลือกเขามหาวิทยาลัยในระบบกลางหรือแอดมิชชั่นสเสร็จสิ้น หลายคนโลง อกและดีใจกับประกาศ ในขณะที่เพื่อนบางคนเครียดกับความพลาดหวังดวยคณะวิชาและมหาวิทยาลัย ที่ตนเองอยากจะเขาเรียนและไดสมัครไวนั้นไมมีรายชื่อของตน บางคนทำใจไดในขณะที่บางคนยังอยู ในขั้นคิดไมออกบอกไมถูกวาจะเดินหนา อยางไรดี หันไปทางไหนก็ปะหนึ่งวาโลกนั้นเหมือนจะไมมี ทางออกใหกับปญหานี้อีกแลว ดวยเหตุที่วา ความผิดหวังในการสมัครเขามหาวิทยาลัยมันสะทอนอะไรบางอยางในตัวเอง และก็ มากเรื่องมากปจจัย แตที่แนๆ ที่หลายคนสับสนก็คือ ความมั่นใจในความสามารถของตนเองที่เคยมีอยู อยางเต็มเปยม กลาวคือ ทั้งกลาแสดงออก กลาตัดสินใจดื้อดึงขัดคำบอกกลาวของพอแม หรือผู ปกครอง เมื่อความผิดหวังครั้งแรกในการเลือกทางเดินทางของชีวิตครั้งแรกเกิด ความสับสนที่วานั้นจึง นำมาซึ่งความเครียดวิตกกังวลอยางที่ไมเคยเกิดขึ้น มากอน ความวิตกกังวลครั้งนี้สวนหนึ่งไมอาจแยกออกจากความคลางแคลงใจ วา เพื่อนๆ คนรูจักขางบาน หรือ แมกระทั่งพอแม ญาติๆ อาจดูหมิ่นดูแคลนวา เรียนไมเกง หรือเปนคนไมขยันเรียนเลยทำใหสอบเขา มหาวิทยาลัยไมได และแทนที่จะไดรับความยินดีชื่นชมกลับกลายเปนเรื่องตรงกันขามไป ปญหา ที่วานี้ คงตองย้ำเตือนและบอกกลาวใหเขาใจวา การจะผานการคัดเลือกเขามหาวิทยาลัยปด ของรัฐนั้นมิใชเรื่องชี้เปนชี้ตายอนาคตของใครคนใดคนหนึ่ง เพียงแตเปนสิ่งบงชี้ความสำเร็จหรือ สมหวังในกรณีหนึ่งก็เทานั้นเอง เพราะฉะนั้นอยาดวนสรุปชีวิตตนเองมากจนเกินความพอดีและขอเท็จ จริง ดวยเหตุที่วา ระบบการคัดเลือกเขามหาวิทยาลัยรวมถึงมหาวิทยาลัยยังมีโครงการรับนักศึกษาใน กรณีอื่นๆ อีก ดังนั้นทุกคนจึงยังคงมีโอกาสไปสมัครคัดเลือกได และแมวาบางโครงการจะปดรับสมัคร และทำการคัดเลือกนักศึกษาไปเรียบรอยแลว ก็ตาม หากแตก็ยังมีสถาบันหรือมหาวิทยาลัยอีกจำนวน มากที่ยังคงเปดรับนักศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งปจจุบันไดทำการเปดการเรียน การสอนในหลักสูตรหรือสาขาวิชาตางๆ ทั้งเหมือนมหาวิทยาลัยปดของรัฐ และที่แตกตางออกไป ตัวอยางเชน หลักสูตรที่เปดการเรียนการสอนตามความตองการของตลาดแรงงานในสาขาวิชาชีพ อาทิ พยาบาลศาสตร ทันตแพทยศาสตร หรือสัตวศาสตร รวมถึงวิศวกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร นิเทศศาสตร ไมนับรวมสาขาวิชาดานสังคมศาสตรที่อยูในกระแสความนิยมตลอดกาลอยาง สาขาวิชา นิติศาสตร รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร บริหารธุรกิจ และ สาขาวิชาที่เกิดขึ้นใหม โดยการรวมกัน ของศิลปะที่มีอยูแลวกับเทคโนโลยี ที่เรียกกันโดยรวมวาดิจิตอลอาตส อันที่จริงแลว สถาบันการศึกษาที่เปดการเรียนการสอนหลักสูตรตางๆ ในปจจุบันมีเปนจำนวนมาก เรียกวาเปนยุคทองของผูเรียน ดังนั้นจึงไมควรยึดติดแตเฉพาะสถาบันหรือมหาวิทยาลัยใดมหาวิทยาลัย หนึ่ง เหมือนแนวคิดของการศึกษาในอดีต เชน หากสนใจเรียนดานนิติศาสตร ก็อาจเลือกเรียนไดทั้ง ญาณพัฒน บุญเกตุ

