แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ความเป็นมา กระทรวงสาธารณสุขมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชนโดยการจัดระบบสุขภาพที่ครอบคลุม ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ มีการจัดระบบบริการสุขภาพ ออกเป็นหลายระดับได้แก่ บริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care) บริการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) และ บริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) โดยมุ่งหวังให้บริการแต่ละระดับมีบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกันและเชื่อมต่อ กันด้วยระบบส่งต่อ(Referral System) เพื่อให้สามารถจัดบริการคุณภาพที่มีคุณภาพ ปัจจุบันระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยประสบปัญหาสําคัญหลายประการได้แก่ปัญหาเรื่อง ประสิทธิภาพ คุณภาพบริการ ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ โรงพยาบาลขนาดเล็กส่งต่อโรงพยาบาลขนาด ใหญ่มากขึ้น ความแออัดของผู้มารับบริการในสถานบริการระดับสูง สะท้อนถึงการใช้ทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม ไม่ สอดคล้องกับสถานบริการในการให้บริการ มีการแข่งขันการขยายบริการและแย่งชิงทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดโดย ขาดการวางแผนในการจัดระบบบริการและการบริหารจัดการที่ดี ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้มีการทบทวนแนวทางการพัฒนาหน่วยบริการสุขภาพ ให้มีทิศทางที่ชัดเจนและเป็นระบบ โดยการจัดทําแผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) มีระยะเวลา ๕ ปี (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕-๒๕๕๙) มุ่งพัฒนาระบบบริการทุกระดับตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ และศูนย์ ความเชี่ยวชาญระดับสูง สร้างระบบที่เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย โดยใช้หลักการ “ เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ ” (Seamless Health Service Network) ตามสภาพข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์และการคมนาคม โดยไม่มีเส้นแบ่ง ของการปกครองหรือการแบ่งเขตตรวจราชการ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเป็นระบบบริการสุขภาพที่มีศักยภาพรองรับปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ซับซ้อนในระดับพื้นที่ ได้ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อกํ าหนดทิ ศทางการพัฒ นาและออกแบบระบบบริการสุ ขภาพในส่ วนภู มิภ าคทั้ งระบบ ให้มีขีด ความสามารถที่จะรองรับความท้าทายและบริบทที่เปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ ๒. เพื่อจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการเป็นเครือข่ายให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาดังกล่าว โดยสอด ประสานกันทั้งด้านโครงสร้าง บุคลากร และคุณภาพบริการ ๓. ริเริ่มและขยายสถานบริการที่จําเป็น ตลอดจนการปรับปรุง หรือเสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการ สาธารณสุขในส่วนภูมิภาคให้เป็นไปตามแผนพัฒนาเครือข่ายบริการ ทิศทางและเป้าหมาย ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) ในแผน ๕ ปี จะให้ความสําคัญในเชิงยุทธศาสตร์ ๓ ประเด็น (Key Strategic Areas) ดังนี้ ๑) การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น (ทั้งเขตเมืองที่ตั้งของตัวจังหวัด และเขตเมืองอื่นๆ) ให้มีขีดความสามารถระดับแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัวหรือแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป เพื่อรองรับการ เติบโตของชุมชนเมืองและประชากรวัยสูงอายุ ซึ่งจะมีภาระของการดูแลโรคเรื้อรัง โรคที่เกิดจากความเสื่อมของ ร่างกาย และสุขภาพจิตที่เพิ่มขึ้นมาก ๒) การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ๔ สาขา เพื่อรองรับระบบส่งต่อผู้ป่วยที่มีความยุ่งยากซับซ้อน และใช้เทคโนโลยีระดับสูงและราคาแพง ให้แบ่งเป็น ๓ ระดับ และกระจายครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศอย่างทั่วถึง
ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๑สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
๓) การพัฒนาโรงพยาบาลระดับต่างๆ ให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบเครือข่ายบริการ เพื่อให้โรงพยาบาลแต่ ละแห่งเติบโตอย่างมีทิศทาง มีภารกิจหน้าที่ชัดเจน มีจังหวะก้าว และเกื้อหนุนซึ่งกันและกันภายในเครือข่าย พัฒนาโครงสร้างตามภารกิจของสถานบริการภายในเครือข่าย จาก Key Strategic Areas ทั้ง ๓ ประเด็น จะนําไปสู่การจัดโครงสร้างของสถานบริการ1ต่างๆ ตามภารกิจ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ โดยมีจุดเด่นอยู่ที่การขยายหรือยกระดับสถานบริการให้สูงขึ้นในพื้นที่จําเป็น ตลอดจนการ พัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถของสถานบริการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาเครือข่ายบริการ ๑.
๒.
๓.
1
Key Strategic Areas การจัดโครงสร้างใหม่ตามภารกิจ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ๑.๑ จั ด ตั้ ง “ศู น ย์ สุ ข ภาพชุ ม ชนเมื อ ง” ที่ ในชุมชนเมือง / หนาแน่น สามารถดูแลประชากรในเขตเมือง ขนาดไม่เกินแห่ง ละ ๓๐,๐๐๐ คน ได้ อย่างต่อเนื่อง ผสมผสาน และเป็นองค์ รวม โดยมีรูปแบบที่หลากหลาย และให้ ท้องถิ่น/เอกชนมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ ๑.๒ พั ฒ นาศั ก ยภาพของโรงพยาบาล ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตํ า บลขนาดใหญ่ ที่ รับผิดชอบประชากรตั้งแต่ ๘,๐๐๐ คน ขึ้นไป จํานวน ๑,๐๐๐ แห่ง การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญ ๒.๑ จัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ระดับสูง ภายใน รพศ./รพท. ๔ สาขาๆ ละ ๓ ระดับ กระจายทั่วทุกภาค
การพัฒนา รพ. ให้เป็นส่วนหนึ่ง ๓.๑ รพศ. (A) ของเครือข่ายบริการ ๓.๒ รพท.ระดับจังหวัด (S) ๓.๓ รพท.ขนาดเล็ก (M1) รวม ตติยภูมิ ๓.๔ รพช.แม่ข่าย (M2) ๓.๕ รพช.ขนาดใหญ่ (F1) ๓.๖ รพช. (F2) ๓.๗ รพช.ขนาดเล็ก (F3) ๓.๘ รพช.สร้างใหม่ รวม ทุติยภูมิ ๓.๙ ศสม. ๓.๑๐ รพ.สต. 3.11 สสช รวม ปฐมภูมิ
เป้าหมาย ๕ ปี ครอบคลุมประชากรชุมชนเมืองทั่ว ทั้งประเทศ ร้อยละ ๑๐๐
จํานวนศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ที่เปิดดําเนินการและผ่านการรับรอง ร้อยละ ๕๐ ระดับ ๑ ระดับ ๒ หัวใจ/หลอดเลือด ๑๐ ๑๑ อุบัติเหตุ ๑๒ ๑๑ ทารกแรกเกิด ๙ ๑๘ มะเร็ง ๙ ๑๓
หมายเหตุ กําหนดให้ รพ.จังหวัด สามารถให้ การดูแลระดับ ๓ ได้ ๓๓ แห่ง จํานวนโรงพยาบาลที่ได้รับการ ๔๘ แห่ง ยกระดับร้อยละ ๕๐-๘๐ ๓๕ แห่ง 116 แห่ง ๙๑ แห่ง ๗๓ แห่ง ๕๑๘ แห่ง ๓๕ แห่ง ๕๗ แห่ง 774 แห่ง ๒๒๖ แห่ง ๙,๗๕๐ แห่ง 198 แห่ง 10,174 แห่ง
การแบ่งระดับสถานบริการ ตามเอกสารภาคผนวก ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๒สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
พัฒนาระบบการบริหารจัดการเครือข่ายบริการ การบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพในส่วนภูมิภาคดําเนินการในรูปแบบของเครือข่าย บริการ เชื่อมโยงตั้งแต่ รพศ. (ระดับ A) ลงมาถึงระดับบริการปฐมภูมิ (ระดับ P) เป็น ๑ ระบบ ซึ่งครอบคลุมสถาน บริการภายใน ๔-๘ จังหวัด ดูแลประชากรที่เหมาะสมประมาณ ๕ ล้านคน รวมทั้งสิ้น ๑๒ เครือข่าย2 มีการบริหาร จัดการในรูปคณะกรรมการบริหารเครือข่ายบริการ ดูแลการพัฒนาระบบบริการ การบริหารจัดการ การเงินการคลัง และการรับส่งต่อภายในเครือข่าย เน้นการสนับสนุนส่งเสริมซึ่งกันและกันแทนการแข่งขันในการขยายบริการ ทิศทางการจัดระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จากการดําเนินการในปีงบประมาณที่ผ่านมา ได้มีการดําเนินการจัดทําเกณฑ์ขีดความสามารถของสถาน บริการในแต่ละระดับ เครือข่ายบริการสุขภาพทั้ง ๑๒ เครือข่าย จัดทําแผนพัฒนาระบบบริการของเครือข่าย ประกอบด้วยการวิเคราะห์ส่วนขาดของระบบบริการ การเสนอแผนลงทุนทั้งอาคารสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ขนาด ใหญ่ และแผนความต้องการบุคลากร โดยจัดแบ่งตามระดับบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ที่เน้นการพัฒนา ศักยภาพของสถานบริการสุขภาพ และเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์ต่อประชาชน อย่างสูงสุด ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จึงเน้นการพัฒนาประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ เพื่อการพัฒนาระบบ บริการที่ตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพที่เป็นสําคัญ 10 สาขา ได้แก่ ๑) หัวใจและหลอดเลือด ๒) มะเร็ง ๓) อุบัติเหตุ ๔) ทารกแรกเกิด ๕) จิตเวช ๖) ตาและไต ๗) ๕ สาขาหลัก ๘) ทันตกรรม ๙) บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ สุขภาพองค์รวม ๑๐) Non Communicable Disease: NCD ( DM, HT, COPD) วิสัยทัศน์ ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จ ภายในเครือข่ายบริการ เป้าประสงค์ “บริการสุขภาพที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน” วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อการจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ เพิ่มบริการที่ควรมีในแต่ระดับของสถานบริการ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ มีการเชื่อมโยงไร้รอยต่อ ๒. เพิ่มประสิทธิภาพบริการโดยการบริหารจัดการ ๓. มีแผนแม่บทการพัฒนาระบบบริการของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อการจัดสรรทรัพยากร ที่มีประสิทธิภาพ เป้าหมาย ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. 2
มาตรฐานการบริการ เข้าถึงบริการ ลดระยะเวลารอคอย ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดค่าใช้จ่าย
การแบ่งเครือข่ายบริการ ตามเอกสารภาคผนวก ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๓สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
Key Success Factors ๑. การกําหนดมาตรฐาน กรอบขีดความสามารถ กรอบอัตรากําลังคน ๒. การจัดการโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพ ๓. การบริหารประสิทธิภาพ / การสนับสนุนการดําเนินการ Service Plan Road Map
๑๐ สาขา
Back Bone สนับสนุน
๑. หัวใจและหลอดเลือด ๒. มะเร็ง ๓. อุบัติเหตุ ๔. ทารกแรกเกิด ๕. จิตเวช ๖. ตาและไต ๗. ๕ สาขาหลัก ๘. ทันตกรรม ๙. บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม ๑๐. NCD ( DM, HT,COPD)
บรรลุ KPI
๑. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ๒. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะที่เป็นปัญหาสุขภาพ ๓. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ ๔. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโยบาย
สบรส
กรม ่ ตางๆ
นอก สธ
ระบบบริ การ คุณภาพ การเมือง
ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๔สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์ (Goal) “ บริ การสุ ขภาพ ที ตอบสนองตอ่ ความต้องการ ของประชาชน” ่ หนวยงานรั บผิดชอบ กระทรวงสาธารณสุ ข
Project / Activity
Key Success Factors ํ - การกาหนดมาตรฐาน
- จัดทํากรอบการพัฒนาขีด
กรอบขีดความสามารถ ํ งคน กรอบอัตรากาลั - การจัดการโรคที เป็ น ปั ญหาสุขภาพ - การบริ หารประสิ ทธิภาพ/ การสนับสนุนการ ดําเนินงาน
ความสามารถ / กรอบการ ดําเนินการ 10 สาขา - การนํากรอบการพัฒนาขีด ความสามารถไปใช้ (Gap Analysis) และทําแผนพัฒนา 12 ่ เครื อขาย - พัฒนากลไก M&E -จัดสรร/ สนับสนุนทรัพยากร ่ อ - สร้างความรับรู ้/รวมมื ่ ี อง หนวยงานที เกยวข้
QUALITY IMPROVEMENT & INNOVATION
KPI & Target
- ลดอัตราป่ วย - ลดอัตราตาย - ลดระยะเวลา รอคอย ่ ่ - การสงตอออก ่ นอกเครื อขาย บริ การ ่ จ่าย - ลดคาใช้
M&E
ระยะเวลาดําเนินการ - ชี้แจงการจัดทําแผน - ๑๒ เครือข่ายจัดทําแผน - คณะกรรมการระดับกระทรวงพิจารณาแผน ๑ ( บริหารจัดการ, พบส.) - เสนอผู้บริการและประกาศใช้แผน - ดําเนินการจัดทําแผน ๒ (HR, Investment)
⇒ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ⇒ ๒๒ พฤศจิกายน – ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ ⇒ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๕ ⇒ มกราคม ๒๕๕๖ ⇒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
ตัวชี้วัด Service Plan ทุกจังหวัดทุกเครือข่ายได้ปฏิบัติตามแผนService Achievement Plan อย่างน้อยตามที่ได้วางแผนและ ได้ผลลัพธ์ตามแผนที่กําหนดไว้รายปี
ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๕สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ตารางแสดงเป้าหมาย แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ๑๐ สาขา สาขา หัวใจ
ทารกแรก เกิด มะเร็ง
อุบัติเหตุ
ตา
เป้าหมายภาพรวมกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายเพื่อประชาชน (ประชาชนต้องการ)
