บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

Page 1

APA 486 Design and Analysis of Experiments

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย ในการศึกษาวิจัยเรื่อง “ การใชองคประกอบทางเรขศิลปสำหรับงานออกแบบสื่อแนะแนวเพื่อการศึกษาตอใน ระดับมหาวิทยาลัยดานการออกแบบและศิลปะ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ” นั้นเปนการสรางสื่อ เพื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียและเพื่อแนะแนวการ ศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียในสถาบันการศึกษาตางๆใหเปนที่รูจักมากขึ้น รวมถึง สรางตัวเลือกทางดานการศึกษาให กลุมนักเรียนที่ยังไมมีแนวทางที่แนชัดในการศึกษาตออีกดวย ในการศึกษาการวิจัยครั้งนี้ไดวางแนวขั้นตอนการ ดำเนินงานและศึกษา มีรายละเอียดดังตอไปนี้ 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 3.3 การสรางเครื่องมือที่ใชในการคนควา 3.4 การดำเนินงานทดลอง 3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.1.1 ประชากร

ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีแนวโนมและความสนใจการศึกษา ตอดานดิจิตอลมีเดียมาจากการสุมแบบงาย (Simple Random Sampling) จำนวน 100 คน

3.1.2 กลุมตัวอยาง

ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายวิทย - คณิต จำนวน 1 หอง 40 คน และ สายศิลป - ภาษา จำนวน 1 หอง 40 คนและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 จำนวน 10 คน และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน 10 คน ซึ่งกลุมตัวอยางทั้งหมดไดมาจากการเลือกตัวอยางสุมแบบงาย (Simple Random Sampling) จากโรงเรียน ....................................

3.1.2 ผูเกี่ยวของในงานวิจัย 3.1.2.1 ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ เปนผูที่มีความรูความสามารถ และมีประสบการณในดานการออกแบบ 3.1.2.2 ผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหา เปนผูที่มีความรูความเขาใจในการแนะแนวการศึกษาตอในะดับอุดมศึกษา

ญาณพัฒน บุญเกตุ

X

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือ สื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอ ดานดิจิตอลมีเดีย และแบบประเมินคุณภาพ ของเครื่องมือ โดยผูเชี่ยวชาญทางดานสื่อและเนื้อหา และแบบประเมิน ความพึงพอใจ โดยกลุม ตัวอยาง ซึ่งในเครื่องมือแตละชนิดมีรายละเอียดดังนี้

3.2.1 เครื่องมือที่ใชนการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย X X X

1. สื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย ขนาด A3 2. แบบประเมินคุณภาพของสื่อสำหรับผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบ และ ดานเนื้อหาการแนะแนว 3. แบบประเมินความพึงพอใจหลังจากการใชสื่อของกลุมตัวอยาง

3.2.2 เทคนิคที่ใชในการศึกษาแบงออกเปน 3 ขั้นตอนคือ 1. ทำแบบประเมินคุณภาพดานการออกแบบ ของสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจ การศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย ซึ่งประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบจำนวน 3 ทาน 2. ทำแบบประเมินคุณภาพดานเนื้อหา ของสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษา ตอดานดิจิตอลมีเดีย ซึ่งประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานการแนะแนวการศึกษาจำนวน 3 ทาน 3. ทำแบบประเมินพึงพอใจหลังจากที่ไดชมสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการ ศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียของกลุมตัวอยางในรูปแบบของ Lickers ซึ่งประเมินจากกลุมตัวอยางจานวน 100 คน

3.3 การสรางเครื่องมือที่ใชในการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ประกอบดวยสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการ ศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย และแบบ ประเมินคณภาพของเครื่องมือ โดยผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบและดาน การแนะแนวการศึกษา แบบประเมินความพึงพอใจ โดยกลุมตัวอยาง เครื่องมือแตละชนิดจะมีขั้นตอนใน การสราง ดังนี้

