ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจและความสุขในการทำางาน
อ่านสัมภาษณ์พิเศษ ทพญ.ทิพาพร สุโฆษิต
เรียน ผู้สนใจนาเสนอผลงานทางวิชาการด้านทันตสุขภาพคนพิการ ในงานการประชุมนานาชาติ ด้านสร้า งเสริมสุขภาพครั้งที่ 21 ซึ่งจะจั ดในวันที่ 25-29 สิงหาคม 2555 ณ.ศูนย์ประชุมพีช พัทยา
ปิดรับบทคัดย่อ 20 ธันวาคม 2555 อ่านรายละเอียดได้ที่ www.iuhpeconference.net บริษัท ทันตภูธร และเพื่อน จากัด มีความประสงค์ จะสนับสนุนทุนในการนาเสนอผลงาน ให้แก่ผู้ที่ส่งบทคัดย่อและผลงาน ได้ นาเสนอในเวทีการประชุมนี้ จานวน 5 ทุน ทุนละ 10,000 บาท ท่านที่สนใจรับทุนสอบถามรายละเอียดได้ที่ ทพญ.นิธิมา หมออ๋อ nithimar_or@yahoo.com ค่ะ
ทักทายบรรณาธิการ ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ nithimar_or@yahoo.com
การเดินทางของชีวติ มาถึงหลักกิโลเมตรทีเ่ ข้าใกล้เลข 4 มากขึน้ ดิฉนั สังเกตว่า
เมือ่ ใกล้วนั เกิดมักจะมีความเปลีย่ นแปลงในชีวติ เสมอ ปีนก้ี เ็ ช่นกันค่ะ ดิฉนั ตัดสินใจ ไม่ตอ่ สัญญาการทำ�หน้าทีผ่ จู้ ดั การชุดโครงการแผนงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก คนพิการ สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) โดยยุติภารกิจนี้อย่างเป็น ทางการตั ง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2555 เป็นต้นไป จึงแจ้งให้ทราบโดยทัว่ กันนะคะ ย้อนรำ�ลึกไปว่าดิฉนั ได้มโี อกาสเข้ามาทำ�หน้าทีผ่ ปู้ ระสานงานเพือ่ พัฒนาระบบ บริการสุขภาพช่องปากคนพิการ ของสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) ในช่วง ธันวาคม 2552-กันยายน 2555 นีไ้ ด้อย่างไร ส่วนหนึง่ เป็นเพราะดิฉนั ทำ�หน้าทีบ่ รรณาธิการวารสารทันตภูธร ดูแลสือ่ วารสารทีท่ นั ตบุคลากรในหน่วยงานรัฐและ เอกชนทีเ่ ป็นสมาชิกชมรมทันตสาธารณสุขภูธรทัว่ ประเทศได้อา่ นทุก 3 เดือน มาหลายปี ซึง่ เป็นคุณสมบัตสิ �ำ คัญหนึง่ ในการช่วยประชาสัมพันธ์ให้ทนั ตบุคลากร ตระหนักถึงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการมากขึน้ จากเดิมทีต่ า่ งคนต่างทำ�ฟันให้คนพิการ ก็เชือ่ มโยงสร้างเครือข่ายให้ทนั ตแพทย์นกั วิชาการ นักปฏิบตั กิ าร ผูผ้ ลิตสือ่ มาทำ�งานด้วยกันค่ะ นอกจากการทำ�หน้าทีป่ ระชาสัมพันธ์แล้ว ดฉิ นั ยังมีภารกิจในการประสานงานการรับทุนดำ�เนินงานโครงการนำ�ร่องทันตสุขภาพคน พิการ (pilot projects) ทีส่ ถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ(สสพ.) สนับสนุนงบประมาณให้แก่หลายๆ ภาคส่วน ทัง้ การทำ�วิจยั ของนักวิชาการอาจารย์มหาวิทยาลัย และทั นตบุคลากรทีส่ นใจงานให้มาทำ�งานร่วมกันเป็นเครือข่ายทันตบุคลากรสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการอีกด้วย จำ�ได้วา่ ในระยะเริม่ ต้นของการทำ�งานแบบคนเดียวโดดๆ อย่างดิฉนั ต้องพยายามหาพีน่ อ้ งผองเพือ่ นมาร่วมงานด้วยให้ได้ ช่างเป็นการเริม่ ต้นงานทีย่ ากเย็น แสนเข็นมากๆ ดิฉนั ไม่มคี วามรูด้ า้ นคนพิการ ไม่มคี วามรูด้ า้ นฟันคนพิการมาก่อน เมือ่ ดิฉนั เอ่ยปากชวนเชิญให้ทนั ตบุคลากรมาทำ�งานเครือข่ายทันตสุขภาพคน พิการครัง้ แรกในประเทศไทยด้วยกันไหมๆๆ หลายครัง้ มากๆ ทีไ่ ด้รบั การปฏิเสธสาเหตุเพราะความไม่พร้อม ไม่มคี วามรูม้ ากพอทีจ่ ะมาเริม่ ต้นงานยากนีด้ ว้ ยกันได้ ดฉิ นั ถูกปฏิเสธบ่อยมากจนคิดได้วา่ ถ้าปฏิเสธกันจริงจังขนาดนีแ้ ล้วปัญหาด้านสุขภาพช่องปากคนพิการจะแย่แค่ไหน ไม่ท�ำ ไม่ได้แล้วเรา! และแล้วก็มผี กู้ ล้ายินดี รับทุนทันตสุขภาพคนพิการ สสพ.รุน่ แรก (ปี2553) ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นพีน่ อ้ งทันตบุคลากรในชมรมทันตสาธารณสุขภูธรค่ะ รักแท้แม้ภธู ร เป็นเช่นนีน้ เ่ี อง ทำ�ให้มี เครื อข่ายคนทำ�งานทีร่ กั และเชือ่ ใจกันไงคะ ปัญหาแรกๆ ของการทำ�งานคือทันตบุคลากรผูป้ ฏิบตั งิ านในพืน้ ทีโ่ ดยเฉพาะโรงพยาบาลชุมชน ไม่มคี วามมัน่ ใจในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ แม้วา่ จะเคยทำ�ฟันให้คนพิการมาบ้าง แต่กย็ งั มีความกลัวอยูไ่ ม่นอ้ ย ดฉิ นั จึงเริม่ มองหานักวิชาการทีจ่ ะมาช่วยพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรด้านสุขภาพช่องปาก คนพิการเพิม่ ขึน้ เริม่ จาก พีห่ มอเมย์ ทพญ.ภัตติมา บุรพลกุล จากสถาบันราชานุกลู ทีต่ ดิ ต่อมาเข้าร่วมเป็นเครือข่ายทันตสุขภาพคนพิการรุน่ บุกเบิกด้วยตนเอง จากนัน้ ดิฉนั ก็ได้โทรศัพท์ไปชวน พีห่ มอเจน ทพญ.ศันสณี รัชชกูล ผูอ้ �ำ นวยการศูนย์ทนั ตสาธารณสุขระหว่างประเทศ จ.เชียงใหม่ ผูใ้ หญ่ใจดีทเ่ี ขียนบทความประจำ�ให้ วารสารทันตภูธร ขอให้ชว่ ยกรุณามาดูแลงานด้านวิชาการของเครือข่ายทันตสุขภาพคนพิการด้วยกัน ตอ่ มาก็เริม่ มีนกั วิชาการอีกหลายท่านจากหลายมหาวิทยาลัย เข้ามาร่วมงานดีๆ นีด้ ว้ ยกัน เวลาผ่านไปไวเหมือนโกหก พริบตาเดียว มีเครือข่ายทันตบุคลากรสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ 2 รุน่ (ปี2553-2554) และมี พื น้ ทีป่ ฏิบตั งิ านนำ�ร่อง 38 พืน้ ที่ 13 จังหวัดทัว่ ประเทศไทย แม้จะไม่มตี วั ชีว้ ดั แม้จะไม่มนี โยบายสัง่ การตรงลงมาก็ตามค่ะ (ทันตแพทย์ไทยใจดี มีจริงๆ เย้ๆๆ) ต้องขอขอบคุณ แพทย์หญิงวัชรา ริว้ ไพบูลย์ ผูอ้ �ำ นวยการสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), ทพ.ศิรเิ กียรติ เหลียงกอบกิจ สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), และเครือข่ายทันตบุคลากรสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทุกท่าน ทีใ่ ห้โอกาสดิฉนั ได้ท�ำ หน้าทีผ่ จู้ ดั การชุดโครงการแผนงาน สร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการคนแรกของสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) ถือเป็นประสบการณ์ทด่ี ใี นการพัฒนาศักยภาพตนเอง และมีโอกาสได้ ทำ �งานเพือ่ ประเทศชาติ ประชาชน และวิชาชีพทันตแพทย์ ตามความตัง้ ใจค่ะ จากนี.้ .แม้วา่ ดิฉนั จะไม่ได้มภี ารกิจในนามเจ้าหน้าทีข่ อง สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) ต่อไปแล้ว แต่การทำ�งานด้านสร้างเสริมสุขภาพและ คุณภาพชีวติ ของคนพิการนัน้ ดิฉนั จะทำ�ต่อไป ในรูปแบบอืน่ ๆทีห่ ลากหลายมากกว่าเดิม (อ่านหน้า 60-62) เพือ่ ให้ได้ท�ำ งานทีส่ ร้างแรงบันดาลใจและความสุข สำ�หรับทุกคนอย่างแท้จริง โดยใช้ผลกำ�ไรทีไ่ ด้จากการขายสินค้าผ่าน บริษทั ทันตภูธรและเพือ่ นจำ�กัด ซึง่ เป็นธุรกิจเพือ่ สังคม นำ�รายได้ของบริษทั มากกว่า 80% มาจัดพิมพ์จดั ส่งวารสารทันตภูธร, สนับสนุนกิจกรรมดีๆ ของชมรมทันตสาธารณสุขภูธร รวมทัง้ พัฒนาระบบสุขภาพช่องปากสำ�หรับทุกคนร่วมกับหน่วยงาน ทุ กภาคส่วน ต้องขออภัยทีบ่ ทบรรณาธิการฉบับนีเ้ สมือนสรุปความสัน้ ๆ ถึงงานทีผ่ า่ นมาแล้ว และงานทีก่ �ำ ลังจะก้าวต่อไปของดิฉนั ชีวติ มันก็เป็นเช่นนี้ มีความเปลีย่ นแปลงได้เสมอ ด้วยหนทางทีจ่ ะไปให้ถงึ เป้าหมายนัน้ ย่อมมีหลายทาง จงปล่อยวาง สร้างสรรค์ และมุง่ มัน่ ต่อไป สูๆ ้ วารสารทันตภูธร 1 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
1. 3. 4. 5.
ทักทายบรรณาธิการ เจลลี่โภชนา..จากในหลวง มือใหม่หัดขับ สัมภาษณ์พิเศษ ทพญ.ทิพาพร สุโฆษิต
สารบัญ ทันตภูธร
7. ไกลเกินช่องปาก ลึกกว่าคอหอย : หมอแท้แม้ภูธร 9. Survey 7 12. ทันตบุคลากรไม่ได้ให้การรักษาโรคเหงือกอักเสบฯ 17. ความต้องการทางทันตกรรม 19. เรื่องเล่าของนักส่งเสริมทันตสุขภาพ จ.เชียงราย 21. พวกเรากำ�ลังสู้กับอะไร 23. OHI สไตล์หมอตุ้ม 26. พลังคนหนุ่มสาวในโรงพยาบาลชุมชน
39. รักแท้แม้ภูธร 47. เรื่องเล่า...จากใจน้องค่าย 51. ความประทับใจในกิจกรรม รับน้องจังหวัดน่าน 53. ร้อยดวงใจ สานสายใย ผู้สูงวัยฟันดี ปี 2555
27. เรื่องในปากจากคนในเกาะ 30. ข่าวจากติวานนท์ 33. การฝึกอบรมทันตาฯ แบบการฝึกนักบิน 38. เรื่องเล่าจากภูอังลัง : ใครก็ได้
55. Incredible INDIA 58. เด็กหญิงนํ้าส้ม 60. บริษัท ทันตภูธร และเพื่อน จำ�กัด 63. กรองใจท้ายเล่ม
รักแท้แม้ภูธร ชมรมทันตภูธร
ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร ● ประธานชมรมฯ : ทพญ. บานเย็น ศิริกุลเวโรจน์ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เลขที่ 161/1 ถนนรามวิถี ตำ�บลบ่อยาง อำ�เภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทรศัพท์ 074 - 326091 ต่อ 107 , 105 โทรสาร 074 – 311386 ● วารสารทันตภูธร ทีอ ่ ยู่ 42/198 ซ.ติวานนท์ 38 ถ. ติวานนท์ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุร ี 11000 โทร 083 – 4934543 ruralmax2007@ gmail.com ● บรรณาธิการ : ทพญ.นิธม ิ า เสริมสุธอี นุวฒ ั น์ ● กองบรรณาธิการ : ทพญ.แพร จิตตินนั ทน์ , ทพญ.วิโรชา เพียรเจริญ , ทพ.วัฒนา ทองปัสโณว์ , ทพญ.สุรีรัตน์ สูงสว่าง , ทพ.เทอดศักดิ์ อุตศรี , ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ ● นักเขียน : ทพญ.ศันสณี รัชชกูล ศูนย์ทันตสาธารณสุข ระหว่างประเทศ จ.เชียงใหม่ , ทพญ.แพร จิตตินันทน์ รพช.บางใหญ่ นนทบุรี , ทพ.ชัยพฤกษ์ ตั้งจิตคงพิทยา รพ.แจ้ห่ม จ.ลำ�ปาง, ทพ.ดร. ธงชัย วชิรโรจนไพศาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , รศ.ทญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , นาย ศุภฤกษ์ ดลโสภณ นักส่งเสริมทันตสุขภาพ จ.เชียงราย , ทพ.อรรควัชร์ สนธิชัย รพ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย , ทพญ.วิชชุดา โอทกานนท์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 57 (บุญเรือง ลา้ํ เลิศ) กรุงเทพฯ , ทพญ.มยุเรศ เกษตรสินสมบัติ รพร.ปัว จ.น่าน , ทพ.เสถียร สุรวิศาลกุล สสจ.ภูเก็ต , ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ รพช.ป่าบอน จ.พัทลุง , ทพญ.ภาชินี ปลั่งพิมาย รพช.มายอ จ.ปัตตานี , ทพญ.อาทิตยา ดวงตา ม.เชียงใหม่ , ทพญ.ปิยฉัตร บุรณพร จ.นครศรีธรรมราช , สุนฤพรจิตรา , หมอฟันไทด่าน , แสงที่ลอดผ่านผนังไม้ไผ่ ● ภาพปก : ทพญ. มยุรฉัตร ฉายอรุณ รพช.ภาชี จ.อยุธยา ● ผู้ดำ�เนินการจัดพิมพ์ ผู้โฆษณา : บริษัท ทันตภูธร และเพื่อน จำ�กัด ที่อยู่ 119/887 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี ●
บทความทั้งหมดรับผิดชอบโดยผู้เขียนข้อเขียนนั้นๆ มิได้เกี่ยวข้องกับชมรมทันตสาธารณสุขภูธร หรือ วารสารทันตภูธร วารสารทันตภูธร 2 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เจลลี่โภชนา..จากในหลวง
อาหารเจลลี่โภชนาพระราชทานสำ�หรับผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก เจลลี่โภชนา คือ อะไร? เจลลี่โภชนา เป็นผลสัมฤทธิ์จากโครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ “นวัตกรรมอาหารสำ�หรับผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก” เป็นอาหารสำ�เร็จรูปรับประทานได้ทันที มีลักษณะกายภาพกึ่งแข็งกึ่งเหลว ทำ�ให้เคี้ยวและกลืน ได้งา่ ย แม้จะไม่มฟี นั หรือเจ็บปากเจ็บคอ มีองค์ประกอบเป็นสารอาหารทีใ่ ห้พลังงาน ได้แก่ คาร์โบไฮเดรตประมาณ 50% โปรตีนประมาณ 20% และไขมันประมาณ 30% จึงถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการสูงเจลลี่โภชนา 1 กล่อง มีปริมาตร 250 มิลลิลิตร ให้พลังงาน 230-260 กิโลแคลอรี จึงเหมาะสำ�หรับรับประทานเสริม เพือ่ ให้ได้รบั พลังงานจากอาหารเพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีม่ ปี ญ ั หาการบดเคีย้ วและการกลืน เช่น ผู้ป่วยมะเร็งช่องปากและคอหอย ซึ่งมีคุณภาพชีวิตไม่ดี เนื่องจากขาดสารอาหารและนํ้าหนักลด ดังนั้น การรับประทานเจลลี่โภชนาจึงจะ ช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ ปัจจุบัน เจลลี่โภชนาที่ผลิตสำ�เร็จแล้ว มี 2 รสชาติ ได้แก่ รสชานม และรสมะม่วง หากต้องการเจลลี่โภชนาพระราชทานต้องทำ�อย่างไร? เจลลีโ่ ภชนาพระราชทาน เป็นอาหารพระราชทาน ห้ามจำ�หน่าย จึงยังไม่สามารถหาซือ้ ได้ ณ ปัจจุบนั อย่างไรก็ตาม มูลนิธไิ ด้จดั ทำ�โครงการอาหาร พระราชทานสำ�หรับผูป้ ว่ ยมะเร็งช่องปาก ซึง่ จะแจกจ่ายให้แก่ผปู้ ว่ ยมะเร็งช่องปาก หรือ อืน่ ๆ ทีม่ ปี ญ ั หาการเคีย้ ว การกลืน ตามสถานพยาบาล 9 แห่ง คือ 1. โรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา 044-235582, 081-955-9002 2. สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรุงเทพฯ 02-3547025-35 3. ศูนย์มหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 02-5461960-6 4. ศูนย์มะเร็งชลบุรี 038-784001-5 5. ศูนย์มะเร็งลพบุรี 036-621800 6. ศูนย์มะเร็งลำ�ปาง 054-335262-8 7. ศูนย์มะเร็งอุดรธานี 042-207375-80 8. ศูนย์มะเร็งอุบลราชธานี 045-285610-5, 045-285637-40 9. ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานี 077-211625-8 ต่อ 1006 ท่านสามารถติดต่อสอบถามได้ที่สถานพยาบาล ดังกล่าว หรือ ติดต่อสอบถามมูลนิธิทันตนวัตกรรม ได้ที่ คุณบัวขาว หงษาชุม โทรศั พท์ 089-664-4634, 02-218-9027 หากต้องการมารับเจลลี่โภชนาพระราชทานที่มูลนิธิต้องทำ�อย่างไร? 1. ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่มูลนิธิ คุณบัวขาว หงษาชุม โทรศัพท์ 089-664-4634, 02-218-9027 เพื่อนัดหมาย 2. นำ�สำ�เนาบัตรประชาชนของผู้ป่วยมารับด้วย 3. นำ�รูปถ่ายผู้ป่วยมาด้วย (ถ้ามี) วิธีรับประทานต้องทำ�อย่างไร? - ใช้กรรไกรตัดปากกล่อง แล้วใช้ช้อนตักรับประทาน หรือ เทออกใส่จานเพื่อรับประทาน - หลังจากเปิดกล่องแล้ว ควรรับประทานให้หมด หรือเก็บในตู้เย็นไม่เกิน 7 วัน - แช่เย็น เพื่อความอร่อย - สามารถรับประทานได้ทั้งผู้บริโภคทั่วไป และผู้มีปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวและการกลืน - ผู้ที่มีปัญหาแพ้นม สามารถรับประทานได้ *เจลลี่โภชนาพระราชทาน ผ่านการทำ�ปราศจากเชื้อด้วยระบบ UHT จึงเก็บได้ 1 ปี โดยไม่ต้องแช่เย็น วารสารทันตภูธร 3 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
มือใหม่หัดขับ by jitty ทพญ. รจิิต จันทรประสิทธิ์ รพ.นาหมื่น จ.น่าน
Put the right man on the right job! คือ การเลือกคน ให้เหมาะสมกับงาน สำ�นวนทีฟ่ งั ดูคนุ้ หูและแสนจะคลาสสิค ของคนทำ�งานทั้งหลาย หากในทุกสถานการณ์ของการ ทำ�งาน เราสามารถเลือกงานที่เหมาะสมกับเราได้ คงจะ ช่วยให้ทุกคนทำ�งานได้ง่ายขึ้น แต่ด้วยการทำ�งานของเรานั้น แทบจะไม่มีตัวเลือกให้เลือก
ยิ่งในโรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลแล้ว จากประสบการณ์ของผู้เขียน พบว่าคนๆ นึงต้องรับภาระงานหลาย อย่าง โดยไม่สามารถจะหลีกเลีย่ งได้ทงั้ งานทีถ่ นัดหรือไม่ถนัด เพราะ จำ�นวนบุคลากรที่มีอยู่อย่างจำ�กัด ดังนั้นการฝึกฝนตนเอง ทั้งการฝึกจิตและฝึกกายมักจะก่อให้ เกิดทางรอดเล็กๆ สำ�หรับคนทีต่ อ้ งปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่ถนัดอยูเ่ สมอ ใครๆ ก็บอกว่า พวกเรานั้นปลูกผักชีเก่ง ^^ ประโยคที่ได้ยินจนคุ้นหู “หมอ พี่ไม่ถนัดพูดในที่คนเยอะๆ เลย ให้พี่ใช้แรงงานเยี่ยงวัวควายยังง่ายกว่าให้พูด 5 นาที” “หมอ พีไ่ ม่รวู้ า่ จะอธิบายให้เขาเข้าใจได้ไหม ไม่รวู้ า่ พูดรูเ้ รือ่ งไหม หมอพูดเก่งหมอก็พูดไปเลย” บางคนก็มองว่ามันเป็นพรสวรรค์ หารู้ไม่ว่าก่อนจะมาถึงวันนี้ ผู้เขียนก็เคยมีช่วงที่หัดพูดแบบท่องทุกคำ�ในกระดาษขึ้นเวที ต้อง ขอบคุณรายการทีวีแนวค้นฟ้าคว้าดาวหรือเรียลลิตี้แข่งขัน ที่ทำ�ให้ ผู้เขียนอธิบายให้คนอื่นฟังง่ายขึ้นว่าพรสวรรค์ก็เกี่ยว แต่ที่ยิ่งกว่า พรสวรรค์คือความพยายาม ลองดูในรายการสิ ทุกคนกว่าจะเก่งก็ ต้องพยายามกันทั้งนั้น “สาวบ้านนายังมีแฟนเป็นฝรั่ง” “นักกีฬาคน พิการพาราลิมปิคยังว่ายนาํ้ ได้” “เด็ก 4 ขวบยังเล่นอูคเู ลเล่จนชนะใจ คนทั้งประเทศ” อย่ายอมแพ้เลยพี่ ! ให้คิดเสียว่า เราก็แค่พยายามทำ�หน้าที่ของเราให้ดีขึ้น ในเมื่อ มันหลีกเลี่ยงไม่ได้ ถ้าเราเก่งในงาน คนที่ได้รับผลประโยชน์ก็ไม่ใช่
วารสารทันตภูธร 4 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ตั ว เราเท่ า นั้ น ผู้ รั บ บริ ก ารต่ า งหากที่ จ ะได้ รั บ เต็ ม ๆ พู ด ให้ ทั น ต สุขศึกษา 5 นาที อาจจะโดนใจคน1คน ก็ช่วยรักษาฟันได้ 32 ซี่แล้ว 2 คนก็ 64 ซี่ 100 คน 3,200 ซี่ (โน้มน้าวใจผู้ฟังสุดฤทธิ์โดยไม่ ยอมนับเป็นจำ�นวนฟันนํ้านม) เมื่อเทคโนโลยีทำ�ให้ทุกอย่างง่ายกับเรา เราก็ควรจะเลือกใช้ ประโยชน์ให้เต็มที่ (เปิดคลิปสอนแปรงฟันแทนได้ เข้าใจง่าย) แต่ เทคโนโลยีก็ทำ�ให้บางอย่างยากกับเรายิ่งกว่า (โฆษณาทำ�ให้ขนม ทุกอย่างดูน่ากินจนลืมเรื่องฟันผุไปได้เลย) “ในเมือ่ โลกใบนีย้ งั ไม่หยุดหมุน เราทุกคนก็ไม่ควรจะหยุดเดิน” ถ้าเลี่ยงสิ่งที่ไม่ถนัดไม่ได้ให้ลองพยายามดูก่อน ถ้าขึ้นชื่อว่า ได้พยายามแล้ว ผลงานออกมาก็ดูน่าภูมิใจทั้งนั้น ยิง่ ถ้าเติมไปด้วยว่า จากหยาดเหงือ่ แรงกายหรือเลือดตาแทบกระเด็น ก็ยิ่งดูขลัง แม้งานไม่สำ�เร็จ 100% แต่ก็จะไม่พลาด 100% เช่นกัน และเทคนิคเล็กๆ หากท่านเริ่มทำ�สิ่งใหม่ๆ ให้ห้อยป้ายมือใหม่ หัดขับไว้ จะดูน่าให้อภัย น่าเอ็นดูอย่างเสียไม่ได้ “ก็เหมือนกับทันตภูธรฉบับนี ้ ขอบคุณพีอ่ อ๋ บรรณาธิการวารสาร ทันตภูธร ที่ให้โอกาสฝึกหัด ทดลองทำ�งานบรรณาธิการในทันตภูธร ฉบับ “รักแท้แม้ภูธร” (ซึ่งกว่าจะถึงมือท่าน พี่อ๋อบรรณาธิการตัวจริง ก็ได้ตรวจทาน ตัดต่อห่อหุ้ม และปรับแก้เรียบร้อยแล้ว) ขอบคุณ นักเขียนทุกท่าน และผู้อ่านทันตภูธรฉบับนี้ หากยังหลงเหลือข้อผิด พลาดประการใด ยินดีรบั คำ�ติชมข้อเสนอแนะจากทุกท่าน โดยโปรด อย่าลืมว่า ได้ห้อยป้ายมือใหม่หัดขับอยู่นะคะ “
อ่านสัมภาษณ์พิเศษ ทพญ.ทิพาพร สุโฆษิต รองผู้อำ�นวยการสถาบันพระบรมราชชนก
เรื่อง ความกังวลเกี่ยวกับกระบวนการผลิตทันตาภิบาลรุ่น“จัดหนัก”พันห้าร้อยคน ผู้สัมภาษณ์ : ทพญ.แพร จิตตินันทน์
เนื่องจากสมาชิกเราหลายท่านเเสดงความกังวลเกี่ยวกับกระบวนการผลิต ทันตารุ่น “จัดหนัก” พันห้าร้อยคน. ฉบับนี้เราจึงมีบทสัมภาษณ์พิเศษ สัมภาษณ์ พี่เหวว – พี่ทิพาพร สุโฆษิต รองผู้อำ�นวยการสถาบันพระบรมราชชนก พี่แหววเคย ทำ�งานที่ สสจ.นนทบุรี เเละย้ายเข้ามาทำ�งานที่ สถาบันพระบรมราชชนก (สบช.) ส่วนหนึ่งที่ย้ายมาที่นี่เพราะต้องการมาช่วยผลักดันเรื่องทันตาภิบาล เเละพี่เเหวว เป็ นกำ�ลังสำ�คัญเสมอมาในด้านการเเปรนโยบายเป็นการปฏิบัติ
คำ�ถามแรกเราเปิดเรือ่ งความท้าทายในการผลิตทันตารุน่ นีใ้ ห้ได้คณ ุ ภาพ เป็น สาระร่วมกังวลทัง้ พืน้ ทีท่ งั้ ส่วนกลาง พีเ่ เหววฟังแล้วหัวเราะพร้อมเฉลยว่า “ในส่วน ของสบช.เองพี่ก็กังวลมาก ได้พยายามเรียนผู้ใหญ่แล้วว่ากังวลเรื่องกระบวนการ สอนงานหัตถการโดยพื้นที่จะลำ�บากลำ�บน เเต่ท่านรองปลัดในฐานะผู้กำ�หนด นโยบาย ท่านใส่ใจเรือ่ งการกระจาย การเข้าถึงบริการในรพสต.มากกว่าปัญหาใน การปฏิบตั นิ ี้ ท่านว่าหากใช้มาตรการปกติ เมือ่ ไรก็ยงั ไม่ทวั่ ถึง ต้องมีมาตรการใหม่ๆ กล้าคิดกล้าเเก้ไขปัญหา ส่วนจะดำ�เนินการกันอย่างไร ท่านเห็นชอบมอบรอง ได้ เเก่ทีมสบช.ให้เดินเรื่องต่อไป” เเละนี่เป็นจุดเริ่มของมหากาพย์ทันตาพันห้าร้อยคน ที่เราทุกคนจะได้มีส่วน ร่วมในการเล่นโดยพร้อมเพรียงกัน งานนีซ้ งึ่ มีความท้าทายเเทบทุกขัน้ ตอน เริม่ เเต่ กระบวนการคัดสรร ซึง่ ปกติจะต้องเเจ้งพืน้ ทีก่ นั เเต่กรกฎาคม เเต่โครงการนีก้ ว่าจะ ได้ข้อยุติก็ประมาณเดือนมกราคม ดังนั้น กระบวนการคัดสรรเกิดขึ้นช่วงมีนาคมเมษายน ซึง่ เป็นช่วงโรงเรียนปิดภาคเรียนเเล้ว ทำ�ให้การประชาสัมพันธ์เพือ่ ให้เด็ก นักเรียนมาสมัคร ทำ�ได้ไม่ทวั่ ถึง อย่างไรก็ตาม สบช. ได้ประสานกับจังหวัด ในการ คัดเลือกนักเรียนเข้ามาเรียน โดยให้คัดเด็กมากกว่าโควต้าหนึ่งเท่าตัว มาสอบคัด เลื อกที่วิทยาลัยการสาธารณสุขเพื่อคัดออกครึ่งหนึ่ง ให้เหลือเท่าโควต้า
พีเ่ เหววเล่าให้ฟงั ว่า ผลการคัดสรรในภาพรวมเป็นไปอย่างน่าพึงพอใจ เป็นที่ น่าสนใจว่าความเเตกต่างของวัฒนธรรมเเละการให้คณ ุ ค่าการทำ�งานราชการของ เเต่ละพืน้ ทีม่ นั ต่างกันจริงๆ ในภาคอีสาน เด็กยอมลาออกจากการเรียนปริญญาตรี หรือเรียนปวส. ทีเ่ รียนไปบ้างเเล้ว เพือ่ มาเรียนใหม่เเละจะไปทำ�หน้าทีเ่ ป็นหมอฟัน ประจำ�รพสต. ในขณะทีเ่ ขตภาคกลางเด็กมาสมัครไม่ครบสองเท่าของโควต้าหรือ บางที่ไม่ได้เท่าโควต้า ตัวอย่างที่พี่เเหววจำ�ได้ ได้เเก่ สมุทรปราการไม่มีคนสมัคร ต้องให้ทุนเด็กจากสระเเก้ว อยุธยาเด็กมาสมัครมากตามระบุ เเต่เมื่อพิจารณา คุณสมบัติไม่ผ่าน กรรมการก็ยอมรับเด็กไม่ครบโคว้ตา เพื่อลดปัญหาในการสอน นนทบุรที ผ่ี สู้ มั ภาษณ์อยูเ่ องก็ล�ำ บาก เพราะเด็กม. ปลายสายวิทย์ทไ่ี ด้ GPA เกินสอง วารสารทันตภูธร 5 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ดู เหมือนเกณฑ์จะง่ายๆ เอาเข้าจริงๆ หาเด็กไม่ได้ง่ายๆ เมื่อถามเรื่องการจ้างงาน เพราะเรากังวลว่าเดี๋ยวจบเเล้วพื้นที่ จะเอาเด็กมาคืน สบช. ท่านรองปลัดฯให้แนวคิดว่า “ส่วนนี้ขอให้ ยกเป็นหน้าที่ของท่านสสจ.เเต่ละพื้นที่ในการบริหารจัดการ ปัญหา อนาคตอย่ ากังวล”
การจัดการเรียนการสอนนัน้ ในปีเเรกการเรียนการสอนจะทำ�ที่ วิทยาลัยการสาธารณสุข (วสส.) ซึง่ ในภาพรวม วสส.สามารถรองรับได้ เเต่มีบางวสส.ที่ขาดเเคลนบุคคลากร เช่น วสส. สุพรรณบุรี วสส. ยะลาจะต้ อ งเชิ ญ อาจารย์ พิ เ ศษมาช่ ว ยสอน ส่ ว นนี้ ก็ มั่ น ใจว่ า คุณภาพการสอนวิชาการได้มาตรฐานเเน่นอน เรือ่ งทีห่ นักใจของเราทุกคนได้เเก่การสอนงานหัตถการ ในส่วน นี้พี่เเหววตอบว่า “นี่เป็นครั้งเเรกเช่นกัน ที่เราจะต้องส่งให้พื้นที่ช่วย สอนทั้งหมด เด็กจะฝึกหัดการใช้หัวกรอและกรอฟันในบลอกจาก วสส. เเต่การลงทำ�เเละมีคนไข้จริงนัน้ เกณฑ์มาตรฐานการฝึกจะต้อง มีอาจารย์ต่อนักศึกษาไม่น้อยกว่า 1:8 ในขณะที่วสส. มีนักศึกษาถึง สามร้อยเกือบสี่ร้อยคน เเละมีอาจารย์เเห่งละไม่กคี่ น ในการผลิตให้ ได้ คุณภาพจึงจำ�เป็นจะต้องส่งให้พื้นที่ช่วยจริงๆ”
ส่วนเรื่องความสามารถ ความถนัดของทันตเเพทย์ในพื้นที่ล่ะ เรากังวลอีก เพราะไม่ใช่ทุกคนจะสามารถสอนได้ ที่เราหลายคน เลือกทำ�งานในรพช. เราไม่ได้เลือกจะทำ�งานสอนเพราะรู้ตัวว่าไม่ น่ าจะทำ�ได้ดี และไม่ชอบสอน มิคาด งานสอนตามมาหาที่รพช.ได้
เรือ่ งนี้ “วสส.ได้เตรียมคูม่ อื ทีเ่ ข้าใจให้พนื้ ทีไ่ ด้ใช้เป็นเเนวปฏิบตั ิ พร้อมกันนี้ยังได้เตรียมทีมงานที่จะทำ�หน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับพื้นที่ โดยทีมงานจะลงเยี่ยมตามพื้นที่ที่ตกลงกัน เพื่อช่วยให้ทันตเเพทย์ ในพื ้นที่เพิ่มศักยภาพเเละมั่นใจในการสอนของตนเองมากยิ่งขึ้น”
เร่เข้ามา เอ้าเร่เข้ามา เสียงปีก่ ล้องลัน่ ขึน้ เเล้ว มหากาพย์ทนั ตา จะลงโรง ต่อจากนีว้ สส. มีเเผนจะเรียกพืน้ ทีเ่ พือ่ อธิบาย เพือ่ ทำ�ความ เข้าใจกันถีม่ ากขึน้ สุดท้ายนีก้ ข็ อชักชวนพีน่ อ้ งทัง้ หลายมาช่วยกัน เรา จะสร้างสรรภาระหรือพลังให้ประเทศก็คราวนี้ละค่ะ ระหว่างนี้วสส. เปิ ด รั บ เสี ย งสะท้ อ นจากพื้ น ที่ อ ย่ า งเต็ ม ที่ ท่ า นๆ สามารถ เเสดงความเห็ น อย่ า งสร้ า งสรรค์ เสนอประเด็ น เพื่ อ เเก้ ปั ญ หา เพื่อการพัฒนาร่วมกันได้ที่ facebook ของชมรมทันตภูธรนะคะ https://www.facebook.com/groups/ruraldent ทีมงานจะรวบรวม ข้อมูลเพื่อเสนอให้ วสส. เอาไปพัฒนากระบวนการต่อไป
พี่เเหววเป็นห่วงเช่นกันเกี่ยวกับการสอนงานในพื้นที่ “เพื่อให้ ได้คุณภาพ ดูเหมือนว่าพื้นที่จะต้องยอมเสียเวลาทันตเเพทย์เพื่อมา ดูเเลนักศึกษาหนึง่ คน อาจดูเเลน้องหนึง่ ต่อหนึง่ หรืออย่างมากสูงสุด ไม่เกินหนึง่ ต่อสามหรือสีค่ น” เราไม่ได้มยี นู ติ มากมายขนาดจะคุมกัน ได้ มากๆ เหมือนในโรงเรียน
“ส่วนนี้น้องๆ ในพื้นที่ก็บ่นกลับมาอยู่” พี่เเหววบอกพร้อมถอน หายใจ เเนวทางการบรรเทาความเดือดร้อนนี้ อาจต้องใช้ยูนิตที่ รพสต.ที่เดิมมีรพช.ส่งคนมาเวียนกันทำ�งาน เป็นฐานการฝึก เเทนที่ จะให้เด็กฝึกงานทีย่ นู ติ ในรพช. เอง เพราะจะเพิม่ เวลารอเเละลดการ เข้ าถึงบริการของประชาชนซึ่งจะทำ�ให้เกิดปัญหาได้
สำ�หรับความกังวลเรื่องปัญหาทางกฎหมายที่อาจเกิดจาก เหตุสุดวิสัยจากการฝึกหัดนักศึกษานั้น พี่เเหววยิ้มพร้อมบอกว่า “ กระทรวงไม่ได้นิ่งนอนใจ เรากำ�ลังจะออกคำ�สั่ง เเต่งตั้งโรงพยาบาล เป็นเเหล่งร่วมผลิต เเละเเต่งตัง้ ให้ทนั ตเเพทย์ทจี่ ะรับสอนเป็นอาจารย์ พิเศษ ซึ่งหากมีการควบคุมดูเเลการตามสมควร เเละเกิดปัญหาสุด วิสัยเเล้ว ความรับผิดชอบที่เกิดจะเป็นของกระทรวงสาธารณสุข เเละในการนัดเด็กมาให้นกั เรียนหัดทำ�ฟันนัน้ จะต้องมีจดหมายเเจ้ง ผู้ปกครอง ให้ผู้ปกครองอนุญาตว่ายินดีให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติให้ลูก ของตนเอง ไม่ใช่จับเด็กที่มารับบริการเข้ามาทำ�เฉยๆ” พี่เเหววบอก
วารสารทันตภูธร 6 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก ทันตาภิบาล เบญจวรรณ พรหมพา รพสต.จอมพระ อ.ท่าวังผา จ.น่าน
ไกลเกินช่องปาก ลึกกว่าคอหอย : ทันตภูธร หมอแท้แม้ภธู ร นายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ
ชีวิตนี้เราคือใคร เราเกิดมาเพื่อเป็นทันตแพทย์กระนั้นหรือ เพราะเราเรียนมาทางนี้แล้วเราคงหนีไม่พ้น อีกทั้งรายได้ก็มากพอที่ จะจูงใจให้เดินหน้าบนหนทางแห่งวิชาชีพอันชวนปวดหลังต่อไป ความรู้สึกเช่นนี้นานๆ สักครั้งอาจเข้ามาวนเวียนในความคิดของ ทันตแพทย์ทุกคนเกิดมาทำ�ไม เป็นคำ�ถามตัวโตที่คนวัยสี่ห้าสิบจะ เริม่ คิด เราจะทำ�หน้าทีบ่ นยูนติ ทำ�ฟันมาทัง้ ชีวติ เพือ่ อะไร เพือ่ รถเบนซ์ เพื ่อบ้านหลังใหญ่เพื่อมีเงินเก็บที่ดินเก็บเท่านั้นหรือ ในอีกมุมหนึ่งบางคนเลือกที่จะเป็นทันตภูธร แม้จะมีรถคันไม่ ใหญ่นัก มีบ้านหลังเล็กกว่า มีชีวิตที่ไม่หรูหรา แต่เราก็เป็น somebody in the world โดยที่โลกที่ว่านั้นก็คืออำ�เภอที่เราอยู่หรือจังหวัด ที่เราทำ�งานด้วย เป็นที่พึ่งของผู้คน โดยเฉพาะคนธรรมดาสามัญชน ชาวบ้านชาวไร่ชาวนา ทีม่ หี มอทีเ่ ขารักเขานับถืออยูใ่ กล้ๆ เขาในยามที่ เขาเจ็บป่วย ไม่เฉพาะเวลาทีป่ วดฟัน แต่รวมถึงเวลาทีเ่ ขาอยากให้คณ ุ หมอมาสอนให้ลูกหลานของเขาในโรงเรียนใส่ใจการแปรงฟัน หรือ ชาวบ้านเขายิ่งมีความสุขเวลาที่คุณหมอออกชุมชนไปเยี่ยมคนไข้ ที่นอนเป็นอัมพาตอยู่ที่บ้านเพื่อสอนการดูแลช่องปากแถมเลยเถิด ยาวไกลไปเรื่องการดูแลสุขภาพทั่วไป การเลิกบุหรี่ จนถึงเรื่องของ การดูแลสิง่ แวดล้อม ปลูกผักสวนครัวไว้กนิ เองทีเ่ หลือนำ�มาขายหรือ แจกจ่ายเพือ่ นบ้านตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ได้ผลไม้เป็นของฝาก ผักที่ฉีดยาเอาไว้ขายผักนี้ไม่ฉีดยาเอามาฝากหมอ ไปตลาดซื้อขนม แม่ค้าแถมให้ท้ังที่ไม่มีโปรโมชั่นซื้อหนึ่งแถมหนึ่ง คนแก่ยกมือไหว้ คุณหมอเด็กๆ อย่างเราอย่างที่ สส.ไม่ยังเคยได้รับการไหว้ท่จี ริงใจ เช่ นนี้ สิง่ เหล่านีค้ อื คุณค่าทีส่ งู ค่าทีน่ อ้ ยคนจะมีโอกาสได้รบั ทันตแพทย์ทุกคนนั้นรํ่าเรียนมาอย่างเหนื่อยยาก โรงเรียน ทันแพทย์ได้พรํ่าสอนอย่างหนักหน่วง เคี่ยวเข็ญจนทำ�ฟันได้อย่าง ละเอียดลออ กว่าจะได้วิชาชีพนี้มาติดตัวต้องแลกกับอะไรต่างๆ มากมาย ทีส่ �ำ คัญคือ ต้องแลกกับการสูญเสียศักยภาพกับหลากหลาย และจินตนาการอันกว้างขวางไปใน 6 ปี จากการเคี่ยวกรำ� ซึ่งนับ เป็นการสูญเสียที่ยิ่งใหญ่ จนไม่รู้คุ้มค่าไหมกับวิชาการความรู้ที่ได้
มาหลายคนกลายเป็นทันตแพทย์ที่คิดออกแต่เรื่องในช่องปาก จน ลืมไปว่าก่อนมาเรียนทันตแพทย์นั้น ตนเองเล่นดนตรีเก่ง ชอบวิชา ประวัติศาสตร์ สนใจการดูดาว ใส่ใจเรื่องประหยัดพลังงาน แต่วันนี้ ความฝันและพรสวรรค์เหล่านัน้ กลับถูกบดบังไปด้วยปริญญาสีมว่ ง ใบนี ้ที่ได้มา
แต่ ก ารเป็ น หมอภู ธ รนั้ น มี โ อกาสที่ สำ � คั ญ อย่ า งยิ่ ง ประการ หนึ่งคือ ได้มาทำ�งานในพื้นที่ที่มีอิสระเสรีภาพ ที่มีพื้นที่และโอกาส ในการบ่มเพาะศักยภาพที่หดหายไปในช่วงเรียนให้กลับคืนมาได้ ทันตแพทย์ภูธรจึงเป็นมากกว่าหมอฟันที่หลังขดหลังแข็งกับยูนิต ตลอดทั้งเช้าบ่าย แต่สามารถบงการชีวิตตนเองให้ทำ�และฝึกฝน ทักษะอื่นๆ สร้างฝันเติมเต็มอุดมคติที่ยังหลงเหลือให้งอกงามกลับ มาได้เป็นทันตแพทย์นักอนุรักษ์ป่า ทันตแพทย์นักเขียน ทันตแพทย์ นักวาดภาพ ทันตแพทย์ผู้ชำ�นาญในการเป็นวิทยากรกระบวนการ ทันตแพทย์ทเี่ ป็นครูทนี่ กั ศึกษาทันตฯ เคารพรัก ทันตแพทย์นกั บริหาร ที่นำ�พาโรงพยาบาลและระบบสุขภาพเดินไปข้างหน้า หรือแม้แต่ ทันตแพทย์ผฝู้ กั ใฝ่ในธรรม สิง่ เหล่านีค้ อื ความงดงามในศักยภาพอัน หลากหลายของมนุษย์ เพราะเราคือมนุษย์ เราเป็นมากกว่าหมอฟัน และความเป็นทันตภูธรคือจุดสมดุลของการทำ�งานอย่างมืออาชีพใน วิชาชีพทันตกรรมกับการสร้างสรรค์สังคมตามอุดมคติที่ตนมีอยู่ใน ฐานะมนุษย์ เป็น somebody ในโลกใบเล็กทีม่ ากกว่าเวลา 8 ชัว่ โมง บนเก้ าอี้ทันตกรรม หมอแท้คือมนุษย์ที่แท้ มนุษย์ที่มีศักยภาพอันหลากหลาย มนุษย์ทเี่ กิดมาเพือ่ สร้างสรรค์สงั คมให้ดขี นึ้ และทีโ่ รงพยาบาลชุมชน คื อ หนึง่ ในสถานทีท่ คี่ วามเป็นหมอแท้สามารถเปล่งศักยภาพได้สงู สุด ในทีท่ ย่ี ง่ิ มืดมิด แสงเทียนดวงน้อยยิง่ มีความหมาย หมอแท้ แม้ภธู รคือพลังเทียนในรัตติกาลแห่งน้อยคนจะกล้าออกแสวงหา ความหมายในชีวติ ทีแ่ ท้จริง
วารสารทันตภูธร 7 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ขอขอบคุณภาพจาก รพ. นาหมื่น จ.น่าน , รพ.วัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา จ.เชียงใหม่ วารสารทันตภูธร 8 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
Survey 7 โดย ทพ.ชัยพฤกษ์ ตั้งจิตคงพิทยา
“survey 7” หลายคนอาจงง หนังค่ายฮอลลีวูด ของสตีเว่น สปีลเบิรก์ เอ๊ะ! หรือ จะหนังใหม่คา่ ย GTH ไม่ใช่แต่อย่างใด แต่หาก พูดถึง การสำ�รวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ครัง้ ที่ 7 อาจยังไม่รอ้ งอ๋อ แต่ถ้าคนที่ได้มีโอกาสเขียนโครงการ คงคุ้นเคยกับ “จากรายงาน สำ�รวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ ... พบว่า ..... มีสภาวะ เหงือกอักเสบร้อยละ...” พอจะเริ่มร้องอ๋อ! กันหรือยังครับ
วารสารทันตภูธร 9 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
การสำ�รวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติถือเป็นการสำ�รวจที่ได้ รับการยอมรับอย่างสูงว่ามีระเบียบวิธีวิจัยที่เป็นมาตรฐาน มีการ ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง (ทุก 5ปี) นอกจากนี้จากการสำ�รวจแต่ละ ครั้งยังทำ�ให้เกิดนวัตกรรมในการดำ�เนินงานทางสุขภาพช่องปาก ไม่ ว่าจะเป็น ฟันเทียมพระราชทาน เคลือบหลุมร่องฟันเด็ก ป.1
เมื่อโอกาสมาถึง กบตัวน้อยจึงได้ออกนอกกะลา ในช่วงเวลา ของการเรียนรู้การวิจัยทันตสาธารณสุขกับ อ.เพ็ญแข (จัดมาเป็น ครัง้ ที่ 3 แล้วนะ) ได้เสนอหัวข้อการปรับมาตรฐานการตรวจเฝ้าระวัง สภาวะทันตสุขภาพในพืน้ ที่ ประจวบเหมาะกับช่วงนัน้ หมออ้อยกำ�ลัง ต้องการเหล่า examiner อาจารย์เพ็ญแข และเหล่า commentator จึง แนะนำ �ให้เข้าร่วมเพือ่ ทีจ่ ะได้ตอ่ ยอดการเรียนรูจ้ ากสิง่ ทีส่ นใจในพืน้ ที ่
จากคนที่ ไ ม่ รู้ จั ก การสำ � รวจสภาวะทั น ตสุ ข ภาพแห่ ง ชาติ (เหมือนกับหลายๆท่านที่กำ�ลังอ่านบทความนี้) การเดินทางเข้า กรุงเทพครัง้ แรกจึงเริม่ ขึน้ เพือ่ เข้าไปรับฟังและทำ�ความรูจ้ กั กับ “survey 7” ตวั แทนจากจังหวัดต่างๆ (ยกเว้น 3 จังหวัดชายแดนเพือ่ ความ ปลอดภัยของ examiner) ทีจ่ ะเป็นพืน้ ทีส่ มุ่ สำ�รวจต่างเดินทางกันเข้า มาอย่างพร้อมหน้าพร้อมตาโดยยังมิรชู้ ะตากรรมของตน เพือ่ มาร่วมรู้ ถึงกระบวนการในการดำ�เนินงานเพือ่ ให้ได้มาซึง่ รายงานทีจ่ ะนำ�ไปสู่ การวางแผนการดำ�เนินงานทางสุขภาพช่องปากในอีก 5 ปี ข้างหน้า ผ่ านไป 2 วัน อย่างน้อยใครถามก็ตอบได้ว่า surver 7 ทำ�ไปทำ�ไม
ดั ง ที่ ก ล่ า วไว้ ข้ า งต้ น การสำ � รวจสภาวะทั น ตสุ ข ภาพ มี ระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จากทั้ ง ในและต่ า งประเทศ และยั ง เป็ น ระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย ที่ เ คร่ ง ครั ด การปรั บ มาตรฐาน การตรวจ จึงเกิดขึ้น นำ�มาสู่การเดินทางไปกรุงเทพเป็นครั้งที่สอง เพื่ อ รั บ ฟั ง การให้ ร หั ส แต่ ล ะตั ว และไปปรั บ มาตรฐานกั บ กลุ่ ม ตั วอย่ า งที่ โ รงพยาบาลบางเลน (ที่ เดี ยวกั บ ขนมเปี๊ ยะครู ส มศรี ) ตรวจจริ ง ! เครื่ อ งมื อ จริ ง ! สั ม ผั ส แรกกั บ WHO probe และ mouth mirror ตาม guideline ของ WHO (บอกแล้ ว ว่ า เรา เคร่งครัดในระเบียบวิธีวิจัย) ความไม่คุ้นเคยกับคำ�จำ�กัดความ ฟันผุของ WHO (แม้ว่าจะเป็นทันตแพทย์ มา 4 ปี เรียนในคณะ มาอีก 6 ปี ก็ตาม) รหัสการรักษาที่ไม่เคยรู้จัก แล้วยังมีรหัส ตรวจรากอีกพระเจ้าจอร์จ ทำ�ให้การตรวจในรอบแรก ช้าถึงช้ามาก ทีส่ ดุ แต่กผ็ า่ นไปด้วยดี มาในช่วงบ่ายเจอกับรหัสตรวจเหงือก ตรวจ ฟันปลอม ตรวจรอยโรคในช่องปาก ประกอบกับอากาศร้อนและ ฝนตกถึงกับทำ�ให้ต้องพึ่งอะเซตตามิโนเฟน (พารานั้นแหละ อยาก ทำ �ให้ยาก) “ลำ�พูน” เป้าหมายแรกของเรา เย็นวันอาทิตย์ ก็เตรียมเอกสาร วารสารทันตภูธร 10 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เครื่องมือให้พร้อม 7.30 เป็นเวลาดีเดย์อำ�เภอแรกคือ อ.ป่าซาง วัน แรกของการสำ�รวจ เพียงแค่ช่วงเช้า ตัวใหญ่ๆ ขนาดนี้ยัง glycogen สะสมไม่พอถึงขั้น hypoglycemia เกือบบ่ายสองได้เวลากินข้าว จัดหนักไปสามปรากฏว่า บ่ายไม่ย่อย อึดอัดเข้าไปใหญ่ ทำ�ให้ ตระหนักถึงความพอดี ผ่านพ้นวันแรก ผ่านพ้นวันแรกไปได้แบบ ทุลักทุเล แม้ว่าที่ป่าซางยังไม่เสร็จ แต่ตามแผนเราต้องเดินทางต่อ ไปที่ อ.บ้านโฮ่ง พีฉ่ ตั รหัวหน้าฝ่ายมาลุยเอง เดาว่า พีอ่ าจต้องเอารถ ไปเช็คนาํ้ มันเครือ่ งในวันรุง่ ขึน้ เพราะขับเกิน 5000 กิโล (เว่อร์ซะ่ ) แต่ พีฉ่ ตั รตระเวนรับส่งกลุม่ ตัวอย่างให้ตลอดเวลา ทำ�ให้เราแทบไม่ตอ้ ง เคลื่อนย้ายตัวอ้วนๆ ไปไหนเลยทีเดียว แต่วันนี้ก็ได้กินข้าวเย็นตอน สามทุ่มและนอนหลังเที่ยงคืนเพราะเราเลือกที่จะได้ตื่นสายจึงเดิน ทางไปนอนพักที่ อ.ลี้ พร้อมกับตรวจความสมบูรณ์ของแบบสำ�รวจ ตื่นเช้ามาเผชิญกับความวุ่นวายเล็กน้อยที่ศูนย์สุขภาพ ตกบ่ายเข้า อนุบาล ไปตรวจเด็กประถมที่โรงเรียน “อั๊ยยะ”ศิริ (ชื่อโรงเรียนจริงๆ เขียน อัยยะศิร)ิ ตกเย็นไปรอทีศ่ าลาประชาคม คืนนีท้ �ำ ให้เรารูว้ า่ ทีม เราเนี่ยไม่มีใครยอมแพ้กันเลย (เรื่องกิน) อีกสองวันถัดมาเป็นส่วน ของการเก็บตกทำ�ให้สามารถทำ�งานได้อย่างสนุกสนาน กลับไปพัก ที ่รพ.ของตนเองอีก 1 อาทิตย์ กลับมา รพ.แรกไม่ชินกับนํ้าหนัก mouth mirror เพราะที่เรา ใช้กนั อยูม่ นั หนักประมาณ 2 เท่าของทีใ่ ช้ส�ำ รวจ แสงไฟยูนติ ทีร่ สู้ กึ ว่า สว่างไป(ในการสำ�รวจ ระเบียบวิธีวิจัยบอกว่าต้องใช้แสงธรรมชาติ ในการตรวจ หรือไฟฉายแสงขาว)พร้อมกับรายงานข่าวจากทีมที่ไป ด้วยกันมาเมื่อทริปแรก ว่ากินขาหมู 4 ขา = หมู 1 ตัว (การประชัน ขาหมูล�ำ ปลายมาศและขาหมูนางรอง ซึง่ ก็มคี วามอร่อยแตกต่างกัน ระหว่ างขาหน้ากับขาหลัง) สามอาทิตย์ผ่านไปอย่างรวดเร็วการเดินทางสู่ จ.อ่างทองจึง เริม่ ขึน้ (ครัง้ แรกในชีวติ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง) 3 อำ�เภอทีส่ มุ่ ได้ อยู่ไม่ไกลจากตัวเมือง (จริงๆ แล้วอ่างทองเป็นจังหวัดที่เล็กมาก ถึง ขั้นพี่ปุณ (พี่ทันตา สสจ.)จะให้ไปนอน รร.ที่อยุธยา) ความแตกต่าง ทีอ่ า่ งทองคือแทบจะไม่มกี ารใช้เก้าอีส้ นาม ผูส้ งู อายุจะสูงอายุจริงๆ ทำ�ให้กลุม่ อายุ 60 –74 ปี และ 80 -89 ปี เราต้องออกเดินทางบุกบ้าน กลุม่ ตัวอย่าง ประจวบกับเป็นช่วงใกล้เลือกตัง้ ( มีเลือกตัง้ เทศบาลวัน อาทิตย์นนั้ ) คุณยายถึงกับถามว่าเบอร์อะไร ? (เอ๊ะหรือเราจะมีแวว) ที่ อ.ไชโย ไปดักผูป้ กครองนักเรียน ยืนตรวจกันหน้า รร. อีกกลุม่ หนึง่ ไปตรวจในตลาดนัด หนึ่งสัปดาห์ที่อ่างทองผ่านไปอย่างรวดเร็วกับ การกินโจ๊กและต้มเลือดหมูทุกวัน (ไม่ใช่อาหารขึ้นชื่อประจำ�จังหวัด เท่าผัดไทไชโย แต่ถ้าผ่านไปวิเศษชัยชาญ ขอแนะนำ�ให้เลี้ยวเข้า ตลาดไปลองชิม ถ้าตรงกับวันอังคารมีตลาดนัดใหญ่มากด้วย)
1 สัปดาห์ ผ่านไปอย่างรวดเร็ว การเดินทางที่น่าตื่นเต้นจึง เริม่ ต้น ทง้ั ชีวติ ก่อนทีจ่ ะเดินทางไปนครศรีธรรมราช เคยบินเพียง 5 ไฟล์ท (รวมที่ บินไป- กลับ ดอนเมือง อาทิตย์ก่อนแล้ว 3 ไฟล์ทแรก มีคน บินด้วย เริ่มหัดบินคนเดียวเมื่อต้อง ออก survey) แต่การเดินทาง ครัง้ นี้ ต้องเดินทางถึง 4 ไฟล์ท ในรอบสัปดาห์ และมี boarding pass 7 (ความลับ) เชียงใหม่ – สุวรรณภูม,ิ ดอนเมือง – นครศรีธรรมราช , นครศรีธรรมราช - สุวรรณภูมิ – เชียงใหม่ การเดินทางครัง้ นีค้ งทำ�ให้ ฉันกลัวเครื่องบินน้อยลงไปซักเล็กน้อย นครศรีธรรมราชหรือสำ�นัก ทันตสาขาภาคใต้คงจะไม่ผิด กลุ่มงานทันต ที่ สสจ. รวมทั้งทันต บุคลากรในจังหวัด คุ้นเคยกับการมาของสำ�นักทันตะฯ รวมทั้งทีม สำ�รวจที่ผ่านการสำ�รวจมาหลายจังหวัดทำ�ให้เข้าขากันเป็นอย่างดี ทำ�ให้การสำ�รวจผ่านพ้นไปอย่างไม่ยากลำ�บากแต่กระนั้นก็ยังได้ ประสบการณ์ บุกไปหน้าสนามกีฬาเพื่อหาเด็กอายุ 5 ปี (ช่วงนั้นมือ
เท้าปาก ระบาด ปิดกันไปหลายศูนย์เด็ก และยังเป็นช่วงแข่งกีฬา ของอำ�เภอร่อนพิบลู ย์ ) การได้ไปตรวจในคุกเก่า (ปัจจุบนั เป็นศูนย์เด็ก ชมรมผู้สูงอายุ) ถ้าเป็นเรือนจำ�กลางนครศรีฯ ที่ดังๆ เป็นข่าวตอนนี้ คงแย่ เหมือนกัน การสำ�รวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 7 ภาคสนาม จะ เสร็จสิ้นไปเรียบร้อย (กทม. จุดสุดท้ายเมื่อปลายกลางเดือน สค. ที่ ผ่านมา) ผู้ประสานในหลายพื้นที่อาจเหนื่อยมากมาย พร้อมกับไม่ อยากให้สถิติ สุ่มโดนในอีก 5 ปีข้างหน้าซักเท่าไหร่ แต่เชื่อว่า เมื่อ รายงานฉบับสมบูรณ์เสร็จสิ้นและมีการนำ�เสนอในวงกว้าง นำ�ไปสู่ นโยบายที่จะเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ โดยเฉพาะสุขภาพช่องปาก ของประชาชนคนไทยแล้ว พวกเรา (สำ�นักทันตะ ทีมสำ�รวจ ทีมพืน้ ที)่ จะภาคภูมิใจกับความเหนื่อยที่มีค่าอย่างมากในครั้งนี้ แล้วเจอกัน อีกใน survey 8 ครับ
วารสารทันตภูธร 11 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ทันตบุคลากรไม่ได้ให้การรักษาโรคเหงือกอักเสบ แต่ให้บริการขูดหินน้ำ�ลาย ทพ.ดร. ธงชัย วชิรโรจน์ไพศาล
แต่ถ้าถามผู้ป่วยที่ไปรับการรักษา ผมเชื่อว่า ผู้ป่วยมากกว่า ร้อยละ 90 จะตอบว่า พอเป็นโรคเหงือกอักเสบแล้ว การรักษาคือ การขูดหินนาํ้ ลาย มีผปู้ ว่ ยน้อยมากทีจ่ ะตอบว่า การรักษาโรคเหงือก อั กเสบคือการกำ�จัดเอาแผ่นคราบจุลินทรีย์ออก
จริงๆ แล้วอะไรเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเหงือกอักเสบกันแน่? หิ นนํ้าลายหรือแผ่นคราบจุลินทรีย์?
ถ้าถามทันตบุคลากรว่า สาเหตุของการเกิดโรคเหงือกอักเสบ คืออะไร คำ�ตอบที่ได้รับก็คือ แผ่นคราบจุลินทรีย์เป็นสาเหตุหลักที่ ทำ�ให้เกิดเหงือกอักเสบ หินนํ้าลายเป็นเพียงปัจจัยเสริมที่ทำ�ให้แผ่น คราบจุ ลินทรีย์มีที่อยู่อย่างสุขสบายเท่านั้น ถ้ากำ�จัดสาเหตุคอื แผ่นคราบจุลนิ ทรียอ์ อกได้เหงือกอักเสบจะ ลดลง และอาจหายจากโรคเหงือกอักเสบได้แม้ว่าจะไม่ได้กำ�จัดหิน นํ้าลายออกก็ตาม สังเกตุได้จากที่เรามักจะพบผู้ป่วยทีมีหินนํ้าลาย อยู่ตามซอกฟันและคอฟันแต่มีเหงือกปกติไม่อักเสบ สิ่งนี้เป็นสิ่ง พิ สูจน์ได้ว่าเหงือกอักเสบมาจากแผ่นคราบจุลินทรีย์เป็นหลักจริงๆ
เวลาที่มีผู้ป่วยที่เป็นโรคเหงือกอักเสบหรือโรคปริทันต์อักเสบ เดินเข้ามาในคลินิกทันตกรรม สิ่งที่ทันตแพทย์หรือทันตาภิบาล ให้การรักษาโรคเหงือกอักเสบคืออะไรครับ คำ�ถามนี้ดูไม่ยาก แต่ คำ �ตอบที่ได้ต่างกันครับ ขึ้นกับคนที่ตอบ
ถ้าเป็นทันตแพทย์หรือทันตาภิบาล คำ�ตอบที่ได้รับมักจะเป็น การขูดหินนํ้าลายร่วมกับสอนแปรงฟัน สอนการใช้ไหมขัดฟัน การ อธิบายความรู้เรื่องแผ่นคราบจุลินทรีย์กับการเกิดเหงือกอักเสบ เป็นต้น วารสารทันตภูธร 12 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
แล้วทำ�ไมผูป้ ว่ ยเข้าใจผิดว่า การรักษาโรคเหงือกอักเสบคือการ ขู ดหินนํ้าลาย ใครทำ�ให้ผู้ป่วยเข้าใจผิดในเรื่องนี้
ผมไม่อยากบอกว่า ทันตบุคคลกรเป็นผู้ทำ�ให้ประชาชนและ ผูป้ ว่ ยเข้าใจผิด แต่อยากบอกว่า กระบวนการรักษาโรคเหงือกอักเสบ ทีเ่ ราทำ�กันอยูท่ กุ วันนีท้ �ำ ให้ประชาชนเข้าใจผิดครับ เพราะเราใช้เวลา ในการให้บริการขูดหินนํา้ ลายเป็นหลักและสอนแปรงฟันสัก 4-5 นาที (หรื ออธิบาย 2-3 ประโยค) ผมมีตัวอย่างรูปแบบการรักษาโรคเหงือกอักเสบที่เป็นการ รักษาโรคเหงือกอักเสบจริงๆ สักสองสามตัวอย่างมาเล่าให้ฟังครับ
ตัวอย่างแรก มาจาก ทันตาภิบาลวัลภา ทันตาภิบาล
ประจำ�รพสต.ห้วยแห้ง อำ�เภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ที่ชาวบ้าน เรียกว่า “หมอภา” พืน้ ทีต่ �ำ บลห้วยแห้ง เป็นพืน้ ทีท่ ภี่ าควิชาทันตกรรม ชุมชน คณะทันตแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ไปทำ� โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ผมได้ลงพืน้ ทีแ่ ละเห็นการทำ�งาน ของหมอภาทั ง้ งานในชุมชนและงานในคลินกิ ทันตกรรม
เวลามีชาวบ้านมาขอขูดหินนา้ํ ลายกับหมอภา สิง่ ทีห่ มอภาทำ� ในครัง้ แรกก็คอื “สอนแปรงฟัน” เพียงอย่างเดียว เน้นนะครับว่าสอน แปรงฟันเพียงอย่างเดียว และใช้เวลานานพอสมควรในการสือ่ สารกับ ผูป้ ว่ ยว่า เหงือกอักเสบเกิดจากแผ่นคราบจุลนิ ทรีย์ ดังนัน้ เหงือกอักเสบ จะลดลง เมือ่ เอาแผ่นคราบจุลนิ ทรียอ์ อกได้หมด และวิธกี ารเอาแผ่น คราบจุลนิ ทรียอ์ อกคือการแปรงฟัน เมือ่ อธิบายเสร็จหมอภาจะลงมือ สอนแปรงฟั นข้างเก้าอีท้ �ำ ฟัน ใช้วธิ กี ารฝึกแปรงฟันจริงในช่องปาก
พวกเราหลายคนอาจสงสัยว่า แล้วผู้ป่วยจะไม่ร้องเรียนว่า มาหา หมอแล้วไม่ได้รับบริการ แค่สอนแปรงฟันแล้วก็ให้กลับ หมอขี้เกียจ ทำ�งาน ฯลฯ ที่ห้วยแห้งไม่พบปัญหานี้ครับ เนื่องจากว่าชาวบ้านใน พื้นที่นี้รับรู้ว่าหมอภาเป็นคนขยันขันแข็ง ทำ�งานเต็มที่ทั้งงานบริการ ในรพสต.และงานทีอ่ อกพืน้ ที่ และการสอนแปรงฟันก็ไม่ได้สอนแบบ พอเป็นพิธี(กรรม) แต่สอนด้วยความปรารถนาดีและความตั้งใจทำ� อย่ างเต็มที่ ดังนั้นจึงไม่เกิดปัญหาร้องเรียนขึ้น
ถ้าเกิดปัญหาร้องเรียนจะทำ�อย่างไรดี ผมอยากถามว่า เรา อธิบายได้หรือไม่ว่า การที่เราสอนแปรงฟันให้เป็นการรักษาโรค เหงือกอักเสบทีต่ น้ เหตุของปัญหา (คือแผ่นคราบจุลนิ ทรีย)์ ถ้าอธิบาย ได้กน็ า่ จะเป็นเหตุผลทีฟ่ งั ขึน้ ในทางกลับกัน เราอาจอธิบายได้ไม่เต็ม ปากว่า สิง่ ทีเ่ ราขูดออกจากฟัน (หินนาํ้ ลาย) ไม่ได้เป็นสาเหตุของโรค เหงื อกอักเสบ แต่เราให้บริการขูดหินนํ้าลายให้
ในปีนที้ างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รว่ มกับ โรงพยาบาล แก่งคอยและสำ�นักงานสาธารณสุขอำ�เภอแก่งคอย ในการขยาย ผลเรื่ อ งนี้ โ ดยจั ด ให้ มี ก ารรั ก ษาโรคเหงื อ กอั ก เสบโดยวิ ธี ก ารนี้ ในโรงพยาบาลแก่งคอย และ รพสต.อีก 7 แห่งในอำ�เภอแก่งคอยทีม่ ี ทันตาภิบาลอยู่ เพื่อพิสูจน์ว่าทำ�ได้จริง
พอสอนแปรงฟันเสร็จ หมอภาจะบอกว่า “กลับบ้านได้แล้ว ค่ะ ถ้าแปรงฟันได้ตามที่หมอสอน สัปดาห์หน้าเหงือกที่อักเสบบวม ก็จะยุบลง เลือดไม่ออกเวลาแปรงฟัน แล้วหมอจะขูดหินนํ้าลายให้ สั ปดาห์หน้านะค่ะ”
สิ่งที่หมอภาทำ�ก็คือ การเสริมพลังให้ผู้ป่วยที่มีเหงือกอักเสบ ดูแลตนเองก่อน เมือ่ ผูป้ ว่ ยแปรงฟันได้ดเี หงือกอักเสบลดลง ผูป้ ว่ ยจะ เรียนรูว้ า่ การแปรงฟันจะทำ�ให้เหงือกอักเสบลดลงได้ เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ ง สำ�คัญทีท่ �ำ ให้ผปู้ ว่ ยได้เรียนรู้ ต่างจากกระบวนการรักษาทีใ่ ห้บริการ ขูดหินนา้ํ ลายไปพร้อมๆ กับการสอนแปรงฟัน ซึง่ ทำ�ให้ผปู้ ว่ ยเข้าใจผิดว่า การขูดหินนา้ํ ลายเป็นสิง่ สำ�คัญทำ�ให้เหงือกอักเสบลดลง ผู้ป่วยไม่ได้ เรียนรู้ว่า การเอาคราบจุลินทรีย์ออกได้ด้วยตนเองจะทำ�ให้เหงือก อักเสบลดลงได้ บางคนอาจแย้งว่าเราได้อธิบายให้ผ้ปู ่วยทราบว่า แผ่นคราบจุลินทรีย์ทำ�ให้เกิดเหงือกอักเสบ แม้ว่าเราจะพยายาม อธิบายอย่างไรก็ตามผูป้ ว่ ยก็ไม่เข้าใจได้ลกึ ซึง้ เท่ากับการลงมือทำ�เอง จนเห็นผลที่เกิดขึ้น วารสารทันตภูธร 13 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
วิธกี ารใช้ไม้จม้ิ ฟันในการขูดเอาแผ่นคราบจุลนิ ทรียข์ องอาจารย์มี เทคนิคเฉพาะ ทันตแพทย์ทจ่ี บจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คงจะคุน้ เคย ผมขอไม่เล่าในบทความนี้ (ทราบมาว่า ทางสำ�นักทันตสาธารณสุขอาจ จะเผยแพร่ และดำ�เนินการในเรือ่ งนี)้ เมือ่ ผูป้ ว่ ยกลับมาพบในสัปดาห์ถดั ๆ ไป ถ้าสามารถใช้ไม้จม้ิ ฟัน ได้ดี เหงือกทีอ่ กั เสบจะลดลง เมือ่ นำ�เชือ้ โรคมาส่องในกล้องจุลทรรศน์ อีกครัง้ ผูป้ ว่ ยจะเห็นด้วยตาตนเองว่าเชือ้ โรคทีพ่ บเปลีย่ นไปจากเชือ้ โรค ชนิดรุนแรง ทีม่ ลี กั ษณะเป็นเกลียว เป็นเส้นเคลือ่ นไหวรวดเร็ว กลาย เป็นเชือ้ โรคทีม่ ลี กั ษณะกลม หรือเป็นทรงกระบอก ซึง่ การอธิบายให้ ผู ป้ ว่ ยเข้าใจทำ�ได้ไม่ยากนักเพราะเห็นได้ชดั เจน
เมื่อนัดมาหลายๆ ครั้งจนผู้ป่วยมีทักษะในการใช้ไม้จ้มิ ฟันได้ดี เหงือกอักเสบลดลงได้มากแล้ว อาจารย์จงึ จะให้บริการขูดหินนํา้ ลายให้ ซึง่ จะขูดหินนํา้ ลายได้งา่ ยมาก มีเลือดออกน้อยเพราะเหงือกแข็งแรงขึน้ มี การอักเสบน้อยลง
ตัวอย่างที่สอง มาจากอาจารย์ทันตแพทย์ท่คี ณะทันต
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คือ อาจารย์ผสุ ดี ศรีเจริญ ผมพบ อาจารย์ผสุ ดีในการประชุมสัมมนา มาตรฐานไม้จม้ิ ฟัน ทีจ่ ดั โดยสำ�นัก ทันตสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข เมือ่ ปลายเดือนพฤษภาคม 2555 ที่ผ่านมา อาจารย์ผุสดีท่านเป็นวิทยากรที่ผมประทับใจมาก แม้วา่ ท่านจะอายุ 72 ปี ก็ยงั ดูแข็งแรง กระฉับกระเฉง อารมณ์ดี รวม ทัง้ การบรรยายของอาจารย์เป็นแบบตรงไปตรงมา และตอบคำ�ถาม เรื อ่ งการรักษาโรคเหงือกอักเสบได้ตรงจุดมาก
อาจารย์ผสุ ดี บรรยายว่า เมือ่ มีผปู้ ว่ ยเป็นโรคปริทนั ต์อกั เสบหรือ โรคเหงือกอักเสบมา สิ่งที่ทันตแพทย์ท่วั ๆ ไปทำ�มักจะทำ�คือ ขูดหิน น้าํ ลายให้ผ้ปู ่วยและสอนแปรงฟันพอเป็นพิธี ซึ่งที่ผ่านมาพบว่าไม่ สามารถทำ�ให้ผ้ปู ่วยควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ได้ อาจารย์เสนอให้ เปลีย่ นใหม่ ในครัง้ แรกทีพ่ บผูป้ ว่ ย อาจารย์จะสอนเรือ่ งเชือ้ โรคและ แผ่นคราบจุลนิ ทรียท์ เ่ี ป็นสาเหตุของโรค ในผูป้ ว่ ยโรคปริทนั ต์อกั เสบ บางคนอาจารย์จะใช้การทดสอบโดยเอาเชื้อโรคจากแผ่นคราบ จุลนิ ทรียข์ องผูป้ ว่ ยใส่ในกล้องจุลทรรศน์และขยายขึน้ จอทีวี ผูป้ ว่ ยจะ เห็นได้ดว้ ยตาตนเองว่าเชือ้ โรคทีท่ �ำ ให้เกิดโรคปริทนั ต์อกั เสบมีหน้าตา เป็นอย่างไร จากนัน้ อาจารย์จะสอนการใช้ไม้จม้ิ ฟันในการขูดเอาแผ่น คราบจุลนิ ทรียท์ อ่ี ยูท่ ค่ี อฟันออก สอนใช้ไม้จม้ิ ฟันอย่างเดียวโดยไม่ได้ สอนเรือ่ งการแปรงฟันแต่อย่างใด ให้ผปู้ ว่ ยฝึกการใช้ไม้จม้ิ ฟันจนเข้าใจ แล้วให้กลับไปทำ�ต่อทีบ่ า้ น นัดมาพบทันตแพทย์ใหม่ในสัปดาห์ถดั ไป ทัง้ นีเ้ ชือ่ ว่า ผูป้ ว่ ยมีการแปรงฟันอยูแ่ ล้วก็ให้แปรงฟันแบบเดิม ไม่ตอ้ ง เปลี ย่ นวิธกี ารแปรงฟันของผูป้ ว่ ย แต่เพิม่ การใช้ไม้จม้ิ ฟันเข้าไป วารสารทันตภูธร 14 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
คำ�ถามในการบรรยายของอาจารย์ท่ีสำ�คัญคำ�ถามหนึ่งก็คือ “อะไร สำ�คัญกว่า อะไร ระหว่างแผ่นคราบจุลนิ ทรียแ์ ละหินนา้ํ ลาย” ถ้ าสิง่ ไหนสำ�คัญกว่าก็จะต้องทำ�สิง่ นัน้ เป็นหลัก อาจารย์เล่าว่า หัวใจของเรือ่ งนีค้ อื ต้องคิดว่าไม่ได้สอนการ กำ�จัดคราบจุลนิ ทรีย์ แต่ เป็นการเอาใจใส่ผปู้ ว่ ย อยากให้ผปู้ ว่ ยหาย จากโรคปริทันต์อักเสบ แนวคิดของอาจารย์แบบนี้ผมคิดว่า เป็น สุดยอดของการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของผูป้ ว่ ยเลยครับ
ตัวอย่างทีส่ าม มาจากคลินกิ ทันตกรรมป้องกัน ของ
ภาควิชาทันตกรรมชุมชน คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ที่นิสิตชั้น ปีท่ี 5 ไปปฎิบัติงานในโรงเรียนพีระยานุเคราะห์ รูปแบบจะเป็นการ ประเมิ น ความเสี่ย งโรคฟั น ผุ แ ละโรคปริ ทัน ต์ อัก เสบของครู แ ละ ผู้ปกครองนักเรียน มีการใช้ชุดทดสอบนํ้าลายและเชื้อโรคต่างๆ ร่วมด้วย โดยปกติแล้ว เวลาที่เรานัดครูหรือผู้ปกครองมาเข้าร่วม ประเมินความเสีย่ งต่อโรคและสือ่ สารเพือ่ ปรับพฤติกรรมนัน้ ครูและ ผู้ปกครองมักจะคาดหวังว่า อาจารย์หมอและนิสิตน่าจะให้บริการ ขูดหินน้าํ ลายให้ด้วย ตัวอย่างนี้เป็นเรื่องความเข้าใจผิดของครูและ ผูป้ กครอง ทีค่ ดิ ว่า การขูดหินนา้ํ ลายเป็นการรักษาโรคเหงือกอักเสบ (ผมเล่าในตอนต้นแล้วว่า ความเข้าใจผิดนีม้ าจากกระบวนการรักษา โรคเหงือกอักเสบของเราที่ ไปเน้นเรือ่ งการขูดหินนํา้ ลายเป็นหลัก หรือ ไปสอนแปรงฟันพร้อมๆ กับการขูดหินนา้ํ ลาย) แต่การสือ่ สารทีด่ จี ะ ทำ �ให้ครูและผูป้ กครองเข้าใจเราได้ครับว่า ทำ�ไมจึงไม่ขดู หินนํา้ ลายให้ การสือ่ สารทีน่ สิ ติ ใช้กบั ผูป้ ว่ ยในเรือ่ งเหงือกอักเสบน่าสนใจ มากครับ ผมจะลองยกตัวอย่างมาให้เห็นสักตัวอย่างนะครับ นิสิต : “เวลาที่คุณครูแปรงฟันมีเลือดออกหรือเปล่าค่ะ” ครู : “บางครั้งก็มีเลือดออก บ้างครั้งก็ไม่มีเลือดออก” นิสติ : “คุณครูทราบหรือไม่คะ่ ว่าทำ�ไมถึงมีเลือดออกเวลาทีแ่ ปรงฟัน” ครู : “สงสัยแปรงฟันแรงเกินไปมั๊ง ทำ�ให้เลือดออก” นิสติ : “เดีย๋ วเรามาดูในปากกันนะค่ะว่า ทำ�ไมถึงเลือดออก” จากนัน้ นิสติ ก็ชใ้ี ห้คณ ุ ครูดเู หงือกทีม่ บี างส่วนทีอ่ กั เสบบวมแดง บางส่วนทีเ่ หงือกปกติ จากนัน้ เอาแปรงสีฟนั ถูเบาๆ คุณครูจะสังเกตุ ได้ว่า ตรงที่เหงือกอักเสบเวลาแปรงสีฟันไปโดนก็จะเลือดออก แต่ บริเวณที่เหงือกปกติ แปรงอย่างไรเลือดก็ไม่ออก “ถ้าอย่างนัน้ เวลาทีเ่ ลือดออกก็ไม่ใช้เพราะแปรงฟันแรง แต่มา จากเหงือกอักเสบนัน่ เอง” คุณครูสรุปได้เองหลังจากทีเ่ ห็นด้วยตาของ ตนเอง กระบวนการนี้ไม่ได้เกิดจากที่นิสิตสอนหรือบอกให้ฟัง นิสติ ถามต่อว่า “แล้วอะไรเป็นสาเหตุทท่ี �ำ ให้เหงือกอักเสบละค่ะ” นิสติ ทีเ่ ราฝึกไว้ดี จะใช้วธิ ตี ง้ั คำ�ถามให้ครูรว่ มคิดมากกว่าทีจ่ ะสอนหรือ บอกโดยตรง ครูตอบว่า “ น่าจะเป็นหินปูนที่ทำ�ให้เหงือกอักเสบ” คำ�ตอบครู เป็นไปตามที่เราคาดไว้ “คุณครูคะ่ เวลาทีผ่ วิ หนังอักเสบ บวม เป็นหนอง อะไรเป็นสาเหตุ ละค่ ะ” นิสติ ยกตัวอย่างเรือ่ งอืน่ เพือ่ ให้ครูเทียบเคียงเรือ่ งการอักเสบ ครูตอบอย่างมัน่ ใจว่า “มาจากเชือ้ โรคทีท่ �ำ ให้อกั เสบ บวม เป็นหนอง” ตอนนีก้ เ็ ข้าทางทีเ่ ราเตรียมไว้ “ใช่คะ่ ถูกต้องค่ะ ดังนัน้ .....” นิสติ ยังไม่ทันพูดจบ คุณครูก็พูดสวนขึ้นมา
“อ๋อ เหงือกอักเสบก็มาจากเชื้อโรคใช่ไหม” คุณครูสรุปได้ด้วย ความรวดเร็ว หลังจากนัน้ นิสติ ก็ชใี้ ห้ดแู ผ่นคราบจุลนิ ทรียใ์ นช่องปาก เขี ่ยให้เห็นว่ามีลักษณะอย่างไร “ถ้าเอาแผ่นคราบจุลินทรีย์ออก เหงือกก็จะหายอักเสบ เลือด ก็จะไม่ออกใช่ไหม” คุณครูถามด้วยความสนใจ ซึ่งแสดงว่า คุณครู ได้ค้นพบคำ�ตอบจากกระบวนการสื่อสารของนิสิต โดยที่นิสิตไม่ได้ อธิบายหรือบอก การที่คุณครูค้นพบคำ�ตอบ แสดงว่า คุณครูเข้าใจ อย่ างถ่องแท้ นิสติ ตอบว่า “ใช่คะ่ คุณครูเก่งจัง ถ้าคุณครูแปรงฟันได้ดี เอาแผ่น คราบจุลนิ ทรียอ์ อกได้หมด เมือ่ แปรงฟันไปสัก 2-3 วัน เหงือกจะหาย อักเสบค่ะ เลือดจะไม่ออกอีกค่ะ” นิสิตใช้กระบวนการชื่นชม เพื่อให้ ครู มีกำ�ลังใจ “คุณครูคะ่ แผ่นคราบจุลนิ ทรียเ์ กิดขึน้ ทุกวันนะค่ะ ถ้าคุณครูแปรง ฟันได้ไม่ดี แปรงไม่ถงึ คอฟัน เอาคราบจุลนิ ทรียอ์ อกไม่ได้ สักวันสองวัน ตรงตำ�แหน่งทีแ่ ปรงฟันไม่ดี เหงือกก็อกั เสบอีกนะค่ะ พอกลับมาแปรง ฟั นดีตรงคอฟัน ก็จะมีเลือดออกอีกนะค่ะ” นิสติ ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติม คุณครูสรุปเองว่า “รู้แล้วละ ถ้ามีเลือดออกก็แสดงว่า เป็น สัญญานเตือนว่าเหงือกอักเสบใช่ไหม และเวลาแปรงฟันต้องเน้นที่ คอฟัน ถ้าแปรงที่คอฟันได้สะอาดแล้วเหงือกก็จะไม่อักเสบเลือดก็ จะไม่ ออก เข้าใจแล้วละ” นิสติ : “คุณครูคะ่ คราวหน้าหนูจะมาขูดหินนาํ้ ลายให้นะค่ะ ถ้า คุณครูแปรงฟันได้ดี เหงือกไม่อกั เสบ เวลาทีห่ นูขดู หินนาํ้ ลายให้ ก็จะ ไม่ค่อยมีเลือดออกค่ะ พอหนูคิดหินนํ้าลายออกให้ คุณครูก็จะแปรง ฟันได้ง่ายขึ้น เพราะไม่มีหินนํ้าลายที่ขรุขระให้แผ่นคราบจุลินทรีย์ เกาะนะค่ ะ” คุณครู: “ขอบใจมากจ๊ะ ต้องแปรงฟันให้ดีทุกวัน อย่าให้มีเชื้อ โรคเกาะ เหงือกจะได้แข็งแรง ไม่อักเสบ” ผมยกตัวอย่างการสนทนาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระหว่าง นิสิตทันตแพทย์กับครูโรงเรียนมาให้เป็นตัวอย่างว่า เราพยายาม หลีกเลี่ยงการสอน การให้ความรู้ หลีกเลี่ยงการโน้มน้าวผู้ป่วยให้ เชือ่ ตามทีท่ นั ตแพทย์เชือ่ เปลีย่ นมาเป็นการตัง้ คำ�ถาม ให้ผปู้ ว่ ยได้คดิ ได้วิเคราะห์ จนเข้าใจและตัดสินใจได้เองว่าควรจะทำ�อย่างไร ใช้ การเข้ าหาเชิงบวก ใช้การชื่นชม ผมเชือ่ ว่าการสือ่ สารในลักษณะนีจ้ ะทำ�ให้เกิดความเข้าใจกัน ระหว่างผูป้ ว่ ยและทันตบุคลากรอย่างดี ผูป้ ว่ ยเข้าใจว่าทันตบุคลากร ต้องการช่วยผู้ป่วยกำ�จัดสาเหตุของโรคเหงือกอักเสบ ทำ�ด้วย ความหวังดี ไม่ได้ทจ่ี ะขีเ้ กียจขูดหินนํา้ ลายให้
วารสารทันตภูธร 15 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
สุดท้าย ผมคิดว่า หัวใจสำ�คัญของการปรับเปลีย่ นความเข้าใจ ของคนในสังคมว่า การขูดหินนํ้าลายไม่ได้เป็นการรักษาเหงือก อักเสบนั้น อยู่ที่การแยกการแปรงฟัน (และหรือ ไม้จิ้มฟัน) ออกจาก การขูดหินนาํ้ ลาย ให้แยกทำ�ในแต่ละครัง้ ทีพ่ บกับผูป้ ว่ ยอย่าทำ�พร้อม กันในครัง้ เดียว และจะต้องทำ�เรือ่ งทีส่ �ำ คัญกว่าก่อน คือทำ�เรือ่ งแผ่น คราบจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของเหงือกอักเสบก่อน
วารสารทันตภูธร 16 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ผมเชื่ อ ว่ า มี ทั น ตแพทย์ แ ละทั น ตาภิ บ าลจำ � นวนไม่ น้ อ ยที่ ให้การรักษาโรคเหงือกอักเสบด้วยวิธกี ารทีผ่ มยกตัวอย่างไว้ตอนต้น ตัวอย่างเช่น เมื่อกลางเดือนมิถุนายน 2555 ที่ผ่านมา โรงพยาบาล เดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานีได้เชิญผมไปบรรยายเรือ่ ง Silver Diamine Fluoride ผมได้ใช้โอกาสสอบถามทันตบุคลากรทีม่ าร่วมประชุมในเรือ่ ง การรักษาโรคเหงือกอักเสบ พบว่า ทีโ่ รงพยาบาลวารินชำ�ราบ ก็สอน แปรงฟันแยกต่างหากในครัง้ แรก และให้บริการขูดหินนา้ํ ลายหลังจาก ที ผ่ ป้ ู ว่ ยสามารถควบคุมแผ่นคราบจุลนิ ทรียไ์ ด้แล้ว ผมอยากเชิญชวนพวกเรา ให้การรักษาโรคเหงือกอักเสบ ที่ ส าเหตุ กั น เถอะครั บ ช่ ว ยกั น การพั ฒ นาศั ก ยภาพผู้ ป่ ว ย (Empowerment) ให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้ผ่านการทำ�จริง ช่วยกัน ทำ�ให้คนไทยมีสุขภาพเหงือกที่ดีขึ้นนะครับ เราจะได้ลดภาระ ในการขูดหินนํ้าลายให้ผู้ป่วยทุก 6 เดือนลงครับ
ความต้องการทางทันตกรรม (Dental Need) : Propensity-Related Need (PRN) รศ.ทญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ sudaduang@hotmail.com
ฉบับนี้ขอเปลี่ยนไปพูดเรื่องอื่นที่ไม่ใช่คุณภาพชีวิตฯ ช่องปาก หน่อยนะคะ พอดีเห็นบทความของ อ.ธงชัย เรื่องการขูดหินปูนที่ไม่ ควรมองว่าเป็นการรักษาเหงือกอักเสบ จึงคิดว่าจะเล่าให้ฟังบ้างถึง เรื ่องที่คล้ายคลึงกันค่ะ แนวคิดเรือ่ ง “Health Need” หรือความต้องการทางสุขภาพ ได้ ถูกนำ�มาใช้ในวิชาชีพทันตกรรม โดยใช้ค�ำ ว่า Dental/Oral Need หรือ ความต้องการทางทันตกรรม Need มีอยู่หลายประเภทค่ะ หลักๆ ที่ คุ้นกัน เช่น - Normative Need (NN) หรือ บางทีเรียกว่า Professional Need หมายถึง ความต้องการที่บุคลากรทางการแพทย์ เป็ น ผู้ กำ � หนด โดยใช้ เ กณฑ์ ท างวิ ช าชี พ ที่ อ ยู่ บ นพื้ น ฐาน แนวคิดเชิง bio-medical หรือ โรค ประมาณว่า where there is a disease, there is a need for treatment เมื่อ หมอตรวจเจอ “โรค” ก็ร ะบุว่าคนคนนั้น “ความต้อ งการ” ในการรักษาค่ะ - Perceived Need (PN) หมายถึง ความต้องการที่มาจาก ความรู้สึกของคนคนนั้น ประมาณว่า Do you need any treatment? ถ้า Yes ก็ถอื ว่าคนคนนัน้ มี Perceived Need ค่ะ จะเห็ น ได้ ว่ า Need ทั้ ง สองประเภทแตกต่ า งกั น โดย สิ้นเชิง อันแรกประเมินจากหมอ อันหลังประเมินจากผู้ป่วย หรือ ประชาชน ที่นี่ก็เลยเกิดคำ�ถามตามมาว่าแล้วอันไหนล่ะเป็น Need ที ่เหมาะสมจริงๆ Normative Need ถูกวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างมากถึงความไม่เหมาะ สม โดยเฉพาะเมือ่ นำ�มาใช้กบั งานระดับประชากร เพราะถ้าเอาจำ�นวน ของโรคไปเท่ากับการรักษาทีป่ ระชากรควรจะได้รบั ตายพอดีคะ่ งาน ท่วมหัวไม่ได้ผดุ ได้เกิด คิดเล่นๆ ฟันผุ คนละ 1 ซี่ = อุดฟัน 70 ล้านคน, 90% มีหนิ ปูน = ขูดหินปูน 60 ล้านปาก, 4 ล้านคนมีสันเหงือกว่าง = ต้องการฟันเทียม 4 ล้านชิ้น คือ ไม่ได้ขี้เกียจ แต่ในความเป็นจริง ทรัพยากรทางสุขภาพ (หมอ วัสดุ เวลา และเงิน) มันมีจำ�กัด ไปสามารถรองรับ Normative Need ใน ประชากรได้ (ถ้าในคลินิก ผู้ป่วยน้อย หมอว่าง ผู้ป่วยยินดีจ่าย หมอ ก็ยินดีรับ ก็อีกเรื่องหนึ่งค่ะ) ดังนั้น Normative Need จึงถูกวิจารณ์ ว่า “unrealistic” หรือแม้กระทั่ง “romantic” ก็มนี ะคะ ประมาณว่า เป็นพ่อพระแม่พระ จะรักษาให้โหม้ดทุกคน
ประเด็นจึงอยู่ที่ว่าจะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำ�กัดให้ เหมาะสมได้อย่างไร จะประเมิน Need อย่างไรเพื่อให้เอาไปใช้ได้ จริงในงานทันตสาธารณสุข จึงมีผู้เสนอ Need แบบใหม่ๆ ขึ้นมา หลายแบบค่ะ โอกาสนีจ้ ะขอเล่าให้ฟงั ถึง Propensity-Related Need (PRN) ค่ะ Propensity หมายถึง โอกาสทีจ่ ะได้บรรลุผลอะไรสักอย่าง PRN จึงหมายถึง need ที่ขึ้นกับว่าจะบรรลุผลตามที่ให้ไปไหม กล่าวคือ - ถ้าได้รับการรักษาไปแล้ว โอกาสที่การรักษาจะประสบ ผลสำ�เร็จมีสูง เรียกว่า มี High PRN ก็จะถือว่าคนคน นั้นมีความพร้อมแล้วที่จะได้รับการรักษานั้น - แต่ ถ้ า ได้ รั บ การรั ก ษาไปแล้ ว โอกาสที่ ก ารรั ก ษาจะ ประสบผลสำ�เร็จมีต่ำ� เรียกว่า มี Low PRN คนคนนั้น ก็ยังไม่พร้อมที่จะได้รับการรักษาแต่เขาควรที่จะได้รับ การรั ก ษาอย่ า งอื่ น ก่ อ น เพื่ อ เพิ่ ม ระดั บ PRN ของเขา ให้ สู ง ขึ้ น หรื อ มี ค วามพร้ อ มมากขึ้ น ต่ อ การรั ก ษานั้ น และอาจพิ จ ารณาให้ ก ารรั ก ษาอย่ า งอื่ น ร่ ว มด้ ว ยหาก จำ�เป็นที่จะต้องแก้ไขสภาพที่เป็นอยู่ ตัวอย่างเช่น ค่าเปลี่ยนลิ้นหัวใจเทียมให้ผู้ป่วยในประเทศ อังกฤษสูงมาก และรัฐบาลช่วยจ่าย ดังนั้น ถ้าผู้ป่วยยังสูบบุหรี่ อยู่ ก็จะไม่เปลี่ยนให้ค่ะ เอาไปเปลี่ยนให้คนที่เลิกบุหรี่แล้ว คุ้ม ค่ากว่าเป็นไหนๆ ผู้ป่วยที่ยังไม่เลิกบุหรี่ ก็ควรจะได้รับการบริการ ในรูปแบบอื่นเพื่อให้เลิกบุหรี่ได้ก่อน มีฟ้องค่ะ ไม่ยุติธรรม! อิฉัน มี สิทธิ จ ะต้ องได้ รั บการรั กษาที่ ดีที่ สุด สู บบุ ห รี่ มันคนละเรื่อ งกัน เราก็ตอบไปว่า สิทธิคุณมันทับซ้อนกับสิทธิคนอื่นนะคะ ดังนั้น มันจึงเป็นเรื่องยุติธรรมระดับสังคมไม่ใช่ของแหม่มคนเดียว การ จัดสรรทรัพยากรที่มีอย่างจำ�กัดควรเป็นไปเพื่อประโยชน์มากที่สุด แก่ คน (หลายคน) ในสังคม จบความค่ะ การรักษาทางทันตกรรม มีหลายประเภทที่ความสำ�เร็จ ของงานขึ้นอยู่กับผู้ป่วยเป็นสำ�คัญ เช่น 1. ขูดหินปูน ถ้าผู้ป่วยยังไม่ปรับปรุงการแปรงฟัน ขูดไปวันสองวัน plaque เกาะใหม่ ส่วนเหงือกที่บวมถ้าจะยุบก็ใช้เวลาเป็นสัปดาห์ ดังนั้น ความวัวไม่ทันหาย ความควายเข้าแทรก การขูดหินปูนเพื่อหวังลด เหงือกอักเสบนั้นไม่มีประโยชน์ “เลย” ค่ะ ในกรณีนี้ เราจึงประเมิน วารสารทันตภูธร 17 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ว่าผู้ป่วยที่สามารถแปรงฟันได้ดีแล้ว มี High PRN ต่อการขูดหินปูน และสมควรได้รับการขูดหินปูน ส่วนผู้ป่วยที่ยังแปรงฟันได้ไม่ดี มี Low PRN ต่อการขูดหินปูน และยังไม่พร้อมที่จะได้รับการขูดหินปูน ในขณะนัน้ แต่ควรได้การดูแลอย่างอืน่ ก่อนเพือ่ ให้การแปรงฟันดีขนึ้ หรือกลายเป็น High PRN แล้วจึงค่อยได้รับการขูดหินปูน (อันนี้ก็ จะเข้าแก๊กอ.ธงชัย ว่าทำ� Motivational interview, counseling หรือ empowerment อะไรก็แล้วแต่ไปก่อน) สรุปสัน้ ๆ ว่า ยังไม่มี Need สำ�หรับการขูดหินปูน แต่มี Need สำ�หรับอย่างอื่นก่อนค่ะ 2. ใส่ฟันเทียม การดูแลอนามัยช่องปากให้ดีเป็นปัจจัยที่ควรพิจารณาค่ะ หากผู้ป่วยยังไม่สามารถทำ�ได้ ปากยังเขรอะ ใส่ฟันไปก็ยิ่งส่งเสริม plaque accumulate ย่อมส่งผลเสียตามมาแน่นอน และไม่นานก็ อาจต้องทำ�ฟันปลอมชุดใหม่ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ก็เป็นอีกปัจจัย ที่ควรพิจารณา เพราะมีผลต่อการเกิดและลุกลามของโรคปริทันต์ อักเสบ ซึ่งไม่นานก็ต้องสูญเสียฟันเพิ่ม 3. การรักษาอืน่ ๆ เช่น การรักษาทีซ่ บั ซ้อน ใช้เวลานาน ต้องมา หลายครั้ง และการรักษาที่ผู้ป่วยควรมีอนามัยช่องปากที่ดีก่อน เช่น จั ดฟัน ใส่ครอบฟัน ขอยกตัวอย่างงานวิจัยในประชากรไทยที่ประเมิน PRN เทียบ กั บ NN มาให้ดู 2 งานนะคะ สำ�หรับหลักการและโมเดลของการประเมิน Dental need แบบ ต่างๆ จาก Normative Need ไปถึง Propensity-Related Need 87 คน สภาพรางกาย น้ําหนักปกติ
ผูสูงอายุ 100 คน มี NN for RPD
13 คน รางกายไมแข็งแรง น้ําหนักต่ํากวาเกณฑ
37 คน High PRN for RPD พรอมที่จะใสฟน
6 คน มี High PRN*
44 คน มีปญหาคุณภาพชีวิตฯ เพราะไมมีฟน
31 คน มี High PRN*
* High หรือ Low PRN พิจารณาจาก 1) ความสะอาดของช่องปาก 2) นิสัย การสูบบุหรี่ เพราะมีผลต่อประสิทธิภาพฟันเทียมที่จะได้รับและการสูญเสียฟัน เพิ่มในอนาคต ที่มา : Srisilapanan P and Sheiham A. Assessing the difference between * High หรือ Low PRN พิจารณาจาก 1) ความสะอาดของช องปากto 2) นิassessing สัยการสูบบุหรี่ prosthetic dental sociodental and normative approaches เพราะมีผลตอประสิทธิภาพฟนเทียมที่จะไดรับและการสูญเสียฟนเพิ่มในอนาคต treatment needs in dentate older people. Gerodontology 2001; 18: 26-33. ที่มา: Srisilapanan P and Sheiham A. Assessing the difference between sociodental and normative approaches to assessing prosthetic dental treatment needs in dentate older people. Gerodontology 2001; 18: 26-33.
วารสารทันตภูธร 18 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เด็กอายุ 12 ป 100 คน มี NN for orthodontic treatment
30 คน มีปญหาคุณภาพชีวิตฯ เพราะการเรียงตัวของฟนไมปกติ
1 คน มี High PRN* 19 คน มี Medium-High PRN*
1 คน High PRN พรอมที่จะจัดฟน
ระดับ High จนถึง Low PRN พิจารณาจาก 1) ความสะอาดของช่องปาก 2) นิสยั การไปพบทันตแพทย์เมือ่ ได้รบั ทีน่ ดั หมาย เพราะมีผลต่อประสิทธิภาพ การจัดฟันที่จะได้รับ * ระดับ High จนถึง Low PRN พิจารณาจาก 1) ความสะอาดของชองปาก 2) ที่มา : Gherunpong S, Tsakos G and Sheiham A. A socio-dental นิสัยการไปพบทันตแพทยเมื่อไดรับที่นัดหมาย เพราะมีผลตอประสิทธิภาพการจัดฟนที่จะไดรับ ที่มา: Gherunpong S, Tsakos G andthe Sheiham A. A socio-dental approach to assessing approach to assessing orthodontic needs of thechildren. Eur J orthodontic needs of children. Eur J Orthodont 2006; 28: 393-9. Orthodont 2006; 28: 393-9.
ได้ถูกนำ�เสนอไว้ที่ : Gherunpong S, Tsakos G and Sheiham A : A socio-dental approach to assessing dental needs of children : concept and models. Int J Paediatr Dent 2006; 16: 81-8. น่าสนใจไหมคะสำ�หรับตัวอย่างข้างต้น ข้อยืนยันที่แน่นอนคือ การประเมินจากการมี/ไม่มีโรคอย่างเดียว หรือ การใช้ Normative Need นั้นไม่เพียงพอค่ะ อย่างไรก็ดี ตัวอย่างข้างต้นก็เป็นเพียงแค่ ตัวอย่างของความพยายามที่จะพัฒนาระบบการประเมินความ ต้องการทางทันตกรรมให้ดีขึ้น ซึ่งก็คงมีความถูกต้องและเชื่อถือได้ ในระดับหนึ่ง (ไม่เช่นนั้นคงไม่ได้รับการตีพิมพ์) แต่บทสรุปท้ายสุด ว่าจะใช้วิธีใดกันจริงๆ อาจต้องอาศัยงานวิจัยอื่นเพิ่มเติม และคง ต้องถกกันยกใหญ่ ถึงยังไม่มคี �ำ ตอบในตอนนี้ แต่กน็ า่ สนุกค่ะ อย่าง น้อยก็ท�ำ ให้รสู้ กึ ว่าเป็นการทำ�งานทีม่ ชี วี ติ ชีวา มีความหวัง ตืน่ เต้น ที่ ได้พัฒนาในสิ่งที่รู้แล้วว่าไม่เหมาะสม ดีกว่ารู้แล้วว่าไม่โอก็ยังทำ�ไป เรื ่อยๆ เนอะ โอกาสหน้า จะเอา Need อีกแบบมาเล่าให้ฟงั ค่ะ ทีเ่ ป็นการ นำ�เอาเรือ่ ง คุณภาพชีวติ ฯ ช่องปาก มาผนวกรวมกับ Normative Need ค่ะ น่าสนใจนะคะ อย่าลืมติดตาม ผู้ที่สนใจบทความวิจัยชุดใด ติดต่อขอได้จากผู้เขียนค่ะ ยิ นดีให้อย่างยิ่ง หมายเหตุ : แก้ไขข้อมูลผิดในฉบับทีแ่ ล้ว (คุณภาพชีวติ ในมิตสิ ขุ ภาพ ช่องปาก (Oral health-related quality of life: OHRQoL) : ตอนที่ 4) reference b : Srisilapanan P and Sheiham A. Assessing the difference between sociodental and normative approaches to assessing prosthetic dental treatment needs in dentate older people. Gerodontology 2001; 18: 26-33.
เรื่องราวของนักส่งเสริมทันตสุขภาพจังหวัดเชียงราย นายศุภฤกษ์ ดลโสภณ
ทั่วทั้งจังหวัดเชียงราย เพื่อก่อกระแสและผลักดันให้กลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง และคนใกล้ชิดในชุมชน ฟังแล้วก็อยากรู้ละสิว่า พวกเราจบอะไรมา? นี่เป็นคำ�ถามที่ พวกเราถูกถามมากเลยนะ พวกเราไม่ได้จบทางทันตะ มาเลย พวก เราจบมาหลายด้านมาก เช่น พัฒนาสังคม บริหาร นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ สาธารณสุข วิศวะฯ ฟังแล้วคง งงงง กันทั่วหน้าเลยนะ เหมือนจับปูลงกระด้งเลยหละ มันมีหลายศาสตร์ มากเลย พวกเรามัน คนพันธุ์ใหม่ที่นำ�ศาสตร์และองค์ความรู้หลายๆด้านเข้ามาประยุกต์ ในงานส่งเสริมทันตสุขภาพ จึงทำ�ให้เกิดนวัตกรรมใหม่ขนึ้ มา จึงเรียก พวกเราว่ า “นักส่งเสริมทันตสุขภาพ”
เมื่ อ พู ด ถึ ง คนทำ � งานด้ า นทั น ตกรรมนั้ น ทุ ก คนก็ คิ ด ถึ ง ทันตแพทย์ , ทันตภิบาล , ผู้ช่วยทันตแพทย์ และ “นักส่งเสริมทันต สุขภาพ” อ้าว! นักส่งเสริมทันตสุภาพคือใคร ? มีดว้ ยหรือ ? ทำ�งาน มาตั้งนานยังไม่เห็นรู้เรื่องเลยว่าเค้ามีตำ�แหน่งนี้ด้วย นี่คงเป็นข้อ สงสัยแรกของคำ�ถาม และตามมาอีกหลายข้อสงสัย ทีท่ กุ คนคงอยาก รู้เรื่องราวของนักส่งเสริมทันตสุขภาพ พวกเราจะเฉลย ให้รู้แล้วนะ เราเกิดที่ “จังหวัดเชียงราย” เหนือสุดในสยาม นีเ้ อง เมือ่ รูแ้ ล้วว่าพวก เราเกิดที่ไหน และคำ�ถาม ต่อมาคงมีหลายคำ�ถามพวกเราจะเล่า เรื อ่ งราวของชีวติ ของนักส่งเสริมทันตสุขภาพให้ทกุ คนได้รบั รูแ้ ล้วกันนะ ในงานส่งเสริมหลายท่านคงรูแ้ ล้วว่าเป็นสิง่ สำ�คัญเช่นเดียวกับ งานรักษา ทางจังหวัดเชียงรายจึง สร้างพวกเราขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือ งานด้านส่งเสริมอีกช่องทางหนึง่ นอกเหนือจากงานรักษาทีค่ ณ ุ หมอ ต้องเข้าคลินิกทุกวันแทบจะไม่ได้ออกมาส่งเสริมกันเลย นี่เเหละจึง เป็นประเด็นสำ�คัญที่ ทำ�ให้พวกเราเกิดมาเพื่อสิ่งนี้ พวกเราจะคอย ช่วยเหลืองานที่เกี่ยวข้องกับงานส่งเสริมทุกรูปแบบก็ว่าได้ พวกเรา จึงทำ�งานแบบรณรงค์ระยะยาวให้ความรู้ทุกกลุ่มวัย เช่น หญิง ตัง้ ครรภ์ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรคเบาหวาน คนพิการ ผู้สูงอายุ และ บุคคลทั่วไป ฯ ซึ่งพวกเรากระจายตัวไปทุกอำ�เภอ
อ้าวแล้วการทำ�งานล่ะเป็นแบบไหน? การทำ�งานนั้นพวกเรา จะเน้นเรือ่ งของความสนุกทีแ่ อบแฝงในสาระความรู้ (ความรูค้ คู่ วาม สนุกสนาน) เช่นบทเพลง ละคร เป็นต้น เพื่อสร้างความน่าสนใจให้ กับผู้รับชม และเข้าใจง่าย มากกว่าที่จะมานั่งฟังการบรรยาย แต่ใน ละกลุ่มนั้นพวกเราก็ปรับเปลี่ยนไปตามรูปแบบที่เหมาะสม เช่น ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพวกเราจะใช้นิทานเป็นสื่อ เพราะพวกเราเห็น ว่า นิทานเป็นตัวสอนสำ�หรับเด็กให้เข้าใจง่ายและเป็นตัวปรับเปลีย่ น พฤติกรรมของเด็กในการเลือกทานอาหารขนมและช่วยกระตุน้ ให้เด็ก ดูแลรักษาฟันของตัวเองมากยิ่งขึ้นและนิทานก็ยังเป็นตัวที่คอยช่วย พัฒนาในเรื่องของ EQ IQ ด้วยเช่นกัน ถ้าเป็นโรงเรียนประถมหรือ มัธยม เราปรับเปลีย่ นเป็นรูปแบบความบันเทิงแอบแฝงสาระวิชาการ นิดๆ ให้เหมาะสมตามกลุม่ วัยและทำ�ให้เด็กได้มกี ระบวนการคิดเพือ่ พัฒนาตนเองและโรงเรียนของตน ส่วนบุคคลทัว่ ไปอาจมีวชิ าการเพิม่ ขึน้ พวกเราก็ทำ�งานผสานงานกับภาคีอื่นเช่นกันนะ เช่นผู้สูงอายุ และ ผู้พิการ เราก็ออกเยี่ยมบ้านกับกลุ่มงานต่างๆ เช่น กายภาพบำ�บัด เวชศาสตร์ชุมชน จึงทำ�ให้งานนั้นเป็นการผสมผสานระหว่างงาน ต่างๆ เข้าไปเป็นเนื้อเดียวกัน ยังไม่หมดนะ นอกจากงานด้านทันตะ แล้วพวกเราก็ยงั เป็นแขกรับเชิญในงาน “รณรงค์วณ ั โรค มะเร็งเต้านม ฆ่าตัวตาย หรือแม้กระทั่งงานวันเด็ก” พวกเราไปให้ความรู้แบบไม่ ต้องมานั่งฟังบรรยายให้ง่วง พวกเราใช้ละครเป็นสื่อ ใช้บทเพลงเป็น ตั วกระตุ้น ทำ�ให้เข้าใจง่ายตามวัตถุประสงค์ของเนื้อหา
เมื่ อ พวกเรารวมตั ว กั น ก็ ทำ � ให้ เ กิ ด งานครั้ ง ใหญ่ ขึ้ น อย่ า ง เช่น ถนนคนเดิน ถนนคนยิม้ @เจียงฮาย ครัง้ ที่ ๑ และ ถนนคนเดิน ถนนคนยิ้ ม @ Central Chiangrai ครั้ ง ที่ ๒ ซึ่ ง สองงาน วารสารทันตภูธร 19 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ที่ได้กล่าวมานี้เป็นการทำ�งานร่วมกับทันตแพทย์ ทันตาภิบาล และ ผู้ช่วยทันตแพทย์ของจังหวัดเชียงราย กิจกรรมโดยรวมเรามีทั้ง วิชาการด้านทันตสุขภาพและความสนุกสนาน เรามีการตรวจฟัน ฟรี ประกวดหนูน้อยฟันสวย ประกวดร้องเพลง วัดระดับ EQ แสดง ละคร ที่น่าทึ่งคือพวกเราทำ� Flash mob ได้อย่างน่าตื่นตาตื่นใจ
ที่จริงก็มีหลายอย่างซึ่งสามารถติดตามผลงานของพวกเราได้ที่ (https://www.facebook.com/ chiangrai.oralhealthteam)
หากมองดูแล้วงานที่พวกเราทำ�นั้นเป็นงาน ที่สร้างบทบาท ให้กับตนเอง ได้หลายอย่าง เช่น เป็นหมอ เป็นครู เป็นนักร้อง เป็น นักแสดง และอีกหลายอย่าง โดยอาศัยองค์ความรู้จากเจ้าหน้าที่ คุณหมอซึ่งเป็นเหมือนครอบครัวให้กับพวกเรา ได้มีความรู้ความ เข้าใจในในบทบาทหน้าที่ของตนเอง จนทำ�ให้พวกเรากลายเป็น สื่อเคลื่อนที่ท่มี ีชีวิตชีวา มีจิตวิญญาณ เพื่อสรรค์สร้าง องค์ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองให้ถูกวิธี เป็นการจัดบริการทันตสาธารณสุขเชิงรุกทุกกลุม่ วัย ทุกวัน ตลอดทัง้ ปี คุ้มค่ากับเงินกองทุนทันตกรรม ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้พวกเรามา ทำ�งานด้านนี้
“หากการทำ�งานยังเต็มไปด้วยโรคฟันผุ ก็มิอาจลดใจให้ ท้อแท้แม้สนิ้ หวัง แต่เป็นแรงเสริมสร้างกำ�ลังใจให้ท�ำ งาน เพือ่ ส่ง เสริมทันตสุขภาพต่อไป” จากใจ นักส่งเสริมทันตสุขภาพ จังหวัด เชียงราย วารสารทันตภูธร 20 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
งานหนักไม่เคยฆ่าคน มันเพียงแค่ทรมานเราอย่างช้าๆ ผมแบกร่างที่กรำ�ศึกหนักมาตลอดวัน แผ่นหลังที่หดเกร็ง มือ แขนที่ปวดเป็นระยะ อาการเหล่านี้เรียกร้องบ่อยขึ้นตามอายุงานที่ มากขึ้น ผมทิ้งตัวลงบนโซฟา แขนขาเหยียดเต็มที่หลังจากใช้งาน มันอย่างไม่เกรงใจ หยิบรีโมตเปิดโทรทัศน์โดยอัตโนมัติเหมือนคน ส่วนใหญ่ที่ไม่รู้หรอกว่ามีรายการอะไร เพียงแค่เปิดแล้วเปลี่ยนช่อง ไปมาหาสิง่ ทีเ่ ราอยากดู เราเชือ่ ว่าเป็นการพักผ่อนอย่างหนึง่ ของชีวติ ไปเสียแล้ว หรือเพราะบางทีอาจจะกลัวว่า พรุ่งนี้เราจะคุยกับคนอื่น ไม่รู้เรื่อง ก็เป็นได้ ผมมองดูหน้าจอสี่เหลี่ยม ละครสนุกดี นางร้ายแกล้งนางเอก ผูน้ า่ สงสาร พระเอกก็ท�ำ หน้าโง่มริ อู้ โิ หน่อเิ หน่เช่นเคย รอว่าตอนไหน นางเอกจะฮึดสู้ตบนางร้ายสักที ละครสนุกดี ผมยํ้า ความบันเทิง ในราคาย่อมเยาว์เช่นนี้จะหาได้จากไหนอีก ละครจบตอน ย่อมมี โฆษณาคั่น บางทีเค้าเรียกว่า สิ่งที่น่าสนใจ อาจแปลว่าไอ้ที่ดูๆ ก่อน หน้านี้ไม่ค่อยน่าสนใจสักเท่าไหร่ สิง่ ทีน่ า่ สนใจสิง่ แรกเป็นนักแสดงหนุม่ หล่อสาวสวยบอกว่าขนม ถุงยี่ห้อนี้อร่อยจังเลย รสไหนขายดีถ้าทายผลมาถูกพวกเค้าจะพา ผูโ้ ชคดีไปเทีย่ วต่างประเทศ สิง่ ทีน่ า่ สนใจสิง่ ต่อมาเป็นนักร้องค่ายดัง ออกมาซดนํ้าอัดลมให้เราดูแล้วบอกให้เราใช้ชีวิตให้เต็มที่ เออ เห็น แล้วอยากจะซิง่ รถไปร้านสะดวกซือ้ ไปซือ้ สิง่ ทีน่ า่ สนใจเหล่านีม้ ากิน ซักถุง ดื่มซักกระป๋องแล้วเรอให้ชื่นใจ พวกเรากำ�ลังสู้อยู่กับอะไร เป็นคำ�ถามที่บางทีเราต้อง ใคร่ครวญ เราไม่ ไ ด้ สู้ อ ยู่ กั บ เพี ย ง เจ้ า แบคที เ รี ย เจ้ า แมงกิ น ฟั น เจ้ า ฟันผุ เจ้าหินปูน เราไม่ได้สู้กับเพียง ขนมกรุบกรอบ ลูกอม นํ้าอัดลม เรากำ�ลังสู้กับ ณเดช ญาญ่า บอดี้สแลม ลีโอเนล เมสซี่ และ เหล่าซุปเปอร์สตาร์อีกมากมาย เรากำ�ลังสู้กับกระแสบริโภคนิยมที่เชี่ยวกราก ที่ไหลไปถึงใน บ้านสู่จอโทรทัศน์ จอคอมพิวเตอร์ จอโทรศัพท์ อย่างไม่มีอะไรจะ หยุดยั้งได้ พวกเรากำ�ลังสู้อยู่กับอะไร เป็นคำ�ถามที่บางทีเราต้อง ใคร่ครวญ กันให้ดี เมือ่ โลกแคบลงและหมุนเร็วขึน้ ถามว่าเราตามมันทันหรือไม่ การให้ สุ ข ศึ ก ษาอย่ า งที่ ทำ � กั น มา อ้ า ว เด็ ก ๆ วั น นี้ พี่ จ ะมา
พวกเรากำ�ลังสู้กับอะไร
โดย..ทพ.อรรควัชร์ สนธิชัย รพ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย สอนเรื่องแมงกินฟันกันนะ พร้อมบอร์ดแผ่นพับ โมเดลฟันอันโต แปรงสีฟันไซส์บิ๊ก แล้วเปิดสอนไปทีละแผ่น ทีละแผ่น ลูกอมไม่ดี ขนมถุงไม่ดี กินผักผลไม้สิดีจังเลยเธอ อ๊ะ อ๊ะ อย่าลืมแปรงฟันหลัง อาหารและก่อนนอนกันด้วยนะตัวเธอ ... ทีนี้พอมีการตรวจขึ้นมากันว่าเด็กฟันผุเท่าไหร่ อ้าว เว้ยเฮ้ย ทำ�ไมฟันผุกันเยอะอย่างนี้ ทำ�ไมมันเพิ่มขึ้น พวกคุณทำ�อะไรกันอยู่ ทำ�อย่างกับว่าเราทำ�งานไม่เต็มที่ จะเป็นจะตายกันไปเสียตรงนั้น โดยส่วนตัวการที่เด็กมันจะฟันผุไปบ้างในโลกที่โหดร้ายอย่างนี้จะ เป็นไรไป และมันก็ไม่ใช่ความผิดของทันตบุคลากรถ้าบังเอิญมันไม่ สามารถทำ�ได้ตามเป้าหมาย
วารสารทันตภูธร 21 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เมื่อเรื่องฟันของคนทั้งประเทศกลับโยนให้ทันตบุคลากรเท่านั้น ผมว่ามันไม่ยุติธรรมสิ้นดี เฉพาะแค่งานรักษาก็ล้นมือ ป้องกันเคลือบหลุมร่องฟันกัน เป็นระวิง เอาแค่นี้ก็แทบดูดเวลาชีวิตของพวกเราไปมากโข บางคน ก่อกระแสต้องออกเชิงรุกให้เยอะๆ แล้วฟันผุจะหมดไป ก็ไม่รตู้ อ้ งรอ อีกกี่ปี เกษียณไปอีกกี่รอบกับจำ�นวนบุคลากรเท่านี้ ผลจะออกดอก จะผลิให้เชยชม จนเมื่อกองทุนทันตกรรมคลอดออกมา โอ้แม่เจ้า เหมือนถูก หวยชุดได้เงินก้อนโตแต่ทุกข์นั้นก็ตามมาคือต้องมีผลงานสู่สายตา ประชาชี จังหวัดหนึ่งขึ้นชื่อว่าเหนือสุดแดนสยามประเทศ จึงริเริ่ม ความคิดว่า งานรักษา งานป้องกัน สิ่งที่ต้องใช้ความเป็นวิชาชีพ ทำ� หัตถการก็ตอ้ งทำ�ไป แต่ในส่วนการส่งเสริมจริงๆ มันไม่จ�ำ เป็นต้องใช้ วิชาชีพนี่หว่า การป้องกันฟันผุ ใครก็รู้กันทุกหัวระแหงว่าต้องงดของ หวานแล้วก็แปรงฟัน เพียงแต่ตอ้ งมีวธิ นี �ำ เสนอให้มนั แปลกใหม่ตาม
โลกตามกระแสให้ทัน เอาวะ รับสมัครวัยรุ่นกล้าคิด กล้าแสดงออก จากศาสตร์ต่างๆ จะได้มุมมองใหม่ แนวทางใหม่ในการดำ�เนินการ ตั้งเป็นทีม “ นักส่งเสริมทันตสุขภาพ” เปรียบเสมือนทีมส่งเสริมทันต สุขภาพประจำ�หน่วยงาน ส่งไปประจำ�อยู่ทุกอำ�เภอคอยส่งเสริม ป้องกันให้สขุ ศึกษากันเต็มที่ ทีน่ ท้ี มี รักษาก็ท�ำ ไป ทีมส่งเสริมก็ท�ำ ไป ไม่ต้องห่วงหน้าพะวงหลังเพียงประสานงานกันให้เข้าทีเท่านั้น ทีนี้พอเข้าที ทางจังหวัดก็อยากจัดใหญ่ อยากให้ใครรู้ว่าเรา เจ๋งเหมือนกันนะ คิดการใหญ่จัดงานที่ถนนคนเดินเสียเลย ตั้งชื่อว่า “ ถนนคนเดิน ถนนคนยิ้ม @ เจียงฮาย” คิดสภาพถนนคนเดินดูสิ มัน จะวุ่นวายขนาดไหน คนก็จะเดินซื้อของ แม่ค้าก็จะขายของ พวกนี้ก็ จะก่อกระแสการดูแลช่องปาก ในใจผมยังหวัน่ ว่ามันจะไปรอดเหรอ เอาเข้าจริงจัดได้ใหญ่โตผู้คนสนใจคับคั่ง มีละครเวที มีฮีโร่ปราบ เหล่าร้ายช่วยเหลือเด็กน้อย มี flash mop เต้นกันทัว่ ถนน เต้น B-boy เอาเพลงดังๆ มาแปลงให้เกี่ยวกับฟันได้ไม่เคอะเขิน บอกตรงๆ พวกนี้มันร้ายเหลือเกิน พอครัง้ แรกประสบความสำ�เร็จล้นหลามก็ชกั คึก ครัง้ ทีส่ องเข้า ห้างเซนทรัลให้กระหึ่มซ้ำ�อีกที ทีนี้คึกหนักมีม๊อบแปรงฟันกันกลาง ห้างกันเป็นร้อยคนเรียกความสนใจได้ดี เรียกว่าใช้ทนั ตบุคลากรเอง ลุยและเกิดไอเดียได้มากขนาดนี ้ นี่ก็เห็นเล็งจะจัดกันอีกหลายยก ล่าสุดผู้ใหญ่ในจังหวัดเห็น ว่าเข้าทีขอไปช่วยรณรงค์เรื่องวัณโรค มะเร็งเต้านม หรืออื่นๆ ที่ไม่ เกี่ยวกับในช่องปาก พวกนี้ก็ร้ายไปแสดงละคร เต้นรำ� ร้องเพลงกัน สนุกสนาน ได้คำ�ชมมายกใหญ่ คำ � ถามตามมาว่ า ทำ � อย่ า งนี้ แ ล้ ว ฟั น ผุ จ ะลดลงหรื อ ปล่ า ว สุขภาพช่องปากของประชาชนจะดีขึ้นหรือไม่ คำ�ตอบคือยังตอบไม่ได้ แต่อย่างน้อยเราก็พฒ ั นาการให้สขุ ศึกษา ทีต่ า่ งไปจากเดิมและหวังจะถูกจริตกับคนในยุคใหม่นไ้ี ด้และหวังว่าจะ ซึมซับไปในคนทีพ่ บเห็นสิง่ เหล่านีบ้ า้ งไม่มากก็นอ้ ย แต่ถ้าฟันผุมันไม่น้อยลง ก็คงจะโหดร้ายเกินไปถ้ามาตัดสินว่า สิ่งเหล่านี้ไร้ประโยชน์
เพียงแต่เราต้องกลับมาใคร่ครวญอีกทีวา่ พวกเรากำ�ลัง สู้อยู่กับอะไร
วารสารทันตภูธร 22 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
OHI สไตล์หมอตุ้ม
ทพญ.วิชชุดา โอทกานนท์
“วิธีทำ�ให้เด็กเลิกดูดนมขวด” ***เคล็ดลับเรื่องนี้คือ... ต้องเปลี่ยนความคิดแม่ให้ได้ก่อน***
1) อันดับแรกคือ การให้ความรู้ผู้ปกครองโดยการบรรยายหน้าห้อง Well baby clinic ที่มาฉีดวัคซีนทุกกลุ่มอายุ พูดให้แม่ฟังทุกครั้งที่มาว่า ถ้าคุณแม่อยากให้ลูก ฟันสวย ให้เวลา 1 ปีครึง่ ในการฝึกเด็ก คือตัง้ แต่1ขวบ ให้เริม่ หัดให้ลกู เปลีย่ นวิธกี นิ นม (ไม่ใช่เลิกกินนม) จากการดูดนมขวดมากินจากแก้วหรือกล่อง พอ 2 ขวบครึ่ง ควร จะต้องเลิกดูดขวดนมได้แล้ว เพราะถ้ายิ่งดูดขวดนานจะทำ�ให้ฟันหน้าบนผุ และไม่ ให้กินนมที่มีรสหวานทุกชนิด เพราะจะทำ�ให้ฟันผุมากกว่าการกินนมจืดถึง 8 เท่า (มี คนทำ�วิจัยไว้แล้ว) 2) ถ้าเด็กฟันผุแล้ว มาที่คลินิก ก็ให้แม่มานั่งข้างๆยูนิตทำ�ฟัน ให้แม่และลูกดูฟันลูกที่ผุ (เด็กดูโดยให้ถือกระจกอันเล็กๆ ด้วย มือซ้าย จะได้ไม่ชนกับมือหมอ) อธิบายให้แม่ฟังว่าทำ�ไมฟันบนจึงผุแบบนี้ เพราะการดูดขวดนมแล้วไม่กินนํ้าตาม หรือหลับคา ขวดนม ส่วนฟันล่างไม่ผุเพราะลิ้นบังไว้ ถามแม่วา่ คุณแม่เคยเห็นเด็กนร.ไปรร.อนุบาลวันแรกไหม รอ้ งไห้กนั กระจองอแงเลยใช่ไหม แล้วมีแม่คนไหนสงสารลูก เอาลูกกลับ บ้านยอมให้โง่ ไม่ตอ้ งเรียนหนังสือไหม (คำ�ตอบคือ....) แล้วมีเด็กคนไหนร้องไห้จนโตบ้าง อาจจะร้องอยู่ 1-2 อาทิตย์กจ็ ะปรับตัวได้เอง วารสารทันตภูธร 23 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ทุกคำ�ถามคุณหมอรูค้ �ำ ตอบอยูแ่ ล้ว ต่อไปก็บอกว่า ถ้าแม่รวู้ า่ อะไรต้องทำ� ก็คอื ต้องทำ� ไม่วา่ ลูกจะร้องอย่างไรก็ตอ้ งอดทน ใจแข็งไว้ เดีย๋ ว เด็กก็จะอดได้เอง จะเกิดผลดีแน่นอน แต่ถ้าคุณแม่ใจอ่อนยอมตามใจเด็ก คุณจะต้องลำ�บากในภายหลังเพราะ ลูกของคุณจะฟันผุหมดเลย คราวนี้ลำ�บากทั้งแม่ ทั้งลูกและหมอ แม่ก็ต้องพามาทำ�หลายครั้ง เสียเวลาเสียเงินมาก ลูกก็ต้องเจ็บตัว และถ้าถอนฟันนํ้านมข้างหน้าก่อน กำ�หนด ฟันหลอจะทำ�ให้เด็กอาย ไม่กล้ายิ้มจนติดเป็นนิสัยไม่ชอบยิ้ม ถ้าฟันกรามนํ้านมผุแล้วต้องถอนก่อนกำ�หนดก็อาจจะได้ฟันแท้เกแถม มาอีก อาจต้องจัดฟัน 3-4 หมื่นบาท ส่วนหมอก็ลำ�บากเช่นกัน เพราะการ ทำ�ฟันเด็กไม่ใช่เรื่องง่าย ยิ่งเด็กกลัว ดิ้น ยิ่งทำ�ยาก ถ้าคุณหมอสอนแม่ได้ดี หมอจะสบาย ไม่ต้องเจอเด็กที่ฟันผุเยอะๆ ทำ�ยากๆ มาทีไรเขาจะร่วมมือดี ทำ�ง่าย ดีไหมคะ (เด็กบางคนบอกแม่ขอให้พามาทำ�ฟันอีกทั้งที่ไม่มีอะไรจะ
3) ตัวเด็ก เจอกันครัง้ แรก สำ�คัญทีส่ ดุ คือต้องสร้างมิตรภาพทีด่ กี อ่ น ยิม้ เข้าไว้ (ใจดีสเู้ สือ) ไม่ควรทำ�งานทีเ่ จ็บ เขาจะกลัวและไม่เป็นมิตรกับเรา หางานที่ไม่เจ็บเลย เช่น เคลือบร่องฟันไป 1-2 ซี่ก็ได้ ให้เขาดูรูปฟันดำ�ๆ ในโปสเตอร์ ถามว่าหนูอยากฟันดำ�ปี๋แบบในรูปนี้ไหม (ไม่สวยแล้วยัง ปวดด้วย) ขวดนมเขาเอาไว้ให้เด็กเกิดใหม่ ยังถือถ้วยไม่ได้ กิน หนูโตแล้ว เก่งกว่าน้องเล็กๆ เยอะ จะไปทำ�แบบน้องทำ�ไม ถ้ายังอยากดูดขวด นมแบบนัน้ ก็ตอ้ งใส่ผา้ อ้อมแบบน้องด้วย เอาไหมคะ อยากเป็นคนเก่งหรือไม่เก่งคะ...ถ้าเด็กดูคล้อยตามเรา ก็บอกเลยว่า วันนีก้ ลับไปเอาขวด นมทิ้งเลยดีไหม เอาไปบริจาคบ้านเด็กกำ�พร้าก็ได้ ถ้าหนูเลิกดูดขวดนมได้1เดือนให้คุณแม่พามาเอารางวัลที่หมอเลย วันนี้หมอจะเคลือบฟัน วิเศษให้กอ่ น เอารางวัลเล็กไปก่อนนะคะ (รางวัลเล็กของพีค่ อื Stickerอันเล็กๆ แผงละ10 บาทตัดได้ประมาณ40อัน ส่วนรางวัลใหญ่คอื Sticker อันใหญ่ที่ซื้อมา 10 บาท 10 อัน หรือ ลูกโป่งถุงมือ อาจเขียนรูปหน้าเขาลงไปด้วยก็ยิ่งดี) เราไม่ต้องบอกล่วงหน้าว่ารางวัลคืออะไร เอาไว้มา แล้วค่อยให้ มีหลายๆ อย่างให้เลือก (หาเงินบริจาค เงินบำ�รุงรพ.มาซือ้ หรือออกเงินเองก็ยงั ไม่แพง 1 บาทคุม้ ค่ากับความร่วมมือ ไม่ตอ้ งเหนือ่ ย กับการจับยึดตัวเด็กเวลาทำ�ฟัน) พูดเสร็จแล้วก็จับมือหรือตบไหล่เด็ก (ใช้ภาษากายช่วย) พูดให้กำ�ลังใจว่าเขาเก่ง โตแล้ว สวย/หล่อด้วย จะ ไปเสียดายขวดนมแบบเด็กเล็กๆ ทำ�ไม ตกลงคราวหน้าหนูเลิกดูดขวดนมแล้วมาเอารางวัลที่หมอดีไหมคะ (มัดมือชกเลย) เด็กมักจะพยักหน้า ตอบว่าดี (คงเพราะงงที่หมอพูดเยอะแยะ จำ�ไม่ได้) 4) ให้เด็กรอข้างนอกแป๊บนึง แล้วคุยยํ้ากับคุณแม่ว่า หมอช่วยพูดให้แล้ว คุณแม่ต้องร่วมมือกับหมอทำ�ให้เด็กเลิกดูดขวดนมให้ได้ กลับไปเก็บ ขวดนมออกให้หมด ห้ามใจอ่อนเด็ดขาด เพือ่ ลูกของคุณจะได้ฟนั สวยและไม่ตอ้ งปวดฟัน (แม่ทกุ คนอยากเห็นลูกฟันสวยและไม่ตอ้ งเจ็บ เพราะ แม่ก็กลัวการทำ�ฟันเหมือนกัน) และบอกว่าหมอมีรางวัลให้จริงๆ ไม่ได้พูดเล่น ถ้าหยุดได้1เดือนมาเอารางวัลได้เลย 5) ก่อนจากกัน ยิ้มกับเด็กอีกที และจับมือว่า เราสัญญากันแล้วนะคะ หนูเป็นคนเก่ง ต้องทำ�ได้แน่ 6) อย่าลืมจดไว้ใน Chart คนไข้ว่า เราบอกให้เด็กเลิดดูดขวดนม 1 เดือน จากวันนี้ หากเขากลับมาแล้วเลิกได้จริง ขอให้รักษาสัญญาที่ให้ไว้ หาของรางวัลให้เด็กด้วยค่ะ
วิธนี ใ้ี ช้ได้ผลมาหลายรายแล้ว เวลาเขากลับมาบอกว่าเลิกได้แล้ว พีด่ ใี จมากเลย เพราะเขาจะผุน้อยลง สบายขึ้นทั้งเขาและเรา ขอให้โชคดีเหมือนพี่นะคะ
วารสารทันตภูธร 24 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
“วิธีทำ�ให้เด็กไม่กลัวการทำ�ฟัน” เคล็ดลับ คือ “ใจเขา ใจเรา”
ทุกคนกลัวความเจ็บกันทั้งนั้น เด็กๆ ที่เคยโดนถอนฟัน เจ็บตัวมาก่อน จึงกลัวเป็นธรรมดา หากเราคิดว่า เขาน่าสงสาร (ไม่ใช่น่ารำ�คาญ) ที่จะต้องเจ็บอีก เราจะสามารถแผ่คลื่นความเมตตาไปสู่เขาได้ เขาก็จะสงบลง หลักการ สิง่ ใดทีเ่ จอเป็นครัง้ แรก โดยเฉพาะในเด็กเล็ก จะเป็นการสร้างภาพทีด่ หี รือไม่ดฝี งั ลงในจิตใต้ส�ำ นึกของเขาไปตลอดชีวติ เช่น เด็ก ทีเ่ คยโดนแมวกัด จะกลัวแมวมากแม้จะเป็นผูใ้ หญ่แล้วก็ตาม ดังนัน้ ถ้าครัง้ แรกทีเ่ ด็กเจอหมอแล้ว โดนทำ�งานทีเ่ จ็บ เช่น ถอนฟัน อุด (เสียว)ฟัน เมื่อเด็กเจ็บก็มักจะร้องหรือดิ้น หมอดุและจับตรึงตัวเด็กไว้ โดนเพียงครั้งเดียวเด็กจะรู้สึกกลัวหมอ เกลียดการทำ�ฟันไปตลอด เมื่อโตไป เขาก็ จะเป็นพ่อ/แม่ที่กลัวการทำ�ฟัน จึงไม่พาลูกมาทำ�ฟันเพราะกลัวลูกเจ็บ จนลูกปวดฟันจึงยอมพามา ลูกก็โดนถอนฟัน จึงกลัวการทำ�ฟันไปด้วย อีกคน กลายเป็นวงจรอุบาทว์ไปเลย ดังนั้น ถ้าเป็นไปได้ ในการทำ�ฟันครั้งแรกของเด็ก เราไม่ควรเริ่มจาก งานที่เจ็บหรือเสียวฟัน เช่น งานถอนหรืออุดฟัน โดยเฉพาะในเด็ก (หรือผู้ใหญ่) ที่กลัว ควรเริ่มจากงานง่ายไปหายาก (ฟันที่ผุแล้วอุด ชั่วคราวไปก่อนก็ได้) เด็กจะรับได้ ไม่ตอ่ ต้าน วันหลัง แม้แต่ถอนฟันยัง บอกแม่วา่ ไม่เจ็บเลย
งานต่อไป ถ้าต้องอุดฟัน กรอแล้วเสียวฟัน ก็ใช้สอนเด็กไปเลยว่า นี่เห็นไหมว่าถ้าหนูเชื่อหมอ คือไม่กิน ท๊อฟฟื่ไปเลี้ยงแมงกินฟันๆ
ก็จะอดตาย หนูก็ไม่ต้องเสียวฟันหรือปวดฟันอีก ดีไหมคะ... แล้วถ้ามาหาหมอทุกปิดเทอม หมอก็จะเคลือบฟันวิเศษให้ แมงกินฟันไม่มี ทีอ่ ยูเ่ ลย ฟนั หนูกจ็ ะสวยตลอด หมอมีรางวัลให้ดว้ ยค่ะ (รางวัลจำ�เป็นมากในการสร้างแรงจูงใจทีด่ ใี นเด็ก เป็นอะไรก็ได้ เช่น sticker แผ่นละ 10 บาท ตัดได้ 40 ชิ้น เป็นต้น ไม่จำ�เป็นต้องราคาแพง คุณค่าอยู่ที่คำ�ชมจากหมอมากกว่า)
ถ้าเราทำ�ให้ผปู้ กครองเข้าใจจริงๆ ได้ จะได้ผลทุกรายค่ะ เขาจะเป็นแฟนคลับเราไปเลย เพราะเชือ่ เราแล้วได้ผลดี ลูกก็ไม่กลัวการทำ�ฟัน บอก ให้แม่พามาทำ�ฟันด้วย แม่กไ็ ม่ตอ้ งซือ้ ของเล่นมาติดสินบนให้ลกู ยอมทำ�ฟัน คุณหมอก็ท�ำ งานได้งา่ ย สบายกันทุกฝ่ายเลยค่ะ ถ้าคุณหมอไปใช้แล้วได้ผลเป็นอย่างไร หรือมีเทคนิคอื่นดีๆ ก็มาแบ่งปันกัน เราทุกคนจะได้เก่งขึ้นด้วยกัน .ขอให้ทุกท่านมีความสุขมากๆ ค่ะ... หมอตุ้ม
ของ รางวัล
วารสารทันตภูธร 25 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
พลังคนหนุ่มสาวในโรงพยาบาลชุมชน ทพญ.มยุเรศ เกษตรสินสมบัติ
มีโอกาสได้ไปเยี่ยมโรงพยาบาลชุมชนในชนบทหลายๆ แห่ง พบว่ า โรงพยาบาลหลายแห่ ง มี ที ม งานที่ เ ข้ ม แข็ ง วั ย หนุ่ ม สาว ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลเป็นแพทย์ใช้ทุนปีที่ 2 หรือ 3 มีมือขวา เป็นทันตแพทย์ใช้ทุนพึ่งจบมา หรือใช้ทุนปี 2 มือซ้ายเป็นเภสัชกร พึ่งจบมา หัวหน้ากลุ่มการพยาบาลพึ่งจบมาได้ 3 ปี แต่เชื่อหรือไม่ ว่าทีมงานเหล่านี้เป็นทีมงานพัฒนาโรงพยาบาลที่เข้มแข็ง ช่วยกัน คนละไม้ละมือในการบริหารจัดการโรงพยาบาล บริหารเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลอื่นๆ อีก ดูหลายแห่งมีความสุขกันมาก ตอนเช้าดูแล คนไข้กันตามภารกิจของตนตอนบ่ายๆ หมดภารกิจคนไข้ ช่วยกัน ปลูกต้นไม้ในโรงพยาบาล บางแห่งจัดสวนสวยงามโดยไม่ต้องจ้าง นักออกแบบ บางแห่งช่วยกันสร้างศาลาพักญาติ ไม่ตอ้ งใช้งบของรัฐ แม้แต่บาทเดียว ตกเย็นเล่นกีฬากันนิดหน่อย จากนัน้ แบ่งกันเข้าครัว ช่วยกันทำ�กับข้าว นัง่ ล้อมวงทานข้าว ขณะนัง่ ล้อมวงทานข้าวคุยกัน เรือ่ งการปรับตรงนัน้ เพิม่ ตรงนี้ ลดขัน้ ตอนสำ�หรับบริการนัน้ จนทำ�ให้ โรงพยาบาลพัฒนาคุณภาพไปอย่างน่าทึง่ ด้วย พลังคนหนุม่ คนสาว น้ อ งๆ จบใหม่ บางคนกั ง วลจบไปเราจะไปทำ � งานกั น อย่ า งไร เขาให้ เ ป็ น ประธานคณะกรรมการนั่ น นี่ เ ยอะไปหมด โดยเฉพาะน้ อ งทั น ตแพทย์ ห ลายคนจะเครี ย ดมากมาปรึ ก ษา “พี่ ๆ โรงพยาบาลเขาให้ ผ มเป็ น ประธาน HA ผมจะทำ � อย่ า งไร เขาจะมาตรวจอาทิตย์หน้าแล้ว“ “ใจเย็นๆน้อง การทำ�HA ไม่ เน้นรูปแบบ ไม่เน้นเป็นทางการ ขอเพียงมีใจปรารถนาดีที่จะให้ บริการที่เรามีต่อผู้รับบริการเท่านั้นเป็นพอ” “ไร้กระบวนท่าเลย หรือพี่” คะก็อยากบอกน้องๆ ทันตบุคลากรที่จบใหม่ทุกท่านว่า สิ่งสำ�คัญที่สุดขณะเริ่มงานคือ การแสวงหาทีมงาน แม้หลายคน
วารสารทันตภูธร 26 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
จะมองว่างานทันตกรรมไม่คอ่ ยเกีย่ วข้องกับใครหรอก ไม่จริงเลยค่ะ การสร้างทีมงานเป็นการสร้างเครือข่ายน้องจะมีเพื่อนร่วมงานที่ดี เราอยากให้ใครเขาปฏิบัติต่อเราอย่างไร ก็ปฏิบัติต่อเขาอย่างนั้น จากนั้น อาสาเข้าไปช่วยเหลือกิจกรรมของทีมงานก่อนในส่วนที่เรา ทำ�ได้จากนั้นน้องจะได้รับความไว้วางใจและความชื่นชมจากทีม งาน แล้วพอเรามีกิจกรรมอื่นใด ใครๆ เขาก็อยากช่วยเหลือเรา จาก นัน้ คำ�ว่าทีมงานจะเกิดขึน้ ตามธรรมชาติ ซึง่ ก็จะส่งผลต่อการทำ�งาน ต่อการพัฒนาต่างๆ และประโยชน์สูงสุดก็เกิดกับผู้รับบริการ แต่อีก ด้านที่สำ�คัญไม่น้อยไปกว่ากันคือต่อตัวทันตบุคลกรเองที่เป็นส่วน หนึ่งของทีมงานที่แข็งขันจะมีความสุขในการทำ�งานมาก หลายคน พบว่าตอนจับสลากได้พูดเลยว่า “ผมอยู่ไม่เกิน 2 ปีเชื่อเถอะพี่ พ่อ ผมหาที่ย้ายให้ละ” “หนูอยู่ไม่ได้หรอกคงไม่มีอะไรให้ทำ�” แต่เชื่อ หรือไม่หลายคนติดใจในความสุขอยู่กันนาน ทันตแพทย์หลายคน ไม่ได้ไปเรียนต่ออยู่นานจนรักษาการแทนผู้อำ�นวยการโรงพยาบาล ได้รบั ความไว้วางใจจากทีมงานในโรงพยาบาล และผูใ้ หญ่ในจังหวัด เพราะพวกเราหลายคนมากเก่งด้านบริหาร ทั้งบริหารคน เงิน ของ หลายคนคิดนวตกรรมด้านการเงิน จนทำ�ให้หลายโรงพยาบาลผ่าน วิ กฤติการณ์ด้านการเงินด้วยฝีมือของทันตแพทย์
น้องๆ ที่พึ่งไปทำ�งานหลายคนอาจไม่ได้อยู่ในสถานที่ที่น้อง คาดหวังทำ�ให้หลายคนทุกข์ตั้งแต่ต้น ลองมาปรับการคิดใหม่ทุกที่ มีดอกไม้แห่งความสุขอยู่ อยู่ที่เราจะมองเห็นมันหรือไม่ ถ้าเรายัง มองด้วยมุมมองเดิมๆ มันก็จะไม่พบดอกไม้ความสุขนั้น (เพราะเรา ก็จะพบแต่ดอกไม้เดิมๆ บางทีอาจพบแต่ใบแห้งๆ) ดังนัน้ ไม่วา่ เราจะ จับสลากเลือกลงสถานทีท่ �ำ งานทีไ่ หน จงมองหาดอกไม้ความสุขในที่ แห่งนัน้ ให้พบเพราะมันมีอยูท่ กุ ที่ เป็นกำ�ลังใจให้นอ้ งทุกคน ขอจงใช้ โอกาสอันดีนี้ในการที่จะใช้ศักยภาพ พลังของคนหนุ่มสาวที่เรามีอยู่ ออกมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุดเพราะเวลาไม่เคยคอยใครคะ
“
เรื่องในปาก จากคนในเกาะ
”
เรือ่ ง ... ทพ.เสถียร สุรวศ ิ าลกุล ทันตแพทย์ชำ�นาญการ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต ภาพ ... น.ส. ปากีต๊ะ สาแล๊ะ ในด้ า นหนึ่ ง ของคนทำ � งาน หากจะได้ มี เ วที สำ � หรั บ การ แลกเปลี่ยนและนำ�เสนอผลงานที่ได้ทุ่มเทกำ�ลังกาย กำ�ลังใจในการ สรรค์สร้างผลงาน คงเป็นเรื่องที่น่ายินดีไม่น้อยที่จะได้มีโอกาสบอก เล่าให้คนรอบข้างได้ทราบว่าเรากำ�ลังทำ�อะไร เช่นเดียวกับคุณครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยทั่วทั้ง 57 โรงเรียน ในจังหวัดภูเก็ตที่นอกเหนือจากต้องแบกรับภาระงานหลักด้านการ เรียนการสอนในโรงเรียนแล้ว คุณครูเหล่านี้ยังได้ร่วมงานกับเครือ ข่ายเด็กไทยฟันดีและเครือข่ายเด็กไทยไม่กนิ หวาน ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนงานทันตสาธารณสุขใน โรงเรียนไม่ว่าจะเป็น การควบคุมการจำ�หน่ายนํ้าอัดลม ขนมกรุบ กรอบในโรงเรียน การผลิตสือ่ และผลงานนวัตกรรมทันตสาธารณสุข ใหม่ๆ การจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพต่างๆ ตลอดจนการเน้นยํา้ ให้เด็กๆ แปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างต่อเนื่องและสม่ำ�เสมอ ในวันที ่ 21 สิงหาคม 2555 ทีผ่ า่ นมา กลุม่ งานทันตสาธารณสุข สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ตจึงได้เปิดเวทีที่โรงแรมภูเก็ต เมอร์ลิน กลางเมืองภูเก็ตและเชิญตัวแทนนักเรียนและคุณครูผู้รับ ผิดชอบงานอนามัยจากทุกโรงเรียน เพือ่ เปิดโอกาสให้โรงเรียนต่างๆ ได้มโี อกาสเข้าร่วมเสนอนิทรรศการ แข่งขันประชันผลงานนวัตกรรม ทางทันตสุขภาพ และปะทะคารมระหว่างโรงเรียนในรูปแบบของ การโต้คารมมัธยมศึกษา
วารสารทันตภูธร 27 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
กิจกรรมภายในงานเริ่มต้นด้วยการแบ่งปันประสบการณ์การ ทำ�งานและเสนอผลการดำ�เนินงานของโรงเรียนในอำ�เภอต่างๆ ในรูปแบบของการเสวนากลุ่ม โดยตัวแทนคุณครูในแต่ละอำ�เภอ
ร่วมกันบอกเล่าประสบการณ์และความประทับใจในการดำ�เนินงาน ทันตสาธารณสุข
ตามมาด้วยการโต้คารมมัธยมศึกษาภายใต้ญตั ติทถ่ี กู จับฉลากขึน้ ภายในงาน “ดวงตามีเสน่ห์กว่าฟันสวย” “หน้าสวยฟันผุ กับหน้า ปรุฟันสวย ใครจะมีความสุขกว่ากัน” และ “เอาเงินไปจัดฟัน ดีกว่า เอาเงินไปศัลยกรรมหน้า” แม้ตัวแทนนักเรียนที่เข้าร่วมแข่งขันมี เวลาเตรียมตัวก่อนการแข่งขันเพียง 1 ชั่วโมง แต่ฝีไม้ลายมือและ คารมคมคายในการหักล้างประเด็นไม่ได้ยิ่งหย่อนไปกว่ากันเลย ซึ่ง
รางวัลชนะเลิศในครั้งนี้ตกเป็นของทีมตัวแทนนักเรียนจากโรงเรียน อบจ.บ้านตลาดเหนือ รางวัลรองชนะเลิศตกเป็นของทีมโรงเรียน อบจ.เมืองภูเก็ต และรางวัลชมเชย ได้แก่ตวั แทนนักเรียนจากโรงเรียน ถลางพระนางสร้าง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ และโรงเรียน บ้านไสนํ้าเย็น
วารสารทันตภูธร 28 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
น อ ก จ า ก นี้ ภ า ย ใ น ง า น ยั ง มี ก า ร ประกวดผลงานนวัตกรรมทันตสุขภาพของ ทางโรงเรี ย น ซึ่ ง รางวั ล ชนะเลิ ศ และรอง ชนะเลิศอันดับ 1 และ 2 เป็นของโรงเรียน เทศบาลบ้านบางเหนียว (ผลงาน นํ้ายาบ้วน ปากใบฝรั่งรักษาเหงือกและฟัน) โรงเรียน บ้านหมากปรก (ผลงาน เกมมหัศจรรย์บนั ไดงู กำ�จัดฟันผุ พิชิตฟันสวย) และโรงเรียนบ้านพรุจำ�ปา (ผลงาน นิทานมีชีวิต) ตามลำ�ดับ ส่วนรางวัล ชมเชยได้แก่ ผลงานจากโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว โรงเรียนบ้านเกาะสิเหร่ โรงเรียนบ้านกูก้ แู ละ โรงเรียนเทศบาลบ้านไสนํ้าเย็น
ความสำ�เร็จในการจัดงานมหกรรมเครือข่าย ในครัง้ นี้ นำ�มาซึง่ ความปิตขิ องคนทำ�งาน ทางกลุม่ งานทันตสาธารณสุข สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด ภู เ ก็ ต ใคร่ ข อขอบคุ ณ คณะกรรมการทุ ก ท่ า นที่ ร่วมเป็นเกียรติภายในงาน ขอบคุณความทุ่มเท แรงกายแรงใจในการทำ � งานของคุ ณ ครู จ าก ทุกโรงเรียนในจังหวัดภูเก็ต มา ณ โอกาสนีค้ รับ
วารสารทันตภูธร 29 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ข่าวจากติวานนท์ โดย หมอแพร บางใหญ่ prae001@gmail.com ถึงหน้าฝนจิตใจตกหล่น ไม่รู้จะท่วมเเค่ไหน ฉบับนี้ได้ความช่วยเหลือจากท่านผู้รู้อยู่ในวงในทั้งหลายช่วยกันส่งข่าวมาให้ค่ะ เรื่องความก้าวหน้าของทันตาภิบาลในการประชุมกรรมการ พัฒนากำ�ลังคนทันตฯล่าสุดเชิญตัวแทนจากกองการเจ้าหน้าทีม่ าเข้า ร่วมประชุม ทำ�ให้ทราบว่า การส่งขอตำ�แหน่งทันตาภิบาลอาวุโสนัน้ ไม่นา่ จะผ่านสำ�นักกพ.ได้ เนือ่ งจากเกณฑ์อาวุโสต้องมีลกู น้อง 4 คน กองจ. แนะนำ�ให้ใช้เกณฑ์ประสบการณ์ เมื่อจะต้องทำ�ประเด็น นี้ เจ้ า ภาพก็ ไ ด้ แ ก่ สมาคมทั น ตภิ บ าล และ สำ � นั ก ทั น ตฯ โดย พี่สุณี ผลดีเยี่ยม อาสาจะเป็นเจ้าภาพเพื่อทำ�ความชัดเจนระหว่าง บทบาท ทันตาภิบาลสองปี ทันตาภิบาลสีป่ ที เี่ ราจะให้เป็นนักวิชาการ ทันตสาธารณสุขและทันตแพทย์ที่ทำ�หน้าที่ด้านทันตสาธารณสุข ว่าจะแยกกันอย่างไร ประเด็นนีต้ อ้ งทำ�ให้ชดั เจนให้จงได้ กองจ.มี ความเห็ น ว่ า น่ า จะเพิ่ ม เป็นตำ�แหน่งนัก วิชาการทันตสาธาณสุ ข ไปเลย เพราะจากประสบการณ์ที่ผ่านมานั้นหากใช้ตำ�แหน่งเป็น ตำ�แหน่งเดิมนักวิชาการ ที่เห็นคือทันตาก็จะเลิกทำ�งานทันตและ หันไปวิเคราะห์ข้อมูลกันไปเลย งานนี้ยิ่งทำ�จะยิ่งขาดผู้ปฏิบัติงาน ส่ งเสริมป้องกัน
ความเพียงพอของทันตาภิบาลหากจะกระจายลงรพสต.นั้น เมื่อรวมทันตาที่มีในรพสต.และทันตาที่จะจบใหม่ในปี 2555-2557 แล้ว เมื่อคิดสัดส่วนเทียบเคียงกับรพสต.ที่มีก็ยังคงไม่เพียงพอ และ ยังคงเป็นที่วิตกกังวลกันว่าแล้วจะทำ�อย่างไรให้รพสต.จ้างทันตา ของเรา ส่วนจ้างสองปียังไม่น่าห่วงเท่าที่จบสี่ปี จะทำ�อย่างไรให้ ทันตาสี่ปีได้รับค่าตอบแทนเต็มตามวุฒิ เรื่องนี้ก็ต้องจับตามองกัน ต่อไป (เรื่องนี้เป็นความกังวลของสถาบันพระบรมราชชนกอย่างยิ่ง เนื ่องจากเราเร่งผลิตเป็นจำ�นวนมาก ) เรื่องที่เราทุกคนลุ้นกันทั่วประเทศได้แก่ทันตารุ่นรองปลัด จัดให้ 1500 คนทีก่ �ำ ลังเริม่ ผลิต และจะต้องเตรียมรับเป็นพืน้ ทีฝ่ กึ งาน กันทั่วที่ในปีหน้า งานนี้คงเป็นเรื่องท้าทายเราทั้งหลายว่าพื้นที่จะ สามารถหาทางสายกลางในการทำ�งาน ทั้งส่งเสริม รักษา ฟื้นฟู บริหารระบบงบประมาณ ข้าวของ รวมการสอนทั้งด้านคลินิกและ การทำ�โครงการได้อย่างไร และหากเกิดปัญหาจากการสอนในคลินกิ ที่รพช. กฎหมายกฎระเบียบจะดูแลเราอย่างไรนั้น พี่ทิพาพรแจ้งว่า ไม่นา่ จะต้องกังวล เพราะการจัดคนไข้ให้นศ.ทันตาภิบาลฝึกปฏิบตั นิ น้ั ในวิทยาลัยจะนำ�คนไข้นักเรียนซึ่งผู้ปกครองอนุญาตมาให้ฝึก ไม่ได้ ทำ�คนไข้ที่ walk in เข้ามา สำ�หรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นนั้น สำ�นักงาน วารสารทันตภูธร 30 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ปลัดฯ จะ ตอ้ งเป็นผูร้ บั ผิดชอบ ตามคำ�สัง่ ทีจ่ ะแต่งตัง้ หน่วยร่วมผลิต และอาจารย์รว่ มสอนต่อไปค่ะ เรือ่ งคุณภาพมาตรฐาน วสส. ไม่ได้ทง้ิ เรา เขาเตรียมคู่มือเป็นแนวทางในการสอนให้ และมีแนวคิดคือใคร ทำ�อะไรได้อันนั้น ที่ไหนสอนไม่รู้เรื่อง จบไปก็ได้ทันตางงงวยไปเอง ดั งนั้นก็ต้องพยายามกันเต็มที่ล่ะ
ข่าวสำ�คัญที่พี่ปิยะดาเล่าให้ฟัง เกี่ยวกับการจัดทำ� แผน ยุ ทธศาสตร์สุขภาพช่องปากประเทศไทย พ.ศ.2555-2559
ในช่วงรอยต่อระหว่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-44) และ แผนฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-49) เป็นระยะเปลีย่ นผ่านสูน่ โยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การจัด ทำ�แผนทันตสาธารณสุขแห่งชาติจงึ หยุดไปเมือ่ สิน้ สุดแผนฯ ฉบับที่ 8 แม้ในปี พ.ศ.2550 จะมีการจัดทำ�เป้าหมายทันตสุขภาพประเทศไทย 2563 แต่ ก็ไม่ได้มีแผนขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายดังกล่าว
ในปี 2555 สำ�นักทันตสาธารณสุขได้พฒ ั นาแผนสุขภาพช่อง ปากแห่งชาติ เพื่อกำ�กับทิศทางและเป้าประสงค์ในการดำ�เนินงาน สุขภาพช่องปากให้บรรลุเป้าหมาย โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากภาค ส่วนต่างๆ ทัง้ ภาครัฐทุกระดับ ภาคเอกชน องค์การปกครองส่วนท้อง ถิน่ และภาคประชาชน ได้มกี ารประชุมระดมสมอง รวมทัง้ สอบถาม ความคิดเห็นจากหน่วยงานต่าง ภาคส่วนต่างๆ ทั้งระดับนโยบาย รวมไปถึงระดับปฏิบัติการ
ในวันที่ 9-12 ตุลาคมนี้ จะมีการประชุมระดมความคิด เห็นและข้อเสนอแนะจากภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยในวัน ที่ 9-10 ตุลาคมจะเป็นกลุ่มภาคเหนือและภาคกลาง วันที่ 11-12 ตุลาคม จะเป็นกลุม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ขอเชิญชวน พวกเรามาร่วมประชุมในวันดังกล่าว ณ โรงแรมริชมอนด์(ดังใน หนังสือเชิญ) หรือส่งความคิดเห็นมายังผู้รับผิดชอบ/ผู้ประสานงาน ที่ E-mail : phenkhael@yahoo.com / seksun.p@anamai.mail.go.th มาช่ วยกันคิดนะคะ ลู ก รั ก ฟั น ดี เ ริ่ ม ที่ ซี่ แ รกก็ มี ก ารตั้ ง เป้ า ในการทำ � งานปี 2556 อย่างเอิกเกริก โดยกะจะทำ�สัปดาห์รณรงค์ในช่วงวันที่ 1-7 พฤศจิกายน และใช้เดือน ต.ค.55 - ม.ค. 56 เป็นเดือนทีเ่ ราจะทะยอย ทำ�กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการแปรงฟันแต่ซแี่ รก โดยมี 24 จังหวัดนำ�ร่อง
ทีส่ ญ ั ญากันว่าจะเดินหน้าทำ�โครงการนีอ้ ย่างเข้มข้น มีการเลือกพืน้ ที่ วิจยั เพือ่ ทำ�งาน R & D เกีย่ กกับการแปรงฟันซีแ่ รก โดยพืน้ ทีส่ มัครใจ ก็ได้อีเมล์ไปสมัครกับสำ�นักทันตฯแล้ว (พื้นที่ไหนสนใจรายละเอียด สามารถไปเปิดดูได้ที่ www.ลูกรักฟันดี.com ) เป้าหมายสุดท้ายของ การรณรงค์ลกู รักฟันดีประมาณเดียวกับโครงการสายใยรัก ทีส่ ามารถ ปลุกกระแสการกินนมแม่กลับคืนมาให้หญิงไทยได้ โจทย์ของเราอาจ ท้าทายกว่าเพราะเดิมการแปรงฟันซี่แรกไม่ได้อยู่ในวัฒนธรรมไทย และตัง้ ใจจะชวนสือ่ สารมวลชนทัง้ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์มาช่วย สร้างกระแส ใครที่ connection กับดารา นักร้องจะขอใช้อิทธิพลเชิง บวกมาช่ วยกันสร้างกระแสได้ ช่วยแจ้งที่สำ�นักทันตฯ นะคะ
เรื่ อ งความก้ า วหน้ า ของทั น ตแพทย์ ที่ มี ก ารต่ อ สู้ เ พื่ อ ให้ สามารถเข้าสู่ตำ�แหน่งซีเก้าได้ทุกตำ�แหน่งเช่นเดียวกับแพทย์นั้น ตอนนี้กำ�ลังมีการดำ�เนินการอยู่ โดยเสนอให้มีการรวมตำ�แหน่ง C9 ไว้ส่วนกลางเพื่อเป็นขวัญและกำ�ลังใจให้พี่ๆ ที่อาวุโสเข้าสู่ตำ�แหน่ง โดยไม่ต้องย้ายไปปฏิบัติราชการที่ไกลๆ ... เรื่องนี้ทางกองจ.แจ้งว่า ได้ประสานงาน ติดตามอย่างใกล้ชิดขณะนี้กำ�ลังรวบรวมเอกสาร ต่างๆ เข้าพิจารณาในเร็วๆ นี้ การขอขึน้ C9 ทัง้ วิชาชีพ (เหมือนวิชาชีพ แพทย์) ... ทางคุณชุมพลแจ้งว่า พอวิชาชีพเราแยกส่งเดี่ยวมีโอกาส ได้สูงมาก เพราะธรรมชาติวิชาชีพเราเทียบเคียงแพทย์อยู่แล้ว(ตอน แรกเราส่งร่วมกับเภสัช พยบ. ทำ�ให้เวลาพิจารณาต้องพิจารณาทั้ง พวงจึงตกไป) ขณะนี้เรื่องได้ส่งออกจากกองจ.ไปยังกพ.แล้ววงใน เจ้ าหน้าที่กพ.บอกว่า มีโอกาสเป็นไปได้ ... ถือเป็นข่าวดีระดับหนึ่ง เรือ่ งโอกาสในการสอบบอร์ดสาขาวิชาต่างๆ นัน้ ราชวิทยาลัย ได้ พ ยายามเปิ ด โอกาสให้ มี ก ารสอบอนุ มั ติ บั ต รโดยไม่ ต้ อ งสอบ ข้อเขียน โดยแต่ละสาขาวิชากำ�ลังออกระเบียบเพือ่ ให้สอดคล้องกับ การออกอนุมตั บิ ตั ร ด้านทันตสาธารณสุขทีเ่ กีย่ วข้องกับพวกเราๆ นัน้ หากท่านทำ�งานมีประสบการณมากกว่า 10 ปี สามารถสมัครสอบ ปากเปล่าได้ โดยมีเงื่อนไขว่ามีโครงการวิจัย หรือโครงการประเมิน ผลทันตสาธารณสุขซึ่งมีระยะเวลามากกว่า 2 ปี และท่านที่สนใจจะ เข้าสอบเป็นรุน่ แรกขอให้เตรียมโครงการ และเตรียมแฟ้มผลงานของ ตนเองไว้ ตัวอย่างแฟ้มผลงานเป็นอย่างไรให้ไปศึกษาได้ที่เวบราช วิทยาลัยนะคะ คร่าวเรื่องรายละเอียดการสอบใรคอยติดตามจาก เวบและข่าวสารทันตแพทยสภาที่น่าจะออกมาช่วงพฤศจิกายนนี้ การสอบน่ าจะเกิดขึ้นช่วงมกราคม 2556 นะคะ
แจ้งจากอมารีได้รับความอนุเคราะห์จากหมอเพียงเพ็ญ ราชบุรี -เริม่ รายการแรกโดยสามทหารเสือ ชือ่ หัวข้อว่า สามประสาน ขั บเคลื่อนการดูแลสุขภาพช่องปากของคนไทย เสือแรก ก็ สธ.ค่ะ โดย ผู้อำ�นวยการสำ�นักทันตสาธารณสุข
ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย เล่าว่าได้ทำ�เรื่องเกี่ยวกับงานไปแล้ว เกีย่ วกับเงินไปแล้ว และช่วงนีก้ �ำ ลังทำ�เรือ่ งคน ซึง่ เชือ่ ว่าจะทำ�ให้ครบ วงจรบริหารจัดการทันตสาธารณสุข และมีการขายไอเดียว่าการจะ ทำ�ให้เด็กสุขภาพดี ต้องไปขับเคลื่อนที่ผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็ก ต้องทำ�ให้ ชุมชนเข้มแข็งโดยท้องถิ่นเป็นแกน ชวนภาคีมีส่วนร่วมและบริการ ทั่วถึง มีคุณภาพ ต้องสร้างตำ�บลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข Setting ต้องขยับจากกลุ่มอายุไปที่ชุมชน ต้องมีการทำ�แผนยุทธศาสตร์ที่มี เจ้าของร่วมกัน ระหว่าง 3 ส (สธ. + สปสช. + สสส.) เราลงแรงไป 20 ต้องได้กลับมา 80
เสือที่สอง ก็คือ สปสช . นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รอง เลขาธิการ สปสช. เล่าถึงทิศทางการขับเคลื่อน กองทุนทันตกรรมปี 2556 ซึ่งเป็นปีสุดท้ายของเฟสหนึ่งที่จะทำ�ให้เกิดแนวคิด นโยบาย เกิดแผนยุทธศาสตร์ชาติ กองทุนทันตกรรมปี 2556 นี้ มีกรอบการ จัดสรรค่าใช้จา่ ยทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 16.60 บาท ต่อประชากร ทุกสิทธิ (ลดจากเดิม) ซึ่งจะลงไปเป็นงบจังหวัด 11% งบ CUP 89% มีเป้าหมายด้านการพัฒนาให้ทกุ จังหวัดมีขอ้ มูล มีแผน ทุกอำ�เภอมี แผนทีผ่ า่ นความเห็นชอบจาก คปสอ. ทุก อปท.ให้ความสำ�คัญ และ ทุก ศพด. ทุก รร. ได้รบั การสนับสนุน มีเป้าหมายด้านบริการว่า นร.ได้ รับการดูแล มีการแปรงฟัน หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ ผู้สูงอายุ ในชุมชนได้รับตรวจคัดกรองและบริการใส่ฟันเทียมตาม ความจำ�เป็น ......จะเห็นว่าจุดขับเคลื่อนสำ�คัญในการดูแลสุขภาพ ช่ องปากอย่างเหมาะสมคือ สังคม
เสือที่สาม คือ สสส. ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ทพ. ผู้ไป ทำ�งานนอกช่องปากนานแล้ว ได้เปิดมุมมองว่าการส่งเสริมสุขภาพ คิดเริ่มจากการประคับ ประคองสุขภาพปกติให้ยืนยาว ให้ดียิ่งขึ้น ยิ่งดี ส่วนการป้องกันโรค เป็นมุมมองที่จัดการกับการไม่ให้เราเป็น โรคภัยไข้เจ็บ เน้นเป็นเรื่องๆ โรคๆ ไม่ได้มองเป็นภาพรวมของการ อยากให้มีชีวิตที่แข็งแรง มีการพูดถึง Advancing Steps in the History of Prevention of Illness : From Curative Medicine to Cultural Medicine ทีเ่ ริม่ จาก Curative medicine ไป Pre-curative screening ไป Individual behavioral change ไป Socio-cultural medicine และสุ ดท้าย ฝากแนวคิดว่า “ต้องทำ�ให้ครบทั้งวงจร” ช่วงท้ายรายการ สปสช.ว่าที่ สธ.บริหารจัดการทันตสาธารณสุข ด้วย งาน เงิน และคน นั้น สปสช. ขอเพิ่มวิชาการ อีกอย่าง โดยต้อง ทำ �ให้การเป็นเจ้าภาพเกิดขึ้นภายในจังหวัด
และทีพ่ วกเราสงสัยว่าจะยุบกองทุนทันตกรรมหรือไม่นนั้ ดู แนวโน้มกองทุนทันตกรรมจะทำ�ต่ออีกนาน เพราะBig Boss จากทัง้ 3 องค์กรประกาศ จะดูแลซึง่ กันและกันในระยะยาว มกี ารประสานมือ วารสารทันตภูธร 31 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เป็นหลักฐานต่อหน้าตัวแทนทันตบุคลากรจากทั่วประเทศ ซึ่งทำ�ให้ ตากล้องทำ�งานกันมือเป็นระวิง และมีการประกาศข้อตกลงเบือ้ งต้น 3 ฝ่ายระหว่าง สสส. สธ. และสปสช. ดังนี้ 1. จัดทำ�แผนแม่บทเพื่อการขับเคลื่อนกระแสสังคม ระยะ เวลา 4 ปี ตั้ ง แต่ปี 2556-2559 และเพิ่ม ยุทธศาสตร์ การขั บ เคลื่ อ นนโยบายระดั บ ชาติ โดยให้ ผ นวกเป็ น ส่วนหนึง่ ของแผนยุทธศาสตร์สขุ ภาพช่องปากแห่งชาติดว้ ย 2. มี ค วามจำ � เป็ น ที่ จ ะต้ อ งกำ � หนด content ที่ ใ นชั ด เจน การขั บ เคลื่ อ นในแผน ไม่ เ ป็ น เพี ย งการเขี ย นแบบ กว้างๆ เท่านั้น 3. จั ด ตั้ ง ที ม งานเฉพาะขึ้ น มาจั ด ทำ � แผนแม่ บ ทนี้ ใ ห้ เ สร็ จ สิ้นภายใน 3 เดือน 4. ทั้ ง สสส. และสปสช. จะร่ ว มกั น จั ด สรรงบประมาณ เพื่ อ การดำ � เนิ น การในส่ ว นที่ อ งค์ ก รสามารถดำ � เนิ น การได้ตลอดแผน ทั้งนี้ สำ�นักทันตสาธารณสุขจะเป็น เจ้ า ภาพหลั ก ในการบริ ห ารจั ด การกิ จ กรรมร่ ว มกั บ หน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ 5. มี พื้ น ที่ ส าธิ ต กระจายในภู มิ ภ าคต่ า งๆ ที่ จ ะสามารถ ดำ � เนิ น งานสอดคล้ อ งกั บ นโยบายระดั บ ชาติ ล งไปถึ ง พื้นที่ เพื่อการศึกษาวิจัยและพัฒนา อันจะนำ�ไปสู่การ ขยายผลในวงกว้างต่อไป รายการทีส่ อง ผอ.สุธา แห่งสำ�นักฯ พูดถึงทิศทางการส่งเสริมสุข ภาพช่องปากของสำ�นักทันตสาธารณสุข ปี 2556 ท่านเล่าว่าที่ผ่าน มาทำ�งานแบบแนว Vertical ปี 56 ยังจะทำ�งานตามกลุม่ วัยอยู ่ แต่ จะบูรณาการ ตำ�บลฟันดี เน้นจัดการสุขภาพ จัดรณรงค์ลกู รักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก concept คือต้องเริ่มจากตัวเองดูแลตัวเองได้ มีความรู้ มี skill จึงจะไปดูแลลูกได้ดี นั่นคือ entry start ที่ผู้ใหญ่ แต่มุ่งเป้า ที ่เด็ก
วารสารทันตภูธร 32 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
รายการทีส่ าม ทพญ.สุณี วงศ์คงคาเทพ ส�ำ นักทันตสาธารณสุข เล่าภาพรวม 2 ปี ในการดำ�เนินการกองทุนทันตกรรม ซึ่งจะเห็นว่า ทันตาภิบาลใน รพ.สต. กำ�ลังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ รพช.กำ�ลัง ลดลง พบคนมีสวัสดิการด้านการรักษาแต่ไม่ใช้สิทธิเยอะมาก และน่าแปลกใจที่อัตราการเข้าถึงบริการของภาคกลางไม่ได้สูงกว่า ภาคอื ่นๆ
ฟันเทียมตามสิทธิประโยชน์ สปสช. จากข้อมูลผลการทำ�งานใน ช่วงที่ผ่านมา พบว่าผู้สูงอายุที่กทม.เมืองฟ้าอมรของเรานี่แหละเข้า ถึงบริการทันตกรรมน้อยทีส่ ดุ ปี 2556 นีส้ ปสช.จึงได้ปรับโครงการให้ เอกชนสามารถเข้าร่วมจัดบริการได้ในราคา 8,000 บาท ต่อ ปาก โดย เบือ้ งต้นเตรียมงบประมาณไว้รองรับการทำ�ฟันปลอมทัง้ สิน้ 45,000 ปากค่ะ รายละเอียดโปรดติดตามอ่านกันในรอบต่อๆ ไปนะค่ะ ขอขอบคุณภาพจาก ทพ.ชัยพฤกษ์ ตัง้ จิตคงพิทยา รพช.แจ้หม่ จ.ลำ�ปาง
Sim caries ฝึก remove caries ซ้อนรูผไุ ว้ภายใน caries สีดำ�นม่ิ ต้อง remove ให้หมด ผนังของ caries ทาสีเขียว ถา้ มีสด ี ำ�หลงเหลือ แสดงวา่ remove caries ไม่หมด ถ้าสีเขียวถูกกรอออกไป แสดงว่า remove เกิน กินเนื้อฟันที่ดีๆ
สอนวีธีการจับเครื่องมือ บอกจุดสัมผัศกับนิ้วโดยใช้ภาษาตัวเลข
Sim โรคในช่องปาก มีลักษณะต่างของโรคในช่องปาก ใช้ฝึกอบรมผู้ตรวจเบื้องต้น หนังสือคู่มือการอบรมในสมัยนั้น
การฝึกอบรมทันตาฯ แบบการฝึกนักบิน โดย พี่เจน
ตัวอย่างรายละเอียดในหนังสือคู่มือ การจัดตำ�แหน่งศรีษะของคนไข้
การออกฝึกปฏิบัติ ที่โรงเรียนของเจ้าหน้าที่ในสมัยนั้น
การทำ�งานของเจ้าหน้าที่ ด้วยท่าทางทะมัดทะแมงแม้ฝึกมาเพียง 10 วัน
วารสารทันตภูธร 33 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ตอนนี้พี่เจนไปไหนพบพวกเราที่อยู่ที่โรงพยาบาลชุมชนมีแต่ หน้าตายุง่ เหยิง เป็นกังวลกับการทีต่ อ้ งรับสอนนักศึกษาทันตาภิบาล ทีจ่ ะถูกส่งออกไปให้โรงพยาบาลชุมชนสอน ทีเ่ ห็นกังวลกันมากก็คอื ไหนจะต้องทำ�งานประจำ�ไหนจะต้องสอน การสอนภาคปฏิบตั จิ ะทำ� อย่างไรไม่ให้เกิดผลเสียกับคนไข้ เห็นบางรายบอกต้องให้สญ ั ญาว่า จะต้องฝึกทำ�ฟันเฉพาะในญาติพนี่ อ้ งของตัวเองเท่านัน้ ซึง่ ก็เป็นเรือ่ ง เข้าใจได้สำ�หรับความกังวลของพวกเรา ถ้าไม่กังวลก็คงยิ่งน่าเป็น ห่วงกว่า เรือ่ งนีท้ �ำ ให้พยี่ อ้ นคิดไปถึงสมัยเมือ่ เกือบสามสิบปีทแี่ ล้วตอนที่ เรายังขาดแคลนทันตแพทย์ ที่จะออกไปทำ�งานในชนบท ประชาชน ขาดแคลนบริการ เราต้องมีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยให้ ทำ�ฟัน ขออนุญาตเล่าประวัตศิ าสตร์สกั นิดนะคะ แล้วจะต่อด้วยภาค อนาคต และข้อเสนอแนะสำ�หรับคนที่ต้องฝึกอบรม และกำ�ลังวิตก จริตอยู่ การฝึกอบรมลักษณะนีไ้ ม่ใช่ของใหม่ในวงการทันตสาธารณสุข ของบ้านเราเลย มันเริ่มมาตั้งแต่ปี 2520 พี่หมอ สุทิน สุขารักษ์ ทันตแพทย์ โรงพยาบาลนครพนม มองเห็นปัญหาว่าประชาชนใน ชนบทต้องทนทุกข์ทรมาณจากโรคในช่องปาก และขาดแคลนบริการ อย่างมาก จึงได้ดำ�เนินการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพิ่มขีด ความสามารถทางทันตกรรมที่จังหวัดนครพนม จากโครงการนี้ส่ง ผลให้พี่หมอสุทินได้รับรางวัลทันตแพทย์ดีเด่น (คิดว่าเป็นคนแรก และคนเดียวของประเทศ) ปี 2522 กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับ คณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดำ�เนินการฝึกอบรม “เวชกร”1 เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถทางด้านทันตกรรม ใน “โครงการ ลำ�ปาง” (Development and Evaluation of Integrated Health Care Delivery Systems) ต่อมาในแผน พัฒนาสาธาณสุขฉบับ ที่ 5 กำ�หนดให้มีการขยายบริการทันตสาธารณสุขลงสู่ระดับตำ�บล หมู่บ้าน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ปัญหาทันต สาธารณสุขในชุมชน มีการปรับสมรรถนะ เพิม่ ขีดความสามารถของ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) และการจัดตัง้ กองทุนแปรงสีฟนั ยาสีฟนั ในกองทุนยาและเวชภัณฑ์ โดยเริม่ ดำ�เนิน การในปีงบประมาณ 2526 ก่อนปี 2526 เป็นการศึกษานำ�ร่องร่วม กับสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา (มีชอื่ เล่นของโครงการ วิจัยนี้ว่าโครงการสามล้อโคราชถอนฟัน) ในตอนที่ขยายงานมีการ กำ�หนดให้ มีการอบรมภาคทฤษฏีรวมกันทัง้ จังหวัด โดย ทันตแพทย์ 1
สสจ.เป็นผูจ้ ดั และไปอบรมภาคปฏิบตั ทิ ี่ โรงพยาบาลชุมชน ตอนนัน้ พวกเราที่อยู่ที่ สสจ. โรงพยาบาลชุมชนต้องจัดอบรมเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขกันทั่วประเทศเลย โครงการนี้มีชื่อเรียกง่ายๆ ว่า ทสสม. (ทันตสาธารณสุขในสาธารณสุขมูลฐาน) ซึ่งแบ่งออกเป็น สองระยะ คือ ระยะ 1 อบรมแค่การส่งเสริมป้องกัน ระยะ 2 อบรมเพิม่ ขีดความ สามารถในการรักษาง่ายๆ ก่อนจะเริม่ ขยายงาน ทสสม ระยะที่ 2 ทางองค์การอนามัยโลก ได้เข้ามาดำ�เนินงานโครงการวิจัยที่ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่าง ประเทศ ชื่อโครงการทดสอบรูปแบบการให้บริการทันตสาธารณสุข แก่ชุมชน (Community Care Model for Oral Health) ฝรั่งได้นำ� แนวคิดในวิธกี ารฝึกอบรมนักบินมาใช้ในการฝึกอบรมการให้บริการ ทันตกรรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นชาวบ้านจบแค่ชั้นมัธยมต้น เป็นการฝึกฝนให้มที กั ษะในการทำ�ฟัน (เสมือนเป็นการเพิม่ มือในการ ทำ�ฟันให้กบั ทันตแพทย์ ทันตแพทย์ยงั คงใช้ “หัวคิด” เหมือนเดิม แต่ มีมอื ในการทำ�ฟันเพิม่ ขึน้ ) ปรากฎว่าการฝึกอบรมด้วยวิธนี ี้ ทำ�ให้ผรู้ บั การฝึกอบรมมีทกั ษะในการทำ�ฟันสูงมาก (ผูเ้ ข้ารับการอบรมยังหนุม่ สาว ตาดี ทำ�งานได้แม่นยำ�กว่าทันตแพทย์เสียอีก) พวกเราคงรู้นะ คะว่าการฝึกนักบินให้ออกไปบินได้เขาทำ�กันอย่างไร นักบินต้องรับ ผิดชอบชีวิตคนเป็นร้อยๆ จะปล่อยให้ไปขับเครื่องบินเลยได้อย่างไร การฝึกนักบินเขามีเครื่องที่เรียกว่า simulator (แบบจำ�ลองการ ปฏิบตั งิ าน) ทีม่ หี น้าตาการจัดวางแผงหน้าปัทม์ ปุม่ คันโยกทุกอย่าง เหมือนในห้องนักบิน แล้วเขาก็จ�ำ ลองสถานการณ์ให้เหมือนจริง แล้ว ให้นกั บินฝึกฝน การตัดสินใจ การบังคับเครือ่ งบินในสภาพเหตุการณ์ ต่างๆ จนมีทักษะในการบังคับเครื่องบินและมีการตัดสินใจได้อย่าง เหมาะสมในสถานะการณ์ต่างๆ จึงจะปล่อยออกไปเป็นนักบิน จาก นักบินผู้ช่วยไต่เต้าไปเรื่อยๆ จนเป็นกัปตัน การฝึกให้คนทำ�ฟัน ก็ใช้ฝึกกับ simulator (เรียกย่อๆ ว่า sim) แบบเดียวกับการฝึกนักบินนี่แหละค่ะ (เรียกว่า performance simulation training) ทางกองทันตะฯในตอนนั้น ได้จัดทำ�หนังสือ คู่มือในการอบรม ในส่วนของการสอนเรื่องการทำ�หัตถการต่างๆ จะ มีขั้นตอนอย่างละเอียดขอย้ำ�ว่าละเอียดจริงๆ มีรายละเอียด ตั้งแต่ การนั่งของoperator การจัดตำ�แหน่งศรีษะคนไข้ การจับเครื่องมือ จุดไหนบนนิ้วมือสัมผัสกับส่วนไหนของเครื่องมือ การวางเครื่องมือ ลงบนตัวฟัน การวาง rest วาง guard ทิศทางการเคลื่อนที่ของ เครื่องมือ ฯลฯ ขนาดว่าพวกเราเป็นทันตุคคลกรแท้ๆ ยังไม่เคยได้
เวชกร คือชื่อที่ใช้เรียกเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยที่ได้รับการอบรมเพิ่มขีดความสามารถในโครงการลำ�ปาง
วารสารทันตภูธร 34 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
รับการฝึกฝนแบบนี้เลย คนที่มาอบรมพอนั่งทำ�ฟันปุ๊ป จับเครื่องมือ ก็ดูทมัดแทมงไม่เก้ๆ กังๆ เหมือนคนฝึกใหม่ ดูแค่ท่าทางก็บอกได้ ว่าจะทำ�ฟันได้ดี (พี่เคยไปนั่งดูลูกสาว ถูกนักศึกษทันตแพทย์พิมพ์ ปากดูแค่ท่าทางก็บอกได้แล้วว่าImpressionที่ออกมาจะใช้ได้ไหม ไอ้พิมพ์ด้วยท่าทางเก้ๆ กังนะ ไม่มีทางใช้ได้) อันนี้ก็อาจเหมือนการ ฝึกนักกิฬา ไม่วา่ จะเป็น กอล์ฟ เทนนิส แหละนะคะ เขาต้องฝึกท่าทาง ให้ถูกต้องเหมาะสมก่อน จึงจะให้ตีลูกได้ ถ้าท่าทางไม่ถูกแล้ว ไม่มี ทางพัฒนาเป็นแชมเปียนได้ กลับมาที่เรื่องการฝึกของเราต่อนะคะ พอผู้เข้ารับการอบรมพวกนี้ถูกฝึกทำ�ใน sim จนมีทักษะแม่นยำ�แล้ว ก็ให้จับคู่กันทำ�งาน แล้วจึงไปทำ�ในคนไข้ ก็ไม่เกิดผลเสียกับคนไข้ อย่างที่เรากังวลกัน ปัญหาอีกอย่างในการฝึกก็คือการทำ� sim ซึ้งเคยมีราคาแพง แต่ปจั จุบนั นีเ้ ราสามารถทำ�ได้เองในประเทศด้วยวัสดุทห่ี าได้ในบ้านเรา ที่ญี่ปุ่นยังมาสั่งที่บ้านเราเลยค่ะ เพราะราคาถูกคุณภาพใช้ได้ (สั่ง ที่ไหนใครสนใจสอบถามนอกรอบนะคะ) มีทั้ง sim caries (ดูภาพ ประกอบ) ไว้ฝึกการremove careis, sim โรคในช่องปาก sim impact ไว้ฝึกทำ� impact นอกจากนี้ตอนนี้มีผลการวิจัยออกมาแล้ว ว่า แค่การดูทา่ ทางในการทำ�ฟัน ก็สามารถประเมินคุณภาพของการ ทำ�ฟันได้ในระดับหนึ่งโดยยังไม่ต้องไปดูผลงานในช่องปาก ถ้าเรา สอนนักศึกษาให้ทำ�ฟัน เราก็ให้ทำ�ใน sim ไปแล้วตั้งกล้องถ่ายคลิป ท่าทางไว้ เอามาดูก็รู้ว่านักศึกษาคนใดพัฒนาไปแค่ไหน โดยยังไม่ ต้องดูฟนั ในช่องปากด้วยซาํ้ ให้เขาฝึกฝนไปเราก็ท�ำ งานเราไป ไม่ตอ้ ง กังวล การดูคลิปท่าทางนี้ ถ้าเรามี หลักเกณฑ์ (Criteria) ทีช่ ดั เจน ให้ เขาประเมินกันเองก็ยงั ได้ ลดความเหนือ่ ยของเราลงไปเยอะแยะ ทีน่ ี้ พอถึงคุณภาพในการทำ�ฟัน sim มันถอดออกมาดูได้ ก็ถอดออกมา เอาแว่นขยายส่องกันเลยที่เดียวว่าคุณภาพงานของเขาเป็นอย่างไร ไม่ต้องมานั่งถกเถียงกันว่า remove caries หมดไหม remove มาก ไปหรือเปล่า เพราะสื่อในการสอนจะช่วยเราอยู่แล้ว แถมอีกนิดนะค่ะ ที่พี่บอกว่าโครงการขององค์การอนามัยโลก ที่มาทำ�ที่ประเทศไทย ฝึกชาวบ้านให้เป็นมือของทันตแพทย์ ส่วน ทันตแพทย์กย็ งั ใช้หวั คิดเหมือนอย่างเดิม เขาทำ�ได้โดยใช้ระบบข้อมูล ข่าวสารมาช่วยค่ะ คือเราจะฝึกให้เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยช่วยตรวจ ในช่องปาก เห็นอย่างไรบันทึกอย่างนัน้ เป็นโค้ดตัวเลข (ทีจ่ �ำ ง่ายกว่า ICD เยอะ) ตอนนัน้ เราต้องเอาข้อมูลมาบันทึกลงในคอม ให้คอมแปล ผลออกมาเป็น การวินจิ ฉัย และ แผนการรักษา ทันตแพทย์ตรวจทาน แผนการรักษาอีกครั้ง แล้วพิมพ์ใบสั่งการรักษาส่งให้ผู้ที่ฝึกอบรมไว้ ทำ�การรักษา บุคลากรแต่ละประเภทจะรู้ว่าเข้าต้องทำ�อะไรกับ
ฟันซีไ่ หนในขอบเขตแค่ไหน พวกนีม้ ที กั ษะอยูแ่ ล้ว ปฏิบตั งิ านได้ทนั ที การดำ�เนินงานในส่วนทีใ่ ช้ คอมพิวเตอร์นมี้ กี ารดำ�เนินการเฉพาะใน โครงการขององค์การอนามัยโลกเท่านัน้ เพราะสมัยนัน้ คอมพิวเตอร์ แพงมากและยังใช้กันไม่แพร่หลาย แต่ในปัจจุบัน ได้มีการพัฒนา โปรแกรมนีเ้ รียบร้อยแล้ว กำ�ลังจะเอาใส่ใน smart phone ด้วยซํา้ ฟังแล้วเหมือนฝันใช่ไหมค่ะ แต่ถา้ เราไม่ฝนั ก็คงไม่มอี ะไรใหม่ๆ เกิดขึ้นในโลกนี้ คนที่ไม่เคยเห็น ไม่เคยพบก็อาจหาว่าพี่โม้ แต่พี่เจน คนนี้แหละคะ ได้เห็นสิ่งพวกนี้มาตลอดอายุการทำ�งานของพี่เลย ก็ว่าได้ รับรองว่าทำ�ได้จริง และที่สำ�คัญเคยทำ�มาแล้วในทุกเรื่อง ที่เขียนเล่ามา
วารสารทันตภูธร 35 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
สมัครสมาชิกเพื่อรับวารสารทันตภูธร เปลี่ยนที่อยู่รับวารสารทันตภูธร ruralmax2007@gmail.com เป็นสมาชิกแต่ไม่ได้รับวารสารทันตภูธร ติดต่อด่วน https://www.facebook.com/ruraldentmagazine
จากใจ บริษัท ทันตภูธร และเพื่อน จากัด บริษัททันตภูธรและเพื่อนจากัด เป็นกิจการเพื่อสังคม ที่นาผลกาไรจาก การจาหน่ายสินค้า มาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของ ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร เช่น วารสารทันตภูธร กิจกรรมค่ายรับน้องใหม่ พิมพ์หนังสือเรื่องเล่า ฯลฯ ทาไมจึงต้องเปิดบริษัททันตภูธรและเพื่อนจากัด เพราะ ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร ไม่สามารถปร ะกอบธุรกิจเชิงพาณิชย์ ตามระเบียบ กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงการคลังได้ แต่ชมรมทันตสาธารณสุขภู ธร มี วารสารทันตภูธร ที่ดาเนินการต่อเนื่องมา นานมากกว่า 20 ปี จาเป็นต้องหาทุนมาดาเนิน การอย่างต่อเนื่องและ ยั่งยืน จึงเป็น ที่มาของการขายแปรงสีฟัน ยาสีฟัน และสินค้าอื่นๆ เพื่อนาผลกาไรที่ได้เล็กน้อยมาจัดพิมพ์วารสารทันตภูธร บริษัท ทันตภูธรและเพื่อนจากัด บริษัท ทันตภูธรและเพื่อนจากัด จดทะเบียนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์, จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัชฎากร กรมสรรพากร และลงทะเบียนคู่ค้ากับ ภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว บริหารงานโดย ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ (หมออ๋อ) nithimar_or@yahoo.com สนใจรายละเอียดของสินค้า กรุณาติดต่อสอบถาม ทพญ.สุรีรัตน์ สูงสว่าง (หมอหนุ่ย) 0869165126
เรื่องเล่าจากภูอังลัง : ใคร...ก็ได้ โดย หมอฟันไทด่าน dansaiqmr@gmail.com
เคยได้ยนิ คมคำ�ของนักปราชญ์ชาวจีน ทีว่ า่ “สามคนเดินมา ต้องมีคน หนึง่ ทีเ่ ป็นครูเราได้” ไหมครับ ไม่รวู้ า่ คนอืน่ ได้ยนิ แล้ว คิดยังไงกันบ้าง แต่ สำ �หรับตัวผม ยังไม่คอ่ ยเห็นด้วยเสียทัง้ หมด
เมื่อ 16 ปี (แห่งความหลัง ครั้งเก่า) ก่อน ทีมหลักๆ ของโรง พยาบาลที่ผมเริ่มมาทำ�งานถ้านับเฉพาะทีมนำ� เอาตั้งแต่หัวหน้าฝ่าย ขึน้ ไป น่าจะอายุยงั ไม่เยอะกัน อย่างมากก็คงปริม่ ๆ 40 ถ้าหา Mean ค่าเฉลีย่ ของอายุคนทัง้ โรงพยาบาลตอนนัน้ คิดว่า น่าจะไม่ถงึ 30 (ตอนนี้ ประมาณ 34 บวกลบ) ด้วยซา้ํ ผ่านไปๆ ด้วยโรงพยาบาล Turnover rate ของเจ้าหน้าทีไ่ ม่มาก คน ท้องถิน่ เริม่ จบกลับมาทำ�งานบ้านตัวเองไม่ยา้ ยไปไหน คนทีอ่ น่ื ก็ทยอยย้าย ออกไปเพือ่ กลับภูมลิ �ำ เนา คนต่างถิน่ ทีเ่ หลือก็แปรพักต์ถน่ิ ฐานบ้านเกิด ดูทา่ จะลงหลักปักฐาน ผ่านการซือ้ ทีด่ นิ บ้าง หรือว่าสร้างบ้านกันเลยก็หลายราย กลุ ม่ หลังนีบ้ างทีกไ็ ด้เป็นเขยบ้าง สะใภ้บา้ งของคนแถวนี้ ด้วยโรงพยาบาลของผมเหมือนคนอยูไ่ ม่สขุ นิง่ ไม่เป็น ขยับปรับเปลีย่ น พัฒนากันอยูต่ ลอด การจะยังคงคุณภาพให้ “ยัง่ ยืน” ซึง่ เป็นหนึง่ ในสาม คำ�สำ�คัญของวิสยั ทัศน์โรงพยาบาล นัน้ หัวใจสำ�คัญคงไม่พน้ การรักษาหรือ พั ฒนาคุณภาพของคน โดยเฉพาะทีมนำ�
ศัพท์แนวๆ HR ของการพัฒนาบุคลากร จึงเดินทางมาถึงแถวนีเ้ มือ่ สัก 3-4 ปีกอ่ น ศัพท์ทว่ี า่ คือคำ�ว่า successor เราแปลกันมัว่ ๆ ว่า “ว่าทีผ่ นู้ �ำ ” ซึง่ ควรมีกระบวนเตรียมการ ไม่ใช่ปล่อยปละละเลยไปสุดแต่ยถากรรมจะ นำ �พา
คิดๆ จนตกผลึกกันว่าเราจะพัฒนาเป็นแผงเป็นกลุม่ แบ่งเป็น 3 กลุม่ โดยเรี ยกทีมนำ�ระดับต่างๆ ว่า “Lead”
ลีด 1 นัน้ หมายถึงคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลและกรรมการ บริหารคุณภาพ ซึง่ ส่วนใหญ่กซ็ อ้ นทับกันอยู ่ กลุม่ นีม้ รี าวๆ เกือบ 20 คน ลดี 2 เป็นหัวหน้าฝ่าย/งาน ทีไ่ ม่ได้เป็นลีด 1 สว่ นลีด 3 สุดท้ายจะเป็นรองหัวหน้า งาน ทีผ่ า่ นมา 3 ลีดก็มที ง้ั วิง่ ขึน้ เช่น รองหัวหน้าได้ขน้ึ เป็นหัวหน้าก็อพั จา กลีด 3 ไปลีด 2 ส่วนลีด 1 กลุม่ ประธานทีมประสาน (เช่น IC, ENV...) ซึง่ จะ เป็นกรรมการบริหารคุณภาพโดยตำ�แหน่ง นัน้ ถ้ามีการปรับเปลีย่ นประธาน ก็อาจถอยจากลีด 1 ลงมา 2 หรือ 3 รวมทัง้ หลุดลีดไปเลยก็มี แต่กลุม่ หลังนี้ มี ไม่มาก เคยเห็นอยูส่ กั ราย สองราย
กระบวนการพัฒนา เราไม่ได้เริ่มจากการพาไปเทคคอร์ส (แต่ปี งบหน้านีก้ �ำ ลังจะทำ�คอร์สให้ทงั้ 3 ลีด) แต่ให้เรียนรู้ พัฒนาตนผ่านการ ทำ�งานด้วยกันในแต่ละลีด เช่นลีด 3 ทำ�เรื่องมหกรรม CQI/R2R ของ โรงพยาบาล ทำ�กันจนเชี่ยวชาญ สร้างสรรค์สุดๆ จนเชื่อมั่นได้เลยว่า แม้นลีด 1 ลงมาทำ�เอง ก็ไม่มีปัญญาหรือพลังทำ�ได้ขนาดนี้ ลีด 2 งาน ใหญ่เขาเป็นงานเกษียณ ซึ่งเป็นงานเลี้ยงประจำ�ปีหนึ่งเดียวของโรง พยาบาล เน้นการสร้างความสัมพันธ์และการถ่ายทอดประสบการณ์ จากผู ้มาก่อนแก่น้องๆ ผู้มาใหม่ ซึ่งก็ทำ�ได้ดีเด่น ไม่แพ้กัน วารสารทันตภูธร 38 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
กระบวนการพัฒนาอืน่ ๆ เราก็มกี ารการพัฒนาจิต ให้เรียนรูก้ ารจัดการ ความทุกข์ของตัวเองโดยอาศัยวิถแี ห่งพุทธแท้ ด้วยความเชือ่ ทีว่ า่ บรรดา หัวหน้าผูน้ �ำ ทัง้ หลาย ถ้าเกิดทุกข์ เกิดเหวีย่ งขึน้ มา มันจะพาลกระทบไปใคร ต่ อใครมากมายเป็นวงกว้าง พลอยทำ�ให้ทกุ ข์ไปด้วย
ล่าสุดได้เชิญ อ.เอก วิทยากรนักถอดบทเรียนและกระบวนกรคนเก่ง มาช่วยใช้เครือ่ งมือการจัดการความรูใ้ นกระบวนการ Sharing ผ่านเครือ่ ง มือสุนทรียสนทนาระหว่างลีดทัง้ หมด หวังให้เกิดการเรียนรูก้ นั และกันจาก ประสบการณ์จริง บางกระบวนคุยวงใหญ่ บางกระบวนแต่ละลีดจะแยกไป คุย แล้วค่อยมาสือ่ อีกทีวา่ มีความคิดเห็นอย่างไรกับองค์กรและคาดหวังต่อ ลี ดอืน่ ๆ อย่างไร
ในวงวันนั้นเกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ มากมาย เช่น การให้ ลีดรองๆ เข้าร่วมการประชุมสำ�คัญๆ จะได้เรียนรูก้ ระบวนการตัดสินใจทีม่ ี ทีม่ าทีไ่ ป เพราะส่วนใหญ่ถา้ มาฟังมติสดุ ท้าย บางทีกค็ า้ งคาสงสัยว่า คิด กันมาได้ไงเนีย่ การผลัดการลองมาเป็นหัวหน้าว่าไม่งา่ ยนะโว้ย การบ่ม ให้พอดีกอ่ นดันขึน้ หัวหน้า อย่าถีบขึน้ ไปถ้ายังไม่พร้อม การเรียนรูม้ มุ ความ เป็ นมนุษย์สามัญธรรมดาทีม่ ที ง้ั มุมบวกมุมลบ โดยเฉพาะเรียนรูจ้ ากลีด 1 ลีด 1 เรานีอ่ ยูก่ นั มานาน วิเคราะห์กนั ว่าเป็นจุดแข็งขององค์กร ทัง้ ที่ มัว่ นิม่ กันเองและจากองค์กรภายนอกทีม่ าตรวจประเมินสารพัดสารพัน.... เขาว่ าไว้อย่างนัน้ แต่ทน่ี า่ สนใจคือ ลีด 1 คิดเองว่าไม่ควรเป็นชาล้นถ้วย สามารถโน้มตัว ลงไปเรียนรูจ้ ากใครต่อใครไม่วา่ จะเป็นลีดหรือไม่ใช่ แม้แต่นอ้ งใหม่ๆ เพิง่ จบ ก็มหี ลากเรือ่ งราวให้เรียนรู.้ ..ยกตัวอย่างว่าแค่สมรรถนะด้าน IT แบบนีเ้ รียน รู จ้ ากคนรุน่ ใหม่ดที ส่ี ดุ
ผมนึกย้อนไปถึงน้องๆ ฝึกงาน ด่านซ้ายรับทันต มช. มา 10 ปีตอ่ เนือ่ ง ไม่มขี าด หลังๆ เพิม่ จุฬาปี 3 มาด้วย ด้วยเกรงใจในพลังและความปรารถนา ดีตอ่ ลูกศิษย์อนั เหลือเฟือของอ.สุดาดวง ทอ่ี น่ื ทำ�ไง เราไม่รู้ แต่ทน่ี ่ี ฝึกงานเราใช้ พลังและเรียกร้องเวลา (กันและกัน) ค่อนข้างมาก เราจะคุยกันเกือบทุกค่� ำ หลัง 3 ทุม่ เป็นต้นไป เพราะฉะนัน้ รับฝึกที เหมือนมีลกู พร้อมกันทีละหลายๆ คน จุฬาปี 3 นัน้ คอร์สสัน้ แค่ 7 วันเป็นจบ บางทีหากเทีย่ วกันเพลิน แทบ จะไม่เหลือเวลาทำ�งาน ด้วยวัยห่างกันระดับ 2 ทศวรรษ ผมเลยไม่คาดหวัง ว่าจะได้อะไรคืนกลับจากน้องกลุม่ นีเ้ ลย...ห่วงแค่วา่ จัดการเรียนรูใ้ ห้นอ้ งๆ ให้ ดที ส่ี ดุ คิดว่า “ให้” ให้ด ี ไม่ได้คดิ “รับ” เอาอะไร ซึง่ ผมรูท้ หี ลังว่าคิดผิด
การฝึกงาน 3 รุน่ ผ่าน นัน้ สร้างการเรียนรูใ้ ห้ผมได้มาก การเปิดสูโ่ ลก ใหม่ๆ ซง่ึ เราไม่เคยรับรูม้ าก่อน การเปลีย่ นความคิดหลายอย่าง เห็นปรากฏ การบางอย่างด้วยความเข้าใจมากขึน้ รูจ้ กั ใช้เครือ่ งมือสมัยใหม่บางเครือ่ ง มือ (ซึง่ มีทง้ั คุณและโทษ) ให้เป็นประโยชน์ ได้ตามติดชีวติ วัยรุน่ ทัง้ เมือง และชนบท ซึง่ ในฐานะคนมีลกู ควรอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งเรียนรู้ คนทีค่ ดิ ว่าจะไป เป็นอาจารย์เขา (น้องจะเรียก แต่บอกให้เรียกพีด่ กี ว่า) กลับได้เรียนรู ้ ไม่แน่ ว่าอาจจะ “ได้” มากกว่าน้องๆ ด้วยซํา้
รักแท้แม้ภูธร สวัสดีค่าพี่ๆน้องๆทันตบุคลากรทุกท่าน หมอชูชมู ารายงานตัวหลังจากห่างหายวงการวารสารทันตภูธร ไปเป็นแรมปี คิดถึง๊ คิดถึง.. กลับมาคราวนีม้ โี อกาสดีทไี่ ด้เข้าร่วมจัด งานค่ายทันตแพทย์น้องใหม่ ประจำ�ปีพ.ศ. 2555 หมอชูชูจึงขอทำ� หน้าที่เป็นเหยี่ยวข่าวสาวมารายงานความเป็นมาและผลงานการ จัดค่ายในครั้งนี้ค่า ความเป็นมาของชมรมทันตสาธารณสุขภูธรเกิดขึ้นจากความ เป็นห่วงเป็นใยและสายสัมพันธ์ฉันท์พี่น้องระหว่างทันตบุคลากรที่ ทำ�งานในโรงพยาบาลชุมชน การจัดค่ายทันตแพทย์น้องใหม่เปรียบ เสมือนเป็นกิจกรรมหนึง่ ทีเ่ ปิดโอกาสให้นดั พบปะสังสรรค์ท�ำ กิจกรรม ร่วมกันระหว่างทันตแพทย์รุ่นพี่และรุ่นน้องเพื่อให้คำ �แนะนำ�และ ข้อคิดเห็นดีๆ ในการทำ�งาน รวมถึงเปิดโอกาสให้ทันตแพทย์น้อง ใหม่ได้รู้จักกันและเรียนรู้ร่วมกันมากขึ้นทั่วทุกภาคเพื่อประสาน ความสัมพันธ์ระหว่างกันให้แน่นแฟ้นมาก ขึ้น แต่ทว่าการจัดค่าย ทันตแพทย์น้องใหม่จำ�เป็นต้องใช้งบประมาณมาก ปีนี้วารสาร ทันตภูธรเป็นผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการที่ช่วยให้เกิดค่าย ทันตแพทย์น้องใหม่ขึ้น ต้องขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ งานค่ายทันตแพทย์น้องใหม่สดใส ใจเป็นสุข ณ เวลเนสโฮม จ.พระนครศรีอยุธยา จัดเมือ่ วันที่ 23-25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ผูเ้ ข้า ร่วมเป็นตัวแทนทันตแพทย์น้องใหม่จากทุกสารทิศทุกภาคดังนี้ • ทพญ.เอมอร ถือคุณ (น้องเอมมี่) รพ.แจ้ห่ม จ.ลำ�ปาง • ทพญ.อภิชญา ศรีเสถียร (น้องเหมียว) รพ.แม่สอด จ.ตาก • ทพญ.ปัทมนุช หิรญ ั เมฆาวนิช (น้องฝ้าย) และ ทพ.ชยาพล ธำ�รงจารุวัตร (น้องมิก) รพ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย • ทพญ.พอพลอย เจียมจรัสรังษี (น้องขิม) รพ.เชียงคำ� จ.พะเยา • ทพญ.นิชนันท์ โพธิรัตน์ (น้องอิ๋ว) รพ.นากลาง จ.หนองบัวลำ�ภู • ทพ.เรืองยศ จูวราหะวงศ์ (น้องคิม) รพ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
• ทพญ.อนงค์นาฎ เอี่ยมสุภา (น้องแน้ต) สสจ.สิงห์บุรี • ทพ.เรืองตะวัน เรืองยังมี (น้องว่าน) รพ.สุราษฎร์ จ.สุราษฎร์ธานี • ทพญ.สิริพิมพ์ สัจจะตั้ง (น้องว่าน) รพ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช • ทพญ.ภัทธวรรณ จันทรศรี (น้องอูม) รพ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช • ทพญ.ธมลวรรณ งามจรัส (น้องฝน) รพ.ห้วยยอด จ.ตรัง • ทพ.ธนศักดิ์ วันสม (น้องโอ๊ป) รพ.เขาชัยสน จ.พัทลุง • ทพญ.ภาชินี ปลั่งพิมาย (น้องกวาง) รพ.มายอ จ.ปัตตานี • ทพ.ณัฐพล พินิจพรชัย (น้องนัท) รพ.นราธิวาสราชนครินทร์ จ.นราธิวาส โดยคณะผู้จัดค่ายเป็นพี่ๆ ทันตแพทย์ตัวแทนชมรมทันตภูธร ระดับมือทองดังนี้ • ทพ.กิตติคุณ บัวบาน (พี่ทอม) รพ.แม่ระมาด จ.ตาก • ทพ.เทอดศักดิ์ อุตศรี (พี่บิค) รพ.นาหมื่น จ.น่าน • ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี (พี่รอง) สสจ.นครศรีธรรมราช • ทพญ.มยุรฉัตร ฉายอรุณ (พีเ่ อ๋) รพ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา • ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ (พี่จิต) รพ.นาหมื่น จ.น่าน • ทพญ.สุภา เนตรจรัส (พี่เปิ้ล) ศูนย์อนามัยเขต 11 จ.นครศรีธรรมราช • ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ (พี่ชูชู) รพ.ป่าบอน จ.พัทลุง
วารสารทันตภูธร 39 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
social network ผ่านทางอินเตอร์เน็ตกันเป็นประจำ�อยู่แล้ว ง่ายต่อ การทำ�ความเข้าใจกิจกรรม และสร้างการดึงดูดใจให้แก่ผู้เข้าร่วม กิจกรรมเป็นอย่างดี หลังจากนั้นกิจกรรมต่อไปเป็นการปิดตากันจับมือเป็นวงกลม นวดไล่ไปเรื่อยๆ ตั้งแต่นิ้วมือ ฝ่ามือ ข้อมือ ข้อศอก แขน หัวไหล่ ไล่ ไปถึงต้นคอ ของเพื่อนทั้งสองข้าง เพื่อให้เพื่อนรู้สึกผ่อนคลาย และ ใส่ความรูส้ กึ สบาย ผ่อนคลาย แสดงถึงความเป็นห่วง ความขอบคุณ ตามด้วยการกำ�หนดลมหายใจเข้าออกให้กับตนเอง เมื่อเปิดตาให้ ยิ้มให้กับเพื่อนๆที่อยู่ในวง กิจกรรมนี้เป็นการสร้างความสัมพันธ์กับ ผู้เข้าร่วมและเป็นการเรียกสมาธิให้ผู้เข้าร่วมสนใจในกิจกรรมที่จะ จัดต่อไปหลังจากนี้ วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เริ่มต้นบรรยากาศด้วยการทักทายแนะนำ�ตัวกันอย่างไม่เป็น ทางการ และแจกกระดาษให้วาดรูปตนเอง ทลายกำ�แพงความเป็น ตัวตนโดยเริ่มนำ�ภาพที่วาดด้วยตนเองนั้นยื่นให้เพื่อนและทำ�ความ รู้จักกันโดยให้เพื่อนเติมแต่งภาพในรูปแบบที่เพื่อนมองเห็นเรา และ ทำ�แบบนีซ้ �้ำ ๆ กันประมาณ 5 คน หลังจากนีจ้ บั คูก่ บั คนทีอ่ ยูใ่ กล้และ เริ่มพูดถึงข้อดี-ข้อเสีย ของตัวเองให้เพื่อนรับฟัง กติกาคือ ให้ผู้พูด วางมืออยู่ด้านบนผู้ฟัง และพูดถึงข้อดีของตน ตามด้วยเปลี่ยนจาก ตำ�แหน่งมือของผู้ฟังเป็นผู้พูด ซึ่งผู้ฟังจะรับฟังโดยไม่แสดงความ เห็นตัวเองลงไป และผู้พูดต้องพูดให้ผู้ฟังเข้าใจง่าย จากนั้นให้คำ� นิยามสามคำ�สำ�หรับเพือ่ นทีเ่ ราได้รบั ฟังใส่ลงในภาพนัน้ และอธิบาย คำ�นิยามนั้นให้เพื่อนฟัง ท้ายสุดนำ�ไปติดในกระดาษแผ่นใหญ่ที่มี หัวข้อเป็น facetime และเขียน comment ลงในกระดาษแผ่นเล็กที่ เตรียมให้ตดิ ในตำ�แหน่งทีต่ อ้ งการแสดงความคิดเห็น คล้ายกับ...... การ post status และ comment ลงใน facebook ซึ่งกิจกรรมนี้มี จุดเด่นคือ เหมาะกับวัยของผู้เข้าร่วมกิจกรรมซึ่งใช้การสื่อสารแบบ
วารสารทันตภูธร 40 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เริ่ ม ต้ น กิ จ กรรมหลั ก ในวั น นี้ ด้ ว ยการนำ � ป้ า ยชื่ อ ของเพื่ อ น ทีต่ นเองหยิบได้จากกองกลางไปติดให้เพือ่ น หลังกิจกรรมเรียกสมาธิ จึงทำ�การแนะนำ�พีๆ่ ในชมรมทีม่ าค่ายในครัง้ นี้ ทพ.กิตติคณ ุ บัวบาน (พีท่ อม) ทพ.เทอดศักดิ์ อุตศรี (พีบ่ คิ ) ทพญ.มยุรฉัตร ฉายอรุณ (พีเ่ อ๋) ทพ.ธนัฎฐนนท์ อัศววัฒฑกี (พีร่ อง) ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธ์ (พีจ่ ติ ตี)้ ทพญ.สุภา เนตรจรัส (พีเ่ ปิล้ ) และ ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ (พีช่ ชู )ู เปิดตัวชมรมทันตภูธรด้วยคลิป “รักแท้ แม้ภูธร” และพี่บิคเป็น ผูเ้ ล่าประวัตคิ วามเป็นมาของชมรม ซึง่ ประกอบด้วยประวัตกิ ารก่อตัง้ ชมรม วัตถุประสงค์หลักของชมรม การทำ�วารสารทันตภูธรในการหา งบประมาณในการจัดกิจกรรมในชมรม พี่ทอมเล่าสู่กันฟังเกี่ยวกับ ชมรมทีจ่ ะเกิดความรักความผูกพันกันขึน้ ระหว่างการจัดกิจกรรมของ ชมรมฯ เพื่อต่อยอดความสุขให้น้องทันตแพทย์รุ่นต่อๆ ไป จากนั้น แจกกระดาษหัวใจให้น้องคนละหนึ่งใบเพื่อเขียนความคาดหวัง ที่มาเข้าร่วมกิจกรรม ความสุขคืออะไรในความคิดของน้อง จากนั้น ให้ทันตแพทย์น้องใหม่แต่ละคนเล่าความคาดหวังที่ตนเองเขียนไว้ แลกเปลีย่ นให้เพือ่ นทุกคนในวงได้รบั ฟัง ส่วนใหญ่เป็นความสุขจาก
การพบเจอเพือ่ นใหม่ๆ รุน่ พี่ เรียนรูป้ ระสบการณ์จากรุน่ พีแ่ ละเพือ่ นๆ ได้แนวคิดดีๆในการทำ�งาน มีแรงบันดาลใจและเป้าหมายในการ ทำ�งาน มีครอบครัวที่ดี พี่ทอมและพี่รองเสนอแนะแนวทางในการ ทำ�งานและให้เปิดใจตัวเองเพื่อเชิญชวนให้ทำ�กิจกรรมและได้รับ ความสุขจากการทำ�กิจกรรมร่วมกันในสามวันนี้ หลังทานมื้อเที่ยงร่วมกัน เริ่มกิจกรรมถัดมาด้วยการผ่อนพัก ตระหนักรู้ พักให้ร่างกายผ่อนคลาย ต่อด้วยการนั่งเป็นวงกลมนวด ให้แก่กนั ผ่อนคลายกล้ามเนือ้ ด้วยท่าโยคะเบาๆ จากนัน้ จัดกิจกรรม สันทนาการเล็กน้อย กิจกรรมสามเหลี่ยมให้เคลื่อนตัวเองโดยไม่ ส่งเสียงและจับคู่กับเพื่อนอีกสองคนให้เป็นสามเหลี่ยมในพื้นที่ที่ จำ�กัด เมื่อคู่ที่คิดไว้เคลื่อนเราต้องเคลื่อนตัวเองให้เป็นสามเหลี่ยม ประโยชน์ที่ได้คือทุกคนล้วนแต่มีปฏิสัมพันธ์กัน พึ่งพาอาศัยซึ่งกัน และกัน อยู่แบบโดดๆ คนเดียวไม่ได้ การเคลื่อนไหวของเราที่คิด ว่าไม่มีผลต่อคนอื่นนั้นเป็นเหมือนคลื่นใต้นํ้า แท้ที่จริงแล้วมีผลต่อ ความรู้สึกคนอื่น และบางครั้งเราคิดว่าน่าจะมีผลต่อคนอื่นแต่โดย ในความเป็นจริงแล้วอาจไม่มีผลต่อคนๆ นั้นเลย แลกเปลี่ยนความ รู้สึกและแสดงความคิดเห็นระหว่างกันในวงในกิจกรรมดังกล่าว
ยกตัวอย่างเช่น รู้สึกกลัวว่าทำ�ให้คนอื่นเดือดร้อนหรือเกรงใจ กลัวว่าจะเปลี่ยนแปลง ไม่มั่นใจกลัวไม่ได้รับการถูกเลือก ทางเลือก ตัดสินใจโดยการสังเกตการณ์เพื่อรับรู้การเปลี่ยนแปลงหรือความ เป็นไปของคนอืน่ สามารถดำ�เนินการได้โดยไม่ตอ้ งการให้คนอืน่ รับรู้ ทันตแพทย์น้องใหม่คนหนึ่งแสดงความคิดเห็นจากการทำ�งานของ ตนไว้ว่าตัวเองเป็นคนที่เชื่อใจคน ความศรัทธาลดลงเมื่อถูกนินทา ในฐานะที่เป็นเด็กทันตแพทย์จบใหม่ ซึ่งไม่เคยได้เรียนรู้ชีวิตการ ทำ�งาน แต่สามารถแยกประเด็นได้ในชีวิตการทำ�งานร่วมกัน เพียง แต่ลดความศรัทธาในตัวคนที่เป็นผู้นินทา ทันตแพทย์อีกคนแสดง ความรู้สึกว่าตนเองทำ�งานร่วมกันกับพี่ที่เข้มงวดมาก พยายามทุก วิถีทางในการยอมรับและการเข้ากันได้แต่ไม่ได้ผล จึงเลือกวิธีการ จัดการปัญหาด้วยการปล่อยวาง และแบ่งแยกงานกันทำ� พีท่ นั ตแพทย์อย่างพีท่ อม และพีร่ อง จึงแสดงข้อคิดเห็นในด้าน การใช้ชวี ติ การทำ�งาน เมือ่ ต้องทำ�งานร่วมกับรุน่ พีท่ อี่ ายุมากกว่า งาน ต่างๆ ที่นอกเหนือจากทำ�ฟัน การ sterile CQI HA และอื่นๆ ควร มีเหตุผลวิชาการในการอ้างอิงถึงเหตุผลที่รู้สึกขัดแย้งกันระหว่าง รุ่นพี่รุ่นน้องที่ทำ�งานร่วมกัน มีการหาวิธีแก้ปัญหาร่วมกัน เช่น การ ใช้หลักจิตวิทยา “สามารถกลับก่อนได้เลยเดี๋ยวเราจัดการเอง” อีก ฝ่ายจะมีความรู้สึกเกรงใจและยอมอยู่ทำ�งานร่วมกันจนเสร็จ เรื่อง เวลา เรือ่ งคำ�แนะนำ�ในการประชุมร่วมกันเพือ่ แก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ จาก การทำ�งานร่วมกัน พยายามปรับความเข้าใจกับคูก่ รณี ลดความเป็น ตัวตนลง บางครั้งต้องยอมให้คนอื่นบ้าง เพื่ออยู่ในสังคมได้ง่ายขึ้น ลดคำ�ถามว่าทำ�ไมเปลีย่ นเป็นทำ�อย่างไร แก้ปญ ั หาได้อย่างไร โดยให้ คนอื่นเดือดร้อนน้อยที่สุด การเสียสละทำ�ให้เพิ่มคุณค่าในตนเองได้ การพุ่งชนมิได้เป็นสิ่งที่ดีเสมอไปอาจทำ�ร้ายความรู้สึกต่อคนอื่นจน ไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์ทดี่ เี หมือนเดิมได้อกี เป็นประสบการณ์ ความเจ็บปวดที่มากกว่าเพราะยังต้องทำ�งานอยู่ร่วมกัน ชีวิตยังต้อง ดำ�เนินต่อไป ข้อคิดเห็นในด้านการใช้ facebook ในการสือ่ สารแบบ social update ต้องระวังในแง่ของการสร้างความเป็นตัวตน ซึ่งอาจ ไม่สามารถใช้กับชีวิตจริงได้ สถานการณ์จ�ำ ลองเหล่านีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของจิตตปัญญาศึกษา หลังจากรับรู้ในกิจกรรมนี้แล้วว่าเป็นคนถูกเลือกจากเพื่อนแล้วรู้สึก ดีใจ การถูกเลือกจากบุคคลอื่นเป็นสถานการณ์ที่เราต้องเจอ แล้ว จะทำ�ตัวอย่างไร ฝึกการแสดงออกและการวางตัว (performance) เพื่อจะสามารถใช้ชีวิตในการทำ�งานได้อย่างมีความสุข กิจกรรมถัดมาคือเกมส์ต่อความยาวให้มากที่สุดโดยมีไม้และ ยางสำ�หรับเป็นวัสดุใช้ต่อเท่านั้น โดยมีเงื่อนไขว่าหลังต่อความยาว แล้วชิน้ งานต้องสามารถตัง้ ได้ หลังจากหมดเวลาจึงนำ�ชิน้ งานเหล่านี้ มาศึกษา เปรียบเทียบ และวัดความยาว จะเห็นได้ว่าวิธีการอาจ วารสารทันตภูธร 41 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
จะแตกต่างกันโดยมีเป้าหมายเดียวกัน ผลงานที่ได้ผลชนะและนำ� เสนอนี้เป็น best practice model ต่อมานำ�ไม้และยางที่เหลือมา ต่อให้ยาวทีส่ ดุ ให้เป็นตัวแทนของกลุม่ นี้ จากการสังเกตุการณ์พบว่า น้องทันตแพทย์แบ่งเป็นสามกลุม่ ย่อย กลุม่ ย่อยแรกจำ�นวนคนเยอะ และทำ�งานด้วยการประกอบเพือ่ ให้มคี วามยาวสูงสุดทันที กลุม่ ย่อย ถัดมาทำ�ฐานให้มั่นคงสำ�หรับวางส่วนประกอบด้านบน และกลุ่ม ย่อยสุดท้ายวางแผนศึกษาจากชิ้นงานที่แล้ว และเสนอแนะเพื่อนๆ เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่ดีสุดของกลุ่มร่วมกัน ประโยชน์ที่ได้จากการเรียน รู้ในกิจกรรมนี้คือ การสื่อสารที่ดีร่วมกับศึกษาองค์ความรู้จาก best practice model ทำ�ให้เกิดผลงานที่เกิดจากการร่วมแรงร่วมใจของ ทุกคน ช่วงแรกยังมีความเกรงใจกัน แต่หลังจากที่แสดงความคิด เห็นร่วมกัน การแบ่งหน้าที่กัน ทำ�หน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด เพืีอ ให้ได้เป้าหมายร่วมกัน ถึงแม้รากฐานไม่มั่นคง แต่จำ�เป็นต้องมี การแก้ปัญหาระหว่างทางเดินในการทำ�งานนั้น ความคิดเห็นของน้องช่วงก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม เช่น เคยมีความฝังใจว่าทำ�ไม่ได้ เลยไม่มแี รงทีจ่ ะก้าวต่อไปในการทำ�งาน ต่อ รู้หลักการแต่ไม่สามารถทำ�ได้ แต่เมื่อทำ�งานกลุ่มเป็นการให้ เกียรติและทุกคนในกลุ่มเชื่อว่าสามารถทำ�ได้ หรือว่าทำ�ได้ในกรณี มีผลต่อชีวิตมากพอ เชื่อว่าแต่ละคนมีความถนัดต่างกัน ความ สามารถหรือศักยภาพจะแสดงออกมา ขณะทำ�งานกลุม่ มีการทำ�งาน แบบแบ่งกลุ่มย่อย รับฟังความคิดเห็นของคนอื่น และลองทำ�ดูก่อน พยายามแก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ บอกเทคนิคในการทำ�งาน บ้างรูส้ กึ กดดัน ในการทำ�งานที่รับความคาดหวังของหลายคน แต่รู้สึกดีที่ได้รับฟัง
วารสารทันตภูธร 42 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ความคิดเห็นของเพื่อนๆ รู้สึกดีที่ได้ลองทำ�และช่วยกัน สิ่งที่ได้นอกเหนือจากกิจกรรมที่พี่รองเสนอไว้คือ การทำ�งาน ร่วมกันระหว่างทันตแพทย์กับทันตาภิบาล สามารถแลกเปลี่ยน ทักษะที่สนับสนุนซึ่งกันและกัน ในการทำ�งานชิ้นหนึ่งๆ ประกอบ ด้วย คนทีอ่ ยูใ่ นวงนอกเป็นคนสนับสนุนและเสียสละ คนนำ� และคน ทำ�ตาม เริ่มจากทุนเดิมที่มีอยู่ สรรค์สร้างสิ่งใหม่ การตัดสินไปก่อน บางครัง้ เป็นจุดพลาดของเรา เนือ่ งจากเขาอาจเป็นคนคอยสนับสนุน การทำ�งาน ตัง้ หลักมองและมีแนวคิดทีด่ ใี นฐานะ observer เงิอ่ นไข ของเวลาและทรัพยากรที่จำ�กัด ดั้งนั้นการพิจารณาจึงไม่ตัดสินใน กรณีที่เคยพลาด และอย่ามั่นใจในกรณีที่เคยทำ�แล้วสำ�เร็จ เกมส์เป็ด ในการครองพื้นที่ของกลุ่มไม่ให้เป็ดแย่งพื้นที่ ได้ข้อ สรุปคือการทำ�งานร่วมกันเป็นทีม เกมส์ การจับมือแก้คลายปม กติกา เดินหน้าได้อย่างเดียว เพื่อการทำ�งานร่วมกันเป็นทีม ร่วมคิดเพื่อแก้ ปัญหาร่วมกัน ฝึกการเชื่อใจกัน หลังทานอาหารเย็น มีกิจกรรมสันทนาการเต้นปีโป้ สูตรคูณ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนและพี่-น้อง ตามด้วยการ แลกเปลี่ยนกันในเรื่องความสุขจากการทำ�งานของทันตแพทย์น้อง ใหม่ส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่คนไข้น่ารัก รับผิดชอบงานไม่มาก เป็น วิทยากร พี่ที่ฝ่ายเป็นกันเอง ช่วยกันทำ�งาน ยังมีบ้างที่ทำ�งานช้า ความคาดหวังช่วงจบมาตอนแรกคือสามารถทำ�งานร่วมกันได้ดี กิจกรรมถัดมาคือแบ่งช่วงกระดาษเป็นสามช่วงชีวิต สายธาร ชีวิต (timeline) ให้วาดช่วงอายุ1-10 ปี 11-20 ปี และ 21-30 ปี วาดความสุขในชีวิตแต่ละช่วงอายุ แล้วแลกเปลี่ยนให้เพื่อนในวง ได้ร่วมฟัง ตัวอย่างเช่น น้องว่าน “ชีวิตสมัยเด็กรักที่จะเล่นเทนนิสจนได้รางวัลที่3ของ รุน่ เยาวชนทีมชาติ ช่วงกลางยังรักทีจ่ ะเล่นกีฬา พบเพือ่ นทัง้ ทันตและ เพือ่ นๆทีอ่ อกจากทันตะกระทันหัน โดยจะไม่พดู กระทบให้เสียความ รู้สึก คุยกันเรื่องอื่นๆ ถัดมาในอนาคตคาดว่าจะโฟกัสในกีฬา หน้าที่ การงาน คู่ครอง” น้ อ งเหมี ย ว “สมั ย เด็ ก ซื้ อ ขนมกั บ คุ ณ แม่ อยู่ กั บ ครอบครั ว อนาคตคงเป็นการออกกำ�ลังกายและไปเที่ยวพร้อมครอบครัว”
น้องคิม “สมัยเด็ก เรียนหนังสือ เล่นเกมส์ พิซซ่า เค้ก อยากได้ อะไรก็ได้ เป็นลูกคนกลาง โตขึน้ มาหน่อยชอบกีฬาฟุตบอล ติดเกมส์ หนังสือ ชุดทันตแพทย์เริม่ แสวงหาความมัน่ คงมากขึน้ อาจมีท�ำ ธุรกิจ อย่างอื่นเพิ่มเติม สื่อถึงความสุขที่ต้องการในแต่ละวัยที่ต่างกัน น้องฝ้าย “เด็ก อยากสอบได้ที่ 1 รำ�ไทย เปียโน เกมส์ โตขึ้น มาเริ่มเข้ามาเรียนกทม. ชอบเรียนวาดรูป หัดถ่ายรูป เขียนไดอารี่ ออนไลน์ หลังจากเรียนทันตแพทย์ ต้องการเป็นคนที่คนไข้ยอมรับ เป็นที่ยอมรับของเพื่อนร่วมงาน ความมั่นคงในชีวิต” น้องอิว๋ “เด็ก อยูก่ บั ครอบครัว ความสุขตอนเด็กไม่มนั่ ใจ โตขึน้ มาเริ่มติดเพื่อนมากขึ้น รักที่จะอยู่กับครอบครัว อยากมีร้านค้าเป็น ของตัวเอง ชอบอ่านหนังสือ” น้องกวาง “เด็ก เล่นขายของคนเดียว ชอบกินตับย่าง กระโดด ยางทุกเที่ยง ชอบทะเล โตขึ้นมารักที่จะเรียนอย่างเดียว สมัยเรียน ทันตแพทย์ อยู่กับเพื่อน เที่ยวและสนใจสิ่งรอบข้างมากขึ้น อนาคต มีความสุขจากการทำ�งาน รอดจากระเบิด” คำ�ถามหนึง่ ทีพ่ ๆี่ ทันตแพทย์ฝากไว้ ระหว่างอดีตและอนาคตสิง่ ใดวาดยากกว่ากัน แต่ขอให้ท�ำ ปัจจุบนั ให้ดที สี่ ดุ เช่นเดียวกับเรือ่ งเล่า ของบุคคลอื่น จึงยกตัวอย่างคลิปที่จะนำ�เสนอเพื่อสร้างแรงบันดาล ใจ ได้แก่ คลิปคนพิการซึง่ เป็นบุคคลทีส่ ามารถสร้างกำ�ลังใจและแรง บันดาลใจให้กับใครอีกหลายคน หลังชมคลิปจึงถามความคิดเห็น ของน้องๆ ได้ความว่า >> รู้สึกมีความสุข ดีใจ ที่ยังมีคนด้อยกว่าเราอีกมาก >> การเป็นแรงบันดาลใจให้คนอืน่ ทีน่ อกเหนือจากพ่อแม่ ส่วน ใหญ่จะต้องเป็นเพื่อนที่สนิทกัน สร้างความมั่นใจ ลดความกังวลใจ เมื่อเทียบกับคนพิการ >> บางครัง้ ปลงมันบ้างก็ได้ พระเจ้าสร้างให้เค้าอยูต่ อ่ เพือ่ สร้าง แรงบันดาลใจให้คนอื่นได้
>> การที่เรามีชีวิตเป็นทันตแพทย์ถือเป็นการทำ�บุญช่วยคน อื่นได้ โดยตั้งใจลดอาการสำ�คัญของผู้ป่วย ไม่หายไม่ปวด แค่นี้เป็น ความสุขมากพอแล้ว >> พิจารณาจากด้านเงิน รู้สึกว่าเราใช้ชีวิตคุ้มมากกว่าคนที่ ต้องการวัตถุนยิ มเพียงอย่างเดียว รูส้ กึ ว่าปัญหาเราเล็กนิดเดียว จาก ขี้น้อยใจที่เป็นปัญหาเรา จริงๆแล้วคนอื่นเค้ารักและเป็นห่วงเรา ไม่ ต้องมีวิธีแก้แค่เล่าแล้วสบายใจ >> วิธกี ารตัดสินใจอยูบ่ นพืน้ ฐานของความเชือ่ และแรงบันดาล ใจ ปกติจะเริ่มประเมินปัญหา ถ้าแก้ได้โดยปรึกษาผู้ใหญ่จะทำ�ตาม ถ้าไม่ได้เราจะพยายามแก้ไขปัญหา บางครัง้ อาจจะเลิกมองไปซักพัก เมือ่ ถึงเวลาทีเ่ หมาะสมจะสามารถแก้ไขได้เองและเพือ่ ให้หนั มามอง ปัญหาเองอีกครัง้ พีร่ องจึงเสนอว่าบางกรณีควรปรึกษาในกรณีทคี่ นที่ มีลักษณะความคิดคล้ายๆ กัน จิตเรามันฟุ้ง ถ้าเรานิ่งจะสามารถคิด ได้ ใช้สวดมนต์ศรัทธาในธรรมะ เช่นวิธกี ารที่ไม่กลัวในการขึ้นคลินกิ หาฐานคิดเพือ่ ลดความกลัว ความคิดเราโตขึน้ ทำ�ให้ใจนิง่ เพือ่ จัดการ ปัญหา เป็นทีพ่ งึ่ ยามเดือดร้อน และสร้างแรงบันดาลใจ ใช้ชวี ติ อย่าง ระวัง เวลามันสามารถช่วยได้ ความรู้สึกในการจัดกิจกรรมของผู้เข้าร่วมสามคำ�สั้นๆในวันนี้ คือ “สนุกมากๆ และ ดีใจจัง”
วารสารทันตภูธร 43 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ได้อย่างเดียวเพื่อเก็บสิ่งของที่กำ�หนดไว้ โดยห้ามแตะเนือ้ ต้องตัวเพือ่ นอีกคนทีป่ ดิ ตา ถัดมาเป็นเกมส์ที่ ใช้สัมผัสเท่านั้น ห้ามส่งเสียงพูดสื่อสาร และเชื่อคนที่อยู่
วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เริ่ ม ต้ น ในเช้ า วั น ใหม่ ด้ ว ยการทำ � ท่ า โยคะอาสนะ ท่ า สุ ริ ย นมัสสการ เพือ่ ฝึกกำ�หนดลมหายใจและออกกำ�ลังกายเบาๆ ยามเช้า กิจกรรมแรกสำ�หรับการเรียนรู้การเชื่อใจกันและกันได้แก่ ตุ๊กตา ล้มลุก โดยกติกาการเล่นคือจับคู่สามคน คนตรงกลางจะโน้มตัวไป ข้างหน้าและเอนไปด้านหลังด้วยแรงผลักของคนทั้งสองฝั่งโดยไม่ ต้องออกแรงใดๆ เมื่อสอบถามน้องทันตแพทย์ที่เล่นกิจกรรมนี้ บ้าง รู้สึกกลัว บางคนอยากทิ้งตัว บางคนเมื่อเล่นบ่อยครั้งขึ้นรู้สึกเริ่มชิน และมัน่ ใจว่าเพือ่ นสามารถรับเราได้ คิดว่าล้มก็ลม้ ด้วยกัน (together) บางคนบอกว่ารับแล้วมีการคำ�นวณแรงในการผลักก่อนจะผลักออก ไปให้เพือ่ นฝัง่ ตรงข้ามเพือ่ ให้คนตรงกลางไม่หล่น แรงเปลีย่ นไปตาม คนที่ผลัก และส่วนใหญ่บอกว่าขณะหลับตาแล้วปล่อยวางและให้ ความไว้ใจเพื่อนจะทำ�ได้ง่ายขึ้น ซึ่งจากเหตุการณ์นี้สนับสนุนว่า ความกลัวเกิดจากเราเป็นคนประเมิน เป็นสิ่งที่เราสร้างขึ้น ดังนั้น เมื่อลดการรับรู้ให้น้อยลงและเริ่มคลายความกังวล เมื่อปล่อยและ ให้ความเชื่อใจเพื่อนสามารถทำ�งานได้ง่ายมากขึ้น สรุปสิ่งที่ได้ คือ การรับรู้มากอาจทำ�ให้เรากลัวและขาดความมั่นใจ แต่เมื่อเวลามี คนคอยอยู่ข้างๆเรามีความเชื่อใจและมั่นใจมากขึ้น ทำ�งานร่วมกัน แต่ถา้ เราปิดตาลงในส่วนทีไ่ ม่ดขี องเขา ความมัน่ ใจเชือ่ ใจจะมีมากขึน้ ทำ�หน้าทีต่ นเองให้ดที สี่ ดุ ล้มแล้วลุกขึน้ มาใหม่ได้ การรูจ้ กั ให้โอกาส มากกว่าหนึง่ ครัง้ เวลาพลาด ทำ�ให้เราสามารถทำ�งานด้วยกันใหม่ได้ และทำ�ได้อย่างดี ถัดมาเป็นกิจกรรมสันทนาการและสร้างความสัมพันธ์ของกลุม่ ได้แก่ การต่อคำ� โดยให้ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมเขียนหนึง่ คำ�แทนความรูส้ กึ นำ�มาเรียงเป็นประโยคเดียวกันของกลุ่ม เกมส์ฝึกความสามัคคียืน บนกระดาษแผ่นเดียว เกมส์จบั คูค่ �ำ ซึง่ เป็นคำ�ทีท่ างคณะผูจ้ ดั เตรียม ไว้ให้ ให้ผเู้ ข้าร่วมพยายามหาคูก่ บั เพือ่ นเพือ่ จับคูค่ �ำ แล้วหาเหตุผลที่ เข้าคูก่ นั ได้ เกมส์ทดสอบความไว้ใจด้วยการปิดตาคนใดคนหนึง่ และ ให้อกี คนพยายามป้อนอาหารว่างและให้เพือ่ นดืม่ นาํ้ ให้ได้โดยไม่หก เกมส์จับคู่ผู้เข้าร่วมโดยมีกติกาว่าให้เดินโดยใช้การพูดบอกทาง วารสารทันตภูธร 44 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ด้านหลังเราเท่านั้นซึ่งไม่ทราบว่าเป็นใคร หลังจากเปิดตาแล้วเห็น ว่าคนที่คู่เราไม่ใช่เป็นเพื่อนคนที่จับคู่ตอนแรก บางคนรู้สึกดีใจ ตกใจ อยากรู้จักเพราะการสัมผัสนุ่มนวลแล้วประทับใจ สร้างความ สนุกสนานและความสนิทสนมให้กับทันตแพทย์น้องใหม่ที่เข้าร่วม ได้เป็นอย่างดี ช่วงคํ่าของวันนี้ได้รับโอกาสที่ดีจากประธานชมรมทันตภูธร พี่บานเย็น สสจ.สงขลา และพี่ที่น่ารักอย่างพี่ฝน วรางคณา สสจ. หนองบัวลำ�ภู ให้การต้อนรับน้องๆ อย่างอบอุ่น ให้โอวาทและคำ� แนะนำ�ดีๆ ทั้งในด้านการใช้ชีวิตในการทำ�งาน กิจกรรมการฝึกทำ� สมาธิดว้ ยหัวใจทีเ่ ปีย่ มด้วยความรักและความเมตตา (light meditation) ปฏิบัติหน้าที่ของตนด้วยความเสียสละและความเมตตา เดิน ก้าวไปข้างหน้าด้วยแสงสว่างในชีวิต ชักชวนน้องๆ ให้เข้าร่วมชมรม ทันตภูธร เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจและความสุขในการทำ�งาน บรรยากาศในการประชุม ประกอบด้วยแสงสว่างจากเทียนตรงกลาง ของห้องประชุม ซึ่ง รายล้อมด้วยการบรรจุแสงสว่างในใจของน้องๆ ทุกคน ในการทำ�สมาธิในครั้งนี้ ให้น้องๆ ได้ลองทบทวนตัวเอง และ ทำ�ให้แสงสว่างในใจของน้องๆ กระจายแสงสว่างไปยังบุคคลอื่นๆ ต่อไป หลังจากชมคลิปความสุขโดยสังเกต น้องแสดงความคิดเห็น ทั้งด้านการรับรู้ความสุขของตน การมีอยู่และดับไป การแสวงหา ความสุขทางใจ ความสุขทางใจที่ไม่ใช่ทางวัตถุ เช่น เงินทอง สัมผัส กับความสุขโดยสังเกตกับปัจจุบันขณะ แต่ละคนเล่าถึงเรื่องราว ความสุขในชีวติ ว่าเราสามารถหาความสุขได้ดว้ ยตัวเอง ใช้ชวี ติ ให้มี ความสุขแบบพอเพียง ความสุขทีแ่ สวงหาให้ได้มาตามบุคคลอืน่ มัน จะอยูไ่ ม่นาน เรามีโอกาสเจอทัง้ ทุกข์และสุข ทุกอย่างอนิจจัง ไม่เทีย่ ง “ความสุขในระยะยาวคือวางเป้าหมายไว้แล้วทำ�ได้สำ�เร็จ” ความสุขแตกต่างไปตามกาลเวลา เช่น ความสุขสมัยเรียนคือ
การเที่ยวผ่อนคลายความเครียด ถ้ามีเวลาว่างจากการเรียนจะเป็น ความสุขของเราในอดีต ซึ่งต่างจากความสุขในการทำ�งานคือการ ทำ�ให้คนไข้หายปวด มีความสุขที่เรารักษาเค้าแล้วมีอาการดีขึ้น แต่ เวลาเราว่างในปัจจุบันช่วงวัยทำ�งานกลับไม่รู้สึกมีความสุข การได้พูดคุยกับคนที่อยู่ในชุมชน การออกเยี่ยมบ้าน คุยกับ ผู้สูงอายุ กลับเห็นความน่ารักของคนในชุมชน ความท้าทายที่จะ ทำ�ให้คนเปลีย่ นทัศนคติ อยากจะเข้าใจ พูดคุยกับเค้าเยอะ การแลก เปลีย่ นเพือ่ ได้ขอ้ มูลในชุมชน รูส้ กึ มีความสุขทีจ่ ะออกชุมชนมากกว่า การักษาทำ�ฟันในคลินิกเพียงอย่างเดียว หลังจากนั้น พี่ๆ staff เสนอข้อคิดเพิ่มเติมจากการรับฟังความ สุขของน้องๆ แต่ละคน ดังต่อไปนี้ พี่ฝน >> การพยายามเข้าใจในการตอบสนองความต้องการ ของคนในชุมชน ควรเป็นการพูดคุย และเมื่อเรารู้เหตุผลและจัด บริการให้ได้ตามความต้องการแล้วเห็นเค้ามีความสุข เราเองก็มี ความสุข ความสุขหาได้ง่ายๆ แค่สบายๆ เติมพลังในชีวิตด้วยสิ่งที่ เราชอบ การได้อยู่กับครอบครัว การมองโลกในแง่ดี คิดเชิงบวกแล้ว ทำ�ให้เรามีความสุข พี่บิค >> ความสุขของเราแต่ละคนไม่เหมือนกัน และอยาก ให้ลองพยายามเข้าใจคนอืน่ และแลกเปลีย่ นมุมมอง โดยมีความสุข แบบพอเพียง พี่ฝนแนะนำ�เพิ่มเติมว่า อยากให้น้องๆ ลองแบ่งปันและเข้าใจ มุมมองความสุขในชีวิตประจำ�วัน และการทำ�ประโยชน์ให้ชาวบ้าน ได้จะส่งผลให้เรามีความสุข การตอบแทนคุณของแผ่นดิน การเป็น
ฟันเฟืองเล็กๆ ที่มิใช่ทันตแพทย์ธรรมดา เป็นคนหนึ่งในสังคม และ ได้ทำ�เพื่อสังคมและตอบแทนคุณของแผ่นดิน การที่เราได้รู้จักกัน มิใช่เหตุบังเอิญในการเจอกัน แต่เป็นการ ได้รับโอกาสที่จะสร้างมุมมองในการหาความสุขในชีวิต ท้ายสุดของกิจกรรมนี้พี่จิตขอทำ�หน้าที่เป็นตัวแทนของน้องๆ ใน การสรุปกิจกรรมว่า “เราจะมีมุมมองที่ทำ�ให้เรามีความสุขในการ สัมผัสกับสิ่งดีๆที่เกิดขึ้น” และจบค่ำ�คืนนี้ด้วยการถ่ายรูปและร้อง เพลงร่วมกัน ขอยกตัวอย่างคำ�พูดของน้องๆ ทีไ่ ด้เข้าร่วมกิจกรรมในวันทีส่ อง >> รู้สึกประทับใจกับกิจกรรมที่ได้มาร่วมในครั้งนี้ >> ชอบเพราะมีการยืดหยุน่ เวลา โดยมีกจิ กรรมทีแ่ ตกต่างจาก ที่เข้าร่วมมาก่อนหน้านี้ >> รู้สึกดี โชคดีที่ได้เข้าร่วมค่ายครั้งนี้ วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 วันสุดท้ายของการจัดค่าย สังเกตจากปฏิกิริยาของน้องๆ ช่วงทาน อาหาร ซึง่ ช่วงวันแรกทันตแพทย์นอ้ งใหม่นงั่ ห่างๆ กันกระจัดกระจาย ส่วนใหญ่จะนั่งใกล้กับเพื่อนที่รู้จักกันดีแล้วก่อนมาค่าย บรรยากาศ บนโต๊ะอาหารเงียบๆ แต่ในวันสุดท้ายแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด เพื่อนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน เพื่อนที่อยู่ต่างภาคต่างมหาวิทยาลัย เดินหัวเราะคิกคักกันมา พร้อมกับการนั่งโต๊ะทานอาหารที่แน่นขนัด สองโต๊ะและนั่งเบียดๆ กันเพื่อให้ได้คุยกันเต็มที่อย่างสบายอก สบายใจและเต็มไปด้วยรอยยิ้ม ทักทายพี่ๆ staff อย่างเป็นกันเอง และบ่นอุบว่าเสียดายทีเ่ วลาในการจัดกิจกรรมน้อยเกินไป อยากอยู่ ด้วยกันนานกว่านี้ นอกจากนี้มีการขอเบอร์ติดต่อทั้งระหว่างเพื่อน ด้วยกันและพี่ staff เพื่อจะได้ติดต่อพูดคุยกันต่อเนื่อง กิจกรรมของเช้าวันนีเ้ ริม่ ด้วยกิจกรรมแจกกระดาษหัวใจขนาด ใหญ่เพื่อให้ทันตแพทย์น้องใหม่เขียนแสดงความห่วงใยและสิ่งที่ ต้องการบอกกับเพื่อนๆ โดยกิจกรรมนี้นั่งเป็นวงกลมและค่อยๆ วน หัวใจไปหากัน แต่ละคนในวงตั้งอกตั้งใจเขียนไปพร้อมรอยยิ้ม บ้าง เขียนถึงเพื่อนแสดงความห่วงใย บ้างแซวหยอกล้อกัน บ้างพูดกัน ขำ�ๆเกี่ยวกับความสัมพันธ์อันดีหลังจากได้ทำ�กิจกรรมร่วมกันและ วารสารทันตภูธร 45 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
สนิทกันมากขึ้น ใช้เวลาในการเขียนประมาณยี่สิบนาที หลังจากนั้น จะให้น้องๆ เก็บหัวใจดวงนี้ไว้กลับไปไว้ดูเป็นความทรงจำ�ดีๆ ยาม คิดถึงกัน และสร้างความสุขเล็กๆ และรอยยิม้ เวลาทีไ่ ด้เห็นหัวใจนัน้ จากนั้ น พี่ เ อ๋ แ ละพี่ จิ ต ไปอ่ า นคอมเมนต์ ข องน้ อ งๆ แต่ ล ะคน ใน facetime สร้างสีสันและเสียงหัวเราะให้กับน้องๆ ได้อย่างดี ตามด้วยการเขียนไปรษณียบัตร (postcard) ในสิ่งที่ตนเองตั้งใจ จะทำ�และสิ่งที่สร้างรอยยิ้มสร้างความสุขในชีวิต ซึ่งหลังจากนี้ใน อีก 3 เดือนข้างหน้า ทางชมรมฯจะจัดส่งทางไปรษณีย์กลับคืนไป ยังน้องทันตแพทย์ทมี่ าเข้าร่วมในค่ายครัง้ นีท้ กุ คนตามทีอ่ ยูท่ รี่ ะบุใน ไปรษณียบัตร เพื่อเตือนความทรงจำ�ในสิ่งที่น้องตั้งใจไว้ว่าสามารถ ทำ�บรรลุผลสำ�เร็จมากน้อยอย่างไร และสร้างรอยยิ้มให้กับน้องอีก ครั้งหลังได้อ่านลายมือของตนเอง จากนั้นเปิดโอกาสให้น้องแสดง ความรู้สึกที่ได้มาค่ายครั้งนี้ สรุปประเด็นได้ดังนี้ >> รูส้ กึ ได้เปิดใจ ได้รจู้ กั เพือ่ นๆทุกคน ขอบคุณพีๆ่ ทีม่ าค่ายครัง้ นี้ >> ได้ผ่อนคลาย สดใสที่ได้มาค่ายนี้ จากที่ไม่ได้สร้างเสียง หัวเราะมานานมากแล้ว จากความรูส้ กึ ทีไ่ ม่เคยมาค่ายในครัง้ นี้ กลับ เปลี่ยนความรู้สึกเป็นประทับใจอย่างไม่เคยรู้สึกมาก่อน >> คำ�แนะนำ�ของรุ่นพี่ที่ทำ�ให้รู้สึกสนิทกันมากขึ้น >> รู้สึกดีที่มีคนเข้าร่วมน้อยทำ�ให้สนิทกันง่ายขึ้นและสัมพันธ์ กั น แน่ น แฟ้ น ขึ้ น ตอนแรกกลั ว ว่ า ไม่ ส นุ ก แต่ ท างโรงพยาบาล สนับสนุนให้มา >> คนเข้าร่วมน้อย ทำ�ให้คุยได้มากขึ้นเวลาผ่านไปทำ�ให้เรา สนิทกันได้มากขึ้นได้คุยกับทุกคน >> มันคือพรหมลิขิตที่ทำ�ให้เราได้รู้จักกัน ขอบคุณที่ทำ�ให้มี โอกาสพูดและทกคนที่นั่งฟังอย่างตั้งใจ วารสารทันตภูธร 46 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
>> ได้เพิ่มพลังบวกกลับไปในการทำ�งาน >> ได้เห็นมุมมองความคิดของเพื่อนๆที่มองแบบผู้ใหญ่ การ ใช้ชีวิต การได้เพื่อนใหม่ มิตรภาพที่ดี >> อยากให้ติดต่อกันแบบนี้ไปเรื่อยๆ >> ขอบคุณพี่ๆ ที่มาเติมพลังให้น้อง สร้างทัศนคติที่ดีให้กับ น้องในการทำ�งานและการใช้ชีวิตในโรงพยาบาลชุมชน >> ขอให้พี่จัดกิจกรรมแบบนี้อีกต่อไปเรื่อยๆ ปิดท้ายกิจกรรมด้วยการถ่ายภาพร่วมกัน ซึ่งทั้งพี่ๆ ผู้จัด และ ทันตแพทย์น้องใหม่ต่างส่งผ่านความรู้สึกดีๆ ให้กัน แทบจะไม่ยอม กลับบ้าน พยายามดึงเวลาอยู่ด้วยกันให้นานที่สุด ถึ ง แม้ ก ารจั ด ค่ า ยทั น ตแพทย์ น้ อ งใหม่ ฯ ของชมรมทั น ต สาธารณสุ ข ภู ธ รจะมี ข้ อ จำ � กั ด ของเวลา บุ ค ลากรผู้ จั ด และงบ ประมาณในการดำ�เนินกิจกรรม แต่ยงั คงเต็มเปีย่ มไปด้วยความตัง้ ใจ และอุดมการณ์ในการสรรค์สร้างความสุขให้เกิดในวงการทำ�งานของ ทันตแพทย์ ค่ายทันตแพทย์นอ้ งใหม่ทดี่ �ำ เนินกิจกรรมโดยชมรมทันตภูธรนี้ เป็นเพียงจุดเริม่ ต้นในการสร้างสายสัมพันธ์ในชมรมทันตสาธารณสุข ภูธรทีบ่ รรจงสร้างขึน้ และขอเป็นส่วนหนึง่ ในการสร้างแรงบันดาลใจ และสร้างความสุขให้เกิดขึ้นในการทำ�งานต่อไป ผู้เขียน : ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ (ชูชู) ^^
เรื่องเล่า...จากใจน้องค่าย โดย ทพญ.ภาชินี ปลั่งพิมาย สวั ส ดี ค่ ะ ท่ า นผู้ อ่ า นทุก ท่าน ก่อ นอื่นต้อ งขอแนะนำ� ตั ว เอง สักนิดนะคะ เนื่องจากเป็นนักหัดเขียนมือใหม่ป้ายแดง ผู้เขียนเป็น ทันตแพทย์น้องใหม่จบหมาดๆ (เกือบไม่จบ) จากมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ นามว่ า ทพญ.ภาชิ นี ปลั่ ง พิ ม าย สั ง กั ด หน่ ว ย รบพิเศษ แอร้ยยย ไม่ใช่ รพ.มายอ อ.มายอ จ.ปัตตานีคะ่ เพือ่ เป็นการ ไม่ให้ผ้เู ขียนเกร็งจนเกินไป (เอ๊ะ!! ยังไง) ขออนุญาตแทนตัวเองว่า ฉัน และขอใช้ภาษาให้เหมาะสมกับวัยนิสนึงนะคะ ที่ลืมไม่ได้ต้อง ขอกราบขอบพระคุณท่านคุณพี่หมอบิ๊กที่กรุณาให้โอกาสฉันได้ลอง เล่าเรื่องมาแบ่งปันพี่ๆ เพื่อนๆ กันนะคะ สาระน้อยไปก็อย่าถือสา กันเลยนะคะอิๆๆๆ เรื่องของเรื่องคือคุณพี่หมอรอง แห่ง สสจ.นครศรีธรรมราช วัน ก่อนป๊ะกันที่งานประชุมที่โรงแรมลีการ์เด้น หาดใหญ่ (ที่เพิ่งระเบิด ไป) ได้ชกั ชวนให้โอกาสดีดมี างานค่ายบอกว่า ไปค่ายทันตภูธรกัน ใน หัวก็คดิ ไปทำ�ไรฟระ!! แต่ชอื่ งานดูบา้ นๆ เหมาะกับเราดี ก็นา่ จะสนุก ไปๆๆๆ อยากไปรู้จักเพื่อนต่างมหาลัยบ้างไรบ้าง และท้ายที่สุดก่อน งานค่าย 3 วัน (ใจตุ๊มๆ ต่อมๆมากเพราะจองตัวไป-กลับ แล้ว555+ ช่างกล้ามากจริงๆ) ฉันก็ทราบผลจากที่ทำ�งานว่า Boss อนุมัติให้ไป อ๊ากกกก ดีใจมากที่ไม่จองตั๋วเก้อ มากกว่าจะได้ไปค่ายอีก อิๆๆๆ น่านไง สาระอยูต่ รงไหน พอดีชวี ติ นีถ้ นัดเรือ่ งไร้สาระ ห้าๆๆเข้า เรื่องซะทีนะคะ ค่ายครั้งนี้มีชื่อว่า “โครงการค่ายน้องใหม่ สดใส ใจ เป็นสุข” ภายใต้ธีมที่ว่า “รักแท้...แม้ภูธร” ชื่อเค้าเก๋กู๊ดมากๆ (กะว่า ไปหารัก หาคู่ที่นั่น 555) จัดวันที่ 23-25 กรกฎาคม 2555 ณ เวลเนส โอม รีสอร์ม แอนด์ สปา อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา (ชื่อที่พัก จินตนาการแล้วน่าไปปะหละ ไม่รุหละ ไปไว้ก่อน สปาๆๆ เนี่ย เอ้าซี๊ อิๆๆ) โดยชมรมทันตสาธารณสุขภูธรแห่งราชอาณาจักรไทยคร้า เช้าทีส่ ดใสของวันที่ 23 ก.ค. 55 บรรดาชาวค่ายนัดกัน 7.00 น. ที่ BTS หมอชิต ประตู 4 ด้วยความที่ตัวฉันและเพื่อนที่มาด้วย กันก็มาจากบ้านนอกก็นั่งแท็กซี่มาที่ BTS คุณพระ!! (เริ่มติดมา จากพี่รอง) หาประตู 4 ไม่เจอ 555+ เดินวนหาอยู่นาน เห้อ เพลีย แต่เช้าเลย สายตามองไปเจอรถบัสคันโตจอดรออยู่ หน้าตาดีใจ
วารสารทันตภูธร 47 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
มันต้องใช่คันนี้แน่ๆ โห คนคงไปเยอะนะ แต่ไม่มีใครมาเรย ไม่ ไหวๆ จะเจ็ ด โมงแล้ ว เนี่ ย เดิ น มุ่ ง ไปเลยค่ ะ ไปถามพี่ ที่ ค าดว่ า จะเป็นคนขับ (ชีวิตนี้ก็คิดไปเองตล๊อดดด) “พี่ๆ ไปอยุธยาป่าว ค่ะ” แล้วก็เข้าโหมด “อ๋อ ว่าแระ ว่าไม่ใช่555+” อย่าถามว่าอาย เค้าไหม ตอบเลยว่า ไม่ เฉยๆ อิๆๆ พอเวลาประมาณ 7.30 น. เริ่มมีสมาชิกมารวมตัวมากขึ้น นับๆดูก็ครบ แต่ขาดใครอีกคน อ๋อ คุณพีร่ อง!!!โทรตามๆ คุณพีบ่ อกว่า “ช้านถึง..สถานีตอ่ ไป................ อยู่เร้ยยย” 555+ และแล้วสมาชิกสองคันรถตู้ไปมุ่งหน้าเดินทางไป สถานที่จัดงาน อีกคันเป็นไงไม่รู้ รู้แต่คันฉันนั้นพูดตลอดเวลา เสียง เม้ามอย หัวเราะดังลั่น เนือ่ งจากไม่ปะเพือ่ นนาน (3 เดือน) ห้าๆๆ ใช้ เวลาเดินทางไม่นานก็มาถึง เวลเนสโอม รีสอร์ม แอนด์ สปา ภาพแรก ที่ลงมาจากรถ อ๋อ แบบนี้นี่เอง ดูเหมือนโรงพยาบาลมากกว่า แต่ได้ ทั้งนั้นแระ ก็มาแล้วห้าๆๆ พวกเราได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากพี่ๆ ทั้งที่รู้จักกันมา ก่อน และไม่รจู้ กั มองๆไปสำ�รวจ เอ้า เพือ่ นๆมากันสิบกว่าคนรวมพีๆ่ ก็ประมาณ 20 คิดในใจ น้อยไปป่าวแว๊ ?? จากนั้นพี่ๆ ก็เริ่มกิจกรรม แบบสบายๆ ให้แนะนำ�ตัว บอกที่มาที่ไปของแต่ละคน และที่พลาด ไม่ได้ ต้องบอกที่มา วัตถุประสงค์ของการจัดงานครั้งนี้ว่าเพื่อ “เสริม สร้างแรงบันดาลใจและความสุขในการทำ�งาน” ฟังแล้ว ปรบมือๆๆๆๆ โลกช่างสวยงามจริงๆ อิๆๆ ก็รอพิสจู น์กนั ว่าจะเป็นไงต่อไป กิจกรรม ที่พี่ๆ จัดให้เน้นแบบสบายๆ ไม่เร่งรัด คือ จัดตามบริบทของกิจกรรม ที่ทำ�ในตอนนั้น ตามการมีส่วนร่วมของน้องค่าย ให้กิจกรรมไหลไป แบบได้ประโยชน์สูงสุด ซึ่งฉันและเพื่อนๆ ชอบ เพราะมันไม่กำ�จัด เวลา เช่น กำ�ลังพูดความในใจ แต่หมดเวลาแระ พอๆๆ อารมณ์มัน กำ�ลังมาก็ต้องสานต่อ อะไรแบบนี้อ่าค่ะ กิจกรรมตลอด 3 วันแบบ ลักษณะนี้หมด มันเลยอินได้ ยาวได้ ไม่คาใจ สบายๆ กิจกรรมทีพ่ วกเราได้ลองแลกเปลีย่ นกันก็มี *แชร์ความฝัน (เลข อะไรเด็ด) ความหวัง พอเราฟังทุกคนพูดจบก็พบว่าน่าแปลกมาก เพราะทุกคนหวังที่จะมีครอบครัวที่อบอุ่น (อันนี้เยอะสุด) มีความ สุขได้เที่ยวรอบโลก แต่ไม่มีใครพูดถึงการเป็นทันตแพทย์ ก็น่าคิด นะคะ และฉันคิดว่าคงเพราะมันเป็นวิชาชีพของเรา แต่สดุ ท้ายก็เป็น เพียงส่วนหนึง่ ของชีวติ ส่วนนึงทีจ่ ะส่งเสริมความสุขในชีวติ เรา เพราะ ความสุขมาจากหลายองค์ประกอบ ฉะนั้นถ้าได้ทำ�งานที่รัก ทำ�งาน อย่างมีความสุข อย่างน้อยชีวิตก็มีส่วนหนึ่งที่มีความสุข ว่าไหมค่ะ*
วารสารทันตภูธร 48 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
กิจกรรมวาดรูปตัวเอง ให้เพื่อนๆ มาต่อเติม ไม่น่าเชื่อว่ากิจกรรมที่ดู ง่ายๆ ไม่น่าจะมีอะไร ถ้าเราใส่ใจ จะพบว่ามันสอนอะไรเราได้เยอะ แค่ปกติเราไม่เคยใส่ใจมัน ผ่านมาแล้วก็ผ่านไป ไม่ได้เอามาคิด ว่า เอ๊ะ!! ต่อมเอ๊ะ ไม่ท�ำ งาน ชอบทำ�งานแต่เรือ่ งชาวบ้าน เอ๊ะตลอด ห้าๆๆ *กิจกรรมบอกข้อดี-ข้อเสียของตัวเอง เป็นกิจกรรมทีท่ �ำ ได้งา่ ยมาก ถ้า เปิดใจ ถูกไหมค่ะ ถ้าเราเปิดใจ พูดกัน คุยกัน เราก็จะเข้าใจกันมาก ขึน้ ปัญหาก็คงลดน้อยลง เหมือนจะทำ�ง่ายนะคะ แต่ถา้ ใครไม่เคยทำ�
จะรูส้ กึ ทำ�ยาก เพราะประสบการณ์เดิมของแต่ละคนต่างกัน ก็คอ่ ยๆ ปรับ แลกเปลี่ยนกันดูค่ะ *กิจกรรมสามเหลี่ยมด้านเท่า อันนี้ไม่เคยเล่นมาก่อน มีอยู่ว่า ให้เรามองหาสองคน ที่จะมาเป็นจุดยอดของสามเหลี่ยม จากนั้น เคลื่อนที่ตามเค้าเพื่อรักษาความเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่าไว้ให้ได้ ตลอด ตอนเล่นก็เล่นเอามันส์ แต่พอมาคิดจะรู้ว่าเกมส์นี้สอนให้คิด อะไรเยอะมาก เพราะการทำ�งานของเราบางครั้งเรานำ� บางครั้งเรา ตาม พูดง่ายๆ ตัวเรามีผลต่อคนอื่น อาจแบบจังๆ หรือผิวเผิน เพราะ ฉะนัน้ จะทำ�อะไรต้องคิดให้ดี คำ�พูดเหมือนกัน บางทีพดู ไม่ได้คดิ แต่ คนฟังคิดไปหลายวัน จะทำ�จะพูดอะไร พระท่านจึงบอกว่าต้องคิด ก่อน ให้สติอยู่ที่ปาก อยู่ที่มือ ต่อด้วย *กิจกรรมเปิดใจเล่าสู่กันฟัง เรื่องปัญหาในที่ทำ�งาน มาแชร์ มาช่วยกันหาทางออก ให้รุ่นพี่ที่มีประสบการณ์มาบอกมาสอน จึง เป็นที่มาของ “แม่ ก็คือ แม่” และคุณแม่ของหมอฝ้ายก็กลายเป็นที่ อยากรูจ้ กั มากทีส่ ดุ คนนึงของชาวค่ายในครัง้ นี้ แม้ตวั จะไม่ได้มาค่าย
รักแท้แม้ภูธร ชมรมทันตภูธร ก็ตาม555+*กิจกรรมต่อให้สงู ก็แจกไม้ลกู ชิน้ กับหนังยางมาให้ ทำ�ไง ก็ได้ให้สูงที่สุด ก็ได้เรียนรู้หลักการทำ�การวางแผนของเพื่อนแต่ละ คน ฉันชอบนะฉันว่าการมาทำ�กิจกรรมกลุม่ และแชร์ความคิดกันมัน เป็นการเรียนรู้สิ่งใหม่แบบที่ไม่ต้องลงมือทำ�เองทั้งหมด เรียกง่ายๆ ก็คือ เรียนรู้จากประสบการณ์ ความสำ�เร็จ ความผิดพลาดของคน อื่น ซึ่งฉันว่ามันทำ�ให้เราเสียเวลาในการใช้ชีวิตน้อยลง เอาเวลาไป ทำ�อย่างอื่นได้มากขึ้น โดยเฉพาะการเรียนรู้ความล้มเหลวของผู้อื่น
เพราะเรื่องบางเรื่องเราไม่จำ�เป็นต้องล้มเหลวด้วยตัวเองก่อนที่จะ ประสบผลสำ�เร็จใช่ไหมค่ะ *กิจกรรมตุ๊กตาล้มลุก มีสามคน สองคน เป็นเสา มีหน้าทีผ่ ลักคนตรงกลางไปมา โดยทีค่ นตรงกลางต้องปล่อย ตัวตามแรงผลักเพื่อน เกมส์นี้สนุกและน่าหวาดเสียวไปพร้อมๆกัน การเป็นทดสอบความไว้ใจในเพื่อน การให้ความมั่นใจในเพื่อน ซึ่ง มาโยงกับการทำ�งานได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมย่อยๆ อีกมาก แต่ขอละไว้ก่อนเดี๋ยวจะยาวเกินไป แต่โดยรวมก็เป็นแบบ
วารสารทันตภูธร 49 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ให้ความสนุกและสะท้อนความคิด แฝงด้วยข้อคิดทุกกิจกรรมค่ะ เห็น ไหมค่ะพีส่ ตาฟเราเค้าสุดยอดทุกคนจริงๆ นอกจากนีพ้ วกเรายังได้รบั เกียรติจากพีห่ มอบานเย็น แห่งสสจ. สงขลา ประธานชมรม และพีห่ มอฝน แห่ง สสจ.หนองบังลำ�ภู มาพูด คุย มาแชร์ความสุขและแนวทางการสร้างความสุข ฉันชอบมาก และ เชื่อว่าเพื่อนๆ ก็ชอบช่วงเวลานี้เพราะมีใครบ้างไม่อยากมีความสุข และพวกเราก็ช่วยกันแบ่งปันความสุขให้แก่กัน บรรยากาศเป็นไป อบอุ่น และมีความสุขมากค่ะ หลายคนได้ไอเดียสร้างสุขแบบใหม่ นำ�กลับไปใช้ ต่อไปคงชื่นมื่นมีความสุขกันถ้วนหน้าค่ะ อย่าลืมน้า ว่าแค่มองเพดาน มองมดเดินก็สุขอย่างลํ้าได้ค่ะ สำ�หรับสถานที่ที่ไปพัก ได้เอ่ยมาแต่ตอนต้นแล้วจะไม่พูดก็ กระไรอยู่ เป็นโรงพยาบาลที่ดูแลเรื่องสุขภาพแบบครบวงจรอะไร แบบนี้อ่าค่ะ มีสปา มีคลินิก มีการจัดการกินแบบเวลเนส แต่ไม่ใช่ โรงแรมแบบที่พักกันทั่วไป อาหารแต่ละมื้อมีสารอาหารครบห้าหมู่ ซึ่งฉันชอบมาก มีผัก มีนํ้าพริก ฉันชอบทานเป็นการส่วนตัว เลยรู้สึก แฮปปีก้ บั อาหารทีน่ ม่ี าก แต่ส�ำ หรับคนไม่ทานผักอาจไม่ชอบใจเท่าไหร่ แต่ที่ดูๆ ไปก็เห็นทานกันนาน มื้ออาหารทีไร รู้สึกก้นติดเก้าอี้ ลุกไป ไหนไม่ค่อยได้ 555+สำ�หรับบ้านที่พักจะเป็นโซนๆ เป็นหมู่บ้านเป็น ลักษณะบ้านเดี่ยว โลเกชั่นต่างกันไป อย่างบ้านของฉันเป็นบ้าน เดี่ยวชั้นเดียว อยู่ริมนํ้า มีสองห้องนอน บรรยากาศดีมาก ตกแต่ง ภายในน่ารักมาก สีเขียวๆ เต็มไปหมด ให้ความรู้สึกแบบครอบครัว เพราะมีห้องครัว ห้องนั่งเล่น แต่ค่ะแต่ บรรยากาศในตอนกลางคืน เงียบมากกกกกมากได้อกี และรอบๆ บ้านก็เป็นป่าหญ้า และทีส่ �ำ คัญ เหมือนจะมีแต่พวกเราชาวค่ายไปพัก คือเหมือนเป็นหมูบ่ า้ นร้าง (มีเสียง เพลงบรรเลง แบบโหยหวน ลอยมา 555+) แล้วพี่ๆ ก็แกล้งรึจริงๆ ก็ไม่รู้ได้พูดแต่ตอนต้นไม่ว่าที่นี่เจ้าที่แรงนะ จิตมันก็จำ�มาหลอกตัว เองต่อ ก็เสริมเติมแต่งไปเรื่อย อารมณืแบบลัดดาแลนด์อ่าค่ะ สรุป คือคืนแรกเปิดไฟนอน สบายใจกว่าค่ะ และอีกหนึ่งไฮไลท์ของค่ายนี้คือ กิจกรรมเรียนรู้ชุมชน (ตั้งชื่อ ได้วิชาการมากๆ) โดยพี่ๆ ทีมงานไปพาพวกเราไปเรียนรู้ที่ตลาดนํ้า อโยธยา เทีย่ วชมรอบๆ กรุงเก่า และไปไหว้พระทีว่ ดั พระศรีสรรเพ็ชร
วารสารทันตภูธร 50 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ฉันและเพือ่ นชอบมาก (สังเกตได้จากหน้าตาและท่าทีของแต่ละคน) โดยเฉพาะเวลากล้องส่องมา ทุกคนดูเป็นมืออาชีพมากๆ สนุกสนาน เฮฮามาก พี่ๆ ก็มีกล้องระดับเทพและฝีมือการถ่ายก็เทพไม่แพ้กัน น้องๆ ได้ทีก็สนุกกับการเป็นนายแบบนางแบบกันใหญ่ และพวก เราได้รับมอบหมายภารกิจให้ถ่ายรูปคู่กับโบราณสถานหรือที่ท่อง เที่ยวเพื่อเอามาประกวดกันด้วย เข้าทางพวกเราเลยค่ะ ขอบอกว่า จ๊อบนี้สบายมากค่ะ กลิ่นไอความเป็นกรุงเก่า และอดีตที่เคยเจริญ รุง่ เรืองทำ�ให้ทนี่ มี่ เี สน่หม์ ากจนบรรยายไม่ถกู เลยค่ะ แว่บนึงแอบคิด ว่าอยากมาไหว้พระทีน่ กี่ บั แฟน (ในอนาคต) จัง อารมณ์เพ้อมาเยือน อีกแระคริๆๆ อย่าคิดว่ามาค่ายนี้จะไม่มีกิจกรรมสันทนาการ คิดผิดแล้วค่ะ เพราะงานนี้เอาซะเหนื่อยหอบ (เพราะสังขารไม่ค่อยไหว แต่ใจรัก) ตาสว่างกันเรย ไหนจะ เพลงพระเจ้าตาก ปลุกให้ทุกคนอึ้ง อึ้งใน หน้าตาตี๋ๆ แอ๊บแบ๊วๆ ของหมอนัฐ (รพ.นราธิวาสราชนครินทร์) ว่า จะกล้ามาร้องเพลงแนวนีด้ ว้ ยท่าทีทมี่ นั่ ใจ และหึกเหิมมาก หมอว่าน (รพ.สุราษฎธาณี) ก็ใช่ยอ่ ย ก็เค้าว่าทีเ่ ดอะสตาร์กจ็ ดั เต็มไม่นอ้ ยหน้า แบบนี้ไม่สนุกจะไปไหน ร้อง เต้นกระจาย จัดเต็มทั้งกินตับ ทั้งสกา สามสิบยังแจ๋วก็ยังมา ครบทุกแนว ขอปรบมือให้ทุกคนกับความ สามารถและความหน้าทนของทุกคนจริงๆ 555+ ไม่นา่ เชือ่ ว่าจะร่ายยาวมาได้ขนาดนี้ ตามประสาคนพูดมากแต่ สาระน้อย 555+ ในที่สุดก็ดำ�เนินเรื่องมาถึงเช้าวันสุดท้าย กิจกรรม น่าประทับใจค่ะ พวกเราได้บอกเล่าความรู้สึกที่มีต่อเพื่อนร่วมค่าย แลกเบอร์ แลกเฟสบุ๊ค และที่ลืมไม่ได้คือกล่าวขอบคุณพี่ๆ ทีมงาน ทุกท่านอย่างมาก ที่กรุณาจัดค่ายนี้ขึ้นให้พวกเราได้มีโอกาสรับสิ่ง ดีดี ฉันจึงขอเป็นตัวแทนเพื่อนๆ บอกพี่ๆ ในที่นี้เลยว่า พี่ๆ จัดงานได้ เยีย่ มยอดมาก และพวกเราก็มคี วามสุขมาก บรรลุตามวัตถุประสงค์ ของค่ายครัง้ นีท้ กุ ประการ ประเมินแล้วผ่านทุกตัวชีว้ ดั ค่ะ หวังว่าต่อไป ภายภาคหน้าคงได้มีโอกาสทำ�กิจกรรมดีดี สร้างสรรค์ จรรโลงใจ แบบนี้อีกนะคะ สุดท้ายหวังว่าท่านผู้อ่านคงจะมีความสุข มีรอยยิ้ม จากเรื่องเล่านี้สักนิดก็ยังดีนะค่ะ อยากให้ทุกคนมีความสุขและ มีแรงบันดาลใจในการทำ�สิ่งดีดีเพื่อสังคมของเราค่ะ ^_^
ความประทับใจในกิจกรรมรับน้องจังหวัดน่าน ทพญ.อาทิตยา ดวงตา ม.เชียงใหม่
เคยได้ยนิ เสียงรํา่ ลือถึงการรับน้องทีจ่ งั หวัดน่านมานาน ว่าเป็น ประเพณีที่มีการจัดทุกปี โดยถือว่าเป็นกิจกรรมที่ยาวนานพอควร เนื่องจาก ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมนานร่วมเดือน มีกิจกรรรม ให้ทำ�ตลอดทั้งเดือน โดยจะให้น้องใหม่ทั้งหมดไปอยู่รวมกันไม่ว่า จะเป็นแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัช การรับน้องที่จังหวัดน่านในปีนี้แตกต่างจากปีก่อนๆ เนื่องจาก บ้านพัก ซึ่งเป็นบ้านพักไม้ในโรงพยาบาลที่ถูกทาด้วยสีเหลือง และ มักจะถูกเรียกสั้นๆ ว่า บ้านเหลือง ซึ่งไม่เพียงพอต่อจำ�นวนน้อง ใหม่ทั้งหมด ซึ่งมีด้วยกัน 30 คน ดังนั้นจึงให้ผู้ชายซึ่งมีจำ�นวน น้อยกว่านอนที่บ้านเหลือง ส่วนผู้หญิงไปนอนที่เกสเฮ้าส์ใกล้โรง พยาบาล โดยตลอดทั้งเดือนมีกิจกรรมให้ทำ�ทุกวัน วันแรกของ ค่ายนั้นพี่ๆ ได้พาน้องใหม่ไปนั่งรถรางชมเมือง ทำ�ให้น้องใหม่ได้
รู้จักสถานที่สำ�คัญรวมถึงประวัติความเป็นมาของสถานที่เหล่านั้น อีกด้วย ในช่วงแรกของค่ายจะเป็นการทัวร์โรงพยาบาลในจังหวัด น่าน ซึ่งแต่ละโรงพยาบาลก็จะมีการนำ�เสนอข้อมูลโดยทั่วไปของ โรงพยาบาล เพื่อที่น้องๆ จะได้ทำ�ความรู้จัก และมีข้อมูลของแต่ละ โรงพยาบาล เพือ่ ใช้ในการตัดสินเลือกโรงพยาบาลทีจ่ ะไปทำ�งานอยู่ ในการเดินทางไปในแต่ละโรงพยาบาลนั้นจะเดินทางโดยรถตู้ ใน ระหว่างทางก็จะมีการพูดคุยกับเพื่อนๆ ทำ�ให้มีโอกาสได้ทำ�ความ รู้ จั ก กั น มากขึ้ น นอกจากนั้ น แล้ ว ในวั น ปี ใ หม่ น้ อ งใหม่ ยั ง ได้ มี โอกาสได้เล่นนํ้าสงกรานต์ โดยการขึ้นรถของโรงพยาบาลน่าน แล้ว รถก็แล่นไปตามถนนสายหลักที่มีการเล่นนํ้าสงกรานต์ ทำ�ให้น้อง ใหม่บางคนที่ไม่ใช่คนน่านได้มีโอกาสสัมผัสบรรยากาศประเพณี สงกรานต์ของจังหวัดน่าน หลังจากวันนั้นน้องใหม่ได้มีโอกาสไป งานรดนํ้าดำ�หัวนพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ซึ่งถือเป็นปูชนียบุคคลที่ สำ�คัญ โดยจากการได้ไปร่วมงานครั้งนี้ ทำ�ให้ได้รับข้อคิดในการ ทำ�งานจากท่านซึ่งถือได้ว่ามีค่าและหาโอกาสได้ยาก กิจกรรมที่ น่ า สนใจอี ก กิ จ กรรมหรึ่ ง คื อ การปั่ น จั ก รยานโดยมี จุ ด เริ่ ม ตั้ น ที่ โรงพยาบาลน่ า น จุ ด หมายปลายทางอยู่ ที่ พ ระธาตุ แ ช่ แ ห้ ง ซึ่ ง เป็ น พระธาตุ ที่สำ� คั ญ ของจั ง หวั ดน่ า น ระหว่ า งที่ ปั่น นั้น ทำ�ให้ได้ ชมบรรยากาศข้างทางซึง่ หาชมได้ยาก เพราะโดยปกติแล้วเรามักจะ
วารสารทันตภูธร 51 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เดินทางโดยรถยนต์ ซึ่งมักไม่ได้ชมบรรยากาศข้างทาง โดยเส้นทาง ที่ปั่นไปนั้นไม่ใช่ทางสายหลัก แต่เป็นเส้นทางที่เป็นถนนในหมู่บ้าน ซึ่งไม่ค่อยมีรถ จึงปั่นจักรยานแบบสบายๆ เมื่อถึงพระธาตุ น้องใหม่ ก็ได้มโี อกาสได้สกั การะพระธาตุ และชมวิวภายในวัดพระธาตุแช่แห้ง กิจกรรมสุดท้ายซึ่งถือเป็นกิจกรรมสำ�คัญอีกกิจกรรมหนึ่ง ก็คือ การ คุยเปิดใจกันถึงเช้า โดยจะให้นอ้ งใหม่นงั่ สลับกับรุน่ พีน่ งั่ เป็นวงกลม แล้วเล่าประสบการณ์ในชีวติ ของตนเองให้เพือ่ นๆ ฟัง และมีการแลก เปลี่ยนข้อคิดเห็นบ้าง จากกิจกรรมดังกล่าวทำ�ให้เราได้รู้จักเพื่อน ร่วมรุ่นมากขึ้น ตลอดการร่วมกิจกรรมรับน้องของจังหวัดน่าน สิ่งที่ประทับใจ มากทีส่ ดุ ก็คอื การเอาใจใส่ การดูแลจากรุน่ พี่ พีๆ่ ทุกคนให้ความเป็น กันเอง รูส้ กึ อบอุน่ สนุกไปกับทุกๆกิจกรรมถึงแม้บางกิจกรรมจะทำ�ให้ เหนื่อยล้า แต่เมื่อเห็นถึงความตั้งใจของรุ่นพี่ในการจัดกิจกรรมแล้ว ก็พลอยทำ�ให้เราตัง้ ใจในการร่วมกิจกรรมไปด้วย กิจกรรมทุกกิจกรรม ล้วนมีการสอดแทรกข้อคิดและประโยชน์ไว้ ไม่เพียงแต่ได้รับความ สนุกสนานเท่านัน้ แต่เรายังได้สงิ่ เล็กๆ กลับไปด้วย สิง่ เล็กๆ ของแต่ละ
วารสารทันตภูธร 52 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
คนนั้นก็ไม่เหมือนกัน บ้างก็เป็นมิตรภาพ บ้างก็เป็นความสุขใจ ซึ่ง บางครัง้ เรายังไม่รเู้ ลยว่าสิง่ เล็กๆ เหล่านัน้ เราได้รบั มันไปแล้ว สุดท้าย นี้อยากจะบอกว่ารู้สึกดีใจมากที่ได้มีโอกาสมาใช้ทุนที่น่าน และได้ ร่วมกิจกรรมรับน้องซึ่งคงหาไม่ได้จากที่ไหนอีกแล้ว
“ร้อยดวงใจ สานสายใย ผู้สูงวัยฟันดี ปี 2555” 5-6 กันยายน 2555 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค จังหวัดนครศรีธรรมราช ทพญ. ปิยฉัตร บุรณพร
วารสารทันตภูธร 53 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
อีกครั้งกับกิจกรรมดีๆ ที่เกิดขึ้นกับชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับศูนย์อนามัย ที่ 11 โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลชุมชน ทุ ก แห่ ง จั ด มหกรรมส่ ง เสริ ม การดู แ ลสุ ข ภาพช่ อ งปากผู้ สู ง อายุ ปี 2555 ยิ่งใหญ่ไม่แพ้ปีที่ผ่านๆ มา ด้วยคอนเซปต์งาน “Asian Theme Party” เริ่มด้วยช่วงเช้า เพียงแค่ย่างเท้าเดินเข้าประตูโรงแรม ทุกท่าน ก็จะได้ยินเสียงกลองยาวโห่ร้อง อึกทึก ปลุกให้ตื่นและอยากรู้อยาก เห็นในทันทีว่าวันนี้มีงานอะไร ไม่ใช่งานหมั้น งานแต่งหรือทำ�บุญ แต่อย่างใด เป็นเสียงกลองยาวจากทีมผูส้ งู อายุอ�ำ เภอพรหมคีรี เป็น สัญญาณการเริ่มเปิดตลาดมหกรรมผู้สูงอายุ เดินชมซุ้มแสดงผล งานจากอำ�เภอต่างๆ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเรียงรายอย่าง สวยงามอยูท่ วั่ ไปรอบๆ ห้องประชุม ติดตามมาด้วย 2 พิธกี รของงาน และบรรดาผู้สูงอายุที่มาร่วมงาน เดินชมซุ้มไป รำ�วงไปตามจังหวะ เหมือนได้ออกกำ�ลังกาย สร้างความครึกครื้นให้งานนี้เป็นอย่างมาก สำ�หรับซุ้มต่างๆ นั้น ทุกอำ�เภอตั้งใจในการจัดนำ�เสนออย่าง ยิ่ง ขนกันมาทั้งผลงานในชมรมผู้สูงอายุประจำ�อำ�เภอ สินค้าหรือ ของเด่นของดังนำ�มาให้ชิม ให้ดูและเลือกซื้อได้ตามอัธยาศัย อาทิ เช่น ขนมลาจากอ.ปากพนัง ขนมโค ข้าวซ้อมมือ ยาดม ยาลม ยา หอม หรือนาํ้ ยาบ้านปากจากจ.พัทลุง เป็นต้น เด็ดกว่านัน้ อยูท่ กี่ ารนำ� เสนอผลงานจากแต่ละซุ้ม แหม...บ้างเล่าเรื่องปากเปล่า บ้างไม่ เล่าเปล่ามีร้องโชว์โนราห์ รำ�วงอย่างสนุกสนาน เรียกได้ว่า...งานนี้ วารสารทันตภูธร 54 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
ลุงๆ ป้าๆ จัดเต็ม! และที่พิเศษในปีนี้ สำ�หรับซุ้มแสดงผลงานจาก จ.พัทลุง ร่วมจัดใหญ่ไม่น้อยหน้า เป็นความน่ายินดียิ่งที่นอกจากได้ แลกแปลี่ยนเรียนรู้การทำ�งานกันภายในจังหวัดแล้ว ยังมีโอกาสชม ผลงานจังหวัดเพื่อนบ้านเราด้วย ความสนุกยามเช้าผ่านไป ถึงเวลาแห่งความปิติยินดี สำ�หรับ การมอบรางวัลและเกียรติบัตรแก่ผู้สูงวัยฟันดี 90 ปี, 80 ปี และ คู่หูผู้สูงวัยฟันดี จำ�นวน 25 คู่ โดยได้รับเกียรติจากท่านนายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช แพทย์หญิงอุทุมพร กำ�ภู ณ อยุธยา เป็นประธานและมอบรางวัลดังกล่าว ต่อด้วยช่วงขุมคลังความรู้จากการเสวนา “เรื่อง รากฟันเทียม” คืออะไร ทำ�อย่างไร และดีอย่างไรบ้าง? จากประสบการณ์ของผู้สูง อายุ และวิทยากร ได้แก่ ทพญ.กิง่ เกศ อักษรวงศ์ ทพ.เกียรติศกั ด์ ปัง้ วานิช และทพญ.เนตรชนก อุตตมากร พิเศษสุดเห็นจะเป็นช่วงงานภาคค่ำ� กับ “ร้อยดวงใจ สาน สายใย วัยเกษียณ” ร่วมแสดงมุทติ าจิตแก่ผเู้ กษียณ ปีน ้ี 3 ท่าน ได้แก่ ทพญ.สมศรี สวัสดีนฤนาท , นางจำ�เนียร ศักดิส์ งู และนางรัตนา เทพจินดา ในคํ่าคืนนี้ทุกท่านได้ร่วมรับประทานอาหาร ชมการแสดง และร่วม กิจกรรมกันอย่างอบอุน่ หลังจากทำ�งานอย่างเหน็ดเหนือ่ ย เพราะเรา หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าจังหวัดนครศรีธรรมราช จะเป็นส่วนหนึง่ ร่วมแก้ไข ปัญหาสุขภาพช่องปากผูส้ งู อายุ สนองกระแสพระราชดำ�รัสพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความว่า “เวลาไม่มีฟันกินอะไรก็ไม่อร่อย ทำ�ให้ไม่มีความสุข จิตใจก็ไม่สบาย ร่างกายก็ไม่แข็งแรง”
Incredible INDIA
โดย สุนฤพรจิตรา
วันนี้ สุนฤพรจิตรา จะพาไปเที่ยวอินเดียคะ อินเดียอีกแล้วเหรอ? ทันทีที่ผู้เขียนบอกใครต่อใคร ก็จะมีแต่ คนประหลาดใจ เพราะครัง้ นีเ้ ป็นครัง้ ที่ 2 ทีจ่ ะไปอินเดีย แกยังไม่เข็ด เหรอ เห็นคราวก่อนก็กลับมาบ่นจะเป็นจะตาย นี่อะไร จะไปอีกละ บ้างก็ขออนุโมทนาในบุญกุศลเพราะเข้าใจว่าจะไปแสวงบุญ ต้อง รีบปฏิเสธกลัวจะได้บาปติดตัวเพราะความเข้าใจผิด คือหนูไปเที่ยว ค่ะ ล้วนๆไม่ได้เข้าไปเฉียดใกล้สังเวชนียสถานแต่ประการใด ต้องบอกว่าอินเดียกว้างใหญ่ไพศาล วัฒนธรรมเค้าก็มมี ากมาย ไปเป็น 10 รอบ ไม่ให้ซ้ำ�ที่เดิมก็น่าจะได้ ที่ไปคราวนี้ เอามาแนะนำ� คือ แคว้นแคชเมียร์ อะไรนะ ไปไหน ....... แคชเมียร์ เวลาฟังข่าวต่าง ประเทศ เค้ามีประมาณโจรแบ่งแยกดินแดน เคยมีข่าวจับนักท่อง เที่ยวเป็นตัวประกันเมื่อหลายปีก่อน อันนั้นแหละ ใช่เลย เมื่อ 2 ปี ก่อน เคยไปแล้ว แต่เค้ามีปฏิวัติ ไม่ให้นักท่องเที่ยวไปไหน นอกจาก อยูใ่ นบ้านเรือ ซึง่ ก็สขุ ขีสโมสรดี กินอยูเ่ ยีย่ งมหารานี แต่เนือ่ งจากว่า มีคนบอกว่าสถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆในแคชเมียร์ สวยงามมากเหมือน สวรรค์บนดิน ก็เลยอยากจะไปอีกรอบ พิสูจน์ ว่า ของจริงเป็นเช่นไร ช่วงที่ไปเป็นหน้าหนาว หิมะตก แค่ติดลบ 5 (อันนี้คือแค่ของ
เค้า) พวกเราก็ได้สัมผัสกับหิมะอย่างเต็มอิ่ม มีเพื่อนร่วมทริป บอก ว่าหิมะทีส่ วิตเซอร์แลนด์สวยกว่านี้ แต่ทไี่ ม่เหมือน คือทีส่ วิต จะไม่มี คนจูงม้าให้เราขี่นะ แล้วที่สวิตเราคงไม่ได้โชว์ความสามารถในการ ต่อราคา ใครจะไปเชื่อ สินค้า 100 รูปี ประมาณ 70 บาท แต่ถ้าเรา อดทน ลองสอบถามหลายๆเจ้า อาจจะได้สนิ ค้าประเภทเดียวกันเป๊ะ แต่ในราคา 10 รูปี คือ 7 บาท แล้วต้องแตกแบงค์ย่อยไว้ทิป หรือ ถ้าจ่ายตังค์ตามร้านเล็กๆ ถ้าเราไม่มีแบงค์เล็ก ก็อาจจะเสร็จพี่แขก เพราะแกก็อาจจะหนีหายไปจากเราพร้อมแบงค์ใหญ่ของเรา แต่กม็ ี แบบบริการให้เต็มที่ไม่หวังทิปแต่ขอบริการให้สุดใจ เช่นที่สนามบิน มีพนักงานในห้องนาํ้ ยืน่ ทิชชูให้ ก่อนเข้าห้องนาํ้ เปิดประตูหอ้ งนาํ้ ให้ ออกมาล้างมือคอยเช็ดมือให้อีกต่างหาก นี่ถ้าเป็นไปได้ พี่แก คงจะ ตามไปเช็ดตูดให้แน่เลย ชาวแคชเมียร์เป็นแขกขาว หน้าตาหล่อ สวย ไปเป็นดาราบ้าน เราได้สบาย อายุ ไม่เกิน 22 ปี เค้าก็แต่งงานกันหมดละ ทำ�ความ ประหลาดใจให้เค้ามากมายว่า คนพวกนี้ หมายถึง นักท่องเที่ยว เยี่ ย งพวกเรา เป็ น อะไรกั น ทำ � ไมถึ ง ไม่ แ ต่ ง งานมี ค รอบครั ว ซะ วารสารทันตภูธร 55 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
CASHMIR
วารสารทันตภูธร 56 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เออนะ พวกเราไปกันแบบแบคแพค ซึ่งก็ไม่ได้น่ากลัว อะไร เดี๋ยว นี้โลกอินเตอร์เน็ตอะไรก็สำ�เร็จด้วยปลายนิ้ว แต่เราก็ต้องเผื่อใจไว้ เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้ โชคดีที่เราไม่เจออะไรรุนแรง แค่เบาะๆ เช่น โรงแรมบางทีด่ ใู นเน็ตก็ดดู นี ะ แต่ของจริงผ้าปูและปลอกหมอนทีม่ นั คงเคยเป็นสีขาว แต่ที่เราเห็น มันนอนไม่ลงจริงๆ ต้องควักผ้าปูส่วน ตัวออกมาแทบไม่ทันกัน เนื่องจากมีผู้ก่อการร้าย สนามบินที่นี่จึงต้องเข้มงวดมากมาย แยกหญิงชายเข้าคนละแถว ผูห้ ญิงจะแถวสัน้ เพราะคนพืน้ ทีผ่ หู้ ญิง คงไม่ค่อยได้ไปไหนกัน แถวผู้หญิงส่วนใหญ่ก็จะเป็นนักท่องเที่ยว แล้ว เจ้าหน้าที่ผู้หญิง แกก็จะจริงจังในการตรวจของแก หน้าอกแก ก็ลูบไปสิ ลูบไป ลูบมาอยู่ 4 รอบ ท่าทาง เจ้าหน้าที่เป็นทอม นิ พี่แก คงจะมีความสุขมากในการปฏิบัติงานในหน้าที่ แล้วบอกเป็นเกร็ดความรู้ว่า อินเดียกับไทย ทำ�สัญญาร่วมกัน ชื่อว่า สัญญาวิมเทค เราสามารถเข้าสถานที่ท่องเที่ยวในราคาเดียว กับคนอินเดีย จาก 100 รูปี เหลือ 5 รูปี ประหยัดได้อีกหลายตังค์ แต่ เราต้องรูเ้ องนะ ก่อนซือ้ ต้องบอกเค้าก่อนว่าเรามาจากไทยแลนด์ บางที่ จนท. ไม่รู้ ก็ต้องควักสัญญาที่พิมพ์จากเน็ตให้ดู แต่ถ้าเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวของเอกชนก็ไม่เกี่ยวนะ ก็ต้องจ่ายเต็มไป อีกอันที่ได้สังเกต เนื่องจากจะไม่ค่อยได้เห็นผู้หญิงเดินไป เดินมาตามถนน คนขายของ ทุกอย่างจะเป็นผูช้ าย ขนาดเสือ้ ชัน้ ใน กางเกงในผู้หญิงก็เป็นผู้ชายนั่งขาย เห็นผู้ชายเค้าไม่ค่อยมีแขน บางที ก็ เ ห็ น แขนข้ า งเดี ย ว ด้ ว ยความที่ เ ราไม่ ไ ด้ ม ากั บ ทั ว ร์ ก็ จินตนาการว่าสงสัยจะมีสงครามมาก ผู้ชายไปสู้รบแขนขาดกัน จริงๆ แล้วไม่ใช่เลยจ้าคือ อากาศเค้าหนาวมาก แต่ก็ต้องออกมา ค้าขายทำ�มาหากิน เค้าจะใส่เสื้อตัวใหญ่ๆ แล้วถือตะกร้าที่มีถ่าน ให้ความร้อนไปไหนมาไหนด้วย. คุณลุงเจ้าของบ้านเรือใจดีเลย เป็นพรีเซนเตอร์แสดงให้ดูว่าบางครั้งเค้าก็หนีบไว้ตรงหว่างขา เวลา ต้องการจะใช้มือไปประกอบกิจกรรมอื่นใด ถ้ า ไม่ ล องมาเที่ ย วแคชเมี ย ร์ ดู ก็ ไ ม่ รู้ ว่ า สวรรค์ บ นดิ น เป็ น อย่างไร รอบหน้าสุนฤพรจิตรา จะพาไปเที่ยวไหนโปรดติดตาม ตอนต่อไปค่ะ
วารสารทันตภูธร 57 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เด็กชาวเขา ทีเ่ ด็กชาวเราควรเอาเป็นแบบอย่าง “เด็กหญิงน้�ำ ส้ม” โดย “แสงทีล่ อดผ่านผนังไม้ไผ่” เพลงแปรงฟันอย่างคล่องแคล่ว ใจในก็ไม่วายจะคิดไปว่า เด็กๆ ร้อง เพลงของเราได้ทกุ ตัวอักษรและจำ�ได้ขน้ึ ใจขนาดนี้ ทำ�ไมสุขภาพช่อง ปากของพวกเขายังไม่ดีเยี่ยมเช่นเนื้อเพลง แต่ก็นะ ปัจจัยต่างๆ ในชีวิตคนเรามีมากมายเหลือเกิน เพลงๆ เดียว อาจฟังแล้วซึ้งกินใจแต่อาจไม่ฝังลึกในใจก็เป็นได้ ขณะจิ ต คิ ด เพลิ น ……เด็ ก หญิ ง คนหนึ่ ง ได้ ส่ ง ยิ้ ม ให้ พร้ อ มเอ่ ย วาจาใส ๆ ว่า “หนูชื่อน้อง นํ้าส้มคะ ฟันของหนูสวยมั้ยคะ” ในเช้าวันทีฟ่ า้ สดใส ปุยเมฆสีขาวเข้ม แสงแดดจ้าลอดผ่านม่านตาฉัน จนต้องหลบสายตา ความคิดในขณะออกไปทำ�งานวันนี้ ดูจะตื่นเต้นกว่าทุกวันอยู่เล็ก น้อย เพราะเป็นวันทีน่ ดั บรรดาผูป้ กครองของเด็กปฐมวัย มาร่วมแลก เปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับสุขภาพและสุขภาพช่องปาก ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บนเนินในหมู่บ้านไม่ห่างไกลนัก มองเห็น รั้วรอบขอบชิด ทั่วบริเวณสะอาดสะอ้าน ครูและนักเรียนออกมาต้อนรับ ด้วยรอยยิ้มที่สดใส เด็กๆล้วนไม่ลืม คำ�สอนของครูในการกล่าวคำ�สวัสดีพร้อมยกมือไหว้ หญิงแก่ ชายชรา พ่อแม่ นั่งรอท่า….บ้างยืนพิงประตูคล้ายจะบอก เป็นนัยว่ารีบเร่ง ไปทำ�มาหากิน เข้าไร่ เข้าสวนกันแล้ว ก่อนจะถึงเนื้อหาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากนั้น เจ้าหน้าที่ส่งเสริมทันตสุขภาพไม่รอท่า รีบจัดเพลงสันทนาการเด็ก ให้สนใจพวกเธอเร็วพลัน ขณะที่นั่งมองกิจกรรมต่างๆอย่างสนุกสนาน เด็กๆมีความสุข ร้อง วารสารทันตภูธร 58 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
นํ้าเสียงใสๆ ของเด็กหญิง วัย 4 ขวบ หน้าตาน่ารัก ผูกผมสองข้าง กล่าวทักทายและเอ่ยถามด้วยใบหน้ายิม้ แย้มด้วยหวังส่งมิตรภาพวัยจิว๋ สู่บุคลากรที่ผู้คนหวาดกลัว (เมื่อครั้งปวดฟัน)^^” เด็กคนนีช้ า่ งเจรจาและกล้าเข้ามาถามไถ่เรือ่ งสุขภาพช่องปากของตนเอง ซึ่งปกติแล้ว เด็กๆ ส่วนใหญ่จะกลัวการตรวจสุขภาพไม่ว่าแบบไหน เนื่องจากถูกบันทึกในความทรงจำ�ที่ว่า “ดื้อเมื่อไหร่ หมอจะฉีดยา” ส่งผลให้บุคลากรอย่างพวกเรานั้นถูกตีตราเป็นสัญลักษณ์ของ “เข็ม ฉีดยา” ย้อนกลับมาที่เด็กหญิงนํ้าส้ม “สุขภาพฟันของหนูดีมากคะ เดี๋ยวน้าจะให้รางวัลฟันสวยด้วยนะ คะ^^” เด็กหญิงยิ้มกว้าง ด้วยพอใจในสิ่งที่ตนมีและที่จะได้รับ ...........................................................................................
ขณะเดียวกัน เสียงเอะอะ ร้องไห้ กระจองอแง ดังขึน้ เป็นระยะ ทั่วทั้งศูนย์ฯ บ้างอ้อนแม่ อ้อนยายที่มาร่วมกิจกรรมให้พากลับบ้าน ความชุลมุน วุ่นวายนั้นไม่ได้ส่งผลให้ จิตใจของเด็กหญิงนํ้าส้มกังวลและร้องไห้เช่นเพื่อนแต่อย่างใด เธอยังคงร่าเริงและตั้งใจดูสื่อการสอนทันตสุขศึกษาของเรา บาง จังหวะก็ตอบคำ�ถามตามรูปภาพด้วยความตั้งใจ …………………………ได้เวลาพักเที่ยง……………………......... “ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง อย่ากินทิง้ ขว้าง เป็นของมีคา่ หลายคน เหนื่อยยาก ลำ�บากหนักหนา สงสารบรรดา คนยากคนจน” เด็กๆ กล่าว แต่ไม่อาจพร้อมกัน เพราะบางคนร้องไห้ บางคนนํา้ ลาย ไหล บางคนร้องไม่มีเหตุผล ส่วนใหญ่สายตามองที่ผู้ปกครองอย่างเว้าวอนให้อุ้มกลับบ้าน แต่ก็เหมือนนางฟ้าตัวน้อยมาโปรด เสียงที่ดังและเด่นชัดขึ้นมา ทำ�ให้นึกถึงเด็กหญิงคนนั้น
กลับไปตกที่หล่อนทันที เพราะขณะที่พูด ลูกของหล่อนกำ�ลังร้องไห้งอแง ไม่ยอมเคี้ยวข้าว โวยวายจะกลับบ้านอย่างเดียว ไม่เท่านั้น!! ฟันเด็กชายยังผุทั่วทั้งปาก กลับ รพ.แล้ว ในใจก็คิดถึงแต่เรื่องเด็กหญิงนํ้าส้มตลอดทั้งวัน ว่าการที่คนเราจะเป็นคนเก่ง คนดี ในสังคมนั้น ไม่จำ�เป็นต้องพร้อม ไปด้วยฐานะ หรือต้องมีร่างกายที่สมบูรณ์ทุกประการ แสงแดดจ้าลอดผ่านม่านสายตา หมดไปในวันนี้ แต่แสงบางอย่าง จากเด็กหญิงลอดผ่านเข้ามาในจิตใจอยูไ่ ม่เลือนหาย ขอเอาเธอเป็น แสงสว่างบางอย่างในใจตลอดไป จะเป็นกำ�ลังใจให้เด็กหญิงนํ้าส้มและคอยมองดูอยู่ทุกปีที่ได้เข้าไป ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก จนถึงวัยประถมศึกษาตามโอกาส หวังใจว่าเมือ่ โตขึน้ เธอจะเป็นคนดี คนเก่ง ในสังคมต่อไป^^”
เป็นไปตามใจหวัง “เด็กหญิง นํ้าส้ม” กล่าวขอบคุณอาหารที่มี พระคุณกับเธออย่างตั้งใจ เมื่อกล่าวเสร็จเธอก็รีบตัก ผัดผักมาราดข้าว ตักนํ้าซุปแตงกวาซด อย่างเอร็ดอร่อย ความชื่ น ชมในตั ว เด็ ก หญิ ง ยั ง ไม่ ทั น เลื อ นหาย ก็ ก ลั บ มี คำ � ถาม ลึกๆ ในใจ ??? หญิง/ชาย คนไหนในนี้ที่เป็นพ่อแม่เด็ก อยากจะบอกเหลือเกินว่า “เด็กหญิงคนนี้เป็นเด็กดี” “เหมือนจิตใจจะถูกอ่านด้วยใบหน้าที่แสดงออก” เสียงแหลมๆ ของหญิงวัยกลางคน เข้ามาไม่เชิงกระซิบข้างๆ ตอบ คำ�ถามในใจที่ไม่ได้เอ่ยถาม นีๆ่ ” เด็กคนนีเ้ ป็นลูกข้างบ้านฉัน เป็นชาวเขา แถมยังมีโรคประจำ�ตัว ด้วย โอ้ย..พ่อแม่ไม่มาหร๊อก” เธอพูดอย่างออกรสทีเดียว สิน้ เสียงแหลมทิม่ แทงความรูส้ กึ ความสะเทือนอารมณ์ ความสงสาร วารสารทันตภูธร 59 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
“บริษทั ทันตภูธรและเพือ่ น จำ�กัด” Social Enterprise เพือ่ เสริมสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาคุณภาพชีวติ สำ�หรับทุกคน บริษัททันตภูธรและเพื่อนจำ�กัด มีที่มาจาก การดำ�เนินงานของวารสารทันตภูธร ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร ในนาม “คณะบุคคล ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร” จำ�หน่าย สินค้าด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยเฉพาะเเปรงสีฟันและยาสีฟัน มานานกว่า 5 ปี โดยแปรงสีฟันยาสีฟันที่จำ�หน่ายนั้น มีทุกยี่ห้อ ทุกแบบ และทุกคุณภาพ ตาม งบประมาณที่ผู้ซื้อต้องการ หากท่านต้องการแปรงติดดาว แปรงน่ารัก แปรงราคาถูก แปรงไฮโซ สำ�หรับทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่แรกเกิดจนวัยชรา ท่านสามารถสอบถามราย ละเอียดของสินค้า จากหมอหนุ่ยสุรีรัตน์ โทร 0869165126 รายได้จากการขายสินค้า นำ�มาหมุนเวียนเป็นต้นทุนสินค้าและนำ�ผลกำ�ไรมาดำ�เนินการจัดทำ�วารสารทันตภูธร และจัดส่งเป็นวัตถุประสงค์หลัก เพือ่ ให้การดำ�เนินงานเป็นระบบตามข้อกำ�หนดของกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวง การคลัง หน่วยงานราชการต่างๆ ทั่วประเทศจะสามารถซื้อสินค่าและบริการได้ตรงตาม ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง จึงตั้ง บริษัททันตภูธรและเพื่อนจำ�กัด กิจการเพื่อสร้างแรง บันดาลใจในการพัฒนาคุณภาพชีวติ สำ�หรับทุกคน ขึน้ ซึง่ บริษทั ทันตภูธรและเพือ่ นจำ�กัด วางแผนนำ�ผลกำ�ไรทีไ่ ด้มาดำ�เนินกิจกรรมเพือ่ ร่วมพัฒนางานทันตสาธารณสุขไทย และ พัฒนาคุณภาพชีวติ คนด้อยโอกาสโดยเฉพาะคนพิการ หลากหลายกิจกรรม ท่านซือ้ แปรง หนึ่งด้ามไม่ใช่แค่ซื้อแปรงเพียงด้ามเดียวสำ�หรับแจกแล้วบานแล้วทิ้งแล้วซื้อใหม่ แต่ ท่านกำ�ลังช่วยสนับสนุน 10 กิจกรรมดีๆ ของบริษัททันตภูธรและเพื่อนจำ�กัด อีกด้วย 10 กิจกรรมเพื่อทันตสาธารณสุขไทย เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนา คุณภาพชีวิตสำ�หรับทุกคน ดังต่อไปนี้ 1. จัดทำ� จัดพิมพ์ จัดส่ง วารสารทันตภูธร ไปยังสมาชิกชมรมทันตสาธารณสุขภูธร และหน่วยงานรัฐที่มีทันตบุคลากรทั่วประเทศ 2. สนับสนุนการจัดกิจกรรมค่ายรับน้องของชมรมทันตสาธารณสุขภูธร เพื่อสร้าง เครือข่ายและเเรงจูงใจในการรับราชการ 3. สนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือแจกในงานรับน้องจับปิงปอง เพื่อสร้างเครือข่าย และเเรงจูงใจในการรับราชการ 4. สนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือ pocket book เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจและ ความสุขในการทำ�งาน รวมเล่มเรื่องเล่าทันตสาธารณสุข 5. รับสินค้าจากคนพิการมาจำ�หน่าย เพื่อสร้างรายได้ให้คนพิการและชุมชน 6. ให้ทุนสนับสนุนโครงการรายย่อยที่สนใจทำ�งานนำ�ร่องด้านคนพิการ ที่เป็นกลุ่ม อาจารย์มหาลัย นักศึกษา กิจกรรมของคณะ ปีละ 1 แสนบาท โดยแบ่งเป็นทุนเล็กๆ 2-3 ทุน ต่อปี มีคณะกรรมการพิจารณา เน้นสนับสนุนโครงการเพื่อพัฒนาหลักสูตรทันตแพทย์ ด้านทันตสุขภาพคนพิการ 7. ให้ทุนทำ�งานวิจัยและผลงานทางวิชาการด้านทันตสุขภาพคนพิการ แก่นัก วิชาการ ทันตแพทย์ผู้สนใจ เน้นทำ�งานวิจัยเล็กๆ และใช้ทุนไม่มาก วารสารทันตภูธร 60 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
งานทันตสาธารณสุขและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนด้อยโอกาส ทั้ง 10 กิจกรรมดังกล่าวด้วย ปั จ จุ บั น นี้ มี เ ครื อ ข่ า ยเด็ ก ไทยไม่ กิ น หวาน สสส. ได้ ช่ ว ยสนั บ สนุ น ทุ น บางส่ ว น สำ � หรั บ บริ ษั ท ที่ ส นใจลงโฆษณา ในวารสารทั น ตภู ธ ร ท่ า นสามารถติ ด ต่ อ สอบถามข้ อ กำ � หนด เงื่ อ นไขในการลงโฆษณาในวารสารทั น ตภู ธ รได้ โ ดยตรง กั บ ทพญ.นิ ธิ ม า หมออ๋ อ บรรณาธิ ก ารวารสารทั น ตภู ธ รทาง อีเมล nithimar_or@yahoo.com หรือ โทร 0834934543 กิจกรรมดีๆ ต่างๆ ของบริษัททันตภูธรและเพื่อนจำ�กัด จะทยอย นำ � เสนอผ่ า นวารสารทั น ตภู ธ รทุ ก กิ จ กรรม โปรดติดตามด้วยใจระทึก
8. จัดคอร์สอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานทันตสุขภาพคนพิการ, อบรมการจัดคลินกิ ทันตกรรมสำ�หรับทุกคน (ผูส้ นใจจ่ายสมทบค่าลง ทะเบียน) 9. จั ด ประชุ ม ประจำ � ปี ง านวิ ช าการทั น ตภู ธ รและเพื่ อ น ประกวดผลงานดีเด่นด้านงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ (ผู้สนใจจ่ายสมทบค่าลงทะเบียน) 10. เป็นต้นทุนการซื้อสินค้าและจัดบริการของบริษัททันตภูธร และเพื่อนจำ�กัดต่อไป กิจกรรมต่างๆ ทั้ง 10 ข้อ บางกิจกรรมทำ�แล้ว บางกิจกรรม ยังไม่ได้ทำ�แต่มีแผนที่จะทำ�ให้ได้ โดยใช้ทุนจากกำ�ไร ที่ได้จาก การสนั บ สนุ น ด้ ว ยการซื้ อ สิ น ค้ า และบริ ก ารของคนอ่ า นวารสาร ทั น ตภู ธ รที่ เ ราแจกจ่ า ยไปยั ง สมาชิ ก ชมรมทั น ตสาธารณสุ ข ภู ธ รและหน่ ว ยงานรั ฐ ที่ มี ทั น ตบุ ค ลากรทั่ ว ประเทศ หน่ ว ย งานใดที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ วารสารโปรดแจ้ ง ที่ อ ยู่ ห น่ ว ยงานของท่ า นที่ https://www.facebook.com/ruraldentmagazine หรืออีเมล ruraldent2007@gmail.com การผลิตวารสารทันตภูธรไม่แตกต่างจากการผลิตวารสารฉบับอืน่ คือต้องใช้งบประมาณ ในขณะที่วารสารฉบับอื่นใช้วิธีระดมทุนโดย หาโฆษณา แต่วารสารทันตภูธรตัง้ บริษทั ขายสินค้าและบริการด้าน งานทันตสาธารณสุขของตนเอง รวมทั้งยินดีรับการสนับสนุนจาก ทุกภาคส่วนและรับโฆษณา เพื่อนำ�มาดำ�เนินกิจกรรมร่วมพัฒนา
3 ตุลาคม 2555 ตักบาตรประจำ�เดือน รพ.แจ้ห่ม โดยชมรมผู้สูงอายุ รอบนี้เป็นการตักบาตรแปรงสีฟัน ยาสีฟัน เพื่อหอผู้ป่วยใน และ ห้องคลอด อนุโมทนาบุญทุกท่านที่ร่วมกันตักบาตรครับ ทพ.ชัยพฤกษ์ ตั้งจิตคงพิทยา วารสารทันตภูธร 61 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
บริษัททันตภูธรและเพื่อนจำ�กัด สนับสนุนทุนสำ�หรับดำ�เนินโครงการนำ�ร่องเพื่อพัฒนา หลักสูตรทันตแพทย์ด้านทันตสุขภาพคนพิการ โดยสนับสนุนทุนดำ�เนินโครงการ เรียนรู้ด้วยความเข้าใจ “ความแตกต่างที่ไม่แตกต่าง” เป็นทุนแรก มีรายละเอียดโครงการบางส่วนดังต่อไปนี้ โครงการ เรียนรู้ด้วยความเข้าใจ “ความแตกต่างที่ไม่แตกต่าง” หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 มาตรา 5 ได้กำ�หนดให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการโดยบริการ ช่วยเหลือและตอบสนองความจำ�เป็นพื้นฐานของคนพิการอย่างทั่วถึงเหมาะสม รวดเร็ว ครอบคลุม และเป็นธรรมอย่างเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยคำ�นึงถึงศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ สิทธิท์ คี่ นพิการจะได้รบั และการมีสว่ นร่วมในสังคมอย่างเท่าเทียม ขณะทีก่ ระทรวงสาธารณสุขก็มนี โยบาย ในการดูแลสุขภาพของประชาชน กลุม่ เป้าหมายต่างๆ ตามชุดสิทธิประโยชน์ให้ครอบคลุมทัง้ 4 ด้านคือ ด้านสร้างเสริมสุขภาพ ด้านการป้องกันโรค ด้านการรักษาพยาบาล และด้านการฟืน้ ฟูสภาพ แบบองค์รวมและต่อเนือ่ ง กลุม่ คนพิการก็เป็นอีกกลุม่ หนึง่ ทีค่ วรได้รบั การดูแลขัน้ พืน้ ฐานเหล่านี้ ปัญหาสุขภาพช่องปาก ก็เป็นอีกประเด็นหนึง่ ทีค่ นพิการสมควรได้รบั การดูแลให้ครอบคลุมทัง้ 4 ด้าน อย่างไรก็ตามพบว่าในปัจจุบนั ทันตแพทย์ ส่วนหนึ่งยังคงไม่มีความรู้และความมั่นใจเพียงพอในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากแก่คนพิการ คณะทันตแพทยศาสตร์ในฐานะองค์กรผู้ผลิต บัณฑิตทันตแพทย์ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาทันตแพทย์ ให้มีความรู้ ความสามารถ และทัศนคติที่ดีต่อการทำ�งานกับ คนพิการ เพือ่ ว่าเมือ่ นักศึกษาทันตแพทย์เหล่านีจ้ บไป จะเป็นทันตแพทย์ทสี่ ามารถทำ�งานร่วมกับเครือข่ายทีม่ อี ยูใ่ นการทำ�งานเพือ่ ดูแลสุขภาพ ของคนพิการต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้จัดให้มีโครงการ เรียนรู้ด้วยความเข้าใจ “ความแตกต่างที่ไม่แตกต่าง” เพื่อ เป็นจุดเริ่มต้นของนักศึกษาทันตแพทย์ ในการทำ�ความรู้จัก และเข้าใจศักยภาพของคนพิการ ได้มีประสบการณ์ทำ�งานสร้างเสริมสุขภาพ ช่องปากในกลุ่มคนพิการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักศึกษาทันตแพทย์ได้เรียนรู้ธรรมชาติ และศักยภาพของคนพิการทางสติปัญญา และออติสติก 2. เพื่อให้นักศึกษาทันตแพทย์ ได้มีประสบการณ์ในการทำ�กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในคนพิการ 3. เพื่อให้นักศึกษาทันตแพทย์ ได้เรียนรู้กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพในคนพิการ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน กลุ่มเป้าหมาย 1. นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3 จำ�นวน 12 คน 2. นักเรียน โรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา (ผู้มีความพิการทางสติปัญญาและออติสติก ) จำ�นวน 150 คน 3. คณะครู ผู้บริหารและ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลนักเรียน โรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา จำ�นวน 40 คน 4. ผู้ปกครองของนักเรียน โรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา จำ�นวน 30 คน 5. อาจารย์และบุคลากรคณะทันตแพทยศาสตร์ จำ�นวน 8 คน ตัวชี้วัดความสำ�เร็จของโครงการ นำ�ส่งภายใน 6 เดือนนับจากวันที่ระบุว่าสิ้นสุดโครงการ 1. รายงานฉบับสมบูรณ์ 1 ฉบับ 2. ต้นฉบับเรื่องเล่าจากการดำ�เนินโครงการ หรือ บทความทางวิชาการ อย่างน้อย 1 เรื่อง ตีพิมพ์เผยแพร่ทางวารสารทันตภูธร หรื อ วารสารทางวิ ช าการอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยระบุ ใ นผลงานว่ า “เป็ น ผลงานที่ ไ ด้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น จาก บริ ษั ท ทั น ตภู ธ รและ เพื่อนจำ�กัด” ผู้รับผิดชอบโครงการ - สาขาทันตกรรมชุมชน ภาควิชาทันตกรรมป้องกัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้เสนอโครงการ ผศ.ทพญ. เสมอจิต พิธพรชัยกุล หัวหน้าสาขาทันตกรรมชุมชน ภาควิชาทันตกรรมป้องกัน วารสารทันตภูธร 62 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
กรองใจท้ายเล่ม กรองใจท้ายเล่มฉบับนี้ ก็คงต้องเป็นฉบับทีว่ า่ ด้วยการมุทติ าจิตแด่ พีๆ่ ทันตแพทย์และทันตบุคลากรทีด่ แี ละมีนาํ้ อดนาํ้ ทน จนสามารถนำ�นาวา ชีวิตราชการ ฝ่าคลื่นลมจนครบวาระเกษียณอายุราชการจำ�นวน 21 ท่าน และพี่ๆ อีก 4 ท่าน ที่เกษียณก่อนอายุราชการ ชาวทันต’ภูธรและ คนไทยทุกคนขอปรบมือให้ ดังๆ และนานๆ (ตามอายุ!) ซึ่งมีรายชื่อดังต่อไปนี้ รายชื่อทันตแพทย์และทันตบุคลากรผู้เกษียณ ปี 2555 1.ทพ.มงคล ปลื้มจิตรชม นักวิชาการเชี่ยวชาญด้านส่งเสริมพัฒนา สสจ.นครปฐม 2.ทพ.เกษม กัลยาสิริ ศูนย์อนามัยที่ 2 ชลบุรี 3.ทพญ.บุญเอื้อ ยงวานิชากร สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 4.ทพ.วรศักดิ์ ธินรุ่งโรจน์ ศูนย์อนามัยที่ 4 อ.เมืองราชบุรี จ.ราชบุรี 70000 5.ทพญ.สมศรี สวัสดีนฤนาท รพศ.มหาราชนครศรีธรรมราช อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 6.ทพญ.เจริญขวัญ ชาลีภา รพศ.พระนครศรีอยุธยา อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 7.ดร.ทพ.สุขสมัย สมพงษ์ นักวิชาการเชี่ยวชาญ (ด้านส่งเสริมพัฒนา) สสจ.สกลนคร 8.ทพ.กมล เลาหกุล นักวิชาการเชี่ยวชาญ (ด้านส่งเสริมพัฒนา) สสจ.,ลำ�พูน 9.ทพญ.ณัฏฐา บูรณสรรค์ ศูนย์อนามัยที่ 1 เขตบางเขน กทม. 10210 10.ทพญ.นํ้าทิพย์ คุณะวิภากร โรงพยาบาลสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 11.ทพ.วินัย ธรรมสากัจฉา โรงพยาบาลชุมแพ จ.ขอนแก่น 12.ทพญ.วิบูลย์รัตน์ ชัยสิทธิ์ โรงพยาบาลลำ�พูน อ.เมือง จ.ลำ�พูน 51000 13.ทพญ.ประวิตร์ โยธีพิทักษ์ สำ�นักงานสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี 14.ทพ.ศิริชัย โอฤทธิ์ โรงพยาบาลบ้านไผ่ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น 15.นางจำ�เนียร ศักดิ์สุข โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช 16.นางธัญวดี เกิดกระสันธุ์ โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จ.เพชรบุรี 17.นางสุภารัตน์ พันธ์อร่าม ศูนย์อนามัยที่ 8 จ.นครสวรรค์ 18.นางนงนุช สืบพงศ์ทอง รพ.สุโขทัย อ.เมือง จ.สุโขทัย 19.นายพิเชษฐ์ แวดอุดม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด 20.นางนิอร ทันตวิวัฒนานนท์ โรงพยาบาลบ้านหมี่ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี 21.นส.วรรณศิริ ปินตาสะอาด สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย รายชื่อทันตแพทย์และทันตบุคลากร ผู้เกษียณ ก่อนอายุราชการปี 2555 1.ทพญ.วราภรณ์ จิระพงษา สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 2.นางปราณ เหลืองวรา สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 3.นางสุรางค์ เชษฐพฤนท์ สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 4.นางรัตนา เทพจินดา โรงพยาบาลสิชล นครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช วารสารทันตภูธร 63 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2555 พวกเราชาวทันตสาธารณสุข นำ�โดยสำ�นัก
ยังไม่คลาย จะเรียกหา เรียกใช้ (ขอช่วยน่ะ) ย่อมยินดีเสมอ ....ใช่ไหมพี.่
ทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ชมรมทันตแพทย์ส�ำ นักงานสาธารณสุขจังหวัด ชมรมโรงพยาบาลศูนย์โรงพยาบาลทัว่ ไปและชมรมทันต’ภูธร ได้รว่ มกันจัด งานเกษียณแด่พๆ่ี ณ โรงแรมอมารี แอร์พอร์ต ภายใต้ค�ำ ขวัญวันเกษียณ ทันตฯ ปี ๕๕ ว่า “ฟันลายคราม งามลายทันต์ วันลือลาย ”
อ.หมอประกล กล่าวต้อนรับผู้เกษียณ อ.หมอศิริชัย กล่าวเปิดงาน
แขกผูม้ เี กียรติได้แก่ อ.ทพ.ประกล (อดีตผอ.กองทันตสาธารณสุข) อ.ทพ. สมนึก ชาญด้วยกิจ (อดีตผู้ทรงฯกรมอนามัย) อ.ทพ.ปิยพงศ์ วัฒนวีย (อดีตผู้ทรงฯ กรมการแพทย์) อ.ทพญ.เพ็ญทิพย์ จิตต์จำ�นง (อดีต ทพ.เชี่ยวชาญ กรมอนามัย) อ.ทพ.ธีรเทพ กระแสลาภ(อดีต หน.กลุ่ม งานทันตกรรมรพ.พระพุทธเลิศหล้านภาลัย จ.สมุทรสงคราม) และพี่ๆ ที่ เ กษี ย ณไปแล้ ว อี ก หลายท่ า น (ขออภั ย ที่ มิ ไ ด้ เ อ่ ย นาม) พร้ อ มทั้ ง อ.ทพ.สมชัย ชัยศุภมงคลลาภ ผอ.สถาบันทันตกรรม กรมการแพทย์
บรรยากาศในงานเป็นทัง้ น่าซาบซึง้ และสร้างความประทับใจแก่พๆี่
ทีเ่ กษียณ สนุกสนานกับพิธกี รหนุม่ สามหนุม่ สามมุม : หมอเป็ด หมอยักษ์ เจ้าก่า และ หมอเก่ง (เจ้าใหม่) ทายาทอสูร? ไม่ทราบว่าไปโดนนํ้า ลาย ของหมอเป็ดหรือหมอยักษ์ มาตั้งแต่เมื่อไร แต่น่ามาจากพรสวรรค์และ ใจรักมากกว่านะ อีกทั้งยังต้องตระลึงกับความสวยงามของบรรดาสาว สวยจาก ๑๐ ชาติ Asean (สามโลกก็ไม่สามารถหาสาวใด สวยเทียบได้) มา ประชันท่วงท่าการเดินแฟชัน่ โชว์ความงามกันอย่างตืน่ ตาตืน่ ใจ (เจ้าของ คณะ:พี่สุมาลี สสจ.นนทบุรี, นำ�ทีมโดย : พี่...สสจ.อ่างทอง) ทั้งนี้ เพื่อ เตรียมต้อนรับการมาเยือนของAEC ในปี๒๕๕๘ (ทันตแพทย์อาจจะต้อง ตกงาน หัน ไปเดินแฟชั่นแทน!)
สุดท้ายก็ตอ้ งอำ�ลาแต่ไม่อาลัย (เพราะ พีๆ่ เขาไปดี) ด้วยการมอบ ของขวัญเป็นทีร่ ะลึก แก่พๆ่ี ทีเ่ กษียณราชการ ด้วยความชืน่ มืน่ รักกัน ฉันพีฉ่ นั น้อง ปรองดองดุจญาติ ถึงจากกันในวิถรี าชการ แต่สมั พันธ์ วารสารทันตภูธร 64 ฉบับเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2555
สาธารณสุขให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป เมื่อ ๒๓ – ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ พี่ๆ แกนนำ�ชมรมทันต’ภูธร อันได้แก่ หมอเอ๋ – ภาชี(อยุธยา) , หมอรอง-นคร ศรีฯ, หมอบิค๊ -น่าน , หมอทอม-ตาก, หมอจิตร-น่าน , หมอชูช-ู พัทลุง และ หมอเปิล้ - ศูนย์๑๑ (นครศรีฯ) ดำ�เนินการจัดค่ายน้องใหม่ (ค่ายทันตแพทย์ น้องใหม่สดใส ใจเป็นสุข ๒๕๕๕) จัดกันอย่างประหยัดสุดๆ (เพราะไม่ได้ ของบประมาณจากหน่วยงานใด ชมรมฯ จัดหามาให้) ดังนั้นพี่ๆ น้องๆ ทุกคนต้องเข้าใจเลยนะว่า พวกเราทำ�ด้วยใจ ทำ�โดยสปิรติ อยากให้นอ้ งๆ ใหม่และ พี่ๆ ทุกคนเข้าใจ ถึงความเสียสละของพี่แกนนำ�ดังกล่าว ที่ต้อง ทำ�ทุกอย่าง ตั้งแต่เขียนโครงการเอง ออกหนังสือเชิญทั้งหมด ประสาน น้องๆ เข้าร่วมงาน จัดหาที่ประชุม ลงทะเบียน เป็นวิทยากร ถ่ายรูป Note Taker จัดสรรค่าเดินทางให้น้องๆ และแกนนำ� และสรุปโครงการ ...คุ้มจริงๆ
โดยมี อ.ทพ.ศิริชัย ชูประวัติ นายกทันตแพทยสภามาเป็นประธาน
เมื่อมีพี่เก่าไป ก็ต้องมีน้องใหม่มาทำ�งานเพื่อสืบสานงานทันต
สาวไทยให้สมั ภาษณ์นกั ข่าว BBC โฆษกสามหนุม่ สาวงามแห่งชาติอาเชียน
หมอทอม หมอรอง หมอบิ๊ค หมอจิต หมอชูชู
ขอบอกว่า แกนนำ�ที่กล่าวมานี้ “excellence” จริงๆ ชาวทันตภูธร ต้องขอขอบคุณ แกนนำ�ทุกคนและหวังว่าปีหน้าและปีต่อๆ ไป เราคงได้ ทำ�งานเพือ่ น้องใหม่กนั อีก เพือ่ สร้างสิง่ ดีๆ ในการทำ�งานแก่นอ้ งๆ ให้นาน แสนนานที่สุด (ขอปรบมือดังๆ) และที่จะลืมขอบคุณไปมิได้ คือ หมออ๋อ ทีด่ แู ลเรือ่ งงบประมาณ (เธอหมุนเงินขายแปรง เงินสนับสนุนจากห้างร้าน บริษัท มาจัดงานนี้ อย่างเต็มใจ ถึงแม้จะฝืดเคืองบ้าง) และหมอฝน สสจ. หนองบัวที่ติดประชุมที่กทม.เมื่อ ๒๔ กค.๕๕ ตอนเย็นหลังเลิกประชุม หมอบานเย็นชวนไปพบกับน้องๆ ที่งานค่าย เธอก็กระโดดขึ้นรถไปกัน และช่วยเป็นวิทยากรให้ด้วยสิ นี่ก็จิตอาสาสุดๆ คนหนึ่งค่ะ สำ�หรับน้องๆ ที่มาเข้าค่ายปีนี้อาจจะน้อยไปหน่อย แต่เท่าที่สังเกตดูก็มีความสุข และ ได้รับสิ่งดีๆ กลับไป คงจะทำ�ให้น้องเป็นหมอภูธร ที่รักงานสาธารณสุข สนุกกับการทำ�งานนะคะ อย่างไรก็ตามทีมวิชาการของชมรมฯ น่าจะได้ ติ ดตามผลระยะยาวต่อไป
ท้ายสุดของกรองใจท้ายเล่มฉบับนี้ ชมรมทันต’ภูธร ก็ขอต้อนรับน้อง ทันตแพทย์ใหม่สู่งานทันตสาธารณสุขและขอมุทิตาจิตแด่ พี่ๆ ที่เกษียณ ในปีนี้ ขอให้ทุกคนมีความสุขกับชีวิตที่ดีๆ ตลอดไป ทพญ.บานเย็น ศิริสกุลเวโรจน์ ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร