สมุนไพร 9 ชนิด

Page 1

สมุนไพร ๙ ชนิด พิชิตเบาหวาน


1.ช้าพลู (Wild Pepper) จัดเป็ นสมุนไพรที่เหมาะสาหรับผูป้ ่ วยเบาหวาน เนื่องจากมีฤทธิ์ แอนตี้ออกซิ แดนท์สูงมาก ทั้งยังมีปริ มาณแคลเซี ยม วิตามินเอ วิตามินซี ในปริ มาณที่สูงมาก และยังไม่มีผลในการลดน้ าตาลในคนปกติอีกด้วย

2.วิธีใช้ นาช้าพลูท้ งั ห้า (ทั้งต้นจนถึงราก) 1 กามือ ต้มกับน้ า 3 ขัน เคี้ยวให้เหลือ 1 ขัน รับประทานครั้งละ ครึ่ งแก้วกาแฟ ก่อนอาหาร 3 มื้อ มีสรรพคุณช่วยลดน้ าตาลในเลือด


2. มะระขี้นก (Bitter Cucumber) เป็ นสมุนไพรที่ปลูกง่าย ยอดอ่อน ผลอ่อนสามารถนามาปรุ งอาหารได้ มี วิตามินเอและซี สูง สามารถใช้ได้ท้ งั ในรู ปแบบของน้ าคั้น ชาชง แคปซูล และผงแห้ง มะระขี้นกมีสารออก ฤทธิ์ คล้ายอินซูลิน กระตุน้ การหลัง่ อินซูลิน ยับยั้งการสังเคราะห์กลูโคส และเพิ่มการใช้กลูโคสของตับ โดยองค์ประกอบทางเคมีของมะระขี้นกที่มีฤทธิ์ ลดน้ าตาลในเลือด คือ p-Insulin,Charantin และ Visine วิธีใช้ น้ าคั้นสดมะระขี้นก ให้นาผลมะระขี้นกสด 8-10 ผล เอาเมล็ดในออก ใส่ น้ าเล็กน้อย ปั่ นคั้นเอาแต่น้ าดื่ม (ประมาณ 100 มล.) หรื อรับประทานทั้งกาก แบ่งรับประทานวันละ 3 เวลา ต่อเนื่อง ตารับยา ชามะระขี้นก ให้นาเนื้อมะระขี้นกผลเล็กซึ่ งมีตวั ยามากมาผ่าเอาแต่เนื้อ หัน่ เป็ นชิ้นเล็กๆ ตากแดดให้แห้ง แล้วชงกับน้ าเดือด โดยใช้มะระขี้นก 1-2 ชิ้น ต่อน้ า 1 ถ้วย ดื่มแบบชาครั้งละ 2 ถ้วย วันละ 3 เวลา หรื อต้มเอาน้ ามาดื่มหรื อใส่ กระติกน้ าร้อนดื่มแทนน้ า ไม่เกิน 1 เดือนเห็นผล


3. เตยหอม(Pandan) เตยหอมมีฤทธิ์ ลดน้ าตาลในเลือด ลดความดันโลหิ ต ลดอัตราการเต้นของหัวใจ ขับ ปั สสาวะ ในเมืองไทยเรามีการใช้รากเตยหอมในการรักษาเบาหวานมานาน และคนที่ไม่เป็ นเบาหวานก็ รับประทานได้เช่นกัน วิธีใช้ นารากเตยหอมประมาณ 1 ขีด สับเป็ นท่อนเล็กๆ ต้มกับน้ า 1 ลิตร จนเดือด จากนั้นเคี่ยว ต่อประมาณ 15-20 นาที นายาที่ได้ดื่มครั้งละครึ่ งแก้ว วันละ 3 ครั้ง หรื อใช้ใบเตยร่ วมกับสมุนไพรตัวอื่น โดยนาใบเตยหอม 32 ใบ ใบสัก 9 ใบ นามาหัน่ ตากแดด แล้วชงดื่มแบบชา หรื อใส่ หม้อดินต้ม รับประทานเป็ นยาต่างน้ าทุกวัน ข้อแนะนา ควรรับประทานต่อเนื่องอย่างน้อย 1 เดือน