\

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

จากมหาวิทยาลัยเปดของรัฐ ทั้งจากมหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หรือ มหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งความสำเร็จในอาชีพของบรรดาศิษยเกาในปจจุบันที่ดำรงตำแหนงทั้งใน หนวย งานภาครัฐและเอกชน จนถึงระดับหัวแถวของหนวยงานอยางอธิบดีหรือปลัดกระทรวงยอมเปนเครื่อง การันตีคุณภาพและมาตรฐานในการจัดการเรียนการสอนไดเปนอยางดี และโดยเฉพาะอยางยิ่งเปนตัว บงชี้วา เรียนจบแลวสามารถนำไปใชในการทำงานไดและสังคมใหการยอมรับในคุณภาพ ของบัณฑิต แนนอน จากปญหาดังกลาวที่สงผลกระทบตอนักเรียนที่กำลังจะจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ที่กำลัง มองหาลูทางในการศึกษาตอ ซึ่งบางนักเรียนบางคนนั้นก็ยังไมแนใจวาจริงๆแลวตอนเองนั้นมีความ ชอบหรือความสนใจในการศึกษาตอดานใดกันแน หรืออาจจะรูถึงความตองการที่จะศึกษาตอของตน แลวแตยังไมทราบวาสถาบันการศึกษาใดมีหลักสูตรที่เปดสอนในดานนั้นๆบาง ซึ่งปญหานี้อาจจะไม คอยเกิดขึ้นกับสถาบันการศึกษาที่เปดมาอยางยาวนานในหลักสูตรที่เกิดขึ้นมานานแลวเชน นิ​ิติศาสตร วิศวกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร ในมหาวิทยาลัยชื่อดังอยาง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่เปนที่รูจัก และมีชื่อเสียงทั้งทางดานวิชาการ และคุณภาพ แตปญหานี้จะเกิดขึ้นอยางมากกับกลุมนักเรียนที่มีความสนใจในสาขาวิชาที่เกิดขึ้นใหม และกำลังมองหาสถาบันที่เปดสอนทางดานดิจิตอลมีเดีย ซึ่งเปนศาสตรสาขาใหมที่เพิ่งจะเขามาใน ประเทศไทยเมื่อไมถึงสิบปที่ผานมานี้เอง ซึ่งสาขาเหลานี้ก็ลวนเปนสาขาที่เกิดขึ้นใหมยังไมเปนที่รูจัก ของนักเรียนมากนัก แตก็มีนักเรียนที่ตองการจะศึกษาดานนี้เปนอยางมากนั้นเอง ดังนั้นผูวิจัยจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญและตองการสรางสื่อประชาสัมพันธ เพื่อใชเปนสื่อในการ ประชาสัมพันธของการเรียนการสอนดานดิจิตอลมีเดียของสถาบันระดับอุดมศึกษาตางๆ ที่มีหลักสูตร ดังกลาวใหเปนที่รับรูอยางทั่วถึงในกลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ที่ตองการศึกษาตอดาน ดิจิตอลมีเดีย และเพื่อเปนอีกแนวทาง ของตัวเลือกในกลุมนักเรียนที่ยังไมแนใจหรือยังลังเลสงสัยกับ การเลือกศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาตอไป

ญาณพัฒน บุญเกตุ

\

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

1.2 วัตถุประสงคของงานวิจัย 1.2.1 เพื่อสรางสื่อแนะแนวการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียในสถาบันการศึกษาตางๆใหเปนที่รูจักมาก ขึ้น 1.2.2 เพื่อการสรางตัวเลือกทางดานการศึกษาใหกลุมนักเรียนที่ยังไมมีแนวทางที่แนชัดในการศึกษาตอ 1.2.3 เพื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย 1.2.4 เพื่อประเมินหาคุณภาพของสื่อประชาสัมพันธที่จัดทำขึ้น 1.3 สมมุติฐานของโครงงาน 1.3.1 สื่อแนะแนวการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียที่สรางขึ้นนั้นมีคุณภาพ อยูในระดับเกณฑ ดี 1.3.2 เพื่อใหการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียเปนที่รูจักเพิ่มมากขึ้นในกลุมนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.4.1 ไดสื่อแนะแนวการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียในสถาบันการศึกษาตางๆ 1.4.2 สามารถทำใหการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียเปนตัวเลือกในการศึกษาตอของนักเรียนเพิ่มมากขึ้น 1.5 ขอบเขตของการศึกษา สื่อแนะแนวการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียที่สรางขึ้น ไดมีการกำหนดขอบเขตและเปาหมายของการ ศึกษาในดานตางๆไวดังนี้ 1.5.1 เนื้อหาของสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ สื่อแนะแนวการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียที่สรางขึ้น ประกอบดวย ชื่อหลักสูตร สถาบันที่เปดรับ นักศึกษา เกณฑคะแนนขึ้นต่ำ กำหนดการรับนักศึกษา และรายละเอียดเบื้องตนที่จำเปนเกี่ยวกับการ ศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาที่นาสนใจ 1.5.2 การสรางสื่อแนะแนวการศึกษา สื่อแนะแนวการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียที่สรางขึ้น เปนสื่อแผนพับ และ ไฟลดิจิตอล รวมถึงการ ประชาสัมพันธในชองทางของสื่อตางๆในอินเตอรเน็ต เชน Facebook twitter เปนตน 1.5.3 ประชากร กลุมประชากรหลัก นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ กลุมประชากรรอง นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ - ๕ ญาณพัฒน บุญเกตุ