ญาณพัฒน บุญเกตุ

X

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

3.3.1 สื่อแนะแนวมีลำดับขั้นตอนการทำงานดังนี้ 3.3.1.1 การเตรียมงาน ก. การศึกษาหัวขอเรื่องที่ใกลเคียงหรือมีความเกี่ยวของกับโครงงานที่จัดทำขึ้น ข. ศึกษากลุมตัวอยางซึ่งเปนการวิเคราะหกลุมตัวอยางวาอยูในกลุมใด และวัยใดที่จะมาชมสื่อชุดนี้ เชน ความรู ความสามารถ ความสนใจ เพศ อายุ ระดับการศึกษา พื้นฐานทางวัฒนธรรมและ อื่น ๆ ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการ สรางสื่อวีดิทัสนใหเหมาะสม และเปนการกำหนดวิธีการนำเสนอของ เรื่องเนื้อหา ในการศึกษาโครงงานครั้งนี้ กลุม ตัวอยางที่ใชในการศึกาครั้งนี้ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายวิทย - คณิต จำนวน 1 หอง 40 คน และ สายศิลป - ภาษา จำนวน 1 หอง 40 คนและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 จำนวน 10 คน และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน 10 คน ซึ่งกลุมตัวอยางทั้งหมดไดมาจากการเลือกตัวอยางสุมแบบงาย (Simple Random Sampling) จากโรงเรียน .................................... ค. กำหนดวัตถุประสคของเครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) เพื่อสรางสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย (2) เพื่อประเมินหาคุณภาพของสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดาน ดิจิตอลมีเดีย (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดาน ดิจิตอลมีเดีย 3.3.1.2 สรางแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart) ทำการวิเคราะหเนื้อหา ศึกษาขอมุลที่เกี่ยวกับการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียในระดับอุดมศึกษาของไทย โดยใชวิธีระดมสมอง (Brain Storm) เพื่อรวบรวมเนื้อหาโดยรวมทั้งหมดที่เกี่ยวของกับงานวิจัย 3.3.1.3 สรางแผนภูมิโครงขายเนื้อหา (Content Network Chart) เปนการวิเคราะหโครงขายเนื้อหาของการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียในระดับอุดมศึกษาของไทย ออกเปนแผนภูมิโครง ขายเนื้อหา อันประกอบดวยขอมูลที่จะนำมาใชในการออกแบบสื่อ ซึ่งตองเปนขอมูลที่มีความสำคัญ เชน ลำดับ คะแนน สูงสุด และ ต่ำสุดของแตละภาควิชาเปนตน 3.3.1.4 รวบรวมขอมูลและเอกสาร รวบรวมขอมูลและเอกสารเพื่อการเตรียมเนื้อหาในการสรางสื่อแนะแนวการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียในระดับ อุดมศึกษาของไทย ซึ่งขั้นตอนนี้จะศึกษา รวบรวม บันทึก คัดลอก สืบคน ขอมูลเกี่ยวกับสถานศึกษาที่เกี่ยวกับดาน ดิจิตอลมีเดียในประเทศไทย ในดานตางๆ 3.3.1.5 คัดเลือกขอมูลและเอกสาร หลังจากรวบรวมขอมูลและตรวจสอบขอมูลและเอกสารทั้งหมดแลว จึงนำขอมูลมาคัดเลือกเอา เฉพาะที่เหมาะสม จะใชในการออกแบบสื่อแนะแนวนี้ ญาณพัฒน บุญเกตุ

X

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

3.3.1.6 วางแผนการทำงาน โดยการเตรียมแผนการออกแบบ เตรียมขอมูลที่จำเปน คนหาขอมูลเพิ่มเติม และศึกษางานออกแบบอื่นๆที่มีความ เกี่ยวของ หรือ คลายคลึงกับการผลิตสื่อดังกลาว 3.3.1.7 งานศิลป จัดเตรียมทำหัวเรื่อง การเชื่อมเนื้อหา ภาพประกอบ สัญลักษณ แบบอักษร การใชสี การออกแบบโดยรวม ภาพราง ที่จะใชในการผลิตสื่อแนะแนวการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียชุดนี้ 3.3.1.8 ตรวจสอบแกไข หลังจากสิ้นสุดการออกแบบ จะทำการตรวจสอบแกไขขอมูลใหมีความถูกตอง โดยมีอาจารยที่ปรึกษาใหคำแนะนำ

