ทันตภูธร
เพือ่ เสริมสร้างแรงบันดาลใจและความสุขในการทำางาน
ปีที่ 22 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555
Oral Health Sevices Plan เเผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก Lion Oral Health Award 2012 Toothfriendly Dental Clinic Lost in Tokyo สรุปผลการผลักดันเรือ่ งความกาวหนาของทันตาภิบาล
ทักทายบรรณาธิการ ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ nithimar_or@yahoo.com
Oral Health Service Plan หรือ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ของกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.2556-2559) ระบุไว้ในหัวข้อ ปัญหาสุขภาพ ช่องปากของประชาชนไทย ว่า “โรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัดในกลุ่มเด็กประเทศพัฒนาน้อยและกำ�ลังพัฒนา” นั่นแสดงว่า ประเทศไทยเป็น ประเทศพัฒนาน้อยและกำ�ลังพัฒนา ..หรือนี่ ????.... ส่วนตัวไม่คอ่ ยอยากจะยอมรับ แต่กต็ อ้ งทำ�ใจค่ะ อย่างน้อยค่าลงทะเบียนเข้าประชุมระดับนานาชาติ ก็ถกู ลงมาก เมือ่ คุณเป็นทันตแพทย์ทเ่ี ดินทางไกลมาจากประเทศกำ�ลังพัฒนา ! เรามาให้ความสำ�คัญทีว่ รรคแรกของประโยคเดิมกันดีกว่านะคะ “โรคฟันผุเป็นปัญหาทีเ่ ด่นชัดในกลุม่ เด็ก” แปลว่าเด็กไทยส่วนใหญ่จะมีฟนั ผุ ..ใช่คะ่ .. เมือ่ นึกถึงเด็กกับการทำ�ฟันแล้ว ดิฉนั เป็นทันตแพทย์ทท่ี �ำ ฟันให้เด็กน้อยรายมากค่ะ เด็กทีท่ �ำ ฟันให้สว่ นใหญ่จะมาทำ�ฟันพร้อมๆ กับผูป้ กครอง คือพ่อแม่พป่ี า้ น้า อามาทำ�ฟัน เด็กมานอนดูทวี รี อตัง้ แต่ตวั เล็กๆ รอไปรอมาหลายๆ ครัง้ จากหัดเดินมาเป็นเดินได้ กเ็ ดินไปยืนเกาะประตูหอ้ งฟันแอบดูวา่ คุณแม่ท�ำ อะไร เห็นคุณ แม่นอนปิดตาอ้าปากอยูบ่ นเตียงปรับได้ มีสง่ิ มีชวี ติ ทีเ่ ป็นมนุษย์ประหลาดใส่ชดุ ขาวๆ ใส่หน้ากาก ใส่ถงุ มือมิดชิด มองเห็นแต่ลกู ตา นัง่ ถืออาวุธทีม่ เี สียงหวือๆๆ เจาะอะไรในปากคุณแม่ตลอดเวลา ช่างน่ากลัวมากมาย แอบเห็นอีกว่า เจ้าชุดขาวนีม้ คี หู่ เู ป็นเจ้าชุดสีมว่ ง แต่งตัวปกปิดมิดชิด มองเห็นแต่ลกู ตาไม่ตา่ งกัน แต่ เจ้าสีมว่ งนีม้ อี าวุธเป็นสายยาง คงดูไม่นา่ กลัวเท่าไหร่ พอเด็กเริม่ โตคุยรูเ้ รือ่ งมากขึน้ คุณแม่กอ็ มุ้ มาสร้างความคุน้ เคยกับเจ้าเตียงขยับได้ ทีม่ นุษย์ประหลาดใส่ ชุดขาว ชือ่ ว่า “คุณหมอ” โม้วา่ เป็นเตียงเคลือ่ นทีเ่ องได้ มีราคาแพงและทีบ่ า้ นไม่มใี ห้เล่น ล่อกันไปหลอกกันมา จนได้ดแู ลฟันกันตัง้ แต่เจ้าหนูนอ้ ยฟันขึน้ ไม่กซ่ี ่ี ได้กกุ๊ ไก่ท�ำ จากถุงมือไปหลายตัว ตอนนีเ้ ด็กน้อยหัดเดินเตาะแตะ กลายเป็นหนุม่ น้อย สาวน้อยทีไ่ ด้รบั การรักษาฟันเป็นประจำ�และไม่กลัวหมอฟันอีกแล้ว ^^ เมือ่ ย้อนรำ�ลึกจากประสบการณ์ลว้ นๆ เลยพบว่า การเข้าถึงระบบบริการสุขภาพช่องปากของเด็กนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ความตระหนักและเล็งเห็นความสำ�คัญใน การดูแลสุขภาพช่องปากของผูป้ กครองมาก ถึงมากทีส่ ดุ ค่ะ ถ้าเด็กคนไหนมีผปู้ กครองทีใ่ ห้ความสำ�คัญสุขภาพช่องปากของตนเองก็มกั จะดูแลสุขภาพช่องปาก ของบุตรหลานได้ดกี ว่าผูป้ กครองทีไ่ ม่สนใจดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง และการพาเด็กมาให้ทนั ตแพทย์ท�ำ ฟันได้นน้ั ส่วนใหญ่ผปู้ กครองต้องมีการวางแผนที่ ดี ทัง้ ขู่ ทัง้ ปลอบมาก่อนลากเชิญกันมาพบทันตแพทย์แทบทัง้ นัน้ เพราะผูป้ กครองให้ความร่วมมือการรักษาช่องปากเด็กจึงจะสำ�เร็จลุลว่ งไปด้วยดีได้โดยง่าย อย่างไรก็ตามมีผปู้ กครองจำ�นวนไม่นอ้ ยทีผ่ ลักภาระการดูแลสุขภาพช่องปากบุตรหลานตนเองให้เป็นหน้าทีข่ องทันตแพทย์ เด็กๆ ไม่เคยได้รบั การปลูกฝังให้มี ระเบียบวินยั ในการรักษาความสะอาดฟันตนเองจากผูป้ กครองเท่าทีค่ วรจะเป็น เด็กมาพบทันตแพทย์เมือ่ มีฟนั ผุมากจนถึงขัน้ ปวดฟัน ร้องไห้ระงม งอแง และ ผูป้ กครองกลุม่ นีก้ ม็ กั จะเป็นกลุม่ ทีม่ คี วามคาดหวังสูงกว่าปกติ เสมือนทันตแพทย์ตอ้ งมีเวทย์มนต์วเิ ศษสามารถเสกให้ฟนั ไม่ผุ เด็กไม่รอ้ งไห้ เด็กหายปวดฟัน ในบัดนัน้ ทันทีทนั ใด ...ถ้าร่ายเวทย์เสกมนต์ได้จริง ก็ปรารถนาจะย้อนเวลาให้ทา่ นผูป้ กครองช่วยใส่ใจดูแลฟันขาวๆ ประดุจนา้ํ นมของลูกน้อยตัง้ แต่ฟนั ซีแ่ รก โผล่พน้ เหงือกขึน้ มา ก่อนทีจ่ ะผุลกุ ลามจนยากเกินเยียวยาในวันนี้ .....แต่เป็นไปไม่ได้คะ่ ...ดิฉนั ไม่ใช่ผวู้ เิ ศษ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากจึงควรเริม่ จากการปรับทัศนคติของผูป้ กครองต่อการดูแลรักษาฟันก่อนเป็นลำ�ดับแรกค่ะ เชือ่ ว่าน่าจะมีเด็กอีก หลายคนเข้าไม่ถงึ ระบบสุขภาพช่องปากเพราะทัศนคติของผูป้ กครองนะคะ ดฉิ นั จึงเห็นด้วยอย่างยิง่ ทีม่ กี ารทำ�การข่าว ลูกรักฟันดีเริม่ ทีซ่ แ่ี รก ผ่านสือ่ สาธารณะ ต่างๆหลากหลายมากมาย เพราะความรักทีม่ ตี อ่ ลูก เมือ่ ผูป้ กครองเห็นความสำ�คัญของสุขภาพช่องปากจะช่วยใส่ใจดูแลฟันซีแ่ รก สร้างสุขนิสยั ทีด่ ใี นการดูแล ฟันตัง้ แต่ลกู ยังเล็กเป็นเด็กน้อย หลายครัง้ ทีเ่ ห็นคุณแม่นา้ํ ตาซึมสงสารลูกทีก่ �ำ ลังปวดฟัน แล้วยืนยันเป็นมัน่ เหมาะว่าต่อไปจะดูแลฟันลูกให้ดกี ว่านี ้ คุณแม่ แบบนีก้ ม็ นี ะคะ ถึงจะมีจ�ำ นวนน้อยไปก็ตาม สำ�หรับเนือ้ หาในโฆษณาแม้สว่ นตัวจะรูส้ กึ ว่า ครอบครัวแดร๊กคูลา่ “ลูกรักฟันดีเริม่ ทีซ่ แ่ี รก...แฮ่กๆ” นัน้ อาจจะ แปลกๆใหม่ๆ แต่ดอู อกจะไกลตัวชาวบ้านไปสักหน่อย ถา้ ได้ดาราแม่ลกู อ่อนอดีตนางเอกละครโทรทัศน์มาแปรงฟันลูกรักให้ชาวประชาชืน่ ชม ดึงดูดความสนใจ แฟนคลับ คงจะสร้างความตืน่ ตัวในการดูแลฟันซีแ่ รกได้ทว่ั ไทยในพริบตาเลยค่ะ แต่ถงึ อย่างไรก็ขอชืน่ ชมและเข้าใจว่าเป็นการเริม่ ต้นทีด่ ี ในการช่วยกระตุน้ ให้ผู้ ปกครองเอาใจใส่ดแู ลฟันซีแ่ รกของบุตรหลาน และเข้ามามีรว่ มพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากร่วมกัน เพราะการมีสขุ ภาพฟันทีด่ นี น้ั ผูป้ กครองไม่ควรฝาก ช่องปากของบุตรหลานไว้กบั ทันตแพทย์แต่เพียงฝ่ายเดียวนะคะ เช่นเดียวกัน ประเทศไทยไม่ใช่ของใครคนใดคนเดียว การพัฒนาประเทศไทยจึงเป็นภารกิจ ของพวกเราคนไทยทุกคน สวัสดีปใี หม่คะ่ ขอให้ประเทศไทยจงเจริญ ....สาธุ ....สาธุ ....สาธุ วารสารทันตภูธร 1 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
1 ทักทายบรรณาธิการ : ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ 3 พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 4 พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก (Oral health service plan) ของกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙) โดย ทพญ.สุณี วงศ์คงคาเทพ สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 10 Oral health service plan เสียงจาก รพช. 13 ระบบข้อมูลหัวใจของการพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข โดย ทพ. ฎณัฎฐนนท์ อัศววัฒฑกี สสจ.นครศรีธรรมราช 17 ...รมณ์ดๆี กับ งานประชุมวิชาการชมรมทันตสาธารณสุข แห่งประเทศไทย ปี 2555 โดย ผศ.ดร.ทพญ.จรัญญา หุ่นศรีสุกล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 22 รางวัลที่ 1 : Lion Oral Health Award 2012 26 สหวิชาชีพ การทำ�งานร่วมกันของทีมสาธารณสุขป่าบอน 27 ไกลเกินช่องปาก ลึกกว่าคอหอย โดย นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ชมรมแพทย์ชนบท 28 คลินกิ ทันตกรรมทีแ่ ตกต่าง Toothfriendly Dental Clinic โดย ทพ.ดร.ธงชัย วชิรโรจน์ไพศาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 34 ข่าวจากติวานนท์ โดย หมอแพร รพช.บางใหญ่ 36 Lost in Tokyo…....the story by iherebic 41 เรื่องเล่าจากภูอังลัง โดย หมอฟันไทด่าน 43 Jay-ac Change the world
สารบัญ ทันตภูธร 44 45 48 53 55 57 64
จุดประกายความคิด โดย ทพญ.ดร. มัทนา เกษตระทัต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Oral Health Services โดย : ทพญ.ดร.สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่องมากมากเรื่องจากเมืองน่าน : กิจกรรมการประเมิน โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี จังหวัดน่าน โดย ทพญ.ประภาพร คำ�หว่าง รพช. เวียงสา จ.น่าน การบู ร ณาการงานส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพคนพิ ก ารใน อำ�เภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง โดย ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ (หมอชูชู) รพ.ป่าบอน จ.พัทลุง อรรควัชร์ถาม...มณฑลิกานต์ตอบ โดย ทพ.อรรถวัชร์ สนธิชัย รพช.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย สรุปผลการผลักดันเรือ่ งความก้าวหน้าของทันตาภิบาล (3-22 ธันวาคม 2555) เพิ่มเติมถึงวันที่ 16 มค. 2556 บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จำ�กัด กรองใจท้ายเล่ม โดย ทพญ. บานเย็น ศิริกุลเวโรจน์ สสจ.สงขลา/ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร
● ชมรมทั น ตสาธารณสุ ข ภู ธ ร ● ประธานชมรมฯ
: ทพญ. บานเย็น ศิริกุลเวโรจน์ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เลขที่ 161/1 ถนนรามวิถี ตำ�บลบ่อยาง อำ�เภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทรศัพท์ 074 - 326091 ต่อ 107 , 105 โทรสาร 074 – 311386 ● วารสารทันตภูธร ที่อยู่ 42/198 ซ.ติวานนท์ 38 ถ. ติวานนท์ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร 083 – 4934543 ruralmax2007@ gmail.com ● บรรณาธิการ : ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ ● กองบรรณาธิการ : ทพญ.วิโรชา เพียรเจริญ, ทพญ.สุรีรัตน์ สูงสว่าง, ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ ● ปก : ทพ. ปิยะพงศ์ ปวงคำ� ● ผู้ดำ�เนินการจัดพิมพ์ ผู้โฆษณา : บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จำ�กัด ที่อยู่ 119/887 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี บทความทั้งหมดรับผิดชอบโดยผู้เขียนข้อเขียนนั้นๆ มิได้เกี่ยวข้องกับชมรมทันตสาธารณสุขภูธร หรือ วารสารทันตภูธร วารสารทันตภูธร 2 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ในหลวงพระราชทาน ส.ค.ส.ปี ๒๕๕๖
ในหลวงพระราชทาน ส.ค.ส. แก่พสกนิกรชาวไทย ทรงพิมพ์ขอ้ ความ ขอจงมีความสุข ความเจริญ HAPPY NEW YEAR พร้อมข้อความว่า เมตตาเป็นคุณธรรมนำ�ความสุข
เมือ่ เวลา ๒๐.๐๐ น. วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทาน ส.ค.ส. ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ แก่ ประชาชนชาวไทย โดยส.ค.ส.พระราชทาน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ประจำ�ปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๖ นี้ เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฉลองพระองค์เชิ้ตลำ�ลองสีฟ้า มีลายเส้นสีชมพูและสีฟ้าเข้มพาดตัดกัน พระสนับเพลาสีดำ� และ ฉลองพระบาทสีดำ� ประทับบนพระเก้าอี้ ด้านขวาของพระเก้าอี้ที่ประทับ มีโต๊ะกลม วางพระบรมฉายาลักษณ์ครอบครัว และเชิง เทียนแก้ว ทรงฉายกับสุนัขทรงเลี้ยง คือ คุณทองแดงที่ทรงเลี้ยงมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๑ สวมเสื้อสีทอง หมอบอยู่แทบพระบาทด้านขวา และคุณมะลิ แม่เลี้ยงคุณทองแดง สวมเสื้อสีทอง หมอบอยู่แทบพระบาทด้านซ้าย ด้านหลังพระเก้าอีท้ ปี่ ระทับ ตกแต่งด้วยดอกกล้วยไม้หลากสี ด้านขวาบน มีตราพระมหาพิชยั มงกุฎประดับ ส่วนด้านซ้ายมีผอบ ทองประดับ ด้านล่างของผอบทองมีตัวอักษรสีทอง ข้อความว่า ส.ค.ส. พ.ศ. ๒๕๕๖ สวัสดีปีใหม่ และตัวอักษรสีขาว ข้อความว่า ขอจงมีความสุขความเจริญ HAPPY NEW YEAR ด้านขวา ใต้ตราพระมหาพิชยั มงกุฎ มีขอ้ ความพิมพ์ดว้ ยตัวอักษรสีเหลือง ข้อความว่า “ความเมตตาเป็นคุณธรรมนำ�ความสุข ช่วยปลอบปลุกปรุงใจให้หรรษา ความกตัญญูรู้คุณผู้เมตตา ทวีค่าของน้ำ�ใจไมตรีเอย” ด้านล่างของ ส.ค.ส. มีแถบสีมว่ งเข้ม มุมล่างขวา มีขอ้ ความ ก.ส.๙ ปรุง ๑๘๑๑๑๒ ธค.๕๕ พิมพ์ทโ่ี รงพิมพ์สวุ รรณชาด ท.พรหมบุตร, ผู้พิมพ์โฆษณา Printed at the Suvarnnachad, D Bramaputra, Publisher กรอบของ ส.ค.ส. พระราชทานฉบับนี้ เป็นภาพใบหน้าคนเล็กๆ เรียงกัน ด้านซ้ายและด้านขวาเรียงกันด้านละ ๓ แถว ส่วนด้านบนและด้านล่างเรียงกันด้านละ ๒ แถว ทุกหน้า มีแต่รอยยิ้ม วารสารทันตภูธร 3 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก (Oral health service plan) ของกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙) ทพญ.สุณี วงศ์คงคาเทพ สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการสุขภาพช่องปาก ๑. ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย โรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัดในกลุ่มเด็กประเทศพัฒนาน้อยและกำ�ลังพัฒนา เมื่อไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที โรคจะ ลุกลามและสูญเสียฟันในที่สุด ส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพ การสบฟัน และการเรียน๑ ในประเทศไทยพบเด็กอายุ ๑๒ ปีร้อยละ ๔.๓ และเด็กอายุ ๑๕ ปีร้อยละ ๔.๑ ปวดฟันจนขาดเรียนเฉลี่ย ๒.๕ และ ๔.๔ วัน ตามลำ�ดับ๒ ขณะที่เด็กปฐมวัยพบอัตราฟันผุในเด็ก กลุ่มอายุ ๓ ปีร้อยละ ๖๑.๔ ถือเป็นสถานการณ์ปัญหาในระดับสูง ขณะที่กลุ่มผู้ใหญ่มีปัญหาโรคฟันผุและปริทันต์อักเสบรวมทั้ง ความเสื่อมถอยจากการมีอายุยืนยาว เป็นอุปสรรคต่อการดำ�เนินกิจกรรมในชีวิตประจำ�วัน (everyday life activities) และการงาน อาชีพ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต๓ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มสูงอายุ ๒. การมีหลักประกันสุขภาพของคนไทย การมีหลักประกันสุขภาพ เป็นการลดอุปสรรคและภาระในการจ่ายค่ารักษาพยาบาล สถานการณ์อตั ราการมีหลักประกันสุขภาพ ของประชาชนไทย ในปี ๒๕๕๒ เป็นร้อยละ ๙๗.๔ ส่วนใหญ่เป็นสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ร้อยละ ๗๖.๑ รองลงมาเป็นสิทธิ ประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทนร้อยละ ๑๒.๓ สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ ๗.๗ โดย แต่ละหลักประกันสุขภาพมีชุดสิทธิประโยชน์ แม้จะมีระบบประกันสุขภาพภาครัฐ แต่ยังปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึงบริการทั้งจาก การจัดบริการและด้านประชาชน๔ นอกจากนีใ้ นทัศนะของสังคมไทย ค่าบริการรักษาโรคในช่องปากและการฟืน้ ฟูสภาพยังมีราคาแพง รวมทั้งทันตบุคลากรและบุคลากรสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น๕ เป็นอุปสรรคสำ�หรับการใช้บริการภาคเอกชนเมื่อภาครัฐ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ ๑
๓ ๔ ๕ ๒
Ca laro lu M, Kilic N, Erdem A. Effects of early unilateral first molar extraction on skeletal asymmetry. Am J Orthod Dentofacial Orthop 2008;134:270-5. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. รายงานผลการสำ�รวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ ๖ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๐. โรงพิมพ์สำ�นัก กิจการองค์การทหารผ่านศึก, ๒๕๕๑. Reisine ST, Fertig J, Weber J, Leder S. Impact of dental conditions on patients’ quality of life. Community Dent Oral Epidemiol 1989(17):7-10. เพ็ญแข ลาภยิ่ง. การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก. ในเศรษฐศาสตร์บริการสุขภาพช่องปาก. นนทบุรี : สำ�นักทันตสาธารณสุข; ๒๕๕๔. โรงพิมพ์องค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึก เพ็ญแข ลาภยิ่ง, เสกสรรค์ พวกอินแสง. ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์สุขภาพช่องปากแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๙๙. สำ�นักทันตสาธารณสุข ๒๕๕๕.
วารสารทันตภูธร 4 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
๓ . สถานการณ์กำ�ลังคนด้านทันตสุขภาพ ปัจจุบนั สถานการณ์ของกำ�ลังคนผูใ้ ห้บริการสุขภาพช่องปากมีแนวโน้มดีขนึ้ เนือ่ งจากมีโครงการทันตแพทย์คสู่ ญ ั ญา และ โครงการ ผลิตทันตแพทย์เพิ่มปีละ ๒๐๐ คน เป็นระยะเวลา ๑๐ ปี จะเห็นว่าสัดส่วนทันตบุคลากรต่อประชากรระหว่าง พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๓ โดยสถานการณ์ทันตแพทย์มีแนวโน้มดีขึ้นในภาพรวมประเทศ (๑: ๕๗๘๘) แต่มีปัญหาในการกระจายพบว่าสัดส่วนทันตแพทย์ ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร = ๑: ๑,๐๗๖ ขณะที่ในภูมิภาค = ๑: ๑๐,๑๕๑) โดยมีทันตแพทย์เกินครึ่งอยู่ในภาคเอกชน (ร้อยละ ๕๑.๕ ของทันตแพทย์ทั้งหมด) ส่วนทันตาภิบาลมีจำ�นวนเพิ่มไม่มากนักในแต่ละปี แต่มีการกระจายตัวอยู่ในภูมิภาค ในสัดส่วนที่ดีกว่า (สัดส่วนต่อประชากรอายุ ๐-๑๔ ปี = ๑: ๒, ๔๑๖) ดีกว่าในกรุงเทพมหานคร (กทม.) ซึ่งมีสัดส่วน ๑: ๒๖,๕๓๗ สวนทางกับการกระจายตัวของทันตแพทย์ ๖ แม้ว่าทันตแพทย์และทันตาภิบาลภาครัฐมีจำ�นวนเพิ่มขึ้นตลอดมาแต่ผลิตภาพบริการ ทันตกรรมภาครัฐไม่เพิม่ ขึน้ อย่างได้สดั ส่วนกัน๗ เนือ่ งจากจำ�นวนครุภณ ั ฑ์ทนั ตกรรมหลักในการบริการไม่ได้เพิม่ ขึน้ อย่างสัมพันธ์กนั ใน ทุกระดับ (ตาราง ๑) ตารางที่ ๑ บุคลากรและยูนติ ทันตกรรมในสถานพยาบาลสังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๕ ประเภท โรงพยาบาล
จำ�นวน จำ�นวนที่ (แห่ง) รายงาน (แห่ง)
ค่าเฉลีย่ ยูนติ ทันตกรรม ค่าเฉลีย่ ผูบ้ ริการทันตกรรม (ตัว/แห่ง) (คน/แห่ง) รพ. รพ.สต. รวมระดับ ทันตแพทย์ ทันตาภิบาล รวม แม่ขา่ ย CUP
ชุมชน ๑๐-๓๐ เตียง
๔๕๒
๓๒๔
๒.๙
๒.๑
๕.๐
๒.๕
๔.๐
๖.๕
มากกว่า ๓๐ เตียง
๒๘๘
๒๓๙
๔.๑
๓.๗
๗.๘
๔.๑
๖.๒
๑๐.๓
ทัว่ ไป ไม่เกิน ๓๐๐ เตียง
๒๐
๑๖
๖.๑
๔.๑
๑๐.๒
๖.๔
๕.๗
๑๒.๑
มากกว่า ๓๐๐ เตียง
๕๐
๓๔
๙.๓
๖.๔
๑๕.๗
๑๑.๔
๖.๕
๑๗.๘
ศูนย์
๒๕
๑๗
๑๔.๕
๙.๘
๒๔.๒
๑๓.๘๒
๗.๙
๒๑.๘
รวมทุกระดับ
๘๓๕
๖๓๐
๔.๑
๓.๒
๗.๓
๔.๐
๕.๑
๙.๑
หมายเหตุ รพ.สต.ทัว่ ประเทศมีจ�ำ นวน ๙,๗๕๐ แห่ง ทีม่ า: สำ�นักบริการการสาธารณสุข. ระบบรายงานข้อมูลสนับสนุนงานทันตสาธารณสุข สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. รายงานบุคลากรด้านทันตสาธารณสุข ประจำ�ปี ๒๕๕๕. เอกสารอัดสำ�เนา, ๒๕๕๕. สำ�นักบริการการสาธารณสุข สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ระบบรายงานข้อมูลสนับสนุนงานทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔
๖
๗
วารสารทันตภูธร 5 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
๔. ผลิตภาพ (Productivity) ของงานทันตสาธารณสุข ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ผลิตภาพ (Productivity) ของงานทันตสาธารณสุขในครั้งนี้ จึงใช้ข้อมูลของสำ�นักบริหารการสาธารณสุข ซึ่งเป็นข้อมูลของสถานบริการสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลและ รพ.สต. ในสังกัด สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีการรายงาน ต่อเนือ่ ง โดยนำ�ข้อมูลปี ๒๕๕๐-๒๕๕๔ เป็นตัวแทนเนือ่ งจากมีจ�ำ นวนหน่วยทีร่ ายงานข้อมูลมากเพียงพอ พบว่าการให้บริการส่งเสริม ทันตสุขภาพ และทันตกรรมป้องกันเพิ่มมากขึ้นจากร้อยละ ๓๗.๑ ในปี ๒๕๐๐ เป็น ๔๗.๙๘ ในปี ๒๕๕๔ และการให้บริการพื้นฐาน เป็นงานอุดฟันเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนงานอุดฟันต่อถอนฟัน จาก ๐.๘๑ ในปี ๒๕๐๐ เป็น ๐.๙๘ ในปี ๒๕๕๔ ทำ�ให้ประมาณระยะเวลา เฉลี่ยการให้บริการแต่ละรายไม่เปลี่ยนแปลง และจากข้อมูลพบว่าจำ�นวนคนไข้เฉลี่ยต่อผู้ให้บริการทันตกรรมต่อปี มีค่าอยู่ระหว่าง ๑,๔๖๕ ถึง ๑,๖๒๔ ราย หากคิดเป็นค่าเฉลี่ยต่อวันจะประมาณเท่ากับ ๖.๔ ถึง ๗.๑ ราย จากจำ�นวนวันทำ�งาน ๒๓๐ วันต่อปี ซึ่ง ประมาณการยังสามารถเพิม่ จำ�นวนการให้บริการสุขภาพช่องปากได้อกี ในกรณีมแี ผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากอย่างชัดเจน หากพิจารณาคุณลักษณะของหน่วยบริการและปัจจัยนำ�เข้า พบว่าจำ�นวน ยูนิตทันตกรรม และเครื่องมือหลักๆ สำ�หรับใช้ทำ�หัตถการ ทันตกรรม มีความขาดแคลน คือ มีประมาณร้อยละ ๗๘ - ๘๐ เทียบกับจำ�นวนผู้ให้บริการตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ๕. การใช้บริการสุขภาพช่องปาก จากผลการสำ�รวจอนามัยและสวัสดิการของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่า ประชาชนใช้บริการสุขภาพช่องปาก ในรอบปีที่ผ่านมา เพิ่มจากการสำ�รวจครั้งก่อน (ร้อยละ ๙.๓ และ ๘.๗ ตามลำ�ดับ) ๘,๙ แต่ยังคงอยู่ในระดับตํ่าและเป็นบริการที่ทำ�ให้ สูญเสียฟันเนื่องจากบริการที่ใช้ในครั้งล่าสุดมากเป็นอันดับหนึ่งยังคงเป็น การถอนฟัน (ร้อยละ ๓๕.๑๗) รองลงมาคือ การอุดฟัน ร้อย ละ ๒๕.๘ เพิ่มจากการสำ�รวจครั้งก่อน (ร้อยละ ๑๘.๖) แม้ว่า ประชากรส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๙๐) จะบอกว่า ไม่มีปัญหาในช่องปากจึง ไม่ใช้บริการ แต่ในกลุ่มที่มีปัญหาซึ่งควรจะมาใช้บริการแต่ไม่ใช้บริการ ส่วนใหญ่ระบุสาเหตุคือ ไม่มีเวลา (ร้อยละ ๖๒, ๖๐.๔ และ ๓๙.๖ ของกลุม่ ลูกจ้าง ข้าราชการ และสิทธิบตั รทอง ตามลำ�ดับ) เนือ่ งจากประชาชนเป็นผูต้ ดั สินใจขัน้ สุดท้ายว่าจะใช้บริการหรือไม่ ใน การเพิ่มการเข้าถึงบริการจึงต้องจัดการบริการให้ตอบสนองต่อปัจจัยเหล่านี้ร่วมด้วย เป็นที่น่าสังเกตว่า แหล่งบริการยอดนิยมในการ สำ�รวจครัง้ ล่าสุดนีค้ อื คลินกิ เอกชน โดยประชาชนในกรุงเทพมหานคร ภาคกลาง และภาคใต้ นิยมใช้บริการคลินกิ เอกชนเป็นอันดับหนึง่ ส่วนภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือใช้บริการจากโรงพยาบาลชุมชน รองลงมาคือ คลินิกเอกชน ดังนั้นหากสามารถจัดการให้ คลินิกเอกชนเข้ามาร่วมจัดบริการที่จำ�เป็นร่วมกับภาครัฐ จะเป็นการขยายบริการในระดับปฐมภูมิซึ่งเป็นมาตรการหลักในการเพิ่ม การเข้าถึงบริการในเขตเมือง ๖. กองทุนทันตกรรมกับการจัดบริการสุขภาพช่องปาก การพัฒนาระบบบริการทันตกรรมตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ เป็นต้นมา กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติก�ำ หนดนโยบายส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปาก ในรูปแบบการบริหารจัดการงบประมาณโดย “กองทุนทันตกรรม” ให้เกิดการจัด บริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากตามสภาพปัญหา และความจำ�เป็นของประชาชนในกลุม่ เป้าหมายหลักของพืน้ ที ่ และผูม้ สี ทิ ธ ทุกสิทธิสามารถได้รบั บริการทันตกรรมได้อย่างครอบคลุม ทัว่ ถึง และมีประสิทธิภาพ โดยสนับสนุนงบประมาณพัฒนาระบบการบริหาร จัดการระดับพืน้ ทีใ่ ห้เกิดการดำ�เนินงานทันตสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน โรคและรักษาทางทันตกรรมในทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข และจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพช่อง ปากระดับชาติ รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพ/การผลิต/กระจายทันตบุคลากร ในหน่วยบริการทุกระดับให้เพียงพอและครอบคลุม โดย เฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มทันตบุคลากรในระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลทุกแห่ง คำ�นวณจากฐานข้อมูลการสำ�รวจอนามัยและสวัสดิการ. สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ. พ.ศ. ๒๕๕๔. วีระศักดิ์ พุทธาศรี, เพ็ญแข ลาภยิ่ง. การใช้บริการสุขภาพช่องปากของคนไทย ๕ ปี หลังการดำ�เนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. วารสารวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕๒;๑๘(๔) ๔๘๙-๕๐๓.
๘ ๙
วารสารทันตภูธร 6 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
๗. การจัดบริการสุขภาพช่องปากในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล (รพ.สต.) ปัจจุบันมีรพ.สต.ทั่วประเทศรวม ๙,๗๕๐ แห่ง กระจายอยู่ใน ๗,๒๓๘ ตำ�บล มีเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงานใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล ๒,๒๙๐ คน จากนโยบายผลิตเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขเพิ่มเป็นพิเศษ ในหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) ระยะเวลาศึกษา ๒ ปีจำ�นวน ๑ รุ่น ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ เพือ่ เร่งให้มจี �ำ นวนบุคลากรเพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั งิ านในรพ.สต.ทัว่ ประเทศ ทำ�ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในช่องปาก ส่งผลให้จำ�นวนทันตาภิบาลที่จบเพิ่มในปี ๒๕๕๖ เท่ากับ ๕๐๑ คน แล ในปี ๒๕๕๗ จำ�นวน ๑,๖๖๔ คน ซึง่ มีความจำ�เป็นในการเตรียมการรองรับการจัดบริการเช่นการเตรียมการด้านครุภณ ั ฑ์ทนั ตกรรม การจ้างงาน ฯลฯ ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในแผน ๕ ปี จากนโยบายระบบบริการสุขภาพช่องปากของกระทรวงสาธารณสุข ได้กำ�หนดประเด็นสุขภาพช่องปากในแผนพัฒนาระบบ บริการ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ในระยะเวลา ๕ ปี (๒๕๕๕-๒๕๕๙) ให้ผสมผสานเป็นองค์ประกอบหนึ่งของแผน พัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับจังหวัด มีการวิเคราะห์ส่วนขาด มีการจัดลำ�ดับความสำ�คัญก่อนหลังเป็นภาพรวมของจังหวัด และเขต โดยกำ�หนดประเด็นหลักการพัฒนาดังนี้ คือ ๑. พัฒนาบริการสุขภาพช่องปากในเขตเมือง เพื่อลดความแออัดของการบริการในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป ด้วยการขยายบริการสุขภาพช่องปากในศูนย์สุขภาพเขตเมืองอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ด้วยการขยายศักยภาพใน การจัดบริการทันตกรรมในด้านการบำ�บัดรักษาและพืน้ ฟูระดับมีทนั ตแพทย์ให้บริการประจำ� และบริการส่งเสริมป้องกันทีค่ รอบคลุม ทุกกลุ่มเป้าหมายสำ�คัญ โดย ๑) การขยายห้องให้บริการทันตกรรมตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒) จัดหาครุภัณฑ์ทันตกรรมที่จำ�เป็นและ ผูช้ ว่ ยงานทันตกรรมให้สอดรับภาระในการให้บริการ ๓) จัดเตรียมกำ�ลังทันตบุคลากรรองรับทัง้ กลุม่ ทันตแพทย์คสู่ ญ ั ญาและทันตาภิบาล จบใหม่ที่จีงหวัดได้รับจัดสรร ๔) จัดทำ�แผนการจัดบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมายสำ�คัญของพื้นที่ กลวิธีดำ�เนินการ คือ ๑) คปสอ. รพ.แม่ข่ายสนับสนุนทันตบุคลากรวัสดุ/เครื่องมือ และงบประมาณ ๒) สสจ.ประสาน รพ.แม่ขา่ ย/ท้องถิน่ /เอกชนเพือ่ สร้างความร่วมมือในการจัดบริการสุขภาพช่องปาก ตามศักยภาพของพืน้ ที ่ ๓) หากเกินขีดความสามารถของพืน้ ที่ กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุน ทพ.คูส่ ญ ั ญา และทันตภิบาล, งบลงทุนครุภณ ั ฑ์เครือ่ งมือ และการปรับปรุงสถานที่, ปรับระบบการบริหารจัดการแยกจาก รพ.แม่ข่าย ตัวชี้วัด • จำ�นวน ศสม. ที่มีทันตแพทย์ และทันตาภิบาลปฏิบัติงานประจำ�และหมุนเวียน • จำ�นวน คลินิกเอกชนที่เข้าร่วมในการให้บริการสุขภาพช่องปาก • ร้อยละของผู้ป่วยทางทันตกรรมของ ศสม. เทียบกับของ รพ.แม่ข่าย ๒. เพิม่ อัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชน และบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพในเขตชนบท เพือ่ ควบคุมปัญหา โรคในช่องปาก โดยขยายบริการสุขภาพช่องปากระดับปฐมภูมใิ นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลให้ทวั่ ถึง สามารถครอบคลุมตำ�บล ทีม่ ปี ระชากรตัง้ แต่ ๕,๐๐๐ คนขึน้ ไป โดยดำ�เนินการพัฒนาระบบบริการเช่นเดียวกับการพัฒนาบริการสุขภาพช่องปากในศูนย์สขุ ภาพ เขตเมือง กลวิธีดำ�เนินการ คือ ๑) รพ.แม่ข่าย สนับสนุน เช่น วัสดุ งบประมาณ กำ�ลังคน เป็นต้น ๒) ทันตแพทย์ในโรงพยาบาลสนับสนุนวิชาการและให้คำ�ปรึกษาแก่ทันตาภิบาลในรพ.สต. ๓) คปสอ. บริหารจัดการสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพช่องปากในรพ.สต. ๔) กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายสนับสนุนในการจัดซื้อครุภัณฑ์ เครื่องมือ ปรับปรุงพื้นที่ในการจัดบริการใน รพ.สต การจ้าง วารสารทันตภูธร 7 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
งานทันตาภิบาลที่จบการศึกษา เป็นต้น ตัวชี้วัด • ร้อยละของจำ�นวน รพ.สต.ที่มีทันตาภิบาลปฏิบัติงานประจำ� • ร้อยละจำ�นวนรายบริการ P&P ต่อบริการสุขภาพช่องปากทั้งหมด ๓. พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพการจัดบริการทันตกรรมเฉพาะ ทางในหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ให้สามารถดูแลรักษาโรคทาง ทันตกรรมที่มีความซับซ้อน เบ็ดเสร็จภายในระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ ๓.๑ การพัฒนาประสิทธิภาพการบริการให้ประชาชนเข้าถึงบริการ เพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ การพัฒนาระบบการนัดหมายและการติดตามผู้ป่วย การ ขยายการจัดบริการคลินิกทันตกรรมนอกเวลา การจัดบริการทันตกรรม เฉพาะทางเชิงรุกในรพ.สต.
