การบริหารการเปลี่ยนแปลงกระทรวงสาธารณสุข

Page 1

การบริหารการเปลี ยนแปลง กระทรวงสาธารณสุข และ เขตพื นที เครือข่ายบริการ


การเปลี ยนแปลงส่วนกลาง National Health Authority

การเปลี ยนแปลงระดับเขตพื นที Regional Providers


National Health Authority บทบาท หน้าที ๑. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ที มี ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ๒. กํากับดูแลระบบ โดยอาศัยกฎหมาย ระเบียบ ๓. กําหนด และควบคุมให้เป็ นไปตามมาตรฐานสาธารณสุข ๔. กําหนดมาตรฐานและประเมินเทคโนโลยี ๕. การจัดการองค์ความรูแ้ ละงานวิจยั ๖. การติดตามประเมินผล และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ๗. การบริหารทรัพยากรบุคคล และการเงินการคลัง


National Health Authority องค์ประกอบ ความสัมพันธ์ การเมือง/องค์กรบริหาร/ปฏิบตั ิการ กลไกการทํางานที โปร่งใส เป็ นกลาง (คณะกรรมการอิสระ และกฎหมาย) ขอบเขต ภารกิจ ๑. การขับเคลื อนยุทธศาสตร์ท ีสาํ คัญของประเทศ ๒. แผนงาน แผนเงิน แผนคน ๓. บริหารจัดการให้เป็ นไปตามยุทธศาสตร์ เป็ นตัวเชื อมระหว่าง ระดับนโยบาย/การเมือง กับระดับบริหาร/ปฏิบตั ิ


การเปลี ยนแปลงระดับเขตพื นที Regional Providers 1. ประเด็นทีไ ด ้ข ้อสรุป 1) Implement Regional Providers 12 เขต + กทม. 2) มี Providing Board ระดับเขตพืน ้ ที 2. ประเด็นทีย ังไม่ได ้ข ้อสรุป 1) การแยกบทบาทของ Regulator และ Provider 2) การมี Back Office สนั บสนุน


Regional Providers

เน้นบทบาท หน้าที ของการจัดบริการ 1. การกําหนดแผนพัฒนาสุขภาพระดับเขต เพือ เป็ นยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขในเขตพื นที 2. จัดสรร/เกลีย ทรัพยากร บริหารจัดการระบบบริการสุขภาพ ให้เกิดประสิทธิภาพ 3. กํากับ ติดตาม และประเมินผล การดําเนิ นงานของเครือข่ายบริการ


การเปลี ยนแปลงที ผ่านมา ั เจน 1. การกําหนดบทบาท 3 สว่ นให ้ชด 1) National Health Authority (NHA) & Regulator 2) Purchaser หมายถึง สปสช. 3) Provider หมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ 2. การพัฒนาบทบาท NHA ของ กสธ. เบือ ้ งต ้นได ้กําหนด “เป้ าหมาย” ในรูป KPI ระดับกระทรวง ซงึ ได ้ขับเคลือ น ตัง้ แต่ 1 มค. 56


ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ KPI กระทรวง KPI เขต

KPI กรม

KPI จังหวัด แผนงานแก้ไขปัญหา การจัดสรรงบประมาณ การกํากับ ประเมินผล

การตรวจราชการ นิ เทศงาน


การเปลี ยนแปลงที ผ่านมา 3. การพัฒนาบทบาท ผู ้ให ้บริการ (Provider) - การจัดเครือข่ายบริการ และแบ่งเขตพืน ้ ทีเ ครือข่ายบริการ เป็ น 12 เขต ครอบคลุมประชากรเฉลีย เขตละ 5 ล ้านคน - ริเริม จัดทํา “Service plan” ในแต่ละเครือข่ายบริการฯ เพือ ขับเคลือ น การพัฒนาการจัดบริการในปี 2556 โดยมีเป้ าหมายที 10 สาขา ซงึ ถือ เป็ นปั ญหาเร่งด่วน - กําหนดให ้ทุกเขตจัดทํา “แผนสุขภาพเขต” เป็ นครัง้ แรก โดยให ้ ครอบคลุมทัง้ แผนบริหารจัดการ แผนบริการ และแผนสง่ เสริมป้ องกัน ิ ธิภาพในการทํางาน โรค โดยมุง่ เน ้นประสท

4. พัฒนารูปแบบการทํางานร่วมกันระหว่าง กสธ. และ สปสช. โดยใช ้ PP model เป็ นตัวอย่างนํ าร่อง

9


แผนสุขภาพเขต / จังหวัด การจัดสรรงบประมาณแบบบูรณาการ กระบวนการปฏิบตั ิ


Health Promotion & Prevention

กรอบงานส่งเสริมป้ องกัน ตามลักษณะงาน


นโยบายสุขภาพ

สปสช.

กรม

PPNP

สปสช.เขต

สป

กรม

บูรณาการ

MOU

MOU

(BS, NP)

8 Flagships

(NP)

เขต สธ. งบ UC

PPA

(6,000 ล้าน) PPA

แผนยุทธ

10%

กํากับติดตาม

จังหวัด

20%

BS, NP, AH

PPE

อําเภอ

70%

งบ สธ.

(949 ล้าน)


ข้อสรุปการบริหารงาน PP ระหว่าง สธ.-สปสช. ปี 56 กรอบการบริหารงานร่วมกัน 1. บทบาท สธ. เป็ น National Health Authority & Providers ส่วน สปสช. เป็ น National Health Security & Purchaser 2. ใช้กลไกที มีอยู่ ได้แก่ คปสข. และ อปสข. 3. กรอบงาน PP 3 กลุม่ (Basic Service, National Program, และ Area Health) 4. คงกรอบการบริหารงบ PP ไว้ 5 ส่วน (NPP, PPE, PPA, สนับสนุ นส่งเสริม, ทันตกรรมส่งเสริม


กลไกระดับเขต คทง. ยกร่าง MOU (ฝ่ ายละ 5 คน) MOU BS NP

เป้ าหมาย / KPI แผนงาน / กลยุทธ M&E การบริหารเงิน PP

PPE PPA สนับสนุ น ทันตกรรม


วงเงินงบ PP ที ดาํ เนิ นการร่วมกัน 1. งบ NPP

1,682 ล้าน

2. งบ PPE 3,300 ล้าน (หักเงินเดือน) 3. งบ PPA 1,114 ล้าน (หักงบสนับสนุ นกองทุนตําบล) 4. งบสนับสนุ น 502 ล้าน 5. งบทันต 1,085 ล้าน

ค่าวัคซีน สมุดบันทึก 1,130 ล้าน แผนระดับชาติ 550 ล้าน

งบรวม 6,000 ล้าน (เขตละ 500 ล้าน) งบกระทรวง 949 ล้าน (เขตละ 80 ล้าน)


จุดเปลี ยนแปลงที สาํ คัญ 1. MOU ระดับเขต

Bulk-buying

2. เป้ าหมายบริการชัดเจน

แผนสุขภาพเขต

3. ผูร้ บั ผิดชอบต่อผลผลิต

บทบาท คปสข.

4. พื นที ครอบคลุม 5. การติดตามประเมินผล

เต็มพื นที M&E


แผนสุขภาพเขต และ

แผนสุขภาพจังหวัด (๒๕ แผนงาน)


สภาพปัญหา

ยุทธศาสตร์

แผนแก้ปญั หา

แผนงาน

แผนปฏิบตั ิ

การปฏิบตั ิ

การปฏิบตั ิ

การกํากับ ติดตาม

ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ

การรายงานผล

กระบวนงาน

นโยบาย


การประเมินปัญหา

สภาพปัญหา นโยบาย

การประเมินกลยุทธ์

แผนแก้ปญั หา

การประเมิน กระบวนการ

แผนปฏิบตั ิ การปฏิบตั ิ ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ

การกํากับ ติดตาม การรายงานผล


บริการ พัฒนาบริการ 10 สาขา พัฒนาระบบส่งต่อ คุณภาพบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบตั ภิ ยั สาธารณสุขชายแดน ยาเสพติด โครงการพระราชดําริ

สส ปก

บริหาร

สุขภาพสตรี และทารก + BS การเงินการคลัง สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS การบริหารกําลังคน-จริยธรรม สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS ระบบข้อมูล สุขภาพเด็กนักเรียน + BS การบริหารเวชภัณฑ์ สุขภาพวัยรุ่น + BS ป้ องกันควบคุม NCD (DM&HT) พัฒนาประสิทธิภาพ ซื4อ/จ้าง ดูแลเฝ้ าระวังสตรีไทยจากมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุและผูพ้ กิ าร อาหารปลอดภัย การควบคุมโรคติดต่อ สิงD แวดล้อมและระบบทีเD อื4อต่อสุขภาพ สร้างความรอบรูด้ า้ นสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน


ลักษณะสําคัญของ แผนสุขภาพเขต - ภาพรวม / แผนย่อย ตามหัวข้อ 25 แผน - เนื อหาหลัก : สถานการณ์ ผลตามตัวชี วดั กลยุทธ และมาตรการสําคัญ - ขอบเขต ครอบคลุมงานของ ศูนย์วชิ าการ + เขตพื นที เครือข่าย + แผนจังหวัด - งาน PP รองรับงานตามกลุม่ วัย ทัง BS และ NP - ข้อมูล BS เป็ นความครอบคลุม เน้นความถูกต้อง


แผนบูรณาการเชิงรุก แผนยุทธศาสตร์ เห็นทิศทางในภาพรวม เน้นปัญหาสําคัญ แผนแก้ปญั หา

จัดกลุ่มปัญหา/บูรณาการ แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน

มาตรการชัดเจน งบประมาณตามกิจกรรม

แผนปฏิบตั ิ กิจกรรม


องค์ ประกอบของแผนงาน PP กลุ่มวัย

องค์ ประกอบของแผนงานส่ งเสริมป้องกัน กลุ่มวัย แผนสตรี ตั/งครรภ์ คุณภาพ

แผน สุ ขภาพ ทารก 0-2 ปี

แผนสุ ขภาพ เด็กปฐมวัย 3-5 ปี

แผนสุ ขภาพ เด็กวัยเรียน (6-12 ปี ) และ เยาวชน

แผน สุ ขภาพ วัยรุ่ น

แผนป้องกัน ควบคุมโรคไม่ ติดต่ อเรื/อรั ง

แผนคัดกรอง มะเร็งปาก มดลูก/มะเร็ง เต้ านม

แผน สุ ขภาพ ผู้สูงอายุ

กาให้บริ การ หญิงตั งครรภ์ ที พึงได้รับ

-นมแม่ -พัฒนา 4 ด้าน -การ เจริ ญเติบโต -รู ปร่ าง/ส่ วนสู ง -สุ ขภาพช่อง ปาก -วัคซี น

เด็กนักเรี ยนมี คุณภาพ 4 ด้าน -พัฒนาการ4 ด้าน -เจริ ญเติบโต รู ปร่ าง/ส่ วนสู ง -สุ ขภาพช่อง ปาก -วัคซี น

การเข้าถึงกลุ่ม วัยรุ่ นกลุ่ม เสี ยง -เพศสัมพันธุ -บุรี แอลกอฮอล์ -ยาเสพติด -พฤติกรรม อารมณ์

คลินิก NCD คุณภาพ (ขยายความ ครอบคลุม การตรวจ ภาวะแทรกซ้ อน

มะเร็ งเต้านม -การตรวจ มะเร็ งเต้านม ด้วยตนเอง -การสร้าง ความตระหนัก ผ่านสื อและ การประเมิน

ดูแลผูส้ ู งอายุ คุณภาพ -เบาหวาน/ ความดัน -โรคซึ มเศร้า -เข่าเสื อม -สุ ขภาพช่อง ปาก

สถาน บริการ

WCC

เด็กปฐมวัยมี คุณภาพและ บทบาทพ่อ-แม่ ในการเลี ยงดูแล ปฐมวัย -พัฒนาการ4 ด้าน -การเจริ ญเติบโต -รู ปร่ าง/ส่ วนสู ง -สุ ขภาพช่อง ปาก -วัคซี น

คุณภาพ

ANC&LR

คุณภาพ การเข้ าถึง บริการของ หญิง ตั/งครรภ์

ส่ งเสริม บทบาท ครอบครัว พ่ อ - แม่ ชุ มชน

พัฒนา คุณภาพ ศู นย์เด็กเล็ก

โรงเรียน ส่ งเสริม สุ ขภาพ

คลินิกวัยรุ่ น

สร้ างระบบการ ดูแลช่ วยเหลือ วัยรุ่น เริ:มที: โรงเรียน

คลินิก NCD คุณภาพ (ขยาย ครอบคลุม การตรวจ ลดปั จจัย ภาวะแทรก เสี: ยซ้งอน) ปชก/ชุ มชน

คลินิก บริการ ผู้สูงอายุ แกนนํา ชุ มชน อสม เข้ มเข็ง

อําเภอ/ ตําบล80/ยัง แจ๋ ว


รายละเอียดแผนสุขภาพเขต/จังหวัด 1. ภาพรวมของแผน (สภาพปัญหาในพื นที, งบรวมทุกหน่ วย/ภาค ส่วน, งบแยกรายแผน/งบบริหาร) 2. แผนแก้ไขปัญหา 25 แผน แต่ละแผนประกอบด้วย 2.1 ข้อมูล Baseline 2.2 กลยุทธ / มาตรการสําคัญ (สอดรับแผนกระทรวง) 2.3 งบประมาณที กระจายลงแผนนั น แยกตามหน่ วยงาน 2.4 ผลลัพท์ตาม KPI ปล. 1) แผนแก้ไขปัญหา ให้จงั หวัดจัดทํา ๑ ชุด ใช้รว่ มกัน 2) แผนปฏิบตั งิ านของหน่ วยงาน ให้จดั ทําแยกตามหน่ วยงาน


บทบาทของจังหวัดที ปรับเปลี ยน 1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็ นกลุม่ วัย แทนที จะ มองเป็ นกิจกรรมแยกตามฝ่ าย/หน่ วยงาน 2. จังหวัดมีหน้าที กาํ กับดูแลการดําเนิ นงาน ทัง หน่ วยงานในสังกัด ท้องถิน และภาคส่วนอืน ๆ 3. ตัวชี วดั เป็ นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่กระบวนการเป็ นตัวส่งให้ เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดําเนิ นงานจึงเป็ นสิง สําคัญ 4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต


โจทย์ใหญ่ 1. ภาพรวมของการจัดการแผนสุขภาพจังหวัดเพือ แก้ปญั หาในพื นที ระดับจังหวัด เป็ นอย่างไร ? 2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของ หน่ วยงานในพื นที เป็ นอย่างไร จุดอ่อนอยูต่ รงไหน ? 3. การกํากับติดตามในอนาคต ควรต้องปรับบทบาท และพัฒนาศักยภาพของกลุม่ งานใน สสจ. อย่างไร ?


เส้นทางอนาคต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.