4. กะเพรา (Holy Basil) กะเพรามีฤทธิ์ กระตุน้ ภูมิคุม้ กัน รักษาหื ด ต้านความเครี ยด ยับยั้งการเกิดมะเร็ ง ต้านฮีสตามีน ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ แก้ไข้ แก้ปวด ลดคลอเลสเตอรอล และที่สาคัญ คือ ลดน้ าตาลใน เลือด โดยพบว่า ใบกะเพราทาให้เซลล์ตบั อ่อนผลิตอินซูลินได้ดีข้ ึน และจากการวิจยั ในผูป้ ่ วยเบาหวาน โดยให้ผง ใบกะเพราวันละ 2.5 กรัม 4 สัปดาห์ สามารถลดน้ าตาลในเลือดได้ วิธีใช้ นาผงใบกระเพรามาทาเป็ นชา โดยใช้ประมาณ 1 ช้อนชา กับน้ าร้อน 1 ถ้วย ดื่มวันละ 3 ครั้ง แคปซูลกะเพรา ให้รับประทานวันละ 2.5 กรัมต่อวัน หรื อน้ ามันกะเพรา 2-5 หยด ต่อวัน ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ กะเพราในคนท้องและหญิงให้นมบุตร


5.ตาลึง (Ivy gourd) ตาลึงแสดงผลการลดน้ าตาลทั้งในสัตว์ทดลองและในคน สามารถใช้ได้ ทั้งส่ วนที่เป็ น ใบ ราก ผล เป็ นผักที่มีวติ ามินเอสู งมาก รองมาจากใบยอ แมงลัก โหระพา มี วิตามินซี สูงมากกว่ามะนาว (วิตามินซี 30 มก.ต่อ100 ก. มะนาวมี 20 มก.) มีวิตามินบี 3 ช่วย บารุ งผิวหนัง มีธาตุเหล็ก ช่วยบารุ งเลือด นอกจากนี้ ยังช่วยระบายเพราะมีกากใยสู งอีกด้วย วิธีใช้ นายอดตาลึง 1 กามือ หรื อขนาดที่กินพออิ่ม โรยเกลือ หรื อเหยาะน้ าปลา (เพื่อความอร่ อย) ห่อด้วยใบตองเผาไฟจนสุ ก แล้วรับประทานให้หมดหรื อกินจนอิม่ รับประทานก่อนนอนติดต่อกันสามเดือน 6. ว่านหางจระเข้ (Aloe) ปัจจุบนั มีการศึกษาวิจยั ประโยชน์วา่ นหางจระเข้ท้ งั ทางยา และเครื่ องสาอาง ในส่ วนที่เป็ นยานั้นพบว่า ช่วยลดน้ าตาลในเลือดทั้งในคนและ สัตว์ทดลอง กระตุน้ การเผาผลาญของร่ างกาย ดังนั้นจึงเหมาะในผูป้ ่ วยเบาหวาน วิธีใช้ รับประทานเนื้อว่านหางจระเข้สดวันละ 15 กรัม ทุกวัน ติดต่อกันอย่าง น้อย 4 สัปดาห์


7. อบเชยจีน (Chinese Cinnamon) ล่าสุ ดได้มีการค้นพบสรรพคุณของอบเชยในการช่วยลดระดับน้ าตาล ในเลือด โดยพบว่าในอบเชยมีสาร Methylhydroxy Chalone Polymer (MHCP) ที่ทาให้เซลล์ไขมันตอบสนอง ต่อการทางานของอินซูลินได้มากขึ้น ทาให้อินซูลินทางานได้มีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งยังมีฤทธิ์ เหมือนอินซูลิน คือ ช่วยลดระดับน้ าตาลในเลือด นอกจากนี้ อบเชยจีนยังช่วยลดไตรกลีเซอไรด์ ลดไขมันตัวร้าย LDL และลด คลอเลสเตอรอลได้ดว้ ย วิธีใช้ รับประทานผงอบเชยจีนประมาณ 1 ช้อนชาต่อวัน แบ่งเป็ นเช้าครึ่ งช้อนชา เย็นครึ่ งช้อนชา รับประทานกับเครื่ องดื่ม เช่น นม โอวัลติน ชา กาแฟ โยเกิร์ต หรื อบรรจุแคปซูลรับประทาน ควรรับประทาน ติดต่อกันอย่างน้อย 20 วัน นอกจากนี้ เพียงเอาชิ้นอบเชยแช่ในถ้วยชาก็สามารถใช้ลดน้ าตาลได้ และการ รับประทานในปริ มาณที่สูงหรื อต่า ความสามารถในการลดน้ าตาลก็ไม่ต่างกัน (ถ้าไม่มีอบเชยจีน สามารถใช้อบเชยอื่นๆ ได้เช่นกัน)


8. อินทนิลน้ า (Queen's Flower) ปั จจุบนั มีการศึกษาพบว่าอินทนิลน้ ามีฤทธิ์ ลดระดับน้ าตาลในเลือด โดยมี สารสาคัญชื่อ Corosolic acid ออกฤทธิ์ เหมือนอินซูลิน จัดเป็ นอินซูลินจากธรรมชาติ ไม่พบผลข้างเคียง ทั้งยั้งช่วย ชะลอการย่อยแป้ งในระบบทางเดินอาหาร และทาให้การลาเลียงน้ าตาลเข้าสู่ เซลล์ดีข้ ึน ใบอินทนิลน้ าที่ดีเหมาะ กับการนามาทายา คือ ใบแก่ใกล้ผลัดใบ นอกจากนี้ เมล็ดแห้งของอินทนิลน้ าก็สารถช่วยลดน้ าตาลได้เช่นกัน วิธีใช้ - ใช้ใบอินทนิลน้ าแก่ 100 กรัม น้ าสะอาด 1 ลิตร ต้มให้เดือด จากนั้นเคี่ยวไฟอ่อนอีก 15 นาที ดื่มเป็ นยาครั้งละ 1 ถ้วยชา เช้า กลางวัน เย็น ดื่มต่อเนื่องประมาณ 3 สัปดาห์ จึงสังเกตผลได้ ข้อควรระวัง เด็ก คนท้อง และมารดาระหว่างให้นมบุตร คนที่มีภาวะน้ าตาลในเลือดต่า ห้ามใช้ อินทนิลน้ า ในคนที่เป็ นเบาหวานควรมีการตรวจวัดระดับน้ าตาลในเลือดประจาเพื่อปรับขนาดยา


9. หว้า มีการศึกษาประโยชน์ของหว้าทั้งในสัตว์ทดลองและในคน ถึงฤทธิ์ ของการลดน้ าตาลในเลือดพบว่า มีฤทธิ์ ยับยั้งการทาลายอินซูลิน ช่วยเพิม่ ปริ มาณอินซูลิน กระตุน้ การหลัง่ อินซูลิน ลดระดับน้ าตาลในเลือด ยับยั้งเบาหวาน เพิ่มปริ มาณไกลโคเจนในตับ และแม้แต่ในอเมริ กาก็มีการยืนยันว่าสารสกัดด้วยน้ าของเมล็ดหว้ามีประโยชน์ต่อผูป้ ่ วย เบาหวาน วิธีใช้ ต้มเมล็ดลูกหว้า ใช้เมล็ดสดของลูกหว้า 100 กรัม (1ขีด) น้ าสะอาด 1 ลิตร นาเมล็ดลูกหว้ามาโขลกใส่ หม้อต้มให้เดือด เคี่ยวไฟอ่อนๆ 15 นาที ให้ตวั ยาออกมา รับประทานครั้งละ 1 ถ้วยชา วันละ 3 มื้อ เป็ นเวลา 1 เดือน อาการเบาหวานจะทุเลา สามารถลดยาหรื อใช้สมุนไพรในการดูแลอย่างเดียวได้ แต่ควรวัดระดับน้ าตาลในเลือดเสมอ (สามารถใช้เมล็ดแห้งแทนได้ ในกรณี ไม่มีเมล็ดสด) แหล่ งที่มา :หมอชาวบ้ าน ปี ที่ 3 7 ฉบับที่ 439 พฤศจิกายน 2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.