การจัดหาครุภัณฑ์ทันตกรรมและผู้ช่วยงานทันตกรรมให้สอดคล้องกับจำ�นวนผู้ให้บริการ เป็นต้น กลวิธีดำ�เนินการ คือ ๑) โรงพยาบาลดำ�เนินการพัฒนาระบบการนัดหมายและการติดตามผู้ป่วย ๒) โรงพยาบาลขยายการจัดบริการคลินิกทันตกรรมนอกเวลา ๓) โรงพยาบาลการจัดบริการทันตกรรมเฉพาะทางเชิงรุกในรพ.สต. ๔) การจัดหาครุภัณฑ์ทันตกรรมและผู้ช่วยงานทันตกรรมให้สอดคล้องกับจำ�นวนผู้ให้บริการ ตัวชี้วัด • ร้อยละหน่วยบริการระดับทุตภิ มู แิ ลตติยภูมสิ ามารถจัดบริการทันตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์เทียบเป้าหมาย • ร้อยละของประชาชนในเครือข่ายเข้าถึงบริการทันตกรรมในรอบปีเพิ่มขึ้น ๓.๒ การพัฒนาคุณภาพบริการงานทันตกรรมเฉพาะทาง ให้สอดคล้องกับบริบทและภารกิจทีเ่ หมาะสมตามความจำ�เป็นของพืน้ ที่ โดยกำ�หนดเป้าหมายหน่วยบริการทีย่ กระดับคุณภาพการจัดบริการเฉพาะทางให้สงู ขึน้ ตลอดจนการพัฒนาปรับปรุงขีดของโครงสร้าง การจัดบริการของแต่ละสถานบริการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาเครือข่ายบริการ กลวิธีดำ�เนินการ คือ ๑) โรงพยาบาลดำ�เนินการจัดแนวทางการรับส่งต่อ ผู้ป่วยทันตกรรม, การจัดการค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน สนับสนุน การพัฒนาบุคลากร และการศึกษาต่อเนื่อง ๒). กรรมการระดับเขตกำ�หนดจุดและงานทันตกรรมที่ต้องการพัฒนา ตัวชี้วัด • ร้อยละของผู้ป่วยทันตกรรมที่ถูกส่งต่อ ได้รับการรักษา บริการเฉพาะทาง • ร้อยละของหน่วยบริการทีส่ ามารถพัฒนาระบบทันตกรรม เฉพาะทางเทียบกับเป้าหมาย การกำ�หนดกรอบการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก เป็นประเด็นกว้างๆ ซึ่งแต่ละจังหวัดต้องวิเคราะห์สถานการณ์ของ ตนเองและกำ�หนดรายลเอียดแผนพัฒนาระบบบริการให้สอดคล้อง ขอบคุณภาพประกอบจาก ทพ.ปิยะพงศ์ ปวงคำ� กับบริบทและความเป็นไปได้ในการจัดบริการ รพ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย วารสารทันตภูธร 8 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
เสียงสะท้อนจาก ทันตภูธร
Oral Health Service Plan (OHSP)
OHSP
อยู่ๆ ก็มีการบ้านจากพี่ที่เคารพท่านนึงให้ลองบอกเล่า ความรูส้ กึ ของชาวรพช.ถึงเรือ่ งการทำ� oral health service plan (OHSP) ที่กำ�ลังฮอตฮิตในหมู่ชาวเราสักหน่อย เอ่อ....อยากรู้ จริงๆ เหรอ
เรือ่ งราวของ OHSP ขอเรียกสัน้ ๆ อย่างนีก้ แ็ ล้วกันนะ จริงๆ ก็ได้เห็นได้ยนิ มานานพอสมควรแล้ว แต่มนั ลางๆ เลือนๆ และ ดูไกลตัวมากมายในความรูส้ กึ ของเด็กๆ อย่างพวกเรา มีแต่พๆ่ี วงในทีพ่ ดู ถึงมันอย่างสนิทสนมกลมเกลียว แต่พวกเราน่ะเหรอ พูดเรื่องแรงเงา(ตอนนั้น)น่าจะคุ้นหูกันมากกว่า กะเอาว่าถ้า ต้องทำ�จริงๆ อย่างทีแ่ ว่วๆ มาคงไม่มปี ญ ั หาอะไรมัง้ ก็ลอกๆ เค้า เอาสบายๆ น่า พวกเราไม่ใช่กลุม่ นำ�ร่อง คงไม่ล�ำ บากอะไร ก็ เหมือนเรือ่ งอืน่ ๆ ล่ะ แต่แล้วจูๆ่ ก็มหี นังสือสัง่ การจากสสจ.ว่าให้ ทุกอำ�เภอทำ� OHSP ส่งมาให้สสจ.รวบรวมเป็นภาพจังหวัดแล้ว จะได้สง่ เข้าสูส่ ว่ นกลางต่อไป ภายในวันที.่ .. นับเลขในใจแล้วก็.. ตายล่ะวา แล้วจะทำ�ยังงัยล่ะเนีย่ สสจ.ส่งแบบกรอกข้อมูลมาให้ พร้อมวิธดี าวน์โหลดแบบกรอกมาให้ หนังสือไม่ได้อธิบายอะไร มากมาย เป็นแค่ใบปะหน้าทีส่ ว่ นหลังก็เป็นหนังสือจากส่วนกลาง มาอีกที เล่นง่ายนะพี ่ ตอนเขียนโครงการกองทุนทันตกรรมก็ครัง้ หนึง่ แล้ว ให้เขียนส่ง ไม่สอนไม่แนะอะไรให้สง่ มาเลย ตอนนำ� เสนอระดับจังหวัดเลยออกมาคนละทิศละทางให้มนึ งงกันไปแล้ว
โดย น้องเม่า
รอบนี้น่าจะสาหัสกว่าเก่า เพราะต้องใส่ข้อมูลมากมายที่ มี แนบท้ า ยมาว่ า ต้ อ งมาจากความร่ ว มมื อ ของผู้ เ กี่ ย วข้ อ งใน ระดั บ อำ � เภอทุ ก ภาคส่ ว น (ง่ า ยที่ สุ ด ก็ ยั ง ต้ อ งเป็ น คปสอ.) ด้วยนะ อยากจะตะโกนเป็นภาษาต่างดาวเสียจริงๆ .. ลองกรอก ข้อมูลตามประสามึนๆ อย่างเราดู ก็มาติดทีเ่ รือ่ งแผนบุคลากรกับ เครื่องไม่เครื่องมืออีก แง่ววววว.. สุดท้ายเลยไม่สามารถ plan ต่อได้แค่ “นิ่ง” ไปอย่างนั้น จนส่วนกลางออกอาการเคืองขุ่น สั่งมาอีกรอบ ดีท่คี ราวนี้มีแถมตัวอย่างที่เค้าส่งแล้วมาให้ลอก เอ้ย!! ดูแนวด้วย ก็คอ่ ยยังชัว่ ขึน้ ไปนิดนึง เอาก็เอา..ลองกัดฟันทำ�จน เสร็จได้สง่ สว่ นจังหวัดจะรวบรวมได้ทกุ อำ�เภอและได้สง่ ทันหรือไม่ ไม่ขอติดตามถามไถ่ใดๆ ทัง้ สิน้ ...สาธุ!!!
หลังจากลัล้ ลาอยูไ่ ด้พกั ใหญ่ๆ ก็ได้ขา่ วว่า ทางการส่งคุณพี่ เป็นตัวแทนเข้าร่วมรับฟังนโยบายจากระดับกระทรวงที่ศูนย์ ราชการกรุงเทพมหานครเรื่องการจัดทำ� service plan เจอกัน วันหลังได้มีโอกาสถามข่าวคราว พี่เค้าก็เล่าว่า วันนั้นได้รับฟัง แนวนโยบายแล้ว พอเข้าใจว่าเพราะเรื่องทันตกรรมเป็นสาขา หนึ่งที่ใช้งบประมาณในการดูแลสุขภาพประชาชนค่อนข้างสูง เลยต้องทำ�กะเค้าด้วย วันนั้นพี่เค้าเป็นตัวแทนของเขตเข้าไป ช่วงเช้าก็รับนโยบาย ส่วนช่วงบ่ายแยกห้องทำ�ตามสาขา มีพี่ๆ
OHSP วารสารทันตภูธร 9 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
OHSP
มาอธิบายให้ฟังให้เข้าใจมากขึ้นและจะได้ไปสื่อสารในระดับ เขต ระดับจังหวัด ระดับอำ�เภอ ให้ไปได้ถูกทิศถูกทาง ทีมงาน ท่านหนึ่งได้พูดถึงแนวนโยบายว่าดูเหมือนเค้าอยากจะให้ทำ� ตามแนวของ งานอุบตั เิ หตุฉกุ เฉิน มีเอกสารตัวอย่างแจกมาให้ดว้ ย แต่พี่ๆ ที่ดำ�เนินการบอกว่า ของเรามีการเตรียมงานกันมานาน และได้ประกาศใช้ทั่วประเทศแล้ว (เอิ่มมมม..อันที่เคยรู้สึกราง เลือนนั่นน่ะเหรอ..) ให้ไปในทิศทางนี้ ลองกลับไปทำ�เป็นภาพ จังหวัดดูแล้วนำ�ข้อมูลมาคุยกันตอนปลายเดือนซึ่งจะเชิญเข้า ร่วมประชุมทั่วประเทศเฉพาะทีมทันตกรรมอีกครั้ง (ครั้งนี้มา กันทุกสาขา) แล้วก็มีพี่ท่านหนึ่งที่ไม่ใช่ทันตบุคลากรแต่เป็น คณะทำ�งาน แสดงความคิดเห็นว่า แม้กลุ่มทันตะจะแยกทำ�แต่ สุดท้ายแล้วการพิจารณางบประมาณในระดับจังหวัดจะทำ�ใน ภาพรวมทุกสาขา อาจจะไม่ได้ทุกอย่างอย่างที่เสนอ..(ฟังแล้ว แอบคิดต่อว่า และเรามักจะถูกพิจารณาในความสำ�คัญเป็นอัน ดับท้ายๆ ตลอดเชียว) เอาเถอะๆ ยังงัยๆ เราก็ส่งจังหวัดไปแล้ว คงไม่มีอะไรมั้ง
เรื่องราวมันชักจะเข้าข่ายนิยายขึ้นเรื่อยๆ ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ ว่า จูๆ่ ก็มหี นังสือสัง่ การให้เข้าร่วมรับฟังความคืบหน้าในการจัด ทำ� SP ระดับเขต (แปลว่า ทุกสาขา ถ้าเรื่องของเราอย่างเดียว มันจะถูกเรียกว่า OHSP) เลยต้องเข้าร่วมประชุมกับเค้า ดีใจ จังทีท่ า่ นผูต้ รวจชมว่า ของทันตะนีด่ นี ะ เค้ามีแนวทางเหมือนกัน ทั้งประเทศ แล้วก็เหี่ยวเล็กน้อยเพราะมีแอบเม้นท์ตอนท้ายว่า อยากให้ดูแลเรื่องการให้บริการ แรงงานว่างแฝง (แปลเหมือน กับคำ�ว่า “อู้” มั้ยนะ?) การปิดคลินิกศุกร์บ่าย ฯลฯ เอ่อ..ชั่งตวง วัดไม่ถูกว่าคำ�ชมกับคำ�บ่นอะไรเยอะกว่ากัน แหะๆ ...
หลั ง จากวั น นั้ น ก็ มี เ พื่ อ นบ้ า งพี่ บ้ า งที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มการ ประชุมติดต่อถามไถ่มาว่าแล้วเขียน OHSP ส่วนนัน้ ส่วนนี ้ ส่วน นูน้ ฯลฯ อย่างไร อ้าว....มีคนที่ไม่เข้าใจการเขียนเหมือนเรา อีกแยะหรือนี่ (และ...อ้าวววว ยังไม่ส่งกันหรือนี่...) ก็เลยส่งตัว อย่างที่ได้มาไปให้ คำ�ถามต่อหลังจากนั้นเกี่ยวกับการเขียน ก็ยังมีมาเป็นระยะๆ เช่น แล้วราคาอุปกรณ์แต่ละอย่างจะใส่ เท่าไหร่ เช่น ยูนิตทันตกรรม ชุดเครื่องมือ ฯลฯ ไม่มีราคากลาง ให้หรือ, ถ้าจะขยายห้อง สร้างตึก จะใส่วงเงินเท่าไหร่ดี, เรื่อง อัตรากำ�ลังในส่วนที่ต้องเป็นลูกจ้างชั่วคราวเงินบำ�รุงจะให้ใส่ ยังงัย ก็ส่วนกลางระงับการจ้างนี่ , ต้องเขียนรวมของ รพ.สต. ด้วยมั้ย, เรื่องนวก.ทันตะเค้าระงับแล้ว จะทำ�ยังงัยก็เขียนส่งไป ว่ามีอะ่ , ทันตาเค้าไม่ได้บรรจุแล้วจะมีคนทำ�งานมัย้ , แผนกระจาย ทันตาลงรพ.สต.แล้วเราต้องเอาใบประกอบวิชาชีพเราไปรับรอง แล้วยิง่ ขยายพืน้ ทีแ่ ต่ทนั ตแพทย์มกี นั ไม่กคี่ นจะควบคุมดูแลกัน ได้ทันหรือ สารพัดที่จะถามมา หรือมีแอบเม้นท์เบาๆ ว่า เค้า ก็แค่ให้ส่งๆ ไปแหละ เอาเข้าจริงก็เอามาใช้ไม่ได้จริงหรอก ใช้ แค่ส่ง ... ง่ะ...อย่าให้ถึงขนาดนั้นเลย อุตส่าห์อดหลับอดนอน ปั่นจนเสร็จ แล้วต้องถูกดองเค็มจริงเหรอ ..ไม่มั้ง น่าจะเป็น โอกาสที่จะได้เอาไปต่อรองของบกับขอคนมากกว่า...แอบหวัง ในทางบวกนิดๆ
แต่ดูเหมือนโชคจะไม่เข้าข้างเราสักเท่าไหร่ ช่วงปลายปี ต้องมีการเร่งจัดส่งแผนเงินบำ�รุง, unit cost, งบค่าเสื่อมของ เงินUC เข้ามาไล่ๆ กัน เพิง่ ตาสว่างว่าทีแ่ ท้มนั เป็นเรือ่ งเดียวกัน เพราะล้วนแต่เกี่ยวพันกับงบประมาณและระบบพัสดุทั้งสิ้น ภาพของอำ�เภอเราอาจจะไม่ชัดเพราะเราเองก็ยังใหม่ ได้แต่ ฟังๆ แล้วก็เออๆ ออ ๆ กับเค้าเพราะไม่ค่อยรู้เรื่อง เล่าของพี่ที่ รู้จักก็แล้วกัน พี่เค้าทำ�แผนเสร็จก่อน (แล้วเราก็ขอมาลอก.. แฮ่มมมม) แล้วก็เสนอเข้าแผนเงินบำ�รุง แน่ล่ะ โดนหั่นเรื่องคน ออกก่อนเพราะเค้าระงับการจ้างเพิ่มอย่างที่คาดไว้ ส่วนเรื่อง ของที่ต้องเสนอทั้งของโรงพยาบาลและของรพ.สต.(ซึ่งต้องเข้า สู่ที่ประชุม คปสอ.) ก็ต้องแบ่งๆ กันไปกับฝ่ายอื่น สุดท้ายพี่ เค้าดูตามกรอบความสามารถที่ต้องมีต้องเป็นและความเป็น ไปได้ ความต้องการของทันตแพทย์ในกลุ่มงาน ความจำ�เป็น เร่งด่วน รวมๆ กัน แล้วของบประมาณในส่วนอุปกรณ์ทางการ แพทย์เป็น เครื่องมืองานรักษารากอีก 2 ตัวราคารวมแสนกว่า และเครื่องขูดหินนํ้าลายไป สำ�หรับคลินิกรพ. 2 ตัว ซึ่งก็ผ่าน
OHSP วารสารทันตภูธร 10 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
POHSP ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลแล้วเพราะ ราคารวมยังพอรับได้และใกล้เคียงกันกับฝ่ายอื่นๆ เมื่อเรียง ลำ�ดับกันแล้ว ปรากฏว่า infusion pump และอุปกรณ์โรงครัว สำ�หรับให้บริการผูป้ ว่ ยward ตกไปอยูอ่ นั ดับหลังจากทันตกรรม (เพราะกลุม่ การมีหลายแผนก ต้องแบ่งๆ กันไป ) พีเ่ ค้าเลยตัดสิน ในถอนเครื่องมือรักษารากออกจากบัญชีรายการ เหลือไว้แค่ เครื่องขูดหินนํ้าลายแค่รายการเดียวที่ราคารวมไม่กี่หมื่น ด้วย เหตุผลว่า ผู้ป่วยต้องการมีชีวิตรอดปลอดภัยมากกว่า และพี่ เค้าเองก็รู้สึกดีกว่าที่จะพยายามรักษาชีวิตโดยรวมมากกว่า รักษารากฟันซี่นั้นๆ (แล้วใช้วิธีส่งต่อให้หมอท่านอื่นทำ�แทน...) นี่ขนาดเสนอไปไม่ครบตามที่วางแผนไว้ (และส่งไปแล้ว) ชีวิต ความเป็นจริงกับสิ่งที่วาดหวังมันช่างไกลห่างกันลิบลับจริงๆ
แล้วยัง แล้วพอถึงรอบก็ประเมินว่า ทำ�ไมทำ�ไม่ได้ตามแผนย๊า ...โดยไม่ได้ค�ำ นึงถึงภาพรวมว่าเราต้องแบ่งงบประมาณกับฝ่าย อื่นๆ ด้วย เพราะเค้าคือทันตะ เวลาประเมินหรือนิเทศ จะไป คิดถึงฝ่ายอื่นๆ ทำ�ไม ไม่ใช่หน้าที่สักหน่อย
OHSP
เรื่องมันควรจะจบแค่นี้เพราะมันก็อ่านแล้วหดหู่พอแล้ว แต่สวรรค์ไม่ได้ใจดีขนาดนั้นหรอก ยังมีแผนงบค่าเสื่อมปี 56 ของคปสอ. อีกช็อต ที่ในภาพรวมของพี่เค้าทันตะขอแบบพอ เพียง คือ เครื่องขูดหินนํ้าลาย 2 เครื่องของรพ.(กรรมการรพ.ขอ ให้ใช้งบส่วนนี้) และของรพ.สต.อีก 5 แห่ง แห่งละเครื่อง ด้วย ตอนนี้ทั้ง 5 แห่ง ใช้เครื่องเก่าสมัยที่เค้าให้เจ้าหน้าที่สถานี อนามัยขูดเองนั่นงัย (แต่มันช่างทนจริงๆนะ ดูแลดีๆ มันก็ยังใช้ งานได้อยู่ ไม่เหมือนเครือ่ งสมัยนีท้ ขี่ ยันพังเสียเหลือเกิน) ขอเป็น เครือ่ งสำ�รองตามกรอบ สรุป..ทีป่ ระชุมขอร้องให้เอาแค่ 2 เครือ่ ง ก่อน เพราะถ้าให้ทงั้ หมด วงเงินจะเกินแสนบาท ซึง่ ต้องใช้วธิ เี ปิด ซอง ทีม่ ขี นั้ ตอนยุง่ ยาก เสียเวลา ถ้าจะให้บางทีก่ อ่ นก็กลัวจะเสีย นาํ้ ใจ เลยยกยอดไปไว้พจิ ารณาปีหน้าก็แล้วกัน เฮ้อ...อนาถจิต ชีวิตนี้ ส่วนกลางจะรู้เรื่องนี้บ้างไหมนะ หรือดูแค่ว่า เราส่งแผน
ไม่ว่าเรื่องนี้จะมีตอนจบแบบไหน แต่ความรู้สึก ณ วันนี้ (เอาในโหมดทันตแพทย์แสนขยัน ทุ่มเทชีวิตเพื่อหน้าที่และ ประชาชนก็แล้วกัน ) คือ อนาถชีวติ ตัง้ แต่ตอ้ งทำ�โดยไม่มคี วามรู้ ความเข้าใจอย่างกระจ่างแจ้งในการจัดทำ� ได้แต่กม้ หน้าทำ�ตาม คำ�สั่ง เพราะคนสั่งก็ถูกสั่งมาอีกทีว่าต้องมีส่ง เค้าก็เลยต้อง สั่งต่อแล้วก็ทวงๆๆๆๆ จนมาถึงภาพความเป็นจริงต่อจาก นั้นที่ต้องเป็นคน พยายามต่อสู้แย่งชิงงบประมาณเพื่อให้มี เครื่องไม้เครื่องมือ อัตรากำ�ลัง ตามแผนให้ได้ เพื่อให้ผ่านการ ประเมินที่จะตามมาหลังจากนั้น เป็นความรู้สึกหดหู่ซํ้าซาก ตั้งแต่การทำ�แผนงานโครงการกองทุนทันตกรรม การทำ� HA การทำ� unit cost จนมาถึงเรื่องนี้ ในความเป็นทันตแพทย์ น้องใหม่ที่ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ เรียนมาแค่การทำ�คลินิก แล้วต้อง มาทำ � เรื่ อ งงานบริ ห ารแบบนี้ โ ดยไม่ ไ ด้ มี ใ ครมาช่ ว ยสอนสั่ ง เตรียมความพร้อมให้ อยากจะทำ�ให้ดี อยากจะพัฒนาตัวเอง ให้คู่ควรกับที่เค้ายกให้เป็นหัวหน้า อยากจะเน้นงานส่งเสริม ป้องกันที่พี่ๆ ที่อาจารย์พร่ำ�สอนว่าเป็นสิ่งที่ควรทำ�เพราะลงทุน น้อยกว่ารักษาแต่ได้ประโยชน์มหาศาล กห็ าคอร์สอบรม ประชุม พัฒนาศักยภาพด้านนีไ้ ม่เจอ ไม่เหมือนงานสเปคอืน่ ๆ ทีจ่ ดั แล้ว จัดเล่า สุดท้าย ผลงานที่ส่งไป จึงเป็นงานที่ทำ�ส่งๆ ไปให้มัน ผ่านพ้น แล้วก็เข้าอีหรอบเดิมเหมือนที่พี่คนนึงเคยพูดให้ฟังว่า OHSP มันก็ plan แล้วนิ่งเหมือนแผนอื่นๆ ที่ผ่านมาแหละน้อง อย่าไปคิดมาก...
OHSP วารสารทันตภูธร 11 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จากัด สั่งซื้อสินค้า ONLINE ที่ www.tuntapootorn.com หน่วยงานราชการ สามารถซื้อสินค้าตามระเบียบราชการได้ ต้ องการใบเสนอราคา โทร หมอหนุ่ย ทพญ.สุ รีรัตน์ โทร 086 - 9165126 รายการสินค้า
รายการ
ราคา (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)
1.แปรงสีฟัน * แปรงสีฟัน คุณภาพติดดาวผ่านการรับรอง จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สั่งซื้อด่วน หมอหนุ่ย 0869165126
1.1 แปรงสีฟันเด็กอายุ 0-3 ปี ราคา ด้ามละ 7.50 บาท 1.2 แปรงสีฟันเด็กอายุ 3-6 ปี ราคา ด้ามละ 8.00 บาท 1.3 แปรงสีฟันเด็กอายุ 6-12 ปี ราคา ด้ามละ 8.50 บาท 1.4 แปรงสีฟันผู้ใหญ่ ราคาด้ามละ 9.50 บาท 2. ชุดพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและ 2.1 DG1 ผ้ารัดฝ่ามือ+ ด้าม แถมแปรง1ด้าม ราคาชุดละ 100 บาท ผู้สูงอายุ (ที่มีกล้ามเนื้อมืออ่อนแรง กามือ 2.2 DG2 ผ้ารัดฝ่ามืออเนกประสงค์ ราคาชุดละ 50 บาท ไม่ได้ หยิบจับเครื่องใช้ต่างๆได้ไม่กระชับมือ) 2.3 DH60 เฉพาะด้ามจับกระชับมือ ราคาด้ามละ 60 บาท ขอรายละเอียด , สั่งซื้อ หมออ๋อ 0834934543 2.4 DH70 ด้ามจับกระชับมือ+แปรง ราคาชุดละ 70 บาท ชมภาพหน้า 52, www.tuntapootorn.com 2.5 DC1 ปลอกหุ้มอเนกประสงค์ ราคาคู่ละ 100 บาท 3.ถุงนิ้วทาความสะอาดช่องปากเด็กทารก 2.1 ชุดถุงนิ้วชุดใหญ่ ประกอบด้วย ถุงมือ ราคา ชุดละ 125 บาท * ผลิตจากผ้ามัสลินเนื้อนิ่มนวล สีฟ้า,สีชมพู 1 คู่ , ถุงเท้า 1 คู่ , หมวก 1ใบ , ถุงนิ้ว ใช้สาหรับเยี่ยมให้ทันตสุขศึกษามารดาหลัง 5 ชิ้น คลอดบุตร (ชมภาพหน้า 61) 2.2 ชุดถุงนิ้วชุดเล็ก ประกอบด้วย ราคา ชุดละ 50 บาท สั่งซื้อด่วน หมอหนุ่ย 0869165126 ถุงนิ้ว 5 ชิ้น 4.โมเดลสอนทันตสุขศึกษา โมเดลสอนแปรงฟัน/รอยโรคในช่องปาก ราคา ชุดละ 370 /420 สั่งซื้อด่วน น้องต้นข้าว 0808378605 บาท 5. เสื้อ ทันตภูธร (ชมภาพหน้า 62) เสื้อโปโลทันตภูธร ผ้ายืด ใส่สบาย หลายสี ราคาตัวละ 260 บาท สั่งซื้อด่วน หมอรจิต 0801441881 6. เสื้อกาวน์เปี่ยมสุข(ชมภาพหน้า 62) เสื้อกาวน์ตัดเย็บโดยคนพิการ อ.โพนทอง ราคาตัวละ 600 บาท สั่งซื้อด่วน หมอเยาวพา 043571321-2 ถูกหลัก Thai Dental Safety Goals 7. สมัครสมาชิกวารสารทันตภูธร ตลอดชีพ รับวารสารทันตภูธรทุก 3 เดือน ตลอดชีพ ราคา 500 บาท ราคาเดียว โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี แจ้งชื่อที่อยู่ ส่งสาเนาแจ้งการโอนเงินสมัคร ตลอดชีพ , ทุกวิชาชีพ สมัครผ่านเวบไซต์ได้แล้ว ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร ธ.ไทยพาณิชย์ สมาชิก เพื่อรับใบเสร็จรับเงิน ได้ที่ www.tuntapootorn.com สาขาสนามบินน้า เลขที่ 313-258671-8 ruralmax2007@gmail.com 8. สมทบทุนค่าจัดพิมพ์วารสารทันตภูธร แจ้งชื่อที่อยู่ ส่งสาเนาแจ้งการโอนเงินสมัคร มากกว่า 500 บาท รับของ โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี สมาชิก เพื่อรับใบเสร็จรับเงิน ได้ที่ สมนาคุณพิเศษ จาก ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร ธ.ไทยพาณิชย์ ruralmax2007@gmail.com , วารสารทันตภูธร พร้อม สาขาสนามบินน้า เลขที่ 313-258671-8 nithimar_or@yahoo.com พิมพ์รายนามผู้สนับสนุน
ชมภาพสินค้า และสั่งซื้อ Online ได้ใน www.tuntapootorn.com
ระบบข้อมูลรายบุคคล เกีย่ วอะไรกับ การพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข หมอรอง Naja@Nkdent
“หัวใจของ การทำ�งาน ทันตสาธารณสุข คือ ระบบข้อมูล ทีม่ คี ณ ุ ภาพ” จากการเปลี่ยนแปลงของระบบสุขภาพของไทยตั้งแต่มี หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือที่รู้จักกันใน 30 บาทรักษา ทุกโรค ได้มหี น่วยงานอิสระคือสำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่ง ชาติเข้ามาดูแลเรือ่ งงบประมาณในการดูแลสุขภาพของคนไทย เปรียบเสมือนบริษัทประกันขนาดใหญ่ โรงพยาบาลของรัฐหรือ หน่วยบริการ ก็ตอ้ งเป็นคูส่ ญ ั ญาขายบริการสุขภาพให้กบั สปสช. ซึง่ รัฐบาลจ่ายค่าหัวเหมาจ่ายให้ประชาชนไทยเป็นหลักเฉลีย่ ทุกข์ เฉลี่ยสุขป้องกันการล้มละลายของคนอันเนื่องมาจากค่ารักษา พยาบาลทีไ่ ม่อาจจะคาดเดาได้ ทำ�ให้คนเข้าถึงบริการ และไม่ตอ้ ง กังวลเรือ่ งค่าใช้จา่ ย จากการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว หน่วยงานของ รัฐจึงต้องปรับตัวอย่างมาก ข้อมูลการรักษาพยาบาลข้อมูลสุขภาพ จึงเป็นตัวบอกถึงผลงานของการดำ�เนินงานทางด้านสุขภาพ ของ หน่วยงานของรัฐ ใช้ตอ้ งในการ วางแผนลงทุน ติดตาม ประเมิน การวางกลยุทธ์แก้ไขปัญหาสุขภาพ ของประชาชนชาวไทย จะ เห็นได้วา่ หน่วยงานของรัฐในปัจจุบนั จะมีโปรแกรมบริหารข้อมูล สุขภาพ ตัง้ แต่ ระดับ รพ.สต. ก็ใช้ JHCIS, Hosxp PCU , Hos os
ห ลากหลายโปรแกรม ทุกท่านคงคุ้นชิน หน่วยงาน รพช,รพท, รพศ ทุกระดับจำ�เป็นจะต้องใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการ จัดเก็บประวัตขิ อ้ มูลคนไทย เพือ่ จัดเก็บข้อมูลการรักษา การให้ บริการ ยา การวินจิ ฉัย รวบรวมทำ�รายงาน ส่งไปยังหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องในรูปของแฟ้มมาตรฐาน คือ 21 แฟ้ม หรือ 18 แฟ้ม ซึง่ บางทีก่ บ็ อกว่าทำ�ให้ท�ำ งานง่ายขึน้ แต่หลายทีก่ บ็ อกว่าเพิม่ ภาระ ไม่ตอ้ งทำ�งาน ตอนบ่ายปิดคลินกิ มานัง่ คียข์ อ้ มูล อย่างนีก้ ไ็ ม่ใช่เป้า หมายของระบบสารสนเทศนะครับ แต่แรกๆ ก็ตอ้ งทำ�ใจเหมือน ยาขมและเจ้าหน้าที่ของเราก็ สว.กัน การเปลี่ยนแปลงก็ต้อง เรียนรู้ ลองผิด ลองถูก คนทีเ่ รียนรูเ้ ร็วปรับตัวเร็วจะได้เปรียบเพราะ มีโอกาสก้าวหน้า และพัฒนางานสาขาของตนเองได้ดี บางท่านถึง กับปฎิเสธไม่แตะคอมพิวเตอร์เลยกลัว ต้องบอกว่ามันปฎิเสธได้ อยากมากครับ เพราะว่าตอนนีท้ กุ อย่างอยูใ่ นมือถ้าท่านเข้าใจการ ใช้ประโยชน์จากมัน แต่ผมก็เห็นภาพทีน่ า่ รักทีผ่ สู้ งู อายุนง่ั ใช้คอม facebook คุยกับลูกหลานทาง Skype ตอนนีโ้ ลกเราก็เปลีย่ นไป มากจริงๆ ครับก็ลองเรียนรูด้ คู รับ ชีวติ ก็อาจจะง่ายขึน้ ครับ วารสารทันตภูธร 13 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
หลายคนสงสัยว่าทำ�ไมต้องเป็นแฟ้ม 21,18 มันคืออะไร ทันตแพทย์ไม่คอ่ ยคุน้ ชิน แต่แพทย์ หรือ พยาบาล งานเวชกรรม จะเข้าใจดีกว่า ว่าแฟ้มมาตรฐานเหล่านี้คืออะไรและสำ�คัญ อย่างไร งานทันตกรรมก็มขี อ้ มูลมาออกในส่วนนีแ้ ต่นอ้ ยประมาณ 5% ได้ เพราะว่างานของเราเมือเทียบก็แพทย์ตรวจวันละ 100 คน ทันตแพทย์ 20 คนก็เกือบอ๊วกแล้ว ถ้าตรวจอย่างเดียวอะพอได้แต่ หัตถการด้วย พระเจ้า! ปัญหาหลักคือ ทันตบุคลากรไม่เข้าใจว่าต้องบันทึกอะไร บันทึกยังไง บันทึกแล้วได้อะไร เสียเวลา ไม่บนั ทึกได้หรือไม่ ไม่มี เวลา ข้อมูลเยอะ ทำ�งานอย่างเดียวก็เหนือ่ ยละ เสียเวลาและยอด ฮิตคือ ได้ตงั ค์เท่าไร ในการคีย์ เฮ้ย ฟังแล้วเจ็บตับ ก็เลยเป็นแรง บันดาลใจให้ผมต้องมาเขียนบทความครับ อยากให้เราทำ�งานเยอะ แล้ววิชาชีพอืน่ เห็นและได้งาน ตอนนีผ้ บู้ ริหารเขาไม่ได้มาดูหรอก ครับว่าเราทำ�งานหรือไม่เขาดูจากตัวเลขการให้บริการ การเข้าถึง บริการ การครอบคลุมบริการซึง่ มากจากข้อมูลรายบุคคลนีแ้ หละ ครับ เมือ่ ก่อนเราเคยส่งข้อมูล รง.401,ทส.01,ทส.02 อะไรประมาณ นีซ้ ง่ึ ถ้าใครคุน้ ชินก็จะทราบว่าข้อมูลทีเ่ ป็น Secondary data นีม้ จี ดุ อ่อนมาก ข้อมูล SE data คืออะไร ก็คอื ข้อมูลทีถ่ ามว่า ปีนอ้ี ดุ กี่ คน ครัง้ ราย ถอนกี่ ซี่ คน ครัง้ ราย พวกนีอ้ ะไรประมาณนี้ ข้อมูลเหล่านี้ ถ้าเป็นความจริงมันก็มปี ระโยชน์และง่ายต่อการเก็บ แต่ขอ้ เสียคือ เราไม่สามารถทราบได้วา่ ทีถ่ อน ทีอ่ ดุ คือใครนับซํา้ หรือไม่ วารสารทันตภูธร 14 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
เป็ น ข้ อ มู ล ที่ ซ้ อ นทั บ กั น หรื อ ไม่ ถ้ า ต้ อ งการทราบ อย่างอื่นต้องกลับไปถามใหม่ และที่สำ�คัญไม่สามารถทราบ ได้ว่าทำ�จริงหรือไม่ หลายท่านคงเคยทำ�บ้างเราทำ�งานเก็บ ข้อมูลไม่เรียบร้อยพอจังหวัดถามมาก็หาไม่เจอ ก็นั่งเทียน ประมาณการเอาแล้วเติมลงมาใส่มาครบช่อง เพราะเหล่านี้ ไม่สามารถตรวจสอบได้เพราะเป็นข้อมูลที่หยาบครับ แนวโน้มการเก็บข้อมูลปัจจุบันจะเป็นข้อมูลรายบุคคล (individual record) ซึ่งจะเป็นข้อมูลระดับบุคคลอ้างอิงเลข 13 หลัก ทำ�ให้สามารถตรวจสอบข้อมูลกลับได้ และสามารถ มองข้อมูลได้หลายมิติ รวบได้สรุปได้ ดังนั้นถ้ามีข้อมูลระดับ บุ ค คลละเอี ย ดเราจะสามารถได้ ร ายงานตามต้ อ งการและ วิ เ คราะห์ ไ ด้ ห ลากหลาย ติ ด ตามคนไข้ ไ ด้ ต ลอดเป็ น Time line 21 แฟ้มจึงเป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลรายบุคคล ระหว่างโปรแกรมที่หลากหลาย คือ Data set หลักการคิดคือ ไม่ว่าคุณใช้โปรแกรมอะไร ก็คงเดิม แต่ทำ�อย่างไรก็ได้ให้ดึง ฟิลล์ หรือข้อมูลตามมาตรฐานเดียวกันประกอบด้วย 21 แฟ้ม เพื่อนำ�มาเชื่อมกันเปรียบเทียบกันได้นั้นเอง ดังนั้น 21 แฟ้มจึง มีมาตรฐานของการบันทึก การลงรหัส รหัสที่ใช้ในการบันทึก วินิจฉัยโรคเรียกว่า ICD10 และ รหัสหัตถการ คือ ICD9CM และหรือ ICD10TM มีหน่วยงานที่กำ�หนดมาตรฐาน สนย. สามารถดูมาตรฐานได้ในเว็บไซด์
เมือ่ ก่อนทันตกรรมเราบันทึกข้อมูลกันไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน อยากได้อะไรเราก็เขียนโปรแกรมมาเก็บ ข้อมูล ไม่วา่ จะ Sealant, Denture, Survey, ชุดสิทธิประโยชน์ Dent2006, อีกมากมาย ซึ่ง แต่ ล ะโปรแกรมมี ม าตรฐานการบั น ทึ ก ต่ า งกั น จะนำ � มา เปรี ย บเที ย บหรื อ เที ย บกั น ยาก และสิ่ง ที่เ หมื อ นกั น คื อ ข้ อ มู ล พืน้ ฐานไม่สามารถใช้รว่ มกันได้ตอ้ งบันทึกใหม่หมด ข้อมูลในมิติ ก่อนหน้าจึงเป็นงานเพิม่ คือภาระ คือทุกข์ คือสิง่ ทีเ่ ราไม่อยากทำ� ทำ�เสร็จดูอะไรไม่ได้ เอาไปทำ�อะไร ระดับล่างงาน คือ คียส์ ง่ คีย์ ส่งไม่เคยมองข้อมูล จึงจำ�ประสบการณ์ว่าถ้าจะทำ�ข้อมูลราย บุคคลต้องมานัง่ คียเ์ อง คนทีเ่ ห็นก็จะกลัวว่าพอเป็น 21 แฟ้มเรา ต้องมานั่งคีย์ข่อื คีย์โน้นนี้มากมายหรือไม่ ทุกท่านต้องลบภาพ นั้นก่อนนะครับ เพราะเราได้ก้าวสู่การบูรณาการ ข้อมูลอะไรซ้าํ กันใช้รว่ มกัน นัน้ ก็คอื โปรแกรมบริหารโรงพยาบาลได้แก่ Hosxp, Hosos, Mixnet, JHCIS พวกนีแ้ หละครับไม่ตอ้ งหาโปรแกรมใหม่ อะไร มาบันทึกให้ปวดหัวเล่น ต้องมานัง่ ศึกษาทุกครัง้ ทีโ่ ปรแกรม ใหม่มา ใช้ One Programe One Hospital ข้อดีคอื เราจะได้เห็น ข้อมูลทางการแพทย์ ข้อมูลทัว่ ไปไม่ตอ้ งคียเ์ อง เห็นสภาวะสุขภาพ ของคนไข้ วางแผนการรักษาทีเ่ หมาะสมต่อเนือ่ ง ออกรายงาน ส่งไป 21 แฟ้มได้เลย ไม่ต้องส่งรายงานเอง บันทึกในส่วนของ ทันตกรรม ทัง้ หน่วยบริการช่วยกันทำ�หน้าทีข่ องตัวเอง เสร็จเป็นวันๆ ไม่เป็นภาระ เพราะระบบโรงพยาบาลต้องเคลียร์เงินอยูแ่ ล้ว มีคน ตรวจสอบให้ นับข้อดีได้หลายข้อแล้ว สิง่ ทีต่ อ้ งทำ�คือการเรียนรู้