3.3.2 การสรางแบบประเมินสื่อแนะแนวมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้ 3.3.2.1 ศึกษาวิธีการจัดสรางแบบประเมินสื่อแนะแนว เพื่อที่จะนำมาจัดสรางเปนแบบประเมินสื่อสื่อแนะแนว ที่ใช เปนเครื่องมือที่ใชในการศึกษา 3.3.2.2 สรางแบบประเมินสื่อแนะแนว ซึ่งประกอบไปดวยแบบประเมินคุณภาพของสื่อโดยผูเชี่ยวชาญดานการ ออกแบบ และ ดานการแนะแนวการศึกษา โดยมีตัวเลือก 5 ระดับคือ ดีมาก ดี ปานกลาง นอย และปรับปรุง ซึ่งการ ประเมินในแตละขอจะมี นาหนักคะแนนดังตอไปนี้ XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXดีมาก XXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 5 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXดี XXXXXXXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 4XXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXปานกลาง XXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 3 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXนอย XXXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 2XXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXปรับปรุง XXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 1 3.3.2.3 นำแบบประเมินสื่อแนะแนวใหอาจารยที่ปรึกษาโครงงานพิจารณาตรวจสอบ และ ทำการแกไขใหถูกตอง 3.3.2.4 นำแบบประเมินสื่อแนะแนวพรอมกับสื่อแนะแนวเรื่องสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยม ปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย มาให ผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบ จำนวน 3 ทาน และผูเชี่ยวชาญ ดานเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะแนวการศึกษา 3 ทาน เพื่อประเมินคุณภาพของสื่อแนะแนวเพื่อ ปรับปรุงแกไข

ญาณพัฒน บุญเกตุ

X

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

3.3.3 การสรางแบบประเมินความพึงพอใจ 3.3.3.1 ศึกษาวิธีการจัดสรางแบบประเมินความพึงพอใจ เพื่อที่จะนำมาจัดสรางเปนแบบประเมินความ พึงพอใจโดยกลุมตัวอยางหลังจากชมสื่อแนะแนว 3.3.3.2 สรางแบบประเมินสื่อแนะแนว ซึ่งประกอบไปดวยแบบประเมินคุณภาพของสื่อโดยกลุมตัวอยาง โดยมีตัว เลือก 5 ระดับคือ ดีมาก ดี ปานกลาง นอย และปรับปรุง ซึ่งการประเมินในแตละขอจะมี นาหนักคะแนนดังตอไปนี้ XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXดีมาก XXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 5 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXดี XXXXXXXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 4XXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXปานกลาง XXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 3 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXนอย XXXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 2XXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXปรับปรุง XXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 1 3.3.3.3 นำแบบประเมินสื่อแนะแนวใหอาจารยที่ปรึกษาโครงงานพิจารณาตรวจสอบ และ ทำการแกไขใหถูกตอง 3.3.3.4 นำแบบประเมินสื่อแนะแนวพรอมกับสื่อแนะแนวเรื่องสื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยม ปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย ไปทดลองกับกลุมตัวอยาง

3.4 การดำเนินงานทดลอง เมื่อทำการสรางสื่อแนะแนว และแบบประเมินคุณภาพเสร็จแลว จะมีวิธีการดาเนินการทดสอบ ดังนี้ 3.4.1 ประเมินความพึงพอใจโดยกลุมตัวอยาง ในการสอบถามความคิดเห็นของสื่อแนะแนวโดยกลุมตัวอยางจำนวน 100 คน โดยใชวิธีการสุมอยางงาย จากกลุม ประชากร มีวิธีการดำเนินการทดลองดังนี้ X X X X X X

3.4.1.1 แนะนำเนื้อหา บอกวัตถุประสงคในการจัดทำสื่อแนะแนวชุดนี้ 3.4.1.2 แจกสื่อแนะแนวการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียใหกลุม X ตัวอยางชม 3.4.1.3 ใหกลุมตัวอยางประเมินความพึงพอใจหลังจากชมสื่อ 3.4.1.4 รวบรวมแบบประเมินความพึงพอใจของกลุมตัวอยางที่ไดประเมินไวแลวมาทำการวิเคราะห ความคิดเห็นของสื่อแนะแนวตอไป

ญาณพัฒน บุญเกตุ

X

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูศึกษาไดทำการหาคุณภาพของชุดสื่อแนะแนวที่สราง ขึ้นจากผูเชี่ยวชาญทาง ดานสื่อการออกแบบกราฟคสื่อจำนวน 3 ทาน จากผูเชี่ยวชาญทางดานการแนะแนวเพื่อการศึกษาตอจำนวน 3 ทาน และสอบถามความ คิดเห็นจากกลุมตัวอยางจานวน 100 คน โดยเลือกใชคาสถิติดังนี้ 3.5.1 คาเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต การหาคาเฉลี่ยสามารถหาไดโดยใชสูตร X X

X X

X X

X X

X X

X X

X = ∑X N

โดยที่ X X X X

X X X X

X X X X

X = คะแนนเฉลี่ยของกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง X = คะแนนที่ไดของแตละกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง ∑ = ผลรวมของขอมูล N = จำนวนของกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง

3.5.2 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง เมื่อมีการกระจายจะใชสูตร

X X X X X

X X X X X

ญาณพัฒน บุญเกตุ

โดยที่ X X X X X

X X X X X

S.D = สวนเบี่บงเบนมาตรฐาน ∑ = ผลรวมของขอมูล X X X X X X = คะแนนเฉลี่ยของกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง X = คะแนนที่ไดของแตละกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง n = จำนวนผูทำแบบทดสอบ

X

52217276


APA 486 Design and Analysis of Experiments

3.5.2 วิธีการเก็บขอมูล ในการเก็บขอมูลจะทำการเก็บ โดยการหาคาเฉลี่ยเลขคณิต และเสนอเปนตารางประกอบคำบรรยาย โดยการนำไป เปรียบเทียบกับเกณฑการแปลความหมายคาเฉลี่ยกำหนดคาของชองที่ประเมินคาไวโดยชองความคิดเห็นดวยตาง กันดังนี้ คือ

X X X X

X X X X

X X X X

X X X X

X X X

ดีมาก X ดี ปานกลาง นอย ปรับปรุง

มีคา มีคา มีคา มีคา มีคา

5 4X X 3 X 2 X X 1

X X X

X X X

X X

3.5.4 วิธีเคราะหขอมูล นำคาของแตละชองที่คำนวณไดมาบวกกันแลวหารดวยความถี่ทั้งหมด ก็จะไดคาเฉลี่ยของคานั้น ๆ แลวจึงนำมา เปรียบเทียบกับเกณฑการแปลความหมายตามคาน้ำหนักคะแนนเพื่อทำการวิเคราะห ขอมูลที่ไดวาอยูในระดับที่ตั้ง วัตถุประสงคไวหรือไม ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงคานาหนักคะแนนใชในการเปรียบเทียบของแบบประเมินคุณภาพ น้ำหนักคะแนน

คาระดับ

4.50 - 5.00

ดีมาก

3.50 - 4.49

ดี

2.50 - 3.49

ปรับปรุง

1.50 - 2.49

พอใช

1.00 - 1.49

ควรปรับปรุง

ตารางที่ 3.2 ตารางแสดงคานาหนักคะแนนใชในการเปรียบเทียบของแบบประเมินความพึงพอใจ น้ำหนักคะแนน

ญาณพัฒน บุญเกตุ

คาระดับ

4.50 - 5.00

มีความพึงพอใจมากที่สุด

3.50 - 4.49

มีความพึงพอใจมาก

2.50 - 3.49

มีความพึงพอใจปานกลาง

1.50 - 2.49

มีความพึงพอใจนอย

1.00 - 1.49

มีความพึงพอใจนอยที่สุด

X

52217276


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.