ประเด็นหลัก Oral Health Service Plan

Page 1

1 ประเด็นหลักการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก (Oral health service plan) กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๖๐) (ปรับปรุง ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖) สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการสุขภาพช่องปาก ๑. ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย โรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัดในกลุ่มเด็ กประเทศพัฒนาน้อยและกาลังพัฒนา เมื่อไม่ได้รับการดูแล รักษาอย่างทันท่วงที โรคจะลุกลามและสูญเสียฟันในที่สุด ส่งผลต่อ พัฒนาการ สุขภาพ การสบฟัน และการ เรียน1, 2, 3, 4 ในประเทศไทยพบเด็กอายุ 3 ป รอยละ ๖๑.๔ และเด็กอายุ 5 ป รอยละ ๘๐.๐ มีฟันนานมผุ เด็ก อายุ ๑๒ ปี ร้ อ ยละ ๔.๓ และเด็ก อายุ ๑๕ ปี ร้ อยละ ๔.๑ ปวดฟัน จนขาดเรีย นเฉลี่ ย ๒.๕ และ ๔.๔ วั น ตามลาดับ 5 ขณะที่เด็กปฐมวัยพบอัตราฟันผุในเด็กกลุ่มอายุ ๓ ปีกว่าเป็นร้อยละ ๖๑.๔ 6 ถือเป็นสถานการณ์ ปัญหาในระดับสูง ขณะที่กลุ่มผู้ใหญ่มีปัญหาโรคฟันผุและปริทันต์อักเสบรวมทังความเสื่อมถอยจากการมีอายุ ยืนยาว เป็นอุปสรรคต่อการดาเนินกิจกรรมในชีวิตประจาวัน (everyday life activities) และการงานอาชีพ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต 6 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มสูงอายุ ๒. การมีหลักประกันสุขภาพของคนไทย การมีหลักประกันสุขภาพ เป็นการลดอุปสรรคและภาระในการจ่ายค่ารักษาพยาบาล สถานการณ์ อัตราการมีหลักประกันสุขภาพของประชาชนไทย ในปี 2552 เป็นร้อยละ 97.4 ส่วนใหญ่เป็นสิทธิหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า ร้อยละ 76.1 รองลงมาเป็นสิทธิประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทนร้อยละ 12.3 สวัสดิการ รักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 7.7 โดยแต่ละหลักประกันสุขภาพมีชุดสิทธิ ประโยชน์ แม้จะมีระบบประกันสุขภาพภาครัฐ แต่ยังปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึงบริการทังจากการ

1

2

3

4

5

6

Acs G, Lodolini G, Kaminski S, Cisneros GJ. Effect of nursing caries on body weight in a pediatric population. Pediatric Dentistry 1992;14:302-5. Cağlaroğlu M, Kilic N, Erdem A. Effects of early unilateral first molar extraction on skeletal asymmetry. Am J Orthod Dentofacial Orthop 2008;134:270-5. Melsen B, Terp S. The influence of extractions caries cause on the development of malocclusion and need for orthodontic treatment. Swed Dent J Suppl 1982;15:163-9. Richardson A. Spontaneous changes in the incisor relationship following extraction of lower first permanent molars. Br J Orthod 1979;6:85-90. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. รายงานผลการสารวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครังที่ ๖ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๐. โรงพิมพ์สานักกิจการองค์การทหารผ่านศึก, ๒๕๕๑. Reisine ST, Fertig J, Weber J, Leder S. Impact of dental conditions on patients’ quality of life. Community Dent Oral Epidemiol 1989(17):7-10.