ผมเองอยูใ่ นจังหวัดนำ�ร่องทราบปัญหาการพัฒนาและการใช้ ข้อมูลของทันตบุคลากร มองเห็นความคลาดเคลือ่ นในความเข้าใจ ส่วนใหญ่จะละเลยและไม่สนใจเพราะงานเราก็ยงุ่ มากแล้ว ตลอด จนเห็นถึงกระบวนการได้มาซึง่ รายงาน เชือ่ หรือไม่ครับว่าทุกวัน ทุกคนทำ�ก็บันทึกในโปรแกรมที่ว่านะครับ แต่พอออกรายงาน เท่านัน้ แหละครับชีวติ ทำ�ไมมันยากเย็นอย่างนี ้ มานัง่ เปิดบัญชี หนังสุนขั นับมือ ยากไปกว่านัน้ รายใหม่ในปี รายเก่า แยกคน ครั้งอีก โอ้แม่เจ้า! ผมจะนับถูกหรือไม่ ดังนั้นช่วงที่ผมมาใหม่ๆ คอมจึงเป็นพิมพ์ดดี กับทีเ่ ก็บตังค์เท่านัน้ จริงๆ ผมก็มคี �ำ ถามคีย์ ทำ�ไม ทำ�ไมดูอะไรไม่ได้ ถามผูด้ แู ลระบบก็ไม่ทราบ จริงๆ ก็โทษ เขาไม่ได้ครับ เขาไม่ทราบจริงๆ เรายังไม่ทราบเลยว่าคียอ์ ะไรไป ไหน ทำ�ให้ผมต้องศึกษาว่าบันทึกแล้วไปเก็บตรงไหน แล้วจะดึง มารายงานอย่างไร ต้องบันทึกตรงไหน จึงจะออกในรายงานใน แฟ้มมาตรฐาน อธิบาย admin หลายครัง้ เขาก็ไม่เข้าใจ จนเราตัง้ ทีมพัฒนาศึกษาเขียนดึงรายงานเอง ตอนแรกผมก็คดิ ง่ายๆ ว่า เขาน่าจะมีชอ่ งนีต้ รงนีเ้ ราจะได้เปิดหน้าเดียวจบไม่ตอ้ งเปิดหลาย หน้า นำ�ไปเสนอโปรแกรมดังรายหนึง่ เขาก็เสนอราคามาสวยๆ เลขกลมๆ 7 หลัก จบข่าว จึงทำ�ให้เราต้องการแกะโปรแกรมต้อง บันทึกตรงไหน ออกตรงไหน และร่วมพัฒนากับกระทรวงเพือ่ ให้ แฟ้มทันตกรรมไปเป็นหนึง่ ในแฟ้มมาตรฐาน ถามว่าดีอย่างไร เมือ่ มีในแฟ้มมาตรฐานเดียวเขาจะทำ�ช่องให้เราคีย์ เองครับ เพราะถ้า เราส่งออกในแฟ้มมาตรฐานไม่ได้ คนก็จะไม่ใช้โปรแกรมเขาครับ วารสารทันตภูธร 15 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
แต่เท่าที่ดูการออกแบบโปรแกรมมายังไม่มีโปรแกรมไหน ทีพ่ ฒ ั นางานทันตกรรมอย่างจริงๆ จังๆ ใช้งา่ ย มันค่อนข้างจะมี เงือ่ นไขเยอะเพราะว่าการออกแบบไม่ได้องิ ทางทันตกรรม แต่ก็ จำ�เป็นต้องใช้ก่อนครับคาดว่าในอนาคตจะดีข้นึ ถ้าเราเรียกร้อง ไปเยอะๆๆ ในแฟ้มมาตรฐาน 21 แฟ้ม ประกอบด้วยแฟ้มทางการ แพทย์ 21 เรื่องราวที่แบ่งทั้งเชิงรับเชิงรุกข้อมูลสำ�รวจแฟ้มแรก ก็เป็นเรือ่ งของข้อมูลทัว่ ไป มีชอ่ื อายุ เลข 13 หลัก อาชีพ ชือ่ ว่า person ซึง่ เป็นแฟ้มทีส่ �ำ คัญถ้าท่านไม่ให้ความสำ�คัญการทำ�งาน ของท่านก็จะเป็นศูนย์ แต่ไม่ตอ้ งกังวลว่าใครคีย์ งานเวชระเบียน บันทึก ท่านมีหน้าที่เช็คกับคนที่รับบริการว่าข้อมูลของเขาถูก หรือไม่ หลักการคือทำ�งานของตนเองให้ดี ตรวจสอบข้อมูล การทำ�หัตถการทุกครัง้ เพือการทำ�งานจะไม่สญ ู เปล่า ข้อมูลที่ได้จากการสำ�รวจ พบว่าข้อมูลที่เราบันทึกได้ใน ระบบส่วนใหญ่ทำ�กันเฉพาะเชิงรับ ข้อมูลเชิงรุกน้อยมาก พวก งานโรงเรียน งานผูส้ งู อายุ หลายคนบอกว่าไม่มที ใ่ี ห้บนั ทึก ไม่รู้ บันทึกทำ�ไม คำ�ตอบก็คอื ไม่บนั ทึก ก็เท่ากับไม่ได้ท�ำ งาน ผูบ้ ริหาร จะมองการทำ�งานของเราจากข้อมูล และแนวโน้มของข้อมูลก็จะ เป็นข้อมูลรายบุคคลแล้วครับ จะนับแบบมัว่ ๆ เดาสุม่ มันก็ไม่ได้ พัฒนางานของเรา เพราะเราไม่ทราบสภาวะทันตสุขภาพของคน จริงๆ มาหลอกตัวเองกับตัวเลขทีด่ สู วยหรูแต่สภาวะจริงเราเท่านัน้ ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีจ่ ะรูค้ รับ ขอ้ มูลเป็นส่วนสำ�คัญในการดำ�เนินงาน การ ตัดสินใจภายใต้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องทำ�ให้เราไม่ตอ้ งเสียทรัพยากร ไป วารสารทันตภูธร 16 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
เปล่าๆ ปรีๆ้ ต้องเสียเวลาไปทำ�เรือ่ งทีท่ �ำ แล้วอาจจะไม่ได้ผล ระบบ ราชการของทุกหน่วยงานพยายามพัฒนาสารสนเทศให้ รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา คือเป้าหมายของสารสนเทศครับ เมือ่ มีตวั ชีว้ ดั หรือมีการประเมินเรา ก็สามารถทำ�ให้ผา่ นได้ ไม่ยาก แต่ขอ้ มูลทีแ่ ท้จริงเป็นเช่นไร เราเท่านัน้ ทีร่ ู้ ไม่ตอ้ งบอก ว่าเราเหนื่อย ไม่ต้องบอกว่าเราทำ�ไม่ได้ ไม่ต้องบอกว่าคนเรา ไม่พอ เพราะว่าข้อมูลมันแสดงว่า ท่านทำ�ได้ดว้ ยทรัพยากรและ คนเท่าเดิม ตัวเลขของการทำ�งานทีแ่ ท้จริงและมีคณ ุ ภาพ ถูกต้อง จะสามารถทำ�ให้ผู้บริหารตัดสินใจในเรื่องของสุขภาพได้ครับ หัวใจของการทำ�งานทันตสาธารณสุขเช่นกันยังต้องการข้อมูลทีด่ ี และมีคณ ุ ภาพ พวกเราวิชาชีพต้องช่วยกันพัฒนาครับ ต้องมอง เป้าหมายก่อนว่าเราจะเองเก็บไปเพือ่ อะไร ใช้อะไร หลายคนชอบ เก็บละเอียด มากถึงมากที่สุดตัวแปรมากมายสุดท้ายวิเคราะห์ อะไรไม่ได้ เราคงต้องมีอะไรในใจก่อนครับว่าจะเก็บอะไร ไม่อย่าง นัน้ ผูใ้ ช้งานจะเบือ่ ทำ�งานก็เหนือ่ ยแล้วมานัง่ คียอ์ ะไรกันมากมาย สารสนเทศจะช่วยให้ท่านทำ�งานได้ง่ายขึ้นจริงครับ ฉบับนี้แค่น้ี ก่อนนะครับพบกัน TIP Dental IT ต่อไป อยากให้เขียนเรือ่ งอะไร เมลมาได้ครับที่ rongnaja@gmail.com
..รมณ์ดๆี กับ งานประชุมวิชาการชมรมทันตสาธารณสุขแห่ง ประเทศไทย ” และ “รางวัลไลอ้อนสุขภาพช่องปาก 2555” โดย ผศ. ดร. ทพญ. จรัญญา หุน่ ศรีสกุ ล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 22. 11. 55 เป็นอีกวันหนึง่ ทีเ่ หล่าพีๆ่ น้องๆ ชาวทันตสาธารณสุขเปีย่ มด้วยรอยยิม้ ในบรรยากาศของ ความเป็นมิตรของการแลกเปลีย่ นประสบการณ์เพือ่ การดูแลสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนในงานประชุมของ ชมรมทันตสาธารณสุขแห่งประเทศไทย “หลากวิถี สูก้ ฟู้ นั นา้ํ นม” และอิม่ เอิบใจกับการร่วมยินดีในพิธกี าร มอบรางวัลไลอ้อนสุขภาพช่องปาก ประจำ�ปี 2555 ทีจ่ ดั ขึน้ ณ โรงแรมเซนทาราแกรนด์ กรุงเทพมหานคร
ช่วงเช้า ผศ. ดร. ทพญ. จรัญญา หุน่ ศรีสกุ ล ประธานชมรม ทันตสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ได้ย้อนให้เห็นพลังของรุ่นยุค บุกเบิกชมรมฯ ที่มีปณิธานเพื่อร่วมกันขับเคลื่อนงานด้านทันต สาธารณสุข ผ่านการผสานความรู้ควบคู่การขับเคลื่อนสังคม จนถึงยุคปัจจุบันที่ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมเป็นส่วนหนึ่งของชม รมฯเพือ่ ให้เกิดคลืน่ ต่อเนือ่ งของการเป็น “มิตรร่วมอุดมการณ์ ร่วม สานสร้างสุขภาพช่องปาก” ด้วยพลังร่วมกันทัง้ ภาคประชาชนและ บุคลากรสุขภาพ ในช่วงเสวนาวิชาการ “ หลากวิถ ี สูก้ ฟู้ นั นา้ํ นม ” ผศ.ดร. ทพ.ทรงวุฒ ิ ตวงรัตนพันธ์ และ ทพญ.จันทนา อึง้ ชูศกั ดิ์ ได้รว่ ม กันชวนคิดชวนคุยกับเหล่าทีมวิทยากร ทำ�ให้ได้ร่วมเรียนรู้พลัง
ของการทำ�งานบนพื้นฐานการเข้าใจ เข้าถึง จากกรณีศึกษาที่ ทพญ.สุจติ ตา มาตา โรงพยาบาลบ้านฝาง จ.ขอนแก่น ได้ชถ้ี งึ ธรรมชาติของการเลีย้ งดูเด็กเล็กทีม่ อี ทิ ธิพลของสังคมสูค่ รอบครัว ทีบ่ คุ ลากรสาธารณสุขควรเรียนรู้ ในขณะที่ ทพญ.นาริศา หีมสุหรี โรงพยาบาลยะหริง่ จ.ปัตตานี ได้เล่าเรือ่ งการทำ�งานอย่างสนุก บนวิถีการเรียนรู้การทำ�งานร่วมกับชุมชน การคิดและทำ�งาน อย่างเป็นระบบ การพลิกเปลีย่ นวิกฤตจากการมีเด็กอายุ 3 ปีท่ี มีฟนั ผุมากทีส่ ดุ ในประเทศไทยจนสามารถมี caries free เกือบ ร้อยละ 40 ในเวลา 8 ปีในพื้นที่เสี่ยงภัยเขตชนบท ในขณะที่ ทพญ.รพินทร์ อบสุวรรณ ส�ำ นักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย มาชวนชี้ให้เห็นนักสร้างเสริมสุขภาพแนวใหม่ ฉีกแนวอย่าง สร้างสรรค์ หลากความสามารถ กล้าคิด กล้าทำ� ปลุกเร้าความ สนใจในเรือ่ งสุขภาพช่องปากในกลุม่ วัยต่างๆ อย่างน่าชม และปิด ท้ายด้วย ทพญ.สุมาลี อรุณรัตนดิลก สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด นนทบุรี เล่าถึงการพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากใน เด็กก่อนวัยเรียนด้วยวิถีสำ�หรับคนเมืองและการนำ�นวัตกรรม SMART technique มาใช้ในการบูรณะฟันนา้ํ นมที่ เร็วขึน้ เด็กร่วมมือ มากขึน้ และยังไม่ผดิ หวังกับประสิทธิภาพสมคำ�ว่า SMART ทีเดียว วารสารทันตภูธร 17 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
วารสารทันตภูธร 18 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ปิดท้ายช่วงเช้าด้วยความเข้มข้นจาก อ.ทพ. อุทัยวรรณ กาญจนกามล ผูอ้ �ำ นวยการสถาบันเสริมสร้างพลังชุมชน ได้กระตุก แนวคิด มุมมองของพวกเราให้เห็น “กระบวนทัศน์ใหม่ของการส่ง เสริมสุขภาพช่องปาก” ทีเ่ ชือ่ มัน่ พลังของประชาชน ผ่านวิถกี าร ทำ�งานที่มิได้เริ่มต้นจากปัญหา หากแต่มีปัญญาที่เกิดจากการ เข้าใจในธรรมชาติและพลังชุมชน เข้าใจในพลังแห่งประชาชน ด้วยการทำ�งานแบบเสริมพลัง (Empowerment) การทำ�งาน Positive approach และหลากหนทางทีน่ �ำ ไปสูก่ ารมีความสุขและมี พลังของการทำ�งานร่วมกัน ในช่วงบ่าย เริม่ ต้นกันด้วย “SMART Style มุมมองใหม่ของ การรักษาฟันสำ�หรับเด็กเล็ก” ได้รับเกียรตินำ�เสวนาโดย นาย แพทย์ มงคล ณ สงขลา โดยมีผรู้ ว่ มเสวนาได้แก่ รศ. ทพ. ประทีป พันธุมวานิช คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ทพญ.สุมาลี อรุณรัตนดิลก สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด นนทบุรี พร้อมกับคุณครูและเด็กๆ ทีผ่ า่ นการดูแลด้วยวิธนี ้ี เน้น ยํา้ ชัดเจนว่า การนำ�แนวคิดการบูรณะฟันเด็กเล็กด้วย SMART technique น่าจะเป็นอีกวิถีหนึ่งที่ช่วยลดความทุกข์จากการมี ปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วสำ�หรับเด็กเล็กและคงช่วยลดความลำ�บาก ของทันตบุคลากรในการทำ�งานได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ ภาย ใต้การนำ�แนวคิดนีไ้ ปใช้ ทางบริษทั ไลอ้อนฯ ยินดีสนับสนุนยาสีฟนั แปรงสีฟนั เพือ่ เอือ้ ให้เด็กได้ดแู ลสุขภาพช่องปากได้อกี ทางหนึง่ และแล้วก็มาถึงช่วงสำ�คัญอีกช่วงหนึ่ง ภายหลังการกล่าว ประกาศเกียรติคณ ุ โดย รศ. ดร. ทพญ. วรานุช ปิตพิ ฒ ั น์ ตัวแทน คณะกรรมการรางวัลไลอ้อนสุขภาพช่องปาก “…. อ.ประทีป เป็นแบบอย่างของบุคคลคุณภาพ ผู้ประสบความสำ�เร็จอย่าง ดีในการนำ�ความรู้ความสามารถมาประยุกต์ใช้และเผยแพร่ให้ เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพช่องปากของประชาชน และช่วยเหลือ พัฒนาวงการทันตสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องตลอดมาจนผล งานเป็นที่ประจักษ์ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มีความวิริยะอุตสาหะ มี วิจารณญาณ มีวสิ ยั ทัศน์ เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมจริยธรรมอันดี งาม ……” ดงั นัน้ คณะกรรมการจัดประกวดรางวัลไลอ้อนสุขภาพ ช่องปาก ประจำ�ปี 2555 จึงมติเอกฉันท์มอบรางวัลเกียรติคณ ุ ไลอ้อนสุขภาพช่องปากแก่ รศ.ทพ.ประทีป พันธุมวนิช เพือ่ เป็นการ ประกาศเกียรติคุณสืบไป” ท่ามกลางเสียงปรบมือที่ร่วมยินดี อย่างมากมาย
จากนั้น ก็ เ ป็ น ช่ ว งแห่ ง การรอคอย การประกาศผลการ ตัดสินรางวัลไลอ้อนสุขภาพช่องปากประจำ�ปี 2555 โดย ผศ. ดร. ทพ. ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธุ์ ประธานกรรมการจัดประกวดรางวัล ไลอ้อนสุขภาพช่องปาก เริม่ ต้นด้วยการนำ�เสนอผลงานทีน่ า่ สนใจ ของผูเ้ ข้าประกวดจำ�นวน 3 ท่านทีส่ ะท้อนให้เห็นความงาม ความ มุง่ มัน่ และการสร้างประโยชน์ให้กบั วงการทันตสาธารณสุขของการ ทำ�งานหลากรูปแบบ และนำ�มาสูก่ ารประกาศรางวัลไลอ้อนสุขภาพ ช่องปากประจำ�ปี 2555 และมอบรางวัลโดย คุณบุญฤทธิ ์ มหามนตรี ประธานกรรมการบริษทั ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำ�กัด ดังนี้
เป็นตัวอย่างของการพัฒนาสุขภาพของประชาชนด้วยการมี ส่วนร่วมและประสานงานจากภาคีเครือข่ายและภาคีหุ้นส่วน ทุกภาคส่วน ปัจจุบัน “ชมรมคนรักฟันราชบุรี” ได้ขยายและ ครอบคลุมทุกอำ�เภอและถูกนำ�เข้าสูน่ โยบายระดับจังหวัด
รางวัลที่ 1 ได้แก่ โครงการ “สร้างกระแสการดูแลสุขภาพ ช่องปาก ชมรมคนรักฟันราชบุร”ี โดย กลุม่ งานทันตกรรม สสจ. ราชบุรี ผลงานสะท้อนการร่วมมือร่วมใจของประชาชนและทีม งานสุขภาพในการขับเคลือ่ นเรือ่ งการดูแลสุขภาพช่องปาก โดย ประชาชน เพือ่ ประชาชน ผ่านการทำ�งานในรูปแบบ “ชมรมคนรัก ฟันราชบุร”ี สร้างทัศนคติและความตระหนักเรือ่ งสุขภาพช่องปาก ให้แก่ประชาชนและครอบครัว ผ่านกิจกรรมทีห่ ลากหลายอย่าง ต่อเนื่อง สร้างกระแสให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เป็นตัวอย่างของการคืนสุขภาพสู่เจ้าของสุขภาพหรือประชาชน
รางวัลที่ 2 ได้แก่ รายงานวิจยั “การปรับปรุงประสิทธิภิ าพ การเคลื อ บหลุ ม ร่ อ งฟั น โดยใช้ ห ลั ก ฐานเชิ ง ประจั ก ษ์ การพั ฒ นาต่ อ เนื่ อ ง 1999-2011 ของ จ.สงขลา” โดย ผ ศ . ด ร . ท พ ญ . สุ กั ญ ญ า เ ธี ย ร วิ วั ฒ น์ แ ล ะ ค ณ ะ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ผลงานนี้เป็นตัวอย่างของความร่วมมือระหว่างคนทำ�งาน กับภาควิชาการ (มหาวิทยาลัย) ในการดำ�เนินงานแบบวิจยั และ พัฒนาอย่างเป็นระบบมาต่อเนือ่ งกว่า 13 ปี ทำ�ให้เกิดการเรียน รู้ถึงผลลัพธ์และผลกระทบของนวัตกรรมทันตกรรมป้องกัน Pit and fissure sealant ตลอดจนผลลัพธ์เชิงเศรษฐศาสตร์ และนำ� การวิจยั เชิงคุณภาพร่วมกับการทำ�งานแนวจิตตปัญญาศึกษามา ใช้เอือ้ ให้พฒ ั นาการทำ�งานในการทำ� sealant อย่างมีคณ ุ ภาพบน พืน้ ฐานของความเป็นกัลยาณมิตรอย่างน่าสนใจ ส่งผลกลับไปสู่ การพัฒนาต่อยอดงานทีม่ คี ณ ุ ภาพมากขึน้ สำ�หรับประชาชน และ วารสารทันตภูธร 19 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
สามารถเสนอรายงานวิจยั ในวารสารต่างประเทศ 6 ฉบับ และ Manuscript 2 ฉบับ รางวัลที่ 3 ได้แก่ โครงการ “คนชาติตระการยิม้ สวยด้วย เมล็ดพันธุท์ นั ตกรรม” โดย เครือข่ายงานทันตสาธารณสุข คปสอ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก เป็นรูปแบบหนึง่ ของการพัฒนาทีมสุขภาพในพืน้ ทีท่ รุ กันดาร โดยมีผ้นู ำ�ที่เริ่มจากการพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ที่ไม่ใช่ทันต บุคลากร) ใน รพ.สต. และ อสม. ให้มคี วามสามารถดำ�เนินงาน ทันตสาธารณสุขในคลินิก ANC และ WBC การตรวจสุขภาพ ช่องปาก การให้สุขศึกษา การทา Fluoride varnish ผ่านการ สือ่ สารภายในทีมด้วย internet and facebook โดยในภาพรวม สามารถเพิม่ ร้อยละ caries free ในเด็กอายุ 3 ปี อย่างเป็นรูปธรรม โครงการนีน้ บั ว่าเป็น การ Reoriented health system ทีม่ พี ลัง ทัง้ นีร้ ะยะต่อไปก็จะเข้าสูภ่ าคประชาชน รางวัลชมเชย จำ�นวน 3 รางวัล ได้แก่ โครงการ “พัฒนางานสร้างเสริมทันตสุขภาพและสนับสนุน การมีสว่ นร่วมของชุมชน” โดย กลุม่ งานทันตสาธารณสุข สสจ. ปทุมธานี การนำ�แนวคิดการสร้างพลังในการสร้างทีมกระบวนกรทันต สาธารณสุขรูปแบบใหม่ เพื่อพัฒนาแกนนำ�ชาวบ้านและอสม. จนชุมชนมีศักยภาพในการริเริ่มจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพ ช่องปากด้วยตัวเองได้ โครงการ “การศึกษาและพัฒนารูปแบบสื่อสร้างเสริมสุข ภาพช่องปากที่เหมาะสมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเขตเมืองและ ชนบท” โดยคุณวาลี ชูคดีและคณะ ฝ่ายทันตสาธารณสุขชนบท ภาคใต้ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนาสุขภาพช่องปากของเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ผ่าน การส่งเสริมผูด้ แู ลเด็กในการจัดทำ�สือ่ สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ด้วยตนเองทีเ่ หมาะสมกับบริบท และส่งเสริมการเรียนรูร้ ว่ มกันจน เกิดเครือข่ายระหว่างผูด้ แู ลเด็ก
วารสารทันตภูธร 20 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
โครงการ “แต่งแต้มรอยยิม้ ให้นอ้ ง การผ่าตัดและฟืน้ ฟูสภาพเด็ก ปากแหว่งเพดานโหว่ภาคเหนือ” โดยคุณพนมวรรณ อยูด่ ี และ คณะเลขาธิการพัฒนาสตรีภาคเหนือเป็นงานของภาคประชาชน ที่ทำ�งานด้วยจิตวิญญาณมากว่า ๑๐ปี มีการประสานงานจาก ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน จนก่อให้เกิดการดูแลสุขภาพแบบ องค์รวม ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ ตัง้ แต่เล็กจนโต
ขอขอบพระคุณความร่วมมือร่วมใจของทีมงานชมรมทันตสาธารณสุขแห่งประเทศไทย การเอือ้ เฟือ้ จาก ชมรมทันตกรรมสำ�หรับเด็กแห่งประเทศไทยและเครือข่ายลูกรักฟันดีทร่ี ว่ มสนับสนุนปฏิทนิ การดูแลลูกน้อย ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณและการช่วยเหลือรอบด้านของบริษทั ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำ�กัด และทีม งานจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูง ปีหน้า ตัง้ ใจไว้ได้เลยค่ะ ร่วมส่งผลงานทีพ่ ๆ่ี น้องๆภาคภูมใิ จมาประกวดกันเยอะๆ และขอเชิญเข้าร่วม งานประชุมของชมรมฯทีห่ าดใหญ่คะ่ ติดตามได้ท่ี www.dentpublichealth.com วารสารทันตภูธร 21 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
รางวัลที่ 1 Lion Oral Health Award 2012 ชมรมคนรักฟัน จังหวัดราชบุรี “กลไกขับเคลื่อนในการแก้ปัญหาทันต สาธารณสุข” โดย กลุม่ งานทันตสาธารณสุข สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี และคณะกรรมการดำ�เนินงานทันตสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี
จังหวัดราชบุรเี ป็นจังหวัดหนึง่ ทีพ่ บกับสภาวะการณ์ปญ ั หาสุขภาพช่องปากจึงมีการรวมตัวของกลุม่ ทันตบุคลากรมีการแต่งตัง้ เป็นคณะกรรมการดำ�เนินงานทันตสาธารณสุขจังหวัดราชบุรขี น้ึ ตัง้ แตปี พ.ศ. 2528 เป็นต้นมา และดำ�เนินงานแก้ปญ ั หาทันตสุขภาพของ ประชาชนจังหวัดราชบุรมี าโดยตลอด จากการประเมินผลการดำ�เนินงานในแต่ละปีท�ำ ให้เกิดการปรับเปลีย่ นกลยุทธ จากการทำ�งานโดย ภาครัฐเพียงอย่างเดียวเป็นการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนและบุคลากรภาครัฐจากสาขาอาชีพอืน่ ทีเ่ ห็นความสำ�คัญของโรคในช่องปาก ในฐานะประชาชนทีป่ ระสบปัญหาเข้ามาร่วมเป็นทีมทำ�งานภายใต้ชอ่ื องค์กร “ชมรมคนรักฟันจังหวัดราชบุร”ี ทีม่ กี ารจัดตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2545 มีกฏระเบียบของชมรมและมีการจัดกิจกรรมใหญ่ประจำ�ปีทกุ ปี มีผลงานเชิงประจักจนเป็นทีย่ อมรับของทุกหน่วยงาน และมีการขยาย เครือข่ายเพือ่ ให้เกิดขุมพลังในการร่วมดำ�เนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปากทัง้ ในส่วนของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ในปี พ.ศ.2550 ได้รบั การสนับสนุนงบจากสำ�นักงานสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทำ�ให้สามารถขยายเครือข่ายไปอีก 3 อำ�เภอ และได้รบั การยอมรับจาก ผู้บริหารองค์กรในระดับจังหวัดทำ�ให้ได้รับการอนุมัติแผนและงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพและขยายเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ปจั จุบนั เกิดเครือข่ายขมรมคนรักฟันในทุกอำ�เภอในลักษณะรูปแบบและเงือ่ นไขทีแ่ ตกต่างกันไปตามบริบทของพืน้ ทีแ่ ละลักษณะ ของแกนนำ�ทีห่ ลากหลายโดยมีเป้าประสงค์เพือ่ ให้ลกู หลานชาวราชบุรมี สี ขุ ภาพช่องปากทีด่ ี
วิธีการ
1.ปรับรูปแบบการทำ�งาน
วารสารทันตภูธร 22 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
2.เชิญชวนครอบครัวที่มาร่วมกิจกรรมเป็นสมาชิก เริ่มต้นจาก 38 ครอบครัวก่อตั้งเป็นชมรมคนรักฟัน
3.ขยายฐานสมาชิกด้วยการจัดกิจกรรม ประจำ�ปีโดยกรรมการชมรมร่วมกับ ทันตบุคลากร
4.สานสัมพันธ์ระหว่างกรรมการชมรม และทันตบุคลากรด้วยกิจกรรมรักฟัน ออนทัวร์สัมมนา/ถอดบทเรียนฯลฯ
วารสารทันตภูธร 23 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
5.พัฒนาความรู้ด้วยกิจกรรมประกวดการให้ความรู้ของกรรมการชมรมคนรักฟันแต่ละเครือข่าย โดยมีทันตบุคลากรแต่ละอำ�เภอเป็นที่ปรึกษา
6.สร้างช่องทางการสื่อสารผ่านสื่อต่างๆ อย่างต่อเนื่องทุกช่องทางและทุกโอกาส
7.สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มโดยเครื อ ข่ า ยชมรมเป็ น ผู้กำ�หนดเป้าหมายในการรณรงค์ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
• สามารถแก้ปัญหาขาดคน ขาดงบประมาณและขาดโอกาสการเข้าถึงบริการ
• ประชาชนสมัครสมาชิกตลอดชีพเพิม่ ขึน้ จาก 367 ครอบครัวเป็น 820 ครอบครัวครอบคลุมสมาชิกในครอบครัวมากกว่า 2500 คน เป็นสมาชิกเป็นสมาชิกประเภทหน่วยงาน 117 หน่วยงาน วารสารทันตภูธร 24 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
การประเมินผล
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
• เกิดทีมงานทีม่ าจากหลากหลายอาชีพ และบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพ ในการทำ�งานด้วยจิตอาสา • สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและนำ�ไปสูก่ ารร่วมกันแก้ปญ ั หาทันตสุขภาพของสังคมและชุมชน อย่างแท้จริง • ทันตบุคลากรในแต่ละพืน้ ทีเ่ ปิดใจยอมรับความคิดเห็นและเปลีย่ นแนวคิดทีต่ อ้ งทำ�งานคนเดียวเป็นการสร้างสัมพันธภาพกับ บคุ คลรอบข้างขยายฐานไปสูค่ นในชุมชนและเกือ้ หนุนซึง่ กันและกัน • มีผลงานเชิงประจักษ์ทง้ั ในระดับจังหวัดและเครือข่ายอำ�เภอ
ตัวชี้วัดความสำ�เร็ จโครงการ
1.อาสาสมัครทำ�หน้าทีค่ ณะกรรมการชมรมมีความพึงพอใจต่อบทบาททีไ่ ด้รบั ประเมินได้จากการจัดกิจกรรมใหญ่ประจำ�ปี ของชมรม คนรักฟันภายใต้ชอ่ื งาน มหัศจรรย์วนั รักฟันทุกครัง้ มีการแบ่งบทบาทและหน้าทีก่ นั รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมร่วมกันของทุกเครือข่าย 2. ร้อยละ 85 ครอบครัวมีบตุ รอายุต�ำ่ กว่า 12 ปี พึงพอใจในกิจกรรมทีช่ มรมจัดขึน้ 3.จำ�นวนสมาชิกชมรมคนรักฟันประเภทครอบครัวเพิม่ ขึน้ แสดงให้เห็นว่าชมรมคนรักฟันเป็นทีย่ อมรับและสามารถสร้างกระแสสังคม ได้ส�ำ เร็จทำ�ให้ประชาชนยินดีรว่ มจ่ายในการสมัครเป็นสมาชิกเพือ่ รับเอกสารเผยแพร่ความรูใ้ นรูปจดหมายข่าวครอบครัวรักฟันและต้องการ นำ�บุตรหลานเข้าร่วมกิจกรรมของชมรม ทำ�ให้มกี ารต่ออายุการเป็นสมาชิกชมรมเปลีย่ นสถานะจากรายปีเป็นสมาชิกตลอดชีพเพิม่ ขึน้ จาก 367ครอบครัวเป็น 820 ครอบครัวครอบคลุมสมาชิกในครอบครัวมากกว่า 2500 คน 4.มีจ�ำ นวนกรรมการและอนุกรรมการของชมรมคนรักฟันเพิม่ ขึน้ และจำ�นวนสาขาอาชีพโดยเฉพาะกรรมการทีม่ าจากอาชีพสือ่ สาร มวลชนเพิม่ ขึน้ โดยยินดีมาร่วมประชุมและจัดกิจกรรมโดยไม่มคี า่ ตอบแทนและร่วมจ่ายในกิจกรรมเพือ่ สังคมและการแสดงสัญลักษณ์การ เป็นตัวตนของชมรมเช่นการซือ้ ผลิตภัณท์ของชมรมเช่น เสือ่ /กระเป๋า ร่มฯลฯทีม่ โี ลโก้ชมรม พร้อมร่วมบริจาคเงินและหาของขวัญรางวัลมา ร่วมในการจัดกิจกรรม 5.ผูบ้ ริหารสาธารณสุขทัง้ ในระดับจังหวัดและอำ�เภอยินดีรว่ มเป็นกรรมการและสมาชิกชมรม วารสารทันตภูธร 25 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
สหวิชาชีพ การทำ�งานร่วมกันของทีมสาธารณสุขป่าบอน วันนีม้ เี รือ่ งมาเล่าถึงหนึง่ การทำ�งานทีเ่ กิดขึน้ ในโรงพยาบาล ป่าบอน เคสนีเ้ ป็นคุณป้าได้รบั อุบตั เิ หตุมามีแผลฉีกขาดทีร่ มิ ฝีปาก ด้านนอกต่อเนือ่ งมาถึงเนือ้ เยือ้ ด้านในช่องปาก พยายาล OPD สกรีนเคสเลยส่ง consult อุบตั เิ หตุแผลฉีกขาดในช่องปาก หมอ ฟันเห็นแผลทีร่ มิ ฝีปาก แน่นอนความถนัดในการเย็บทีผ่ วิ หนังของ ทันตแพทย์นน้ั ไม่ถนัดเอาซะเลย ถ้าเนือ้ เยือ่ ในปากอีกเรือ่ งฉีกถึง ไหนถึงกัน อีกอย่างบริเวณที่ฉีกขาดมองเห็นได้ชัดถ้าแผลหาย แต่คนไข้กลับต้องมามีแผลเป็นฝากไว้ขนาดใหญ่ๆ เราเองคงไม่ สบายใจเป็นแน่ และจำ�ได้วา่ ผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลป่าบอน (นายแพทย์ศรัณยู สุวรรณสะอาด) เพิง่ ได้รบั ทุนเรียนต่อศัลยกรรม ตกแต่งทีศ่ ริ ริ าช ฝ่ายทันตกรรมไม่รอช้า เลยเชิญท่านมา consult บนเตียงทำ�ฟัน (มีคนเก่งๆ ในโรงพยาบาลก็เงีย๊ ะ^^) ผอ.เลยสอนทันตบุคลากรเรือ่ งการดูแลแผลคร่าวๆ ว่าควร ล้างขอบแผลให้สะอาดและเรียบก่อน แล้วสาธิตการเย็บแผลนอก ช่องปากควรใช้ Nylon เย็บแบบ vertical mattress ส่วนในปากให้ ใช้พวก Catgut เย็บแบบ Simple interrupted พวกไหมละลายจะ มีการย่อยสลายเกิดปฏิกริ ยิ าทำ�ให้ผวิ หนังเกิดแผลเป็นได้งา่ ย เรา จึงใช้ Nylon ซึง่ ไม่ละลายในการเย็บแผลด้านนอกส่วน mucosa ไม่คอ่ ยกลัวเรือ่ งแผลเป็นอยูแ่ ล้ว จึงใช้พวก Catgut ซึง่ ละลายเองได้ ไม่ต้องมาตัดไหม และเศษอาหารก็ติดน้อยกว่าพวก Silk ด้วย วารสารทันตภูธร 26 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
(แบบนีต้ อ้ งเชิญมาบ่อยๆ ฮ่าๆ เอ้ย เชิญมาให้ความรูแ้ ละความ เข้าใจเพราะต่อไป ผอ.ไปเรียนต่อเราจะได้ท�ำ เป็น ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ผล ประโยชน์สงู สุดทีค่ นไข้จะได้รบั จริงม่ะครับ) แน่นอนการทำ�งานหลายคนย่อมเสียเวลาในการติดต่อ ประสานงานกันบ้าง แต่ดว้ ยความเป็นทีมต่างคนต่างมีความเก่ง และถนัดคนละด้าน ถ้านำ�ข้อดีตา่ งๆ มาช่วยเสริมแรงในการดูแล สุขภาพผู้ป่วยแบบองค์รวม ใส่ใจการดูแลรักษาทุกอย่างตั้งแต่ คนไข้เข้ามาโรงพยาบาลรับการรักษาและเดินออกไปอย่างมี ความสุข ซึง่ เราเองก็คงได้รบั ความสุขไปไม่นอ้ ยกว่าคนไข้ ความสุข ทีไ่ ด้ชว่ ยคนไข้รว่ มกันระหว่างหมอกับหมอฟัน นแี่ หละครับความ สุขที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลป่าบอนของเรา
ลูกหมูจากไร่สบั ปะรด
ไกลเกินช่องปาก ลึกกว่าคอหอย ประชากรศาสตร์ กับแนวรบระบบบริการทันตกรรม
โดย นพ. สุภทั ร ฮาสุวรรณกิจ ชมรมเเพทย์ชนบท