\

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

1.5.4 กลุมตัวอยางในการศึกษา นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ จำนวน ๑๐๐ คน 1.5.5 ผูเชี่ยวชาญ ผูเช่ียวชาญคือผูที่มีความรูความสามารถความชำนาญดานการประเมินคุณภาพของสื่อแนะแนวเพื่อการ ประชาสัมพันธสาขาดิจิตอลมีเดีย ไดจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง ( Specified Sampling ) 1.5.5.1 ผูเช่ียวชาญดานงานแนะแนว และ ประชาสัมพันธ์ คือผูที่มีความรูเกี่ยวกับการแนะแนวการ ศึกษา การวางแผนตอ หรือ ผูที่ใหคำปรึกษาดานการศึกษาตอกับนักเรียนกลุมเปาหมายดังกลาว เพื่อ ประเมินคุณภาพของสื่อแนะแนวสาขาดิจิตอลมีเดีย 1.5.5.2 ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาดานสาขาดิจิตอลมีเดีย คือผูที่มีความรูความเขาใจ ถึงหลักสูตรและการ จัดการศึกษาของภาควิชา หรือ สถาบันตางๆที่เปดทำการเรียนการสอนดานสาขาดิจิตอลมีเดีย เพื่อ ประเมินความถูกตองของขอมูล และเนื้อหาของสื่อแนะแนว 1.5.6 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาโครงงานเพื่อสรางสื่อแนะแนวสาขาดิจิตอลมีเดีย มีดังนี้ 1.5.6.1 สื่อแนะแนวสาขาดิจิตอลมีเดียมีขอเขตเนื้อหาประกอบดวย ก. ชื่อสถาบันที่มีหลักสูตรที่เกี่ยวกับดิจิตอลมีเดีย ข. ชื่อหลักสูตร ค. เนื้อหา ภาพรวมของหลักสูตร ง. เกณฑการรับนักศึกษา / คะแนนต่ำสุด สูงสุดในแตละป จ. ประเมินคาใชจายตลอดหลักสูตร ฉ. รายละเอียดเบื้องตนที่จำเปนเกี่ยวกับการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา 1.5.6.2 แบบประเมินคุณภาพเปนแบบประเมินมาตรวัดคา 5 ระดับ โดยยึดเกณฑของ ( Likert Scale ) แบงเปนดังนี้ - แบบประเมินคุณภาพสำหรับดานสื่อแนะแนว - แบบประเมินคุณภาพดานเนื้อหาและความถูกตองของขอมูล - แบบประเมินคุณภาพดานเนื้อหาและความถูกตองของขอมูลสำหรับกลุมเปาหมาย - แบบประเมินคุณภาพดานเนื้อหาและความถูกตองของขอมูลสำหรับผูเชี่ยวชาญ 1.5.6.3 แบบวัดความพึงพอใจเปนแบบประเมินมาตรวัดคา 5 ระดับ โดยยึดเกณฑของ ( Likert Scale ) ญาณพัฒน บุญเกตุ

\

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

1.5.6.4 แบบวัดความรูความเขาใจของกลุมตัวอยาง หลังจากการอานสื่อแนะแนวดิจิตอลมีเดีย และ ขอมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวของ 1.5.6.5 โปรแกรมนิพนธ - Adobe Photoshop Cs 5.1 - Adobe Illustrator Cs 5.1 - Google spreadsheet - Microsoft Word - Microsoft Power Point - Pages 1.5.7 ตัวแปรที่ใชในการศึกษา ตัวแปรตน ไดแก 1.5.7.1 สื่อแนะแนวการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาดานดิจิตอลมีเดีย ตัวแปรตาม ไดแก 1.5.7.2 คุณภาพของสื่อแนะแนวการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาดานดิจิตอลมีเดีย 1.5.7.3 ความพึงพอใจของสื่อแนะแนวการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาดานดิจิตอลมีเดีย

ญาณพัฒน บุญเกตุ

\

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

1.6 นิยามศัพท 1.6.1 สื่อแนะแนวการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาดานดิจิตอลมีเดีย หมายถึงสื่อเพื่อการแนะแนวและ การประชาสัมพันธ เผยแพรและสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียในระดับ อุดมศึกษาในสถาบันตางๆของประเทศไทย 1.6.2 การแนะแนว หมายถึง หมายถึง กระบวนการชวยเหลือบุคคลใหเขาใจตนเองและสิ่งแวดลอม สรางเสริมใหเขามีคุณภาพเหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล คนพบและพัฒนาศักยภาพของ ตน มีทักษะการดำเนินชีวิต มีวุฒิภาวะทางอารมณ ศิลธรรม และจริยธรรม รูจักการเรียนรูในเชิงพหุ ปญหา รูจักคิด ตัดสินใจ แกปญหาในชวงวิกฤติ วางแผนการศึกษาตอ ประกอบอาชีพ และสามารถปรับ ตัวไดอยางมีความสุขในชีวิตไดพัฒนาตนเองใหถึงขีดสุด ในทุกดาน 1.6.3. ดิจิตอลมีเดีย หมายถึง หลักสูตรตางๆที่เปดสอนอยูในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาใน ประเทศไทยที่เกี่ยวของกับ การออกแบบเรขศิลป แอนนิเมชั้น วิชวลแอฟเฟค สื่อผสม การออกแบบสื่อ ยุคใหม การออกแบบเว็บไซต นิตยสาร หนังสือ สิ่งพิมพ โทรทัศน และ ภาพยนตร ชื่อสถาบันที่มีหลักสูตรที่เกี่ยวกับดิจิตอลมีเดีย - รายชื่อมหาวิทยาลัย วิทยาลัย สถาบันที่มีหลักสูตรที่เกี่ยวกับดิจิตอลมีเดีย ชื่อหลักสูตร - รายชื่อหลักสูตรที่มีการรียนการสอนเกี่ยวกับดิจิตอลมีเดีย เนื้อหา ภาพรวมของหลักสูตร - แนวทางการศึกษา การมุงเนนของหลักสูตร วิสัยทัศน และ เปาหมายของหลักสูตร เกณฑการรับนักศึกษา / คะแนนต่ำสุด สูงสุดในแตละป - เกณฑคะแนนสูงสุด ต่ำสุดในแตละป ยอนหลัง 3 ป และ การคัดเลือกนักศึกษาเขารับการศึกษา ในรูปแบบตาง ( การรับตรง โควตา การสมัครเรียน การสอบ ) ประเมินคาใชจายตลอดหลักสูตร - คาใชจายของการศึกษาในแตละหลักสูตร รายละเอียดเบื้องตนที่จำเปนเกี่ยวกับการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา - การใชชีวิตในสถาบันการศึกษา ระแบบการเรียนการสอน ประสบการณตรง 1.6.4 การประเมินหาคุณภาพ หมายถึงการหาคุณภาพของสื่อแนะแนวการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาดานดิจิตอลมีเดีย จากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ญาณพัฒน บุญเกตุ

\

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

1.6.5 ความพึงพอใจ หมายถึงคาระดับคะแนนซึ่งไดจากการประมเินของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมัธยมศึกษาป ที่ ๖จำนวน 100 คน ที่มีตอสื่อแนะแนวการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาดานดิจิตอลมีเดียซึ่งมีคายอมรับ ไดอยูที่ 3.5 ขึ้นไป 1.6.6 ผูเช่ียวชาญดานงานแนะแนว และ ประชาสัมพันธ หมายถึงผูที่มีความรูเกี่ยวกับการแนะแนวการ ศึกษา การวางแผนตอ หรือ ผูที่ใหคำปรึกษาดานการศึกษาตอกับนักเรียนกลุมเปาหมายดังกลาว เพื่อ ประเมินคุณภาพของสื่อแนะแนวสาขาดิจิตอลมีเดีย จำนวน 2 ทาน 1.6.7 ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาดานสาขาดิจิตอลมีเดีย คือผูที่มีความรูความเขาใจ ถึงหลักสูตรและการ จัดการศึกษาของภาควิชา หรือ สถาบันตางๆที่เปดทำการเรียนการสอนดานสาขาดิจิตอลมีเดีย เพื่อ ประเมินความถูกตองของขอมูล และเนื้อหาของสื่อแนะแนว จำนวน 2 ทาน

ญาณพัฒน บุญเกตุ

\

52217276


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.