2 จัดบริการและด้านประชาชน7 นอกจากนีในทัศนะของสังคมไทย ค่าบริการรักษาโรคในช่องปากและการฟื้นฟู สภาพยังมีราคาแพง รวมทังทันตบุคลากรและบุคลากรสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8 เป็นอุปสรรค สาหรับการใช้บริการภาคเอกชนเมื่อภาครัฐไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ ๓. สถานการณ์กาลังคนด้านทันตสุขภาพ ปัจจุบันสถานการณ์ของกาลังคนผู้ให้บริการสุขภาพช่องปากมีแนวโน้มดีขึน เนื่องจากมีโครงการทันต แพทย์คู่สัญญา และ โครงการผลิตทันตแพทย์เพิ่มปีละ ๒๐๐ คน เป็นระยะเวลา ๑๐ ปี จะเห็นว่าสัดส่วนทันต บุคลากรต่อประชากรระหว่าง พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๓ โดยสถานการณ์ทันตแพทย์มีแนวโน้มดีขึนในภาพรวม ประเทศ (๑: ๕๗๘๘) แต่มีปัญหาในการกระจายพบว่าสัดส่วนทันตแพทย์ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร = ๑: ๑,๐๗๖ ขณะที่ในภูมิภาค = ๑: ๑๐,๑๕๑) โดยมีทันตแพทย์เกินครึ่งอยู่ในภาคเอกชน (ร้อยละ ๕๑.๕ ของ ทันตแพทย์ทังหมด) ส่วนทันตาภิบาลมีจานวนเพิ่มไม่มากนักในแต่ละปี แต่มีการกระจายตัวอยู่ใน ภูมิภาคในสัดส่วนที่ดีกว่า (สัดส่วนต่อประชากรอายุ ๐-๑๔ ปี = ๑: ๒, ๔๑๖) ดีกว่าในกรุงเทพมหานคร (กทม.) ซึ่งมีสัดส่วน ๑: ๒๖,๕๓๗ สวนทางกับการกระจายตัวของทันตแพทย์ 9 แม้ว่าทันตแพทย์และทันตาภิบาล ภาครัฐมีจานวนเพิ่มขึนตลอดมาแต่ผลิตภาพบริการทันตกรรมภาครัฐไม่เพิ่มขึนอย่างได้สัดส่วนกัน 10 เนื่องจาก จานวนครุภัณฑ์ทันตกรรมหลักในการบริการไม่ได้เพิ่มขึนอย่างสัมพันธ์กันในทุกระดับ (ตาราง ๑) ตารางที่ ๑ บุคลากรและยูนิตทันตกรรมในสถานพยาบาลสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๕ ประเภทโรงพยาบาล

จานวน (แห่ง)

ชุมชน ๑๐-๓๐ เตียง มากกว่า ๓๐ เตียง ทั่วไป ไม่เกิน ๓๐๐ เตียง มากกว่า ๓๐๐ เตียง ศูนย์ รวมทุกระดับ

๔๕๒ ๒๘๘ ๒๐ ๕๐ ๒๕ ๘๓๕

7

8

9

10

จานวนที่ ค่าเฉลี่ยยูนิตทันตกรรม (ตัว/แห่ง) ค่าเฉลี่ยผู้บริการทันตกรรม (คน/แห่ง) รายงาน บ ทันต ทันตาภิบาล รวม รพ.แม่ข่าย รพ.สต. รวมระดั CUP แพทย์ (แห่ง) ๓๒๔ ๒.๙ ๒.๑ ๕.๐ ๒.๕ ๔.๐ ๖.๕ ๒๓๙ ๔.๑ ๓.๗ ๗.๘ ๔.๑ ๖.๒ ๑๐.๓ ๑๖ ๖.๑ ๔.๑ ๑๐.๒ ๖.๔ ๕.๗ ๑๒.๑ ๓๔ ๙.๓ ๖.๔ ๑๕.๗ ๑๑.๔ ๖.๕ ๑๗.๘ ๑๗ ๑๔.๕ ๙.๘ ๒๔.๒ ๑๓.๘๒ ๗.๙ ๒๑.๘ ๖๓๐ ๔.๑ ๓.๒ ๗.๓ ๔.๐ ๕.๑ ๙.๑

เพ็ญแข ลาภยิ่ง. การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก. ใน เศรษฐศาสตร์บริการสุขภาพช่องปาก. นนทบุรี: สานักทันต สาธารณสุข; 2554. โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก เพ็ญแข ลาภยิ่ง, เสกสรรค์ พวกอินแสง. ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์สุขภาพช่อง ปากแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559. สานักทันตสาธารณสุข ๒๕๕๕. สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย . รายงานบุคลากรด้านทันตสาธารณสุข ประจาปี ๒๕๕๕. เอกสารอัดสาเนา, ๒๕๕๕. สานักบริการการสาธารณสุข สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ระบบรายงานข้อมูลสนับสนุนงานทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔.


3 หมายเหตุ รพ.สต.ทั่วประเทศมีจานวน ๙,๗๗๐ แห่ง ที่มา: สานักบริการการสาธารณสุข. ระบบรายงานข้อมูลสนับสนุนงานทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๕. ๔. ผลิตภาพ (Productivity) ของงานทันตสาธารณสุข ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ผลิตภาพ (Productivity) ของงานทันตสาธารณสุขในครังนี จึงใช้ข้อมูลของสานัก บริหารการสาธารณสุข ซึ่งเป็นข้อมูลของสถานบริการสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลและ รพ.สต. ในสังกัด สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีการรายงานต่อเนื่อง โดยนาข้อมูลปี ๒๕๕๐-๒๕๕๔ เป็นตัวแทน เนื่องจากมีจานวนหน่วยที่รายงานข้อมูลมากเพียงพอ พบว่าการให้บริการส่งเสริมทันตสุขภาพ และทันตกรรม ป้องกันเพิ่มมากขึนจากร้อยละ ๓๗.๑ ในปี 2550 เป็น ๔๗.๙๘ ในปี 2554 และการให้บริการพืนฐานเป็นงาน อุดฟันเพิ่มขึน โดยสัดส่วนงานอุดฟันต่อถอนฟัน จาก 0.81 ในปี 2550 เป็น 0.98 ในปี 2554 ทาให้ประมาณ ระยะเวลาเฉลี่ยการให้บริการแต่ละรายไม่เปลี่ยนแปลง และจากข้อมูลพบว่าจานวนคนไข้เฉลี่ยต่อผู้ให้บริการ ทันตกรรมต่อปี มีค่าอยู่ระหว่าง 1,465 ถึง 1,624 ราย หากคิดเป็นค่าเฉลี่ยต่อวันจะประมาณเท่ากับ ๖.๔ ถึง ๗.๑ ราย จากจานวนวันทางาน ๒๓๐ วันต่อปี ซึ่งยังสามารถเพิ่มจานวนการให้บริการสุขภาพช่องปากได้อีก หากพิจารณาคุณลักษณะของหน่วยบริการและปัจจัยนาเข้า พบว่าจานวน ยูนิตทันตกรรม และ เครื่องมือหลักๆสาหรับใช้ทาหัตถการทันตกรรม มีความขาดแคลน คือ มีประมาณร้อยละ 78 - 80 เทียบกับ จานวนผู้ให้บริการตังแต่ปี 2550 – 2554 ๕. การใช้บริการสุขภาพช่องปาก จากผลการสารวจอนามัยและสวัสดิการของสานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่า ประชาชนใช้ บริการสุขภาพช่องปากในรอบปีที่ผ่านมา เพิ่มจากการสารวจครังก่อน (ร้อยละ ๙.๓ และ ๘.๗ ตามลาดับ)11,12 แต่ยังคงอยู่ในระดับต่าและเป็นบริการที่ทาให้สูญเสียฟันเนื่องจากบริการที่ใช้ในครังล่าสุดมากเป็นอันดับหนึ่ง ยังคงเป็น การถอนฟัน (ร้อยละ ๓๕.๑๗) รองลงมาคือ การอุดฟัน ร้อยละ ๒๕.๘ เพิ่มจากการสารวจครังก่อน (ร้อยละ ๑๘.๖) แม้ว่า ประชากรส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๙๐) จะบอกว่า ไม่มีปัญหาในช่องปากจึงไม่ใช้บริการ แต่ ในกลุ่มที่มีปัญหาซึ่งควรจะมาใช้บริการแต่ไม่ใช้บริการ ส่วนใหญ่ระบุสาเหตุคือ ไม่มีเวลา (ร้อยละ ๖๒, ๖๐.๔ และ ๓๙.๖ ของกลุ่มลูกจ้าง ข้าราชการ และสิทธิบัตรทอง ตามลาดับ) เนื่องจากประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจขัน สุดท้ายว่าจะใช้บริการหรือไม่ ในการเพิ่มการเข้าถึงบริการจึงต้องจัดการบริการให้ตอบสนองต่อปัจจัยเหล่านี ร่วมด้วย เป็นที่น่าสังเกตว่า แหล่งบริการยอดนิยมในการสารวจครังล่าสุดนีคือ คลินิกเอกชน โดยประชาชนใน กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง และภาคใต้ นิยมใช้บริการคลินิกเอกชนเป็นอันดับหนึ่ง ส่วนภาคเหนือและ ตะวันออกเฉียงเหนือใช้บริการจากโรงพยาบาลชุมชน รองลงมาคือ คลินิกเอกชน ดังนันหากสามารถจัดการให้ คลินิกเอกชนเข้ามาร่วมจัดบริการที่จาเป็นร่วมกับภาครัฐ จะเป็นการขยายบริการในระดับปฐมภูมิซึ่งเป็น มาตรการหลักในการเพิ่มการเข้าถึงบริการในเขตเมือง 11 12

คานวณจากฐานข้อมูลการสารวจอนามัยและสวัสดิการ. สานักงานสถิติแห่งชาติ. พ.ศ. ๒๕๕๔. วีระศั กดิ์ พุ ทธาศรี , เพ็ ญแข ลาภยิ่ ง . การใช้บ ริการสุขภาพช่ องปากของคนไทย 5 ปีหลั งการด าเนิ น โครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. วารสารวิชาการกระทรวงสาธารณสุข 2552;18(4) 489-503.


4 ๖. กองทุนทันตกรรมกับการจัดบริการสุขภาพช่องปาก การพัฒนาระบบบริการทันตกรรมตังแต่ปี ๒๕๕๔ เป็นต้นมา กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ สานักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติกาหนดนโยบายส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปาก ในรูปแบบการบริหารจัดการ งบประมาณโดย “กองทุนทันตกรรม” ให้เกิดการจัดบริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากตามสภาพ ปัญหา และความจาเป็นของประชาชนในกลุ่มเป้าหมายหลักของพืนที่ และผู้มีสิทธิทุกสิทธิสามารถได้รับ บริการทันตกรรมได้อย่างครอบคลุม ทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ โดยสนับสนุนงบประมาณพัฒนาระบบการ บริหารจัดการระดับพืนที่ให้เกิดการดาเนินงานทันตสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิภาพการ จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและรักษาทางทันตกรรมในทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาระบบข้อมูลทันต สาธารณสุข และจัดทาแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพช่องปากระดับชาติ รวมทังการพัฒนาศักยภาพ/การผลิต/ กระจายทันตบุคลากร ในหน่วยบริการทุกระดับให้เพียงพอและครอบคลุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มทันต บุคลากรในระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลทุกแห่ง ๗. การจัดบริการสุขภาพช่องปากในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ปัจจุบันมีรพ.สต.ทั่วประเทศรวม ๙,๗๗๐ แห่ง กระจายอยู่ใน ๗,๒๓๘ ตาบล มีเจ้าพนักงานทันต สาธารณสุขปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ๒,๒๙๐ คน จากนโยบายผลิตเจ้าพนักงานทันต สาธารณสุขเพิ่มเป็นพิเศษ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูงสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) ระยะเวลาศึกษา ๒ ปี จานวน ๒ รุ่น ในปีการศึกษา ๒๕๕๕-๒๕๕๖ เพื่อเร่งให้เกิดการพัฒนาระบบบริการ สุขภาพช่องปากที่มีประสิทธิภาพ ให้มีจานวนบุคลากรเพียงพอที่จะปฏิบัติงานใน รพ.สต.ทั่วประเทศ ทาให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ส่งผลให้จานวนทันตาภิ บาลที่จบในปี ๒๕๕๖ เท่ากับ ๕๐๑ คน และ ในปี ๒๕๕๗ จานวน ๑,๖๖๔ คน ซึ่งมีความจาเป็นในการ เตรียมการรองรับการจัดบริการเช่นการเตรียมการด้านครุภัณฑ์ทันตกรรม การจ้างงาน ฯลฯ ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในแผน ๕ ปี จากนโยบายระบบบริการสุขภาพช่องปากของกระทรวงสาธารณสุข ได้กาหนดประเด็นสุขภาพช่อง ปากในแผนพัฒนาระบบบริการ ตังแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ในระยะเวลา ๕ ปี (๒๕๕๖-๒๕๖๐) ให้ผสมผสานเป็นองค์ประกอบหนึ่งของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับจังหวัด มีการวิเคราะห์ส่วนขาด มีการจัดลาดับความสาคัญก่อนหลังเป็นภาพรวมจังหวัด โดยกาหนดประเด็นหลักการพัฒนาดังนี คือ ๑. พัฒนาบริการสุขภาพช่องปากในเขตเมือง เพื่อลดความแออัดของการบริการในโรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลทั่วไป ด้วยการขยายบริการสุขภาพช่องปากในศูนย์สุขภาพเขตเมืองอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ด้วยการขยายศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมในด้านการบาบัดรักษาและพืนฟูระดับมี ทันตแพทย์ให้บริการประจา และบริการส่งเสริมป้องกันที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายสาคัญ ๒. เพิ่มอัตราเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชน เน้นบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพ เพื่อ ควบคุมปัญหาโรคในช่องปาก โดยขยายบริการสุขภาพช่องปากระดับปฐมภูมิในรพ.สต. ให้ทั่วถึง สามารถ ครอบคลุมตาบลที่มีประชากรตังแต่ ๕,๐๐๐ คนขึนไป


5 ๓. พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพการจัดบริการทันตกรรมเฉพาะทางในหน่วยบริการระดับทุติยภูมิ และตติย ให้สามารถดูแลรักษาโรคทางทันตกรรมที่มีความซับซ้อน เบ็ดเสร็จภายในระดับเครือข่ายบริการ สุขภาพ ๓.๑ การพัฒนาประสิทธิภาพการบริการให้ประชาชนเข้าถึงบริการเพิ่มสูงขึน ได้แก่ การพัฒนาระบบ การนัดหมายและการติดตามผู้ป่วย การขยายการจัดบริการคลินิกทันตกรรมนอกเวลา การจัดบริการ ทันตกรรมเฉพาะทางเชิงรุกในรพ.สต. การจัดหาครุภัณฑ์ทันตกรรมและผู้ช่วยงานทันตกรรมให้สอดคล้องกับ จานวนผู้ให้บริการ เป็นต้น ๓.๒ การพัฒนาคุณภาพบริการงานทันตกรรมเฉพาะทาง ให้สอดคล้องกับบริบทและภารกิจที่ เหมาะสมตามความจาเป็นของพืนที่ โดยกาหนดเป้าหมายหน่วยบริการที่ยกระดับคุณภาพการจัดบริการเฉพาะ ทางให้สูงขึน ตลอดจนการพัฒนาปรับปรุงขีดของโครงสร้างการจัดบริการของแต่ละสถานบริการให้เป็นไปตาม แผนพัฒนาเครือข่ายบริการ


5

ร่างประเด็นหลักการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของ Oral Health Service Plan ประเด็นปัญหา

1. -ประชาชน ต้องการใช้ บริการสุขภาพ ช่องปากมาก -ความแออัด ของการบริการ ใน รพ.เขตเมือง -ผู้รับบริการ รอนาน และคิว การรักษายาว

ขนาดของ ปัญหา/ความ รุนแรง

-ประมาณร้อย ละ 30 ของผู้มี สิทธิ์รักษา พยาบาล ยอม ชาระเงินเอง เพื่อให้ได้รับ บริการ -มากกว่าร้อยละ ๑0 ของผู้สูงอายุ ทีไ่ ม่มีฟัน

มาตรการหลัก ในการ แก้ปัญหา

1. ขยายบริการ สุขภาพช่องปาก ในเขตเมือง โดย เพิ่มจุดบริการ 1.1 ศสม. ทุก แห่งต้องมีทันต แพทย์ และทัน ตาภิบาล ปฏิบัติงาน ประจา 1.2 จัดให้มี ความร่วมมือใน การให้บริการ สุขภาพช่องปาก ระหว่าง โรงพยาบาลรัฐ

วิธีแก้ปัญหาด้านระบบบริการ (ให้หมด, หรือลดลง/) การจัดการแต่ระดับ รพศ. (A)

รพท. (S)

รพท. (M1)

รพช. แม่ ข่าย (M2)

รพช. (F1) 60120 เตียง

รพช. (F2) 3090 เตียง

รพช. (F3) 10 เตียง

-

-

-

เป้าหมาย

รพ. สต

ตัวชี้วัด

ระยะสัน

ระยะยาว

ระยะสัน

ระยะยาว

- จัดให้มี บริการ สุขภาพ ช่องปาก โดย ทพ. และ ทภ. ใน ศสม. ทุกแห่ง , ร่วมจัด บริการ สุขภาพ ช่องปาก กับภาค ท้องถิ่น (เทศบาล), เอกชน

-ลด ระยะเวลา รอคอย (คิว) -เพิ่มการ เข้าถึง บริการ สุขภาพ ช่องปาก ของ ประชาชน ทุกกลุ่ม

-จานวน ศสม. ที่มี ทันตแพทย์ และทันตา ภิบาล ปฏิบัติงาน ประจา, หมุนเวียน -จานวน (แห่ง) ท้องถิ่น และ เอกชน ที่ ร่วมในการ ให้บริการ สุขภาพช่อง ปาก

-ผู้สูงอายุ รอคิวทา ฟันเทียม ไม่เกิน ๖ เดือน -การ เข้าถึง บริการ ส่งเสริม, ป้องกัน, รักษา และฟื้นฟู ฯ ทาง สุขภาพ ช่องปาก ร้อยละ

กลวิธี ดาเนินการ

1. คปสอ. รพ.แม่ข่าย สนับสนุนทันตบุคลากร วัสดุ/เครื่องมือ และ งบประมาณ 2. สสจ.ประสาน รพ. แม่ข่าย/ท้องถิ่น/เอกชน เพื่อสร้างความร่วมมือ ในการจัดบริการ สุขภาพช่องปาก ตาม ศักยภาพของพืนที่ 3. หากเกินขีด ความสามารถของพืนที่ กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุน ทพ.คู่สัญญา และทันตภิบาล, งบ ลงทุนครุภัณฑ์เครื่องมือ


6 ประเด็นปัญหา

ขนาดของ ปัญหา/ความ รุนแรง

มาตรการหลัก ในการ แก้ปัญหา

กับท้องถิ่น (เทศบาล) และ เอกชน ตาม บริบทของพืนที่ 2. -ความชุกของ -มากกว่าร้อยละ 2. เพิ่มการ โรคมีมาก ๖0 ของเด็กอายุ เข้าถึงงาน -การเข้าถึง ๓ ปี มีฟัน ส่งเสริมสุขภาพ บริการ ส่งเสริม -จากการสารวจ ช่องปาก และ ป้องกัน และ อนามัยและ ทันตกรรม รักษาพืนฐาน สวัสดิการของ ป้องกันในเขต ของประชาชนใน สานักงานสถิติ ชนบท โดยเพิ่ม ชนบท ต่ามาก ปี 255๔ คลินิกทันตก ประชาชนใน รรม และหรือ พืนที่นอกเขต เพิ่มทันตาภิบาล เทศบาลเข้าถึง ใน รพ.สต. บริการสุขภาพ ช่องปาก ร้อยละ ๘.๕

วิธีแก้ปัญหาด้านระบบบริการ (ให้หมด, หรือลดลง/) การจัดการแต่ระดับ รพศ. (A)

รพท. (S)

รพท. (M1)

รพช. แม่ ข่าย (M2)

รพช. (F1) 60120 เตียง

รพช. (F2) 3090 เตียง

รพช. (F3) 10 เตียง

รพ. สต

เป้าหมาย

ระยะสัน

ระยะยาว

ตัวชี้วัด

ระยะสัน

ระยะยาว ๒๐

-

-

-

-

-

-

-

√ เพิ่ม จานวน ทันตาภิ บาลที่ ปฏิบัติ งานใน รพ.สต.

กลวิธี ดาเนินการ

และการปรับปรุง สถานที่, ปรับระบบการ บริหารจัดการแยกจาก รพ.แม่ข่าย เพิ่มงาน ร้อยละของ เด็กอายุ 1. รพ.แม่ข่าย ส่งเสริม จานวน ๓ ปี มีฟัน สนับสนุน เช่น วัสดุ ทันต รพ.สต.ที่มี นานมผุ งบประมาณ กาลังคน สุขภาพ ทันตาภิบาล ไม่เกิน เป็นต้น ทันตบุคลากร และ ปฏิบัติงาน ร้อยละ สนับสนุนวิชาการ ทันตกรรม ประจา ๕๕ ให้คาปรึกษา ป้องกัน 2. คปสอ. บริหาร จัดการ และจัดให้มี การบูรณาการ กับ งานอนามันแม่และเด็ก 3. CUP, จังหวัด, เครือข่ายบริการฯ สนับสนุนครุภัณฑ์ทัน ตกรรมและปรับปรุง


7 ประเด็นปัญหา

3. ศักยภาพการ บริการทันตก รรมขึนกับผู้ ให้บริการ ไม่ได้ จัดให้มีจานวน

ขนาดของ ปัญหา/ความ รุนแรง

-ทันตแพทย์ เฉพาะทางใน รพศ./รพท. มี ประมาณ 340 คน คิดเป็นร้อย

มาตรการหลัก ในการ แก้ปัญหา

พัฒนาการ จัดบริการทันตก รรมได้ตาม เกณฑ์ อย่างมี ประสิทธิ

วิธีแก้ปัญหาด้านระบบบริการ (ให้หมด, หรือลดลง/) การจัดการแต่ระดับ รพศ. (A)

รพท. (S)

รพท. (M1)

รพช. แม่ ข่าย (M2)

รพช. (F1) 60120 เตียง

รพช. (F2) 3090 เตียง

รพช. (F3) 10 เตียง

รพ. สต

เป้าหมาย

ระยะสัน

√ -ปรับปรุง รูปแบบ การ จัดบริการ เพื่อเพิ่ม

ระยะยาว

-หน่วย บริการ สุขภาพ ทุกระดับ สามารถ

ตัวชี้วัด

ระยะสัน

-ร้อยละที่ เพิ่มขึนของ หน่วย บริการ สุขภาพที่

กลวิธี ดาเนินการ

ระยะยาว ห้องทันตกรรม จากงบ ค่าเสื่อม (UC) ๔. กระทรวง สาธารณสุข ผลักดัน นโยบายเพื่อให้ ดาเนินการตาม มาตรการ ได้แก่ การสนับสนุนงานใน การจัดซือครุภัณฑ์ เครื่องมือ ปรับปรุง พืนที่ใน รพ.สต., ดาเนินการจ้าง ทภ. ที่จบการศึกษา เป็นต้น -ร้อยละ -กรรมการระดับเขต ของผู้ป่วย กาหนดจุดและงาน ทันตกรรม ทันตกรรมที่ต้องการ ที่ถูกส่งต่อ พัฒนา นอก -บริหารจัดการทันต


8 ประเด็นปัญหา

ขนาดของ ปัญหา/ความ รุนแรง

มาตรการหลัก ในการ แก้ปัญหา

และกระจายให้ ละ 15 ของ ทพ. ภาพ เหมาะสม คุ้มค่า ใน สป.สธ.

วิธีแก้ปัญหาด้านระบบบริการ (ให้หมด, หรือลดลง/) การจัดการแต่ระดับ รพศ. (A)

รพท. (S)

รพท. (M1)

รพช. แม่ ข่าย (M2)

รพช. (F1) 60120 เตียง

รพช. (F2) 3090 เตียง

รพช. (F3) 10 เตียง

รพ. สต

เป้าหมาย

ตัวชี้วัด

ระยะสัน

ระยะยาว

ระยะสัน

ระยะยาว

ประสิทธิ ภาพ

จัดบริการ ทันตกรรม ได้ตาม เกณฑ์ อย่างมี ประสิทธิ ภาพ -เพิ่มการ เข้าถึง บริการ สุขภาพ ช่องปาก ของ ประชาชน ทุกกลุ่ม

สามารถ จัดบริการ ทันตกรรม ได้ตาม เกณฑ์

จังหวัด ลดลง -การ เข้าถึง บริการ ส่งเสริม, ป้องกัน, รักษา และฟื้นฟู ฯ ทาง สุขภาพ ช่องปาก ร้อยละ ๒๐

กลวิธี ดาเนินการ

แพทย์เฉพาะทางใน เครือข่ายบริการ สุขภาพ ให้สามารถ ให้บริการในจุดบริการที่ มีศักยภาพตามเกณฑ์ -การจัดหาครุภัณฑ์ทัน ตกรรมและผู้ช่วยงาน ทันตกรรมให้สอดคล้อง กับจานวนผู้ให้บริการ - CUP, จังหวัด,เขต สนับสนุนการพัฒนา บุคลากร และการ ศึกษาต่อเนื่อง


การพัฒนาคุณภาพบริการงานทันตกรรมเฉพาะทาง

9

การรักษาในระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ที่เป็นการรักษาในผู้ป่วยที่มีความยุ่งยากซับซ้อนต้องใช้ความสามารถของ ทันตแพทย์ที่มีความรู้ความชานาญเฉพาะทางในการรักษา ต้องจัดระดับขีดความสามารถในการรักษา ของแต่ละหน่วยบริการ และจัดระบบการประสานงานและส่งต่อในเครือข่าย เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ดีและปลอดภัย มาตรการหลักในการแก้ปัญหา

3.1 การติดเชือในบริเวณช่องปากและ ใบหน้าที่มีสาเหตุจากฟันและอวัยวะในช่อง ปาก 3.2 การบาดเจ็บของอวัยวะในช่องปาก กระดูกขากรรไกรและใบหน้า 3.3 การแก้ไขความผิดปกติของการสบฟัน และขากรรไกรของผู้ป่วยปากแหว่งเพดาน โหว่ 3.4 การรักษาเนืองอกหรือมะเร็งในช่อง ปากและขากรรไกร 3.5 การรักษาฟันในผู้ป่วยเด็กที่มีโรคทาง ระบบหรือีความผิดปกติของพฤติกรรมเช่น Down Syndrome 3.6 การฝังรากฟันเทียมในผู้สูงอายุที่ต้องใส่ ฟันเทียมทังปาก 3.7 การทาRehabilitation ในผู้ป่วยที่สญ เสียฟันเป็นจานวนมากที่ต้องฟื้นฟูระบบ การบดเคียว 3.8 การใส่อวัยวะเทียมบนใบหน้า ขากรรไกรและในช่องปากที่สูญเสียจากการ ผ่าตัดเนืองอกหรือมะเร็ง 3.9 การรักษาคลองรากฟันที่มีหลายราก และมีรูปร่างผิดปกติรวมถึงการรักษาคลอง รากฟันกรณีเครื่องมือหักในคลองราก

วิธีแก้ปัญหาด้านระบบบริการการจัดการและการรักษาแต่ละระดับ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รักษาได้ทั้งหมด รักษาได้บางส่วนหรีอกรณีที่ไม่ ตรวจและให้ ซับซ้อนมากและส่งต่อ คาแนะนาและ รวมถึงรับกลับรักษาต่อเนื่อง ส่งต่อ


10 มาตรการหลักในการแก้ปัญหา

3.10 การรักษาโรคปริทันต์ที่ต้องผ่าตัด เหงือกและกระดูกที่รองรับฟันรวมถึงการ ปลูกกระดูก

วิธีแก้ปัญหาด้านระบบบริการการจัดการและการรักษาแต่ละระดับ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รักษาได้ทั้งหมด รักษาได้บางส่วนหรีอกรณีที่ไม่ ตรวจและให้ ซับซ้อนมากและส่งต่อ คาแนะนาและ รวมถึงรับกลับรักษาต่อเนื่อง ส่งต่อ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.