ทิ ศ ทางแนวโน้ ม ของโลกที่ ห ลี ก เลี่ ย งไม่ พ้ น ในเชิ ง ประชากรศาสตร์ทส่ี �ำ คัญมี 2 ประการคือ การเพิม่ ขึน้ ของสัดส่วน ประชากรผูส้ งู อายุ และการย้ายถิน่ ของประชากรเข้ามาอยูอ่ าศัย ในเขตเมือง ผูส้ งู อายุทม่ี อี ายุเกิน 60 ปีในประเทศไทยนัน้ เพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เมื่อผู้คนอายุยืนยาวขึ้น ความต้องการบริการด้านสุขภาพจะสูง ขึน้ เป็นทวีคณ ู ประเทศไทยมีสดั ส่วนของผูส้ งู อายุทม่ี อี ายุเกิน 65 ปีอยูท่ ่ี 9.2% แล้ว ในขณะทีป่ ระเทศในยุโรป มีสดั ส่วนสูงร่วม 20% และอนาคตสัดส่วนผูส้ งู อายุของประเทศไทยจะเท่ากับโลกตะวันตก ทุกๆ 4-5 คนเป็นผู้สูงอายุ 1 คน ภาระของสังคมในการดูแล ผูส้ งู อายุจะมากมายขนาดไหน โดยเฉพาะภาระด้านการจัดบริการ สุขภาพรวมทัง้ ด้านทันตกรรม การย้ายถิน่ ของประชากรจากทีอ่ าศัยทำ�กินในเขตชนบท มาก ระจุกพักอาศัยและทำ�งานในเขตเมือง ได้สร้างปัญหาความไม่เพียง พอให้กบั ระบบบริการต่างๆ แทบทุกระบบ รวมทัง้ ระบบบริการด้าน สุขภาพและบริการทันตกรรม การย้ายถิน่ จากชนบทก็เป็นปัญหาหนึง่ แล้ว การย้ายถิน่ ของแรงงานข้ามประเทศก็เป็นอีกปัญหาใหม่ รวมทัง้ medical หรือ dental tourism ทีเ่ พิม่ จำ�นวนมากขึน้ เพือ่ มารับบริการ ทันตกรรมคุณภาพดีราคาถูก ยิง่ ทำ�ให้บริการทันตกรรมในเขตเมือง เป็นทุกข์ของทุกฝ่าย คิวยาวจนต้องปิดบัตรตัง้ แต่เช้า หากรอไม่ไหวก็ ต้องยอมจ่ายแพงกับคลินกิ หรือโรงพยาบาลเอกชน สองบริบทสำ�คัญทางประชากรศาสตร์ทเี่ ข้ามาซาํ้ เติมระบบ บริการทันตกรรมพื้นฐานที่ยังไม่เพียงพอ ระบบทันตกรรมที่ไม่ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้ทันท่วงที จึงนำ�มาสู่ทันตกรรมนอกระบบที่ตํ่ากว่ามาตรฐาน แต่ยังได้รับ ความนิยมอย่างสูง เพราะราคาประหยัดและทันท่วงที ในเขต ชนบทเสียอีกที่ประชาชนเข้าถึงบริการทันตกรรมได้ง่ายกว่าคน เมืองกลุ่มที่รายได้น้อย แล้วอนาคตอันใกล้ ระบบบริการทันต กรรมของประเทศไทยจะจัดระบบบริการอย่างไรดี อย่างว่าแต่ ระบบการสร้างสุขทางทันตกรรมที่ไม่ค่อยเป็นรูปเป็นร่างเลย แม้แต่ระบบบริการซ่อมทางทันตกรรมนั้น น่าจะวิกฤตคิวยาว ขึ้นอีกหลายเท่าตัว
ทางออกคืออะไรเมื่อต้องตัดสินใจภายใต้ทรัพยากรอัน จำ�กัด ผลิตทันตแพทย์เพิม่ อีกห้าเท่าตัวใช่ค�ำ ตอบจริงหรือไม่ อีก กีป่ จี ะบรรลุ การไหลออก การคงอยู่ การเติมคนใหม่เข้ามาจะเกิน ดุลไหม เป็นเรือ่ งทีย่ ากทีจ่ ะคาดเดาได้อย่างแม่นยำ� หรือจะผลิต ทันตาภิบาลพิเศษ ที่เน้นขูดอุดถอน หรือจะผลิตนักฟันปลอม ประดิษฐ์ท่ีเอาดีด้านเดียวในการทำ�ฟันปลอมเฉกเช่นเดียวกับ ที่ตะวันตกผลิตนักดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน หรือจะกล้าคิดกล้า ทำ�เลิกรับทันตแพทย์เพิ่มในโรงพยาบาล แต่หันไปจ้างเหมาทำ� contract กับคลินกิ เอกชนแทน ซึง่ อาจจะมีคา่ ใช้จา่ ยทีต่ า่ํ กว่าที่ รัฐต้องมาลงทุนก็ได้ ทัง้ หมดนีต้ อ้ งการการหาคำ�ตอบ ใครจะตอบ ได้ดเี ท่ากับคนทีเ่ ป็นคนในเช่นทันตบุคลากร เพียงแต่ตอ้ งเปิดใจ กล้าคิดนอกกรอบ เอาโจทย์ปญ ั ญาเป็นตัวตัง้ คำ�ตอบอาจมีหลาก หลายวิธี ทีส่ ามารถผสมสานเสริมกันอย่างลงตัว สำ�หรับผมเองไม่มีคำ�ตอบสำ�เร็จรูปกับคำ�ถามนี้ สำ�หรับ ระบบบริการทางการแพทย์ กลวิธีหลักในการแก้ปัญหามีกลวิธี สองประการสำ�คัญคือ การผลิตแพทย์เพิม่ ราวสองเท่าตัว แต่สง่ ผลให้แพทย์ในระบบอาจเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 1.5 เท่า เป็นกลวิธีท่ี ต้นทุนสูง ผลตอบแทนตา่ํ แต่จ�ำ เป็น อีกกลวิธคี อื การยกระดับ พยาบาลให้เป็นพยาบาลเวชปฏิบตั คิ รอบครัว เพือ่ ทำ�หน้าตรวจ รักษาโรคพื้นฐานทั่วไปแทนแพทย์ โดยมีการผลิตเพิ่มจำ�นวน มาก มุ่ง หวั ง ให้ เ ติ ม เต็ ม ในทุ ก สถานี อ นามั ย ซึ่ง ก็ ค ล้ า ยๆกั บ ทันตาภิบาล แต่มกี ารยกระดับให้สามารถทำ�งานรักษาได้อย่าง เชื่อมั่นมากขึ้น และมีระบบการส่งต่อที่ดี เป็นกลวิธีต้นทุนตํ่า ประสิทธิภาพสูง เข้าถึงประชาชน แต่ก็อาจมีผลข้างเคียงใน การรักษาจากความเชื่ยวชาญที่น้อยกว่าทันตแพทย์ โดยส่วน ตัวผมคิดว่าบทเรียนการจัดการระบบบริการทางการแพทย์ น่ า จะเป็ น คำ � ตอบหนึ่ ง ของระบบบริ ก ารทั น ตกรรม Albert Einstein บอกไว้ว่า Imagination is more important than knowledge จินตนาการสำ�คัญกว่าความรู้ ระบบบริการทาง ทั น ตกรรม แห่ ง อนาคตที่ จ ะตอบการเปลี่ ย นแปลงทาง ประชากรศาสตร์นนั้ ต้องการจินตนาการทีส่ ร้างสรรค์ไม่นอ้ ยไป กว่าความรู้จากการวิจัย วารสารทันตภูธร 27 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
คลินิกทันตกรรมที่แตกต่าง Toothfriendly Dental Clinic โดย ทพ.ดร.ธงชัย วชิรโรจน์ไพศาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฉบับนี้ไม่ได้พาเที่ยวประเทศตุรกีนะครับ แต่จะพาไปรู้จัก คลินิกทันตกรรมในประเทศตุรกี ที่ ติดเครือ่ งหมาย ฟันกางร่ม หรือ Toothfriendly ไว้ในคลินกิ มีประเด็นน่าสนใจทีจ่ ะเล่าสูก่ นั ฟังครับ
เมื่อปลายเดือนกันยายน 2555 ผมได้มีโอกาสไปดูงาน กิจกรรมต่างๆของ Toothfriendly ณ.เมืองอิสตันบูล ประเทศ ตุรกี นอกจากคลินกิ ทันตกรรม Toothfriendly แล้วยังมี กิจกรรม โครงการทันตกรรมป้องกันในโรงเรียนที่ดำ�เนินโครงการโดยแม่ บ้าน อาสาสมัคร และสนับสนุนโครงการโดย Toothfriendly Foundation โครงการ Disler Yolunda program (Disler หมายถึง ฟัน ส่วน Yolunda หมายถึง หลุม ร่อง) ที่เป็นการให้ เด็กในครอบครัวที่ด้อยโอกาส ได้รับบริการทันตกรรมฟรีจาก ทันตแพทย์ ฯลฯ แต่จะขอเล่าเฉพาะคลินิกทันตกรรม Toothfriendly ครับ Dr. Seyhan Gucum, President of Toothfriendly Turkey และ Mrs. Selda Alemdar Dincer, Country manager ของ Toothfriendly International ประจำ�ตุรกี ได้ให้การดูแลผมตลอด 3-4 วันที่ดูงาน ความเป็นมาของ Toothfriendly Dental Clinic Toothfriendly Turkey ได้มแี นวคิดการทำ�คลินกิ ทันตกรรม ที่แตกต่างกับคลินิกทันตกรรมอื่นๆ ในตุรกี โดยได้ตั้งมาตรฐาน คลินิกไว้ 2 ด้านคือ การฆ่าเชื้อเครื่องมือและทันตกรรมป้องกัน ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากคลินกิ ทันตกรรมในตุรกีมมี าตฐานแตกต่างกันมาก มีขบวนการฆ่าเชื้อเครื่องมือที่ไม่ได้คุณภาพอยู่เป็นจำ�นวนมาก ทัง้ นี ้ โดยเริม่ โครงการในปี 2010 มีคลินกิ ทีเ่ ข้าร่วมโครงการและ ผ่านมาตรฐาน 7 แห่ง และมีคลินิกที่อยู่ในระหว่างการปรับปรุง การดำ�เนินการให้ได้มาตรฐานอีก 8 แห่ง ในปี 2012 มีคลินิกที่ ผ่านมาตฐานรวมทั้งหมด 13 แห่ง ซึ่งตั้งอยู่ใน 5 เมือง คือเมือง หลวง Ankara นครIstanbul เมือง Bursa เมือง Denizil และ เมือง Izmir โดยทาง Toothfriendly Turkey ตั้งเป้าจะขยายให้ ได้เป็น 50 แห่งในอนาคต วารสารทันตภูธร 28 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ถ่ายภาพกับ Dr. Seyhan Gucum, President of Toothfriendly Turkey
Mrs. Selda Alemdar Dincer, Country manager ของ Toothfriendly International ประจำ�ตุรกี
เอกสารเตือนเรื่องการทำ�ความสะอาดและการฆ่าเชื้อเครื่องมือ วางไว้ตามที่ต่างๆ ในคลินิก
มาตรฐานและคุณภาพด้านการฆ่าเชื้อเครื่องมือ อาจถื อ ได้ ว่ า มาตฐานและคุ ณ ภาพในเรื่ อ งของความ สะอาดนั้นเป็นหัวใจสำ�คัญของ Toothfriendly Dental Clinic ที่จะต้องปฎิบัติตาม จากการเยี่ยมศึกษาดูงานทั้ง 3 คลินิกพบ ว่า มีแผ่นป้ายรายละเอียดในการล้างมือ การล้างเครื่องมือ การ ทำ�ความสะอาดและฆ่าเชื้อเครื่องมือวางตามจุดต่างๆ เพื่อที่ผู้ ใช้จะหยิบมาใช้ ทบทวนและทำ�ตามได้ตลอดเวลา ทันตานามัย และผู้ช่วยทันตแพทย์มีความภาคภูมิใจมากที่ได้อธิบายให้ฟัง เกณฑ์มาตฐานแบ่งเป็น คำ�จำ�กัดความของความสะอาด การ ดูแลความสะอาดเฉพาะบุคคล การล้างมือ การทำ�ความสะอาด เครือ่ งมือและอุปกรณ์ การทำ�ความสะอาดพืน้ ผิว การทำ�ความ สะอาดเครือ่ งถ่ายภาพรังสี แบบพิมพ์ฟนั การกำ�จัดและการทิง้ ของ เสียทีต่ ดิ เชือ้ และการทำ�ให้ความสะอาดเป็นประจำ�ทุกสัปดาห์ การมีเกณฑ์มาตรฐานในเรือ่ งการฆ่าเชือ้ เครือ่ งมือนัน้ อาจ เป็นเรื่องที่ปกติมากสำ�หรับคลินิกทันตกรรมในประเทศไทย เพราะคลินิกทันตกรรมในประเทศไทยส่วนใหญ่ก็มีมาตรฐานที่ เป็นที่ยอมรับอยู่แล้ว
Dr. Oktay ได้อธิบายว่า เมื่อมีผู้ป่วยเข้า มารั บบริ ก าร ทันตกรรมต่าง ๆ เขาจะอธิบายให้ผปู้ ว่ ยเกือบทุกคนฟังว่า “มีวธิ ี การที่จะไม่ทำ�ให้ต้องมีฟันผุเกิดขึ้นอีกสนใจหรือไม่ โดยที่ก่อน อื่นจะต้องทำ�การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุก่อนว่ามี ความเสี่ยงที่จะเกิดมากน้องแค่ไหน จากนั้น จะให้ทันตกรรม ป้องกันตามระดับความเสี่ยง” ซึ่งพบว่า ผู้ป่วยเกือบทั้งหมด สนใจและยินดีที่จะเข้าโปรแกรมทันตกรรมป้องกัน จะมียกเว้น ผู้ป่วยบางคนที่มาเฉพาะอาการฉุกเฉิน เช่น วัสดุหลุด หรือ ปวด ฟันมา ซึ่ง Dr. Oktay จะไม่ได้สอบถามผู้ป่วยในครั้งแรก แต่จะ สอบถามในครั้งต่อไปที่มาติดตามอาการ แบบประเมินความเสีย่ งที ่ Dr.Oktay ใช้ เป็นระบบ Cariogram ของ Malmo University ประเทศสวีเดน ที่นิยมใช้ทั่วโลก และมี software ให้ download ไปใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ หลายภาษา (รวมทั้งภาษาไทย)
ม าตรฐานและคุณภาพด้านงานทันตกรรมป้องกัน เรื่องที่น่าสนใจมากคือ ทำ�ไมงานทันตกรรมป้องกันจึง เป็นเรื่องสำ�คัญที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการเข้าร่วมToothfriendly Dental Clinic คำ�ตอบในเรื่องนี้ผมรู้สึกได้จากการได้พูดคุย กับ Dr.Oktay Dulger เจ้าของคลินิกที่มีความมุ่งมั่นในเรื่อง ทันตกรรมป้องกันอย่างมาก ในเรื่องงานทันตกรรมป้องกัน จะไม่ใช่เป็นการให้บริการ ทันตกรรมป้องกันแบบแยกส่วนเป็นแต่ละงาน เช่น การให้ ฟลูออไรด์ การเคลือบหลุมร่องฟัน การสอนแปรงฟัน ฯลฯ แต่จะ เป็นการให้บริการทันตกรรมป้องกันทีม่ เี ป้าหมายว่า จะไม่ท�ำ ให้ ผู้ป่วยมีฟันผุเกิดขึ้นอีกต่อไปในอนาคต วารสารทันตภูธร 29 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
การประเมินความเสี่ยง Cariogram จะใช้การสัมภาษณ์ ประวัตสิ ขุ ภาพและการใช้ยาทีม่ ผี ลต่อการหลัง่ นา้ํ ลาย สัมภาษณ์ ความบ่อยในการรับประทานอาหารว่างที่เป็นแป้งและนํ้าตาล สัมภาษณ์ขอ้ มูลความสม่�ำ เสมอของการใช้ฟลูออไรด์ ทันตแพทย์ จะตรวจจำ�นวนซีฟ่ นั ผุในช่องปาก ตรวจและบันทึกปริมาณของ แผ่นคราบจุลนิ ทรีย ์ และจะใช้ชดุ ทดสอบวัดปริมาณนํา้ ลาย ความ สามารถของนา้ํ ลายในการลดความเป็นกรด (Buffer Capacity) และปริมาณของเชือ้ Streptococus mutans ซึง่ ชุดทดสอบนีจ้ ะ ต้องส่งไปยังห้องปฎิบตั กิ ารเพือ่ วิเคราะห์ผลการทดสอบ
เอกสารการประเมินความเสีย่ งต่อการเกิดโรคฟันผุทแี่ จกให้แก่ ผู้ป่วยหลังเสร็จสิ้นการประเมิน
ทีน่ า่ สนใจมาก จะเป็นชุดทดสอบที่ Toothfriendly Dental Clinic ใช้ จะเรียกว่า Caries Activity Test (CAT) ซึ่งเป็นชุด ทดสอบของมหาวิทยาลัยอิสตัลบูลจัดทำ�ขึ้น เมื่อทำ�การเก็บ นํ้ า ลายแล้ ว ก็ จ ะส่ ง ตั ว อย่ า งไปตรวจยั ง ห้ อ งปฎิ บั ติ ก ารของ มหาวิทยาลัย โดยมีค่าใช้จ่ายที่ 15 ดอลลาร์ ใช้ระยะเวลา ประมาณ 1 สัปดาห์ก็จะทราบผลการทดสอบ
วารสารทันตภูธร 30 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
เมื่อได้ตั้งข้อสังเกตุและคำ�ถามกับ Dr. Oktay ว่าผู้ป่วยที่ มีเศรษฐานะดีย่อมต้องสนใจงานทันตกรรมป้องกันแบบนี้ ใน ผู้ป่วยทั่วๆไปไม่น่าจะสนใจได้ แต่ได้คำ�ตอบกลับมาว่า ใน Toothfriendly Dental Clinic ทีต่ ง้ั อยูใ่ นย่านทีผ่ ปู้ ว่ ยทีม่ เี ศรษฐานะ ปานกลางถึงไม่ค่อยดีนัก ก็พบว่า ประสบความสำ�เร็จ ผู้ป่วย สนใจและยินดีร่วมโปรแกรมทันตกรรมป้องกัน ทั้งนี้เหตุผลที่ รองรับต่างกัน โดยผู้ป่วยที่เศรษฐานะปานกลาง จะเข้าร่วม เพราะต้องการจะประหยัดค่ารักษาทางทันตกรรมในอนาคต ส่วนคำ�ถามที่ว่า การพูดคุยและประเมินความเสี่ยงนั้น ทันตแพทย์จะต้องเสียเวลามาก ได้คา่ ตอบแทนน้อยกว่าทำ�งาน บริการรักษาทางทันตกรรมอื่นๆนั้น Dr.Oktay ตอบว่า เป็นจริง แต่เขาคิดว่ายังไงก็ตาม การทำ�ให้ผปู้ ว่ ยป้องกันและดูแลตนเอง ไม่ให้มีฟันผุเกิดขึ้นใหม่นั้นเป็นหน้าที่ที่ทันตแพทย์จะต้องทำ� อย่างไรก็ดีขั้นตอนในการเก็บนํ้าลายและใช้ชุดทดสอบนั้น จะ ให้ทันตานามัยเป็นผู้ดำ�เนินการแทน เพื่อลดการเสียเวลาของ ทันตแพทย์ นอกจากนีย้ งั มีระบบการติดตามผูป้ ว่ ยเข้ามาประเมินความเสีย่ ง โดยผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามเสีย่ งต่อการเกิดฟันผ้สุ งู จะมีการนัดหมายมา พบทันตแพทย์ทุก 3 เดือน ซึ่งจะบ่อยกว่าผู้ป่วยทั่วๆ ไปที่มาพบ ทันตแพทย์ทุก 6 เดือน คลินิกของ Dr. Oktay Dulger ตั้งอยู่ที่ Zeytinoglu Cad. Selçuklar Sok. Eti Ap. 14/A1 34335 Etiler อยู่ชั้นล่างของ อาคารที่มีลักษณะคล้ายอาคารสำ�นักงาน มีร้านสะดวกซื้ออยู่ ตรงข้ามอาคารสำ�นักงาน และมีร้านอาหารอยู่ใกล้เคียง
พื้ น ฐานของ Dr. Oktay Dulger จบทั น ตแพทย์ จ าก มหาวิทยาลัยอิสตันบูล ในปี 1987 และจบเฉพาะด้านรักษา รากฟัน ในปี 1998 จากนั้นได้ทำ�งานเป็นนักวิจัยในภาควิชา รักษารากฟัน (Endodontic science department) จนถึงปี 2003 จึงได้มาเปิดคลินิกดังกล่าว ใครเป็นผู้รับรอง Toothfriendly Dental Clinic การรับรองคุณภาพของคลินิกสองด้าน (ด้านการฆ่าเชื้อ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ และด้านการให้บริการทันตกรรมป้องกัน) จะ ใช้องค์กรภายนอกมารับรองระบบคุณภาพ โดยเป็นบริษัทของ ตุรกีที่ชื่อว่า UDEM Belgelendirme Ltd. Sti. ทั้งนี้บริษัทนี้จะ รับรองทัง Product Certification, CE Marking, Inspection, และ System Certification เช่น การรับรอง ISO, HACCP, GMP โดยสำ�นักงานใหญ่ตงั้ อยูท่ เี่ มือง Ankara และมีสาขาที่ Istanbul องค์กรที่ร่วมรับรองคุณภาพกับ Toothfriendly Turkey และร่วมกำ�หนดแกณฑ์คณ ุ ภาพ ได้รบั ความร่วมมือกับ Türkiye Kalite Dernegi (Kalder) หรือ Turkey Quality Association ซึง่ เป็นสมาคมรับรองคุณภาพของประเทศตุรกี
ส ิทธิพิเศษของ Toothfriendly Dental Clinic คลินิกที่เข้าร่วมเป็น Toothfriendly Dental Clinic จะได้ รับ 1) เอกสารนโยบายด้านคุณภาพ 2)คู่มือคุณภาพในการ ดำ�เนินการฆ่าเชื้อเครื่องมือในคลินิกและการให้บริการทันต กรรมป้องกัน ซึง่ จะประกอบด้วย แบบฟอร์มการควบคุมคุณภาพ การฆ่าเชื่อเครื่องมือ คำ�แนะนำ�ในการทำ�ความสะอาดมือ คู่มือ การฆ่าเชื่อเครื่องมือ และคู่มือการให้บริการทันตกรรมป้องกัน รวมทั้งแบบประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ 3) อบรม การดำ�เนินการให้ปีละ 1 ครั้ง 4)เผยแพร่ขาวสารเรื่องการฆ่า เชื้อเครื่องมือและทันตกรรมป้องกันของคลินิกสมาชิกให้แก่ สาธารณะ 5) ทำ� link ของคลินิกสมาชิกเชื่อมกับเวบไซด์ของ Toothfriendly Turkey 6)รับรองคุณภาพอย่างน้อยปีละครั้ง โดยการตรวจสอบคุณภาพจะทำ�ในลักษณะกัลยาณมิตรในการ ให้คำ�แนะนำ�เพื่อปรับปรุงให้ได้มาตราฐานที่กำ�หนดไว้ และ 7) เผยแพร่ความรูต้ า่ งๆแก่คลินกิ ทีเ่ ป็นสมาชิก มีการทำ�แผ่นพับให้ ความรู้และ การออกวารสาร Dis Dostu ราย 3 เดือน
Dis Dostu
ใบรับรองว่าเป็น Toothfriendly Clinic ที่ติดอยู่ที่ห้องรับแขกของคลินิก
วารสารทันตภูธร 31 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
การสมัครเข้าเป็นสมาชิกนอกจากจะต้องผ่านเกณฑ์การประเมินเพื่อรับรองคุณภาพแล้ว ทางคลินกิ ยังต้อง เสียค่าสมาชิก Toothfriendly Dental Clinic ในปีแรกเป็นราคา หลายร้อยยูโร และปีถดั ไปจะลดค่าสมาชิกจะลดลง รายรับทัง้ หมดนัน้ ทาง Toothfrinedly Turkey Association จะบริหารงานเพือ่ ส่งเสริมงานทันตกรรมป้องกันและใช้ประชาสัมพันธ์และส่งเสริม หมากฝรัง่ Toothfriendly ทีไ่ ม่ท�ำ อันตรายต่อฟัน ให้ประชาชนต่อไป
หมากฝรั่ง Toothfriendly ในตุรกี แม้ว่าเราจะคุ้นชินกับขนม Turkish delight ที่แสนจะหวาน แต่ในประเทศตุรกี คนนิยมเคี้ยวหมาก ฝรั่งที่ไม่มีนํ้าตาล ไม่มีความหวานแม้แต่น้อย (คล้ายกับการเคี้ยวยาง gum เปล่าๆ) หมากฝรั่งชนิดนี้อาจ เรียกได้ว่า เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตุรกี มีลักษณะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมบางๆ ประกอบด้วย gum base และ paraffin wax เป็นหลัก และเพิ่มรสเปปเปอร์มินท์ และใส่สี (Titanium dioxide) เข้าไป ดังนั้น หมาก ฝรัง่ ในความหมายและความเข้าใจของคนตุรกี คือหมากฝรัง่ ทีไ่ ม่มรี สหวานใดๆ เลย ยีห่ อ้ ทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มและ ดังเดิมคือ FALIM ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาด 75% โดยที่ในอดีตจะผลิตโดยบริษัทท้องถิ่น แต่ต่อมาได้ถูก ซือ้ กิจการโดย บริษทั Cadbury ของอังกฤษ และปัจจุบนั บริษทั Kraft food ได้ซอื้ ต่อกิจการของ Cadbury ไปเมื่อปี 2011
และในปี 2010 หมากฝรั่งแบบตุรกียี่ห้อ No Suga ได้เข้าร่วมติดสัญลักษณ์ Toothfriendly โดยเป็นบริษัทท้องถิ่นที่มีชื่อว่า Kervan Gida Sanayi Ve Ticaret A.S. เป็นผู้ผลิต และยังมีหมากฝรั่งยี่ห้ออื่นๆติดสัญลักษณ์ Toothfriendly อีก ทำ�ให้ตลาด หมากฝรัง่ แบบไม่มรี สหวานร้อยละ 90 ได้ตดิ สัญลักษณ์ของ Toothfriendly เรียบร้อยแล้ว วารสารทันตภูธร 32 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ส่วนแบ่งการตลาดของหมากฝรัง่ ทีม่ รี สหวานนัน้ มีประมาณร้อยละ 25 เท่านัน้ และใน หมากฝรั่งที่มีรสหวานกลุ่มนี้ เป็นหมากฝรั่งที่ใช้นํ้าตาลโพลีออลหรือหมากฝรั่งที่เป็น Sugar free มากถึงร้อยละ 70 โดยหมากฝรัง่ ทีไ่ ม่ท�ำ ให้อนั ตรายต่อฟัน ยีห่ อ้ Oneo ของบริษทั Ulker ผ่านการทดสอบ pH telemetry และได้รับการติดสัญลักษณ์ฟันกางร่ม ในปี 2010
ก่อนจะจากกัน ผมได้คุยกับ Mrs.Selda ว่า อยากจะทำ�คลินิกทันตกรรมป้องกันในประเทศไทยบ้าง Mrs. Selda ให้คำ�แนะนำ�หลายครั้งว่า ถ้าจะเริ่มต้นในประเทศไทยจะต้องมีกลุ่มคนที่เชื่อมั่นเรื่อง Toothfriendly เชื่อ มัน่ ในเรือ่ งทันตกรรมป้องกัน และเชือ่ มัน่ ในการทำ�ให้สงั คมและสุขภาพช่องปากดีขนึ้ ที ่ ซึง่ Toothfriendly Thailand Network เป็นการรวมตัวกันหลวมๆขององค์กรที่เป็นภาคราชการเป็นส่วนใหญ่ ทำ�ให้บริบทมี ความแตกต่างกับทางตุรกีอย่างมาก จะต้องหาวิธกี ารทีจ่ ะได้กลุม่ ทันตแพทย์ (และนอกกลุม่ ทันตแพทย์) ที่มีความสนใจในเรื่องนี้มารวมตัวกันให้เหนียวแน่นมากขึ้น ซึ่งในอนาคตอาจพัฒนาเป็นการจัดตั้งเป็น สมาคมหรือมูลนิธิขึ้นในอนาคต ในประเทศไทย มีผลิตภัณฑ์ลกู อมทีน่ �ำ เข้าทีต่ ดิ เครือ่ งหมาย Toothfriendly เพียง 3 ยีห่ อ้ และมีปริมาณ ส่วนแบ่งการตลาดน้อยมาก การเจรจาให้บริษัทลูกอมและหมากฝรั่งติดเครื่องหมายดังกล่าวทำ�ได้ยาก เพราะมีเรื่องของ ผลประโยชน์ในเชิงธุรกิจอยู่ ดังนั้น จะต้องทำ�ให้เครื่องหมาย Toothfriendly มีคุณค่า เป็นที่ยอมรับในหมู่ประชาชนเสียก่อนจึงจะทำ�เรื่องอื่นๆต่อได้ เมือ่ ประชาชนรูจ้ กั Toothfriendly มากขึน้ แล้ว การเจรจาให้บริษทั ลูกอมและหมากฝรัง่ ติดสัญลักษณ์ Toothfriendly จะเป็นไปได้มากขึ้น และเมื่อมีค่าธรรมเนียมจากบริษัทมาเป็นงบประมาณในการดำ�เนิน การ ก็จะทำ�ให้กิจกรรม Toothfriendly ในประเทศไทยมีความมั่นคงมากขึ้น ประชาชนไทยมีทางเลือกใน การบริโภคลูกอมและหมากฝรั่งที่ไม่เป็นอันตรายต่อฟัน และนำ�ไปสู่การลดลงของโรคฟันผุในคนไทยต่อ ไปในอนาคต
วารสารทันตภูธร 33 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ข่าวจากติวานนท์
โดย หมอแพร รพช.บางใหญ่ สอบถามข่าว update ที่ prae001@gmail.com
อ่านข่าวด่วนที่สุด ที่ Facebook Ruraldent ความก้าวหน้าทันตาภิบาล มหากาพย์เรื่องนี้ก็กำ�ลังถอย หน้าถอยหลังอยู่ เสียศูนย์ไปตลอดครึ่งปีที่ผ่านมา เนื่องจาก มีนโยบายรองปลัดจัดให้เราผลิตทันตา 2 ปี 1500 ตำ�แหน่ง งานนี้คณะกรรมการที่ต้ังหลักจะคิดหากลยุทธ์เพื่อผลักดันให้ ทันตาภิบาลก้าวหน้าเลยกลายเป็นคณะทำ�งานชี้แจงกันเอง เรื่องเทคนิกในการผลิตทันตาสองปีอย่างไรให้มีคุณภาพ (เข้า ประชุมแล้วรู้สึกอย่างนั้นจริงๆ) มองในแง่ดีเพราะทุกคนเป็น ห่วงประชาชน ห่วงน้องๆที่จะจบออกมา แต่อีกแง่หนึ่งก็ทำ�ให้ พี่ๆ ทันตาที่รอกันอยู่เสียโอกาสไปโข พย. 2555 นีเ้ ราก็มาตัง้ หลักกันใหม่ โดยพีก่ อ้ ยมัณทนาแห่ง ราชบุรเี ป็นโต้โผ ชักชวน หมอเป็ดปัตตานี พีช่ ลธิชาสมุทรปราการ พีโ่ องนนทบุรี และพีโ่ ขงเจ้าแม่ทนั ตา มารวบรวมกำ�ลังคิดกันใหม่ ว่า เกิดอะไรขึ้นกับกระบวนทัพที่เราตั้งขึ้น เมื่อได้ทราบข้อสรุป ว่าปลัดใหม่ท่านฟันธงว่าเรื่องทันตา 2 ปี จะขอให้ผลิตรุ่นเดียว และต่อจากนี้ยกเลิกการผลิต 2 ปี หันไปเน้น 4 ปี ประเด็นเรื่อง ความขัดแย้งส่วน 2 ปี ควรไม่ควร ทำ�ยังไง จะหมดกันไปเดินต่อ ได้แล้วซิ เมื่อวิเคราะห์ภาพรวมของวิชาชีพทันตฯเราแล้ว ทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องล้วนอยากให้ทันตาก้าวหน้าทั้งสิ้น โดยความ ก้าวหน้านั้นเห็นพ้องต้องกันว่า จะต้องเป็นไปเพื่อการสร้าง เสริมสุขภาพ ช่วยทำ�งานในกองทุนทันตกรรมส่วนส่งเสริมสุข ภาพคนไข้กลุ่มเด็กนักเรียน ไม่เน้นทำ�งานเเทนทันตแพทย์แล้ว เมื่อมองเส้นทางความก้าวหน้าของทันตาฯ มีทางไปได้ 2 ทาง ได้แก่ 1) ปรับเป็นทันตาอาวุโส ซึ่งเรื่องนี้กองการเจ้าหน้าที่ กระทรวงฯ พยายามผลักดันอยูโ่ ดยทำ�จดหมายเข้าไปทีก่ พ.แล้ว กพ.ตอบกลับมาใจความว่า คุณสมบัตเิ จ้าพนักงานอาวุโสนัน้ ให้ ต่อเมือ่ ต้องมีคนในความปกครองไม่นอ้ ยกว่า 4 คน หรือมีทกั ษะ วารสารทันตภูธร 34 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
พิเศษ เช่น เป็นศิลปิน นักดนตรี ทักษะที่หายากนี้ทำ�ให้เป็นข้อ ยกเว้น ส่วนตำ�แหน่งอาวุโสนี้ เมือ่ กองการเจ้าหน้าทีช่ ว่ ยผลักดัน ร่วมกับสมาคมทันตาภิบาลแล้ว ก็ต้องทำ�จดหมายตอบกลับไป ถึงความจำ�เป็นที่จะต้องมีทันตาอาวุโสต่อไป 2) ปรับเป็นนักวิชาการ ซึง่ ปัจจุบนั สามารถปรับได้อยูต่ าม ธรรมชาติ แต่ตอ้ งไปสอบแข่งกับเจ้าพนักงาน และเมือ่ สอบแล้ว การประเมินนักวิชาการก็ประเมินจากการทำ�งานในภาพรวม ไม่ เฉพาะทันตฯ ทำ�ให้เมื่อทันตาฯ ของเราเปลี่ยนสายงานนี้แล้ว ก็เสียบุคคลากรที่จะทำ�งานเชิงรุกด้านสุขภาพช่องปาก (เป็น ที่น่าเสียดายมาก เนื่องจากทันตากลุ่มนี้มักมีประสบการณ์ มี ความสามารถสูงจึงสอบได้) ดังนั้นในภาคอิสานมีการทำ�ข้อ ตกลงกับท่านผู้ตรวจ ท่านสสจ.ที่จะทำ�ให้ทันตาที่ขึ้นตำ�เเหน่ง นักวิชาการ ยังสามารถทำ�งานทันตฯอยู่ได้ และประเมินนวก.นี้ ด้วยงานทันตฯได้ ส่วนนีก้ ต็ อ้ งพยายามต่อรองว่าในภาพรวมเป็น ไปได้ทั่วประเทศไหม และจริงไหมที่ตอนนี้ตำ�แหน่งนักวิชาการ เจ้าพนักงานเขาก็โตไม่ทัน ทันตาเราวุฒิถึง อาวุโสถึง น่าจะ สามารถปรับเข้าสู่ตำ�แหน่งนี้ได้ นอกจากนักวิชาการสาธารณสุขแล้ว มีข้อเสนอให้เปิด ตำ�แหน่งนักวิชาการทันตสาธารณสุขซึ่งจำ�เป็นต่อการยอดของ ทันตาที่ทำ�งานและได้ C 6 ที่มีมากมายในปัจจุบัน ส่วนนี้เรามี พี่ทันตาที่เรียนต่อ 2 ปี และจบมารุ่นแรก 52 คน ข่าวว่ามีการ ประชุมทีก่ พ.และมีการผลักดันในรุน่ แรกได้ต�ำ แหน่งนักวิชาการ โดยไม่ตอ้ งสอบ (แต่ยงั เป็นนักวิชาการสาธารณสุข(ทันตฯ) ไม่ได้ เปิดตำ�แหน่งใหม่เป็นนักวิชาการทันตสาธารณสุขด้วยปัจจุบัน ตำ�แหน่งข้าราชการนั้นจะเปิดให้พยาบาลยังไม่ได้ ที่เราเห็นมี การประท้วงกันทัว่ ไป เรือ่ งนีก้ ไ็ ด้นดั แนะวางคนเพือ่ ติดตามทัง้ วาระ ประชุมและจดหมายแจ้งจากกพ.ว่าแจ้งดังทีเ่ ราเข้าใจกันไหม ส่วนน้องๆ ทันตาฯ 4 ปีที่เรียนอยู่และทันตารุ่น 1,500
คนที่ยังไม่จบนั้น เราก็ต้องช่วยกันหาหนทางให้ได้ตำ� แหน่ง พนักงานกระทรวงสาธารณสุขซึง่ เป็นก้าวถอยของกระทรวงเมือ่ ไม่ได้ตำ�แหน่งข้าราชการ (ปี 2555 ตั้งไว้ 5,000 ตำ�แหน่งรองรับ พยาบาล) โดยพนักงานกระทรวงสาธารณสุขนี้มีสิทธิประโยชน์ เช่ น เดี ย วกั บ พนั ก งานราชการและสามารถย้ า ยที่ ทำ � งานใน กระทรวงสาธารณสุข นับว่ามั่นคงกว่าการเป็นลูกจ้างชั่วคราว หากไม่มกี ารเตรียมการรองรับไว้นกั ประเด็นนีน้ า่ จะเป็นประเด็น ที่ต้องช่วยกันผลักดัน ไม่ให้น้องๆ ต้องเคว้งคว้างกันต่อไป Service plan นับเป็นสิ่งดีที่เราเป็น 1 ใน 9 ประเด็นหลักที่ ท่านปลัดให้ความสำ�คัญ ค่าทีเ่ รามีความพร้อมด้านข้อมูล มีการ เตีรยมนำ�เสนออย่างเป็นระบบ วันที่ 26-27 พย.ทีผ่ า่ นมานีม้ กี าร ประชุมเพื่อขมวด service plan ทันตฯกัน ซึ่งจะช่วยเรื่องการ จัดสรรครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ใมห้เราทำ�งานสะดวกขึ้นนะคะ (เงินงบประมาณในการดำ�เนินการ ไม่นา่ ห่วงเพราะกองทุนทันต กรรมมาทำ�ให้เราทำ�งานสะดวกโยธินขึน้ มา และเป็นทีแ่ น่นอนว่า กองทุนทันตกรรมคงมีการดำ�เนินการต่อไปอีกอย่างน้อย 3 ปี) เรื่องการพัฒนาระบบข้อมูล ICD10TM ด้วยธรรมชาติ ของทันตบุคคลากรของเรา ทำ�งานเป็นอิสระ เราอิสระจากหน่วย งานที่เราทำ�ชนิดหลายที่นั้นหากตั้งมิเตอร์นํ้าไฟก็เดินกิจการ เองได้ ส่วนการข้อมูลก็เช่นเดียวกัน หลายพื้นที่ทำ�ข้อมูลแยก โดยกรอกใน Dent 2009 ไม่มีการกรอกข้อมูลใน 18 แฟ้ม 21 แฟ้มซึ่งเป็นแฟ้มผลงานหลักของกระทรวงสาธารณสุขที่ส่งไป ที่สปสช. ในขณะที่แนวโน้มของการใช้ข้อมูลจะเป็นไปในทาง ที่กระทรวงจะลดการขอข้อมูล secondary data (ข้อมูลที่แจ้ง นับแล้ว) จะเน้นการนำ� primary data ข้อมูลคนไข้รายบุคคล เอามาวิเคราะห์เอง ดังนั้นอนาคตการส่งข้อมูลว่ารพ.ก.ไก่อุด ฟันเดือนละ 250 ราย จะไม่เป็นที่ใช่งาน กระทรวงจะนำ� ข้อมูล ผูป้ ว่ ยนอกรายบุคคลของโรงพยาบาลไปกรองดูจริงๆ ว่าท่านให้ บริการที่หัตถการอุดฟันตามรหัส 10Tm กี่ราย งานนีก้ ล็ �ำ บากละครับ หากเราไม่ได้ปรับตัว ปรับระบบการ ลงข้อมูลกันไว้ ทัง้ ข้อมูลบริการ ข้อมูลกิจกรรมทีไ่ ม่ใช่บริการเช่น การตรวจฟันและตรวจสุขภาพช่องปากกลุม่ วัยต่างๆ ในปัจจุบนั แต่ละที่ใช้โปรแกรมแตกต่างกันไปแต่หากเข้าใจเป้าหมายและ เริ่มปรับตัวกันได้ก็คงทันการใช้งานอยู่ วันที่ ๑ พย ๒๕๕๕ ที่ ผ่านมา ทพ.จารุวัฒน์ จัด teleconference โดยมีตัวแทน รพช. ที่ปรับการบันทึกข้อมูลบริการผู้ป่วยในโปรแกรมของ รพ. (HIS) คือ ทพญ.วารี และคุณวิเวก จาก รพ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ ชี้แจง