หัวใจ ๑. ผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ได้รับการ รักษาด้วยการเปิดเส้นเลือดด้วยการให้ยา Fibrinolytic Agent หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน หรือได้รับการส่งต่อเพื่อให้ยา ละลายลิ่มเลือด/ทําบอลลูนขยายเส้นเลือดเท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ ๕๐ ในปี ๒๕๕๖ และมากกว่า ๘๐ % ในปี ๒๕๕๘ ๒. ผู้ป่วย STEMI เสียชีวิต เท่ากับหรือน้อยกว่า ร้อยละ ๑๐ ในปี ๒๕๕๘ (Hos. Base) หลอดเลือด ๑. มี Stroke Unit ทุก รพ. ระดับ A เป็นอย่างน้อย และ รพ. ระดับS ที่พร้อม ๒. รพ.ระดับ S , รพ.M1 ทุกแห่งสามารถให้ Thrombolytic agent ได้ใน ๑ ปี และมีจํานวนผู้ป่วยมากขึ้นตามลําดับทุกปี ทารกแรกเกิด มี NICU ตามเกณฑ์เพียงพอ จนไม่มีการ Refer นอก จังหวัด นอกเครือข่าย ตามชนิดคนไข้ใน ๓ ปี มะเร็ง ๑. ภาคอีสานมีไข่พยาธิใบไม้ตับ น้อยกว่า ๑๐% ใน ๕ ปี (๒๕๖๐) ทุกจังหวัด ประเมินผลทุก ๑-๒ ปี โดย External Audit ๒. สตรีไทยมีการตรวจเต้านม จนสามารถพบมะเร็งระยะ ๑-๒ มากกว่า หรือเท่ากับ ๘๐% ในปี ๒๕๕๗ และเพิ่มขึ้นทุกปี ๓. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มากกว่า๘๐% ใน ๓ ปี ๔. คิวระยะฉายแสงลดลงกว่า ๕๐% ใน ๓ ปี อุบัติเหตุ ๑. ทุก รพ.ได้มาตรฐาน ๑,๒,๓,๔ ตามที่กําหนดใน ๓-๕ ปี ๒. การตายใน รพ.ที่มีการให้ PS(>๐.๗๕) ตายน้อยกว่า ๓๐ % ใน ๑-๓ ปี และทุกรายที่ตายต้องถูกทบทวน (ระยะยาว ๕ ปี ๒๕๖๐ ลดตายต่อแสน ลดปีละ ๑ ต่อแสน)
หัวใจ - มีศูนย์สวนหัวใจเพิ่ม ( แห่ง ) - มีการผ่าตัดหัวใจเพิ่มขึ้น ( แห่ง ) - มีคิวน้อยลง - เพิ่ม Warfarin Clinic หลอดเลือด - ลดการตาย พิการจาก Stroke ได้
- ลดการตายที่ไม่จําเป็นให้ได้จากปี ละ ๑๔,๐๐๐ คน/ปี =๑๙/๑๐๐,๐๐๐ ใน ๕ ปี ๑๐,๓๑๕ /ปี = ๑๔/ ๑๐๐,๐๐๐ ลดตายปีละ ๑๐,๐๐๐ คน/ปี (ลดที่การลด ๓๐ % ๒๔๐,๐๐๐ คน) - มาตรฐานห้องฉุกเฉินจะได้ มาตรฐานและระบบดูแลผู้บาดเจ็บที่ ได้มาตรฐานที่กระทรวงกําหนด
ตา ๑. ระยะเวลารอคอย Cataract (๑๐/๒๐๐) < ๓๐ วัน ๒. ระยะเวลารอคอย Cataract Low Vision (๒๐/๗๐) < ๙๐วัน ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๖สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
สาขา ไต
จิตเวช
เป้าหมายภาพรวมกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายเพื่อประชาชน (ประชาชนต้องการ)
ไต ๑. มี CKD Clinic ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไปเป็นอย่างน้อยใน ๑ ปี และพัฒนาดีขึ้นตามลําดับ ๒. คิวบริการ HD, CAPD มีบริการอย่างไม่มีคิวใน ๓ ปี จิตเวช มีจิตเวชบริการทุกระดับตามมาตรฐานใน ๕ ปี อย่างมี เป้าหมายเป็นระยะทุกปี ทุกระดับโรงพยาบาล
๕ สาขา หลัก
5 สาขาหลัก ๑. มีการกระจายการผ่าตัดผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ ออกจาก รพ ศ.(A) ไปยัง รพ.ในเครือข่ายที่เครือข่ายเป็นผู้กําหนด > ๕๐% ใน ๒ ปี ๒.ลดอัตรามารดาตาย ไม่เกิน ๒๐ /แสนการเกิดมีชีพ ภายใน ๕ ปี (ปัจจุบัน ๓๐/แสนการเกิดมีชีพ) ๓. CMI รายแผนกมีระบบจัดการตามเป้าหมายเพื่อกระจาย ผู้ป่วยที่ไม่มีความจําเป็นหรือส่งกลับไปรักษา รพ.เป้าหมาย ทันตกรรม ทันตกรรม ๑. มีการจัดบริการทันตสุขภาพโดยทันตแพทย์และ/หรือ ทันตาภิบาล ในศสม.ทุกแห่ง ใน ๑ ปีและพัฒนาดีขึ้นตามลําดับ ๒. ใน รพ.สต. มีบริการทันตสุขภาพเพียงพอและเข้าถึงใน ๓-๕ ปี ตามแผนที่เครือข่ายดําเนินการ บริการ บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม ปฐมภูมิ ๑. มี ศสม. ตามเกณฑ์มาตรฐานได้ครอบคลุมประชากรใน ทุติยภูมิ เขตเมืองทั้งหมดอย่างได้มาตรฐาน และสุขภาพ ๒. OP ใน รพ.ระดับ A, S, M1, M2, F1, F2 อย่างน้อยไม่ องค์รวม เพิ่มขึ้นในปี ๒๕๕๖ และลดลง ๓๐ % ใน ๕ ปี ๓. สัดส่วน OPD ผู้ป่วยเรื้อรังดูแลใน รพ.สต., ศสม. มากกว่า ๕๐% ภายใน ๓ ปี NCD NCD มี CQI ในทุกระดับ ในตัวชี้วัดหลัก (ควบคุมน้ําตาล, ความ ดันได้ดีกว่าปีที่ผ่านมาปีละ ๕ %)
ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๗สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
แผน Service Plan ๑. ทุกจังหวัด/เครือข่าย ทําแผนตามคําแนะนําของเครือข่ายและปัญหาของจังหวัด/เครือข่าย ๒. เป็นการจัดกลุ่มปัญหา ๑๐ สาขา (อาจมีมากกว่า) ๓. เป็นการรักษาป้องกัน (Primary Prevention) ตลอดจนไม่เป็นรุนแรงมากขึ้น (๒ ,๓ Prevention) จนถึงการบําบัดฟื้นฟู การทํา Service achievement Plan วัตถุประสงค์ ๑. งาน Service Achievement Plan - เป็นงานทั้งรักษาพยาบาล ป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพ ทั้ง 10 , 20 , 30 Care และรวมทั้งงานบริหาร บางเรื่อง รวมแล้ว ๑๕ ประเด็นยุทธศาสตร์ - การนําเสนอ ๑๐ สาขา ที่เน้นหนักเป็นปัญหาทางระบบบริการ ที่มีทั้งรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู แบบครบวงจร ที่ทุกพื้นที่ใช้ทรัพยากรมากที่สุด - ในพื้นที่ต้องทํางานทุกอย่าง เพียงแต่เน้นหนักตามสภาพของพื้นที่ที่มีบริบทต่างกัน ๒. งานแผนนี้ จะมีความสําคัญที่จะใช้เป็นแผนแม่บทให้เขตต่างๆ และระดับกระทรวงใช้เป็นตัวติดตามการทํางาน ในระดับต่างๆ ตลออดจนการบริหารจัดการให้ได้ตามแผน รวมทั้งการแก้ปัญหาระหว่างเวลา ปี ๒๕๕๖-๒๕๖๐ ๓. การทําแผนนี้ให้คํานึงถึงยุทธศาสตร์หลักของงานบริการ ที่ต้องยึดถือดังนี้ - Satellite & Outreach OP - Centralized IP - One Province Same Hospital One Region(พวง) One Ownership เพื่อให้ระยะยาวมีระบบบริการที่เน้นย้ําการเข้าถึงบริการที่ดีขึ้น ๒ ข้อ ดังนี้ ๑) Better Service * Accessibility เพิ่มขึ้น * Faster เพิ่มขึ้น * Safer เพิ่มขึ้น ๒) More Efficiency เพื่อให้ระยะยาว สามารถทํา Cost Containment ได้ ๔. การทําแผนนี้ไม่ต้องคํานึงถึงแผนลงทุน แต่พึงสังวรณ์ไว้ว่า แผนนี้ต้องไม่เป็นภาระทางการบริหารต้นทุน ระยะยาวเนื่องจากแผนลงทุนได้มีการทําคําขอทั้งปี ๒๕๕๗, ปี ๒๕๕๘, ปี ๒๕๕๙, ปี ๒๕๖๐ ไว้แล้ว อาจมีการปรับแผนได้และคาดว่าคงไม่ได้เงินมากพอตามที่ขอมา ประมาณ ๑.๒ แสนล้าน ( ๓ ปี ) ๖. ความคาดหวังที่สําคัญที่สุดคือการมี Leadership ของระดับต่างๆ โดยเฉพาระดับเขต จังหวัด อําเภอ ที่ต้องการ ทํางานเป็นทีม พึ่งพาอาศัยกัน และทําให้การเกื้อหนุนทุกทิศทาง ทางแนวดิ่ง แนวราบ ทั้งพวงบริการตามหลัก Seamless & Lean Service กลไกการขับเคลื่อน ๑. Leadership
-ระดับกระทรวง -ระดับพวงบริการ -ระดับจังหวัด -ระดับ CUP ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๘สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
๒. เครือข่าย ๒.๑ ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ เช่น เภสัชกร พยาบาล LAB องค์กรแพทย์,พยาบาลเวชปฏิบัติ นักวิชาการสาธารณสุข ทันตแพทย์ ฯลฯ ๒.๒ ผู้เชี่ยวชาญ -10 Care -หัวใจ อุบัติเหตุ ฯลฯ -ตา ฯลฯ -CFO -ข้อมูล ข่าวสาร (MIS) เพื่อ Benchmarking Ranking ๒.๓ Referral System ๓. วัฒนธรรมการทํางาน “ พบส. ยุคใหม่” พี่น้องต้องช่วยกัน ๔. การจัดซื้อร่วมกันระดับจังหวัด/เครือข่ายบริการ/ประเทศ ๕. การทํา KM , R to R , R&D ๖. กลไกการนิเทศงานและตรวจราชการ ขั้นตอนในการทําแผน Service Achievement ๑. ใน ๑๐ สาขา จะมีมาตรฐานที่กําหนดไว้ในเอกสารทั้ง ๑๐ สาขา ซึ่งแต่ละสาขาอาจมีรากฐานการพัฒนาที่ไม่ เท่ากัน มีความละเอียดของงานไม่เท่ากัน ๒. ให้ทุกเครือข่ายบริการวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบันของแต่ละสาขา ว่าในขณะนี้ในทุกหน่วยบริการของทั้งพวง โดยรวมอยู่ใน Stage ใดตามมาตรฐานของแต่ละงาน และนํามาตรฐาน ๑๐ สาขา มาทําแผนเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ตามที่คณะกรรมการในแต่ละสาขาที่มีองค์ประกอบของผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาจากทุกจังหวัด มี ส่วนร่วมในการวางแผนตั้งแต่ต้น จนถึง KPI ที่กระทรวงคาดการณ์ว่าควรจะได้ เป็นองค์ประกอบการทําแผน ตลอดจนตัวชี้วัดอื่นๆที่พื้นที่คิดว่าควรจะมีตามบริบทพื้นที่ ๓. ให้ ทุ กเครื อข่ า ยบริ ก ารชี้ ร ะดั บ ของแต่ ล ะสาขาที่ เ ดิ ม มี ร ะดั บ ๑, ๒, ๓ ใน ๔ สาขาหลั ก (มะเร็ ง หั ว ใจและ หลอดเลื อด, ทารกแรกเกิ ด , อุ บั ติ เ หตุ ) โดยยึ ด หลั กการระดั บ เดิ มที่ มีการประกาศโดยกระทรวง เมื่ อเดื อน กันยายน ๒๕๕๔ และพัฒนาใน รพ.นอกเหนือระดับ ๑, ๒, ๓ เนื้อหารายละเอียดเท่าที่จําเป็นเพื่อให้ได้แผนใน รพ.ทุกระดับที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ของรายสาขา , รายเครือข่ายบริการที่มีเป้าหมายแตกต่างกัน และ บอกวิธีการพัฒนาให้ได้ตามเป้าหมาย ๔. ในสาขาอื่นๆทั้ง ๑๐ สาขานอกเหนือจาก ๔ สาขาเดิมนั้น (๖ สาขา)ให้พวงบริการทําการพิจารณาจากปัญหา พื้นที่ประกอบกับคําแนะนํา และมาตรฐานรายละเอียดใน ๖ สาขานี้เป็นแนวทางการทําแผนเพื่อให้ได้ตัวชี้วัด อย่างน้อยระดับกระทรวงคาดหวัดที่มีตัวชี้วัดน้อยกว่า รายละเอียดในตัวชี้วัดในเอกสารทั้ง ๖ สาขา , ๑๐ สาขา ในเอกสารที่แจก แต่คณะกรรมการระดับพวง จะเลือกตัวชี้วัดนอกจากที่กระทรวงกําหนดได้ตามบริบทของพื้นที่ เพิ่มเติมจากตัวชี้วัดของกระทรวงฯก็ได้ ๕. เมื่อแผนทั้ง ๑๐ สาขา ทําเสร็จแล้ว ต้องมีกระบวนการ Consolidate แผนทั้ง ๑๐ สาขาในของแต่ละพวงบริการ เพื่อประสานการปฏิบัติ เช่น การจัดซื้อยา, Lab. วัสดุการแพทย์ราคาแพงร่วมกันทั้งพวงบริการ หรือขั้นตอนการ บริหารแผนตลอดเวลา ๕ ปีของแผน (๒๕๕๖-๒๕๖๐) ว่าจะใช้กลไกอะไรในการแก้ปัญหาขาดแคลนทรัพยากร ต่ า งๆ ตลอดจนการบริ ห ารจั ด การ การกํ า กั บ ประเมิ น ผล การสร้ า งเครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ การพั ฒ นาและ แลกเปลี่ยนประสบการณ์(การทํา KM) ระดับเครือข่ายต่างๆเช่นการอบรม พยาบาล NICU พยาบาลล้างไตเพิ่ม พยาบาลเวชปฏิบัติ เพิ่มอย่างได เท่าใด ปีไหน ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๙สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
๖. หลีกเลี่ยงความพยายามที่จะกําหนดให้บริการแพงๆ ยากๆ มีหลายๆที่ในพวงบริการเดียวกัน เนื่องจากมีความ เป็นไปได้น้อยในการมีผู้เชี่ยวชาญอยู่บริการ หรือการลงทุนต่างๆที่ทําให้ดํารงอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรคิด วางแผนระบบรองรับการรักษาเบื้องต้น และการส่งต่อให้ทันต่อเหตุการณ์และปลอดภัยที่สุดก่อนในแผน ๕ ปีนี้ แล้วค่อยพิจารณาในแผน Service ที่ 2nd ในปี ๒๕๖๑-๒๕๖๕ ต่อไป ๗. การให้ทรัพยากรที่ยากๆแพงๆ หากเครือข่ายบริการคิดว่าไม่น่าจัดบริการในเครือข่าย เนื่องจากมีที่ส่งต่อทั้งใน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชนในพื้นที่เพียงพอก็สามารถทําแผนและเสนอแนะส่วนกลางให้วางแผนระดับชาติ ระดับภาคต่อไป เช่นการปลูกถ่ายอวัยวะบางกรณีที่ยากๆแพงๆ หรือบริการที่มีCase น้อยและขาดผู้เชี่ยวชาญ หายาก ควรเสนอแนะส่วนกลางในการวางแผนระดับชาติต่อไป และเขียนปรากฏไว้ในแผนของเรื่องนั้นๆ ๘. นอกเหนือจาก ๕,๖,๗ แล้ว เครือข่ายบริการต้องคํานวณว่าในเครือข่ายบริการปัจจุบัน มีเตียงประเภทต่างๆเช่น เตียงทั่วไป เตียง ICU ต่อประชากรทั้งอําเภอ จังหวัด ทั้งพวงเป็นอย่างไร โดยยึดหลักการดังนี้ ๘.๑ รพ.ระดับ A ขนาดใหญ่ที่เกิน ๑,๐๐๐ เตียงในจังหวัดใหญ่ๆ และที่เกิน ๘๐๐ เตียงในจังหวัดขนาด กลางควรเพิ่มชนิดเตียงทั่วไปเป็น ICU เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ มากกว่ามุ่งขยายจํานวนเตียงให้ มากขึ้นกว่าเดิม โดยขาดการวางแผนขยายเครือข่ายที่รองรับผู้ป่วยที่มีความเจ็บป่วยไม่ยาก ไม่ซับซ้อน ซึ่งจะทําให้การบริหาร รพ.ระดับ A ทําได้อย่างขาดประสิทธิภาพ เช่นไม่วางแผนเอาผู้ป่วย ไส้ติ่งอักเสบผู้ป่วยผ่าท้องคลอด การผ่าตัดมดลูกแบบธรรมดา ปอดบวม ท้องเสีย ฯลฯ และการ บาดเจ็บเล็กๆน้อยๆออกจาก รพศ. ระดับ A ไปสู่ รพ.ระดับถัดไป ๘.๒ รพ.ระดับ S, M1 ควรขยายเท่าที่จําเป็น เพื่อให้การบริหารมีประสิทธิภาพ และเป็นกลไกหลักในการ สกัดกั้นผู้ป่วยที่ไม่ซับซ้อน แต่ไม่สามารถอยู่ รพช.ได้ ให้ไปถึง รพ. ระดับ A ให้น้อยที่สุด โดยอาจเพิ่ม การบริการจําเพาะ เช่น ICU ,ล้างไต ฯลฯ ตามความจําเป็น ๘.๓ โรงพยาบาลระดับ M2 ซึ่งเป็น Node ของ รพช.ที่มีมากว่า 90 แห่งที่ต้องทําให้มีสาขาหลัก ๔-๖ สาขาปฏิบัติงานได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง เพื่อลดผู้ป่วยไปสู่โรงพยาบาลระดับ A , S , M1 ที่ไม่จําเป็น ไม่ควรให้ใหญ่เกินกว่า ๑๕๐ เตียง และการรองรับการส่งต่อผู้ป่วยกลับ (Refer Back) มารักษาต่อเพื่อ ลดวันนอนโรงพยาบาลระดับ A ,S,M1 ๘.๔ โรงพยาบาลระดับ F1, F2, F3 ควรมุ่งเน้น การเป็นกลไกหลักดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการ รักษาพยาบาลเบื้องต้นตลอดจนส่งต่อในแบบที่ปลอดภัยและดูแลผู้ป่วยที่ไม่ซับซ้อนเกินกว่าแพทย์ Family Medicine ดูแลได้และมีโรงพยาบาลระดับ F2 จํานวนมากที่มีขนาดเล็ก มีผู้ป่วยน้อยและอยู่ ในพื้นที่มีประชากรน้อย ๆ(น้อยกว่า ๒-๓ หมื่นคน )และมีที่ตั้งอยู่ใกล้ รพท.,รพช.ที่ใหญ่กว่าใกล้กัน อาจพิจารณาให้ รพ.F2 ปรับเป็น F3 ที่มี Observe Ward แทน Ward สมบูรณ์แบบในปัจจุบันและ ลดต้นทุนการดําเนินงานและไม่สิ้นเปลืองบุคลากรที่เป็น Fixed Cost ตลอดจนปิดการบริการที่มีไม่ เพียงพอต่อ Economy Scale เช่น คลอด, ผ่าตัดเล็ก ที่มีไม่มากพอที่จะ Keep Competency ของ ทีมงานอันอาจทําให้ไม่ปลอดภัยต่อผู้ป่วย และนําพยาบาล เจ้าหน้าที่ไปทําหน้าที่เชิงรุกในพื้นที่ และไม่ ควรจัดบุคลากรที่ขาดแคลน เพิ่มในอนาคตมากกว่าที่จําเป็น ๙. ศสม.เขตเมือง จําเป็นต้องลงทุนให้มีหน่วยบริการนอกโรงพยาบาลและมีบริการค่อนข้างครบถ้วนและดู Modernize เป็นที่น่าเชื่อถือสําหรับคนเมืองจํานวนมากพอตามเกณฑ์มาตรฐานปฐมภูมิในเขตเมือง โดยใช้คน จาก รพศ./รพท./รพช. ในที่ตั้งเป็นเครือข่ายโดย Mobilize คนและเพิ่มคนตามความจําเป็นที่มีระบบบริหารที่ คล่องตัวแต่เชื่อมโยงจากโรงพยาบาลหลัก ลดภาระการบริหารด้วยตนเองลง
ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๑๐สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
๑๐. รพ.สต. ในเขตชนบท ในบางพื้นที่ ที่ห่างไกลจากโรงพยาบาลหลักมาก มากกว่า 20-40 กิโลเมตร ในที่ที่มี ประชากรหนาแน่น อาจจําเป็นต้องมีครุภัณฑ์ บางชนิดที่จําเป็น เช่น x–ray ขนาดเล็ก,และการบริการที่ จําเป็นทั้ง Lab ,ทันตกรรม ,กายภาพบําบัด ตลอดจน Observe Bed ที่จําเป็นตามบริบทในพื้นที่แต่ต้องไม่ พัฒนาเป็น รพช. ในอนาคต ๑๑. ทิศทางการจัดบริการใน โรงพยาบาลขนาดใหญ่จําเป็นต้องมี Ambulatory Ward เพื่อรองรับผู้ป่วยที่ไม่ จําเป็นต้องพักค้างคืนแบบผู้ป่วยในของโรงพยาบาลเป็นผู้ป่วยนอก เช่น Day Surgery ,Chemotherapy ผู้ป่ว ยให้ เลือด,ผู้ป่ว ยที่ทําหัต ถการที่ ใช้ย าสลบระยะสั้นๆเช่ น ตา,ENT, Endoscope Therapeutic บาง ประเภท เพื่อลดการนอนโรงพยาบาลลง
ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๑๑สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการในService Planด้วยระบบพบส. พบส.เดิม เป็นคําย่อมาจาก “ การพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ ” การพัฒนา พบส. ในอดีตมีลักษณะ ดังนี้ ๑.การจัดสร้างเกณฑ์มาตรฐานและปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อวัดขีดความสามารถ ประสิทธิภาพ และ คุณภาพการจัดบริการสาธารณสุข โดยเนื้อหาของเกณฑ์มาตรฐานประกอบด้วย หมวดทรัพยากร (Input) บุคลากร ครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ กิจกรรมการบริการ (process) และคุณภาพของผลงาน (Output) แบ่งตามระดับสถาน บริการ (๑๐ เตียง, ๓๐ เตียง, ๖๐ เตียง, รพท. และรพศ.) พร้อมทั้งแบบประเมินให้คะแนน จํานวน ทําได้หรือไม่ได้ มีเพียงพอ ไม่เพียงพอ หรือไม่มี ส่วนเกณฑ์มาตรฐานงานบริหารที่สนับสนุนบริการโดยตรงจะแบ่งระดับหน่วยงาน เป็น สสจ., รพศ. รพท., รพช., สสอ. และสอ. โดยได้มีการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานจํานวน ๒ ครั้ง แบ่งเป็น ๙ เล่ม ได้แก่ ๑) งานพัฒนาคลินิกบริการ ๒) งานพัฒนาบริการพยาบาล ๓) งานพัฒนาบริการทันตกรรม ๔) งานบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ๕) งานบริหารที่สนับสนุนบริการโดยตรง ๖) งานพัฒนาบริการชันสูตรสาธารณสุข ๗) งานพัฒนาระบบโครงสร้างของสถานบริการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ๘) งานเภสัชกรรม ๙) กลุ่มงานบริการสาธารณสุขสําหรับสถานีอนามัย1) คลินิกบริการ ลักษณะเกณฑ์มาตรฐานเป็นการสนับสนุนซึ่งกันและกันด้านวิชาการ การรับส่งต่อผู้ป่วย ด้านเวชภัณฑ์และวัสดุ ด้านครุภัณฑ์นอกจากนี้ยังมีการสนับสนุนและพัฒนางานด้านวิชาการที่สําคัญ ได้แก่ การประสานงาน เพื่อสนับสนุน การศึกษา วิจัยหารูปแบบการพัฒนาระบบบริการในแต่ละสาขา การฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ โดยเน้นลักษณะพี่ น้องช่วยกันเป็นหลัก ๒. การจัดเครือข่ายบริการ เป็น ๑๙ กลุ่มเครือข่าย โดยกําหนดตามศักยภาพของโรงพยาบาลแม่ข่าย เป็น โรงพยาบาลศูนย์ รวมถึงโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพื่อเป็นโรงพยาบาลยอดข่าย ๓. การจัดองค์กรเพื่อรองรับการพัฒนา และการกระจายอํานาจให้เชื่อมโยงทุกระดับทั้งในส่วนกลางและส่วน ภูมิภาค ๔. การจั ด ระบบการบริ ห ารทรั พ ยากรที่ มีอ ยู่ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ การพั ฒ นาสถานบริ การ โดย กําหนดให้มีแผน พบส. ดังนี้ • แผน พบส. ๑ เป็นแผนพัฒนาบริการแบบพึ่งพาตนเอง • แผน พบส. ๒ เป็นแผนพัฒนาบริการแบบช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ระหว่างสถานบริการในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ให้ ยืม แลกเปลี่ยนกัน • แผน พบส. ๓ เป็นแผนพัฒนาบริการขอรับการสนับสนุนจากส่วนกลาง การพัฒนาพบส.ยุคใหม่ มีลักษณะ เป็นกลไกความร่วมมือและช่วยเหลือกันในการบริหารจัดการระบบบริการ สุขภาพระหว่ างสถานบริ การสุ ขภาพทุ กระดั บ ตั้ งแต่ ร พศ/รพท/รพช/รพ.สต.แบบพี่ -น้ องช่วยกั น ให้ สามารถ เชื่อมโยงระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ในการดําเนินการตาม Service Plan ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการ ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๑๒สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาสายสัมพันธ์ของรพศ/รพท.รพช./รพสต.ในเครือข่าย/จังหวัด/พวงบริการ เน้นการสร้าง วัฒนธรรมเพื่อให้เกิดร่วมมือกันในการทํางาน ภายใต้ Concept “พี่-น้องช่วยกัน” เพื่อชาวบ้านได้ประโยชน์ ๒. เพื่อบรรเทาภาระงานของรพศ./รพท./รพช./รพสต.และงานในชุมชน โดยเชื่อมโยงการช่วยเหลือซึ่งกัน และกันในด้านการรักษา ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสุขภาพ แบบครบวงจร ๓. เพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดสรรทรัพยากรตามภาระงานที่พี่น้องได้ตกลงกัน ใน Service Achievement Plan ๔.เพื่อพัฒนา Better Service และMore Efficiency ให้เกิดขึ้น ในระบบบริการสุขภาพตาม Service Plan กลไกการบริหารจัดการในService Plan ๑. วัฒนธรรมการทํางานแบบใหม่ “ พี่น้องช่วยกัน” (พบส.ยุคใหม่) โดยงานพบส.จะช่วยเสริมสร้างและ กํากับ ติดตามความคืบหน้าของการทํางานร่วมกัน และเป็นเครื่องมือให้ผู้บริหารมองเห็นและแก้ปัญหาอุปสรรค การขับเคลื่อนเครือข่าย ๒. ภาวะผู้นํา(Leadership) ของ - กระทรวง - จังหวัด - พวงบริการ - อําเภอ ๓. เครือข่าย ( Network ) วิชาชีพต่างๆ ๔. เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญต่างๆเช่น หัวใจ, อุบัติเหตุ, 1 ํ care, CFO เป็นต้น ขั้นตอนการดําเนินการขับเคลื่อนใน Service Plan • ระยะที่ ๑ มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารเครือข่าย. ระดับพวงบริการ/จังหวัด/ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มโรค ๑๐ สาขา และเครือข่ายวิชาชีพ เป็นต้น • ระยะที่ ๒ คณะกรรมการเครือข่ายแต่ละคณะมีกิจกรรมการสร้างความสัมพันธ์และการขับเคลื่อนเครือข่าย เช่น การประชุมกําหนดแผนการพัฒนาระดับต่างๆ แผนการออกเยี่ยมภายในเครือข่าย และแผนสร้างความสัมพันธ์ ของเครือข่าย เพื่อให้ได้ทั้งงานและใจของความเป็นพี่น้องในกลุ่มต่างๆ • ระยะที่ ๓ มีการดําเนินการกิจกรรมตามแผนที่กําหนด ๓ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านบริหาร หมายถึง การร่วมมือและช่วยเหลือกันด้านบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆรวมทั้งกําลังคน เช่น การสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ที่จําเป็น โดยการให้ยืม แลกเปลี่ยน การใช้ร่วมกัน การให้คําปรึกษาด้านต่างๆ เป็นต้น ๒) ด้านบริการ หมายถึง การร่วมมือและช่วยเหลือกันด้านระบบบริการในเครือข่าย เช่น การส่งแพทย์/พยาบาล จาก รพศ./รพท.ออกตรวจในรพช. การส่งต่อผู้ป่วยจากรพศ./รพท ไปรพช.ในการดูแลต่อก่อน Dischageผู้ป่วยกลับบ้าน เพื่อ ลดความแออัดของรพศ/รพท. การส่งต่อผู้ป่วย การบริการหน่วยจ่ายกลาง การตั้งศูนย์ Lab บริการ ฯลฯ ๓) ด้านวิชาการ หมายถึงความร่วมมือและช่วยเหลือกันด้านวิชาการในเครือข่าย เช่น การ จัดอบรม ความรู้ด้านต่างๆที่จําเป็น การอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร การจัดประชุมวิชาการประจําปี การสนับสนุน แนวทาง/คู่มือ การเปิดช่องทางการหารือด้านวิชาการ เป็นต้น • ระยะที่ 4 มีผลการดําเนินการครอบคลุมทั้งเครือข่าย • ระยะที่ ๕ มีผลงานที่เป็นตัวอย่างที่ดี (Best practice) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบ K.M. การสนับสนุนปีงบประมาณ ๒๕๕๖ • แนวทาง/คู่มือการดําเนินการบริหารจัดการเครือข่ายด้วยพบส. • สนับสนุนงบดําเนินการในการบริหารจัดการเครือข่ายบริการ(พวงบริการ) • ส่วนกลางจัดให้มีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในSocial Network • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนําเสนอผลงานระดับเครือข่าย และระดับประเทศ
ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ - ๑๓สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ตัวอย่างกลยุทธ์ในการดําเนินงาน 3 Approach Service สาขา
ระดับบริการที่ 1,2,3 (หากมี) หรือระดับ A,S,M1,M2,F1-F3
1. หัวใจและ หลอดเลือด
การวินิจฉัย Open Heart Unit PCI CABG ขยายเตียง
2. มะเร็ง
Mammography Nuclear Medicine เช่น Bone Scan PET Scan ภาคละ 1 เครื่อง การฉายรังสี
วิธี Approach Main Activity ที่สําคัญ / จุด Attack 1. เครือข่ายโรคหัวใจฯ 2. ระบบการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัว ของเลือด 3. ระบบการส่งต่อ/ให้คําปรึกษา 4. ระบบการดูแลหลังการรักษาเฉียบพลัน 5. ระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว เรื้อรัง 6. การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด 1. การป้องกัน Primary Prevention 2. การวินิจฉัยครอบคลุม พัฒนาศักยภาพ การวินิจฉัย 3. พัฒนาการรักษาครอบคลุม 4. การส่งต่อรักษาทันท่วงที 5. การดูแลPalliative Care
รายโรคที่สําคัญ โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน(STEMI) โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด(NSTEMI) ภาวะหัวใจล้มเหลว
มะเร็งตับ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลําไส้ มะเร็งปอด มะเร็งท่อน้ําดี (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 14สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
Service สาขา
ระดับบริการที่ 1,2,3 (หากมี) หรือระดับ A,S,M1,M2,F1-F3
3. อุบัติเหตุ
4. ทารกแรกเกิด
5. จิตเวช
การจัดสถานที่ตามบริบทของแต่ละ รพ. เครื่องมือทําการรักษาผู้ป่วย
วิธี Approach Main Activity ที่สําคัญ / จุด Attack 1. การพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อนํามาพัฒนาระบบ บริการ 2. ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล 3. การดูแลผู้บาดเจ็บในเครือข่าย 4. การดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบ 5. ระบบฟื้นฟูผู้บาดเจ็บเมื่อพ้นวิกฤติ 1. ลดการเกิดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2. มาตรฐานการฝากครรภ์ 3. การดูแลตามมาตรฐาน 4. การตรวจหาความผิดปกติในทารกกลุ่มเสี่ยง 5. มาตรฐานการส่งต่อ 1. การตรวจวินิจฉัย บําบัดรักษา 2. การวินิจฉัยและบําบัดรักษาผู้ป่วยนิติจิตเวช 3. การประเมินสภาพจิต 4. การคัดกรองส่งต่อผู้ป่วยพัฒนาการล่าช้า 5. การส่งเสริมป้องกันด้านสุขภาพจิต 6. การจัดการด้านยา 7. กิจกรรมฟื้นฟู
รายโรคที่สําคัญ บาดเจ็บสมอง การบาดเจ็บหลายระบบ
ทารกเกิดก่อนกําหนด ทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวน้อย ภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด Common Disease 10 โรค คือ โรคจิต เภท, โรควิตกกังวล, โรคซึมเศร้า, ภาวะ ปัญญาอ่อน, ภาวะออทิสติก, โรคสมาธิสั้น, ภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้(LD), Dementia, Alcohol dependence disorder และ substance used disorder
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 15สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
Service สาขา 6. ตาและไต
7. 5 สาขาหลัก (สูติ,ศัลย์,อายุรกรรม, กุมารเวชกรรม, ออร์โธปิดิกส์)
ระดับบริการที่ 1,2,3 (หากมี) หรือระดับ A,S,M1,M2,F1-F3
วิธี Approach Main Activity ที่สําคัญ / จุด Attack
รายโรคที่สําคัญ
ไต
1. การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังก่อนการบําบัด ทดแทนไต 2. การส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังหลังจากคัด กรองแล้ว 3. การจัดตั้ง CKD Clinic 4. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 5. การล้างไตทางช่องท้อง 6. การปลูกถ่ายไต
ภาวะไตวาย
ตา Retina Center ส่วนภูมิภาค > 10 แห่ง
1. การคัดกรอง/ผ่าตัด/ส่งต่อผู้ป่วยต้อ กระจก 2. การป้องกัน
การวินิจฉัยผู้ป่วยได้ถูกต้องและส่งต่อทันเวลา ผ่าตัดรวดเร็วทันเวลาและไม่มีความเสี่ยงแก่ผู้ป่วย
1. ระบบส่งต่อ 2. Blood Bank 3. การใช้ยาที่จําเป็น 4. การส่งกลับไปยังรพ.ระดับรองกว่า
ตาบอดจากต้อกระจก Childhood Blindness Refractive Error Corneal Oplaque โรคจอประสาทตา โรคต้อหิน การตกเลือดก่อนคลอด Eclampsia Infection Unsafe abortion Obstruced Labor
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 16สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
Service สาขา 8. ทันตกรรม
9. บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม
10. NCD
ระดับบริการที่ 1,2,3 (หากมี) หรือระดับ A,S,M1,M2,F1-F3
วิธี Approach Main Activity ที่สําคัญ / จุด Attack
รายโรคที่สําคัญ
1. ลดความแออัดของการบริการทันตกรรม ใน รพ.เขตเมือง เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันและ รักษาพื้นฐานของประชาชนในชนบท การส่งต่อผู้ป่วยทันตกรรมที่มีความซับซ้อน 1.มี ศสม. ตามเกณฑ์มาตรฐานได้ ครอบคลุมประชากรในเขตเมืองทั้งหมด อย่างได้มาตรฐาน 2. OP ใน รพ.ระดับ A, S, M1 M2 F1 F2 อย่างน้อยไม่เพิ่มขึ้นในปี 2556 และลดลง 30% ใน 5 ปี 3. สัดส่วน OPD ผู้ป่วยเรื้อรังดูแลใน รพ. สต., ศสม. มากกว่า 50% ภายใน 3 ปี โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง COPD
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 17สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ตัวอย่างเป้าหมายของการดําเนินการ Service สาขา
เพิ่มทําอะไรได้ Accessibility Faster คิวน้อยลง
1. หัวใจและ หลอดเลือด
- ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือด เฉียบพลันมากกว่า 50%ได้รับการ รักษาด้วยการเปิดเส้นเลือดด้วยการ ให้ยา Streptokinaseหรือขยาย หลอดเลือดด้วยบอลลูนหรือได้รับ การส่งต่อเพื่อให้ยาละลายลิ่มเลือด/ ทําบอลลูนขยายเส้นเลือดเท่ากับหรือ มากกว่าร้อยละ50%ในปี 2556 และมากกว่า 80% ในปี 2558 - มี Stroke Unit ทุก รพ.ระดับ A เป็นอย่างน้อยและ รพ.ระดับ S ที่พร้อม - ระดับ S, M1 ทุก รพ.สามารถให้ Thrombolytic agent ได้ใน 1 ปี และมีจํานวนผู้ป่วยมากขึ้นตาม ลําดับทุกปี
ระยะเวลารอการ ผ่าตัดหัวใจ
Better Service Safer ตายน้อยลง พิการน้อยลง ป่วยน้อยลง ผู้ป่วย STEMI เสียชีวิตเท่ากับหรือน้อย กว่า 10% ในปี 2557 หลอดเลือด อัตราตายจากโรคหลอด เลือดหัวใจ ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน
More Efficiency คุณภาพอื่นๆดีขึ้น ใช้ทรัพยากรน้อยลง,ต้นทุนต่อหน่วย ดีขึ้น, ใช้ร่วมกันไม่ซ้ําซ้อน Cath Lab
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 18สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
Service สาขา
เพิ่มทําอะไรได้ Accessibility Faster
2. มะเร็ง
- ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ได้มากกว่า 80% ในปี 3 ปี
3. อุบัติเหตุ
- ทุก รพ.ได้มาตรฐาน1,2,3 ตามที่ กําหนดใน 3-5 ปี
4. ทารกแรกเกิด
- มี NICU ตามเกณฑ์เพียงพอ
5. จิตเวช
- มีจิตเวชบริการทุกระดับตามมาตรฐาน ใน 5 ปี
- คิวระยะฉายแสง ลดลงกว่า 50% ใน 3 ปี
Better Service Safer
คุณภาพอื่นๆดีขึ้น
More Efficiency ใช้ทรัพยากรน้อยลง,ต้นทุนต่อหน่วยดีขึ้น, ใช้ร่วมกันไม่ซ้ําซ้อน
-สตรีไทยมีการตรวจ เต้านม จนสามารถพบมะเร็งระยะ 1-2 ≥ 60% ในปี 2557 และเพิ่มขึ้น ทุกปี -อัตราตายจากโรคมะเร็ง ตับไม่เกิน 15ต่อประชากร แสนคน -อัตราตายจากอุบัติเหตุ ทางถนนไม่เกิน 10 ต่อ ประชากรแสนคน - การตายในรพ.ที่มี การให้ PS (≥0.75) ตายน้อยกว่า 30% ใน 1-3 ปี ไม่มี refer ออก นอกเครือข่าย
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 19สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
Service สาขา
เพิ่มทําอะไรได้ Accessibility Faster
- มี CKD Clinic ตั้งแต่ระดับ M1 ขึ้นไป - ระยะเวลารอคอย เป็นอย่างน้อยใน 1 ปีและพัฒนาขึ้นตลอด Cataract (10/200) < 30 วัน - ระยะเวลารอคอย Cataract Low Vision (20/70) < 90 วัน - คิวการบริการ HD,CAPD มีบริการ อย่างไม่มีคิวใน 3 ปี 7. 5 สาขาหลัก - มีการกระจายการผ่าตัดผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ ออกจากรพศ.(A)ไปยังรพ.ในเครือข่ายที่ เครือข่ายเป็นผู้กําหนด มากกว่า 50% ใน 2 ปี
Better Service Safer
คุณภาพอื่นๆดีขึ้น
More Efficiency ใช้ทรัพยากรน้อยลง,ต้นทุนต่อหน่วยดีขึ้น, ใช้ร่วมกันไม่ซ้ําซ้อน
6. ตาและไต
- ลดอัตรามารดาตาย ไม่เกิน 18 ต่อแสนการเกิด มีชีพ ภายใน 5 ปี (ปัจจุบัน30/แสน การเกิดมีชีพ) - อัตราตายทารกไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพพันคน -ร้อยละของภาวะตกเลือด หลังคลอด ไม่เกิน 5 -ร้อยละของภาวะขาด ออกซิเจนระหว่าง คลอดไม่เกิน 5
CMIรายแผนกมีระ บบจัดการตามเป้า หมายเพื่อกระจาย ผู้ป่วยที่ไม่มีความ จําเป็นหรือส่งกลับ ไปรักษา รพ. เป้าหมาย
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 20สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
Service สาขา
เพิ่มทําอะไรได้ Accessibility Faster
8. ทันตกรรม
Better Service Safer
คุณภาพอื่นๆดีขึ้น
More Efficiency ใช้ทรัพยากรน้อยลง,ต้นทุนต่อหน่วยดีขึ้น, ใช้ร่วมกันไม่ซ้ําซ้อน
-มีการจัดบริการทันตสุขภาพโดย ทันตแพทย์และ/หรือทันตาภิบาล ใน ศสม.ทุกแห่ง ใน 1 ปี และพัฒนา ดีขึ้นตามลําดับใน รพ.สต. --มีบริการทันตสุขภาพเพียงพอและ เข้าถึงใน 3-5 ปี
9.บริการปฐมภูมิ - มี ศสม.ได้ครอบคลุมประชากรใน ทุติยภูมิและ เขตเมืองทั้งหมดตามมาตรฐานที่กําหนด สุขภาพองค์รวม - OP ใน รพ.ระดับ A,S,M1 อย่างน้อยไม่เพิ่มขึ้น ในปี 2556 และลดลง 30% ใน 5 ปี - สัดส่วนOPD ผู้ป่วยเรื้อรังดูแลใน รพ.สต./ ศสม. มากกว่า 50% ภายใน 3 ปี 10. NCD
มี CQI ในทุกระดับ ในตัวชี้วัดหลัก (ควบคุมน้ําตาล, ความดันได้ดีกว่าปี ที่ผ่านมาปีละ 5%)
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 21สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ตารางการวิเคราะห์ภาพรวม Service Plan รายสาขา กรอบแนวทางในเสนอแผนservice plan เครือข่ายบริการ...........สาขา.......................................................................... (A) ประเด็นปัญหา
ปัญหาโรค/ด้านระบบ บริการ/การจัดการ การกําหนดปัญหาต้อง สามารถอธิบายได้ว่ามี แหล่งข้อมูลในการวิเคราะห์ อย่างไร
(B) ขนาดของปัญหา /ความรุนแรง
(C) มาตรการหลัก/ ยุทธศาตร์ในการ แก้ปัญหา
ข้อมูลสนับสนุนของ ประเทศ ภาค เขต จังหวัด
(D) วิธีแก้ปัญหาด้านระบบบริการ (ให้หมด,หรือลดลง)/การจัดการแต่ ระดับ รพศ (A)
จะต้องประกอบด้วย 1.Prevention/ Screening 2.Diagnosis 3.Treatment 4.Rehabilitation ด้าน...............
รพท รพท รพช.แม่ (S) (M1) ข่าย(M2)
รพช. รพช. รพช (F1) (F2) (F3)
(E) เป้าหมาย
ศศม/ ระยะ ระยะ รพ. สั้น ยาว สต
(F) ตัวชี้วัด
(G) กลวิธีดําเนินการ
ระยะ ระยะ แต่ละระดับ สั้น ยาว เช่น 1.ตั้งกรรมการ 2. ประชุม 3.กําหนดยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 22สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
คําอธิบาย การกรอกตาราง กรอบแนวทางในเสนอแผน Service Plan 1. (A) ประเด็นปัญหา เป็นการตั้งประเด็นจาก 1.1 โรคหรือภาวะการเจ็บป่วย ที่ได้จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ร่วมกันในภาพรวมเครือข่าย ที่พบว่าเป็นเป็นปัญหาของแต่ละสาขา 1.2 ระบบบริการภายในเครือข่ายที่ทําไม่ได้หรือยังทําไม่ได้ดี ของแต่ละสาขา 1.3 ระบบการจัดการ ที่เครือข่ายเห็นว่าควรพัฒนาร่วมกัน เป็นการจัดการรายโรค หรือรายเรื่องที่มีความสําคัญ ของแต่ละสาขา 2. (B) ขนาดของปัญหา / ความรุนแรง เป็นการอธิบาย(A) มีตัวเลขสถิติเปรียบเทียบชี้ชัดประเด็นปัญหา 3. (C) มาตรการหลัก / ยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหา ให้ระบุมาตรการ หรือปัจจัยแห่งความสําเร็จในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 1.Prevention/ Screening 2.Diagnosis 3.Treatment 4.Rehabilitation ด้าน.............. 4. (D) วีธีแก้ปัญหา เป็นวิธีแก้ปัญหา แต่ละระดับของสถานบริการ ระบุแห่งไหนควรทําอะไรภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน เพื่อให้บริการเพียงพอ ไม่ซ้ําซ้อน ในเครือข่าย โดยคํานึงถึงเมื่อดําเนินการทั้งหมดแล้วสามารถแก้ปัญหา บรรลุเป้าหมาย(E)ได้ 5. (E) เป้าหมาย เป็นการตั้งเป้าหมาย โดยพิจารณาจากสถานการณ์ปัจจุบันของเครือข่าย(ฺB) และเป้าหมายภาพรวมของประเทศ แยกเป็นเป้าหมายระยะสั้น(1 ปี) และเป้าหมายระยะยาว (3-5ปี) 6. (F) ตัวชี้วัด สะท้อนค่าเป้าหมาย (E) อาจลงย่อยในรายกิจกรรมย่อย ที่เมื่อบรรลุตัวชี้วัดย่อยๆ แล้วสามารถ บรรลุเป้าหมายในภาพรวมได้
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 23สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
เอกสารการเสนอแผนพัฒนาระบบบริการ Service Plan ของแต่เครือข่าย ประกอบด้วย 1. ข้อมูลทั่วไป จังหวัด
1.1 ตาราง จํานวนประชากร, แพทย์ และจํานวนเตียง แยกรายจังหวัด จํานวน จํานวน อัตราส่วน จํานวน ประชากร แพทย์ (คน) ปชก/แพทย์ เตียง (คน)
เตียง : แสนประชากร
รวม 1.2 ข้อมูลหน่วยบริการรายจังหวัด จําแนกตามระดับหน่วยบริการ จังหวัด
ศูนย์ความเชี่ยวชาญ หัวใจและ หลอดเลือด
มะเร็ง
อุบัติเหตุ
ตติยภูมิ ทารก แรกเกิด
รพศ.
รพท.
ทุติยภูมิ
รพท. ขนาดเล็ก
แม่ ข่าย
ขนาด ใหญ่
ขนาด กลาง
ปฐมภูมิ ขนาด เล็ก
ศสม.
รพ.สต
รวม 1.3 ข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน อัตราครองเตียง Case Mix Index (CMI) จําแนกรายรพ. รายจังหวัด ลําดับ
โรงพยาบาล
ระดับ บริการ
จังหวัด
OP รวม (ครั้ง)
IP รวม Sum adj (ครั้ง) RW
CMI
อัตรา ครองเตียง
รวม 1.4 ข้อมูลการ Refer in /Refer out จําแนกราย รพ. จังหวัด
โรงพยาบาล
Refer in ๒๕๕4
๒๕๕5
Refer out ๒๕๕4
๒๕๕5
รวม 2. ปัญหาสุขภาพ/บริการ ที่สําคัญ ภาพรวมของเครือข่าย
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 24สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
3. แผนที่ Mapping 3.1 สถานบริการ ตัวอย่าง มุกดาหาร
ยโสธร
A
S
M1
M2
แบ่งเป น 3 แกน แกน 1 รพ.สรรพสิทธิประสงค์(กลาง) แกน 2 รพ.ศรีสะเกษ (w/S) แกน 3 รพ.มุกดาหาร (N)
อํานาจเจริญ
อุบลราชธานี
และพัฒนา รพ.ระหว่างทาง ให้มีศักยภาพสูง
ศรีสะเกษ
3.2 บริการรายสาขา ตัวอย่าง ความเชี-ยมโยงของระบบเครือข่ ายการให้ บริการผู้บาดเจ็บ ระบบการให้ บริการของสถานบริการ แต่ ละระดับ ( Service Plan )
ระบบ EMS.
ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ( ICS) เมื อเกิดสาธารณภัย
Emergency
ศู นย์ ความเชี-ยวชาญ ระดับสู งด้ านอุบัตเิ หตุ ( Excellence Center )
ระบบส่ งต่ อ ( Referral System )
การลําเลียง
5. ตาราง 3 Approach Service สาขา
ระดับบริการที่ 1,2,3 (หากมี) หรือระดับ A,S,M1,M2,F1-F3
วิธี Approach Main Activity ที่สําคัญ / จุด Attack
รายโรคที่สําคัญ
5. ตารางเป้าหมายการดําเนินการ Service Plan ของเครือข่าย 6. ตารางสรุปการดําเนินการรายเครือข่าย 7. ตาราง แผนงานกิจกรรม 8. แผนบริหารจัดการ , พบส. การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 25สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ภาคผนวก
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 26สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
( สําเนา ) คําสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 209 / ๒๕๕๕ เรื่อง การบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ ------------------------------------------------------------------ด้วยในปี งบประมาณ ๒๕๕๔ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้ดําเนินการจัดทํา แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) เพื่อตอบสนองแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงของสังคมและประชากร ตลอดจนความต้องการด้านสุขภาพของประเทศได้ทันท่วงที โดยมีกรอบการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในรูปแบบ เครือข่ายบริการแทนการขยายโรงพยาบาลเป็นรายแห่ง ภายใต้หลักการ “เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ” เชื่อมโยง บริการระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิเข้าด้วยกัน แต่ละเครือข่ายครอบคลุมสถานบริการภายใน ๔-๘ จังหวัด ดูแลประชากรประมาณ ๕ ล้านคน รวมทั้งสิ้น ๑๒ เครือข่าย และเพื่อให้ การดําเนินงานเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม และสร้างระบบบริหารจัดการที่มีเอกภาพ จึงให้ ๑. แบ่งพื้นที่รับผิดชอบของเครือข่ายบริการสุขภาพ ดังนี้ เครือข่าย ที่ ๑ รับผิดชอบ ๘ จังหวัด ดังนี้ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลําปาง และจังหวัดลําพูน เครือข่าย ที่ ๒ รับผิดชอบ ๕ จังหวัด ดังนี้ จังหวัดตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และ จังหวัดอุตรดิตถ์ เครือข่าย ที่ ๓ รับผิดชอบ ๕ จังหวัด ดังนี้ จังหวัดกําแพงเพชร ชัยนาท พิจิตร นครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี เครื อ ข่ า ย ที่ ๔ รั บ ผิ ด ชอบ ๘ จั ง หวั ด ดั ง นี้ จั ง หวั ด นครนายก นนทบุ รี ปทุ ม ธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง เครื อ ข่ า ย ที่ ๕ รั บ ผิ ด ชอบ ๘ จั ง หวั ด ดั ง นี้ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี นครปฐม เพชรบุ รี ประจวบคิรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และจังหวัดสุพรรณบุรี เครื อ ข่ า ย ที่ ๖ รั บ ผิ ด ชอบ ๘ จั งหวั ด ดั งนี้ จั ง หวั ด จั น ทบุ รี ฉะเชิ งเทรา ชลบุ รี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง สระแก้ว และจังหวัดสมุทรปราการ เครื อ ข่ า ย ที่ ๗ รั บ ผิ ด ชอบ ๔ จั ง หวั ด ดั ง นี้ จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ์ ขอนแก่ น มหาสารคาม และจังหวัดร้อยเอ็ด เครือข่าย ที่ ๘ รับผิดชอบ ๗ จังหวัด ดังนี้ จังหวัดนครพนม บึงกาฬ เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลําภู และจังหวัดอุดรธานี เครือข่าย ที่ ๙ รับผิดชอบ ๔ จังหวัด ดังนี้ จังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ เครือข่ายที่ ๑๐ รับผิดชอบ ๕ จังหวัด ดังนี้ จังหวัดมุกดาหาร ยโสธร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และจังหวัดอํานาจเจริญ เครือข่าย ที่ ๑๑ รับผิดชอบ ๗ จังหวัด ดังนี้ จังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง และจังหวัดสุราษฎร์ธานี เครือข่าย ที่ ๑๒ รับผิดชอบ ๗ จังหวัด ดังนี้ จังหวัดตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา และจังหวัดสตูล
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 27สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
๒. ให้มีคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเครือข่าย และคณะกรรมการ บริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับจังหวัด โดยองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ ควรมีส่วนร่วมจากหน่วย บริการภาครัฐทุกสังกัด ทําหน้าที่ดูแลระบบบริการ การจัดสรรทรัพยากร การเงินการคลัง การส่งต่อภายใน เครือข่าย ติดตาม ควบคุม กํากับ การดําเนินงานและแก้ไขปัญหา สนับสนุน การดําเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่กําหนด เป็นต้น เพื่อสร้างระบบบริหารจัดการที่มีเอกภาพ ให้มีหน่วยงานรับผิดชอบในการประสานการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเครือข่าย และมีหน่วยงานรับผิดชอบในการประสานการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับจังหวัด(สํานักงานเลขานุการ คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ) มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบหลักและประจํา ทําหน้าที่ ดังนี้ - จัดทําแผนพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ได้แก่ แผนพัฒนาโครงสร้างระบบ บริการ แผนสนับสนุนทรัพยากร แผนพัฒนาคุณภาพบริการ และแผนพัฒนาระบบส่งต่อ - วิเคราะห์ข้อมูล และจัดลําดับความสําคัญ โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารจัดการ เครือข่ายบริการสุขภาพ - สร้างฐานข้อมูลทรัพยากรของเครือข่าย โดยจัดทําข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และนําไปใช้ ประโยชน์อย่างจริงจัง เช่น ข้อมูลพื้นฐานบุคลากรของโรงพยาบาลทุกระดับ เป็นต้น - จัดทําสรุปผลการดําเนินงานประจําปี เพื่อเสนอต่อผู้บริหาร ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ (ลงชื่อ)
สําเนาถูกต้อง (นางสาววราภรณ์ อ่ําช้าง) นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ
ไพจิตร์ วราชิต (นายไพจิตร์ วราชิต) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อรวรรณ / คัด
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 28สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
รายชื่อโรงพยาบาล ที่มีการบริหารจัดการทรัพยากร แบบ รพศ. จํานวน 33 แห่ง (ประชุมจัดระดับ ณ วันที่ 1 กย.54 ชี้แจงวันที่ 22 กย.54)
ลําดับ เขต
จังหวัด
รายชื่อ รพ
1
1 นนทบุรี
รพท.พระนั่งเกล้า
2
1 พระนครศรีอยุธยา
รพศ.พระนครศรีอยุธยา
3
1 สระบุรี
รพศ.สระบุรี
4
3 ฉะเชิงเทรา
รพท.เมืองฉะเชิงเทรา
5
3 ปราจีนบุรี
รพศ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศร
6
3 สมุทรปราการ
รพท.สมุทรปราการ
7
4 นครปฐม
รพศ.นครปฐม
8
4 ราชบุรี
รพศ.ราชบุรี
9
4 สุพรรณบุรี
รพศ.เจ้าพระยายมราช
10
5 สมุทรสาคร
รพท.สมุทรสาคร
11 12
6 นครศรีธรรมราช
รพศ.มหาราชนครศรีธรรมราช
6 สุราษฎร์ธานี
รพศ.สุราษฎร์ธานี
13
7 ตรัง
รพศ.ตรัง
14
7 ภูเก็ต
รพท.วชิระภูเก็ต
15
8 ยะลา
รพศ.ยะลา
16
8 สงขลา
รพศ.หาดใหญ่
17
9 จันทบุรี
รพศ.พระปกเกล้า
18
9 ชลบุรี
รพศ.ชลบุรี
19
9 ระยอง
รพศ.ระยอง
20
10 อุดรธานี
รพศ.อุดรธานี
21
11 สกลนคร
รพท.สกลนคร
22
12 ขอนแก่น
รพศ.ขอนแก่น
23
12 ร้อยเอ็ด
รพท.ร้อยเอ็ด
24
13 อุบลราชธานี
รพศ.สรรพสิทธิประสงค์ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 29สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 25 14 นครราชสีมา
รายชื่อ รพ รพศ.มหาราชนครราชสีมา
26
14 บุรีรัมย์
รพศ.บุรีรัมย์
27
14 สุรินทร์
รพศ.สุรินทร์
28
15 เชียงใหม่
รพท.นครพิงค์
29
15 ลําปาง
รพศ.ลําปาง
30
16 เชียงราย
รพศ.เชียงรายประชานุเคราะห์
31
17 พิษณุโลก
รพศ.พุทธชินราช
32
17 อุตรดิตถ์
รพศ.อุตรดิตถ์
33
18 นครสวรรค์
รพศ.สวรรค์ประชารักษ์
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 30สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
รายชื่อโรงพยาบาล ที่มีการบริหารจัดการทรัพยากร แบบ รพท. จํานวน 48 แห่ง (ประชุมจัดระดับ ณ วันที่ 1 กย.54 ชี้แจงวันที่ 22 กย.54)
ลําดับ เขต
จังหวัด
รายชื่อ รพ
1
1 ปทุมธานี
รพท.ปทุมธานี
2
2 ชัยนาท
รพท.ชัยนาทนเรนทร
3
2 ลพบุรี
รพท.พระนารายณ์มหาราช
4
2 สิงห์บุรี
รพท.สิงห์บุรี
5
2 อ่างทอง
รพท.อ่างทอง
6
3 สระแก้ว
รพท.สมเด็จพระยุพราชสระแก้ว
7
4 กาญจนบุรี
รพท.พหลพลพยุหเสนา
8
4 ราชบุรี
รพท.บ้านโป่ง
9
5 ประจวบคีรีขันธ์
รพท.ประจวบคีรีขันธ์
10
5 ประจวบคีรีขันธ์
รพท.หัวหิน
11
5 เพชรบุรี
รพท.พระจอมเกล้า
12
5 สมุทรสงคราม
รพท.สมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
13
6 ชุมพร
รพท.ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
14 15
6 พัทลุง
รพท.พัทลุง
7 กระบี่
รพท.กระบี่
16
7 พังงา
รพท.พังงา
17 18
7 ระนอง
รพท.ระนอง
8 นราธิวาส
รพท.นราธิวาสราชนครินทร์
19
8 ปัตตานี
รพท.ปัตตานี
20
8 สงขลา
รพท.สงขลา
21
8 สตูล
รพท.สตูล
22
9 ชลบุรี
รพช.บางละมุง
23
9 ตราด
รพท.ตราด
24
10 บึงกาฬ
รพช.บึงกาฬ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 31สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 25 10 เลย
รายชื่อ รพ รพท.เลย
26
10 หนองคาย
รพท.หนองคาย
27
10 หนองบัวลําภู
รพท.หนองบัวลําภู
28
11 นครพนม
รพท.นครพนม
29
11 มุกดาหาร
รพท.มุกดาหาร
30
12 กาฬสินธุ์
รพท.กาฬสินธุ์
31
12 มหาสารคาม
รพท.มหาสารคาม
32
13 ยโสธร
รพท.ยโสธร
33
13 ศรีสะเกษ
รพท.ศรีสะเกษ
34
13 อํานาจเจริญ
รพท.อํานาจเจริญ
35
13 อุบลราชธานี
รพช.50พรรษามหาวชิราลงกรณ
36
14 ชัยภูมิ
รพท.ชัยภูมิ
37
15 แม่ฮ่องสอน
รพท.ศรีสังวาลย์
38
15 ลําพูน
รพท.ลําพูน
39
16 น่าน
รพท.น่าน
40
16 พะเยา
รพท.พะเยา
41
16 แพร่
รพท.แพร่
42
17 ตาก
รพท.แม่สอด
43
17 ตาก
รพท.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
44
17 เพชรบูรณ์
รพท.เพชรบูรณ์
45
17 สุโขทัย
รพท.สุโขทัย
46
18 กําแพงเพชร
รพท.กําแพงเพชร
47
18 พิจิตร
รพท.พิจิตร
48
18 อุทัยธานี
รพท.อุทัยธานี
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 32สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
รายชื่อโรงพยาบาล ที่มีการบริหารจัดการทรัพยากร แบบ รพท. ขนาดเล็ก จํานวน 35 แห่ง (ประชุมจัดระดับ ณ วันที่ 1 กย.54 ชี้แจงวันที่ 22 กย.54)
ลําดับ เขต
จังหวัด
รายชื่อ รพ
1
1
พระนครศรีอยุธยา
รพท.เสนา
2
1
สระบุรี
รพท.พระพุทธบาท
3
2
ลพบุรี
รพท.บ้านหมี่
4
2
สิงห์บุรี
รพท.อินทร์บุรี
5
3
นครนายก
รพท.นครนายก
6
3
ปราจีนบุรี
รพช.กบินทร์บุรี
7
3
สมุทรปราการ
รพช.บางพลี
8
3
สระแก้ว
รพช.อรัญประเทศ
9 10
4
กาญจนบุรี
รพท.มะการักษ์
4
ราชบุรี
รพท.โพธาราม
11
4
ราชบุรี
รพท.ดําเนินสะดวก
12 13
4
สุพรรณบุรี
รพท.สมเด็จพระสังฆราชองค์ท1ี่ 7
5
สมุทรสาคร
รพช.กระทุ่มแบน
14
6
นครศรีธรรมราช
รพช.ทุ่งสง
15
6
นครศรีธรรมราช
รพช.สิชล
16
6
สุราษฎร์ธานี
รพท.เกาะสมุย
17
7
พังงา
รพท.ตะกั่วป่า
18 19
8
นราธิวาส
รพท.สุไหงโก-ลก
8
ยะลา
รพท.เบตง
20
9
ระยอง
รพช.แกลง
21
9 ระยอง
รพช.มาบตาพุด
22
10 อุดรธานี
รพช.กุมภวาปี
23
11 สกลนคร
รพร.สว่างแดนดิน
24
12 ขอนแก่น
รพช.ชุมแพ
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 33สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 25 12 ขอนแก่น
รายชื่อ รพ รพท.สิรินธรจังหวัดขอนแก่น
26 27
13 อุบลราชธานี
รพช.วารินชําราบ
13 อุบลราชธานี
รพร.เดชอุดม
28
14 นครราชสีมา
รพช.ปากช่องนานา
29
14 นครราชสีมา
รพช.นครราชสีมา
30
14 บุรีรัมย์
รพช.นางรอง
31
14 สุรินทร์
รพช.ปราสาท
32
15 เชียงใหม่
รพช.จอมทอง
33
15 เชียงใหม่
รพช.ฝาง
34
16 พะเยา
รพท.เชียงคํา
35
17 สุโขทัย
รพท.ศรีสังวรสุโขทัย
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 34สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
รายชื่อโรงพยาบาล ที่มีการบริหารจัดการทรัพยากร แบบ รพช. (แม่ข่าย) จํานวน 91 แห่ง (ประชุมจัดระดับ ณ วันที่ 1 กย.54 ชี้แจงวันที่ 22 กย.54)
ลําดับ เขต
จังหวัด
รายชื่อ รพ
1 2
1 นนทบุรี
รพช.บางใหญ่
1 นนทบุรี
รพช.บางบัวทอง
3
1 ปทุมธานี
รพช.ธัญบุรี
4
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.บางปะอิน
5
2 ลพบุรี
รพช.โคกสําโรง
6 7
2 ลพบุรี
รพช.ชัยบาดาล
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.พนมสารคาม
8
3 สมุทรปราการ
รพช.บางบ่อ
9
4 กาญจนบุรี
รพช.ทองผาภูมิ
10
4 กาญจนบุรี
รพช.ท่าม่วง
11
4 นครปฐม
รพช.สามพราน
12
4 สุพรรณบุรี
รพช.อู่ทอง
13
5 ประจวบคีรีขันธ์
รพช.บางสะพาน
14
5 เพชรบุรี
รพช.ชะอํา
15
6 ชุมพร
รพช.หลังสวน
16
6 นครศรีธรรมราช
รพร.ฉวาง
17
6 นครศรีธรรมราช
รพช.ท่าศาลา
18
6 นครศรีธรรมราช
รพช.ปากพนัง
19
6 พัทลุง
รพช.ควนขนุน
20
6 สุราษฎร์ธานี
รพร.เวียงสระ
21
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.กาญจนดิษฐ์
22
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.ไชยา
23
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.บ้านนาสาร
24
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.ท่าโรงช้าง
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 35สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 25 7 ตรัง
รายชื่อ รพ รพช.ห้วยยอด
26
7 ภูเก็ต
รพช.ป่าตอง
27
8 ปัตตานี
รพร.สายบุรี
28 29
8 สงขลา
รพช.สมเด็จพระบรมราชินีนาถณอําเภอนาทวี
9 ชลบุรี
รพช.อ่าวอุดม
30
9 ชลบุรี
รพช.บ้านบึง
31
9 ชลบุรี
รพช.พนัสนิคม
32
10 เลย
รพร.ด่านซ้าย
33
10 หนองคาย
รพร.ท่าบ่อ
34
10 อุดรธานี
รพช.บ้านผือ
35 36
10 อุดรธานี
รพช.หนองหาน
11 นครพนม
รพร.ธาตุพนม
37
11 สกลนคร
รพช.วานรนิวาส
38
12 กาฬสินธุ์
รพช.สมเด็จ
39
12 กาฬสินธุ์
รพช.ยางตลาด
40
12 กาฬสินธุ์
รพร.กุฉินารายณ์
41
12 ขอนแก่น
รพช.บ้านไผ่
42
12 ขอนแก่น
รพช.พล
43
12 ขอนแก่น
รพร.กระนวน
44
12 มหาสารคาม
รพช.บรบือ
45
12 มหาสารคาม
รพช.พยัคฆภูมิพิสัย
46
12 ร้อยเอ็ด
รพช.โพนทอง
47
12 ร้อยเอ็ด
รพช.สุวรรณภูมิ
48
12 ร้อยเอ็ด
รพช.เสลภูมิ
49
12 ร้อยเอ็ด
รพช.เกษตรวิสัย
50
13 ศรีสะเกษ
รพช.กันทรลักษ์
51
13 ศรีสะเกษ
รพช.ขุขันธ์
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 36สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 52 13 ศรีสะเกษ
รายชื่อ รพ รพช.อุทุมพรพิสัย
53
13 อุบลราชธานี
รพช.ตระการพืชผล
54
13 อุบลราชธานี
รพช.พิบูลมังสาหาร
55
14 ชัยภูมิ
รพช.ภูเขียว
56
14 ชัยภูมิ
รพช.แก้งคร้อ
57
14 ชัยภูมิ
รพช.หนองบัวแดง
58 59
14 นครราชสีมา
รพช.พิมาย
14 นครราชสีมา
รพช.โชคชัย
60 61
14 นครราชสีมา
รพช.ครบุรี
14 นครราชสีมา
รพช.ด่านขุนทด
62
14 นครราชสีมา
รพช.บัวใหญ่
63
14 บุรีรัมย์
รพช.ลําปลายมาศ
64
14 บุรีรัมย์
รพช.ประโคนชัย
65
14 บุรีรัมย์
รพช.สตึก
66
14 สุรินทร์
รพช.รัตนบุรี
67
14 สุรินทร์
รพช.ศีขรภูมิ
68
14 สุรินทร์
รพช.สังขะ
69
15 เชียงใหม่
รพช.สันป่าตอง
70
15 เชียงใหม่
รพช.สันทราย
71
15 เชียงใหม่
รพช.หางดง
72
15 แม่ฮ่องสอน
รพช.แม่สะเรียง
73
15 แม่ฮ่องสอน
รพช.ปาย
74
15 ลําปาง
รพช.เกาะคา
75
15 ลําปาง
รพช.เถิน
76
15 ลําพูน
รพช.ลี้
77
16 เชียงราย
รพช.แม่จัน
78
16 เชียงราย
รพช.แม่สาย การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 37สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 79 16 น่าน
รายชื่อ รพ รพร.ปัว
80
17 ตาก
รพช.อุ้มผาง
81
17 ตาก
รพช.ท่าสองยาง
82
17 พิษณุโลก
รพร.นครไทย
83
17 เพชรบูรณ์
รพช.หล่มสัก
84
17 เพชรบูรณ์
รพช.วิเชียรบุรี
85
17 สุโขทัย
รพช.สวรรคโลก
86
18 กําแพงเพชร
รพช.ขาณุวรลักษบุรี
87
18 นครสวรรค์
รพช.ชุมแสง
88
18 นครสวรรค์
รพช.ตาคลี
89
18 นครสวรรค์
รพช.ลาดยาว
90
18 พิจิตร
รพช.บางมูลนาก
91
18 พิจิตร
รพร.ตะพานหิน
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 38สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
รายชื่อโรงพยาบาล ที่มีการบริหารจัดการทรัพยากร แบบ รพช. (ขนาดใหญ่) จํานวน 73 แห่ง (ประชุมจัดระดับ ณ วันที่ 1 กย.54 ชี้แจงวันที่ 22 กย.54)
ลําดับ เขต
จังหวัด
รายชื่อ รพ
1
1 นนทบุรี
รพช.บางกรวย
2
1 นนทบุรี
รพช.ปากเกร็ด
3
2 อ่างทอง
รพช.วิเศษชัยชาญ
4
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.สนามชัยเขต
5
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.บางน้ําเปรี้ยว
6
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.บางปะกง
7
3 สมุทรปราการ
รพช.บางจาก
8
4 กาญจนบุรี
รพช.บ่อพลอย
9
4 นครปฐม
รพช.กําแพงแสน
10
4 นครปฐม
รพช.บางเลน
11
4 ราชบุรี
รพร.จอมบึง
12
4 สุพรรณบุรี
รพช.ด่านช้าง
13
5 เพชรบุรี
รพช.ท่ายาง
14
5 สมุทรสงคราม
รพช.นภาลัย
15
6 นครศรีธรรมราช
รพช.ทุ่งใหญ่
16
6 นครศรีธรรมราช
รพช.เชียรใหญ่
17
6 นครศรีธรรมราช
รพช.ชะอวด
18
6 นครศรีธรรมราช
รพช.ร่อนพิบูลย์
19
6 พัทลุง
รพช.ตะโหมด
20
7 ตรัง
รพช.ย่านตาขาว
21
7 ภูเก็ต
รพช.ถลาง
22
8 นราธิวาส
รพช.ตากใบ
23
8 นราธิวาส
รพช.ระแงะ
24
8 ปัตตานี
รพช.โคกโพธิ์
25
8 ยะลา
รพช.รามัน
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 39สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 26 8 ยะลา
รายชื่อ รพ รพร.ยะหา
27
8 สงขลา
รพช.ระโนด
28
8 สตูล
รพช.ละงู
29
9 จันทบุรี
รพช.ขลุง
30
9 จันทบุรี
รพช.มะขาม
31
9 จันทบุรี
รพช.สอยดาว
32
9 จันทบุรี
รพช.นายายอาม
33
9 ชลบุรี
รพช.สัตหีบ
34
9 ชลบุรี
รพช.พานทอง
35
9 ระยอง
รพช.บ้านฉาง
36
10 บึงกาฬ
รพช.เซกา
37
10 หนองคาย
รพช.โพนพิสัย
38
10 หนองบัวลําภู
รพช.ศรีบุญเรือง
39
10 อุดรธานี
รพช.เพ็ญ
40
10 อุดรธานี
รพร.บ้านดุง
41
11 นครพนม
รพช.ศรีสงคราม
42
11 สกลนคร
รพช.พังโคน
43
12 กาฬสินธุ์
รพช.กมลาไสย
44
12 ขอนแก่น
รพช.น้ําพอง
45
12 มหาสารคาม
รพช.โกสุมพิสัย
46
12 มหาสารคาม
รพช.วาปีปทุม
47
12 ร้อยเอ็ด
รพช.พนมไพร
48
13 ยโสธร
รพร.เลิงนกทา
49
13 ศรีสะเกษ
รพช.ขุนหาญ
50
13 ศรีสะเกษ
รพช.ราษีไศล
51
14 ชัยภูมิ
รพช.บําเหน็จณรงค์
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 40สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 52 14 ชัยภูมิ
รายชื่อ รพ รพช.จัตุรัส
53
14 นครราชสีมา
รพช.ชุมพวง
54
14 นครราชสีมา
รพช.ประทาย
55
14 นครราชสีมา
รพช.ปักธงชัย
56
14 นครราชสีมา
รพช.สีคิ้ว
57
14 นครราชสีมา
รพช.สูงเนิน
58
14 นครราชสีมา
รพช.จักราช
59
14 บุรีรัมย์
รพช.ละหานทราย
60
14 บุรีรัมย์
รพช.พุทไธสง
61
14 สุรินทร์
รพช.ท่าตูม
62
15 เชียงใหม่
รพช.เชียงดาว
63
16 เชียงราย
รพช.เทิง
64
16 เชียงราย
รพช.พาน
65
16 เชียงราย
รพร.เชียงของ
66
16 เชียงราย
รพช.เวียงป่าเป้า
67
16 แพร่
รพร.เด่นชัย
68
17 เพชรบูรณ์
รพช.หนองไผ่
69
17 เพชรบูรณ์
รพร.หล่มเก่า
70
17 อุตรดิตถ์
รพช.น้ําปาด
71
18 กําแพงเพชร
รพช.คลองขลุง
72
18 นครสวรรค์
รพช.ท่าตะโก
73
18 อุทัยธานี
รพช.หนองฉาง
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 41สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
รายชื่อโรงพยาบาล ที่มีการบริหารจัดการทรัพยากร แบบ รพช. จํานวน 518 แห่ง (ประชุมจัดระดับ ณ วันที่ 1 กย.54 ชี้แจงวันที่ 22 กย.54)
ลําดับ เขต
จังหวัด
รายชื่อ รพ
1
1 นนทบุรี
รพช.ไทรน้อย
2
1 ปทุมธานี
รพช.คลองหลวง
3
1 ปทุมธานี
รพช.ประชาธิปัตย์ อําเภอธัญบุรี
4
1 ปทุมธานี
รพช.หนองเสือ
5
1 ปทุมธานี
รพช.ลาดหลุมแก้ว
6
1 ปทุมธานี
รพช.ลําลูกกา
7
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.บางไทร
8
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.ผักไห่
9
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.ลาดบัวหลวง
10
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.ท่าเรือ
11
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.สมเด็จพระสังฆราช(วาสนมหาเถระ)นครหลวง
12
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.บางบาล
13
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.บางปะหัน
14
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.ภาชี
15
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.วังน้อย
16
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.อุทัย
17
1 สระบุรี
รพช.บ้านหมอ
18
1 สระบุรี
รพช.วังม่วงสัทธรรม
19
1 สระบุรี
รพช.แก่งคอย
20
1 สระบุรี
รพช.หนองแค
21
1 สระบุรี
รพช.วิหารแดง
22
1 สระบุรี
รพช.หนองแซง
23
1 สระบุรี
รพช.เสาไห้
24
1 สระบุรี
รพช.มวกเหล็ก
25
2 ชัยนาท
รพช.มโนรมย์
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 42สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 26 2 ชัยนาท
รายชื่อ รพ รพช.วัดสิงห์
27
2 ชัยนาท
รพช.สรรพยา
28
2 ชัยนาท
รพช.สรรคบุรี
29
2 ชัยนาท
รพช.หันคา
30
2 ลพบุรี
รพช.ท่าหลวง
31
2 ลพบุรี
รพช.ลําสนธิ
32
2 ลพบุรี
รพช.หนองม่วง
33
2 ลพบุรี
รพช.ท่าวุ้ง
34
2 ลพบุรี
รพช.พัฒนานิคม
35
2 สิงห์บุรี
รพช.บางระจัน
36
2 สิงห์บุรี
รพช.ค่ายบางระจัน
37
2 สิงห์บุรี
รพช.ท่าช้าง
38
2 อ่างทอง
รพช.ไชโย
39
2 อ่างทอง
รพช.ป่าโมก
40
2 อ่างทอง
รพช.โพธิ์ทอง
41
2 อ่างทอง
รพช.แสวงหา
42
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.ท่าตะเกียบ
43
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.บางคล้า
44
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.บ้านโพธิ์
45
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.แปลงยาว
46
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.ราชสาส์น
47
3 นครนายก
รพช.องครักษ์
48
3 นครนายก
รพช.บ้านนา
49
3 ปราจีนบุรี
รพช.นาดี
50
3 ปราจีนบุรี
รพช.บ้านสร้าง
51
3 ปราจีนบุรี
รพช.ประจันตคาม
52
3 ปราจีนบุรี
รพช.ศรีมหาโพธิ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 43สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 53 3 ปราจีนบุรี
รายชื่อ รพ รพช.ศรีมโหสถ
54
3 สมุทรปราการ
รพช.พระสมุทรเจดีย์สวาทยานนท์
55
3 สระแก้ว
รพช.ตาพระยา
56
3 สระแก้ว
รพช.คลองหาด
57
3 สระแก้ว
รพช.วังน้ําเย็น
58
3 สระแก้ว
รพช.วัฒนานคร
59
3 สระแก้ว
รพช.เขาฉกรรจ์
60
4 กาญจนบุรี
รพช.สมเด็จพระปิยมหาราชรมณียเขต
61
4 กาญจนบุรี
รพช.สังขละบุรี
62
4 กาญจนบุรี
รพช.เลาขวัญ
63
4 กาญจนบุรี
รพช.พยาบาลสถานพระบารมี
64
4 กาญจนบุรี
รพช.ไทรโยค
65
4 กาญจนบุรี
รพช.ท่ากระดาน
66
4 กาญจนบุรี
รพช.เจ้าคุณไพบูลย์พนมทวน
67
4 กาญจนบุรี
รพช.ด่านมะขามเตี้ย
68
4 กาญจนบุรี
รพช.ห้วยกระเจา
69
4 นครปฐม
รพช.นครชัยศรี
70
4 นครปฐม
รพช.ห้วยพลู
71
4 นครปฐม
รพช.ดอนตูม
72
4 นครปฐม
รพช.หลวงพ่อเปิ่น
73
4 นครปฐม
รพช.พุทธมณฑล
74
4 ราชบุรี
รพช.บางแพ
75
4 ราชบุรี
รพช.เจ็ดเสมียน
76
4 ราชบุรี
รพช.สวนผึ้ง
77
4 ราชบุรี
รพช.ปากท่อ
78
4 ราชบุรี
รพช.วัดเพลง
79
4 สุพรรณบุรี
รพช.เดิมบางนางบวช
80
4 สุพรรณบุรี
รพช.บางปลาม้า การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 44สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 81 4 สุพรรณบุรี
รายชื่อ รพ รพช.ศรีประจันต์
82
4 สุพรรณบุรี
รพช.ดอนเจดีย์
83
4 สุพรรณบุรี
รพช.สามชุก
84
4 สุพรรณบุรี
รพช.หนองหญ้าไซ
85
5 ประจวบคีรีขันธ์
รพช.บางสะพานน้อย
86
5 ประจวบคีรีขันธ์
รพช.กุยบุรี
87
5 ประจวบคีรีขันธ์
รพช.ทับสะแก
88
5 ประจวบคีรีขันธ์
รพช.ปราณบุรี
89
5 ประจวบคีรีขันธ์
รพช.สามร้อยยอด
90
5 เพชรบุรี
รพช.บ้านลาด
91
5 เพชรบุรี
รพช.แก่งกระจาน
92
5 เพชรบุรี
รพช.เขาย้อย
93
5 เพชรบุรี
รพช.หนองหญ้าปล้อง
94
5 เพชรบุรี
รพช.บ้านแหลม
95
5 สมุทรสงคราม
รพช.อัมพวา
96
6 ชุมพร
รพช.ท่าแซะ
97
6 ชุมพร
รพช.ปะทิว
98
6 ชุมพร
รพช.ละแม
99
6 ชุมพร
รพช.พะโต๊ะ
100
6 ชุมพร
รพช.สวี
101
6 นครศรีธรรมราช
รพช.พิปูน
102
6 นครศรีธรรมราช
รพช.นาบอน
103
6 นครศรีธรรมราช
รพช.บางขัน
104
6 นครศรีธรรมราช
รพช.พรหมคีรี
105
6 นครศรีธรรมราช
รพช.ลานสกา
106
6 นครศรีธรรมราช
รพช.ขนอม
107
6 นครศรีธรรมราช
รพช.จุฬาภรณ์
108
6 นครศรีธรรมราช
รพช.หัวไทร การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 45สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 109 6 พัทลุง
รายชื่อ รพ รพช.กงหรา
110
6 พัทลุง
รพช.เขาชัยสน
111
6 พัทลุง
รพช.ปากพะยูน
112
6 พัทลุง
รพช.ศรีบรรพต
113
6 พัทลุง
รพช.ป่าบอน
114
6 พัทลุง
รพช.บางแก้ว
115
6 พัทลุง
รพช.ป่าพะยอม
116
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.พนม
117
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.พระแสง
118
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.ชัยบุรี
119
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.ดอนสัก
120
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.เกาะพะงัน
121
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.ท่าชนะ
122
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.คีรีรัฐนิคม
123
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.ท่าฉาง
124
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.บ้านนาเดิม
125
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.เคียนซา
126
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.พุนพิน
127
6 สุราษฎร์ธานี
รพช.วิภาวดี
128
7 กระบี่
รพช.คลองท่อม
129
7 กระบี่
รพช.ลําทับ
130
7 กระบี่
รพช.เหนือคลอง
131
7 กระบี่
รพช.เขาพนม
132
7 กระบี่
รพช.อ่าวลึก
133
7 กระบี่
รพช.ปลายพระยา
134
7 ตรัง
รพช.กันตัง
135
7 ตรัง
รพช.ปะเหลียน
136
7 ตรัง
รพช.วังวิเศษ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 46สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 137 7 ตรัง
รายชื่อ รพ รพช.รัษฎา
138
7 ตรัง
รพช.สิเกา
139
7 ตรัง
รพช.นาโยง
140
7 พังงา
รพช.กะปงชัยพัฒน์
141
7 พังงา
รพช.คุระบุรีชัยพัฒน์
142
7 พังงา
รพช.ท้ายเหมืองชัยพัฒน์
143
7 พังงา
รพช.ตะกั่วทุ่ง
144
7 พังงา
รพช.ทับปุด
145
7 พังงา
รพช.เกาะยาวชัยพัฒน์
146
7 ระนอง
รพช.กะเปอร์
147
7 ระนอง
รพช.กระบุรี
148
8 นราธิวาส
รพช.รือเสาะ
149
8 นราธิวาส
รพช.บาเจาะ
150
8 นราธิวาส
รพช.ศรีสาคร
151
8 นราธิวาส
รพช.แว้ง
152
8 นราธิวาส
รพช.สุคิริน
153
8 นราธิวาส
รพช.สุไหงปาดี
154
8 นราธิวาส
รพช.จะแนะ
155
8 นราธิวาส
รพช.เจาะไอร้อง
156
8 นราธิวาส
รพช.ยี่งอเฉลิมพระเกียรติ80พรรษา
157
8 ปัตตานี
รพช.หนองจิก
158
8 ปัตตานี
รพช.ปะนาเระ
159
8 ปัตตานี
รพช.มายอ
160
8 ปัตตานี
รพช.ทุ่งยางแดง
161
8 ปัตตานี
รพช.ยะหริ่ง
162
8 ปัตตานี
รพช.ยะรัง
163
8 ปัตตานี
รพช.ไม้แก่น
164
8 ปัตตานี
รพช.แม่ลาน การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 47สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 165 8 ปัตตานี
รายชื่อ รพ รพช.กะพ้อ
166
8 ยะลา
รพช.กาบัง
167
8 ยะลา
รพช.กรงปินัง
168
8 ยะลา
รพช.บันนังสตา
169
8 ยะลา
รพช.ธารโต
170
8 สงขลา
รพช.เทพา
171
8 สงขลา
รพช.จะนะ
172
8 สงขลา
รพช.สะบ้าย้อย
173
8 สงขลา
รพช.สทิงพระ
174
8 สงขลา
รพช.กระแสสินธุ์
175
8 สงขลา
รพช.รัตภูมิ
176
8 สงขลา
รพช.สะเดา
177
8 สงขลา
รพช.นาหม่อม
178
8 สงขลา
รพช.ควนเนียง
179
8 สงขลา
รพช.ปาดังเบซาร์
180
8 สงขลา
รพช.บางกล่ํา
181
8 สงขลา
รพช.สิงหนคร
182
8 สงขลา
รพช.คลองหอยโข่ง
183
8 สตูล
รพช.ควนโดน
184
8 สตูล
รพช.ควนกาหลง
185
8 สตูล
รพช.ท่าแพ
186
8 สตูล
รพช.ทุ่งหว้า
187
9 จันทบุรี
รพช.ท่าใหม่
188
9 จันทบุรี
รพช.เขาสุกิม
189
9 จันทบุรี
รพช.สองพี่น้อง
190
9 จันทบุรี
รพช.โป่งน้ําร้อน
191
9 จันทบุรี
รพช.แหลมสิงห์ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 48สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 192 9 จันทบุรี
รายชื่อ รพ รพช.แก่งหางแมว
193
9 จันทบุรี
รพช.เขาคิชฌกูฏ
194
9 ชลบุรี
รพช.เกาะสีชัง
195
9 ชลบุรี
รพช.วัดญาณสังวราราม
196
9 ชลบุรี
รพช.หนองใหญ่
197
9 ชลบุรี
รพช.บ่อทอง
198
9 ตราด
รพช.คลองใหญ่
199
9 ตราด
รพช.เขาสมิง
200
9 ตราด
รพช.บ่อไร่
201
9 ตราด
รพช.แหลมงอบ
202
9 ตราด
รพช.เกาะช้าง
203
9 ระยอง
รพช.วังจันทร์
204
9 ระยอง
รพช.บ้านค่าย
205
9 ระยอง
รพช.ปลวกแดง
206
9 ระยอง
รพช.เขาชะเมาเฉลิมพระเกียรติ80พรรษา
207
9 ระยอง
รพช.นิคมพัฒนา
208 10 บึงกาฬ
รพช.บึงโขงหลง
209 10 บึงกาฬ
รพช.ศรีวิไล
210 10 บึงกาฬ
รพช.พรเจริญ
211 10 บึงกาฬ
รพช.โซ่พิสัย
212 10 บึงกาฬ
รพช.ปากคาด
213 10 เลย
รพช.นาแห้ว
214 10 เลย
รพช.นาด้วง
215 10 เลย
รพช.เชียงคาน
216 10 เลย
รพช.ปากชม
217 10 เลย
รพช.ภูเรือ
218 10 เลย
รพช.ท่าลี่
219 10 เลย
รพช.เอราวัณ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 49สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 220 10 เลย
รายชื่อ รพ รพช.ภูกระดึง
221 10 เลย
รพช.วังสะพุง
222 10 เลย
รพช.ภูหลวง
223 10 เลย
รพช.ผาขาว
224 10 หนองคาย
รพช.ศรีเชียงใหม่
225 10 หนองคาย
รพช.สังคม
226 10 หนองบัวลําภู
รพช.โนนสัง
227 10 หนองบัวลําภู
รพช.สุวรรณคูหา
228 10 หนองบัวลําภู
รพช.นากลาง
229 10 หนองบัวลําภู
รพช.นาวังเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
230 10 อุดรธานี
รพช.หนองแสง
231 10 อุดรธานี
รพช.โนนสะอาด
232 10 อุดรธานี
รพช.ศรีธาตุ
233 10 อุดรธานี
รพช.วังสามหมอ
234 10 อุดรธานี
รพช.สร้างคอม
235 10 อุดรธานี
รพช.น้ําโสม
236 10 อุดรธานี
รพช.นายูง
237 10 อุดรธานี
รพช.พิบูลย์รักษ์
238 10 อุดรธานี
รพช.ไชยวาน
239 10 อุดรธานี
รพช.ทุ่งฝน
240 10 อุดรธานี
รพช.กุดจับ
241 10 อุดรธานี
รพช.หนองวัวซอ
242 11 นครพนม
รพช.ปลาปาก
243 11 นครพนม
รพช.ท่าอุเทน
244 11 นครพนม
รพช.โพนสวรรค์
245 11 นครพนม
รพช.เรณูนคร
246 11 นครพนม
รพช.บ้านแพง การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 50สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 247 11 นครพนม
รายชื่อ รพ รพช.นาทม
248 11 นครพนม
รพช.นาหว้า
249 11 นครพนม
รพช.นาแก
250 11 มุกดาหาร
รพช.นิคมคําสร้อย
251 11 มุกดาหาร
รพช.ดอนตาล
252 11 มุกดาหาร
รพช.ดงหลวง
253 11 มุกดาหาร
รพช.คําชะอี
254 11 มุกดาหาร
รพช.หว้านใหญ่
255 11 มุกดาหาร
รพช.หนองสูง
256 11 สกลนคร
รพช.คําตากล้า
257 11 สกลนคร
รพช.อากาศอํานวย
258 11 สกลนคร
รพช.พระอาจารย์ฝั้นอาจาโร(พรรณานิคม)
259 11 สกลนคร
รพช.กุสุมาลย์
260 11 สกลนคร
รพช.กุดบาก
261 11 สกลนคร
รพช.เต่างอย
262 11 สกลนคร
รพช.โคกศรีสุพรรณ
263 11 สกลนคร
รพช.โพนนาแก้ว
264 11 สกลนคร
รพช.วาริชภูมิ
265 11 สกลนคร
รพช.บ้านม่วง
266 11 สกลนคร
รพช.พระอาจารย์แบนธนากโร
267 11 สกลนคร
รพช.ส่องดาว
268 11 สกลนคร
รพช.เจริญศิลป์
269 12 กาฬสินธุ์
รพช.ห้วยผึ้ง
270 12 กาฬสินธุ์
รพช.คําม่วง
271 12 กาฬสินธุ์
รพช.นามน
272 12 กาฬสินธุ์
รพช.สหัสขันธ์
273 12 กาฬสินธุ์
รพช.หนองกุงศรี
274 12 กาฬสินธุ์
รพช.ร่องคํา การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 51สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 275 12 กาฬสินธุ์
รายชื่อ รพ รพช.ห้วยเม็ก
276 12 กาฬสินธุ์
รพช.เขาวง
277 12 กาฬสินธุ์
รพช.ท่าคันโท
278 12 ขอนแก่น
รพช.สีชมพู
279 12 ขอนแก่น
รพช.ภูผาม่าน
280 12 ขอนแก่น
รพช.เปือยน้อย
281 12 ขอนแก่น
รพช.ชนบท
282 12 ขอนแก่น
รพช.แวงใหญ่
283 12 ขอนแก่น
รพช.แวงน้อย
284 12 ขอนแก่น
รพช.หนองสองห้อง
285 12 ขอนแก่น
รพช.เขาสวนกวาง
286 12 ขอนแก่น
รพช.อุบลรัตน์
287 12 ขอนแก่น
รพช.ซําสูง
288 12 ขอนแก่น
รพช.บ้านฝาง
289 12 ขอนแก่น
รพช.พระยืน
290 12 ขอนแก่น
รพช.หนองเรือ
291 12 ขอนแก่น
รพช.ภูเวียง
292 12 ขอนแก่น
รพช.มัญจาคีรี
293 12 มหาสารคาม
รพช.นาเชือก
294 12 มหาสารคาม
รพช.นาดูน
295 12 มหาสารคาม
รพช.ยางสีสุราช
296 12 มหาสารคาม
รพช.แกดํา
297 12 มหาสารคาม
รพช.กันทรวิชัย
298 12 มหาสารคาม
รพช.เชียงยืน
299 12 ร้อยเอ็ด
รพช.ปทุมรัตต์
300 12 ร้อยเอ็ด
รพช.โพธิ์ชัย
301 12 ร้อยเอ็ด
รพช.หนองพอก การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 52สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 302 12 ร้อยเอ็ด
รายชื่อ รพ รพช.เมยวดี
303 12 ร้อยเอ็ด
รพช.โพนทราย
304 12 ร้อยเอ็ด
รพช.จัตุรพัตรพิมาน
305 12 ร้อยเอ็ด
รพช.ธวัชบุรี
306 12 ร้อยเอ็ด
รพช.เมืองสรวง
307 12 ร้อยเอ็ด
รพช.อาจสามารถ
308 12 ร้อยเอ็ด
รพช.ศรีสมเด็จ
309 12 ร้อยเอ็ด
รพช.จังหาร
310 13 ยโสธร
รพช.ทรายมูล
311 13 ยโสธร
รพช.กุดชุม
312 13 ยโสธร
รพช.คําเขื่อนแก้ว
313 13 ยโสธร
รพช.ป่าติ้ว
314 13 ยโสธร
รพช.มหาชนะชัย
315 13 ยโสธร
รพช.ค้อวัง
316 13 ศรีสะเกษ
รพช.เบญจลักษณ์เฉลิมพระเกียรติ80พรรษา
317 13 ศรีสะเกษ
รพช.ศรีรัตนะ
318 13 ศรีสะเกษ
รพช.โนนคูณ
319 13 ศรีสะเกษ
รพช.ปรางค์กู่
320 13 ศรีสะเกษ
รพช.ภูสิงห์
321 13 ศรีสะเกษ
รพช.ยางชุมน้อย
322 13 ศรีสะเกษ
รพช.กันทรารมย์
323 13 ศรีสะเกษ
รพช.ไพรบึง
324 13 ศรีสะเกษ
รพช.วังหิน
325 13 ศรีสะเกษ
รพช.น้ําเกลี้ยง
326 13 ศรีสะเกษ
รพช.เมืองจันทร์
327 13 ศรีสะเกษ
รพช.บึงบูรพ์
328 13 ศรีสะเกษ
รพช.ห้วยทับทัน
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 53สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 329 13 อํานาจเจริญ
รายชื่อ รพ รพช.พนา
330 13 อํานาจเจริญ
รพช.ชานุมาน
331 13 อํานาจเจริญ
รพช.ปทุมราชวงศา
332 13 อํานาจเจริญ
รพช.เสนางคนิคม
333 13 อํานาจเจริญ
รพช.หัวตะพาน
334 13 อํานาจเจริญ
รพช.ลืออํานาจ
335 13 อุบลราชธานี
รพช.ศรีเมืองใหม่
336 13 อุบลราชธานี
รพช.เขมราฐ
337 13 อุบลราชธานี
รพช.กุดข้าวปุ้น
338 13 อุบลราชธานี
รพช.โพธิ์ไทร
339 13 อุบลราชธานี
รพช.โขงเจียม
340 13 อุบลราชธานี
รพช.สิรินธร
341 13 อุบลราชธานี
รพช.สําโรง
342 13 อุบลราชธานี
รพช.นาจะหลวย
343 13 อุบลราชธานี
รพช.น้ํายืน
344 13 อุบลราชธานี
รพช.บุณฑริก
345 13 อุบลราชธานี
รพช.ทุ่งศรีอุดม
346 13 อุบลราชธานี
รพช.เขื่องใน
347 13 อุบลราชธานี
รพช.ตาลสุม
348 13 อุบลราชธานี
รพช.ดอนมดแดง
349 13 อุบลราชธานี
รพช.ม่วงสามสิบ
350 14 ชัยภูมิ
รพช.คอนสาร
351 14 ชัยภูมิ
รพช.เกษตรสมบูรณ์
352 14 ชัยภูมิ
รพช.บ้านแท่น
353 14 ชัยภูมิ
รพช.คอนสวรรค์
354 14 ชัยภูมิ
รพช.บ้านเขว้า
355 14 ชัยภูมิ
รพช.หนองบัวระเหว
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 54สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 356 14 ชัยภูมิ
รายชื่อ รพ รพช.เทพสถิต
357 14 ชัยภูมิ
รพช.ภักดีชุมพล
358 14 ชัยภูมิ
รพช.เนินสง่า
359 14 นครราชสีมา
รพช.วังน้ําเขียว
360 14 นครราชสีมา
รพช.เฉลิมพระเกียรติสมเด็จย่า100ปีเมืองยาง
361 14 นครราชสีมา
รพช.ลําทะเมนชัย
362 14 นครราชสีมา
รพช.โนนแดง
363 14 นครราชสีมา
รพช.หนองบุนนาก
364 14 นครราชสีมา
รพช.เสิงสาง
365 14 นครราชสีมา
รพช.คง
366 14 นครราชสีมา
รพช.บ้านเหลื่อม
367 14 นครราชสีมา
รพช.แก้งสนามนาง
368 14 นครราชสีมา
รพช.โนนไทย
369 14 นครราชสีมา
รพช.พระทองคํา
370 14 นครราชสีมา
รพช.โนนสูง
371 14 นครราชสีมา
รพช.ขามสะแกแสง
372 14 นครราชสีมา
รพช.ห้วยแถลง
373 14 นครราชสีมา
รพช.ขามทะเลสอ
374 14 บุรีรัมย์
รพช.ปะคํา
375 14 บุรีรัมย์
รพช.โนนสุวรรณ
376 14 บุรีรัมย์
รพช.ชํานิ
377 14 บุรีรัมย์
รพช.โนนดินแดง
378 14 บุรีรัมย์
รพช.เฉลิมพระเกียรติ
379 14 บุรีรัมย์
รพช.หนองกี่
380 14 บุรีรัมย์
รพช.บ้านกรวด
381 14 บุรีรัมย์
รพช.หนองหงส์
382 14 บุรีรัมย์
รพช.พลับพลาชัย
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 55สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 383 14 บุรีรัมย์
รายชื่อ รพ รพช.นาโพธิ์
384 14 บุรีรัมย์
รพช.บ้านใหม่ไชยพจน์
385 14 บุรีรัมย์
รพช.กระสัง
386 14 บุรีรัมย์
รพช.คูเมือง
387 14 บุรีรัมย์
รพช.ห้วยราช
388 14 สุรินทร์
รพช.ชุมพลบุรี
389 14 สุรินทร์
รพช.สนม
390 14 สุรินทร์
รพช.สําโรงทาบ
391 14 สุรินทร์
รพช.กาบเชิง
392 14 สุรินทร์
รพช.พนมดงรัก
393 14 สุรินทร์
รพช.บัวเชด
394 14 สุรินทร์
รพช.จอมพระ
395 14 สุรินทร์
รพช.ลําดวน
396 15 เชียงใหม่
รพช.แม่แจ่ม
397 15 เชียงใหม่
รพช.ฮอด
398 15 เชียงใหม่
รพช.ดอยเต่า
399 15 เชียงใหม่
รพช.อมก๋อย
400 15 เชียงใหม่
รพช.ดอยหล่อ
401 15 เชียงใหม่
รพช.แม่อาย
402 15 เชียงใหม่
รพช.ไชยปราการ
403 15 เชียงใหม่
รพช.แม่วาง
404 15 เชียงใหม่
รพช.ดอยสะเก็ด
405 15 เชียงใหม่
รพช.แม่แตง
406 15 เชียงใหม่
รพช.สะเมิง
407 15 เชียงใหม่
รพช.พร้าว
408 15 เชียงใหม่
รพช.สันกําแพง
409 15 เชียงใหม่
รพช.สารภี
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 56สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 410 15 เชียงใหม่
รายชื่อ รพ รพช.เวียงแหง
411 15 เชียงใหม่
รพช.แม่ออน
412 15 แม่ฮ่องสอน
รพช.แม่ลาน้อย
413 15 แม่ฮ่องสอน
รพช.สบเมย
414 15 แม่ฮ่องสอน
รพช.ขุนยวม
415 15 แม่ฮ่องสอน
รพช.ปางมะผ้า
416 15 ลําปาง
รพช.งาว
417 15 ลําปาง
รพช.แม่พริก
418 15 ลําปาง
รพช.แจ้ห่ม
419 15 ลําปาง
รพช.วังเหนือ
420 15 ลําปาง
รพช.เมืองปาน
421 15 ลําปาง
รพช.แม่เมาะ
422 15 ลําปาง
รพช.เสริมงาม
423 15 ลําปาง
รพช.แม่ทะ
424 15 ลําปาง
รพช.สบปราบ
425 15 ลําปาง
รพช.ห้างฉัตร
426 15 ลําพูน
รพช.แม่ทา
427 15 ลําพูน
รพช.บ้านโฮ่ง
428 15 ลําพูน
รพช.ป่าซาง
429 15 ลําพูน
รพช.บ้านธิ
430 15 ลําพูน
รพช.ทุ่งหัวช้าง
431 16 เชียงราย
รพช.ขุนตาล
432 16 เชียงราย
รพช.เชียงแสน
433 16 เชียงราย
รพช.แม่ฟ้าหลวง
434 16 เชียงราย
รพช.ป่าแดด
435 16 เชียงราย
รพช.เวียงแก่น
436 16 เชียงราย
รพช.แม่สรวย
437 16 เชียงราย
รพช.พญาเม็งราย การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 57สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 438 16 เชียงราย
รายชื่อ รพ รพช.แม่ลาว
439 16 เชียงราย
รพช.เวียงเชียงรุ้ง(เวียงชัย)
440 16 เชียงราย
รพช.สมเด็จพระญาณสังวร
441 16 น่าน
รพช.แม่จริม
442 16 น่าน
รพช.บ้านหลวง
443 16 น่าน
รพช.นาน้อย
444 16 น่าน
รพช.ท่าวังผา
445 16 น่าน
รพช.เวียงสา
446 16 น่าน
รพช.ทุ่งช้าง
447 16 น่าน
รพช.เชียงกลาง
448 16 น่าน
รพช.นาหมื่น
449 16 น่าน
รพช.สันติสุข
450 16 น่าน
รพช.สองแคว
451 16 น่าน
รพช.เฉลิมพระเกียรติ
452 16 น่าน
รพช.บ่อเกลือ
453 16 พะเยา
รพช.เชียงม่วน
454 16 พะเยา
รพช.ปง
455 16 พะเยา
รพช.จุน
456 16 พะเยา
รพช.ดอกคําใต้
457 16 พะเยา
รพช.แม่ใจ
458 16 แพร่
รพช.ร้องกวาง
459 16 แพร่
รพช.สูงเม่น
460 16 แพร่
รพช.สอง
461 16 แพร่
รพช.หนองม่วงไข่
462 16 แพร่
รพช.ลอง
463 16 แพร่
รพช.วังชิ้น
464 17 ตาก
รพช.แม่ระมาด
465 17 ตาก
รพช.พบพระ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 58สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
จังหวัด ลําดับ เขต 466 17 ตาก
รายชื่อ รพ รพช.บ้านตาก
467 17 ตาก
รพช.สามเงา
468 17 พิษณุโลก
รพช.บางระกํา
469 17 พิษณุโลก
รพช.บางกระทุ่ม
470 17 พิษณุโลก
รพช.พรหมพิราม
471 17 พิษณุโลก
รพช.วัดโบสถ์
472 17 พิษณุโลก
รพช.วังทอง
473 17 พิษณุโลก
รพช.ชาติตระการ
474 17 พิษณุโลก
รพช.เนินมะปราง
475 17 เพชรบูรณ์
รพช.ชนแดน
476 17 เพชรบูรณ์
รพช.ศรีเทพ
477 17 เพชรบูรณ์
รพช.บึงสามพัน
478 17 เพชรบูรณ์
รพช.วังโป่ง
479 17 เพชรบูรณ์
รพช.เขาค้อ
480 17 สุโขทัย
รพช.ศรีนคร
481 17 สุโขทัย
รพช.ทุ่งเสลี่ยม
482 17 สุโขทัย 483 17 สุโขทัย
รพช.บ้านด่านลานหอย รพช.คีรีมาศ
484 17 สุโขทัย
รพช.กงไกรลาศ
485 17 สุโขทัย
รพช.ศรีสัชนาลัย
486 17 อุตรดิตถ์
รพช.ตรอน
487 17 อุตรดิตถ์
รพช.ท่าปลา
488 17 อุตรดิตถ์
รพช.ฟากท่า
489 17 อุตรดิตถ์
รพช.บ้านโคก
490 17 อุตรดิตถ์
รพช.พิชัย
491 17 อุตรดิตถ์
รพช.ลับแล
492 17 อุตรดิตถ์
รพช.ทองแสนขัน การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 59สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ เขต จังหวัด 493 18 กําแพงเพชร
รายชื่อ รพ รพช.พรานกระต่าย
494
18 กําแพงเพชร
รพช.ลานกระบือ
495
18 กําแพงเพชร
รพช.ไทรงาม
496
18 กําแพงเพชร
รพช.คลองลาน
497 498 499
18 กําแพงเพชร 18 กําแพงเพชร 18 กําแพงเพชร
รพช.ทรายทองวัฒนา รพช.ปางศิลาทอง รพช.บึงสามัคคี
500
18 นครสวรรค์
รพช.หนองบัว
501
18 นครสวรรค์
รพช.บรรพตพิสัย
502
18 นครสวรรค์
รพช.ไพศาลี
503
18 นครสวรรค์
รพช.โกรกพระ
504
18 นครสวรรค์
รพช.เก้าเลี้ยว
505
18 นครสวรรค์
รพช.พยุหะคีรี
506
18 นครสวรรค์
รพช.ตากฟ้า
507
18 นครสวรรค์
รพช.แม่วงก์
508
18 พิจิตร
รพช.วังทรายพูน
509
18 พิจิตร
รพช.โพธิ์ประทับช้าง
510
18 พิจิตร
รพช.สามง่าม
511
18 พิจิตร
รพช.วชิรบารมี
512
18 พิจิตร
รพช.โพทะเล
513
18 พิจิตร
รพช.ทับคล้อ
514
18 อุทัยธานี
รพช.ทัพทัน
515
18 อุทัยธานี
รพช.สว่างอารมณ์
516
18 อุทัยธานี
รพช.บ้านไร่
517
18 อุทัยธานี
รพช.ลานสัก
518
18 อุทัยธานี
รพช.ห้วยคต
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 60สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
รายชื่อโรงพยาบาล ที่มีการบริหารจัดการทรัพยากร แบบ รพช. (ขนาดเล็ก) จํานวน 35 แห่ง (ประชุมจัดระดับ ณ วันที่ 1 กย.54 ชี้แจงวันที่ 22 กย.54)
ลําดับ เขต
จังหวัด
รายชื่อ รพ
1
1 ปทุมธานี
รพช.สามโคก
2
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.บางซ้าย
3
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.มหาราช
4
1 พระนครศรีอยุธยา
รพช.บ้านแพรก
5
1 สระบุรี
รพช.ดอนพุด
6
1 สระบุรี
รพช.หนองโดน
7
2 ลพบุรี
รพช.สระโบสถ์
8 9
2 ลพบุรี 2 สิงห์บรุ ี
รพช.โคกเจริญ รพช.พรหมบุรี
10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
2 3 4 6 6 6 6 6 6 7 7 7 7 7 9 10 10 10 11
รพช.สามโก้ รพช.ปากพลี รพช.ศุกร์ศิริศรีสวัสดิ์ รพช.มาบอํามฤต รพช.ปากน้ําชุมพร รพช.ปากน้ําหลังสวน รพช.ทุ่งตะโก รพช.ถ้ําพรรณรา รพช.บ้านตาขุน รพช.เกาะลันตา ก.หาดสําราญ รพช.บางไทร รพช.ละอุ่น รพช.สุขสําราญ รพช.เกาะกูด รพช.บุ่งคล้า รพช.สระใคร รพช.ห้วยเกิ้ง รพช.นิคมน้ําอูน
อ่างทอง นครนายก กาญจนบุรี ชุมพร ชุมพร ชุมพร ชุมพร นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กระบี่ ตรัง พังงา ระนอง ระนอง ตราด บึงกาฬ หนองคาย อุดรธานี สกลนคร
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 61สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ 29 30 31 32 33 34 35
เขต 13 14 14 15 17 18 18
จังหวัด ยโสธร นครราชสีมา บุรีรัมย์ เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ กําแพงเพชร อุทัยธานี
รายชื่อ รพ รพช.ไทยเจริญ รพช.เฉลิมพระเกียรติ รพช.แคนดงเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา รพช.วัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา รพช.น้ําหนาว รพช.ทุ่งโพธิ์ทะเล รพช.หนองขาหย่าง
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 62สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
รายชื่อโรงพยาบาลที่มีการบริหารจัดการทรัพยากร แบบ รพช.ขนาดเล็ก(สร้างใหม่) 57 แห่ง (ประชุมจัดระดับ ณ วันที่ 1 กย.54 ชี้แจงวันที่ 22 กย.54)
ลําดับ เขต
จังหวัด
รายชื่อ รพ
1
2 ชัยนาท
รพช.เนินขาม
2
2 ชัยนาท
รพช.หนองมะโมง
3
3 ฉะเชิงเทรา
รพช.คลองเขื่อน
4
3 สมุทรปราการ
รพช.บางเสาธง
5
3 สระแก้ว
รพช.วังสมบูรณ์
6
3 สระแก้ว
รพช.โคกสูง
7
4 ราชบุรี
รพช.บ้านคา
8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29
6 6 6 10 10 10 10 10 10 11 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12
รพช.ช้างกลาง รพช.พระพรหม รพช.นพพิตํา รพช.หนองหิน รพช.เฝ้าไร่ รพช.รัตนวาปี รพช.โพธิ์ตาก รพช.ประจักษ์ศิลปาคม รพช.กู่แก้ว รพช.วังยาง รพช.นาคู รพช.ฆ้องชัย รพช.สามชัย รพช.ดอนจาน รพช.หนองนาคํา รพช.โคกโพธิ์ชัย รพช.โนนศิลา รพช.เวียงเก่า รพช.ชื่นชม รพช.กุดรัง รพช.หนองฮี รพช.เชียงขวัญ
นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช เลย หนองคาย หนองคาย หนองคาย อุดรธานี อุดรธานี นครพนม กาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ขอนแก่น ขอนแก่น ขอนแก่น มหาสารคาม มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 63สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
ลําดับ 30 31 32 33 34 35 36 37 38
เขต 12 13 13 13 13 13 13 13 13
จังหวัด ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อุบลราชธานี อุบลราชธานี อุบลราชธานี อุบลราชธานี
รายชื่อ รพ รพช.ทุ่งเขาหลวง รพช.พยุห์ รพช.โพธิ์ศรีสุวรรณ รพช.ศิลาลาด รพช.น้ําขุ่น รพช.เหล่าเสือโก้ก รพช.สว่างวีรวงศ์ รพช.นาเยีย รพข.นาตาล
39
14 ชัยภูมิ
รพช.ซับใหญ่
40
14 นครราชสีมา
รพช.สีดา
41
14 นครราชสีมา
รพช.บัวลาย
42
14 นครราชสีมา
รพช.เทพารักษ์
43
14 บุรีรัมย์
รพช.บ้านด่าน
44
14 สุรินทร์
รพช.เขวาสินรินทร์
45
14 สุรินทร์
รพช.ศรีณรงค์
46
14 สุรินทร์
รพช.โนนนารายณ์
47
15 ลําพูน
รพช.เวียงหนองล่อง
48
16 เชียงราย
รพช.ดอยหลวง
49
16 น่าน
รพช.ภูเพียง
50
16 พะเยา
รพช.ภูกามยาว
51
16 พะเยา
รพช.ภูซาง
52
17 ตาก
รพช.วังเจ้า
53
18 กําแพงเพชร
รพช.โกสัมพีนคร
54
18 นครสวรรค์
รพช.ชุมตาบง
55
18 พิจิตร
รพช.บึงนาราง
56
18 พิจิตร
รพช.สากเหล็ก
57
18 พิจิตร
รพช.ดงเจริญ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 64สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดทําแผนระบบบริ การสุ ขภาพ วันที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ.รร.เซนทราและศูนย์ราชการ- 65สํานักบริ หารการสาธารณสุ ข
การจัดเครือข่ายบริการ ๑๒ เครือข่าย เครือ เขต
จังหวัด
ประชากร
ข่าย
จํานวน
ปชก.
จํานวน
แพทย์
ต่อ
เตียง
แพทย์ 1 1 1 1 1 1 1 1
2 2 2 2 2
3 3 3 3 3
16 15 16 16 16 15 15 15
17 17 17 17 17
18 2 18 18 18
เตียง / ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 10000 ทารก มะเร็ง อุบัติเหตุ หัวใจ ปชก. แรกเกิด
เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลําปาง ลําพูน
1,198,218 1,640,479 476,363 486,304 460,756 242,742 761,949 404,560
239 325 108 89 97 63 209 102
5,013 5,048 4,411 5,464 4,750 3,853 3,646 3,966
1,607 1,521 860 742 635 340 1,173 651
13.4 9.3 18.1 15.3 13.8 14.0 15.4 16.1
ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2
รวม
5,671,371
1,232
4,603
7,529
13.3
1/2
525,684 849,692 996,031 608,820 462,618
123 238 142 102 135
4,274 3,570 7,014 5,969 3,427
870 1,148 864 957 831
16.5 13.5 8.7 15.7 18.0
รวม
3,442,845
740
4,652
4,670
13.6
กําแพงเพชร ชัยนาท พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี
727,093 334,934 552,690 1,073,495 327,959
82 54 106 213 63
8,867 6,202 5,214 5,040 5,206
714 546 732 1,192 690
9.8 16.3 13.2 11.1 21.0
รวม
3,016,171
518
5,823
3,874
12.8
ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์
ตติยภูมิ (แห่ง) รพศ. รพท. รพท. 1 1
2
2/1
1/2
ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 1
5 2
2 2 1 3
1 1 1
1
11 2 1 2 1
1 1/0
1/0
0/1
1/0
ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2
2
0/ 1
1/0
0/ 1
4 1 1 1
1
1
6
1
6 1 2 3
4
6
10 16 12 5 6 4 10 5
211 266 123 94 119 71 141 71
24 15 4 36 4 2
102 9 9 11 9 9
20 3 2 2 3 3
1,096
128
114 143 153 118 89
52
1 1 2 3 1
47 12 8 12 14 8
13 2 1 2 5 1
617
60
7
54
11
1 2
1
1 1
1 1
29 7 5 6 8 5
3
31
2
3 1
4 3 2 4 1 1 3 2
1
1
2
18 24 15 9 8 7 13 8
1
68 4 7 5 6 7
1
1 0/2
4 1
1
1 3
2 3 1
1
1 1/2
ปฐมภูมิ (แห่ง) (แห่ง) เขตเมือง รพสต. สสช
ขนาดเล็ก แม่ข่าย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สร้างใหม่
1 1 1 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 1
รวม
ทุติยภูมิ (แห่ง) รพช.
5 1
1
1
43
3 5
122 72 109 189 89 581
0
เครือ เขต
จังหวัด
จํานวน
ปชก.
จํานวน
แพทย์
ต่อ
เตียง
252,734 1,101,743 985,643 782,096 755,854
41 158 99 149 116
แพทย์ 6,164 6,973 9,956 5,249 6,516
434 596 552 1,142 1,208
17.2 5.4 5.6 14.6 16.0
ระดับ 2 ระดับ 2
1
617,384
193
3,199
1,325
21.5
ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1
1
214,661 284,970 4,995,085 839,776 860,246 509,134 464,033 839,075 194,057 491,887 845,850 5,044,058 514,616 673,933 1,316,293 220,921 466,572
67 59 882 157 180 98 76 251 36 98 170 1,066 171 137 289 46 101
3,204 4,830 5,663 5,349 4,779 5,195 6,106 3,343 5,390 5,019 4,976 4,732 3,009 4,919 4,555 4,803 4,620
664 514 6,435 1,478 900 778 635 2,215 380 620 1,450 8,456 1,065 1,003 1,522 490 835
30.9 18.0 12.9 17.6 10.5 15.3 13.7 26.4 19.6 12.6 17.1 16.8 20.7 14.9 11.6 22.2 17.9
626,402
130
4,818
1,000
16.0
544,100 1,185,180 5,548,017
73 128 1,075
7,453 9,259 5,161
555 595 7,065
10.2 5.0 12.7
ประชากร
ข่าย 4 4 4 4 4
3 1 1 1 2
4
1 สระบุรี
4 4
6 6 6 6 6
2 สิงห์บุรี 2 อ่างทอง รวม 4 กาญจนบุรี 4 นครปฐม 5 ประจวบคีรีขันธ์ 5 เพชรบุรี 4 ราชบุรี 5 สมุทรสงคราม 5 สมุทรสาคร 4 สุพรรณบุรี รวม 9 จันทบุรี 3 ฉะเชิงเทรา 9 ชลบุรี 9 ตราด 3 ปราจีนบุรี
6
9 ระยอง
6 6
3 สระแก้ว 3 สมุทรปราการ รวม
5 5 5 5 5 5 5 5
นครนายก นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี
เตียง / ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 10000 ทารก มะเร็ง อุบัติเหตุ หัวใจ ปชก. แรกเกิด ระดับ 2 ระดับ 2
1/1
1/0
ระดับ 2
1/1
1/ 1
ตติยภูมิ (แห่ง) รพศ. รพท. รพท.
1
3
ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2
1
ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1
1
1/1 1/0 1/1 1/2 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 2
1 1
1 1 4 1
5 1
2 1 1
2
6
1/1
1/2
1/1
1 1 5
6 2 1 1 1
1
1
1
2 1 1 5
1 6
3
1 6 1 3
1 1
1 1/ 2
ปฐมภูมิ (แห่ง) (แห่ง) เขตเมือง รพสต. สสช
ขนาดเล็ก แม่ข่าย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สร้างใหม่ 1 2 1 4 2 2 1 6 1 1 5 1 8 1 1 10 3 16 1 1 2 5 2 11
1 1 1 4 1 1 1
รวม
ทุติยภูมิ (แห่ง) รพช.
1 1
8 3 4 38 9 5 5 5 5
1
1
1 7 4 3 2
6 36 7 5 4 5 5
1 3 1 2
1 1 5
1 11
5 5 1 37
2 1 1 11 1
1
1
1 1
1
1
2 1 4
1 3 2 5 3
56 76 78 205 133
12 6 7 70 15 9 8 8 11
4 1 1 20 3 3 3 2 8
126
3 2 10 66 12 11 11 7 7
1 2 5 27 3 1 5 1 2
9 9 6 72
0 2 4 18
47 76 797 141 134 81 117 162 49 55 174 913 105 119 120 66 93
0 1
1
1
94 107 68 772
1
แพทย์
ปชก. ต่อ
จํานวน เตียง
982,578 1,767,601 940,911 1,309,708 5,000,798 703,392
136 370 137 165 808 59
แพทย์ 7,225 4,777 6,868 7,938 6,189 11,922
1,025 2,077 857 1,119 5,078 676
403,542
51
7,913
280
624,066 1,122,905 509,395 502,868
100 155 78 57
6,241 7,245 6,531 8,822
804 1,524 629 438
1,544,786
231
6,687
1,626
10.5
ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 1
รวม ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์
5,410,954 1,127,423 2,582,089 1,553,765 1,381,761
731 134 476 247 225
7,402 8,414 5,425 6,291 6,141
5,977 984 2,379 1,887 1,347
11.0 8.7 9.2 12.1 9.7
0/2
ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2
1 1 1
รวม
6,645,038
1,082
6,141
6,597
9.9
1/1
3
10 11 มุกดาหาร
339,575
43
7,897
440
13.0
1
10 13 ยโสธร
539,257
73
7,387
650
12.1
1
10 13 ศรีสะเกษ
1,452,471
150
9,683
1,507
10.4
1
10 13 อุบลราชธานี
1,813,088
342
5,301
1,900
10.5
10 13 อํานาจเจริญ
372,137
55
6,766
280
7.5
4,516,528
663
6,812
4,777
10.6
เครือ เขต
จังหวัด
ประชากร
ข่าย 7 7 7 7
12 12 12 12
กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด รวม 8 11 นครพนม
8 10 บึงกาฬ 8 8 8 8
10 11 10 10
เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลําภู
8 10 อุดรธานี 9 9 9 9
14 14 14 14
รวม
จํานวน
เตียง / ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ตติยภูมิ (แห่ง) ทุติยภูมิ (แห่ง) 10000 ทารก มะเร็ง อุบัติเหตุ หัวใจ รพศ. รพท. รพท. รพช. แรกเกิด ปชก. ขนาดเล็ก แม่ข่าย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สร้างใหม่ 10.4 1 3 1 9 4 11.8 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2 1 2 3 1 15 4 9.1 1 2 2 6 2 8.5 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2 1 4 1 11 3 10.2 0 / 2 0 / 2 1 / 1 0 / 1 2 2 2 12 5 41 13 9.6 1 1 1 8 1 6.9 1 1 5 1 12.9 1 1 11 1 13.6 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2 1 1 1 1 13 1 12.3 1 1 1 2 1 3 8.7 1 1 4 0/2
1/1
1/1
1/1
1/0
1/1
ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1
1 2
1
5 1
1
1
1 2
2 7 2 6 2 1
12 55 9 15 14 8
1 4
2 1 1
2 6 3 5 3 3
4
14
11
46
2
1/0
1/0
1/0
1
5
18 26 13 20 77 12
2 5 3 4 14 2
156 248 176 231 811 151
8 14 18 9 6
1 2 4 2 2
61
2 7 1 3 1 3
21 88 16 33 23 17
3 16 3 3 3 3
872 167 350 224 210
0
8
89
12
951
2
7
1
78
9
2
112
6 3 2
5
209
1 1
2
13
3
22
8
254
1
15
5
26
14
312
5
7
1
78
71
26
834
6 2
127 167 74 83
6
2
1
0
1
1 1/0
1 1
รวม ปฐมภูมิ (แห่ง) (แห่ง) เขตเมือง รพสต. สสช
3
46
1
8
6
เครือ เขต
จังหวัด
ประชากร
ข่าย
จํานวน
ปชก.
จํานวน
แพทย์
ต่อ
เตียง
แพทย์
เตียง / ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 10000 ทารก มะเร็ง อุบัติเหตุ หัวใจ แรกเกิด ปชก.
11 7 กระบี่
432,704
77
5,620
575
13.3
11 6 ชุมพร
489,964
93
5,268
909
18.6
ระดับ 2 ระดับ 2
1,522,561
240
6,344
1,713
11.3
ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2
11 7 พังงา
253,112
52
4,868
614
24.3
11 7 ภูเก็ต
345,067
121
2,852
629
18.2
11 7 ระนอง
183,079
28
6,539
404
22.1
1,000,383
237
4,221
1,421
14.2
ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1
รวม
4,226,870
848
4,985
6,265
14.8
1/3
ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล รวม รวมทั้งหมด
622,659 135 737,162 116 655,259 102 509,534 69 487,380 148 1,357,023 321 297,163 56 4,666,180 947 58,183,915 10,592
4,612 760 6,355 750 6,424 703 7,385 707 3,293 948 4,227 1,581 5,306 254 4,927 5,703 5,493 72,426
12.2 10.2 10.7 13.9 19.5 11.7 8.5 12.2 12.4
ระดับ 2 ระดับ 2
11 6 นครศรีธรรมราช
11 6 สุราษฎร์ธานี
12 12 12 12 12 12 12
7 8 8 6 8 8 8
ตติยภูมิ (แห่ง) รพศ. รพท. รพท.
1 1
1 2
1 ระดับ 2
3
4
1
1
1
1/1
1/1
1 3 1
4 1 1 1
ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 2
1 1
1/2 1/2 1/1 0/2 3 9 / 18 9 / 13 12 / 11 10 / 11 33
1
5
4
10 1
1 1 1 1
1 1 5 48
1 2 35
4 91
6
1
8
3
72
5
4
11
2
94
8
1
22
2
250
6
1
9
3
64
3
4
21
3
1
1
1/2
ปฐมภูมิ (แห่ง) (แห่ง) เขตเมือง รพสต. สสช
ขนาดเล็ก แม่ข่าย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สร้างใหม่ 1
ระดับ 2
รวม
ทุติยภูมิ (แห่ง) รพช.
5 1 2 1 1 2 1 1 9 73
2
2
5
2
45
12
1
20
6
165
39 6 9 9 7 4 13 4 52 518
10 1
78 10 13 12 10 8 17 6 76 890
22 6 5 2 3 4 5 2 27 226
1 35
3
57
711
0
125 111 126 124 80 175 54 795 9,750
0 198