โครงการบั ณ ฑิ ต อาสา บัณฑิตอาสา กับตัวอย่างแห่งความสำ�เร็จ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.) เพือ่ สืบสานภูมปิ ญ ั ญาการสานเตยปาหนันและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สูเ่ ยาวชน บัณฑิตอาสาได้กระตุน้ ให้เด็กในชุมชนรวมตัวกันเป็นกลุม่ เด็กบ้านเตย สุขสันต์มีสมาชิก 15 คน เรียนรู้การสานเตยปาหนัน จนเด็กเหล่านี้สามารถ ถ่ายทอดความรู้ให้กับเพื่อนๆ ได้ ทำ�ให้กลุ่มอาชีพเตยปาหนันในชุมชนริเริ่ม การนำ�เศษเตยมาทำ�เป็นของที่ระลึก เพื่อจำ�หน่าย นอกจากนี้ ทางโรงเรียน บ้านร่าหมาดเห็นถึงการพัฒนาของ กลุม่ เด็กบ้านเตยสุขสันต์จงึ สนับสนุน ให้ จั ด ตั้ ง ชมรมบ้ า นเตยสุ ข สั น ต์ ภายในโรงเรียนขึ้น
ชุมชนบ้านตาบาปาเร๊ะ ตำ�บลเจ๊ะเห อำ�เภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดย นายมูฮัหมัดกัตฎาฟีย์ ดือเระ
ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปมักมี ปัญหาด้านสุขภาพ บัณฑิตอาสา โรงพยาบาล ตากใบและแกนนำ�ชุมชนร่วมกันรณรงค์การ ดูแลสุขภาพของคนในชุมชน อบรมให้ความรู้ การดูแลสุขภาพ ศึกษาดูงาน และออกกำ�ลัง กายในชุมชน ผลการดำ�เนินงานทำ�ให้แกนนำ�มี ความรู้ เ รื่ อ งการบริ โ ภคและปรั บ เปลี่ ย น พฤติกรรมการบริโภค สามารถเป็นแกนนำ�ใน การออกกำ�ลังกายได้ จำ�นวน 12 คน และ จัดตัง้ ชมรมออกกำ�ลังกายในชุมชนและร่วมกัน ออกกำ�ลังกายสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
าชมุ ชน
โครงการต่อยอดแกนนำ�ออกกำ�ลังกาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
พั
ฒน
กลุ่มสตรีบ้านนายอดทอง ซึ่งผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์จักสานก้าน จาก ร่วมกับบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ. มอ.) คิดหาวิธี การนำ� ‘ทางจาก’ มาแปรรูปเป็นกระดาษทางจาก และดำ�เนินการทดลองจนสำ�เร็จ ในวันที่ 24 เมษายน 2552 และจัดตั้งกลุ่ม กระดาษทางจากขึ้นในวันที่ 3 สิงหาคม 2552 มีสมาชิก 10 คน ต่ อ มาได้ มี ก ารประสานงานกั บ วิทยากรและหน่วยงานต่างๆ ในการฝึกอบรม การทำ�กระดาษทางจากและพัฒนากระดาษทาง จากเป็นผลิตภัณฑ์ พร้อมทั้งจดอนุสิทธิบัตร เรื่องกรรมวิธีการผลิตกระดาษโดยใช้ทางจาก เป็นวัตถุดิบ ปั จ จุ บั น ทางกลุ่ ม ดำ � เนิ น งานมา อย่างต่อเนื่อง มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 21 คน เกิดรายได้แก่สมาชิก สามารถลดขยะทางจาก ได้บางส่วน และมีเครือข่ายสนับสนุนทั้งภาครัฐ และเอกชน
บ้านร่าหมาด ตำ�บลเกาะกลาง อำ�เภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดย นางสาวนาซีเราะห์ สือรี
กั วชิ า
การ
เชื่องโยงน
โดย นางสาวผกามาศ ทองคำ�
ั ฑติ าพบณ
บ้านนายอดทอง ตำ�บลวังวน อำ�เภอกันตัง จังหวัดตรัง
โครงการศึกษา สืบสานภูมิปัญญาและเพิ่มรูปแบบ ผลิตภัณฑ์จากเตยในกลุ่มเด็กและเยาวชน
ภ คณุ
โครงการศึกษาและส่งเสริมการผลิต ผลิตภัณฑ์กระดาษทางจาก
พัฒน า
ภาคใต้ตอนบน สุราษฎร์ธานี โทร. 0-7735-5454 ต่อ 2080 แฟกซ์ 0-7735-5454 ภาคใต้ตอนกลาง หาดใหญ่ โทร. 0-7445-5149 แฟกซ์ 0-7445-5150 ภาคใต้ตอนล่าง ปัตตานี โทร. 0-7333-1458 แฟกซ์ 0-7333-1458
http://volunteer.psu.ac.th E-mail : volunteer.psu@gmail.com
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือ บอ.มอ. เริ่มก่อตั้งขึ้นโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.) เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่สำ�เร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกสาขาวิชา เข้าไปเรียนรู้ร่วมกับชุมชนเพื่อหล่อ หลอมและพัฒนาบัณฑิตให้มจี ติ สำ�นึกเพือ่ ส่วนรวม และมีความสามารถในการ ทำ�งานพัฒนาชุมชนอย่างมีสว่ นร่วม นอกจากนีย้ งั เป็นตัวกลางในการเชือ่ ม โยงนักวิชาการในมหาวิทยาลัยให้สามารถทำ�งานวิจัยที่เป็นประโยชน์ร่วมกับ ชุมชนได้อย่างแท้จริง
วัตถุประสงค์
พัฒนาคุณภาพบัณฑิตด้านคุณธรรม จริยธรรมและความ สามารถในการพัฒนาชุมชน พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้ดีขึ้น พั ฒ นาบทบาทมหาวิ ท ยาลั ย ให้ ส ามารถทำ � งานวิ จั ย ที่ เ กิ ด ประโยชน์ต่อชุมชนอย่างแท้จริง
ความสามารถของบัณฑิตเมื่อจบหลักสูตร
บัณฑิตอาสามีจิตสำ�นึกเพื่อส่วนรวม มีความอดทนและความ รับผิดชอบต่อการทำ�งาน บัณฑิตอาสาสามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และสามารถนำ� เสนอความคิดเห็นต่อสาธารณะได้ บัณฑิตอาสาสามารถเป็นนักบริหารจัดการโครงการวิจัย/พัฒนา เป็นวิทยากรกระบวนการ เป็นผูจ้ ัดการประชุม และเป็นนักประสาน งานได้
บทบาทบัณฑิตอาสา
บันไดดาว ‘บัณฑิตอาสา’
ในกระบวนการหล่อหลอมพัฒนาศักยภาพของบัณฑิต อาสานั้นทางโครงการใช้กลยุทธ์ “บัณฑิตพลัดถิ่น” โดยมีข้อตกลง ว่า บัณฑิตต้องทำ�งานในชุมชนที่ไม่ใช่บ้านเกิดของตัวเอง เพื่อ เป็นการเปิดโลกทัศน์ของบัณฑิตให้มีมุมมองที่กว้างขึ้น บัณฑิตที่ผ่านกระบวนการคัดเลือกจะได้รับการปฐมนิเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนปฏิบัติงานในชุมชน หลังจากนั้นบัณฑิต จะเข้าไปปฏิบัติงานในชุมชนเป็นระยะเวลา 1 ปี (พ.ค.-เม.ย.) โดยมี เดือนที่ 12 การพัฒนาศักยภาพของตนเองควบคูก่ บั การพัฒนาชุมชนเป็นลำ�ดับ สามารถนำเสนอผลงาน เดือนที่ 6-11 และสามารถจัดทำรายงาน ขั้นตอน ดังนี้
เมื่อจบจากโครงการ เปนนักวิจัย/พัฒนา และผูนำการเปลี่ยนแปลง
วิจัยฉบับสมบูรณไดอยาง สามารถวางแผน ดำเนินงาน เดือนที่ 4-5 ตามแผน ติดตาม ประเมินผล มีคุณภาพ และปรับเปลี่ยนแผนการ สามารถจัดทำโครงการวิจัย/ ทำงานใหเหมาะสมกับ กระบวนการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตอาสา 3 เดือนแรก พัฒนาอยางมีสวนรวมกับ สถานการณ ทางโครงการฯ ได้จัดทำ�หลักสูตรในการพัฒนาศักยภาพ ของบัณฑิตอาสา ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ สามารถปรับตัวใหสอดคลอง ชุมชน ลักษณะโครงการขึ้น อยู ก บ ั บริ บ ทและ 1. ปฐมนิเทศเตรียมความพร้อมก่อนลงปฏิบัติงานในพื้นที่ กับวิถีชีวิตในชุมชน ศึกษา ความต อ งการของชุ ม ชน 2. อบรมเพื่อเสริมศักยภาพระหว่างการทำ�งาน เรียนรูและวิเคราะหชุมชน นั น ้ ๆ ไดอยางถูกตอง 3. ปฏิบัติงานภาคสนาม บัณฑิตอาสาเข้าไปฝังตัวเป็นลูก
คุณสมบัติผู้สมัคร บัณฑิตปริญญาตรีทกุ สาขา จากทุกสถาบันอุดมศึกษาทัง้ ในและต่างประเทศ สถานภาพโสด อายุไม่เกิน 35 ปี
การคัดเลือก เปิดรับสมัครในเดือนธันวาคมของทุก ๆ ปี และพิจารณาจากบทความ ประวัติชีวิต ประสบการณ์ และการสัมภาษณ์
หลานของชุมชนและร่วมพัฒนาชุมชนเป็นระยะเวลา 1 ปี
โอกาสทางการศึกษา
สวัสดิการ - เงินยังชีพ - ประกันสังคม - ประกันอุบัติเหตุ
สามารถเทียบโอนหน่วยกิตใน ระดับปริญญาโทสาขาที่ เกี่ยวข้องได้
ร่วมสนับสนุนการดำ�เนินงานโครงการบัณฑิตอาสาฯได้ที่
สำ�นักงานใหญ่ ชัน้ 6 อาคารบริหาร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา หรือร่วมสมทบทุนได้ที่ : ชื่อบัญชี ‘ʶҺѹÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹Ò ÊØ¢ÀÒ¾ÀÒ¤ãµé (¾ÔàÈÉ)’ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 565-433693-4