เรือ่ งนีเ้ ป็นทีส่ นใจกันทัว่ ประเทศ เข้ามาร่วม teleconference 70 กว่าจังหวัด ทัง้ ทันตบุคลากรและเจ้าหน้าที่ IT ทำ�ให้มคี วามชัดเจน ทีแ่ ต่ละแห่งจะนำ�ไปปรับระบบการบันทึกข้อมูลผูป้ ว่ ยใน HIS เป็นที่น่ายินดีว่าข้อมูลส่วนบริหารทั้งบริหารทรัพยากร บริหารกองทุนทันตกรรม ข้อมูลส่งเสริมสุขภาพนัน้ มีเวบ DENTMIS (http://www.dentalmis.com) พัฒนาโดย ทพ.นิตโิ ชติ สสจ. ชัยภูมิ ทีเ่ ข้าใจง่ายแขวนไว้ให้ทา่ นๆ ใช้ได้ในเวบ มีจงั หวัดนำ�ร่อง ใช้กันไป 23 จังหวัด แต่หากที่ไหน อยากทันสมัยอยากลดภาระ การเก็บข้อมูลทีซ่ าํ้ ซ้อนไปมาสามารถเข้าไปเรียนรูแ้ ละใช้งานได้ งานนีค้ นใช้การแล้วชอบใจจริงๆ ค่ะ ขอชักชวนให้ทา่ นๆ ลองไป เปิดกันดูนะคะ ส่วน JHCIS ก็มีความพยายามพัฒนาโปรแกรมเพื่อให้ ออกรายงานทันตฯ ได้ โดยท่าจต้องการรายงานที่ตรง ท่านก็ ต้องเข้าใจวิธีการลงข้อมูล JHCIS Beta version จะสามารถ ใช้งานส่วนบริการทันตฯในสถานีอนามัยที่ทันตาภิบาลให้การ บริการอุด ขูด ถอนได้แล้วนะคะ ท่านที่อยู่รพสต.โปรดลองเข้า ไปที่เวบ JHCIS และ download วิธีการลงข้อมูลทันตฯที่จะ เอือ้ ให้ทา่ นได้ขอ้ มูลทีเ่ ทีย่ งตรงออกมาดูและปฏิบตั นิ ะคะ เขาว่า ข้อมูลก้เหมือน ATM หากท่านไม่มกี ารฝากหรือกรอกเข้าไปท่าน กดเลือกรายงานยังไง มันก็ไม่มีออกมาให้ท่านค่ะ ข่าวด่วน ทันตแพทย์ใจบุญ ใส่ฟันไม่คิดตังค์สักบาท รู้หรือไม่ว่า การให้บริการใส่ฟันเทียมให้กับผู้ป่วยสิทธิ 30 บาทรักษาทุกโรค สามารถเรียกเก็บค่าใช้จา่ ยโดยตรงกับ สปสช. ได้ ผ่านการบันทึกข้อมูลในโปรแกรม e-Claim จากข้อมูลการขอ เบิกค่าใช้จา่ ยพบว่า โรงพยาบาลจำ�นวนมากบันทึกข้อมูลการให้ บริการไม่ครบถ้วน เช่นรหัสวินิจฉัยไม่ถูกต้อง รหัสหัตถการไม่ ครบถ้วน/ไม่ถูกต้อง หรือไม่ใส่รหัสอุปกรณ์/อวัยวะเทียม ทำ�ให้ สปสช. ปฎิเสธการจ่ายเงินชดเชยมากถึงเกือบ 10,000 ราย ทีส่ �ำ คัญคือ ห้องฟันไม่ได้เป็นผูบ้ นั ทึกข้อมูลเอง แทบทัง้ หมด จะส่งไปให้งานประกันเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อมีการปฎิเสธการ จ่าย ห้องฟันก็ไม่รเู้ รือ่ งด้วย ทัง้ ทีโ่ รงพยาบาลสามารถจะทำ�เรือ่ ง ขออุทธรณ์ได้ วิธกี ารอุทธรณ์กแ็ สนง่าย สามารถทำ�ได้ผา่ น Web Site เรือ่ งนีง้ านประกันรูด้ ี เรือ่ งนีไ้ ม่ใช่เรือ่ งเล็กนะจ๊ะ โรงพยาบาล บางใหญ่ทเ่ี ดียวมียอดปฏิเสธการจ่ายหลักแสนเชียวนะ
วารสารทันตภูธร 35 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
Lost in Tokyo…....the story by iherebic ติ๊ด!!! เสียงเตือนให้เข็มขัดนิรภัยดังขึ้น ทำ�ให้ผมตื่นจาก การหลับไหล การเดินทางที่เหมือนจะนานแต่ไม่นานจากสนามบิน สุวรรณภูม ิ เสียงประกาศกำ�ลังจะ landing ลงสนามบินนาริตะของ เพอร์เซอร์สาวสวยมีอายุพอสมควร บนเครื่องบิน Boeing 747-400 ของการบินไทย ที่บอกกล่าวกับคนทั้งโลกว่า รักคุณเท่าฟ้า แต่ถ้ารัก กันจริงก็ควรจะลดราคาลงมามากกว่านี้ .....ผมเคยมาญี่ปุ่นเมื่อ สามปีก่อน ความทรงจำ�ดีๆ ยังคงอยู่ ผมยังเก็บมันไว้ให้ลึกสุดใจ ตราบใดที่ผมยังมีลมหายใจ ถึงแม้ว่าไม่มีวันที่จะมีเหมือนเดิมอีก แล้วก็ตาม ..... คาํ่ คืนฝนพรำ� เสียงฟ้าร้องฟ้าผ่า ดังก้องไปทัว่ ในห้องพักเล็กๆ ห้องหนึ่งในแฟลตพยาบาลที่ล้อมรอบไปด้วยต้นไม้บนเชิงเขาของ โรงพยาบาล โน๊ตบุ๊คที่เปิดกำ�ลังทำ�งานอยู่ มีเสียงเตือนว่ามีอีเมล์ เข้ามา เมลจาก พี่จิ๋ม ทพญ.สุขจิตตรา วรรณาพิทักษ์ สำ�นักงาน สาธารณสุขจังหวัดแพร่ เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน “ใครสนใจ ไปดูงานเรื่องขนมที่ญี่ปุ่นมั่ง” ความคิดแว๊ปแรกที่เข้ามาในหัว “น่า สนใจดีนะ” ประเทศญี่ปุ่นนี้มีขนมเยอะมากถึงมากที่สุด สมาชิก ที่เดินทางมี 10 กว่าชีวิต นำ�ทีมด้วย อ.ทพ.ดร ธงชัย วชิรโรจน์ ไพศาล คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ พี่ๆ ทันตแพทย์อาวุโส หลายๆ ท่าน นำ�ทีมโดย ทพญ.มาลี วันธนา ศิริ จาก รพ.ลำ�ลูกกา จ.ปทุมธานี, ทพญ.สุขจิตตรา วรรณาพิทกั ษ์ และ ทพญ. ขวัญหทัย อินทรรุจิกุล สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่, ทพญ.อุไรวรรณ อมรชัย รพร.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี ,ทพญ. จินดา พรหมทา รพ.จอมพระ จ.สุรนิ ทร์, ทพญ.จิราพร ขีดดี สำ�นักงานพัฒนา นโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP), ทพญ. หฤทัย สุขเจริญ โกศล รพ.แก่งคอย จ. สระบุรี ,ทพ.วัฒนา ทองปัสโนว์ รพ.ด่านซ้าย จ.เลย และน้องๆ สามสาว มิ้น เบน นุ้ย เจ้าหน้าที่จากเครือข่าย ร่วมพัฒนาศักยภาพผูน้ �ำ การสร้างสุขภาวะแนวใหม่ เป็นหน่วยงานที่ ถือว่าใหม่ของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งคนอยู่กระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 99.99 ไม่น่าจะรู้จัก ผมก็เพิง่ รูจ้ กั เหมือนกันนีแ่ หละ และทาง ญีป่ นุ่ ยังมี อ.ทพญ.ดร. ยุพนิ ส่งไพศาล ปัจจุบัน เป็นอาจารย์พิเศษ ที่ มหาวิทยาลัยนิกิตะ ที่อุตส่าห์นั่งรถไฟมาไกลเพื่อมาสมทบร่วม เดินทางไปกับเราด้วย รวมถึงผู้ที่ประสานงาน ที่สุดยอดมากอย่าง Dr. Santoshi Abe จาก Teikyo University วารสารทันตภูธร 36 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ทีมเราผ่านตม.ของญี่ปุ่นออกมาแล้ว ก็จะเดินทางเข้าไปยัง โตเกียวโดยรถไฟ ซึง่ แต่ละคนลากกระเป๋าใบใหญ่ ๆ เดินขึน้ ลงรถไฟ ใต้ดนิ แบกกระเป๋ากันอีรงุ ตุงนังไปหมดเดินๆ ตามกันไป จนถึงทีพ่ กั เป็นเรียวกังเล็กๆ อยู่แถวๆ หน้ามหาวิทยาลัยโตเกียว จากนั้นเรา ก็เดินทางไปยัง Ochanomizu University Elementary School เพื่อไปเยี่ยมชมการดำ�เนินงานเรื่อง food education เราได้เจอ Dr. Santoshi Abe ผูป้ ระสานงานของพวกเราในการเดินทางครัง้ นี ้ และ Dr.Shigeru Yamamoto โปรเฟสเซอร์จาก Jumonji University รอต้อนรับเราที่นี่ เป็นเวลาอาหารกลางวันพอดี เราได้รับประทาน อาหารแบบเดียวกับเด็กในโรงเรียน โรงเรียนนีม้ เี ด็กประถมประมาณ 700 คน ทนี่ จี่ ะเน้นเรือ่ งโภชนาการมากทีเดียว อาหารจะต้องได้ครบ 5 หมู่ แต่ที่สังเกตได้คือ มีนมจืดมาในชุดอาหาร ปริมาณอาหารดู เหมือนไม่เยอะ แต่กินแล้วอิ่มทีเดียว
พ่อครัวแม่ครัว จนถึงนักเรียนแต่งตัวสะอาด มีเสื้อคลุม หมวก ผ้าปิดปากครบ ถึงขนาดว่า รถเข็นอาหารมีผ้าคลุมปิดชิด หลังจาก หม้ออาหารก็ปดิ ฝามิดชิดแล้ว ก่อนเข็นไปต้องถูพนื้ ก่อน ...อะไรมัน จะสะอาดขนาดนั้น ยังไม่พอมีการชั่งปริมาณอาหารก่อนและหลัง บันทึกเก็บข้อมูลไว้ดว้ ย ในการทำ�อาหารเน้นเรือ่ งความสะอาด มีการ ควบคุมความร้อนในการทำ�อาหารด้วยการวัดอุณหภูมิตลอดเวลา
ในโรงเรียนนี้ทั้งคุณครูและนักเรียนจะทานอาหารในห้องเรียน ด้วยกัน อาหารก็เหมือนกัน หลังจากทานอาหารเสร็จก็จะมีเด็กๆ มา พูดถึงอาหาร และ โภชนาการ จะมีการเรียนการสอนให้เด็กได้ไป ปลูกผัก ทำ�อาหารเอง มีการสอนเรื่องโภชนาการควบคู่กันไป แล้ว ก็เอาอาหารกลางวันที่ได้ทำ�มามากินด้วยกัน เป็น special lunch หลังจากทานอาหารเสร็จก็จะแปรงฟันในห้องเรียนเลย ผมได้ถามเค้า ว่า ลักษณะแบบนี้เป็นเฉพาะโรงเรียนนี้ที่เดียวหรือ ทางอาจารย์เค้า ตอบว่า มันเป็นแบบนีท้ งั้ ประเทศแหละ เพราะ ถูกกำ�หนดมาจากภาค รัฐ โดยกระทรวงศึกษาธิการของญี่ปุ่น ผมได้เดินดูภายในโรงเรียน ประทับใจความสะอาด (มาก) และ เป็นระเบียบเรียบร้อย ซึง่ ไม่คอ่ ย ได้เห็นในโรงเรียนในเมืองไทย หลังจากนั้นบ่ายคล้อย อากาศกำ�ลังเย็นสบายๆ สิบกว่าองศา เราได้ไปที่ Teikyo University เพื่อไปฟังการบรรยายเรื่อง Child Nutrition in Japan โดยโปรเฟสเซอร์ Yamamoto ที่มาบรรยายให้ เราฟังเกี่ยวกับ โปรแกรมอาหารภายในโรงเรียน การบริโภคอาหารเกี่ยวกับพลังงานและสารอาหารของเด็ก, นโยบายเรือ่ งอาหารของภาครัฐ ทีม่ ภี าคเอกชนเข้ามามีสว่ นร่วม, กา รบริโภคนํ้าตาล, นม และ ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง ที่เป็นแหล่งของ โปรตีนและแคลเซียม กว่าจะเลิกก็ปาเข้าไปห้าโมงเย็น มาถึงวัน แรกก็จัดหนักกันเลยทีเดียว !!!!
วันที่สองเรากลับมาที่ Teikyo University อีกครั้งเพื่อมาฟัง บรรยายเรื่อง Silver Diamine Fluoride โดย โปรเฟสเซอร์ Mizuho Nishinoz ผู้ที่คิดค้นเข้า Silver Diamine Fluoride นี่แหละ ฟัง เลคเชอร์ไปแบบชิลๆ หลักการคือ silver มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ Fluoride ทำ�ให้เกิด Fluoroapatite ทำ�ให้ dentinal tubules ตีบลงและเนือ้ ฟันที่เป็น soft caries ก็แข็งตัวไปแค่นั้น ไม่ให้มีการผุลุกลามต่อไป
ถ้าอยากจะอุดสวยงามก็อุดต่อได้ ปิด opaque ดีๆ ละกัน ไม่งั้นมันจะโชว์ดำ�ออกมา ทำ�ให้คิดว่าเป็น recurrent caries โดย ส่วนตัวก็สนใจผลิตภัณฑ์นี้อยู่ แต่ รับไม่ค่อยได้กับความดำ�ของมัน เนื่องจากผมเป็นหมอแนว esthetics … ฮา แต่ถ้าต้องใช้ คนไข้ ยอมรับได้ก็โอเคนะ ผมว่ามันง่ายดี โดยเฉพาะเด็กๆ ที่ไม่ยอมให้ ความร่วมมือในการรักษา จุ่มๆ ป้ายๆ แล้วก็ทิ้งไว้รอมันออกฤทธิ์ หรือ เอาไปออกหน่วยสำ�หรับป่าเขาลำ�เนาไพร หรือ ติดไปเยีย่ มบ้าน ผู้พิการก็น่าจะโอเคนะ ก็มีหลายที่ที่ใช้กันอยู่นะครับ ใครสนใจลอง สอบถามได้ที่ คุณหมอมาลี รพ.ลำ�ลูกกา เห็นว่าที่นี่ใช้เยอะ แต่ก็ แปลกมีคนคิดจะเอาไปทำ�งานทันตกรรมป้องกันด้วย ไม่ใกล้ไม่ไกล ตัวเลย.....Thailand only !!!! ฟังเลคเชอร์เสร็จ อีกวันคุณ Hideaki Nishimura ซึ่งเป็น manager directing ของบริษัท Bee Brand Medico Dental ก็ส่ง Silver Diamine Fluoride มาให้เรา 30 ขวด ส่งตรงจากโรงงานที่ โอซาก้า ก็แบ่งๆ กันไปใช้ ของฟรีแบบนี้ใครๆ ก็ชอบ ก็ต้องขอบคุณมาก ณ ที่นี้ด้วย ตอนบ่ายเราก็เดินทางไปยังบริษัทคอมพิวเตอร์ยักษ์ใหญ่ของ โลกบริษัทหนึ่ง คือ IBM เรามากันทำ�ไมที่นี่หรือ สงสัยกันไหมครับ ผมไม่ได้มาซื้อคอมพิวเตอร์นะครับ เพราะ ไอ้เจ้า Dell คู่ชีวิตนี่ใช้ มา 5 ปีกว่าแล้วยังไม่มีวี่แววว่าจะเจ๊งซักที มันจะทนอะไรขนาดนั้น Dr. Kato Gen ทันตแพทย์ประจำ� Japan IBM Health Insurance Association ของบริษัท IBM ลงมา
ต้อนรับ และ พาพวกเราทัง้ หมดขึน้ ไปยังสำ�นักงานของ IBM ที่ นีง่ านเด่นของเค้าคือ Preventive program (P dental -21) สำ�หรับ พนักงานในเครือของบริษัท IBM ทั้งหมดในประเทศญีปุ่น ตั้งแต่ ฮอกไกโด จนถึงฟูกโู อกะ 21 สาขาทีม่ จี �ำ นวนประมาณสามหมืน่ คน เป้าหมายหลักในการทำ�งานคือเพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านทันตกรรมของ พนักงานซึง่ ตามกฏหมายของประเทศญีป่ นุ่ แล้วบริษทั ต้องรับผิดชอบ ดูแลตามกฏหมายประกันสุขภาพ Dr.Kato เคยทำ�งานในสำ�นักงาน สาขาเล็กทีโ่ รงงานฟูจซิ าว่าแล้วทำ�โครงการนีข้ น้ึ พฤติกรรมการดูแล สุขภาพช่องปากของพนักงานดีขน้ึ มาก ดัชนี CPI code 0 เพิม่ จาก 10.9 เป็น 58.1 ภายใน 3 ปี ทำ�ให้คา่ ใช้จา่ ยด้านทันตกรรมของสาขา นัน้ ลดลงมาก ผลงานเข้าตาสำ�นักงานใหญ่เข้า ทางสำ�นักงานใหญ่เลย ดึงเข้ามาทำ�งานให้พนักงานทัง้ ประเทศตัง้ แต่ปี 2004 วิธกี ารทำ�งาน วารสารทันตภูธร 37 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ของเค้าคือ ขับเครือ่ งบินไปเอง .....ฮา สุดท้ายก็ท�ำ งานจนเห็นผลว่า ค่าใช้จ่ายด้านทันตกรรมของทั้งบริษัทลดลงจริงๆ ต้องบอกก่อนว่า Dr.Kato นน้ั เป็นหมอ Prosthetic นะครับ ระบบทันตกรรมป้องกันนีจ่ ดั เต็มกันเลยทีเดียว อุปกรณ์ accessory ต่างๆ ทีใ่ ช้ OHI มีให้เลือกสรร มากมาย หลังจากนัน้ ก็พาเราเข้าไปในคลีนคิ ซึง่ เหมือนกับโรงพยาบาล เล็กๆ ข้างในสำ�นักงาน ภายในจัดเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดมากๆ เจ้าหน้าทีก่ ไ็ ม่ได้มมี าก ภายในเนือ้ ทีไ่ ม่ได้กว้างขวางแต่จดั สัดส่วนได้ดี เหลือเชือ่ ในทุกตารางนิว้ มีสว่ นคัดกรองผูป้ ว่ ย ห้องตรวจแพทย์ ห้อง ตรวจ investigate Lab, ultrasound ,x-ray digital, ห้องทันตกรรม, ห้องจ่ายยา, ห้องฉุกเฉิน ฯลฯ อุปกรณ์การแพทย์และทันตกรรม ทุกอย่างไฮเทคมาก เป็นทีต่ น่ื ตาตืน่ ใจของทีมพวกเราอย่างมาก
ซึง่ ชาตินโี้ รงพยาบาลทีผ่ มทำ�งานอยูย่ งั ไม่รจู้ ะมียงั งีไ้ ด้หรือเปล่า เค้ามี dental hygienist ด้วยนะครับ สิ่งที่สังเกตได้อีกอย่างคือ การ บันทึกข้อมูลการตรวจ การรักษาที่ละเอียดมาก ตามเจแปนสไตล์ จริงๆ ได้เวลายํ้าคํ่าอีกแล้ว ความมืดมาเยือน เราได้รํ่าลา Dr. Kato และบริษัท IBM แล้วก็ถึงเวลาท่องเที่ยวราตรีในโตเกียว หาของกิน ชมเมือง ท่ามกลางอากาศที่หนาวเย็นประมาณ 11 องศา จนหมอ จินดาเดี้ยงไปเลยทีเดียว วันต่อมาเรามีโปรแกรมไปดูงานยังบริษทั อิออน (AEON) อย่า เข้าใจผิดนะครับ ว่าเราจะไปดูงานเรื่องการเปิดสินเชื่อเงินกู้ ต้อง ท้าวความก่อนว่า บริษัทอิออนนี้เป็นบริษัทที่ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง ของญี่ปุ่น เป็น holding company มีหลายหลายธุรกิจมากมาย ตั้งแต่ การเกษตร ห้างสรรพสินค้า การเงิน ร้านขายของชื่อ Max value คล้าย 7-11 ในบ้านเรา และ อื่นๆ คืนก่อนนั้น อ.ธงชัย บอก ผมว่าต้องแยกไปหาคณบดีที่ Teikyo University ให้ผมนำ�ทีมไปที่ บริษัทอิออนที่เมืองชิบะ แล้ว อ.ธงชัย กับ Dr.Abe จะตามไปทีหลัง ... งานนี้พระเจ้าก็ช่วยไม่ได้ แค่โตเกียวตูยังหลงเลย นี่ต้องไปชิบะ !!! ผมคิดในใจ ความเครียดเริม่ มาเยือนในคืนนัน้ แต่ผมก็ได้ตวั ช่วย ที่แสนวิเศษ คือ google map ที่เป็นนาวิเกเตอร์บอกเส้นทางการ เดินทาง ว่าจากที่พักขึ้นรถไฟสายไหน ไปลงไหน ไปต่อสายไหนไป ลงที่ไหน ค่ารถไฟเท่าไหร่ ออกเดินทางกี่โมง เปลี่ยนรถไฟกี่โมง ถึง สถานที่ปลายทางกี่โมง เดินไปทางไหน ระยะทางเท่าไหร่ เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวายังไง ....โอ้ว!!! มันเป๊ะเวอร์ ไม่น่าเชื่อก็ต้องเชื่อ จริงๆ วารสารทันตภูธร 38 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
รุ่งเช้าเราไปถึงสถานีรถไฟโตเกียวซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่ใหญ่ ที่สุดของญี่ปุ่น ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมสไตล์ตะวันตกยุคอาณานิคม อาจารย์ยุพิน ส่งไพศาล พาเราชมสถานีรถไฟโตเกียวก่อนจะต่อ รถไฟจากที่นี่ไปยังชิบะ เราเดินออกมาชมภายนอก คนมาถ่ายรูป เยอะมาก เป็นสถานที่ที่ผมคิดว่า ถ้าไม่มาที่นี่เหมือนกับยังไม่มาถึง โตเกียวยังไงยังงั้น ตึกสวยมากครับเพิ่งปรับปรุงใหม่เสร็จ ลักษณะ ตึกอิฐแดงนีเ้ ดิมเป็นตึกเก่าสร้างมาตัง้ แต่สมัยเมจิเลยทีเดียว ทีส่ �ำ คัญ มากๆ คอื สะอาดมากครับ แตกต่างกับสถานีรถไฟในเมืองไทยลิบลับ เรานั่งรถไฟไปลงสถานีไคฮินมากุฮาริด้วยรถด่วนตาม google บอก และ ไปถึงบริษัทอิออนโดยปลอดภัย นั่งรอสักพักใหญ่ๆ เจ้าหน้าที่ ของบริษทั อิออนลงมารับเราขึน้ ไปข้างบน ระบบรักษาความปลอดภัย ในการเข้าออกสถานที่ดีมากๆ ในญี่ปุ่นส่วนใหญ่ ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ อิเล็คทรอนิคหมดทุก อย่าง จนรูส้ กึ ว่าถ้าไฟดับนี่ ตูจะทำ�ยังไง จะออกมาได้ไม๊ จะมีอากาศ หายใจไม๊ หรือ แม้แต่กระทั่ง เข้าห้องนํ้าอยู่แล้วไฟดับโถส้วมไฮเธค จะล้างตูดเรายังไง (เขียนเกรียนไปไหมอ่ะ) ซงึ่ ถ้าเปรียบเทียบกับอยู่ โรงพยาบาลบ้านนอกๆ แล้วไฟตก ไฟดับเป็นเรือ่ งปกติมาก กลับเข้า เรื่องต่อ เราเข้าไปยังห้องประชุม ทางผู้บริหารของอิออนรอต้อนรับ เราอยูแ่ ล้ว ทางผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าที่ ได้เล่าเรือ่ งราวเกีย่ วกับบริษทั อิออน ซึ่งในปี 2011 มีรายได้ประมาณ 5,206.1 ล้านเยน มีบริษัท ในเครือประมาณ 200 บริษัท มีสาขาของทุกธุรกิจรวมกัน 15,008 สาขาทั่วทั้งประเทศญี่ปุ่นจีน และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง ประเทศไทย ปรัชญาในการทำ�ธุรกิจของเค้า คือ ใฝ่หาสันติภาพ, เคารพความเป็นมนุษย์ และ มีส่วนร่วมกับชุมชน ด้วยมุมมองของ ลูกค้า จึงเป็นที่มาของการตลาดของอิออน เข้ามาช่วยเหลือคน ญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
สำ�หรับเรือ่ งอาหารและโภชนาการ เริม่ มาจาก Three Health & Wellness Resolutions ตามมติของทีป่ ระชุมของ Committee For Green Foothills ในเดือนมิถนุ ายน 2011 คือ 1.การเข้าถึงและความ พร้อมของสินค้าและบริการ ในหมวดอาหารมีระบุไว้ อาทิเช่น ลด พลังงานโดยรวมนํา้ ตาลโซเดียมเกลือ ไขมันอิม่ ตัวและไขมันทรานส์ ในอาหารและเครือ่ งดืม่ โดยให้ความสำ�คัญกับสุขภาพของประชาชน และ ช่วยส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ เป็นต้น 2. มีขอ้ มูลของ ผลิตภัณฑ์และมีการตลาดทีม่ คี วามรับผิดชอบ เช่น มีฉลากบ่งบอก ข้อมูลผลิตภัณฑ์ดา้ นโภชนาการต่างๆ 3. การสือ่ สารและการศึกษา เกี่ยวกับอาหารสุขภาพและวิถีชีวิตเช่น ช่วยส่งเสริมสุขภาพร่างกาย จิตใจ เป็นภาคีกบั โรงเรียนในชุมชน สนับสนุนระบบสาธารณสุขและ ประชาสังคม ให้เกิดการพัฒนาด้านสุขภาพ เป็นต้น ซึง่ เค้าวิเคราะห์ ไว้วา่ ในปัจจุบนั วิถชี วี ติ ของคนญีป่ นุ่ เปลีย่ นแปลงไปตามยุคสมัย สมัย นีค้ นญีป่ นุ่ แทบไม่ได้ท�ำ อาหารทานเอง เด็กๆ รุน่ ใหม่ๆ ก็จะไม่รจู้ กั การ ทำ�อาหาร หรือ วัตถุดบิ ในการทำ�อาหาร เค้าเลยทำ�การตลาด โดยทีใ่ น supermarket ในห้างอิออน จะมีการจัดการเรียนรูใ้ ห้แก่เด็กๆ ในการ ทีจ่ ะรูจ้ กั ผัก ผลไม้ วัตถุดบิ ในการทำ�อาหาร มีกจิ กรรมการประกอบ อาหาร รวมไปถึงมีฟาร์มทีจ่ ะพาเด็กๆ ไปเรียนรูใ้ นการปลูกพืชผักด้วย โดยในกิจกรรมจะมีโภชนากรเข้ามาร่วมด้วย เพือ่ เป็นทีป่ รึกษาและให้ คำ�แนะนำ� เรือ่ งอาหารและโภชนาการให้แก่เด็กๆ และลูกค้าทัว่ ไปทีจ่ ะ มาซือ้ สินค้าเพือ่ นำ�ไปประกอบอาหารทีบ่ า้ นด้วย
ซึ่งลักษณะการจัดกิจกรรมจะเหมือนกับที่โรงเรียน Ochanomizu University Elementary School ทำ� ซึ่งเค้าบอกว่า ลักษณะนี้ เป็นการร่วมมือจากการกำ�หนดร่วมกันของทัง้ ภาครัฐและเอกชน เพือ่ ตอบสนองยุทธศาสตร์ในระดับประเทศ คงคล้ายๆ อารมณ์นโยบาย สาธารณะนั่นแหละ ผมคิดว่าอย่างงั้น ส่วนตัวผมเองค่อนข้างชื่น ชมอิออนมาก นอกจากด้านธุรกิจเค้ายังกลับมาดูแลสังคม บางคน อาจจะมองว่ามันเป็นแค่เกมส์ธุรกิจ แต่ผมกลับมองว่า บริบทของ ประเทศนี้เค้ามีชาตินิยมสูงมาก เค้าคงมีความจริงใจและตั้งใจที่จะ ทำ�เพื่อคนของเค้า เพราะประเทศเค้าก็ผ่านความทุกข์ระทมมาเยอะ ตัง้ แต่สงครามโลกครัง้ ที่ 2 จนกว่าจะมาเป็นประเทศญีป่ นุ่ อย่างทุก วันนีไ้ ด้ ซึง่ คงจะเอาภาคเอกชนในเมืองไทยไปเปรียบเทียบคงไม่ได้ คงจะมีน้อยรายมากๆ ซึ่งคิดว่าเราก็เห็นๆ กันอยู่ว่าเป็นอย่างไร วั น สุ ด ท้ า ยของการดู ง านวางแผนกั น ไปไกลมาก คื อ เมื อ ง Kamokawa เป็นเมืองชายทะเลฝั่งตะวันออก
อารมณ์เรานั่งรถจากกรุงเทพ ฯ ไปจังหวัด ตราดยั ง ไงยั ง งั้ น เพื่ อ ไปดู ง านส่ ง เสริ ม ป้องกันทันตกรรมในโรงเรียน และ Kamokawa Health Center และ เรือ่ งราวในวันนี้ มันเป็นที่มาของชื่อบทความนี้ คณะเราเดินทางมาที่สถานีโตเกียว อีกครั้ง ทุกคนหยอดเหรียญซื้อตั๋วเข้าไปยังสถานี JR ปรากฏว่า ผม ซึง่ ใช้บตั รเติมเงิน (suica) เอาไปแตะทางเข้า มันไม่ให้เข้า ร้องติด๊ ๆ งานเข้าแล้วสิต ู เพราะคนอืน่ ๆ เดินหายลับไปกันหมดแล้ว ผมเข้าไป คุยกับเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ เช็คบัตรสักพักก็เข้าไปได้ แต่ ....หาทุกคนไม่เจอ แล้ว เนื่องจากสถานีรถไฟโตเกียวเป็นสถานีที่ใหญ่มาก เป็นชุมทาง รถไฟไปทุกที่ ชานชลาก็สลับซับซ้อนมากขึ้นบน ลงล่างไปได้หมด หมุนตัว 360 องศาเหมือนในมิวสิควีดีโอก็ไม่เห็นใครเลย “เอาไงดี” ผมพูดกับตัวเอง เปิด google ก็ไม่ได้ แถวที่ยืนอยู่ไม่มี Free WiFi เลยต้องเข้าไปถามทางเจ้าหน้าที่อีกรอบ “ Sumimasen Kamokawa ma de des ka ?” ผมถามไปแบบมั่วๆ “ Keiyo line” นั่น คือคำ�ตอบที่ได้รับ ผมวิ่งไปยังชานชลาของ Keiyo line ...มันไกล มาก ถ้าจำ�ไม่ผิด คือประมาณ 600 เมตร จากทางแยกเข้าไป เล่น เอาหอบจับกันเลยทีเดียว แต่คิดว่ารถไฟคงออกไปก่อนแล้วไม่นาน ผมก็เลยขึ้นรถไฟตามไปจำ�ได้ประมาณว่าจะต้องไปเปลี่ยนรถไฟที่ โซกะ แต่มารู้ทีหลังจาก อ.ธงชัยว่า เปลี่ยนแพลนกะทันหันไปลง ที่ชิบะ Dr. Abe รออยู่ท่ีน่ัน มิน่าล่ะไปลงโซกะ ไม่เจอใครเลย ตัดสินใจนัง่ รถยาวไปยัง Kamokawa !!! โดยลงรถไฟถามเป็นระยะ ๆ เพราะ มันมีรถไฟหลายแบบ บางสถานีก็จอด บางสถานีกไ็ ม่จอด แต่ชวี ติ ต้องไปข้างหน้า ก็ตอ้ งไป สูตรไปตายเอาดาบหน้าทีผ่ มใช้ ประจำ�ก็กลับมาอีกครั้ง ไปก่อนถึงแล้ว ค่อยว่ากัน !!! ผมนัง่ รถไฟไป ก็มองดูชวี ติ ผู้คนข้างทาง เมืองเล็กๆ ที่เรียกได้ว่าเป็นชนบท มันช่างเงียบสงบ แตกต่างกับโตเกียวอย่างสิ้นเชิง เป็นชนบทเหมือนกับเมืองไทยเรา นี่แหละ มีที่นาปลูกข้าว ปลูกผัก วิถีชีวิตเกษตรกรรมยังคงพบเห็น ได้ตลอดระยะทาง แต่ ไม่เห็นมี “ควาย” !!! ยิ่งนั่งไปไกลไปเท่าไหร่ เมืองยิ่งเล็ก ลงจนเป็ น แค่ ห มู่ บ้ า น ในใจผมคิ ด ว่ า “ เมืองเล็กๆ หรือ หมู่บ้านเล็กๆ คงตาม ไปหาทีมได้ไม่ยาก เดินออกจากสถานี รถไฟไปก็ ดู แ ผนที่ ห าโรงเรี ย นคงมี อ ยู่ ซักที่เดียว เดีย๋ วลองถามๆ ดู ” และแล้ว “ Next Station Kamokawa ” ประตู รถไฟเปิด ผมก้าวออกมา สายตามองซ้าย ขวา เห็นห้างอิออนตัง้ เด่นเป็นสง่า โอ้ว !!! แย่แล้ว เมืองนีใ้ หญ่กว่าเมืองน่านซะอีก วารสารทันตภูธร 39 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
เดินวนๆ ดูรอบๆ เอาไงดี ออกไปนีห่ ลงทางแน่ๆ ภาษาญีป่ นุ่ กะท่อน กะแท่นอย่างผมนีค่ งเอาตัวรอดยาก ภาษาอังกฤษในโตเกียวคนญีป่ นุ่ ยังไม่คอ่ ยจะพูดกันเลย ออกไปนีจ่ ะมีใครพูดกับตูไหมวะเนีย่ ซักพัก ผมตัดสินใจกลับโตเกียว เจอกันทีโ่ รงแรมละกันนะครับทุกท่าน ผม ตามมาสุดความสามารถของผมแล้วส่วนตัวก็รสู้ กึ เสียดายมาก ผมนัง่ รถไฟกลับโตเกียวอีก 3 ชัว่ โมงกว่า ต่อรถมาลงทีอ่ ากิฮาบาระก็มดื พอดี ผมเดินเล่นในห้างๆ หนึง่ ไปอย่างชิลๆ ก็คดิ เชิงบวกไปว่าการนัง่ รถไฟ ทีแ่ สนยาวนานวันนีห้ มดเงินไป 160 เยน เพราะไม่ได้ออกจากสถานี รถไฟเลย “ก็ดเี หมือนกัน” คำ�ตอบปลอบใจตัวเอง อยูๆ่ มีสง่ิ ทีผ่ ม ต้องแปลกใจคือ “เรียนลูกค้าทุกท่าน ..........หากมีขอ้ สงสัยใดๆ กรุณา สอบถามพนักงานของเราได้เสมอค่ะ” ผมหยุดฟังเสียงประกาศภายใน ห้างโยโดบาชิคาเมร่า ผมฟังผิดหรือปล่าวนี ่ ประกาศเป็นภาษาไทยกัน เลยทีเดียว ผมเดินเรือ่ ยเปือ่ ยดูโน่นดูนจ่ี นมาถึงอูเอโนะหาอาหารเย็นกิน แล้วเดินต่อไปยังทีพ่ กั พีๆ่ หลายคนบอกว่าเดินมาได้ยงั ไงไกลมาก เอาน่าผมเด็กดอย โรงพยาบาลก็ดอยแค่นส้ี บายมาก .... หมดโปรแกรมดูงานทีด่ จู ะเหน็ดเหนือ่ ยกับการเดินทาง lecture ทีต่ อ้ งตัง้ ใจฟังมากๆ เพราะภาษาอังกฤษสำ�เนียงญีป่ นุ่ ฟังค่อนข้างยาก มุมมอง วิธคี ดิ ทัศนคติใหม่ๆ คำ�ถาม และ ความฝัน เกิดขึน้ เต็มไปหมด สิง่ ทีไ่ ด้รบั ในการมาครัง้ นีเ้ ป็นบทเรียนและประสบการณ์ทม่ี คี า่ มากทีเดียว สิง่ ดีๆ ทีเ่ ค้าทำ�อาจนำ�มาพัฒนาต่อยอดได้ แบบไทยๆ นีแ่ หละ ผม เชือ่ ว่าพีไ่ ทยทำ�ได้ และทำ�ได้ดดี ว้ ย เรือ่ ง copy & development เนีย่ ของถนัด ถงึ เวลาแล้วสินะ วนั หยุดแล้วก็ตอ้ งเทีย่ วสิครับ ทริปก่อนขึน้ เครือ่ งกลับเมืองไทยวันนี้ ผมเป็นไกด์ทวั ร์พาทีมลูกเป็ด (เพราะเวลาไป ไหนก็จะเดินเป็นแถวเหมือนลูกเป็ด) ไปยังเมืองคาวาโกเอะ จงั หวัดไซ ตามะ นัง่ รถไฟจากสถานีอเิ คบุกโุ รประมาณครึง่ ชัว่ โมงก็ถงึ เสน่หข์ อง เมืองนีอ้ ยูท่ ค่ี วามเป็นเมืองเก่าทีเ่ รียกกันว่า “เอโดะน้อย” ผมเปิดเจอ ในอิ น เตอร์ เ นตโดยบั ง เอิ ญ เลยว่าจะไปซักหน่อย แต่เอา ไปเอามา กลายเป็นว่ามากัน หมด ยกเว้น อ.ธงชัย ซึง่ ขอตัว กลั บ ไปทำ � งาน(ขยั น จริ ง ๆ) มาถึ ง ก็ ส ไตล์ ไ กด์ ทัว ร์ อ ย่ า ง ผมเลย คือ แยกกันไป นัดเวลา กลั บ มาเจอกั น จากนั้น ก็ ตัว ใครตัวมันครับแล้วแต่อัธยาศัย ตึกของเค้ามันเหมือนในเรื่องอิค คิวซังเลยครับ ลักษณะสถาปัตยกรรม หลังคาที่เป็นเอกลักษณ์ บ้านเรือนสมัยเอโดะ ยังคงถูกอนุรักษ์ไว้ ไปแอบฟังไกด์ท้องถิ่น ได้ ยิ น มาว่ า เมื อ งนี้ ร อดจากการถู ก ระเบิ ด ของอเมริ ก าในสมั ย สงครามโลกครัง้ ที ่ 2 เลยหลงเหลือสถาปัตยกรรมมาให้เราดู เดินไป เรือ่ ยๆ กม็ รี า้ นขายของฝาก ขนมพืน้ บ้าน อาหาร จปิ าถะ ถ้าถนนสาย วารสารทันตภูธร 40 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
นีเ้ ป็นคลอง อารมณ์คงเหมือนเดินอยูท่ อ่ี มั พวา !!! เดินไปเดินมาเจอ ร้านขนม เด็กๆ เต็มเลย เลยเข้าไปดู ขนมเยอะมากครับ โดยเฉพาะ ขนมทีเ่ ป็นนํา้ ตาลก้อนสีๆ ไม่รเู้ รียกว่าอะไร ป้ายปักไว้เป็นภาษาญีป่ นุ่ อ่านไม่ออก มีมากมายหลากหลายสีให้เลือกเลยทีเดียว ชัง่ ขายเป็น ขีดๆ เห็นแล้ว หน้าคุณหมอปิยะดา ประเสริฐสม เจ้าแม่เด็กไทยไม่ กินหวาน ก็ลอยมาเลยทีเดียว ถ้าอยูเ่ มืองไทยเจ๊คงไม่ยอมแน่ๆ 555 สำ � หรั บ ผมทริ ป นี้ ไ ด้ อ ะไร มากกว่าทีค่ ดิ อย่างแรกคือ ได้เรียน รู ้ เปิดมุมมองใหม่ๆ ความรู ้ วิธคี ดิ การทำ�งาน ที่คงต้องเอาไปปรับใช้ ให้เหมาะสมกับบริบทเรา ต่อมา คือ ได้เรียนรูค้ นในทีมซึง่ หลายหลาย อายุ ความคิด ความเชีย่ วชาญ ซึง่ จะเป็นการสร้างเครือข่ายการทำ�งาน ด้านทันตสาธารณสุข กับเครือข่าย อืน่ ๆ ได้อย่างดี และ การทีเ่ ราไปไหน มาไหน เดินตามกันไปเป็นแถวตลอด เหมือนลูกเป็ดตามแม่เป็ด จนเรียกทริปนีว้ า่ ทัวร์ลกู เป็ด ทง้ั หมดนีก้ เ็ ป็น สิง่ ทีป่ ระทับใจ สิง่ ทีผ่ มคิดว่าทุกคนในทีมทีไ่ ปในครัง้ นีป้ ระทับใจมาก ทีส่ ดุ คือ อาจารย์ยพุ นิ ส่งไพศาล อาจารย์นา่ รักมากครับ ตลอดเวลา ทีไ่ ด้อยูร่ ว่ มทีมกับพวกเรา เดินทางไปทุกทีด่ ว้ ยกัน ถึงจะเดินทางเหนือ่ ย แค่ไหน อาจารย์ทา่ นไม่เคยบ่นเหนือ่ ย บ่นปวดขาให้เราเห็น แม้วา่ ท่าน จะอายุมากแล้วก็ตาม ก็ยงั แข็งแรง ยังเดินไกล ๆ กับพวกเราได้ตลอด ทัง้ วัน เราได้ความรูจ้ ากอาจารย์ยพุ นิ มากเลยทีเดียว ทัง้ เรือ่ งวิชาการ ต่างๆ ระบบประกันสุขภาพของประเทศญีป่ นุ่ วัฒนธรรมการใช้ชวี ติ ของคนญีป่ นุ่ เช่น การรับประทานอาหาร แม้แต่การแกะตะเกียบจะ ต้องแกะยังไง ประมาณนี ้ อาจารย์จะเล่าและสอนเราตลอดเวลา ตอ้ ง ขอขอบคุณอาจารย์มา ณ ทีน่ ด้ี ว้ ยครับ ขอบคุณ อ.ธงชัย วชิรโรจน์ ไพศาล และ Dr. Santoshi Abe ในการทำ�ให้โปรเจคนีส้ �ำ เร็จลุลว่ ง ไปได้ดว้ ยดี ทันตแพทย์ทกุ ท่าน และ น้องๆ สามสาว จาก คศน. ผู้ ประสานงานให้พวกเรา .......... เจอกันเมือ่ ชาติตอ้ งการ ติด๊ !!! เสียงเตือนให้เข็มขัดนิรภัยดังขึน้ ทำ�ให้ผมตืน่ จากการหลับไหล เสียงประกาศ landing ลงสนามบินสุวรรณภูมขิ องเพอร์เซอร์สาวสวย ดังก้องมาอีกครัง้ การเดินทางใกล้จะสิน้ สุดลงแล้ว ผมหันซ้ายขวา หันไปเจอน้องแอร์โฮสเตสสาวสวย ที่ผมอยากจะบอกคนทั้งโลกว่า “รักคุณเท่าฟ้า” จากสามปีที่แล้ว ผมก็กลับมาญี่ปุ่น...อีกครั้ง ครั้งนี้ ก็แบกความทรงจำ�ดีๆ กลับมา....อีกหน ผมคงจะเก็บมันไว้ในใจ...อีกครา และผมคงจะต้องกลับมา...อีกซักที อะริกะโตะ ซาโยนาระ !!!!
เรื่องเล่าจากภูอังลัง : ประสิทธิภาพ...น้อย
หมอฟันไทด่าน dansaiqmr@gmail.com
คนด่านซ้ายอย่างผมไม่ควรมีโอกาสเดินทางด้วยรถไฟบ่อยๆ แต่ด้วยบริบทของชีวิตส่วนตัว ผมเลยมีโอกาสที่ว่า เวลาเดินทางไป กลับกรุงเทพฯ โดยขับรถอ้อม 2 ชัว่ โมงไปทางพิษณุโลกเพือ่ ต่อรถไฟ หรือเครื่องบิน แล้วแต่โอกาส เครื่องบินนอกจากแพงกว่า ขั้นตอนยุ่งยาก แถมเวลานั้นไม่ ค่อยดี ข้อดีของรถไฟนั้นคือนอนไปได้ ขึ้นหัวคํ่าเช้าก็ถึง ในสภาพที่ เข้าห้องประชุมก็ไม่งว่ งก็ไม่งว่ งหาวเกินไป ส่วนจะถึงตรงหรือไม่ตรง เวลานั้นค่อยมาลุ้นกันอีกที ถึงเร็วหน่อยก็ไปอาบนํ้าที่หัวลำ�โพง นั่ง จิบกาแฟในร้านบนชัน้ 2 (แฟรนไชส์ไทย บอกชือ่ ไม่ได้เดีย๋ วบก.หาว่า โฆษณาแฝง) ปะปนกับลูกค้าส่วนใหญ่ทเี่ ป็นคนต่างชาติ ความทีผม ไม่เรื่องมากกับความสะอาด-สกปรก บางทีจำ�เป็นก็อาบนํ้าในรถไฟ เขามีห้องที่มีฝักบัวอาบนํ้าได้ บางคนคงรังเกียจความสะอาดรถไฟ ไทยเอาอย่างมาก แต่นึกย้อนไป สมัยออกค่ายฯ ตอนเรียนมหาลัย ผมและเพื่อนสมาชิกเพื่อนชาวค่ายก็นอนตรงพื้นใต้ที่นั่งชั้น 3 โดย มีหนังสือพิมพ์ปูรองเอา หลับสบายไปถึงตอนเช้า วันหนึ่งตื่นขึ้นมา เลยได้ update ข่าวสารจากแก้มของเพื่อน เพราะตัวหนังสือจาก หนังสือพิมพ์ไปติดเรียงชัดเจนสวยงามอยู่บนนั้น รถไฟไทยนั้นถูกดูหมิ่น หยามเหยียดเอามาก (น่าจะรองหน่อย ก็รถไฟอินเดีย ที่เล่ากันเอาขำ�ว่ามาตรงเวลาแต่คนละวัน แต่เท่าที่ ได้ลองตู้นอน 1 คืน รถอินเดียขบวนที่ว่าก็ไม่ได้แย่กว่า รฟท.) รถไฟ ไทยนั้นเริ่มหลังญี่ปุ่นไม่กี่ปี แต่การพัฒนาก็คงเห็นๆ กันอยู่ วันหนึ่ง ผมยังแปลกใจ ที่มีคนต่างชาติกับคนไทยมาคุยและนั่งบนที่นั่งของ ผม แอบฟังๆ เขาคุยกันเสียงดัง ดีกรีคงได้ที่เพราะถือเบียร์กระป๋อง สัญชาติดตั ช์กนั ทุกคน เลยรูว้ า่ เขามาดูงาน นึกในใจ ประเทศไหนกัน หว่าถึงเลือกมาดูงานรถไฟไทยได้ ปรากฏว่าเป็นพม่าชาติเพือ่ นบ้าน ของเรา ซึ่งตอนนั้นเมื่อ 2-3 ปีก่อน เรายังหยามเหยียดได้ว่าเขาล้า หลัง แต่ถงึ เวลานีช้ กั ไม่คอ่ ยกล้า หลายคนเริม่ วิเคราะห์วา่ ในอนาคต นอกจากไทยจะแพ้เวียดนามในเกือบทุกการแข่งขันแล้ว (เราเปลีย่ น คู่เทียบลดชั้นมาเรื่อยๆ ตั้งแต่สิงคโปร์ เกาหลีใต้ มาเลเซีย) แม้แต่ พม่า เราอาจจะสู้ไม่ได้
ผมไม่รู้ตนสายปลายเหตุ การขาดทุนนับหมื่นล้านต่อปีของ รถไฟไทย แม้จะถือ asset เป็นที่ดินทำ�เลทองถึงสองแสนกว่าไร่ บ้างว่ามีไอ้เข้ขวางคลองต้านการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเนื่องด้วยผล ประโยชน์ต่างๆ ฝังตัวเหนียวแน่น แต่ที่รู้สึกในฐานะผู้ใช้บริการคือ Labor cost ต้นทุนด้านบุคลากรทีน่ า่ จะสูงเกินจำ�เป็น อย่างในตูน้ อน ที่ผมมักใช้บริการ มีทั้งคนที่เดินมาตรวจตั๋วแป๊บๆ แล้วก็ไป (ไม่รู้เขา ทำ�อะไรมากกว่านี้ไหม) คนทำ�ความสะอาด คนบริการอาหาร (คง เป็นของบริษัทเอกชน) ผู้ดูแลประจำ�ตู้ ที่มีหน้าที่ปูที่นอนและเก็บ กะคอยปลุกเราเวลาใกล้ถึงสถานีจุดหมายปลายทางของเรา (แต่ บางทีก็ลืม) ผมว่าภารกิจพวกนี้น่ารวบไว้ในคนที่น้อยกว่านี้ได้ รวม ทัง้ การใช้เครือ่ งไม้เครือ่ งมือต่างๆ มาช่วย ซึง่ ระยะยาวน่าจะถูก และ ประสิทธิภาพสูงกว่า ตอนไปโตเกียว ได้มีโอกาสนั่งรถไฟนับสิบๆ เที่ยว เห็นว่าพวกตู้ซื้อตั๋วน่าตาโบร่ำ�โบราณที่นั่น โคตรฉลาด (รู้จัก ทั้งเหรียญและแบงก์ ทอนเงินได้ adjust ปรับค่าโดยสารได้ที่สถานี ปลายทางถ้าเราหยอดเงินมาไม่ตรงกับค่าใช้จา่ ยจริง ฯ) และช่วยลด การใช้คนไปเยอะเลย การใช้คนเยอะๆ แล้วงานน้อยๆ คงนับได้ว่า ประสิทธิภาพไม่สูงนัก วารสารทันตภูธร 41 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ผมเพิ่งไปออกหน่วยมาครับ หน่วยร่วมกับฝ่ายอื่นๆ มากว่าทีม รพ.เรา ซึง่ ผมไม่ได้ไปออกมาหลายปีแล้ว ปกติออกประจำ�แค่โรงเรียน กับศูนย์เด็ก หน่วยทันตกรรมของเราในภาคปกติไปกันทีมละ 3 ชีวติ มี 3 ทีม ตามโซนที่รับผิดชอบ ทันตแพทย์หนึ่ง ทันตาหนึ่งและน้องผู้ ช่วยทีเ่ ป็นพนักงานขับรถอีกหนึง่ น้องคนนีจ้ ะไปทุกโซน เราพยายาม ใช้คนให้เกิดประโยชน์สงู สุด มีงานทำ�คุม้ ค่ากันถ้วนหน้า ไม่วา่ งงาน งานใดๆ หากเห็นการว่างงานเกิดขึ้นให้ตั้งคำ�ถามเรื่องประสิทธิภาพ ทันทีนะครับ ว่าเรากำ�ลังทำ�งานคุม้ กับเวลาหรือไม่ ผมเคยนัง่ คำ�นวณ เล่นๆ วันทำ�งานต่อปีประมาณ 240 วันบวกลบ เวลาทำ�งานวันละ 7 ชั่วโมง ลองคิดดูนะครับ อย่างผมรายได้ที่รัฐจ้างก็ตกนาทีหลาย บาทอยู่ ควรเตือนตัวเองอย่างยิง่ ให้ท�ำ ตัวให้คมุ้ ค่า (แต่วา่ ก็เผลอไผล เถลไถลไปบ่อยๆ เหมือนกันครับ) โรคจิตอย่างนึงของหัวหน้าอย่าง ผมคือ ไม่ชอบเห็นใครว่างในเวลางาน หากเห็น ก็จะชวนแบบเนียนๆ หางานให้ทำ�จนได้ อย่างน้อยๆ ก็มานั่งคุยงานกัน หน่วยทีผ่ มเพิง่ ไปออก ใช้ทมี ไกลจากจังหวัดเดินทางกันเกินร้อย กิโลนับสิบคน บวกกับทีมอำ�เภอพืน้ ทีอ่ กี เกินสิบ อสม.อีกแถวๆ ยีส่ บิ หน่วยงานด้านความมั่งคงอีก อบต.อีก รวมๆ แล้วหลายสิบ จริงๆ มันคงมากกว่านี้ ถ้าวันนัน้ ไปต้องไปรับรัฐมนตรีทมี่ าราชการในอำ�เภอ เดียวกัน เอาเป็นว่าหากเอาแค่คา่ แรงต่อวันของเฉพาะพวกเจ้าหน้าที่ ภาครัฐ รวมๆ แล้วคงเกินแสนบาท รวมค่านาํ้ มัน ค่าอาหารและการ จัดการอื่นๆ อีกคงหลายแสน ผมนั่งคิดอยู่ในใจว่า คุ้มไหมเนี่ย ดว้ ยกลัวไม่คมุ้ และคนไข้มาทำ�ฟันก็ไม่คอ่ ยมี ผมเลยไปไล่ตอ้ นอสม. บ้าง น้องๆ จากอบต. รวมทั้งเจ้าหน้าที่สอ. ทีปกติจะมาช่วยเราขูด หินปูน มาเป็นคนไข้แทน ค่อยรู้สึกว่ามีคุณค่าขึ้นมาหน่อย ด้วยบริบทสังคมที่เปลี่ยนไปมาก ผมว่าการออกหน่วยฯ ซึ่งยัง จำ�เป็นอยู่กับบางพื้นที่ แต่ควรเปลี่ยนรูปแบบไป อาจต้องไปเน้น กลุ่มโรค หรือเฉพาะพื้นที่ห่างไกลจริงๆ อย่างกรณีทันตกรรม ก็ ควรเน้นพื้นที่สูง แถวๆ ภาคเหนือที่การเข้าถึงบริการยาก เนื่องด้วย ข้อจำ�กัดด้านการคมนาคม (เคยได้ยินว่าทางหน่วยงานความมั่นคง จะเอาการออกหน่วยทันต กรรมไปใช้ในการปฏิบัติการจิตวิทยาใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ผมไม่ทราบว่าตอนนี้เป็นยังไงบ้าง) ที่ด่านซ้ายนี่ หน่วยทันตกรรมเรียกแขกไม่ได้นานแล้วครับ ถ้ามี หมอตา หมอหู หมอกระดูกมาตรวจ อย่างนี้ยังพอว่า รถทันตกรรม เคลื่อนของ พอ.สว.ที่มาทุกปี ผมมักจะเอาไปลงในโรงเรียนชาวเขา ไกลๆ ทีป่ กตินดั แล้วไม่คอ่ ยมาทำ�ฟันทีโ่ รงพยาบาลกันเท่าไหร่ หน่วย ทันตกรรมใหญ่ๆ ของคณะต่างๆ คิดว่าก็ต้องประเมินและปรับให้ ดี ที่ผมว่าชัดเจน คือของมหิดลที่เน้นหน่วยไม่ใหญ่มาก และกลุ่ม เป้าหมายเป็นนักเรียนโรงเรียนตชด. ซึ่งโรงเรียนนี่ว่าทุกโรงอยู่ ห่างไกลและเป็นชายแดน ถือเป็นการเลือกไปยังกลุม่ คนด้อยโอกาส ส่วนหน่วยทันตกรรมใหญ่ๆ ประเภทขอคนไข้เกินพันนัน้ ผมว่าจัดการ วารสารทันตภูธร 42 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
ให้คมุ้ ค่าน่าจะยาก ส่วนการเข้าถึงบริการนีบ้ างทีตอ้ งดีๆ เพราะอาจ ไม่ได้ขึ้นกับระยะทางอย่างเดียว เช่น หากเปรียบเทียบกับเด็กใน อำ�เภอทีร่ พช.ดูแลดีๆ ฟันอาจจะดีกว่าเด็กชาวบ้านๆ ในโรงเรียนรอบ คณะทันตแพทย์เสียอีก เราคงไม่คลั่งไคล้ประสิทธิภาพกันเหมือนญี่ปุ่น (ผมแอบดูๆ แล้ว เขาใช้คนน้อยมากในการทำ�งานให้สำ�เร็จชิ้นหนึ่งๆ หากเป็น เมืองเรา ใช้มากกว่าเขาเยอะ แต่บางคนอาจเบ้หน้า บอกว่าแบบนัน้ ดูเหมือนมนุษย์หุ่นยนต์ไปหน่อย) แต่ควรคิดถึงไว้บ้าง เพราะจริงๆ บุคลากรด้านสุขภาพเราไม่ได้เหลือเฟือ แต่บางทีไปอยู่ผิดที่ผิดทาง ผิดเวลา จุดที่คนควรจะเยอะ กลับไปเยอะ ผมเคยพาพ่อไปที่ OPD อายุรกรรมของโรงพยาบาลจังหวัดแถวบ้าน เห็นเลยว่าพยาบาลเขา ทำ�งานหนักเพียงใด แค่เห็นตั้งกอง opd card ท่วมหัวตรงหน้า ยัง ไม่ทนั ทำ�อะไรก็รสู้ กึ เหนือ่ ยแทนแล้ว น้องพยาบาลทีย่ า้ ยไปจากรพ.ผม ไปอยูโ่ รงพยาบาลจังหวัด โชคดีเหลือเกินได้ไปอยูว่ อร์ด MED เห็นบ่น ใน FACEBOOK ว่าบางทีเวรบ่าย ตี 2 ตี 3 แล้วยังไม่ได้ลงเลย ขอกลับมาทีร่ ถไฟนะครับ หลายคนอาจไม่รวู้ า่ ตอนนีส้ ามารถซือ้ ตั๋วรถไฟผ่านอินเตอร์เน็ต ส่วนการจ่ายเงินก็ตัดบัตรเครดิตได้ ระบบ ไม่ต่างจากซื้อตั๋วเครื่องบิน เลือกที่นั่งได้เองเสร็จสรรพ ช่วงนี้ผม เดินทางบ่อยได้ใช้บริการเป็นสิบครั้งแล้ว สะดวกดี ส่วนใครที่เคย ใช้ Call center ไม่ว่าจะบริษัท หากร้านใดๆ โดยเข้าใจว่าทุกคนคง อยากคุยกับมนุษย์ตวั เป็นๆ สักคนให้เร็วทีส่ ดุ ไม่ใช่ให้เรากดเลขโน้น เลขนีไ้ ปเรือ่ ยๆ กับเครือ่ งคอมพิวเตอร์อตั โนมัติ (มิตดิ า้ นประสิทธิภาพ อาจจะได้ แต่มติ ดิ า้ นความพึงพอใจตาํ่ ) ถ้ามีโอกาส ลองใช้สายด่วน รถไฟ 1690 คุณจะได้เจอเสียงมนุษย์หวานๆ อย่างรวดเร็ว คุยกับคุณ อย่างเป็นธรรมชาติ ประทับใจเป็นทีส่ ดุ สองเรือ่ งหลังในย่อหน้านี้ ช่วย ให้การรถไทย ตีตื้นดูดีขึ้นมาเยอะทีเดียวในความคิดของผม แม้บาง เที่ยวจะพาผมเลทไปช้ากว่ากำ�หนดถึง 14 ชั่วโมงก็ตาม ขอบคุ ณ ภาพประกอบจาก http://www.fotobug.net/forum/ viewthread.php?tid=1440
Jay-ac
Change the world
PMMV
เข้าสูฤ้ ดูหนาวกันแล้วครับ ช่วงนีก้ ไ็ ม่มีอะไรให้ตนื่ เต้นได้เท่า การขึน้ สูท่ สี่ ูงในนามของหน่วยแพทย์เคลือ่ นที่ ผม ว่าช่วงนีไ้ ม่มอี ะไรดีเท่า ตัง้ แคมป์ไฟ ทำ�อาหาร เล่นดนตรี คุยกันสนุกสนาน เฮฮา แล้วสุดท้ายก็ไม่พน้ การพูดถึงบุคคล ที่ 3 ผู้ซึ่งมาได้มาหน่วยด้วย (แอบนินทาเพื่อนเล็กๆ) ตื่นเช้ามาดูหมอก เอาอากาศหนาวเข้าปอด (สดชื่น) แต่ถ้าจะพูดให้ฟังดูดีหน่อยก็ การที่ได้เข้ามาทำ�ฟันให้กับผู้คนที่เดินทางมารับบริการในสถานบริการได้อย่าง ยากลำ�บากย่อมเป็นสิ่งที่เรายินดีเป็นอย่างยิ่ง เมื่อครั้งที่ผมมาทำ�งานใหม่ๆ ยังไมได้เป็นสมาชิก พอสว ผมเคยได้ไป ช่วยเตรียมเครื่องมือครับ (ผมเขียนเรื่องนี้ ตอนที่มีคนเปลี่ยนชื่อแล้วจำ�ชื่อตัวเองไม่ได้ ลองหาอ่านดูนะครับ) มีผู้คน เขามารอรับบริการเราก่อนเป็นชั่วโมงๆ เลย บางคนมานอนเลยก็มีเพราะที่ ที่เราคิดว่าเราเดินทางมาไกลแล้ว ยังมี บางพื้นที่ ที่ไกลกว่านั้นอีก ชนิดที่ว่าเดินได้อย่างเดียวครับ ม้ายังเดินในป่าแบบนั้นไมได้เลย พอเขาได้รับบริการแล้ว ก็เหมือนว่าจะดีใจนะครับ เช่น ถอนฟัน ถอนเสร็จก็เดินไปคายผ้าถุยนํ้าลายทันที แล้วก็หันกลับมายิ้มให้เรา ช่างเป็น ภาพที่ชื่นใจมากครับ ที่หมอต้องวิ่งตามไปเอาผ้าให้ไปกัดใหม่พร้อมกำ�ชับว่า “ห้ามคาย ห้ามถุยอีก” เป็นภาษาต่าง PMMV ประเทศ คนไข้ก็ยิ้มแล้วก็จากไป(แต่ก็ไม่รู้ว่าจะคายผ้าหรือเปล่านะครับ) วงนี้ก็ไมมีอะไรใหตื่น เตนไดเทา การขึ้นสูที่สูงในนามของหนวยแพทยเคลื่อนที่ ัญหาเท่ าที่เจอคื ้นทีว่ภสุูเขาห่ งจากทะเลมากครั มีคลื่ 3่น (ฮาไหมครับ 555+) โทรศัพท์ไม่สามารถ ฟ ทําอาหาร เลนดนตรี คุ ยกัแต่นปสนุ กสนาน เฮฮาอพืแล ดทาายก็ ไมพนการพูดบถึงเลยไม่ บุคคลที ได้ ออนเฟส เล่น ลาย ไม่าไปอด ด้ครับ( สดชื ตัดขาดจากโลกภายนอกอย่ างสิ้นเชิงครับ ใครที่ชอบดู “แรงเงา” แล้วชอบขึ้น อนเล็กๆ) ตื่นเชามาดูหใช้มอก เอาอากาศหนาวเข ่น ) สถานะ แรงๆ ตามละคร คงได้อดล่ะครับงานนี้
ทางมารับบริการในสถานบริการไดอยางยากลําบากยอมเปนสิ่งที่เรายินดีเปนอยางยิ่ง ปนสมาชิก พอสว ผมเคยไดไปชวยเตรียมเครื่องมือครับ (ผมเขียนเรื่องนี้ ไมได ลองหาอานดูนะครับ) มีผูคนเขามารอรับบริการเรากอนเปนชั่วโมงๆ เลย Jay-ac วาเราเดินทางมาไกลแลว ยังมีบางพื้นที่ ที่ไกลกวผมจะทำ านั้นอี�กงานเพื ชนิด่อทีชาติ ่วาเดิเพืน่อได อยางเดียและเพื วครับ่อในหลวง นประชาชน ขาไดรับบริการแลวก็เหมือนวาจะดีใจนะครับ เชน ถอนฟน Jay.ac@hotmail.com ที แลวก็หันกลับมายิ้มใหเรา ชางเปนภาพที่ชื่นใจมากครับ หมพรอมกําชับวา “หามคาย หามถุยอีก” เปนภาษาตางประเทศ ะคายผาหรือเปลานะครับ)
วารสารทันตภูธร 43 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
จุดประกายความคิด
โดย ดร.ทพญ.มัทนา เกษตระทัต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เดือนธันวาคมทั้งเดือนผู้เขียนจำ�เป็นต้องแบกสมุดนัด (สมุดออร์กาไนเซอร์) ไว้ 2 เล่มในกระเป๋า เล่มของปี 2555 นั้น ซื้อมาจากญี่ปุ่นตอนไปดูงาน เป็นเล่มบางๆ ที่ใช้ถูกใจมาก คาดว่าหลายๆท่านคงเป็นเหมือนกันคือพอซักต้นเดือนพฤศจิกายน ตารางนัดหมาย ของเดือนมกราคมปีใหม่มันก็มีให้ลงบันทึกเยอะแล้ว ด้วยเหตุนี้เอง ญี่ปุ่นจะทำ�สมุดออร์กา ไนเซอร์ ไว้สำ�หรับเดือนตุลาคมปีเก่ายาวไปถึงเดือนธันวาคมปีใหม่ (เช่น สมุดออร์กาไนเซอร์ ของปีใหม่ 2556 จะครอบคลุมเดือนตุลาคม 2555 ถึง ธันวาคม 2556) ถ้าซื้อสมุดออร์กาไน เซอร์ญี่ปุ่นใช้ต่อเนื่อง เราก็จะซื้อได้ตั้งแต่เดือนตุลาคมปีเก่า และเริ่มลงบันทึกนัดหมายของ ปลายปีเลยไปจนปีใหม่ได้เลย แต่ของไทยเราจะมีขายกันก็ปลายปีทา้ ยปี แล้วก็ท�ำ ไว้ส�ำ หรับเดือนมกราคม ถึง ธันวาคม ปีต่อปีซะเป็นส่วนมาก ... ทำ�ไมนะ แค่เพิ่มที่ให้ลงที่ให้บันทึกอีกเดือนสองเดือน พี่ไทยถึงคิด แบบพี่ยุ่นไม่ได้ น่าถามตัวเองจริงๆ เรื่องเล็กๆ น้อยๆ การใส่ใจในรายละเอียดแบบนี้รึเปล่าที่ ทำ�ให้พี่ไทยเราพิเศษอย่างที่เราเป็น ตัวอย่างอื่นๆ ในประเทศญี่ปุ่นเท่าที่นึกได้ เช่น เวลาหน้าฝน ตามห้างร้านค้าญี่ปุ่นก็จะ มีที่ให้เสียบร่มลงไป พอดึงกลับขึ้นมาก็จะมีถุงพลาสติกหุ้มร่มเปียกๆ ของเราเรียบร้อยเอาร่ม เดินติดตัวไปไหนก็ไม่มีนํ้าหยดติ๋งๆ ให้เลอะเทอะที่สาธารณะ (รูปแนบ: อ้างอิงใต้รูป http:// bit.ly/S6Cxg0) ในขณะทีเ่ ราถนัดทีจ่ ะกางร่มทิง้ ไว้บนพืน้ หน้าร้านหน้าอาคารทำ�ให้เฉอะแฉะ และถ้าใครมาทีหลังก็ที่หมดอดกาง ... เป็นต้น หรือใครเคยเห็นร้านค้าร้านอาหารในประเทศไทยที่ทำ�ตามธรรมเนี่ยมการรับเงินแบบ ญีป่ นุ่ มัย้ คะ คือเค้าจะมีถาดสำ�หรับรับเงินวางไว้ตรงเคาท์เตอร์แคชเชียร์ ลองสังเกตดูให้ดนี ะคะ ถ้าญี่ปุ่นแท้้เนี่ยะ ถาดนั้นจะมียางยุ่นๆ รองติดไว้บนถาด หรือไม่ก็เป็นถาดหนังที่พื้นไม่ลื่น เพราะทัง้ เราและเขาจะต้องสามารถหยิบเหรียญขึน้ จากถาดได้งา่ ย ไม่ตอ้ งเอานิว้ โกยเหรียญ หรือถึงขนาดต้องตะแคงถาดก่อนโกยเงินทอนกลับมา ตัวอย่างการใส่ใจในรายละเอียดของชีวติ ในแคนาดาทีพ่ อจะนึกออกและยกตัวอย่างให้ นักเรียนฟังบ่อยๆ เช่น ในชุมชนทีม่ ผี สู้ งู อายุอาศัยอยูเ่ ยอะ หรือบริเวณโรงพยาบาลนัน้ เมือ่ กด สัญญาณไฟจราจรเพื่อเดินข้ามถนนนั้น สัญญาณไฟแดงให้รถหยุดจะนานกว่าปกติเพื่อให้ ผู้สูงอายุเดินไปถึงอีกฝั่งได้อย่างปลอดภัย (กรุงเทพมหานาครไม่ต้องห่วงในเรื่องนี้เพราะไฟ แดงเราทำ�ให้คุณตาคุณยายข้ามไปข้ามมาได้หลายรอบอยู่แล้ว เหอๆ) อีกอย่างที่แคนาดา เอื้อให้ผู้สูงอายุคือ บนฟุตบาธหน้าร้านค้าในชุมชน จะมีเก้าอี้ให้นั่งพักได้เป็นระยะๆ จะเห็น เก้าอี้แบบนี้วางได้ถี่กว่าในชุมชนที่มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่หรือชอบมาเดินเล่น ตัวอย่างการใส่ใจในรายละเอียดที่น่ารักๆของไทยเรามีบ้างมั้ย มันน่าจะมีนะ บอก ตัวเองว่าต้องนึกให้ออก ...... ช่วยกันนึกหน่อย .... ไม่เอาพวกลายไทยหรืองานฝีมอื ทีล่ ะเอียด วิจติ รงดงามนะคะ เอาเรือ่ งบ้านๆ ชีวติ ประจำ�วันนีแ่ หละ .... เอ ... เป็นไปได้ยงั ไงทีเ่ ราจะหยาบ ขนาดนัน้ น่าคิด วารสารทันตภูธร 44 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
Oral Health Services: Upstream – Downstream Approach Population - High Risk Strategies รศ. ทญ. ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์
ปี ค.ศ. 1979 นาย John McKinlay นักสังคมวิทยาการแพทย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ถ่ายทอด แนวคิดเรื่องต้นเหตุต้นนํ้า-ปลายนํ้าของสุขภาพ “Upstream – downstream” ไว้ดังนี้
“ผูช้ ายคนหนึง่ ยืนอยูท่ ตี่ ลิง่ ริมนํา้ และได้ยนิ เสียงร้องขอความช่วยเหลือจากคนทีต่ กนาํ้ เขาจึงกระโดดลงไปช่วย ลาก คนที่ตกนํ้าขึ้นมาบนฝั่ง แล้วทำ�การช่วยหายใจ เมื่อคนที่ตกนํ้านั้นได้ฟื้นสติรู้สึกตัว ก็มีคนตกนํ้าคนอื่นๆ อีกมากมายที่ ร้องขอความช่วยเหลือ ชายผูน้ นั้ ก็กระโดดลงไปช่วยคนทีต่ กนํา้ ขึน้ มาอีก พาขึน้ มาบนฝัง่ แล้วทำ�การช่วยหายใจ ปัม๊ หัวใจ แต่มีคนตกนํ้าเป็นจำ�นวนมากเขาจึงไปเรียกคนอื่นให้มาช่วย นำ�เครื่องไม้เครื่องมือต่างๆ มาใช้อย่างมากมาย อย่างไร ก็ตามจำ�นวนผูต้ กนาํ้ มีเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ จนทีมงานไม่สามารถช่วยให้ขนึ้ ฝัง่ ได้ทนั บางคนในทีมจึงเสนอว่าให้สอนคนทีต่ กนาํ้ เหล่านัน้ ให้วา่ ยนํา้ สิ จากนัน้ พวกเขาก็ขมักเขม้นอยูก่ บั การสอนว่ายนํา้ ทัง้ พูดอธิบายขัน้ ตอนวิธี และแสดงการปฏิบตั ใิ ห้ดู แต่จนแล้วจนรอด คนทีต่ กนาํ้ ก็ไม่สามารถว่ายนาํ้ เองได้ และเริม่ จมนาํ้ ไปทีละคน เมือ่ เห็นว่าการสอนคนว่ายนาํ้ ไม่ได้ผล เขาจึงหยุดและเริ่มคิดได้ว่า ทำ�ไมคนเหล่านี้ถึงได้ตกมาอยู่ในแม่นํ้า ใครกันที่ผลักพวกเขาตกลงมา ใครกันที่อยู่ที่ต้นนํ้า และเป็นสาเหตุของการตกนํ้านี้” วารสารทันตภูธร 45 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
John McKinlay ชี้ให้เห็นว่าทิศทางการพัฒนาของงานบริการทางการแพทย์ยังไม่ไปถึงการแก้ไขที่สาเหตุที่แท้จริงของ สุขภาพ “การไปเรียกคนอื่นให้มาช่วย นำ�เครื่องไม้เครื่องมือต่างๆ มาใช้อย่างมากมาย” เปรียบเสมือนการพัฒนาประสิทธิภาพ ของงานทันตกรรมในคลินิก โดยใช้ผู้ช่วยทันตแพทย์ เกิดเป็นทันตกรรมสี่หัตถ์ ทันตกรรมหกหัตถ์ การพัฒนาอุปกรณ์ เครื่องมือ ประกอบการวินจิ ฉัยและการรักษาทีท่ นั สมัย ... “อย่างไรก็ตามจำ�นวนผูต้ กนาํ้ มีเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ จนไม่สามารถช่วยให้ขนึ้ ฝัง่ ได้ทนั ” “การสอนคนทีต่ กนํา้ เหล่านัน้ ให้วา่ ยนํา้ ... ขะมักเขม้นอยูก่ บั การสอนว่ายนํา้ ทัง้ พูดอธิบายขัน้ ตอนวิธี และแสดงการปฏิบตั ิ ให้ดู” เปรียบเสมือนงานสุขศึกษา ซึ่งมักจะใช้กันทั่วไปในงานสร้างเสริมสุขภาพ ... “แต่จนแล้วจนรอด คนที่ตกนํ้าก็ไม่สามารถ ว่ายนํ้าเองได้” เรื่องเล่านี้ และงานวิจัยอื่นๆ ของ John McKinlay สร้างความสนใจและตื่นตัวให้กับนักวิชาการทางการแพทย์และ สาธารณสุขในสมัยนัน้ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาแนวคิดเรือ่ งต้นเหตุทางสังคม (Social Determinants) ของสุขภาพ และการผลัก ดันนโยบายสาธารณะทางสุขภาพในประเทศแถบยุโรปและสหรัฐอเมริกาเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน John McKinlay ได้รับรางวัล จากสมาคมสังคมวิทยาแห่งสหรัฐอมเริกา ในปีค.ศ. 2008 ------------------------------------------------------------------------------- ปีค.ศ. 1985 Geoffrey Rose นำ�เสนอทฤษฎี Population Strategy ให้เป็นทางออกในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน แทนการใช้ High-Risk Strategy ที่ให้บริการเฉพาะแก่กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูง
Rose เชื่อว่าทุกปรากฏการณ์ในธรรมชาติมีการกระจายเป็นรูประฆังควํ่า ในสังคมหนึ่งๆ ย่อมมีทั้งผู้ที่มีโรคมากและโรค น้อยปะปนกัน ซึ่งเป็น “ผล” ที่เกิดขึ้น “อย่างสอดคล้อง” กับ “ปัจจัยหรือสภาพทางสังคม” ที่ประชากรนั้นๆ อาศัยอยู่ High-Risk Strategy (รูปทางซ้าย) คือการมุ่งให้บริการทางการแพทย์ไปที่ผู้ที่มีโรคมาก เพื่อหวังลดโรคในกลุ่มคนนั้น ให้เขากลายเป็นผู้ที่มีโรคน้อย เปรียบเสมือนความพยายามในการ “ตัดหาง” ของระฆังควํ่า ดึงคนที่เป็นพื้นที่ส่วนหางของ ระฆังให้เข้าไปอยู่ในพื้นที่ทางซ้ายสีขาว ให้การกระจายของโรคในประชากรกลายเป็นรูประฆังกุดๆ ที่ไม่มีหางทางด้านขวา ... ซึ่งเป็นไปไม่ได้ ... ถ้า “ปัจจัยหรือสภาพทางสังคม” ที่ประชากรนั้นๆ อาศัยอยู่ยังคงเดิม ทั้งนี้เพราะ การกระจายของ โรคในประชากรเป็น “ผล” ที่เกิดขึ้น “อย่างสอดคล้อง” ของ “ปัจจัยหรือสภาพทางสังคม” ที่ประชากรนั้นๆ อาศัยอยู่ นั้นเอง ใน ไม่ชา้ คนทีอ่ ยูใ่ นระฆังด้านซ้ายก็จะไหลทะลักเข้าไปในพืน้ ทีส่ ว่ นหางทางขวาอยูด่ ี เพราะนัน่ คือการรักษาสมดุลธรรมชาติทเี่ หตุ ทางสังคมและผลของมัน (โรคในประชากร) ต้องสมดุลกัน วารสารทันตภูธร 46 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
Population Strategy (รูปทางขวา) คือการ เลื่อนทั้งระฆัง (shift the whole curve) มาทางด้านซ้าย โดยระฆังก็ยังมี หางเหมือนเดิม แต่เลื่อนเข้ามาสู่ด้านที่ปลอดภัยจากโรคมากขึ้น นั่นคือการกระจายโรคในประชากรยังคงเหมือนเดิม มีทั้ง ผู้ที่มีโรคมากน้อย แต่ระดับโรคในทุกๆ คนจะลดลง ถ้ากราฟขยับเลื่อนมาทางซ้ายได้เพียงระยะสั้นๆ ตามแกน X พื้นที่ใต้ กราฟส่วนหาง (ซึ่งเปรียบแหมือนจำ�นวนคนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง) จะลดลงอย่างมาก ... สิ่งนี้ย่อมเป็นไปได้ เพราะการกระจาย ของปรากฏการณ์ต่างๆ ยังคงเป็นไปตามกฎธรรมชาติ มีทั้งผู้ที่เป็นโรคมากและโรคน้อย แต่การเลือ่ นทัง้ ระฆังนัน้ หมายถึง การเปลีย่ น “ปัจจัยหรือสภาพทางสังคม” ทีป่ ระชากรนัน้ ๆ อาศัยอยู ่ ซงึ่ จะ “สอดคล้อง” กับ “ผล” อันใหม่ที่เกิดขึ้นหรือระฆังอันใหม่ที่ขยับมาทางซ้ายนั่นเอง ทฤษฎีของ Rose โด่งดังและสร้างความตื่นตัวให้กับนักวิชาการทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างมาก ส่งผลให้ เกิดการพัฒนาแนวคิดเรื่องต้นเหตุทางสังคม (Social Determinants) ของสุขภาพ และการผลักดันนโยบายสาธารณะทาง สุขภาพในประเทศต่างๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ------------------------------------------------------------------------------- ปีค.ศ. 2011 Vibeke Baelum ขมวดเอาความรู้เรื่อง Social Determinants และ Population Strategy มาสู่งาน ทันตกรรมได้อย่างเข้าใจง่ายและเป็นรูปธรรมมากขึ้น
Baelum ไม่ปฏิเสธงานบริการทางคลินิกและงานสุขศึกษา ที่เป็นงานในระดับปลายนํ้า เพียงแต่ “A More Balance is Needed” บริการทางการแพทย์ควรกระจายอย่างสมดุลทั้งระดับต้นนํ้า – กลางนํ้า – ปลายนํ้า งานปลายนํ้าจำ�เป็นในการ ช่วยเหลือ บรรเทาทุกข์ให้แก่ผู้ที่เดือดร้อนแล้ว แต่หากไม่มีการจัดการที่ต้นนํ้าควบคู่ไปด้วยก็ไม่สามารถที่จะพัฒนาสุขภาพ ของประชากรได้อย่างแท้จริง ...
ฉบับนี้กระตุ้นความสนใจไว้เท่านี้ก่อนค่ะ แล้วขยายความกันต่อโอกาสหน้านะคะ References: 1. Mckinlay J. A case for focusing upstream: the political economy of health. In: Jaco E; editor. Patients, physicians and illness. Basingstoke: Macmillan, 1979. p. 96-120. 2. Rose G. The strategy of preventive medicine. Oxford: Oxford University Press, 1992. 3. Baelum V. Dentistry and population approaches for preventing dental diseases. J Dent. 2011; 39 Suppl 2:S9-19. วารสารทันตภูธร 47 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
กิจกรรมการประเมินโรงเรียนเครือข่าย เด็กไทยฟันดี จังหวัดน่าน โดย ทพญ.ประภาพร คำ�หว่าง รพ.เวียงสา จ.น่าน
“เด็กชายดำ�กับเด็กชายแดงเป็นเพื่่อนกัน เด็กชายดำ�บ้านอยู่ ภาคเหนือ (ชูกระดาษขึ้น) เด็กชายแดงบ้านอยู่ภาคใต้ (พลิกหน้ากระดาษตรงข้ามกับด้านแรก)” เด็กชายดำ�เล่าว่าภาคเหนือมีภูเขาลูกใหญ่(พับครึ่งกระดาษ เป็นสามเหลีย่ ม)เด็กชายแดงบอกว่าภาคใต้กม็ ภี เู ขาลูกใหญ่เหมือน กัน(พับครึ่งกระดาษอีกด้านหนึ่ง) เด็กชายดำ�บอกว่าบ้านมีที่นาผืน ใหญ่(คลี่กระดาษออกแล้วพับครึ่งเป็นสี่เหลี่ยม)เด็กชายแดงบอก ว่าบ้านก็มีที่นาผืนใหญ่เหมือนกัน(คลี่กระดาษออกแล้วพับครึ่งเป็น สีเ่ หลีย่ มด้านตรงกันข้ามกับเมือ่ กี)้ เด็กชายดำ�บอกว่าประตูบา้ นของ เขาทำ�ด้วยไม้สัก(คลี่กระดาษออกพับสี่เหลี่ยมสองอันมาชนกันตรง กลาง) เด็กชายแดงบอกว่าประตูบา้ นของเขาทำ�ด้วยไม้ยางพารา(ทำ� เหมือนเมือ่ กีแ้ ต่คนละด้าน)ทัง้ สองคนชวนกันเข้าบ้าน(พับด้านบนลง จนได้เป็นรูปบ้าน) ” เสียงเล่านิทานประกอบการสอนพับกระดาษของครูติ๊กยังคง ชัดเจนอยู่ในใจฉัน ถ้าวันนี้ครูติ๊กได้มาเห็นคงดีใจมาก เพราะวันนี้ การพับนก พับหม้อของครูติ๊กกลายเป็นสื่อทันตสุขศึกษาที่น่าสนใจ มากเลยทีเดียว หลังจากได้รบั คำ�เชิญชวนจากคุณหมอวรางคณาให้ มาออกประเมินโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี จังหวัดน่านด้วยกัน พร้อมกับคำ�โฆษณาว่ามาดูโรงเรียนนั้น โรงเรียนนี้สิเขาทำ�ดีนะ ฉัน ก็ตกลงปลงใจเดินทางไกล เพื่อไปเยี่ยมเยียนโรงเรียนเครือข่ายเด็ก ไทยฟันดีกบั เขา การเดินทางไปประเมินโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟัน ดีของจังหวัดน่านนับว่าลำ�บากอยูม่ ิใช่น้อยเพราะแต่ละพืน้ ที่อยูไ่ กล กันมาก วันหนึ่งๆ ไปได้แค่ 1 อำ�เภอเท่านั้น บางโรงเรียนต้องจอดรถ แล้วเดินเท้าเข้าไป (เนื่องจากรถเข้าไม่ได้ เขากำ�ลังเทคอนกรีตซ่อม ประตูรว้ั เลยต้องจอดเพราะรถเข้าไม่ได้จริงๆ 555 ) จริงๆ เดีย๋ วนีน้ า่ น เจริญขึน้ เยอะแล้วนะคะ รถไปถึงทุกที่ (นึกถึงตอนเข้ามหาวิทยาลัยใหม่ๆ ที่มักมีเพื่อนถามว่าบ้านเธอมีถนนลาดยางหรือยังแล้วจี๊ด น่านแค่ ไม่มีรถไฟแค่นั้นเอง) เพียงแต่แต่ละที่ไกลกันและเป็นภูเขาซะส่วน ใหญ่ แต่นั่นแหละค่ะ ไม่ใช่อุปสรรค สนุกด้วยซํ้า ไปประเมินที่ไหน เราก็ได้ชิมของแปลกที่นั่น วารสารทันตภูธร 48 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
โรงเรียนแรกที่ฉันได้ร่วมประเมินคือโรงเรียนห้วยสะแตง เอ๊ย ไม่ใช่สิเขาเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนเพียงหลวงแล้วสิ อยู่ในอำ�เภอ ทุ่งช้างซึ่งติดกับประเทศลาว ถ้าเราเดินทางไปอีกไม่กี่กิโลก็จะเป็น เขตแดนประเทศลาวแล้ว เป็นโรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดน มี ครูเพียง 4 คน นักเรียน 56 คน แต่ผลงงานไม่เล็กเหมือนโรงเรียน นะคะคุณครูได้นำ�เอาประสบการณ์จากการอบรม “ การพัฒนาสื่อ สร้างสรรค์เพือ่ งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็ก จ.น่าน ” มาถ่ายทอด ให้กบั นักเรียนได้เป็นอย่างดี ทีน่ มี่ กี ารนำ�เอาศิลปะการทำ�ป๊อบอัพมา บูรณาการการสอนเรียกชื่อผัก ผลไม้ในภาษาอังกฤษและภาษาขมุ (เห็นไหมน่านมีหลายชนเผ่า พูดได้หลายภาษาสอดคล้องกับการเปิด เสรีการค้าอาเซียนในอีก 2 ปีขา้ งหน้า หึหึ ) นิทานพลิกได้เรือ่ งติก๊ ต่อก ฟันสวย แถมเด็กนักเรียนทีน่ แ่ี ปรงฟันหลังอาหารกลางวันกัน 100 % ซะด้วย ที่สำ�คัญเมื่อปีที่แล้วโรงเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศประกวด เกมส์ทางทันตสุขภาพ “ บันไดดาว ก้าวสู่ฟันดี ” เป็นเครื่องการันตี ว่าถึงโรงเรียนจะเล็กแต่เล็กพริกขี้หนูนะคะ ถัดมาก็ได้ไปเยี่ยมเยียน โรงเรียนชุมชนบ้านทุ่งช้างซึ่งใหญ่กว่าโรงเรียนแรกมาก โอ้โห วันนี้ เขามีกจิ กรรมวันรณรงค์ทนั ตสาธารณสุขกันซะด้วย เสียงดนตรีดงั ลัน่ พอพวกเราลงจากรถก็มพี ธิ ตี อ้ นรับด้วยการให้ชมิ นํา้ ผลไม้ การแสดง บนเวทีจากนักเรียนและแม่บ้าน อลังการจริงๆ มีซุ้มกิจกรรมทีท่ าง โรงเรียนได้ด�ำ เนินการผ่านมาและมีเด็กนักเรียนมาอธิบายด้วยนา้ํ เสียง ชัดเจน ชัดถ้อยชัดคำ� แค่วนั แรกก็จะเทใจให้ทงุ่ ช้างหมดแล้วสิ
ต่อมาเราได้ไปเยี่ยมเยียนอำ�เภอท่าวังผา ที่นี่มีอะไรใหม่ๆเยอะเลย เริ่มจากโรงเรียนบ้านนาหนุน1 ที่นี่ไม่ต้องใช้งบจาก โรงเรียนจัดซื้อแปรงฟันยาสีฟันเลย มีเครือข่ายแปรงฟันยาสีฟันจากวัดนาหนุนเนื่องจากโรงเรียนอยู่ใกล้วัด และชุมชนกับ โรงเรียนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน เมื่อซักถามถึงการจัดให้มีผลไม้เป็นอาหารว่างอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ยิ่งสบายหาย ห่วง ก็ได้จากการอุปถัมถ์จากวัดนั่นเอง ส่วนงานทันตสุขศึกษาเองก็ไม่ต่างจากอำ�เภอทุ่งช้างมีการบูรณาการเข้ากับวิชาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคม ที่เด็ดสุดเห็นจะเป็นการประชุมสัญจรของคณะกรรมการโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดีที่ ประชุมกันอย่างสมํ่าเสมอและเวียนสถานที่ในโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดีอำ�เภอท่าวังผานั่นเอง ต่อมาเราได้ไปโรงเรียนไตรราฎร์วทิ ยา ทีน่ เี่ ขามีโครงการตรวจฟันให้กบั คุณครูในโรงเรียนและตรวจฟันผูป้ กครองนักเรียน โดยหมอเบญจคนสวย นำ�อสม.ให้ความรู้สุขภาพช่องปากแก่ผู้ปกครองนักเรียนด้วย ซึ่งโครงการที่ทำ�เป็นมติจากชุมชนในการ ประชุมผูป้ กครองนักเรียน โห สุดยอด เครือข่ายอำ�เภอท่าวังผานีเ้ ขามีค�ำ ปฏิญาณตนก่อนการแปรงฟันด้วยนะจ้ะ โรงเรียนสุดท้าย ของอำ�เภอท่าวังผาแปลกที่เข้ามาทุกโรงเรียนถ้าไม่ใช่ครูอนามัยก็มักเป็นครูใหญ่ที่เป็นผู้นำ�เสนอ แต่โรงเรียนนี้ครูวิทยาศาสตร์ เป็นคนนำ�เสนอชนิดนํ้าไหลไฟดับ เท่าที่นั่งฟัง 2-3 ชั่วโมงนี่แทบไม่ได้ยินเสียงครูอนามัยเลย 555 แต่ที่นี่เขาเด่นการบูรณการ งานทันตสุขศึกษาเข้ากับโครงงานวิทยาศาสตร์ นักเรียนนำ�เสนอโครงงาน “ ยาสีฟันยุคนี้…ดีจริงหรือ ” เป็นการทดสอบแป้งใน ยาสีฟันโดยใช้ไอโอดีนกับกระดาษลิสมัส ปรากฏว่ายาสีฟันแต่ละยี่ห้อมีปริมาณแป้งต่างๆ กัน ยาสีฟันยี่ห้อดังที่มักจะโฆษณา ว่ายาสีฟันที่ทันตแพทย์ส่วนใหญ่แนะนำ�มีแป้งน้อยที่สุด โอ สงสัยต้องแนะนำ�กันต่อไป
วารสารทันตภูธร 49 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
อีกที่หนึ่งอำ�เภอนาน้อย ถิ่นเดิมของฉันเอง แอบลำ�เอียงเชียร์อยู่ในใจ ไม่ผิดหวังจริงๆ สื่อ กระดาษนาน้อยนี่ได้ใจไปเต็มๆ ทั้งโรงเรียนสันทะ โรงเรียนนาหลวง โรงเรียนบ้านสถาน สื่อกระดาษ ที่นี่เป็นนิทาน ป็อบอัพซะส่วนใหญ่ สีสันสดใสชวนมองมาก นี่ขนาดเราเป็นผู้ใหญ่นะเนี่ยยังอดไม่ ได้ที่จะเข้าไปพลิกอ่านอยู่หลายรอบเชียวค่ะ นึกถึงสุภาษิตจีนที่ว่า “ ฉันได้ยิน ฉันลืม ฉันเห็น ฉันจำ� ได้ ฉันทำ� ฉันจึงเข้าใจ ” นี่ถ้าเด็กเล็กมาได้สัมผัสสื่อชนิดนี้รับรองว่าต้องอ่านมากกว่าหนึ่งครั้งแน่ๆ ยังคิดต่อไปว่าแหมทำ�ไมไม่มีสำ�นักพิมพ์ไหนที่ผลิตนิทานแบบแปรงสีฟันขยับได้สอนเทคนิคการ แปรงฟันออกมาเลยนะรับรองเด็กๆ ชอบแปรงฟันกันใหญ่ เคยอ่านที่มาของหนังสือสามมิติเขาบอก ว่าเทคนิคป็อบอัพหรือการขยับได้ของหนังสือมีจุดประสงค์ก็เพื่อให้ผู้อ่านได้มีส่วนร่วมกับเนื้อหา ที่ถูกเขียนไว้ในหนังสือ มีจุดประสงค์ก็เพื่อให้ผู้อ่านได้มีส่วนร่วมกับเนื้อหาที่ถูกเขียนไว้ในหนังสือ และทำ�ให้ผู้อ่านสามารถจดจำ�เนื้อหาผ่านภาพและเทคนิคประกอบได้เป็นอย่างดี แอบคิดในใจว่า ถ้าไม่มีสำ�นักพิมพ์ไหนผลิต ฉันผลิตเองก็ได้ เชอะ
อำ�เภอสุดท้ายที่จะนำ�เสนอคืออำ�เภอเวียงสา อำ�เภอนี้ฉันไม่ได้ประเมินเพราะเป็น อำ�เภอของตัวเอง ถูกประเมินเป็นอำ�เภอแรกๆเลยค่ะ (ถ้าไม่เล่าคงมีคนเคืองเยอะ เหอะ เหอะ) เริ่มจากโรงเรียนบ้านไชยสถานเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนนี้บรรยากาศดีมาก ติดริมแม่นาํ้ น่านราวกับรีสอร์ทมีลมพัดเย็นทัง้ วัน เด็กนักเรียนทีน่ เี่ รียบร้อยมากแถมมีฝมี อื ดูจากผลงานแล้วคุณครูบอกว่านีแ่ บ่งกลุม่ ละสองคนให้ชว่ ยกันทำ�นะคะแบ่งเยอะกว่านีไ้ ม่ ได้เพราะห้องหนึ่งมีอยู่ 4 คนเท่านั้นเอง สิ่งที่น่าภูมิใจอีกอย่างของที่นี่คือที่เก็บแปรงสีฟัน น่ารักมากเด็กนักเรียนทำ�กันเอง แอบเคืองนิดหน่อยกรรมการทักว่าหนูเอาขวดนมเปรี้ยว มาจากไหนคะ เอิ้ก เอิ้ก ถัดมาเป็นโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 45 ที่นี่ผลงานตั้งแถวยาวราวกับ ถนนคนเดิน จัดเต็มโดนใจจริงๆ ค่ะ อู้ มีรปู ตอนเรามาอบรมผูน้ �ำ อนามัยนักเรียนล่าสุดด้วย อัพเดทเร็วจริงๆ เลย ดูเพลินกันไปเลย
วารสารทันตภูธร 50 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
สุดท้ายโรงเรียนบ้านหนองนก พอเดินเข้าไปก็ได้ยินเสียงเด็ก นักเรียนตะโกนเรียกชื่อฉัน บ้างก็ร้องเพลงที่ฉันเคยสอนตอนอบรม ผู้นำ�อนามัยโรงเรียน “ เต่า เต่า เต่า ขี้เต่าเหม็นกว่าขี้หมา ถ้าหนูไม่ อาบนํ้ามาๆ อย่ากล่าวหาว่าหนูเหม็นขี้เต่า ” รู้สึกชื่นใจจังค่ะสำ�หรับ คนย้ายมาใหม่ โรงเรียนนี้ไม่เหมือนใครบูรณาการทันตสุขศึกษา ด้วยแผนผังความคิด (mine map) เนื่องจากมีคุณครูอาสามาจาก ออสเตรเลียเข้ามาสอนภาษาอังกฤษดูอนิ เตอร์ใช่ไหมคะ มาดูผลงาน กันเลยดีกว่า
เห็นไหมล่ะว่างานโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดีปนี ี้ น่านมีดมี าโชว์อกี แล้ว ปิดท้ายการประเมินโรงเรียนเครือข่าย เด็กไทยฟันดีปีนี้ขอฝากสำ�นวนภาษาอังกฤษ “ Many hands make light work ” งานจะไม่สำ�เร็จเลยถ้าไม่ร่วมมือกัน นะคะได้ยินมาจากโรงเรียนแถวๆ นี้แหละค่ะ แม้จะอยู่ภูธรแต่ขอจบแบบอินเตอร์นะคะ
วารสารทันตภูธร 51 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
วารสารทันตภูธร จาหน่ายอุปกรณ์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้สูงอายุ ดังนี้ 1) (เฉพาะ) ด้ามจับกระชับมือ ใช้เสริมขนาดด้ามแปรงสีฟัน,ช้อน ช่วยให้คนพิการหรือผู้สูงอายุที่ มีกล้ามเนื้ออ่อนแรง หยิบจับ อุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ถนัด กระชับมือมากยิ่งขึ้น ทาให้ การแปรงฟัน มีประสิทธิภาพ รับประทานอาหารสะดวกขึ้น ด้ามจับกระชับมือ : รหัส DH60 ราคา เฉพาะด้าม อันละ 60 บาท ด้ามจับพลาสติก มีปมุ่ จับถนัดมือ สีดา 1 ด้าม ความยาวด้าม 12 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง รอบด้าม 3 ซม. , เส้นผ่าศูนย์กลางรูใส่แปรงสีฟัน 1 ซม 2) ด้ามจับกระชับมือ+แปรงสีฟัน ใช้เสริมขนาดด้ามแปรงสีฟัน ช่วยให้คนพิการหรือผู้สูงอายุทมี่ ี กล้ามเนื้ออ่อนแรง จับแปรงสีฟันได้ถนัด กระชับมือมากยิ่งขึ้น ด้ามจับกระชับมือ+แปรงสีฟัน : รหัส DH70 ราคาชุดละ 70 บาท 1 ชุดประกอบด้วย 1. ด้ามจับพลาสติก มีปุ่มจับถนัดมือ สีดา 1 ด้าม ความยาวด้าม 12 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง รอบด้าม 3 ซม. , เส้นผ่าศูนย์กลางรูใส่แปรงสีฟัน 1 ซม 2. แปรงสีฟันผู้ใหญ่ตดิ ดาว 1 ด้าม 3) Color Tube ปลอกหุ้มอเนกประสงค์ สาหรับใช้เพิ่มขนาดแปรงสีฟัน,ช้อน,ส้อม สาหรับคนพิการหรือ ผู้สูงอายุให้จับด้ามได้ถนัดกระชับมือยิ่งขึน้ Color Tube ปลอกหุ้มอเนกประสงค์ : รหัส DC 1 1คู่ ราคา 100 บาท มี 3 สี สีบานเย็น, สีเหลือง, สีเขียว ขนาดความยาวด้าม 10 ซม.,เส้นผ่าศูนย์กลางรอบด้าม 2 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลางรู 1 ซม. 4) ผ้ารัดฝ่ามืออเนกประสงค์ สาหรับคนพิการและผู้สูงอายุที่มี กล้ามเนื้อมืออ่อนแรง เป็นโรคเกาท์ข้อนิ้ว บวม เป็นนิ้วล๊อค กามือแล้วปวด ปวดมือประเภทชั่วคราวหรือกาลังอยู่ในระยะ ฟื้นฟู สามารถใช้ผ้าสายรัดฝ่ามือนี้ ในการช่วยให้จับช้อน จับแปรง จับหวี อื่นๆได้ โดยไม่ต้องกามือ คนไข้ที่ กาช้อนทีไรก็เจ็บก็จะสามารถทานอาหารได้อย่างสบาย ขึ้น สามารถแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รหัส DG1 : ผ้ารัดฝ่ามือ+ด้าม (แถมแปรง 1ด้าม) ชุดละ 100 บาท รหัส DG2 : (เฉพาะ)ผ้ารัดฝ่ามืออเนกประสงค์ ชิ้นละ 50 บาท
ชมภาพสินค้า www.tuntapootorn.com และ www.facebook.com/groups/ruraldent สอบถาม สั่งซื้อ อุปกรณ์ส่งเสริมงานทันตสุขภาพคนพิการ กับ หมออ๋อ nithimar_or@yahoo.com โทร 0834934543
การบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพคนพิการในอำ�เภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง หลายๆ ท่านทีต่ ดิ ตามผ่านวารสารทันตภูธรคงจะได้อา่ นเรือ่ งราวการทำ�งานส่งเสริมทันตสุขภาพ ในคนพิการของประเทศไทย ซึ่งได้รับการสนับสนุนหลักจากสถาบันสร้างเสริมคนพิการ (สสพ.) และ กองทุนทันตกรรมว่าด้วยคนพิการของ สปสช. การบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพคนพิการในอำ�เภอ ป่าบอน จังหวัดพัทลุง ซึง่ นำ�ทีมทันตบุคลากรโดย ทพญ.วิโรชา เพียรเจริญ (หมอปูน) เป็นสถานทีแ่ รกๆ ที่บุกเบิกการทำ�งานเชิงรุกในคนพิการอย่างจริงจัง ซึ่งเริ่มจากการเขียนของบประมาณในการทำ�งาน จาก สสพ. ในชื่อโครงการทีว่ ่า “สรรค์สร้างรอยยิ้มสู่คนพิการป่าบอน” และเริ่มทำ�งานจริงจังด้วยหัวใจ ทีเ่ ต็มเปีย่ มไปด้วยพลัง จนสามารถเป็นหนึง่ ในตัวแทนนำ�เสนอความเป็นมาของงานทันตสาธารณสุข ในคนพิการในระดับประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นการนำ�เสนอผลงานสรุปสิ่งที่เกิดขึ้นจากการทำ�งานใน คนพิการให้แก่สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ ซึง่ มีตวั แทนจากสปสช.เข้าร่วมรับฟังในเวลานัน้ การ เป็นตัวแทนระดับจังหวัดนำ�เสนอผลงานในที่ต่างๆ ทั่วราชอาณาจักร ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา สตูล สุราษฎร์ธานี กรุงเทพมหานคร อยากจะทราบกันไหมคะว่าการทำ�งานในคนพิการของ ป่่าบอนมีความเป็นมาอย่างไร เชิญอ่านต่อไปได้เลยค่ะ... คนพิการ เป็นกลุ่มที่ยังคงขาดโอกาสในการเข้าถึงการบริการทางสุขภาพ การดูแล และ ฟื้นฟูทุกด้านอย่างจริงจังทั้งจากภาครัฐและสังคม ก่อนอื่นต้องทำ�ความเข้าใจก่อนว่าการทำ�งานส่ง เสริมทันตสุขภาพสำ�หรับคนพิการนั้นต้องพร้อมเปิดใจเรียนรู้ด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์เพื่อดูแลให้ ความสำ�คัญกับคนเหล่านี้นะคะ คนพิการที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในเขตอำ�เภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง มีจำ�นวนประมาณ 600 คน ซึ่งเมื่อสำ�รวจตามความเป็นจริงแล้วมีมากกว่านี้อีกมาก ในการดูแล สุขภาพคนพิการแบบองค์รวมนั้นจึงจำ�เป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนและการทำ�งาน เป็นทีมสหวิชาชีพ ฝ่ายทันตกรรม โรงพยาบาลป่าบอนเริม่ รณรงค์ดแู ลคนพิการอย่างเป็นรูปธรรมเมือ่ ปี พ.ศ. 2552 โดยเริ่มจากการทำ�งานเป็นทีมสหวิชาชีพของโรงพยาบาลในการออกเยี่ยมบ้าน ประกอบไปด้วย นักกายภาพบำ�บัด ฟื้นฟูร่างกาย พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร และทันตบุคลากร จากนั้นในปีต่อมาจึง ทำ�การออกเยี่ยมบ้านแบบ Home health care โดยออกร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านและ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขในรพ.สต. ตรวจและให้ค�ำ แนะนำ�ดูแลทันตสุขภาพแก่คนพิการทัง้ อำ�เภอป่าบอน ในปีทผ่ี า่ นมาขณะทีท่ างป่าบอนกำ�ลังทำ�งานเพือ่ คนพิการอย่างเข้มข้นนัน้ งานวิจยั สารนิพนธ์ของผูเ้ ขียนขณะศึกษาทีม่ หิดล ทีท่ �ำ วิจยั ในสถาบัน การศึกษาสอนร่วมระหว่างเด็กนักเรียนทีเ่ ป็นเด็กพิการและเด็กปกติ ผลการศึกษายังคงยืนยันว่าเด็กทีม่ คี วามพิการเป็นกลุม่ ทีม่ ปี ญ ั หาทางสุขภาพและ ปัญหาสภาวะโรคฟันผุมากกว่าและรุนแรงกว่าเด็กปกติ ซึง่ จำ�เป็นต้องให้การดูแลในกลุม่ นีอ้ ย่างใกล้ชดิ ดังนัน้ การให้การบริการส่งเสริม ป้องกัน และ รักษาเชิงรุกจึงเหมาะสมกับการดูแลในกลุม่ คนพิการ การทำ�งานในช่วงนัน้ ของป่าบอนจึงเน้นพัฒนาศักยภาพของผูด้ แู ลคนพิการ และ อาสาสมัคร สาธารณสุขหมูบ่ า้ น (อสม.) เพือ่ ดูแลคนพิการในครอบครัว และ ชุมชนของตนเองได้และทำ�ให้เกิดความยัง่ ยืนของการทำ�งานเพือ่ คนพิการในชุมชน การวางแผนสำ�หรับปีนจ้ี งึ เป็นการขยายภาคีเครือข่ายการทำ�งานแบบสหวิชาชีพโดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เข้ามามีสว่ นร่วม ซึง่ รพ.สต.หนองธง จะเป็นตำ�บลต้นแบบนำ�ร่องการส่งเสริมทันตสุขภาพร่วมกันกับองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองธง ซึง่ จะรณรงค์ดแู ลเป็นพิเศษสำ�หรับคนพิการที่ ติดเตียงเคลือ่ นไหวร่างกายไม่ได้ และเพิม่ ช่องทางด่วนในการทำ�งานให้การรักษาแบบเชิงรุก ขยายการทำ�งานลงสู่ รพ.สต.
วารสารทันตภูธร 53 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
การทีค่ ณะทำ�งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในอำ�เภอป่าบอนยังคงยืนหยัดในการ ทำ�งานเพื่อคนพิการเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ในที่สุดการทำ�งานอย่างทุ่มเทนี้ทำ�ให้เข้า ตากรรมการ ซึ่งได้แก่ สปสช. จึงได้รับโอกาสอันดียิ่งในการได้รับการถ่ายทำ�สกู๊ปสั้น ในการทำ�งานสำ�หรับคนพิการ โดยนำ�เสนอผ่านรายการของ สปสช ออกอากาศทาง ช่อง 7 สี เมื่อวันเสาร์ที่ 10 และ วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา งานนี้ส่งเสริมให้เกิดการประชาสัมพันธ์การทำ�งานเพื่อคนพิการและสร้างกำ�ลังใจให้ แก่คณะทำ�งานรวมถึงคนพิการในพื้นที่ การถ่ายทำ�ครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ณ จุดนัดพบคือ รพ.สต.หนองธง ซึ่งได้ถ่ายทำ�ตั้งแต่คนพิการเริ่มเข้ามาใน รพ.สต. เจ้าหน้าทีร่ พ.สต. ให้การต้อนรับและซักประวัติ ตรวจและให้ค�ำ แนะนำ�ในการ ดูแลสุขภาพช่องปาก สาธิตการทำ�ความสะอาดสุขภาพช่องปากที่มีประสิทธิภาพซึ่ง ปรับตามอัตภาพของความพิการ จากนัน้ สัมภาษณ์ตวั แทนคณะทำ�งานหลักของอำ�เภอ ป่าบอนในการทำ�งานส่งเสริมสุขภาพแก่คนพิการ ตัวแทนของคนในชุมชน ได้แก่นายก องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองธง ผู้อำ�นวยการประจำ�รพ.สต.หนองธง ผู้อำ�นวยการ โรงพยาบาลป่าบอน และ คณะทำ�งานดูแลสุขภาพช่องปากของโรงพยาบาลป่าบอน นอกจากการให้บริการการรักษาแล้ว ยังมีการทำ�งานเชิงรุกด้วยการออกเยี่ยมบ้าน คนพิการ ซงึ่ เป็นสิง่ ดึงดูดให้ทางทีมนักข่าวขอเก็บภาพและถ่ายทำ�รายการทีน่ นั่ ด้วย ซึง่ การลงพื้นที่จริง ถ่ายทำ�สภาพความเป็นอยู่จริงของคนพิการในพื้นที่ การดูแลสุขภาพ คนพิการแบบองค์รวมจากใจถึงใจด้วยคนในชุมชนเอง ทำ�ให้สร้างความประทับใจทัง้ ผู้ที่มาเยือนและคนพิการในพื้นที่ จบงานครั้งนี้ด้วยการร้องเพลงอย่างมีความสุขของ คนพิการ และการถ่ายภาพร่วมกันไม่ว่าจะเป็น พี่ๆทีมนักข่าว สปสช. เจ้าหน้าที่จาก อบต. จากรพ.สต. อสม. คนพิการพร้อมผู้ดูแล และทันตบุคลากร
ทั้งนี้คณะทำ�งานเล็งเห็นว่าการประชาสัมพันธ์ให้เกิดกระเเสรณรงค์ดูแลคนพิการอย่างเต็มตัวและจริงจังเพิ่มมากขึ้น และการขยาย เครือข่ายองค์กรต่างๆ ในท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทดูแล ให้ความสนใจในคนพิการนั้น จะทำ�ให้งานทันตสาธารณสุขแก่คนพิการในพื้นที่ ประสบผลสำ�เร็จได้เป็นอย่างดี และสอดคล้องตามหลัก Ottawa Charter ในการทำ�งานส่งเสริมทันตสุขภาพที่เรารู้จักกันดีอีกด้วย เป็นอย่างไรบ้างคะ การทำ�งานทันตสาธารณสุขเพื่อคนพิการนั้นไม่ได้ยากอย่างทิ่คิดใช่ไหมคะ ขอขอบคุณวารสารทันตภูธรทีเ่ ปิดโอกาสให้เราทุกคนร่วมสร้างความสุขและแรงบันดาลใจในการทำ�งาน เพื่อคนพิการนะคะ.... (^-^) “แม้ว่าการทำ�งานเพื่อคนพิการ อาจสื่อไม่ได้ผ่านทางสายตาเสมอไป แต่สามารถรับรู้ด้วยใจทั้งผู้ ให้และผู้รับ”... หมอชูชูเมือง’ลุง (เผื่อว่าคำ�คมจะบาดใจแข่งกับ หนุ่มเมืองจันทน์ ได้ คริๆ) ผู้เขียน : ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ (หมอชูชู) รพ.ป่าบอน จ.พัทลุง วารสารทันตภูธร 54 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
โดย ทพ.อรรถวัชร์ สนธิชัย รพช.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย
์ถาม... อรรควั ช ร
มณฑลิกานต์ตอบ
คํ่าคืนวันที่ 1 มกราคม อาจไม่พิเศษเท่าคืนข้ามปี ไม่มีใครสวดมนต์ จุดพลุ นับถอยหลังเข้าปีใหม่ รถราบนท้องถนนกลับขวักไขว่ไม่น้อย หลายคนต้องเตรียมตัวทำ�งานในวันรุ่งขึ้น ผมและภรรยาก็เช่นกัน เท้าผมเหยียบคันเร่ง มือจับพวงมาลัย ตามองแสงไฟสาดใส่ถนนอย่างตั้งใจ แต่เจ้าความง่วงที่ทับถมจากการตื่นแต่เช้าเพื่อใส่บาตรทำ�ให้หนังตาบนหนักขึ้น ผมหันชวนภรรยาที่กำ�ลังลูบท้องอย่างนิ่มนวลพูดคุย “ ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไรบ้าง” ผมโยนคำ�ถามเข้าสู่ความว่างระหว่างเรา “ ปีที่ผ่านมาเหรอ...” เธอทวนคำ�แล้วนิ่งไป ปล่อยให้เสียงดนตรีเบาๆ ขับกล่อม ผมฮัมเพลงให้เวลาเธอตกผลึกความคิด “ จริงๆ ปีที่ผ่านมาเป็นปีชงของเค้านะ ตอนต้นปีไปแก้ชงมาด้วย ” “ ปีชงก็แสดงว่าไม่ดีสิ ” “ ไม่ใช่ ปีชงแปลว่าดวงแรง อาจจะแรงดีหรือแรงไม่ดีก็ได้ แต่ของเค้าเป็นแรงดีนะ ที่ดีที่สุดก็คือกำ�ลังจะมีลูก ” เธอลูบท้องโต 5 เดือนที่มี เจ้าตัวน้อยอย่างแผ่วเบา แม้ในรถถูกถมด้วยความมืดแต่ผมรู้ว่าแววตาเธอเป็นประกายสดใส “ นั่นคือเรื่องครอบครัว ส่วนเรื่องการงานอย่างแรกก็คือได้ชำ�นาญการพิเศษแล้วก็ได้รางวัลข้าราชการไทยหัวใจสีขาวนี่แหละ ” โครงการข้าราชการไทยหัวใจสีขาว โดย ป.ป.ท (สำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ) มอบรางวัลข้าราชการต้นแบบ โครงการ ข้าราชการไทย หัวใจสีขาว ให้กับข้าราชการที่ผ่านการคัดเลือกจากทั่วประเทศว่าเป็นข้าราชการที่ทำ�งานเสียสละเพื่อส่วนรวม ตั้งมั่น ในงานที่ทำ�และยึดหลักวิถีพอเพียง จำ�นวน 22 คน “ แล้วคิดว่าทำ�ไมคุณถึงได้รางวัลนี้หละ ” “ โดยส่วนตัวเชื่อว่ามีทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนหลายที่ทำ�งานด้านส่งเสริมที่โดดเด่น แค่นับในเฉพาะเชียงรายก็มีพี่เก่งๆ มากมาย แต่ขึ้นอยู่กับจังหวะที่ทางทีมงานเค้าก็ค้นหาข้อมูลของข้าราชการต่างๆ ก็มาเจอผลงานเรื่องความรู้พื้นฐานงานทันตสุขภาพคนพิการที่เราทำ� (download ได้ที่ http://www.slideshare.net/ruralmax/ss-6144763?from=embed) แล้วช่วงนั้นมีการบรรยายและได้ลงหนังสือพิมพ์อีก ทาง ทีมงานเลยติดต่อขอมาถ่ายทำ�เพราะในความรูส้ กึ ของประชาชนทัว่ ไปคงเข้าใจว่าหมอฟันก็คอื ทำ�ฟันอยูแ่ ต่ในคลินคิ อยูใ่ นเมือง แต่งานทีเ่ ราทำ� คือทำ�ในกลุ่มที่ทำ�ยากคือกลุ่มผู้พิการแถมยังออกไปเยี่ยมบ้านซึ่งคงแปลกในสายตาคนข้างนอก ” วารสารทันตภูธร 55 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
“ รู้สึกอย่างไรบ้างที่ได้รางวัล ” “ อันที่จริงเป็น 1 ใน 500 คน ที่เค้าถ่ายทำ�รายการ ซึ่งแค่นั้นก็ ดีใจแล้วทีเ่ ค้ามาเห็นสิง่ เล็กๆ ทีเ่ ราทำ� แต่พอมาได้เป็น 1 ใน 22 คนทีไ่ ด้ รางวัลอีกก็ดีใจมาก โดยเฉพาะทำ�ให้ครอบครัว คนรอบข้างรู้สึกภูมิใจ ในตัวเราก็ทำ�ให้ยิ่งมีความสุข ” “ ตอนที่เค้ามาถ่ายทำ�รายการทีวีตื่นเต้นมั๊ย รู้สึกอะไรบ้าง ไม่ได้ ไปเข้ากล้องด้วยอ่ะ ” “ รูส้ กึ ขัดเขินนะ คือมีกล้องถ่ายตลอดเวลา เลยรูส้ กึ ว่าพูดหรือทำ� อะไรแบบไม่ค่อยถูก ” “ แล้วตอนออกทีวีหละ กลัวไม่สวยมั๊ย หรือดูตรงไหนเป็นพิเศษ ” “ ไม่นะ กลัวเรื่องคำ�พูดที่ออกมากกว่า เพราะพูดไปเยอะไม่รู้ว่าเค้าจะตัดต่อออกมาอย่างไร ตอนสัมภาษณ์ก็พยายามบอกกับเค้าว่าที่ทำ� ได้เนีย่ เป็นเพราะทีมงานทัง้ หมด ผูบ้ ริหารสนับสนุน อีกถึง สสพ.(สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ) ทีใ่ ห้ทนุ สนับสนุนในการดำ�เนินโครงการนะ ถึงได้มีวันนี้ แต่ก็เข้าใจจุดประสงค์ของรายการนะว่าต้องการหาข้าราชการต้นแบบ เลยออกมาเป็นในส่วนบุคคลมากกว่า ” “ แล้วคิดว่าในทุกโรงพยาบาลควรจะหันมาทำ�ผู้พิการกันไหม” “ โดยส่วนตัวคิดว่าก็แล้วแต่พื้นที่นะ ถึงอย่างไรกลุ่มเป้าหมายเช่น เด็กในศูนย์เด็ก เล็ก เด็กประถม ก็ยงั เป็นเป้าหมายสำ�คัญทีเ่ ราจะต้องดูแล ส่วนในกลุม่ ผูพ้ กิ ารถ้ามีโอกาสก็ ไม่ควรลืมว่ามีพวกเค้าอยูใ่ นสังคม เอาเป็นว่าแล้วแต่ปญ ั หาและศักยภาพในแต่ละพืน้ ที่ ยิง่ เรือ่ งศักยภาพอย่างเราก็ได้ไปอบรมกับสถาบันราชานุกลู ซึง่ ก็ดมี ากเลยในการนำ�มาปรับใช้ กับการรักษาผู้พิการ ” “ สรุปว่าปี 2555 ดีมากเลยใช่มั๊ย ทั้งมีลูกและการงานเจริญรุ่งเรือง ” “ ช่าย ก็ถอื ว่าเป็นปีทองของเค้าเลย เป็นปีทจ่ี ะจดจำ�ตลอดไป ” “ แล้วไม่เห็นพูดถึงการมีสามีเลย ว่าดีไหม ก็แต่งงานปีนี้เหมือนกันนี่ ” “ โอย อันนี้ตอบยากแหะ ” เธอพูดทีเล่นทีจริง ส่วนมากจะค่อนไปทางจริงนะ เหมือนเธอนึกอะไรรีบหยิบโทรศัพท์ขน้ึ มาค้นหาข้อมูลบางอย่าง “ นีค่ ณ ุ ปีนค้ี ณ ุ เป็นปีชงนะ ถ้าไม่ไปแก้มเี กณฑ์จะแตกแยกนะ ระวังให้ดี ” ปีนผ้ี มอาจจะดวงแรงดีบา้ งก็ได้ ผมคิดพลางเอือ้ มมือไปลูบท้องภรรยา
วารสารทันตภูธร 56 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
สรุปผลการผลักดันเรื่องความก้าวหน้าของทันตาภิบาล (3-22 ธันวาคม 2555) เพิ่มเติมถึงวันที่ 16 มค. 2556 วันที่
กิจกรรม
รายละเอียด/ประเด็น/ข้อเสนอ
เสนอข้อมูล /ข้อมูลที่ได้ (เพิ่มเติม)
หมายเหตุ
ธค. 3
ติดตาม เรื่อง การขอกำ�หนด ตําแหน่ง นวก. ทันตสาธารณสุข
ก.พ. ไม่อนุมัติตําแหน่ง นวก.ทันต สาธารณสุขและเงื่อนไขอื่นๆ
กระทรวงแจ้งจังหวัดพร้อมหนังสือ ก.พ. (ติดตามตั้งแต่วันที่ 30 พย.ทั้งที่ ที่ นร.๑๐๐๘.๓.๓/๕๓๓ ลงวันที่ ๖ สป.และกพ.) พฤศจิกายน ๒๕๕๕ หนังสือกระทรวงที่ สธ. ๐๒๐๑.๐๓๒/ ว ๘๓๒ ลงวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๕
4
ประชุม กรรมการสมาคม
แจ้งเรื่องก.พ. ไม่อนุมัติตําแหน่ง นวก.ทันตสาธารณสุขฯ
ตีความรายละเอียดในหนังสือทั้งสองฉบับ ประสาน อาจารย์วสส. พร้อมทัง้ วางแผนการทาํ งาน หาช่องทางและ นศ.สบ.1และทีมงาน วางตัวผู้ขับเคลื่อน
5-11
ส่งข่าวสาร
Post,mail,fb โทร และสื่อสารทุกช่องทาง รวบรวมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะดีๆ และ อาจารย์ วสส. นศ.สบ.1 และ พร้อมทั้งแนบหนังสือทั้งสองฉบับให้ทุกคน ประสานผูเ้ ชีย่ วชาญในการขับเคลือ่ น วางตัว ทีมงาน รับรู้ ผู้ทําเอกสารฉบับผู้บริหารประจํา/การเมือง
12
ข อ คํ า แ น ะ นํ า จ า ก ข้ อ แนะนํ า ดํ า เนิ น การทบทวนคํ า ตอบไป ท่านผู้หญิง ตามขั้นตอน ข้อคิดว่าควรทําแผนระยะยาว เพื่อว่าในอนาคตไม่ต้องเป็นอย่างทุกวันนี้ และอนุญาตให้ใช้แผนผู้สูงอายุรองรับแผน ระยะยาวได้
แผนระยะยาว - วิเคราะห์สถานการณ์และทบทวนงานที่ เหมาะสมกับ ทภ. รวมทั้งแผนงานที่มีรองรับ ในอนาคต - กําหนดบทบาท/มาตรฐานงาน ที่ควรปฏิบัติ - กาํ หนดคุณสมบัติ ทภ.ผูป้ ฏิบตั งิ าน - ความก้าวหน้า/ตาํ แหน่งทีเ่ หมาะสม ในการปฏิบัติงาน
15
ประชุมตัวแทน/ แกนนํา ทภ. ที่ วสส.ขก.
จัดเป็นกิจกรรมสําคัญในโครงการสัญจร มอบหมายให้สมาคมทันตาฯ ในแผนของสมาคม ยกร่าง คณะทํางาน 2 ชุด ตั้งคณะทํางานกําหนดบทบาทชัดเจนใน ให้นายกสมาคม ลงนาม การผลักดันเรื่องความก้าวหน้า จัดสรรและจัดหางบประมาณในการ ดําเนินงานจากสมาคมฯ ระดมทุน (ลงขัน, รับบริจาค,ขอการสนับสนุน ฯลฯ) และจัดตั้ง กองทุนพัฒนาทันตาภิบาล กิจกรรมหลัก - แผนระยะสั้น - ทบทวนคําตอบของ กพ. - ยืนยัน ตําแหน่ง จพ.ทันตฯ อาวุโส - ลูกจ้างได้บรรจุเป็น ขรก. - แผนระยะยาวจะดาํ เนินการตามข้อแนะนาํ
แกนนาํ จานวน 26 คน ประชุมร่วมกันที่ วสส. ขก. ได้ข้อสรุปที่ต้องรีบดําเนินการดังนี้ 1. ขอพบผู้บริหารกระทรวง 2. ตั้งคณะทางาน 2 ชุด ผลักดันเรื่อง นวก.ทันตฯและทันตาอาวุโส 3. ตั้งเครือข่ายแต่ละจังหวัด 4. ระดมทุน 5. สร้างพันธมิตรภายใน/ภายนอก 6. จัดทํา/จัดเตรียมข้อมูลเรื่องมาตรฐาน กําหนดตําแหน่งโดยมี ก.พ.และบุคลากร กอง จ.สป.ร่วมดําเนินการ
ได้ข้อคิดที่ดีคือ ก่อนจะยื่นหนังสือ ให้ ก.พ.ควรมี ก ารนํ า เสนอและ สรุปย่อให้เขาฟังก่อนเพื่อดูท่าที และให้ ก.พ.เข้าใจให้มากที่สุด
วารสารทันตภูธร 57 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
วันที่
กิจกรรม
17
เข้าพบ รองปลัดกระทรวง (นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา)
19
เสนอข้อมูล /ข้อมูลที่ได้ (เพิ่มเติม)
หมายเหตุ
ประเด็นที่ขอความคิดเห็น 1.ทบทวนตําแหน่ง นวก. 2.จพ.ทันตฯ อาวุโส 3.การบรรจุลูกจ้างเป็นข้าราชการ
1.ทบทวนแล้ ว ขอเป็ น นวก.สธ.(ทั น ต สาธารณสุ ข ) จะได้ ไ ม่ ขั ด กั บ ระเบี ย บของ ก.พ.และขอให้ทําเรื่องไปที่ฝ่ายบุคคล ในส่ ว นนี้ ไ ด้ เ ตรี ย มการรองรั บ ผู้ ที่ มี ค วาม ประสงค์ จ ะเปลี่ ย นตํ า แหน่ ง ตามระเบี ย บ ก.พ.ไว้จึงขอให้ผู้มีความประสงค์และมีผล สอบภาค ก ข ค แจ้งเข้าไปที่ กอง จ.สป. 2.จพ.ทันตฯ อาวุโสจะต้องทาเป็นเฉพาะตัว โดยทาปริมาณงานและประเมินค่างานส่ง ที่ ผอ.กอง จ. 3.ลู ก จ้ า งจะบรรจุ เ ป็ น ข้ า ราชการและ พนักงานกระทรวงซึ่งมีตําแหน่ง จพ.ทันตฯ รวมอยู่แล้วซึ่งในวันที่ 21 นี้รองปลัดจะเล่า ให้ฟังในการประชุม
- ท่านรองปลัดขอให้เชื่อมั่นใน ผู้บริหารชุดนี้ - ขอให้ปรึกษา ผอ.ภาวนา - หมอสุณี จะเมลล์ให้จังหวัดส่ง รายชือ่ มาทีห่ มอ+พีโ่ ขงเพือ่ ดาํ เนิน การต่อไป
เข้าพบ รมช. (นายแพทย์ชลน่าน)
ข้อเสนอต่อ รมช. 1.ขอกาหนดตาแหน่ ง นั ก วิ ช าการทั น ต สาธารณสุข 2.ขอปรั บ ตาแหน่ ง เจ้ า พนั ก งานทั น ต สาธารณสุขถึงระดับอาวุโส 3.ขอให้บรรจุลูกจ้างเป็นข้าราชการ
1.ให้ ท บทวนใหม่ ข อเป็ น นวก.สธ.(ทั น ต สาธารณสุข) และปฏิบตั ติ ามระเบียบ ก.พ.คือ การลดเงินเดือน กรณีทล่ี ดมากๆ ต้องมีมติให้มี การเยียวยาให้อยูไ่ ด้ ดังนัน้ ต้องขอรายละเอียด เรือ่ งคนทีเ่ งินเดือนสูงจะพิจารณาเป็นรายๆไป ขณะนี้ มีปัญหากี่คนจบ ป.ตรีแล้วกี่คนอยู่ ทีไ่ หนบ้างถ้าได้ขอ้ มูลเร็วก็จะเป็นผลดี 2.การปรั บ ตํ า แหน่ ง เจ้ า พนั ก งานทั น ต สาธารณสุขถึงระดับอาวุโส ให้ดาเนินการ ตามที่รองปลัดแนะนําโดยด่วน 3.การบรรจุลูกจ้างจะประชุมวันที่ 21 นี้ ใน รายละเอียดจะมีประมาณ 1,900 ตําแหน่ง ที่ ข อไว้ เ พื่ อ รองรั บ ผู้ ที่ มี จะปรั บ งานจาก จพ.เป็น นวก. ข้อแนะนําเพิ่มเติม -การปรับโครงสร้างสายงาน ใน รพศ./รพท./ primary care/รพช.ทีส่ าคัญและศูนย์สขุ ภาพ ต้องเห็นงานทีเ่ กิดขึน้ และเป็นงานเฉพาะทาง
รองปลัดกระทรวง (นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา) เข้าร่วมรับฟังและให้ข้อเสนอแนะ - จํ า นวนผู้ จ บ ปริ ญ ญาตรี ด้ า น สาธารณสุข และด้านอื่นๆ ตามที่ กพ.กําหนด มีจานวน 2,663 คน (ข้อมูลสมาคมฯ ปี 54) - จํ า นวนผู้ ที่ มี เ งิ น เดื อ นเต็ ม ขั้ น /ปฏิ บั ติ ง านมากกว่ า 20 ปี และมี จํ า นวน 783 คน (ข้ อ มู ล สมาคมฯ ปี 54) - จาํ นวนลูกจ้างทีป่ ฏิบตั งิ านตัง้ แต่ ปี 49-ปัจจุบัน และยังไม่ได้บรรจุ มีจํานวน 1,777 คน
20
ไป - ก.ศธ. - ก.พ.
-ไป ก.ศธ. เพื่อขอพบ รมต.พงศ์เทพ แต่ยัง ไม่กลับจากต่างจังหวัด เลขาจะโทรนัดใน ช่วงต่อไป -ไป ก.พ.ขอพบผูรับผิดชอบเรื่องตําแหน่ง การทําเรื่องเกื้อกูล และวิธีการเข้าสู่ตําแหน่ง
ข้อมูลที่ได้จาก ก.พ. 1. กรณีท่ี ก.พ.ไม่อนุมตั ิ นวก.ทันตฯ นัน้ เนือ่ งจาก สามารถใช้ตาํ แหน่ง นวก.สธ.ได้และมีโอกาส ก้าวหน้าไปได้ไกลกว่า ทีส่ าคัญคือ ระเบียบไม่ให้เปิดตาํ แหน่งใหม่ 2. การปรับเป็น นวก.ต้องเข้าตามระเบียบ ก.พ. คือ การลดเงินเดือน เพราะเป็น พ.ร.บ.ทีต่ อ้ งถือปฏิบตั ิ 3.งานสามารถเกื้อ กู ล กั น ได้ ข อให้ ศึก ษา รายละเอี ย ดและขั้น ตอนและคุ ณ สมบั ติท่ี ต้องมี แต่ตอ้ งดูดว้ ยว่าจะคุม้ ค่าหรือไม่
ข้อแนะนํา ผู้ ท่ี มี เ งิ น เดื อ นสู ง มากๆ ต้ อ ง ตัดสินใจให้แน่ เพราะถ้าปรับเป็น นวก.แล้ ว จะลงไปที่ ป ฏิ บั ติ ก าร ขัน้ สูงสุดรับเงินเพียง 24,000 บาท ถ้ า คนที่ เ งิ น เดื อ นน้ อ ยก็ จ ะเป็ น ผลดีกว่า
21
ติดตามเรื่องการบรรจุ ร่ ว มประชุ ม คณะทํ า งานจั ด ทํ า กรอบอั ตรา - จพ.ทันตฯ อยูใ่ น 25 สายงานและได้รบั การ จพ.ทันตฯ1,703 คน (ปี49-55) ลูกจ้าง กำ�ลังเพื่อบรรจุแต่งตั้งลูกจ้างชั่วคราวสาย บรรจุเป็นข้าราชการจานวน 408 คน จากผูท้ ่ี วิชาชีพของ สป. ทาํ งานปี 49-51 ทัง้ หมด - ต้องเป็น จพ.ทันตฯ สังกัด สป.เท่านัน้ - ผูท้ บ่ี รรจุเป็น พกส.จะได้บรรจุเป็น ขรก.เมือ่ มี ตําแหน่งซึ่งจะได้มาจากผู้เกษียณ และส่วน ต่างทีเ่ กิดขึน้ จากการจัดสรร หรือขอเพิม่ ใหม่ได้
วารสารทันตภูธร 58 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
รายละเอียด/ประเด็น/ข้อเสนอ
วันที่ 22
กิจกรรม
รายละเอียด/ประเด็น/ข้อเสนอ
เสนอข้อมูล /ข้อมูลที่ได้ (เพิ่มเติม)
หมายเหตุ
รวบรวมรายชือ่ ผูม้ ผี ล แยกรายชื่อเป็น 2 ชุด สอบส่งกอง จ.สป. ชุดที่ 1 ผู้มผี ลสอบ ภาค ก ข ค ชุดที่ 2 ผู้จบ สบ.รุ่น1(ม.บูรพา)
ชุดที่ 1 ผู้มีผลสอบ ภาค ก ข ค มีจํานวน จะนําส่งรายชื่อชุดแรกในวันจันทร์ 121 คน ที่ 24 ธค.55 ชุดที่ 2 ผู้จบ สบ.รุ่น1 (ม.บูรพา) 51 คน
ตรวจสอบรายชื่ อ ผู้ มี ปรับปรุงรายชื่อใหม่ ผลสอบ
รายชื่อผู้มีผลสอบ ภาค ก ข ค มีจํานวน มีผู้ส่งรายชื่อเข้ามาเพิ่มเติม 171 คน
28
ทําหนังสือเสนอ ปลัดกระทรวง
ทบทวนหนังสือ ก.พ.เรื่องการกําหนด ตําแหน่ง
ขอกาํ หนดเป็นนักวิชาการสาธารณสุข แนบรายชื่อผู้จบ สบ.รุ่น1 (ทันตสาธารณสุข) และขอให้มีมาตรการใน การดูแล/เยียวยาผูจ้ บ สบ.รุน่ 1 ทีเ่ งินเดือนสูง กว่าขั้นสูงสุดของระดับปฏิบัติการ (24,450) โดยไม่ตอ้ งลดเงินเดือน
29-31
ส่งเอกสารถึง ผู้เกี่ยวข้องเพื่อ ตรวจสอบ
สรุปผลและเอกสารหนังสือและรายชื่อส่งให้ ตรวจสอบ ทบทวนและขอให้กรอกข้อมูล ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบ ตามแบบทีก่ าํ หนด ให้ครบถ้วน
มค. 1-4
ประสานทีมงาน
เตรียมข้อมูลเสนอรมต. สานักนายก
เตรียมข้อมูลรายละเอียด วางขัน้ ตอน กาํ หนด ตัวผู้เสนอพร้อมทั้งหนังสือ/บันทึก/ข้อตกลง ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน และสําเนาพร้อม แจกจ่ายเพือ่ สร้างความเข้าใจเพิม่ ขึน้
8
พบที่ปรึกษา รมต.สํานักนายก
เสนอข้อมูลทั้งหมดตั้งแต่เริ่มผลิต ทภ. จนถึงปัจจุบัน
เสนอข้อมูลทั้งหมดตั้งแต่เริ่มผลิต ทภ.จนถึง ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ปัจจุบัน ทีมงานของทีป่ รึกษา ผูแ้ ทน สป.สธ. ผู้แทน ก.พ. และทีมสมาคมฯ รวม 17 คน
9-14
ทบทวนบทบาท ทันตาภิบาล
บทบาททั น ตาภิ บ าลทุ ก ชุ ด /ฉบั บ ที่ แ ต่ ล ะ ยกร่ า งบทบาททั น ตาภิ บ าลจากข้ อ มู ล ที่ ที ม งานวิ เ คราะห์ แ ละเรี ย บเรี ย ง หน่วยงาน/เครือข่ายนําเสนอ/กําหนด/คาด มี ทั้ง หมดเรี ย บเรี ย งและส่ งให้ ผู้ เ ชี ย วชาญ จากข้ อ มู ล บทบาทฯ ที่ มี ทั้ ง หมด หวังจะให้เป็น พิ จ ารณาความเหมาะสมและเป็ น ไปได้ จํานวน 8 ชุด เพือ่ นาํ ไปใช้ในการประเมินค่างาน จพ.ทันตฯ อาวุโส
15
ยกร่างประเมินค่างาน ร่างประเมินค่างาน จพ.ทันตฯอาวุโส โดย ใช้ข้อมูลที่วิเคราะห์ขึ้นใหม่จากทีมงานเป็น ต้ อ งการให้ ตํ า แหน่ ง จพ.ทั น ตฯ จพ.ทันตฯอาวุโส ใช้แบบประเมินของ ก.พ.และตัวอย่างของ ฐานในการคิดทําประเมินค่างาน อาวุโส เป็นหนึ่งในมาตรการ นายกสมาคม การดูแล/เยียวยา กลุ่ม สบ.รุ่นที่1
16
ส่งให้ผู้เกี่ยวข้อง ตรวจสอบ
23-25
ร่างประเมินค่างาน จพ.ทันตฯอาวุโส
ส่งให้ผู้เกี่ยวข้องเน้นกลุ่ม สบ.รุ่นที่ 1
ขอให้ส่งกลับภายใน 10 วัน
โปรดติดตามความคืบหน้าประเด็น ทันตาภิบาลได้ที่ www.facebook.com/groups/ruraldent
วารสารทันตภูธร 59 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
*** ผลกำไรที่ได้ จำกกำรจำหน่ ำยสินค้ ำของ บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จำกัด นำมำเป็ นงบประมำณในกำรจัดพิมพ์ และจัดส่ ง วำรสำรทันตภูธร เมื่อท่ ำนสนับสนุนสินค้ ำ เท่ ำกับท่ ำนช่ วยให้ ทันตบุคลำกรได้ อ่ำน วำรสำรทันตภูธร ร่ วมกันพัฒนำงำนทันตสำธำรณสุข พร้ อมกันทั่วไทย ไชโย
เยี่ยมมารดาหลั งคลอดบุ ร การท าความสะอาดช่ องปากเด็ กทารกด้ งนิา้วงอย่าง ชุดเยีชุ่ยดมมารดาหลั งคลอดบุ ตร ตการท าความสะอาดช่ องปากเด็ กทารกด้ วยถุงวนิยถุ ้วอย่
อ่อนโยน ช่วยลดเชื ้อโรคและสร้ างความคุ ้นเคยในการรั กษาความสะอาดช่ องปากของทารกน้ อ่อนโยน ช่วยลดเชื ้อโรคและสร้ างความคุ ้นเคยในการรั กษาความสะอาดช่ องปากของทารกน้ อย อย
ดูภาพสิ ค้า Online ที่ www.tuntapootorn.com ดูภาพสิ นค้านสัค้่งาซืสั้อ่งสิซืน้อค้สิานOnline ได้ทได้ ี่ www.tuntapootorn.com
ตภูธรและเพื ้ำกับภำครั ำดับกำรลงทะเบี ยน M-2555-032398 บริษัทบริทัษนัทตภูทัธนรและเพื ่อน จ่อำกันดจำกั เป็นดผูเป็ ้ค้ำนกัผูบ้คภำครั ฐ ลำดัฐบลกำรลงทะเบี ยน M-2555-032398
www.tuntapootorn.com
Update ข่าวใหม่ๆ สื่อสารฉบับไว ในประเด็นร้อนๆ กระทู้เด็ดๆกับทันตภูธรทั่วประเทศไทยในเฟสบุค...เด้อจ้า https://www.facebook.com/groups/ruraldent
กรองใจท้ายเล่ม
สวัสดีค่ะทุกท่าน ฉบับนี้เป็นฉบับต้อนรับปีงบประมาณใหม่ (ปีงบประมาณ๒๕๕๖) ชาวทันตสาธารณสุขภูธรก็ขอแสดงมุทิตา จิตแด่ อาจารย์หมอไพจิตร์ วราชิต อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ เกษียณอายุราชการเมื่อกันยายน ๒๕๕๕ และขอแสดงความยินดี ต่ออาจารย์หมอณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นปลัด กระทรวงสาธารณสุขคนใหม่ไว้ ณ ทีน่ ีด้ ว้ ยค่ะ กระทรวงสาธารณสุข ในช่ ว ง ๔-๕ ปี ไปข้ า งหน้ า นี้ ก็ จ ะมี ก ารพั ฒ นาระบบสุ ข ภาพ ครั้งใหญ่ ซึ่งจากการทบทวนและวิเคราะห์ปัญหา เชิงประเด็น พบว่า ประเด็น ๑.ผลลัพธ์สุขภาพของประชาชน เช่น อัตราส่วน มารดาตายยังสูง ๓๘ : ๑๐๐,๐๐๐, ไอคิวเด็กตํ่ากว่าเฉลี่ย ๖%, โรคเรื้อรังเพิ่มรวดเร็ว, การเข้าไม่ถึงบริการ ฯลฯ ๒.การส่งเสริมสุข ภาพและป้องกันโรค เช่น เป้าหมายไม่คมชัด, มาตรการไม่สอดคล้อง ไม่บรู ณาการ , การจัดงบประมาณสนับสนุนขาดการมีสว่ นร่วม และ กำ�กับ ๓.การจัดระบบบริการและการลงทุน เช่น สถานที่ แออัด ผูป้ ว่ ยต้องรอนาน, โรงพยาบาลใหญ่กว่าปฏิเสธการส่งต่อ, ขีดความ สามารถแตกต่างกันระหว่างพวงบริการ, การลงทุนขาดทิศทาง ไม่ตอบสนองเป้าหมายสุขภาพ ขาดประสิทธิภาพ ๔.กำ�ลังคน เช่น การขาดแคลนบุคลากร, ขวัญกำ�ลังใจในการรักษาไว้ในระบบ โดยเฉพาะการบรรจุเป็นข้าราชการและความก้าวหน้าของวิชาชีพ เช่น จพง.ทันตสาธารณสุข, ประสิทธิภาพการทำ�งาน ๕.ระบบ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ เช่น เป็นภาระหนักของหน่วยบริการ, การ แก้ไขมุ่งเน้นแต่เทคโนโลยี ยังมีปัญหาด้านการจัดการ ๖.บทบาท และการอภิบาลระบบ ได้แก่ การขาดกลไกทีม่ ปี ระสิทธิผลระดับชาติ กระทรวง พวงบริ ก าร, โครงสร้ า งกระทรวงปั จ จุ บั น ไม่ ร องรั บ , ขาดความชัดเจนและการปฏิบัติตามบทบาท (ผู้ซื้อ ผู้ให้บริการ ผูก้ ำ�กับ ผูป้ ระเมินผล) ดงั นัน้ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ตัง้ เป้าหมาย วารสารทันตภูธร 64 ฉบับเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2555
การพัฒนา (Goals) แผนสุขภาพ ๒๕๕๕-๒๕๕๙ เพื่อให้เห็นผลที่ น่าจะเกิดขึน้ ๓ ข้อใหญ่ๆ คอื ๑.ผลลัพธ์สขุ ภาพ : Health outcomes) เช่น ลดแม่ตาย ลูกตาย , เพิม่ พัฒนาการ ไอคิวเด็ก , หยุดปัจจัยเสีย่ ง ชะลอโรคเรือ้ รัง ฯลฯ ๒.การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) เช่น กำ�หนดเป้าหมายและมาตรการตามกลุม่ อายุ และเชิงประเด็น, เกิดการบูรณาการกันในระดับพวงบริการ, การจัดงบประมาณ สนับสนุนอย่างมีส่วนร่วม (สธ.+สปสช.) และกำ�กับ ๓.การจัด ระบบบริการและการลงทุน (Service plan) ได้แก่ ลดแออัด รับ บริ ก ารใกล้ บ้ า น, การส่ ง ต่ อ ไร้ ร อยต่ อ เบ็ ด เสร็ จ ในพวงบริ ก าร, คุณภาพและความปลอดภัยบริการ, แผนการลงทุนที่ตอบสนอง เป้าหมายสุขภาพ เป็นธรรม, เพิ่มประสิทธิภาพ ใช้งบประมาณ อย่างคุ้มค่า งานทันตสาธารณสุขเป็นสาขาหนึ่งใน ๑๐ สาขา เป้าหมาย ที่ จ ะต้ อ งพั ฒ นาตามแผนพั ฒ นาระบบสุ ข ภาพ เราใช้ ชื่ อ ว่ า แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก (Oral Health Service Plan)ปีงบประมาณ ๒๕๕๕-๒๕๕๙ หรือ “OHSP” ซึ่งขณะนี้ทุก จังหวัด ต้องกำ�ลังทำ�งานกันอย่างเร่งรีบ ในการจัดทำ�ข้อมูลต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องและจัดทำ�แผนดังกล่าว โดยมีเขต, สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย,ชมรมทันตแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และสำ�นักบริหาร การสาธารณสุข เป็นพี่เลี้ยงด้วยดีตลอด ท้ายนี้ขอฝากทันตแพทย์ทุกท่านว่า “อย่าลืมใช้สิทธิ์เลือก ตั้งกรรมการทันตแพทยสภา” ด้วยค่ะ ครั้งนี้ชมรมทันต’ภูธร ได้ส่ง ทพ.ภราดร ชัยเจริญ สสจ.จันทบุรีลงสมัครด้วย ก็ขอช่วยกันเลือก ยกทีมด้วยค่ะ (ขอขอบคุณ) ทพญ.บานเย็น ศิริสกุลเวโรจน์ ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร